You are on page 1of 42

ชุดการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
เรื่อง การจาแนกชนิดของคา
ชุดที่ ๒ คาสรรพนามใช้แทน

นางณัฐิยา ถาวระ
ครูชานาญการ โรงเรียนเทศบาลวัดมเหยงคณ์
สานักการศึกษา เทศบาลนครนครศรีธรรมราช
ชุดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
เรื่อง การจาแนกชนิดของคา
ชุดที่ ๒ คาสรรพนามใช้แทน

นางณัฐิยา ถาวระ
ครูชานาญการ โรงเรียนเทศบาลวัดมเหยงคณ์
สานักการศึกษา เทศบาลนครนครศรีธรรมราช
(ก)

คานา

ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจาแนกชนิดของคา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย


ชั้นประถมศึกษา ปี ที๖่ จัดทาขึ้นเพื่อพัฒนาทักษะทางด้านหลักภาษไทย จัดทาขึ้นทั้งหมด
๗ ชุด ได้แก่
ชุดการเรี ยนรู ้ที่ ๑ คานามเรี ยกขาน ชุดการเรี ยนรู ้ที่ ๒ คาสรรพนามใช้แทน
ชุดการเรี ยนรู ้ที่ ๓ คากริ ยาแสนสนุก ชุดการเรี ยนรู ้ที่ ๔ คาวิเศษณ์ล้ าเลิศ
ชุดการเรี ยนรู ้ที่ ๕ คาบุพบทผูช้ ่วยนา ชุดการเรี ยนรู ้ที่ ๖ คาสันธานเชื่อมความ
ชุดการเรี ยนรู ้ที่ ๗ คาอุทานสื่ อสารอารมณ์ ซึ่ งเป็ นหลักสู ตรในช่วงชั้นที่ ๒
ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจาแนกชนิดของคา สาเร็ จไปได้ดว้ ยความกรุ ณาของ
นางวรนารถ ไทยานนท์ โรงเรี ยนอนุบาลขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น นางการุ ณา
เกียรติเสรี กุล โรงเรี ยนเทศบาลวัดศรี ทวี จังหวัดนครศรี ธรรมราช นายศิลปชัย สุ หลง
โรงเรี ยนท่าศาลาประสิ ทธิ์ศึกษา จังหวัดนครศรี ธรรมราช นางสาววิรัช ชูจนั ทร์ ทอง
โรงเรี ยนเทศบาลวัดใหญ่ จังหวัดนครศรี ธรรมราช และ ดร.ทรงพล โสภณ
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรี ธรรมราช ที่ได้ให้คาแนะนาและตรวจสอบความถูกต้อง
จนได้ชุดการเรี ยนรู ้ที่สมบูรณ์ และมีประสิ ทธิภาพ จึงขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้

นางณัฐิยา ถาวระ
ครู ชานาญการ
โรงเรี ยนเทศบาลวัดมเหยงคณ์
(ข)

ชุดการเรียนรู้ ที่ ๒ คาสรรพนามใช้ แทน


ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
สาระที่ ๔ หลักการใช้ ภาษาไทย

มาตรฐานการเรียนรู้ ท.๔.๑ : เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทยเปลี การ่ยนแปลง


ของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษาและ
รักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น : รู ้และเข้าใจชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค ชนิดของ
ประโยค

จุดประสงค์ การเรียนรู้
๑. นักเรี ยนสามารถอธิบายความหมายของคาสรรพนามได้ถูกต้อง
๒. นักเรี ยนสามารถบอกหน้าที่ของคาสรรพนามได้ถูกต้อง
๓. นักเรี ยนสามารถจาแนกชนิดของคาสรรพนามได้ถูกต้อง
๔. นักเรี ยนสามารถนาคาสรรพนามไปแต่งประโยคเพื่อการสื่ อสารได้ถูกต้อง
๕. นักเรี ยนสามารถนาเรื่ องของคาสรรพนามไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่าง
ถูกต้อง
๖. นักเรี ยนสามารถทาแบบฝึ กหัดได้ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป
๗. นักเรี ยนสามารถทาแบบทดสอบหลังเรี ยนผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป
๘. นักเรี ยนสามารถปฏิบตั ิกิจกรรมตามขั้นตอนได้อย่างมีวินยั และมีความสุ ข
(ค)

คาแนะนาการใช้ ชุดการเรียนรู้ เรื่อง การจาแนกชนิดของคา

๑. ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ อง การจาแนกชนิดของคามีท้งั หมด ๗ ชุดได้แก่


ชุดการเรี ยนรู ้ที่ ๑ คานามเรี ยกขาน ชุดการเรี ยนรู ้ที่ ๒ คาสรรพนามใช้แทน
ชุดการเรี ยนรู ้ที่ ๓ คากริ ยาแสนสนุก ชุดการเรี ยนรู ้ที่ ๔ คาวิเศษณ์ล้ าเลิศ
ชุดการเรี ยนรู ้ที่ ๕ คาบุพ บทผูช้ ่วยนา ชุดการเรี ยนรู ้ที่ ๖ คาสันธานเชื่อมความ
ชุดการเรี ยนรู ้ที่ ๗ คาอุทานสื่ อสารอารมณ์
๒. ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ อง การจาแนกชนิดของคาเล่มนี้ นักเรี ยนสามารถเรี ยนรู ้ได้ดว้ ย
ตนเอ งตามความสามารถ ซึ่ ง ประกอบด้วย คาแนะนาการใช้ชุดการเรี ยนรู ้
จุดประสงค์สาระการเรี ยนรู ้ ใบความรู ้ คาอธิบายที่มีตวั อย่างประกอบ แบบฝึ กหัด
เฉลยแบบฝึ กหัด แบบทดสอบ และเฉลยแบบทดสอบ
๓. นักเรี ยนศึกษาหาความรู ้จากใบความรู ้ดว้ ยความตั้งใจ หากทาไม่ได้หรื อสงสัย
ให้พยายามศึกษาคาอธิบายในใบความรู ้หรื อปรึ กษาคุณครู
๔. ทาแบบฝึ กหัดตามลาดับขั้นตอนด้วยความซื่ อสัตย์
๕. ครู ผสู ้ อนควรให้คาแนะนาและให้คาอธิบายประกอบ พร้อมสรุ ปตามขั้นตอน
ของชุดการเรี ยนรู ้
๖. เมื่อศึกษาชุดการเรี ยนรู ้จบแล้ว ให้นกั เรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยน
หากผลคะแนนของนักเรี ยนไม่ผา่ นร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป ก็ให้นกั เรี ยนมาศึกษาใหม่
อีกครั้ง เพื่อความก้าวหน้าในการเรี ยน และจะประสบผลสาเร็ จ
(ง)

สารบัญ

เรื่อง หน้ า

คานา ...................................................................................................................... (ก)


ชุดการเรี ยนรู ้ที่ ๒ คาสรรพนามใช้แทน ................................................................. (ข)
คาแนะนาการใช้ชุดการเรี ยนรู ้ ................................................................................ (ค)
สารบัญ................................................................................................................... (ง)
แผนผังความคิดสรุ ปเรื่ องคาสรรพนาม .................................................................. ๑
แบบทดสอบก่อนเรี ยน ........................................................................................... ๓
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรี ยน ................................................................................... ๕
ชนิดของคา ............................................................................................................ ๖
ใบความรู ้ที่ ๑ ความหมาย ...................................................................................... ๘
แบบฝึ กหัดที่ ๑.๑ .................................................................................................... ๑๐
เฉลยแบบฝึ กหัดที่ ๑.๑............................................................................................ ๑๑
ใบความรู ้ที่ ๒ ชนิดของคาสรรพนาม .................................................................... ๑๒
แบบฝึ กหัดที่ ๒.๑ ................................................................................................... ๑๖
เฉลยแบบฝึ กหัดที่ ๒.๑........................................................................................... ๑๗
แบบฝึ กหัดที่ ๒.๒ .................................................................................................. ๑๘
เฉลยแบบฝึ กหัดที่ ๒.๒ .......................................................................................... ๑๙
แบบฝึ กหัดที่ ๒.๓ .................................................................................................. ๒๐
เฉลยแบบฝึ กหัดที่ ๒.๓ .......................................................................................... ๒๑
ใบความรู ้ที่ ๓ หน้าที่ของคาสรรพนาม .................................................................. ๒๒
แบบฝึ กหัดที่ ๓.๑ ................................................................................................... ๒๔
เฉลยแบบฝึ กหัดที่ ๓.๑ ........................................................................................... ๒๕
เกมปริ ศนาค้นหาคาสรรพนาม ............................................................................... ๒๗
เฉลยเกมปริ ศนาค้นหาคาสรรพนาม ....................................................................... ๒๘
(จ)

สารบัญ (ต่อ)

เรื่อง หน้ า

ใบความรู ้ที่ ๔ สรุ ปคาสรรพนาม ........................................................................... ๒๙


แบบทดสอบหลังเรี ยน ........................................................................................... ๓๒
เฉลยแบบทดสอบหลังเรี ยน ................................................................................... ๓๔
บรรณานุกรม
ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๑

แผนผังความคิดเรื่องคาสรรพนาม

คําที่ใช้แทนนาม

ความหมาย

คาสรรพนาม
สรรพนาม

ชนิด หน้าที่

๑. บุรุษสรรพนาม ๑. ประธานของประโยค
๒. สรรพนามชี้ระยะ ๒. กรรมของประโยค
๓. สรรพนามใช้ถาม ๓. กรรมรองของประโยค
๔. สรรพนามบอก ๔. ส่ วนเติมเต็ม
ความไม่เจาะจง ๕. เชื่ อมประโยค
๕. สรรพนามบอกความชี้ซ้ าํ ๖. เน้นคํานามที่อยู่
๖. สรรพนามเชื่อมประโยค ข้างหน้า
๗. สรรพนามใช้เน้นนาม
ตามความรู้สึกของผูพ้ ดู
ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๒

ก่อนที่เพื่อนๆจะศึกษา
ชุดการเรียนรู้ เรื่องการจาแนกชนิดของคา
ชุดที่ ๒ คาสรรพนามใช้ แทน ขอให้เพื่อนๆ
ทุกคนมาทําแบบทดสอบก่อนเรี ยนกันก่อน
นะครับว่าเรามีความรู ้พ้นื ฐานมากน้อย
เพียงใด ผลการสอบเป็ นอย่างไรนั้นคุณครู
ไม่ได้นาํ ไปใช้ในการตัดสิ นผลการเรี ยน
ไม่ตอ้ งกังวลนะครับ

เปิ ดไปทาแบบทดสอบ
ก่อนเรียนในหน ้าต่อไปค่ะ
ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๓

แบบทดสอบก่อนเรียน
ชุดที่ ๒ คาสรรพนามใช้ แทน
คาสั่ง จงทําเครื่ องหมาย  ทับหน้าตัวอักษรหน้าคําตอบที่ถูกที่สุด

๑. ข้อใดคือความหมายของคําสรรพนาม
ก. คํา ที่ใช้แสดงอารมณ์ ความรู ้สึกของผูพ้ ดู
ข. คําที่ใช้แทนคํานาม
ค. คําที่ใช้แทนชื่อ
ง. คําที่ใช้แทนคํานามที่เป็ นรู ปธรรม

๒. ข้อใดเป็ นคําสรรพนามเน้นนามที่อยูข่ า้ งหน้า


ก. ท่านจะไปไหนครับ
ข. ใครจะไปกับท่าน
ค. นี่คือเพื่อนของท่าน
ง. คุณย่าท่านจะไปกับผม

๓. “ฉันไม่เห็นใครขยันอย่างเธอ” คําที่ขีดเส้นใต้เป็ นคําสรรพนามชนิดใด


ก. วิภาคสรรพนาม ข. ประพันธสรรพนาม
ค. อนิยมสรรพนาม ง. ปฤจฉาสรรพนาม

๔. คําในข้อใดเป็ นได้ท้งั สรรพนามบุรุษที่ ๒ และ ๓


ก. ฉัน ข. คุณ
ค. ผม ง. ท่าน

๕. สรรพนามที่ใช้แทนนามที่แบ่งเป็ นส่ วน ๆ เรี ยกว่าอะไร


ก. ประพันธสรรพนาม ข. นิยมสรรพนาม
ค. วิภาคสรรพนาม ง. อนิยมสรรพนาม
ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๔

๖. ข้อใดเป็ นสรรพนามชี้ระยะ
ก. ใครน่ะเห็นแต่ไกล ข. นักเรี ยนวิ่งเล่นกัน
ค. นัน่ มาแต่เช้าเชียว ง. กินนี่ให้หมด

๗. สรรพนามในข้อใดทําหน้าที่เป็ นกรรม
ก. คุณสมชายเขาไม่ค่อยตรงเวลาเลย
ข. คุณย่าท่านไม่ใคร่ ได้พกั ผ่อน
ค. พระคุณเจ้าไปไหนมาคะ
ง. คุณพ่อตีมนั เสี ยงดังสนัน่

๘. คําสรรพนามที่ใช้เชื่อมข้อความเรี ยกว่าอะไร
ก. นิยมสรรพนาม ข. ประพันธสรรพนาม
ค. ปฤจฉาสรรพนาม ง. วิภาคสรรพนาม

๙. คําว่า “กัน” ในข้อใดเป็ นคําสรรพนาม


ก. กันจะพาไปหาพรุ่ งนี้
ข. เขากันคิ้วให้เพื่อน
ค. เราเป็ นเพื่อนกัน
ง. เด็กกันไม่ให้ไก่จิกข้าว

๑๐. ข้อใดมีสรรพนามที่ใช้เชื่อมประโยค
ก. ใครแต่งเรื่ องรามเกียรติ์
ข. นํ้าฝนที่รองเอาไว้ใช้ดื่มไม่ได้
ค. เธอทําอะไรอยู่
ง. ข้อสอบวิชานี้ยากจริ ง ๆ
ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๕

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน

๑. ข
๒. ง
๓. ค
๔. ง
๕. ค
๖. ง
๗. ง
๘. ข
๙. ก
๑๐. ข
ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๖

ชนิดของคา

นักเรี ยนคะ การที่เราจะจําแนก


คําในภาษาไทยได้ เราควรรู ้จกั ชนิด
ของคําในภาษาไทยก่อนนะคะ

คา คือ เสี ยงที่เปล่งออกมากี่ครั้งก็ได้จะต้องมีความหมาย คําในภาษาไทยที่เรา


ใช้ในการฟัง พูด อ่าน และเขียน ในชีวิตประจําวัน การแบ่งคําหรื อการจําแนกคํา หรื อ
ปรัชญาของคํานั้น ๆ จําแนกตามความหมายและหน้าที่ของคําได้ ๗ ชนิด ดังนี้

๑. คานาม ๒. คาสรรพนาม ๓. คากริยา

๔. คาวิเศษณ์ ๕. คาบุพบท

๖. คาสั นธาน ๗. คาอุทาน


ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๗

คาไทย
คําไทยมีเจ็ดคํา ที่ตอ้ งจําไว้ให้ดี
คานามคือคําที่ ใช้เรี ยกคน สัตว์ สิ่ งของ
เช่น บ้าน หนู หมู หมา ไฟ ปากกา ปลา เงิน ทอง
ภูเขา ห้วย ลําคลอง เมืองระนองนายทองคํา
หน้าที่ของนามนะ เป็ นประธานและเป็ นกรรม
เล่าเล่าพอให้จาํ จงหมัน่ เพียรเล่าเรี ยนไป
คําสองสรรพนาม แทนคํานามจําใส่ ใจ
เช่น เรา เขา เธอ ใคร หน้าที่คล้ายกับคํานาม
คําสาม คือ กริยา บอกอาการนามสรรพนาม
เช่น เดิน นอน นัง่ ถาม กิน วิง่ พูด ยิม้ ร้องไห้
วิเศษณ์ คือ คําที่ ให้มีเนื้อความแปลกไป
ประกอบนามวิเศษณ์ไซร้ สรรพนามและกริ ยา
เช่น ชัว่ ดี เลว แป้ น เขียว ดัง แบน หอม หวาน ช้า
เหมือน ฉุ น เปรี้ ยว เค็ม จ๋ า เหนือ หมด ใด ไหน ดี แน่
บุพบท นําหน้านาม สรรพนามตัวอย่าง แต่
ดูก่อน ใน ยังแต่ แห่ งของ ด้วย บน โดย ตาม
สั นธานเชื่อมถ้อยคํา คําต่อคํา ความต่อความ
เชื่อมประโยคให้งดงาม เช่น กับ เพราะ และเช่นว่า
อุทาน การออกเสี ยง ผิดสําเนียงธรรมดา
แสดงอารมณ์นา ความรู ้สึกผูอ้ ุทาน
เช่น เหม่ ซิ หรื อ หา เฮ้ย ไฮ้ ฮา สะพงสะพาน
เรื อแพ ขอจบการ เล่าให้อ่านจําไว้เอยฯ
(กาพย์ยานี ๑๑)
ผู้แต่ ง รศ.ธนู บุณยรัตพันธ์
ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๘

ใบความรู้ ที่ ๑

ความหมาย
กลอนหก
สรรพนามคือคาแทน จาให้แม่นท่านดิฉนั
ข้ากระผมใต้เท้ามัน พระองค์กนั อาตมา
ทัง้ โยมเอ็งท่านคุณเขา ฉันเราโน่ นนั้นนี้ ข้า
ที่ซ่งึ อันประพันธ ฟังนะจ๊ะอยู่หลังนาม
ต่างบ้างกันนั้นวิภาค นอกจากนี้ มีคาถาม
อะไร ใคร คาปฤจฉา มาศึกษาสรรพนาม

เพื่อน ๆได้เรี ยนรู ้คาํ นามกันแล้วในการใช้ภาษา


ยังมีคาํ ที่ใช้แทนการกล่าวคํานามนั้นบ่อย ๆ
เรี ยกว่า คําสรรพนาม ( อ่านว่า สับ-พะ-นาม )

คาสรรพนาม
หมายถึง คําที่ใช้แทนคํานาม เพื่อหลีกเลี่ยงการใช้คาํ นามซํ้า ๆ กัน
ทําให้ประโยคสละสลวยขึ้น

ตัวอย่าง ประโยคที่ ๑ ภพเป็ นห่ วงคุณยายเพราะคุณยายรักภพมาก


ประโยคที่ ๒ ภพเป็ นห่ วงคุณยายเพราะท่านรักเขามาก

เราใช้คาํ ว่าท่ านแทนคุณยาย และเขาแทนภพในการกล่าวซํ้า


ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๙

คําสรรพนามที่ใช้แทนคํานามในการกล่าวถึง คน สัตว์ สิ่ งของต่าง ๆ มีดงั นี้

คาสรรพนามทีใ่ ช้ แทนคานามชื่อคน ได้แก่คาํ ว่า

ผม หนู เธอ พวกเขา เขา คุณ

ตัวอย่าง
การเป็ นหัวหน้าห้อง เราจะต้องทําตัวให้เพื่อน
ยอมรับและเชื่อมัน่ ในตัวเธอนะแววดาว

ค่ะคุณครู หนูจะไม่ทาํ ให้พวกเขาผิดหวัง

คําว่า เรา เธอ หนู พวกเขา เป็ นคําสรรพนามที่ใช้แทนคนในการเขียนเล่าเรื่ องหรื อการสนทนา

หากเราจะเอ่ยถึงสัตว์หรือสิง่ ของ เราก็จะใช้สรรพนามที่


แตกต่างไปจากคน
คาสรรพนามทีใ่ ช้ แทนคานามชื่อสั ตว์ หรือสิ่ งของ ได้แก่คาํ ว่า

มัน พวกมัน

ตัวอย่าง
มันเป็ นไม้กวาดวิเศษของแม่มดจิ๋ว
พวกมันเป็ นลูกของเจ้ามอม

วัดความเข้าใจด้วยการทาแบบฝึ กหัดค่ะ
ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๑๐

.๑ ดที่ ๑.๑
แบบฝึ กหั

คาสั่ ง ให้นกั เรี ยนกาเครื่ องหมาย  หน้าคําสรรพนาม แล้วนําไปแต่งในประโยคนะคะ

๑. ............ฉัน ๖.............กิน ๑๑............ข้าพเจ้า ๑๖.........อํานาจ


๒.............บ้าน ๗.............ท่าน ๑๒...........โน่น ๑๗.........หวาน
๓.............มัน ๘.............เรา ๑๓...........นอน ๑๘..........นาฬิกา
๔..............เธอ ๙.............สวย ๑๔...........ไพเราะ ๑๙..........ใต้เท้า
๕.............วิ่ง ๑๐. ...... สามารถ ๑๕............อาตมา ๒๐.........อนิจจา

ตัวอย่าง เธอเป็ นเพื่อนที่ดีของฉัน


๑. ...............................................................................................................................
๒. ...............................................................................................................................
๓. ...............................................................................................................................
๔. ...............................................................................................................................
๕. ...............................................................................................................................
๖. ...............................................................................................................................
๗. ...............................................................................................................................
๘. ...............................................................................................................................
๙. ...............................................................................................................................
๑๐................................................................................................................................
ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๑๑

เฉลยแบบฝึ กหัดที่ ๑.๑

ให้นกั เรี ยนกาเครื่ องหมาย  หน้าคําสรรพนาม แล้วนําไปแต่งในประโยคหน่อยนะคะ

๑. ........ฉัน ๖.............กิน ๑๑.......ข้าพเจ้า ๑๖.........อํานาจ


๒.............บ้าน ๗.........ท่าน ๑๒.......โน่น ๑๗.........หวาน
๓...... ..มัน ๘..........เรา ๑๓...........นอน ๑๘..........นาฬิกา
๔.........เธอ ๙.............สวย ๑๔...........ไพเราะ ๑๙......ใต้เท้า
๕.............วิ่ง ๑๐. ...... สามารถ ๑๕.......อาตมา ๒๐.........อนิจจา

ตัวอย่าง เธอเป็ นเพื่อนที่ดีของฉัน


๑. ..............................................................................................................................
๒. ...............................................................................................................................
๓. ...............................................................................................................................
๔. ...............................................................................................................................
๕. ...............................................................................................................................
๖. ...............................................................................................................................
๗. ...............................................................................................................................
๘. ...............................................................................................................................
๙. ...............................................................................................................................
๑๐................................................................................................................................
ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๑๒

ใบความรู้ ที่ ๒
ชนิดของคาสรรพนาม

เรามารู้จกั ชนิดของคําสรรพนามที่ใช้แทนคํานามในการพูดกัน
นะคะ
คาสรรพนามแบ่ งออกเป็ น ๖ ชนิด ดังนี้

๑. บุรุษสรรพนาม (สรรพนามที่ใช้แทนบุคคล)

เป็ นสรรพนามใช้แทนชื่อบุคคลที่เกี่ยวข้องในการสนทนา ผูพ้ ดู ผูฟ้ ัง และ


ผูท้ ี่กล่าวถึง แบ่งออกเป็ น ๓ ชนิด ได้แก่

๑.๑ สรรพนามบุรุษที่ ๑ ใช้แทนตัวผูพ้ ดู ได้แก่ ฉัน ข้าพเจ้า กระผม


ผม ดิฉนั เรา อาตมา ข้าพระพุทธเจ้า เกล้ากระหม่อม ข้าฯ เป็ นต้น
ตัวอย่าง
ฉันยังไม่เคยไปกินเลี้ยงโต๊ะจีนที่ไหนเลย
อาตมาจะไปบิณฑบาตที่บา้ นโยมสมปอง

๑.๒ สรรพนามบุรุษที่ ๒ ใช้แทนตัวผูฟ้ ัง ได้แก่ เธอ ท่าน คุณ โยม


ฝ่ าพระบาท ใต้เท้า ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท ฯพณฯ เป็ นต้น
ตัวอย่าง
ท่ านต้องการพบใครครับ
เธอต้องตั้งใจเรี ยนให้มากกว่านี้
โยมจงตั้งสติให้ดี ๆ
ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๑๓

๑.๓ สรรพนามบุรุษที่ ๓ ใช้แทนผูท้ ี่กล่าวถึง ได้แก่ พระองค์ มัน เขา


พระองค์ท่าน เป็ นต้น
ตัวอย่าง
ประชาชนชาวไทยรักในหลวง พระองค์ สถิตในใจชาวไทยทัว่ หล้า
เจ้ามอมสุ นขั ที่บา้ นฉันมันฉลาดแสนรู ้มาก
เพื่อน ๆ ที่หอ้ งคิดถึงเขามาก

เพือ่ น ๆ คะ สรรพนามบางคํา
ใช้แทนได้ท้งั ผูพ้ ดู ผูฟ้ ังและผู ้
ที่กล่าวถึง เพือ่ น ๆ ต้องดูจาก
เนื้อความในประโยคนะคะ

๒. ประพันธสรรพนาม (สรรพนามเชื่อมประโยค)

เป็ นคําที่ใช้เชื่อมประโยคหลักกับประโยคย่อย ทําหน้าที่แทนคํานาม


ที่อยูต่ ิดกันข้างหน้า ได้แก่ ผู ้ ที่ ซึ่ ง อัน เป็ นต้น
ตัวอย่าง

เพื่อนของฉัน ทีป่ ่ วยเป็ นไข้หายแล้ว

คุณลุงสมยศซึ่งเป็ นเพื่อนคุณพ่อให้หนังสื อแก่ฉนั


ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๑๔

๓. วิภาคสรรพนาม (สรรพนามบอกความชี้ซ้ าํ )

ใช้แทนนามที่อยูข่ า้ งหน้าเพื่อจําแนกนามนั้นเป็ นส่ วน ๆ ได้แก่คาํ ว่า


ต่าง กัน บ้าง เป็ นต้น
ตัวอย่าง

นักกีฬา ต่ างทําหน้าที่ของตนเอง

เราควรให้อภัยซึ่ ง กันและกัน (กัน : ทําหน้าที่แทนคํานามในประโยค)

เด็ก ๆ บ้ างก็วิ่ง บ้ างก็กระโดดอย่างสนุกสนาน


** กันบางคําเป็ นคําวิเศษณ์ เช่น เราไปเที่ยวกันเถอะ (กัน : ขยายไปเที่ยว)

๔. นิยมสรรพนาม (สรรพนามชี้ระยะ)

ใช้แทนคํานามชี้เฉพาะเจาะจง หรื อบอกความใกล้ไกล ได้แก่คาํ ว่า นี่


นัน่ โน้น นี้ โน่น เป็ นต้น
ตัวอย่าง

นั่นสมุดของเธอ

กระเป๋ าใบนีข้ องเพื่อนฉัน

โน่ นบ้านหลังใหม่
ข้อสังเกต: คําว่า นี่ นี้ นัน่ นั้น โน่น โน้น ที่เป็ นนิยมสรรพนามจะต้องเป็ นคํา
ที่ใช้แทนคํานามเท่านั้น และไม่ได้วางอยูห่ ลังคํานาม ถ้าหากวางอยู่
หลังคํานามเมื่อใด คําดังกล่าวจะทําหน้าที่เป็ นคําวิเศษณ์ เช่น
 ชิ้นนี้ของฉัน
 บ้านนั้นของเธอ
 ใบโน่นของเตย
ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๑๕

๕. อนิยมสรรพนาม (สรรพนามบอกความไม่เจาะจง)

ใช้แทนนามทัว่ ๆ ไป ไม่เฉพาะเจาะจง เช่น ใคร อะไร ไห

สิ่ งใด เป็ นต้น

ตัวอย่าง ใครจะมากับฉันก็ได้

เขาไม่ชอบ อะไรเลย

เธอจะไปที่ ไหนก็เรื่ องของเธอ

๖. ปฤจฉาสรรพนาม (สรรพนามที่ใช้ถาม)

ใช้แทนคํานามที่มีความหมายเป็ นคําถาม เช่น ใคร อะไร ไหน


สิ่ งใด เป็ นต้น

ตัวอย่าง ใครหยิบสมุดของฉันไป

เขาจะทํา อะไร

ไหนบ้านของเธอ

๗. สรรพนามใช้
สรรพนามใช้เน้น้นนามตามความรู ้สึกของผูพ้ ดู

ตัวอย่าง คุณแม่ ท่านทําอาหารอร่ อยมาก

ปิ ยณัฐ เขาชอบไปเที่ยวทะเล
ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๑๖

แบบฝึ กหัดที่ ๒.๑

คาสั่ ง ให้นกั เรี ยนขีดเส้นใต้คาํ สรรพนามในประโยค


และกาเครื่ องหมาย  ในช่องให้ตรงกับชนิดของคําสรรพนามนั้น

ปฤจฉาสรรพนาม
อนิยมสรรพนาม
วิภาคสรรพนาม
ประพันธ สรรพ

นิยมสรรพนาม
บุรุษสรรพนาม

ประโยค นาม

๑. พีน่ อ้ งช่วยกันกวาดบ้าน
๒. คนที่เป็ นครู ตอ้ งมีความอดทน
๓. ฉันจะอยูไ่ หนก็ได้ไม่แปลก
๔. อะไรอยูใ่ นกระเป๋ าของเธอ
๕. ผูท้ รงศีลย่อมมีธรรมอันประเสริ ฐ
๖. นัน่ คือทางไปสนามกีฬา
๗. เราน่ะอย่าทําอวดเก่งไปนะ
๘. เขาบูชาความรักซึ่งทําให้เขาตาบอด
๙. ใครไปแกลังมันได้ลงคอ
๑๐. หล่อนชอบบ้านที่ทาสีขาว
ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๑๗

เฉลยแบบฝึ กหัดที่ ๒.๑

คาสั่ ง ให้นกั เรี ยนขีดเส้นใต้คาํ สรรพนามในประโยค และกาเครื่ องหมาย 


ในช่องให้ตรงกับชนิดของคําสรรพนามนั้น

ปฤจฉาสรรพนาม
อนิยมสรรพนาม
วิภาคสรรพนาม
ประพันธ สรรพ

นิยมสรรพนาม
บุรุษสรรพนาม

ประโยค นาม

๑. พีน่ อ้ งช่วยกันกวาดบ้าน 
๒. คนที่เป็ นครู ตอ้ งมีความอดทน 
๓. ฉันจะอยูไ่ หนก็ได้ไม่แปลก 
๔. อะไรอยูใ่ นกระเป๋ าของเธอ  
๕. ผูท้ รงศีลย่อมมีธรรมอันประเสริ ฐ 
๖. นัน่ คือทางไปสนามกีฬา 
๗. เราน่ะอย่าทําอวดเก่งไปนะ 
๘. เขาบูชาความรักซึ่งทําให้เขาตาบอด  
๙. ใครไปแกลังมันได้ลงคอ  
๑๐. หล่อนชอบบ้านที่ทาสีขาว  
ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๑๘

แบบฝึ กหัดที่ ๒.๒

คาสั่ ง ให้นกั เรี ยนเติมคําสรรพนามลงในช่องว่างให้ถูกต้อง


พร้อมทั้งบอกชนิดของคําสรรพนาม

๑. ...........................โรงเรี ยนของเธอ ...............................................

๒. .........................ขยันก็สอบได้ ................................................

๓. นักกีฬา............ทําหน้าที่ของตน ................................................

๔. วันนี้......................สอบคณิ ตศาสตร์ ...............................................

๕. นักเรี ยน..................ก็อ่านหนังสื อ ................................................

๖. ศีล..................พึงปฏิบตั ิ ................................................

๗. ..................เสี ยหายบ้างหลังนํ้าท่วม ................................................

๘. ปลากินลูกนํ้า..................จะกลายเป็ นยุง ................................................

๙. ..................ก็เป็ นของมีค่าทั้งนั้น ................................................

๑๐. ..................ขอเชิญไปร่ วมงานด้วย ................................................


ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๑๙

เฉลยแบบฝึ กหัดที่ ๒.๒

คาสั่ ง ให้นกั เรี ยนเติมคําสรรพนามลงในช่องว่างให้ถูกต้อง


พร้อมทั้งบอกชนิดของคําสรรพนาม

๑. ......... โน่น...........โรงเรี ยนของเธอ นิยมสรรพนาม

๒. .......... เธอ............ขยันก็สอบได้ บุรุษสรรพนาม

๓. นักกีฬา....ซึ่ ง......ทําหน้าที่ของตน ประพันธสรรพนาม

๔. วันนี้........ฉัน..........สอบคณิ ตศาสตร์ บุรุษสรรพนาม

๕. นักเรี ยน.... ต่าง.........ก็อ่านหนังสื อ วิภาคสรรพนาม

๖. ศีล...... ที่...........พึงปฏิบตั ิ ประพันธสรรพนาม

๗. .... อะไร..........เสี ยหายบ้างหลังนํ้าท่วม ปฤจฉาสรรพนาม

๘. ปลากินลูกนํ้า.... ซึ่ ง............จะกลายเป็ นยุง ประพันธสรรพนาม

๙. ..... อะไร...........ก็เป็ นของมีค่าทั้งนั้น อนิยมสรรพนาม

๑๐. ...... พวกเรา......ขอเชิญไปร่ วมงานด้วย บุรุษสรรพนาม


ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๒๐

แบบฝึ กหัดที่ ๒.๓

คําสั่ง จงเติมคําสรรพนามลงในช่องว่างตามชนิดของคําสรรพนามที่กาํ หนดให้

๑. ( ปฤจฉาสรรพนาม ) อยูบ่ นศีรษะของเธอ


๒. ( สรรพนามบุรุษที่ ๒ ) เคยพบเขา ( ปฤจฉาสรรพนาม )
๓. ( สรรพนามบุรุษที่ ๑ ) ขอถวายพระพรให้ ( สรรพนามบุรุษที่ ๒ ) ทรงพระเจริ ญ
๔. คุณลุง ( ประพันธสรรพนาม ) เป็ นที่รักของพวกเราถึงแก่กรรมเสี ยแล้ว
๕. คุณแม่ ( สรรพนามบุรุษที่ ๓ ) สั่งให้ฉนั รี บกลับบ้าน
๖. ไม่ว่าคุณจะให้ ( อนิยมสรรพนาม ) เขาก็ยนิ ดีรับบริ จาคเพราะเขายากจนมาก
๗. นักเรี ยน ( วิภาคสรรพนาม ) อ่านหนังสื อ ( วิภาคสรรพนาม ) ทําการบ้าน
๘. ( นิยมสรรพนาม ) คือยอดเขาที่สูงที่สูงที่สุด มีชื่อว่า “ดอยอินทนนท์”
๙. ( ปฤจฉาสรรพนาม ) อยูใ่ นใจ อย่าปิ ดบัง ( สรรพนามบุรุษที่ ๑ ) นะ
๑๐. นักเรี ยนทุกคน ( วิภาคสรรพนาม ) ตั้งอกตั้งใจทําข้อสอบ
ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๒๑

เฉลย แบบฝึ กหัดที่ ๒.๓

คําสั่ง จงเติมคําสรรพนามลงในช่องว่างตามชนิดของคําสรรพนามที่กาํ หนดให้

๑. อะไร อยูบ่ นศีรษะของเธอ


๒. เธอ , คุณ เคยพบเขา เมื่อไร , ที่ไหน
๓. เกล้ากระหม่อม ขอถวายพระพรให้ ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท ทรงพระเจริ ญ
๔. คุณลุง ที่ เป็ นที่รักของพวกเราถึงแก่กรรมเสี ยแล้ว
๕. คุณแม่ ท่าน สั่งให้ฉนั รี บกลับบ้าน
๖. ไม่ว่าคุณจะให้ อะไร เขาก็ยนิ ดีรับบริ จาคเพราะเขายากจนมาก
๗. นักเรี ยน บ้าง อ่านหนังสื อ บ้าง ทําการบ้าน
๘. โน่น คือยอดเขาที่สูงที่สูงที่สุด มีชื่อว่า “ดอยอินทนนท์”
๙. อะไร อยูใ่ นใจ อย่าปิ ดบัง ฉัน นะ
๑๐. นักเรี ยนทุกคน ต่าง ตั้งอกตั้งใจทําข้อสอบ
ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๒๒

ใบความรู้ ที่ ๓

หน้ าที่ของคาสรรพนาม

คําที่ใช้แทนคํานามเพื่อหลีกเลี่ยงการกล่าวซํ้า
เรี ยกว่า คําสรรพนาม
คําสรรพนามจะทําหน้าที่เหมือนคํานาม
คือเป็ นได้ท้งั ประธานหรื อกรรมในประโยค
นักเรี ยนดูตวั อย่างต่อไปนี้นะคะ

๑. คาสรรพนาม จะทาหน้ าทีเ่ ป็ นประธานของประโยค

เช่น
ดิฉันจะไปพบคุณที่บา้ นค่ะ
เขาเล่นฟุตบอลเก่งมาก

๒. คาสรรพนามทีท่ าหน้ าทีเ่ ป็ นกรรมของประโยค

เช่น
คุณแม่ดุฉัน
เด็ก ๆ กินอะไร ๆ ก็ได้
ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๒๓

๓. เป็ นส่ วนเติมเต็ม

เช่น เด็กคนนี้เหมือนคุณมาก

คนร้ายกลายเป็ นเขาไปได้

๔. ใช้ เชื่อมประโยค

เช่น ฉันรักคนไทย ทีร่ ักชาติไทย

ผูอ้ าํ นวยการให้รางวัลนักเรี ยน ซึ่งเป็ นผูช้ นะเลิศ

๕. ใช้ เน้ นคานามทีอ่ ยู่ข้างหน้ า มักเป็ นบุรุษสรรพนาม

เช่น สดใสเธอเดินให้เร็ วหน่อย


คุณย่าท่ านถามถึงหลานๆ

๖. เป็ นกรรมรองของประโยค

เช่น คนเลี้ยงปลาช้อนลูกนํ้าให้ มันกิน


ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๒๔

แบบฝึ กหัดที่ ๓.๑

คาสั่ ง ให้นกั เรี ยนขีดเส้นใต้คาํ สรรพนามและบอกหน้าที่


ของคําสรรพนามในประโยค

คําสรรพนาม หน้าที่
ตัวอย่าง ดิฉนั จะไปพบคุณที่บา้ นค่ะ ดิฉนั ประธาน

๑. นี่คือห้องนอนของฉัน
๒. หยิบนัน่ ติดมือไปด้วย
๓. ท่านคะมีคนมาขอพบ
๔. เด็กคนนี้เหมือนคุณมาก
๕. เขามีความคิดซึ่ งไม่เหมือนใคร
๖. คนที่ไปกับเธอเป็ นน้องของฉัน
๗. เขาเอาอะไรมา
๘. คุณเป็ นใคร
๙. ท่านไปกับผมหรื อ
๑๐. พวกเขาช่วยทําโครงงานชิ้นนี้
ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๒๕

เฉลยแบบฝึ กหัดที่ ๓.๑

คาสั่ ง ให้นกั เรี ยนขีดเส้นใต้คาํ สรรพนามและบอกหน้าที่


ของคําสรรพนามในประโยค

คาสรรพนาม หน้ าที่


ตัวอย่ าง ดิฉันจะไปพบคุณที่บ้านค่ ะ
ดิฉนั ประธาน
๑. นี่คือห้องนอนของฉัน นี่ ประธาน
๒. หยิบนัน่ ติดมือไปด้วย นัน่ กรรม
๓. ท่านคะมีคนมาขอพบ ท่านคะ เรี ยกขาน
๔. เด็กคนนี้เหมือนคุณมาก คุณ เติมเต็ม
๕. เขามีความคิดซึ่ งไม่เหมือนใคร ซึ่ ง เชื่อมประโยค
๖. คนที่ไปกับเธอเป็ นน้องของฉัน ที่ เชื่อมประโยค
๗. เขาเอาอะไรมา เขา กรรม
๘. คุณเป็ นใคร ใคร เติมเต็ม
๙. ท่านไปกับผมหรื อ ท่าน ประธาน
๑๐. พวกเขาช่วยทําโครงงานชิ้นนี้ พวกเขา ประธาน
ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๒๖

ลับสมอง
ประลองปัญญา
เล่นเกมปริศนา
ค้นหาคาสรรพนามหน่ อยจ้า
ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๒๗

เกมปริศนาค้ นหาคาสรรพนาม
เพือ่ น ๆ ช่ วยกันหาคาสรรพนามที่ซ่อนอยู่ให้ เจอนะคะ

ข้ ติ เ ก ล้ า ก ร ะ ห ม่ อ ม
า ค จ ง ส ม ร ณ์ อ ส น ข ฬ
พ ข ภ ฮ ใ ต้ เ ท้ า พ ฬ มิ ว
ร ส ฑ ฒ อ เ ย ส ฬ ร ภ ฮ ส
ะ ค์ ก ส า ส ผ ม ดุ ะ ส์ ข ย
พุุ ก์ ย ค ต อ ข ท่ ค์ อ ง ฬ ย์
ท า ฮ ส ม ณ์ ง า นุ ง มุ อ ส
ธ ฑ ฬ อ า คุ ณ น ค ค์ ฬ ส ห
เ ม ฉ ด มุ ส ก ส ส ค์ โ ย ม
จ้ ค ช คุ ณ มั น ท อ เ อ่ ฬ ส
า จ ม ภ ค เ พ ระ คุ ณ เ จ้ า
ดิ ฉั น ส ภ ผ ฮ ห ก ท ก ฬ ฮ
ก ม ฬ ม พ น า โ ส ห์ อ ง ค

คาสรรพนามทีพ่ บมี.......................คา
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๒๘

เฉลยเกมปริศนาค้ นหาคาสรรพนาม
เพือ่ น ๆ ช่ วยกันหาคาสรรพนามที่ซ่อนอยู่ให้ เจอนะคะ

ข้ ติ เ ก ล้ า ก ร ะ ห ม่ อ ม
า ค จ ง ส ม ร ณ์ อ ส น ข ฬ
พ ข ภ ฮ ใ ต้ เ ท้ า พ ฬ มิ ว
ร ส ฑ ฒ อ เ ย ส ฬ ร ภ ฮ ส
ะ ค์ ก ส า ส ผ ม ดุ ะ ส์ ข ย
พุุ ก์ ย ค ต อ ข ท่ ค์ อ ง ฬ ย์
ท า ฮ ส ม ณ์ ง า นุ ง มุ อ ส
ธ ฑ ฬ อ า คุ ณ น ค ค์ ฬ ส ห
เ ม ฉ ด มุ ส ก ส ส ค์ โ ย ม
จ้ ค ช คุ ณ มั น ท อ เ อ่ ฬ ส
า จ ม ภ ค เ พ ระ คุ ณ เ จ้ า
ดิ ฉั น ส ภ ผ ฮ ห ก ท ก ฬ ฮ
ก ม ฬ ม พ น า โ ส ห์ อ ง ค

คาสรรพนามทีพ่ บมี ๑๒ คา
๑. ผม ๕. พระองค์ ๙. โยม
๒. คุณ ๖. อาตมา ๑๐. มัน
๓. ใต้เท้า ๗. เกล้ากระหม่อม ๑๑. ดิฉนั
๔. ท่าน ๘. ข้าพระพุทธเจ้า ๑๒. พระคุณเจ้า
ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๒๙

ใบความรู้ ที่ ๔
สรุปคาสรรพนาม

Li6x8e
เรามาสรุ ปเรื่ องคําสรรพนามกันหน่อยนะคะคะ

คาสรรพนาม หมายถึง คําที่ใช้แทนคํานาม


เพื่อหลีกเลี่ยงการใช้คาํ นามซํ้า ๆ กัน ทําให้ประโยค
สละสลวยขึ้น
คาสรรพนามมี ๖ ชนิด

๑. บุรุษสรรพนาม (สรรพนามใช้ในการพูด)

๑.๑ สรรพนามบุรุษที่ ๑ ใช้แทนตัวผูพ้ ดู เช่น ผม ฉัน ข้าพเจ้า


๑.๒ สรรพนามบุรุษที่ ๒ ใช้แทนตัวผูฟ้ ัง เช่น ท่าน คุณ เธอ
๑.๓ สรรพนามบุรุษที่ ๓ ใช้แทนผูท้ ี่กล่าวถึง เช่น เขา มัน ท่าน

๒. ประพันธสรรพนาม (สรรพนามเชื่อมความ) เช่น ที่ ซึ่ ง อัน

๓. วิภาคสรรพนาม (สรรพนามแทนนามที่แยกเป็ นส่ วน ๆ) เช่น

ต่าง บ้าง กัน

๔. นิยมสรรพนาม (สรรพนามชี้เฉพาะ) เช่น นี่ นี้ นัน่ นั้น โน่น


ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๓๐

๕. อนิยมสรรพนาม (สรรพนามที่ไม่ช้ ีเฉพาะและไม่เป็ นคําถาม) เช่น

ใคร ใด อะไร

๖. ปฤจฉาสรรพนาม (สรรพนามแสดงคําถาม) เช่น ใคร ที่ไหน

คาสรรพนามทาหน้ าที่ ดังนี้


๑. คําสรรพนาม จะทําหน้าที่เป็ นประธานของประโยค
๒. คําสรรพนามที่ทาํ หน้าที่เป็ นกรรมของประโยค
๓. เป็ นส่ วนเติมเต็ม
๔. ใช้เชื่อมประโยค
๕. ใช้เน้นคํานามที่อยูข่ า้ งหน้า มักเป็ นบุรุษสรรพนาม

สงิ่ ทีค
่ วรสังเกต

๑. บุรุษสรรพนามอาจเป็ นได้หลายบุรุษสรรพนาม ให้สังเกต


หน้ าที่ ของคําเป็ นสําคัญ เช่น
เรา จะทํางานบ้าน (บุรุษที่ ๑)
เรา น่ะทํางานบ้านเสร็ จแล้วหรื อ (บุรุษที่ ๒)
ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๓๑

๒. วิภาคสรรพนาม คําว่า กัน ต่าง บ้าง ถ้าตามหลังคําอื่น


เพือ่ ขยาย จะเป็ นคําวิเศษณ์ เช่น
นักเรี ยน บ้ าง เล่น บ้ าง เรี ยน (วิภาคสรรพนาม)
นักเรี ยนคนนั้นเล่น บ้ าง เรี ยน บ้ าง ขณะเรี ยน (วิเศษณ์)

๓. นิยมสรรพนาม ถ้าตามหลังคําอื่น เพือ่ ขยาย จะเป็ นคําวิเศษณ์


เช่น
นั่น เป็ นบ้านเธอ (นิยมสรรพนาม)
โรงเรี ยน นี้ สะอาด (วิเศษณ์)

๔. อนิยมสรรพนาม ใช้ในประโยคบอกเล่า/ปฏิเสธ

๕. ปฤจฉาสรรพนาม ใช้ในประโยคคําถาม

ต่อไปทําแบบทดสอบหลังเรี ยนนะคะ
คะแนนหลังเรี ยนจะต้องมากกว่าคะแนนก่อนเรี ยน
ตั้งใจทําแบบทดสอบหลังเรี ยนนะคะ
ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๓๒

แบบทดสอบหลังเรียน
ชุดที่ ๒ คาสรรพนามใช้ แทน
คาสั่ง จงทําเครื่ องหมาย  ทับหน้าตัวอักษรหน้าคําตอบที่ถูกที่สุด

๑. ข้อใดคือความหมายของคําสรรพนาม
ก. คํา ที่ใช้แสดงอารมณ์ ความรู ้สึกของผูพ้ ดู
ข. คําที่ใช้แทนคํานาม
ค. คําที่ใช้แทนชื่อ
ง. คําที่ใช้แทนคํานามที่เป็ นรู ปธรรม

๒. ข้อใดเป็ นสรรพนามชี้ระยะ
ก. ใครน่ะเห็นแต่ไกล ข. นักเรี ยนวิ่งเล่นกัน
ค. นัน่ มาแต่เช้าเชียว ง. กินนี่ให้หมด

๓. คําว่า “กัน” ในข้อใดเป็ นคําสรรพนาม


ก. กันจะพาไปหาพรุ่ งนี้ ข. เขากันคิ้วให้เพื่อน
ค. เราเป็ นเพื่อนกัน ง. เด็กกันไม่ให้ไก่จิกข้าว

๔. คําในข้อใดเป็ นได้ท้งั สรรพนามบุรุษที่ ๒ และ ๓


ก. ฉัน ข. คุณ
ค. ผม ง. ท่าน

๕. สรรพนามในข้อใดทําหน้าที่เป็ นกรรม
ก. คุณสมชายเขาไม่ค่อยตรงเวลาเลย
ข. คุณย่าท่านไม่ใคร่ ได้พกั ผ่อน
ค. พระคุณเจ้าไปไหนมาคะ
ง. คุณพ่อตีมนั เสี ยงดังสนัน่
ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๓๓

๖. ข้อใดเป็ นคําสรรพนามเน้นนามที่อยูข่ า้ งหน้า


ก. ท่านจะไปไหนครับ ข. ใครจะไปกับท่าน
ค. นี่คือเพื่อนของท่าน ง. คุณย่าท่านจะไปกับผม

๗. สรรพนามที่ใช้แทนนามที่แบ่งเป็ นส่ วน ๆ เรี ยกว่าอะไร


ก. ประพันธสรรพนาม
ข. นิยมสรรพนาม
ค. วิภาคสรรพนาม
ง. อนิยมสรรพนาม

๘. คําสรรพนามที่ใช้เชื่อมข้อความเรี ยกว่าอะไร
ก. นิยมสรรพนาม ข. ประพันธสรรพนาม
ค. ปฤจฉาสรรพนาม ง. วิภาคสรรพนาม

๙. “ฉันไม่เห็นใครขยันอย่างเธอ” คําที่ขีดเส้นใต้เป็ นคําสรรพนามชนิดใด


ก. วิภาคสรรพนาม
ข. ประพันธสรรพนาม
ค. อนิยมสรรพนาม
ง. ปฤจฉาสรรพนาม

๑๐. ข้อใดมีสรรพนามที่ใช้เชื่อมประโยค
ก. ใครแต่งเรื่ องรามเกียรติ์
ข. นํ้าฝนที่รองเอาไว้ใช้ดื่มไม่ได้
ค. เธอทําอะไรอยู่
ง. ข้อสอบวิชานี้ยากจริ ง ๆ
ชุดการเรี ยนรู ้ เรื่ องการจําแนกชนิดของคํา ชุดที่ ๒ คําสรรพนามใช้แทน หน้า ๓๔

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน

๑. ข
๒. ง
๓. ก
๔. ง
๕. ง
๖. ง
๗. ค
๘. ข
๙. ค
๑๐. ข
บรรณานุกรม

กองเทพ เคลือบพณิ ชกุล. การใช้ ภาษาไทย. กรุ งเทพฯ : โอเดียนสโตร์ , ๒๕๔๒.


กาชัย ทองหล่อ. หลักภาษาไทย. กรุ งเทพฯ : อมรการพิมพ์ , ๒๕๔๕.
กิจมาโนชญ์ โรจน์ทรัพย์. ติวเข้ มภาษาไทยโค้งสุ ดท้ ายเข้ าเตรียมอุดมศึกษา. กรุ งเทพฯ :
โรงเรี ยนวิทย์ศิลป์ Pinnacle,๒๕๕๒.
ขัณธ์ชยั อธิเกียรติ, เรณู ทวินนั ท์ และสิริพชั ร์ เจษฎาวิโรจน์. ภาษาไทย หลักภาษาและ
การใช้ ภาษา. กรุ งเทพฯ : อักษรเจริ ญทัศน์ , ๒๕๕๔.
เครื อรัตน์ เรื องแก้ว. ชนิดของคา. กรุ งเทพฯ : ปาเจรา , ๒๕๔๖.
จงชัย เจนหัตถการกิจ. เสริมปรีชาญาณวิชาภาษาไทย ม.ต. พิมพ์ครั้งที่ ค กรุ งเทพฯ :
ธนาเพลส , ๒๕๕๑.
ชนิตา ฉัตรจรัสแสง. ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6. พิมพ์ครั้งที่ ๑๑. กรุ งเทพฯ :
อักษรเจริ ญทัศน์ , ๒๕๕๑.
ช. ช้างน้อย. ภาษาชวนคิด. กรุ งเทพ: สุวรี ิ ยาสาสน์, ๒๕๔๘.
ฐะปะนีย ์ นาครทรรพ. บันไดหลักภาษา ๒. กรุ งเทพฯ : อักษรเจริ ญทัศน์ , ๒๕๔๕.
ธารง ชูทพั , วิไลพร รังสีวงศ์ และพรทิพย์ แฟงสุด. หนังสื อชุดเสริมประสบการณ์ภาษาไทย
ชั้นประถม ศึกษาปี ที่ 6. กรุ งเทพฯ : ฟิ สิกส์เซ็นเตอร์ . ๒๕๕๑.
บรรเทา กิตติศกั ดิ์. หลักภาษาไทย พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุ งเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. ๒๕๓๙
พรทิพย์ แฟงสุด. หลักภาษาไทย ม. ๒ กรุ งเทพฯ : ฟิ สิกส์เซ็นเตอร์. ๒๕๕๒.
______________ . หลักภาษาไทย ม.ต้ น กรุ งเทพฯ : ฟิ สิกส์เซ็นเตอร์. ๒๕๕๒.
ยศ พนัสสรณ์. ภาษาไทย ม.ต้ น. กรุ งเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช , ๒๕๓๙.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุ งเทพฯ :
นานมีบุคส์พบั ลิเคชัน่ ส์, ๒๕๔๖.
______________. ลักษณนาม พิมพ์ครั้งที่ 6 กรุ งเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๖.
วิเชียร เกษประทุม. คู่มือภาษาไทย ม. ๒ ท ๒๐๓ , ท ๒๐๔. กรุ งเทพฯ : พัฒนาศึกษา, ๒๕๔๓.
สถาบันภาษาไทย. บรรทัดฐานภาษาไทย เล่ ม ๓ ชนิดของคา วลี ประโยคและสั มพันธสาร.
กรุ งเทพฯ : สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, ๒๕๕๒.
อัจฉรา ชีวพันธ์. หลักภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕. กรุ งเทพฯ : กรุ งธนพัฒนา, ๒๕๔๕.

You might also like