You are on page 1of 10

KDJ. Vol.21 No.

1 January - June, 2018 65

การจัดการทางทันตกรรมในกลุม่ อาการเลนนอกซ์-
แกสโทท์: ทบทวนวรรณกรรมและรายงานผูป้ ่ วย 1 ราย
อรอุมา อังวราวงศ์* วาสิตา ค�ำเหม็ง** ธิดารัตน์ อังวราวงศ์***

บทคัดย่อ
กลุ่มอาการเลนนอกซ์-แกสโทท์ เป็นกลุ่มอาการลมชักในเด็กที่มีความรุนแรง เนื่องจากผู้ป่วยมีลักษณะของอาการชักหลากหลาย
รูปแบบ ท�ำให้ควบคุมอาการชักได้ยาก มีคลืน่ ไฟฟ้าสมองผิดปกติ และความบกพร่องในการเรียนรู้ การวินจิ ฉัยกลุม่ อาการนีต้ อ้ งอาศัยลักษณะ
ทางคลินิกร่วมกับการตรวจในห้องปฏิบัติการ การทบทวนวรรณกรรมเรื่องการจัดการทางทันตกรรมส�ำหรับผู้ป่วยกลุ่มอาการนี้ยังมีน้อย
การจัดการที่เหมาะสมต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างบุคลากรทางการแพทย์หลากหลายสาขา วัตถุประสงค์ของบทความนี้ เพื่อทบทวน
วรรณกรรมเกี่ยวกับอุบัติการณ์ ลักษณะทางคลินิก การวินิจฉัย ภาวะแทรกซ้อน และการจัดการทางทันตกรรมส�ำหรับกลุ่มอาการ
เลนนอกซ์-แกสโทท์ รวมถึงรายงานผู้ป่วย

ค�ำส�ำคัญ: การจัดการทางทันตกรรม/ ช่องปาก/ กลุ่มอาการเลนนอกซ์-แกสโทท์

บทนำ�
กลุม่ อาการเลนนอกซ์-แกสโทท์ (Lennox-Gastaut ที่ พ บในเด็ ก อุ บัติการณ์ เ กิ ด โรค 1 ใน 100,000 ของ
syndrome: LGS) เป็นกลุ่มอาการลมชักในเด็กที่มีความ ประชากรต่อปี6 มีสาเหตุมาจากหลากหลายปัจจัย2 ผู้ป่วย
รุนแรง (Severe childhood epileptic encephalopathies)1-3 ส่วนใหญ่ร้อยละ 75 อยู่ในกลุ่มที่สามารถหาสาเหตุของการ
เนื่องจากผู้ป่วยมีลักษณะของอาการชักหลายชนิด และไม่ เกิดโรคได้8 เช่น กรณีสมองได้รับการกระทบกระเทือน
ตอบสนองต่อยากันชัก ควบคุมอาการชักได้ยาก3 ผู้ป่วยมัก ในช่ ว งก่ อ นและหลั ง คลอด ขาดออกซิ เ จน สมองรู ป ร่ า ง
จะมีภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่น พัฒนาการล่าช้า ความพิการ ผิดปกติ ภาวะติดเชื้อ หรือมะเร็ง ผู้ป่วยบางรายมีผลมาจาก
และเสียชีวิตได้ ลักษณะอาการชักในผู้ป่วยกลุ่มอาการนี้ พันธุกรรม1 อย่างไรก็ตามผู้ป่วยร้อยละ 25-30 ไม่สามารถ
มีหลายชนิด ได้แก่ อาการชักแบบแข็งเกร็ง (Tonic seizure) หาสาเหตุที่ชัดเจนได้ 7, 8
ชักตัวอ่อน (Atonic seizure) ชักเหม่อลอย (Absence seizure) ลักษณะของกลุ่มอาการ ผู้ป่วยกลุ่มอาการ LGS
และชักสะดุ้ง (Myoclonic seizure) พบร่วมกับลักษณะผสม มี ลั ก ษณะทางคลิ นิ ก และลั ก ษณะทางห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร
ของคลื่นไฟฟ้าสมอง (Electroencephalography) มีลักษณะ ดังต่อไปนี้
Diffuse slow spike-wave complex ความถีน่ อ้ ยกว่า 3 เฮิรต์ 1, 4 ลักษณะทางคลินิกผู้ป่วยส่วนใหญ่มีอาการครั้งแรก
จากอาการต่างๆ เหล่านี้ส่งผลต่อการรักษาทางทันตกรรม ในช่วงอายุ 3-5 ปี3, 7 ประมาณร้อยละ 20-50 ของผู้ป่วย
บทความนี้เป็นการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับกลุ่มอาการ เคยมีอาการชักผวาในเด็ก (Infantile spasms) ร่วมกับความ
เลนนอกซ์-แกสโทท์ และรายงานผู้ป่วย 1 ราย ซึ่งจะเป็น ผิ ด ปกติ ข องสมอง เรี ย กว่ า กลุ ่ ม อาการเวสท์ (West
ความรู้พื้นฐานในการจัดการในกลุ่มอาการเหล่านี้เพื่อเกิด syndrome) เกิดน�ำมาก่อน เมื่ออายุมากขึ้นชนิดของการชัก
ประโยชน์แก่ทันตบุคคลากร และผู้เกี่ยวข้องทั่วไป จะเปลี่ยนไป มีอาการชักได้หลายชนิด และผู้ป่วยมักจะมี
ระบาดวิทยาและสาเหตุการเกิดโรค (Epidemiology ปัญหาในด้านพัฒนาการล่าช้า3, 6
and etiology) กลุ่มอาการชนิดนี้พบได้ในเพศชายมากกว่า อาการชักหลากหลาย (Multiple seizure type)
เพศหญิง3, 5-7 มีความชุกร้อยละ 1-2 ของโรคลมชักทั้งหมด อาการชักเกร็ง (Tonic seizure) ขณะนอนหลับ
เป็นลักษณะพื้นฐานส�ำหรับการวินิจฉัย1, 3, 8 โดยมีลักษณะ
* ภาควิชาทันตกรรมส�ำหรับเด็ก คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
** ฝ่ายทันตกรรม โรงพยาบาลบรบือ อ�ำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม
*** ภาควิชาทันตกรรมประดิษฐ์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
66 ว.ทันต.ขอนแก่น, ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2561

การหดเกร็งของกล้ามเนื้อเป็นเวลาหลายวินาที3 นอกจากนี้ เรียกว่า spike (ระยะเวลาน้อยกว่า 70 มิลลิวินาที) ความถี่


ยังพบลักษณะการชักอื่นๆ ร่วมกันหลายแบบ คือ อาการชัก น้อยกว่า 3 เฮิร์ต1 หรือมีลักษณะคลื่นแหลม (70–200
ตัวอ่อน (Atonic seizure) อาการชักเหม่อลอย (Absence มิลลิวินาที) ตามด้วยคลื่นบวกขึ้นสูง “trough” และหลังจาก
seizure) และลักษณะการชักกระตุกของแขนขา (Myoclonic นั้นมีคลื่นลดลงต�่ำ (350–400 มิลลิวินาที) โดยจะเป็น
jerks)2 บางคลื่นไฟฟ้าสมอง2, 3, 8
ภาวะชั ก ต่ อ เนื่ อ งที่ ไ ม่ มี อ าการเกร็ ง กระตุ ก การวินิจฉัยโรค
(Nonconvulsive status epilepticus; NCSE) คือ ภาวะชัก การวินจิ ฉัยทีช่ ดั เจนผูป้ ว่ ยในกลุม่ อาการนีย้ งั คงเป็น
ต่อเนื่องตั้งแต่ 30 นาทีขึ้นไป โดยมีอาการกล้ามเนื้อเกร็ง ถกเถียงกันอยู่ ปัญหาทีพ่ บคือกลุม่ อาการนีย้ งั ไม่มตี วั ชีว้ ดั ทาง
กระตุกเพียงเล็กน้อย หรือแสดงอาการไม่เด่นชัดเจน ลักษณะ ชีวภาพ (Biological maker) อีกทัง้ ข้อจ�ำกัดในเรือ่ งสาเหตุการ
ทางคลินิกคือมีอาการชักเกร็งหมดสติ ล้มลงทันที และเสี่ยง เกิดโรค และลักษณะของกลุ่มอาการ6 ผู้ป่วยที่ได้รับการ
ต่อการบาดเจ็บ พบได้ประมาณ ร้อยละ 50 ของกลุ่มอาการ วินิจฉัยมีเกณฑ์พื้นฐาน 3 อย่าง (Symptomatic triad) ได้แก่
LGS 3, 7 ส่ ว นอาการชั ก ชนิ ด อื่ น ๆ ที่ พ บได้ คื อ ชนิ ด ชั ก มีอาการชักหลากหลายชนิด ตรวจพบคลื่นไฟฟ้าสมองผิด
เหม่อลอยพบได้ประมาณร้อยละ 65 ชนิดชักแบบตัวอ่อน ปกติ และความบกพร่องทางการรับรู1,้ 6, 12 ลักษณะอาการ
พบได้ประมาณร้อยละ 60 และอาการชักเกร็งกระตุกทั้งตัว ชักทีพ่ บบ่อย ได้แก่ ชักเกร็ง ชักตัวอ่อน ชักเหม่อลอย และชัก
(Generalized tonic clonic seizure) พบได้ประมาณร้อยละ 555 สะดุง้ ลักษณะต่อมาทีพ่ บคือคลืน่ ไฟฟ้าสมองมีความผิดปกติ
ความบกพร่องทางการรับรู้ (Cognitive impairment, แบบ Slow spike wave complexes ความถี่น้อยกว่า 3 เฮิร์ต
learning disabilities) ในขณะตืน่ และแบบ Fast rhythmic bursts ความถี่ 10 เฮิรต์
กลุ่มอาการนี้จะมีความผิดปกติของสมองในวัยเด็ก ในขณะผู้ป่วยนอนหลับ1, 2 และอาการที่ส�ำคัญคือพัฒนาการ
ท�ำให้พบลักษณะส�ำคัญ คือ ความบกพร่องทางการรับรู้และ ล่าช้า สิ่งส�ำคัญในการวินิจฉัยโรคต้องอาศัยลักษณะทาง
สติปัญญาท�ำให้มีผลกับการเรียนรู้ ซึ่งความบกพร่องของ คลินกิ ร่วมกับลักษณะคลืน่ ไฟฟ้าสมองโดยอาจจะยังไม่แสดง
การเรียนรู้นั้น ท�ำให้พัฒนาการช้าพบได้ร้อยละ 20-60 อาการทั้งหมดในช่วงแรกของการเกิดโรค2, 3
แต่บางรายยังมีการเรียนรูอ้ ยูใ่ นเกณฑ์ปกติ แต่มปี ญ ั หาในการ ผูป้ ว่ ยบางรายมีประวัตขิ าดอากาศหายใจในช่วงแรก
ท�ำกิจวัตรประจ�ำวัน ซึง่ พบได้รอ้ ยละ 10-20 โดยส่วนใหญ่
2, 3
เกิด (Perinatal asphyxia) มีอาการชักผวาในเด็ก (Infant
เมื่อเวลาผ่านไประดับของสติปัญญา (IQ) จะลดลง6, 9, 10 spasm) แล้วจึงมีการด�ำเนินโรคต่อเป็นกลุม่ อาการนี้ แต่บาง
จากการศึกษาในระยะยาวของผูป้ ว่ ยกลุม่ อาการ LGS มีภาวะ กรณีไม่สามารถทราบประวัตทิ ชี่ ดั เจนได้ตอ้ งอาศัยการตรวจ
ปัญญาอ่อนได้ถงึ ร้อยละ 992 ส�ำหรับปัจจัยเสีย่ งทีท่ ำ� ให้ผปู้ ว่ ย ร่างกายอย่างละเอียด และตรวจระดับสติปัญญาเพื่อช่วยให้
กลุม่ นีม้ คี วามบกพร่องทางสติปญ ั ญา ได้แก่ ภาวะชักต่อเนือ่ ง ทราบสาเหตุ ส่วนใหญ่จะตรวจพบว่ามีการเจริญของสมอง
ชนิดไร้เกร็งกระตุก ผู้ป่วยที่มีอาการชักที่ทราบสาเหตุ ผู้ป่วย ส่วนเปลือกผิดปกติ (Cortical dysplasia) กลุ่มอาการชนิดนี้
ที่เคยได้รับการวินิจฉัยเป็นกลุ่มอาการเวสท์มาก่อน และ แพทย์มกั จะให้การวินจิ ฉัยได้ลา่ ช้า เนือ่ งจากชนิดของอาการ
มีอาการชักตั้งแต่อายุยังน้อย2 ชักมีการเปลี่ยนแปลงไปตามเวลา และผู้ป่วยบางรายยังไม่
ลักษณะทางห้องปฏิบัติการ ผู้ป่วยกลุ่มอาการ LGS แสดงอาการทั้งหมดในช่วงเริ่มแรกของการเกิดโรค สิ่งที่
จะมีลักษณะคลื่นไฟฟ้าสมองผิดปกติ ส�ำคัญผูป้ ว่ ยต้องมีอาการทัง้ ทางคลินกิ ร่วมกับการตรวจคลืน่
ลักษณะคลื่นไฟฟ้าสมอง การตรวจคลื่นไฟฟ้า ไฟฟ้าสมอง3
สมองพบลักษณะจ�ำเพาะคือ Slow spike wave complex การวินิจฉัยแยกโรค
ความถี่น้อยกว่า 3 เฮิร์ตในขณะตื่น และแบบ Fast rhythmic กลุม่ อาการนีจ้ ำ� เป็นต้องวินจิ ฉัยแยกจากกลุม่ อาการ
bursts ความถีป่ ระมาณ 10 เฮิรต์ ในขณะผูป้ ว่ ยนอนหลับ1,2, 11 อื่น ๆ ดังนี้
การบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมองเป็นพื้นฐานส�ำคัญในการวินิจฉัย กลุ่มอาการโดส (Dose syndrome) เป็นกลุ่มที่เกิด
กลุ่มอาการนี้ ลักษณะคลื่นไฟฟ้าสมองที่ลักษณะซับซ้อน อาการชั ก ในช่ ว งอายุ ใ กล้ เ คี ย งกั บ กลุ ่ ม อาการ LGS คื อ
KDJ. Vol.21 No.1 January - June, 2018 67

ประมาณ 1-5 ปี มีลักษณะอาการชักเป็นกล้ามเนื้อกระตุก จึงต้องใช้ยากันชักหลายชนิดร่วมกัน จากการศึกษาที่ผ่าน


รัว (Myoclonus) และลักษณะคลื่นไฟฟ้าสมอง 5 เฮิร์ต มายังไม่มีค�ำแนะน�ำชัดเจนในการใช้ยากันชักในการรักษา
แต่กลุ่มอาการนี้มักไม่พบความผิดปกติของสติปัญญา2 กลุ่มอาการ LGS8 ซึ่งผู้ป่วยกลุ่มอาการนี้ยังไม่มีการศึกษา
กลุ่มอาการเวสท์ (West syndrome) หรือ อาการ ทีร่ ะบุชดั เจนในการรักษาว่าใช้ยาชนิดใดในการรักษาผูป้ ว่ ย5
ชักผวา (Infantile spasm; IS) มักพบในเด็กแรกเกิด ช่วงขวบ ดังนั้นการให้ยารักษาผู้ป่วยนั้นมีความหลากหลายตามชนิด
ปีแรก ผูป้ ว่ ยกลุม่ นีจ้ ะมีอาการชักเกร็ง และอาการชักตัวอ่อน ของการชัก3, 7ซึ่งกลุ่มอาการนี้จะมีอาการชักหลายรูปแบบ3
เช่นเดียวกันกับกลุม่ อาการ LGS แต่ลกั ษณะคลืน่ ไฟฟ้าสมอง ดังนั้นกลุ่มยาที่ใช้จึงมีหลากหลายชนิด เช่น วัลโพรอิกแอซิด
เป็นแบบ Hypsarrhythmia ผู้ป่วยจะมีความพิการทางสมอง (Valproic acid) เบ็นโซไดอาเซพีน (Benzodiazepine)
ได้รอ้ ยละ 71-90 ท�ำให้มพี ฒ ั นาการล่าช้า การพยากรณ์โรค รูฟนิ าไมด์ (Rufinamide) โทพิราเมท (Topiramate) เป็นต้น5, 7
พบผู้ป่วยประมาณ 1 ใน 3 จะเสียชีวิตในช่วง 3 ปีแรก และ นอกจากนี้การรักษาในผู้ป่วยบางรายที่ไม่ตอบสนองต่อยา
ผูป้ ว่ ยเสียชีวติ ก่อนอายุ 10 ปี พบได้ถงึ ร้อยละ 50 นอกจากนี้ กันชักต้องอาศัยการรักษาอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น การบริโภค
ยังมีโอกาสพัฒนาเป็นโรคลมชักชนิดอืน่ ๆได้ถงึ ร้อยละ 50-70 อาหาร การผ่าตัด การฉีดกระตุ้นเส้นประสาท เป็นต้น4, 7
ซึง่ มีโอกาสพัฒนาไปเป็นกลุม่ อาการ LGS ร้อยละ 18-50 13 การรักษาแบบไม่ใช้ยา การลดหรืองดการบริโภค
การพยากรณ์โรค อาหารประเภทแป้งและน�้ำตาล (Ketogenic diet) ถูกน�ำมา
ผู้ป่วยมีพยากรณ์โรคไม่ดี มีอัตราการตายร้อยละ ใช้รักษาโรคลมชักที่มีการดื้อยา5’7 และให้ผลการรักษาที่ดี
5 โดยมักจะเสียชีวิตโดยการชักแบบชักเกร็งต่อเนื่อง8
2, 7
ในผู้ป่วยกลุ่มอาการ LGS การรักษาโดยใช้อาหารให้ผลที่ดี
ความเสี่ยงในการเสียชีวิตของผู้ป่วยกลุ่มอาการนี้สูงกว่า ต่อผู้ป่วยตั้งแต่วันแรกที่เริ่มรักษา ช่วยลดอาการชักในผู้ป่วย
ประชากรทั่วไปถึง 14 เท่า2 สาเหตุการเสียชีวิตของผู้ป่วย ได้มากกว่าร้อยละ 505 แต่วิธีการนี้ผู้ป่วยต้องปฏิบัติตาม
เนื่องจากไม่สามารถควบคุมอาการชักได้ หรืออุบัติเหตุจาก อย่างเคร่งครัด แต่ยังไม่มีผลการรักษาระยะยาว ส่วนการ
การล้ม (Drop attack) ผู้ป่วยมากกว่าร้อยละ 80-90 จะมี รั ก ษาโดยการผ่ า ตั ด แยกสมอง (Corpus callosotomy)
อาการชักจนโตเป็นผูใ้ หญ่2 และโอกาสหายขาดมีเพียงร้อยละ ให้ผลมีประสิทธิภาพ หากทราบต�ำแหน่งของพยาธิภาพ
0-76 นอกจากปัญหาอาการชักแล้วผู้ป่วยยังไม่สามารถ ชัดเจน ซึ่งการรักษาผู้ป่วยในกลุ่มอาการเหล่านี้มีเป้าหมาย
ช่วยเหลือตนเองได้ ผู้ป่วยบางรายมีสติปัญญาแย่ลงเรื่อยๆ เพื่อลดอาการชัก และส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยรวม
ผู้ป่วยที่พยากรณ์โรคไม่ดี ได้แก่ กรณีผู้ป่วยที่มีภาวะชักต่อ ทั้งครอบครัว14
เนื่องที่ไม่มีอาการเกร็งกระตุกเป็นประจ�ำ กรณีผู้ป่วยเคยมี การฉี ด ยากระตุ ้ น เส้ น ประสาทวากั ส (Vagal
ประวัติเป็นกลุ่มอาการเวสท์มาก่อน กรณีผู้ป่วยที่ทราบ stimulation) เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ถูกน�ำมาใช้โดยมีเป้าหมาย
สาเหตุการเกิดโรคได้ และเริ่มมีอาการชักตั้งแต่อายุยังน้อย2 เพื่ อ ลดจ� ำ นวน ระยะเวลา และความรุ น แรงของการชั ก
แนวทางในการรักษา โดยการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าอย่างอ่อนที่เส้นประสาท
การรักษากลุม่ อาการ LGS อย่างมีประสิทธิภาพยัง วากัสข้างซ้าย และเส้นประสาทขนาดใหญ่ หลังการรักษา
เป็นข้อจ�ำกัด ซึ่งประกอบด้วยแนวทางหลักในการรักษา คือ พบว่าผูป้ ว่ ยกลุม่ อาการ LGS มากกว่าร้อยละ 50 มีอาการชัก
การรักษาแบบใช้ยา การรักษากลุ่มอาการโรค ลดลง4 วิธกี ารนีเ้ ป็นวิธกี ารเสริมมักใช้ควบคูก่ บั ยากันชักกรณี
LGS ไม่สามารถควบคุมอาการชักได้ทั้งหมดโดยใช้ยาเพียง ที่ไม่สามารถควบคุมอาการชักได้ และการผ่าตัดแยกสมอง
ชนิดเดียว4 ยากันชักชนิดดั้งเดิม หรือ Classic antiepileptic ไม่ส�ำเร็จ5, 7
drugs (AEDs) เช่นยาเฟนิโทอิน (Phenytoin) และ ยาคาร์ การจัดการทางทันตกรรม
บามาซีปีน (Carbamazepine) มีประสิทธิภาพในการลด การจั ด การทางทั น ตกรรมในผู ้ ป ่ ว ยโรคลมชั ก
อาการชักชนิดชักแบบแข็งเกร็ง และอาการชักแบบกระตุก ควรจะมีการซักประวัติผู้ป่วยอย่างละเอียด โดยเฉพาะยา
เกร็ง แต่ทำ� ให้เกิดอาการชักชนิดอืน่ ๆ เพิม่ มากขึน้ การเลือก ประจ� ำ ตั ว ที่ ผู ้ ป ่ ว ยรั บ ประทานทั้ ง หมด เพื่ อ พิ จ ารณาผล
ยากั น ชั ก ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพดี ที่ สุ ด อย่ า งเดี ย วยั ง ท�ำ ได้ ย าก ข้างเคียงของยา และผลกระทบต่อช่องปาก ทันตแพทย์
68 ว.ทันต.ขอนแก่น, ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2561

ควรซักประวัติเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากของผู้ป่วย การจั ด การพฤติ ก รรมส� ำ หรั บ ผู ้ ป ่ ว ยเด็ ก พิ เ ศษที่


เพื่อให้ค�ำแนะน�ำในการท�ำความสะอาดช่องปากให้ผู้ป่วย มีภาวะชักที่ไม่มีภาวะบกพร่องทางพัฒนาการและสติปัญญา
มีสขุ ภาพเหงือกและฟันทีด่ ี ระหว่างท�ำการรักษาหลีกเลีย่ งสิง่ ให้การดูแลเหมือนเด็กทั่วไป ส�ำหรับเด็กที่มีภาวะบกพร่อง
กระตุน้ โดยระมัดระวังในการปรับโคมไฟยูนติ ไม่ให้สอ่ งเข้าตา ทางพัฒนาการและสติปัญญาร่วมด้วยสามารถสร้างการ
ผู้ป่วย ก่อนท�ำการรักษาทางทันตกรรมต้องมั่นใจว่าผู้ป่วย สื่อสารที่มีประสิทธิภาพได้โดยเน้นอวัจนภาษา สิ่งที่ส�ำคัญ
รับประทานยากันชักครบตามแพทย์สงั่ เพือ่ ลดความเสีย่ งใน ในการจัดการผู้ป่วยที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการคือ
การเกิดอาการชักระหว่างท�ำการรักษาทางทันตกรรม11, 15 การให้ทันตสุขศึกษาแก่ผู้ดูแล เนื่องจากผู้ป่วยไม่สามารถ
ปัญหาที่พบได้บ่อยที่สุด คือ ภาวะเหงือกงอกเกิน ดูแลตนเองได้และมักจะมีปญ ั หาในระบบทางเดินอาหาร เช่น
(Gingival hypertrophy) โดยเฉพาะเหงือกบริเวณฟันหน้าด้าน การบดเคีย้ ว การกลืน จึงเพิม่ ความเสีย่ งในการเกิดฟันผุ และ
ริมฝีปากซึง่ สัมพันธ์กบั การใช้ยาเฟนิโทอิน และฟีโนบาร์บทิ อล ปริทันต์อักเสบ ส�ำหรับในระหว่างการรักษาทางทันตกรรม
ต้องได้รบั การรักษาปริทนั ต์ หรือการผ่าตัดแต่งเหงือกในราย นัน้ เด็กกลุม่ นีจ้ ะมีความอดทนต่อเสียง รสชาติ และสิง่ กระตุน้
ที่มีความรุนแรง ภาวะเหงือกงอกเกินอาจส่งผลต่อการขึ้น ต่างๆ ได้น้อยกว่าเด็กทั่วไปจึงมีแนวโน้มในการให้รักษา
ของฟั น การเรี ย งตั ว ของฟั น การมี เ ศษอาหารติ ด และ ภายใต้ยาท�ำให้สงบ หรือการดมยาสลบ19
กลิ่นปาก15, 16 ส�ำหรับการบูรณะฟันในผู้ป่วยที่มีประวัติการ การรายงานผู้ป่วยในบทความนี้ได้ผ่านการรับรอง
ชั ก บ่ อ ย ๆ ควรเลื อ กใช้ วั ส ดุ ที่ แ ข็ ง แรงทนทาน ป้ อ งกั น จากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มหาวิทยาลัย
การแตกหัก หรือเคลือ่ นหลุดระหว่างมีอาการชัก17 การถอนฟัน ขอนแก่นแล้วตามเอกสาร เลขที่ HE 602374
หรือท�ำศัลยกรรมช่องปากในผูป้ ว่ ยโรคลมชักทีไ่ ด้รบั ยากันชัก
มาเป็นเวลานานมีข้อควรระวัง เช่น ภาวะเลือดหยุดยากจาก
รายงานผู้ป่วย
ผลข้างเคียงของยาวัลโพรอิกแอซิด ระวังการแตกหักของ
ผู้ป่วยเด็กหญิงไทยอายุ 6 ปี มารับการตรวจรักษา
กระดูกเนือ่ งจากยานิโทอิน ลีโนบาร์บทิ อล เพิม่ เมตาบอลิซมึ
ทางทันตกรรมที่คลินิกทันตกรรมส�ำหรับเด็ก คณะทันต
ของวิตามินดี ซึ่งอาจท�ำให้กระดูกแตกหักง่าย นอกจากนี้
แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มาด้วยอาการส�ำคัญคือ
ยังพบปัญหาในช่องปาก เช่น การบาดเจ็บจากการกัดลิ้น
ฟันหน้าตัดบนเปลี่ยนสี จากการซักประวัติครอบครัว ไม่มี
ฟันได้รบั อุบตั เิ หตุ อาจส่งผลต่อใบหน้าและขากรรไกร ผูป้ ว่ ย
ประวัติบุคคลในครอบครัวเป็นโรคลมชัก ผู้ป่วยเป็นลูกคน
มีความเสีย่ งในการเกิดกระดูกแตกหักเนือ่ งจากยากันชัก เช่น
เดียว ขณะมารดาตั้งครรภ์ ไม่มีอาการไข้ติดเชื้อ หรือประสบ
ยาเฟนิโทอิน และฟีโนบาร์บทิ อล มีผลต่อเอนไซม์เปลีย่ นแปลง
อุบัติเหตุใดๆ คลอดเมื่อมีอายุครรภ์ 7 เดือน แรกเกิดมี
การเผาผลาญ และระดับวิตามินดี ซึง่ สัมพันธ์กบั การเกิดโรค
น�้ำหนักตัว 1,340 กรัม หลังคลอดแพทย์ให้ผู้ป่วยนอน
กระดูกบาง (Osteopenia) และ โรคกระดูกอ่อน (Osteomalacia)18
สิ่งส�ำคัญหากผู้ป่วยมีอาการชักระหว่างท�ำหัตถการ โรงพยาบาลต่ออีกเป็นเวลา 1 เดือน เนือ่ งจากมีภาวะติดเชือ้
ต้องป้องกันอุบัติเหตุต่างๆ ระมัดระวังอันตรายโดยตรงกับ ในกระแสเลือด ได้รับยาฆ่าเชื้อ เมื่อแรกเกิดได้รับการตรวจ
ร่างกายส่วนต่างๆได้ จัดให้ผู้ป่วยนอนราบ และรีบน�ำเครื่อง สมอง และพัฒนาการพบว่าผูป้ ว่ ยมีพฒ ั นาการปกติดี เด็กยิม้ ได้
มือทางทันตกรรมออกจากช่องปากให้หมด ป้องกันการส�ำลัก เมื่อถูกจ้องหน้า สามารถชันคอได้ และหันตามเสียงได้ตาม
ซึ่งอาจอุดกั้นหลอดลม15, 16 เป็นผลท�ำให้เกิดภาวะสมอง ปกติ มารดาให้ประวัติว่าเริ่มมีอาการชักครั้งแรก เมื่อผู้ป่วย
ขาดออกซิเจนได้ เตรียมออกซิเจนไว้และให้ทันทีที่มีการชัก อายุ 1 เดือน หลังจากได้รบั วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก
กรณีผปู้ ว่ ยมีอาการชักนานกว่า 5 นาทีและไม่รสู้ กึ ตัวให้ตาม ไอกรน (Diphtheria-tetanus-pertussis 3: DTP3) โดยมีไข้
แพทย์โดยด่วน เนื่องจากจ�ำเป็นต้องใช้ทีมแพทย์ฉุกเฉิน15 สู ง ร่ ว มกั บ อาการชั ก เกร็ ง ค้ า งเป็ น ระยะ จึ ง พาผู ้ ป ่ ว ยไป
ภายหลังผู้ป่วยหยุดชักควรส่งตัวไปพบแพทย์เพื่อให้การ พบแพทย์ที่โรงพยาบาลชุมชน อาการทุเลาลงเมื่อไข้ลด
วินิจฉัยและดูแลรักษาต่อ ในการรักษาทางทันตกรรมควร ภายหลังกลับบ้านมาพักรักษาตัวประมาณ 3 วัน ผู้ป่วยมี
พิจารณาแบ่งการรักษาออกเป็นช่วงสั้นๆ และท�ำการรักษา อาการชักเกร็งกระตุก แขนขางอ ผงกศีรษะ เป็นชุด ชุดละ
ที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน18 ประมาณ 10 ครั้ง วันละ 5-6 ชุด แพทย์ให้ค�ำวินิจฉัย
KDJ. Vol.21 No.1 January - June, 2018 69

เบือ้ งต้นเป็นอาการชักผวาในเด็ก แพทย์จา่ ยยาคลอนาซีแพม ยาทิซานิดีน (Tizanidine) ขนาดและปริมาณที่รับประทาน


(Clonazepam) ซึ่ ง เป็ น ยาในกลุ ่ ม เบ็ น โซไดอาเซพี น แต่ละชนิดขึ้นกับแพทย์ประจ�ำตัว
(Benzodiazepine)ให้รับประทาน อาการทุเลาลง ต่อมาเมื่อ ผู้ป่วยมีประวัติทางทันตกรรม คือ เมื่ออายุ 5 ปี
ผู ้ ป ่ ว ยอายุ 7 เดื อ น ผู ้ ป ่ ว ยมี อ าการชั ก รุ น แรงโดยมี ก าร ผู้ป่วยได้รับการถอนฟัน 2 ซี่ และผนึกหลุมและร่องฟัน 4 ซี่
เคลื่ อ นไหวแขนขา ปั ด ไปมาไร้ ทิ ศ ทางวั น ละ 2-3 ครั้ ง กุมารแพทย์อนุญาตให้ท�ำการรักษาทางทันตกรรมได้โดย
มีอาการชักถีข่ นึ้ ชักกระตุกค้าง ชักแบบผวา ชักเกร็ง มีอาการ ผู ้ ป ่ ว ยต้ อ งรั บ ประทานยากั น ชั ก อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และขณะ
เขียว จึงได้รับการส่งต่อมารักษาที่โรงพยาบาลศรีนครินทร์ ทีท่ ำ� การรักษาทางทันตกรรมต้องระมัดระวังสิง่ ทีก่ ระตุน้ ภาวะ
และเมื่ออายุ 9 เดือนแพทย์ให้การวินิจฉัยว่าเป็น West ชัก เช่น ความเจ็บปวด ความเครียด แสงไฟจากยูนติ เป็นต้น
syndrome ต่อมาเมื่อผู้ป่วยอายุ 1 ปี 11 เดือน ผู้ป่วยเปลี่ยน รวมไปถึงทันตแพทย์ต้องก�ำจัดเชื้อโรคในช่องปากของผู้ป่วย
รู ป แบบในการชั ก จากมี อ าการเกร็ ง กระตุ ก ทั้ ง 2 ข้ า ง เพื่ อ ลดความเสี่ ย งในการติ ด เชื้ อ ในโพรงอากาศข้ า งจมู ก
กลายเป็นแขนขากระตุกเพียงข้างเดียว ชักแบบแขนขาเหยียด (sinusitis) หรือเยือ่ หุม้ สมองอักเสบ (meningitis) ทีอ่ าจเกิด
แพทย์ประจ�ำตัวได้ตรวจวินิจฉัยคลื่นไฟฟ้าสมอง (EEG) ขึ้นได้
เพิ่มเติมและให้การวินิจฉัยเป็น LGS เมื่ออายุ 1 ปี 11 เดือน การตรวจร่างกาย ผู้ป่วยมีน�้ำหนัก 13.4 กิโลกรัม
แพทย์จา่ ยยาคือ ยาคลายกล้ามเนือ้ บาโคลเฟน (Bacclofen) อยู่ในเกณฑ์น�้ำหนักน้อยกว่าปกติ และไม่สามารถประเมิน
ยาโทพิราเมท (Topiramate) ยาคลอนาซีแพม และยาลาโมไตรจีน ส่วนสูงได้ เนื่องจากผู้ป่วยไม่สามารถยืนได้ (ดังรูปที่ 1)
(Lamotrigine) แต่ผู้ป่วยยังไม่ตอบสนองต่อยา เมื่อผู้ป่วย จากการตรวจภายนอกช่องปาก ใบหน้าสมมาตร ใบหน้า
มีอายุ 5 ปี แพทย์จงึ ให้การรักษาโดยการฉีดยาลดการท�ำงาน ด้านข้างเป็นแบบตรง (straight profile) ตรวจภายในช่องปาก
ของเส้นประสาท หลังจากนัน้ ผูป้ ว่ ยไม่มอี าการชักใดๆ แพทย์ พบคราบจุลนิ ทรียบ์ ริเวณคอฟันโดยเฉพาะฟันหน้าบน รูปร่าง
จึงพิจารณาปรับลดขนาดของยากันชักลง ของฟันปกติ เป็นระยะฟันน�้ำนม ฟันหน้าตัดข้างน�้ำนมด้าน
จากการศึ ก ษาประวั ติ พ บว่ า ภายหลั ง มี ภ าวะชั ก ขวาเปลี่ยนสี ภายหลังจากรักษารากฟันเมื่ออายุ14 5 ปี ไม่มี
พัฒนาการของผู้ป่วยช้าลง ไม่สามารถชันคอได้ ไม่สบตา อาการใดๆ ไม่พบตุ่มหนอง พบฟันหน้าตัดน�้ำนมซี่กลาง
ไม่สามารถหยิบจับสิ่งของได้ และไม่หันตามเวลามีเสียง ทั้งสองซี่ผุด้านใกล้กลางและด้านไกลกลาง บริเวณฟันกราม
จากการตรวจของแพทย์ พ บว่ า ผู ้ ป ่ ว ยเริ่ ม ไม่ มี พั ฒ นาการ น�ำ้ นมบนซีท่ หี่ นึง่ ทัง้ สองข้างเป็นสันเหงือกไร้ฟนั ฟันน�ำ้ นมซี่
เมือ่ อายุ 8 เดือน ปัจจุบนั ไม่มอี าการชักมาประมาณ 2 ปีแล้ว อื่นขึ้นเต็มซี่ ไม่พบฟันผุซี่อื่นๆในช่องปาก ฟันกรามน�้ำนม
และพบแพทย์เป็นประจ�ำทุก 3 เดือนทีโ่ รงพยาบาลศรีนครินทร์ ได้รับการผนึกหลุมและร่องฟัน เมื่อประมาณ 1 ปี ก่อน วัสดุ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น ยาทีร่ บั ประทานในปัจจุบนั คือ ยาคลอ อุดอยู่ในสภาพดี (ดังรูปที่ 2)
นาซีแพม ยาลาโมไตรจีน ยาโทพิราเมท ยาบาโคลเฟน และ

A B C F

D E

รูปที่ 1 ลักษณะสภาพร่างกายของผู้ป่วยโดยทั่วไป A) ลักษณะสภาพร่างกาย B) มือข้างขวา C) มือข้างซ้าย D) เท้าข้างขวา E) เท้าข้างซ้าย


F) หน้าตรง
Figure 1 General
รูปที physical
1 ภาพถ่appearance in patient
ายลักษณะสภาพร่ A) Physical
างกายของผู appearance
ป้ ่ วยโดยทั ว ไป B)A)Right hand side C)างกาย
ลักษณะสภาพร่ Left hand
B) มืside D) Right foot side
อข้างขวา
E) Left foot side F) Straight face
C) มือข้างซ้าย D) เท้าข้างขวา E) เท้าข้างซ้าย F) หน้าตรง
Figure 1 …………….
รูปที 1 ภาพถ่ายลักษณะสภาพร่ างกายของผูป้ ่ วยโดยทัว ไป A) ลักษณะสภาพร่ างกาย B) มือข้างขวา
C) มือข้างซ้70าย D)ว.ทั
เท้านข้ต.ขอนแก่
างขวา น,E)ปีทเท้ี่ 21าข้ฉบั
างซ้บาทีย่ 1 มกราคม
F) หน้า-ตรง
มิถุนายน 2561
Figure 1 …………….

ทันตกรรมในผู้ป่วยรายนี้สามารถท�ำได้ เนื่องจากแพทย์
ประจ�ำตัวสามารถควบคุมอาการชักได้ดี ผู้ป่วยรับประทาน
ยากันชักอย่างต่อเนื่อง ทันตแพทย์เน้นย�้ำกับผู้ปกครองให้
ผูป้ ว่ ยรับประทานยากันชักให้ครบตามทีแ่ พทย์สงั่ นัดรับการ
รั ก ษาในช่ ว งเช้ า ให้ ผู ้ ป ่ ว ยหลั บ พั ก ผ่ อ นอย่ า งเพี ย งพอ
รับประทานอาหารเช้าเพื่อให้มีกลูโคสในกระแสเลือดเพียง
พอ ช่วยลดความเครียดในระหว่างการท�ำหัตถการ หลีกเลีย่ ง
สิ่งกระตุ้นโดยระมัดระวังในการปรับโคมไฟยูนิตไม่ให้ส่อง
เข้าตาผู้ป่วย เตรียมออกซิเจน และเครื่องวัดสัญญาณชีพไว้
ในกรณีฉุกเฉินระหว่างการท�ำหัตถการหมั่นสังเกตอัตรา
การหายใจของผู้ป่วย นอกจากนี้พยายามดึงดูดความสนใจ
โดยการเปิดเพลงและเล่านิทานประกอบขณะท�ำฟัน เนือ่ งจาก
ผู้ปกครองให้ข้อมูลว่าผู้ป่วยชอบฟังเพลง จากนั้นนัดตรวจ
รูปที่ 2 ภาพถ่ายในช่องปากก่อนการรักษา A) ระนาบสบบน B) ฟัน สุขภาพช่องปากซ�้ำทุก 3 เดือน เพื่อส่งเสริมป้องกันและ
หน้าบน C) ฟันหน้าล่าง D) ระนาบสบล่าง เฝ้าระวังโรคโดยเคลือบฟลูออไรด์วาร์นชิ ประเมินและแนะน�ำ
Figure 2 Preoperative intraoral photographs A) Maxillary occlusal การดูแลสุขภาพช่องปาก
view B) Maxillary frontal view C) Mandibular frontal view การติดตามผล หลังจากการติดตามผลการรักษา
D) Mandibular occlusal view 3 เดือน เพื่อประเมินการสภาวะช่องปากและวัสดุบูรณะ
จากการตรวจภายในช่องปากพบว่าการเปลีย่ นสีของฟันหน้า
การจัดการทางทันตกรรม ซักประวัติผู้ป่วยอย่าง ตัดข้างซ้ายคงเดิม ไม่มีอาการใดๆและวัสดุบูรณะบริเวณฟัน
ละเอียด ตรวจภายนอกและภายในช่องปาก ส่งปรึกษากุมาร หน้ า ตั ด และฟั น กรามน�้ ำ นมอยู ่ ใ นสภาพดี (ดั ง รู ป ที่ 3)
แพทย์เกี่ยวกับโรคทางระบบของผู้ป่วยต่อการรักษาทาง เมื่อติดตามผลการรักษา 6 เดือน พบว่าผู้ป่วยมีน�้ำหนัก
ทันตกรรม อธิบายแผนการรักษา ข้อดี ข้อเสียของการรักษา เพิ่มขึ้น 0.6 กิโลกรัม จากการตรวจภายในช่องปากพบว่า
การนัดหมาย และความคิดเห็น การยอมรับของผู้ปกครอง การเปลี่ยนสีของฟันหน้าตัดข้างซ้ายคงเดิม ไม่มีอาการใดๆ
ต่อการรักษาทางทันตกรรม แนะน�ำเกีย่ วกับการรับประทาน และฟันหน้าตัดและฟันกรามน�้ำนมที่ได้รับการบูรณะอยู่ใน
อาหารที่ มี ผ ลดี กั บ สุ ข ภาพร่ า งกายและช่ อ งปาก งดรั บ สภาพดี (ดังรูปที่ 4) จากการประเมินทางภาพรังสีก่อน
ประทานขนมที่มีลักษณะเหนียวติดฟัน และเครื่องดื่มที่มี การรักษากับภายหลังการรักษาทีร่ ะยะเวลา 6 เดือน พบวัสดุ
ส่วนประกอบของน�้ำตาล เนื่องจากเป็นอาหารที่เสี่ยงต่อการ อุดคลองรากฟันและวัสดุบรู ณะฟันหน้าตัดข้างซ้ายมีลกั ษณะ
เกิดฟันผุได้งา่ ย สอนผูป้ กครองแปรงฟันโดยใช้แปรงสีฟนั ร่วม คงเดิ ม (ดั ง รู ป ที่ 5) ส่ ว นการประเมิ น การดู แ ลสุ ข ภาพ
กับยาสีฟนั ผสมฟลูออไรด์ดว้ ยวิธขี ยับในแนวนอน (Horizontal ช่องปากพบว่าผู้ปกครองยังคงใส่ใจในการดูแลสุขภาพผู้ป่วย
scrub technique) โดยแนะน�ำให้ผู้ปกครองท�ำความสะอาด เหมื อ นเดิ ม นอกจากนี้ ผู ้ ป ่ ว ยมี ฟ ั น เริ่ ม เข้ า สู ่ ฟ ั น ชุ ด ผสม
ให้ผู้ป่วยเป็นประจ�ำที่บ้านโดยแปรงฟันร่วมกับยาสีฟันผสม ท�ำให้พบฟันแท้ขนึ้ มาบางส่วน มีเหงือกปกคลุม จึงพบเหงือก
ฟลูออไรด์อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง ตอนเช้าและก่อนนอน อักเสบเล็กน้อยบริเวณนั้น ทันตแพทย์จึงเน้นให้ผู้ปกครอง
ท� ำ การขั ด ฟั น ด้ ว ยผงพั ม มิ ส เคลื อ บฟลู อ อไรด์ เ ฉพาะที่ ดู แ ลสุ ข ภาพช่ อ งปากของผู ้ ป ่ ว ย โดยให้ ค วามส� ำ คั ญ ของ
ถ่ายภาพรังสีรอบปลายรากฟันบริเวณฟันหน้าซี่และบูรณะ การท�ำความสะอาดสุขภาพช่องปาก การเลือกรับประทาน
ฟั น หน้ า ตั ด บนซี่ ก ลางทั้ ง สองซี่ ด ้ ว ยวั ส ดุ อุ ด สี เ หมื อ นฟั น อาหารให้เหมาะสมเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ
โดยให้ผปู้ กครองช่วยจับและใช้ผา้ ห่อตัวขณะท�ำฟัน เนือ่ งจาก และโรคปริทันต์
ผู้ป่วยไม่ให้ความร่วมมือ ร้องไห้และดิ้น การรักษาทาง
C) ฟันหน้าบน D) ระนาบสบฟันบนด้านซ้าย E) ระนาบสบฟันล่างด้านขวา F) ฟันหน้าล่าง
รูปที  ภาพถ่ายในช่องปากก่อนการรักษา A) ระนาบสบบน B) ฟันหน้าบน C) ฟันหน้าล่าง D) ระนาบสบล่าง
G) ระนาบสบฟันหน้าล่าง H) ระนาบสบฟันล่างด้านซ้าย
Figure 2 ……………. 15
Figure 4 …………….
KDJ. Vol.21 No.1 January - June, 2018 71
รูปที  ภาพถ่ายในช่องปากก่อนการรักษา A) ระนาบสบบน B) ฟันหน้าบน C) ฟันหน้าล่าง D) ระนาบสบล่าง

Figure 2 …………….

รูปที่ 5 ภาพรังสีภายในช่องปาก A) ภาพรังสีกอ่ นการรักษา B) ภาพ


รู ปที 5 ภาพรังสี ภ ายในช่องปาก
รังสีหลัA) ภาพรั
งการรั งสี กน่อเวลา
กษาเป็ นการรั
6 กเดืษาอนB) ภาพรังสี หลังการรักษาเป็ นเวลา 6 เดือน
รูปที่ 3 ภาพถ่ายในช่องปากหลังการรักษา 3 เดือน A) ระนาบสบฟัน Figure 5 Intraoral radiographs A) Preoperative Radiograph
รูปที 3 ภาพถ่ ายในช่อหน้
งปากหลั
าบน B)งการรั กษา  เดืนอบนด้
ระนาบสบฟั น A)านขวา C) ท่าFigure
ระนาบสบฟั กันดหน้ 5ตรง…………….
หน้าาบน B) ระนาบสบฟั
B)นบนด้านขวา Radiograph in 6 months recall
Postoperative
D) ระนาบสบฟันบนด้านซ้าย E) ระนาบสบฟันล่างด้านขวา
C) ท่ ากัดหน้าตรง
F) ฟันหน้าล่าง G) ระนาบสบฟันหน้าล่าง H) ระนาบสบฟัน
Figure 3 …………….ล่างด้านซ้าย
บทวิจารณ์
Figure 3 Postoperative intraoral photographs in 3 months recall
ายในช่อA)งปากหลั
Maxillary anterior teeth view B)ระนาบสบฟั
Maxillary right teeth กลุ่มอาการลมชักชนิดนี้มักพบในเพศชายมากกว่า
รูปที 3 ภาพถ่

ง การรั ก ษา  เดื อ น A) A นหน้ า
view C) frontal view D) Maxillary left teeth view E) Mandibular
บน B) ระนาบสบฟั 6 นบนด้านขวา
เพศหญิง แต่ในกรณีศกึ ษาของผูป้ ว่ ยรายนีเ้ ป็นผูห้ ญิง ซึง่ ไม่มี
C) ท่ ากัดหน้Bาright
ตรง teeth view F) Mandibular frontal view G) Mandibular D
ประวัตบิ คุ คลในครอบครัวเป็นโรคลมชักมาก่อน โดยไม่ทราบ
anterior teeth view H) Mandibular left teeth view
Figure 3 ……………. สาเหตุชัดเจนในการเกิดโรค โดยทั่วไปผู้ป่วยในกลุ่มอาการ
C นี้ จ ะมี ลั ก ษณะทางคลิ นิ ก ครั้ ง แรกในช่ ว งอายุ 3-5 ปี 3
A
B D แต่ผปู้ ว่ ยรายนีม้ แี สดงอาการตัง้ แต่เด็ก และได้รบั การวินจิ ฉัย
เป็น LGS ตั้งแต่อายุ 1 ปี 11 เดือน เนื่องจากอาการชัก
F หลากหลาย และเปลีย่ นแปลงไปตามอายุ ท�ำให้แพทย์ให้การ
C
วินิจฉัยได้ยาก ผู้ป่วย เคยได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคชักผวา
E H ในเด็ก และ West syndrome มาก่อนเนือ่ งจากลักษณะอาการ
G
ชักมีการเปลี่ยนแปลงไปเมื่ออายุมากขึ้น ผู้ป่วยรายนี้ได้รับ
F การวินิจฉัยมีเกณฑ์พื้นฐาน 3 อย่าง (Symptomatic triad)
คือ มีอาการชักหลากหลายชนิด ตรวจพบคลื่นไฟฟ้าสมอง
E H ผิดปกติ และความบกพร่องทางการรับรู1้
G
อย่างไรก็ตาม LGS สามารถวินิจฉัยแยกโรคจาก
รูปที่ 4 ภาพถ่ายในช่องปากหลังการรักษา 6 เดือน A) ระนาบสบ
ฟันหน้าบน B) ระนาบสบฟันบนด้านขวา C) ฟันหน้าบน
กลุ่มอาการอื่นๆ ได้โดยการซักประวัติ การตรวจทางคลินิก
D) ระนาบสบฟันบนด้านซ้าย E) ระนาบสบฟันล่างด้านขวา ร่วมกับตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง ซึ่งการวินิจฉัยกลุ่มอาการนี้
F) ฟันหน้าล่าง G) ระนาบสบฟันหน้าล่าง H) ระนาบสบฟัน นับเป็นเรื่องที่ท้าทาย มีการศึกษาย้อนหลังแสดงให้เห็นว่า
ล่างด้านซ้าย ผู ้ ป ่ ว ยที่ เ ป็ น กลุ ่ ม อาการ LGS แต่ ไ ด้ รั บ การวิ นิ จ ฉั ย ผิ ด
Figure 4 Postoperative intraoral photographs in 6 months recall
A) Maxillary anterior teeth view B) Maxillary right teeth อย่างน้อย 29 ใน 103 คน คิดเป็นร้อยละ 282, 20 ทัง้ นีผ้ ปู้ ว่ ย
view C) Maxillary frontal view D) Maxillary left teeth view บางคนยังไม่แสดงอาการตั้งแต่เริ่มแรก และมาแสดงอาการ
E) Mandibular right teeth view F) Mandibular frontal view เมือ่ ผูป้ ว่ ยมีอายุมากขึน้ ท�ำให้การวินจิ ฉัยกลุม่ อาการดังกล่าว
G) Mandibular anterior teeth view H) Mandibular left
teeth view ท�ำได้ยาก
72 ว.ทันต.ขอนแก่น, ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2561

ผูป้ ว่ ยได้รบั ยากันชักได้แก่ ยาบาโคลเฟน ยาโทพิราเมท กิตติกรรมประกาศ


ยาคลอนาซีแพม และยาลาโมไตรจีน แต่ผู้ป่วยไม่ตอบสนอง ขอขอบพระคุณคุณสาธิต มั่งคั่ง ที่เป็นผู้ถ่ายภาพ
ต่อยากันชักจึงรักษาโดยการฉีดยาลดการท�ำงานของเส้น ตลอดการรักษา และผูช้ ว่ ยทันตแพทย์ คณะทันตแพทยศาสตร์
ประสาท หลังจากนั้นผู้ป่วยมีอาการดีขึ้น อาการชักลดน้อย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่ช่วยข้างเก้าอี้ในการรักษาผู้ป่วย
ลง แต่แพทย์ประจ�ำตัวยังให้รับประทานยากันชักอยู่ ผู้ป่วย รายนี้
สามารถใช้ชีวิตประจ�ำวันได้โดยผู้ปกครองช่วยเป็นผู้ดูแล
เนื่ อ งจากไม่ ส ามารถช่ ว ยเหลื อ ตนเองในการท� ำ กิ จ วั ต ร เอกสารอ้างอิง
ประจ�ำวันต่างๆ ได้ 1. Campos-Castelló J. Lennox-Gastaut syndrome. Orphanet
ผู้ปกครองให้ความใส่ใจในด้านการท�ำความสะอาด Encyclopedia [updated: September 2004: cited 5 February
ช่องปาก และการดูแลสุขภาพร่างกายโดยทั่วไป เป็นอย่างดี 2017] Available from: http://www.orpha.net/data/patho/
GB/uk-Lennox.pdf
และมีทัศนคติที่ดีในการรักษาทางทันตกรรม ทันตแพทย์ได้
2. Bourgeois BF, Douglass LM, Sankar R. Lennox-Gastaut
ให้การรักษาเน้นทันตกรรมป้องกันโดยการให้ทนั ตสุขศึกษา syndrome: a consensus approach to differential diagnosis.
แก่ผู้ปกครอง จากการตรวจภายในช่องปากผู้ป่วยรายนี้ Epilepsia 2014;55(Suppl 4):4–9.
ไม่มีภาวะเหงือกงอกเกินจากการใช้ยากันชักเนื่องจากไม่ได้ 3. Arzimanoglou A, French J, Blume WT, et al. Lennox-Gastaut
ใช้ยากันชักในกลุ่มยาเฟนิโทอิน และฟีโนบาร์บิทอล ส�ำหรับ syndrome: a consensus approach on diagnosis, assessment,
ผู้ป่วยรายนี้ใช้เทคนิคการจัดการพฤติกรรมโดยใช้กระดาน management, and trial methodology. Lancet Neurol
2009;8(1):82-93.
ห่อรัดตัว ร่วมกับมารดาช่วยในการจับศีรษะ สามารถรักษา 4. Resnick T, Sheth RD. Early diagnosis and treatment of
โดยไม่ต้องใช้ยาท�ำให้สงบหรือการดมยาสลบ ให้การรักษา Lennox-Gastaut syndrome. Child Neurology 2017:1-9.
ทางทันตกรรมโดยการบูรณะด้วยวัสดุสีเหมือนฟัน และ 5. Al-Banji MH, Zahr DK, Jan MM. Lennox-Gastaut syndrome.
เคลือบฟลูออไรด์ ผู้ป่วยมีสันเหงือกไร้ฟันบริเวณฟันกราม Management update. Neurosciences (Riyadh) 2015;
น�้ำนมบนซี่ที่หนึ่งทั้งสองข้าง ซึ่งเมื่อพิจารณาถึงความเสี่ยง 20(3):207-12.
6. Arzimanoglou A, Resnick T. All children who experience
ในการเกิดอันตราย โรคประจ�ำตัว และความร่วมมือของผูป้ ว่ ย
epileptic falls do not necessarily have Lennox-Gastaut
จึ ง พิ จ ารณาไม่ ใ ส่ เ ครื่ อ งมื อ กั น ที่ ฟ ั น ผู ้ ป ่ ว ยมี พ ฤติ ก รรม syndrome... but many do. Epileptic Disord 2011;13 Suppl
ให้ ค วามร่ ว มมื อ ในการรั ก ษาได้ ดี ขึ้ น เมื่ อ นั ด มาตรวจซ�้ ำ 1:S3-13.
ภายหลังการรักษา 7. van Rijckevorsel K. Treatment of Lennox-Gastaut syndrome:
overview and recent findings. Neuropsychiatr Dis Treat
2008;4(6):1001–19.
บทสรุป 8. Camfield PR. Definition and natural history of Lennox-Gastaut
กลุ่มอาการ LGS เป็นกลุ่มอาการที่พบได้ไม่บ่อย syndrome. Epilepsia 2011;52 (Suppl 5):3-9.
แต่ส่งผลกระทบอย่างมากต่อรักษาทางทันตกรรม ผู้ป่วยมัก 9. Glauser TA. Following catastrophic epilepsy patients from
จะประสบปัญหาสุขภาพและการด�ำรงชีวิตประจ�ำวัน และ childhood to adulthood. Epilepsia 2004;45 (Suppl 5):23-6.
การดู แ ลผู ้ ป ่ ว ยกลุ ่ ม อาการนี้ ต ้ อ งอาศั ย ความร่ ว มมื อ ของ 10. Oguni H, Hayashi K, Osawa M. Long-term prognosis of
บุคลากรและแพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญหลายสาขา ทันตแพทย์นบั ว่า Lennox-Gastaut syndrome. Epilepsia 1996;37 (Suppl
3):44-7.
มีบทบาทส�ำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปาก และให้การรักษา
11. Saleh TA. Lennox gastaut syndrome, review of the literature
ทางทันตกรรมเพื่อบ�ำบัดความทุกข์ให้แก่ผู้ป่วย และส่งเสริม and a case report. Head & Face Medicine 2008;4:1-9
ให้ให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 12. Hancock EC, Cross JH. Treatment of Lennox-Gastaut
syndrome (Review). Cochrane Database of Systematic
Reviews 2013; 2: 1-42
KDJ. Vol.21 No.1 January - June, 2018 73

13. Riikonen R. Long-term outcome of patients with West ผูร้ บั ผิดชอบบทความ:


syndrome. Brain Dev 2001;23(7):683-7. อรอุมา อังวราวงศ์
14. Gibson PA. Lennox-Gastaut syndrome: impact on the ภาควิชาทันตกรรมส�ำหรับเด็ก
caregivers and families of patients. J Multidiscip Healthc
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2014;7:441-8.
15. Bryan RB, Sullivan SM. Management of dental patients with
อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40002
seizure disorders. Dent Clin North Am 2006;50(4): โทรศัพท์: 0 4320 2405 #45157
607-23, vii. โทรสาร: 0 4320 2862
16. Sanders BJ, Weddell JA, Dodge NN. Managing patients who จดหมายอิเล็กทรอนิ กส์: onaang@kku.ac.th
have seizure disorders: dental and medical issues. J Am
Dent Assoc 1995;126(12):1641-7.
17. Jacobsen PL, Eden O. Epilepsy and the dental management
of the epileptic patient. J Contemp Dent Pract 2008;9(1):
54-62.
18. Aragon CE, Burneo JG. Understanding the patient with
epilepsy and seizures in the dental practice. J Can Dent
Assoc 2007;73(1):71-6.
19. Kenneth W. Norwood J, MD, Rebecca L.Oral health care for
children with developmental disabilities. American Academy
of Pediatrics 2013;131:164-69.
20. Beaumanoir A. The Lennox-Gastaut syndrome: a personal
study. Electroencephalogr Clin Neurophysiol Suppl
1982(35):85-99.
74 ว.ทันต.ขอนแก่น, ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2561

Dental Management for Lennox-Gastaut Syndrome:


Review Literature and a Case Report
Onauma Angwaravong* Wasita Khammeng** Thidarat Angwarawong***

ABSTRACT
Lennox-Gastaut syndrome (LGS) belongs to the group of severe childhood epileptic encephalopathies. This disorder is
characterized by several epileptic seizures, abnormal electroencehalogarm (EEG) and cognitive impairment. Diagnosis is based on
clinical features and laboratory tests. There are few articles concerning dental management for patients with LGS. The appropriate
management usually requires a multidisciplinary approach. This article aim to review related literatures regarding the incidence,
clinical features, diagnosis, complication, dental management of LGS and case report.

Keywords: Dental management/ Oral cavity/ Lennox-Gastaut syndrome

Corresponding author:
Onauma Angwaravong
Department of Pediatric Dentistry,
Faculty of Dentistry, Khon Kaen University,
Amphur Muaeng, Khon Kaen, 40002.
Tel. +66 4320 2405 #45157
Fax: +66 4320 2862
E-mail: onaang@kku.ac.th

* Department of Pediatric Dentistry, Faculty of Dentistry, Khon Kaen University, Amphur Muaeng, Khon Kaen.
** Dental Department, Borabu Hospital, Amphur Borabu, Mahasarakham.
*** Department of Prosthodontics, Faculty of Dentistry, Khon Kaen University, Amphur Muaeng, Khon Kaen.

You might also like