You are on page 1of 34

สำหรับการสอบปลายภาคเรียนที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

เนือ้ หาทีอ่ อกข้อสอบปลายภาค


1. โคลงสุภาษิต
- โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์
- โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
- โคลงสุภาษิตอิศปปกรณัม
2. กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า
3. คำราชาศัพท์และคำสุภาพ
4. ประโยค

ชื่อ-นามสกุล .................................................................................. ชั้น ................


โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์
ผู้แต่ง
- พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงให้นำสุภำษิตภำษำอังกฤษมำแปลและประพันธ์เป็นโคลงภำษำไทย

ลักษณะคำประพันธ์
- แต่งเป็นร้อยแก้วและโคลงสี่สุภำพซึ่งมีบทนำ 1 บท เนื้อเรื่อง 16 บท และบทสรุป 1 บท

เอก I
ก้
7
........................ I I
ก้
โท
I I

4
........................
I
ก้ I
ก้
เนือ้ หา
- ในพระรำชนิพนธ์นี้ “ไตรยำงค์” หมำยถึง จำนวนสิ่งที่ควรแสวงหำหรือควรละเว้น ซึ่งในโคลงแต่ละบทจะมีอยู่ 3
สิ่ง ส่วนคำว่ำ “โสฬส” หมำยถึง 16 ดังนั้น “โสฬสไตรยำงค์” จึงหมำยถึง ข้อควรกระทำหรือไม่ควรกระทำ 3
ประกำร ซึ่งมีจำนวน 16 ข้อ ดังนี้
1. สำมสิ่งควรรัก : ควำมกล้ำ ควำมสุภำพ ควำมรักใคร่
2. สำมสิ่งควรชม : อำนำจปัญญำ เกียรติยศ มีมำรยำทดี
3. สำมสิ่งควรเกลียด : ควำมดุร้ำย ควำมหยิ่งกำเริบ อกตัญญู
4. สำมสิ่งควรรังเกียจติเตียน : ชั่วเลวทรำม มำรยำ ฤษยำ
5. สำมสิ่งควรเคำรพ : ศำสนำ ยุติธรรม สละประโยชน์ตนเอง
6. สำมสิ่งควรยินดี : งำม ตรงตรง ไทยแก่ตน
7. สำมสิ่งควรปรำรถนำ : ควำมสุขสบำย มิตรสหำยที่ดี ใจสบำยปรุโปร่ง
8. สำมสิ่งควรอ้อนวอนขอ : ควำมเชื่อถือ ควำมสงบ ใจบริสุทธิ์
9. สำมสิ่งควรนับถือ : ปัญญำ ฉลำด มั่นคง
10. สำมสิ่งควรจะชอบ : ใจอำรีสุจริต ใจดี ควำมสนุกเบิกบำนพร้อมเพรียง
11. สำมสิ่งควรสงสัย : ยอ หน้ำเนื้อใจเสือ พลันรักพลันจืด
12. สำมสิ่งควรละ : เกียจคร้ำน วำจำฟั่นเฝือ หยอกหยำบแลแสลงฤๅขัดคอ
13. สำมสิ่งควรจะกระทำให้มี : หนังสือดี เพื่อนดี ใจเย็นดี
14. สำมสิ่งควรจะหวงแหนฤๅต่อสู้เพื่อรักษำ : ชื่อเสียงยศศักดิ์ บ้ำนเมืองของตน มิตรสหำย
15. สำมสิ่งควรครองไว้ : กิริยำที่เป็นในใจ มักง่ำย วำจำ
16. สำมสิ่งควรเตรียมเผื่อ : อนิจจัง ชรำ มรณะ
คุณค่าด้านวรรณศิลป์ - กำรใช้สัมผัสพยัญชนะ
คุณค่าด้านเนือ้ หา
- ให้ข้อคิดเป็นแนวทำงในกำรดำเนินชีวิตและกำรใช้ชีวิตร่วมกันในสังคม
- แสดงถึงสัจธรรมของชีวิตในบทสุดท้ำย “สำมสิ่งที่ควรเตรียมเผื่อ” เตือนให้ผู้อ่ำนไม่ประมำท
คุณค่าด้านสังคม
ไตรลักษณ์ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงควำมไม่
- แสดงให้เห็นค่ำนิยมและควำมเชื่อทำงศำสนำพุทธ (กฎ.........................................)
แน่นอนของชีวิต

โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ผู้แต่ง
- พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระรำชนิพนธ์ขึ้นโดยกำรแปลจำกภำษำอังกฤษมำเป็น
โคลงสี่สุภำพ
ลักษณะคำประพันธ์
- แต่งเป็นโคลงสี่สุภำพโดยแบ่งเนื้อหำเป็น 3 ส่วน ได้แก่ บทนำ 1 บท เนื้อเรื่อง 10 บท และบทสรุป 1 บท
เนือ้ หา
บทนำกล่ำวว่ำ ผู้รู้ได้ไตร่ตรองแล้วจึงกล่ำวคำสอนเป็นแนวทำงที่ควรประพฤติ 10 ประกำร ชื่อว่ำ ทศนฤทุมนาการ
หมำยถึง กิจ 10 ประการที่ผู้ประพฤติยังไม่เคยเสียใจ เนื้อเรื่องกล่ำวแนะนำด้านการคิด(มโนกรรม) การพูด(วจีกรรม) และ
การกระทา(กายกรรม) เพื่อให้ปฏิบัติตนได้อย่ำงเหมำะสม บทสรุปกล่ำวว่ำ ทุกคนควรรู้จักพิจำรณำ ถึงแม้จะประพฤติตำมไม่ได้
ครบถ้วน แต่ทำได้บ้ำงก็ยังดี กิจ 10 ประการที่ทำแล้วจะไม่เสียใจ
สรุป ทศนฤทุมนาการ = ............................................................................................
1. เพราะความดีทั่วไป 2. เพราะไม่พูดว่าร้ายต่อใคร
3. เพราะถามฟังความก่อนตัดสิน 4. เพราะคิดก่อนจึงพูด
5. เพราะอดพูดในเวลาโกรธ 6. เพราะได้กรุณาต่อคนที่อับจน
7. เพราะขอโทษบรรดาที่ได้ผิด 8. เพราะอดกลั้นต่อผู้อื่น
9. เพราะไม่ฟังคำนินทา 10. เพราะไม่หลงเชื่อข่าวร้าย
คำศัพท์
คำเท็จ
1. มำรษำ แปลว่ำ ......................................................... คำเท็จ
2. บ้ำย แปลว่ำ .............................................................
การเขียน
3. ลิขิต แปลว่ำ ............................................................. ความเสื่อม
4. ควำมกษัย แปลว่ำ ....................................................
รอดพ้นจากความทุกข์
5. สว่ำงร้อน แปลว่ำ ..................................................... ความอดทน
6. ขันตี แปลว่ำ ..............................................................
คำเท็จ
7. นรชำติ แปลว่ำ ......................................................... 8. บ้ำย แปลว่ำ ...............................................................

คุณค่าด้านวรรณศิลป์
1. การเล่นเสียงสระและเสียงพยัญชนะ
2. การใช้ภาพพจน์อปุ มา
๏ พำทีมีสติรั้ง รอคิด ๏ ขันตีมีมำกหมั้น สันดำน
รอบคอบชอบแลผิด ก่อนพร้อง ใครเกะกะระรำน อดกลั้น
คำพูดพ่ำงลิขิต เขียนร่ำง เรียงแฮ ไป่ฉุนเฉียบเฉกพำล พำเดือด ร้อนพ่อ
ฟังเพรำะเสนำะต้อง โสตทั้งห่ำงภัย ผู้ประพฤติดั่งนั้น จักได้ใจเย็น
3. การใช้ภาพพจน์อปุ ลักษณ์
๏ ไป่ฟังคนพูดฟุ้ง ฟั่นเฝือ
เท็จและจริงจำนเจือ คละเคล้ำ
คือมีดเที่ยวกรีดเถือ ท่ำนทั่ว ไปนำ
ฟังจะพำพลอยเข้ำ พวกเพ้อรังควำน
คุณค่าด้านเนือ้ หา
- ให้ข้อคิดที่ควรนำไปปรับใช้ในกำรดำเนินชีวิตในหลำย ๆ ด้ำน ทั้งด้ำนจิตใจ ควำมคิด อำรมณ์ คำพูดและกำร
กระทำ
คุณค่าด้านสังคม
- แสดงให้เห็นวัฒนธรรมด้านการพูด คือ กำรให้ควำมสำคัญกับคำพูด วิธีกำรพูด และมำรยำทในกำรพูด
โคลงสุภาษิตอิศปปกรณํา
ผู้แต่ง
- พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระรำชนิพนธ์ แปลนิทำนอีสปฉบับบภำษำอังกฤษเป็นภำษำไทย
แล้วทรงพระรำชนิพนธ์โคลงสี่สุภำพกำกับไว้ท้ำยนิทำนแต่ละเรื่อง โดยแปลและแต่งร่วมกับ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ
กรมหลวงพิชิตปรีชากร พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) และพระยาราชสัมภารากร
- พระราชนิพนธ์ขึ้นในยุคที่คนไทยนิยมอ่านงานแปลจากตะวันตก
ทีม่ าของเรือ่ ง - แปลมำจำกนิทำนกรีกฉบับภำษำอังกฤษ
ลักษณะคำประพันธ์
- แต่งเป็นร้อยแก้วและสรุปด้วยโคลงสี่สุภำพ
เนือ้ หา
เรื่องที่ 1 ราชสีห์กับหนู สรุปคติสอนใจว่ำ อย่ำประมำทผู้ที่ด้อยกว่ำเพรำะบำงครั้งอำจต้องขอควำมช่วยเหลือจำกเขำ
เรื่องที่ 2 บิดากับบุตรทั้งหลาย สรุปคติสอนใจว่ำ ให้รักสำมัคคีกันแล้วจะไม่มีอันตรำยใด ๆ มำเบียดเบียนได้
เรื่องที่ 3 สุนัขป่ากับลูกแกะ สรุปคติสอนใจว่ำ อย่ำคำดหวังจะได้รับควำมเห็นใจจำกคนชั่ว
เรื่องที่ 4 กระต่ายกับเต่า สรุปคติสอนใจว่ำ อย่ำประมำทเชื่อมั่นในตนเองมำกเกินไป เพรำะอำจเพลี่ยงพล้ำให้ได้รับ
ควำมอับอำยได้
คุณค่าด้านวรรณศิลป์
1. การเล่นเสียงสระและเสียงพยัญชนะ
2. การซ้ำคำ
เชื้อวงศ์วำยรักร้อย ริษยำ กันเฮย
ปรปักษ์เบียนบีฑำ ง่ำยแท้
ร่วมสู้ร่วมรักษำ จิตร่วม รวมแฮ
หมื่นอมิตร บ มิแพ้ เพรำะพร้อมเพรียงผจญ
คุณค่าด้านเนือ้ หา
- เรื่องรำวในนิทำนแฝงข้อคิดที่สำมำรถนำมำปรับใช้ในกำรดำเนินชีวิตได้
1. รำชสีห์กับหนู สอนให้รู้ว่ำ อย่ำประมำทผู้ที่ด้อยกว่ำตน
2. บิดำกับบุตรทั้งหลำย สอนให้รู้ว่ำ สำมัคคีคือพลังที่สำคัญ
3. สุนัขป่ำกับลูกแกะ สอนให้รู้ว่ำ อย่ำอยู่ใกล้คนพำลเพรำะจะพำลหำเรื่องทำร้ำยเรำได้
4. กระต่ำยกับเต่ำ สอนให้รู้ว่ำ ควำมประมำทย่อมเกิดควำมเสียหำย
เพิ่มเติม

แนวข้อสอบ (11 ข้อ)


1. คำเอก-คำโท คำเป็น-คำตาย (ตัวสะกด กก กบ กด + สระเสียงสั้น)
2. เนื้อหาของบทประพันธ์ (เพื่อน/การคบคน/การรู้หน้าไม่รู้ใจ)
3. เหตุการณ์สอดคล้องกับโคลงบทใด
4. บทประพันธ์สอดคล้องกับโคลงบาทใด
5. พฤติกรรมสอดคล้องกับโคลงบทใด
6. คำศัพท์ : สว่างร้อน
7. ผู้แต่งอิศป
8. เหตุการณ์-ตัวบท
9. ข้อคิดอิศปปกรณำ – (ปกรณัม)
แบบทดสอบ เรือ่ ง โคลงสุภาษิต
โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์
1. ใครคือผู้ทรงพระรำชนิพนธ์โคลงสุภำษิตโสฬสไตรยำงค์และโคลงสุภำษิตนฤทุมนำกำร
ก. พระบำทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ำนภำลัย ข. พระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว
ค. พระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว ง. พระบำทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ำเจ้ำอยู่หัว
2. โสฬสไตรยำงค์มีควำมหมำยตรงตำมข้อใด
ก. 3 หมวด หมวดละ 16 ข้อ ข. 16 หมวด หมวดละ 3 ข้อ
ค. 8 หมวด หมวดละ 3 ข้อ ง. 3 หมวด หมวดละ 5 ข้อ
3. คำศัพท์ใดมีควำมหมำยว่ำ ควำมสุขเกษม ควำมเจริญ โชคลำภ
ก. เป็นมำติกำทำง บัณฑิต แสวงเอย ข. ทุจริตมำรยำปน ปกไว้
ค. สรรพำงค์โสภำคย์พร้อม ธัญลักษณ์ ง. เป็นสุขโสดตนรัก กำรชอบ ธรรมนำ
4. ข้อใดกล่ำวถึงควำมสุจริตในไตรทวำร
ก. ควรกล้ำกล้ำกล่ำวถ้อย ทั้งหทัย แท้เฮย
สุวภำพพจน์ภำยใน จิตพร้อม
ข. สรรพำงค์โสภำคย์พร้อม ธัญลักษณ์
ภำษิตจิตประจักษ์ ชื่อพร้อม
ค. สุจริตจิตโอบอ้อม อำรี
ใจโปร่งปรำศรำศี ขุ่นข้อง
ง. ใจซึ่งรีบเร็วไว ห่อนรู้
วำจำจักพูดใน กิจสบ สรรพแฮ
5. สุภำษิตข้อใดที่สอนเกี่ยวกับบุคลิกกำรวำงตัวในสังคม
ก. ควรกล้ำกล้ำกล่ำวถ้อย ทั้งหทัย แท้เฮย
ข. สรรพำงค์โสภำคย์พร้อม ธัญลักษณ์
ค. มำรยำทเรียบเสี่ยมสำน เสงี่ยมเงื่อน งำมนอ
ง. สุจริตจิตโอบอ้อม อำรี
6. ข้อใดกล่ำวถึงกำรไม่ประมำณตน
ก. กำเริบเอิบเกินสกุล หยิ่งก้อ ข. หึงจิตคิดเกลียดคน ดีกว่ำ ตัวแฮ
ค. พักตร์จิตผิดกันประมำณ ยำกรู้ ง. พูดมำกเปล่ำเปลืองปน ปดเหล้น
7. ข้อใดสอนตรงกับ “ภำษิตจิตประจักษ์ ซื่อพร้อม”
ก. ควรกล้ำกล้ำกล่ำวถ้อย ทั้งหทัย แท้แฮ ข. สุวภำพพจน์ภำยใน จิตพร้อม
ค. วำจำจักพูดใน กิจสบ สรรพแฮ ง. พำทีมีสติรั้ง รอคิด
8. ควำมประพฤติในข้อใดที่ควรละเว้น
ก. หนึ่งยุติธรรมไป่มี เลือกผู้ ข. มำกเพื่อนผู้วำนกำร ชีพได้
ค. หนึ่งขำดปรำศโทษำ คติห่อ ใจเฮย ง. อีกหนึ่งห่อนรู้คุณ ใครปลูกฝังแฮ
9. “สิ่งใดในโลกล้วน เปลี่ยนแปลง
หนึ่งชรำหย่อนแรง เร่งร้น
ควำมตำยติดตำมแสวง ทำชีพ ประลัยเฮย
สำมส่วนควรคิดค้น คติรู้เตรียมคอย”
คำประพันธ์ข้ำงต้นนี้ กล่ำวถึงเรื่องใด
ก. ไตรทวำร ข. สังสำรวัฏ ค. อริยสัจ ง. ไตรลักษณ์
10. ข้อใดไม่อยู่ใน “สำมสิ่งควรคิดค้น คติรู้เตรียมคอย”
ก. เว้นบำปเสำะกัลยำณ์ มิตรไว้ ข. ควำมตำยติดตำมแสวง ทำชีพ ประลัยเอย
ค. หนึ่งชรำหย่อนแรง เร่งร้น ง. สิ่งใดในโลกล้วน เปลี่ยนแปลง
โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
11. “พำทีมีสติรั้ง รอคิด
รอบคอบชอบแลผิด ก่อนพร้อง
คำพูดพ่ำงลิขิต เขียนร่ำง เรียงแฮ
ฟังเพรำะเสนำะต้อง โสตทั้งห่ำงภัย”
สำระสำคัญของคำประพันธ์ข้ำงต้นคือข้อใด
ก. สอนเรื่องกำรคิด ข. สอนเรื่องกำรพูด
ค. สอนเรื่องกำรเขียน ง. สอนเรื่องกำรฟัง
12. “อย่ำทำเป็นกระต่ำยตื่นตูม” มีควำมหมำยตรงกับควำมในข้อใดมำกที่สุด
ก. พำทีมีสติรั้ง รอคิด ข. หยุดคิดพิจำรณำ แพ้ชนะ ก่อนนำ
รอบคอบชอบแลผิด ก่อนพร้อง ชอบผิดคิดเห็นแม้น ไม่ยั้งเสียควำม
ค. ไป่ฟังคนพูดฟุ้ง ฟั่นเฝือ ง. อีกหนึ่งไป่เชื่อถ้อย คำคน ลือแฮ
เท็จและจริงจำนเจือ คละเคล้ำ บอกเล่ำข่ำวเหตุผล เรื่องร้ำย
13. โคลงสุภำษิตนฤทุมนำกำร ข้อใดสอนต่ำงกับข้ออื่น
ก. รอบคอบชอบแลผิด ก่อนพร้อง ข. ไป่หมิ่นนินทำบ้ำย โทษให้ผู้ใด
ค. สำมำรถอำจห้ำมงด วำจำ ตนเฮย ง. ฟังตอบสอบคำไข คิดใคร่ ครวญนำ
14. ข้อใดสอนให้คนใช้วิจำรณญำณในกำรฟัง
ก. ไป่ฟังคนพูดฟุ้ง ฟั่นเฝือ ข. พำทีมีสติรั้ง รอคิด
เท็จและจริงจำนเจือ คละเคล้ำ รอบคอบชอบแลผิด ก่อนพร้อง
ค. ยินคดีมีเรื่องน้อย ใหญ่ไฉน ก็ดี ง. สำมำรถอำจห้ำมงด วำจำ ตนเฮย
ยังบ่ลงเห็นไป เด็ดด้วน ปำงเมื่อยังโกรธำ ขุ่นแค้น
15. “ผู้ประพฤติดั่งนั้น จักได้ใจเย็น” หมำยถึงผู้ประพฤติตำมข้อใด
ก. ทำดีไป่เลือกเว้น ผู้ใด ใดเฮย
ข. เหินห่ำงโมหะร้อน ริษยำ
ค. สำมำรถอำจห้ำมงด วำจำ ตนเฮย
ง. ขันตีมีมำกหมั้น สันดำน
16. “กำรบริจำคให้แก่ผู้ที่เครำะห์ร้ำยเป็นสิ่งที่เรียกว่ำทำบุญ และกำรทำบุญนั้นเพื่ออะไร คือทำบุญเพื่อให้จิตใจ เรำสบำย
นอกจำกนี้จะเป็นทำงที่จะได้บุญ ได้บุญนั้น คือได้ควำมสบำย ควำมสุข ควำมสุขเรำมีอยู่แล้วตั้งแต่ตอนช่วยเหลือเรำได้
แน่นอน ฉะนั้นกำรทำบุญย่อมจะได้ผลมำในวันหนึ่งแน่นอน”
พระบรมรำโชวำทข้ำงต้นนี้สอนตรงกับสุภำษิตข้อใด
ก. ทำดีไป่เลือกเว้น ผู้ใด ใดเฮย ข. กรุณำนรชำติผู้ พ้องภัย พิบัติเฮย
แต่ผู้ไมตรีไป รอบข้ำง ช่วยรอดปลอดควำมกษัย สว่ำงร้อน
ค. หนึ่งยุติธรรมไป่มี เลือกผู้ ง. ทำคุณอุดหนุนใน กำรชอบ ธรรมนำ
ประพฤติเพื่อประโยชน์ศรี สวัสดิ์ทั่วกันแฮ ไร้ศัตรูปองมล้ำง กลับซ้องสรรเสริญ
17. ข้อใดเป็นกำรสอนสุภำษิตต่ำงจำกข้ออื่น
ก. ฟังตอบขอบคำไข คิดใคร่ ครวญนำ ข. ขอโทษเพื่อคำรวะ วำยบำด หมำงแฮ
ห่อนตัดสินห้วนห้วน เหตุด้วยเบำควำม ดีกว่ำปดอ้อมค้อม คิดแก้โดยโกง
ค. คำพูดพ่ำงลิขิต เขียนร่ำง เรียงแฮ ง. สืบสอบประกอบจน แจ่มเท็จ จริงนำ
ฟังเพรำะเสนำะต้อง โสตทั้งห่ำงภัย ยังบ่ด่วนยักย้ำย ตื่นเต้นก่อนกำล
18. ข้อใดเป็นผลกำรฟังคำคนพูดเพศนิทำน
ก. ไร้ศัตรูปองมล้ำง กลับซ้องสรรเสริญ ข. ฟังเพรำะเสนำะต้อง โสตทั้งห่ำงภัย
ค. ฟังจะพำพลอยเข้ำ พวกเพ้อรังควำน ง. ชนจักชูชื่อช้อน ป่ำงเบื้องปัจจุบัน
19. “นำรำถูกเพื่อนหลอกให้โอนเงินให้เพื่อแลกกับควำมลับของตน จึงรีบโอนเงินให้อย่ำงรวดเร็ว” พฤติกรรมของนำรำตรงกับ
คำประพันธ์ใด
ก. ใจซึ่งรีบเร็วไว ก่อนรู้ ข. พักตร์จิตผิดกันประมำณ อยำกรู้
ค. เร็วรัดผลัดพลันขำน คำกลับ พลันฤๅ ง. หึงจิตคิดเกลียดคน ดีกว่ำ ตัวแฮ
20. “เพื่อนบำงคนรู้หน้ำไม่รู้ใจ อย่ำงนนกุลบอกว่ำรักเพื่อนมำก แต่เมื่อมีโอกำสนนกุลก็มักจะนินทำว่ำร้ำยและขัดขวำง
ควำมก้ำวหน้ำของเพื่อนเสมอ” พฤติกรรมของนนกุลสะท้อนข้อคิดที่สอดคล้องกับคำประพันธ์ในข้อใด
ก. เว้นบำปเสำะกัลยำ มิตรไว้ ข. ทุจริตมำรยำปน ปกไว้
ค. พักตร์จิตผิดกันประมำณ ยำกรู้ ง. ใจบำปจิตหยำบร้ำย ทำรุณ
โคลงสุภาษิตอิศปปกรณา
21. นิทำนอีสปเป็นเรื่องที่แปลมำจำกนิทำนของชำติใด
ก. กรีก ข. โรมัน ค. อังกฤษ ง. ฝรั่งเศส
22. “อีสปปกรณัม” คำว่ำ “ปกรณัม” ในที่นี้แปลว่ำอะไร
ก. ตอน ข. เรื่อง ค. นิทำน ง. ตำนำน
23. “ดุจไก่พบแก้วล้ำ หลีกแล้วเลยจร” โคลงบำทนี้ให้ข้อคิดตรงกับข้อใด
ก. คนโง่ย่อมเป็นเหยื่อของคนฉลำด ข. ของดีของมีค่ำอยู่ที่ไหนก็ยังคงมีคุณค่ำ
ค. ผู้ที่ฉลำดย่อมรู้ว่ำสิ่งใดมีประโยชน์แก่ตน ง. ของดีของมีค่ำย่อมมีประโยชน์แก่ผู้รู้จักใช้เท่ำนั้น
24. “อย่ำควรประมำทผู้ ทุรพล” คำว่ำ “ทุรพล” มีควำมหมำยตรงกับข้อใด
ก. ศัตรู ข. ผู้พิกำร ค. ผู้มีกำลังน้อย ง. ผู้ตกทุกข์ได้ยำก
25. ข้อใดมีควำมหมำยต่ำงกับคำว่ำ “ปรปักษ์”
ก. ริปู ข. นิกร ค. อมิตร ง. ดัสกร
26. เรื่องบิดำกับบุตรทั้งหลำย ให้ข้อคิดแก่ผู้อ่ำนตำมข้อใด
ก. ให้พี่น้องมีควำมซื่อสัตย์ต่อกัน
ข. ให้บุตรมีควำมกตัญญูรู้คุณบิดำ
ค. ให้บิดำมีควำมรักใคร่ในตัวบุตรทุกคนเท่ำ ๆ กัน
ง. ให้พี่น้องมีควำมรักใคร่สำมัคคีปรองดองเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน
27. นิทำนอีสปเรื่องสุนัขป่ำกับลูกแกะ ให้ข้อคิดแก่ผู้อ่ำนตำมข้อใด
ก. คบสองหนองแหลก ข. คบคนจรหมอนหมิ่น
ค. คบคนพำลพำลพำไปหำผิด ง. คบคนให้ดูหน้ำ ซื้อผ้ำให้ดูเนื้อ
28. “ชำติกักขฬะดุร้ำย สันดำน” คำว่ำ “กักขฬะ” มีควำมหมำยตรงกับข้อใด
ก. ดุร้ำยมำก ข. โหดร้ำยมำก
ค. เหี้ยมโหดมำก ง. หยำบคำยมำก
29. นิทำนอีสปเรื่องกระต่ำยกับเต่ำ ให้ข้อคิดแก่ผู้อ่ำนในเรื่องใด
ก. อย่ำลืมตัว ข. อย่ำไว้ใจทำง
ค. อย่ำวำงใจคน ง. อย่ำประมำทกำลังของคู่ต่อสู้
30. ข้อใดให้ควำมหมำยของคำศัพท์ไว้ไม่ถูกต้อง
ก. มละ = ควำมมัวหมอง
ข. เชื้อวงศ์ = ญำติพี่น้อง
ค. เชำวน์ชำญ = ปัญญำหรือควำมฉับไวที่ชัดเจน
ง. เบียนบีฑำ = เบียดเบียน
ที่มาของเรื
ที่มอ่ าของเรื
ง อ่ ง

- มำจำกบทกวีนิพนธ์อังกฤษ เรื่อง Elegy Written in a Country Churchyard ของ ทอมัส เกรย์ เขียนขึ้นที่สุสำน
เก่ำแก่ของเมืองสโตกโปจส์ ในมณฑลบักกิงแฮมเชอร์ หลังจำกกำรมรณกรรมของญำติและเพื่อนในเวลำไล่เลี่ยกัน
- โดยทั่วไปบทประพันธ์ประเภท Elegy เรียกได้ว่ำเป็นบทร้อยกรองกำสรด ซึ่งมีเนื้อหำเกี่ยวกับกำรมรณกรมของ
บุคคลใดบุคคลหนึ่งโดยเฉพำะ แต่บท Elegy ของเกรย์มีควำมหมำยที่กว้ำงขึ้นว่ำ เป็นการราพึงราพันถึงความตาย
ของมนุษย์ตลอดจนสิ่งที่บุคคลเหล่านั้นเห็นว่ามีคุณค่า
- ด้วยเนื้อหำทำให้เป็นบทร้อยกรองกำสรดของอังกฤษที่มีชื่อเสียงมำกที่สุด
ผู ผู้แต่ง
- แต่เดิมผู้ประพันธ์บทกวีนิพนธ์ดั้งเดิม คือ โทมัส เกรย์
- เสฐียรโกเศศและนาคะประทีบได้แปลบทกวีของทอมัส เกรย์ เป็นภำษำไทย
- พระยาอุปกิตศิลปสาร (นิ่ม กำญจนำชีวะ) ได้นำฉบับที่แปลแล้ว มำแต่งใหม่เป็นกลอนดอกสร้อยรำพึงในป่ำช้ำ
โดยให้มีเนื้อหำเข้ำกับธรรมเนียมไทย ดังนี้
เถาวัลย์
ต้นไอวี เปลี่ยนเป็น ............................................... ต้นโพธิ์
ต้มเอล์ม เปลี่ยนเป็น ........................
ต้นโพธิ์
แมลงบีตเทิล เปลี่ยนเป็น ...............................................
ผู้กู้บ้านเมืองเรืองปัญญา
โอลิเวอร์ ครอมเวลล์ เปลี่ยนเป็น ...............................................
ชาวบ้านบางระจัน
จอห์น แฮมพ์เด็น (นักกำรเมืองที่ต่อสู่เพื่อท้องถิ่นตน) เปลี่ยนเป็น ...............................................
จอห์น มิลตัน (กวีที่มีชื่อเสียงของอังกฤษ) ศรีปราชญ์
เปลี่ยนเป็น ...............................................

ลักษณะคำประพั
ลักษณะคำประพั นธ์ นธ์
- แต่งด้วยกลอนดอกสร้อย ซึ่งมีฉันทลักษณ์เหมือนกลอนสุภำพ แต่จะต่ำงกันตรงคำขึ้นต้นและลงท้ำย คือ จะขึ้นต้นด้วย
คำว่ำ “เอ๋ย” และลงท้ำยว่ำ “เอย”

แนวคิดของเรือ่ ง
- มุ่งแสดงถึงควำมจริงของชีวิตว่ำไม่มีผู้ใดหลีกหนีควำมตำยไปได้ สอดคล้องกับหลักธรรมทำงศำสนำพุทธ
เนือ้ เรือ่ งย่อเนือ้ เรือ่ งย่อ
ในเวลำใกล้ค่ำ มีชำยคนนึงเข้ำไปนั่งอยู่ในวัดชนบทแห่งหนึ่ง ซึ่งมีควำมสงบเงียบ เมื่อได้ยินเสียงระฆังดังบอกเวลำใกล้ค่ำ
เขำจึงมองดูไปรอบๆ เห็นชำวนำจูงฝูงวัวควำยเดินทำงกลับบ้ำน ครั้นสิ้นแสงตะวันแล้วเขำก็ได้ยินเสียงหรีดหริ่งเรไรร้อง และ
เสียงเกรำะในคอกสัตว์ นกแสงที่จับอยู่บนหอระฆังก็ส่งเสียงร้อง บริเวณโคนต้นโพธิ์ ต้นไทร ซึ่งบริเวณนั้นมีหลุมศพอยู่มำกมำย
ควำมเงียบสงบและควำมวิเวกช่วยทำให้เขำรู้ถึงสัจธรรมแห่งชีวิตข้อที่ว่ำ ผู้ดี มีจน นำย ไพร่ นักรบ กษัตริย์ ต่ำงก็มีจุดจบ
เหมือนกันทั้งหมด คือ ควำมตำย

การวิเคราะห์
การวิคเุณคราะห์
ค่า คณุ ค่า
คุณค่าด้านเนื้อหา
กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่ำช้ำทำให้ผู้อ่ำนรับรู้ถึงอำรมณ์ควำมรู้สึกได้ชัดเจน คือ อำรมณ์สะเทือนใจเกี่ยวกับชีวิต ควำม
ตำย ควำมเหงำ วังเวงใจ สังเวชใจ บรรยำยกำรในยำมใกล้ค่ำ ยิ่งทำให้เกิดควำมรู้สึกอ้ำงว้ำง ว้ำเหว่และสะเทือนใจ
คุณค่าด้คุาณนเนื
ค่า้อด้หา
านวรรณศิลป์
1. กำรใช้คำเลียนเสียงธรรมชำติ (สัทพจน์) เช่น
“วังเอ๋ยวังเวง หง่างเหง่ง! ย่ำค่ำระฆังขำน
ฝูงวัวควำยผ้ำยลำทิวำกำล ค่อยค่อยผ่ำนท้องทุ่งมุ่งถิ่นตน
ชำวนำเหนื่อยอ่อนต่ำงจรกลับ ตะวันลับอับแสงทุกแห่งหน
ทิ้งทุ่งให้มืดมัวทั่วมณฑล และทิ้งตนตูเปลี่ยวอยู่เดียวเอย”
2. กำรใช้คำเปรียบเทียบให้เข้ำใจชัดเจน (อุปมำ) เช่น
ห่ำงเอ๋ยห่ำงไกล ห่ำงจำกพวกมักใหญ่ฝักใฝ่หำ
แต่สิ่งซึ่งเหลวไหลใส่อำตมำ ควำมมักน้อยชำวนำไม่น้อมไป
เพื่อนรักษำควำมสรำญฐำนวิเวก ร่มเชื้อเฉกหุบเขำลำเนำไศล
สันโดษดับฟุ้งซ่ำนทะยำนใจ ตำมวิสัยชำวนำเย็นกว่ำเอย
3. กำรสมมติให้สิ่งไม่มีชีวิต มีอำรมณ์ควำมรู้สึกเหมือนคน (บุคคลวัต)
วังเอ๋ยวังเวง หง่ำงเหง่ง! ย่ำค่ำระฆังขำน
ฝูงวัวควำยผ้ำยลำทิวำกำล ค่อยค่อยผ่ำนท้องทุ่งมุ่งถิ่นตน
ชำวนำเหนื่อยอ่อนต่ำงจรกลับ ตะวันลับอับแสงทุกแห่งหน
ทิ้งทุ่งให้มืดมัวทั่วมณฑล และทิ้งตนตูเปลี่ยวอยู่เดียวเอย
4. กำรซ้ำคำเพื่อเน้นควำมหมำย เช่น
- หมดวิตกหมดเสียดำยหมดหมำยปอง
- ใครจะยอมละทิ้งซึ่งสิ่งสุข เคยเป็นทุกข์ห่วงใยเสียได้ง่ำย
ใครจะยอมละแดนแสนสบำย โดยไม่ชำยตำใฝ่อำลัยเอย
5. กำรใช้คำแสดงคำถำม
คุณค่าด้านแนวคิด
- กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่ำช้ำแสดงสัจธรรมของชีวิต คือ ควำมไม่เที่ยงแท้แน่นอน ทุกคนไม่สำมำรถหลีกเลี่ยงควำม
ตำยได้ กำรดำเนินชีวิตจึงควรรู้จักปล่อยวำง ไม่ยึดติดกับสิ่งใด

คุณค่าด้านสังคม
1. กำรหยิบยกบุคคลในประวัติศำสตร์มำเปรียบเปรย พร้อมกับให้ข้อคิด เช่น
ซำกเอ๋ยซำกศพ อาจเป็นซากนักรบผู้กล้าหาญ
เช่นชาวบ้านบางระจันขันราบาญ กับหมู่ม่ำนมำประทุษอยุธยำ
ไม่เช่นนั้นท่านกวีเช่นศรีปราชญ์ นอนอนำถเล่ห์ใบ้ไร้ภำษำ
หรือผู้กู้บ้ำนเมืองเรืองปัญญำ อำจจะมำนอนจมถมดินเอย
2. กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่ำช้ำ สะท้อนวิถีชีวิต ควำมเป็นอยู่ของสังคมเกษตรกร วิถีชีวิตที่เรียบง่ำยของชำวนำ

คำศัพท์ควรรู้
1. ทิวำกำล เวลากลางวัน
แปลว่ำ ................................................ 2. วิกำล ศรีปราชญ์
แปลว่ำ ................................................
3. ซ่อง ที่อยูท่ ี่พัก
แปลว่ำ ................................................ 4. แม่เหย้ำ แม่เหย้าแม่เรือน
แปลว่ำ ................................................

5. จินต์ ความคิด
แปลว่ำ ................................................ 6. อินทรีย์ ร่างกาย
แปลว่ำ ................................................

7. ปวัฒน์ ความเป็นไป
แปลว่ำ ................................................ 8. ขันธ์ ร่างกาย
แปลว่ำ ................................................

9. สันโดษ ความพอใจเท่าที่ตนมีอยู่
แปลว่ำ ................................................ 10. กวีเถื่อน ผู้มีความสามารถประพันธ์
แปลว่ำ ................................................
กวีที่ไม่ได้มีชอื่ เสียง

เพิ่มเติม
แนวข้อสอบ
- ที่มาและชื่อผู้แต่ง/แปล
- นกเอ๋ยนกแสก (วรรณศิลป์/การใช้คำ/การดัดแปลงวัฒนธรรม)
- ปฏิปุจฉา
- ความพอใจในสิ่งที่ตนมี (บทใด)
- คำศัพท์
- การดัดแปลงวัฒนธรรม
- ความหมายของบท มักเอ๋ยมักใหญ่
- การประกาศเกียรติคุณของคนตายหลังจากเขาตายแล้ว (บทใด)
แบบฝึกหัดที่ 1 จงเติมเครือ่ งหมายถูก (✓) และผิด () หน้าข้อความต่อไปนีใ้ ห้ถกู ต้อง
✓ 1. ผู้แต่งกลอนดอกสร้อยรำพึงในป่ำช้ำในฉบับดั้งเดิมภำษำอังกฤษคือ โทมัสเกรย์
..........
 2. นำคะประทีปเป็นผู้นำกวีนิพนธ์ของอังกฤษมำแต่งเป็นกลอนดอกสร้อยรำพึงในป่ำช้ำ ฉบับบภำษำไทย
..........
✓ 3. คนแรกของไทยที่แปลบทกวีดั้งเดิมของกลอนดอกสร้อยรำพึงในป่ำช้ำมำเป็นภำษำไทย คือ เสฐียรโกเศศ
..........
 4. Elegy ในควำมหมำยของโทมัส เกรย์ เป็นบทร้อยกรองกำสรดที่มีเนื้อหำรำพึงรำพันถึงกำรตำยของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
..........
✓ 5. กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่ำช้ำมีแนวคิดสำคัญที่กล่ำวถึงสัจธรรมที่มนุษย์ไม่สำมำรถหลีกเลี่ยงควำมตำยได้
..........
✓ 6. “สันโดษดับฟุ้งซ่ำนทะยำนใจ” มุ่งเน้นให้คนเรำพอใจในสิ่งที่ตนมี
..........
 7. พระยำอุปกิตศิลปสำรมีกำรเปลี่ยนจอห์น แฮมเด็น ให้เป็นศรีปรำชญ์
..........
✓ 8. พระยำอุปกิตศิลปสำรมีกำรเปลี่ยนโอลิเวอร์ ครอมเวลล์ให้เป็นผู้กู้บ้ำนเมืองเรืองปัญญำ
..........
 9. พระยำอุปกิตศิลปสำรมีกำรเปลี่ยนจอห์น มิลตันให้เป็นพันท้ำยนรสิงห์
..........
 10. “ใครจะยอมละทิ้งซึ่งสิ่งสุข” เป็นกำรแสดงคำถำมที่ไม่ต้องกำรคำตอบหรือเรียกว่ำ สัทพจน์
..........

แบบฝึกหัดที่ 2 จงจับคูค่ ำศัพท์และความหมายให้ถกู ต้อง


ก 1. ทิวำกำล
.......... ก. เวลำกลำงวัน
ค 2. อินทรีย์
.......... ข. ควำมเป็นไป
ง 3. แม่เหย้ำ
.......... ค. ร่ำงกำย
จ 4. กวีเถื่อน
.......... ง. แม่บ้ำนแม่เรือน
ข 5. ปวัฒน์
.......... จ. ผู้มีควำมสำมำรถประพันธ์กวีที่ไม่ได้มีชื่อเสียง
แบบทดสอบ เรือ่ ง กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า
1. ใครเป็นผู้แต่งกถำมุขของเรื่องกลอนดอกสร้อยรำพึงในป่ำช้ำ
ก. พระสำรประเสริฐ (ตรี นำคะประทีป) ข. พระยำอนุมำนรำชธน (ยง เสฐียรโกเศศ)
ค. พระยำอุปกิตศิลปสำร ง. ทอมัส เกรย์
2. แนวคิดหลักของกลอนดอกสร้อยรำพึงในป่ำช้ำคือข้อใด
ก. ทุกชีวิตมีควำมเสมอภำคกัน
ข. ชำวนำเป็นผู้ที่ปลูกข้ำวเพื่อเลี้ยงชำวโลก
ค. ทรัพย์สิน สมบัติ เงินทองล้วนแต่เป็นของนอกกำย
ง. ทุกชีวิตมีควำมตำยเป็นที่พึ่ง ควำมตำยจึงเป็นเรื่องธรรมดำของโลก
3. “สกุลเอ๋ยสกุลสูง ชักจูงจิตฟูชูศักดิ์ศรี
อำนำจนำควำมสง่ำอ่ำอินทรีย์ ควำมงำมนำให้มีไมตรีกัน
ควำมร่ำรวยอวยสุขให้ทุกอย่ำง เหล่ำนี้ต่ำงรอตำยทำลำยขันธ์
วิถีแห่งเกียรติยศทั้งหมดนั้น แต่ล้วนผันมำประจบหลุมศพเอย”
ข้อใดเป็นข้อสรุปที่ดีที่สุดของกลอนบทข้ำงต้น
ก. สมบัติทุกชิ้นต้องถูกฝังลงไปในหลุมศพ ข. ทุกชีวิตล้วนเดินทำงไปสู่ควำมตำย
ค. คนที่มีเกียรติต้องไปพบกันที่หลุมศพ ง. อำนำจทำให้บุคคลมีควำมสง่ำงำม
4. คำประพันธ์ข้อใดที่กวีกล่ำวถึงควำมพอเพียงในกำรดำเนินชีวิต
ก. อุทิศสิ่งซึ่งสร้ำงตำมทำงธรรม์ ของผู้นั้นผู้นี้แก่ผีเอย
ข. ไม่มีใครได้เชยเลยสักคน ย่อมบำนหล่นเปล่ำตำยมำกมำยเอย
ค. สันโดษคับฟุ้งว่ำนทะยำนใจ ตำมวิสัยชำวนำเย็นกว่ำเอย
ง. แหล่งหลุมลึกลำนสลดระทดใจ เรำยิ่งใกล้หลุมนั้นทุกวันเอย
5. “ใครจะยอมละทิ้งซึ่งสิ่งสุข เคยเป็นทุกข์ห่วงใยเสียได้ง่ำย
ใครจะยอมละแดนแสนสบำย โดยไม่ชำยตำใฝ่อำลัยเอย”
คำประพันธ์นี้กวีต้องกำรเสนอสำระสำคัญเกี่ยวกับเรื่องใด
ก. ให้ดำรงชีวิตอยู่อย่ำงเป็นสุขตลอดไป
ข. มนุษย์ควรรู้จักปล่อยวำงสิ่งต่ำง ๆ ในชีวิต
ค. กำรละทิ้งซึ่งควำมสุขก่อให้เกิดควำมทุกข์
ง. สังคมหลงมัวเมำในกิเลส
6. “ศพเอ๋ยศพไพร่ ไม่มีใครขึ้นชื่อระบือขำน
ไม่เกรงใครนินทำว่ำประจำน ไม่มีกำรจำรึกบันทึกคุณ
ถึงบำงที่มีบ้ำงเป็นอย่ำงเลิศ ก็ไม่ฉูดฉำดเชิดประเสริฐสุนทร์
พอเตือนใจได้บ้ำงในทำงบุญ เป็นเครื่องหนุนนำเหตุสังเวชเอย
บทประพันธ์ข้ำงต้นกวีกล่ำวด้วยน้ำเสียงอย่ำงไร
ก. ปลงตก ข. เคียดแค้น ค. ดูถูกดูหมิ่น ง. เยำะเย้ย
7. กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่ำช้ำมีควำมดีเด่นในด้ำนใดที่สุด
ก. เลือกสรรคำที่ไพเรำะ ข. สำนวนโวหำรกินใจ
ค. เตือนสติมนุษย์ทุกคน ง. มีสัมผัสแพรวพรำว
8. ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับกลอนดอกสร้อยรำพึงในป่ำช้ำ
ก. เนื้อหำมุ่งแสดงควำมไพเรำะของกำรใช้คำ
ข. เน้นกำรพรรณนำเกี่ยวกับควำมอ้ำงว้ำงของทุ่งนำ
ค. เป็นกวีนิพนธ์ขนำดสั้นที่มุ่งแสดงควำมคิดของกวี
ง. กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่ำช้ำมำจำกต้นฉบับแปล
9. “แห่งหลุมลึกลำนสลดระทดใจ เรำยิ่งใกล้หลุมนั้นทุกวันเอย” คำประพันธ์นี้มีควำมหมำยตรงกับข้อใด
ก. เรำยิ่งใกล้หลุมฝังศพเข้ำไปทุกที
ข. เรำยิ่งใกล้ควำมเงียบสงบเข้ำไปทุกที
ค. เรำยิ่งใกล้ควำมตำยเข้ำไปทุกที
ง. เรำยิ่งใกล้ควำมหลุดพ้นเข้ำไปทุกที
10. "นกเอ๋ยนกแสก จับจ้องร้องแจ๊กเพียงแถกขวัญ
อยู่บนยอดหอระฆังบังแสงจันทร์ มีเถำวัลย์รุงรังถึงหลังคำ"
จำกบทดังกล่ำวสะท้อนให้เห็นถึงคุณค่ำด้ำนเนื้อหำด้ำนใด
ก. แสดงให้เห็นถึงควำมคิด ควำมเชื่อของคนในสังคมไทย
ข. แสดงให้เห็นถึงวิถีชีวิตควำมเป็นอยู่ของคนในสังคม
ค. แสดงให้เห็นถึงวัฒนธรรมประเพณีของคนในสังคมไทย
ง. แสดงให้เห็นถึงค่ำนิยมของคนในสังคม
11. กลวิธีในกำรแต่งกลอนดอกสร้อยรำพึงในป่ำช้ำคือข้อใด
ก. กำรแต่งลักษณะเด่นทำงด้ำนวรรณศิลป์
ข. กำรแต่งโดยกำรใช้โวหำรเปรียบเทียบ
ค. กำรแต่งโดยถ่ำยทอดอำรมณ์ จิตนำกำร
ง. กำรแต่งดัดแปลงให้เข้ำธรรมเนียมไทย
12. ข้อใดเป็นกำรดัดแปลงวัฒนธรรมในกวีนิพนธ์อังกฤษดั้งเดิมของกลอนดอกสร้อยให้เข้ำกับธรรมเนียมไทยที่ถูกต้อง
ก. เปลี่ยนต้นเอล์มเป็นต้นไทร
ข. เปลี่ยนต้นไอวีเป็นเถำหัวลิง
ค. เปลี่ยนจอห์น แฮมพ์เด็นเป็นศรีปรำชญ์
ง. เปลี่ยนจอห์น มิลตันเป็นชำวบ้ำนบำงระจัน
ไม่มีข้อถูก
ลำดับขัน้ พระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์

King
Queen+พระพันปี
(+พระเทพ)
สมเด็จเจ้าฟ้า
พระองค์เจ้า + สมเด็จพระสังฆราช
หม่อมเจ้า

ลำดับ พระปรมาภิไธย/พระนามาภิไธย/พระนาม
- สมเด็จพระบรมชนกำธิเบศร มหำภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถบพิตร
1
- พระบำทสมเด็จพระปรเมนทรรำมำธิบดีศรีสินทรมหำวชิรำลงกรณ พระวชิรเกล้ำเจ้ำอยู่หัว
- สมเด็จพระนำงเจ้ำสิริกิติ์ พระบรมรำชินีนำถ พระบรมรำชชนนีพันปีหลวง
- สมเด็จพระนำงเจ้ำสุทิดำ พัชรสุธำพิมลลักษณ พระบรมรำชินี
2
- สมเด็จพระกนิษฐำธิรำชเจ้ำ กรมสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำ เจ้ำฟ้ำมหำจักรีสิรินธร มหำวชิรำลงกรณวร
รำชภักดี สิริกิจกำริณีพีรยพัฒน รัฐสีมำคุณำกรปิยชำติ สยำมบรมรำชกุมำรี
- สมเด็จพระเจ้ำน้องนำงเธอ เจ้ำฟ้ำจุฬำภรณวลัยลักษณ์ อัครรำชกุมำรี กรมพระศรีสวำงควัฒน วรขัตติย
รำชนำรี
- ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนรำชกัญญำ
3 - สมเด็จพระเจ้ำลูกเธอ เจ้ำฟ้ำพัชรกิติยำภำ นเรนทิรำเทพยวดี กรมหลวงรำชสำริณีสิริพัชร มหำวัชรรำช
ธิดำ
- สมเด็จพระเจ้ำลูกเธอ เจ้ำฟ้ำสิริวัณณวรี นำรีรัตนรำชกัญญำ
- สมเด็จพระเจ้ำลูกยำเธอ เจ้ำฟ้ำทีปังกรรัศมีโชติ มหำวชิโรตตมำงกูร สิริวิบูลยรำชกุมำร
ลำดับ พระปรมาภิไธย/พระนามาภิไธย/พระนาม
- พระเจ้ำวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ำโสมสวลี กรมหมื่นสุทธนำรีนำถ
- พระเจ้ำวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ำสิริภำจุฑำภรณ์
4
- พระเจ้ำวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ำอทิตยำทรกิติคุณ
- สมเด็จพระอริยวงศำคตญำณ สมเด็จพระสังฆรำช สกลมหำสังฆปริณำยก
5 - หม่อมเจ้ำ ..........................

แบบท่องจำราชาศัพท์
ตัวอย่างการใช้คำราชาศัพท์ในแต่ละชั้น
ชั้น 1 มีพระบรม/พระบรมราช คำว่ำ พระบรมราโชวาท พระบรมราชโองการ ใช้กับชั้น 1
ชั้น 2 พระบรมหำยไป (มีคำว่ำ “พระบรม” ใช้กับ King เท่ำนั้น)
ชั้น 3 (และชั้น 4) รำชนี้ไปไหน ยกเว้น!! พระบรมราชินูปถัมภ์ ใช้กับ Queen
ชั้น 5 สุดท้ำยใช้เท่ำที่มี ชั้น 2 ตัดบรมออก เหลือพระราโชวาท
(ชั้น 3 และชั้น 4 มีคำศัพท์บำงคำใช้ร่วมกันได้) ชั้น 3 และชั้น 4 ตัดราชออก เหลือพระโอวาท
ชั้น 5 ตัดพระออก เหลือโอวาท

คำนามราชาศัพท์
การใช้คำว่า “พระ”
คำนามราชาศัพท์ สังเกตคำว่า “พระ” ใช้กบั ชั้นที่ 1 2 3 และ 4
Key Concept ตัวอย่าง ลำดับชั้นทีใ่ ช้ได้
พระบรมรำช พระบรมรำชโองกำร 1
พระบรม พระบรมรำโชวำท ยกเว้น พระบรมรำชินูปถัมภ์
พระบรมเดชำนุภำพ
พระปรมำภิไธย
พระบรมฉำยำลักษณ์
พระรำช พระรำชดำริ พระรำชพำหนะ 123
พระรำชหัตถเลขำ พระรำชทรัพย์
พระ พระหัตถ์ / พระศอ / พระ ... 1234
*** ยกเว้น “พระราชทาน” เป็นกริยาราชาศัพท์
*** หมายเหตุ คำรำชำศัพท์บำงคำไม่ใช้ พระ ประกอบหน้ำ เช่น ฉลองพระบำท ฉลองพระองค์ ธำรพระกร
แปรงชำระพระทนต์ ฉลองพระเนตร ฉลองพระหัตถ์ รถพระที่นั่ง จำนเสวย โต๊ะทรงพระอักษร
การใช้คำว่า “ต้น” “หลวง
- “ต้น” และ “หลวง” ใช้ประกอบหลังคำนำมให้เป็นรำชำศัพท์ เช่น ช้ำงต้น ม้ำต้น เรือนหลวง วังหลวง
แต่คำบำงคำที่มี “หลวง” ต่อท้ำยก็ไม่ใช่คำรำชำศัพท์ เช่น เมียหลวง เขาหลวง ใหญ่หลวง ฯลฯ
- กำรใช้ ยานพาหนะ + “พระที่นั่ง” ก็ทำให้เป็นคำรำชำศัพท์ได้ เช่น รถพระที่นั่ง เรือพระที่นั่ง เครื่องบิน
พระที่นั่ง เป็นต้น

คำกริยาราชาศัพท์

การใช้คำว่า “ทรง”
คำกริยาราชาศัพท์ สังเกตคำว่า “ทรง”
Key Concept ตัวตาม ตัวอย่าง
ทรง กริยำสำมัญ ทรงฟัง ทรงวิ่ง ทรงยินดี ทรงยืน
ทรง นำมสำมัญ ทรงดนตรี ทรงศีล ทรงเรือใบ ทรงบำตร
ทรง ทรงพระประชวร ทรงพระกรุณำ
นำมรำชำศัพท์ ทรงพระอักษร ทรงพระปรีชำสำมำรถ
ทรงพระอุตสำหะ ทรงพระรำชสมภพ
มี/เป็น คำรำชำศัพท์ มีพระรำชโองกำร มีพระรำชเสำวนีย์
ทรงมี/ทรงเป็น ทรงเป็นอำจำรย์ ทรงเป็นผู้ดูแลช่วยเหลือ
คำสำมัญ
ทรงมีกีตำร์ ทรงมีสุนัขทรงเลี้ยง
********* ห้ามใช้ “ทรง” นำหน้าคำกริยาราชาศัพท์
เช่น บรรทม ตรัส สุบิน กริว้ ประทับ ทอดพระเนตร ดำเนิน เสด็จ ประสูติ เสวย โปรด พิโรธ

การใช้คำว่า “ทูลเกล้าฯ” และ “น้อมเกล้าฯ”


คำกริยาราชาศัพท์ สังเกตคำว่า “ทูลเกล้าฯ” และ “น้อมเกล้าฯ”
Key Concept ตัวตาม ตัวอย่าง
ทูลเกล้า ฯ ถวำย (อ่ำนว่ำ ทูลเกล้ำ ทูลเกล้ำ ฯ ถวำยช่อดอกไม้
ใช้กับสิ่งของที่ยกได้
ทูลกระหม่อมถวำย) ทูลเกล้ำ ฯ ถวำยกระเช้ำผลไม้
น้อมเกล้าฯ ถวำย (อ่ำนว่ำ น้อมเกล้ำ น้อมเกล้ำฯ ถวำยที่ดิน
ใช้กับสิ่งของที่ยกไม่ได้
น้อมกระหม่อมถวำย) น้อมเกล้ำฯ ถวำยรถยนต์
การใช้คำว่า “เสด็จ”
- พระบรมวงศำนุวงศ์ชั้น 1 และ 2 ใช้เสด็จพระราชดาเนิน (ไป) (แบบย่อ คือ เสด็จฯ)
- ส่วนพระบรมวงศำนุวงศ์ชั้น 3 ลงไปใช้ เสด็จไป
- เสด็จที่ไม่ต้องมี ฯ ตามมา (มีควำมหมำยเท่ำกับคำว่ำ “ทรง”) คือ เสด็จเข้ำ เสด็จออก เสด็จขึ้น เสด็จประพำส เสด็จ
สวรรคต เสด็จกลับ
- ใช้ “เฝ้าฯรับเสด็จ” หรือ “รับเสด็จ” ไม่ใช้ ถวำยกำรต้อนรับ

การใช้คำว่า “เกิด”
การใช้คำว่า “เกิด”
พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว
พระบรมรำชินีนำถ/รำชินี เสด็จพระรำชสมภพ/มีพระรำชสมภพ/ทรงพระรำชสมภพ
พระบรมรำชชนนี ยกเว้น พระบรมราชสมภพ ใช้กับ King เท่ำนั้น
พระยุพรำช/สมเด็จพระบรมรำชกุมำรี
สมเด็จเจ้ำฟ้ำ
พระองค์เจ้ำ
ประสูติ
พระสังฆรำช
หม่อมเจ้ำ

การใช้คำว่า “ตาย”
การใช้คำว่า “ตาย”
พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว
พระบรมรำชินีนำถ/รำชินี
สวรรคต
พระบรมรำชชนนี
พระยุพรำช/สมเด็จพระบรมรำชกุมำรี
เจ้ำฟ้ำซึ่งได้รับกำรเฉลิมยศพิเศษ (รัชกำลปัจจุบันไม่มีใช้) ทิวงคต
สมเด็จเจ้ำฟ้ำ
พระองค์เจ้ำ สิ้นพระชนม์
พระสังฆรำช
หม่อมเจ้ำ ถึงชีพิตักษัย / สิ้นชีพิตักษัย
พระสงฆ์ / สำมเณร มรณภำพ
ผู้ได้รับเครื่องรำชอิสริยำภรณชั้นปฐมจุลจอมเกล้ำ
ประธำนองคมนตรี องคมนตรี
ถึงแก่อสัญกรรม
นำยกรัฐมนตรี ประธำนวุฒิสภำ ประธำนรัฐสภำ
ประธำนสภำผู้แทนรำษฎร ประธำนศำลฎีกำ รัฐมนตรี
การใช้คำว่า “ตาย”
ผู้ได้รับเครื่องรำชอิสริยำภรณ์ตั้งแต่ชั้น
ประถมำภรณ์มงกุฎไทย ทุติยจุลจอมเกล้ำ หรือทุติย ถึงแก่อนิจกรรม
จุลจอมเกล้ำพิเศษ
สุภำพชนทั่วไป ถึงแก่กรรม

การใช้คำว่า “วันเกิด”
การใช้คำว่า “วันเกิด”
พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว วันพระบรมราชสมภพ
พระบรมรำชินีนำถ/รำชินี
พระบรมรำชชนนี วันพระรำชสมภพ
พระยุพรำช/สมเด็จพระบรมรำชกุมำรี
พระรำชวงศ์ทั่วไป วันประสูติ

เพิม่ เติม การใช้ “อาคันตุกะ” และ “พระราชอาคันตุกะ” ---- ดูที่ “เจ้าบ้าน” เป็นหลัก

อาคันตุกะ แปลว่ำ แขกผู้มำเยือน


- ถ้ำเจ้าบ้านเป็นพระมหาษัตริย์ ผู้มำเยือนจะเรียกว่ำ “พระราชอาคันตุกะ”
เช่น ประธำนำธิบดีเดินทำงมำเป็นพระรำชอำคันตุกะของพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว
- ถ้ำเจ้าบ้านไม่ใช่พระมหากษัตริย์ ผู้มำเยือนจะเรียกว่ำ “อาคันตุกะ”
เช่น พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวเสด็จฯไปทรงเป็นอำคันตุกะของประธำนำธิบดีสหรัฐอเมริกำ

พวกเราเหล่าเจ้าหญิง
ต้องใช้ราชาศัพท์ให้ถูกนะ!
คำศัพท์สำหรับพระภิกษุสงฆ์
คำศัพท์ ความหมาย คำศัพท์ ความหมาย
อำรำธนำ ขอเชิญ อำพำธ ป่วย
ฉัน ทำน มรณภำพ ตำย
ภัตตำหำร อำหำร คิลำนเภสัช ยำรักษำโรค
*จังหัน อำหำรสำหรับพระ ปัจจัย เงิน
ถวำย ให้ อุปสมบท บวชพระ
อำสนะ ที่นั่ง บรรพชำ บวชเณร
*เสนำสนะ สถำนที่พระภิกษุใช้อำศัย ลิขิต จดหมำย
กุฏิ เรือนพักในวัด ครองผ้ำ แต่งตัว
จำวัด นอน ทำวัตร สวดมนต์
จำพรรษำ อยู่ประจำวัด สรงน้ำ อำบน้ำ
ปลงผม โกนผม ปลงอำบัติ แจ้งควำมผิดให้ทรำบ

คำสุภาพ

คำสุภาพ ความหมาย คำศัพท์ ความหมาย


ผักทอดยอด ผักบุ้ง ขนมบัวสำว ขนมเทียน
ผักสำมหำว ผักตบชวำ ขนมทองฟู ขนมตำล
ผักรู้นอน ผักกระเฉด ขนมเส้น ขนมจีน
เห็ดปลวก เห็ดโคน นำรีจำศีล กล้วยบวชชี
ต้นขจร ต้นสลิด ปลำมัจฉะ ปลำร้ำ
ถั่วเพำะ ถั่วงอก ปลำใบไม้ บวชพระ
ดอกมูลเหล็ก ดอกขี้เหล็ก ปลำยำว ปลำไหล
ดอกมัลลิกำ ดอกมะลิ จิตรจุล เต่ำ
ดอกขจร ดอกสลิด วำนร ลิง
ดอกสำมหำว ดอกผักตบ วิฬำร วิฬำร
กล้วยเปลือกบำง กล้วยไข่ ผลอัมพรำ ลูกมะม่วง

เพิม่ เติม
ตัว
ช้างป่า 1 ........................................ เชือก
ช้างบ้าน 1 .............................................. ช้าง
ช้างหลวง 1 ..............................................
แบบฝึกหัดที่ 1 จงเติมเครือ่ งหมายถูก (✓) หน้าข้อความทีใ่ ช้คำราชาศัพท์ถกู ต้องและผิด () หน้าข้อความทีใ่ ช้คำราชาศัพท์ผดิ
พร้อมแก้ไขให้ถกู ต้อง
✓ 1. พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวพระรำชทำนถุงยังชีพแก่ผู้ประสบภัยน้ำท่วม
..........
 2. สมเด็จพระกนิษฐำธิรำชเจ้ำ กรมสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ ทรงโปรดผลไม้ไทย
..........
 3. สมเด็จพระเจ้ำลูกยำเธอ เจ้ำฟ้ำทีปังกรรัศมีโชติเสด็จฯไปทอดพระเนตรงำนนิทรรศกำรที่หอสมุดแห่งชำติ
..........
 4. พระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิเบศร มหำภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช ประสูติที่สวิตเซอร์แลนด์
..........
เสด็จพระราชสมภพ
✓ 5. สมเด็จพระบรมรำชินีนำถทรงสนพระรำชหฤทัยในกำรบรรเลงเปียโน
..........
 6. เหล่ำนักเรียนกำลังถวำยบังคมพระบรมฉำยำลักษณ์ (รูปวำด) ของสมเด็จพระบรมรำชชนนีพันปีหลวง
..........
พระบรมสาทิสลักษณ์
✓ 7. ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนรำชกัญญำทรงห่วงใยในปัญหำยำเสพติดที่เกิดขึ้นกับเยำวชน
..........
 8. สมเด็จพระเจ้ำลูกเธอเจ้ำฟ้ำสิริวัณณวรีนำรีรัตนรำชกัญญำเสด็จไปเป็นพระรำชอำคันตุกะของประธำนำธิบดีอังกฤษ
..........
 9. คณะผู้บริหำรโรงเรียนสำมเสนวิทยำลัยทูลเกล้ำฯถวำยศูนย์กำรเรียนรู้ดำรำศำสตร์ท้องฟ้ำจำลองแด่สมเด็จฯพระเทพ
..........
น้อมเกล้าฯ
 10. วันคล้ำยวันพระบรมรำชสมภพของพระบรมรำชชนนีพันปีหลวง คือวันที่ 12 ส.ค. ของทุกปี
..........

แบบฝึกหัดที่ 2 จงจับคูค่ ำศัพท์และความหมายให้ถกู ต้อง แบบฝึกหัดที่ 3 จงเติมคำสุภาพให้ถกู ต้อง


ซ 1. จำวัด
.......... ก. จดหมำย 1. ไส้เดือน รากดิ น
.......................................................
ค 2. ทำวัตร
.......... ข. ยำรักษำโรค 2. ผักกระเฉด ผั.......................................................
กรู้นอน
ฌ 3. ปลงผม
.......... ค. สวดมนต์ 3. เต่ำ จิ.......................................................
ตรจุล
ช 4. จำพรรษำ
.......... ง. ที่นั่ง 4. ขนมตำล ขนมทองฟู
.......................................................
ญ 5. ปลงอำบัติ
.......... จ. สถำนที่พระภิกษุใช้อำศัย 5. เห็ดโคน เห็ดปลวก
.......................................................
ฉ 6. จังหัน
.......... ฉ. อำหำร/เครื่องคำวหวำน 6. ผักบุ้ง ผักทอดยอด
.......................................................
ง 7. อำสนะ
.......... ช. อยู่ประจำวัด 7. ดอกสลิด ดอกขจร
.......................................................
จ 8. เสนำสนะ
.......... ซ. นอน ดอกมูลเหล็ก
8. ดอกขี้เหล็ก .......................................................
ก 9. ลิขิต
.......... ฌ. โกนผม กล้วยไข่
9. กล้วยเปลือกบำง...................................................
ข 10. คิลำนเภสัช
.......... ญ. แจ้งควำมผิดให้ทรำบ ดอกมะลิ
10. ดอกมัลลิกำ .......................................................
แบบทดสอบ เรือ่ ง คำราชาศัพท์และคำสุภาพ
1. ข้อใดใช้คำรำชำศัพท์ผิด แนวข้อสอบ
ก. ทรงพระผนวช ข. ทรงพระประชวร -ราชาศัพท์ 5 ข้อ
ค. ทรงโปรด ง. ทรงวิ่ง -คำสุภาพ 3 ข้อ
2. ข้อใดใช้คำรำชำศัพท์ไม่ถูกต้อง -คำศัพท์สำหรับพระภิกษุ 3 ข้อ
ก. พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว เสวยพระกระยำหำรค่ำ
ข. สมเด็จพระนำงเจ้ำฯ พระบรมรำชินีนำถ พระบรมรำชชนนีพันปีหลวง ทรงมีพระรำชปฏิสันถำรกับประชำชน
ค. พระเจ้ำวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ำสิริภำจุฑำภรณ์ทรงขับเครื่องบินด้วยพระองค์เอง
ง. ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนรำชกัญญำ สิริวัฒนำพรรณวดีทรงจุดธูปเทียนบูชำพระรัตนตรัย
3. ข้อใดใช้คำรำชำศัพท์ไม่ถูกต้อง
ก. พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว เสด็จฯ ไปทรงบำเพ็ญพระรำชกุศลในกำรพระรำชพิธีสงกรำนต์
ข. สมเด็จพระนำงเจ้ำฯ พระบรมรำชินีนำถ ทรงพระรำชทำนพระรำชทรัพย์แก่ครอบครัวครูจูหลิง
ค. สมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี เสด็จฯ ไปทรงเปิดอำคำรเฉลิมพระเกียรติ
ง. พระเจ้ำวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ำโสมสวลี กรมหมื่นสุทธนำรีนำถ เสด็จไปทรงเยือนประเทศมำเลเซีย
4. คำกริยำในข้อใดต้องใช้ “ทรง” นำหน้ำ
ก. กริ้ว ข. ตรัส
ค. บรรยำย ง. ทอดพระเนตร
5. คำกริยำรำชำศัพท์ในข้อใดมีควำมหมำยต่ำงจำกข้ออื่น
ก. ทรงม้ำ ข. ทรงรถ
ค. ทรงช้ำง ง. ทรงกีฬำ
6. ข้อใดใช้คำรำชำศัพท์ถูกต้อง
ก. สมเด็จพระนำงเจ้ำสุทิดำฯ พระบรมรำชินีทรงตรัสกับพสกนิกรที่มำเข้ำเฝ้ำ
ข. พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวฯทรงเสด็จไปเปิดสะพำนพระรำมแปด
ค. พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวฯทรงขอบใจประชำชนที่ทูลเกล้ำฯถวำยกระเช้ำผลไม้
ง. สมเด็จพระกนิษฐำธิรำชเจ้ำ กรมสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ ทรงทอดพระเนตรกำรแสดงโขนที่จัดขึ้นโดยกรม
ศิลปำกร
7. “ข้ำพระพุทธเจ้ำ ขอ...ถวำยที่ดินจำนวน 5 ไร่ แด่พระองค์ท่ำน พระพุทธเจ้ำข้ำ” คำในข้อใดเหมำะสมที่จะนำไปเติมใน
ช่องว่ำง
ก. ทูลเกล้ำ ข. น้อมเกล้ำ
ค. ทูลเกล้ำทูลกระหม่อม ง. น้อมเกล้ำน้อมกระหม่อม
8. ข้อควำมตอนใดใช้คำรำชำศัพท์ไม่ถูกต้อง
เมื่อ (1) เสด็จพระรำชดำเนินเข้ำสู่พลับพลำพิธีแล้ว/ (2)ทรงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสกำรบูชำพระพุทธนวรำชบพิตร/ (3)ทรง
ประทับพระรำชอำสน์ และ/ (4)ทรงศีล
ก. ตอนที่ 1 ข. ตอนที่ 2
ค. ตอนที่ 3 ง. ตอนที่ 4
9. ข้อใดเป็นคำรำชำศัพท์ที่ใช้แทนคำกริยำในวงเล็บได้ถูกต้องตำมลำดับ
พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว ........(1).......... (ไป) ไปทรงเป็นประธำนเพื่อ..........(2)............ (ให้)ปริญญำบัตรแก่ผู้ที่
สำเร็จกำรศึกษำ ณ จุฬำลงกรณมหำวิทยำลัย
ก. (1) เสด็จ (2) ทรงประทำน
ข. (1) เสด็จ (2) ทรงพระรำชทำน
ค. (1) เสด็จพระรำชดำเนิน (2) ทรงประทำน
ง. (1) เสด็จพระรำชดำเนิน (2) พระรำชทำน
10. ข้อใดใช้คำรำชำศัพท์ไม่ถูกต้อง
ก. วันที่ 2 เมษำยนของทุกปีเป็นวันคล้ำยวันพระรำชสมภพของสมเด็จพระกนิษฐำธิรำชเจ้ำ กรมสมเด็จพระเทพ
รัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี
ข. รัฐบำลเตรียมจัดงำนบำเพ็ญพระรำชกุศลวันคล้ำยวันประสูติสมเด็จพระสังฆรำช เนื่องในโอกำสพระชนมำยุครบ ๙๓
พรรษำ
ค. เมื่อได้ทรำบข่ำวกำรสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระรำชินีอลิซำเบธที่ ๒ ทำให้ฉันรู้สึกใจหำย
ง. นำยกรัฐมนตรีได้เข้ำร่วมพิธีวำงพวงมำลำที่พระบรมรำชำนุสำวรีย์พระบำทสมเด็จพระปรเมนทรมหำอำนันทมหิดล
เนื่องในโอกำสวันคล้ำยวันสวรรคต
11. ข้อควำมตอนใดใช้คำรำชำศัพท์ไม่ถูกต้อง
เมื่อ (1) เสด็จพระรำชดำเนินเข้ำสู่พลับพลำพิธีแล้ว/ (2) ทรงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสกำรบูชำพระพุทธนวรำชบพิตร/
(3) ทรงประทับพระรำชอำสน์ และ/ (4) ทรงศีล
ก. ตอนที่ 1 ข. ตอนที่ 2 ค. ตอนที่ 3 ง. ตอนที่ 4
12. ข้อใดเป็นคำศัพท์สำหรับพระภิกษุที่ใช้แทนคำกริยำในวงเล็บได้ถูกต้องตำมลำดับ
พระสงฆ์ที่ ........(1).......... (บวช) เข้ำมำมักจะมีกิจวัตรคือ กำร ........(2).......... (สวดมนต์) ในช่วงเช้ำและเย็น หลังจำก
นั้นก็อำจจะกลับไป ........(3).......... (นอน) ที่ ........(4).......... (ที่อยู่สำหรับพระ)
ก. (1) อุปสมบท (2) จำวัด (3) จำพรรษำ (4) อำสนะ
ข. (1) อุปสมบท (2) ทำวัตร (3) จำวัด (4) เสนำสนะ
ค. (1) บรรพชำ (2) ทำวัตร (3) จำพรรษำ (4) อำสนะ
ง. (1) บรรพชำ (2) เจริญพระพุทธมนต์ (3) จำวัด (4) เสนำสนะ
13. ข้อใดใช้คำศัพท์สำหรับพระภิกษุไม่ถูกต้อง
ก. พระน้อยกำลังฉันภัตตำหำรเพลที่กุฏิ ข. พระนนสรงน้ำเสร็จแล้วไปปลงอำบัติเพรำะผมยำว
ค. พระนำคเขียนปัจจัยแล้วส่งให้เจ้ำอำวำธ ง. พระน่วมมรณภำพแล้วหลังจำกอำพำธมำนำน
14. ข้อใดจับคู่คำสุภำพได้ถูกต้อง
ก. ผักตบชวำ - ผักสำมหำว ข. ปลำไหล - ปลำยำว
ค. ดอกมะลิ - ดอกมณฑำขำว ง. กล้วยบวชชี – นำรีจำศีล
15. ข้อใดมีคำที่ไม่ได้จัดอยู่ในหมวดหมู่เดียวกันทั้งหมด
ก. สัปปะ ทิชำกร วิฬำร์ ข. นำรีจำศีล ขนมทองฟู จรกำลงสรง
ค. ผลอุลิด ผลอัมพรำ ผลมูลละมั่ง ง. ปลำหำง ปลำใบไม้ ปลำมัจฉะ
คำไทยแท้เจตนาของประโยค
1. ประโยคแจ้งให้ทราบ เช่น ลิซ่ำยิ้มหวำนมำก ฉันกำลังเรียนหนังสือ โรงเรียนจัดกำรสอบในสัปดำห์หน้ำ
2. ประโยคถามให้ตอบ เช่น เธอจะไปอ่ำนหนังสือที่ไหน เมื่อไหร่เธอจะเลิกเล่นโทรศัพท์ เทอมนี้เรำจะได้เกรดเท่ำไหร่
3. ประโยคบอกให้ทำ เช่น โปรดช่วยเหลือนักเรียนตำดำ ๆ ห้ำมกินขนมในห้องเรียน กรุณำปฏิบัติตำมคำแนะนำของโรงเรียน

ส่วนประกอบของประโยค
ภาคประธาน ภาคแสดง
ประโยค ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ ประธาน(S) กริยา(V)+กรรม(O)
ตัวอย่ำง เช่น จุ๊มเหม่ง + วิ่งเล่นอยู่ที่สนามหญ้า

ชนิดของประโยค 3 ชนิด ได้แก่ ประโยคความเดียว ประโยคความรวม ประโยคความซ้อน

1. ประโยคความเดียว (เอกรรถประโยค)
มีใจควำมสำคัญเดียว ประธานตัวเดียว ทำกริยาหลักตัวเดียว
เช่น - แม่กำลังทำกับข้ำวอยู่ในครัว ----- แม่ + ทำ + กับข้าว + อยูใ่ นครัว --
(ปธ.) (กริยำ) (กรรม) (ขยำยกริยำ)

- เด็กผู้หญิงคนนั้นจูงสุนัขตัวสีน้ำตำลมำด้วย ------ เด็กผูห้ ญิง + คนนั้น + จูง + สุนขั + ตัวสีนำ้ ตาล + มาด้วย
(ปธ.) (ขยำยปธ.) (กริยำ) (กรรม) (ขยำยกรรม) (ขยำยกริยำ)
- งำนนี้ลุลว่ งไปได้ด้วยควำมร่วมมือจำกทุกฝ่ำย
- ในปี 2563 ทั่วโลกเผชิญกับโรคโควิด 19
- กำรออกกำลังกำยอย่ำงสม่ำเสมอทำให้สุขภำพแข็งแรง
- คณะกรรมกำรต่อต้ำนควำมอดยำกและขำดสำรอำหำรได้แจกจ่ำยขนมปังโปรตีนสูงแก่นักเรียนตำมชนบท
2. ประโยคความรวม (อเนกรรถประโยค)
เป็นกำรนำประโยคควำมเดียว 2 ประโยคมำรวมกันโดยมีสันธานเป็นตัวเชื่อม เดียว + เดียว = รวม
โครงสร้าง เดียว 1 + เชื่อมสันธาน + เดียว 2
ประโยคควำมรวมมี 4 ชนิด แยกตำมชนิดสันธำนเชื่อมประโยค ดังนี้
1. ประโยคความรวมที่มีเนื้อความคล้อยตามกัน
- สันธำนที่ใช้เชื่อม คือ และ กับ พอ...ก็ แล้วก็ ทั้ง...และ ฯลฯ
- เช่น แป้งและดำวไปเที่ยวทะเล
พอฝนตกน้ำก็เริ่มท่วม
พี่ทำกำรบ้ำนเสร็จแล้วก็เล่นเกม
2. ประโยคความรวมที่มีเนื้อความขัดแย้งกัน
- สันธำนที่ใช้เชื่อม คือ แม้...แต่ ถึงแม้ว่า...แต่ก็ ทั้งๆที่...แต่ กว่า...ก็ ฯลฯ
- เช่น แม้จะใช้เวลำนำนแต่ผลงำนก็ออกมำคุ้มค่ำ
ทั้ง ๆ ทีเ่ ขำหน้ำตำดีแต่กลับพูดจำไม่ไพเรำะ
กว่าจะรู้ว่ำผิดก็สำยเกินไปเสียแล้ว
3. ประโยคความรวมที่มีเนื้อความเป็นเหตุเป็นผลกัน
- สันธำนที่ใช้เชื่อม คือ ดังนั้น...จึง เพราะ...จึง เพราะ จึง ฯลฯ
- เช่น เขำรักษำวำจำดังนั้นเพื่อนจึงไว้วำงใจเขำ
เพราะเขายิ้มแย้มแจ่มใสจึงเป็นที่รักของทุกคน
ฝนตกหนักน้ำจึงท่วมบ้านเรือนประชาชน
4. ประโยคความรวมที่มีเนื้อความเลือกอย่างใดอย่างหนึง่
- สันธำนที่ใช้เชื่อม คือ ไม่...ก็ หรือ มิฉะนั้น ไม่เช่นนั้น ฯลฯ
- เช่น ไม่เธอก็เขำต้องไปพบครูที่ปรึกษำ
คุณต้องกำรรับชำนมไข่มุกหรือชำเย็น
อย่ำขี้เกียจเกินไปมิฉะนั้นจะลำบำกในอนำคต

3. ประโยคความซ้อน (สังกรประโยค) ประโยคความเดียวสองประโยคมาซ้อนกัน


ลักษณะของประโยคควำมซ้อนประกอบด้วย 2 ส่วน คือ **ข้อสังเกตประโยคความซ้อน**
1. มุขยประโยค คือ ประโยคหลัก ที่มใี จความสาคัญ มีกริยามากกว่า 1 ตัว และบาง
2. อนุประโยค คือ ประโยคย่อย ที่มำซ้อนประโยคหลัก
ประโยคมีตัวเชื่อมประพันธ-
สรรพนาม ผู้ ที่ ซึง่ อัน
ตัวอย่ำงที่ 1 แมวที่มีขนปุยวิ่งขึ้นต้นไม้
แมววิ่งขึ้นต้นไม้
ประโยคหลัก คือ ...............................................................................................................
ที่มีขนปุย
ประโยคย่อย คือ ...............................................................................................................
ขยายคำว่า “แมว”
หน้ำที่ของประโยคย่อย คือ ...............................................................................................

ตัวอย่ำงที่ 2 สมชายไม่ชอบคนพูดหยาบคาย
สมชายไม่ชอบคน
ประโยคหลัก คือ ...............................................................................................................
คนพูดหยาบคาย
ประโยคย่อย คือ ...............................................................................................................
เป็นกรรมของประโยค
หน้ำที่ของประโยคย่อย คือ ...............................................................................................

ตัวอย่ำงที่ 3 ฉันรู้จักคนที่มีความสามารถด้านดนตรี
ฉันรู้จักคน
ประโยคหลัก คือ ...............................................................................................................
ที่มีความสามารถด้านดนตรี
ประโยคย่อย คือ ...............................................................................................................
ขยายคำว่า “คน”
หน้ำที่ของประโยคย่อย คือ ...............................................................................................
ส่วนขยายของประโยคความซ้อน (ประโยคย่อย) มี 3 ชนิด คือ
1. นามานุประโยค ทำหน้ำทีเ่ ป็นประธำน กรรม และส่วนเติมเต็ม
2. คุณานุประโยค ทำหน้ำทีข่ ยำยคำนำมและคำสรรพนำม
3. วิเศษณานุประโยค ทำหน้ำทีข่ ยำยคำกริยำและคำวิเศษณ์

1. นามานุประโยค เป็นประโยคย่อยที่นำมำซ้อนเพื่อทำหน้ำที่เป็นประธำน กรรมและส่วนเติมเต็ม

ตัวอย่ำงที่ 1 คนขาดมารยาทเป็นคนน่ารังเกียจ
คนเป็นคนน่ารังเกียจ
ประโยคหลัก คือ ...............................................................................................................
คนขาดมารยาท
ประโยคย่อย คือ ...............................................................................................................
เป็นประธานของประโยค
หน้ำที่ของประโยคย่อย คือ ...............................................................................................

ตัวอย่ำงที่ 2 ตำรวจจับผู้รา้ ยวิ่งราวกระเป๋า


ตำรวจจับผู้รา้ ย
ประโยคหลัก คือ ...............................................................................................................
ผู้ร้ายวิ่งราวกระเป๋า
ประโยคย่อย คือ ...............................................................................................................
เป็นกรรมของประโยค
หน้ำที่ของประโยคย่อย คือ ...............................................................................................
ตัวอย่ำงที่ 3 สมศรีเป็นครูสอนภาษาไทย
สมศรีเป็นครู
ประโยคหลัก คือ ...............................................................................................................
ครูสอนภาษาไทย
ประโยคย่อย คือ ...............................................................................................................
เป็นส่วนเติมเต็มของประโยค
หน้ำที่ของประโยคย่อย คือ ...............................................................................................

เพิม่ เติม
ส่วนเติมเต็มของประโยค คือ ส่วนทีท่ ำหน้าทีเ่ สริมใจความของประโยคให้
สมบูรณ์ ทำหน้าที่คล้ายกรรมแต่ไม่ใช่กรรม เพราะไม่ได้ถูกกระทำ กริยาที่ใช้
เป็นส่วนเติมเต็มต้องมีคำนามหรือคำสรรพนามมาขยายจึงจะได้ใจความสมบูรณ์
ได้แก่กริยา “เป็น คล้าย เท่า คือ เหมือน”

2. คุณานุประโยค ทำหน้ำทีข่ ยำยคานามและคาสรรพนามมี ผู้ ที่ ซึง่ อัน เป็นตัวเชื่อม


ตัวอย่ำงที่ 1 เขาผู้มีความกล้าเดินขึ้นบนเวที
เขาเดินขึน้ บนเวที
ประโยคหลัก คือ ...............................................................................................................
ผู้มีความกล้า
ประโยคย่อย คือ ...............................................................................................................
ขยายคำสรรพนามว่า “เขา”
หน้ำที่ของประโยคย่อย คือ ...............................................................................................

ตัวอย่ำงที่ 2 เขาต้องการข้อมูลซึง่ ตรงกับข้อเท็จจริง


เขาต้องการข้อมูล
ประโยคหลัก คือ ...............................................................................................................
ซึ่งตรงกับข้อเท็จจริง
ประโยคย่อย คือ ...............................................................................................................
ขยายคำนามว่า “ข้อมูล”
หน้ำที่ของประโยคย่อย คือ ...............................................................................................

ตัวอย่ำงที่ 3 เราต้องกำจัดความประมาทอันก่อให้เกิดความผิดพลาด
เราต้องกำจัดความประมาท
ประโยคหลัก คือ ...............................................................................................................
อันก่อให้เกิดความผิดพลาด
ประโยคย่อย คือ ...............................................................................................................
ขยายคำนามว่า “ความประมาท”
หน้ำที่ของประโยคย่อย คือ ...............................................................................................
3. วิเศษณานุประโยค ทำหน้ำทีข่ ยำยคากริยาและคาวิเศษณ์มี ที่ ซึง่ อัน เมือ่ จน เพราะ
เรียงอยู่หลังกริยาหรือวิเศษณ์

ตัวอย่ำงที่ 1 คำหยาบคายอันไร้สาระเป็นสมบัติของคนไม่ดี
คำหยาบคายเป็นสมบัติของคนไม่ดี
ประโยคหลัก คือ ...............................................................................................................
อันไร้สาระ
ประโยคย่อย คือ ...............................................................................................................
ขยายคำวิเศษณ์ว่า “หยาบคาย”
หน้ำที่ของประโยคย่อย คือ ...............................................................................................

ตัวอย่ำงที่ 2 เขาเป็นลมเมื่อขาดอากาศหายใจ
เขาเป็นลม
ประโยคหลัก คือ ...............................................................................................................
เมื่อขาดอากาศหายใจ
ประโยคย่อย คือ ...............................................................................................................
ขยายคำกริยาว่า “เป็นลม”
หน้ำที่ของประโยคย่อย คือ ...............................................................................................

ตัวอย่ำงที่ 3 แม่เร่งทำงานเพื่อหาเงินมาจ่ายค่าเรียนของฉัน
แม่เร่งทำงาน
ประโยคหลัก คือ ...............................................................................................................
เพื่อหาเงินมาจ่ายค่าเรียนของฉัน
ประโยคย่อย คือ ...............................................................................................................
ขยายคำกริยาว่า “ทำงาน”
หน้ำที่ของประโยคย่อย คือ ...............................................................................................

หลักการจำแนกชนิดของประโยค
1. หำประธำนและคำกริยำในประโยคให้เจอ ถ้ำมีประธำน 1 ตัวทำกริยำ 1 อย่ำงเป็น --- ประโยคความเดียว

2. ถ้ำประโยคมีคำกริยำมำกกว่ำ 1 ให้หำคำสันธำนหรือคำเชื่อม ถ้ำมีคำเชื่อมเป็น --- ประโยคความรวม


3. ถ้ำไม่มีคำสันธำนหรือคำเชื่อม ให้ลองแยกประโยค ถ้ำสำมำรถแยกได้เป็นประโยคหลักและประโยคย่อย
เป็น ประโยคความรวม ซึ่งสำมำรถจำแนกประเภทได้โดยมีหลักสังเกต ดังนี้
ถ้ำประโยคย่อยทำหน้ำที่เป็นประธำน หรือกรรม หรือส่วนเติมเต็ม เป็น นามานุประโยค
ถ้ำประโยคย่อยมีคำว่ำ “ผู้ ที่ ซึ่ง อัน” แล้วตำมหลังคำนำม/สรรพนำม เป็น คุณานุประโยค
ถ้ำประโยคย่อยมีคำว่ำ “ที่ ซึ่ง อัน เมื่อ จน เพราะ”แล้วตำมหลังกริยำหรือสรรพนำม เป็น วิเศษณานุประโยค
แบบฝึกหัดที่ 1 ให้นกั เรียนบอกชนิดของประโยคให้ถกู ต้อง
ประโยคความเดียว ประโยคความรวม ประโยคความซ้อน
ประโยคความเดียว 1. คนไทยทุกคนควรรักษำกฎหมำยอย่ำงเคร่งครัด
..........................................
ประโยคความรวม 2. วันนี้เธอจะไปกับเขำหรือฉัน
..........................................
ประโยคความเดียว 3. ปลำโลมำตัวใหญ่ใ นมหำสมุทรแปซิฟิกกำลังจะสูญพันธุ์ในไม่ช้ำนี้
..........................................
ประโยคความซ้อน 4. มันเป็นอะไรที่พูดยำก
..........................................
ประโยคความเดียว 5. แล้วแต่ว่ำเธอจะกินอะไร
..........................................
ประโยคความซ้อน 6. ลิซ่ำเป็นหนึ่งในศิลปินชำวไทยที่มีชื่อเสียงในต่ำงแดน
..........................................
ประโยคความรวม 7. ถึงเธอจะปฏิเสธอีกกี่ครั้ง ฉันก็ยังยืนยันคำตอบเดิม
..........................................
ประโยคความซ้อน 8. ภำรโรงกำลังไปตีงูกินแมว
..........................................
ประโยคความซ้อน 9. ทรัพย์สินที่เธอครอบครองมำจำกกำรทุจริตทั้งนั้น
..........................................
ประโยคความซ้อน 10. เธอนอนน้อยจนต้องมำนั่งหลับในห้องเรียน
..........................................

แบบฝึกหัดที่ 2 ให้นกั เรียนบอกชนิดของเนื้อความประโยคความรวมให้ถกู ต้อง

เนื้อความคล้อยตามกัน เนื้อความขัดแย้งกัน เนื้อความเป็นเหตุเป็นผลกัน เนื้อความเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง

เนื้อความคล้อยตามกัน 1. พอครูมำเขำก็เก็บโทรศัพท์
..........................................
เนื้อความขัดแย้งกัน 2. ฉันอยำกซื้อของแต่ฉันไม่มีเงิน
..........................................
เนื้อความขัดแย้งกัน 3. กว่ำจะรู้ควำมจริงเขำก็หนีไปแล้ว
..........................................
เนื ้อความเป็นเหตุเป็นผลกัน 4. ฉันเป็นหวัด เพรำะโดนฝน
..........................................
เนื..........................................
้อความเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง5. คุณอยำกเป็นหมอหรืออยำกเป็นทนำยควำม

เนื้อความคล้อยตามกัน 6. คุณพ่อและคุณแม่ไปทำงำน
..........................................
เนื้อความเป็นเหตุเป็นผลกัน 7. หนังสือเล่มนี้แพง เพรำะฉะนั้นเขำจึงหวงมันมำก
..........................................
เนื้อความเป็นเหตุเป็นผลกัน 8. เขำขยันจึงสอบได้
..........................................
เนื้อความขัดแย้งกัน 9. เขำอยำกเรียนอักษรศำสตร์ แต่ทว่ำพ่อให้เรียนคุรุศำสตร์
..........................................
เนื้อความคล้อยตามกัน 10. ทั้งฉันและเพื่อนล้วนชอบเขำเหมือนกัน
..........................................
แบบฝึกหัดที่ 3 ให้นกั เรียนบอกชนิดของประโยคความซ้อน พร้อมวิเคราะห์สว่ นประกอบของประโยคให้ถกู ต้อง
ประโยคหลัก ประโยคย่อย หน้าที่ของ ชนิดของ
ประโยค
(มุขยประโยค) (อนุประโยค) ประโยคย่อย ประโยคความซ้อน
1 เขำพูดเช่นนี้ เป็นกำรส่อ เขำเป็นกำรส่อนิสัยชั่ว เขำพูดเช่นนี้ เป็นประธำนของ นำมำนุประโยค
นิสัยชั่ว ประโยค

2 คนทีข่ โมยของผู้อื่นย่อม คนย่อมถูกตำรวจจับ ที่ขโมยของผู้อื่น ขยำยคำนำมว่ำ คุณำนุประโยค


ถูกตำรวจจับ “คน”

3 อำหำรสำหรับนักเรียน อำหำรมีอยู่ในห้อง สำหรับนักเรียนเล่น เป็นประธำนของ นำมำนุประโยค


เล่นละครมีอยู่ในห้อง ละคร ประโยค

4 เขำพูดช้ำจนฉันรำคำญ เขำพูดช้ำ จนฉันรำคำญ ขยำยคำวิเศษณ์ วิเศษณำนุประโยค


ว่ำ “ช้ำ”

5 หมองูตำยเพรำะงูกัด หมองูตำย เพรำะงูกัด ขยำยคำกริยำว่ำ วิเศษณำนุประโยค


“ตำย”

6 คนพูดเสียงดังยืนอยู่หน้ำ คนยืนอยู่หน้ำห้อง คนพูดเสียงดัง เป็นประธำนของ นำมำนุประโยค


ห้อง ประโยค

7 เขำมำหำ เมื่อฉันไม่อยู่ เขำมำหำ เมื่อฉันไม่อยู่ ขยำยคำกริยำว่ำ วิเศษณำนุประโยค


“มำหำ”

8 สัตว์ที่ถูกขังอยู่ในกรง สัตว์มักจะดุร้ำย ที่ถูกขังอยู่ในกรง ขยำยคำนำมว่ำ คุณำนุประโยค


มักจะดุร้ำย “สัตว์”
9 เธอร้องเพลงเพรำะ เธอร้องเพลงเพรำะ เหมือนนักร้องร้อง ขยำยคำวิเศษณ์ วิเศษณำนุประโยค
เหมือนนักร้องร้อง ว่ำ “เพรำะ”

10 เธอดูหนังสือมำกจนปวด เธอดูหนังสือมำก จนปวดศีรษะ ขยำยคำวิเศษณ์ วิเศษณำนุประโยค


ศีรษะ ว่ำ “มำก”

แนวข้อสอบ 9 ข้อ
แบบทดสอบ เรือ่ ง ประโยค - ส่วนเติมเต็มของประโยค
- การลำดับคำในประโยคความเดียว
1. ข้อใดไม่จัดเป็นประโยค - ปย. ความรวมเนื้อความเป็นเหตุผล
ก. งูเหลือมเลื้อยช้ำ ๆ ข. ไส้เดือนอยู่ในดิน - การจำแนกประโยค
ค. งูแมวเซำแลบลิ้นยำว ง. งูจงอำงกับเหยื่อในกรง - การเปรียบเทียบประโยค (เหมือน/ต่าง)

2. “โรงเรียนสำมเสนวิทยำลัยเป็นโรงเรียนขนำดใหญ่พิเศษ” จำกประโยคข้ำงต้น ข้อใดต่อไปนี้กล่ำวถูกต้อง


ก. ประโยคข้ำงต้นไม่มีคำกริยำ ข. ภำคประธำน คือ โรงเรียนสำมเสนวิทยำลัย
ค. โรงเรียนขนำดใหญ่ มีหน้ำที่เป็นกรรม ง. ถูกทุกข้อ
3. ข้อใดต่อไปนี้เป็นประโยคควำมเดียว
ก. ฉันและเพื่อนกำลังอ่ำนหนังสือสอบ ข. ครูใบตองกินข้ำวแต่ครูใบข้ำวกินกล้วย
ค. ครูโอมสอนหนังสือ ง. คนสวยที่ยืนอยู่คือมำรีญำ
4. ข้อใดต่อไปนี้เป็นประโยครวม
ก. นกขุนทองในกรงร้องเสียงหวำน ข. เพรำะยุพินขยันเธอจึงหำเงินได้มำก
ค. ดอกฟ้ำคือบัวที่เกิดในสวรรค์นั่นเอง ง. คุณลุงสะสมหนังสือภำษำไทยไว้มำก
5. ข้อใดไม่ใช่ประโยครวมที่มีใจควำมคล้อยตำมกัน
ก. เป้และป้องกำลังอ่ำนหนังสือ ข. ฉันชอบภำษำไทยส่วนเขำชอบคณิตศำสตร์
ค. โอมรับประทำนอำหำรเสร็จเขำก็ไปโรงเรียน ง. พอพลอยหำยป่วยเธอก็ไปโรงเรียนทันที
6. ข้อใดไม่ใช่ประโยครวม
ก. ใบพัดและปั๊มไปซื้อของที่ตลำด ข. เธอจะปลูกผักหรือรดน้ำต้นไม้
ค. ถึงเขำจะจนแต่เขำก็ไม่เคยทำชั่ว ง. นีโอชอบผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว
7. ข้อใดไม่ใช่ประโยครวมที่มีใจควำมให้เลือกเอำอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง
ก. เธอจะซื้อหนังสือหรือซื้อปำกกำ ข. ไม่เธอก็เพื่อนจะต้องได้รับรำงวัลที่ ๑
ค. รัตนำไปตลำดแล้วไปบ้ำนน้ำอำภรณ์ ง. ฉันจะไปเชียงใหม่วันพรุ่งนี้หรือไม่ก็อีก 5 วัน
8. “เสำวลักษณ์นักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2 โรงเรียนสำมเสนวิทยำลัย กรุงเทพมหำนครตั้งใจเรียน”
ข้อควำมนี้เป็นประโยคชนิดใด
ก. ประโยคควำมรวม ข. ประโยคควำมซ้อน
ค. ประโยคควำมเดียวที่ซับซ้อน ง. ประโยคควำมซ้อนที่ซับซ้อน
9. ประโยคใดมีส่วนเติมเต็ม
ก. เขำเป็นแสงสว่ำงของฉัน ข. เขำทำให้ฉันยิ้มได้ในทุกวัน
ค. เพรำะเขำน่ำรักแบบนี้ฉันจึงรักมำกขึ้นทุกวัน ง. ฉันคนนี้จะไม่มีวันทำให้เขำเสียใจ
10. ข้อใดต่อไปนี้เป็นประโยคควำมซ้อนแบบนำมำนุประโยค
ก. เธอทักฉันทุกครั้งที่เจอกัน ข. เขำซึ่งเป็นคนขี้งอนกำลังงอน
ค. ที่ฉันเสียใจดูเหมือนเป็นเรื่องไม่สำคัญ ง. พ่อคงไม่เข้ำใจเรื่องเล็กน้อยอันยิ่งใหญ่นี้
11. ข้อใดต่อไปนี้เป็นประโยคควำมซ้อนแบบคุณำนุประโยค
ก. ครูเกตุสอนภำษำไทยนักเรียนชั้นม.2 และม. 4 ข. นักเรียนชั้นม.2 เห็นครูเกตุอ่ำนทำนองเสนำะ
ค. ครูเกตุเป็นแฟนคลับแจ็คสัน หวัง ง. ครูสำวที่เดินมำคือครูเกตุ
12. ข้อใดต่อไปนี้เป็นประโยคควำมซ้อนแบบวิเศษณำนุประโยค
ก. ผู้หญิงสวย ๆ ที่เดินมำคือนำงสำวไทยปีนี้ ข. จุ๊มเหม่งถูกผึ้งต่อยจนแก้มบวม
ค. ฉันคิดว่ำเขำไม่น่ำมำแล้ววันนี้ ง. หนังสือที่อยู่บนโต๊ะเป็นของฉันเอง
13. ข้อใดเป็นประโยคชนิดเดียวกับประโยคนี้ “บัวขำวเป็นหนึ่งในนักมวยซึ่งได้ขึ้นชกในเวทีระดับโลก”
ก. เขำไม่มำเที่ยวกับเธอเพรำะต้องไปดูแลแม่ที่โรงพยำบำล
ข. พี่ชำยเดินทำงไปต่ำงประเทศเพื่อฝึกทักษะทำงภำษำ
ค. น้องสำวของฉันนั่งซึมเศร้ำรำวกับโลกนี้มันมีอะไรดีอีกแล้ว
ง. ลิปสติกที่วำงอยู่ในกระเป๋ำสีแดงเป็นของใคร
14. ข้อใดเป็นประโยคที่แตกต่ำงกับประโยคอื่น
ก. ถ้ำเธอมำ ฉันจะไป
ข. สุดท้ำยคงเป็นฉันผู้ถูกเลือกให้ผิดหวัง
ค. ฉันจึงเป่ำคำถำเพื่อให้เธอหลงใหล
ง. ไม่เคยอยำกได้ยินคำถำมที่เธอกำลังจะถำมกันด้วยควำมห่วงใย
15. “(1) ชูกำร์ไกลเดอร์ที่ดูเหมือนกระรอกมีขนสีดำสลับขำว/ (2) มันเป็นสัตว์ตัวเล็กซึ่งชอบที่มืด/ (3) มันจึงไปนอนหรือ
หลบอยู่ในสถำนที่มืด ๆ เช่น ในโพรงไม้/ (4) ชูกำร์ไกลเดอร์จะเก็บลูกไว้ในกระเป๋ำหน้ำท้องของมัน/ (5) ถึงมันจะดูบอบบำง
น่ำรัก แต่ก็เป็นตัววุ่นวำยในเวลำเดียวกัน/ (6) คนรักสัตว์ควรเรียนรู้ว่ำพวกมันไม่เหมำะกับกำรเลี้ยงดูในที่โล่ง
ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. ส่วนที่ 1 2 และ 6 เป็นประโยคควำมซ้อน ข. ประโยคควำมเดียวมีน้อยกว่ำประโยคควำมรวม
ค. มีประโยคควำมซ้อนแบบวิเศษณำนุประโยคมำกที่สุด ง. ประโยคควำมรวมที่พบไม่มีเนื้อควำมแบบคล้อยตำม

You might also like