You are on page 1of 5

ข้อสอบ

ระดับ ประถมศึกษา รายวิชา ภาษาไทย


1. การฟังและการดูที่ดีมีลักษณะอย่างไร 6. การกล่าวคาอวยพร ควรใช้คาพูดอย่างไรจึง
ก. ต้องรู้จักจุดมุ่งหมายของการฟังและดู จะเหมาะสม
ข. ต้องฟังและดูอย่างไม่มีอคติ ก. พูดเสียงชัดเจน
ค. ต้องให้ความร่วมมือในการฟังและดู ข. พูดสั้นกะทัดรัด ได้ใจความ
ง. ถูกทุกข้อ ค. นาคาพูดของบุคคลอื่นมาอ้าง
ง. พูดตลกคะนองให้คนอื่นสนใจ
2. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของการฟังและดูที่ดี
7. พูดดีเป็นศรีแก่ปาก หมายความว่าอย่างไร
ก. รักษาความสงบ
ก. พูดมากได้ประโยชน์มาก
ข. มองสบตาผู้พูด
ข. พูดดี มีประโยชน์
ค. แสดงกริยาที่เหมาะสม
ค. พูดถูกต้องคนต้องฟัง
ง. ขีดเขียนภาพที่ดู
ง. พูดเก่งได้เป็นผู้แทนราษฎร
3. การฟังและดูมีจุดมุ่งหมายอย่างไร
8. ข้อใดแสดงถึงมารยาทในการฟังที่ดี
ก. เพื่อศึกษาหาความรู้
ก. หน่อยและนิดคุยตลอดเวลาที่ดภู าพยนตร์
ข. เพื่อความเพลิดเพลิน
ข. อ้อมฟังและจดบันทึกขณะทีเ่ ข้าร่วมประชุม
ค. เพื่อความซาบซึ้ง
ค. แอมนั่งวาดรูปเล่นขณะที่ครูอธิบาย
ง. ถูกทุกข้อ
ง. นา อ่านหนังสือพิมพ์ขณะนั่งฟังสัมมนา
4. การจะฟังให้เกิดประโยชน์สูงสุด ควรทาอย่างไร
9. ผู้อ่านได้รับอะไรจากการอ่าน
ก. เตรียมตัวให้พร้อม
ก. ความรู้
ข. นั่งแถวหลังสุด
ข. ความคิด
ค. ไปหลังเวลานิดหน่อย
ค. ความเพลิดเพลิน
ง. เตรียมของกินให้พร้อม
ง. ถูกทุกข้อ
5. ข้อใดไม่ใช่หลักการฟังเพื่อจับใจความสาคัญ 10. ข้อใดไม่ใช่จุดประสงค์ของการอ่าน
ก. สนใจฟังอย่างตั้งใจ ก. อ่านเพื่อจับใจความได้ถูกต้องและรวดเร็ว
ข. จงอดทนอย่าขัดจังหวะ ข. อ่านเพื่อตาหนิข้อเขียนนั้นๆ
ค. เปิดโอกาสให้เขาได้พูด ค. อ่านเพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ
ง. พูดคุยระหว่างการฟัง ง. อ่านเพื่อถ่ายทอดสิ่งที่อ่านให้ผู้อื่นรับรู้

11. ข้อใดแสดงว่ามีมารยาทในการอ่าน 16. ข้อใดไม่ใช่หลักการเขียนเรียงความ


ก. อ่านหนังสือจบแล้ว เก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย ก. คานา
ข. หยิบหนังสือของเพื่อนมาอ่านโดยไม่ขอยืม ข. สารบัญ
ค. ขีดเส้นใต้ข้อความสาคัญในหนังสือของคนอื่น ค. เนื้อเรือ่ ง
ง. อ่านบันทึกของเพื่อนแล้วนามาเล่าให้ ง. บทสรุป
คนอื่นฟัง

12. เราควรปลูกฝังนิสัยรักการอ่านให้กับใคร 17. สถานที่ใดที่ไม่ควรเขียน


ก. ลุงพวงเพราะอ่านหนังสือไม่ออก ก. สมุดส่วนตัว
ข. มาลัยเพราะมีปัญหาด้านสายตา ข. กระดาษร่าง
ค. เด็กหญิงน้าตาลเพราะยังเด็ก ข. ห้องนอนส่วนตัว
ง. มาลีเพราะมีปัญหาด้านหู ง. กาแพงรั้วโรงเรียน
13. บุคคลใดเลือกอ่านหนังสือเพื่อการผ่อนคลายได้ 18. จดหมายต่อไปนี้ข้อใดไม่ใช่จดหมายธุรกิจ
เหมาะสม ก. จดหมายสมัครงาน
ก. วารีอ่านหนังสือตาราเรียนเพิ่มเติม ข. จดหมายสั่งซื้อหนังสือ
ข. สมหมายอ่านบทความ ค. จดหมายถึงเพื่อน
ค. น้าอ่านหนังสือสารคดี ง. จดหมายขอบคุณ
ง. จาปีอ่านหนังสือขายหัวเราะ
14 ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของการอ่าน. 19. จดหมายลาครูควรมีคาขึ้นต้นหรือคาลงท้าย
ก. นาไปวิจารณ์คนอื่นได้ อย่างไร
ข. ได้รับความเพลิดเพลิน ก. กราบเรียน : ด้วยความเคารพ
ค. ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ข. เรียน : ด้วยความเคารพ
ง. ได้รับความรู้ประสบการณ์ ค. กราบเรียน : ด้วยความเคารพอย่างสูง
ง. เรียน : ด้วยความเคารพอย่างสูง
15. ความมุ่งหมายของการอ่านมีอย่างไร
ก. สนองความอยากรู้ 20. การเขียนมีความสาคัญอย่างไร
ข. เพื่อศึกษาหาความรู้ ก. ป้องกันการลืม
ค. เพื่อความสนุกเพลิดเพลิน ข. ทาให้เกิดความคิดใหม่ๆ
ง. ถูกทั้งข้อ ข. และข้อ ค ค. บันทึกข้อมูล
ง. ถูกทุกข้อ

21. ข้อใดเป็นมารยาทของการเขียนที่ดี 26. คาในข้อใดมีตัวสะกดแม่กนทุกคา


ก. เขียนถูกต้องและชัดเจน ก. ทองคา กานพลู
ข. เขียนหวัดให้อ่านยาก ข. สูตร หมุนเวียน
ค. ทาให้กระดาษที่เขียนยู่ยี่ ค. ภารโรง กงเกวียน
ง. เขียนสอดเสียดคนอื่น ง. คนพาล การเรียน

22. การเป็นนักเขียนที่ดีจะต้องปฏิบัติอย่างไร 27. การเขียนจดหมายถึงบิดามารดาควรใช้คาลง


ก. เขียนช้าๆให้สวยงาม ท้ายว่าอย่างไร
ข. เขียนให้เร็วและอ่านง่าย ก. รักเสมอ
ค. ฟังเพลงเบาๆก่อนเขียน ข. รักและคิดถึง
ง. คุยไปด้วยเขียนไปด้วย ค. ขอแสดงความนับถือ
ง. ด้วยความเคารพอย่างสูง
23. ข้อใดเป็นลักษณะการเขียนข่าวที่ดี 28. ข้อใดมีคาที่สะกดด้วยมาตรา กบ และมาตรา
ก. ให้ข้อเท็จจริง กด
ข. รวดเร็วเป็นปัจจุบัน ก. สุจริต ทะนุถนอม
ค. มีความหมายชัดเจน กะทัดรัด ข. หมอบกราบ อัญชัน
ง. ถูกทุกข้อ ค. บานชื่น บุรุษ
ง. เคารพ จัตุรัส

29. ข้อใดกล่าวถึงการเขียนบันทึกประจาวันถูกต้อง
24. ข้อใดเขียนผิด
ก. เขียนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน
ก. บันทัด
ข. เขียนเรื่องราวของคนที่เราไม่ชอบ
ข. บรรเทา
ค. เขียนเรื่องราวของตนเองในอนาคต
ค. บันเทิง
ง. เขียนความรู้สึกของคนอื่นที่มีต่อเรา
ง. บรรยาย
25. ข้อใดไม่ได้หมายถึงชื่ออาหาร 30. ข้อใดมีคาสระ แ- มากที่สุด
ก. ส้มตา ก. แก้วยิ้มแย้ม
ข. ต้มยา ข. แม่เสียงเบา
ค. จ้าม่า ค. แบมแจกแตงโม
ง. ยายา ง. แดงแจกของ

31. สมศักดิ์ ตังใจฟั


้ งครูอธิบายวิชาคณิตศาสตร์ 36. คาใดพูดออกเสียงไม่ถกู ต้ อง
เป็ น ก. สับ-ปะ-ดา
เพราะว่า ข. คะ-มะ-นา-คม
ก. สมศักดิ์รักครู ค. ความ-ดี
ข. สมศักดิ์เกรงใจครู ง. ดี-กว่า
ค. สมศักดิ์สนใจเรี ยนรู้
ง. สมศักดิ์ต้องการได้ รับการยกย่อง
32. คติชีวิต เกี่ยวกับข้ อใด 37. เวลาพูดในที่ชมุ ชนควรแต่งกายอย่างไร
ก. นิยาย ก. แต่งกายตามสบาย
ข. สารคดี ข. แต่งตัวโดยใส่สทู อย่างดี
ค. โฆษณา ค. แต่งตัวให้ เรี ยบร้ อย
ง. ปาฐกถากรรม ง. แต่งตัวตามสมัยนิยม

33. การฟั งแล้ วจาไม่ได้ ควรทาอย่างไร 38. สิ่งที่เป็ นองค์ประกอบสาคัญยิ่งอย่างหนึง่


ก. ฟั งซ ้า ของการพุดคืออะไร
ข. ฟั งตามปกติ ก. น ้าเสียง
ค. จ้ องหน้ าผู้พดู ข. กิริยาท่าทาง
ง. ต้ องจดบันทึกใจความสาคัญ ค. เครื่ องประดับ
ง. เครื่ องเสียง
34. ข้ อใดไม่ได้ เกี่ยวกับความรู้
ก. ฟั งอย่างตังใจ้ 39. การพูดต่อหน้ าชุมชนคือข้ อใด
ข. ฟั งอย่างมีสมาธิ ก. การพูดโทรศัพท์
ค. ฟั งอย่างเคารพ ข. การซักถามในที่ประชุม
ง. ฟั งอย่างมีอารมณ์คล้ อยตามผู้พดู ค. การทักทายปราศรัย
ง. การแนะนาตัวซึง่ กันและกัน
35. การได้ รับข่าวสารรวดเร็วแบบไร้ พรมแดน
เรี ยกว่า 40. ถ้ าต้ องการให้ ผ้ รู ่วมงานเกิดความเข้ าใจ
ก. โลกาวินาศ ในการปฏิบตั ิงานควรใช้ วิธีการใด
ข. โลกาภิวฒั น์ ก. สัมมนา
ค. โลกาวิวฒ
ั น์ ข. ประชุม
ง. โลกาอภิวฒั น์ ค. ประกาศ
ง. อภิปราย

You might also like