You are on page 1of 13

รายงานเชิงวิชาการ

การอ่านและพิจารณาวรรณคดีเรื่องสามัคคีเภทคาฉันท์

นายชยากร งามกาญจนรัตน์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3 เลขที่ 10


นางสาวชุติวรรณ พัฒนวงศ์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3 เลขที่ 11
นายธนทัต เตชะดิลก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3 เลขที่ 20
นางสาวปรมี วีรขจรศักดิ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3 เลขที่ 24

เสนอ
อ.พนมศักดิ์ มนูญปรัชญาภรณ์

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561


โรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล

รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning)


รายวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
คานา

รายงานเล่มนีจ้ ัดทาขึ้นเพือ่ เป็นส่วนหนึง่ ของวิชาภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เพื่อศึกษาหา


ความรู้ในเรื่องการอ่านและพิจารณาวรรณคดีเรื่องสามัคคีเภทคาฉันท์และได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพือ่ เป็น
ประโยชน์กันการเรียน

ผู้จัดทาหวังว่า รายงานเล่มนีจ้ ะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือนักเรียน นักศึกษา ที่กาลังหาข้อมูลเรื่องที


อยู่ หากมีข้อแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด ผูจ้ ัดทาขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
สารบัญ
สรุปประเด็นการอ่านและพิจารณาวรรณคดีและวรรณกรรม

คานา ก
สารบัญ ข

1. การอ่านและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม

1.1 เนื้อเรื่องย่อ 1

1.2 โครงเรื่อง 2

1.3 ตัวละคร 2

1.4 ฉากท้องเรื่อง 3

1.5 บทเจรจาและราพึงราพัน 4

1.6 แก่นเรื่อง 5

2. การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม

2.1 การสรรคา 6

2.2 การเรียบเรียงคา 7-8

2.3 การใช้โวหาร 9

3. การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม

3.1 คุณค่าด้านอารมณ์ 9

3.2 คุณค่าด้านคุณธรรม 9

3.3 คุณค่าด้านอื่นๆ 10
4. บรรณานุกรม 14

การอ่านและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม

เนื้อเรื่องย่อ

เหตุการณ์ในสามัคคีเภทคาฉันฑ์เกิดขึ้นในสมัยก่อนทีพ่ ระพุทธเจ้าจะปรินิพพานไม่นานนัก พระเจ้า


อชาตศัตรูทรงปกครองราชสมบัติที่นครราชคฤห์ แคว้นมคธ พระองค์ทางมีพราหมณ์ผู้ฉลาดและรอบรู้ศลิ ป
ศาสตร์นามวัสสการพราหมณ์ เป็นที่ปรึกษาราชกิจทั่วไป ขณะนั้นทรงต้องการจะแผ่พระราชอาณาเขตเข้าไป
ถึงแคว้นวัชชี แต่พระเจ้าอชาตศัตรูกเ็ กรงว่าตนมิอาจเอาชนะได้ด้วยการส่งกองทัพเข้ารุกราน เนื่องจากบรรดา
กษัตริย์ลจิ ฉวีมีความสามัคคีสงู และมีการปกครองเมืองด้วยธรรม อันนาความเจริญเข้มแข็งมาสู่แคว้น พระเจ้า
อชาตศัตรูจึงทรงปรึกษาหารือกับวัสสการพราหมณ์ ว่าจะเอาชนะอีกฝ่ายด้วยปัญญา
วัสสการพราหมณ์ออกอุบาย กราบทูลพระเจ้าอชาตศัตรูว่าเห็นทีจะเอาชนะอีกฝ่ายไม่ได้เลย เพราะ
กษัตริย์ ลิจฉวีทุกองค์ล้วนผูกพันเป็นกัลยณมิตรอย่างมั่นคง มีความสามารในการรบและมีความกล้าหาญ อีก
ทั้งโลกจะติเตียน หากฝ่ายมคธจงใจประทุษร้ายรุกรานเมืองอื่น และขอให้ยับยัง้ การทาศึกไว้เพื่อความสงบของ
บ้านเมือง
พระเจ้าอชาตศัตรูได้ยินดังนั้นก็แสร้างแสดงพระอาการพิโรธหนัก ถึงขั้นรับสั่งให้ประหารชีวิตเสีย แต่
ทรงเห็นว่าวัสสการพราหมณ์รบั รชารมานาน จึงลดโทษให้ครั้งนั้น เพียงแค่ลงพระราชอาญาเฆี่ยนตีวัสสการพ
ราหมณ์อย่างสาหัสจนสลบ โกนหัวประจานและเนรเทศออกจากแคว้นมคธ
เมื่อข่าววัสสการพราหมณ์ไปถึงนครเวสาลี เมืองหลวงของแคว้นวัชชี พระกรรณของหมูก่ ษัตริยล์ ิจ
ฉวี จึงรับสัง่ ให้เจ้าพนักงานตีกลองสาคัญเรียกประชุมราชสภาว่า ว่าควรจะขับไล่หรือเลี้ยงเอาไว้ดี ในที่สุดที่
ประชุมราชสภาลงมติให้นาเข้าเฝ้าเพื่อดูท่าทีและคารมก่อน
แต่หลังจากกษัตริย์ลจิ ฉวีทรงซักไซ้ไล่เลียงด้วยประการต่างๆ ก็หลงกลวัสสการพราหมณ์ จึงทรงรับไว้
ทาราชการในตาแหน่งอามาตย์ผู้พิจารณาพิพากษาคดีและตัง้ เป็นครูฝกึ สอนศิลปวิทยาแก่ราชกุมารของเหล่า
กษัตริย์ลจิ ฉวีด้วย วัสสการพราหมณ์ทาที่ปฎิบัตงิ านในหน้าที่อย่างดี ไม่มีสงิ่ ใดบกพร่อง จนหมู่กษัตริยล์ ิจฉวีไว้
วางพระทัย
วัสสการพราหมณ์ใช้กลอุบายให้บรรดาราชโอรสกษัตริยล์ ิจฉวีระแวงกัน โดยแกล้งเชิญแต่ละองค์ไป
พบเป็นการส่วนตัว แล้วถามปัญหาธรรมดาทีร่ ู้ๆ กันอยู่ เมือ่ องค์อื่นซักเรื่องราวว่าสนทนาอะไรกับอาจารย์
บ้าง แม้ราชกุมารองค์นั้นจะตอบความจริง แต่ก็ไม่มีใครเชื่อ ก่อให้เกิดความระแวงแตกร้าวในบรรดาราช
กุมาร กระทั่งลุกลามไปสู่กษัตริยล์ ิจฉวี ผูเ้ ป็นพระราชบิดาทุกองค์ ทาให้ความสามัคคีค่อยๆ เสื่อมลง
จนกระทั่งไม่เข้าร่วมประชุมราชสภา หรือได้ยินเสียงกลองก็ไม่สนใจประชุม เมือ่ มาถึงขั้นนี้ วัสสการพราหรณ์
จึงลอบส่งข่าวไปให้พระเจ้าอชาตศัตรูยกทัพมาตีแคว้นวัชชีได้เป็นผลสาเร็จ
โครงเรื่อง

เริ่มเรือ่ งด้วยกษัตริย์องค์หนึ่งมีความต้องการทีจ่ ะแผ่อานาจเข้าครอบครองแคว้นอื่น แต่กษัตริย์ผู้ครอง


แคว้นนั้นยึดมั่นในอปริหานิยธรรม ที่มีความสามัคคีปรองดองมั่นคง กษัตริย์ผู้มีความต้องการทีจ่ ะแผ่อานาจ
นั้นจึงสั่งให้พราหมณ์ปุโรหิตคนสนิทของตนเข้าไปเป็นไส้ศึก หาวิธีทาลายความสามัคคีของกษัตริย์แคว้น
เสียก่อน แล้วค่อยยกทัพเข้าโจมตีแต่โดนลงโทษและขับไล่ออก หลังจากโดนขับไล่พราหมณ์ปุโรหิตได้ไปแคว้น
ใกล้เคียงอื่นเพือ่ ไปผูกไมตรีและทาลายความสามัคคี โดยใช้เวลาไปถึง ๓ ปีจึงดาเนินกลอุบายของตนทาลาย
ความสามัคคีระหว่างกษัตริย์ได้สาเร็จ ทาให้กษัตริย์แคว้นที่ขยายอานาจเข้าครอบครองแคว้นข้างเคียงเป็น
ผลสาเร็จ

ตัวละคร

วัสสการพราหมณ์เป็นตัวละครที่มบี ทบาทสาคัญทีส่ ุดในการดาเนินเรือ่ งสามัคคีเภทคาฉันท์ เป็นผู้


ออกอุบายวางแผนและดาเนินการยุยงจนเหล่ากษัตริย์ลจิ ฉวีแตกความสามัคคีทาให้อชาตศัตรูเข้าครอบครอง
แคว้นวัชชีได้สาเร็จ วัสสการพราหมณ์มีความสามารถสติปญ ั ญล้าเลิศ มีความรอบรู้ศลิ ป์วิทยาการและมี
วาทศิลป์เป็นที่ไว้วางใจจากฝ่ายศัตรูและสามารถโน้มน้าวเปลี่ยนความคิดของฝ่ายตรงข้ามให้เป็นไปตามแผนที่
วางไว้สาเร็จ บางทรรศนะอาจเห็นว่าวัสสการพราหมณ์เป็นคนที่ขาดคุณธรรมใช้อุบายล่อลวงผู้อื่นเพื่อ
ประโยชน์ฝ่ายตน แต่อีกมุมหนึง่ วัสสการพราหมณ์มีคุณสมบัติที่น่ายกย่องกล่าวคือมีความจงรักภักดีต่อพระ
เจ้าอชาตศัตรูและบ้านเมืองเป็นอย่างมากยอมเสียสละความสุขส่วนตน ยอมลาบากเจ็บตัว ยอมเสี่ยงไปอยู่ใน
หมู่ศัตรูต้องใช้ความอดทนสูงและรู้จกั รักษาความลับได้ดีเพื่อให้แผนสาเร็จ ส่วนเหล่ากษัตริย์ลจิ ฉวีขาดวิจาร
ญาณ จนในที่สุดทาให้แตกความสามัคคีจนเป็นเหตุให้แคว้นวัชชีตกเป็นของแคว้นมคธ
ฉากท้องเรื่อง

ในเรื่องสามัคคีเภทคาฉันท์มบี ทพรรณนาบอกเล่าลักษณะของสถานที่ต่างๆในเรื่องยกตัวอย่างเช่นการ
พรรณนาชมบ้านเมือง
อาพนพระมนทิรพระราช สุนิวาสวโรฬาร์

อัพภันตรไพจิตรและพา หิรภาคก็พึงชม

เล่ห์เลื่อนชะลอดุสิตฐา นมหาพิมานรมย์

มารังสฤษฎ์พิศนิยม ผิจะเทียบก็เทียมทัน

สามยอดตลอดระยะระยับ วะวะวับสลับพรรณ

ช่อฟ้าตระการกลจะหยัน จะเยาะยั่วทิฆัมพร

บราลีพิลาศศุภจรูญ นภศูลประภัสสร

หางหงส์ผจงพิจิตรงอน ดุจกวักนภาลัย

การพรรณนากระบวนทัพช้างและทัพม้าตอนพระเจ้าอชาตศัตรูกรีธาทัพนั้น นับว่าพรรณนาได้อย่างน่าเกรง
ขาม เช่น

ขุนคชขึ้นคชชินชาญ คุมพลคชสาร

ละตัวกาแหงแข็งขัน

เคยเศิกเข้าศึกฮึกครัน เสียงเพรียกเรียกมัน

คารณประดุจเดือดดาล
บทเจรจาและราพึงราพัน

เป็นตอนที่วสั สการพราหมณ์ใช้อุบายเชิญพระกุมารพระองค์หนึ่งให้เข้ามาในห้องเฉพาะ และจึงถาม


พระกุมารด้วยเรื่องธรรมดาทั่วไป ว่าวันนี้พระกุมารเสวยพระกระยาหารอะไร รสชาติดีหรือไม่ พอพระทัยมาก
ไหม พระกุมารก็เล่าเรื่องพระกระยาหารทีเ่ สวย หลังจากนั้นก็สนทนาเรื่องทั่วไป เมือ่ เสด็จกลับมาทีห่ ้องเรียน
พระราชกุมารลิจฉวีทงั้ หมดก็มาถามเกี่ยวกับเรื่องที่พระอาจารย์ให้ไปคุยเป็นการส่วนตัวในห้องเฉพาะว่าคุย
อะไรไปบ้าง พระกุมารที่โดนถามก็ตอบตามความจริง ่แเหล่ากุมารตนอื่นๆไม่เชื่อเพราะเห็นว่าไม่สมเหตุสมผล
ต่างข่นเคืองใจด้วยเรื่องไร้สาระเหมือนพระกุมารองค์กอ่ น และเกิดความแตกแยก ไม่กลมเกลียวกันเหมือนเดิม

บทพูดนี้แสดงถึงความฉลาดและเจ้าเล่ห์ของพราหมณ์วัสสการพราหมณ์ได้เป็นอย่างดี เพราะสามารถสร้าง
ความสงสัยกันเองจนนาไปสู่ความแตกแยกกันในหมู่พระราชกุมารได้

ล่วงลุประมาณ กาลอนุกรม

หนึ่งณนิยม ท่านทวิชงค์

เมื่อจะประสิทธิ์ วิทยะยง

เชิญวรองค์ เอกกุมาร

เธอจรตาม พราหมณไป

โดยเฉพาะใน ห้องรหุฐาน

จึ่งพฤฒิถาม ความพิสดา

ขอธประทาน โทษะและไข

อย่าติและหลู่ ครูจะเฉลย

เธอน่ะเสวย ภัตกะอะไร

ในทินนี่ ดีฤไฉน

พอหฤทัย ยิ่งละกระมัง

ราชธก็เล่า เค้าณประโยค

ตนบริโภค แล้วขณะหลัง
วาทะประเทือง เรื่องสิประทัง

อาคมยัง สิกขสภา

เสร็จอนุศาสน์ ราชอุรส

ลิจฉวิหมด ต่างธก็มา

ถามนยมาน ท่านพฤฒิอา

จารยปรา รภกระไร

เธอก็แถลง แจ้งระบุมวล

ความเฉพาะล้วน จริงหฤทัย

ต่างบมิเชื่อ เมื่อตริไฉน

จึ่งผลใน เหตุบมิสม

ขุ่นมนเคือง เรื่องนฤสาร

เช่นกะกุมาร ก่อนก็ระ

เลิกสละแยก แตกคณะกล

เกลียวบนิยม คบดุจเดิม

แก่นเรื่อง

แก่นเรื่องของเรื่องสามัคคีเภทคาฉันท์ คือการแตกของความสามัคคีในหมู่คณะซึง่ ทานาไปสู่ความ


หายนะ เราควรมีความสมัคคี ถึงแม้ผู้อื่นมายุแหย่ให้โกรธเคือง แตกแยกกันและทาให้ละทิง้ คุณธรรมที่ยึดถือ
อยู่ นอกจากนี้ยังมีเรือ่ งของการใช้สติปัญญาเอาชนะฝ่ายศัตรูโดยไม่ต้องเสียเลือดเนื้อ การรูจ้ ักเลือกใช้บุคคล
ให้เหมาะสมกับงานจะทาให้งานสาเร็จลุล่วงด้วยดี
การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม

การสรรคา

เรื่องสามัคคีเภทคาฉันท์ดาเนินเรื่องไปตามลาดับไม่ยงุ่ ยากทาให้ผู้อ่านเข้าใจ ผู้แต่งได้เลือกสรรความได้อย่าง


กระชับทาให้ดาเนินเรื่องได้รวดเร็ว เช่น ตอนที่วัสสการพราหมณ์ถูกลงพระราชอาญาแล้วโดนเนรเทศจาก
แคว้นมคธมีการใช้บทคร่าครวญพอสมควรเท่านั้น

นอกจากนี้วรรณคดีประเภทฉันท์นั้นกวีจะต้องเลือกใช้ฉันท์ให้เหมาะสมกับความ เพราะฉันท์แต่ละชนิด
มีลลี าและให้อารมณ์ความรู้สกึ ที่แตกต่างกันไป ซึ่งนายชิต บุรทัตก็เลือกใช้ฉันท์ได้อย่างเหมาะสม เช่น

สัททุลวิกกีฬิตฉันท์ ลีลาท่วงทานองเคร่งขรึม ใช้ในบทประณามพจน์

วสันตดิลกฉันท์ ลีลาจังหวะสละสลวย ใช้พรรณนาชมบ้านเมือง

อิทิสงั ฉันท์ ลีลากระแทกกระทั้น ใช้ตอนพระเจ้าอชาตศัตรูกริ้ว

จิตรปทาฉันท์ ลีลาคึกคัก เร่งเร้า กระชั้น ใช้แสดงความตกใจเมือ่ ศึกมาประชิด

อินทรวิเชียรฉันท์ ลีลาสละสลวย ใช้ตอนวัสสการพราหมณ์ถูกเนรเทศ

มาณวกฉันท์ ลีลาเร่งเร้าผาดโผน ใช้ตอนวัสสการพราหมณ์ยุพระกุมาร

โตฎกฉันท์ ลีลากระชั้น คึกคัก ใช้ตอนพระเจ้าอชาตศัตรูยกทัพ

การเรียบเรียงคา

การเรียบเรียงคาในเรื่องสามัคคีเภทคาฉันท์ มีการเลือกคาฉันท์อย่างเหมาะสมมาใช้สลับกัน เช่นการ


ใช้

อินทวงศ์ฉันท์

๑๒หนึ่งบทมี ๒ บาท บาทละ ๑๒ พยางค์ แบ่งเป็น ๒ วรรค วรรคแรก ๕ พยางค์ วรรคหลัง ๗


พยางค์ ส่งสัมผัสแบบกาพย์ ลักษณะครุ-ลหุ เหมือนกันทุกบาท คือ
ั ั ุ ั ั ุ ุ ั ุ ั ุ ั

ราชาประชุมดา- ริหะโดยประการะดัง
ดารัสตระบัดยัง วจนัตถ์ปวัตติพลัน
ให้ราชภัฏโป ริสะไปขมีขมัน
หาพราหมณ์ทุพลอัน บุระเนระเทศะมา

วสันตดิลกฉันท์

มีความหมายว่า “ฉันท์ทมี่ ีลลี าดังจอมเมฆในฤดูใบไม้ผลิ (ฤดูฝน)” เป็นหนึ่งในฉันท์ที่นิยมแต่งกันมาก


ที่สุด เนือ่ งจากอ่านแล้วฟังได้รื่นหู รู้สกึ ซาบซึ้งจับใจ มักใช้แต่งชมความงาม และสดุดีความรักหรือของสูง หนึ่ง
บทมี ๒ บาท บาทละ ๑๔ พยางค์ แบ่งเป็น ๒ วรรค วรรคแรก ๘ พยางค์ วรรคหลัง ๖ พยางค์ ส่งสัมผัสแบบ
กาพย์ ลักษณะครุ-ลหุ เหมือนกันทุกบาท คือ
ั ั ุ ั ุ ุ ุ ั ุ ุ ั ุ ั ั

รอบด้านตระหง่านจตุรมุข พิศะสุขอร่ามใส
กาญจน์แกมมณีกนกะไพ ฑุริย์พร่างพะแพรวพราย
บานบัฏพระบัญชระสลัก ฉลุลักษณ์เฉลาลาย
เพดาลก็ดารกะประกาย ระกะดาดประดิษฐ์ดี

อินทรวิเชียรฉันท์

มีความหมายว่า “ฉันท์ที่มลี ีลาดุจสายฟ้าของพระอินทร์” เป็นฉันท์ที่นิยมแต่งกันมากที่สุด มีลักษณะ


และจานวนคาคล้ายกับกาพย์ยานี ๑๑ แต่ต่างกันเพียงที่ว่าอินทรวิเชียรฉันท์มีข้อบังคับ ครุและลหุ หนึง่ บทมี ๒
บาท บาทละ ๑๑ พยางค์ แบ่งเป็น ๒ วรรค วรรคแรก ๕ พยางค์ วรรคหลัง ๖ พยางค์ ส่งสัมผัสแบบกาพย์
ลักษณะครุ-ลหุ เหมือนกันทุกบาท คือ
ั ั ุ ั ั ุ ุ ั ุ ั ั

บงเนือ้ ก็เนือ้ เต้น พิศะเส้นสรีรร์ ัว


ทั่วร่างและทั่วทั้งตัว ก็ระริกระริวไหว
แลหลังก็หลัง่ โล- หิตโอ้เลอะหลั่งไป
เพ่งผาดอนาถใจ ตละล้วนระรอยหวาย
การใช้โวหาร

การใช้โวหารภาพพจน์คือการที่ผู้แต่งใช้คาที่ไม่ตรงไปตรงมา เพื่อต้องการให้ให้ผู้อ่านมีส่วนร่วมให้การ

คิดและเข้าใจอย่างลึกซึ้งตามผู้แต่ง ซึง่ ในเรื่องนีป้ ระกอบด้วย

1.บรรยายโวหาร: มีการบอกเล่าเรือ่ งราวอย่างละเอียด เป็นลาดับอย่างต่อเนื่อง เข้าใจง่ายและไม่เยิ้นเย้อ

2. พรรณนาโวหาร: เป็นการใช้คาเพื่อให้ผู้อ่านเกิดมโนภาพในใจ ใช้ถ้อยคาที่สละสลวย เกิดอารมณ์คล้อยตาม

เนื้อเรื่อง

3. อุปมาโวหาร: เป็นการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งกับสิ่งหนึง่ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจเห็นภาพและเข้าใจ

การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม

คุณค่าด้านอารมณ์

สามัคคีเภทคาฉันท์มีคุณค่าทางด้านอารมณ์ โดยการเลือกใช้คากระตุ้นให้ผู้รสู้ ึกตื่นเต้นไปกับปัญหาที่


เกิดกเกิดขึ้นในเรือ่ ง และคล้อยตามกับบทคาพูดของวัสสนการพราหมณ์กบั เหล่ากุมารในตอนที่วัสสการพ
ราหมณ์พูดล่อลวงเหล่ากุมารให้แตกสามัคคีกัน ทั้งยังทาห้ผอู้ ่านรู้สกึ โกรธเคืองในตอนทีเ่ หล่ากษัตริย์ลจิ ฉวีมีทิฐิ
และความทระนงตนมากไปจนปล่อยให้บ้านเมืองถูกทาลายจากข้าศึก

คุณค่าด้านคุณธรรม

๑. การขาดการพิจารณาไตร่ตรอง นาพาไปสู่ความสูญเสีย อย่างเช่น เหล่ากษัตริยล์ ิจฉวี


พิจารณา สอบสวน และใช้เหตุผลให้ถูกต้อง จึงจะไม่ได้หลงกลของวัสสการพราหมณ์ และถูกยุแหย่ให้แตก
ความสามัคคีจนเสียบ้านเมืองของตน นายชิต บุรทัต แต่งเรือ่ งนี้ขึ้น โดยมุ่งชี้ให้เห็นความสาคัญของความ
สามัคคี เพื่อให้บ้านเมืองมั่นคง
๒. สามัคคีเภทคาฉันท์ เป็นนิทานสุภาษิตสอนใจให้เห็นโทษของการแตกความสามัคคี และแสดงให้เห็นถึง
ความสาคัญของการใช้สติปญ ั ญาให้เกิดผลประโยชน์โดยไม่ตอ้ งใช้กาลัง
๓. วัสสการพราหมณ์มีความน่ายกย่องตรงที่มีความจงรักภักดีต่อพระเจ้าอชาตศัตรูและต่อบ้านเมือง ยอมถูก
ลงโทษ ยอมลาบาก อยู่ไกลจากบ้านเมืองของตนไปเสี่ยงภัยในเมืองศัตรู ด้องใช้ความอดทน สติปญ ั ญาและ
ความสามารถอย่างสูงเพื่อจะทาตามแผนการที่วางไว้
๔. เรื่องสามัคคีเภทคาฉันท์ให้ข้อคิดแก่ผอู้ ่าน ข้อคิดสาคัญทีไ่ ด้จากเรือ่ ง คือ โทษของการแตกความสามัคคี
ข้อคิดอย่างเช่น
๑ การใช้ปัญญาเอาชนะศัตรูโดยไม่เสียเลือดเนื้อ
๒ การเลือกใช้บุคคลให้เหมาะสมกับงานจะทาให้งานสาเร็จได้ด้วยดี
๓ การใช้วิจารณญาณไตร่ตรองก่อนทาการใด ๆ เป็นสิง่ ที่ดี
๔ การถือความคิดของตนเป็นใหญ่และทะนงตนว่าดีกว่าผู้อนื่ ย่อมทาให้เกิดความเสียหายแก่ส่วนรวม
๕. ศิลปะการประพันธ์ในสามัคคีเภทคาฉันท์ นายชิต บุรทัต สามารถสร้างตัวละคร เช่น วัสสการพราหมณ์ ให้
มีบุคลิกเด่นชัดเจน และสามารถดาเนินเรือ่ งทาให้ชวนน่าติดตาม นอกจากนี้ ยังมีความเชี่ยวชาญในการแต่งคา
ประพันธ์
๖. หลักอปริหานิยธรรม ๗ ประการมีความสาคัญ เป็นหลักธรรมที่ทาให้มีความสามัคคี เมือ่ ขาดความสามัคคี
ทุกคนจะไม่สามารถป้องกันถัยอะไรได้ อปริหานิยธรรม ๗ ประกอบด้วย
๑. หมั่นประชุมกันเนืองนิตย์
๒. พร้อมเพรียงกันประชุม พร้อมเพรียงกันเลิกประชุม พร้อมเพรียงกันทากิจที่พึงทา
๓. ไม่บัญญัตสิ ิ่งที่มิได้บัญญัติเอาไว้ ไม่ล้มล้างสิ่งที่บญ
ั ญัติไว้ ถือปฏิบัติตามวัชชีธรรมตามที่วางไว้เดิม
๔. ท่านเหล่าใดเป็นผู้ใหญ่ในชนชาววัชชี ก็ควรเคารพนับถือท่านเหล่านั้น เห็นถ้อยคาของท่านว่าเป็น
สิ่งอันควรรับฟัง
๕. บรรดากุลสตรีและกุลกุมารีทงั้ หลายให้อยู่ดี โดยมิถูกข่มเหงหรือฉุดคร่าขืนใจ
๖. เคารพสักการบูชาเจดีย์ของวัชชีทั้งหลายทั้งภายในและภายนอก ไม่ปล่อยให้ธรรมิกพลีที่เคยให้เคย
ทาแก่เจดียเ์ หล่านั้นเสื่อมทรามไป
๗. จัดให้ความอารักขา คุ้มครอง และป้องกันอันชอบธรรมแก่พระอรหันต์ทั้งหลายทั้งที่ยงั มิได้มาพึงมา
สู่แว่นแคว้นและที่มาแล้วพึงอยู่ในแว่นแคว้นโดยผาสุก

คุณค่าด้านอื่นๆ

1. ด้านวรรณศิลป์
ใช้ฉันทลักษณ์ได้อย่างงดงามเหมาะสม โดยเลือกฉันท์ชนิดต่าง ๆ มาใช้สลับกันตามความเหมาะสมกับ
เนื้อเรื่อง จึงเกิดความไพเราะสละสลวย
ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย เห็นภาพชัดเจน

2. ด้านสังคม
เน้นโทษของการแตกความสามัคคีในหมู่คณะ
ด้านจริยธรรม เน้นถึงหลักธรรม อปริหานิยธรรม ซึง่ เป็นธรรมอันไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเสื่อม
เน้นถึงความสาคัญของการใช้สติปัญญาตริตรอง และแก้ไขปัญหาต่าง ๆ โดยไม่ต้องใช้กาลัง
บรรณานุกรม

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สานักงาน. หนังสือเรียนรายวิชาขั้นพื้นฐานภาษาไทย วรรณคดี


จักษ์ พิมพ์ครัง้ ที่ ๕. กรุงเทพฯ : สกสค. ลาดพร้าว, ๒๕๕๗. ๑๖๙ หน้า

กัลยาณี ถนอมแก้ว. (2010, January 21). วิจารณ์ตัวละครเรื่องสามัคคีเภทคาฉันท์. [เว็บบล็อก].


สืบค้นจาก https://www.gotoknow.org/posts/329717

You might also like