You are on page 1of 35

ลิลิตตะเลงพ่าย

ลิลิตตะเลงพ่าย
สมาชิก
นางสาว โชติกา กิตติฐิติกุล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เลขที่ 7
นางสาว กุลภัสสรณ์ นนทพิบูลย์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เลขที่ 12
นางสาว วิภาวี สุทธิพันธุ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เลขที่ 18
นางสาว ณัฐธยาน์ เตชะเพิ่มผล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เลขที่ 19
ผู้ประพันธ์

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรม พระเจ้าบรมวงศ์เธอ


สมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส กรมหมื่นภูบาลบริรักษ์
ลักษณะการแต่งของบทประพันธ์

❖ แต่งด้วยบทประพันธ์ประเภทลิลิตสุภาพ ซึ่งมีส่วนประกอบคือ โคลงสองสุภาพ ร่ายสุภาพ


โคลงสามสุภาพ และโคลงสี่สุภาพ
❖ แต่งสลับกันไปเป็นจานวน 439 บท
❖ ได้แบบอย่างการแต่งมาจากลิลิตยวนพ่ายซึ่งแต่งขึ้นในสมัยอยุธยาตอนต้น
❖ ลิลิตตะเลงพ่ายจัดเป็นวรรณคดีประเภทเฉลิมพระเกียรติพระมหากษัตริย์
บทประพันธ์ประเภทลิลิต
ลิลิต หมายถึง หนังสือที่แต่งด้วยคาประพันธ์ประเภท ร่ายและโคลง
สลับกันเป็นช่วงๆ โดยปกติ มักจะใช้โคลงและร่ายในแบบเดียวกัน
กล่าวคือ

❖ โคลงดั้น สลับกับ ร่ายดั้น


❖ โคลงสุภาพ สลับกับ ร่ายสุภาพ
อย่างนี้เป็นต้น
การอ่านและพิจารณาการใช้ประโยชน์หรือ
คุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม
เนื้อเรื่อง
● หลังจากอยุธยาได้มีการพลัดเปลี่ยนอานาจ พระเจ้านันทบุเรง
(กษัตริย์เมืองหงสาวดี) ก็ได้ส่งกองกาลังไปตรวจดูและหากมี
ความวุ่นวายจะบุกเข้าเมืองอยุธยาทันที
● พระองค์จึงได้มีรับสั่งให้พระมหาอุปราชาผู้ซึ่งเป็นโอรสและพระ
มหาราชเจ้านครเชียงใหม่ไปเตรียมกองทัพร่วมกันแต่โหรได้ทา
นายว่าพระมหาอุปราชานั้นจะมีดวงถึงฆาต
● พระมหาอุปราชาไม่สามารถขัดพระราชบิดาได้จึกออกรบด้วยใจที่
เป็นกังวล
● พอพระนเรศวรได้ทราบข่าวพระองค์จึงนากาลังส่วนนี้ไปตัง ้ ทัพ
รอรับศึกพม่าแทน
เนื้อเรื่อง
● พระนเรศวรได้วางกลอุบายในการสู้รบกับพม่า
● ในขณะที่กองทัพของพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จ
พระเอกาทศรถได้สู้รบกับกองทัพของพระมหาอุปราชาที่
ทรงยกทัพมาหมายจะตีเมืองกาญจนบุรี ช้างของทั้ง
สองพระองค์ก็เกิดตกมันเพราะได้ยินเสียงกลองทาให้
พระองค์ไปอยูู่กลางกองทัพของพม่า
● สมเด็จพระนเรศวรจึงได้กล่าวท้าให้พระมหาอุปราชออกมา
ทายุทธหัตถีกัน
เนื้อเรื่อง
● ท้ายที่สุดสมเด็จพระนเศวรทรงมีชัยเหนือพระ
มหาอุปราชาเช่นเดียวกับที่สมเด็จพระเอกา
ทศรถมีชัยเหนือมังจาชโรหลังจากที่กองทัพ
พม่าแตกพ่ายไป
● สมเด็จพระนเรศวรได้มีพระบัญชาให้สร้างสถูป
เจดีย์ขึ้นที่นี่ แล้วยกทัพกลับกรุงศรีอยุธยา
โคลงเรื่อง
❖ เนื้อหาที่สาคัญเป็นหลักของเรื่อง “ตะเลงพ่าย” คือ การดาเนินความตามเค้าเรื่อง
พงศาวดาร ได้แก่ การทาสงคราม การต่อสู้แบบยุทธหัตถี การจัดทัพ และรายละเอียด
ต่างๆ ซึ่งเป็นไปตามตาราพิชัยสงครามและโบราณราชประเพณีทุกอย่าง
ตัวละคร

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช (พระองค์ดา)
● สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เป็นกษัตริย์องค์ที่ 18 แห่งกรุงศรี
อยุธยา
● พระองค์เป็นคนเด็ดเดี่ยว กล้าหาญ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงมี
ความกล้าหาญ รอบคอบ เข้มแข็ง มีไหวพริบ และโดดเดี่ยวทรงมีพระ
ปรีชาสามารถควบคู่กับพระราชอัจฉริยะภาพในการทาศึกสงคราม
ตัวละคร
ตัวอย่างจากลิลิตตะเลงพ่าย ตอนพระเจ้านันทบุเรงสั่งให้โอรสออกรบชี้ให้เห็น
ลักษณะนิสัยของพระนเรศวรประการหนึ่ง กล่าวคือ พระเจ้านันทบุเรงเปรียบเทียบ
พระนเรศวรว่าเป็นคนกล้าหาญ ไม่หวั่นเกรงต่อศึก ดั่งบทร่ายว่า
“ฟังสารราชเอารส ธก็ผะชดบัญชา เจ้าอยุธยามีบุตร ล้วนยงยุทธ์เชี่ยวชาญ
หาญหักศึกบมิย่อ ต่อสู้ศึกบมิหยอน ไป่พักวอนว่าใช้ ให้ธหวงธห้าม แม้นเจ้าคร้าม
เคราะห์กาจ”

จากบทความข้างตน พระนเรศวร เป็นที่ยอมรับในความเก่งกาจ กล้าหาญ


แม้กระทั่งในฝ่ายศัตรู
ตัวละคร
พระมหาอุปราชา
● โอรสของนันทบุเรง เป็นเพื่อนเล่นกับพระ
นเรศวรสมัยที่พระองค์ประทับอยู่ที่กรุงหง
สาวดี
● อุปนิสัย เป็นคนขี้กลัว จิตใจอ่อนไหว และมี
ความรุนแรงในเรื่องความรัก แต่ยังมีความ
มานะ
ตัวละคร
ตัวอย่างจากลิลิตตะเลงพ่าย ตอน เมื่อครั้งพระเจ้าหงสาวดี ตรัสให้เตรียมทัพมาโจมตีไทย พระมหาอุปราชา
ทรงกราบทูลพระบิดาว่า โหรทานายว่า พระเคราะห์ถึงฆาต ทาให้พระเจ้านันทบุเรง เอ่ยประชดถึงพระนเรศวรว่า
มีความมานะไม่กลัวศึกสงคราม พระมหาอุปราชา จึงมีทิฐิมานะ แล้วได้ไปออกรบตามบัญชาแม้จิตใจจะกลัวมาก
เพียงใด
ลมชื่อเวรัมภา พัดคลุ้ม
หวนหอบหักฉัตรา คชขาด ลงแฮ
พระพลันเห็นเหตุไซร้ เสียวดวง แดเฮย
ถนัดดั่งภูผาหลวง ตกต้อง
กระหม่ากระเหม่นทรวง สั่นซีด
หนักหฤทัยท่านร้อง เรียกให้โหรทาย

จากบทความข้างตน พระมหาอุปราชา ไม่เชื่อคาทานาย แม้จะหวั่นกลัวที่จะพ่ายแพ้แต่พอนึกถึงบิดา และชาติ


บ้านเมืองก็มีความมานะที่จะสู้แม้จะหวั่นเกรงพระนเรศวรมากเพียงใด
ฉากท้องเรื่อง
ฉากท้องเรื่องหลักอยูู่ที่หงสาวดี เมืองหลวงของพม่า และ อยุธยา เมือง
หลวงของไทย รวมไปถึงสถานที่ทายุทธหัสถี

งามสองสุริยราชลา้ เลอพิศ นาพ่อ


พ่างพัชรินทรไพจิตร ศึกสร้าง
ฤรามเริ่มรณฤทธิ์ รบราพณ์แลฤ
ทุกเทศทุกทิศอ้าง อื่นไท้ไป่เทียม

ฉากที่ได้ปรากฏในเรื่องคือเหตุการณ์ที่บรรยายเกี่ยวกับ การปะทะกันของพระ
นเรศวร และ พระมหาอุปราชา ระหว่างการทายุทธหัตถีทั้งสองพระองค์ทรงช้างคู่กายมา
ชนกัน สู้รบไปมาอย่างไม่ยอมกัน ดั่งบทกลอนข้างต้น
ฉากท้องเรื่อง
๑. หงสาวดี เมืองหลวงของพม่า
๒. อยุธยา เมืองหลวงของไทย
๓. ด่านเจดีย์สามองค์ เขตแดนระหว่างไทยกับพม่า อาเภอสังขละบุรี จังหวัด
กาญจนบุรี
๔. กาญจนบุรี เมืองหน้าด่านของไทยที่พระมหาอุปราชายกเข้ามาเป็น เมืองแรก
๕. แม่กษัตริย์ ชื่อแม่นาู้ในจังหวัดกาญจนบุรีท่ีแม่ทัพนายกองเมือง กาญจนบุรีไปซุ่ม
สอดแนมเพื่อหาข่าวของข้าศึก
๖. พนมทวน อาเภอหนึ่งในจังหวัดกาญจนบุรีเมื่อพระมหาอุปราชา ยกทัพมาถึงเกิดเว
รัมภาพัดาให้
ฉัตรของพระมหาอุปราชาหัก
๗. เมืองสิงห์ เมืองสิงห์บุรี เมืองสรรค์ เมืองสรรค์บุรี อยนชัยนาทเมืองสุพรรณ
๘. กัมพุ ช, พุ ทไธธานี, ป่าสัก เมืองของเขมร
บทเจรจาราพึงราพัน
มาเดียวเปลี่ยวอกอ้า อายสู พระมหาอุปราชาต ้องเสด็จมาเพียงผูเ้ ดียวอย่างเหงา
สถิตอยู่เอ้องค์ดู ละห้อย ใจ แต่พระองค ์ได ้ชมนกชมไม้ทาให ้รู ้สึกเบิกบานพระทัย มาก
พิศโพ้นพฤกษ์พบู บานเบิก ้
ขึนแต่ ก็ยงั คิดถึงเหล่านางสนามและกานัลทัง้ หลาย พอเห็น
ใจนา ต ้นสลัด
พลางคะนึงนุชน้อย แน่งเนื้อ ทาให ้พระองค ์คิดว่าต ้องจากนางมานอนป่ าเพือท ่ า สงคราม
นวลสงวน ่
เห็นต ้นสละ เหมือนชือสละนางมาอยู ใ่ นป่ า เห็นต ้นระกาช่าง
สลัดไดใดสลัดน้อง แหนงนอน ่
เหมือนอกพระองค ์แท ้ เห็นต ้นสายหยุดเมือตอนสายก็ หมด
ไพรฤๅ ่
กลินแต่ ไม่เหมือนใจพระองค ์ทีไม่่ หมดร ักนาง จะกีวั่ นกีคื
่ นก็
เพราะเพื่อมาราญรอน เศิกไสร้ รักนาง ไม่มท ่
ี างทีจะหยุ ดร ักนาง
สละสละสมร
เสมอชื่อ ไม้นา
นึกระกานามไม้ แม่นแม้นทรวงเรียม

สายหยุดหยุดกลิน
่ ฟุ ง
้ ยามสาย
สายบ่หยุดเสน่ห์หาย ห่างเศร้า
กี่คืนกี่วันวาย
แก่นเรื่องหรือสารัตถะของเรือ
่ ง

- เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

- เพื่อต้องการให้ผู้อา่ นเห็นถึงความรักชาติและความเสียสละของบรรพ
บุรุษ

- ปลุกใจผู้อ่านให้เกิดความรักชาติของตนเอง
การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษา
ในวรรณคดีและวรรณกรรม
การสรรคา

ลิลิตตะเลงพ่ายเป็นบทประพันธ์ที่มีความลา้ ค่าอีกทัง
้ ยังเป็นวรรณคดีเฉลิม

ประเกียรติพระมหากษัตริย์ซึ่งเป็นสิ่งที่ควรศึกษาเพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจต่อ

นักรบชาติไทย ผู้ประพันธ์จึงเลือกใช้ถ้อยคาที่มีความไพเราะ
การใช้คาที่เหมาะแก่เนื้อเรื่องและฐานะของบุคคล
เบื้องนั้นนฤนาถผู้ สยามินทร์
เบี่ยงพระมาลาผิน ห่อนพ้อง
ศัสตราวุธอรินทร์ ฤาถูก องค์เอย
เพราะพระหัตถ์หากป้อง ปัดด้วยขอทรง

จากโคลงบทนี้ผู้ประพันธ์เลือกใช้คาที่มีศักดิ์คาสู งซึ่งแสดงให้เห็นภาพที่มีความเด่นชัดและมีความไพเราะ เช่น

❖ สยามินทร์ หมายถึง กษัตริย์สยาม (กษัตริย์อยุธยา)


❖ นฤนาถ หมายถึง กษัตริย์
❖ ศัตราวุธอรินทร์ หมายถึง อาวุธของข้าศึก
❖ พระมาลา หมายถึง หมวก
❖ องค์ หมายถึง สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
มีการใช้สัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะ
“....ถับถึงโคกเผาเข้า พอยามเช้ายังสาย
หมายประมาณโมงครบ ประทบทัพรามัญ
ประทันทัพพม่า ขับ
ทวยกล้าเข้าแทง
ขับทวยแขงเข้าฟัน สองฝ่ายยันยืนยุทธ์
อุดอึงโห่เอาฤกษ์ เอิกอึงเห่เอาชัย
สาดปืนไฟยะแย้ง แผลงปืนพิษยะยุ่ง
พุ ่งหอกใหญ่คะคว้าง ขว้าง
หอกซัดคะไขว่
ไล่คะคลุกบุกบัน เงื้อ
❖ สัมผัสสระ ได้แก่ ดาบฟันฉะฉาด
เข้า – เช้า, สาย – งาง้
หมาย, ครบ –บ….”
าวฟาดฉะฉั ทบ, รามัญ – ทัน, พม่า – กล้า, แทง – แข็ง, ฟัน – ยัน, ยุทธ์ – อุด,
ฤกษ์ – เอิก, ชัย – ไฟ, แย้ง – แผลง, ยุ่ง – พุ ่ง, คว้าง – ขว้าง, ไขว่ – ไล่, บัน – ฟัน, ฉาด – ฟาด
❖ สัมผัสพยัญชนะ ได้แก่
ถับ – ถึง, โคก – เข้า, ยาม – ยังหมาย, ประมาณ –โมง, ประทบ – ทับ, ประทัน – ทัพ, ขับ – เข้า, ทวย –
แทง, ขับ – แขง – เข้า, ยัน – ยืน – ยุทธ์, อุด – อึง – เอา, เอิก – อึง – เอา, ยะ – แย้ง, ยะ – ยุ่ง, คะ – คว้าง
, บุก – บัน, ฉะ – ฉาด, ง่า – ง้าว, ฉะ – ฉับ
การใช้คาอัพภาส

คือ การซา้ อักษรบริเวณหน้าคาศัพท์ ซึ่งทาให้เกิดความไพเราะ เช่น

“...สาดปืนไฟยะแย้ง, แผลงปืนพิษยะยุ่ง, พุ ่งหอกใหญ่คะคว้าง, ขว้างหอกซัดคะไขว่ไล่


คะคลุกบุกบัน, เงื้อดาบฟันฉะฉาด, ง่าง้าวฝาดฉะฉับ...”
การเลียนเสียงธรรมชาติ

“....เจ้าพระยาไชยานุภาพ เจ้าพระยาปราบไตรจักร ตรับตระหนักสาเนียง เสียงฆ้อง


กลองปืนศึก อีกเอิกก้องกาหล เร่งคารนเรียกมัน ชันหู ชูหางเล่น แปร้นแปร๋แลคะไขว่….”
การใช้โวหาร
❖ พรรณาโวหาร หรือการใช้คาให้เกิดจินตนาภาพ

พลอยพลา้ เพลียกถ้าท่าน ในรณ


บัดราชฟาดแสงพล พ่ายฟ้อน
พระเดชพระแสดงดล เผด็จคู่ เข็ญแฮ
ถนัดพระอังสาข้อน ขาดด้าวโดยขวา

เป็นการพรรณนาการต่อสู้ของทหารสองฝ่ายทีสู้รบกันโดยใช้อาวุธ ทาให้มีทหารเสียชีวิต
การใช้โวหารเปรียบเทียบ
บุญเจ้าจอมภพขึ้น แผ่นสยาม
แสยงพระยศยินขาม ขาดแกล้ว
พระฤทธิ์ดั่งฤทธิ์ราม รอนราพณ์ แลฤา
ราญอริราชแผ้ว แผกแพ้ทุกภาย
ไพรินทรนาศเพี้ยง พลมาร
พระดั่งองค์อวตาร แต่กี้
แสนเศิกห่อนหาญราญ รอฤทธิ์ พระฤา
ดาลตระดกเดชลี้ ประลาตหล้าแหล่งสถาน

จากบทความข้างต้นมีการเปรียบเทียบว่า: พระนเรศวรนั้นเปรียบเหมือนอวตารของพระรามมีฤทธิ์เหมือน
พระรามที่ เวลาทาศึกสงครามก็ปราบทหารยักษ์ให้แพ้ได้ทุกครั้ง
การอ่านและพิจารณาการใช้ประโยชน์หรือ
คุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม
คุณค่าด้านอารมณ์
1. ทาให้ผู้อ่านเกิดความสะเทือนใจในตัวอย่างของโคลงดังต่อไปนี้

พระผาดผายสู่ห้อง หาอนุชนวลน้อง
หนุ่มเหน้าพระสนม
ปวงประนมนบเกล้า งามเสงี่ยมเฟี้ ยมเฝ้า
อยู่ถ้าทูลสนอง
กรตระกองกอดแก้ว เรียมจักร้างรสแคล้ว
คลาดเคล้าคลาสมร
จาใจจรจากสร้อย อยู่แม่อย่าละห้อย
ห่อนช้าคืนสม แม่แล

จากโคลงด้านบนสามารถถอดคาประพันธ์ได้ว่า พระมหาอุปราชาได้ไปลาพระสนมทั้งหลาย
ด้วยความอาลัยอาวรณ์ก่อนออกรบซึ่งเมื่อผู้อ่านได้อ่านโคลงดังกล่าวจะทาให้ผู้อ่านเกิด
ความรู้สึกสะเทือนใจและรู้สึกเห็นใจพระมหาอุปราชาและนางสนมที่ต้องบอกลากัน
คุณค่าด้านอารมณ์
2. ทาให้ผู้อ่านเกิดความรู้สึกเจ็บปวด
่ หนึ่งในตอนของลิลิตตะเลงพ่ายที่ว่า
ดัง

“ฟังสารราชเอารสก็ผะชดบัญชา เจ้าอยุธยามีบุตร ล้วนยงยุทธ์เชี่ยวชาญ หาญหักศึกบมิย่อ ต่อสู้ศึกบมิ


หยอน ไป่พักวอนว่าใช้ ให้หวงธห้าม แม้นเจ้าคร้ามเคราะห์กาจ จงอย่ายาตรยุทธนา เอาพัสตราสตรี สวม
อินทรีย์สร่างเคราะห์ธตรัสเยาะเยี่ยงขลาด องค์อุปราชยินสาร แสนอัประมาณมาตย์มวล นวลพระพักตร์ผ่อง
เผือด เลือดสลดหมดคลา้ ชา้ กมลหมองมัว”

จากตัวอย่างดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงคาพู ดของพระเจ้าหงสาวดีที่ประชดประชันพระมหาอุปราชาด้วยคาพู ด
ที่ว่าให้เอาเครื่องแต่งกายหญิงมาสวมใส่ ซึ่งทาให้ผู้อ่านได้รับรู้ถึงความรู้สึกเจ็บปวดของพระเจ้าหงสาวดีที่ถูก
ห้ามให้ออกรบจากพระมหาอุปราชาที่ได้ฟง ั คาทานายจากโหรทานายว่าจะมีเคราะห์ถึงฆาต
คุณค่าด้านคุณธรรม
1. ความรอบคอบไม่ประมาท

พระห่วงแต่ศึกเสี้ยน อัสดง
เกรงกระลับก่อรงค์. รั่วหล้า
คือใครจักคุมคง ควรคู่ เข็ญแฮ
อาจประกันกรุงถ้า ทัพข้อยคืนถึง

หลังจากที่พม่ายกกองทัพเข้ามาพรพระนเรศวรก็ทรงสั่งให้ทหารไปทาลายสะพานเพื่อที่ว่าเมื่อฝ่ายไทยชนะศึกสงครามทหาร
ของพม่าก็จะตกเป็นเชลยของ ไทยทั้งหมด นี่แสดงให้เห็นว่าพระองค์ทรงเป็นกษัตริย์ที่มีทัศนคติที่กว้างไกล ซึ่งมีผลมาจาก
ความรอบคอบไม่ประมาท
คุณค่าด้านคุณธรรม
2. การเป็นคนรู้จกความกตัญญูกตเวที

ณรงค์นเรศด้าว ดัสกร
ใครจักอาจออกรอน รบสู้
เสียดายแผ่นดินมอญ มอด ม้วยแฮ
เหตูบ่มีมือผู้ อื่นต้านทานเข็ญ

ซึ่งเมื่อแปลจะมีความหมายว่าเมื่อยามที่สงครามขึ้นใครเล่าจะออกไปรบแทนท่านพ่อจากโคลงนี้ได้แสดงให้เราเห็นถึง ความรัก
ความกตัญญูที่มีต่อพระราชบิดาของพระมหาอุปราชา อีกทั้งความจงรัก ภักดี ต่อชาติบ้านเมือง

3. ความซื่อสัตย์
จากเนื้อเรื่องนี้เราจะเห็นได้ว่าพ่ายพลทหารทั้งฝ่ายพม่าและฝ่ายไทยมีความซื่อสัตย์และความจงรักภักดีต่อประเทศชาติ ของ
ตนมากเพราะในเรื่องลิลิตตะเลงพ่ายนั้นเรายังไม่เห็นเลยว่าบรรดาทหารฝ่ายใดคิดที่จะทรยศต่อชาติบ้านเมือง ของตนซึ่งก็
แสดงให้เห็นว่าความซื่อสัตย์จากเรื่องนี้ความซื่อสัตย์ของทหารส่งผลให้ชาติบ้านเมืองเกิดความเป็นปึกแผ่นมัน
่ คงได้และนามา
ซึ่งความเจริญและความมั่นคงในชีวิตซึ่งเป็นผลประโยชน์ต่อตนเองต่อครอบครัวและชาติบ้านเมือง
คุณค่าด้านอื่นๆ
คุณค่าด้านสังคม
❖ สะท้อนให้เห็นความเชื่อของสังคมไทย
ความเชื่อที่ปรากฏในเรื่อง ได้แก่ ความเชื่อของบรรพบุรุษ ความเชื่อเรื่องความฝัน
บอกเหตุ เชื่อคาทานายทายทักของโหร เช่น ตอนที่สมเด็จพระนเรศวรทรงพระสุบินนิมิต
จึงตรัสให้หาพระโหราจารย์เพื่อทานายนิมิต

ทันใดดิลกเจ้า จอมถวัลย์
สร่างผทมถวิลฝัน ห่อนรู้
พระหาพระโหรพลัน พลางบอก ฝันนา
เร็วเร่งทายโดยกระทู้ ที่ถ้อยตูแถลง
คุณค่าด้านอื่นๆ
คุณค่าด้านสังคม
❖ สะท้อนเกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณีขนบธรรมเนียมในการศึกที่ปรากฏในเรื่อง ได้แก่
เมื่อพระมหาอุปราชาจะออกศึกพระเจ้าหงสาวดีทรงประสาทและให้โอวาทการสร้างขวัญ
กาลังใจแก่ทหารและความเด็ดขาดในการรบ ความรู้เกี่ยวกับตาราพิชัยสงคราม การจัดทัพ
การตั้งทัพ ประเพณี และพิธีกรรมเกี่ยวกับสงคราม เช่น พิธีโขลนทวารตัดไม้ข่มนาม เพื่อ
การสร้างขวัญกาลังใจแก่ทหาร ดังที่ปรากฏในบทประพันธ์ที่กล่าวถึงพิ ธีโขลนทวารซึ่งเป็น
พิธีบารุงขวัญทหารก่อนออกศึกเหล่าทหารต่างฮึกเหิมและมีกาลังใจเพราะมีพระสงฆ์สวด
พระพุ ทธมนต์และประพรมนา้ พระพุ ทธมนต์ให้ ดังนี้

“...พลันขยายพยุหบาตรา คลาเข้าโขลนทวาเรศ สงฆ์สวดชเยศพุ ทธมนต์ ปรายประชล


เฉลิมทัพ ตามตารารับราชรณยุทธ์ โบกกบี่ธุชคลาพล ยลนาวาดาดาษ ดูสระพราศสระพรั่ง คั่งคับ
ขอบคงคา แลมหาเหาฬาร์พันลึก อธึกท้องแถวธาร...”
คุณค่าด้านอื่นๆ
คุณค่าด้านสังคม
❖ สะท้อนข้อคิดเพื่อนาไปใช้ในการดาเนินชีวิต
แสดงคุณธรรมด้านต่างๆ ที่มีคุณค่าต่อการดาเนินชีวิต เช่น ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ความเมตตา ความนอบน้อม
การให้อภัย เป็นต้น โดยสอดแทรกอยู่ในบทประพันธ์ ผู้อ่านจะสามารถซึมซับคุณธรรมเหล่านี้ผ่านความงามของภาษา
สามารถจรรโลงใจผู้อ่านได้ เช่น ตอนที่พระเจ้านันทบุเรง ทรงสอนการศึกสงครามแก่พระมหาอุปราชา ก็เป็นข้อคิดที่มี
คุณค่ายิ่งต่อการดาเนินชีวิตทุกยุคสมัย ตัวอย่างเช่น
หนึ่งรู้พยุหเศิ กไสร้ สบสถาน
เจนจิตวิทยาการ กาจแกล้ว
รู้เชิงพิ ชัยชาญ ชุมค่าย ควรนา
อาจรักรอนรณแผ้ว แผกแพ้ พังหนี
ฯลฯ
หนึ่งรู้บาเหน็จให้ ขุนพล
อันสมรรถมือผจญ จืดเสี้ยน
อย่าหย่อนวิริยยล อย่างเกียจ
แปดประการกลเที้ยร ถ่องแท้ทางแถลง
ขอบคุณค่ะ

You might also like