You are on page 1of 30

รายวิชา ภาษาไทย

รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ เรื่อง พินิจพิจารณ์

เรื่อง นิราศภูเขาทอง
ผู้สอน ครูนิสาชล รุ่งเนย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
นิราศภูเขาทอง
ภาพจาก http://www.amuletacademy.com/web/travel_detail.php?id=385
จุดประสงค์การเรย
ี นรู ้

๑. อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม

เรื่อง นิราศภูเขาทองได้
๒. วเิ คราะห์คุณค่าของวรรณคดีและ
วรรณกรรม เรื่อง นิราศภูเขาทองได้
นิราศภูเขาทอง
นิราศ เป็นวรรณกรรมที่นิยมแต่งมาตั้งแต่สมัยอยุธยา
เดิมนิยมแต่งเป็นโคลง ต่อมา ในสมัยรัตนโกสินทร์นิยม
แ ต่ ง เ ป็ น ก ล อ น ลั ก ษ ณ ะ เ ด่ น ข อ ง นิ ร า ศ อ ยู่ ที่
“การพรากจากคนรัก ” ซึ่งอาจจะจากกันจริงหรือสมมติ
ขึ้นก็ได้ และมี “การคร่่าครวญ” รวมทั้ง “การเดินทาง”
ภาพพื้นหลังจาก
http://www.amuletacademy.com/web/travel_detail.php?id=385 ภาพจาก https://thestandard.co/news-thailand-sunthornphu-history-misunderstand/
สถานที่ในภาพคือ เจดีย์ภูเขาทอง
ที่ต้งั อยู่ใน วัดภูเขาทอง เป็นวัดโบราณ
ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เกี่ยวข้อง
กับวรรณคดีนิราศ
ที่มีชื่อเสียงของ
สุนทรภู่ก็คือ
นิราศภูเขาทอง

ภาพพื้นหลังจาก ภาพจาก https://thestandard.co/news-thailand-sunthornphu-history-misunderstand/


http://www.amuletacademy.com/web/travel_detail.php?id=385
ท่ีมาและจุดประสงค์ในการแต่งนิราศภูเขาทอง

สุ น ทรภู่ แ ต่ ง เรื่ อ งนิ ราศภู เ ขาทอง เมื่ อ ปี พ .ศ. ๒๓๗๓


หลั ง จากท่ี พ ระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธเลิ ศ หล้ า นภาลั ย
เสด็จสวรรคตไปแล้ว ๖ ปี (สวรรคตปีพ.ศ. ๒๓๖๗) เพื่อเล่า
เ รื่ อ ง ก า ร เ ดิ น ท า ง จ า ก วั ด ร า ช บุ ร ณ ะ ห รื อ วั ด เ ลี ย บ
ี ังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ไปนมัสการพระเจดีย์ภูเขาทองท่จ
หลังจากออกพรรษาแล้ว
ประวัติสุนทรภู่
๑) สุนทรภู่ มีพระนามเดิมว่า “ ภู่ ”
ิ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จ
๒) เกด
พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
ิ เมื่อวันท่ี ๒๖ มิถุนายน ๒๓๒๙
๓) สุนทรภู่ เกด
่ ัดชีปะขาว
๔) สุนทรภูเ่ คยศึกษาอยูว
ปัจจุบันคือ “วัดศรส
ี ด
ุ าราม”
ประวัติสุนทรภู่
๕) ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ
ิ หลา
พระพุทธเลศ ้ นภาลย

สุนทรภูไ่ ด้แสดงความสามารถใน
เชิงกลอน จนเป็นท่พ
ี อพระราชหฤทัย
ั้ ด้วยความดีความชอบ
หลายครง
่ ึงได้รับพระราชทาน
่ ว สุนทรภูจ
ดังกลา
บรรดาศักด์เิ ป็นขุ นสุนทรโวหาร
เมื่อพระบาทสมเด็จ ประวัติสุนทรภู่
ิ หลา
พระพุทธเลศ ้ นภาลย

เสด็จสวรรคต และพระบาทสมเด็จ
้ เจ้าอยูห
พระนั่งเกลา ่ ัว เสด็จข้ึ น
ี ิตราชการของ
ครองราชย์ ชว
สุนทรภู่ในฐานะกวีท่ีทรงปรึกษาก็
ส้ิ นสุดลง สุนทรภูอ
่ อกจากราชการและ
ออกบวช
ประวัติสุนทรภู่
๗) สุ น ทรภู่ เ ป็ น กวี เ อกแห่ ง กรุ งรั ต นโกสิ นทร์ ซ่ึ ง ได้ รั บ

การยกย่ อ งจากองค์ ก ารเพื่ อ การศึ กษาวิ ท ยาศาสตร์


และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations
Educational , Scientific and Cultural Organization)
ห รื อ ยู เ น ส โ ก ( UNESCO) ใ ห้ เ ป็ น บุ ค ค ล ท่ี มี

ผลงานดีเด่นด้านวรรณกรรม
ลักษณะคาประพันธ์

นิ ราศภู เ ขาทอง แต่ ง ด้ ว ยค าประพั น ธ์


ป ร ะ เ ภ ท ก ล อ น นิ ร า ศ มี ลั ก ษ ณ ะ ค ล้ า ย
กลอนสุภาพ แตกต่างกันตรงที่ กลอนนิราศ
จะข้ ึ นต้นด้วยวรรครับ จบลงด้วยคาว่า “เอย”
ลักษณะคาประพันธ์
แผนผังและตัวอย่าง กลอนนิราศ

เดือนสิบเอ็ดเสร็จธุระพระวสา
รับกฐินภิญโญโมทนา ชุลีลาลงเรือเหลืออาลัย
..................................... ........................................
จงรับทราบความจริงทุกสิ่งสิ้น อย่านึกนินทาแถลงแหนงไฉน
นักเลงกลอนนอนเปล่าก็เศร้าใจ จึงร่่าไรเรื่องร้างเล่นบ้างเอย
เรื่องย่อ
นิราศภูเขาทอง เป็นนิราศเรื่องที่สั้นที่สุดของสุนทรภู่ เริ่มเรื่องด้วย
การปรารภถึ ง สาเหตุที่ ต้ อ งออกจากวั ด ราชบุ ร ณะและการเดิ น ทางโดยเรื อ
พ ร้ อ ม ห นู พั ด ซึ่ ง เ ป็ น บุ ต ร ช า ย ล่ อ ง ไ ป ต า ม ล่ า น้่ า เ จ้ า พ ร ะ ย า ผ่ า น
พระบรมมหาราชวัง จนมาถึงวัดประโคนปัก ผ่านโรงเหล้า บางจาก บางพลู
บางพลั ด บางโพ บ้ า นญวน วั ด เขมา ตลาดแก้ ว ตลาดขวั ญ บางธรณี
เกาะเกร็ด บางพูด บางเดื่อ บางหลวงเชิงราก สามโคก บ้านงิ้ว เกาะราชคราม
จนถึงกรุงเก่าเมื่อเวลาเย็น โดยจอดเรือพักที่ท่าน้่าวัดพระเมรุ ครั้นรุ่งเช้าจึงไป
นมัสการเจดีย์ภูเขาทอง ส่วนขากลับสุนทรภู่กล่าวแต่เพียงว่า เมื่อถึงกรุงเทพ
ได้จอดเรือเทียบที่ท่าน้่าหน้าวัดอรุณราชวรราม ราชวรมหาวิหาร
การเดินทางใน
นิราศภูเขาทอง
คุณค่าของเรื่อง
๑. คุณค่าด้านวรรณศิลป์
๑) มีสัมผัสนอก คือ คำสุดท้ำยในวรรคสดับ และวรรครองส่งสัมผัสกับคำที่ ๓
ในวรรครั บ และวรรคส่ ง เสมอ ส่ ว นสั ม ผั ส ในจะมี ป รำกฏภำยในวรรค
ทุ ก วรรค ทั้ ง สั ม ผั ส สระและสั ม ผั ส อั ก ษร ท ำให้ ก ลอนมี ค วำมไพเรำะยิ่ ง ขึ้ น
เช่น
"ดูน้าวิ่งกลิ้งเชี่ยวเป็นเกลียวกรอก กลับกระฉอกฉาดฉัดฉวัดเฉวียน
บ้างพลุ่งพลุ่งวุ้งวนเหมือนกงเกวียน ดูเวียนเวียนคว้างคว้างเป็นหว่างวน"
สัมผัสในวรรคเช่น วิ่ง-กลิ้ง, เชี่ยว-เกลียว, ฉอก-ฉาด-ฉัด-ฉวัด-เฉวียน
๑. คุณค่าด้านวรรณศิลป์
๒) ใช้ถ้อยค้ากระทบใจผู้อ่าน
ทำให้ผู้อ่ำนอำรมณ์สะเทือนใจร่วมไปกับกวี เช่น
"ถึงหน้าวังดังหนึ่งใจจะขาด คิดถึงบาทบพิตรอดิศร
โอ้ผ่านเกล้าเจ้าประคุณของสุนทร แต่ปางก่อนเคยเฝ้าทุกเช้าเย็น
พระนิพพานปานประหนึ่งศีรษะขาด ด้วยไร้ญาติยากแค้นถึงแสนเข็ญ
ทั้งโรคซ้่ากรรมซัดวิบัติเป็น ไม่เล็งเห็นที่ซึ่งจะพึ่งพา"
กล่าวถึงชีวประวัติของสุนทรภู่ ที่เคยเฝ้าใกล้ชิดพระยุคล
บาทรัชกาลที่ ๒ เมื่อสิ้นพระองค์ สุนทรภู่อยู่ในภาวะตกยาก
ซึ่งผู้อ่านรู้สึกสะเทือนอารมณ์เป็นยิ่งนัก
๑. คุณค่าด้านวรรณศิลป์
๓) การเล่ น ค้ า เล่ น ความ เป็ น กลวิ ธี ใ ช้ ค ำพ้ อ งรู ป พ้ อ งเสี ย ง
พ้องควำมหมำย กำรซ้ำคำ ซ้ำควำม ทำให้ได้ควำมหมำยที่ลึก ซึ้ง
กระทบใจ เช่น
“ถึงบางพลัดเหมือนพี่พลัดมาขัดเคือง
ทั้งพลัดเมืองพลัดสมรมาร้อนรน”
๑. คุณค่าด้านวรรณศิลป์
๔) การกล่าวเชิงเปรียบเทียบ (อุปมาอุปไมย) ไม่กล่ำวตรงไปตรงมำ เป็น
ควำมสำมำรถในกำรถ่ ำ ยทอดอำรมณ์ และควำมรู้ สึ ก ของกวี เช่ น
การเปรียบเทียบดอกบัวกับดาวที่พร่างพราว
"กระจับจอกดอกบัวบานผกา ดาษดาดูขาวดังดาวพราย"
หรือตอนที่สุนทรภู่ร่าพันถึงรัชกาลที่ ๒ ด้วยความโศกเศร้า
ว่าเคยเป็นที่โปรดปราน แต่เมื่อสิ้นรัชสมัย ก็ต้องตกระก่าล่าบาก เช่น
"เคยมอบใกล้ได้กลิ่นสุคนธ์ตรลบ ละอองอบรสรื่นชื่นนาสา
สิ้นแผ่นดินสิ้นรสสุคนธา วาสนาเราก็สิ้นเหมือนกลิ่นสุคนธ์"
๑. คุณค่าด้านวรรณศิลป์
๕) การใช้ค้าเพื่อสร้างจินตภาพ
เป็นกำรพรรณนำควำมด้วยถ้อยคำที่เรียบง่ำยแต่เ ห็นควำมชัดเจน
ดังเช่น
จนแจ่มแจ้งแสงตะวันเห็นพันธุ์ผัก ดูน่ารักบรรจงส่งเกสร
เหล่าบัวเผื่อนแลสล้างริมทางจร ก้ามกุ้งซ้อนเสียดสาหร่ายใต้คงคา
๒. คุณค่าด้านเนื้อหา
๑) สะท้อนวิถีชีวิตและวัฒนธรรม
นิรำศภูเขำทองมีเนื้อหำที่แสดงให้เห็นถึงสภำพบ้ำนเมือง สังคม
วัฒนธรรม และวิถีชีวิตของผู้คนริมฝั่งแม่น้ำเจ้ำพระยำในช่วง
สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เช่น กำรติดต่อค้ำขำย
ไปพ้นวัดทัศนาริมท่าน้่า แพประจ่าจอดรายเขาขายของ
มีแพรผ้าสารพัดสีม่วงตอง ทั้งสิ่งของขาวเหลืองเครื่องส่าเภา
๒. คุณค่าด้านเนื้อหา
๒) ชุมชนชาวต่างชาติ
กำรตั้งบ้ำนเรือนของชำวต่ำงชำติมีมำนำนแล้ว จนชำวต่ำงชำติ
ส่วนใหญ่กลำยเป็นส่วนหนึ่งของสังคมไทย
ถึงเกร็ดย่านบ้านมอญแต่ก่อนเก่า ผู้หญิงเกล้ามวยงามตามภาษา
เดี๋ยวนี้มอญถอนไรจุกเหมือนตุ๊กตา ทั้งผัดหน้าจับเขม่าเหมือนชาวไทย
๒. คุณค่าด้านเนื้อหา
๓) การละเล่นและงานมหรสพ
สุนทรภู่ได้กล่ำวถึงกำรละเล่นงำนมหรสพพื้นบ้ำน ซึ่งเป็นที่นิยมกัน
ในสมัยนั้นและจัดขึ้นในเทศกำลสำคัญประจำปี เช่น งำนฉลองผ้ำป่ำ
มาจอดท่าหน้าวัดพระเมรุข้าม ริมอารามเรือเรียงเคียงขนาน
บ้างขึ้นล่องร้องร่าเล่นส่าราญ ทั้งเพลงการเกี้ยวแก้กันแซ่เซ็ง
บ้างฉลองผ้าป่าเสภาขับ ระนาดรัวรัวคล้ายกับนายเส็ง
มีโคมรายแลอร่ามเหมือนสามเพ็ง เมื่อคราวเคร่งก็มิใคร่จะได้ดู
๒. คุณค่าด้านเนื้อหา

๔) ต้านานสถานที่ เนื้อหาของนิราศส่วนใหญ่ เป็นการพรรณนา


การเดินทาง ดังนั้นเมื่อกวีผ่านที่ใด ก็มักจะกล่าวถึงสถานที่นั้น
เช่น วัดประโคนปัก สุนทรภู่ได้บอกเล่าเรื่องราวอันเป็นที่มาของ
ชื่อวัดนี้ว่าเหตุที่วัดว่าประโคนปัก เนื่องจากมีการเล่าสืบกันมาว่า
บริเวณนี้เป็นที่ปักเสาประโคนเพื่อปันเขตแดน
๒. คุณค่าด้านเนื้อหา
๕) ความเชื่อคนไทย สุนทรภู่ได้สอดแทรกควำมเชื่อของคนไทย
ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ มั ก เกี่ ย วเนื่ อ งในพระพุ ท ธศำสนำ โดยเฉพำะเรื่ อ ง
นรก-สวรรค์ เช่น ควำมเชื่อที่ว่ำใครคบชู้ คือ ประพฤติตนผิดศีลข้อ ๓ ตำม
หลักศีล ๕ เมื่อตำยไป ผู้นั้นจะตกนรก
งิ้วนรกสิบหกองคุลีแหลม ดังขวากแซมเสี้ยมแทรกแตกไสว
ใครท่าชู้คู่ท่านครั้นบรรลัย ก็ตอ้ งไปปีนต้นน่าขนพอง
๒. คุณค่าด้านเนื้อหา
๖) แง่ คิ ด เกี่ ย วกั บ ความจริ ง ของชี วิ ต บทประพั น ธ์ ข องสุ น ทรภู่
มักได้รับกำรยกย่องอยู่เสมอว่ำมีเนื้อหำที่สอดแทรกข้อคิด คติกำรดำเนินชีวิต
และช่วยยกระดับจิตใจของผู้อ่ำนให้ปฏิบัติตนไปตำมแนวทำงที่เหมำะสม
ทั้งองค์ฐานรานร้าวถึงเก้าแฉก เผยอแยกยอดทรุดก็หลุดหัก
โอ้เจดีย์ที่สร้างยังร้างรัก เสียดายนักนึกน่าน้่าตากระเด็น
กระนี้หรือชื่อเสียงเกียรติยศ จะมิหมดล่วงหน้าทันตาเห็น
เป็นผู้ดีมีมากแล้วยากเย็น คิดก็เป็นอนิจจังเสียทั้งนั้น
นั กเรียนทาใบงาน
เรื่อง วิเคราะห์คุณค่าจากเรื่อง
นิราศภูเขาทอง
ั้ มัธยมศึ กษาปีที่ 1
สามารถดาวน์ โหลดใบงานได้ที่ www.dltv.ac.th รายวิชาภาษาไทย ชน
ใบงาน เรื่อง วิเคราะห์คุณค่าจากเรื่องนิราศภูเขาทอง
ตอนที่ ๑ ให้นักเรียนอ่านบทประพันธ์ที่ก้าหนดให้ แล้วตอบค้าถาม

๑. ถึงบำงพูดพูดดีเป็นศรีศักดิ์ มีคนรักรสถ้อยอร่อยจิต
แม้นพูดชั่วตัวตำยทำลำยมิตร จะชอบผิดในมนุษย์เพรำะพูดจำ
นักเรียนเห็นด้วยกับบทประพันธ์นี้หรือไม่ อย่างไร

๒. มำจอดท่ำหน้ำวัดพระเมรุข้ำม ริมอำรำมเรือเรียงเคียงขนำน
บ้ำงขึ้นล่องร้องรำเล่นสำรำญ ทั้งเพลงกำรเกี้ยวแก้กันแซ่เซ็ง
บ้ำงฉลองผ้ำป่ำเสภำขับ ระนำดรับรัวคล้ำยกับนำยเส็ง
มีโคมรำยแลอร่ำมเหมือนสำมเพ็ง เมื่อครำวเคร่งก็มิใคร่จะได้ดู
บทประพันธ์นี้สะท้อนให้เห็นสภาพสังคมเป็นอย่างไร
ใบงาน เรื่อง วิเคราะห์คุณค่าจากเรื่องนิราศภูเขาทอง
ตอนที่ ๑ ให้นักเรียนอ่านบทประพันธ์ที่ก้าหนดให้ แล้วตอบค้าถาม

๓. ถึงหน้ำวังดังหนึ่งใจจะขำด คิดถึงบำทบพิตรอดิศร
โอ้ผ่ำนเกล้ำเจ้ำประคุณของสุนทร แต่ปำงก่อนเคยเฝ้ำทุกเช้ำเย็น
พระนิพพำนปำนประหนึ่งศีรษะขำด ด้วยไร้ญำติยำกแค้นถึงแสนเข็ญ
ทั้งโรคซ้ำกรรมซัดวิบัติเป็น ไม่เล็งเห็นที่ซึ่งจะพึ่งพำ

บทประพันธ์นี้กล่าวถึงบุคคลใด อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
ใบงาน เรื่อง วิเคราะห์คุณค่าจากเรื่องนิราศภูเขาทอง
ตอนที่ ๒ ให้นักเรียนวิเคราะห์และอธิบายคุณค่าด้านวรรณศิลป์ จากวรรณคดีเรื่อง นิราศภูเขาทอง

๑. ถึงบำงเดื่อโอ้มะเดื่อเหลือประหลำด บังเกิดชำติแมลงหวี่มีในไส้
เหมือนคนพำลหวำนนอกย่อมขมใน อุปไมยเหมือนมะเดื่อเหลือระอำ

๒. ดูน้ำวิ่งกลิ้งเชี่ยวเป็นเกลียวกรอก กลับกระฉอกฉำดฉัดฉวัดเฉวียน
บ้ำงพลุ่งพลุ่งวุ้งวงเหมือนกงเกวียน ดูเวียนเวียนคว้ำงคว้ำงเป็นหว่ำงวน

๓. เห็นโศกใหญ่ใกล้น้ำระกำแฝง ทั้งรักแซมแซงสวำทประหลำดเหลือ
เหมือนโศกพี่ที่ระกำก็ช้ำเจือ เพรำะรักเรื้อแรมสวำทมำคลำดคลำย
๔. ไม่เห็นคลองต้องค้ำงอยู่กลำงทุ่ง พอหยุดยุงฉู่ชุมมำรุมกัด
เป็นกลุ่มกลุ่มกลุ้มกำยเหมือนทรำยซัด ต้องนั่งปัดแปะไปมิได้นอน
……………………………………………………………………………………………………………………
๕. ถึงบ้ำนงิ้วเห็นแต่งิ้วละลิ่วสูง ไม่มีฝูงสัตว์สิงกิ่งพฤกษำ
ด้วยหนำมดกรกดำษระดะตำ นึกก็น่ำกลัวหนำมขำมขำมใจ
งิ้วนรกสิบหกองคุลีแหลม ดังขวำกแซมเสี้ยมแทรกแตกไสว
ใครทำชู้คู่ท่ำนครั้นบรรลัย ก็ต้องไปปีนต้นน่ำขนพอง
ควำมรู้ที่ได้รับจำกบทประพันธ์
ข้อคิดที่ได้รับ
แนวทำงในกำรนำควำมรู้และข้อคิดไปใช้ในชีวิตประจำวัน

You might also like