You are on page 1of 30

6th

Grade

อาณาจักรโบราณของชนชาติ
ไทย
้ั ่ 2
ครงที
อาณาจักรโบราณของชนชาติไทย

ประกอบไปด้วย
● อาณาจักรฟูนัน
● อาณาจักรทวารวดี
● อาณาจักรละโว ้
● อาณาจักรตามพรลิงค ์
● อาณาจักรศรีวชิ ัย
● อาณาจักรโคตรบูร
● อาณาจักรหริภญ ุ ช ัย
● อาณาจักรล ้านนา
อาณาจักรฟู นัน
ี ่ ด)
(เก่าแก่ทสุ
อยู ่ในช่วงพุทธศตวรรษที่
6-11
รุง่ เรืองในช่วงพุทธศตวรรษที่
7-10

ี ้อสรุปของศูนย ์กลางที่
ไม่มข ฟู นันมีความสัมพน ั ธ ์ทางการ
ช ัดเจน อาจเป็ นเมือง ทู ตกับจีนและอินเดีย
“วยาธปุระ” ว ัฒนธรรมประเพณี ของ
“เมืองอู่ทอง” “เมืองออกแก ้ว” ฟู นันได้ร ับอิทธิพลมาจาก
อินเดีย สันนิ ษฐานว่าบรรพ
มีอาณาเขตครอบคลุมลุม ้
่ นาโขง บุรุษฟู นันอพยพมาจาก
ตอนล่าง ประเทศกัมพูชา อินเดีย

ทังหมด ลุม ้ ้าพระยา และ
่ นาเจ สันนิ ษฐานว่าเป็ นอาณาจักร
บริเวณภาคกลางของไทย ของชาวขอม
เมืองโบราณจันเสน


ชุมชนแรกเริมในสุ วรรณภูมท ี่
ิ มี
การติดต่อกับอินเดีย
เมืองโบราณอทู่ อง
เมืองอทู่ องแม่น้าลาคลองตื้นเขิน โรคร้าย
มากมายเหลือเกิน จึงชวนเชิญหาที่อยูใ่ หม่
พระเจ้าอทู่ องสร้างราชธานีไทย จึงสร้าง
เมืองใหม่คือกร ุงศรีอย ุธยา
่ นเมื
เริมขึ ้ ่ นันเสือมอ
อฟู ่ านาจลง
ทวารวดีมอ ี านาจขึน้

้ ่สองฝั่งลุ่มแม่นา้
ตังอยู
ช่วงราวพุทธ แต่ละเมืองจะมีกษัตริย ์
เจ ้าพระยาตอนล่าง
ศตวรรษที่ 11-18 เป็ นลักษณะเมือง
ปกครองตนเอง
่ คน ้ ชุมชนทวารวดี
โบราณทีมี ู าและคัน
เมืองสาค ัญ คือ เมืองละโว้ เจริญรุง่ เรืองมาก
นครช ัยศรี คูบวั อูท
่ อง ดินล ้อมรอบเมืองเป็ น
ศรีเทพ รูปวงกลมหรือวงรี
ประมาณ ๑-๓ ชน้ั มีวฒ
ั นธรรมคล ้ายกับฟูนัน
ภาพถ่ายทางอากาศทีแสดงให ่ ้เห็นร่องรอย ภาพถ่ายทางอากาศ
ของชุมชนโบราณสมัยทวาราวดีเมือ ่ พัน ของตัวเมืองสุโขทัย

เก่าทีมองเห็ นคูนา้
กว่าปี มาแล ้วที่ "เมือง พระรถ" อาเภอ
พนัสนิ คม จังหวัดชลบุร ี คันดินหลายชน้ั
อย่างช ัดเจน
หลักฐานทางโบราณคดี

เมืองนครปฐมโบราณ (เมืองพระประโทน
หรือเมืองนครช ัยศรี ได้ร ับการ
สันนิ ษฐานว่าน่ าจะเคยเป็ นราชธานี ของ
อาณาจักรทวาราวดี เจริญรุง่ เรืองราว
พุทธศตวรรษที่ 12 โดยพิจารณาจาก
การค้นพบเหรียญเงินถึง 2 เหรียญ ทีมี ่
จารึกว่า ศรีทวารวดี ศวรปุ ณยะ ซึง่
ธรรมจักรและกวางหมอบ
แปลว่า บุญของผู เ้ ป็ นเจ้าแห่งทวารวดี เจดีย ์จุลประโทน นครปฐม
เมืองนครปฐมโบราณ
อาณาจักรละโว้

รุง่ เรืองคู ก
่ ันก ับอาณาจักรทวารวดี
และศรีวช ิ ัย

ราวพุทธศตวรรษที่
11-19 วัฒนธรรมคล ้าย
่ าเนิ ดของพระ
ถินก ขอม เพราะตก

เป็ นเมืองขึนของ
เจ ้าอูท
่ อง ผูท้ รง
ขอม
สถาปนากรุงศรี
อยุธยา
อาณาจักรลพบุร ี
● ศิลปกรรมอาณาจักรลพบุร ี มีลก ั ษณะศิลปะคล ้าย
● คาว่า “ลพบุร”ี มาจากศัพท ์ว่า ลวะ กับของเขมรและของทวาราวดี เช่น ศิลปะนครวัด
ปุระ เป็ น ละโว ้ปุระ เป็ น ลพบุร ี ปรากฏอยู่มากมาย เช่น ปราสาท, พระปรางค ์ ฯลฯ
ตามลาดับ อยู่ทบริ ี่ เวณจังหวัด ส่วนมากในยุคนี จะก่ ้ อสร ้างด ้วย อิฐ เก่าแก่ทสุ
ี่ ด
ลพบุรปี ัจจุบน ั และลุ่มแม่น้า รองลงมาคือ ศิลาแลง และรองมาอีกคือ หิน ที่
เจ ้าพระยาตลอดไปจนถึงภาค ปรากฏหลักฐาน ก็มท ี ี่ ปราสาทหินพิมาย ,
ตะวันออกเฉี ยงเหนื อของประเทศ ปราสาทเขาพนมรุ ้ง, พระปรางค ์ 3 ยอด ลพบุร,ี
ไทยในปัจจุบน ั ด ้วย และยังมีสงิ่ ปราสาทเขาพระวิหาร ซึงเป็ ่ นศิลปกรรมทีสร ่ ้างได ้
ศักดิสิ์ ทธิที์ ยั
่ งเหลือมาถึงปัจจุบน ั นั้น อัศจรรย ์มาก เพราะ สร ้างโดยไม่มโี ครงเหล็กและ
คือ ทะเลชุบศร ซึงมี ่ อทิ ธิพลมาจาก ปูนโบก จากการสันนิ ษฐาน ในยุคนั้นน่ าจะใช ้ยาง

เรืองรามยณะ(รามเกี ยรติ)์ ไม้ชนิ ดหนึ่ งทีเรี
่ ยกว่า “ยางบงมา” เพราะเป็ นยางที่
เหนี ยวมาก
หลักฐานทางโบราณคดีท ี่
สาคัญในสมัยละโว้
พระนาคปรก
ลพบุร ี

● ประติมากรรม สมัยลพบุรช ี อบสร ้างพระพุทธรูป


นาคปรก และมักจะสร ้างสลักด ้วยศิลาทราย ถ ้า
หล่อด ้วยสาริดจะเป็ นพระพุทธรูปขนาดเล็ก มี
ลักษณะเฉพาะคือ สร ้างเป็ นพระพุทธรูปองค ์
เดียวหรือหลายองค ์อยู่บนฐานเดียวกัน พระ
พิมพ ์จะสร ้างด ้วยดินเผาและโลหะมีลก ั ษณะเด่น
้ กมีรป
พิเศษคือ พระพิมพ ์สมัยนี มั ู ปรางค ์
ประกอบด ้วยเสมอ
รู ปพระโพธิสต
ั ว ์ตามลัทธิมหายานใน
สมัยลพบุร ี

นิ ยมสร ้างแต่ 2 องค ์ คือ


● รูปพระโพธิสต ่ี งเกตคล ้ายรูปพระนารายณ์ แต่
ั ว ์อวโลกิเตศวร ทาอย่างเทวรูปสามัญ มีทสั
พระหัตถ ์บนสองพระหัตถ ์ ถือลูกประคาและหนังสือ พระหัตถ ์ล่าง 2 พระหัตถ ์ถือดอกบัวและ
น้าอมฤต ทาเป็ นมนุ ษย ์หลายหน้า ซ ้อนกันอย่างหัวโขน หลายพระหัตถ ์ หลายพระบาท

● รูปนางภควดีปัญญาบารมี ทาเป็ นรูปนางยกมือขวาถือหนังสือ มือซ ้ายถือดอกบัว ซึงมั ่ ก


เข ้าใจกันว่ารูปนางอุมาภควดี นอกจาก 2 อย่างนี ้ มิใคร่ทาเป็ นรูปพระโพธิสต ่
ั ว ์องค ์อืน
อย่างพวกศรีวช ิ ยั หรือชวา
อาณาจักร
ตามพรลิงค ์

ปลายพุทธศตวรรษที่ 13
พุทธศตวรรษที่ 20
ต้นพุทธศตวรรษที่ 14 ราวพุทธศตวรรษที่ 18

เคยเป็ นเมืองขึนของ เมืองนครศรีธรรมราชเป็ น
(เมืองโบราณในแหลมมาลายู) ้
อาณาจักรศรีวช ิ ัย ได ้มี เมืองขึนของกรุ ง
ชุมชนสาคัญแถบชายทะเล
้ ง 12 หัวเมือง
เมืองขึนถึ สุโขทัยในสมัยพ่อขุน
ภาคใต ้ หัวเมืองสาคัญ คือ เมือง
โดยใช ้ตรารูปสัตว ์ รามคาแหงและถูก
นครศรีธรรมราช เมืองไชยา
ประจาปี นักษัตรเป็ นตรา ผนวกเข ้าเป็ นส่วนหนึ่ ง
เมืองปัตตานี เมืองสงขลา เมือง
่ า ้ ้นๆ
ประจาเมืองขึนนั ของอาณาจักรอยุธยา
ตะกัวป่
เมืองขึน้ 12 หัวเมือง
กับตรารู ปสัตว ์ประจาปี นักษัตร
สายบุร-ี หนู ตร ัง-ม้า
ปั ตตานี -วัว ชุมพร-แพะ
กลันต ัน-เสือ บันไทยสมอ-ลิง
ปาหัง-กระต่าย สงขลา-ไก่
ไทรบุร-ี งูใหญ่ ่ ั า(ถลาง)-หมา
ตะกวป่
พัทลุง-งู เล็ก กระบุร-ี หมู
หลักฐานทาง
โบราณคดีท ี่
สาค ัญ คือ พระ
บรมธาตุเจดีย ์
อาณาจักรศรีวช
ิ ัย

รุง่ เรืองราวพุทธศตวรรษที่ ่
เสือมอ านาจราวพุทธ สันนิ ษฐานว่าศูนย ์กลางอยู่ที่
12-18 ศตวรรษที่ 18 เมืองไชยา สุราษฎ ์ธานี
และเมืองปาเล็มบัง เกาะ
้ ่บนเกาะชวา
ตังอยู เสียอานาจให ้กับอาณาจักร สุมาตรา อินโดนี เซีย
เกาะสุมาตรา คาบสมุทร สุโขทัยและอยุธยา
มลายู และดินแดน
บางส่วนของไทย
หลักฐานทางโบราณคดีท ี่
สาค ัญ คือ

เจดีย ์พระบรมธาตุไชยา พระบรมธาตุเจดีย ์


จ.สุราษฎร ์ธานี จ.นครศรีธรรมราช

พระโพธิสต
ั ว ์อวโลกิเตศวร
อาณาจักรโคตรบู ร

้ั นราวพุ
ตงขึ ้ ทธ ครอบคลุมดินแดนสองฝั่งแม่นา้ มีความสัมพันธ ์กับ
่ ้ เมืองอุดรธานี
โขง ตังแต่ อาณาจักรล ้านช ้าง
ศตวรรษที 11-15
หนองคาย เวียงจันทน์
บริเวณภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ นครพนม จนถึง
ของไทย สันนิ ษฐานว่ามี อุบลราชธานี
ี่
ศูนย ์กลางอยู่ทนครพนม
หรือเมืองท่าแขก (ลาว)
หลักฐานทาง
โบราณคดี
1.พระธาตุพนม จังหวัด
นครพนม
พระธาตุประจาผู เ้ กิดวัน
อาทิตย ์และปี วอก

บรรจุพระอุรงั คธาตุ (กระดูก


ส่วนหน้าอก) ของพระ
สัมมาสัมพุทธเจ ้า
2.ปราสาทหินพิมาย
จังหวัดนครราชสีมา
3.ปราสาทหินพนมรุ ้ง
จังหวัดบุรรี ัมย ์
ราวพุทธศตวรรษที่ 13-19 ตรงกับปี พ.ศ.1206

บริเวณทีราบลุ ม ้ งตอนบน หรือบริเวณลุม
่ แม่นาปิ ่
้ ง มีเมืองสาคัญคือ เมืองลาปาง (เมือง
แม่นาวั
เขลางค ์นคร) เมืองลาพูน (เมืองหริภญ
ุ ช ัย) มีปฐม
กษัตริย ์คือ พระนางจามเทวี ธิดากษัตริย ์แห่งกรุง
ละโว ้ จนถึงพญายีบา รวม 49 พระองค ์
ต่อมาถูกรวมเข ้ากับอาณาจักรล ้านนาของพระ
ยามังรายมหาราช ประมาณปี พ.ศ.1824
หลักฐานทางโบราณคดีทส ี่ าคัญ
คือ วัดพระธาตุหริภุญช ัย
พระธาตุประจาปี ระกา
พระเจดีย ์กู ก ่
่ ุด (พระเจดีย ์เหลียม) ต้นแบบสถาปั ตยกรรมล้านนาไทย
อาณาจักรล้านนา
ราวพุทธศตวรรษ
ที่ 13-19

ราวพุทธศตวรรษ
ที่ 19
อาณาจักรล ้านนาได ้กลับมา
บริเวณดินแดนแม่นาปิ ้ ง แม่นากก้ เจริญรุง่ เรืองอีกครง้ั และ
้ ้
และแม่นาโขง แบ่งเป็ น 2 แคว ้น ต่อมาได ้รวมกับอาณาจักร ได ้ตังราชธานี ึ้ ่
ใหม่ขนที
คือ แคว ้นโยนกเชียงแสน พระ หริภญ
ุ ช ัย
เจ ้าสิงหนวัติ ผู ้สร ้างเมือง “โยนก
เมืองเชียงใหม่ บริเวณลุ่ม
นาคพันธุ ์” ณ บริเวณลุม ่ แม่นา้
้ ง
แม่นาปิ

โขง ทีราบเชี ยงราย และแคว ้น
เงินยางเชียงแสน
สร ้างเมืองใหม่ท ี่ หิร ัญนคร
เงินยาง

พญาลาวเมง

นพบุรศ
ี รีนครพิงค ์
เชียงใหม่
พญามังราย
หลักฐานทางโบราณคดี

วัดเจ็ดยอด เชียงใหม่ สันนิ ษฐานว่าสร ้างในระหว่างพุทธศตวรรษ


ที่ 8-12 ด้วยฝี มือช่างชาวอินเดีย และได้ร ับ
การตกแต่งเพิมเติ่ มในร ัชสมัยของพระเจ้าติ
มีลกั ษณะของเจดีย ์อ ันเป็ น
โลกราชสร ้างด้วยศิลาแลงก่อสร ้างเป็ นพระ
เอกลักษณ์ คือ มีถงึ เจ็ดยอด
สถู ปเจดีย ์มีจานวนเจ็ดยอดด้วยกัน ประดับ
ใน 1 เจดีย ์ มีลก
ั ษณะ
ด้วยลวดลายปู นปั้ นเทพโดยรอบมีความ
ใกล้เคียงกับ มหาเจดีย ์พุทธค ่ ่ เป็ นวัดประจาปี คนเกิด
เก่าแก่และงดงาม ซึงตามความเชื อของ
ยา อินเดีย ปี มะเส็ง
ชาวล้านนา
่ มของเมือง
ชือเดิ
สมัยโบราณใน
ประเทศไทย

You might also like