You are on page 1of 19

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3

วิเคราะห์ ถิ่นกาเนิดและการตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
คาบที่ 7: รัฐโบราณในดินแดนไทย
ตัวชี้วดั ช่ วงชั้น

วิเคราะห์ ประเด็นสาคัญของ
ประวัติศาสตร์ ไทย (ส 4.3 ม. 4-6/1)
หัวข้ อ: รัฐโบราณในดินแดนไทย

1. แคว้ นตามพรลิงค์หรื อแคว้นนครศรีธรรมราช


2. อาณาจักรทวารวดี
3. อาณาจักรศรีวชิ ัย
4. แคว้ นละโว้ หรื อลพบุรี
5. แคว้ นหริภุญชัย
➢ รัฐโบราณในดินแดนไทย

ชาวตะวันตกกับจีนมีการติดต่ อค้ าขายกันมานาน เพราะสิ นค้ า จากจีน


เป็ นที่ต้องการของชาติต่าง ๆ การเดินทางใช้ เส้ นทางทางบก เดินทางข้ ามทวีป
เป็ นหลัก ต่ อมาราวพุทธศตวรรษที่ 8 เส้ นทางทางบกมีอุปสรรค บรรดาพ่ อค้ าจึง
เปลีย่ นมาใช้ เส้ นทางทางทะเล ชุ มชนที่อยู่ชายทะเลได้ พฒ
ั นาเป็ นเมืองท่ าสาหรับ
แวะพักจอดเรื อ พบปะค้ าขาย และหาเสบียงอาหารและนา้
➢ รัฐโบราณในดินแดนไทย

ประมาณพุทธศตวรรษที่ 16 ระบบการค้ าเปลี่ยนไป ชาวจีนหัน มา


เดินเรื อออกค้ าขายโดยตรงทาให้ ชุมชนคาบสมุทรเดิมฟื้ นตัวขึน้ ใหม่ กลับมา
ใช้ เส้ นทางทางบกอีกครั้ ง อาณาจักรที่เคยมีรายได้ จากการคุมน่ านน้าและเป็ น
พ่อค้ าคนกลางก็หมดความสาคัญลง
รั ฐ โบราณในดิ น แดนไทยที่ ส าคั ญ ได้ แก่ แคว้ นตามพรลิ ง ค์
อาณาจักรทวารวดี อาณาจักรศรีวชิ ัย แคว้ นละโว้ และแคว้ นหริ ภุญชัย
➢ รัฐโบราณในดินแดนไทย

➢ 1. แคว้ นตามพรลิงค์ หรื อแคว้ นนครศรีธรรมราช (ประมาณพุทธศตวรรษที่ 7-19)

จีน เรี ยกว่ า ตันมาลิง มีเรื่ องราวปรากฏ


ในหลั ก ฐานต่ า ง ๆ เช่ น บั น ทึ ก ของจ้ า วหยู คั่ ว
เขียนใน พ.ศ. 1768 สมัยราชวงศ์ ซ่ ุ ง จารึ กหลักที่
24 พบทีว่ ดั เวียง อ.ไชยา จ.สุ ราษฎร์ ธานี จารึกเมื่อ
พ.ศ. 1773 ตานานเมืองนครศรีธรรมราช ตานาน
พระบรมธาตุนครศรีธรรมราช

บริเวณที่สันนิษฐานว่าเป็ นที่ต้ังของแคว้นนี้
➢ รัฐโบราณในดินแดนไทย

แคว้ นตามพรลิงค์ ตั้งขึน้ เมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ 7 เมื่อถึงพุทธศตวรรษ


ที่ 18 ได้ เปลีย่ นชื่ อเป็ นแคว้ นนครศรีธรรมราช มีอทิ ธิพลครอบคลุมแหลมมลายู ซึ่งเป็ น
แหล่งรวมวัฒนธรรมจากอินเดียและลังกา
ศาสนาที่ นั บ ถื อ มี ท้ั ง ศาสนาพราหมณ์ -ฮิ น ดู และพระพุ ท ธศาสนานิก าย
มหายานและนิ ก ายเถรวาท จนถึ ง ปลายพุ ท ธศตวรรษที่ 18 นครศรี ธ รรมราชมี
ความสั มพันธ์ กบั ลังกา จึงรับพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทแบบลังกาวงศ์
แคว้ นนครศรีธรรมราช ตกอยู่ใต้ อทิ ธิพลของอาณาจักรสุ โขทัยในสมัยพ่ อขุน
รามค าแหงมหาราช ต่ อ มาเมื่ อตั้ ง อาณาจั ก รอยุ ธ ยาขึ้น ใน พ.ศ. 1893 แคว้ น จึ ง ถู ก
รวมอยู่ในอาณาจักรอยุธยา
➢ รัฐโบราณในดินแดนไทย

➢ 2. อาณาจักรทวารวดี (ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12-16)

ในบันทึกการเดินทางของหลวงจีน
เหี้ยนจาง (พระถังซาจั๋ง) เรียกอาณาจักรนีว้ ่ า
โตโลโปตี้ หรื อตวอหลอปอตี่
ศาสตราจารย์ ยอร์ ช เซเดส์ เชื่ อว่ า
เป็ นคาเดียวกับทวารวดี ซึ่งเป็ นอาณาจักร ใน
ภ า ค ก ล า ง ข อ ง ดิ น แ ด น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย
ศู นย์ กลางอานาจอยู่ที่เมื องนครปฐมโบราณ
บริเวณที่สันนิษฐานว่าเป็ นที่ต้ ัง
(นครชัยศรี) หรื อเมืองอู่ทอง หรื อเมืองลพบุรี
ของอาณาจักรนี้
➢ รัฐโบราณในดินแดนไทย

นักประวัติศาสตร์ อีกกลุ่มหนึ่งเชื่ อว่ า เมื องแต่ ละเมื องในสมัยทวารวดีต่างเป็ น


อิสระ ไม่ ขนึ้ ต่ อกัน แต่ มีความคล้ ายคลึงกันทางวัฒนธรรม
เมื องโบราณที่รับวัฒนธรรมทวารวดีมีจานวนมากและมีลักษณะคล้ ายกั น คื อ
เป็ นเมืองขนาดใหญ่ มีคนั ดินคูนา้ ล้ อมรอบ มีศาสนสถานขนาดใหญ่ กระจายอยู่ในตัวเมือง
ชาวทวารวดีอาจเป็ นชาวมอญ สั นนิษฐานจากการค้ นพบ
จารึ กภาษามอญโบราณหลายหลัก ทวารวดีรับอารยธรรมอินเดีย
นับถื อพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทเป็ นศาสนาหลัก เห็ นได้ จาก
ศิลปกรรมต่ าง ๆ เช่ น พระพุทธรู ป พระพิมพ์ สถูปเจดีย์ขนาดใหญ่
จารึก และธรรมจักรกับกวางหมอบ
➢ รัฐโบราณในดินแดนไทย

อาณาจักรทวารวดีมีกษัตริ ย์ปกครอง หลักฐาน


ยืนยัน ได้ แก่ เหรียญเงิน พบที่เมืองนครปฐมโบราณ เมือง
อู่ทอง และเมื องลพบุรี มีคาจารึ กว่ า ศรี ทวารวติ ศวรปุณ
ยะ ซึ่งศาสตราจารย์ ยอร์ ช เซเดส์ แปลว่ า บุญของผู้เป็ นเจ้ า
แห่ งทวารวดี เหรียญเงินสมัยทวารวดี

อาณาจักรทวารวดี สิ้นสุ ดลงในพุทธศตวรรษที่ 16 เนื่องจากเขมรแผ่ อานาจ


เข้ ามายังภาคกลางของดินแดนประเทศไทย
➢ รัฐโบราณในดินแดนไทย

➢ 3. อาณาจักรศรีวชิ ัย (ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-18)

ตามจดหมายเหตุของอีจ้ ิง พระภิกษุ
ชาวจีนที่เดินทางทางเรื อจากจีนไปอินเดียเมื่อ
พ.ศ. 1214 ได้ แวะพักที่ดินแดนนี้และเรี ยกว่ า
ชิ ลิโฟชิ ใน พ.ศ. 2416 ศาสตราจารย์ ยอร์ ช
เซเดส์ อ่ านจารึ กหลักที่ 23 ศิ ลาจารึ กวัดเสมา
เมือง อ.เมืองนครศรีธรรมราช พบคาว่ า ศรี วิช
เยนทรราชา แปลว่ า พระเจ้ ากรุ งศรี วิชั ย จึ ง
เกิดคาว่ าศรีวชิ ัยตั้งแต่ น้ันมา บริเวณที่สันนิษฐานว่าเป็ นที่ต้ ัง
ของอาณาจักรนี้
➢ รัฐโบราณในดินแดนไทย

อาณาจักรศรี วิชัยเป็ นชุ มชนโบราณตั้งอยู่ริมฝั่งทะเลเหมาะ


ที่ จ ะเป็ นเมื อ งท่ า ต่ อ มากลายเป็ นศู น ย์ ก ลางการค้ า ที่ ส าคั ญ อยู่ ใ น
เส้ นทางการค้ าระหว่ างอินเดียกับจีน
ตั้งเป็ นอาณาจั กรเมื่ อประมาณพุทธศตวรรษที่ 13 มีอาณา
เขตครอบคลุมภาคใต้ ของไทย ศู นย์ กลางอานาจอาจอยู่ที่เมื องปาเล็ม
บัง บนเกาะสุ มาตรา หรื อเมืองไชยา จ.สุ ราษฎร์ ธานี
➢ รัฐโบราณในดินแดนไทย

ศรี วิ ชั ย รั บ อารยธรรมอิ น เดี ย ในระยะแรกนั บ ถื อ


พระพุ ท ธศาสนานิ ก ายเถรวาทและศาสนาพราหมณ์ -ฮิ น ดู
ต่ อมานั บถื อพระพุ ทธศาสนานิ กายมหายาน ศิ ลปกรรมทาง
ศาสนาที่ มี ชื่ อ เสี ย งมากคื อ รู ป พระโพธิ สั ต ว์ อ วโลกิ เ ตศวร
ปัจจุบันอยู่ที่พพิ ธิ ภัณฑสถานแห่ งชาติ พระนคร และพระบรม
ธาตุไชยา จ.สุ ราษฎร์ ธานี
อาณาจักรศรี วิชัยสิ้นสุ ดอานาจทางการเมืองลงในตอนปลายพุทธศตวรรษที่ 18
เนื่ องจากถู กพวกโจฬะจากอินเดี ยใต้ รุกราน และไม่ ส ามารถควบคุ ม การค้ าทางทะเล
ตามเดิมได้
➢ รัฐโบราณในดินแดนไทย

➢ 4. แคว้ นละโว้ หรื อลพบุรี (ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12-18)

แคว้ น นี้ พั ฒ นามาจากชุ ม ชน


สมัยก่ อนประวัติศาสตร์ รั บวัฒนธรรม
ทวารวดีจนถึงพุทธศตวรรษที่ 16 จึงรั บ
วั ฒ นธรรมเขมร ศู น ย์ ก ลางอยู่ ที่ เ มื อ ง
ละโว้ หรื อลพบุรี

บริเวณที่สันนิษฐานว่าเป็ นที่ต้ังของแคว้นนี้
➢ รัฐโบราณในดินแดนไทย

เมืองต่ าง ๆ ของดินแดนประเทศไทย
ที่รับอิทธิพลมาจากเขมร มีลักษณะสาคั ญ คื อ
การสร้ างศาสนสถานไว้ ที่ ศู น ย์ ก ลางเมื อ ง
สิ่ ง ก่ อ สร้ างที่ เ ป็ นประธานของศาสนสถาน
ได้ แก่ ปราสาทหรื อปรางค์
➢ รัฐโบราณในดินแดนไทย

เดิมชาวละโว้ นับถื อพระพุทธศาสนานิ กาย


เถรวาท แต่ เ มื่ อ รั บ วั ฒ นธรรมเขมรเข้ า มาก็ นั บ ถื อ
ศาสนาตามเขมร ได้ แก่ ศาสนาพราหมณ์ -ฮิ นดู และ
พระพุ ท ธศาสนานิ ก ายมหายาน ประติม ากรรมทาง
ศาสนาศิ ลปะลพบุรีจึงมีท้ังเทวรู ป พระโพธิสัตว์ และ
พระพุทธรู ปซึ่งนิยมสร้ างปางนาคปรก
➢ รัฐโบราณในดินแดนไทย

➢ 5. แคว้ นหริภุญชัย (ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-19)

แคว้ นหริ ภุญชั ย ตั้งอยู่ในที่ราบลุ่มแม่ น้าปิ งตอนบนและที่ราบลุ่มแม่ น้าวัง


ราชธานี คือ เมื องหริ ภุญชั ยหรื อเมื องลาพูน เรื่ องราวของแคว้ นนี้ปรากฏในตานาน
ทางเหนือ เช่ น จามเทวีวงศ์ ตานานมูลศาสนา ชินกาลมาลีปกรณ์
ชิ นกาลมาลีปกรณ์ กล่ าวว่ า ฤๅษีวาสุ เทพเป็ นผู้สร้ างเมืองหริ ภุญชัย แล้ วส่ ง
คนไปเชิ ญพระนางจามเทวีจากเมืองละโว้ มาเป็ นกษัตริ ย์ ด้ วยเหตุนี้ หมานซู เอกสาร
จีนโบราณสมัยราชวงศ์ ถังซึ่ งเขียนใน พ.ศ. 1406 จึงเรี ยกหริ ภุญชั ยว่ า หนี่ หวังก๊ ก
แปลว่ า แคว้ นทีม่ ผี ้ หู ญิงเป็ นกษัตริย์
➢ รัฐโบราณในดินแดนไทย

พระนางจามเทวีนาวัฒนธรรมทวารวดี จากละโว้ ไปเผยแพร่ ที่หริ ภุญชัย


ชาวหริ ภุ ญ ชั ย จึ ง นั บ ถื อ พระพุ ท ธศาสนานิ ก ายเถรวาท สถาปั ต ยกรรมทาง
พระพุทธศาสนาสมัยหริภุญชัย ได้ แก่ พระเจดีย์ก่ กู ดุ และพระธาตุหริภุญชัย
แคว้ นหริภุญชัยถูกพระยามังรายตีได้ เมื่อ พ.ศ. 1835
เกม
สามารถเลือกได้ใน Folder ที่ 8

You might also like