You are on page 1of 13

หน่ วยที่ 8

การส่ งเสริมอัตลักษณ์ ไทยและประยุกต์ ใช้


ในกระแสโลกาภิวตั น์
คาบที่ 34: วิถีชีวติ ของคนไทยในสมัยต่ าง ๆ และการสื บทอด
และเปลีย่ นแปลงของวัฒนธรรมไทย
ตัวชี้วดั ช่ วงชั้น

วางแผนกาหนดแนวทางและมีส่วนร่ วมการอนุรักษ์
ภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมไทย (ส 4.3 ม. 4-6/5)
แบบทดสอบก่ อนเรียน
สามารถเลือกได้ใน Folder ที่ 10
หัวข้อ
เรื่อง: การส่งเสริมอัตลักษณ์ไทยและประยุกต์ใช้
ในกระแสโลกาภิวตั น์

1. วิถีชีวิตคนไทยในสมัยต่าง ๆ
2. การสืบทอดและเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมไทย
1. วิถีชีวติ ของคนไทยสมัยต่ าง ๆ

1.1 สมัยสุ โขทัย


สมัยสุ โขทัยมีการปกครองแบบพ่ อปกครองลูก เป็ นสั งคมที่
ไม่ ซับซ้ อน แบ่ งออกเป็ นชนชั้ นผู้ปกครองและผู้ถูกปกครอง ชาว
สุ โขทัยมีเสรีภาพในการประกอบอาชีพ เช่ น เกษตรกรรม หัตถกรรม
ค้ าขาย โดยใช้ เงินพดด้ วงและเบีย้ เป็ นสื่ อกลางในการแลกเปลี่ยน
1.2 สมัยอยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้ น
วิถีชีวิตของคนไทยในสามช่ วงเวลานี้ไม่ แตกต่ างกั นมากนัก
คื อ มีการปกครองแบบสมมติเทพ ผู้ปกครองกับราษฎรจึงมีความ
ห่ างเหินกัน ประชาชนถูกควบคุมด้ วยระบบไพร่ มีเศรษฐกิจแบบ
พึ่งตนเอง การค้ าจึงไม่ ขยายตัวมากนั กเพราะถู กผูกขาดโดยพระ
คลังสิ นค้ า
ในสมั ย อยุ ธ ยาได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลทางวั ฒ นธรรมจากเขมร
อิ น เดี ย มอญ จี น ญี่ ปุ่ น เปอร์ เซี ย อาหรั บ ยุ โ รป เช่ น กฎหมาย
ประเพณี พระราชพิธีต่าง ๆ ในราชสานัก
1.3 สมั ย รั ตนโกสิ นทร์ ยุ ค ปรั บปรุ งประเทศถึ ง การ
เปลีย่ นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
พระมหากษัตริย์ใกล้ชิดกับราษฎรมากขึน้ ในสมัยรั ชกาลที่ 4
และรัชกาลที่ 5 สั งคมไทยมีการเปลีย่ นแปลงไปอย่ างมากจากการรับ
วัฒนธรรมตะวันตก
ด้ านเศรษฐกิจมีการบุกเบิกที่ดินเพื่ อใช้ ปลูกข้ าว เนื่ องจาก
ข้ า วเป็ นสิ นค้ า ออกอัน ดั บ หนึ่ ง โดยชาวจี น เป็ นเจ้ า ของโรงสี แ ละ
ผู้ค้าข้ าวในประเทศ ส่ วนชาวยุโรปเป็ นผู้ส่งออก ทาให้ การค้ าขยาย
ไปทัว่ ประเทศ เกิดการพัฒนาเส้ นทางคมนาคม
การปรับปรุงประเทศให้ ทนั สมัยแบบตะวันตก ทาให้ วถิ ีชีวิต
ของคนไทยเปลี่ยนไป เช่ น การเลิกทาสและไพร่ การเล่ าเรี ยนใน
โรงเรี ยนและมหาวิทยาลัย การรั บประทานกาแฟ นม ขนมปั งเป็ น
อาหารเช้ าแทนข้ า ว ใช้ ช้ อ นส้ อม นั่ ง โต๊ ะ เก้ า อี้ การเล่ น กี ฬ าแบบ
ตะวันตก การสร้ างบ้ านแบบตะวันตก
1.4 ตั้งแต่ พ.ศ. 2475 ถึงปัจจุบัน
การเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็ นระบอบประชาธิปไตย
ทาให้ เกิดองค์ กรการเมื องต่ าง ๆ ประชากรมีสิทธิในการออกเสี ยง
เลือกตั้ง มีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นทางการเมือง
การใช้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ ทาให้ อตั รา
ผู้รู้ หนังสื อมากขึน้ ความเจริญทางการแพทย์ ทาให้ ประชากรสู งวัย
มีจานวนมากขึน้ ผู้หญิงออกไปทางานนอกบ้ านมากขึน้ เกิดโรงงาน
อุตสาหกรรม คนในชนบทอพยพมาทางานโรงงานมากขึ้น เกิด
ปั ญ หาช่ องว่ างทางเศรษฐกิ จ ระหว่ างภาคเกษตรกรรมกั บ
อุตสาหกรรม
2. การสื บทอดและเปลีย่ นแปลงของวัฒนธรรมไทย

การสื บทอดวัฒนธรรมไทยเกิดจากหลายปัจจัย ดังนี้


1. การประพฤติ ป ฏิ บั ติ จ นกลายเป็ นส่ วนหนึ่ ง ของ
ชีวติ ประจาวัน เช่ น การไหว้ การทักทายด้ วยคาว่ า “สวัสดี”
2. การถ่ ายทอดผ่ านคนในครอบครัว ในชุ มชน และผ่ านการ
เรียนรู้ ในสถาบันการศึกษา เช่ น เทคนิคการทอผ้ าที่มีลวดลายประจา
ถิ่นหรื อประจาตระกูล
3. การอนุรักษ์ โดยหน่ วยงานหรื อองค์ กรของ
รั ฐ และเอกชน เช่ น กระทรวงวัฒ นธรรม องค์ ก าร
ส่ งเสริ ม การท่ อ งเที่ ย วแห่ ง ประเทศไทย (อ.ส.ท.)
การจั ด งานประกวดในเทศกาลต่ า ง ๆ การส่ งเสริ ม
กี ฬ าพื้ น บ้ า นของไทย เช่ น จั ด การแข่ ง ขั น กี ฬ า
มวยไทย
การเปลีย่ นแปลงของวัฒนธรรมไทยเกิดจากหลายปัจจัย ดังนี้
1. การเปลี่ ย นแปลงของสั งคม เช่ น เปลี่ ย นจากสั ง คม
เกษตรกรรมเป็ นสั งคมเมื อง ทาให้ วัฒนธรรมบางอย่ างเปลี่ยนแปลง
หรื อสู ญหาย
2. การพั ฒ นาของบ้ า นเมื อ ง เช่ น วั ฒ นธรรมไทยในอดี ต
ผู้หญิงจะอยู่บ้านเป็ นแม่ บ้านแม่ เรื อน ในปั จจุบันผู้หญิงทางานนอก
บ้ านมากขึน้
3. การรับและนิยมวัฒนธรรมต่ างชาติ เช่ น วัยรุ่ นบางคนเห็น
ว่ าวัฒนธรรมไทยบางอย่ างล้าสมัย เช่ น เพลงไทยเดิม
4. ความเจริ ญ ก้ า วหน้ าทางด้ า นการติ ด ต่ อ สื่ อสาร เช่ น
อิ น เทอร์ เน็ ต โทรทั ศ น์ ท าให้ ค นไทยเรี ย นรู้ และนิ ย มวั ฒ นธรรม
ภายนอกมากขึน้

You might also like