You are on page 1of 20

หน่ วยการเรียนรู้ที่ 2

การสร้ างองค์ ความรู้ ใหม่


ทางประวัติศาสตร์ ไทย
การสร้ างองค์ ความรู้ ใหม่ ทางประวัตศิ าสตร์
• ความหมาย ความสาคัญ และประโยชน์ของวิธีการทางประวัติศาสตร์
• ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
• หลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย
ความหมายของวิธีการทางประวัติศาสตร์

วิธีการทางประวัติศาสตร์ เป็ นวิธีการหรื อขั้นตอน


ต่ า งๆ ที่ ใ ช้ใ นการศึ ก ษาเรื่ อ งราวทางประวัติ ศ าสตร์
โดยอาศัยจากหลักฐานที่เป็ นลายลักษณ์ อกั ษรและไม่
เป็ นลายลักษณ์อกั ษร เพื่อให้สามารถฟื้ นหรื อจาลอง
อดีตขึ้นมาใหม่ได้อย่างถูกต้อง น่าเชื่อถือ
ความสาคัญของวิธีการทางประวัติศาสตร์

ทาให้เรื่ องราว กิจกรรม เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน


ประวัติศาสตร์ มีความน่าเชื่อถือ มีความถูกต้องเป็ น
จริ ง หรื อใกล้เคียงกับความเป็ นจริ งมากที่สุด เพราะ
มีการศึกษาอย่างเป็ นระบบ มีข้นั ตอน
ประโยชน์ ของวิธีการทางประวัติศาสตร์

ท า ให้ เ ป็ น คน ล ะ เอี ยด รอ บ คอ บ มี ก า ร
ตรวจสอบเรื่ องราวที่ ศึ ก ษา น ามาปรั บ ใช้ ใ น
ชี วิตประจาวันได้ ทาให้เป็ นผูร้ ู ้ จ ักประเมิ นความ
น่าเชื่อถือของเหตุการณ์ต่างๆ ผ่านการตรวจสอบ
การกาหนดหัวเรื่ องที่จะศึกษา
• เริ่ มจากความสงสัย อยากรู ้
• หลังจากนั้นกาหนดเรื่ องหรื อประเด็นที่ตอ้ งการศึกษา
• ประเด็นที่จะศึกษาควรกาหนดไว้กว้างๆ ก่อน แล้วจากัดประเด็นให้แคบลง
เพื่อความชัดเจนในภายหลัง
• การกาหนดหัวเรื่ องอาจเกี่ยวกับเหตุการณ์ ความเจริ ญ ความเสื่ อมของอาณาจักร
ตัวบุคคลในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง
การรวบรวมหลักฐาน
หลักฐานชั้นต้ น หลักฐานชั้นรอง
เป็ นหลักฐานร่ วมสมัยของผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับ หลักฐานที่จดั ทาขึ้นโดยอาศัยหลักฐาน
เหตุการณ์โดยตรง ชั้นต้น

ภาพถ่ายเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 สารนิพนธ์ของ ดร. ประเสริ ฐ ณ นคร


เป็ นหลักฐานชั้นต้น เป็ นหลักฐานชั้นรอง
การประเมินคุณค่ าของหลักฐาน

การประเมินคุณค่ าภายนอกหรื อวิพากษ์ วิธีภายนอก


ประเมินคุณค่าจากลักษณะภายนอกของหลักฐาน บางครั้งมีการปลอมแปลงเพื่อการโฆษณา
ชวนเชื่อ ทาให้หลงผิด จึงต้องมีการประเมินว่าหลักฐานนั้นเป็ นของจริ งหรื อไม่ พิจารณาจากสิ่ งที่
ปรากฏภายนอก เช่น เนื้อกระดาษ เป็ นต้น

การประเมินคุณค่ าภายในหรื อวิพากษ์ วิธีภายใน


ประเมินคุณค่าจากข้อมูลภายในหลักฐานนั้น เช่น มีชื่อบุคคล สถานที่ เหตุการณ์ ในช่วงเวลา
ที่หลักฐานนั้นทาขึ้นหรื อไม่ นอกจากนี้ ยงั สังเกตได้จากการกล่าวถึงตัวบุคคล เหตุการณ์ สถานที่
ถ้อยคา เป็ นต้น
การวิเคราะห์ สั งเคราะห์ และจัดหมวดหมู่ข้อมูล
• ต้องศึกษาข้อมูลในหลักฐานนั้นว่าให้ขอ้ มูลเรื่ องอะไรบ้าง มีความสมบูรณ์เพียงใด มี
จุดมุ่งหมายเบื้องต้นอย่างไร เป็ นต้น
• นาข้อมูลทั้งหลายมาจัดหมวดหมู่
• เมื่อได้ขอ้ มูลเป็ นประเด็นแล้ว ต้องหาความสัมพันธ์ของประเด็นต่างๆ และตีความข้อมูล
• ในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ขอ้ มูลผูศ้ ึกษาควรมีความรอบคอบ วางตัวเป็ นกลาง
การเรียบเรียงหรื อการนาเสนอ
• เป็ นขั้นตอนสุ ดท้ายของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ซึ่งมี
ความสาคัญมาก
• เป็ นการนาข้อมูลทั้งหมดมารวบรวม เรี ยบเรี ยง หรื อ
นาเสนอให้ตรงกับประเด็นที่ตนสงสัย
• ควรนาเสนอเหตุการณ์อย่างมีระบบ มีความสอดคล้อง
ต่อเนื่อง เป็ นเหตุเป็ นผล
• สามารถสรุ ปผลการศึกษาว่าสามารถให้คาตอบในเรื่ อง
ที่สงสัย อยากรู ้ได้เพียงใด
หลักฐานที่เป็ นลายลักษณ์ อกั ษร
จารึกหรื อจาร
• ที่สลักลงบนแท่งหรื อแผ่นหิน เรี ยก ศิลาจารึ ก
• จารึ กลงแผ่นทองคา เรี ยก จารึ กลานทอง
• จารึ กลงแผ่นเงิน เรี ยก จารึ กลานเงิน
• ที่จารลงใบลาน เรี ยก หนังสื อใบลาน
• ศิลาจารึ กมีความคงทนมากที่สุด

จารึ กลานทอง พบที่วดั ส่ องคบ จ. ชัยนาท


พระราชพงศาวดาร
• เป็ นการจดบันทึกเรื่ องราวเกี่ยวกับพระมหากษัตริ ย ์
• เขียนลงบนสมุดไทย
• เริ่ มขึ้นในสมัยอยุธยาเรื่ อยมาจนกระทัง่ สมัยรัชกาลที่ 5
• พระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริ ฐฯ
ถือเป็ นพระราชพงศาวดารที่เก่าแก่ที่สุด

ปกพระราชพงศาวดารกรุ งรัตนโกสิ นทร์ รัชกาลที่ 2


พระนิพนธ์สมเด็จฯ กรมพระยาดารงราชานุภาพ
ตานาน
• เล่าเรื่ องประวัติความเป็ นมาของบุคคล โบราณสถาน โบราณวัตถุสืบทอดกันมา
• โดยการบอกเล่า จดจา และบันทึก
• จัดว่ามีคุณค่าทางประวัติศาสตร์นอ้ ย เพราะไม่ทราบว่าใครแต่ง และแต่งเมื่อใด

ชินกาลมาลีปกรณ์และตานานพื้นเมืองเชียงใหม่
ตานานเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา และประวัติศาสตร์ลา้ นนา
หนังสื อราชการ
• เป็ นเอกสารเกี่ยวข้องกับการบริ หารราชการ
• มีความสาคัญ เพราะเป็ นบันทึกของผูท้ ี่เกี่ยงข้องกับเหตุการณ์
โดยตรง
• หนังสื อราชการส่ วนใหญ่เป็ นของสมัยรัตนโกสิ นทร์
หลักฐานที่ไม่ เป็ นลายลักษณ์ อกั ษร
• ส่ วนใหญ่เป็ นหลักฐานประเภทโบราณสถาน
โบราณวัตถุ
• เป็ นหลักฐานที่มีคุณค่า ให้ขอ้ มูลทางประวัติศาสตร์ได้
เป็ นอย่างมาก
• ควรใช้ประกอบกับหลักฐานที่เป็ นลายลักษณ์อกั ษร
และควรมีการตรวจสอบด้วย
ความสาคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ไทย
• สาคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ไทย
• สะท้อนให้เห็นโลกทัศน์ วัฒนธรรมประเพณี ตลอดจนความเชื่อของคนในสมัยก่อน
• ควรช่วยกันเก็บรักษาให้ดี เพื่อจะได้นามาศึกษาค้นคว้าเผยแพร่ ต่อไป อันจะช่วยให้
ประวัติศาสตร์ไทยมีความชัดเจน ถูกต้องมากขึ้น
• สาหรับการใช้หลักฐานของชาวต่างชาติ ผูศ้ ึกษาควรมีความระมัดระวัง เนื่องจาก
ชาวต่างชาติมีพ้นื ฐานความคิด และวัฒนธรรมที่แตกต่างจากคนไทย
แหล่ งรวบรวมหลักฐานประวัติศาสตร์ ไทย
• สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ
• พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
• หอสมุดกลางของมหาวิทยาลัยต่างๆ

You might also like