You are on page 1of 73

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4

ประเด็นร้ อนประวัติศาสตร์ ไทย


สมัยรัตนโกสิ นทร์
คาบที่ 15(ต่ อ) - 16: วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 กบฏ ร.ศ.130
ไทยในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 กบฏบวรเดช และ
การเปลีย่ นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
ตัวชี้วดั ช่ วงชั้น

วิเคราะห์ ความสาคัญของ
ประวัติศาสตร์ ไทย (ส 4.3 ม. 4-6/1)
หัวข้ อ (ต่ อ)

4. วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112


5. กบฏ ร.ศ. 130
6. ไทยในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2
7. กบฏบวรเดช
8. การเปลีย่ นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
4. วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112
วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 (หรื อ "สงครามฝรั่ งเศส-สยาม")
เป็ นเหตุการณ์ ความขัดแย้ งระหว่ างราชอาณาจักรสยามกับฝรั่งเศส
ซึ่งเกิดขึน้ ในปี พ.ศ. 2436 จากการอ้ างอานาจอธิปไตยเหนื อพื้นที่
ฝั่งซ้ ายของแม่ นา้ โขง (พืน้ ทีส่ ่ วนใหญ่ ของประเทศลาวในปัจจุบัน)
ความขั ด แย้ งเกิ ด ขึ้ น เมื่ อเรื อการข่ าว “แองกองสตอง ”
(Inconstant) และเรื อปื น “โกแมต” (Comète) ของกองทัพเรื อฝรั่ ง เศส
เดินทางมาถึงปากแม่ น้าและขออนุญาตแล่ นเรื อผ่ านปากแม่ น้าเจ้ าพระยา
ไปสมทบกับ เรื อ “ลูแ ตง” (Lutin) เพื่ อ เจรจาต่ อ รอง เมื่ อ สยามปฏิ เ สธ
ผู้บังคับบัญชาฝ่ ายฝรั่ งเศส พลเรื อตรี แอดการ์ อูว์มัน เมินเฉยต่ อความ
ต้ องการของสยามและคาสั่ งจากรัฐบาลฝรั่งเศส ซึ่งก่อนการต่ อสู้ พลเรื อตรี
อูว์มัน ได้ รับคาสั่ งห้ ามเข้ าสู่ ปากแม่ น้าเพราะสยามได้ เตรี ยมการอย่ างดี
สาหรับการรบ (มีเรื อปื น 5 ลา จอดทอดสมออยู่ด้านหลังแนวสิ่ งกีดขวาง)
ฝรั่ ง เศสเลื อ กที่ จ ะเข้ า ปากแม่ น้ า หลัง พระอาทิ ต ย์ ต กดิ น ในวั น ที่
13 กรกฎาคม โดยมีวัตถุประสงค์ คือแล่ นผ่ านการป้ องกันของสยามให้ ได้ ถ้า
มีการเปิ ดฉากยิงกันขึ้น ขณะนั้นสยามได้ ประจาสถานีรบและเตรี ยมพร้ อม
ขั้นสู งสุ ด
เรื อรบฝรั่งเศสได้ แล่ นตามเรื อกลไฟนาร่ องฌองบัปติสต์ เ ซย์ (Jean
Baptiste Say) เข้ าสู่ ปากแม่ น้า เมื่อเวลา 18.15 น. ทหารในป้ อมสั งเกตเห็น
เรื อรบฝรั่ งเศสแล่ นผ่ านกระโจมไฟ สองสามนาทีหลังจากนั้นเรื อฝรั่ งเศส
แล่ นผ่ านทุ่นดาเข้ ามาในระยะยิงของป้ อม ทหารประจาป้ อมได้ รับคาสั่ งให้
ยิงเตือน 3 นัด แต่ ถ้าฝรั่งเศสเพิกเฉยเรื อปื นจะเปิ ดฉากยิง
เมื่ อ ฝรั่ ง เศสเพิ ก เฉยต่ อ สั ญ ญาณเตื อ น นั ด ที่ สี่ จ ากเรื อ ปื น
มกุฎราชกุมารและมูรธาวสิ ตสวัสดิ์ก็เปิ ดฉากยิงเมื่ อเวลา 18.50 น. เรื อ
แองกองสตองได้ ยิงตอบโต้ กับป้ อม ขณะที่เรื อโกแมตยิง สู้ กับเรื อปื น
สยาม การต่ อสู้ ใช้ เวลาประมาณ 25 นาที
ในที่สุด พลเรื อตรี อูว์มัน ก็พาเรื อรบฝ่ าการป้ องกันของสยาม
ไปได้ และสามารถจมเรื อปื นฝ่ ายสยามได้ หนึ่งลา ส่ วนอีกลาได้ รับความ
เสี ยหายจากกระสุ นปื น ซึ่งฝรั่งเศสได้ รับความเสี ยหายน้ อยกว่ า
ขณะที่ผ่านปากน้าเรื อฌองบัปติสต์ เซย์ ถูกยิงด้ วยปื นใหญ่ ไปเกย
ตื้นที่แหลมลาพูราย เรื อแองกองสตองและเรื อโกแมตแล่ นผ่ านไปได้ ถึง
กรุ งเทพฯ จอดทอดสมออยู่ ที่สถานทู ตฝรั่ งเศส เรื อโกแมตถู กยิง ได้ รับ
ความเสี ยหายมากกว่ าเรื อแองกองสตองแต่ ไม่ ได้ เสี ยหายร้ ายแรง ป้ อ มของ
สยามไม่ ได้ รับความเสี ยหาย

สถานทูตฝรั่งเศส แหลมลาพูราย
เช้ า วัน ต่ อ มา ลู ก เรื อ ฌองบั ป ติ ส ต์ เ ซย์ ยั ง คงอยู่ บ นเรื อ ที่ เ กยตื้ น
สยามได้ ส่งเรื อเข้ ามาควบคุมเรื อกลไฟฌองบัปติสต์ เซย์ และได้ พยายามจม
เรื อแต่ ไม่ สาเร็จ
วันต่ อมาเรื อปื นฝรั่งเศส ฟอร์ แฟต (Forfait) ได้ มาถึงปากน้าและ
ส่ งเรื อพร้ อมทหารเต็มลาเข้ ายึดเรื อฌองบัปติสต์ เซย์ แต่ เมื่ อถึงเรื อกลับถูก
โจมตีขับไล่ถอยไปโดยทหารสยามทีย่ ดึ เรื ออยู่
เมื่อพลเรื อตรี อูว์มัน มาถึงกรุงเทพฯ เขาได้ ทาการปิ ดล้ อมและหัน
กระบอกปื นมาทางพระบรมมหาราชวัง ในวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2436 ก็ได้
มีการลงนามในสนธิสัญญา ถือเป็ นการสิ้นสุ ดการรบ
ผลของวิกฤตการณ์ ครั้งนี้ทาให้ ฝ่ายไทยจาต้ องยอมยกดินแดน
ลาวฝั่งซ้ ายของแม่ น้าโขงให้ แก่ ฝรั่ งเศส นับเป็ นการขยายอิ ทธิพลครั้ ง
สาคัญครั้ ง หนึ่ ง ของฝรั่ ง เศสในภู มิ ภ าคอิน โดจี น และจะน าไปสู่ การ
สู ญเสี ยดินแดนประเทศราชของไทยในเขมรและลาวที่เหลืออยู่ในเวลา
ต่ อมาอีกด้ วย
เสียให้ฝรั ่งเศสเมื่อ
พ.ศ. 2436
(ร.ศ. 112)
กบฏ ร.ศ. 130
กบฏ ร.ศ. 130 หรื อ กบฏเก็กเหม็ง หรื อ กบฏน้าลาย เกิดขึ้นใน
ปี พ.ศ. 2455 (ร.ศ. 130) ก่ อ นการปฏิ วั ติ ส ยาม พ.ศ. 2475 สอง
ทศวรรษในสมั ยรั ช กาลที่ 6 เมื่ อ นายทหารและปั ญ ญาชนกลุ่ มหนึ่ ง
วางแผนปฏิ บั ติ ก ารโดยหมายให้ พระมหากษั ต ริ ย์ พ ระราชทาน
รัฐธรรมนูญให้ และเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ ระบอบประชาธิปไตย
แต่ แผนการแตกเสี ยก่ อน จึงมีการจับกุมผู้คิดก่ อการไว้ ได้ 91 คน มีการ
พิจารณาตัดสิ นลงโทษให้ จาคุกและประหารชีวิต แต่ ท้ายทีส่ ุ ดได้ รับการ
พระราชทานอภัยโทษ ด้ วยทรงไม่ มีจิตพยาบาทต่ อผู้คิดประทุษร้ ายแก่
พระองค์
คณะผู้ก่อการได้ รวมตัวกันเป็ นครั้ งแรกเมื่ อวันที่ 13 มกราคม
พ.ศ. 2455 ประกอบด้ วยผู้ร่วมคณะเริ่มแรกจานวน 7 คน คือ
1. ร.อ.ขุนทวยหาญพิทกั ษ์ (หมอเหล็ง ศรีจันทร์ ) เป็ นหัวหน้ า
2. ร.ต.เหรียญ ศรีจันทร์ จากกรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์
3. ร.ต.จรูญ ษตะเมษ จากกองปื นกล รักษาพระองค์
4. ร.ต.เนตร์ พูนวิวฒ ั น์ จากกองปื นกล รักษาพระองค์
5. ร.ต.ปลัง่ บูรณโชติ จากกองปื นกล รักษาพระองค์
6. ร.ต.หม่ อมราชวงศ์ แช่ รัชนิกร จากโรงเรียนนายสิ บ
7. ร.ต.เขียน อุทยั กุล จากโรงเรียนนายสิ บ
คณะผู้ก่อการวางแผนจะก่ อการในวันที่ 1 เมษายน ซึ่งเป็ นวัน
พระราชพิธีถือน้าพระพิพฒ ั น์ สัตยา และวันขึน้ ปี ใหม่ ผู้ที่จับสลากว่ าจะ
เป็ นคนลงมือลอบปลงพระชนม์ คือ ร.อ.ยุทธ คงอยู่ (หลวงสิ นาด โยธา
รั กษ์ ) เกิดเกรงกลัวความผิด จึงนาความไปแจ้ งหม่ อมเจ้ าพันธุ์ ประวัติ
ผู้บังคับการกรมทหารช่ างที่ 1 รักษาพระองค์ และพากันนาความไปแจ้ ง
สมเด็จพระอนุ ช าธิ ราช เจ้ า ฟ้ า จั กรพงษ์ ภู วนาถ กรมหลวงพิษ ณุ โลก
ประชานาถ
ความทราบไปถึงพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยู่หัว คณะ
ทั้งหมดจึงถูกจับกุมเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ ถูกส่ งตัวไปคุมขังที่คุกกอง
มหันตโทษ และได้ รับพระราชทานอภัยโทษในพระราชพิธีฉัตรมงคล
เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2467 ครบรอบปี ที่ 15 ของการครองราชย์
ส่ วนหนึ่งของผู้ก่อการกบฏ ร.ศ. 130
การปฏิ วั ติ ใ นครั้ ง นี้ จุ ด มุ่ ง หมายของคณะปฏิ วั ติ คื อ
ไม่ ต้องการให้ มีการนองเลือด
จุ ด มุ่ ง หมายแรกคื อ การทู ล เกล้ า ฯ ถวายหนั ง สื อแด่
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยู่หัว ให้ ไ ด้ ทรงพิจ ารณา
อย่ างรอบคอบ และมีพระบรมราชวินิจฉัยให้ เป็ นไปตามหนั งสื อ
ของคณะปฏิวัติ คือลดพระราชอานาจลงมาอยู่ภายใต้ กฎหมาย
รั ฐ ธรรมนู ญ อั น จะน าพาประเทศก้ า วสู่ ความก้ า วหน้ า เยี่ ย ง
อารยประเทศ แต่ หากมิ ไ ด้ เ ป็ นไปตามความมุ่ ง หมายนี้ คณะ
ปฏิวตั ิอาจต้ องใช้ กาลังรุนแรงก็เป็ นได้
ร.อ.ยุ ท ธ คงอยู่ จั บ สลากได้ เ ป็ นผู้ ที่ จ ะลอบปลงพระชนม์
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยู่หัว เมื่อพระองค์ จะเสด็จกลับจาก
พระราชวังสนามจันทร์ โดยทางรถไฟพระที่นั่ง ที่สถานีบางกอกน้ อย
อันเป็ นแผนการของคณะปฏิวัติ ร.ศ. 130 ตามที่ได้ ตกลงกันไว้
และแผนต่ อไปคื อ การจับกุมตัวพระบรมวงศานุ วงศ์ และข้ าราชการ
ชั้นผู้ใหญ่ ไว้ เป็ นหลักประกัน โดยแผนการครั้งนีเ้ ป็ นแผนการที่ค่อนข้ าง
ร้ ายแรงมาก เป็ นการเสี่ ยงมากทีเดียว
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้ าอยู่หัวทรงมีพระบรมราช
วินิจฉัยว่ า
“...ความผิดของพวกเหล่ านี้มีข้อสาคัญที่จะกระทาร้ ายต่ อ
ตัวเรา เราไม่ ได้ มีจิตพยาบาทอาฆาตมาดร้ ายต่ อพวกนี้ เห็น ควรที่จะ
ลดหย่ อนผ่ อนโทษโดยฐานกรุ ณา ซึ่งเป็ นอานาจของพระเจ้ าแผ่ นดิน
ที่จะยกให้ ได้ ”
คณะปฏิวตั ิได้ รับโทษดังนี้

ชั้นที่ 1 ลงโทษประหารชีวติ 3 คน ลดโทษเป็ นชั้นที่ 2 จาคุกตลอดชีวติ

ตลอดชีวติ
ชั้นที่ 2 จาคุกตลอดชีวติ 20 คน ลดโทษเป็ นชั้นที่ 3 จาคุก 20 ปี

20 ปี

10 10
คน คน
ชั้นที่ 3 จาคุก 20 ปี 32 คน
ชั้นที่ 4 จาคุก 15 ปี 6 คน ลดโทษเป็ นรอการลงอาญา
ชั้นที่ 5 จาคุก 12 ปี 30 คน

20 20 20
คน คน คน
ไทยในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้ งที่ 2 ในประเทศไทย มีที่มาจาก
สงครามโลกครั้งที่ 2 ในยุโรป เริ่มขึน้ ในปี พ.ศ. 2482 ตรง
กั บ รั ช สมั ย ของพระบาทสมเด็ จ พระปรเมนทรมหา
อานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร รั ชกาลที่ 8 แห่ ง
ราชวงศ์ จักรี เมื่อเยอรมนี นาโดย อดอล์ ฟ ฮิตเลอร์ ได้ บุก
โปแลนด์ และอีกหลายประเทศในยุโรป และสถานการณ์
ทางเอเชี ย ญี่ปุ่นเริ่ มใช้ นโยบายชาตินิยมและก่ อสงคราม
มหาเอเชียบูรพาขึน้ ทีจ่ ีนและเกาหลี
การเข้ า มามีบ ทบาทของญี่ปุ่ น เป็ นที่ค าดหมายว่ า ญี่ปุ่ นจะ
ยาตราทัพเข้ าสู่ ประเทศไทยแน่ ในอนาคต รั ฐบาลไทยโดย จอมพล ป.
พิบูลสงคราม ได้ รณรงค์ ให้ ประชาชนปลูกผักสวนครัว เลีย้ งสั ตว์ และ
เสริมสร้ างเศรษฐกิจระดับต้ น ๆ เพื่อรองรับสถานการณ์ ที่อาจเกิดขึน้
ในวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 กองทัพญี่ปุ่นได้ ยกพลขึน้ บก
ที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชุ มพร นครศรี ธรรมราช สงขลา สุ ราษฎร์
ธานี ปัตตานีและบางปู สมุทรปราการ และบุกเข้ าประเทศไทยทางบก
ที่ อ รั ญ ประเทศ กองทั พ ญี่ ปุ่ นสามารถขึ้น บกได้ โ ดยไม่ ไ ด้ รั บ การ
ต่ อต้ านที่บางปู ส่ วนทางภาคใต้ และทางอรั ญประเทศมีการต่ อสู้ อย่ าง
หนั กของทหาร ประชาชน และอาสาสมัครที่เป็ นเยาวชน ที่เรี ยกว่ า
ยุวชนทหารในบางจังหวัด
ในระหว่ างการสู้ รบร้ อยเอกถวิลน ากาลังยุ วชนทหารออกมา
ปะทะกองทหารญี่ปุ่น แม้ ร้อยเอกถวิลจะถูกทหารญี่ปุ่นยิงเสี ยชี วิต แต่
ยุวชนทหารยังคงสู้ ต่อไปจนกระทัง่ รัฐบาลสั่ งหยุดยิง
เมื่อรัฐบาลญีป่ ุ่ นทราบว่ ากลุ่มยุวชนทหาร
หลายคนเป็ นเพียงนั กเรี ยนมัธยม จึงส่ งหนั งสื อ
เชิ ดชู ความกล้ าหาญมายังกระทรวงกลาโหม และ
ร้ อยเอกถวิล นิยมเสน ได้ รับแต่ งตั้งขึน้ เป็ นพันโท

อนุสาวรีย์ยุวชนทหาร จ.ชุ มพร


ในระยะแรกกองทัพญี่ปุ่นยังไม่ อาจบุกเข้ ามาได้ ทางญี่ปุ่นเอง
ได้ ประกาศว่ า ไม่ ต้องการยึดครองประเทศไทยแต่ จะขอใช้ ไทยเป็ น
ทางผ่ านไปยังพม่ าและอินเดียเท่ านั้น
การต่ อสู้ ทาท่ าว่ าจะยืดเยื้อต่ อไป จนกระทั่งอัครราชทูตญี่ปุ่น
เดินทางมาพบนายกรัฐมนตรี พร้ อมกับคาขู่ว่าญีป่ ุ่ นได้เตรียมเครื่ องบิน
ทิ้งระเบิดไว้ 250 ลาที่ไซ่ ง่อน เพื่ อจะมาทิ้งระเบิดกรุ งเทพฯ ถ้ าไทย
ไม่ ยอมให้ ผ่าน รัฐบาลไทยเห็นว่ า ไม่ อาจต้ านทานกองกาลังญีป่ ุ่ นได้ จึง
ยอมยุติการต่ อสู้ และประกาศทางวิทยุให้ หยุดยิงในวันที่ 11 ธันวาคม
และทาพิธีลงนามร่ วมเป็ นพันธมิตรกับญีป่ ุ่ นในวันที่ 21 ธันวาคม
ในเวลานั้น ทหารญี่ปุ่นจานวนมากได้ เข้ าสู่ พระนคร และได้ ใช้
สถานที่ทางราชการบางแห่ งเป็ นที่ทาการ รั ฐบาลได้ ประกาศให้ ญี่ปุ่น
เป็ นมหามิตร ประชาชนทุกคนต้ องให้ ความร่ วมมื อและสนับสนุนกับ
ทางญีป่ ุ่ นอย่ างเต็มที่
ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช เอกอัครราชทูตไทยประจาสหรัฐอเมริกา
ไม่ อาจยอมรั บการประกาศเป็ นพันธมิตรกับญี่ปุ่นของรั ฐบาล และได้
ประกาศขบวนการเสรี ไทยขึ้นที่นั่น พร้ อมกับขบวนการเสรี ไทยในที่
อื่ น ๆ ก็ไ ด้ เ กิด ขึ้น และเสถี ย รภาพความมั่ น คงของรั ฐ บาลไทยก็ไ ด้
สั่ นคลอน เมื่ อคณะราษฎรฝ่ ายพลเรื อนหลายคน เช่ น ปรี ดี พนมยงค์
ทวี บุณยเกตุ ควง อภัยวงศ์ ได้ แยกตัวออกมา และกลายเป็ นขบวนการ
เสรีไทยในประเทศ
การสวนสนามของพลพรรคเสรีไทย
ในวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2485 รัฐบาลไทยได้ ประกาศสงคราม
กับอังกฤษและสหรัฐอเมริกา ผลของการประกาศสงครามทาให้ ไทยได้
ดินแดนในแหลมมลายูที่เสี ยให้ อังกฤษกลับคื นมา (กลันตัน ตรั งกานู
ไทรบุรี และปะลิส)
หลังจากนั้นฝ่ ายสั มพันธมิตรเริ่มส่ งเครื่ องบินเข้ ามาทิง้ ระเบิด
ในพระนคร การทิ้ง ระเบิ ด ครั้ ง แรกประชาชนได้ รับ คาสั่ ง ให้ ทาการ
พรางไฟ โดยใช้ ผ้ า ขนหนู ห รื อ ผ้ า ขาวม้ า ปิ ดบั ง แสงไฟในบ้ า น เพื่อ
ป้ องกันมิให้ เครื่ องบินของฝ่ ายข้ าศึกมาทิง้ ระเบิดลงได้
สภาพบ้ านเรื อนทีถ่ ูกทิง้ ระเบิด
สถานการณ์ โดยรวมของสงคราม ฝ่ ายอักษะมีทีท่าว่ าจะ
ได้ รับชั ยชนะในสมรภูมิยุโรปและแอฟริกาตอนเหนื อ ส่ วนในเอเชี ย
ญีป่ ุ่ นก็สามารถยึดมลายูและสิ งคโปร์ ได้ แล้ว
ทางสหรั ฐอเมริ กาและอังกฤษได้ ส่งเครื่ องบินบี 24 บี 29
และวิ น เซอร์ ทิ้ง ระเบิ ด ท าลายสนามบิ น ชุ ม ทางรถไฟ ท่ า เรื อ
สะพาน เพื่อตัดเส้ นทางลาเลียงของญีป่ ุ่ น
ในเวลาเดีย วกัน เกิด ขบวนการต่ อต้ า นญี่ปุ่ นโดยคนไทย
เรี ย กว่ า ขบวนการไทยถี บ ทาการดัก ปล้ น ยุ ทธปั จจั ย ต่ า ง ๆ ของ
กองทัพญี่ปุ่นไปซ่ อนตามป่ าเขา ตัดขบวนรถไฟที่ลาเลียงสิ่ งของ
ลัก ลอบขโมยดาบซามู ไ รในเวลาหลับ เรี ย กว่ า ไทยลั ก หลั บ แต่
บางครั้ งก็ ข โมยทรั พ ย์ สิ น ของรั ฐ บาลไทย เช่ น ลวดทองแดง
สายโทรศัพท์
พระนครและธนบุรีถูกเครื่ องบินฝ่ ายสั มพันธมิตรทิง้ ระเบิด
ระหว่ างปี พ.ศ. 2485-2488 รวม 34 ครั้ง
หลังสงคราม (พ.ศ. 2493) สมเด็จพระจักรพรรดิฮิโรฮิ โต
ของญี่ปุ่นทรงประกาศยอมแพ้ และมีพระบรมราชโองการให้ ทหาร
ญีป่ ุ่ นทัว่ โลกวางอาวุธ รวมทั้งในประเทศไทยด้ วย ทางญี่ปุ่นได้ ทาพิธี
ยอมแพ้อย่ างเป็ นทางการเมื่อวันที่ 2 กันยายน ที่อ่าวโตเกียว
กิจกรรม
สามารถเลือกได้ใน Folder ที่ 7
กบฏบวรเดช
เหตุ ก ารณ์ ก บฏบวรเดชเกิด ขึ้น เมื่ อ 11 ตุ ล าคม พ.ศ. 2476
นับเป็ นการกบฏครั้ งแรกในประวัติศาสตร์ ไทยหลังการเปลี่ย นแปลง
การปกครองในปี พ.ศ. 2475
มีสาเหตุมาจากความขัดแย้ งระหว่ างระบอบเก่ าและระบอบ
ใหม่ น าโดยพระวรวงศ์ เธอพระองค์ เ จ้ า บวรเดช อดี ต เสนาบดี
กระทรวงกลาโหม นากาลังทหารจากหัวเมื องภาคอีสานล้ มล้ างการ
ปกครองของรัฐบาลเนื่องจากไม่ พอใจที่นายถวัติ ฤทธิเดช ได้ ฟ้องร้ อง
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้ าอยู่หัว (รัชกาลที่ 7)
เนื่ อ งจากกรณี ที่ พ ระองค์ มี พ ระบรมราชวิ นิ จ ฉั ย คั ด ค้ า น
แผนพัฒนาเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์ มนูธรรม (ปรี ดี พนมยงค์ ) ที่
เรียกกันว่ า “สมุดปกเหลือง” โดยออกเป็ นสมุดปกขาว ซึ่งแผนพัฒนา
เศรษฐกิจของนายปรี ดีนี้ได้ เสนอแนวทางการปฏิรูปและเปลี่ยนแปลง
ทางเศรษฐกิ จ และสั ง คมอย่ า งมาก เช่ น การจั ด รั ฐ สวั ส ดิ ก าร การ
แทรกแซงเศรษฐกิจโดยรัฐบาล
สิ่ งทีพ่ ระวรวงศ์ เธอพระองค์ เจ้ าบวรเดชมาเจรจากับรัฐบาล มีท้งั หมด 6 ข้ อ คือ

1. ต้ องจั ด การในทุ ก ทางที่ จ ะอ านวยผลให้ ประเทศสยามมี


พระมหากษัตริย์ปกครองประเทศภายใต้ รัฐธรรมนูญชั่วกัลปาวสาน
2. ต้ องดาเนินการตามรั ฐธรรมนูญโดยแท้ จริ ง โดยเฉพาะอย่ างยิ่ง
คือ การตั้งและถอดถอนคณะรัฐบาลต้ องเป็ นไปตามเสี ยงของหมู่มาก
3. ข้ าราชการซึ่ งอยู่ในตาแหน่ งประจาการทั้งหลายและพลเรื อน
ต้ องอยู่นอกการเมื อง ตาแหน่ งฝ่ ายทหารตั้งแต่ ผู้บัญชาการทหารบก
ผู้บัญชาการทหารเรื อลงไปต้ องไม่ มีหน้ าทีท่ างการเมือง
4. การแต่ ง ตั้ ง บุ ค คลในต าแหน่ ง ราชการ จั กต้ อ งถื อ คุ ณ วุ ฒิ และ
ความสามารถเป็ นหลัก ไม่ ถือเอาความเกี่ยวข้ องในทางการเมื องเป็ น
ความชอบหรื อเป็ นข้ อรังเกียจในการบรรจุเลื่อนตาแหน่ ง
5. การเลื อกตั้ งผู้ แทนราษฎรประเภทที่ 2 ต้ องถวายให้
พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวทรงเลือกจริง ๆ
6. การปกครองกองทัพบกจักต้ องให้ มีหน่ วยผสมตามหลักยุทธวิธี
เฉลีย่ อาวุธสาคัญแยกกันไปประจาตามท้ องถิ่น มิให้ รวมกาลังไว้ เฉพาะ
แห่ งใดแห่ งหนึ่ง
สุ ดท้ ายได้ ขอนิรโทษกรรมแก่คณะตนเอง ซึ่งทางรัฐบาลไม่ ยินยอม
จึงเกิดการต่ อสู้ กนั ของทั้งสองฝ่ าย
ผลทีเ่ กิดขึน้

เหตุการณ์ ครั้ งนี้ทาให้ นายทหารฝ่ ายกบฏ ได้ แก่ นายพันเอก พระยา


ศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่ าราบ) ถูกยิงเสี ยชีวิต ส่ วนพระวรวงศ์ เธอพระองค์ เจ้ า
บวรเดช หั ว หน้ า คณะกบฏและพระชายาหนี ไ ปยั ง เมื อ งไซ่ ง่ อ น ประเทศ
เวียดนาม และต่ อไปยังประเทศกัมพูชา แล้วกลับมาประเทศไทยใน พ.ศ. 2491
ภายหลั ง ได้ มี ก ารตั้ ง ศาลพิ เ ศษ มี ก ารคุ ม ขั ง ทหารและพลเรื อ น
ผู้เกี่ยวข้ องกับการกบฏครั้ งนี้ที่เรื อนจาบางขวาง แต่ ที่ไม่ มีการประหารชี วิต
เพราะพระบาทสมเด็จพระปกเกล้ าเจ้ าอยู่หัวได้ สละราชสมบัติ ทาให้ รัฐบาล
ต้ องอภัยโทษให้ บรรดาผู้รับโทษประหารชี วิตเป็ นโทษจาคุกตลอดชี วิต และผู้
ได้ รับโทษจาคุกก็ได้ รับการลดโทษตามลาดับขั้น
เกม
สามารถเลือกได้ใน Folder ที่ 8
สถานการณ์ ก่อนการเปลีย่ นแปลงการปกครอง

ใน พ.ศ. 2427 มีกลุ่มบุคคลเรี ยกร้ องให้ มีการเปลี่ยนแปลงการ


ปกครองเป็ นครั้ ง แรก โดยคณะทู ต ไทย ณ กรุ ง ลอนดอน ประเทศ
อังกฤษ และกรุ งปารีส ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งล้ วนเป็ นผู้ที่ศกึ ษาจากทวีป
ยุโรป เรียกว่ า กลุ่มก้าวหน้ า ร.ศ. 103
กลุ่มก้ าวหน้ า ร.ศ. 103 ได้ เสนอให้ ปรั บปรุ งการปกครองของ
ประเทศให้ เป็ นแบบพระมหากษัตริ ย์อยู่ภายใต้ รัฐธรรมนูญ เพือ่ ขยาย
ฐานการปกครองประเทศไปสู่ คนจานวนมากแล้ วปรั บปรุ งประเทศใน
ด้ านต่ าง ๆ
รั ชกาลที่ 5 ทรงชี้ แจงพระบรมราชวินิจฉั ยว่ า เมื องไทยใน
ขณะนั้ น ขั ด สนคนมี ค วามรู้ และยั ง ไม่ พ ร้ อมที่ จ ะปกครองภายใต้
รั ฐ ธรรมนู ญ สิ่ ง ส าคั ญ ส าหรั บ ประเทศคื อ การปฏิ รู ป การบริ ห าร
ราชการ เพื่ อให้ ข้าราชการทางานมีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น ตลอดจน
สร้ างบุคลากรในด้ านต่ าง ๆ
หลังจากถวายคากราบบังคมทูลของกลุ่มก้ าวหน้ า ร.ศ. 103
เสี ย งเรี ยกร้ องระบอบประชาธิ ป ไตยก็เงี ย บไป จนกระทั่งถึง พ.ศ.
2449 เทียนวรรณ ซึ่งเป็ นปัญญาชนคนหนึ่งของยุคนั้นเสนอข้ อเขียน
ให้ น าระบบรั ฐ บาลเข้ า มาใช้ แต่ รั ช กาลที่ 5 ยั ง ทรงยื น ยั น ว่ า การ
ปกครองระบอบราชาธิปไตยของสยามยังมีความเหมาะสมดี
ในช่ วงต้ นสมัยรัชกาลที่ 6 เกิดกบฏ ร.ศ. 130 โดยกลุ่มนายทหาร
หนุ่ มและพลเรื อนกลุ่มหนึ่ง มีแผนการที่จะยึดอานาจเปลี่ยนแปลงการ
ปกครองเป็ นระบอบประชาธิปไตย แต่ ก็ประสบความล้ มเหลว นับเป็ น
เรื่ องสะเทือนต่ อระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิราชย์ เป็ นอย่ างมาก
หลังกบฏ ร.ศ. 130 รั ชกาลที่ 6 ทรงพยายามชี้ให้ เห็นว่ าระบอบ
ราชาธิปไตยเหมาะสมที่สุดสาหรั บเมื องไทย ทรงชี้ให้ เห็นความยุ่งยาก
ของการปกครองระบอบประชาธิ ปไตยและสาธารณรั ฐไว้ ในพระราช
นิพนธ์ หลายเรื่ อง เช่ น ฉวยอานาจ ความกระจัดกระจายแห่ งเมืองจีน
พระองค์ ทรงพยายามพัฒนาความรู้ ความคิดของพลเมื อง
เช่ น การตราพระราชบัญญัติประถมศึ กษา พ.ศ. 2464 และการให้
สิ ทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นแก่วงการหนังสื อพิมพ์
ทรงเห็นว่ าการปกครองแบบประชาธิปไตยในประเทศไทย
ควรมีลักษณะค่ อยเป็ นค่ อยไป ทรงพระราชด าริ ที่จะสอนระบอบ
ประชาธิปไตยแก่ ขุนนางและข้ าราชการก่ อน จึงทรงจัดตั้งดุสิตธานี
ลั ก ษณะเป็ นเมื อ งประชาธิ ป ไตยในบริ เ วณพระราชวั ง ดุ สิ ต เพื่ อ
ทดลองการปกครองและบริหารราชการท้ องถิ่นที่เรียกว่ า เทศบาล
เมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้ าเจ้ าอยู่หัวขึน้ เสวยราชสมบัติ
ใน พ.ศ. 2468 ทรงพยายามปรั บปรุ งการปกครองและการเมื องหลาย
ประการ พระองค์ ทรงพัฒนาระบบการปกครองส่ วนท้ องถิ่นให้ เป็ น
ประชาธิ ป ไตย แต่ การด าเนิ น งานไม่ คื บหน้ า มากนั ก จนกระทั่ ง เกิด
เหตุการณ์ การปฏิวตั ิเปลีย่ นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
การจัดตั้งสถาบันการเมื องต่ าง ๆ ในสมัยรั ชกาลที่ 7 เป็ นการ
กระจายการตั ด สิ น ใจทางการเมื อ งไปสู่ กลุ่ ม เจ้ า นาย แต่ ข้ั น สุ ด ท้ า ย
ขึ้น อยู่ ที่พ ระมหากษั ต ริ ย์ ต ามระบอบสมบู ร ณาญาสิ ท ธิ ร าชย์ ท าให้
ข้ าราชการรุ่ นใหม่ ที่ จ บการศึ ก ษาจากต่ างประเทศไม่ พอใจที่
พระราชวงศ์ และขุนนางระดับสู งมีอภิสิทธิ์ จึงเกิดความขัดแย้ งระหว่ าง
พระราชวงศ์ กบั กลุ่มสามัญชน
รัชกาลที่ 7 ทรงตระหนักมาก่ อนแล้ วว่ า ชนชั้ นกลางจะตื่นตัว
และไม่ พอใจ จึงทรงพยายามกระจายความรับผิดชอบด้ านการปกครอง
ไปสู่ คณะเสนาบดีและคณะสภาองคมนตรี และยังทรงฟื้ นฟูเสนาบดี
สภาซึ่งมีมาตั้งแต่ สมัยรัชกาลที่ 5 ให้ มีการประชุ มกันอย่ างสม่าเสมอ
ทรงสนั บ สนุ น การปกครองที่ ม าจากประชาชน โดยฝึ กให้
ประชาชนรู้ จักใช้ สิทธิในการออกเสี ยงควบคุมกิจการท้ องถิน่ ก่ อนที่จะ
เข้ า มาควบคุ ม กิ จ การของรั ฐ ในรู ป ของรั ฐ สภา พระองค์ ท รงให้
ความสาคัญต่ อการปกครองส่ วนท้ องถิ่นในรู ปของเทศบาล และได้ออก
ร่ างพระราชบัญญัติเทศบาลฉบับแรกขึ้นเมื่ อ พ.ศ. 2473 แต่ ยังไม่ ทัน
ประกาศใช้ กเ็ กิดการเปลีย่ นแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 เสี ยก่อน
พระองค์ ทรงมีแผนที่จะพระราชทานรั ฐธรรมนูญ ปรากฏว่ า
ในรั ชกาลนี้มีร่างรัฐธรรมนูญถึง 2 ฉบับ ฉบับแรกคือ ร่ างรั ฐธรรมนูญ
ของพระกัลยาณไมตรี พ.ศ. 2469 แต่ ไม่ ได้ รับการพิจารณานามาใช้
ฉบั บ ที่ ส อง ร่ า งเสร็ จ เพีย ง 3 เดื อ นก่ อ นการปฏิ วั ติ มี ชื่ อ ว่ า
An Outline of Changes in the Form of Government ร่ างโดยนาย
เรมอนด์ บี. สตีเวนส์ ที่ปรึ กษากระทรวงการต่ างประเทศ และพระยา
ศรีวิศาลวาจา ปลัดทูลฉลองกระทรวงการต่ างประเทศ แต่ ท้งั 2 ไม่ เห็น
ด้ ว ย เพราะประชาชนควรมี ป ระสบการณ์ ใ นการปกครองตั ว เอง
มากกว่ านี้
สาเหตุของการเปลีย่ นแปลงการปกครอง

1. ความเสื่ อมศรัทธาการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิราชย์


ระบอบการปกครองแบบสมบู ร ณาญาสิ ท ธิ ร าชย์ เ ริ่ ม เสื่ อ มลง
ตั้งแต่ สมัยรั ชกาลที่ 6 มาจนถึงสมัยรั ชกาลที่ 7 เมื่ อระบอบการปกครอง
ดัง กล่ าวไม่ สามารถแก้ ไขปั ญหาทางเศรษฐกิจและสั งคมได้ และยัง ให้
อานาจแก่ กลุ่มพระราชวงศ์ และขุนนางระดับสู งอย่ างมาก ทาให้ พวกขุน
นางระดั บ ล่ า งและประชาชนที่ มี ก ารศึ ก ษาเกิ ด ความเสื่ อ มศรั ท ธาต่ อ
ระบอบการปกครองดังกล่าว
2. ประชาชนชาวไทยบางส่ วนได้ รับการศึกษาแบบตะวันตก
นั ก เรี ย นไทยที่ เ รี ย นจบมาจากต่ า งประเทศได้ รั บ อิ ท ธิ พ ล
ความคิดแบบตะวันตกกลับมาด้ วย ซึ่ งหวังให้ ประเทศไทยมีระบอบ
การปกครองแบบประชาธิปไตยบ้ าง แต่ สถาบันการเมื องไทยไม่ อาจ
พัฒนาก้ าวทันความคิดของคนรุ่ นใหม่ ได้ จึงทาให้ ชาวไทยส่ วนใหญ่ มี
ความนิยมเลื่อมใสวัฒนธรรมตะวันตกและแนวความคิดแบบตะวันตก
3. อิทธิพลของสื่ อมวลชน
ก่ อนการปฏิ วั ติ พ.ศ. 2475 ในกรุ งเทพฯ มี ก ารออก
หนั ง สื อ พิ ม พ์ ข องเอกชนหลายฉบั บ หนั ง สื อพิ ม พ์ เ หล่ า นี้ พ ากั น
วิพากษ์ วิจารณ์ การบริหารงานที่บกพร่ องของรั ฐบาลอยู่บ่อย ๆ อีกทั้ง
ยังยกย่ องระบอบประชาธิปไตยอีกด้ วย แต่ รัฐบาลก็มิได้ ลงโทษหรื อ
ติ เ ตี ย น ท าให้ ค วามคิด ของประชาชนที่ มี ก ารศึ ก ษาเริ่ ม คล้ อยตาม
ระบอบประชาธิปไตย
4. เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่าภายในประเทศอย่ างรุนแรง
เศรษฐกิจของประเทศไทยเริ่ มตกต่าตั้งแต่ ปลายรั ชกาลที่ 6
เนื่องจากเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 พืชผลที่เป็ นรายได้ หลักของประเทศ
จาหน่ ายไม่ ได้ ทาให้ ไทยขาดแคลนเงิ น ตราจากต่ า งประเทศ เงิ น ใน
ท้ องพระคลังร่ อยหรอลงจนเกื อบหมด เนื่ องจากรั ชกาลที่ 6 ทรงใช้
จ่ า ยเงิ น จ านวนมาก ท าให้ รั ช กาลที่ 7 ทรงพยายามแก้ ไ ขปั ญ หาทุ ก
วิถีทางแต่ ไม่ ประสบผลสาเร็ จ พวกที่นิยมระบอบประชาธิปไตยต่ าง
กล่าวหาว่ าเป็ นเพราะความบกพร่ องของระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิราชย์
คณะราษฎรจึงนาเหตุผลนีม้ าเป็ นข้ ออ้างในการยึดอานาจการปกครอง
การเปลีย่ นแปลงการปกครองและผลทีต่ ามมา
การเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิราชย์
มาเป็ นระบอบประชาธิ ป ไตยในวัน ที่ 24 มิ ถุ น ายน พ.ศ. 2475 ถื อ เป็ น
ความสาเร็จของคณะราษฎร
คณะราษฎรซึ่ ง ประกอบด้ วยทหารบก ทหารเรื อ และพลเรื อ น
ประมาณ 2,000 คน ชุ มนุ มกันที่ลานพระบรมรู ปทรงม้ า พันเอก พระยา
พหลพลพยุ ห เสนา หั ว หน้ า คณะราษฎรฝ่ ายทหารบก ได้ อ่ า นประกาศ
คณะราษฎร ฉบับที่ 1 ชี้แจงเหตุผลในการยึดอานาจพระมหากษัตริ ย์ เพื่อ
จัดการปกครองใหม่ แบบมีรัฐสภา ประมุขของประเทศคือพระมหากษัตริย์
ตามเดิมแต่ อยู่ภายใต้ รัฐธรรมนูญ หากไม่ ทรงยอมรับข้ อเสนอ ประมุขของ
ประเทศจะเป็ นบุคคลสามัญ
ข้ อเสนอหลัก 6 ประการของคณะราษฎร

1. รักษาความเป็ นเอกราชทั้งหลาย เช่ น เอกราชทางการเมือ ง


การศาล ฯลฯ ของประเทศไว้ ให้ มั่นคง
2. รั กษาความปลอดภัยภายในประเทศ ให้ การประทุษร้ าย
ต่ อกันลดลงให้ มาก
3. บารุ งความสุ ขสมบูรณ์ ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ โดย
รั ฐบาลใหม่ จะหางานให้ ราษฎรทุกคนทา จะวางโครงการเศรษฐกิจ
แห่ งชาติ ไม่ ปล่อยให้ ราษฎรอดอยาก
4. ให้ ราษฎรมีสิทธิเสมอภาคกัน
5. ให้ ราษฎรมีเสรีภาพทีไ่ ม่ ขัดต่ อหลัก 4 ข้ อดังกล่ าว
6. ให้ การศึกษาอย่ างเต็มที่แก่ราษฎร
การยึดอานาจสาเร็ จลงภายในไม่ กี่ชั่วโมงและไม่ มีการเสี ยเลือด
เสี ยเนื้อ เพราะคณะราษฎรปฏิบัติการอย่ างรวดเร็ ว และตัดการสื่ อสาร
รวมทั้งจับกุมเจ้ านายและข้ าราชการชั้นผู้ใหญ่ ไว้ เป็ นตัวประกันหลายคน
นอกจากนี้ยังตั้งผู้รักษาพระนครฝ่ ายทหารขึ้น ทาให้ อานาจบริ หารของ
พระมหากษัตริ ย์ตกอยู่ภายใต้ การควบคุมและการตัดสิ นใจของผู้รักษา
พระนครและคณะราษฎร
พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวทรงประชุ มพระบรมวงศานุวงศ์
และข้ าราชการชั้ นผู้ใหญ่ ในที่สุดพระองค์ ทรงตัดสิ นพระทัยยินยอมตาม
ข้ อเสนอของคณะราษฎร
ในระบอบการปกครองใหม่ พระมหากษั ต ริ ย์ ท รงเปลี่ ย น
สถานะมาอยู่ภายใต้ รัฐธรรมนูญ โดยคณะราษฎรแบ่ งการดาเนินงาน
ออกเป็ น 3 สมัย
สมัยที่ 1
นั บ ตั้ ง แต่ ก ารประกาศใช้ พระราชบั ญ ญั ติ ธ รรมนู ญ การ
ปกครองแผ่ น ดิน สยามชั่ ว คราว พุ ทธศั กราช 2475 จนกว่ าจะมีการ
เลื อ กตั้ งสมาชิ ก สภาผู้ แทนราษฎร ให้ คณะผู้ ก่ อการฯ แต่ งตั้ ง
สมาชิ กสภาผู้แทนราษฎรขึ้น 70 คน ทาหน้ าที่นิติบัญญั ติ และเลื อก
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจานวน 15 คน เพื่อทาหน้ าที่บริหาร เรียกว่ า
คณะกรรมการราษฎร
สมัยที่ 2
ภายใน 6 เดื อ นหรื อ จนกว่ า จะจั ด ประเทศเป็ นปกติ จ ะมี
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2 ประเภท คือ
- ประเภทที่ 1 ราษฎรเลือกตั้งจังหวัดละ 1 คน ถ้ าราษฎรเกิน
1 แสนคน ก็ให้ เพิม่ อีก 1 คน
- ประเภทที่ 2 ซึ่งเป็ นอยู่แล้วในสมัยที่ 1 มีจานวนเท่ ากัน
สมัยที่ 3
เมื่อราษฎรได้ รับการศึกษาเกินกว่ าครึ่งหรื อภายในระยะเวลา
10 ปี นับจากการเปลีย่ นแปลงการปกครอง จะให้ มีสมาชิกสภาผู้แทน
ราษฎรที่ ร าษฎรเลื อ กตั้ ง ทั้ ง สภา ถื อ เป็ นการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยทีส่ มบูรณ์
รัฐบาลประกาศใช้ รัฐธรรมนูญฉบับถาวรเมื่อวันที่

10 ธันวาคม พ.ศ. 2475

คณะกรรมการราษฎร เปลีย่ นชื่ อเป็ น คณะรั ฐมนตรี


ประธานคณะกรรมการราษฎร เปลีย่ นชื่ อเป็ น นายกรั ฐมนตรี
1 ปี หลั ง การปฏิ วั ติ คณะราษฎรได้ เ ชิ ญ พระยามโนปกรณ์
นิติธาดา (ก้ อน หุตะสิ งห์ ) เป็ นหัวหน้ าคณะรัฐบาลและนายกรั ฐมนตรี
รัฐธรรมนูญฉบับถาวรวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 เป็ นรัฐธรรมนูญที่
ถวายพระราชอานาจแก่ สถาบันพระมหากษัตริ ย์มากกว่ ารั ฐธรรมนูญ
ฉบับชั่วคราววันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้ าเจ้ าอยู่หัวเสด็จออก ณ พระทีน่ ั่งอนันตสมาคม
ในพระราชพิธีพระราชทานรัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย
เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475
ในช่ วงระยะเวลาไม่ ถึง 1 ปี ของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
ได้ เกิด ความขัดแย้ ง ในคณะรั ฐบาลเรื่ องเค้ าโครงการเศรษฐกิจ ของ
หลวงประดิ ษ ฐ์ มนู ธ รรม ซึ่ ง พระยามโนปกรณ์ นิ ติ ธ าดาเห็ น ว่ า เค้ า
โครงการเศรษฐกิจนี้ดาเนินการตามหลักการของประเทศสั งคมนิ ยม
พระยามโนปกรณ์ นิติธาดาได้ ประกาศยุบสภา งดใช้ รัฐธรรมนูญบาง
มาตรา และออกพระราชบั ญ ญั ติ ก ารกระท าอั น เป็ นคอมมิ ว นิ ส ต์
ซึ่ งเป็ นผลให้ หลวงประดิษฐ์ มนู ธรรมต้ องเดินทางออกนอกประเทศ
ความขัดแย้ งระหว่ างรัฐบาลกับคณะราษฎรปรากฏเด่ นชัดขึน้ ในที่สุด
พันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนาก่ อการรัฐประหาร ยึดอานาจรัฐบาล
เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 และขึน้ ดารงตาแหน่ งนายกรัฐมนตรี
หลังจากวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 มีการเปลี่ยนแปลงทาง
การเมืองสรุปได้ ดังนี้
1. เกิดกบฏบวรเดช
2. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้ าเจ้ าอยู่หัวทรงสละราชสมบัติใน
วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2477 เนื่ องจากพระองค์ ทรงขอให้ คณะราษฎร
คานึงถึงความต้ องการอันแท้ จริงของประชาชน แต่ ไม่ สัมฤทธิผล
3. การเมื องในสมัยรั ฐบาลพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา
ฝ่ ายบริหารถูกควบคุมโดยรัฐสภา ทาให้ ไม่ ค่อย
มีความมั่นคงนัก ส่ วนในช่ วงปลายทหารเข้ ามา
มีบทบาททางการเมืองมากขึน้
4. การเปลี่ยนแปลงทางการเมื องสมัยรั ฐบาลจอมพล ป. พิบูล
สงคราม เป็ นช่ วงของการฟื้ นฟูลทั ธิชาตินิยม ดังนี้
- อุดมการณ์ เน้ นความสาคัญของเชื้ อชาติไทยเป็ นพิเศษ เช่ น
เปลีย่ นชื่ อจากประเทศสยามเป็ นประเทศไทย
- อุดมการณ์ ชาตินิยมต่ อต้ านคนจีน โดยเฉพาะเศรษฐกิจ เช่ น
ควบคุมหนังสื อพิมพ์ ภาษาจีน ควบคุมและปิ ดโรงเรี ยนจีน จากัดที่อยู่
ของชาวจีน
- ความพยายามในการสร้ างวัฒนธรรมใหม่ สนับสนุ นกิจการ
ของคนไทย
5. รั ฐบาล ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช พ.ศ. 2488 เมื่ อจอมพล ป.
พิ บู ล สงครามลาออก นายควง อภั ย วงศ์ หนึ่ ง ในคณะผู้ ก่ อ การ
เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ได้ ขึ้นเป็ นนายกรั ฐมนตรี และ
ได้ ลาออกโดยให้ นายทวี บุณยเกตุ เป็ นนายกรัฐมนตรีชั่วคราว เพื่อรอ
ม.ร.ว. เสนี ย์ ปราโมช แก้ ส ถานการณ์ บ้ า นเมื อ งที่ ต กเป็ นฝ่ ายแพ้
สงคราม เนื่องจากม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เป็ นหัวหน้ าคณะเสรีไทย ซึ่ง
เป็ นที่รู้ จักดีในสหรั ฐอเมริ กา ซึ่ งก็แก้ ไขสาเร็ จลุล่วงไปได้ ด้วยดี จน
ประเทศไทยไม่ มีสภาพเป็ นผู้แพ้สงคราม
6. เหตุการณ์ รัชกาลที่ 8 สวรรคต-รั ฐประหาร พ.ศ. 2490 หลัง
สงครามโลกครั้งที่ 2 พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวอานันทมหิดลได้ เสด็จ
นิวัตประเทศไทยพร้ อมด้ วยพระเจ้ าน้ องยาเธอ เจ้ าฟ้ าภูมิพลอดุ ลยเดช
และก่อนทีจ่ ะเสด็จกลับไปศึกษาต่ อ พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวอานันท
มหิ ด ลก็ เ สด็ จ สวรรคตด้ ว ยอาวุ ธ ปื น ในวั น ที่ 9 มิ ถุ น ายน พ.ศ. 2489
รัฐบาลได้ กราบทูลเชิญพระเจ้ าน้ องยาเธอ เจ้ าฟ้ าภูมิพลอดุลยเดชเสด็จขึน้
ครองราชสมบัติสืบราชสั นตติวงศ์ ต่อมา
จากกรณีเสด็จสวรรคต นายปรี ดี พนมยงค์
ได้ ลาออกจากตาแหน่ งนายกรัฐมนตรี แต่ ได้ รั บความ
ไว้ ว างใจให้ ด ารงต าแหน่ ง อีก แต่ ยัง ไม่ ส ามารถหา
สาเหตุที่แท้ จริ งในการสวรรคตได้ จึงลาออกอีกครั้ ง
รัฐสภาได้ เลือกพลเรื อตรี ถวัลย์ ธารงนาวาสวั สดิ์เป็ น
นายกรัฐมนตรี
ต่ อ มาคณะทหารซึ่ ง นิ ย มจอมพล ป. พิ บู ล สงครามได้ ท า
รั ฐ ประหารเข้ า ยึ ด อ านาจ โดยให้ น ายควง อภั ย วงศ์ หั ว หน้ า พรรค
ประชาธิ ปั ตย์ เข้ ารั บต าแหน่ ง นายกรั ฐ มนตรี แต่ 6 เดื อนต่ อ มาคณะ
รั ฐประหารก็ ใ ห้ ออกแล้ วเชิ ญจอมพล ป . พิ บู ลสงครามเป็ น
นายกรัฐมนตรี
แม้ ว่ากลุ่มของนายปรี ดี พนมยงค์ จะพยายามยึดอานาจถึง 2
ครั้ งแต่ ก็ ไ ม่ ส าเร็ จ ท าให้ สถาบั น กองทั พ บกซึ่ ง มี บ ทบาท ในการ
ปราบปรามกบฏมีอานาจในการเมืองของประเทศไทยมากยิง่ ขึน้
กิจกรรม
สามารถเลือกได้ใน Folder ที่ 7
แบบทดสอบหลังเรียน
สามารถเลือกได้ใน Folder ที่ 10

You might also like