You are on page 1of 15

หน่ วยที่ 8

การส่ งเสริมอัตลักษณ์ ไทยและประยุกต์ ใช้


ในกระแสโลกาภิวตั น์
คาบที่ 35-36: แนวทางการอนุรักษ์ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย
และการมีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์
ตัวชี้วดั ช่ วงชั้น

วางแผนกาหนดแนวทางและมีส่วนร่ วมการอนุรักษ์
ภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมไทย (ส 4.3 ม. 4-6/5)
หัวข้อ
เรื่อง: การส่งเสริมอัตลักษณ์ไทยและประยุกต์ใช้
ในกระแสโลกาภิวตั น์

1. แนวทางการอนุรกั ษ์ภูมิปัญญาและวัฒนธรมไทย
2. การมีส่วนร่วมในการอนุรกั ษ์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย
1. แนวทางการอนุรักษ์ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย

1. การค้ นคว้ าวิจัย


ควรศึกษาและเก็บรวบรวมข้ อมูลภูมิปัญญาของไทยในด้ าน
ต่ า ง ๆ โดยเฉพาะภู มิ ปั ญ ญาที่เ ป็ นของท้ อ งถิ่ น เพื่ อ ให้ รู้ ถึ ง ความ
เป็ นมาและสภาพการณ์ ในปัจจุบัน
2. การอนุรักษ์
ควรปลุกจิตสานึกให้ คนในท้ องถิ่นตระหนักถึงคุณค่ าและ
ความสาคัญของภูมิปัญญาท้ องถิ่น รวมถึงสนับสนุนให้ มีพพิ ธิ ภัณฑ์
ท้ องถิ่นขึ้น ซึ่ งจะช่ วยสร้ างความรู้ และความภาคภูมิใจให้ กับคนใน
ท้ องถิ่น

พิพธิ ภัณฑ์ ท้องถิน่ กรุงเทพมหานคร


3. การฟื้ นฟู
การเลือกสรรภูมิปัญญาที่กาลังสู ญหายหรื อสู ญหายไปแล้ ว
มาทาให้ มีคุ ณ ค่ า และมีค วามส าคัญต่ อการด าเนิ น ชี วิต โดยเฉพาะ
พืน้ ฐานทางจริยธรรม คุณธรรม และค่ านิยม
4. การพัฒนา
ควรริ เริ่ มสร้ างสรรค์ และปรั บปรุ ง
ภูมิปัญญาไทยให้ เหมาะสมกับยุคสมัยและ
เกิดประโยชน์ ในการดาเนินชีวติ ประจาวัน
5. การถ่ ายทอด
การน าภู มิ ปั ญ ญาที่ผ่ า นการเลื อ กสรรแล้ ว ไปถ่ า ยทอด
ให้ คนในสั งคมได้ รับรู้

6. การส่ งเสริมกิจกรรม
การส่ งเสริ มและสนับสนุ นให้ เกิดเครื อข่ ายการสื บสาน
และพัฒนาภูมิปัญญาของชุ มชนต่ าง ๆ เพื่อจัดกิจกรรมที่เกีย่ วข้ อง
อย่ างต่ อเนื่อง
7. การเผยแพร่ แลกเปลีย่ น
การส่ งเสริมและสนับสนุนให้ เกิดการเผยแพร่ แลกเปลีย่ น
ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมอย่ างกว้ างขวาง

8. การเสริมสร้ างปราชญ์ ท้องถิ่น


การส่ งเสริม สนับสนุน และพัฒนาศักยภาพของชาวบ้ าน
ผู้ดาเนินงานให้ มีโอกาสแสดงศักยภาพอย่ างเต็มที่
1. การศึกษา ค้ นคว้ า และวิจัยวัฒนธรรม
เพื่อให้ เห็นความสาคัญของวัฒนธรรมในฐานะที่เป็ นมรดก
ของไทยอย่ างถ่ องแท้ ซึ่งเป็ นรากฐานในการดาเนินชีวติ

2. การส่ งเสริมให้ เห็นคุณค่ าและร่ วมกันรักษาเอกลักษณ์


เพื่ อ สร้ า งความเข้ า ใจแก่ ป ระชาชนในการตอบสนองต่ อ
กระแสวัฒนธรรมอื่น ๆ อย่ างเหมาะสม
3. รณรงค์ ให้ ภาครัฐและเอกชนเห็นความสาคัญ
เพื่ อ ให้ เ กิด ทุ ก คนตระหนั ก ว่ า วั ฒ นธรรมเป็ นเรื่ อ งที่
ต้ องรับผิดชอบร่ วมกัน

4. ส่ งเสริ มและแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมภายในประเทศ
และระหว่ างประเทศ
โดยใช้ วฒั นธรรมเป็ นสื่ อสร้ างความสั มพันธ์ ระหว่ างกัน
5. สร้ างทัศนคติ ความรู้ และความเข้ าใจ
วัฒนธรรมเป็ นสมบัติของชาติ มีผลโดยตรงต่ อความเป็ นอยู่
ของทุกคน ดังนั้น ทุกคนจึงมีหน้ าทีเ่ สริมสร้ าง ฟื้ นฟู และดูแลรักษา

6. จัดทาระบบเครื อข่ ายสารสนเทศด้ านวัฒนธรรม


เพื่อเป็ นศูนย์ กลางการเผยแพร่ แก่ประชาชน
2. การมีส่วนร่วมในการอนุรกั ษ์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย

การมีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย


สามารถปฏิบัติได้ หลายวิธี ดังนี้
1. จัดให้ มีการถ่ ายทอดภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยจากคน
รุ่ นเก่ าสู่ คนรุ่ นใหม่ เช่ น จัดชมรมประจาท้ องถิ่น จัดกิจกรรมภายใน
โรงเรียน
2. เปลี่ยนแปลงค่ านิยมของคนในสั งคมที่ละเลยหรื อไม่ ให้
ความสาคัญกับภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย
3. ร่ วมกันทาให้ วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยเป็ น
ส่ วนหนึ่งของชีวติ ประจาวันอย่ างแท้ จริง
4. สร้ างจิตสานึกให้ คนไทยเห็นคุณค่ าและร่ วมกัน
อนุรักษ์ วัฒนธรรมไทย เช่ น ส่ งเสริมการใช้ ภาษาไทยอย่ าง
ถู ก ต้ อ งทั้ ง การพู ด และการเขี ย น ปลู ก ฝั ง ให้ เยาวชนมี
กิริยามารยาทแบบไทย
เกม
สามารถเลือกได้ใน Folder ที่ 8
แบบทดสอบหลังเรียน
สามารถเลือกได้ใน Folder ที่ 10

You might also like