You are on page 1of 27

บทที่ 7 การสื่ อสารในธุรกิจระหว่ างประเทศ

วิชาการจัดการข้ามวัฒนธรรม

อาจารย์ เพ็ญนฤมล จะระ


https://sites.google.com/site/ajpennaruemonchara/
การสื่ อสาร (Communication)
• คือ กระบวนการส่ งผ่ านความหมายของข้ อมูล
Boss ข่ าวสาร โดยส่ งข้ อความผ่ าน
 วาจา Employee
 ลายลักษณ์ อักษร
 กิริยาท่ าทาง

วาจา อักษร กิริยาท่ าทาง


การสื่ อสารในวัฒนธรรมข้ ามชาติ
• การประสานงานติดต่ อระหว่ างบุคคล
• การสร้ างแรงจูงใจ
• ภาวะผู้นา
• การมีปฏิสัมพันธ์ ระหว่ างกลุ่มคน
• การเจรจาต่ อรอง
การสื่ อสารในวัฒนธรรมข้ ามชาติ

วัฒนธรรม
จะถูกถ่ ายทอดและส่ งผ่ านโดยการสื่อสาร
การสื่ อสารในวัฒนธรรมข้ ามชาติ

• ความแตกต่ างทางวัฒนธรรม
ของแต่ ละประเทศมาจากการที่
ผู้คนมีพนื ้ ฐานที่แตกต่ างกัน เช่ น
 การศึกษา
 ค่ านิยม
 ทัศคติ
• ซึ่งส่ งผลต่ อระดับการรั บรู้ และ
ประสิทธิภาพของการสื่อสารที่
แตกต่ างกันได้
การสื่ อสารในวัฒนธรรมข้ ามชาติ

• เช่ น
• ใหญ่ ถอื ลาไยเล็ก ลิงเล็กถือลาไยใหญ่
• เด็กเล็กเล่ นเหล็กดัด เหล็กดัดเด็กเล็กเล่ น
• หมึกหกเลอะมุ้ง มุ้งเลอะหมึกหมด
• หมู หมึก กุ้ง หุง อุ่น ตุ่น ต้ ม นิ่ง
การสื่ อสารในวัฒนธรรมข้ ามชาติ
• การติดต่ อสื่อสารข้ ามวัฒนธรรมที่มีประสิทธิภาพ
จึงเป็ นทักษะจาเป็ นสาหรั บผู้บริหารธุรกิจระหว่ าง
ประเทศ หรื อแม้ แต่ ผ้ บู ริหารภายในประเทศที่มี
หน้ าที่การงานเกี่ยวข้ องกับวัฒนธรรมอัน
หลากหลาย
การสื่ อสารในวัฒนธรรมข้ ามชาติ

• ความผิดพลาดในการสื่อสารมีแนวโน้ มเกิด
ขึน้ กับกลุ่มคนจากประเทศที่มีวัฒนธรรม
และภูมหิ ลังอันแตกต่ างกันมากกว่ ากลุ่มคน
ที่มีพืน้ ฐานใกล้ เคียงกัน
การสื่ อสารในวัฒนธรรมข้ ามชาติ

• การสื่อสารจึงเป็ นเครื่องมือสาคัญ เพื่อใช้


สะท้ อนวัฒนธรรมที่พัฒนาและขัดเกลาโดย
ใช้ กระบวนการสื่อสาร
การสื่ อสารในวัฒนธรรมข้ ามชาติ

• ผู้บริหารธุรกิจระหว่ างประเทศที่ประสบ
ความสาเร็จต้ องมีการปรับตัวแปรด้ าน
วัฒนธรรมเหล่ านีใ้ ห้ ยดื หยุ่นและเหมาะสม
กับรูปแบบการสื่อสารของตน เพื่อสามารถ
ส่ งความหมายสื่อผ่ านผู้รับสารได้ ดที ่ สี ุด
การสื่ อสารในวัฒนธรรมข้ ามชาติ

• ผู้บริหารธุรกิจระหว่ างประเทศ ต้ องเลือก


รูปแบบการสื่อสารให้ เหมาะกับวัฒนธรรม
ของผู้รับสาร
การพัฒนาการสื่ อสารระหว่ างวัฒนธรรมอย่ างมี
ประสิ ทธิภาพ
1. พัฒนาความเข้ าใจความแตกต่ างทาง
วัฒนธรรม (Developing cultural sensitivity)
2. การเข้ ารหัสในการสื่อสารอย่ างระมัดระวัง
(Careful encoding)
3. การเลือกสรรข้ อมูลเพื่อส่ งสาร
(Selection transmission)
4. การถอดรหัสในการสื่อสารอย่ างระมัดระวัง
(Careful encoding of feedback)
5. การติดตามประเมินผลในการสื่อสาร
(Follow-up activity)
1.พัฒนาความเข้ าใจความแตกต่ างทาง
วัฒนธรรม
• ผู้บริหารต้ องเข้ าใจในตัวผู้รับ
สารและสามารถถอดรหัสใน
การสื่ อสารผ่ านการแปล
ความหมายของสั ญ ลั ก ษณ์
หรือสัญญาณได้ อย่ างเข้ าใจ
• ต้ อ ง อ า ศั ย ค ว า ม เ ข้ า ใ จ
พื ้น ฐ า น ใน วั ฒ น าธ ร ร ม ที่
แตกต่ างกัน
2.การเข้ ารหัสในการสื่ อสารอย่ างระมัดระวัง

• ผู้บริหารควรส่ งสารโดยใช้ คาพูด ภาพประกอบ


และท่ าทางเพื่อให้ ผ้ ูรับสารเข้ าใจ
• ควรหลี ก เลี่ ย งการใช้ ส านวนหรื อ ค าพู ด ที่ ส่ ื อ
ความหมายเฉพาะของท้ องถิ่นหรือภูมภิ าค
2.การเข้ ารหัสในการสื่ อสารอย่ างระมัดระวัง

• เช่ น
• เค้ ารักตัวเองนะ
• เค้ า หรือ เขา แปลว่ า ??
• ตัวเอง แปลว่ า ??
3.การเลือกสรรข้ อมูลเพือ่ ส่ งสาร

• ผู้ บริ ห ารต้ องเลื อ กวิ ธี ก าร


สื่อสารแบบเผชิญหน้ าเพื่อ
สร้ างความสัมพันธ์ ระหว่ างคู่
สื่อสาร
3.การเลือกสรรข้ อมูลเพือ่ ส่ งสาร (ต่ อ)

• การมีปฏิสัมพันธ์ ส่วนบุคคลระหว่ างคู่เจรจา


• เป็ นการสร้ างโอกาสให้ ไ ด้ รั บ การตอบสนอง
ทางการสื่อสารในรู ปแบบคาพูด เห็นภาพใน
สถานการณ์ ท่ มี ีการเผชิญหน้ ากัน
4.การถอดรหัสในการสื่ อสารอย่ างระมัดระวัง

• ก า ร ถ อ ด ร หั ส คื อ
กระบวนการแปล
สัญญาณหรื อสัญลักษณ์
ที่ ไ ด้ รั บ เพื่ อ น ามาใช้ ใ น
การตีความข้ อความที่ส่ง
มา
4.การถอดรหัสในการสื่ อสารอย่ างระมัดระวัง (ต่ อ)

• สาเหตุท่ สี ร้ างความคาดเคลื่อนและกากวมของสาร
1. ผู้รับสารตีความผิดพลาด
2. ผู้รับสารส่ งสัญญาณตอบรั บกลับยังผู้ส่งสาร
ไม่ ถูก
3. ผู้ส่งสารตีความปฏิกิริยาตอบสนองผู้รับสาร
คลาดเคลื่อน
4.การถอดรหัสในการสื่ อสารอย่ างระมัดระวัง (ต่ อ)

• การพิ จ ารณาตรวจสอบการถอดรหั ส ของสาร


จากการตอบสนองของคู่เจรจาจึงเป็ นสิ่งสาคัญ
ในการพิสู จ น์ ว่ า ความเข้ า ใจในสารนั น้ ได้ ข้ า ม
ผ่ านความแตกต่ างทางวัฒนธรรมไปอย่ างถูกต้ อง
ตรงกัน
5.การติดตามประเมินผลในการสื่ อสาร

• ติดตามสอบถาม
• ประชุมปรึกษาหารือร่ วมกัน
• ข้ อ ตกลงที่ เ ป็ นรู ป ธรรม เช่ น
การลงนามในข้ อตกลงหรื อ
สัญญาต่ างๆ
การบริหารการสื่ อสารข้ ามวัฒนธรรม

• ขึ น้ อยู่ กั บ ความสามารถและพฤติ ก รรมส่ วน


บุคคลของผู้บริหาร
การบริหารการสื่ อสารข้ ามวัฒนธรรม

• พ ฤ ติ ก ร ร ม ที่ ส่ ง ผ ล ใ ห้ ก า ร สื่ อ ส า ร ร ะ ห ว่ า ง
วัฒนธรรมเกิดประสิทธิภาพ
 ความน่ าเคารพนับถือ
 ลักษณะท่ าทางในการติดต่ อสื่อสาร
 พืน้ ฐานความรู้
 ความรู้สึกร่ วมและการเอาใจใส่
 การอดกลัน้ ในการสื่อสารที่กากวม ไม่ ชัดเจน
ทักษะในการสื่ อสาร (Skills to communicate)

• ผู้บริ หารระหว่ างประเทศต้ องพบปะเกี่ยวข้ องกับ


ผู้ ค นจากหลากหลายชาติห ลายภาษา จึ ง ต้ อ งมี
ความสามารถในการสื่อสารให้ เกิดความเข้ าใจได้
ดี เช่ น
–การวางแผนการบริหาร
–การสื่อสารทัง้ บุคลากรภายนอกและภายใน
ทักษะในการสื่ อสาร (Skills to communicate) ต่ อ

• ทาให้ เกิดผลดีต่อการสร้ างความ


ร่ วมมือภายในองค์ กร
• การสื่ อ สารเพื่ อ ให้ ผ้ ู บ ริ โ ภคและ
ประชาชนทั่วไปมีความเข้ าใจและ
รู้จกั องค์ การ
• ท าให้ เชื่ อมั่ นในผลิ ต ภั ณ ฑ์ ให้
ความสนใจต่ อไป
กิจกรรม

• แสดงบทบาทสมมุ ติ ก ลุ่ ม ละ 1 เรื่ อง โดย


ยกตั ว อย่ า งเหตุ ก ารณ์ ห รื อ สถานการณ์ ใ ดก็ ไ ด้ ท่ ี
ห น่ ว ย ง า น ห รื อ อ ง ค์ ก ร เ กิ ด ปั ญ ห า ใ น ก า ร
ติดต่ อสื่อสาร
–ปั ญหาที่พบในการติดต่ อสื่อสารในองค์ กรหรื อ
หน่ วยงาน
–เสนอแนะวิธีการในการแก้ ไขปั ญหานัน้
คาถามท้ ายบทที่ 7
• เหตุใดผู้บริหารธุรกิจระหว่ างประเทศจึงต้ องให้
ความสาคัญกับทักษะด้ านการสื่อสารในองค์ กร
• การพัฒนาการสื่อสารระหว่ างวัฒนธรรมอย่ างมี
ประสิทธิภาพประกอบไปด้ วยอะไรบ้ าง กรุ ณา
อธิบาย
• กรุ ณาบอกถึงประโยชน์ ของทักษะด้ านการสื่อสารที่
ผู้บริหารธุรกิจระหว่ างประเทศควรมี และทาให้
ประสบความสาเร็จในการดาเนินธุรกิจ

You might also like