You are on page 1of 12

คุณสมบัต ิ

แม่พม
ิ พ์
ของชาติ
พระภาวนาวิริยะคุณ ( เผด็จ ทตุตชีโว) ๒๕๕๓ ๕๙ - ๖๒
v คุณสมบัตค ี.
ิ รู ทโลกต้
องการ
คุณลักษณะของครู ทดี0 ี 34 ประการทีต0 ้ องมีดงั นี;
1. ความมีระเบียบวินัย หมายถึง ความประพฤติ ทั8งทางกายและวาจาและใจ ทีแ> สดงถึงความเคารพในกฎหมาย ระเบียบประเพณีของสั งคม
2. ความซื> อสั ตย์ สุจริตและความยุตธิ รรม หมายถึง การประพฤติทไี> ม่ ทาํ ให้ ผู้อื>นเดือดร้ อน ไม่ เอาเปรียบ หรื อคดโกงผู้อื>นหรื อส่ วนรวม ให้ ยดึ ถือหลักเหตุผล ระเบียบ
แบบแผนและกฎหมายของสั งคมเป็ นเกณฑ์
U. ความขยัน ประหยัด และยึดมัน> ในสั มมาอาชีพ หมายถึง ความประพฤติทไี> ม่ ทาํ ให้ เสี ยเวลาชีวติ และปฏิบัตกิ จิ อันควรกระทําให้ เกิดประโยชน์ แก่ ตนและสั งคม
X. ความสํ านึกในหน้ าทีแ> ละการงานต่ าง ๆ รวมไปถึงความรับผิดชอบต่ อสั งคมและประเทศชาติ หมายถึง ความประพฤติทไี> ม่ เอารัดเอาเปรียบสั งคม
[. ความเป็ นผู้มคี วามคิดริเริ>ม วิจารณ์ และตัดสิ นอย่ างมีเหตุผล หมายถึง ความประพฤติในลักษณะสร้ างสรรค์ และปรับปรุงมีเหตุมผี ลในการทําหน้ าทีก> ารงาน
]. ความกระตือรื อร้ นในการปกครองในระบอบประชาธิปไตย มีความรักและเทิดทูน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
^. ความเป็ นผู้มพี ลานามัยทีส> มบูรณ์ ท8งั ทางร่ างกายและจิตใจ หมายถึง ความมัน> คงและจิตใจ รู้ จกั บํารุงรักษากายและจิตใจให้ สมบูรณ์ มีอารมณ์ แจ่ มใสมีธรรมะอยู่ใน
จิตใจอย่ างมัน> คง
_. ความสามารถในการพึง> พาตนเองและมีอดุ มคติเป็ นทีพ> งึ> ไม่ ไว้ วานหรื อขอความช่ วยเหลือจากผู้อื>นโดยไม่ จาํ เป็ น
`. ความภาคภูมแิ ละการรู้ จกั ทํานุบํารุงศิลปะ วัฒนธรรม และทรัพยากรของชาติ หมายถึง ความประพฤติทแี> สดงออกซึ>งศิลปะและวัฒนธรรมแบบไทย ๆ มีความรัก
และหวงแหนวัฒนธรรมของตนเองและทรัพยากรของชาติ
cd. ความเสี ยสละ และเมตตาอารี กตัญfูกตเวที กล้ าหาญ และความสามัคคีกนั หมายถึง ความประพฤติทแี> สดงออกถึงความแบ่ งปัน เกือ8 กูลผู้อื>น ในเรื> องของเวลา
กําลังกายและกําลังทรัพย์
v หลักคุณธรรมสําหร ับครู
คุณธรรม 4 ประการ
4 ประการทีส8 ี8 คือ การรู้ จกั ละวางความ

1 ประการแรก คือ การรักษาความสั จ ความจริงใจต่ อตัวเอง ทีจ8 ะ


ประพฤติปฏิบัตแิ ต่ สิ8งทีเ8 ป็ นประโยชน์ และเป็ นธรรม
เชื8 อ และรู้ จกั สละประโยชน์ ส่วนน้ อย
ของตนเพื8อประโยชน์ ส่วนใหญ่ ของ
บ้ านเมือง

2 ประการทีส8 อง คือ การรู้ จกั ข่ มใจตนเอง ให้ ประพฤติ


ปฏิบัตอิ ยู่ในความสั จ ความดี

3 ประการทีส( าม คือ การอดทน อดกลั2น และอดออม ทีจ( ะไม่


ประพฤติล่วงความสั จสุ จริต ไม่ ว่าจะด้ วยเหตุประการใด
คุณธรรมสี) ประการนี/ ถ้ าแต่ ละคนพยายามปลูกฝังและบํารุงให้ มคี วาม
เจริญงอกงามขึน/ โดยทัว) กันแล้ ว และจะช่ วยใช้ ประเทศชาติบังเกิด
ความสุ ข ความร่ มเย็น และมีโอกาสทีจ) ะปรับปรุงพัฒนาให้ มนั) คงก้ าวหน้ า
ต่ อไปได้ ดงั ความประสงค์ ครู อาจารย์ เป็ นคนไทยคนหนึ)งทีค) วรถือปฏิบัติ
ตามหลักคุณธรรมดังกล่ าวเพื)อเป็ นแบบอย่ างทีด) แี ก่ ศิษย์ สถาบันวิชาชีพ
ครู จะได้ มคี วามเจริญก้ าวหน้ า สั งคมและประเทศไทยจะได้ มคี วาม
เจริญรุ่งเรื องตลอดไป
v ด้านวิชาการ
ของครู

วิชาการหมายถึง ครู ต้องมีความรับผิดชอบใน


วิชาการอยู่เสมอ กล่ าวคือ มีความรู้ ในสาขาวิชา
การทีส8 อนจริงในระดับทีส8 ามารถถ่ ายทอดความรู้
นัNนให้ ผู้อื8นเข้ าใจและยึดเป็ นวิชาชีพสํ าหรับทํามา
หากินเลียN งชีวติ ได้ ขณะเดียวกันต้ องรู้ จกั ดูแล
สุ ขภาพของตนให้ แข็งแรงอยู่เสมอ เพราะกายคือ
อุปกรณ์ สําหรับ ใช้ ในการทําความดีตลอดชีวติ
v ด้านจริยธรรม

จริยธรรม หมายถึงหน้ าทีใ8 นการอบรมจริยธรรมให้ แก่


นักเรียนซึ8งถือว่ าเป็ นหน้ าทีห8 ลักอีกประการหนึ8งนอกจาก
การสั8 งสอนในด้ านวิชาความรู้ โดยทัว8 ไปนอกจากนีคN รู ทุก
คนจะต้ องประพฤติปฏิบัตติ นให้ เป็ นผู้มจี ริยธรรมอัน
เหมาะสมอีกด้ วยเพราะพฤติกรรมอันเหมาะสมทีค8 รู ได้
แสดงออกจะเป็ นเครื8 องมือทีส8 ํ าคัญในการปลูกฝังศรัทธา
ให้ ศิษย์ ได้ ปฏิบัตติ าม
vด้านมนุ ษย ์สัมพันธ ์ vวิธกี ารทีครู
ต่อศิษย ์
) ควรจะทํา

● มนุษย์ สัมพันธ์ หมายถึง การมีมนุษย์ สัมพันธ์ อนั ดีของครู


ต่ อบุคคลทัว8 ๆไป เพราะการมีมนุษย์ สัมพันธ์ ทดี8 จี ะช่ วยให้ 1 สอนศิษย์ ให้ เกิดความสามารถในการเรียนรู้ ในวิชาการต่ าง ๆ
ครู สามารถปฏิบัตหิ น้ าทีข8 องครู ได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ ให้ มากทีส8 ุ ดเท่ าทีค8 รู จะกระทําได้
นอกจากนีN การมีมนุษย์ สัมพันธ์ ทดี8 ขี องครู ยงั ช่ วยทําให้
สถาบันศึกษาทีค8 รู ปฏิบัตงิ านอยู่มคี วามเจริญก้ าวหน้ าอย่ าง 2 สอนให้ นักเรียนหรื อศิษย์ ของตนมีความสุ ขเพลิดเพลินกับ
รวดเร็วอีกด้ วย ดังนัNน ครู ทุกคนจึงควรถือเป็ นหน้ าทีแ8 ละ การเล่ าเรียนไม่ เบื8อหน่ าย อยากจะเรียนอยู่เสมอ
ความรับผิดชอบอีกประการหนึ8งทีจ8 ะต้ องคอยผูกมิตร
ไมตรีอนั ดีระหว่ าง บุคคลต่ าง ๆ ทีค8 รู มสี ่ วนเกีย8 วข้ องด้ วย 3 อบรมดูแลความประพฤติของศิษย์ ให้ อยู่ในระเบียบวินัยหรื อ
มนุษย์ สัมพันธ์ ระหว่ างครู กบั บุคคลต่ าง ๆ อีกด้ วย กรอบของ

4 คุณธรรม ไม่ ปล่ อยให้ ศิษย์ กระทําชั8วด้ วยประการทัNงปวง


ดูแลความทุกข์ สุขอยู่เสมอเป็ นทีป8 รึกษาหารื อ ช่ วยแก้ ปัญหา
ต่ างๆ ให้ แก่ ศิษย์
;
vเกียวกั ;
บหน้าทีและความร ับผิดชอบ
ของครู
● Y. สอนศิลปวิทยาให้ แก่ ศิษย์ ซึ8งถือเป็ นหน้ าทีส8 ํ าคัญสํ าหรับครู ครู ทดี8 ตี ้ อง • `. ปฏิบัตติ ามกฎระเบียบของหน่ วยงานและสถานศึกษา ปฏิบัตติ าม
ทําการสอนอย่ างมีประสิ ทธิภาพ มีการพัฒนาการสอนให้ สอดคล้ องกับ พระราชบัญญัตคิ รู และจรรยาบรรณครู เพื8อเป็ นแบบอย่ างทีด8 แี ก่ ศิษย์
ความสามารถและความสนใจของนักเรียน
● \. แนะแนวการศึกษาและอาชีพทีเ8 หมาะสมให้ แก่ ศิษย์ เพื8อช่ วยให้ ศิษย์ b. ตรงต่ อเวลา โดยการเข้ าสอนและเลือกสอนตามเวลา ทํางานสํ าเร็จครบถ้ วน
ของตนสามารถเลือกวิชาเรียนได้ ตามความเหมาะสม ทัNงนีคN รู ต้อง ตามเวลาและรักษาเวลาทีน8 ัดหมาย
คํานึงถึงสติปัญญา ความสามารถ และความถนัดของบุคลิกภาพของศิษย์
● ]. พัฒนาและส่ งเสริมความเจริญก้ าวหน้ าของศิษย์ โดยการจัดกิจกรรม c. ปฏิบัตงิ าน ทํางานในหน้ าที8 ทีไ8 ด้ รับมอบหมายอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
ซึ8งมีทNงั กิจกรรมการเรียนการสอนในหลักสู ตร และกิจกรรมการเรียนการ
สอนนอกหลักสู ตร d. ส่ งเสริมและพัฒนาความรู้ ความสามารถของคน โดยการศึกษาค้ นคว้ าหา
● ^. ประเมินผลความเจริญก้ าวหน้ าของศิษย์ เพื8อจะได้ ทราบว่ า ศิษย์ ได้ ความรู้ เพิม8 เติมอยู่เสมอ
พัฒนาและมีความเจริญก้ าวหน้ ามากน้ อยเพียงใดแล้ ว การประเมินผล
ความเจริญก้ าวหน้ าของศิษย์
● _. อบรมคุณธรรม จริยธรรม ความมีระเบียบวินัย และค่ านิยมทีด8 งี าม
ให้ แก่ ศิษย์ เพื8อศิษย์ จะได้ เป็ นผู้ใหญ่ ทดี8 ขี องสั งคมในวันหน้ า
ความหมายของแม่ พมิ พ์ของชาติ

v เด็กในวันนีค/ ือผู้ใหญ่ ทดี) ใี นวันข้ างหน้ า” เป็ นอีกหนึ)งคําที) v แม่ พมิ พ์ถดั มา คือครู
ทุกคนกล่ าวถึง สํ าหรับเด็กหากไม่ มแี ม่ พมิ พ์ทดี) แี ล้ วการจะ เหตุใดจึงต้ องมีครู เป็ นแม่ พมิ พ์ต่อจากพ่อแม่ อกี
ก้ าวไปเป็ นผู้ใหญ่ ทดี) คี งเป็ นความหวังทีเ) ลือนลาง เพราะครู มหี น้ าทีเ) สริมสร้ างการเรียนรู้ เกีย) วกับการ
ดําเนินชีวติ ทีก) ว้ างขวางออกไปในส่ วนทีพ) ่อแม่ มอิ าจจะทําได้ โดยเฉพาะ
v เด็กจะดีได้ ในยุคปัจจุบัน ทีว) ถิ แี ห่ งการดําเนินชีวติ มีความสลับซับซ้ อนมากขึน/ ๆ
แม่ พมิ พ์ แรก แน่ นอนคือพ่ อ ตามลําดับ ความต้ องการแม่ พมิ พ์ทจี) ะเรียนรู้ ชีวติ นอกจากพ่อแม่ ยงิ) มี
แม่ ความจําเป็ น จุดมุ่งหมายหลักของการพิมพ์ในระดับนีค/ ือการสร้ าง
v ทีเ) ปรียบเสมือนแม่ พมิ พ์ของ สมาชิกทีด) ใี ห้ แก่ ประเทศชาติ
เด็กๆในวัยแรกของชีวติ ที) ถ้ าเปรียบพ่ อแม่ เป็ นแม่ พมิ พ์ ของบ้ าน
เจริญเติบโตอยู่ใน ครู กค็ ือแม่ พมิ พ์ของชาติ
ครอบครัว จุดมุ่งหมายหลัก v ดังนั/นแล้ ว แล้ วท่ านเป็ นแม่ พมิ พ์ทมี) คี ุณลักษณะตามทีช) าติพงึ ประสงค์
ของการพิมพ์ในระดับนีค/ ือ แล้ วหรื อยัง!
การสร้ างสมาชิกทีด) ใี ห้ แก่
วงศ์ ตระกูลหรื อครอบครัว

You might also like