You are on page 1of 413

บทนำ

ด้วยกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการ
ศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) ให้เป็ น
หลักสูตรแกนกลางของประเทศ เพื่อให้การจัดการศึกษา
ขัน
้ พื้นฐานสอดคล้องกับสภาพความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
สังคมและความเจริญก้าวหน้า ทางวิทยาการ เป็ นการ
สร้างกลยุทธ์ใหม่ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สามารถตอบ
สนองความต้องการของบุคคล สังคมไทย ผูเ้ รียนมีศักยภาพในการ
แข่งขันและร่วมมืออย่างสร้างสรรค์ในสังคมโลก ปลูกฝั งให้ผู้เรียนมี
จิตสำนึกความเป็ นไทย มีระเบียบวินัย คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม
และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา
กษัตริย์ทรงเป็ นประมุข เป็ นไปตามเจตนารมณ์มาตรา 80 ของ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 และพระราช
บัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่
2) พ.ศ. 2545 โดยกำหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็ น
เป้ าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็ นคนดี
มีปัญญา มีคณ
ุ ภาพชีวิตที่ดีและมีขีดความสามารถในการแข่งขันใน
เวทีระดับโลก (กระทรวงศึกษาธิการ, 2544) พร้อมกันนีไ้ ด้ปรับ
เปลี่ยนจุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพคนในสังคมไทย ให้มีคุณธรรม
และมีความรอบรู้อย่างเท่าทัน ให้มีความพร้อมทัง้ ด้านร่างกาย สติ
ปั ญญา อารมณ์ และศีลธรรม สามารถก้าวทันการเปลี่ยนแปลงเพื่อ
นำไปสูส
่ ังคมฐานความรู้ได้อย่างมั่นคง แนวการพัฒนาคนดังกล่าว
มุ่งเตรียมเด็กและเยาวชนให้มีพ้น
ื ฐานจิตใจที่ดีงาม มีจิตสาธารณะ
2

พร้อมทัง้ มีสมรรถนะ ทักษะ โดยได้มีการกำหนดวิสัยทัศน์ จุด


หมาย สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
มาตรฐาน การเรียนรู้และตัวชีว้ ัด ที่ชัดเจน กำหนดโครงสร้างเวลา
เรียนกระบวนการวัดและประเมินผลผู้เรียน เกณฑ์ การจบการ
ศึกษาแต่ละระดับ และเอกสารแสดงหลักฐานทางการศึกษาให้มี
ความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และมีความชัดเจนต่อ
การนำไปปฏิบัติ
กลุ่มสาระการเรียนการงานอาชีพ โรงเรียนสามเงาวิทยาคม
จึงนำมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว้ ัด ตามหลักสูตรแกนกลางการ
ศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตลอดจนจุดเน้นในการพัฒนา
ไปสูก
่ ารปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ และบริหารจัดการหลักสูตร
ให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้เรียน จึงได้จัดทำเอกสารหลักสูตรขึน

สำหรับครูนำไปจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทย
ทุกคนในระดับการศึกษาขัน
้ พื้นฐานให้มีคุณภาพด้านความรู้ และ
ทักษะที่จำเป็ นสำหรับการดำรงชีวิตในสังคมที่มี การเปลี่ยนแปลง
และแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต

วิสัยทัศน์

ภายในปี 2563 โรงเรียนสามเงาวิทยาคมมุง่ พัฒนาผูเ้ รียน ให้มี


คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ขัน
้ พื้นฐานสูม
่ าตรฐาน
สากลบนพื้นฐานความเป็ นไทย
3

หลักการ

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนการงานอาชีพ โรงเรียนสามเงา
วิทยาคม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกน
กลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีหลักการที่สำคัญ
ดังนี ้
1. เป็ นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็ นเอกภาพของชาติ มี
จุดหมายและมาตรฐาน การเรียนรู้ เป็ นเป้ าหมายสำหรับพัฒนาเด็ก
และเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของ
ความเป็ นไทยสอดคล้องกับประเทศไทย 4.0 โลกศตวรรษที่ 21
และทัดเทียมกับนานาชาติ
2. เป็ นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ทีป
่ ระชาชนทุกคนมีโอกาสได้
รับการศึกษาอย่างเสมอภาคและ มีคุณภาพ
3. เป็ นหลักสูตรการศึกษาทีส
่ นองการกระจายอำนาจ ให้สงั คมมี
ส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ให้สอดคล้องกับสภาพและ
ความต้องการของท้องถิ่น
4. เป็ นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทัง้ ด้านสาระ
การเรียนรู้เวลาและ การจัดการเรียนรู้
5. เป็ นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ
6. เป็ นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอก
ระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้ าหมาย สามารถ
เทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์
4

จุดหมาย

หลักสูตรโรงเรียนสามเงาวิทยาคม มุง่ พัฒนาผูเ้ รียนให้เป็ นคนดี


มีปัญญา มีความสุข ศักยภาพ ในการศึกษาต่อ และ
ประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็ นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบ
การศึกษา ขัน
้ พื้นฐาน ดังนี ้
1. มีคณ
ุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมทีพ
่ งึ ประสงค์ เห็นคุณค่า
ของตนเอง มีวน
ิ ย
ั และปฏิบต
ั ต
ิ น ตามหลักธรรมของ
พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญา ของ
เศรษฐกิจพอเพียง
2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้
เทคโนโลยีและมีทก
ั ษะชีวต

3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออก
กำลังกาย
4. มีความรักชาติ มีจต
ิ สำนึกในความเป็ นพลเมืองไทยและ
พลโลก ยึดมัน
่ ในวิถช
ี วี ต
ิ และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริยท
์ รงเป็ นประมุข
5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจต
ิ สาธารณะทีม
่ งุ่
ทำประโยชน์และสร้างสิง่ ทีด
่ งี ามในสังคมและอยูร่ ว่ มกันในสังคมอย่าง
มีความสุข

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
5

โรงเรียนสามเงาวิทยาคม มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานที่กำหนด ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนี ้

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็ นความสามารถในการรับ
และส่งสาร มีวฒ
ั นธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้
ความเข้าใจ ความรู้สก
ึ และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลีย
่ นข้อมูล
ข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเอง
และสังคม รวมทัง้ การเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปั ญหาความขัด
แย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและ
ความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วธิ ก
ี ารสื่อสารทีม
่ ป
ี ระสิทธิภาพโดย
คำนึงถึงผลกระทบทีม
่ ต
ี อ
่ ตนเองและสังคม
2. ความสามารถในการคิดเป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์
การคิดสังเคราะห์การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
และการคิดเป็ นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ
สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะ
สม
3. ความสามารถในการแก้ปัญหาเป็ น ความสามารถในการแก้
ปั ญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ทีเ่ ผชิญได้ อย่างถูกต้องเหมาะ
สมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ
เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลีย
่ นแปลงของเหตุการณ์ตา่ งๆในสังคม
แสวงหาความรู้ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้ องกันและแก้ไขปั ญหาและ
6

มีการตัดสินใจทีม
่ ป
ี ระสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึน
้ ต่อ
ตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิตเป็ นความสามารถใน
การนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ ในการดำเนินชีวิตประจำ
วัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และ
การอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่าง
บุคคล การจัดการปั ญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม
และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่สง่ ผลกระทบต่อ
ตนเองและผู้อ่ น

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็ นความสามารถใน
การเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้าน ต่าง ๆ และมีทักษะ
กระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้าน
การเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การแก้ปัญหาอย่าง
สร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
โรงเรียนสามเงาวิทยาคม มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน และ
จุดเน้นของโรงเรียน เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ น
ื ในสังคม
ได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ประกอบ
ด้วย
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์สุจริต
3. มีวินัย
7

4. ใฝ่ เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการทำงาน
7. รักความเป็ นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

ระดับการศึกษา

โรงเรียนสามเงาวิทยาคม จัดระดับการศึกษาเป็ น 2 ระดับ


ดังนี ้
1. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เปิ ดสอนระดับชัน
้ มัธยมศึกษา
ปี ที่ 1–3
เป็ นช่วงสุดท้ายของการศึกษาภาคบังคับ มุ่งเน้นให้ผู้เรียน
ได้สำรวจความถนัดและความสนใจ ของตนเอง ส่งเสริมการพัฒนา
บุคลิกภาพส่วนตน มีทก
ั ษะในการคิดวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์และ
คิดแก้ปัญหา มีทักษะในการดำเนินชีวิต มีทักษะการใช้เทคโนโลยี
เพื่อเป็ นเครื่องมือในการเรียนรู้ มีความรับผิดชอบ ต่อสังคม มี
ความสมดุลทัง้ ด้านความรู้ ความคิด ความดีงาม และมีความภูมใิ จใน
ความเป็ นไทย ตลอดจนใช้เป็ นพืน
้ ฐานในการประกอบอาชีพหรือการ
ศึกษาต่อ
2. ร ะ ด ับ ม ัธ ย ม ศ ึก ษ า ต อ น ป ล า ย เ ปิ ด ส อ น ร ะ ด ับ ช น
ั้
มัธยมศึกษาปี ที่ 4–6
เน้นการเพิ่มพูนความรู้และทักษะเฉพาะด้านสนองตอบ
ความสามารถ ความถนัดและ ความสนใจของผู้เรียน
8

แต่ละคน ทัง้ ด้านวิชาการและวิชาชีพ มีทักษะในการใช้วิทยาการ


และเทคโนโลยี ทักษะกระบวนการคิดขัน
้ สูง สามารถนำความรูไ้ ป
ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ ในการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ
มุ่งพัฒนาตนและประเทศตามบทบาทของตน สามารถเป็ นผู้นำ
และผู้ให้บริการชุมชนในด้านต่าง ๆ

การจัดเวลาเรียน

โรงเรียนสามเงาวิทยาคม ได้กำหนดโครงสร้างเวลาเรียน
สำหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ ซึง่ โรงเรียน
ได้จัดเพิ่มเติมตามความพร้อมและจุดเน้นของโรงเรียน โดยดำเนิน
การ ดังนี ้
1. ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนต้น
ให้จัดเวลาเรียนเป็ นรายภาค มีเวลาเรียนวันละไม่น้อย
กว่า 6 ชั่วโมง คิดเป็ นหน่วยกิต โดยใช้เกณฑ์ 40
ชั่วโมงต่อภาคเรียนมีค่าน้ำหนักวิชา เท่ากับ 1 หน่วยกิต (นก.)
2. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ให้จด
ั เวลาเรียนเป็ นรายภาค มีเวลาเรียน วันละไม่นอ
้ ยกว่า
6 ชัว่ โมง คิดเป็ นหน่วยกิต
ใช้เ กณฑ์ 40 ชั่ว โมง ต่อ ภาคเรีย น มีค ่า น้ำหนัก วิช าเท่า กับ 1
หน่วยกิต (นก.)
3. เวลาเรียนเพิ่มเติม
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ พุทธศักราช
2551 จัดให้มีรายวิชาเพิ่มเติมในระดับ ชัน
้ มัธยมศึกษาตอนต้น
รายวิชาการงานอาชีพ เพิม
่ เติม รหัสวิชา ง20201- ง20210 รวมเวลา
9

240 ชัว่ โมง คิดเป็ น 6 หน่วยกิต ในระดับชัน


้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
จัดรายวิชาเพิ่มเติมสอดคล้องกับแผนการเรียน คอมพิวเตอร์ – ธุรกิจ
จำนวน 480 ชัว่ โมง คิดเป็ น 12 หน่วยกิต
4. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
โรงเรียนสามเงาวิทยาคม กำหนดการจัดกิจกรรมไว้
ดังนี ้
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1 – ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3
จำนวน 360 ชั่วโมง
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4 - ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6
จำนวน 360 ชั่วโมง
เป็ นเวลาสำหรับปฏิบต
ั ก
ิ จ
ิ กรรมแนะแนวกิจกรรมนักเรียนและ
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ในส่วนกิจกรรมเพื่อสังคม
และสาธารณประโยชน์ให้สถานศึกษาจัดสรรเวลาให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติ
กิจกรรม ดังนี ้
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-3) รวม 3 ป
จำนวน 45 ชั่วโมง
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) ร ว ม 3 ปี
จำนวน 60 ชั่วโมง

โครงสร้างเวลาเรียน

ก ล ุ่ม ส า ร ะ ก า ร เ ร ีย น ร ้ก
ู า ร ง า น อ า ช ีพ ก ำ ห น ด
โครงสร้างเวลาเรียนรายวิชาดังนี ้

รายวิชา เวลาเรียน:หน่วยกิต (ชั่วโมง)


10

มัธยมศึกษาตอน
มัธยมศึกษาตอนต้น
ปลาย
ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6
1 1 1 0.5 0.5 -
พื้นฐาน
(40) (40) (40) (20) (20)
2 2 2 8 9 8
เพิ่มเติม
(80) (80) (80) (320) (360) (320)

รายวิชาที่เปิ ดสอนของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นประกอบด้วย
รายวิชาพื้นฐาน
ง 21101 การงานอาชีพ 1.0 ห น ่ว ย ก ิต
เวลาเรียน 40 ชั่วโมง
ง 22101 การงานอาชีพ 1.0 หน่วยกิต เ ว ล า
เรียน 40 ชั่วโมง
ง 23101 การงานอาชีพ 1.0 หน่วยกิต เ ว ล า
เรียน 40 ชั่วโมง
รายวิชาเพิ่มเติม
ง 20201 งานห้องสมุด 1 1.0 ห น ่ว ย ก ิต
เวลาเรียน 40 ชั่วโมง
ง 20202 งานห้องสมุด 2 1.0 ห น ่ว ย ก ิต
เวลาเรียน 40 ชั่วโมง
ง 20203 งานเทคนิคสิง่ พิมพ์ 1 1.0 ห น ่ว ย ก ิต
เวลาเรียน 40 ชั่วโมง
11

ง 20204 งานเทคนิคสิง่ พิมพ์ 2 1.0 ห น ่ว ย ก ิต


เวลาเรียน 40 ชั่วโมง
ง 20205 งานช่าง 1 1.0 หน่ว ยกิต เวลา
เรียน 40 ชั่วโมง
ง 20206 งานช่าง 2 1.0 หน่ว ยกิต เวลา
เรียน 40 ชั่วโมง
ง 20207 เขียนแบบ 1 1.0 หน่ว ยกิต เวลา
เรียน 40 ชั่วโมง
ง 20208 เขียนแบบ 2 1.0 หน่ว ยกิต เวลา
เรียน 40 ชั่วโมง
ง 20209 งานเชื่อมไฟฟ้ า 1 1.0 หน่ว ยกิต เวลา
เรียน 40 ชั่วโมง
ง 20210 งานเชื่อมไฟฟ้ า 2 1.0 หน่ว ยกิต เวลา
เรียน 40 ชั่วโมง
ง 20211 การใช้โปรแกรมกราฟิ ก 1.0 ห น ่ว ย ก ิต
เวลาเรียน 40 ชั่วโมง
ง 20212 โปรแกรม Microsoft word 1.0 ห น ่ว ย ก ิต
เวลาเรียน 40 ชั่วโมง
ง 20213 การทำ Motion Graphic 1.0 ห น ่ว ย ก ิต
เวลาเรียน 40 ชั่วโมง
ด้วย PowerPoint
ง 20214 โปรแกรมนำเสนอ 1.0 ห น ่ว ย ก ิต
เวลาเรียน 40 ชั่วโมง
ง 20215 การสร้างเว็บไซต์เบื้องต้น 1.0 หน่วยกิต
เวลาเรียน 40 ชั่วโมง
12

ง 20216 โปรแกรม Desktop Author 1.0 หน่วยกิต


เวลาเรียน 40 ชั่วโมง
ง 20217 โปรแกรมตารางคำนวณ 1.0 ห น ่ว ย ก ิต
เวลาเรียน 40 ชั่วโมง

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชาพื้นฐาน
ง 31101 การงานอาชีพ 0.5 ห น ่ว ย ก ิต
เวลาเรียน 20 ชั่วโมง
ง 32101 การงานอาชีพ 0.5 ห น ่ว ย ก ิต
เวลาเรียน 20 ชั่วโมง
รายวิชาเพิ่มเติม
ง 30201 ธุรกิจและการเป็ นผู้ประกอบการ 1.0 หน่วยกิต
เวลาเรียน 40 ชั่วโมง
ง 30202 การประกันภัย 1.0 ห น ่ว ย ก ิต
เวลาเรียน 40 ชั่วโมง
ง 30203 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจ 1.0 ห น ่ว ย ก ิต
เวลาเรียน 40 ชั่วโมง
ง 30204 หลักการตลาด 1.0 ห น ่ว ย ก ิต
เวลาเรียน 40 ชั่วโมง
ง 30205 งานสำนักงาน 1.0 ห น ่ว ย ก ิต
เวลาเรียน 40 ชั่วโมง
ง 30206 ความปลอดภัย 1.0 ห น ่ว ย ก ิต
เวลาเรียน 40 ชั่วโมง
13

ง 30207 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 1.0 ห น ่ว ย ก ิต


เวลาเรียน 40 ชั่วโมง
ง 30208 เขียนแบบเทคนิค 1.0 หน่วยกิต เ ว ล า
เรียน 40 ชั่วโมง
ง 30209 กฎหมายธุรกิจ 1.0 ห น ่ว ย ก ิต
เวลาเรียน 40 ชั่วโมง
ง 30210 องค์การและการจัดการ 1.0 ห น ่ว ย ก ิต
เวลาเรียน 40 ชั่วโมง
ง 30211 บัญชีเบื้องต้น 1.0 ห น ่ว ย ก ิต
เวลาเรียน 40 ชั่วโมง
ง 30212 การขายเบื้องต้น 1.0 หน่วยกิต เ ว ล า
เรียน 40 ชั่วโมง
ง 30213 กฎหมายพาณิชย์ 1.5 หน่วยกิต เ ว ล า
เรียน 60 ชั่วโมง
ง 30214 วัสดุช่างอุตสาหกรรม 1.0 ห น ่ว ย ก ิต
เวลาเรียน 40 ชั่วโมง
ง 30215 การภาษีอากร 1.0 ห น ่ว ย ก ิต
เวลาเรียน 40 ชั่วโมง
ง 30216 เขียนแบบก่อสร้าง 1.0 หน่วยกิต เ ว ล า
เรียน 40 ชั่วโมง
ง 30217 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 2.0 หน่วยกิต
เวลาเรียน 80 ชั่วโมง
ง 30218 พิมพ์อังกฤษเบื้องต้น 1.5 หน่วยกิต
เวลาเรียน 60 ชั่วโมง
14

ง 30219 พิมพ์ไทยเบื้องต้น 1.5 หน่วยกิต เวลา


เรียน 60 ชั่วโมง ง 30220 จริยธรรมและ
กฎหมาย 1.0 หน่วยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง
คอมพิวเตอร์
ง 30221 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ 2.0 ห น ่ว ย ก ิต
เวลาเรียน 80 ชั่วโมง
เพื่องานอาชีพ
ง 30222 องค์ประกอบศิลป์ สำหรับ 2.0 หน่วยกิต
เวลาเรียน 80 ชั่วโมง
งานคอมพิวเตอร์
ง 30223 หลักการเขียนโปรแกรม 2.5 หน่วยกิต
เวลาเรียน 100 ชั่วโมง
ง 30224 เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น 2.5 หน่วยกิต
เวลาเรียน 100 ชั่วโมง
ง 30225 โปรแกรมกราฟิ ก 1.0 หน่วยกิต
เวลาเรียน 40 ชั่วโมง
ง 30226 การสร้างเว็บไซต์ 2.0 หน่วยกิต
เวลาเรียน 80 ชั่วโมง
ง 30227 โปรแกรมตารางงาน 1.5 หน่วยกิต
เวลาเรียน 60 ชั่วโมง
ง 30228 โปรแกรมฐานข้อมูล 2.0 หน่วยกิต
เวลาเรียน 80 ชั่วโมง
ง 30229 การพัฒนาโปรแกรม 2.0 หน่วยกิต
เวลาเรียน 80 ชั่วโมง
บนอุปกรณ์พกพาเบื้องต้น
15

ง 30230 ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น 1.5 หน่วยกิต


เวลาเรียน 60 ชั่วโมง
ง 30231 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 1.0 หน่วยกิต
เวลาเรียน 40 ชั่วโมง
ง 30232 การนำเสนอด้วยสื่อประสม 1.0 หน่วยกิต
เวลาเรียน 40 ชั่วโมง
ง 30233 คอมพิวเตอร์และการบำรุงรักษา 2.0 หน่วยกิต
เวลาเรียน 80 ชั่วโมง
ง 30234 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 2.0 หน่วยกิต
เวลาเรียน 80 ชั่วโมง
ง 30235 การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ 2.0 หน่วยกิต
เวลาเรียน 80 ชั่วโมง ง 30236 โปรแกรม
มัลติมีเดีย 2.0 หน่วยกิต เวลาเรียน
80 ชั่วโมง
ง 30237 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 1.0 หน่วยกิต
เวลาเรียน 40 ชั่วโมง
ง 30238 สารสนเทศเพื่องานอาชีพ 1.5 หน่วยกิต
เวลาเรียน 60 ชั่วโมง

มาตรฐานการเรียนรู้

การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล โรงเรียนสามเงา
วิทยาคม คำนึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญาจึงกำหนด
ให้ผเู้ รียนเรียนรู้ 8 กลุม
่ สาระการเรียนรูต
้ ามหลักสูตรแกนกลางการ
ศึกษา ขัน
้ พืน
้ ฐานซึง่ ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้มีมาตรฐานการ
16

เรียนรู้เป็ นเป้ าหมายสำคัญของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ซึง่ ผูเ้ รียน


พึงรู้ ปฏิบต
ั ไิ ด้ มีคณ
ุ ธรรมจริยธรรมและค่านิยมทีพ
่ งึ ประสงค์เมื่อจบการ
ศึกษา ขัน
้ พืน
้ ฐาน ซึง่ มาตรฐาน การเรียนรูจ
้ ะสะท้อนคุณภาพของผู้
เรียนและเป็ นเครื่องมือในการตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพการ
ศึกษา การทดสอบระดับเขตพื้นที่การศึกษาและการทดสอบระดับ
ชาติ

ตัวชีว
้ ัด

ตัวชีว้ ด
ั ระบุสง่ ิ ทีน
่ ก
ั เรียนพึงรูแ
้ ละปฏิบต
ั ไิ ด้รวมทัง้ คุณลักษณะของผู้
เรียนในแต่ละระดับชัน
้ ซึง่ สะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรูม
้ ค
ี วามเฉพาะ
เจาะจงและมีความเป็ นรูปธรรม นำไปใช้ในการกำหนดเนือ
้ หา จัดทำหน่วย
การเรียนรู้ จัดการเรียนการสอนและเป็ นเกณฑ์สำคัญสำหรับการวัด
ประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน

ตัวชีว
้ ัดแบ่งเป็ น
1. ตัวชีว้ ัดชัน
้ ปี เป็ นเป้ าหมายในการพัฒนาผู้เรียนแต่ละชัน
้ ปี ใน
ระดับ การศึก ษาภาคบังคับ (ประถมศึก ษาปี ที่ 1 -
มัธยมศึกษาปี ที่ 3)
17

2. ตัวชีว้ ัดช่วงชัน
้ เป็ นเป้ าหมายในการพัฒนาผู้เรียนในระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย(มัธยมศึกษาปี ที่ 4- 6)
3. รหัสกำกับ มาตรฐานการเรียนรู้แ ละตัว ชีว้ ัด มีค วามหมาย
ดังนี ้
ง 2.2 ม.4-6/ 3
ม.4-6/3 ตัวชีว้ ัดชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย ข้อที่ 3
2.3 สาระที่ 2 มาตรฐานข้อที่ 2
ง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
การงานอาชีพ
สาระที่ 1 การดำรงชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน ง 1.1 เข้าใจการทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะ
กระบวนการทำงาน ทักษะการจัดการ ทักษะ
กระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานร่วมกัน และ
ทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะ
นิสัยในการทำงาน มีจิตสำนึกในการใช้พลังงาน
ทรัพยากร และสิง่ แวดล้อม เพื่อการดำรงชีวิตและ
ครอบครัว
สาระที่ 2 การอาชีพ
มาตรฐาน ง 2.1 เข้า ใจ มีท ัก ษะที่จ ำเป็ น มีป ระสบการณ์ เห็น
แนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยีเพื่อ
พัฒนาอาชีพ มีคณ
ุ ธรรมและมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ
18

ตัว ชีว
้ ัด และสาระการเรีย นรู้แ กนกลางรายวิช าการงาน
อาชีพ
สาระที่ 1 การดำรงชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน ง 1.1 เข้าใจการทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะ
กระบวนการทำงาน ทักษะการจัดการ ทักษะ
กระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานร่วมกัน และ
ทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะ
นิสัยในการทำงาน มีจิตสำนึกในการใช้พลังงาน
ทรัพยากร และสิง่ แวดล้อม เพื่อการดำรงชีวิตและ
ครอบครัว
19

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม. 1 1. วิเคราะห์ขน
ั ้ ตอนการ  ขัน
้ ตอนการทำงาน เช่น
ทำงานตามกระบวนการ - การใช้อป
ุ กรณ์อำนวยความ
ทำงาน สะดวก ในการ
2. ใช้กระบวนการกลุ่มใน ทำงานบ้าน
การทำงานด้วยความเสีย - การจัดและตกแต่งห้อง
สละ - การเลือกซื้อสินค้าในร้าน
3. ตัดสินใจแก้ปัญหาการ ค้าปลีก ค้าส่ง
ทำงาน อย่างมีเหตุผล ร้านสะดวกซื้อ และห้าง
สรรพสินค้า
 การทำงานโดยใช้
กระบวนการกลุ่ม เช่น
- การเตรียม ประกอบ จัด
ตกแต่ง และ
บริการอาหาร
- การแปรรูปผลผลิต
ทางการเกษตร
- การประดิษฐ์ของใช้ ของ
ตกแต่ง จาก
วัสดุในท้องถิ่น
 การแก้ปัญหาในการทำงาน
เช่น
- การจัดสวนในภาชนะ
- การซ่อมแซม วัสดุ อุปกรณ์
20

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
และเครื่องมือ /เครื่องใช้
ม. 2 1. ใช้ทักษะการแสวงหา  การแสวงหาความรู้ เพื่อ
ความรู้เพื่อพัฒนา การ พัฒนาการทำงาน เช่น
ทำงาน - การจัดและตกแต่งบ้าน
2. ใช้ทักษะกระบวนการแก้ - การดูแลรักษาและตกแต่ง
ปั ญหา ใน สวน
การทำงาน - การจัดการผลผลิต
3. มีจิตสำนึกในการทำงาน
และใช้ทรัพยากรในการ
ปฏิบัติงาน
อย่างประหยัดและคุ้มค่า

 การทำงานโดยใช้
กระบวนการแก้ปัญหา เช่น
- การเตรียม ประกอบ จัด
ตกแต่ง และบริการ เครื่อง
ดื่ม
- การเลีย
้ งสัตว์
- การประดิษฐ์ของใช้ ของ
ตกแต่ง จากวัสดุ
ในโรงเรียน หรือ ท้องถิ่น
- การติดต่อสื่อสารและใช้
บริการกับหน่วยงานต่างๆ
21

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม. 3 1. อภิปรายขัน
้ ตอนการ  ขัน
้ ตอนการทำงาน เช่น
ทำงานที่มีประสิทธิภาพ - การซัก ตาก พับ เก็บ
2. ใช้ทักษะในการทำงาน เสื้อผ้าที่ต้องการ
ร่วมกันอย่างมีคุณธรรม การดูแลอย่างประณีต
3. อภิปรายการทำงานโดย - การสร้างชิน
้ งาน หรือ ผล
ใช้ทักษะ งาน
การจัดการเพื่อการ  การทำงานร่วมกัน เช่น
ประหยัดพลังงาน - การเตรียมประกอบอาหาร
ทรัพยากร และสิ่ง ประเภทสำรับ
แวดล้อม - การประดิษฐ์บรรจุภัณฑ์
จากวัสดุธรรมชาติ
 การจัดการ เช่น
- ธุรกิจประเภทต่างๆ
- การขยายพันธุ์พืช
- การติดตัง้ /ประกอบ
ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในบ้าน
ม. 4- 1. อธิบายวิธีการทำงาน  การทำงานเพื่อการดำรง
6 เพื่อการดำรงชีวต
ิ ชีวิต เช่น
2. สร้างผลงานอย่างมี - การเลือก ใช้ ดูแลรักษา
ความคิดสร้างสรรค์และ เสื้อผ้า และ
มีทก
ั ษะการทำงานร่วมกัน เครื่องแต่งกาย
3. มีทก
ั ษะการจัดการในการ  การทำงานร่วมกัน เช่น
ทำงาน - การประดิษฐ์ของใช้ทเ่ี ป็ น
4. มีทก
ั ษะกระบวนการแก้ เอกลักษณ์ไทย
22

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ปั ญหาในการทำงาน - หน้าที่และบทบาทของ
5. มีทักษะในการแสวงหา ตนเองที่มีต่อสมาชิกใน
ความรู้เพื่อ ครอบครัว โรงเรียน และ
การดำรงชีวิต ชุมชน
6. มีคณ
ุ ธรรมและลักษณะ
นิสย
ั ในการทำงาน
7. ใช้พลังงาน ทรัพยากร  การจัดการ เช่น
ในการทำงานอย่างคุ้มค่า - การดูแลรักษา ทำความ
และยั่งยืน เพื่อการ สะอาด จัด
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ตกแต่งบ้านและโรงเรียน
- การปลูกพืช ขยายพันธุ์
พืชหรือเลีย
้ งสัตว์
- การบำรุง เก็บรักษาเครื่อง
ใช้ไฟฟ้ าและอุปกรณ์อำนวย
ความสะดวกในชีวต
ิ ประจำวัน
- การดำเนินการทางธุรกิจ
 การแก้ปัญหาในการทำงาน
เช่น
- การตัดเย็บและดัดแปลง
เสื้อผ้า
- การเก็บ ถนอม และ
แปรรูปอาหาร
- การติดตัง้ ประกอบ
ซ่อมแซมอุปกรณ์ เครื่องมือ
23

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เครื่องใช้ สิ่งอำนวย
ความสะดวก ในบ้านและ
โรงเรียน
 การแสวงหาความรู้เพื่อการ
ดำรงชีวิต เช่น
- การดูแลรักษาบ้าน
- การเลีย
้ งสัตว์

สาระที่ 2 การอาชีพ
มาตรฐาน ง 2.1 เข้า ใจ มีท ัก ษะที่จ ำเป็ น มีป ระสบการณ์ เห็น
แนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยีเพื่อ
พัฒนาอาชีพ มีคณ
ุ ธรรมและมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
 แนวทางการเลือกอาชีพ
ม. 1 1. อธิบายแนวทางการ - กระบวนการตัดสินใจเลือก
เลือกอาชีพ อาชีพ
 เจตคติที่ดีต่อการประกอบ
2. มีเจตคติที่ดีต่อการ อาชีพ
- การสร้างรายได้จากการ
ประกอบอาชีพ ประกอบอาชีพสุจริต
3. เห็นความสำคัญของการ  ความสำคัญของการสร้าง
อาชีพ
สร้างอาชีพ - การมีรายได้จากอาชีพที่
สร้างขึน

- การเตรียมความพร้อม
24

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
 การจัดประสบการณ์อาชีพ
ม. 2 1. อธิบายการเสริมสร้าง - สถานการณ์แรงงาน
ประสบการณ์อาชีพ - ประกาศรับสมัครงาน
- ความรู้ความสามารถของ
2. ระบุการเตรียมตัวเข้าสู่ ตนเอง
- ผลตอบแทน
อาชีพ  การเตรียมตัวเข้าสู่อาชีพ
3. มีทก
ั ษะพืน
้ ฐานที่จำเป็ น - การหางาน
- คุณสมบัติที่จำเป็ น
สำหรับการประกอบ  ทักษะที่จำเป็ นต่อการ
ประกอบอาชีพ
อาชีพที่สนใจ - ทักษะกระบวนการทำงาน
- ทักษะกระบวนการแก้
ปั ญหา
- ทักษะการทำงานร่วมกัน
- ทักษะการแสวงหาความรู้
- ทักษะการจัดการ
 การหางานหรือตำแหน่งที่
ม. 3 1. อภิปรายการหางานด้วย ว่าง
วิธีที่หลากหลาย - สื่อ สิ่งพิมพ์
- สื่ออิเล็กทรอนิกส์
2. วิเคราะห์แนวทางเข้าสู่  แนวทางเข้าสู่อาชีพ
- คุณสมบัติที่จำเป็ น
อาชีพ - ความมั่นคง
3. ประเมินทางเลือกใน - การประเมินทางเลือก
 การประเมินทางเลือกอาชีพ
การประกอบอาชีพที่ - แนวทางการประเมิน
- รูปแบบการประเมิน
สอดคล้องกับความรู้ - เกณฑ์การประเมิน
ความถนัดและความ
สนใจของตนเอง

 แนวทางสู่อาชีพ
ม. 4- 1. อภิปรายแนวทางสู่ - เตรียมตัวหางานและ
25

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
พัฒนาบุคลิกภาพ
6 อาชีพที่สนใจ - ลักษณะความมั่นคงและ
2. เลือก และใช้ ความก้าวหน้าของอาชีพ
- การสมัครงาน
เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม - การสัมภาษณ์
- การทำงาน
กับอาชีพ - การเปลี่ยนอาชีพ
3. มีประสบการณ์ในอาชีพ  การเลือกและใช้เทคโนโลยี
อย่างเหมาะสม กับ
ที่ถนัดและสนใจ อาชีพ
- วิธีการ
4. มีคณ
ุ ลักษณะที่ดีต่อ
- หลักการ
อาชีพ
- เหตุผล
 ประสบการณ์ในอาชีพ
- การจำลองอาชีพ
- กิจกรรมอาชีพ
 คุณลักษณะที่ดีต่ออาชีพ
- คุณธรรม
- จริยธรรม
- ค่านิยม

คำอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
26

รายวิชาพื้นฐาน

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชาการงานอาชีพ ร ห ัส ว ิช า
ง 21101
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1
เวลา 40 ชั่วโมง จ ำ น ว น 1.0
หน่วยกิต

ศึกษาวิเคราะห์ขน
ั ้ ตอนกระบวนการทำงานการใช้อุปกรณ์
อำนวยความสะดวกในการทำงานบ้าน การจัดตกแต่งห้องอย่าง
เหมาะสม การเลือกซื้อสินค้าในร้านค้าปลีกค้าส่ง ร้านสะดวกซื้อ
และห้างสรรพสินค้า การเตรียม ประกอบ จัด ตกแต่งและ
บริการอาหาร การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร การประดิษฐ์
ของใช้ ของตกแต่ง จากวัสดุในท้องถิ่น การจัดสวนในภาชนะ
การซ่อมแซมวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือเครื่องใช้ อธิบายแนวทาง
การเลือกอาชีพ
โดยใช้กระบวนการทำงานแบบกลุ่ม ในการทำงานด้วยความ
เสียสละ ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล ใช้
กระบวนการตัดสินใจในการเลือกอาชีพที่ตนเองถนัดและสนใจ
เพื่อให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ใน
ชีวิตประจำวัน มีเจตคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพและเห็นความ
สำคัญของการสร้างอาชีพ

รหัสตัวชีว
้ ัด
ง 1.1 ม.1/1-3
ง 2.1 ม.1/1-3
27

รวมทัง้ หมด 6 ตัวชีว


้ ัด

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชาการงานอาชีพ รหัสวิชา
ง 22101
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 2
เวลา 40 ชั่วโมง จ ำ น ว น 1.0
หน่วยกิต

ศึกษา วิธีการแสวงหาความรู้ การศึกษาค้นคว้า รวบรวบรวม


สังเกต สำรวจและบันทึกเพื่อใช้ในการทำงาน การเสริมสร้าง
28

ประสบการณ์อาชีพ การเตรียมตัวสู่อาชีพทักษะงานช่างพื้นฐานที่
จำเป็ นสำหรับการประกอบอาชีพที่น่าสนใจ
ใช้ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน การสังเกต
วิเคราะห์ สร้างทางเลือก และประเมินทางเลือก การประดิษฐ์
ของใช้ ของตกแต่งจากวัสดุในโรงเรียนหรือท้องถิ่นมี ทักษะพื้นฐาน
ที่จำเป็ นสำหรับการประกอบอาชีพ
มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฎิบัติงาน
อย่างประหยัดและคุ้มค่า มีคณ
ุ ธรรม จริยธรรมใน
การทำงาน

รหัสตัวชีว
้ ัด ง 1.1 ม.2/1-3
ง 4.1.1 ม.2/1-3

รวมทัง้ หมด 6 ตัวชีว


้ ัด
29

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชาการงานอาชีพ รหัสวิชา
ง 23101
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
เวลา 40 ชั่วโมง จ ำ น ว น 1.0
หน่วยกิต

ศึกษา และเรียนรู้ทักษะการทำงานร่วมกันโดยคำนึงถึงการใช้
ทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า ตัดเย็บ ซ่อมแซมดูแลรักษา
เสื้อผ้าอย่างถูกวิธีโดยใช้ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน
จัดเตรียมอาหารประเภทสำรับและจัดตกแต่งอย่างสวยงามมีความ
รอบคอบ การประดิษฐ์บรรจุภัณฑ์จากวัสดุธรรมชาติ มีจิตสำนึก
และใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า มีธรรมในการทำงาน
อภิปรายการหางานด้วยวิธีที่หลากหลาย วิเคราะห์แนวทาง
เข้าสู่อาชีพ และสามารถประเมินทางเลือกในการประกอบอาชีพที่
สอดคล้องกับความรู้ ความถนัด และความสนใจของตนเอง เพื่อการ
30

เสริมสร้างประสบการณ์อาชีพ การเตรียมเข้าสู่อาชีพและมีเจตคติ
ที่ดีต่ออาชีพ
เพื่อให้เกิดความตระหนัก และเห็นคุณค่าในการทำงาน
สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มีความสามารถ
ในการตัดสินใจ มีจริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม และ
มีจิตสำนึกในการใช้พลังงานทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม

รหัสตัวชีว
้ ัด
ง 1.1 ม.3/1-3
ง 4.1 ม.3/1-3

รวมทัง้ หมด 6 ตัวชีว


้ ัด
31

รายวิชาเพิ่มเติม

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชางานห้องสมุด 1 รหัสวิชา
ง 20201
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนต้น
เวลา 40 ชั่วโมง จ ำ น ว น 1.0
หน่วยกิต

ศึกษางานห้องสมุด คุณสมบัติ หน้าที่และความรับผิดชอบ


การจัดห้องสมุด การดำเนินงานห้องสมุดเกี่ยวกับหนังสือ วารสาร
หนังสือพิมพ์ จุลสาร กฤตภาค การสืบค้นข้อมูลโดยใช้โปรแกรม
ห้องสมุด โสตทัศนวัสดุ การเตรียมออกให้ยืม การลงทะเบียน การ
จัดชัน
้ การจัดเก็บ การดูแลรักษาและการซ่อมแซม การสำรวจและ
การจำหน่ายออกจากห้องสมุด
ปฏิบัติงานจัดครุภัณฑ์ห้องสมุดและการตกแต่งห้องสมุด จัด
วัสดุห้องสมุดขึน
้ ชัน
้ เตรียมสิ่งพิมพ์และโสตทัศนวัสดุ ลงทะเบียน
วัสดุห้องสมุด ซ่อมแซมหนังสือแบบต่าง ๆ และเย็บเล่มเข้าปก
วารสารและหนังสือและการสืบค้นโดยใช้โปรแกรมห้องสมุด
เพื่อให้มค
ี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลรักษาและ
ซ่อมแซมหนังสือ จัดเตรียมหนังสือและลงทะเบียนสิ่งพิมพ์และ
ครุภัณฑ์ห้องสมุด
32

ผลการเรียนรู้
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับห้องสมุด
2. มีความรู้ความเข้าใจการปฏิบัติงานการจัดและตกแต่งห้อง
สมุดได้
3. สรุปความรู้เกี่ยวกับวัสดุสารนิเทศได้
4. มีความรู้ความเข้าใจและปฏิบัติงานจัดเตรียมหนังสือห้อง
สมุดได้
5. มีความรู้ความเข้าใจและปฏิบัติงานซ่อมบำรุงหนังสือห้อง
สมุดได้

รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชา
33

รายวิชางานห้องสมุด 2 รหัสวิชา
ง 20202
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนต้น
เวลา 40 ชั่วโมง จ ำ น ว น 1.0
หน่วยกิต

ศึกษาบัตรรายการ การทำบัตรรายการหนังสือและโสตทัศน
วัสดุ จุลสารและกฤตภาค การพิมพ์บัตรรายการ การเรียง
บัตรรายการ การจัดดำเนินงานเกี่ยวกับงานบริการและกิจกรรม
ห้องสมุด การเก็บสถิติ ประเมินผลงานและรายงานห้องสมุด การ
ประชาสัมพันธ์ห้องสมุด
ปฏิบ ัติง านจัดทำบัต รรายการ เรียงบัต รรายการ การบริก าร
พื้น ฐานห้องสมุด จัด นิท รรศการ จัด ทำคู่มือ การใช้ห ้อ งสมุด และ
ประชาสัมพันธ์งานห้องสมุด 3

เพื่อให้มค
ี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดทำบัตรรายการ
การให้บริการพื้นฐานของห้องสมุด จัดกิจกรรมและนิทรรศการ
ประชาสัมพันธ์งานห้องสมุด และสามารถนำความรู้ไปประกอบ
อาชีพได้
ผลการเรียนรู้
1. อธิบายประเภทของบัตรรายการได้
2. บอกวิธีการขัน
้ ตอนการบริการของห้องสมุดได้
3. อธิบายกิจกรรมห้องสมุดได้
34

4. บอกวิธีการเก็บงานเก็บสถิติ ประเมินผลงานและทำ
รายงานห้องสมุดได้
5. อธิบายงานประชาสัมพันธ์งานห้องสมุดได้
6. บอกวิธีแนวทางการประกอบอาชีพงานห้องสมุดได้

รวมทัง้ หมด 6 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชาเทคนิคสิ่งพิมพ์1 รหัสวิชา
ง 20203
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนต้น
35

เวลา 40 ชั่วโมง จ ำ น ว น 1.0


หน่วยกิต

ศึกษางานเทคนิคสิง่ พิมพ์ ประเภทหนังสือ วิธีการดำเนินงาน


เกี่ยวกับหนังสือ การคัดเลือก การจัดหา การลงทะเบียน การจัด
หมวดหมู่ การพิจารณาให้หัวเรื่อง การจัดทำบัตรรายการ การพิมพ์
บัตรรายการ การเรียงบัตรรายการ การจัดเตรียมหนังสือเพื่อให้
บริการ การซ่อมแซมบำรุงหนังสือ แบบต่าง ๆ การสำรวจและ
จำหน่ายหนังสือออกจากสมุดทะเบียนห้องสมุด การจัดทำ
บรรณานุกรมและบรรณนิทัศน์
ปฏิบัติงานเกี่ยวกับหนังสือ การคัดเลือก การจัดหา การลง
ทะเบียน การจัดหมวดหมู่ การพิจารณาให้หัวเรื่อง การ
จัดทำบัตรรายการ การพิมพ์บัตรรายการ การเรียงบัตรรายการ
การจัดเตรียมหนังสือเพื่อให้บริการ การซ่อมแซมบำรุงหนังสือ แบบ
ต่าง ๆ การสำรวจและจำหน่ายหนังสือออกจากสมุดทะเบียนห้อง
สมุด การจัดทำบรรณานุกรมและบรรณนิทัศน์
เพื่อให้มค
ี วามรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการดำเนินงานเกี่ยวกับ
หนังสือ การคัดเลือก การจัดหา การลงทะเบียน การจัดหมวด
หมู่ การพิจารณาให้หัวเรื่อง การจัดทำบัตรรายการ การพิมพ์บัตร
รายการ การเรียงบัตรรายการ การจัดเตรียมหนังสือเพื่อให้บริการ
การซ่อมแซมบำรุงหนังสือ แบบต่าง ๆ การสำรวจและจำหน่าย
หนังสือออกจากสมุดทะเบียนห้องสมุด และสามารถนำความรู้ไป
ประกอบอาชีพได้

ผลการเรียนรู้
36

1. บอกวัสดุสารนิเทศห้องสมุดได้
2. อธิบายความแตกต่างของความหมายและความ
สำคัญของหนังสือได้
3. บอกขัน
้ ตอน.การดำเนินงานเบื้องต้นเกี่ยวกับหนังสือ
ได้
4. บอกขัน
้ การจัดเตรียมรายละเอียดเกี่ยวกับหนังสือ ได้
5. อธิบายการการจัดเตรียมหนังสือเพื่อให้บริการได้
6. อธิบายการสำรวจและการระวังรักษาหนังสือได้

รวมทัง้ หมด 6 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชาเทคนิคสิ่งพิมพ์2 รหัสวิชา
ง 20204
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนต้น
เวลา 40 ชั่วโมง จ ำ น ว น 1.0
หน่วยกิต
37

ศึกษางานเทคนิคสิง่ พิมพ์ประเภท หนังสือพิมพ์ วารสาร


จุลสาร กฤตภาค วิธีการดำเนินงานเกี่ยวกับหนังสือพิมพ์ วารสาร
จุลสาร กฤตภาค การคัดเลือก การจัดหา การลงทะเบียน การจัด
หมวดหมู่ การพิจารณาให้หัวเรื่อง การจัดทำบัตรรายการ การพิมพ์
บัตรรายการ การเรียงบัตรรายการ การจัดเตรียมเพื่อให้บริการ
การสำรวจและจำหน่ายหนังสือออกจากสมุดทะเบียนห้องสมุด
ปฏิบัติงานเกี่ยวกับหนังสือพิมพ์ วารสาร จุลสาร กฤตภาค
การคัดเลือก การจัดหา การลงทะเบียน การ
จัดหมวดหมู่ การพิจารณาให้หัวเรื่อง การจัดทำบัตรรายการ การ
พิมพ์บัตรรายการ การเรียงบัตรรายการ การจัดเตรียมเพื่อให้
บริการ การสำรวจและจำหน่ายหนังสือออกจากสมุดทะเบียนห้อง
สมุด
เพื่อให้มค
ี วามรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการดำเนินงานเกี่ยวกับ
หนังสือพิมพ์ วารสาร จุลสาร กฤตภาค การคัดเลือก การจัดหา
การลงทะเบียน การจัดหมวดหมู่ การพิจารณาให้หัวเรื่อง การจัดทำ
บัตรรายการ การพิมพ์บัตรรายการ การเรียงบัตรรายการ การจัด
เตรียมเพื่อให้บริการ การสำรวจและจำหน่ายหนังสือออกจากสมุด
ทะเบียนห้องสมุด และสามารถนำความรู้ไปประกอบอาชีพได้

ผลการเรียนรู้
1. บอกความหมายและประเภทวารสาร
2. บอกความหมายและประเภทหนังสือพิมพ์
3. อธิบายการเตรียมจุลสาร ความหมาย การเลือก
และการจัดหาการจุลสารได้
4. บอกความหมายของกฤตภาคได้
38

5. อธิบายความหมายและประเภทของบรรณนิทัศน์ได้
6. บอกความหมายและประเภทของบรรณนานุกรมได้

รวมทัง้ หมด 6 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชางานช่าง 1 รหัสวิชา
ง 20205
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนต้น
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต

ศึกษา ความหมาย ความสำคัญของงานช่าง 1 ที่มีความ


จำเป็ นในชีวิตประจำวัน มีผลต่อการดำรงชีวิต การเลือกใช้วัสดุ
อุปกรณ์ในการทำงานที่ถูกต้อง เพื่อความปลอดภัยในการ ทำงาน
39

ซึ่งจะทำให้ภาระงานนัน
้ ประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่วาง
ไว้
เพื่อให้เกิดกระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการจัดทำ
กิจกรรม 5 ส ทักษะ กระบวนกลุ่มการรู้ประโยชน์และโทษของ
เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ ตลอดจนการจัดเก็บอย่างถูกวิธี ก็จะทำให้
การปฏิบัติงาน เป็ นไปด้วยความเรียบร้อย
มีนิสัยรักในการทำงาน มีความรับผิดชอบในหน้าที่ มีคุณธรรม
จริยธรรมที่ดีต่องานช่าง 1 มีจิตสำนึกใน การใช้พลังงาน
อนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

ผลการเรียนรู้
1. บอกความหมายความสำคัญของงานช่าง 1 ความปลอดภัย
ในการปฏิบัติงาน การปฐมพยาบาล ได้อย่างถูกต้อง
2. อธิบายวิธีการเลือกใช้ วัสดุอุปกรณ์ในการทำงานแต่ละ
สาขางานช่างได้อย่างถูกต้อง
3. อธิบายกระบวนการจัดทำกิจกรรม 5 ส และปฏิบัติได้ตาม
ขัน
้ ตอน
4. ปฏิบัติงาน การจัดเก็บเครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
กับงานช่าง 1 อย่างถูกวิธี
5. ฝึ กทักษะเบื้องต้นการใช้เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ในงานช่าง
แต่ละสาขาได้อย่างถูกต้อง

รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรียนรู้


40

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชางานช่าง 2 รหัสวิชา
ง 20206
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนต้น
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต

ศึกษา ความหมาย ความสำคัญของงานช่างแต่ละสาขาของ


ช่าง เช่น งานช่าง ไม้ งานช่างปูน งานช่างไฟฟ้ า งานช่างประปา
ช่างโลหะ งานช่างสี ที่มีความจำเป็ นในการดำรงชีวิตประจำวัน
ศึกษาต่อ มีผลต่อการดำรงชีวิต และเพื่อการศึกษาต่อในระดับที่สูง
ขึน
้ การเลือกใช้วส
ั ดุ อุปกรณ์ในการทำงานที่ถูกต้อง เพื่อความ
41

ปลอดภัยในการทำงาน ซึ่งจะทำให้ภาระงานนัน
้ ประสบความ
สำเร็จ ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้เพื่อให้เกิด กระบวนการคิด
วิเคราะห์
ทักษะกระบวนกกลุ่มการรู้ประโยชน์และโทษของเครื่องมือ
วัสดุอุปกรณ์ ตลอดจนการจัดเก็บอย่างถูกวิธี ซึ่งจะทำให้การ
ปฏิบัติงาน เป็ นไปด้วยความเรียบร้อย
มีนิสัยรักในการทำงาน มีความรับผิดชอบในหน้าที่ มีคุณธรรม
จริยธรรมที่ดีต่องานช่าง 2 มีจิตสำนึกใน การใช้พลังงาน
อนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ตระหนักใน ความรู้ความ
สามารถความชอบและความถนัดความสนใจในสาขางานช่าง 2

ผลการเรียนรู้
1. บอกความสำคัญของงานช่างไม้ งานช่างปูน งาน
ช่างไฟฟ้ า งานช่างประปา ช่างโลหะ งานช่างสี ได้
2. อธิบายถึงความจำเป็ นที่ต้องเรียนรู้งานช่างเพื่อการ
ดำรงชีวิต
3. บอกวิธีการเลือกใช้วส
ั ดุ อุปกรณ์ในการทำงานที่
ถูกต้อง
4. อธิบายวิธีการจัดเก็บวัสดุ อุปกรณ์ในการทำงานได้
อย่างถูกต้องและปลอดภัย
5. อธิบายถึงการวางแผนการศึกษาต่อในสาขาวิชาช่าง
ต่างๆที่สนใจและถนัดได้

รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรียนรู้


42

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชาเขียนแบบ 1 รหัสวิชา
ง 20207
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนต้น
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต
ศึกษา ความหมาย ความสำคัญของการเขียนแบบ 1 ที่มี
ความจำเป็ นในการเรียน วัสดุ อุปกรณ์ที่จำเป็ นต้องใช้ในการเขียน
แบบ ประโยชน์ของการเขียนแบบ ประวัติ วิวัฒนาการของการ
เขียนแบบเพื่อให้เกิดกระบวนการคิดวิเคราะห์
มีทักษะกระบวนการใช้เครื่องมือเขียนแบบได้อย่างถูกต้อง
คล่องแคล่ว
มีนิสัยรักในการทำงาน มีความรับผิดชอบในหน้าที่ มีคุณธรรม
จริยธรรมที่ดีต่อการเรียน วิชาเขียนแบบ 1 มีจิตสำนึกใน
43

การใช้พลังงาน อนุรักษ์ทรัพยากรแลสิ่งแวดล้อม ตระหนักในความรู้


เห็นคุณค่าของการเขียนแบบ

ผลการเรียนรู้
1. บอกประวัติและวิวัฒนาการ ของการเขียน
แบบ 1 ได้
2. บอกความหมาย ความสำคัญและประโยชน์ของ
การเขียนแบบ 1 ได้
3. บอกวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็ นต้องใช้ในการเขียน
แบบ 1 ได้
4. ฝึ กปฏิบัติการเขียนแบบ 1 ตามลักษณะต่างๆได้
ถูกต้อง
5. อธิบายการใช้พลังงาน อนุรักษ์ทรัพยากรและสิง่
แวดล้อมในการเขียนแบบ 1 ได้

รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรียนรู้


44

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชา เขียนแบบ 2 รหัสวิชา


ง 20208
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนต้น
เวลา 40 ชั่วโมง จ ำ น ว น 1.0
หน่วยกิต

ศึกษา ความหมาย ความสำคัญของการอ่านและเขียน


แบบ 2 ประโยชน์ของ การเขียน ภาพ ไอโซเมตริก ภาพอ
อบลิค ภาพสเกตซ์ ภาพฉาย
เพื่อให้เกิดทักษะ กระบวนการคิดการฝึ กจินตนาการ ทักษะ
การอ่านและเขียนแบบ การ เขียนภาพ ไอโซ
เมตริก ภาพออบลิค ภาพสเกตซ์ ภาพฉาย
มีนิสัยรักในการทำงาน มีความรับผิดชอบในหน้าที่ มีคุณธรรม
จริยธรรมที่ดีต่อการเรียน วิชาเขียนแบบ 2 มีจิตสำนึกใน
45

การใช้พลังงาน อนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมตระหนักในความ
รู้เห็นคุณค่าของการเขียนแบบ

ผลการเรียนรู้
1. บอกความหมาย ความสำคัญของการอ่านและ
เขียนแบบ 2 ได้
2. บอกประโยชน์ของ การเขียน ภาพ ไอโซเมตริก ภา
พออบลิค ภาพสเกต ภาพฉายได้
3. อธิบายขัน
้ ตอนการอ่านและเขียนแบบ กา เขียน
ภาพ ไอโซเมตริก ภาพออบลิค
ภาพสเกตซ์ ภาพฉายได้
4. บอกวิธี การใช้พลังงาน อนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่ง
แวดล้อมในการเขียนแบบ 2 ได้

รวมทัง้ หมด 4 ผลการเรียนรู้


46

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชางานเชื่อมไฟฟ้ า 1 ร ห ัส ว ิช า
ง 20209
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนต้น
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต

ศึกษา กฎระเบียบความปลอดภัยของไฟฟ้ าที่ใช้กับเครื่อง


เชื่อมไฟฟ้ า ประวัติ ความเป็ นมา และวิวัฒนาการของการเชื่อม
ไฟฟ้ า วิธีการเชื่อมไฟฟ้ าพื้นฐาน ท่าเชื่อมไฟฟ้ า แบบต่าง ๆวัสดุ
อุปกรณ์จำเป็ นต้องใช้ในการป้ องกันอวัยวะของร่างกายขณะปฏิบัติ
กาเชื่อม ไฟฟ้ า ชนิด ประเภทของเครื่องเชื่อมไฟฟ้ า การบำรุงรักษา
ตลอดจนการใช้งานและจัดเก็บ อย่างถูกวิธี
โดยใช้ทักษะกระบวนการทำงาน ฝึ กปฏิบัติการใช้เครื่องมือ
วัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็ นใน การเชื่อมไฟฟ้ า ลำดับขัน
้ ของการฝึ กเชื่อม
ไฟฟ้ า ท่าพื้นฐาน 4 ท่า และอภิปราย กฎความปลอดภัยในการฝึ ก
ปฏิบัติ เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิดในการป้ องกันอุบัติเหตุที่จะเกิด
ขึน
้ ขณะฝึ กปฏิบัติการเชื่อมไฟฟ้ า
เห็นคุณค่าของการนำความรู้การเชื่อมไฟฟ้ าไปใช้ในชีวิต
ประจำวัน เพื่อการศึกษาต่อมีวินัย มีความรับผิดชอบ มี
47

ความมุ่งมั่นในการฝึ กปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟ้ า มีคณ


ุ ธรรม จริยธรรม
ตระหนักในหน้าที่ความรับผิดชอบต่อสังคม สิง่ แวดล้อมและการ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ได้อย่างเหมาะสม

ผลการเรียนรู้
1. บอกประวัติของของการเชื่อมไฟฟ้ าได้
2. บอกประเภทของเครื่องเชื่อมไฟฟ้ าได้
3. อธิบายถึงการใช้อุปกรณ์และเครื่องมือในการเชื่อม
ไฟฟ้ าได้อย่างถูกต้อง
4. อธิบายวิธีการเลือกลวดเชื่อมไฟฟ้ าให้เหมาะสมกับ
วัสดุที่จะเชื่อมและงาน ที่จะต้องปฎิบัติได้
5. ฝึ กปฎิบัติการเชื่อมไฟฟ้ าในตำแหน่งท่าเชื่อมพื้น
ฐานจำนวน 4 ท่าและ การรักษาความ
ปลอดภัยในขณะเชื่อมไฟฟ้ าได้

รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรียนรู้


48

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชางานเชื่อมไฟฟ้ า 2 ร ห ัส ว ิช า
ง 20210
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนต้น
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต

ศึกษา วิธีการ และปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟ้ า การเชื่อมเหล็กแผ่น


หนา บาง การเชื่อมไฟฟ้ า ท่าราบขนานนอน เชื่อม เหล็กรูปพรรณ
ต่าง ๆ กับเหล็กแผ่น การใช้พลังงานต่าง ๆ ในงานเชื่อม ไฟฟ้ าอย่าง
ประหยัดและคุ้มค่า
โดยใช้ทักษะกระบวนการทำงาน ฝึ กปฏิบัติการใช้เครื่องมือ
วัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็ นในการ เชื่อมไฟฟ้ า ลำดับขัน
้ ของการฝึ กเชื่อม
ไฟฟ้ า ของเหล็กแต่ละชนิด และอภิปราย กฎ และความปลอดภัยใน
การฝึ กปฏิบัติ เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิดในการป้ องกันอุบัติเหตุที่
จะเกิดขึน
้ ขณะฝึ กปฏิบัติการเชื่อมไฟฟ้ า
เห็นคุณค่าของการนำความรู้การเชื่อมไฟฟ้ าและการเลือกใช้
เหล็กแต่ละประเภทให้ตรง กับงาน มีลก
ั ษณะนิสัยรักใน
การทำงาน มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึกในการใช้พลังงาน
อนุรักษ์ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

ผลการเรียนรู้
49

1. บอกวิธีการปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟ้ าการเชื่อม เหล็ก


แผ่นหนาเหล็กบาง การเชื่อมไฟฟ้ า ท่าราบ ท่า
ขนานนอน ได้
2. อธิบายการเชื่อม เหล็กรูปพรรณต่าง ๆ กับเหล็ก
แผ่นได้
3. บอกขัน
้ ของการฝึ กเชื่อมไฟฟ้ า ของเหล็กแต่ละชนิด
ได้
4. อภิปราย กฎและความปลอดภัยในการฝึ กปฏิบัติ
การฝึ กเชื่อมไฟฟ้ าได้
5. บอกสาเหตุปัญหาและแนวทางแก้ไขในการเชื่อม
เหล็กแต่ล่ะประเภทได้
6. ปฏิบัติงานกลุ่มโครงงานผลิตภัณฑ์จากเหล็กได้

รวมทัง้ หมด 6 ผลการเรียนรู้


50

คำอธิบายรายวิชา
รายวิชาการใช้โปรแกรมกราฟิ ก
รหัสวิชา ง 20211
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนต้น
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษาการใช้โปรแกรมกราฟิ ก เรียนรู้หลักการสร้างงาน
กราฟิ กและการใช้เครื่องมือพื้นฐาน เรียนรู้การตกแต่งและตัดภาพ
เฉพาะส่วน การปรับรูปทรงภาพด้วยวิธี Transform การสร้าง
ข้อความ การตกแต่งภาพในรูปแบบต่างๆ การทำงานกับเลเยอร์
(layer) การวาดภาพและรูปทรงความรู้เรื่องสีและเลือกใช้โหมดสี
การปรับแต่งภาพ การตกแต่งภาพด้วยการรีทัช การตกแต่งภา
พด้วยฟิ ลเตอร์ การนำภาพกราฟิ กไปเผยแพร่และการใช้งานใน
โอกาสต่างๆ
โดยใช้ทักษะในการแสวงหาความรู้และประสบการณ์ใน
การนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีทักษะ
ในการทำงานร่วมกับผู้อ่ น
ื สามารถตัดสินใจและแก้ปัญหาในการ
ทำงาน
เพื่อให้ผู้เรียน มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดีต่องาน
และเห็นคุณค่าในการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้งานต่างๆ

ผลการเรียนรู้
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโปรแกรมกราฟิ กต่างๆ
51

2. สามารถอธิบายส่วนประกอบต่างๆ ของโปรแกรม
Photoshop ได้
3. สามารถจัดการไฟล์รูปภาพได้
4. สามารถปรับแต่งส่วนของรูปภาพ ได้
5. สามารถใช้เครื่องมือในการวาดภาพ และระบายสีภาพ
การสร้างตัวอักษร การปรับแต่งสี
การใช้ Channel, Filter ได้
6. สามารถปรับแต่งและตัดต่อภาพได้ มีความคิดสร้างสรรค์
ในการทำงาน
7. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดีต่องาน และเห็น
คุณค่าในการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้งานต่างๆ
รวมทัง้ หมด 7 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชา
52

รายวิชาโปรแกรม Microsoft word รหัสวิชา


ง 20212
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนต้น
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษาเกี่ยวกับความรู้พ้น
ื ฐานความสำคัญในการใช้งานใช้
โปรแกรมประมวลคำ รู้จักและเลือกใช้โปรแกรมเพื่อการปฏิบัติงาน
สำนักงาน
ใช้ทักษะกระบวนการปฏิบัติงานฝึ กปฏิบัติการใช้โปรแกรม
ประมวลคำโดยการ แก้ไขข้อความ กำหนดขอบเขตในการพิมพ์
และการจัดย่อหน้า ตัง้ ระยะและการจัดรูปแบบเอกสาร ค้นหาคำ
และแทนที่คำ ทำงานเป็ นบล็อก จัดทำตารางและพิมพ์เอกสาร
ประเภทต่างๆ เช่น จดหมาย แผ่นพับ บันทึกใบปลิว รายงาน
จดหมายแจ้งข่าวสาร การคำนวณ เบื้องต้นตลอดจนเอกสารอื่นๆ
มีความรับผิดชอบ มีระเบียบวินัย ซื่อสัตย์ รักความสะอาด
ขยัน อดทน ทำงานร่วมกับผู้อ่ น

ได้ และผลิตชิน
้ งาน นำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

ผลการเรียนรู้
1. อธิบายหน้าที่ หลักการทำงานและ ส่วนประกอบบนหน้าต่าง
ของโปรแกรม Microsoft word
2. เข้าใจการทำงาน การใช้คำสั่งต่างๆ กระบวนการทำงานของ
โปรแกรม Microsoft word
53

3. มีทักษะใช้โปรแกรม Microsoft word สร้างเอกสารตามด้วย


ลักษณะต่าง ๆที่กำหนดนำเสนอผลงานในรูปแบบที่เหมาะสม
และนำไปใช้ในการพัฒนาอาชีพได้
4. เห็นคุณค่า มีจิตสำนึกและมีความรับผิดชอบในการสร้างงาน
ด้วยโปรแกรม Microsoft word

รวมทัง้ หมด 4 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชา
54

รายวิชาการทำ Motion Graphic ด้วย PowerPoint


รหัสวิชา ง 20213
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนต้น
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษาการใช้โปรแกรมการนำเสนองาน เกี่ยวกับความหมาย
บทบาท ความสำคัญของการนำเสนองานด้วยอินโฟกราฟิ ก
(Inforgraphic) หลักการออกแบบ การนำเสนองานอินโฟกราฟิ ก
(Inforgraphic) การสร้างภาพเคลื่อนไหว การแทรก การแทรก
ข้อความ รูปภาพ เสียง วีดีโอ การใส่เอฟเฟคต่างๆ ประกอบการนำ
เสนองาน การสร้าง link การใช้โปรแกรมนำเสนองาน และการ
สืบค้นข้อมูลเพื่อนำมาสร้างงานนำเสนอ ด้วยโปรแกรม Microsoft
PowerPoint
โดยใช้ทักษะกระบวนการเทคโนโลยี เพื่อฝึ กทักษะการนำ
เสนองานด้วยอินโฟกราฟิ ก (Inforgraphic) หลักการออกแบบ
การนำเสนองานอินโฟกราฟิ ก (Inforgraphic) การสร้างภาพ
เคลื่อนไหว การแทรก การแทรกข้อความ รูปภาพ เสียง วีดีโอ การ
ใส่เอฟเฟคต่าง ๆ ประกอบการนำเสนองาน การสร้าง link การใช้
โปรแกรมนำเสนองาน และการสืบค้นข้อมูลเพื่อนำมาสร้างงานนำ
เสนอ ด้วยโปรแกรม Microsoft PowerPoint
เพื่อให้เกิดผู้เรียนเห็นคุณค่า มีคณ
ุ ธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึก
ในการใช้เทคโนโลยีอย่างถูกต้องและเหมาะสม และมีความคิดริเริ่ม
สร้างสรรค์ และการนำเสนองานได้ตรงตามวัตถุประสงค์ เกิดความ
สามารถในการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ มีลักษณะนิสัยที่ดีในการ
55

ทำงานร่วมกับผู้อ่ น
ื ใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ มีคณ
ุ ธรรม และ
มีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ

ผลการเรียนรู้
1. อธิบายความหมาย บทบาท ความสำคัญหลักการออกแบบ
ของการนำเสนองานด้วยอินโฟกราฟิ ก (Infographic)
2. เข้าใจการทำงาน กระบวนการทำงานของการนำเสนองาน
ด้วยอินโฟกราฟิ ก (Infographic)
3. อธิบายหลักการสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วยโปรแกรม
Microsoft PowerPoint
4. มีทักษะการทำงาน การแสวงหาความรู้ในการสร้างภาพ
เคลื่อนไหว ด้วยโปรแกรม Microsoft PowerPoint ได้อย่าง
เหมาะสม
5. มีทักษะการออกแบบการนำเสนองานอินโฟกราฟิ ก
(Infographic) ด้วยโปรแกรม Microsoft PowerPoint ได้
6. มีลักษณะนิสัยที่ดีในการทำงานร่วมกับผู้อ่ น
ื ใช้เทคโนโลยีเพื่อ
พัฒนาอาชีพ มีคณ
ุ ธรรม และมีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
รวมทัง้ หมด 6 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชา
56

รายวิชาโปรแกรมนำเสนอ รหัส
วิชา ง 20214
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนต้น
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษาความรู้พ้น
ื ฐานในการใช้โปรแกรมนำเสนอ (Microsoft
PowerPoint) ในการสร้าง
งานนำเสนออย่างมีคุณภาพ สามารถออกแบบงานนำเสนอและใส่
ลูกเล่นต่าง ๆเพื่อความน่าสนใจ ไม่ว่าจะเป็ น ข้อความ รูปภาพ
เสียง วีดีโอ อีกทัง้ ยังสามารถเชื่อมโยงโต้ตอบกับผู้ใช้งานได้เป็ น
อย่างดี
ฝึ กทักษะกระบวนการทำงานที่มุ่งเน้นการฝึ กวิธีการทำงาน
อย่างสม่ำเสมอ  เป็ นรายบุคคล 
และการทำงานเป็ นกลุ่ม  มีทักษะกระบวนการในการสร้างสรรค์   
ทำงานด้วยความมุ่งมั่น  ขยัน  อดทน 
ซื่อสัตย์ 
เสียสละ  มีระเบียบวินัย  ทำงานตามขัน
้ ตอนมีจิตสาธารณะ 
เห็นคุณค่าภูมิปัญญาท้องถิ่น
และใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด  คุ้มค่า  นำหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงมาเป็ นแนวทางในการปฏิบัติงาน  ในการเรียนรู้  พร้อมทัง้
สอดแทรกมาตรฐานอุตสาหกรรมเพื่อนำไปใช้ในการดำรงชีวิตอย่าง
มีความสุข ในฐานะพลเมืองของประชาคมอาเซียนและสังคมโลก

ผลการเรียนรู้
57

1. มีความรู้ความเข้าใจ หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ องค์


ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์
ได้อย่างเหมาะสมกับงาน
2. สามารถบอกส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft
PowerPoint
3. มีความเข้าใจและมีทักษะในการใช้โปรแกรม Microsoft
PowerPoint
4. มีความเข้าใจระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น สามารถ
สืบค้นข้อมูล ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูล และหาความรู้ผ่าน
คอมพิวเตอร์ เพื่อนำมาใช้ในงานนำเสนอ Microsoft
PowerPoint ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5. สามารถสร้างงานนำเสนอจากโปรแกรม Microsoft
PowerPoint ได้ตามที่วางแผนไว้ ทำงานด้วยความรับผิด
ชอบ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
6. มีระเบียบวินัย  ทำงานตามขัน
้ ตอนมีจิตสาธารณะ  เห็น
คุณค่าภูมิปัญญาท้องถิ่น
และใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด  คุ้มค่า 
รวมทัง้ หมด 6 ผลการเรียนรู้
58

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชาการสร้างเว็บไซต์เบื้องต้น
รหัสวิชา ง 20215
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนต้น
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต

เข้าใจและอธิบายหลักการทำงานการสร้างเว็ปเพจ ด้วย
โปรแกรมสำเร็จรูป Macromedia Dreamweaver 8 การประยุกต์
การสร้างเว็บไซต์ การจัดและการตกแต่งข้อความ การแทรก
รูปภาพลงในเว็บเพจการสร้างตาราง การสร้างจุดเชื่อมโยงในแต่ละ
หน้าเว็บเพจ เว็บไซต์
มีทักษะในการทำงาน ทักษะการแสวงหาความรู้ ในการใช้
โปรแกรมประยุกต์ในการออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ได้
มีลักษณะนิสัยที่ดีในการทำงาน มีจิตสำนึกที่ดีในการใช้
เทคโนโลยี มีคณ
ุ ธรรมและเจตคติที่ดีต่ออาชีพ

ผลการเรียนรู้
1. เข้าใจและอธิบายหลักการทำงานการสร้างเว็ปเพจ ด้วย
โปรแกรมสำเร็จรูป Macromedia Dreamweaver 8
2. เข้าใจความหมายของเว็บเพจ  เว็บไซต์และอุปกรณ์ที่
เกี่ยวข้องได้
59

3. อธิบาย และเลือกใช้แถบเครื่องมือได้อย่างเหมาะสม
4. ออกแบบและจัดทำเว็บไซต์โดยโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ได้
5. อธิบายบทบาทและผลกระทบของเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตที่มี
ต่อชีวิตประจำวันได้
6. มีลักษณะนิสัยที่ดีในการทำงาน มีจิตสำนึกที่ดีในการใช้
เทคโนโลยี  มีคณ
ุ ธรรมและเจตคติที่ดีต่ออาชีพ

รวมทัง้ หมด 6 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชา
รายวิชาโปรแกรม Desktop Author รหัสวิชา
ง 20216
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนต้น
60

เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษาค้นคว้า อธิบาย ปฏิบัติ การใช้โปรแกรมเดสทอปออเท


อร์ การสร้างงานด้านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ การสร้างปกหน้า การ
สร้าง links การสร้าง Popup Image การสร้างแบบทดสอบ และ
การนำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไปเผยแพร่ผลงานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
ปฏิบัติการใช้โปรแกรมประยุกต์คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ
และพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เพื่อให้มค
ี วามรู้ความเข้าใจและทักษะในการสร้างหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป
 เห็นคุณค่าของการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้งาน และมี
คุณธรรมจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีต่อไป

ผลการเรียนรู้

1. สามารถเข้าสู่โปรแกรมเดสทอปออเทอร์ได้
2. อธิบายส่วนประกอบต่างๆของโปรแกรมเดสทอปออเทอร์
ได้
3. สามารถเลือกใช้คำสั่งจากเมนูและแถบเครื่องมือของ
โปรแกรมได้
4. สามารถสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์และตกแต่งหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ได้
5. สามารถใช้โปรแกรมเดสทอปออเทอร์ในการสร้างงานต่างๆ
ได้
61

รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชา
รายวิชาตารางคำนวณ
รหัสวิชา ง 20217
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนต้น
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษาและฝึ กปฏิบัติเกี่ยวกับการเรียกใช้โปรแกรม Excel การ


ทำงานกับเวิร์กชีท การจัดรูปแบบข้อมูลและสูตรและฟั งก์ชั่น
62

ฝึ กปฏิบัติโดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสืบค้น
กระบวนการออกแบบ และมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีในการ
ทำงาน
มีนิสัยรักการทำงาน รักการค้นคว้า มีความรับผิดชอบ
ขยัน อดทน ทำงานเป็ นระบบ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมี
เจตคติที่ดีต่อการใช้เทคโนโลยีในการทำงาน

ผลการเรียนรู้
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับส่วนประกอบ เครื่องมือของ
โปรแกรมตารางคำนวณ
2. สามารถ จัดเก็บ แก้ไขและตกแต่งข้อมูล ใช้สูตรและฟั งก์ชั่นเบื้อง
ต้น
3. สามารถวิเคราะห์ สรุป และรายงานข้อมูลในรูปแผนภูมิหรือ
ตารางวิเคราะห์ข้อมูล
4. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดีในการใช้เทคโนโลยีในการ
ทำงาน
รวมทัง้ หมด 4 ผลการเรียนรู้
63

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชาพื้นฐาน

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชาการงานอาชีพ รหัสวิชา
ง 31101
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 2
เวลา 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5
หน่วยกิต

ศึกษาวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต ด้านหน้าที่และ
บทบาทของตนเองที่มีต่อสมาชิก ในครอบครัว โรงเรียน
64

และชุมชนอาหาร การดูแลรักษาบ้าน ทำความสะอาด จัด ตกแต่ง


บ้านและโรงเรียน การเลือกใช้ ดูแลรักษาเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย
การตัดเย็บและดัดแปลงเสื้อผ้า การประดิษฐ์ของใช้ที่
เป็ นเอกลักษณ์ไทย การเก็บถนอม และแปรรูป
โดยใช้ทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการทำงานร่วมกัน
ทักษะการจัดการระบบงานและระบบคน ทักษะการแสวงหาความรู้
ทักษะการใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ และเทคโนโลยี และทักษะ
กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน เน้นการปฏิบัติเพื่อให้การ
ทำงานประสบผลสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ
เพื่อให้ผู้เรียนมีลักษณะนิสัยที่ดีในการทำงาน ใฝ่ เรียนรู้ มี
คุณธรรม ความประณีต ความขยัน อดทน ซื่อสัตย์ รับ
ผิดชอบ มีความคิดสร้างสรรค์ รักความเป็ นไทย ภูมิใจในผลสำเร็จ
ของงาน สามารถนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดำเนินชีวิต
ประจำวันเพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และสังคมในสภาพ
เศรษฐกิจที่พอเพียง

รหัสตัวชีว
้ ัด ง 1.1 ม.4–6/1 -7

รวมทัง้ หมด 7 ตัวชีว


้ ัด
65

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชาการงานอาชีพ รหัสวิชา
ง 32101
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 ภาคเรียนที่ 2
เวลา 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5
หน่วยกิต

ศึกษาวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต ด้านการปลูกพืช ขยาย


พันธุ์พืช หรือเลีย
้ งสัตว์การบำรุงรักษาเครื่องใช้ไฟฟ้ า และอุปกรณ์
อำนวยความสะดวกในชีวิตประจำวัน การดำเนินการทางธุรกิจ การ
ติดตัง้ ประกอบ ซ่อมแซมอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ สิ่งอำนวย
ความสะดวกในบ้านและโรงเรียน และแนวทางเข้าสู่อาชีพที่สนใจ
โดยใช้ทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการทำงานร่วมกัน
การอภิปรายขัน
้ ตอนการทำงาน ทักษะการจัดการระบบงานและ
ระบบคน ทักษะการแสวงหาความรู้ ทักษะการใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ
และเทคโนโลยี และทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน เน้น
66

การปฏิบัติเพื่อให้การทำงานประสบผลสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพมี
ประสบการณ์ในอาชีพที่สนใจ
เพื่อให้ผู้เรียนมีลักษณะนิสัยที่ดีในการทำงาน ใฝ่ เรียนรู้ มี
คุณธรรม ความประณีต ความขยัน อดทน ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ มี
ความคิดสร้างสรรค์ รักความเป็ นไทย ภูมิใจในผลสำเร็จของงาน
สามารถนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน
เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และสังคม ในสภาพ
เศรษฐกิจที่พอเพียง มีคณ
ุ ลักษณะที่ดีต่ออาชีพ

รหัสตัวชีว
้ ัด ง 1.1 ม.4–6/1 -7
ง 2.1 ม.4–6/1 - 4

รวมทัง้ หมด 11 ตัวชีว


้ ัด
67

รายวิชาเพิ่มเติม

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชาธุรกิจและการเป็ นผู้ประกอบการ รหัสวิชา


ง 30201
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต

ศึกษาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเป็ นผู้ประกอบการ การ


วางแผนเป้ าหมายชีวิตด้วยวงจร ควบคุมคุณภาพ การออมและการ
ลงทุน การวางแผนตลาดเบื้องต้น หลักเบื้องต้นในการบริหารงาน
คุณภาพและการวางแผนทรัพยากรบุคคล การเพิ่มผลผลิตในองค์กร
การวางแผนการดำเนินงานและการผลิต การจัดหาและการวางแผน
ทางการเงินรูปแบบแผนธุรกิจ การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอ
เพียงในการเป็ นผูป
้ ระกอบการ กฎหมายเบื้องต้นสำหรับผู้ประกอบ
การใหม่
โดยใช้ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการจัดการ
ทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการทำงานร่วมกัน และใช้ทักษะ
การแสวงหาความรู้
68

เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีเจตคติที่ดีต่อการเป็ นผู้


ประกอบการ เห็นคุณค่าของการเป็ นผู้ประกอบการ นำความรู้ที่
ศึกษาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง มีคณ
ุ ธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม

ผลการเรียนรู้
1. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการวางแผนเป้ าหมายชีวิต
ด้วยวงจรควบคุมคุณภาพการเป็ นผู้ประกอบการ การ
วางแผนและการจัดการทางการเงิน
2. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการบริหารงานคุณภาพและ
เพิ่มผลผลิตเบื้องต้น
3. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องในการเป็ นผู้
ประกอบการ
4. สามารถจัดทำแผนธุรกิจอย่างง่าย โดยประยุกต์ใช้
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักการ
บริหารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลิต
5. มีเจตคติที่ดีต่อการเป็ นผู้ประกอบการ และมีกิจนิสัย
ในการทำงานด้วยความรับผิดชอบ มีคณ
ุ ธรรม
จริยธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม

รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรียนรู้


69

คำอธิบายรายวิชา
รายวิชาการประกันภัย รหัสวิชา
ง 30202
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต

ศึกษาเรื่องการวางแผนการใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน ความ
สำคัญ และประโยชน์ของการประกันภัย ทฤษฎีการประกันภัย
หลักสำคัญของการประกันภัย ประเภทของการประกันภัย อาชีพ
เกี่ยวกับธุรกิจประกันภัยและจรรยาบรรณในวิชาชีพประกันภัย
โดยใช้ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการจัดการ
ทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการทำงานร่วมกัน และใช้ทักษะ
การแสวงหาความรู้
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ใน
การดำรงชีวิต เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ มีความตระหนัก
ในคุณค่าและมีทัศนคติที่ดีของอาชีพประกันภัย แสดงออก
ซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน

ผลการเรียนรู้
70

1. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการประกันภัยและประโยชน์ของ
การประกันภัย
2. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการประกันภัยและการ
ประกันภัยประเภทต่างๆ
3. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับอาชีพในการทำธุรกิจประกันภัย
กฎหมายและองค์กร ที่กำกับและส่งเสริม
การประกอบธุรกิจประกันภัย
4. วิเคราะห์ถึงสถานการณ์ที่เกิดขึน
้ กับผู้ประสบภัยและ
วิเคราะห์ถึงความต้องการความช่วยเหลือในการ
บรรเทาความเดือดร้อนของผู้ประสบภัย
5. เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ มีความตระหนัก
ในคุณค่าและมีทัศนคติที่ดีของอาชีพประกันภัย
แสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติ
งาน

รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรียนรู้


71

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจ รหัสวิชา
ง 30203
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต

ศึกษา เกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจทั่วไป รูปแบบ


ขององค์การธุรกิจ การจัดการทั่วไป แหล่งเงินทุนและ สถาบันการ
เงิน การบริหารงานบุคคล การเงินและการบัญชี การ
บริหารงานในองค์การ จรรยาบรรณและคุณสมบัติของ ผู้ประกอบ
การ
โดยใช้ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการจัดการ
ทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการทำงานร่วมกัน และใช้ทักษะ
การแสวงหาความรู้
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจ มีความ
ตระหนักถึงความสําคัญของธุรกิจกับการดำรงชีวิต สร้างเจตคติที่ดี
ในการประกอบอาชีพธุรกิจ เห็นแนวทางในการนำไปประกอบ
อาชีพในโอกาสต่อไป
72

ผลการเรียนรู้
1. รู้และเข้าใจในการประกอบธุรกิจเบื้องต้น
2. จำแนกความแตกต่างของธุรกิจแต่ละประเภท ได้
3. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการจัดตัง้ ธุรกิจและจดทะเบียน
ธุรกิจในรูปแบบต่าง ๆ
4. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการทั่วไป แหล่งเงินทุน
และ สถาบันการเงิน การบริหารงาน
บุคคล การเงินและการบัญชี การบริหารงานใน
องค์การ จรรยาบรรณและคุณสมบัติของ ผู้ประกอบ
การ
5. ตระหนักถึงความสําคัญของธุรกิจกับการดำรงชีวิต
สร้างเจตคติที่ดีในการประกอบอาชีพธุรกิจ เห็น
แนวทางในการนำไปประกอบอาชีพ

รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรียนรู้


73

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชาหลักการตลาด รหัสวิชา
ง 30204
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต

ศึกษาเกี่ยวกับความรู้พ้น
ื ฐานด้านการตลาด แนวความคิด
และสิ่งแวดล้อมทางการตลาด หน้าที่ทางการตลาดและจรรยา
บรรณด้านการตลาด ตลาด พฤติกรรมผู้บริโภค ผลิตภัณฑ์ ราคา
และองค์ประกอบเกี่ยวกับราคา การจัดจำหน่าย การส่งเสริมการ
ตลาด
โดยใช้ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการจัดการ
ทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการทำงานร่วมกัน และใช้ทักษะ
การแสวงหาความรู้
เพื่อให้มค
ี วามรู้ .ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานการตลาด การ
บริหารงานทางการตลาด ส่วนประสมทางการตลาด
และกลยุทธ์ทางการตลาด มีจิตสำนึก และจรรยาบรรณในการนำ
หลัก การตลาดไปใช้ในวิชาชีพ

ผลการเรียนรู้
74

1. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานการตลาด
2. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารงานทางการตลาด
3. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับส่วนผสมทางการตลาด  และ
กลยุทธ์ทางการตลาด
4. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับจรรยาบรรณของนักการตลาด
5. มีจิตสำนึกและจรรยาบรรณในการนำหลักการตลาด
ไปใช้ในวิชาชีพ

รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชา
75

รายวิชางานสำนักงาน รหัสวิชา
ง 30205
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต

ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับลักษณะงานสำนักงาน การจัด
สำนักงาน วัสดุอุปกรณ์สำนักงานและเครื่องใช้สำนักงาน หน้าที่และ
ความรับผิดชอบของพนักงานสำนักงาน การพัฒนาบุคลิกภาพ การ
ต้อนรับและการนัดหมาย การผลิตเอกสารงาน การสื่อสารและ
โทรคมนาคม ในสำนักงาน
โดยใช้ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการจัดการ
ทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการทำงานร่วมกัน และใช้ทักษะ
การแสวงหาความรู้
เพื่อให้มค
ี วามรู้ . ความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นของงาน
สำนักงาน การบริหารงานสำนักงาน สามารถนำเทคโนโลยีมา
ประยุกต์ใช้ในงานสำนักงาน มีจิตสำนึก และมีทัศนคติที่ดีต่องาน
สำนักงานและมองเห็นแนวทางเพื่อการประกอบอาชีพต่อไป

ผลการเรียนรู้
1. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับงานสำนักงาน
2. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับวางแผนงานสำนักงาน จัดผัง
สำนักงาน จัดสภาพแวดล้อม ในการทำงาน
76

3. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการงานเอกสารและงาน
พัสดุ การเขียนหนังสือติดต่อการเขียนรายงาน และ
การต้อนรับผู้มาติดต่อสำนักงาน
4. มีทักษะในการเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องใช้
สำนักงาน ในการจัดการงานเอกสารและงานพัสดุ
การเขียนหนังสือติดต่อ การเขียนรายงาน และการ
ต้อนรับผู้มาติดต่อสำนักงาน
5. มีจิตสำนึก และมีทัศนคติที่ดีต่องานสำนักงานและ
มองเห็นแนวทางเพื่อการประกอบอาชีพต่อไป

รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชาความปลอดภัย รหัสวิชา
ง 30206
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
77

เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0


หน่วยกิต

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการความปลอดภัยและ
กฎหมายในการปฏิบัติงานอาชีพและอุบัติภัย ที่เกิดจากการทำงาน
และการควบคุมป้ องกันการปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการ
ความปลอดภัยและกฎหมายเบื้องต้นเกี่ยวกับความปลอดภัย
เครื่องหมายและสัญลักษณ์ความปลอดภัย เครื่องป้ องกันอันตราย
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น กฎหมายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ
งานอาชีว อนามัยและความปลอดภัย
มีทักษะในการวางแผนดำเนินการเบื้องต้นในการควบคุม
ป้ องกันมลพิษ โรคและอุบัติภัย ที่เกิดจากการทำงาน
วางแผนปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการและกฎหมายเกี่ยว
กับความปลอดภัย อ่านและปฏิบัติตามเครื่องหมายและสัญลักษณ์
ความปลอดภัยเลือกใช้เครื่องป้ องกันอันตรายตามสถานการณ์
ปฐมพยาบาลเบื้องต้นตามหลักการและกระบวนการ
มีจิตสำนึกและกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงานอาชีพตามหลัก
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

ผลการเรียนรู้
1. อธิบายหลักสุขศาสตร์อุตสาหกรรม มาตรฐานและ
กฎหมายความปลอดภัย ได้
2. สามารถจัดการความปลอดภัยในงานอาชีพ ใน
โรงงานหรือสถานประกอบการ ได้ มาตรฐาน พัฒนา
78

ความปลอดภัยโดยใช้เทคโนโลยีและวิศวกรรมความ
ปลอดภัย
3. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการทำงานด้วยความ
รอบคอบ ตระหนักถึงความปลอดภัย และสิ่ง
แวดล้อม

รวมทัง้ หมด 3 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชาเศรษฐศาสตร์ทั่วไป รหัสวิชา
ง 30207
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต
79

ศึกษาเกี่ยวกับความต้องการและความจำเป็ นทางเศรษฐกิจ
หน่วยเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจ หน้าที่ของผู้บริโภค สินค้าและ
บริการที่ธุรกิจและรัฐให้แก่ผู้บริโภค การคุ้มครองที่รัฐให้แก่ผู้บริโภค
หลักการเลือกซื้อสินค้าและบริการเฉพาะอย่าง การพิจารณาเลือก
ใช้สินเชื่อสำหรับผู้บริโภค การวางแผนการใช้จ่ายเงิน
การออม การลงทุน การใช้บริการประกันภัยและการประกันชีวิต
ปั ญหา เศรษฐกิจของผู้บริโภคและแนวทางแก้ไข
มีทักษะในการวิเคราะห์ปั ญหาเศรษฐกิจและหาแนวทาง
แก้ไข โดยใช้ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการจัดการ
ทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการทำงานร่วมกัน และใช้ทักษะ
การแสวงหาความรู้
ตระหนักถึงความสำคัญของการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์
และมีทัศนคติที่ดีต่อระบบเศรษฐกิจขัน
้ พื้นฐาน ในชีวิตประจำวัน
มองเห็นแนวทางในการนำความรู้เพื่อการปรับใช้ในการ
ดำรงชิวิตต่อไป

ผลการเรียนรู้
1. รู้ และเข้าใจเรื่ องหน่วยเศรษฐกิจและระบบ
เศรษฐกิจ
2. รู้ และเข้าใจเรื่ องการเลือกซื้ อสินค้าและบริการ
และการใช้สินค้า สำหรับผู้บริโภค
3. รู้ และเข้าใจเรื่ องวางแผนการใช้จ่ายเงิน การออม
และการลงทุน
4. วิเคราะห์ปั ญหาเศรษฐกิจและหาแนวทางแก้ไข
80

5. ตระหนักถึงความสำคัญของการศึกษาวิชา
เศรษฐศาสตร์

รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชาเขียนแบบเทคนิค รหัสวิชา
ง 30208
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น
มาตรฐานการเขียนแบบเทคนิค เส้น ตัวเลข ตัวอักษรมาตราส่วน
81

องค์ประกอบของการบอกขนาด มิติ กระดาษเขียนแบบ การใช้


อุปกรณ์เขียนแบบเบื้องต้น การเขียนเส้น มุม ตัวเลข ตัวอักษร
สัญลักษณ์งานช่างอุตสาหกรรม การใช้มาตราส่วน การบอกขนาด
มิติ การสร้างรูปทรงเรขาคณิต ภาพสามมิติ หลักการฉายภาพ
(OrthogaphicProjection) มุมที1
่ และมุมที่ 3 ภาพทอเรียล
( Pictorial) ภาพตัด ภาพช่วย ภาพคลี่เบื้องต้น การขนาดมิติที่ซับ
ซ้อน และแบบสั่งงาน การสัญลักษณ์เบื้องต้นในงานช่าง
อุตสาหกรรม
ทักษะในการใช้เครื่องมือการเขียนแบบอย่างถูกวิธี การ
แสวงหาความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ การแก้ปัญหาในการเขียน
แบบและการอ่านภาพฉายในลักษณะมุมต่างๆ
มีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงานอย่างประณีตเรียบร้อย มี
ระเบียบวินัย อดทน มีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความรอบคอบและ
ปลอดภัย ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและรักษาสภาพแวดล้อม

ผลการเรียนรู้
1. บอกหลักการเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้นได้
2. บอกมาตรฐานการเขียน แบบเทคนิค เส้น ตัวเลข ตัว
อักษรได้
3. ฝึ กการเขียน มาตราส่วน องค์ประกอบของการบอก
ขนาด มิติได้ เขียนการบอกขนาด มิติ ที่ซับซ้อนได้

รวมทัง้ หมด 3 ผลการเรียนรู้


82

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชา กฎหมายธุรกิจ รหัสวิชา


ง 30209
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต

ศึกษากฎหมายเบื้องต้นที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ อันได้แก่
กฎหมายซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให้เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ จ้างแรงงาน ค้ำ
ประกัน จำนอง จำนำ ห้า งหุ้น ส่ว นบริษ ัท บริษ ัท จำกัด พระราช
บัญญัติโรงงานและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ
83

เพื่อให้มค
ี วามรู้ความเข้าใจหลักกฎหมายที่สำคัญ ในทางธุรกิจ
ขัน
้ ตอนการปฏิบัติตามกฎหมายในการประกอบกิจกรรมต่างๆ
นำความรู้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจไปใช้ในการประกอบธุรกิจ
ต่างๆ และ แก้ปัญหาเบื้องต้นในทางกฎหมายที่เกี่ยวกับธุรกิจด้าน
ต่างๆ
มีจิตสำนึกที่ดีต่อการใช้กฎหมายเป็ นแนวทางในการประกอบ
วิชาชีพและการดำเนินชีวิต

ผลการเรียนรู้
1. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องในธุรกิจ
2. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับเอกสารสัญญาต่างๆในธุรกิจ
3. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับพระราชบัญญัติโรงงานและ
กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ
4. แก้ไขปั ญหาเบื้องต้นในทางกฎหมาย รวมทัง้ นำไป
ประยุกต์ใช้ในทางธุรกิจและการดำเนินชีวิต
5. มีจิตสำนึกที่ดีต่อการใช้กฎหมาย มีความรับผิดชอบ
และจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพทางธุรกิจ

รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรียนรู้


84

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชาองค์การและการจัดการ
รหัสวิชา ง 30210
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต

ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการ แนวคิดในการจัดตัง้
องค์การธุรกิจ การจัดองค์การ หลักการบริหารและหน้าที่สำคัญ
ของฝ่ ายบริหาร การวางแผน การจัดการงานบุคคล การอำนวย
การ การแรงงานสัมพันธ์ การควบคุมการปฎิบัติงาน การนำ
เทคโนโลยีใหม่มาใช้ในการจัดการ
เพื่อให้มค
ี วามรู้ ความเข้าใจ โครงสร้างขององค์กรธุรกิจทั่วไป
ขัน
้ ตอนและกระบวนการบริหารองค์การ สามารถนำไปประยุกต์
ใช้ได้ถูกต้อง ตลอดจนสามารถนำความรู้ไปใช้เป็ นบรรทัดฐานในการ
ตัดสินใจในการปฎิบัติงาน โดยใช้ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา
85

ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการทำงานร่วม


กัน และใช้ทักษะการแสวงหาความรู้
มีเ จตคติท ี่ด ีต ่อ ระบบบริห ารงานองค์ก ร สามารถนำความรู้
เกี่ยวกับการบริหารจัดการองค์การไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

ผลการเรียนรู้

1. รู้และเข้าใจความรู้พ้น
ื ฐานด้านการบริหารจัดการ หลัก
ทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง
2. รู้และเข้าใจหลักการบริหารและหน้าที่สำคัญของฝ่ าย
บริหารทุกๆ ด้าน
3. มีเจตคติที่ดีต่อระบบบริหารงานองค์กร สามารถนำความรู้
เกี่ยวกับการบริหารจัดการองค์การไปประยุกต์ใช้ในชีวิต
จริงได้

รวมทัง้ หมด 3 ผลการเรียนรู้


86

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชา บัญชีเบื้องต้น รหัสวิชา


ง 30211
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต

ศึกษาความหมายและจุดประสงค์ของการบัญชี ประโยชน์ของ
ข้อมูลการบัญชี ข้อสมมุติ ตามแม่บทการบัญชี ความหมายของ
สินทรัพย์ หนีส
้ ิน และส่วนของเจ้าของ สมการบัญชีและงบดุล การ
วิเคราะห์รายการค้า การจดบันทึกรายการค้าตามหลักบัญชีคู่ของ
ธุรกิจบริการเจ้าของคนเดียว ในสมุดรายวันทั่วไป และผ่าน
รายการไปบัญชีแยกประเภท งบทดลอง กระดาษทำการ 6 ช่อง
การปิ ดบัญชี งบการเงิน และสรุปวงจรบัญชี
โดยใช้ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการจัดการ ทักษะ
กระบวนการทำงาน ทักษะการทำงานร่วมกัน และใช้ทักษะการ
แสวงหาความรู้
เพื่อให้มค
ี วามรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักการ วิธีการ และขัน

ตอนการจัดทำบัญชี มีทักษะปฏิบัติงานบัญชีเบื้องต้น มีกิจนิสัย
87

มีระเบียบ ละเอียดรอบคอบ มีวินัย ตรงต่อเวลา และมีเจตคติ


ที่ดีต่อวิชาชีพบัญชี

ผลการเรียนรู้
1. มีความรู้ความเข้าใจเรื่องความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชี
2. มีความรู้ความเข้าใจเรื่องสมการบัญชี
3. มีทักษะในการวิเคราะห์รายการค้า
4. มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการบันทึกรายการ
ค้าในสมุดรายวันทั่วไป
5. มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการบันทึกรายการ
ค้าในสมุดบัญชีแยกประเภท
6. มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะการจัดทำงบทดลอง
7. มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะการจัดทำกระดาษ
ทำการชนิด 6 ช่อง
8. มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะการจัดทำรายงานงบ
การเงิน
9. มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะเรื่องการปรับปรุง การ
ปิ ดบัญชีและสรุปวงจรบัญชี
10. มีกิจนิสัย มีระเบียบ ละเอียด รอบคอบ และมี
เจตคติที่ดีต่อวิชาบัญชี

รวมทัง้ หมด 10 ผลการเรียนรู้


88

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชา การขาย รหัสวิชา


ง 30212
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต

ศึกษาเกี่ยวกับความสำคัญของการขายและการตลาด ช่อง
ทางการจัดจำหน่าย ประเภทและลักษณะของการขาย ความรู้พ้น

ฐานของพนักงานขาย โอกาสและความก้าวหน้าของพนักงานขาย
ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการขาย หลักและวิธีการขายเบื้องต้น
คุณสมบัติและจรรยาบรรณของพนักงานขาย
โดยใช้ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการจัดการ
ทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการทำงานร่วมกัน และใช้ทักษะ
การแสวงหาความรู้
เพื่อให้มีความรู้ มีทักษะเกี่ยวกับการปฏิบัติการขายที่เป็ น
แนวการประกอบอาชีพและเพื่อหารายได้ระหว่างเรียน มีเจตคติที่
ดีต่ออาชีพขาย เห็นคุณค่าของการเป็ นนักขาย แสดงออกซึ่ง
คุณธรรมและจริยธรรมในการประกอบอาชีพนักขาย
89

ผลการเรียนรู้
1. รู้และเข้าใจหลักการขาย และความรู้พ้น
ื ฐานของงาน
ขาย
2. รู้ และเข้าใจเกี่ยวกับหน้าที่การขายประเภท และ
ลักษณะของงานขาย
3. รู้และเข้าใจการเตรียมความพร้อมสำหรับการเป็ นนัก
ขายที่ดี
4. มีทักษะและประสบการณ์ด้านปฏิบัติงานขายขัน
้ โดย
ใช้เทคโนโลยี และทักษะกระบวนการกลุ่ม
กระบวนการแก้ปัญหา
5. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการทำงานด้วยความรับ
ผิดชอบความซื่อสัตย์สุจริต ความเชื่อมั่น
ในตนเองและความมีมนุษย์สัมพันธ์

รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรียนรู้


90

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชากฎหมายพาณิชย์ รหัสวิชา
ง 30213
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5
หน่วยกิต

ศึกษาเกี่ยวกับประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วย
บุคคล นิติกรรม สัญญา หนี ้
และเอกเทศสัญญาเฉพาะ สัญญาที่เกี่ยวกับการซื้อขาย เช่าซื้อ จ้าง
ทำของ รับขน การยืม การค้ำประกัน
การจำนอง-จำนำ การฝากทรัพ ย์ และวิธ ีก ารจัด ทำเอกสารที่
เกี่ยวข้องกับกฎหมาย
โดยใช้ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการจัดการ
ทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะ การทำงานร่วมกัน
และใช้ทักษะการแสวงหาความรู้
เพื่อให้มีความรู้ มีทักษะเกี่ยวกับกฎหมายที่สำคัญและ
เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ขัน
้ ตอน การปฏิบัติตามกฎหมายใน
การประกอบธุรกิจ เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติตาม
หลักกฎหมายธุรกิจ
91

ผลการเรียนรู้
1. รู้และเข้าใจหลักการที่เกี่ยวข้องกับบุคคล นิติกรรม
สัญญา และหนี ้
2. รู้และเข้าใจหลักการกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
3. วิเคราะห์สถานการณ์แก้ไขปั ญหาเบื้องต้นในทาง
กฎหมาย รวมทัง้ นำไปประยุกต์ใช้ในทางธุรกิจและ
การดำเนินชีวิตได้
4. มีจิตสำนึกที่ดีต่อการใช้กฎหมาย มีความรับผิดชอบ
และจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพทางธุรกิจ
ทำงานด้วยความรับผิดชอบความซื่อสัตย์

รวมทัง้ หมด 4 ผลการเรียนรู้


92

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชาวัสดุช่างอุตสาหกรรม รหัสวิชา
ง 30214
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต

ศึกษาลักษณะ ชนิด มาตรฐาน กรรมวิธีการผลิต การใช้งาน


วัสดุในงานอุตสาหกรรม ประกอบด้วยโลหะ อโลหะ โลหะผสม
อิทธิพลของธาตุที่มีผลต่อโลหะผสม เชื้อเพลิง วัสดุหล่อลื่นและวัสดุ
หล่อเย็น วัสดุก่อสร้าง วัสดุสังเคราะห์ วัสดุไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์
การกัดกร่อนและการป้ องกัน การตรวจสอบวัสดุเบื้องต้น พลังงาน
ในอนาคต
มีทักษะในการ เลือกซื้อหาวัสดุอุตสาหกรรมมาใช้และจัดเก็บ
ได้ตรงตามมาตรฐาน
ตระหนักถึงคุณค่าของวัสดุ นำวัสดุมาใช้ให้เกิดประโยชน์
สูงสุด มีคุณธรรม จริยธรรมในการใช้วัสดุช่างอุตสาหกรรม อนุรักษ์
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

ผลการเรียนรู้
1. บอกลักษณะ ชนิด มาตรฐาน กรรมวิธีการผลิต การ
ในอุตสาหกรรมได้
2. อธิบายคุณลักษณะของ โลหะ อโลหะ โลหะผสมได้
93

3. บอกถึงคุณลักษณะของวัสดุหล่อลื่นและวัสดุหล่อเย็น
วัสดุก่อสร้าง วัสดุสังเคราะห์ วัสดุไฟฟ้ า
อิเล็กทรอนิกส์ได้
4. อธิบายการกัดกร่อนและการป้ องกัน การตรวจสอบ
วัสดุเบื้องต้นได้
5. บอกวิธีการตรวจสอบวัสดุเบื้องต้นได้

รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชา
94

รายวิชาการภาษีอากร รหัสวิชา
ง 30215
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต

ศึกษาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีอากร แนวคิดและบทบาท
ของภาษีอากรในส่วนที่เกี่ยวเนื่องกับนโยบายการคลังของรัฐ หลัก
การและวิธีการประเมินภาษี ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้
นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ ภาษี
สรรพสามิต ภาษีศุลกากร และภาษีอ่ น
ื ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ
โดยใช้ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการจัดการ ทักษะ
กระบวนการทำงาน ทักษะการทำงานร่วมกัน และใช้ทักษะการ
แสวงหาความรู้
เพื่อให้มค
ี วามรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับความสำคัญของการเสีย
ภาษีอากร ตลอดจนบทบาทของภาษีอากรที่เกี่ยวเนื่อง มีเจตคติที่ดี
ต่อการจัดเก็บภาษีอากรของภาครัฐ แสดงออกซึ่งคุณธรรมและ
จริยธรรมในการปฏิบัติงานด้านภาษีอากร

ผลการเรียนรู้
1. รู้และเข้าใจถึงแนวคิด หลักการ ความสำคัญของการ
จัดเก็บภาษีอากร วัตถุประสงค์และอัตราภาษี
2. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ในการจัดเก็บ การยื่น
แบบรายการเสียภาษี
95

3. รู้และเข้าใจวิธีการคำนวณภาษีอากร การชำระภาษี
และปั ญหาต่างๆ
4. ปฏิบัติงานวิธีการคำนวณตามแบบแสดงรายการเพื่อ
เสียภาษีเงินได้ ตามประมวลรัษฎากร
5. มีเจตคติที่ดีต่อการจัดเก็บภาษีอากรของภาครัฐ
แสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรม ในการปฏิบัติ
งานด้านภาษีอากร

รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชา
รายวิชาเขียนแบบก่อสร้าง รหัสวิชา
ง 30216
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
96

เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0


หน่วยกิต

ศึกษาการเขียนแบบแปลน รูปตัด รูปด้าน โครงสร้าง งาน


ระบบสุขาภิบาล งานแปลนไฟฟ้ า ปฏิบัติการฝึ กเขียนภาพส่วน
ต่าง ๆ เพื่อประกอบเป็ นอาคารการวางผังการก่อสร้าง
ใช้ทักษะกระบวนการคิดแบบสร้างสรรค์ กระบวนการแก้
ปั ญหา ปฏิบัติการฝึ กเขียนแบบก่อสร้าง
เห็นคุณค่าและประโยชน์ การเขียนแบบก่อสร้าง ที่มีผลต่อ
สังคมและสิ่งแวดล้อม ชีวิตประจำวัน มีเจตคติที่ดีต่อการออกแบบ
และเขียนแบบก่อสร้าง

ผลการเรียนรู้
1. บอกวิธีการการเขียนแบบแปลนก่อสร้างได้
2. อธิบายการเขียนรูปตัด รูปด้านโครงสร้าง งานระบบ
สุขาภิบาล งานแปลนไฟฟ้ าได้
3. ฝึ กปฏิบัติการฝึ กเขียนภาพส่วนต่างๆ เพื่อประกอบ
เป็ นอาคารการวางผังก่อสร้างได้
4. บอกวิธีการเขียนแบบงานสุขภัณฑ์และท่อได้
5. อธิบายการวางผังสถานที่ก่อสร้างและประโยชน์ ของ
การเขียนแบบก่อสร้างได้

รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรียนรู้


97

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
รหัสวิชา ง 30217
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัยใน
การปฏิบัติงานอาชีพมลพิษ โรคและอุบัติภัยที่เกิดจากการ
ทำงานและการควบคุมป้ องกัน การปรับปรุงสภาพการทำงานตาม
98

หลักการ ยศาสตร์ การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเบื้อง


ต้น เครื่องหมายและสัญลักษณ์ความปลอดภัย เครื่องป้ องกัน
อันตราย การปฐมพยาบาลเบื้องต้น กฎหมายและหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
สามารถดำเนินการเบื้องต้นในการควบคุมและป้ องกันมลพิษ
โรคที่เกิดจากการทำงานสามารถปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลัก
การยศาสตร์ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
มีจิตสำนึกและกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงานอาชีพตามหลัก
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย ตระหนักในความรับผิดชอบต่อ
การรักษาสภาพแวดล้อมและสุขภาพอนามัยของตนเอง เพื่อนร่วม
งานและ ต่อโลก

ผลการเรียนรู้
1. บอกวิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับอาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัยในการปฏิบัติงานอาชีพมลพิษได้
2. บอกถึงโรค และอุบัติภัยที่เกิดจากการทำงานได้
3. บอกวิธีการควบคุมป้ องกันการปรับปรุงสภาพการ
ทำงานตามหลักการยุทธศาสตร์ การจัดการ
อาชีวอนามัยได้
4. อธิบายถึงการจัดการอาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัยเบื้องต้นได้
5. บอกถึงเครื่องหมายและสัญลักษณ์ ความปลอดภัย
เครื่องป้ องกันอันตรายได้
6. อธิบายถึงการปฐมพยาบาลเบื้องต้น กฎหมายที่
เกี่ยวข้องกับงานอาชีอนามัยได้
99

7. อธิบายวิธีการวางแผนปรับปรุงสภาพการทำงานตาม
หลักการยศาสตร์และความปลอดภัยได้
8. บอกวิธีการเลือกใช้เครื่องป้ องกันอันตรายตาม
สถานการณ์ปฐมพยาบาลเบื้องต้น ตาม
หลักการและกระบวนการ

รวมทัง้ หมด 8 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชาพิมพ์อังกฤษเบื้องต้น
รหัสวิชา ง 30218
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 60 ชั่วโมง
จำนวน 1.5 หน่วยกิต

ศึกษาเกี่ยวกับหลักการพิมพ์อังกฤษแบบสัมผัส การพิมพ์แป้ น
อักษร แป้ นตัวเลข สัญลักษณ์เครื่องหมาย การพิมพ์ประโยค การ
คำนวณคำสุทธิ จดหมายธุรกิจ และการบำรุงรักษาเครื่องพิมพ์ดีด
หรือเครื่องคอมพิวเตอร์
100

ปฏิบัติการพิมพ์สัมผัสตามแบบฝึ กทักษะเพื่อให้ผเู้ รียนสามารถ


พัฒนาทักษะความเร็วและ
ความแม่นยำ ไปพร้อมๆ กัน และมีทักษะที่ฝึกปฏิบัติการดีดด้วย
พิมพ์คอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สร้างเจตคติที่ดีในการเป็ นนักพิมพ์ที่ดีปฏิบัติตามระเบียบวิธี
และบุคลิกภาพที่ถูกต้องของ นักพิมพ์ดีด

ผลการเรียนรู้
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพิมพ์อังกฤษ
2. มีทักษะในการพิมพ์อังกฤษแบบสัมผัส
3. มีทักษะในการบำรุงรักษาเครื่อง
4. มีกิจนิสัยที่ดีในการพิมพ์
รวมทัง้ หมด 4 ผลการเรียนรู้
101

คำอธิบายรายวิชา
รายวิชาพิมพ์ไทยเบื้องต้น รหัส
วิชา ง 30219
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 60 ชั่วโมง
จำนวน 1.5 หน่วยกิต

ศึกษา องค์ประกอบและการดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรม Microsoft Word ทักษะเพื่อพัฒนาการพิมพ์ การพิมพ์
แป้ นเหย้า และแต่ละแป้ นรวมไปถึงการคิดคำสุทธิและการฝึ กพิมพ์
แบบรวดเร็วแม่นยำ
โดยปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการพิมพ์ไทยแบบสัมผัส การพิมพ์
แป้ นอักษร แป้ นตัวเลข สัญลักษณ์ เครื่องหมายการพิมพ์ประโยค
การคำนวณคำสุทธิ การพิมพ์หนังสือภายนอก หนังสือภายใน
และการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
เพื่อให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ใน
ชีวิตประจำวัน มีเจตคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพและเห็นความ
สำคัญของการสร้างอาชีพ

ผลการเรียนรู้
102

1. อธิบายความรู้เกี่ยวกับหลักการพิมพ์ไทยแบบสัมผัสได้
2. พิมพ์สัมผัสแป้ นพิมพ์ต่างๆ ตามหลักการได้
3. คำนวณค่าสุทธิตามหลักเกณฑ์ได้
4. พิมพ์หนังสือภายนอกและหนังสือภายในตามหลักการได้
5. มีกิจนิสัยที่ดีในการพิมพ์
รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชา
103

รายวิชาจริยธรรมและกฎหมายคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง 30220
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษาเกี่ยวกับจริยธรรมในอาชีพคอมพิวเตอร์  หลักกฎหมาย
ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์  พระราชบัญญัติ
คอมพิวเตอร์  กฎหมายลิขสิทธิแ์ ละกฎหมายสิทธิบัตร
ฝึ กปฏิบัติโดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสืบค้น
กระบวนการออกแบบ มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีในการทำงาน
มีนิสัยรักการทำงาน รักการค้นคว้า มีความรับผิดชอบ ขยัน
อดทน ทำงานเป็ นระบบ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมีเจตคติที่
ดีต่อการใช้เทคโนโลยีในการทำงาน

มาตรฐานการเรียนรู้
ง.1.1 ม.4-6
ง.1.1 ม.4-6
ผลการเรียนรู้
1. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับจริยธรรมในอาชีพ
คอมพิวเตอร์
2. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในหลักกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
คอมพิวเตอร์และ พระราชบัญญัติ
คอมพิวเตอร์
3. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในหลักกฎหมายลิขสิทธิส์ ิทธิ
104

บัตร
4. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงานคอมพิวเตอร์ด้วย
ความละเอียดรอบคอบและ
ถูกต้อง
รวมทัง้ หมด 4 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชา
รายวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
รหัสวิชา ง 30221
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
105

เวลา 80 ชั่วโมง
จำนวน 2.0 หน่วยกิต

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบ
สารสนเทศเพื่องานอาชีพ การใช้ระบบปฏิบัติการ การใช้โปรแกรม
ประมวลผลคำเพื่อจัดทำเอกสารในงานอาชีพ การใช้โปรแกรม
ตารางทำการเพื่อการคำนวณในงานอาชีพ การใช้โปรแกรมการนำ
เสนองาน หรือการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปอื่นๆ ตามลักษณะงาน
อาชีพ การใช้อินเทอร์เน็ตสืบค้นข้อมูลเพื่องานอาชีพและการสื่อสาร
สนเทศ ผลกระทบของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ฝึ กปฏิบัติการใช้โปรแกรมในการจัดทำเอกสาร การนำเสนอ
งาน การใช้โปรแกรมเพื่อการคำนวณในงานอาชีพ
เพื่อให้มค
ี วามรู้ ความเข้าใจในการใช้คอมพิวเตอร์กับ
สารสนเทศและงานอาชีพ มีจริยธรรมและความรับผิดชอบ เห็นถึง
ความสำคัญของการประกอบอาชีพ และสามารถนำความรู้ความรู้
ทางมาใช้ในชีวิตประจำวันและการประกอบอาชีพได้

ผลการเรียนรู้
1. เข้าใจหลักการและกระบวนการด้านคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่องานอาชีพ การใช้โปรแกรม
สำเร็จรูป การใช้อินเทอร์เน็ตและการสื่อสารข้อมูลสารสนเทศ
ในงานอาชีพ
2. สืบค้นและสื่อสารข้อมูลโดยใช้อินเทอร์เน็ต
3. ใช้ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์และโปรแกรมสำเร็จรูปตาม
ลักษณะงานอาชีพ
106

4. มีคุณธรรม จริยธรรมและความรับผิดชอบในการใช้
คอมพิวเตอร์กับระบบสารสนเทศ
รวมทัง้ หมด 4 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชา
รายวิชาองค์ประกอบศิลป์ สำหรับงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง 30222
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 80 ชั่วโมง
จำนวน 2.0 หน่วยกิต
107

ศึกษาเกี่ยวกับหลักการขององค์ประกอบศิลป์ การจำแนก
ธาตุทางทัศนศิลป์ หลักการและกฎเกณฑ์ขององค์ประกอบศิลป์
เข้าใจหลักการจัดพื้นที่ จุดสนใจของวัตถุ การเน้นการจัดวาง
ตำแหน่งวัตถุและจัดวาง วัตถุชนิดต่าง ๆ
ปฏิบัติการออกแบบ สร้าง แก้ไขและตกแต่งชิน
้ งานโดยใช้
โปรแกรมสำเร็จรูปออก มีทักษะกระบวนการออกแบบสื่อดิจิทัล
ตามหลักการของการจัดองค์ประกอบศิลป์ มีความคิดสร้างสรรค์
มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงานคอมพิวเตอร์ด้วย
ความละเอียดรอบคอบ ใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม
และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ

ผลการเรียนรู้
1. เข้าใจเกี่ยวกับหลักการขององค์ประกอบศิลป์ สำหรับงาน
คอมพิวเตอร์
2. เข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์ จำแนก ธาตุทางทัศนศิลป์
หลักการ และกฎเกณฑ์ขององค์ประกอบศิลป์
3. เข้าใจในการจัดพื้นที่ จุดสนใจของวัตถุ การเน้น การจัดวาง
ตำแหน่งวัตถุและจัดวางวัตถุชนิดต่าง ๆ
4. สามารถออกแบบ สร้าง แก้ไข และตกแต่งชิน
้ งานโดยใช้
โปรแกรมสำเร็จรูป
5. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงานคอมพิวเตอร์ด้วย
ความละเอียดรอบคอบ และถูกต้อง
รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรียนรู้
108

คำอธิบายรายวิชา
รายวิชาหลักการเขียนโปรแกรม
รหัสวิชา ง 30223
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 100 ชั่วโมง
จำนวน 2.5 หน่วยกิต

ศึกษาเกี่ยวกับหลักการเขียนโปรแกรมและ การวิเคราะห์งาน
ผังงาน รหัสเทียม และขัน
้ ตอนการแก้ไขปั ญหา (Algorithm)
โครงสร้างภาษาคอมพิวเตอร์และการใช้กระบวนการ เขียน
โปรแกรม คำสั่งการคำนวณ เงื่อนไขกรณี และการทำซ้ำ การ
ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย
109

ปฏิบัติการใช้กระบวนการ เขียนโปรแกรม คำสัง่ การคำนวณ


เงื่อนไขกรณี และการทำซ้ำ การออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่าง
ง่าย
มีนิสัยรักการทำงาน รักการค้นคว้า มีความรับผิดชอบ ขยัน
อดทน ทำงานเป็ นระบบมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมีเจตคติที่ดี
ต่อการใช้เทคโนโลยีในการทำงาน

ผลการเรียนรู้
1. เข้าใจเกี่ยวกับหลักการเขียนโปรแกรม
2. วิเคราะห์ออกแบบผังงาน รหัสเทียม และขัน
้ ตอน การ
แก้ไขปั ญหา (Algorithm)ได้
3. ออกแบบและเขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ ได้
4. เขียนคำสัง่ ควบคุมการทำงานเบื้องต้นได้
5. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงานคอมพิวเตอร์
ด้วยความ ละเอียดรอบคอบ และถูกต้อง
รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรียนรู้
110

คำอธิบายรายวิชา
รายวิชาเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
รหัสวิชา ง 30224
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 100 ชั่วโมง
จำนวน 2.5 หน่วยกิต

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการทำงานและองค์ประกอบ
ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์  
 อุปกรณ์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์  ตัวกลางการเชื่อมต่อเครือ
ข่ายคอมพิวเตอร์  โปรโตคอล รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย
คอมพิวเตอร์  การติดตัง้ ระบบปฏิบัติการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ใช้
โปรแกรมประยุกต์และโปรแกรมยูทิลิตบ
ี ้ นเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ฝึ กปฏิบัติโดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสืบค้น
กระบวนการออกแบบ มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีในการทำงาน
มีนิสัยรักการทำงาน รักการค้นคว้า มีความรับผิดชอบ ขยัน
111

อดทน ทำงานเป็ นระบบ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมีเจตคติที่


ดีต่อการใช้เทคโนโลยีในการทำงาน

ผลการเรียนรู้
1. มีค วามรู้ค วามเข้า ใจเกี่ย วกับ หลัก การทำงานและองค์
ประกอบของระบบเครือข่าย
2. เลือกใช้อุปกรณ์และเชื่อมต่อระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เบื้องต้น
3. ประยุกต์ใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในองค์กร
4. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดีในการใช้คอมพิวเตอร์
รวมทัง้ หมด 4 ผลการเรียนรู้
112

คำอธิบายรายวิชา
รายวิชาโปรแกรมกราฟิ ก รหัส
วิชา ง 30225
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการ ประเภทและคุณลักษณะ
ของภาพกราฟิ ก หลักการของ ภาพกราฟิ กแบบ Vector และ
Bitmap
สามารถสร้าง แก้ไขและตกแต่งภาพกราฟิ กด้วยโปรแกรม
สำเร็จรูป โปรแกรมกราฟิ กและ การประยุกต์ใช้โปรแกรมกราฟิ กใน
งานอาชีพ มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะการทำงานร่วมกัน
มีนิสัยรักการทำงาน รักการค้นคว้า มีความรับผิดชอบ ขยัน
อดทน ทำงานเป็ นระบบ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมีเจตคติที่
ดีต่อการใช้เทคโนโลยีในการทำงาน

ผลการเรียนรู้
1. มีความรู้ความเข้าใจถึงหลักการ ประเภทและคุณลักษณะ
ของภาพกราฟิ ก
2. มีทักษะปฏิบัติในการสร้าง แก้ไข และตกแต่งภาพโดยใช้
โปรแกรมสำเร็จรูปด้านกราฟิ ก
113

3. สามารถประยุกต์ใช้โปรแกรมกราฟิ กในงานอาชีพ
4. สามารถออกแบบงานจากโปรแกรมกราฟิ ก และเลือกใช้
เทคโนโลยีได้อย่างสร้างสรรค์และมีจิตสำนึก ความรับผิด
ชอบ
รวมทัง้ หมด 4 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชา
114

รายวิชาการสร้างเว็บไซต์ รหัส
วิชา ง 30226
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 80 ชั่วโมง
จำนวน 2.0 หน่วยกิต

ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการและโครงสร้างการทำงานของ
เว็บไซต์ การจัดการเว็บไซด์ การออกแบบเว็บไซต์ มีความรู้ในการ
ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับการสร้างเว็บไซด์
ปฏิบัติการสร้างเว็บไซต์ด้วยโปรแกรมภาษา โปรแกรม
สำเร็จรูปหรือโปรแกรมระบบ CMS (Content Management
System) การใช้โปรแกรมกราฟิ กเสริมในการออกแบบสร้างเว็บไซต์
พัฒนาทักษะการจัดการ การใช้กระบวนการแก้ปัญหาและสามารถ
ติดตัง้ โปรแกรมจำลอง Web Server หรืออัพโหลด (Upload)
เว็บไซต์
มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงานคอมพิวเตอร์ด้วย
ความละเอียดรอบคอบ และใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพในทางที่
ถูกต้อง ไม่ผิดศีลธรรม ภายใต้คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้
อินเทอร์เน็ต

ผลการเรียนรู้
1. ผู้เรียนเข้าใจกระบวนการและโครงสร้างการทำงานของเว็บ
ไซด์เบื้องต้น
2. ผู้เรียนเข้าใจโครงสร้างและไวยกรณ์ของโปรแกรมและ
ภาษา หรือ กระบวนการการใช้เครื่องมือการสร้างเว็บเพจ
115

3. ผู้เรียนเข้าใจหลักการออกแบบและมีความคิดสร้างสรรค์ใน
การสร้างเว็บไซด์
4. ผู้เรียนสามารถออกแบบและกำหนดส่วนประกอบที่จำเป็ น
ของเว็บเพจได้ถูกต้องและเหมาะสม
5. ผู้เรียนมีทักษะในการใช้โปรแกรมภาษาหรือโปรแกรม
สำเร็จรูปสำหรับสร้างเว็บเพจ
6. ผู้เรียนมีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงาน
คอมพิวเตอร์ด้วยความละเอียดรอบคอบ และถูกต้อง
รวมทัง้ หมาด 6 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชา
รายวิชาโปรแกรมตารางงาน
รหัสวิชา ง 30227
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
116

เวลา 60 ชั่วโมง
จำนวน 1.5 หน่วยกิต

ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะพื้นฐานของโปรแกรมตารางคำนวณ
การป้ อนและจัดเก็บข้อมูล การแก้ไขและตกแต่งข้อมูล การสร้าง
ตารางข้อมูล การใช้สูตรและฟั งก์ชันในการคำนวณ การพยากรณ์
ข้อมูล การเรียงลำดับ การสรุปและนำเสนอข้อมูลในรูปแบบแผน
ภูมิและตารางวิเคราะห์ข้อมูล
ปฏิบัติเกี่ยวกับลักษณะพื้นฐานของโปรแกรมตารางคำนวณ
การป้ อนและจัดเก็บข้อมูล การแก้ไขและตกแต่งข้อมูล การสร้าง
ตารางข้อมูล การใช้สูตรและฟั งก์ชันในการคำนวณ การพยากรณ์
ข้อมูล การเรียงลำดับ การสรุปและนำเสนอข้อมูลในรูปแบบแผน
ภูมิและตารางวิเคราะห์ข้อมูล
มีนิสัยรักการทำงาน รักการค้นคว้า มีความรับผิดชอบ ขยัน
อดทน ทำงานเป็ นระบบ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมีเจตคติที่
ดีต่อการใช้เทคโนโลยีในการทำงาน

ผลการเรียนรู้
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับส่วนประกอบ เครื่องมือของ
โปรแกรมตารางคำนวณ
2. ป้ อน จัดเก็บ แก้ไข และตกแต่งข้อมูล ใช้สูตร และฟั งก์ชัน
เบื้องต้น
3. วิเคราะห์ สรุป และรายงานข้อมูลในรูปแผนภูมิหรือตาราง
วิเคราะห์ข้อมูล
117

4. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดีในการใช้


คอมพิวเตอร์
รวมทัง้ หมด 4 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชา
รายวิชาโปรแกรมฐานข้อมูล
รหัสวิชา ง 30228
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
118

เวลา 80 ชั่วโมง
จำนวน 2.0 หน่วยกิต

ศึกษาปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการของระบบฐานข้อมูล ชนิดและ
ลักษณะของฐานข้อมูล การสร้างฐานข้อมูล และตารางข้อมูล การ
สร้างความสัมพันธ์ระหว่างตาราง ( Relationship) การสืบค้น
แก้ไข และปรับปรุงข้อมูล การสร้างฟอร์ม รายงานข้อมูล และการ
ใช้งานแมโคร (Macro)
ปฏิบ ัต ิอ อกแบบ สร้า ง และแก้ไ ขระบบฐานข้อ มูล โดยใช้
โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล
มีนิสัยรักการทำงาน รักการค้นคว้า มีความรับผิดชอบ ขยัน
อดทน ทำงานเป็ นระบบ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมีเจตคติที่
ดีต่อการใช้เทคโนโลยีในการทำงาน

ผลการเรียนรู้
1. เข้าใจเกี่ยวกับหลักการของระบบฐานข้อมูล ชนิด และ
ลักษณะของฐานข้อมูล
2. สามารถปฏิบัติออกแบบ สร้าง และแก้ไขระบบฐานข้อมูล
โดยใช้โปรแกรมจัดการ
ฐานข้อมูล
3. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงานคอมพิวเตอร์ด้วย
ความละเอียดรอบคอบ และ
ถูกต้อง
รวมทัง้ หมด 3 ผลการเรียนรู้
119

คำอธิบายรายวิชา
รายวิชาการพัฒนาโปรแกรมบนอุปกรณ์พกพาเบื้องต้น
รหัสวิชา ง 30229
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 80 ชั่วโมง
จำนวน 2.0 หน่วยกิต
120

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการพัฒนาโปรแกรมบนอุปกรณ์
พกพาเบื้องต้น ประเภทของอุปกรณ์พกพา ระบบปฏิบัติการบน
อุปกรณ์พกพา เครื่องมือพัฒนาระบบปฏิบัติการอุปกรณ์พกพา การ
ใช้เครื่องมือออกแบบและพัฒนาโปรแกรมบนอุปกรณ์พกพา
ฝึ กปฏิบัติโดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสืบค้น
กระบวนการออกแบบ มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีในการทำงาน
มีนิสัยรักการทำงาน รักการค้นคว้า มีความรับผิดชอบ ขยัน
อดทน ทำงานเป็ นระบบ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมีเจตคติที่
ดีต่อการใช้เทคโนโลยีในการทำงาน

ผลการเรียนรู้
1. เข้าใจเกี่ยวกับหลักการพัฒนาโปรแกรมบนอุปกรณ์พกพา
เบื้องต้น
2. ออกแบบและพัฒนาโปรแกรมบนอุปกรณ์พกพาเบื้องต้น
3. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงานคอมพิวเตอร์ด้วย
ความละเอียดรอบคอบ และ
ถูกต้อง
รวมทัง้ หมด 3 ผลการเรียนรู้
121

คำอธิบายรายวิชา
รายวิชาระบบปฏิบัติการเบื้องต้น
รหัสวิชา ง 30230
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 60 ชั่วโมง
จำนวน 1.5 หน่วยกิต

ศึกษาปฏิบัติเกี่ยวกับองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
หลักการทํางานของระบบปฏิบัติการ การติดตัง้ ระบบปฏิบัติการ
ต่างๆ ทัง้ ระบบที่เป็ นมาตรฐานปิ ด (Proprietary) และเป็ นระบบที่
เป็ นมาตรฐานเปิ ด (Open Standard) การใช้งานโปรแกรมระบบ
ปฏิบัติการเบื้องต้นและโปรแกรมยูทิลิตข
ี ้ องระบบปฏิบัติการ
122

ปฏิบัติการติดตัง้ ระบบปฏิบัติการต่างๆ ทัง้ ระบบที่เป็ น


มาตรฐานปิ ด (Proprietary) และเป็ นระบบที่เป็ นมาตรฐานเปิ ด
(Open Standard) การใช้งานโปรแกรมระบบปฏิบัติการเบื้องต้น
และโปรแกรมยูทิลิตข
ี ้ องระบบปฏิบัติการ
มีนิสัยรักการทำงาน รักการค้นคว้า มีความรับผิดชอบ ขยัน
อดทน ทำงานเป็ นระบบ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมีเจตคติที่
ดีต่อการใช้เทคโนโลยีในการทำงาน

ผลการเรียนรู้
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการพื้นฐานของระบบ
คอมพิวเตอร์
2. มีความรู้เกี่ยวกับการทำงานของโปรแกรมระบบปฏิบัติการ
บนเครื่องแม่ข่าย
เครื่องลูกข่ายและอุปกรณ์พกพา
3. มีทักษะในการติดตัง้ ใช้งานระบบปฏิบัติการต่างๆ และโปร
แกรมยูทิลิตี ้
4. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดีในการใช้คอมพิวเตอร์
รวมทัง้ หมด 4 ผลการเรียนรู้
123

คำอธิบายรายวิชา
รายวิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง 30231
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับวิวัฒนาการของระบบจำนวน ความ
สัมพันธ์ระหว่างคณิตศาสตร์กับการทำงานของคอมพิวเตอร์ ระบบ
เลขฐาน ตรรกศาสตร์ นิพจน์ทางคณิต พีชคณิตบูลีน พีชคณิตเชิง
เส้น และทฤษฎีเมตริก
เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการทำงาน และฝึ ก
ประสบการณ์ในการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ ทักษะในการ
คำนวณทางคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ มีทักษะในการทำงานร่วมกับ
ผู้อ่ น
ื สามารถตัดสินใจและแก้ปัญหาในการทำงาน
เพื่อให้มีลักษณะนิสัยมนการทำงานริเริ่มสร้างสรรค์ มี
124

คุณธรรม จริยธรรม มีประสบการณ์เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช้


เทคโนโลยีอย่างมีคณ
ุ ธรรมและมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ

ผลการเรียนรู้
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิวัฒนาการของระบบจำนวน
และความสัมพันธ์ระหว่างคณิตศาสตร์กับการทำงานของ
เครื่องคอมพิวเตอร์
2. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบจำนวน ระบบเลขฐาน
พีชคณิตบูลีน
3. อธิบายการเขียนนิพจน์ทางคณิตและค่าทางตรรกได้หลัก
การคำนวณของเครื่องคอมพิวเตอร์
4. มีทักษะในการคำนวณทางคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
5. มีคุณธรรม จริยธรรม และเจตคติที่ดีต่ออาชีพ
รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรียนรู้
125

คำอธิบายรายวิชา
รายวิชาการนำเสนอด้วยสื่อประสม
รหัสวิชา ง 30232
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษาระบบคอมพิวเตอร์สำหรับการนำเสนอด้วยสื่อประสม
ความรู้เกี่ยวกับสื่อประสม องค์ประกอบของสื่อประสม ประโยชน์
ของสื่อประสม หลักการออกแบบสื่อประสม การเตรียมข้อมูลเพื่อ
การสร้างงาน การเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสื่อประสม วิดีทัศน์ เสียง
ข้อมูล การใช้โปรแกรมสร้างสื่อประสม คำสั่งการดำเนินงาน หลัก
การกราฟิ ก การเก็บรูปภาพ การแก้ไข การสร้างกราฟิ ก การ
ประยุกต์ใช้งานสื่อประสม
ปฏิบัติการสร้างงานแบบสื่อประสม การใช้โปรแกรมสำหรับ
นำเสนอสื่อประสมเพื่อนำเสนองานต่าง ๆ ใช้กระบวนการสร้าง
ความรู้ ความเข้าใจ การคิดวิเคราะห์ การฝึ กทักษะและปฏิบัติงาน
การแก้ปัญหา การทำงานกลุ่ม มีทักษะในการสร้างชิน
้ งานอย่างมี
ประสิทธิภาพประสิทธิผล
126

เพื่อมุ่งเน้นให้นักเรียน มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ใฝ่ เรียนรู้ มี


ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสร้างสรรค์
ผลงานได้อย่างมีจิตสำนึกและรับผิดชอบ

ผลการเรียนรู้
1. อธิบายความหมาย องค์ประกอบและประโยชน์ของสื่อ
ประสมได้
2. สามารถใช้เครื่องมือพื้นฐานของโปรแกรมทำสื่อประสมได้
3. รู้และเข้าใจหลักการเขียน Story board ได้
4. สามารถออกแบบสื่อประสมได้
5. สามารถใช้โปรแกรมทำสื่อประสมในการสร้างงานได้
6. สามารถนำเสนอผลงานสูส
่ าธารณะได้อย่างเหมาะสม
รวมทัง้ หมด 6 ผลการเรียนรู้
127

คำอธิบายรายวิชา
รายวิชาคอมพิวเตอร์และการบำรุงรักษา
รหัสวิชา ง 30233
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 80 ชั่วโมง
จำนวน 2.0 หน่วยกิต

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการทำงานของอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง ประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์และ
ติดตัง้ โปรแกรมตามลักษณะงาน การบำรุงรักษาอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์  ตรวจและกำจัดไวรัส แก้ปัญหาคอมพิวเตอร์ด้วย
โปรแกรมอรรถประโยชน์  สำรองและป้ องกันความเสียหายของ
ข้อมูล และการกู้คืนข้อมูล
ฝึ กปฏิบัติโดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสืบค้น
กระบวนการออกแบบ มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีในการทำงาน
มีนิสัยรักการทำงาน รักการค้นคว้า มีความรับผิดชอบ ขยัน
อดทน ทำงานเป็ นระบบ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมีเจตคติที่
ดีต่อการใช้เทคโนโลยีในการทำงาน

ผลการเรียนรู้
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการทํางานและการใช้งาน
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
   2. ประกอบ และบํารุงรักษาคอมพิวเตอร์
128

     3. ตรวจสอบ และแก้ปัญหาคอมพิวเตอร์ด้วยโปรแกรม
อรรถประโยชน์
   4. มี คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดี ในการใช้
คอมพิวเตอร์
รวมทัง้ หมด 4 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชา
129

รายวิชาการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
รหัสวิชา ง 30234
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 80 ชั่วโมง
จำนวน 2.0 หน่วยกิต

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับบทบาทของโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้อง
ต้น หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น ภาษาในการเขียน
โปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น ใช้เครื่องมือสำหรับการเขียนโปรแกรม
เชิงวัตถุเบื้องต้น และปฏิบัติการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
ฝึ กปฏิบัติโดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสืบค้น
กระบวนการออกแบบ มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีในการทำงาน
มีนิสัยรักการทำงาน รักการค้นคว้า มีความรับผิดชอบ ขยัน
อดทน ทำงานเป็ นระบบ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมีเจตคติที่
ดีต่อการใช้เทคโนโลยีในการทำงาน

ผลการเรียนรู้
1. เข้าใจเกี่ยวกับหลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
2. สามารถใช้เ ครื่อ งมือ สำหรับ การเขีย นโปรแกรมเชิง วัต ถุ
เบื้องต้น
3. สามารถเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
4. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงานคอมพิวเตอร์ด้วย
ความละเอียดรอบคอบ และ
ถูกต้อง
รวมทัง้ หมด 4 ผลการเรียนรู้
130

คำอธิบายรายวิชา
รายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ รหัส
วิชา ง 30235
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 80 ชั่วโมง
จำนวน 2.0 หน่วยกิต
131

ศึกษาเกี่ยวกับ หลักการ ความหมายและประเภทของของสื่อ


สิ่งพิมพ์ การจัดรูปแบบ การเลือกใช้ตัวอักษร การเลือกสีประเภท
ของภาพและการเลือกภาพประสิ่งพิมพ์ กระบวนการจัดทำสื่อสิ่ง
พิมพ์ การผลิตและจัดหน้าสิ่งพิมพ์ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการปฏิบัติการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ด้วย
โปรแกรมสำเร็จรูปและประสบการณ์ในการนำเทคโนโลยีมา
ประยุกต์ใช้ทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อ่ น
ื สามารถตัดสินใจและ
แก้ปัญหาในการทำงาน
เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะที่จำเป็ นมีประสบการณ์ เห็นแนวทางใน
การประกอบอาชีพ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีคุณธรรม
จริยธรรม และค่านิยมที่ดีต่องาน

ผลการเรียนรู้
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการความหมายและประเภท
ของสื่อสิ่งพิมพ์
2. มีทักษะในการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์และจัดองค์ประกอบ
ศิลป์ ในสื่อสิ่งพิมพ์
3. สามารถออกแบบ สร้าง แก้ไข และตกแต่งสื่อสิง่ พิมพ์ด้วย
โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อเป็ นแนวทางในการประกอบอาชีพ
4. มีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงาน สุจริต มีคุณธรรม จริยธรรม
และค่านิยมที่ดีในการใช้คอมพิวเตอร์
รวมทัง้ หมด 4 ผลการเรียนรู้
132

คำอธิบายรายวิชา
รายวิชาโปรแกรมมัลติมีเดีย
รหัสวิชา ง 30236
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 80 ชั่วโมง
จำนวน 2.0 หน่วยกิต

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการสร้างสื่อมัลติมีเดีย หลักการ
ออกแบบโครงร่างเรื่องราว
(Story Board) การออกแบบ สร้าง แก้ไข ตกแต่งโดยใช้โปรแกรม
มัลติมีเดีย และการผลิตสื่อมัลติมีเดียในงานอาชีพ
133

ฝึ กปฏิบัติโดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสืบค้น
กระบวนการออกแบบ มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีในการทำงาน
มีนิสัยรักการทำงาน รักการค้นคว้า มีความรับผิดชอบ ขยัน
อดทน ทำงานเป็ นระบบ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมีเจตคติที่
ดีต่อการใช้เทคโนโลยีในการทำงาน

ผลการเรียนรู้
1.  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบชิน
้ งานนำเสนอ
2.  มีทักษะในการใช้โปรแกรมนำเสนอ
3.  ผลิตชิน
้ งานและนำเสนอผลงาน
4.  มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดีในการใช้
คอมพิวเตอร์
รวมทัง้ หมด 4 ผลการเรียนรู้
134

คำอธิบายรายวิชา
รายวิชาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รหัสวิชา ง 30237
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษาค้นคว้า อธิบาย เกี่ยวกับอัลกอริทึมและการเขียน


โปรแกรม มัลติมีเดีย Macromedia Authorware
Macromedia Flash อาชีพทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และแนว
โน้มเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ฝึ กปฏิบัติโดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสืบค้น
กระบวนการออกแบบ และมีทักษะ ในการใช้เทคโนโลยีในการ
ทำงาน
มีนิสัยรักการทำงาน รักการค้นคว้า มีความรับผิดชอบ
ขยัน อดทน ทำงานเป็ นระบบ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
และมีเจตคติที่ดีต่อการใช้เทคโนโลยีในการทำงาน
135

ผลการเรียนรู้
1. อธิบายขัน
้ ตอนการพัฒนาโปรแกรมและความสำคัญขอ
งอัลกอริทึมได้
2. อธิบายลักษณะของโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับงานมัลติมีเดีย
ได้
3. สามารถสร้างงานด้วย macromedia authorware ได้
4. สามารถสร้างงานด้วย macromedia flash ได้
5. อธิบายเกี่ยวกับฝ่ ายและตำแหน่งของอาชีพทางเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์ได้
6. อธิบายแนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ในอนาคตได้
136

คำอธิบายรายวิชา
รายวิชาสารสนเทศเพื่อการจัดการ
รหัสวิชา ง 30238
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 60 ชั่วโมง
จำนวน 1.5 หน่วยกิต

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบ
สารสนเทศเพื่อการจัดการ การใช้ระบบปฏิบัติการ การใช้โปรแกรม
ประมวลผลคำเพื่อจัดทำเอกสารในการจัดการ การใช้โปรแกรม
ตารางทำการเพื่อการคำนวณในการจัดการ การใช้โปรแกรมการนำ
เสนองาน หรือการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปอื่นๆ ตามลักษณะงาน
อาชีพ การใช้อินเทอร์เน็ตสืบค้นข้อมูลและการสื่อสารสนเทศ ผลก
ระทบของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ฝึ กปฏิบัติการใช้โปรแกรมในการจำทำเอกสาร การนำเสนอ
งาน การใช้โปรแกรมเพื่อการคำนวณเพื่อการจัดการ
เพื่อให้มค
ี วามรู้ ความเข้าใจในการใช้คอมพิวเตอร์กับ
สารสนเทศและงานอาชีพ มีจริยธรรมและความรับผิดชอบ เห็นถึง
ความสำคัญของการประกอบอาชีพ และสามารถนำความรู้ความรู้
ทางมาใช้ในชีวิตประจำวันและการประกอบอาชีพได้
137

ผลการเรียนรู้
1. เข้าใจหลักการและกระบวนการด้านคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการ
2. การใช้โปรแกรมสำเร็จรูป การใช้อินเทอร์เน็ตและการสื่อสาร
ข้อมูลสารสนเทศในการจัดการ
3. สืบค้นและสื่อสารข้อมูลโดยใช้อินเทอร์เน็ต
4. ใช้ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์และโปรแกรมสำเร็จรูปตาม
ลักษณะงานอาชีพ
5. มีคุณธรรม จริยธรรมและความรับผิดชอบในการใช้
คอมพิวเตอร์กับระบบสารสนเทศ
รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรียนรู้
138

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาการงานอาชีพ ร ห ัส ว ิช า
ง 21101
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1
เวลา 40 ชั่วโมง จ ำ น ว น 1.0
หน่วยกิต
น้ำ
ลำดั ชื่อหน่วย มาตรฐาน เวลา
หนัก
บ การ การเรียนรู้/ตัว สาระสำคัญ (ชั่วโ
คะแ
ที่ เรียนรู้ ชีว
้ ัด มง)
นน
1 เรียนรู้ ง 1.1 ม.1/1, - การปฏิบัติ 6 20
กระบวนก ม.1/2 งานตามขัน
้ ตอน
ารทำงาน ของ
ทักษะ
กระบวนการ
ทำงาน
- การทำงานด้วย
กระบวนการกลุ่ม
ในการทำงาน
- ขัน
้ ตอนของ
กระบวนการแก้
ปั ญหา
- การเสริมสร้าง
ลักษณะนิสัยใน
139

น้ำ
ลำดั ชื่อหน่วย มาตรฐาน เวลา
หนัก
บ การ การเรียนรู้/ตัว สาระสำคัญ (ชั่วโ
คะแ
ที่ เรียนรู้ ชีว
้ ัด มง)
นน
การทำงานด้วย
ความเสียสละ
2 บ้านและ ง 1.1 ม.1/1, - บทบาทหน้าที่ 10 20
ความเป็ น ม.1/2 ของสมาชิกและ
อยู่ภายใน การ
บ้าน สร้างสัมพันธภาพ
ที่ดีในครอบครัว
-การวางแผนใน
การดูแลรักษา
บ้านตาม
ขัน
้ ตอนของ
กระบวนการ
ทำงาน
- การเลือกใช้และ
เก็บรักษาอุปกรณ์
อำนวยความ
สะดวกในการ
ทำงานบ้าน
ตามขัน
้ ตอนของ
กระบวนการ
ทำงาน
140

น้ำ
ลำดั ชื่อหน่วย มาตรฐาน เวลา
หนัก
บ การ การเรียนรู้/ตัว สาระสำคัญ (ชั่วโ
คะแ
ที่ เรียนรู้ ชีว
้ ัด มง)
นน
- วิธีการและขัน

ตอนในการดูแล
รักษา
บ้านตามขัน
้ ตอน
ของกระบวนการ
ทำงาน
- การดูแลรักษา
ห้องต่างๆ และ
เครื่อง
เรือนตามขัน
้ ตอน
ของกระบวนการ
ทำงาน
- ความปลอดภัย
ในการทำงานบ้าน
- การจัดและ
ตกแต่งห้องต่างๆ
ตาม
ขัน
้ ตอนของ
กระบวนการ
ทำงาน
3 อาหารกับ ง 1.1 ม.1/2, - การบริโภค 12 20
141

น้ำ
ลำดั ชื่อหน่วย มาตรฐาน เวลา
หนัก
บ การ การเรียนรู้/ตัว สาระสำคัญ (ชั่วโ
คะแ
ที่ เรียนรู้ ชีว
้ ัด มง)
นน
การดำรง ม.1/3 อาหารตามหลัก
ชีวิต โภชนาการ
- การเลือกเครื่อง
มือเครื่องใช้ใน
การ ประกอบ
อาหารอย่างถูก
ต้อง
- การดูแลรักษา
เครื่องมือเครื่อง
ใช้ใน การ
ประกอบอาหาร
อย่างถูกวิธี
- การใช้และการ
เก็บรักษาเครื่อง
มือเครื่องใช้ใน
การประกอบ
อาหาร อย่างถูก
วิธี
- หลักการในการ
เลือกซื้ออาหาร
อย่างถูกต้อง
142

น้ำ
ลำดั ชื่อหน่วย มาตรฐาน เวลา
หนัก
บ การ การเรียนรู้/ตัว สาระสำคัญ (ชั่วโ
คะแ
ที่ เรียนรู้ ชีว
้ ัด มง)
นน
- การเตรียม
วัตถุดิบประเภท
ต่างๆ
อย่างถูกวิธี ตอน
ขัน
้ ตอน
กระบวนการ
ทำงานใน
กระบวนการกลุ่ม
ด้วยความเสีย
สละและ ตัดสิน
ใจแก้ปัญหา
อย่างมีเหตุผล
- การประกอบ
อาหารและการ
สงวนคุณค่า
อาหารจะต้อง
ทำให้ถูกต้อง
ตามหลักทั่วไปใน
การประกอบ
อาหาร
143

น้ำ
ลำดั ชื่อหน่วย มาตรฐาน เวลา
หนัก
บ การ การเรียนรู้/ตัว สาระสำคัญ (ชั่วโ
คะแ
ที่ เรียนรู้ ชีว
้ ัด มง)
นน
- การจัด ตกแต่ง
และบริการ
อาหาร ตามขัน

ตอนตาม
กระบวนการ
ทำงาน ใช้
กระบวนการกลุ่ม
ด้วยความเสีย
สละและตัดสินใจ
แก้ปัญหาอย่างมี
เหตุผล
- การแปรรูป
ผลผลิตทางการ
เกษตรตามขัน

ตอนกระบวนการ
ทำงาน ใช้
กระบวนการกลุ่ม
ด้วยความเสียสละ
และตัดสินใจแก้
ปั ญหาอย่างมี
เหตุผล
144

น้ำ
ลำดั ชื่อหน่วย มาตรฐาน เวลา
หนัก
บ การ การเรียนรู้/ตัว สาระสำคัญ (ชั่วโ
คะแ
ที่ เรียนรู้ ชีว
้ ัด มง)
นน
4 การะ ง 1.1 ม.1/2, - งานประดิษฐ์ 8 20
ประดิษฐ์ ม.1/3 ของใช้ ของ
ของใช้ ตกแต่ง จากวัสดุ
ของตกแต่ง ท้องถิ่นมี
จากวัสดุ ประโยชน์ ทาง
ท้องถิ่น ด้านร่างกาย
จิตใจ อารมณ์
สังคม และชีวิต
ความเป็ นอยู่
- วัสดุที่ใช้ในงาน
ประดิษฐ์จะมี
ความแตกต่างกัน
ไปในแต่ละท้อง
ถิ่น
- เครื่องมือเครื่อง
ใช้ในงาน
ประดิษฐ์ แต่ละ
ประเภทจะต้อง
เลือกใช้และดูแล
รักษาอย่างถูกวิธี
เพื่อให้เกิด ความ
145

น้ำ
ลำดั ชื่อหน่วย มาตรฐาน เวลา
หนัก
บ การ การเรียนรู้/ตัว สาระสำคัญ (ชั่วโ
คะแ
ที่ เรียนรู้ ชีว
้ ัด มง)
นน
ปลอดภัยในการ
ใช้งาน
- ผู้ออกแบบงาน
ประดิษฐ์ที่ดีจะ
ต้องออกแบบงาน
ประดิษฐ์ตามขัน

ตอนของ
กระบวนการ
ทำงาน ใช้
กระบวนการกลุ่ม
ด้วยความเสีย
สละ และตัดสิน
ใจแก้ปัญหาอย่าง
มีเหตุผล
- งานประดิษฐ์
จากวัสดุท้องถิ่น
แต่ละประเภทมี
ความแตกต่างกัน
ไปตามลักษณะ
การใช้งาน
- การประดิษฐ์
146

น้ำ
ลำดั ชื่อหน่วย มาตรฐาน เวลา
หนัก
บ การ การเรียนรู้/ตัว สาระสำคัญ (ชั่วโ
คะแ
ที่ เรียนรู้ ชีว
้ ัด มง)
นน
ของใช้ ของ
ตกแต่ง จากวัสดุ
ท้องถิ่นจะต้อง
วิเคราะห์
ขัน
้ ตอนการ
ทำงานตาม
กระบวนการ
ทำงาน ใช้
กระบวนการกลุ่ม
ด้วยความเสีย
สละและตัดสินใจ
แก้ปัญหาอย่างมี
เหตุผล
5 โลกของ ง 2.1 ม.1/1, - การประกอบ 4 20
อาชีพ ม.1/2, อาชีพรับจ้างและ
ม.1/3 การประกอบ
อาชีพอิสระหรือ
อาชีพส่วนตัว
ช่วยให้มีรายได้
มาเลีย
้ งตนเอง
และครอบครัว
147

น้ำ
ลำดั ชื่อหน่วย มาตรฐาน เวลา
หนัก
บ การ การเรียนรู้/ตัว สาระสำคัญ (ชั่วโ
คะแ
ที่ เรียนรู้ ชีว
้ ัด มง)
นน
- แนวทางในการ
เลือกอาชีพที่ถูก
ต้องจะต้องใช้
กระบวนการ
ตัดสินใจเลือก
อาชีพ
- กระบวนการ
ตัดสินใจเลือก
อาชีพช่วยให้
เลือกอาชีพได้
เหมาะสมกับ
ตนเอง
- เจตคติที่ดีต่อ
การประกอบ
อาชีพสุจริต
ความสำคัญใน
การประกอบ
อาชีพ
- การสร้างอาชีพ
ช่วยสร้างรายได้
และช่วยสานฝั น
148

น้ำ
ลำดั ชื่อหน่วย มาตรฐาน เวลา
หนัก
บ การ การเรียนรู้/ตัว สาระสำคัญ (ชั่วโ
คะแ
ที่ เรียนรู้ ชีว
้ ัด มง)
นน
ความคิด
สร้างสรรค์ ให้
แก่ผป
ู้ ระกอบ
อาชีพ

รวม 40 100

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาการงานอาชีพ รหัสวิชา
ง 22101
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาค
เรียนที 2
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต
น้ำ
ลำดั มาตรฐาน เวลา
ชื่อหน่วย หนัก
บ การเรียน สาระสำคัญ (ชั่วโ
การเรียนรู้ คะแ
ที่ รู้/ตัวชีว
้ ัด มง)
นน
1 ทักษะการ ง 1.1 -การเรียนรู้งานช่าง 12 30
แสวงหา ม.2 /1 พื้นฐาน
ความรู้งาน ภายในบ้าน
149

ช่างในบ้าน -ช่างไม้,ช่างปูน
-ช่างโลหะ,ช่างไฟฟ้ า
-ช่างประปา,ช่างสี
2 กระบวนก ง 1.1 ม -กระบวนการแก้ 10 20
ารแก้ .2/2 ปั ญหามีขน
ั ้ ตอน
ปั ญหาใน -การสังเกต การ
การทำงาน วิเคราะห์ สร้างทาง
เลือก และประเมิน
ทางเลือก
3 จิตสำนึก ง 1.1 -การมีจิตสำนึกและ 4 10
และใช้ ม.2/ 3 ใช้ทรัพยากรอย่าง
ทรัพยากร ประหยัดและคุ้มค่า
อย่าง -คุณธรรมในการ
ประหยัด ทำงาน
และคุ้มค่า
4 การจัด ง 4.1 ม. -สถานการณ์แรงงาน 10 30
ประสบกา 2/1 -ประกาศรับสมัคร
รณ์อาชีพ ง 4.1 ม. งาน
2/2 -ความรู้ความสมารถ
ง 4.1 ม. ของตนเอง
2/3 -ผลตอบแทน

5 ทักษะที่ ง 4.1 ม. -ทักษะกระบวนการ 4 10


จำเป็ นต่อ 2/1 ทำงาน
การ ง 4.1 ม. -ทักษะกระบวนการ
150

ประกอบ 2/2 แก้ปัญหา


อาชีพ ง 4.1 ม. -ทักษะการทำงาน
2/3 ร่วมกัน
-ทักษะกระบวนการ
แสวงหาความรู้
รวม 40 100

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาการงานอาชีพ รหัส
วิชา ง 23101
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาค
เรียนที 2
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต
น้ำ
ลำ มาตรฐาน เวลา
ชื่อหน่วย หนัก
ดับ การเรียน สาระสำคัญ (ชั่วโม
การเรียนรู้ คะแ
ที่ รู้/ตัวชีว
้ ัด ง)
นน
1 การทำงาน ง 1.1 ใช้ทักษะในการ 12 30
เพื่อการ ม.2 /1 ทำงานและอยู่
ดำรงชีพ ร่วมกันได้อย่างมี
151

ความสุขและมี
คุณธรรม
- อภิปรายการ
ทำงานโดยใช้
ทักษะการ
จัดการ ระบบ
งาน ระบบคนที่
คำนึงถึงการ
ประหยัด
พลังงาน
ทรัพยากรธรรม
ชาติและสิ่ง
แวดล้อมเพื่อ
ให้การทำงาน
สำเร็จตามเป้ า
หมายอย่างมี
ประสิทธิภาพ
2 ผ้าและการ ง 1.1 ม นักเรียนสามารถ 10 20
ตัดเย็บ .2/2 ใช้ทักษะ
กระบวนการ
ทำงานที่มี
ประสิทธิภาพ
อย่างเป็ นขัน

ตอนในการดูแล
รักษาเสื้อผ้า
152

การตัดเย็บ
เสื้อผ้าที่ถูกต้อง
- สร้างชิน

งาน(การมัด
ย้อม)โดยคำนึง
ถึงการประหยัด
พลังงาน
ทรัพยากรและ
สิ่งแวดล้อม
3 อาหาร ง 1.1 นักเรียนสามารถ 4 10
ประเภท ม.2/ 3 ใช้ทักษะ
สำรับ กระบวนการ
ทำงานร่วมกับผู้
อื่นในการเตรียม
ประกอบอาหาร
ประเภทสำรับ
เพื่อการทำงานที่
มีประสิทธิภาพ
น้ำ
ลำ มาตรฐาน เวลา
ชื่อหน่วย หนัก
ดับ การเรียน สาระสำคัญ (ชั่วโม
การเรียนรู้ คะแ
ที่ รู้/ตัวชีว
้ ัด ง)
นน
4 งานช่างใน ง 1.1 งานช่างในบ้าน 4 10
บ้าน ม.3/1, เป็ นงานช่างพื้น
ม.3/2, บ้านที่สามารถ
153

ม.3/3 นำไปใช้
ประโยชน์ในชีวิต
ประจำวันซึ่ง
สามารถเรียนรู้
และทำได้ด้วย
ตนเองโดย
เฉพาะการติดตัง้
และประกอบ
ผลิตภัณฑ์การ
ซ่อมแซมการ
บำรุงรักษา
เครื่องใช้และ
เครื่องอำนวย
ความสะดวกใน
บ้านและยืดอายุ
การใช้งานได้
ยาวนานช่วย
ประหยัดค่าใช้
จ่ายเป็ นการใช้
เวลาว่างให้เป็ น
ประโยชน์แต่
ทัง้ นีต
้ ้องคำนึง
ถึงความ
ปลอดภัยเป็ น
สำคัญด้วย
154

5 งานอาชีพ ง 4.1 ม. -ทักษะ 4 10


2/1 กระบวนการ
ง 4.1 ม. ทำงาน
2/2 -ทักษะ
ง 4.1 ม. กระบวนการ
2/3 แก้ปัญหา
-ทักษะการ
ทำงานร่วมกัน
-ทักษะ
กระบวนการ
แสวงหาความ
รู้
รวม 40 100

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชางานห้องสมุด 1 รหัสวิชา
ง 20201
155

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต
น้ำ
ชื่อหน่วย เวลา
ลำดั ผลการเรียน หนัก
การเรียน สาระสำคัญ (ชั่วโ
บ ที่ รู้ คะแ
รู้ มง)
นน
1 ปฐมนิเทศ ข้อที่ 1 - ปฐมนิเทศการ 2 -
เรียนการสอนวิชา
งานห้องสมุด 1 ง
20201
- จุดประสงค์การ
เรียนรู้ คำอธิบาย
รายวิชา ง 20201
- รายชื่อสื่อและ
แหล่งการเรียนรู้
รายวิชา ง 20201
- เกณฑ์การวัดและ
ประเมินผล
ทดสอบความรู้พ้น

ฐาน
2 ความรู้ ข้อที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ 6 15
ทั่วไป ห้องสมุดที่ผู้เรียนจะ
เกี่ยวกับ ต้องทราบ
ห้องสมุด - ความหมายของ
156

ห้องสมุด
- วัตถุประสงค์
- ประโยชน์ และ
ความสำคัญ
- ประเภทของห้อง
สมุด
- งานห้องสมุด
- คุณสมบัติ หน้าที่
และความรับผิด
ชอบของบุคลากร
ห้องสมุด และ
ห้องสมุดโรงเรียน
ของเรา
3 งาน ข้อที่ 1 งานกิจกรรมห้องสมุด 6 10
กิจกรรม เป็ นส่วนหนึ่งที่จะ
ห้องสมุด ทำให้ผู้เรียนเกิด
ทักษะการสืบค้น
ข้อมูล และสร้างนิสัย
รักการอ่าน ซึ่ง
ประกอบไปด้วย
- ความหมาย ความ
สำคัญ และ
ประเภท
-
157

น้ำ
ชื่อหน่วย เวลา
ลำดั ผลการเรียน หนัก
การเรียน สาระสำคัญ (ชั่วโ
บที่ รู้ คะแ
รู้ มง)
นน
- การวางแผนการ
จัดกิจกรรมห้อง
สมุด
ฝึ กปฏิบัติ
- จัดกิจกรรมห้อง
สมุดด้วยวิธีต่างๆ
จัดกิจกรรมส่งเสริม
การอ่าน
4 การจัด ข้อที่ 2 การจัดตกแต่งห้อง 4 15
และ สมุด จะต้องใช้สถาน
ตกแต่ง ที่ห้องสมุด ซึ่ง
ห้องสมุด ประกอบไปด้วย
- ครุภัณฑ์ห้องสมุด
และผู้เรียนควรฝึ ก
ปฏิบัติจัด และ
ตกแต่งห้องสมุด
5 รอบรู้เรื่อง ข้อที่ 3 รอบรู้เรื่องวัสดุ 4 10
วัสดุ สารนิเทศ ที่ผู้เรียนจะ
สารนิเทศ ต้องทราบ
ห้องสมุด - ความหมาย และ
158

ประเภทของวัสดุ
สารนิเทศ
- ประเภทของ
หนังสือ
- ส่วนต่างๆของ
หนังสือ
- การระวังรักษา
หนังสือ
6 การจัด ข้อที่ 4 - การลงทะเบียน 8 30
เตรียม หนังสือ
หนังสือ - การจัดหมวดหมู่
หนังสือ
- การจัดเตรียม
หนังสือ เพื่อให้
บริการ
- การสำรวจ และ
จำหน่ายออก
การฝึ กปฏิบัติ
- การลงทะเบียน
หนังสือ
- การจัดหมวดหมู่
หนังสือ
- การจัดเตรียม
หนังสือ สิ่งพิมพ์
และสื่อโสตทัศน
159

วัสดุ เพื่อให้
บริการ
- การจัดหนังสือขึน

ชัน
้ เพื่อให้บริการ
กับผู้ใช้
น้ำ
ชื่อหน่วย เวลา
ลำดั ผลการเรียน หนัก
การเรียน สาระสำคัญ (ชั่วโ
บที่ รู้ คะแ
รู้ มง)
นน
- การสำรวจ และ
จำหน่ายหนังสือ
ออกเพื่อจัดทำ
เป็ นระบบในการ
จัดหนังสือขึน
้ ชัน

ตามเลขเรียก
หนังสือ
7 การซ่อม ข้อที่ 5 การบำรุงรักษา และ 10 20
บำรุง การซ่อมแซมหนังสือ
หนังสือ ที่มีการให้บริการยืม
หนังสือจากห้องสมุด
ย่อม ทำให้หนังสือ
นัน
้ เกิดการชำรุด
บรรณารักษ์จึงต้อง
คอยดูแลรักษา ตาม
วัตถุประสงค์ดังนี ้
160

- วิธีการระวังรักษา
หนังสือ
- อุปกรณ์การ
ซ่อมแซมบำรุง
รักษาหนังสือ
และสิ่งพิมพ์
- การซ่อมแซม
บำรุงหนังสือ
- การเย็บเล่ม
วารสารจะทำให้
ยืดอายุการใช้งาน
การฝึ กปฏิบัติ
- การซ่อมแซม
บำรุงหนังสือ
- การเย็บเล่ม
วารสาร
รวม 40 100
161

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชางานห้องสมุด 2 รหัสวิชา
ง 20202
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต
ชื่อ น้ำ
ลำดั เวลา
หน่วย ผลการเรียน หนัก
บ สาระสำคัญ (ชั่วโม
การ รู้ คะแ
ที่ ง)
เรียนรู้ นน
1 บัตร ข้อที่ 1 - บัตรรายการวัสดุ 12 30
รายก สารนิเทศ
าร - บัตรรายการ
หนังสือ
- บัตรดรรชนี
วารสาร
- บัตรจุลสาร กฤต
ภาค
- บัตรรายการโสต
ทัศนวัสดุ
162

- การเรียงบัตร
รายการ
- ฝึ กปฏิบัติ
- พิมพ์บัตรรายการ
ประเภทต่าง ๆจัด
เรียงบัตรทุกประเภท
2 บริการ ข้อที่ 2 - งานบริการห้อง 8 20
ของห้อง สมุด
สมุด - ความหมาย ความ
สำคัญและประโยชน์
ของงานบริการห้อง
สมุด
- ประเภทของงาน
บริการ
- การจัดทำบรรณ
นิทัศน์
- จัดทำ
บรรณานุกรม
- ฝึ กปฏิบัติ
- บริการยืม- คืนสิง่
พิมพ์
- บริการหนังสือ
จอง
- จัดทำ
บรรณานุกรม
163

- จัดทำบรรณ
นิทัศน์
- ทำบัตรสมาชิก
ห้องสมุด
3 กิจกรร ข้อที่ 3 - งานกิจกรรมห้อง 8 20
มห้อง สมุด
สมุด - ความหมาย ความ
สำคัญและประเภท
- การวางแผนการ
จัดกิจกรรมห้องสมุด
- ฝึ กปฏิบัติ
- จัดกิจกรรมห้อง
สมุดด้วย
วิธีการต่าง ๆ
- จัดทำกิจกรรมส่ง
เสริมการอ่าน
ชื่อ น้ำ
ลำดั เวลา
หน่วย ผลการเรียน หนัก
บ สาระสำคัญ (ชั่วโม
การ รู้ คะแ
ที่ ง)
เรียนรู้ นน
4 งานเก็บ ข้อที่ 4 - งานเก็บสถิติ 4 10
สถิติ ประเมินผลงาน
ประเมิน และทำรายงาน
ผลงาน ห้องสมุด
และทำ - การเก็บสถิติห้อง
164

รายงาน สมุด
ห้อง - การประเมินผล
สมุด งาน
- การทำรายงาน
ห้องสมุด
- ฝึ กปฏิบัติ
- เก็บสถิติต่าง ๆ
- ทำรายงานห้อง
สมุด
5 งาน ข้อที่ 5 - งานประชาสัมพันธ์ 4 10
ประชา งานห้องสมุด
สัมพันธ์ - การ
งานห้อง ประชาสัมพันธ์
สมุด - การสร้างสื่อ
ประชาสัมพันธ์
- ฝึ กปฏิบัติ
- สร้างสื่อ
ประชาสัมพันธ์
6 แนวทา ข้อที่ 6 - แนวทางการ 4 10
งการ ประกอบอาชีพงาน
ประกอ ห้องสมุด
บอาชีพ - แหล่งผลิตและ
งาน จำหน่าย วัสดุ
ห้อง สารนิเทศ สำนัก
สมุด พิมพ์ และโรงพิมพ์
165

- สถาบันการศึกษา
ต่อทาง
บรรณารักษศาสตร์
- การฝึ กปฏิบัติ
- ศึกษาดูงานสถาน
ประกอบการที่ใช้
ความรู้ทาง
บรรณารักษศาสตร์
รวม 40 100

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชางานเทคนิคสิ่งพิมพ์ 1 รหัสวิชา
ง 20203
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต
ลำดั ชื่อหน่วย ผลการ สาระสำคัญ เวลา น้ำ
166

หนัก
(ชั่วโ
บที่ การเรียนรู้ เรียนรู้ คะแน
มง)

1 รอบรู้เรื่อง ข้อที่ 1 1. ปฐมนิเทศ 4 10
หนังสือ 2. ความหมายและ
ความสำคัญของ
หนังสือ
3. ประเภทของ
หนังสือ
4. ส่วนต่าง ๆ ของ
หนังสือ
2 การดำเนิน ข้อที่ 2,3 1. หลักในการคัด 8 20
งานเบื้อง เลือกหนังสือ
ต้นเกี่ยวกับ ประเภทต่าง ๆ
หนังสือ การจัดหาหนังสือ
โดยวิธีการต่าง ๆ
ได้แก่ การจัดซื้อ
การขอรับบริจาค
การแลกเปลี่ยน
หนังสือ
2. การลงทะเบียน
หนังสือ
3. ฝึ กปฏิบัติงานคัด
เลือก จัดหาและ
ลงทะเบียน
167

หนังสือ
3 การจัด ข้อที่ 1. การจัดหมวดหมู่ 12 30
เตรียมราย 4,5,6 หนังสือ
ละเอียด 2. การกำหนดหัว
เกี่ยวกับ เรื่องของหนังสือ
หนังสือ 3. การจัดทำบัตร
รายการ
4. ฝึ กปฏิบัติงานจัด
หมวดหมู่ กำหนด
หัวเรื่องและจัดทำ
บัตรรายการ
4 การจัด ข้อที่ 7,8 1. การจัดเตรียมรูป 8 20
เตรียม เล่มหนังสือ
หนังสือเพื่อ 2. การจัดหนังสือ
ให้บริการ ขึน
้ ชัน

3. ฝึ กปฏิบัติงานจัด
เตรียมหนังสือ
และจัดหนังสือขึน

ชัน

ลำดั ชื่อหน่วย ผลการ สาระสำคัญ เวลา น้ำ


บที่ การเรียนรู้ เรียนรู้ (ชั่วโ หนัก
มง) คะแน
168


5 การสำรวจ ข้อที่ 9 1. การซ่อม บำรุง 8 20
และการ และ 10 หนังสือ
ระวังรักษา 2. การสำรวจ
หนังสือ หนังสือบนชัน

3. การจำหน่าย
ออก
4. ปฏิบัติงานเกี่ยว
กับ การซ่อม
บำรุงหนังสือการ
สำรวจและ
จำหน่ายหนังสือ
ได้
รวม 40 100
169

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชางานเทคนิคสิ่งพิมพ์ 2 รหัสวิชา
ง 20204
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต
ชื่อ น้ำ
ลำดั เวลา
หน่วย ผลการเรียน หนัก
บ สาระสำคัญ (ชั่วโม
การ รู้ คะแ
ที่ ง)
เรียนรู้ นน
1 จุลสาร ข้อที่ 1 - ความหมายและ 6 15
ประเภทจุลสาร
- การเลือกและการ
จัดหาจุลสาร
- การลงทะเบียน
จุลสาร
- การเตรียมจุลสาร
- การจัดจุลสารขึน

170

ชัน

- การเย็บเล่ม
จุลสาร
- การจัดทำบัตร
รายการจุลสาร
- การจัดทำดรรชนี
จุลสาร
- การสำรวจและ
จำหน่ายออก
2 หนังสือ ข้อที่ 2 - ความหมายและ 6 15
พิมพ์ ประเภท
หนังสือพิมพ์
- การเลือกและการ
จัดหา
หนังสือพิมพ์
- การลงทะเบียน
หนังสือพิมพ์
- การเตรียม
หนังสือพิมพ์
- การเก็บ
หนังสือพิมพ์ล่วง
เวลา
- การสำรวจและ
จำหน่ายออก
3 วารสาร ข้อที่ 3 - ความหมาย 8 20
171

- การเลือกและการ
จัดหา
- การเตรียม
วารสาร
- การจัดวารสารขึน

ชัน

- การทำบัตร
รายการวารสาร
น้ำ
ลำดั ชื่อหน่วย เวลา
ผลการ หนัก
บ การเรียน สาระสำคัญ (ชั่วโม
เรียนรู้ คะแ
ที่ รู้ ง)
นน
4 กฤตภาค ข้อที่ 4 - ความหมายของก 6 15
ฤตภาค
- การจัดทำกฤต
ภาค
- การจัดกฤตภาค
ให้บริการ
- การจัดทำและ
การเรียงบัตรราย
การกฤตภาค
- การสำรวจและ
จำหน่ายออก
5 บรรณานุ ข้อที่ 5 - ความหมายและ 6 15
กรม ประเภทของ
172

บรรณนานุกรม
- แบบ
บรรณานุกรม
- การจัดทำ
บรรณานุกรม
6 การใช้ ข้อที่ 6 - ความรู้เกี่ยวกับ 8 20
โปรแกรม โปรแกรม
เพื่อการ เพื่อการสืบค้น
สืบค้น ข้อมูล
ข้อมูล - การใช้โปรแกรม
เพื่อการสืบค้น
ข้อมูล
รวม 40 100
173

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชางานช่าง 1 รหัสวิชา
ง 20205
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนต้น

เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0


หน่วยกิต
ชื่อ น้ำ
ลำดั เวลา
หน่วย ผลการ หนัก
บ สาระสำคัญ (ชั่วโม
การ เรียนรู้ คะแน
ที่ ง)
เรียนรู้ น
1 งาน ข้อที่ 1 -งานช่างพื้นฐาน 4 10
ช่าง ที่มีความจำเป็ น
พื้นฐาน ในชีวิตประ จำวัน
สำคัญ มีผลต่อการดำรง
ย่างไร ชีวิต
2 เลือกใช้ ข้อที่ 2 การเลือกใช้วัสดุ 6 20
วัสดุดีมี อุปกรณ์ในการ
174

ชัยไป ทำงาน
กว่าครึ่ง -ไม้ ,เหล็ก ,พลาส
ติก ,วัสดุและวัสดุ
เหลือใช้
3 กิจกรร ข้อ ที่ 3 กิจกรรม 5 ส 10 30
ม5ส แนวการจัดทำ
-หลักการของ
แต่ละ ส
-สะสาง-สะดวก
-สะอาด –สร้าง
นิสัย
-สุขลักษณะ
4 เก็บให้ดี ข้อที่ 4 การจัดเก็บเครื่อง 10 20
ชีวี มือ วัสดุอุปกรณ์
ปลอดภั -การจัดเก็บวัสดุที่
ย มีน้ำหนักมากควร
จัดเก็บไว้ที่ต่ำ
-การจัดเก็บวัสดุ
ไวไฟ
-การจัดเก็บวัตถุมี
พิษ
-การจัดเก็บวัสดุ
ของมีคม
5 ทำงาน ข้อที่ 5 การเลือกใช้ 10 20
อย่างมี อุปกรณ์ป้องกัน
175

สติ ร่างกาย
ตนเอง,รองเท้าหัว
เหล็ก,หมวก
นิรภัย,แว่น
ป้ องกันดวงตา
รวม 40 100

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชางานช่าง 2 รหัสวิชา
ง 20206
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต
น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วย ผลการ หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโ
บที่ การเรียนรู้ เรียนรู้ คะแ
มง)
นน
1 ค ว า ม ข้อที่1 -ความรู้พ้น
ื ฐาน 6 20
หมายควา เกี่ยวกับงานช่าง
ม ส ำ ค ัญ พื้นฐาน 6
แ ล ะ ประเภท
176

ประโยชน์ -การออกแบบ
ของงาน และการอ่าน
ช ่า ง พ ้น
ื แบบ
ฐานได้
2 ความ ข้อที่ 2 - อธิบายความ 4 20
จำเป็ นพื้น จำเป็ นพื้นฐานที่
ฐานที่ต้อง ต้องเรียนรู้งาน
เรียนรู้งาน ช่างพื้นฐาน
ช่างพื้น
ฐาน
3 วิธีการ ข้อที่ 3 -บอกขัน
้ ตอนวิธี 10 10
เลือกใช้ การเลือกใช้วัสดุ
วัสดุ เหลือใช้ นำมา
อุปกรณ์ใน จัดทำเป็ น
การ ผลิตภัณฑ์ได้
ทำงาน
4 วิธีการ ข้อที่ 4 -ความปลอดภัย 10 30
ปฏิบัติงาน ในการปฏิบัติ
ให้เกิด งานช่าง
ความ -แนวทางการ
ปลอดภัย ปฏิบัติและการ
แก่ตนเอง ป้ องกันอุบัติเหตุ
และผู้อ่ น
ื -หลักการเกี่ยว
กับความ
ปลอดภัยและ
177

การ
ปฐมพยาบาล
5 การ ข้อที่ 5 -อธิบายขัน
้ ตอน 10 20
วางแผน การวางแผนการ
การศึกษา ศึกษาต่อใน
ต่อใน สาขาวิชาช่างที่
สาขาวิชา สนใจถนัด
ช่างที่
สนใจ
รวม 40 100

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาเขียนแบบ 1 รหัสวิชา
ง 20207
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต
น้ำ
ลำ เวลา
ชื่อหน่วย ผลการ หนัก
ดับ สาระสำคัญ (ชั่วโ
การเรียนรู้ เรียนรู้ คะแน
ที่ มง)

1 ความ ข้อที่ 1 -ความ 2 20
หมายควา หมายความ
178

มสำคัญ สำคัญของการ
ของการ เขียนแบบ
เขียนแบบ

2 วัสดุ ข้อที่ 2 - วัสดุอุปกรณ์ที่ 20 30


อุปกรณ์ที่ จำเป็ นต้องใช้
จำเป็ นต้อง การเขียนแบบ 1
ใช้การ -ฝึ กปฎิบัติการใช้
เขียนแบบ เครื่องมือเขียน
1 แบบเบื้องต้น
เขียน เส้นตรง
มุม ไม้ที เซ็ท
3 ประโยชน์ ข้อที่ 3 - ประโยชน์ของ 2 10
ของการ การเขียนแบบ 1
เขียน
แบบ 1
4 ประวัติ ข้อที่ 4 -ประวัติความ 6 30
ความเป็ น เป็ นมาและ
มาและ วิวัฒนาการของ
วิวัฒนากา วิชาการเขียน
รของ แบบ
วิชาการ
เขียนแบบ
5 การใช้ ข้อที่ 5 - การใช้พลังงาน 10 10
พลังงาน การอนุรักษ์
179

การ ทรัพยากรและ
อนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมใน
ทรัพยากร การเขียนแบบ
และสิ่ง
แวดล้อม
ในการ
เขียนแบบ
รวม 40 100

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาเขียนแบบ 2 รหัสวิชา
ง 20208
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต
น้ำ
ชื่อหน่วย เวลา
ลำดั ผลการ หนัก
การเรียน สาระสำคัญ (ชั่วโม
บที่ เรียนรู้ คะแ
รู้ ง)
นน
1 ความ ข้อ 1 -ความ 10 30
180

หมายควา หมายความ
มสำคัญ สำคัญของ
ของการ -การอ่าน
อ่านและ -เขียนแบบ 2
เขียน
แบบ 2
2 ประโยชน์ ข้อ 1 -ประโยชน์ 10 30
ไอโซ ของภาพ ไอ
เมตริก โซเมตริก
ภาพออบ -ภาพออบลิค
ลิค -ภาพสเกต
ภาพสเกต -ภาพฉาย
ภาพฉาย
3 เขียนภาพ ข้อ 3 ฝึ กปฎิบัติการ 20 40
ไอโซ เขียน
เมตริก -ภาพไอโซ
ภาพออบ เมตริก
ลิคและ -ภาพฉายได้
ภาพฉาย - ภาพออบลิค
ได้
รวม 40 100
181

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาช่างเชื่อมไฟฟ้ า 1 รหัสวิชา
ง 20209
ระดับมัธยมศึกษา
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต
น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วย ผลการ หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโม
บที่ การเรียนรู้ เรียนรู้ คะแน
ง)

1 ประวัติของ ข้อที่ 1 - ผู้ค้นพบการ 2 15

ของการ เชื่อมไฟฟ้ า
เชื่อมไฟฟ้ า - วิวัฒนาการ
ของการ เชื่อม
182

ไฟฟ้ า
2 ชนิดของ ข้อที่ 2 - เครื่องเชื่อม 2 15

เครื่องเชื่อม ไฟฟ้ ากระแส


ไฟฟ้ า ตรง
- เครื่องเชื่อม
ไฟฟ้ ากระแส
สลับ
3 อุปกรณ์ ข้อที่ 3 - เครื่องมือ 8 15

และเครื่อง และอุปกรณ์ที่
มือ สำคัญในการ
ในการ เชื่อมไฟฟ้ า
เชื่อมไฟฟ้ า - วิธีการใช้
เครื่องมือ
อุปกรณ์ให้มี
ความ
ปลอดภัย
4 ลวดเชื่อม ข้อที่ 4 - ชนิดและ 8 25

ไฟฟ้ า คุณสมบัติ
เฉพาะของ
ลวดเชื่อม
ไฟฟ้ า
- ลวดเชื่อม
เปลือย
- ลวดเชื่อม
หุ้มปลั๊กซ์
183
5 ตำแหน่งท่า ข้อที่ 5 - ท่าเชื่อม 4 20 30

เชื่อมพื้น ท่าพื้นฐาน
ฐาน - การจัด
เตรียมวัสดุ
อุปกรณ์และ
พื้นที่ในการ
ปฏิบัติงาน
รวม 40 100

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาช่างเชื่อมไฟฟ้ า 2 รหัสวิชา
ง 20210
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต
น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วย ผลการ หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโม
บที่ การเรียนรู้ เรียนรู้ คะแน
ง)

1 การเชื่อม ข้อที่ 1 - การเชื่อมท่า 5 15
เหล็กแต่ล่ะ ราบของ
ประเภท ใน -เหล็กแผ่น
ท่าราบ ,เหล็กหนา
184

-เหล็กบาง
,เหล็กรูป
พรรณ
2 การเชื่อม ข้อที่ 2,3 - แบบแตะ 5 15
เหล็ก สัมผัส
เหล็กรูป - แบบเขี่ย
พรรณ ใน สัมผัส
ขนานนอน - การเคลื่อนที่
และการส่าย
ลวดเชื่อม
3 กฎและ ข้อที่ 4 กฎและความ 10 30
ความความ ความ
ปลอดภัย ปลอดภัยใน
การเชื่อม การฝึ กปฏิบัติ
ไฟฟ้ า งานเชื่อม
ไฟฟ้ ากับวัสดุ
แต่ละประเภท
4 ปฏิบัติงาน ข้อที่ 5,6 - การวางแผน 20 40
กลุ่ม งานในการ
โครงงาน จัดทำโครง
ผลิตภัณฑ์ที่ งาน
ทำจาก - ผลิตภัณฑ์ที่
เหล็ก จัดทำ
- องค์
ประกอบของ
185

ผลิตภัณฑ์ ,
การจัดซื้อ
จัดหาการ
ซ่อมบำรุง
-สาเหตุปัญหา
และแนวทาง
แก้ไขในการ
เชื่อมเหล็ก
แต่ละประเภท
และการจัดทำ
โครงงาน
รวม 40 100

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาการใช้โปรแกรมกราฟิ ก
รหัสวิชา ง 20211
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนต้น
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการเรียนรู้ สาระสำคัญ เวลา น้ำ


บ เรียนรู้ (ชั่วโ หนัก
ที่ มง) คะแ
186

นน
1 ความรู้เบื้อง ข้อที่ 1 - ภาพแบบราสเตอร์ 4 10

ต้นเกี่ยวกับ ภาพแบบเวคเตอร์ รูป


ภาพกราฟิ ก แบบการแทนค่าสี
ความละเอียดของภาพ
ชนิดของไฟล์รูปภาพ
การนำงานกราฟิ กไป
ประยุกต์ในด้านต่างๆ

2 องค์ประกอบ ข้อที่ 2 - ความต้องการของ 6 10

ของ Photoshop การเริ่ม


Photoshop ใช้งาน Photoshop
ส่วนประกอบต่างๆ
ของ Photoshop
กล่องเครื่องมือ
(Toolbox)

3 การจัดการ ข้อที่ 3 - การสร้างงานใหม่และ 4 20

ไฟล์รูปภาพ กำหนดขนาด
Working Area การ
เปิ ดไฟล์ภาพ การปรับ
ย่อขยายมุมมองของ
รูปภาพ การปรับขนาด
ของรูปภาพ การเพิ่ม
พื้นที่ของรูปภาพ การ
187

บันทึกงานที่สร้าง

4 การปรับแต่ง ข้อที่ 4 - การเลือกพื้นที่โดยใช้ 6 20

ส่วนของ เครื่องมือ Marquee


รูปภาพ การเคลื่อนย้าย
ตำแหน่งของส่วนที่
เลือกไว้ การปรับ
ขนาดของส่วนที่เลือก
ไว้ การกำหนดลักษณะ
ของขอบรูปภาพใน
ส่วนที่ถูกเลือกไว้ การ
เลือกพื้นที่โดยใช้เครื่อง
มือ Lasso การเลือก
พื้นที่โดยใช้เครื่องมือ
Magic Wand การ
เลือกพื้นที่โดยใช้คำสั่ง
Color Range การ
เคลื่อนย้ายตำแหน่ง
ส่วนที่เลือกไว้ การย่อ
หรือขยายรูปภาพจาก
ส่วนที่เลือก
น้ำ
ลำดั เวลา
ชื่อหน่วยการ หนัก
บ ผลการเรียนรู้ สาระสำคัญ (ชั่วโ
เรียนรู้ คะแ
ที่ มง)
นน
188

5 การวาดและ ข้อที่ 5 - การเติมสีลงในพื้นที่ที่ 6 10

ระบายสีภาพ เลือกไว้ ขัน


้ ตอนการใช้
เครื่องมือ Brush และ
Pencil การปรับรูป
แบบหัวแปลงด้วย
Brush Preset การ
ระบายเปลี่ยนสีวัตถุ
การระบายด้วยภาพ
จากสถานะเดิม
(History Brush) การ
เติม Pattern การเติม
สีและลวดลาย Paint
Bucket การเติมสีแบบ
ไล่ระดับ การลบภาพ
ด้วยเครื่องมือ Eraser
สร้างตัวอักษรด้วย
เครื่องมือกลุ่ม Type

6 การสร้างรูป ข้อที่ 5 - กลุ่มเครื่องมือวาดภาพ 4 10

วาดแบบ แบบเวคเตอร์
Vector (Vector) วาดเส้นพาธ
หรือรูปทรงแบบ
กำหนดจุดและเส้น
การสร้างรูปทรง
เรขาคณิตและรูปทรง
189

สำเร็จรูป

7 การปรับแต่ง ข้อที่ 6 - การตกแต่งตัดต่อภาพ 6 20

และตัดต่อ การลบรอยตำหนิ
ภาพ ขนาดเล็ก การลบรอย
ตำหนิขนาดใหญ่ การ
ลบรอยตำหนิด้วย
เครื่องมือ Patch การ
แก้ไขภาพตาแดง การ
ระบายภาพเบลอ การ
ระบายภาพให้คมชัด
การระบายภาพให้
สว่างขึน
้ การระบาย
ภาพให้มืดลง การ
ระบายเพิ่มหรือลด
ความสดของสี การ
บิดเบือนภาพด้วยการ
ระบาย การเปลี่ยนฉาก
หลังโดยการตัดต่อภาพ

รวม 40 100
190

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาโปรแกรม Microsoft word
รหัสวิชา ง 20212
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนต้น
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต

น้ำ
ลำดั เวลา
ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
บ สาระสำคัญ (ชั่วโม
เรียนรู้ รู้ คะแน
ที่ ง)

1. หน่วยที่ 1 - ความหมายของ 8 10
เริ่มต้นใช้งาน
โปรแกรม Micr โปรแกรม
osoft word Microsoft Word

- การเรียกใช้
โปรแกรม
ข้อที่ 1
- ส่วนประกอบ
ของหน้าจอ
โปรแกรม
- เครื่องมือของ
โปรแกรม
Microsoft
word
- การปิ ด
191

โปรแกรม
2. หน่วยที่ 2 - การสร้าง 12 20
การสร้างงาน
จาก เอกสารใหม่
โปรแกรม Micr - การเรียกคำสัง่
osoft word
จากเมนู
ข้อที่ 1 และแถบเครื่อง
ข้อที่ 2 มือมาตรฐาน
- การป้ อน
ข้อความ การ
คัดลอก การ
ย้ายข้อความ
- การยกเลิกคำ
สั่ง
- การบันทึก
เอกสาร และ
การปิ ดไฟล์และ
ปิ ดโปรแกรม
3. หน่วยที่ 3 - การจัดรูปแบบ 12 20
การตกแต่ง
เอกสาร เอกสาร
ข้อที่ 2 - การกำหนดรูป
แบบตัวอักษร
ในเอกสาร
- การแทรก
รูปภาพ
- การจัดการ
192

รูปภาพ      
- การสร้างตาราง

น้ำ
ลำดั เวลา
ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
บ สาระสำคัญ (ชั่วโม
เรียนรู้ รู้ คะแน
ที่ ง)

4. หน่วยที่ 4 - การพิมพ์และ 4 20
การสร้าง จัดรูปแบบ
จดหมายเวียน ข้อที่ 3 หนังสือราชการ
- การสร้าง
จดหมายเวียน
- การสร้างซอง
จดหมาย
5. หน่วยที่ 5 - การออกแบบ 4 30
การประยุกต์ใช้ ข้อที่ 3 แผ่นพับ
งานโปรแกรม ข้อที่ 4 - ใบปลิวโฆษณา
เพื่องานอาชีพ

รวม 40 100
193

โครงสร้างรายวิชา
194

รายวิชาการทำ Motion Graphic ด้วย PowerPoint


รหัสวิชา ง 20213
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนต้น
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต

น้ำ
ลำดั เวลา
ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
บ สาระสำคัญ (ชั่วโ
เรียนรู้ รู้ คะแน
ที่ มง)

ความรู้ทั่วไป ความหมาย บทบาท 4 10

1 เกี่ยวกับ ข้อที่ 1 ความสำคัญของ


Infographic การนำเสนองาน
หลักการ ศึกษาหลักการ 6 10
ออก
แบบ ออกแบบชิน
้ งาน การ
2 งาน ข้อที่ 2 วางโครงร่าง องค์
นำเสนอ ประกอบของการ
ออกแบบ
ศึกษาความ 20
หมาย ลักษณะ ศึกษาการใช้โปรแกรม 4
สำคัญของ การนำเสนองาน เกี่ยว
โปรแกรม
3 Microsoft ข้อที่ 3 กับความหมาย
PowerPoint
บทบาท ความสำคัญ
ของการนำเสนองาน
หลักการในการ 10
4 ออกแบบด้วย ข้อที่ 2 หลักการออกแบบ 6
Infographic การออกแบบการนำ
195

เสนองานอินโฟ
กราฟิ ก (Infographic)
การออกแบบ การสร้างภาพ 12 30
Infographic
ด้วย เคลื่อนไหว การแทรก
โปรแกรม ข้อที่ 4 การแทรกข้อความ
5 Micr ข้อที่ 5 รูปภาพ เสียง วีดีโอ
osof
t ข้อที่ 6 การใส่เอฟเฟคต่าง ๆ
PowerPoint ประกอบการนำเสนอ
งาน
ประยุกต์ใช้งาน 20
นำเสนอเพื่อใช้ การระบุปัญหา การ 8
ในงานอาชีพ กำหนดหัวข้อ การ
และการ
ออกแบบเพื่อ สรุปข้อความเพื่อให้
ใช้เป็ นแนวทาง ข้อที่ 6
6 แก้ปัญหา เกิดความเข้าใจ
ข้อที่ 7
ครอบคลุมเครือ
ข่ายงาน เพื่อใช้ในการ
ออกแบบชิน
้ งาน
รวม 40 100
196

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาโปรแกรมนำเสนอ รหัส
วิชา ง 20214
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนต้น
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต

น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโ
บที่ เรียนรู้ รู้ คะแน
มง)

ความรู้เบื้องต้น 1. การเรียกใช้งาน 2 10

เกี่ยวกับ โปรแกรม
โปรแกรมนำ 2. มุมมองการนำ
ข้อที่ 1
1 เสนอ เสนองาน
ข้อที่ 2
3. ส่วนประกอบของ
โปรแกรม
4. แถบเครื่องมือ
2 การสร้างผล ข้อที่ 3 1. วิธีการสร้างสไลด์ 12 10

งานการนำ ข้อที่ 4 นำเสนองาน


เสนอ 2. ลักษณะโครงสร้าง
ของเค้าร่างสไลด์
3. การสร้างข้อความ
ในการนำเสนองาน
197

4. การสร้างงานนำ
เสนออย่างง่าย
การแก้ไข 1. การแก้ไขข้อความ 12 10

ข้อความและ 2. การจัดการและ
ย่อหน้า แก้ไขแผ่นสไลด์
ข้อที่ 3 3. การสร้างบุลเล็ต
3
ข้อที่ 4 และหมายเลขหัวข้อ
ย่อย
4. การสร้างและจัดรูป
แบบย่อหน้า
การใช้ภาพและ 1. การใช้ภาพตัดปะ 10 15

กราฟิ กในสไลด์ หรือคลิปอาร์ต


2. การแก้ไขรูปภาพ
ข้อที่ 3
4 3. การใช้ภาพออบ
ข้อที่ 4
เจ็กต์รูปวาด
4. การแก้ไขรูปภาพ
และออบเจ็กต์
การตกแต่งสี เ 1. การเรียกใช้งาน 8 15

ส้นขอบ  การ โปรแกรม
เติมสี   และ ข้อที่ 3 2. มุมมองการนำ
5 ภาพ 3  มิติ ข้อที่ 4 เสนองาน
3. ส่วนประกอบของ
โปรแกรม
4. แถบเครื่องมือ
198

น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโ
บที่ เรียนรู้ รู้ คะแน
มง)

การสร้าง 1. การสร้างแผนภูมิ 3 10

แผนภูมิ   ข้อที่ 3 และการสร้างตาราง


6
ตารางและผัง ข้อที่ 4 2. การแทรก
องค์กร ไดอะแกรม
การสร้างผล 1. การสร้างแอนิเมชั่น 12 20

งานการนำ ข้อที่ 3 ประกอบสไลด์


7
เสนอ ข้อที่ 4 2. การเลื่อนสไลด์หรือ
การเปลี่ยนภาพนิ่ง
การเตรียมงาน 3. การเตรียมงานนำ 3 10

นำเสนอและ เสนอและการนำเสนอ
8 ข้อ 5
การนำเสนอ งาน
งาน
รวม 40 100
199

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาการสร้างเว็บไซต์เบื้องต้น
รหัสวิชา ง 20215
200

ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนต้น
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต

น้ำ
ลำ เวลา
ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
ดับ สาระสำคัญ (ชั่วโ
เรียนรู้ รู้ คะแ
ที่ มง)
นน
1 ข้อที่ 1 -บทบาทและผลกระทบ 2 10
บทบาทและ
ของเทคโนโลยี
ผลกระทบของ
อินเตอร์เน็ตที่มีต่อชีวิต
เทคโนโลยี
ประจำวัน
2 ข้อที่ 2 -รู้จักการทำงานของ 2 10
รู้จักการทำงาน
เว็บเพจ เว็บไซต์และ
ของเว็บ
อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
3 หลักการ ข้อที่ 3 - หลักการ  ข้อกำหนด 4 10
ออกแบบ เกี่ยวกับการออกแบบ
เว็บไซต์ และจัดทำเว็บไซต์
จริยธรรมในการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
ในการสร้างงาน
4 การติดตัง้ ข้อที่ 4 -การติดตัง้ โปรแกรม 10 10
โปรแกรม Dreamweaver
Dreamweave
r
201

5 การใช้งาน ข้อที่ 4,5 - พื้นฐานการใช้ 6 20


โปรแกรม โปรแกรม
Dreamweave Dreamweaver
r
6 การสร้างตาราง ข้อที่ 4,5 - สร้างตารางบน 10 20
เว็บเพจ
7 การสร้างเฟรม ข้อที่ 4,5 - แบ่งพื้นที่เว็บเพจด้วย 4 10
เฟรม
8 การเชื่อมโยง ข้อที่ 4,5 - การเชื่อมโยงเว็บไซต์ 2 10
เว็บไซต์
รวม 40 100
202

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาโปรแกรม Desktop Author
รหัสวิชา ง 20216
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนต้น
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต

น้ำ
เวลา
ลำดับ ชื่อหน่วยการ ผลการ หนัก
สาระสำคัญ ชั่วโม
ที่ เรียนรู้ เรียนรู้ คะแ

นน
-ความหมายของหนังสือ
อิเล็กส์ทรอ-นิกส์
ความรู้เบื้องต้น -คุณสมบัติของหนังสืออิ
เกี่ยวกับ ข้อที่ 1 เล็กส์ทรอนิกส์
1 4 10
หนังสือ -ประเภทของหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
-ข้อดีของหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์
2 รู้จักโปรแกรม ข้อที่ 2 -ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ 4 10
Desktop โปรแกรม Desktop
Author Author
-วิธีการเข้าสู่โปรแกรม
Desktop Author
203

-แถบเครื่องมือของ
โปรแกรม Desktop
Author
-เตรียมความพร้อมก่อน
ใช้
สร้างหนังสือ ข้อที่ 3,4 -โฟลเดอร์และไฟล์
3 10 20
อิเล็กทรอนิกส์ ประกอบ
-การกำหนดคุณสมบัติ
เบื้องต้น
-การพิมพ์ข้อความ
ข้อความและ ข้อที่ 3,4
4 -การแทรกภาพและ 4 15
มัลติมีเดีย มัลติมีเดีย
ปุ ่ม Buttons
ข้อที่ 3,4 -การแทรกปุ ่มและการ
5 และการเชื่อม 4 15
เชื่อมโยง
โยง
-การสร้างข้อสอบด้วย
การออกแบบ ข้อที่ 3,4
6 โปรแกรม Desktop 10 10
ข้อสอบ
Author
-การนำหนังสือไปใช้งาน
-การบีบอัดเพื่อเผยแพร่
การบีบอัดเพื่อ ผลงานด้วยคำสั่ง
7 ข้อที่ 5
เผยแพร่ผลงาน Package 4 20
-การสร้างข้อสอบด้วย
โปรแกรม Desktop
Author
204

รวม 40 100

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาโปรแกรมตารางคำนวณ
รหัสวิชา ง 20217
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนต้น
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต

น้ำ
ลำดั เวลา
ชื่อหน่วยการ ผลการ หนัก
บ สาระสำคัญ ชั่วโม
เรียนรู้ เรียนรู้ คะแ
ที่ ง
นน
-การเรียกใช้
โปรแกรม Excel
-ส่วนประกอบหน้าต่าง
รู้จักกับ ข้อที่ 1
1 โปรแกรม Excel 10 20
โปรแกรม Excel
-การใช้เมนูและแท็บ
เครื่องมือ
เวิร์กบุ๊คปละเวิร์กชีต
2 การทำงา ข้อที่ -ประเภทของข้อมูลใน 10 30
นกับเวิร์กชีท 2,3 โปรแกรม Excel
205

-การป้ อน การลบ และ


การแก้ไข
-การจัดการกับเวิร์กชีท
-การจัดการแถว คอลัมน์
และเซลล์
-การจัดรูปแบบของข้อมูล
บนเวิร์กชีต
-การกำหนดรูปแบบตัว
ข้อที่ อักษร
การจัดรูปแบบ
3 2,3 -การวางตำแหน่งของ 10 20
ข้อมูล
ข้อมูล
-การกำหนดเส้นขอบให้
กับเซลล์และกลุ่มเซลล์
-ตกแต่งเวิร์กชีท
-สูตร
ข้อที่ -การใช้สูตรคำนวณเบื้อง
4 สูตรและฟั งก์ชั่น 2,3,4 ต้น 10 30
-การใช้ฟังก์ชัน
-การอ้างอิงในสูตร
รวม 40 100
206

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาการงานอาชีพ รหัสวิชา
ง 31101
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 2
เวลา 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5
หน่วยกิต
น้ำ
มาตรฐาน เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ หนัก
การเรียน สาระสำคัญ (ชั่วโ
บที่ เรียนรู้ คะแน
รู้/ตัวชีว
้ ัด มง)

1 การทำงาน ง 1.1 ม.4- วิธีการทำงานร่วมกัน 4 20
ร่วมกัน 6 ในครอบครัว
/1,2,3,4,5, วิธีการทำงานร่วมกับ
6,7 เพื่อนและบุคคลใน
ชุมชน
2 บ้านน่าอยู่ ง 1.1 ม.4- วิธีการดูแลรักษา 4 20
6 บ้าน
/1,2,3,4,5, วิธก
ี ารจัดตกแต่งบ้าน
6,7 วิธีการดูแลรักษา
และจัดตกแต่ง
207

ห้องเรียน
3 ปลูกพืชถูกวิธี ง 1.1 ม.4- -หลักการปลูกพืช 4 15
มีคณ
ุ ค่าต่อ 6 เพื่อการอนุรักษ์
ชีวิต /1,2,3,4,5, ทรัพยากรและสิ่ง
6,7 แวดล้อม
-วิธีการปลูกพืชโดย
ใช้ เทคโนโลยี
ชีวภาพ
-การปลูกพืชเพื่อการ
บริโภค

4 ความรู้เกี่ยว ง 1.1 ม.4- -วิธีการดำเนินธุรกิจ 4 20


กับธุรกิจเบื้อง 6 อย่างง่าย
ต้น /1,2,3,4,5, การดำเนินการทาง
6,7 ธุรกิจ
การประกอบธุรกิจ
ขนาดกลางและ
ขนาดย่อม
-การดำเนินการการ
จดทะเบียน และ
กระบวนการค้าแบบ
พาณิชย์ ขัน
้ ตอน
การทำการจด
ทะเบียน และ
กระบวนการค้าแบบ
208

พาณิชย์ องค์
ประกอบในการ
ทำการจดทะเบียน
และกระบวนการค้า
แบบพาณิชย์
-การจดทะเบียน
และกระบวนการค้า
แบบพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์

รวม 20 100
โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาการงานอาชีพ รหัสวิชา
ง 32101
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 ภาคเรียนที่ 2
เวลา 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5
หน่วยกิต
น้ำ
มาตรฐาน เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ หนัก
การเรียน สาระสำคัญ (ชั่วโ
บที่ เรียนรู้ คะแ
รู้/ตัวชีว
้ ัด มง)
นน
1 การจัดการใน ง 1.1 ม.4- - ทักษะการทำงาน 3 20
การทำงาน 6 /1 ร่วมกัน
- ทำงานกลุ่ม
- ทำงานอย่างมี
209

น้ำ
มาตรฐาน เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ หนัก
การเรียน สาระสำคัญ (ชั่วโ
บที่ เรียนรู้ คะแ
รู้/ตัวชีว
้ ัด มง)
นน
กระบวนการ
- การบำรุงรักษา
เครื่องใช้ไฟฟ้ า
- อุปกรณ์อำนวย
ความสะดวกในชีวิต
ประจำวัน
2 พลังงานและ ง 1.1/ ม. - การใช้พลังงาน 2 10
ทรัพยากร 4 – 6 /2 ทรัพยากรอย่างคุ้ม
ค่า
3 การบำรุง ง 1.1/ ม. - เครื่องเรือนทำจาก 3 10
รักษาเครื่อง 4 – 6 /2 ไม้
เรือน - เครื่องเรือนทำจาก
หนัง
- เครื่องเรือนทำ
โลหะ
- เครื่องเรือนทำ
พลาสติก
- เครื่องเรือนทำจาก
แก้วหรือกระจก

4 การบำรุง ง 1.1/ ม. - การบำรุงรักษา 3 10


210

น้ำ
มาตรฐาน เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ หนัก
การเรียน สาระสำคัญ (ชั่วโ
บที่ เรียนรู้ คะแ
รู้/ตัวชีว
้ ัด มง)
นน
รักษาเครื่อง 4 – 6 /2 เตารีด
ใช้ไฟฟ้ า - การบำรุงรักษา
เครื่องซักผ้า
- การบำรุงรักษาตู้
เย็น
- การบำรุงรักษา
เครื่องปรับอากาศ
5 การ ง 1.1 ม.4- ความหมาย คุณค่า 5 30
สร้างสรรค์ 6 /1-7 และประเภทของงาน
งานสวยด้วย ประดิษฐ์ที่เป็ น
เอกลักษณ์ เอกลักษณ์ไทย
ไทย วิธีการประดิษฐ์ถาด
ใบตองกลีบกุหลาบ
วิธีการร้อยมาลัยตุ้ม
สอดลายชายเดียว

แนวทางการสร้างราย
ได้จากงานประดิษฐ์ที่
เป็ นเอกลักษณ์ไทย
ใช้พลังงาน ทรัพยากร
211

น้ำ
มาตรฐาน เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ หนัก
การเรียน สาระสำคัญ (ชั่วโ
บที่ เรียนรู้ คะแ
รู้/ตัวชีว
้ ัด มง)
นน
อย่างคุ้มค่า
แนวทางเข้าสู่อาชีพ
6 แนวทางสู่ ง 2.1.1 ม. - เตรียมตัวหางาน 4 20
อาชีพที่สนใจ 4 – 6/1-4 และพัฒนา
บุคลิกภาพ
- ลักษณะความ
มั่นคงและ
ก้าวหน้า
- การสมัครงาน
- การสัมภาษณ์
- การทำงาน
- การเปลี่ยนงาน
การเลือกและใช้
เทคโนโลยีอย่าง
เหมาะสมกับอาชีพ
- วิธีการ
- หลักการ
- เหตุผล
ประสบการณ์ในอาชีพ
- การจำลองอาชีพ
- กิจกรรมอาชีพ
คุณลักษณะที่ดีต่อ
อาชีพ
- คุณธรรม
- จริยธรรม
- ค่านิยม
รวม 20 100
212

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาธุรกิจและการเป็ นผู้ประกอบการ รหัสวิชา
ง 30201
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 2.0
หน่วยกิต
น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโม
บที่ เรียนรู้ รู้ คะแ
ง)
นน
1 ความรู้ทั่วไป ข้อที่ 1 1.1 ความหมายของ 8 10
เกี่ยวกับธุรกิจ ธุรกิจ
1.2 ความสําคัญของ
ธุรกิจ
1.3 องค์ประกอบของ
ธุรกิจ
1.4 ปั จจัยและบุคคลที่
เกี่ยวข้องในการ
213

ประกอบธุรกิจ
2 รูปแบบและ ข้อที่ 1 2.1 รูปแบบของการ 12 20
ลักษณะของ ประกอบธุรกิจ 2.2
การประกอบ ลักษณะของการ
ธุรกิจ ประกอบธุรกิจ
3 แนวคิดการ ข้อที่ 1 3.1 ความหมายของการ 8 10
เป็ นผู้ประกอบ เป็ นผู้ประกอบการ
การ 3.2 คุณสมบัติของผู้
ประกอบการที่ดี
3.3 จรรยาบรรณของ
การเป็ นผู้ประกอบ
การ
4 บทบาทและ ข้อที่ 2 4.1 ความหมายของ 8 10
หน้าที่ของ องค์กรธุรกิจ
องค์กรธุรกิจ 4.2 หน้าที่ขององค์กร
ธุรกิจ
4.3 บทบาทขององค์กร
ธุรกิจ
4.4 การจัดโครงสร้าง
การบริหารงาน
5 ปรัชญาและ ข้อที่ 2,5 5.1 ความหมายของ 8 10
จริยธรรมใน ปรัชญาในการดํา
การประกอบ เนินธุรกิจ
ธุรกิจ 5.2 ความหมายของ
จริยธรรมในการ
214

ประกอบธุรกิจ
5.3 จริยธรรมของผู้
ประกอบธุรกิจ
6 กฎหมายและ ข้อที่ 3 7.1 การจดทะเบียนจัด 16 20
ภาษีที่ ตัง้ ธุรกิจ
เกี่ยวข้องกับ 7.2 ความหมายของ
การประกอบ ภาษีและภาษีอากร
ธุรกิจ 7.3 ประเภทของภาษี
ธุรกิจ
7.4 การคํานวนภาษี
ธุรกิจ
7.5 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
กับธุรกิจตาม
ประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์

ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน


สาระสำคัญ
บที่ เรียนรู้ รู้
7 แผนธุรกิจ ข้อที่ 4 6.1 ความหมายของ 8 10
เบื้องต้น แผนธุรกิจ
6.2 ความสําคัญของ
แผนธุรกิจ
6.3 วัตถุประสงค์ของ
การจัดทํา
แผนธุรกิจ
215

6.4 องค์ประกอบของ
แผนธุรกิจ
6.5 หลักและวิธีการ
เขียนแผนธุรกิจ
6.6 ลักษณะของแผน
ธุรกิจที่ดี

8 การดำเนิน ข้อที่ 4 8.1 ความหมายของ 12 10


ธุรกิจตามหลัก หลักปรัชญา
ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอ 8.2 องค์ประกอบของ
เพียง ปรัชญาเศรษฐกิจพอ
เพียง
8.3 การประยุกต์ใช้หลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอ
เพียงกับ การดำเนิน
ธุรกิจ
รวม 80 100
216

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาการประกันภัย รหัสวิชา
ง 30202
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต
น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วย ผลการเรียน หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโม
บที่ การเรียนรู้ รู้ คะแน
ง)

1 ความรู้เบื้อง ข้อที่ 1,5 - ประโยชน์ของการ 6 15
ต้นเกี่ยวกับ ประกัน
การประกัน - ภัยความหมายของการ
217

ภัย ประกันภัย
- บ่อเกิดของสัญญา
ประกันภัย
- การเกี่ยวข้องของรัฐใน
การประกอบธุรกิจ
ประกันภัย
- ประวัติการประกันภัย
ในประเทศไทย
2 ประเภทและ ข้อที่ 1,3 - กฎหมายที่ เกี่ยวข้อง
ลักษณะของ กับการประกันภัย
สัญญา - สัญญาประกันภัยใน
ประกันภัย ความหมายของ
กฎหมาย
- ความแตกต่างระหว่าง
สัญญาประกันภัยกับ 6 15
การพนันขันต่อ
- ประเภทของสัญญา
ประกันภัยตาม
กฎหมาย
- ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสัญญา
ประกันภัย
3 ส่วนได้เสีย ข้อที่ 2 - การมีส่วนได้ส่วนเสีย 4 10
ในสัญญา ในสัญญาประกันภัย
ประกันภัย - ประกันวินาศภัยกับ
การประกันชีวิต
218

- ข้อแตกต่างของการมี
ส่วนได้เสีย
4 การเข้าทำ ข้อที่ 2 - หน้าที่ของผู้เอาประกัน
สัญญา - กรมธรรม์ประกันภัย
6 15
ประกันภัย - หลักฐานในการฟ้ อง
ร้องบังคับคดี

น้ำ
ลำดั เวลา
ชื่อหน่วย ผลการเรียน หนัก
บ สาระสำคัญ (ชั่วโม
การเรียนรู้ รู้ คะแน
ที่ ง)

5 การประกัน ข้อที่ 2,4 - จุดมุ่งหมายของการ 6 15
วินาศภัย ประกันวินาศภัย

ทั่วไป - ข้อแตกต่างระหว่าง
ประกันภัยวินาศภัย
รายเดียวกับวินาศภัย
หลายราย
- หลักการชดใช้ค่า
สินไหมทดแทน
- การรับช่วงสิทธิ
- การโอนวัตถุที่เอา
ประกันภัย
- การบอกกล่าวเมื่อเกิด
219

วินาศภัย
- การยกเว้นความรับผิด
ในการชดใช้ค่าสินไหม
ทดแทน
- อายุความ
6 การประกัน ข้อที่ 2,4 - การประกันภัยในการ 6 15
วินาศภัย รับขน
เฉพาะเรื่อง - การประกันภัยค้ำจุน
- ข้อแตกต่างเรื่องราคา
มูลประกันภัย
- การชดใช้ค่าสินไหม
ทดแทน
- การคุ้มครองภัย
ระหว่างการประกัน
วินาศภัยทั่วไปกับการ
ประกันภัยในการรับ
ขน
- ความรับผิดชอบของผู้
เอาประกันภัย
- การชดใช้ค่าสินไหม
ทดแทน
7 การประกัน ข้อที่ 2,4 - ประเภทของการ 6 15
ชีวิต ประกันชีวิตตาม
กฎหมาย
- ข้อแตกต่างของการ
220

ชดใช้ค่าสินไหม
ทดแทนระหว่างการ
ประกันวินาศภัยกับการ
ประกันชีวิต
- การเปลี่ยนตัวผู้รับ
ประโยชน์
- การแถลงอายุคลาด
เคลื่อน
- การบอกเลิกสัญญา
ประกันชีวิต
- การปฏิเสธของผู้รับ
ประกันชีวิตในการ
ชดใช้เงิน
รวม 40 100

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจ รหัสวิชา
ง 30203
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน สาระสำคัญ เวลา น้ำ
บที่ เรียนรู้ รู้ (ชั่วโม หนัก
ง) คะแ
221

นน
1 ความรู้ทั่วไป ข้อที่ 1 - ความรู้ทั่วไป เกี่ยว 6 15
เกี่ยวกับธุรกิจ กับธุรกิจ
- ความรู้พ้น
ื ฐาน
เกี่ยวกับ ธุรกิจ
- เป้ าหมายของ
ธุรกิจ
- ปั จจัยในการ
ดำเนิน ธุรกิจ
- สภาพแวดล้อม
ภายนอกของการ
ประกอบ ธุรกิจ
- ประโยชน์ของ
ธุรกิจ
- แนวโน้มการ
ประกอบ ธุรกิจใน
อนาคต
2 ประเภทของ ข้อที่ 2,3 - กิจการเจ้าของคน 6 15
การดำเนิน เดียว
ธุรกิจ - ห้างหุ้นส่วน
- บริษัทจำกัด
- รัฐวิสาหกิจ
- สหกรณ์
- แฟรนไชส์
3 การจัดการ ข้อที่ 4 - ความหมายและ 4 10
222

ความสำคัญของการ
จัดการ
- การจัดการอย่างมี
ประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล
- ระดับของผู้บริหาร
และทักษะที่ สำคัญ
ของผู้บริหาร
4 การตลาด ข้อที่ 4 - ความหมายและ 4 10
ความสำคัญของการ
ตลาด
- หน้าที่ทางการ
ตลาด
- ความหมายและ
ประเภทของตลาด
- แนวคิดทางการ
ตลาด
- การแบ่งส่วนตลาด
- ส่วนประสมการ
ตลาด
- วงจรชีวิต
ผลิตภัณฑ์
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน สาระสำคัญ เวลา น้ำ
บที่ เรียนรู้ รู้ (ชั่วโม หนัก
ง) คะแ
223

นน
5 แหล่งเงินทุน ข้อที่ 4 - ขอบเขตการเงิน 4 10
และสถาบัน ขององค์การ
การเงิน - ประเภทเงินทุน
- สถาบันการเงิน
6 การบริหาร ข้อที่ 4 - ความหมายและ 4 10
งาน บุคคล ความสำคัญของการ
บริหารงานบุคคล
- หลักการบริหาร
งาน บุคคล
- การวิเคราะห์งาน
- การวางแผน
บุคลากร
- การสรรหาและ
การ คัดเลือก
- การพัฒนา
บุคลากร
- การประเมินผล
การ ปฏิบัติงาน
7 การเงินและ ข้อที่ 4 - ความหมายของ 4 10
การ บัญชี การ บริหารการเงิน
- ขอบเขตทางการ
เงินใน องค์การธุรกิจ
- เป้ าหมายของการ
บริหารการเงิน
224

- หน้าที่ของการ
บริหาร การเงิน
- หลักสำคัญในการ
ตัดสินใจทางการเงิน
- จริยธรรมกับการ
บริหาร การเงิน
- การบัญชี
- ความหมายของ
การ บัญชี
- ประโยชน์การ
บัญชี
- งวดบัญชีหรือรอบ
ระยะเวลาบัญชี
- งบการเงิน
8 การบริหาร ข้อที่ 4 - ความหมายของ 4 10
งานใน การบริหาร
องค์การ - ทฤษฎีการบริหาร
- หน้าที่ทางการ
บริหาร
- การวางแผน
- การจัดองค์การ
- การบริหาร
ทรัพยากรมนุษย์
- การสั่งการ
- การควบคุม
225

น้ำ
ลำดั เวลา
ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
บ สาระสำคัญ (ชั่วโม
เรียนรู้ รู้ คะแ
ที่ ง)
นน
9 ผู้ประกอบการ ข้อที่ 4,5 - ความหมายของ ผู้ 4 10
และจริยธรรม ประกอบการ
ทางธุรกิจ - การพัฒนาการ
เป็ น ผูป
้ ระกอบกา
- แนวคิดของการ
เป็ น ผูป
้ ระกอบการ
- สิ่งจูงใจและ
อุปสรรค ในการ
ประกอบธุรกิจ
- การเตรียมพร้อม
เพื่อ เป็ นผู้ประกอบ
การ
- การแสวงหา
โอกาสทาง ธุรกิจ
- คุณธรรม
จริยธรรม และจรรยา
บรรณ
- จริยธรรมและ
กฎหมาย
- จริยธรรมธุรกิจ
และ การจัดการ
226

จริยธรรม
- คุณค่าจริยธรรม
ธุรกิจ
- ปั ญหาจริยธรรม
ใน ธุรกิจ
- ธรรมาภิบาล และ
บรรษัทภิบาล
รวม 40 100
227

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาหลักการตลาด รหัสวิชา
ง 30204
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต
น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วย หนัก
ผลการเรียนรู้ สาระสำคัญ (ชั่วโม
บที่ การเรียนรู้ คะแ
ง)
นน
1 ลักษณะ ข้อที่ 1 - ลักษณะทั่วไปและ
ทั่วไปของ ความสำคัญของตลาด 2 5
การตลาด
2 แนวความ ข้อที่ 1 - แนวความคิด
คิดทางการ ทางการตลาด 4 10
ตลาด
3 บทบาท ข้อที่ 1 - บทบาทและหน้าที่
และหน้าที่ ทางการตลาด
4 10
ทางการ
ตลาด
4 สิ่งแวดล้อม ข้อที่ 1 - สิ่งแวดล้อมทางการ
ทางการ ตลาด 4 10
ตลาด
5 พฤติก รรม ข้อที่ 1 - พฤติกรรมของผู้ 4 10
ข อ ง ผ บริโภค
228

บริโภค
6 ผลิตภัณฑ์ ข้อที่ 3 - ผลิตภัณฑ์ 4 10
7 ราคา ข้อที่ 3 - ราคา 4 10
8 ช ่อ ง ข้อที่ 3 - ช่องทางการจัด 4 10
ทางการจัด จำหน่าย
จำหน่าย
9 การส่งเสริม ข้อที่ 3 - การส่งเสริมการจัด 4 10
ก า ร จ ด
ั จำหน่าย
จำหน่าย
10 จ ร ร ย า ข้อที่ 5 - จรรยาบรรณนักการ 4 10
บ ร ร ณ ตลาด
น ัก ก า ร
ตลาด
รวม 40 100
229

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชางานสำนักงาน รหัสวิชา
ง 30205
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต
เวลา น้ำ
ลำดั ชื่อหน่วย (ชั่วโม หนัก
ผลการเรียนรู้ สาระสำคัญ
บที่ การเรียนรู้ ง) คะแ
นน
1 ความรู้ ข้อที่ 1 - ความหมาย 4 10
เบื้องต้น สำนักงานและงาน
เกี่ยวกับ สำนักงาน
งาน - วัตถุประสงค์งาน
สำนักงาน สำนักงาน
- ประเภทงาน
สำนักงาน
- โครงสร้างองค์การ
ของสำนักงาน
- หลักการพิจารณา
เลือกอาคารสำนักงาน
- การจัดพื้นที่ใน
สำนักงาน
- สภาพแวดล้อมใน
การทำงาน
230

2 ลักษณะ ข้อที่ 2,3 - ลักษณะสำคัญของ 4 10


งาน งานสำนักงาน
สำนักงาน - ขอบเขตของงาน
สำนักงาน
- กิจกรรมใน
สำนักงาน
- การบริหาร
สำนักงาน
- การวางแผนงาน
สำนักงาน
- ลักษณะของการ
วางแผนงานใน
สำนักงาน
- ขัน
้ ตอนการวางแผน
งานสำนักงาน
- การควบคุมงาน
สำนักงาน
3 บุคลากรใน ข้อที่ 3 - งานของบุคลากรใน 4 10
สำนักงาน สำนักงาน
- คุณสมบัติของ
พนักงานที่พึงประสงค์
- จริยธรรมสำหรับ
พนักงานสำนักงาน
- ข้อพึงปฏิบัติสำหรับ
231

พนักงาน
4 การพัฒนา ข้อที่ 4 - ความหมายของ 4 10
บุคลิกภาพ บุคลิกภาพ
- องค์ประกอบของ
บุคลิกภาพ
- ลักษณะของผู้มี
บุคลิกภาพดี
- การปรับปรุง
บุคลิกภาพภายนอก
- การปรับปรุง
บุคลิกภาพภายใน

น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วย หนัก
ผลการเรียนรู้ สาระสำคัญ (ชั่วโม
บที่ การเรียนรู้ คะแ
ง)
นน
5 การผลิต ข้อที่ 4 - ชนิดของจดหมาย 8 20
เอกสาร ธุรกิจ
งานพิมพ์ - การเขียนรายงาน
- ส่วนประกอบของ
รายงาน
- การพิมพ์รายงาน
ทางวิชาการ
- การบันทึกข้อความ
232

- ประเภทของบันทึก
6 งาน ข้อที่3 - ความหมายของคำ 4 10
สารบรรณ ว่างานสารบรรณ
- ชนิดของหนังสือ
- รายละเอียดของ
หนังสือ
- การรับหนังสือ
- การส่งหนังสือ
- การเก็บรักษา
เอกสาร
- การยืมเอกสาร
- การทำลายเอกสาร
7 วัสดุและ ข้อที่4 - ความหมายของคำ 4 10
อุปกรณ์ ว่า วัสดุ อุปกรณ์และ
สำนักงาน เครื่องใช้สำนักงาน
- หลักการในการ
บริหารงานวัสดุ
- การเก็บรักษาวัสดุ
- ประเภทของวัสดุ
- ประเภทของ
อุปกรณ์

8 เครื่องใช้ ข้อที่4,5 - ประโยชน์ในการใช้ 8 20


สำนักงาน เครื่องใช้สำนักงาน
การสื่อสาร - การเลือกเครื่องใช้
233

และ สำนักงาน
โทรคมนาค - วิธีการจัดหาเครื่อง
ม ใช้สำนักงาน
ใน - ความหมายของคำ
สำนักงาน ว่าการติดต่อสื่อสาร
และโทรคมนาคม
- ลักษณะของกิจการ
โทรคมนาคม
- ประเภทของกิจการ
โทรคมนาคม
- การติดต่อสื่อสารใน
สำนักงาน
รวม 40 100

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาความปลอดภัย รหัสวิชา
ง 30206
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการ สาระสำคัญ เวลา น้ำ
บที่ เรียนรู้ เรียนรู้ (ชั่วโม หนัก
234

คะแน
ง)

1 หลักสุข ข้อที่ 1 อุบัติเหตุคือเหตุการณ์ที่ 8 20
ศาสตร์ เกิดขึน
้ สร้างความเสีย
อุตสาหกรรม หายอย่างไม่คาดหมาย
มาตรฐานและ -สาเหตุที่เกิดจาก
กฎหมาย คน(Human Cause)
ความ -สาเหตุจากการ
ปลอดภัย ออกแบบที่ไม่ถูกต้อง
เหมาะสม
-สาเหตุที่เกิดจาก
ธรรมชาติ(Natural
Disaster
2 การจัดการ ข้อที่ 2 -การใช้ความรู้ทาง 8 20
ความ วิชาการด้าน
ปลอดภัยใน วิศวกรรมศาสตร์
งานอาชีพ ใน -การให้การศึกษาหรือ
สถาน การ
ประกอบการ ฝึ กอบรม-(Education-
พัฒนาความ E)
ปลอดภัยโดย -การใช้มาตรการบังคับ
ใช้เทคโนโลยี ควบคุม-
และวิศวกรรม (Enforcement-E)
ความ
ปลอดภัย
235

3 หลักความ ผลการเรียน อุปกรณ์สำหรับความ 8 20


ปลอดภัยใน รู้ ปลอดภัยเป็ นหลักโดย
การปฏิบัติ ข้อที่ 3 ต้องสวมใส่อุปกรณ์
งาน ปกป้ องอวัยวะต่างๆของ
ร่างกายในการปฎิบัติ
งาน ผู้ปฎิบัติงานจำเป็ น
ต้องทราบหลักการใช้
งาน
-อุปกรณ์ป้องกันศีรษะ

น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการ หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโม
บที่ เรียนรู้ เรียนรู้ คะแน
ง)

4 หลักความ ข้อที่ 4 -อุปกรณ์ป้องกัน 8 20
ปลอดภัยใน เท้า(FootProtection)
การปฏิบัติ -อุปกรณ์ป้องกันดวงตา
งาน และใบหน้า (Eye and
Face Protection)
-อุปกรณ์ป้องกัน
อันตรายระบบทางเดิน
236

หายใจ (Respiratory
Protection)
-อุปกรณ์ป้องกันระบบ
การได้ยิน (Hearing
Protection Devices)
-อุปกรณ์ป้องกัน
อันตรายระบบทางเดิน
หายใจลักษณะต่างๆ
-อุปกรณ์ป้องกันมือและ
แขน (Hand and Arm
Protection)
-อุปกรณ์ป้องกันการตก
จากที่สูง
-อุปกรณ์ตรวจจับ
ปริมาณสารพิษประจำ
ตัว
5 การตรวจสอบ ข้อที่ 5 คุณสมบัติของวัสดุ 8 20
วัสดุที่ใช้ใน -ด้านวัสดุศาสตร์
โครงการ (MaterialScience)
-คุณสมบัติของวัสดุ
(Material Properties)
-ความแข็งแรงของวัสดุ
(Strength of
Material)
-การตรวจสอบวัสดุแบบ
237

ทำลาย (DT-
Destructive
Testing)
-การตรวจสอบวัสดุแบบ
ไม่ทำลาย (NDT-
Nondestructive
Testing)
-ด้านคุณสมบัติของ
เครื่องจักรและอุปกรณ์
(Equipment
Technical
Specification)
รวม 40 100

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาเศรษฐศาสตร์ทั่วไป รหัสวิชา
ง 30207
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน สาระสำคัญ เวลา น้ำ
บ ที่ เรียนรู้ รู้ (ชั่วโม หนัก
238

คะแ
ง)
นน
1 ความรู้ทั่วไป ข้อที่ 1,5 ความหมายของคำว่า 4 10
ทางด้าน เศรษฐศาสตร์ หน่วย
เศรษฐศาสตร์ เศรษฐกิจ ระบบ
เศรษฐกิจ ปั ญหาพื้น
ฐานทางเศรษฐกิจ
เนื้อหาวิชาเศรษฐศาสตร์
วิธีศึกษาทาง
เศรษฐศาสตร์ ความ
สำคัญและประโยชน์
ของวิชาเศรษฐศาสตร์
2 การจัดสรร ข้อที่ 1 ความหมายของ 8 20
และการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากร การจำแนกประเภท
อุปสงค์ ทรัพยากรธรรมชาติ
อุปทาน และ การจัดสรรทรัพยากร
ดุลยภาพ การใช้ทรัพยากร ความ
สามารถในการใช้
ทรัพยากร ปั ญหาที่เกิด
จากการใช้ทรัพยากร
อุปสงค์ กฎของอุปสงค์
การเปลี่ยนแปลงของ
ระดับอุปสงค์ ในทางที่
เพิ่มขึน
้ และลดลง
239

อุปทาน กฎของอุปทาน
การเปลี่ยนแปลงของ
ระดับอุปทาน การ
เปลี่ยนแปลงของระดับ
อุปทานในทางที่เพิ่มขึน

และลดลง การกำหนด
ราคาและดุลยภาพของ
ตลาด การเปลี่ยนแปลง
ภาวะดุลยภาพ

3 การบริโภค ข้อที่ 2 ความหมายของการ 4 10


บริโภค ประเภทของ
การบริโภค พฤติกรรม
การบริโภค
อรรถประโยชน์ กฎ
การลดลงของ
อรรถประโยชน์หน่วย
สุดท้าย

น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโม
บ ที่ เรียนรู้ รู้ คะแ
ง)
นน
240

4 การผลิตและ ข้อที่ 2 ความหมายของการผลิต 4 10


ต้นทุนการ การผลิตกับขนาดของ
ผลิต หน่วยธุรกิจ ฟั งก์ชั่
นการผลิต
ความหมายของการผลิต
ในระยะสั่นและระยะ
ยาว การวิเคราะห์การ
ผลิตในระยะสั่น การ
วิเคราะห์การผลิตใน
ระยะยาว การใช้ส่วน
ผสมของปั จจัยการผลิต
อย่างเหมาะสม ต้นทุน
การผลิต
5 ตลาด ข้อที่ 2 ความหมายการแลก 4 10
เปลี่ยน
วิวัฒนาการแลกเปลี่ยน
องค์ประกอบของการ
แลกเปลี่ยน ความ
หมายของตลาด ตลาด
ปั จจุบัน ตลาดล่วงหน้า
และตลาดอนาคต
ลักษณะของตลาด
ความหมายการตลาด
หน้าที่ของการตลาด
กิจกรรมทางการตลาด
241

6 การเงินและ ข้อที่ 3 วิวัฒนาการของระบบ 4 10


สถาบันการ แลกเปลี่ยน ความ
เงิน หมายของเงิน
คุณสมบัติของเงินที่ดี
อุปทานเงินตรา
และอุปสงค์เงินตรา
สถาบันการเงิน สถาบัน
การเงินในประเทศไทย

น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโม
บ ที่ เรียนรู้ รู้ คะแ
ง)
นน
7 ภาษีอากร ข้อที่ 3 ความหมายของภาษี 8 20
การลงทุนการ อากร วัตถุประสงค์ของ
ค้าระหว่าง การเก็บภาษีอากร
ประเทศ ลักษณะของภาษีอากรที่
ดี ประเภทของภาษี
242

และอัตราภาษี ฐาน
ภาษีและอัตราภาษี
หน่วยงาน ที่จัดเก็บภาษี
อากร
ความหมายการลงทุน
ลักษณะของการลงทุน
ตัวกำหนดการลงทุน
ประเภทของการลงทุน
หลักการลงทุน ข้อมูล
การลงทุน
ข้อมูลเพื่อการลงทุน
ความหมายการค้า
ระหว่างประเทศ
ประโยชน์ของการค้า
ระหว่างประเทศ
นโยบายการค้าระหว่าง
ประเทศ ทฤษฎีการค้า
ระหว่างประเทศ
ดุลการค้า และ
ดุลการชำระเงิน
8 การพัฒนา ข้อที่ 4 ความหมายของการ 4 10
เศรษฐกิจ พัฒนา ความหมายของ
การพัฒนาเศรษฐกิจ
ความหมายของความ
เจริญเติบโตทาง
243

เศรษฐกิจ หลักเกณฑ์
ในการวัดการพัฒนา
เศรษฐกิจ แนวความ
คิดในการพัฒนา
เศรษฐกิจ ปั ญหา
เศรษฐกิจของ
ประเทศไทย แนวทาง
การแก้ไขปั ญหา
รวม 40 100

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาเขียนแบบเทคนิค รหัสวิชา
ง 30208
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต
244

น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการ หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโม
บที่ เรียนรู้ เรียนรู้ คะแน
ง)

1 มาตรฐานการ ข้อที่ 1 -เทคนิค เส้น ตัวเลข ตัว 8 20
เขียนแบบ อักษรมาตราส่วน
2 องค์ประกอบ ข้อที่ 1 - มิติ กระดาษเขียน 8 20
ของการบอก แบบ
ขนาด
3 การใช้ ข้อที่ 2 - การเขียนเส้น มุม 8 20
อุปกรณ์เขียน ตัวเลข ตัวอักษร
แบบเบื้องต้น สัญลักษณ์งานช่าง
อุตสาหกรรม การใช้
มาตราส่วน การบอก
ขนาดมิติ การสร้างรูป
ทรงเรขาคณิต
4 ภาพสามมิติ ข้อที่ 3 - หลักการฉายภาพ 8 20
(OrthogaphicProje
ction)มุมที1
่ และมุม
ที่ 3 ภาพทอเรียล
( Pictorial)
5 การบอก ข้อที่ 3 - ภาพตัด ภาพช่วย 8 20
ขนาดมิติที่ซับ ภาพคลี่เบื้องต้น และ
ซ้อน แบบสั่งงาน
การสัญลักษณ์เบื้อง
245

น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการ หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโม
บที่ เรียนรู้ เรียนรู้ คะแน
ง)

ต้นในงานช่าง
อุตสาหกรรม

รวม 40 100

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชากฎหมายธุรกิจ รหัสวิชา
ง 30209
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต
246

น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการ หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโม
บ ที่ เรียนรู้ เรียนรู้ คะแ
ง)
นน
1 บุคคล ข้อที่ กฎหมายใช้บังคับกับ 4 10
1,2,5 บุคคล บุคคลทาง
กฎหมายแบ่งอกเป็ น
บุคคลธรรมดาและ
นิติบุคคล ความสามารถ
ในทำนิติกรรมของ
บุคคลและนิติบุคคลเป็ น
สาระสำคัญประการหนึ่ง
ที่กฎหมายได้กำหนด
ความสามารถและการ
จำกัดความสามารถของ
บุคคลธรรมดา ตลอดจน
ความสามารถของ
นิติบุคคลผ่านกฎเกณฑ์
เรื่องผู้แทนนิติบุคคล
และวัตถุประสงค์ของ
นิติบุคคล

2 หนี ้ 2 หนีเ้ ป็ นภาระหรือ 4 10


หน้าที่ที่ลูกหนีต
้ ้อง
ปฏิบัติแก่จ้าหนี ้ หรือที่
247

ในทางกฎหมายเรียกว่า
การชำระหนี ้ หนีเ้ กิดขึน

ได้ด้วยบ่อเกิดแห่งหนี ้
และหนีส
้ ามารถระงับได้
ด้วยเหตุต่างๆ คือ การ
ชำระหนี ้ การปลดหนี ้
การหักกลบลบหนี ้ การ
แปลงหนีใ้ หม่ และหนี ้
เกลื่อนกลืนกัน

น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการ หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโม
บ ที่ เรียนรู้ เรียนรู้ คะแ
ง)
นน
3 นิติกรรม - 2 นิติกรรม 4 10
สัญญา หมายความว่าการใดๆ
อันทำลงโดยชอบด้วย
กฎหมายและด้วยใจ
สมัคร มุ่งโดยตรงต่อการ
248

ผูกนิติสัมพันธ์ขน
ึ้
ระหว่างบุคคล เพื่อจะ
ก่อ เปลี่ยนแปลง โอน
สงวนหรือระงับซึ่งสิทธิ
ซึ่งนิติกรรมจะต้องมี
วัตถุประสงค์ที่ไม่ขัดต่อ
กฎหมาย ความสงบ
เรียบร้อยและศีลธรรม
อันดีของประชาชน
สัญญาหมายถึง
นิติกรรมที่บุคคลตัง้ แต่
2 ฝ่ ายขึน
้ ไปตกลงทำกัน
โดยฝ่ ายหนึ่งเป็ นผู้ทำคำ
เสนอและอีกฝ่ ายหนึง่
เป็ นผู้ทำคำสนองในคำ
เสนอนัน
้ และสัญญาจะ
เกิดขึน
้ เมื่อคำเสนอตรง
กับคำสนองสัญญาเป็ น
บ่อเกิดแห่งหนีล
้ ักษณะ
เดียวกันกับนิติกรรม
โดยกฎหมายได้กำหนด
หลักเกณฑ์บางประการ
ไว้เป็ นการเฉพาะ แต่
ทัง้ นีส
้ ัญญาก็ยังต้อง
อาศัยหลักเกณฑ์พ้น
ื ฐาน
249

เกี่ยวกับการทำนิติกรรม
ไว้

4 ซื้อขาย แลก 2 สัญญาซื้อขาย หมายถึง 4 10


เปลี่ยน ให้ สัญญาซึ่งบุคคลหนึง่
เรียกว่าผู้ขาย โอน
กรรมสิทธิแ์ ห่งทรัพย์สิน
ให้แก่บค
ุ คลอีกฝ่ ายหนึ่ง
เรียกว่าผู้ซ้อ
ื และผู้ซ้อ

ตกลงว่าจะใช้ราคา
ทรัพย์สินนัน
้ ให้แก่ผู้ขาย
ซึ่งสัญญาซื้อขายมีอยู่
หลายลักษณะเช่น การ
ซื้อขายเสร็จเด็ดขาด
การขายฝาก การขาย
ตามตัวอย่าง การขาย
ตามคำพรรณนา การ
ขายเผื่อชอบ และการ
ขายทอดตลาด ซึ่งการ
ซื้อขายบางกรณี
กฎหมายอาจกำหนด
แบบไว้เป็ นการเฉพาะ
เช่น การซื้อขาย
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการ สาระสำคัญ เวลา น้ำ
บ ที่ เรียนรู้ เรียนรู้ (ชั่วโม หนัก
250

คะแ
ง)
นน
อสังหาริมทรัพย์ หรือ
สังหาริมทรัพย์พิเศษ
การแลกเปลี่ยน
คือ สัญญาซึ่งคู่กรณีต่าง
โอนกรรมสิทธิแ์ ห่ง
ทรัพย์สินให้แก่กันและ
กัน ซึ่งคู่สัญญานัน
้ มุ่งที่
จะตกลงนำกรรมสิทธิใ์ น
ทรัพย์สินมาแลกเปลี่ยน
กัน
การให้ คือ สัญญา
ซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่าผู้
ให้ โอนทรัพย์สินของตน
ให้แก่บค
ุ คลอีกคนหนึ่ง
เรียกว่าผู้รับ และผู้รับ
ยอมรับเอาทรัพย์สินนัน

โดยการให้นน
ั ้ สมบูรณ์
ต่อเมื่อส่งมอบทรัพย์สิน
ที่ให้ และผู้ให้สามารถ
ถอนคืนการให้ด้วยเหตุที่
ผู้รับประพฤติเนรคุณได้
5 เช่าทรัพย์ เช่า 2 เช่าทรัพย์ คือ 4 10
ซื้อ สัญญาซึ่งบุคคลหนึง่
251

เรียกว่าผู้ให้เช่า ตกลงให้
บุคคลอีกบุคคลหนึ่ง
เรียกว่า ผู้เช่าได้ใช้
ทรัพย์สินในระยะเวลา
หนึ่ง และผู้เช่าจะให้ค่า
เช่า ซึง่ การเช่า
อสังหาริมทรัพย์
กฎหมายได้กำหนดหลัก
เกณฑ์ในการเช่าไว้
เป็ นการเฉพาะเพื่อให้
สามารถฟ้ องร้องบังคับ
คดีกันได้
เช่าซื้อ คือ สัญญา
ซึ่งเจ้าของเอาทรัพย์สิน
ออกให้เช่าและให้คำมั่น
ว่าจะขายทรัพย์สินหรือ
จะให้ทรัพย์สินนัน
้ ตก
เป็ นสิทธิแก่ผู้เช่าโดย
เงื่อนไขที่ผเู้ ช่าได้ใช้เงิน
เป็ นจำนวนเท่านัน
้ เท่านี ้
คราว โดยกฎหมาย
กำหนดให้สญ
ั ญาเช่าซื้อ
เป็ นสัญญาที่ต้องทำตาม
แบบคือต้องทำเป็ น
หนังสือ
252

น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการ หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโม
บ ที่ เรียนรู้ เรียนรู้ คะแ
ง)
นน
6 จ้างแรงงาน จ้าง 3 สัญญาจ้างแรงงาน 4 10
ทำของ คือ สัญญาซึ่งบุคคลคน
หนึ่งที่เรียกว่า ลูกจ้าง
ตกลงจะทำงานให้แก่
บุคคลอีกคนหนึ่งที่เรียก
ว่า นายจ้าง และ
นายจ้างตกลงจะให้สิน
จ้างแก่ลก
ู จ้างตลอดเวลา
ที่ทำงานให้
สัญญาจ้างทำของ
เป็ นสัญญาต่างตอบแทน
ผู้รับจ้างมีหน้าที่ต้องจ่าย
สินจ้างแก่ผู้รับจ้าง และ
ผู้รับจ้างมีหน้าที่ทำการ
งานสิง่ ใดให้แก่ผู้ว่าจ้าง
โดยสัญญาจ้างทำของ
เป็ นสัญญาที่คำนึงถึง
ความรู้ความสามารถ
ของผู้รับจ้าง
253

7 รับขน 4 ก า ร ร ับ ข น ส ิน ค ้า 4 5
เ ป็ น เ อ ก เ ท ศ ส ัญ ญ า
ลัก ษณะหนึ่ง ที่ผ ู้ข นส่ง
ตกลงกับ อีก ฝ่ ายหนึ่ง ใน
ก าร ส ่ง ส ิน ค ้า ไ ป ย ัง จ ุด
หมายปลายทางโดยมี
ส ิท ธ ิต า ม ท ี่ก ฎ ห ม า ย
กำหนด
ก า ร ร ับ ข น ค น
โ ด ย ส า ร เ ป็ น เ อ ก เ ท ศ
สัญ ญาลัก ษณะหนึ่ง ที่ผ ู้
ข น ส ่ง ก ับ ค น โ ด ย ส า ร
ต ก ล ง ก ัน ข น ส ่ง ค น
โดยสารและเครื่อ งเดิน
ทางไปยังจุดหมายปลาย
ท า ง โ ด ย ม ีส ิท ธ ิห น ้า ท ี่
ตามที่กฎหมายกำหนด

8 ฝากทรัพย์ 2 ฝากทรัพย์ คือสัญญาซึ่ง 2 5


บุคคลคนหนึ่งเรียกว่า ผู้
ฝาก ส่งมอบทรัพย์สินให้
แก่ บุคคลอีกคนหนึง่
เรียกว่า ผู้รับฝาก และ
ผู้รับฝากตกลงว่าจะเก็บ
254

รักษาทรัพย์สินนัน
้ ไว้ใน
อารักขาแห่งตนแล้วจะ
คืนให้ โดยมาตรฐานใน
การดูแลทรัพย์สินจะมี
แตกต่างกัน ขึน
้ กับว่า
ผู้รับฝากได้รับบำเหน็จ
จากการรับฝากหรือไม่
หรือมีวิชาชีพทางการรับ
ฝากหรือไม่
น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการ หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโม
บ ที่ เรียนรู้ เรียนรู้ คะแ
ง)
นน
9 ยืม 2 สัญญายืม คือสัญญาซึง่ 2 10
คู่สญ
ั ญาฝ่ ายหนึ่ง เรียก
ว่า ผู้ให้ยืม ได้ส่งมอบ
ทรัพย์สินให้แก่คส
ู่ ัญญา
อีกฝ่ ายหนึ่ง เรียกว่า ผู้
ยืม เพื่อใช้ทรัพย์นน
ั้
และผู้ยืมต้องคืนใช้ให้
เมื่อใช้สอยเสร็จแล้ว
สัญญายืมแบ่งออกเป็ น
2 ประเภทคือ การยืมใช้
คงรูป และยืมใช้สน
ิ้
เปลือง
255

การกู้ยืมเงิน
เป็ นการยืมใช้สน
ิ ้ เปลือง
แบบหนึง่ ซึ่งกฎหมายให้
คิดดอกเบีย
้ ได้ไม่เกิน
ร้อยละ 15 บาทต่อปี
และกำหนดหลักเกณฑ์
บางประการ เพื่อใช้เป็ น
หลักฐานในการฟ้ องร้อง
บังคับคดี
10 ค้ำประกัน 2 ค้ำประกัน คือ สัญญาซึ่ง 2 5
จำนำ จำนอง บุคคลภายนอกคนหนึ่ง
เรียกว่า ผูค
้ ้ำประกัน
ผูกพันตนต่อเจ้าหนี ้ คน
หนึ่งเพื่อชำระหนี ้ ในเมื่อ
ลูกหนีไ้ ม่ชำระหนีน
้ น
ั้
จำนำ คือ สัญญา
ซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า
ผู้จำนำ ส่งมอบ
สังหาริมทรัพย์สิ่งหนึ่ง
ให้แก่ บุคคลอีกคนหนึง่
เรียกว่า ผู้รับจำนำ เพื่อ
เป็ นประกันการชำระหนี ้
และสัญญาจำนำจะ
สมบูรณ์ก็ต่อเมื่อมีการ
ส่งมอบ โดยการจำนำ
256

สามารถจำนำได้กับ
บุคคลธรรมดา และกับ
โรงรับจำนำ
จำนอง คือ สัญญา
ซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า
ผู้จำนอง เอาทรัพย์สินตรา
ไว้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง
เรียกว่าผู้รับจำนอง เป็ น
ประกันการชำระหนี ้ โดย
ไม่ส่งมอบทรัพย์สินนัน
้ ให้
แก่ผู้รับจำนอง โดย
กฎหมายกำหนดให้
จำนองต้องทำตามแบบ
คือทำเป็ นหนังสือและ
จดทะเบียนต่อพนักงาน
เจ้าหน้าที่
น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการ หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโม
บ ที่ เรียนรู้ เรียนรู้ คะแ
ง)
นน
11 ตัวแทน นาย 2 สัญญาตัวแทน คือ 2 5
หน้า สัญญาซึง่ บุคคลหนึ่งเรียก
ว่า ตัวแทน มีอำนาจ
ทำการแทนบุคคลหนึง่
เรียกว่า ตัวการ และ
ตกลงจะทำการดังนัน

257

การใดที่ตัวแทนได้ทำลง
ในกรอบของสัญญาแล้ว
ให้การนัน
้ ผูกพันตัวการ
ซึ่งการตัง้ ตัวแทนมีได้ 2
ลักษณะคือ ตัวแทนโดย
ชัดแจ้ง กับ ตัวแทนโดย
ปริยาย
นายหน้า คือ
บุคคลที่ตกลงเป็ น
คนกลางทำหน้าที่ชี ้
ช่องให้ตัวการเข้าทำ
สัญญากับบุคคล
ภายนอก โดยที่นาย
หน้ามีสิทธิได้รับ
บำเหน็จจากการชีช
้ ่อง
แม้ไม่มีการตกลงกัน
อย่างชัดแจ้ง
12 กฎหมาย 2,5 ทรัพย์สินทางปั ญญา เป็ น 4 10
ทรัพย์สินทาง ผลงานอันเกิดจากการ
ปั ญญาและ ประดิษฐ์ คิดค้น หรือ
กฎหมายธุรกรรม สร้างสรรค์ของมนุษย์ซึ่ง
อิเล็กทรอนิกส์ เน้นที่ผลผลิตของสติ
ปั ญญาและความชำนาญ
จึงจำเป็ นต้องมีการคุ้ม
ครองทรพย์สินทาง
ปั ญญา เพื่อให้มนุษย์ได้
258

ใช้ประโยชน์จากงานที่ตน
สร้างสรรค์ขน
ึ ้ ในขณะ
เดียวกัน ผู้ที่ไปละเมิด
สิทธิในทรัพย์สินทาง
ปั ญญาในขณะที่ตนไม่มี
สิทธิ จัดว่าเป็ นความผิด
ทัง้ ทางแพ่งและทาง
อาญา
การทำธุรกรรม
อิเล็กทรอนิกส์ เป็ นรูป
แบบการทำธุรกรรมผ่าน
ระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศ ทีค
่ ู่สัญญาไม่
จำเป็ นต้องอยู่กันเฉพาะ
หน้า การลงลายมือชื่อซึ่ง
เป็ นการยืนยันตัวของ
บุคคลก็ต้องมีวิธีการที่
ปรับเปลี่ยนไป รูปแบบ
การลงลายมือชื่อ
อิเล็กทรอนิกส์กฎหมาย
จึงกำหนดวิธีการที่
เป็ นการยืนยันตัวบุคคล
เอาไว้ในรูปแบบต่างๆ

รวม 40 100
โครงสร้างรายวิชา
259

รายวิชาองค์การและการจัดการ รหัสวิชา
ง 30210
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต
น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโม
บ ที่ เรียนรู้ รู้ คะแ
ง)
นน
1 ความรู้เบื้อง ข้อที่ 1 - ความหมาย
ต้นเกี่ยวกับ ลักษณะจุดมุ่งหมาย
การจัดการ - หลักการและ
4 5
กระบวนการจัดการ
ทางธุรกิจ

2 แนวคิดในการ ข้อที่ 1 - วิวัฒนาการของ


จัดการ การจัดการ
- แนวความคิดทาง 2 5
ด้านการจัดการ

3 การวางแผน ข้อที่ 2 - ความหมาย ความ 4 10


จำเป็ น และความ
สำคัญของการ
วางแผน
- ประเภทของแผน
260

งาน
- เทคนิคในการ
วางแผน
- คุณลักษณะของ
แผนงานที่ดี
- ข้อดีและข้อจำกัด
ของแผน
4 การจัด ข้อที่ 3 - ความหมาย
องค์การ ความสำคัญ
- รูปแบบและ
4 10
โครงสร้างขององค์การ
- การออกแบบ
องค์การ
5 การจัดการงาน ข้อที่ 2 - ความหมาย 6 10
บุคคล ความสำคัญ
- กระบวนการ
จัดการงานบุคคล
- ขัน
้ ตอนการ
บริหารทรัพยากร
มนุษย์
- ความหมายและ
ความสำคัญของการ
บริหารค่าตอบแทน
- ความหมายและ
วัตถุประสงค์ของเงิน
261

เดือน
- แนวทางในการ
ประเมินผลการปฏิบัติ
งาน
- สิ่งที่ควรพิจารณา
และประโยชน์ในการ
ประเมินการปฏิบัติ
งาน

น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโม
บ ที่ เรียนรู้ รู้ คะแ
ง)
นน
6 การ ข้อที่ 2 - ความหมาย 4 10
แรงงานสัมพัน ความสำคัญ
ธ์ - องค์การที่
เกี่ยวข้องกับ
แรงงานสัมพันธ์
- กระบวนการ
แรงงาน
- ความรู้เกี่ยวกับ
การประกันสังคม
7 การอำนวย ข้อที่ 2 - ความหมาย 4 10
การ ความสำคัญของการ
จูงใจ
262

- ทฤษฎีต่าง ๆ ที่
สำคัญ
- หลักและเทคนิค
ของการจูงใจ การให้
รางวัลและการลงโทษ
รางวัลตอบแทน
ภายนอกและรางวัล
ตอบแทนภายใน
8 การควบคุม ข้อที่ 2 - ความสำคัญและ
ความจำเป็ น
- กระบวนการ
ควบคุม
- เทคนิคและเครื่อง
มือของการควบคุม
4 10
- ประเภทของการ
ควบคุมตามลักษณะ
กระบวนการทำงาน
- ลักษณะของการ
ควบคุมที่มี
ประสิทธิภาพ
9 การติดตาม ข้อที่ 2,3 - ความหมาย และ 4 10
และการ ความสำคัญ
ประเมินผล - ขัน
้ ตอนการ
ติดตามและประเมิน
ผล
263

- อุปสรรคของการ
ติดตามและประเมิน
ผล
10 การนำ ข้อที่ 3 - ระบบข้อมูล
เทคโนโลยีใหม่ สารสนเทศ
มาใช้ในการ - ระบบบริหาร 5 ส 4 10
จัดการ - มาตรฐานคุณภาพ
ISO
รวม 40 100

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชา บัญชีเบื้องต้น รหัสวิชา
ง 30211
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต
น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโม
บที่ เรียนรู้ รู้ คะแ
ง)
นน
264

1 ความรู้เบื้อง ข้อที่ 1 - ความหมาย


ต้นเกี่ยวกับ วัตถุประสงค์
การบัญชี ประโยชน์
- ข้อแนะนำเกี่ยวกับ 4 5
การเรียนวิชาบัญชี
- ข้อสมมุติตาม
แม่บทบัญชี
2 สินทรัพย์ หนี ้ ข้อที่ 2 - ความหมาย
สิน และส่วน - สมการบัญชี
ของเจ้าของ - การแสดงความ 4 15
สมดุลในรูปแบบของ
งบดุล
3 การวิเคราะห์ ข้อที่ 3,10 - ความหมายของ
รายการค้า รายการค้า
- การวิเคราะห์
รายการค้า 4 15
- การบันทึกรายการ
ค้าตามหลักบัญชีคู่
- การตัง้ ชื่อบัญชี
4 การบันทึก ข้อที่ 4,10 - ความหมายและ 6 15
รายการค้าใน ประเภทของสมุดราย
สมุดรายวัน วันทั่วไป
ทั่วไป - รูปแบบของสมุด
รายวันทั่วไป
- รายการเปิ ดบัญชี
265

ของสมุดรายวันทั่วไป
- หลักการบันทึก
รายการค้าในสมุดราย
วันทั่วไป
- ประโยชน์ของสมุด
รายวันทั่วไป
5 การบันทึก ข้อที่ 5,10 - ความหมายของ
รายการค้าใน สมุดบัญชีแยก
สมุดบัญชีแยก ประเภท
ประเภท - รูปแบบของสมุด
บัญชีแยกประเภท
6 15
- ประเภทของสมุด
บัญชีแยกประเภท
- การจัดหมวดบัญชี
- หลักการบันทึก
บัญชีแยกประเภท
น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโม
บที่ เรียนรู้ รู้ คะแ
ง)
นน
6 งบทดลอง ข้อที่ 6,10 - ความหมายและ 4 5
รูปแบบของงบทดลอง
- การหายอดคง
เหลือในบัญชีแยก
ประเภท
266

- ประโยชน์ของงบ
ทดลอง
7 กระดาษ ข้อที่ 7,10 - ความหมายของ
ทำการ กระดาษทำการ
- หลักการจัดทำ
4 10
กระดาษทำการ
- ประโยชน์ของ
กระดาษทำการ
8 งบการเงิน ข้อที่ 8,10 - ความหมายและ 4 10
รูปแบบของงบการเงิน
- หลักการจัดทำงบ
การเงิน
- ประโยชน์ของงบ
การเงิน
9 การบันทึก ข้อที่ 9 - ความหมายของ 4 10
รายการปิ ด การปิ ดบัญชี
บัญชี - หลักการปิ ดบัญชี
หมวดรายได้และค่าใช้
จ่าย
- หลักการปิ ดบัญชี
หมวดสินทรัพย์ หนี ้
สินและส่วนของ
เจ้าของ
- การบันทึกรายการ
ปิ ดบัญชีในสมุดรายวัน
267

ทั่วไปและบัญชีแยก
ประเภท
- งบทดลองหลังปิ ด
บัญชี
รวม 40 100

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชา การขาย รหัสวิชา
ง 30212
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน สาระสำคัญ เวลา น้ำ
268

หนัก
(ชั่วโม
บที่ เรียนรู้ รู้ คะแ
ง)
นน
1 แนวคิดในการ ข้อที่ 1 - แนวความคิดใน
ประกอบ การประกอบอาชีพ
อาชีพการขาย การขาย
- แนวความคิดมุ่ง
การผลิต
- แนวความคิดมุ่ง
ผลิตภัณฑ์
- แนวความคิดมุ่ง
การขาย
- แนวความคิดมุ่ง 2 10
การตลาด
- แนวความคิดมุ่ง
การตลาดเพื่อสังคม
- ความหมายและ
ลักษณะของการขาย
- ลักษณะสำคัญของ
อาชีพการขาย
- เทคนิคการขาย
พื้นฐาน
2 ประเภทของ ข้อที่ 2 - การแบ่งงานขาย 4 10
งานขายและ โดยยึดประเภทงาน
ประเภท ขายแบบเฉพาะบุคคล
269

ลักษณะของ - การแบ่งงานขาย
ตลาด ตามลักษณะของงาน
ขาย
- การแบ่งงานขาย
ตามสภาพการค้า
- การแบ่งงานขาย
ตามลักษณะคนกลาง
- การจัดจำหน่าย
- ประเภทและ
ลักษณะของตลาด
3 กระบวนการ ข้อที่ 2 - ความหมายของ
ขายและขัน
้ กระบวนการขาย
ตอนการขาย - กระบวนการขาย
กับกระบวนการตัดสิน
ใจซื้อ
- ขัน
้ ตอนของ
4 10
กระบวนการขาย
- ลักษณะและ
คุณสมบัติของ
พนักงานขาย ฃ
- การขายเป็ น
ศาสตร์และเป็ นศิลป์

ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน สาระสำคัญ เวลา น้ำ


270

(ชั่วโม หนัก
บที่ เรียนรู้ รู้ ง) คะแ
นน
4 การแสวงหาผู้ ข้อที่ 2 - ความสำคัญของผู้ 4 10
มุ่งหวังหรือ มุ่งหวัง
การแสวงหา - การกำหนดคุ
ลูกค้าอนาคต สมบัติของผู้มงุ่ หวัง
- แหล่งของผู้มุ่งหวัง
- วิเคราะห์
ผลิตภัณฑ์
- วิเคราะห์ผู้มุ่งหวัง
- ระบบการแสวงหา
ผู้มุ่งหวัง หรือการ
แสวงหาลูกค้าอนาคต
5 การเตรียมตัว ข้อที่ 3 - การเตรียมการล่วง 4 10
ก่อนเข้าพบ หน้าเพื่อเข้าพบลูกค้า
- การเตรียมตัว
เตรียมใจไปพบลูกค้า
รายใหม่
- การเตรียมตัวไป
พบลูกค้ารายเก่า
- สูตรใหม่ในการ
ประเมินลูกค้า
6 การเข้าพบ ข้อที่ 3 - ความหมายคำย่อ 4 10
ของการเข้าพบหรือ
271

“APPROACH”
- วัตถุประสงค์การ
เข้าพบ
- เทคนิคการเข้าพบ
ลูกค้าอนาคต
- สิ่งที่ต้องคำนึงถึง
ในการเข้าพบผู้มุ่งหวัง
- ทักษะในอาชีพ
การขาย
7 การเสนอขาย ข้อที่ 3,4 - การเสนอขายที่มี 4 10
ประสิทธิภาพ
- เทคนิคการสร้าง
ความเชื่อมั่น
- เทคนิคในการ
ปฏิบัติเกี่ยวกับการ
แข่งขัน
- เทคนิคในการ
เสนอขาย
ที่สมบูรณ์
- เทคนิคในการ
เสนอขายที่เข้าใจง่าย
และชัดเจน
- การเสนอขาย
อย่างมือโปร
- จำแนก FAB
272

เทคนิคในการเสนอ
ขาย
- การเสนอขายใน
สภาวะเศรษฐกิจ
เปลี่ยนแปลง
- ทักษะในอาชีพ
การขาย

น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโม
บที่ เรียนรู้ รู้ คะแ
ง)
นน
8 การจัดการกับ ข้อที่ 3 - ความหมายของข้อ 4 10
ข้อโต้แย้งหรือ โต้แย้ง
การขจัดข้อโต้ - ความสำคัญของ
แย้ง ข้อโต้แย้ง
- สาเหตุที่ทำให้เกิด
ข้อโต้แย้ง
- ประเภทของข้อโต้
แย้งจากลูกค้า
- ลักษณะของข้อโต้
แย้งจากลูกค้า
- วิธีการปฏิบัติต่อ
ข้อโต้แย้ง
9 การปิ ดการ ข้อที่ 3 - ความสำคัญของ 4 5
273

ขาย การปิ ดการขาย


- ปั จจัยและข้อควร
คำนึงในการปิ ดการ
ขาย
- วิธีปิดการขาย
- ขัน
้ ตอนการปิ ด
การขายที่ควรมี
- บุคลิกภาพและ
ชีวิตของนักปิ ดการ
ขายที่ดี
- สูตรแม่บทของ
การปิ ดการขาย

10 การติดตามผล ข้อที่ 3 - ประโยชน์ของการ 2 5


และการ ติดตามผล
บริการหลัง - การติดตามผลการ
การขาย ปฏิบัติงานของ
พนักงาน
- การบริการหลัง
การขาย
- ข้อเท็จจริง 12
ประการของลูกค้า
เกี่ยวกับการบริการ
- การบริการเพื่อ
เพิ่มยอดขาย
274

11 เทคนิคการ ข้อที่ 3 - การพิชิตใจลูกค้า 2 5


พิชิตใจลูกค้า - ความหมายของ
ศิลปะการขาย
- วามสำคัญของ
ศิลปะการขาย
- ปั จจัยที่มีความ
สำคัญกับศิลปะการ
ขาย
- ปั จจัยที่จำเป็ นใน
การเสนอขาย
- หลักการขายความ
คิด พิชิตอุปสรรค
- 100 วาทะ ชนะใจ
ลูกค้า

เวลา น้ำ
ลำ
ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน (ชั่วโม หนัก
ดับ สาระสำคัญ
เรียนรู้ รู้ ง) คะแ
ที่
นน
12 แนวโน้มอาชีพ ข้อที่ 4,5 - แนวโน้มการขาย 2 5
การขายใน ในอนาคต
อนาคต - ยุคใหม่ในการขาย
- แนวโน้มการขาย
การแข่งขันในเชิง
275

ธุรกิจ
- การก้าวไปสู่บันได
แห่งความสำเร็จใน
อาชีพการขาย
- ทักษะในอาชีพ
การขาย
- อาชีพการขาย
รวม 40 100
276

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชากฎหมายพาณิชย์ รหัสวิชา
ง 30213
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5
หน่วยกิต
น้ำ
ลำ เวลา
ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
ดับ สาระสำคัญ (ชั่วโม
เรียนรู้ รู้ คะแ
ที่ ง)
นน
1 บุคคล และ ข้อที่ 1 -ความหมายและ 8 20
นิติกรรม ประเภทของบุคคล
-การเริ่มต้นและสิน

สภาพบุคคล
-ส่วนประกอบของ
277

บุคคล
-นิติบุคคลตามกฎหมาย
-ความหมายและ
ลักษณะของนิติกรรม
-แบบแห่งนิติกรรม
-การแสดงเจตนา
-ความหมายของโมฆะ
กรรมและโมฆียกรรม
2 สัญญา และหนี ้ ข้อที่ 1 1. ความหมายและ 6 10
ลักษณะสำคัญของ
สัญญา
2. ประเภทของสัญญา
3. ความหมายมัดจำ
และเบีย
้ ปรับ
4. การเลิกสัญญา
5. ความหมายและ
ลักษณะสำคัญของหนี ้
6. บ่อเกิดแห่งหนี ้
7. ความระงับแห่งหนี ้
3 ซื้อขาย ข้อที่ 1 1. ความหมายและ 6 15
ลักษณะของสัญญาซื้อ
ขาย
2. ทรัพย์สินที่ใช้ในการ
ซื้อขาย
3. แบบของสัญญาซื้อ
278

ขาย
4. การโอนกรรมสิทธิใ์ น
ทรัพย์สินที่ซ้อ
ื ขาย
5. สิทธิ หน้าที่ และ
ความรับผิดของผู้ขาย
6. สิทธิและหน้าที่ของผู้
ซื้อ
7. การซื้อขายเฉพาะ
บางอย่าง

น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโม
บที่ เรียนรู้ รู้ คะแ
ง)
นน
4 เช่าทรัพย์ ข้อที่ 2 1. ความหมายและ 6 15
และเช่าซื้อ ลักษณะของสัญญา
เช่าทรัพย์
2. หลักเกณฑ์ในการทำ
สัญญาเช่าทรัพย์
3. กำหนดระยะเวลา
การเช่าทรัพย์
4. สิทธิ หน้าที่ และ
ความรับผิดของผู้ให้
เช่าและผู้เช่า
279

5. มูลเหตุที่ทำให้สัญญา
เช่าทรัพย์ระงับ
6. ความหมายและ
ลักษณะของสัญญา
เช่าซื้อ
7. แบบของสัญญาเช่า
ซื้อ
8. สิทธิ หน้าที่ และ
ความรับผิดของผู้ให้
เช่าซื้อและผู้เช่าซื้อ
9. การเลิกสัญญาและ
ความระงับแห่งสัญญา
เช่าซื้อ
10. ความแตกต่าง
ระหว่างการเช่าซื้อ ซื้อ
ขายเงินผ่อน และเช่า
ทรัพย์
5 จ้างทำของ ข้อที่ 2 1. ลักษณะของสัญญา 6 10
จ้างทำของ
2. แบบและหลักเกณฑ์
ในการทำสัญญาจ้าง
ทำของ
3. สิทธิ หน้าที่ ความรับ
ผิดของผู้ว่าจ้าง
4. สิทธิ หน้าที่ ความ
280

รับผิดของผู้รับจ้าง
5. ความระงับของ
สัญญาจ้างทำของ
6. ความแตกต่าง
ระหว่างจ้างแรงงาน
และจ้างทำของ
6 รับขนและเก็บ ข้อที่ 2,3 1. ความหมายและ 6 10
ของในคลัง ลักษณะของสัญญารับ
สินค้า ขน
2. สิทธิหน้าที่ของคู่
สัญญารับขนของ
3. ความรับผิดของผู้
ขนส่งคนโดยสาร
4. ความหมายและ
ลักษณะของสัญญา
เก็บของในคลังสินค้า
น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโม
บที่ เรียนรู้ รู้ คะแ
ง)
นน
5. การเก็บของในคลัง
สินค้ากับการฝาก
ทรัพย์
6. สิทธิและความรับผิด
ของนายคลังสินค้า
281

7. ใบรับของคลังสินค้า
และประทวนสินค้า
8. วิธีการจำนำและการ
บังคับจำนำสินค้าที่
เก็บในคลังสินค้า
7 ยืม และฝาก ข้อที่2,3 1. ความหมายและ 6 5
ทรัพย์ ลักษณะของสัญญายืม
โดยทั่วไป ยืมใช้คงรูป
และยืมใช้สน
ิ ้ เปลือง
2. การกู้ยืมเงินตาม
กฎหมาย
3. การคิดดอกเบีย
้ กู้ยืม
และอายุความในการ
ฟ้ องคดี
4. ความแตกต่าง
ระหว่างสัญญายืมใช้
คงรูปและยืมใช้สน
ิ้
เปลือง
5. ความหมายและ
ลักษณะของสัญญา
ฝากทรัพย์
6. สิทธิและหน้าที่ของผู้
ฝากทรัพย์และของ
ผู้รับฝากทรัพย์
7. วิธีเฉพาะการฝากเงิน
282

8 ค้ำประกัน ข้อที่2,3 1. ความหมายและ 4 5


ลักษณะของสัญญาค้ำ
ประกัน
2. แบบของสัญญาค้ำ
ประกัน
3. ผู้รับเรือนและผู้ค้ำ
ประกัน
หลายคน
4. ความรับผิดของผู้ค้ำ
ประกัน
5. สิทธิของผู้ค้ำประกัน
6. ความระงับแห่ง
สัญญาค้ำประกัน
9 จำนอง และ ข้อที่2,3 1. ความหมายและ 6 5
จำนำ ลักษณะของสัญญา
จำนอง
2. ทรัพย์สินที่จำนอง
และแบบของสัญญา
จำนอง
3. ขอบเขตสิทธิที่จำนอง

ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน สาระสำคัญ เวลา น้ำ


บที่ เรียนรู้ รู้ (ชั่วโม หนัก
ง) คะแ
283

นน
4. สิทธิ และหน้าที่ของผู้
จำนอง และผู้รับ
จำนอง
5. การบังคับจำนอง
และความระงับแห่ง
สัญญาจำนอง
6. ความหมายและ
ลักษณะของสัญญา
จำนำ
7. วิธีการทำสัญญา
จำนำ
8. สิทธิ หน้าที่และความ
รับผิดของผู้จำนำและ
ผู้รับจำนำ
9. การบังคับจำนำและ
ความระงับแห่งสัญญา
จำนำ
10. ความแตกต่าง
ระหว่างสัญญาจำนอง
และสัญญาจำนำ
10 วิธีการจัดทำ ข้อที่ 5 1. วิธีการจัดทำเอกสาร 6 5
เอกสารที่เกี่ยว ที่เกี่ยวข้องกับ
กับกฎหมาย กฎหมาย
รวม 60 100
284

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาวัสดุช่างอุตสาหกรรม
รหัสวิชา ง 30214
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการ สาระสำคัญ เวลา น้ำ
285

หนัก
(ชั่วโม
บที่ เรียนรู้ เรียนรู้ คะแน
ง)

1 ความหมาย ข้อที่ 1 -ความหมายของวัสดุ 10 20
ของ ช่าง
วัสดุช่าง -วัสดุช่าง
-วัตถุดิบ
-วัสดุเครื่องมือ
-วัสดุช่วย
-อุตสาหกรรม

2 ประเภทของ ข้อที่ 2 -ประเภทของวัสดุช่าง 10 20


วัสดุช่าง -โลหะเหล็ก
-โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก
-ไม้ประเภทต่างๆ
-พลาสติกประเภท
ต่างๆ

3 คุณสมบัตพ
ิ ้น
ื ข้อที่ 2 คุณสมบัตพ
ิ ้น
ื ฐาน 4 20
ฐานของโลหะ -โลหะ
ประเภทต่างๆ -อโลหะ

4 คุณลักษณะ ข้อที่ 3 แนวทางการเลือกใช้ 4 20


ของวัสดุหล่อ -ลักษณะงาน
ลื่นและหล่อ -คุณสมบัติของวัสดุ
286

เย็น หล่อลื่นและหล่อเย็น
วัสดุก่อสร้าง วัสดุ
สังเคราะห์
อิเล็กทรอนิกส์
-ปั จจัยสิ่งแวดล้อมใน
สภาวะต่างๆ

5 การกัดกร่อน ข้อที่ 4,5 -การกัดกร่อนและการ 12 20


และการ ป้ องกัน
ป้ องกัน การ -การตรวจสอบวัสดุ
ตรวจสอบวัสดุ เบื้องต้น

รวม 40 100

เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0


หน่วยกิต

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาการภาษีอากร รหัสวิชา
ง 30215
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน สาระสำคัญ เวลา น้ำ
287

หนัก
(ชั่วโม
บที่ เรียนรู้ รู้ คะแ
ง)
นน
1 ความรู้ทั่วไป ข้อที่ 1 - รายรับของรัฐบาล
เกี่ยวกับการ - ผู้เสียภาษีอากร
ภาษีอากร - ฐานภาษี
- อัตราภาษี
- วิธีการชำระภาษี
- วิธีการข้อยุติใน
จำนวนภาษีอากรที่
ต้องเสีย 4 10
- การบังคับตาม
บทบัญญัติของ
กฎหมายภาษีอากร
- ประเภทของภาษี
อากร
- ลักษณะของภาษี
อากรที่ดี
2 ภาษีเงินได้ ข้อที่ 2 - หลักการทั่วไป
บุคคล - ผู้มีหน้าที่เสียภาษี
ธรรมดา เงินได้บค
ุ คลธรรมดา 4 10
- แหล่งเงินได้ที่จะ
ต้องเสียภาษี
3 เงินได้พึง ข้อที่ 2 1 เงินได้พึงประเมิน 4 10
ประเมิน ประเภทที่ 1 - 8
288

2.เงินได้พึงประเมินที่
กฎหมายกำหนดตาม
มาตรา 40 ทวิ
3. เงินได้ที่ได้รับการ
ยกเว้นไม่ต้องนำมา
คำนวณเป็ นเงินได้พงึ
ประเมินเพื่อเสียภาษี
4 เงินได้สุทธิ ค่า ข้อที่ 2 - เงินได้สุทธิคือเงินได้
ใช้จ่าย ค่าลด พึงประเมินหลังหักค่าใช้
หย่อน จ่ายและค่าลดหย่อนต่าง
ๆ ตามที่กฎหมายยอม
ให้หักแล้วนำมาคำนวณ
ภาษีตามอัตราภาษีเงิน
ได้บุคคลธรรมดา 4 10
- ค่าลดหย่อน คือค่าใช้
จ่ายส่วนตัวของผู้มีเงิน
ได้ไม่เกี่ยวกับการหาเงิน
ได้ และกฎหมายยอม
ให้ออกจากเงินได้พึง
ประเมินหลังจาก
น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโม
บ ที่ เรียนรู้ รู้ คะแ
ง)
นน
หักค่าใช้จ่ายแล้ว ทัง้ นี ้
289

เพี่อเป็ นการบรรเทา
ภาระการเสียภาษีของผู้
มีเงินได้
1. การหักค่าใช้จ่ายเงิน
ของผู้มีเงินได้พึงประเมิน
2. การหักค่าลดหย่อน

5 การคำนวณ ข้อที่ 3 1. การคำนวณภาษี จะ 2 5


ภาษี มีวิธีการคำนวณ 2
วิธี คือ
2. วิธีที่ 1 การนำเงิน
ได้พึงประเมินหักด้วย
ค่าใช้จ่าย แล้วหัก
ด้วยค่าลดหย่อนต่าง
ๆ ส่วนที่เหลือเป็ น
เงินได้สุทธินำไป
คำนวณภาษีตาม
อัตราที่กำหนด
3. วิธีที่ 2 มีเงินได้พึง
ประเมินนอกจากเงิน
ได้ตามมาตรา 40(1)
ในปี ภาษีตงั ้ แต่
60,000 บาทขึน
้ ไป
ให้คำนวณภาษีใน
อัตราร้อยละ 0.5
290

ของยอดเงินได้พึง
ประเมิน
4. หลังจากนัน
้ ให้นำทัง้
2 วิธี มาเปรียบเทียบ
กัน และให้ใช้ตามวิธี
ที่จำนวนภาษีมากกว่า
5. อัตราภาษีเงินได้
บุคคลธรรมดา
6. การคำนวณภาษีเงิน
ได้บค
ุ คลธรรมดา

6 วิธีการเสีย ข้อที่ 4 1. วิธีการหักภาษี ณ ที่ 2 5


ภาษี จ่าย
2. วิธีการประเมินโดย
ตนเอง
3. วิธีการประเมินโดย
เจ้าพนักงาน
4. วิธีการเสียภาษีเงินได้
แทนกัน
5. วิธีการเลือกเสียภาษี
เงินได้
6. บทกำหนดโทษ
7. การประเมินเรียกเก็บ
เบีย
้ ปรับ
8. การประเมินเรียกเงิน
291

เพิ่ม
9. การยึดทรัพย์
น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโม
บ ที่ เรียนรู้ รู้ คะแ
ง)
นน
10. การอุทธรณ์
11. เลขประจำตัวผู้
เสียภาษีอากร
12. แบบแสดง
รายการและกำหนด
เวลายื่นรายการชำระ
ภาษี
7 ภาษีเงินได้ ข้อที่ 3,5 1. หลักการทั่วไป 4 10
นิติบุคคล 2. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงิน
ได้นิติบค
ุ คล
3. ฐานในการคำนวณ
ภาษีเงินได้นิติบค
ุ คล
4. เงินได้ที่ได้รับการ
ยกเว้นภาษีเงินได้
นิติบค
ุ คล

8 การคำนวณ ข้อที่3,5 1. คำนวณจากฐานกำไร 2 5


ภาษีเงินได้ สุทธิ
นิติบุคคล 2. รอบระยะเวลาบัญชี
292

3. วิธีการบัญชีเกี่ยวกับ
การคำนวณรายได้
รายจ่าย
4. อัตราเงินได้ภาษี
นิติบค
ุ คลสำหรับ
บริษัทหรือห้างหุ้น
ส่วนนิติบุคคลโดย
ทั่วไปที่ต้องเสียจาก
กำไรสุทธิ
5. เงื่อนไขในการ
คำนวณกำไรสุทธิ
เฉพาะส่วนที่เกี่ยวกับ
ทรัพย์สินและรายได้
6. คำนวณภาษีเงินได้
นิติบค
ุ คล
7. คำนวณจากยอด
รายรับก่อนหักราย
จ่าย
8. คำนวณจากฐานการ
ส่งเงินได้ไปต่าง
ประเทศ
9. คำนวณจากฐานการ
จำหน่ายกำไรไปต่าง
ประเทศ
9 วิธีการเสีย ข้อที่ 3,5 1. การหักภาษี ณ ที่ 2 5
293

ภาษีเงินได้ จ่าย
นิติบุคคล 2. การประเมินโดย
ตนเอง
3. การประเมินโดยเจ้า
พนักงาน
4. การขอคืนเงินภาษี
เงินได้นิติบุคคล

น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโม
บ ที่ เรียนรู้ รู้ คะแ
ง)
นน
10 อากรแสตมป์ ข้อที่ 3 1. ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับ 4 10
อากรแสตมป์
2. การเสียอากร
3. ลักษณะในรับและ
อายุการเก็บรักษา
สำเนาใบรับ
4. ใบส่งของและอายุ
การเก็บรักษาสำเนา
ใบส่งของ
5. การขีดฆ่าอากร
แสตมป์
6. การปิ ดแสตมป์ ริบูรณ์
7. การเสียภาษีอากร
294

และเงินเพิ่มอากรรวม
ทัง้ ผลทางกฎหมาย
8. การยกเว้นอากรตาม
ประมวลกฎหมาย
รัษฎากร
9. การยกเว้นอากร
ตามพระราชกฤษฎีกา
10. บทลงโทษ
11. บัญชีอัตราอากร
แสตมป์
12. การชำระอากร
แสตมป์ เป็ นตั๋วเงิน
แทนกาสรปิ ดแสตมป์
11 ภาษีมูลค่าเพิ่ม ข้อที่ 3 1. ประวัติภาษีมูลค่าเพิ่ม 4 10
2. โครงสร้างภาษีมูลค่า
เพิ่มที่นำมาใช้ใน
ประเทศไทย
3. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี
มูลค่าเพิ่ม
4. การยกเว้นภาษีมูลค่า
เพิ่ม
5. ความรับผิดในการ
เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
6. ฐานภาษี
7. อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม
295

8. การคำนวณภาษี
มูลค่าเพิ่ม
9. การจดทะเบียนภาษี
มูลค่าเพิ่ม
10. ใบกำกับภาษี
11. การจัดทำ
รายงานเกี่ยวกับภาษี
มูลค่าเพิ่ม
12. ภาษีซ้อ
ื ต้องห้าม
13. การยื่นแบบ
แสดงรายการ
14. การขอคืนภาษี
มูลค่าเพิ่ม
15. การอุทธรณ์และ
บทลงโทษ
น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโม
บ ที่ เรียนรู้ รู้ คะแ
ง)
นน
12 ภาษีธุรกิจ ข้อที่ 3 1. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 4 10
เฉพาะ ธุรกิจเฉพาะ
2. กิจการที่ได้รับการ
ยกเว้นภาษีธุรกิจ
เฉพาะ
3. ฐานภาษีแลอัตรา
296

ภาษี
4. หน้าที่ของผู้ประกอบ
การที่ต้องเสียภาษี
ธุรกิจเฉพาะ
5. การยื่นแบบแสดง
รายการ
6. การขอคืนภาษีธุรกิจ
เฉพาะ
7. เบีย
้ ปรับและเงินเพิ่ม
รวม 40 100
297

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาเขียนแบบก่อสร้าง รหัสวิชา
ง 30216
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต
น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโม
บที่ เรียนรู้ รู้ คะแ
ง)
นน
1 งานแปลนและ -แปลนพื้นหรือผังพื้น 8 20
ผังพื้น อที่ 1 -การจัดส่วนพื้นที่ใช้สอย
ภายในอาคาร
-ด้านสัญลักษณ์ เส้น
298

อักษร
ตัวเลข คำย่อ และ
มาตราส่วน
2 ลักษณะต่างๆ ข้อที่ 2 การเขียนแบบ 8 20
ของสิง่ ปลูก - รูปด้าน แปลน
สร้าง โครงสร้าง
- การเขียนแบบรูปตัด
3 งาน ข้อที่ 3 การเขียนแบบ 8 20
สถาปั ตยกรรม - รูปขยาย รายละเอียด
และวิศวกรรม - งานสถาปั ตยกรรม
และวิศวกรรม
4 งานสุขภัณฑ์ ข้อที่ 4 แบบรูปงานระบบ 8 20
และท่อ สุขาภิบาลชนิด
ของท่อ
5 การวางผัง ข้อที่ 5 แบบรูปผังบริเวณ ขนาด 8 20
บริเวณสถานที่ ขอบเขต
ก่อสร้าง ตำแหน่ง ทิศทางของ
ที่ดิน
-ผังที่ตงั ้ บริเวณที่จะ
ทำการปลูกสร้างอาคาร
รวม 40 100
299

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
รหัสวิชา ง 30217
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0
หน่วยกิต
น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการ หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโม
บที่ เรียนรู้ เรียนรู้ คะแน
ง)

1 หลักสุขศาสตร์ ข้อที่ 1 อุบัติเหตุคือเหตุการณ์ที่ 8 20
อุตสาหกรรม เกิดขึน
้ สร้างความเสีย
มาตรฐานและ หายอย่างไม่คาดหมาย
กฎหมายความ และเมื่อเกิดขึน
้ แล้วจะมี
ปลอดภัย ผลกระทบต่อการทำงาน
ทรัพย์สินและบุคคลสิง่
ต้องคำนึงถึงเสมอในการ
ปฏิบัติงานคือความ
300

ปลอดภัย
-สาเหตุที่เกิดจาก
คน(Human Cause)
-สาเหตุจากการ
ออกแบบที่ไม่ถูกต้อง
เหมาะสม
-สาเหตุที่เกิดจาก
ธรรมชาติ(Natural
Disaster
2 การจัดการ ข้อที่ 2 -การใช้ความรู้ทาง 8 20
ความปลอดภัย วิชาการด้าน
ในงานอาชีพ วิศวกรรมศาสตร์
ในสถาน -การให้การศึกษาหรือ
ประกอบการ การ
พัฒนาความ ฝึ กอบรม-(Education-
ปลอดภัยโดย E)
ใช้เทคโนโลยี -การใช้มาตรการบังคับ
และวิศวกรรม ควบคุม-
ความปลอดภัย (Enforcement-E)
3 หลักความ ข้อที่ 3 อุปกรณ์สำหรับความ 8 20
ปลอดภัยใน ปลอดภัยเป็ นหลักโดย
การปฏิบัติงาน ต้องสวมใส่อุปกรณ์
ปกป้ องอวัยวะต่างๆของ
ร่างกายในการปฎิบัติ
งานผู้ปฎิบัติงานจำเป็ น
301

ต้องทราบหลักการใช้
งาน
-อุปกรณ์ป้องกันศีรษะ
-อุปกรณ์ป้องกัน
เท้า(FootProtection)
-อุปกรณ์ป้องกันดวงตา
และใบหน้า (Eye and
Face Protection)

น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการ หนัก
สาระสำคัญ (ชั่วโม
บที่ เรียนรู้ เรียนรู้ คะแน
ง)

-อุปกรณ์ป้องกัน
อันตรายระบบทางเดิน
หายใจ (Respiratory
Protection)
-อุปกรณ์ป้องกันระบบ
การได้ยิน (Hearing
Protection Devices)
-อุปกรณ์ป้องกัน
อันตรายระบบทางเดิน
หายใจลักษณะต่างๆ
-อุปกรณ์ป้องกันมือและ
แขน (Hand and Arm
302

Protection)
-อุปกรณ์ป้องกันการตก
จากที่สูง
-อุปกรณ์ตรวจจับ
ปริมาณสารพิษประจำ
ตัว
4 การตรวจสอบ ข้อที่ 3 คุณสมบัติของวัสดุ 8 20
วัสดุที่ใช้ใน -ด้านวัสดุศาสตร์
โครงการ (MaterialScience)
-คุณสมบัติของวัสดุ
(Material Properties)
-ความแข็งแรงของวัสดุ
(Strength of
Material)
-การตรวจสอบวัสดุแบบ
ทำลาย (DT-
Destructive
Testing)
-การตรวจสอบวัสดุแบบ
ไม่ทำลาย (NDT-
Nondestructive
Testing)
-ด้านคุณสมบัติของ
เครื่องจักรและอุปกรณ์
(Equipment
303

Technical
Specification)
5 วิธีการป้ องกัน ข้อที่ 3 ความปลอดภัยในการใช้ 8 20
และรักษา ยานพาหนะ
ความปลอดภัย -การขับขี่รถ
ส่วนบุคคลใน จักรยานยนต์
การใช้ยาน -การขับขี่รถยนต์
พาหนะ -กฎหมายการจราจรที่
ควรรู้เบื้องต้น
รวม 40 100

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาพิมพ์อังกฤษเบื้องต้น
รหัสวิชา ง 30218
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 60 ชั่วโมง
จำนวน 1.5 หน่วยกิต
น้ำ
ลำดั เวลา(
ชื่อหน่วยการ ผลการ หนัก
บ สาระสำคัญ ชั่วโมง
เรียนรู้ เรียนรู้ คะแน
ที่ )

1. ความรู้พ้น
ื ฐาน ข้อที่ 1 - ประวัติ วิวัฒนาการ 10 20
304

ในการเรียน ข้อที่ 3 ของเครื่องพิมพ์ดีด


พิมพ์อังกฤษ ข้อที่ 4 อังกฤษเบื้องต้น
- การเลือกใช้โปรแกรม
ในการพิมพ์
- หน้าที่ส่วนต่าง ๆ ของ
เครื่องพิมพ์ดีด
- การใช้งานโปรแกรม
สำหรับพิมพ์อังกฤษ
- การแก้ไขอย่างง่ายเมื่อ
เครื่องพิมพ์ขัดข้อง
- การบำรุงรักษา
เครื่องพิมพ์ดีด
2. การสร้าง ข้อที่ 1 - การจัดวางเครื่อง 6 5
เทคนิคที่ดีใน ข้อที่ 4 คอมพิวเตอร์
การพิมพ์ - ท่านั่งพิมพ์ที่ถูกวิธี
- บุคลิกภาพที่ถูกต้อง
ของนักพิมพ์
- การสร้างเทคนิคที่ดีใน
การพิมพ์ 9 วิธีได้
- เทคนิคที่ดีในการพิมพ์
ดีด
3. การเรียนรู้แป้ น ข้อที่ 2 - บอกลักษณะการวาง 8 20
เหย้า และแป้ น นิว้ บนแป้ นอักษรแป้ น
อักษรต่าง ๆ เหย้าได้ถูกต้อง
- แป้ นเหย้า A S D F J
305

KL;
- การใช้นว
ิ ้ ซ้าย – ขวา
พิมพ์อักษรแป้ นเหย้า
- การพิมพ์เพื่อเพิ่ม
ทักษะการพิมพ์อักษร
แป้ นเหย้า
- การพิมพ์ประสมคำ
อักษรแป้ นเหย้า
- การสืบนิว้ เพื่อเรียนรู้
แป้ นอักษรอื่นๆ
- การพิมพ์แป้ นอักษร
ตัวใหญ่ด้านซ้าย -
ขวา

น้ำ
ลำดั ผลการ เวลา(
ชื่อหน่วยการ หนัก
บ เรียน สาระสำคัญ ชั่วโม
เรียนรู้ คะแน
ที่ รู้ ง)

4. การพิมพ์แป้ น ข้อที่ 2 - การเรียนรู้แป้ นตัวเลข 6 15
ตัวเลข - พัฒนาการพิมพ์
เครื่องหมาย เครื่องหมายพิเศษ
วรรคตอน และ - หลักในการพิมพ์
สัญลักษณ์ เครื่องหมายวรรคตอน
พิเศษ ต่างๆ ในภาษาอังกฤษ
306

5. การคำนวณคำ ข้อที่ 1 - หลักการคิดคำสุทธิในการ 6 10


สุทธิ พิมพ์อังกฤษ
6. การพิมพ์สัมผัส ข้อที่ 2 - การพิมพ์สัมผัสเพื่อเพิ่ม 24 30
เพื่อพัฒนา ทักษะความเร็ว ความ
ทักษะความเร็ว แม่นยำนัน
้ ผู้เรียนจะต้อง
และความ ฝึ กพิมพ์ทุกวันอย่างต่อ
แม่นยำ เนื่องด้วยวิธีการอันถูก
ต้อง และสะสมทักษะการ
พิมพ์วันและเล็กละน้อย
เพื่อให้เกิดความชำนาญผู้
เรียนไม่ควรรีบร้อนที่จะ
พิมพ์เพื่อให้เสร็จเร็วแต่ผิด
มากและพิมพ์ด้วยเทคนิค
ที่ไม่ถูกต้อง ผู้เรียนต้อง
ระลึกอยู่เสมอว่า จุดมุ่ง
หมายในการพิมพ์ดีดคือ
พิมพ์ด้วยวิธีอันถูกต้องมี
ความเร็วและความ
แม่นยำในการพิมพ์
จำนวนคำสุทธิต่อนาทีอยู่
ในเกณฑ์มาตรฐานที่ทาง
การกำหนด คือพิมพ์ดีด
อังกฤษได้นาทีละไม่ต่ำ
กว่า 35 – 40 คำในการ
พิมพ์จับเวลา 10 นาที
307

หรือ 15 นาที
- กิจนิสัยที่ดีในการเรียน
พิมพ์ดีด
รวม 60 100

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาพิมพ์ไทยเบื้องต้น รหัส
วิชา ง 30219
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 60 ชั่วโมง
จำนวน 1.5 หน่วยกิต
308

น้ำ
ลำดั เวลา(
ชื่อหน่วยการ ผลการ หนัก
บ สาระสำคัญ ชั่วโมง
เรียนรู้ เรียนรู้ คะแน
ที่ )

1 หลักการพิมพ์ ข้อที่ 1 - ลักษณะการพิมพ์ดี 2 5

ไทยด้วยเครื่อง ด้วย
คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ที่
ถูกสุขลักษณะ
- การวางนิว้ บนแป้ น
เหย้าคีย์บอร์ด
- การก้าวนิว้
2 การพิมพ์ไทย ข้อที่ 1 - การใช้งาน 4 10

ด้วยโปรแกรม Microsoft Word


ประมวลผลคำ เบื้องต้น
- การใช้แถบเครื่องมือ
เบื้องต้น
(Ribbon)
- แท็บ Home
- แท็บ Insert
- แท็บ Page Layout
- การเปลี่ยนหน่วย
ไม้บรรทัด
- การกัน
้ หน้าและกัน

หลัง
- การเปลี่ยนค่าเริ่มต้น
309

น้ำ
ลำดั เวลา(
ชื่อหน่วยการ ผลการ หนัก
บ สาระสำคัญ ชั่วโมง
เรียนรู้ เรียนรู้ คะแน
ที่ )

ของระยะ
แท็บหยุดตัง้ ต้น
- การกดปุ ่มลัดบน
คีย์บอร์ด
(Kebord Shortcuts)
- การดูแลรักษาเครื่อง
คอมพิวเตอร์
3 - การพิมพ์ ข้อที่ 2 - วางนิว้ บนแป้ น ฟ ห ก 4 5

อักษรแป้ น ฟ ข้อที่ 3 ด'าสว


หกด'าสว ข้อที่ 4 ได้ถก
ู ต้อง
- การก้าวนิว้ จากแป้ น
เหย้า ไปเคาะที่
แป้ น ฟ ห ก ด ' า ส ว
ได้ถูกวิธี
- การก้าวนิว้ จากแป้ น
เหย้า ไปเคาะ
ที่แป้ น ฟ ห ก ด ' า ส
ว ได้
ถูกต้องและแม่นยำ
310

น้ำ
ลำดั เวลา(
ชื่อหน่วยการ ผลการ หนัก
บ สาระสำคัญ ชั่วโมง
เรียนรู้ เรียนรู้ คะแน
ที่ )

4 - การพิมพ์ ข้อที่ 2 - วางนิว้ บนแป้ น พ ะ -ั 4 5

อักษรแป้ น พ ข้อที่ 3 -ี ำ ร
ะ -ั - ี ำ ร ข้อที่ 4 ได้ถก
ู ต้อง
- การก้าวนิว้ จากแป้ น
เหย้า ไปเคาะที่
แป้ น พ ะ -ั - ี ำ ร
ได้ถูกวิธี
- การก้าวนิว้ จากแป้ น
เหย้า ไปเคาะ
ที่แป้ น พ ะ -ั - ี ำ
ร ได้
ถูกต้องและแม่นยำ
5 - การพิมพ์ ข้อที่ 2 - วางนิว้ บนแป้ น แ อ -ิ 4 5

อักษรแป้ น แ ข้อที่ 3 ท -ื ม
อ -ิ ท -ื ม ข้อที่ 4 ได้ถก
ู ต้อง
- การก้าวนิว้ จากแป้ น
เหย้า ไปเคาะที่
แป้ น แ อ -ิ ท -ื ม
311

น้ำ
ลำดั เวลา(
ชื่อหน่วยการ ผลการ หนัก
บ สาระสำคัญ ชั่วโมง
เรียนรู้ เรียนรู้ คะแน
ที่ )

ได้ถูกวิธี
- การก้าวนิว้ จากแป้ น
เหย้า ไปเคาะ
ที่แป้ น แ อ -ิ ท -ื ม
ได้
ถูกต้องและแม่นยำ
6 - การพิมพ์ ข้อที่ 2 - วางนิว้ บนแป้ น ไ ป น 4 5

อักษรแป้ น ไ ป ข้อที่ 3 ใๆผย


นใๆผย ข้อที่ 4 ได้ถก
ู ต้อง
- การก้าวนิว้ จากแป้ น
เหย้า ไปเคาะที่
แป้ น ไ ป น ใ ๆ ผ ย
ได้ถูกวิธี
- การก้าวนิว้ จากแป้ น
เหย้า ไปเคาะ
ที่แป้ น ไ ป น ใ ๆ ผ ย
ได้
ถูกต้องและแม่นยำ
7 - การพิมพ์ ข้อที่ 2 - วางนิว้ บนแป้ น บ ล ฝ 4 5

อักษรแป้ น บ ล ข้อที่ 3 ได้ถูกต้อง


ฝ ข้อที่ 4 - การก้าวนิว้ จากแป้ น
312

น้ำ
ลำดั เวลา(
ชื่อหน่วยการ ผลการ หนัก
บ สาระสำคัญ ชั่วโมง
เรียนรู้ เรียนรู้ คะแน
ที่ )

เหย้า ไปเคาะที่
แป้ น บ ล ฝ ได้ถก
ู วิธี
- การก้าวนิว้ จากแป้ น
เหย้า ไปเคาะ
ที่แป้ น บ ล ฝ ได้
ถูกต้องและแม่นยำ
8 - การพิมพ์ ข้อที่ 2 - วางนิว้ บนแป้ น ถ ภ ค 4 10

อักษรแป้ น ถ ข้อที่ 3 ต ได้


ภคต ข้อที่ 4 ถูกต้อง
- การก้าวนิว้ จากแป้ น
เหย้า ไปเคาะที่
แป้ น ถ ภ ค ต ได้ถูก
วิธี
- การก้าวนิว้ จากแป้ น
เหย้า ไปเคาะ
ที่แป้ น ถ ภ ค ต ได้
ถูกต้องและ
แม่นยำ

9 - การพิมพ์ ข้อที่ 2 - วางนิว้ บนแป้ น จ ข ช 4 5


313

น้ำ
ลำดั เวลา(
ชื่อหน่วยการ ผลการ หนัก
บ สาระสำคัญ ชั่วโมง
เรียนรู้ เรียนรู้ คะแน
ที่ )

อักษรแป้ น จ ข้อที่ 3 - /
ขช - / ข้อที่ 4 ได้ถก
ู ต้อง
- การก้าวนิว้ จากแป้ น
เหย้า ไปเคาะที่
แป้ น จ ข ช - / ได้
ถูกวิธี
- การก้าวนิว้ จากแป้ น
เหย้า ไปเคาะ
ที่แป้ น จ ข ช - / ได้
ถูกต้องและ
แม่นยำ
10 - การพิมพ์ ข้อที่ 2 - วางนิว้ บนแป้ น โ ฌ –็ 4 5

อักษรแป้ น โ ข้อที่ 3 -๋ ฑ ธ
ฌ –็ -๋ ฑ ธ ข้อที่ 4 -๊ ณ ได้ถก
ู ต้อง
-๊ ณ - การก้าวนิว้ จากแป้ น
เหย้า ไปเคาะที่
แป้ น โ ฌ –็ -๋ ฑ ธ
-๊ ณ ได้ถูก
วิธี
- การก้าวนิว้ จากแป้ น
เหย้า ไปเคาะ
314

น้ำ
ลำดั เวลา(
ชื่อหน่วยการ ผลการ หนัก
บ สาระสำคัญ ชั่วโมง
เรียนรู้ เรียนรู้ คะแน
ที่ )

ที่แป้ น โ ฌ –็ -๋ ฑ
ธ -๊ ณ
ได้ถก
ู ต้องและแม่นยำ
11 - การพิมพ์ ข้อที่ 2 - วางนิว้ บนแป้ น ฎ ฏ ษ 4 5

อักษรแป้ น ฎ ข้อที่ 3 ฆ“ศฯ


ฏษฆ“ศฯ ข้อที่ 4 ได้ถก
ู ต้อง
- การก้าวนิว้ จากแป้ น
เหย้า ไปเคาะที่
แป้ น ฎ ฏ ษ ฆ “ ศ ฯ
ได้ถูกวิธี
- การก้าวนิว้ จากแป้ น
เหย้า ไปเคาะ
ที่แป้ น ฎ ฏ ษ ฆ “ ศ
ฯ ได้
ถูกต้องและแม่นยำ
12 - การพิมพ์ ข้อที่ 2 - วางนิว้ บนแป้ น ฮ -์ ฒ 4 5

อักษรแป้ น ฮ ข้อที่ 3 ฉ ?
-์ ฒ ฉ ? ข้อที่ 4 ได้ถก
ู ต้อง
- การก้าวนิว้ จากแป้ น
เหย้า ไปเคาะที่
แป้ น ฮ -์ ฒ ฉ ? ได้
315

น้ำ
ลำดั เวลา(
ชื่อหน่วยการ ผลการ หนัก
บ สาระสำคัญ ชั่วโมง
เรียนรู้ เรียนรู้ คะแน
ที่ )

ถูกวิธี
- การก้าวนิว้ จากแป้ น
เหย้า ไปเคาะ
ที่แป้ น ฮ -์ ฒ ฉ ?
ได้ถูกต้องและแม่นยำ
13 - การพิมพ์ ข้อที่ 2 - วางนิว้ บนแป้ น ฤ ( ) ฬ 4 5

อักษรแป้ น ฤ ข้อที่ 3 ซญฐ


()ฬซญฐ ข้อที่ 4 ได้ถก
ู ต้อง
- การก้าวนิว้ จากแป้ น
เหย้า ไปเคาะที่
แป้ น ฤ ( ) ฬ ซ ญ ฐ
ได้ถูกวิธี
- การก้าวนิว้ จากแป้ น
เหย้า ไปเคาะ
ที่แป้ น ฤ ( ) ฬ ซ ญ ฐ
ได้
ถูกต้องและแม่นยำ
14 - การพิมพ์ ข้อที่ 2 - วางนิว้ บนแป้ น -ุ -ู 4 5

อักษรแป้ น -ุ ข้อที่ 3 -ึ -ั -้
-ู -ึ -ั -้ ข้อที่ 4 ได้ถก
ู ต้อง
- การก้าวนิว้ จากแป้ น
316

น้ำ
ลำดั เวลา(
ชื่อหน่วยการ ผลการ หนัก
บ สาระสำคัญ ชั่วโมง
เรียนรู้ เรียนรู้ คะแน
ที่ )

เหย้า ไปเคาะที่
แป้ น -ุ -ู -ึ -ั -้
ได้ถูกวิธี
- การก้าวนิว้ จากแป้ น
เหย้า ไปเคาะ
ที่แป้ น -ุ -ู -ึ -ั
-้ ได้
ถูกต้องและแม่นยำ
15 - การพิมพ์ ข้อที่ 2 - วางนิว้ บนแป้ นเลขไทย 2 10

อักษรแป้ นเลข ข้อที่ 3 ได้ถูกต้อง


ไทย ข้อที่ 4 - การก้าวนิว้ จากแป้ น
เหย้า ไปเคาะที่
แป้ นเลขไทยได้ถูกวิธี
- การก้าวนิว้ จากแป้ น
เหย้า ไปเคาะ
ที่แป้ นเลขไทยได้ถก

ต้องและ
แม่นยำ
16 - การพิมพ์ ข้อที่ 2 - วางนิว้ บนแป้ นบาลีได้ 4 10

อักษรแป้ นบาลี ข้อที่ 3 ถูกต้อง


ข้อที่ 4 - การก้าวนิว้ จากแป้ น
317

น้ำ
ลำดั เวลา(
ชื่อหน่วยการ ผลการ หนัก
บ สาระสำคัญ ชั่วโมง
เรียนรู้ เรียนรู้ คะแน
ที่ )

เหย้า ไปเคาะที่
แป้ นบาลีได้ถูกวิธี
- การก้าวนิว้ จากแป้ น
เหย้า ไปเคาะ
ที่แป้ นบาลีได้ถูกต้อง
และแม่นยำ
รวม 60 100
318

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาจริยธรรมและกฎหมายคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง 30220
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต
น้ำ
เวลา
ลำดับ ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
สาระสำคัญ ชั่วโ
ที่ เรียนรู้ รู้ คะแ
มง
นน
1 จริยธรรมใน ข้อที่ 1 -จริยธรรมในการใช้ 4 20
การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยี
สารสนเทศ
2 ลิขสิทธิ ์ ข้อที่ 3 ์ รัพย์สินทาง
-ลิขสิทธิท 4 30
ทรัพย์สินทาง ปั ญญา
ปั ญญา
3 หลักกฎหมายที่ ข้อที่ 2 -หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 4 30
เกี่ยวข้อง คอมพิวเตอร์และ พระ
คอมพิวเตอร์ ราชบัญญัติคอมพิวเตอร์
และ พระราช
บัญญัติ
คอมพิวเตอร์
319

4 อาชีพทาง ข้อที่ 1,4 -อาชีพทางเทคโนโลยี 8 20


เทคโนโลยี สารสนเทศ
สารสนเทศ
รวม 20 100
320

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
รหัสวิชา ง 30221
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 80 ชั่วโมง
จำนวน 2.0 หน่วยกิต
น้ำ
ลำดั เวลา(
ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
บ สาระสำคัญ ชั่วโม
เรียนรู้ รู้ คะแ
ที่ ง)
นน
1 คอมพิวเตอร์ ข้อที่ 1 - ความหมายของ 8 10

และระบบ เทคโนโลยี
สารสนเทศ สารสนเทศ
- ลักษณะสำคัญของ
เทคโนโลยี
สารสนเทศ
- องค์ประกอบของ
เทคโนโลยี
สารสนเทศ
- ผลกระทบของการใช้
เทคโนโลยี
สารสนเทศ
- จริยธรรมและความรับ
ผิดชอบใน
การใช้คอมพิวเตอร์กับ
321

ระบบ
สารสนเทศ
2 ระบบปฏิบัติ ข้อที่ 1 - ความหมายของระบบ 8 10

การ ปฏิบัติการ
- การใช้งานระบบปฏิบัติ
การ
Windows 7 เบื้องต้น
3 การใช้ ข้อที่ 3 - ประโยชน์ของ 16 20

โปรแกรม โปรแกรม Microsoft


ประมวลผล Office Word
คำ - ส่วนประกอบของ
Microsoft โปรแกรม
Office Word Microsoft Office
2010 Word
- การสร้าง การเปิ ด ปิ ด
และบันทึก
เอกสาร
- การกำหนดขนาด
เอกสาร
การปรับคุณลักษณะ
ของข้อความ
- การสร้างปกรายงาน
- การแทรกรูปภาพ ภาพ
ตัดปะ
รูปร่าง SmartArt
322

แผนภูมิ
- การจับภาพหน้าจอมา
แทรกใน
เอกสาร
- การแทรกหัวกระดาษ
ท้ายกระดาษ
หมายเลขหน้า

น้ำ
ลำดั เวลา(
ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
บ สาระสำคัญ ชั่วโม
เรียนรู้ รู้ คะแ
ที่ ง)
นน
- การแทรกกล่อง
ข้อความ อักษร
ศิลป์
ตัวอักษรหน้า
ข้อความขนาดใหญ่
- การแทรกสัญลักษณ์
พิเศษ และ
แทรกสัญลักษณ์
คณิตศาสตร์
- การแทรกลายน้ำลงใน
เอกสาร
323

- การสร้างขอบกระดาษ
เอกสาร
- การแบ่งข้อความเป็ น
คอลัมน์
4 การใช้ ข้อที่ 3 - ส่วนประกอบของ 16 20

โปรแกรม Microsoft
ตารางงาน Office Excel
Microsoft - การเปิ ด ปิ ด โปรแกรม
Office Excel - การสร้าง เปิ ด ปิ ด
2010 และบันทึกแฟ้ ม
งาน
- ชนิดของข้อมูล
- การจัดการข้อมูลใน
เซลล์
- การจัดการแถวและ
คอลัมน์
- การกำหนดรูปแบบ
เซลล์
- การจัดการแผ่นงาน
- ประเภทของสูตร
- วิธีการป้ อนค่าสูตร
- การคำนวณโดยใช้สูตร
- ประเภทของฟั งก์ชัน
และฟั งก์ชันที่
ใช้งานบ่อย
324

- การอ้างอิงเซลล์
- การคำนวณโดยใช้
ฟั งก์ชัน
- ข้อผิดพลาดที่อาจเกิด
ขึน
้ ในการกำหนด
ฟั งก์ชันและสูตร

น้ำ
ลำดั เวลา(
ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
บ สาระสำคัญ ชั่วโม
เรียนรู้ รู้ คะแ
ที่ ง)
นน
5 การใช้โปรแกรม ข้อที่ 3 - การเริ่มต้นใช้งาน 16 20
นำเสนอข้อมูล
โปรแกรม
Microsoft
Microsoft Office
Office
PowerPoint PowerPoint

2010 - การจัดการภาพนิ่ง
(Slide)
325

- การออกแบบการนำ
เสนอ
- การใส่เนื้อหาให้กับ
ภาพนิง่
การแทรกวัตถุลงใน
ภาพนิง่
- การใส่ Transition
- กำหนดการเคลื่อนไหว
ของวัตถุ
(Animations)
- การนำเสนอด้วย
มัลติมีเดีย
- การเชื่อมโยงหลายมิติ
(Hyperlink)
การเผยแพร่งานนำ
เสนอ
6 การใช้ ข้อที่ 2 - การทำงานของ 8 10

อินเทอร์เน็ต จดหมาย
สืบค้นข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์
- เว็บไซต์ต่างๆ ที่ให้
บริการอีเมลฟรี
- การสมัครใช้งาน
Hotmail อีเมล
ฟรี
- การเปิ ดอ่านอีเมลฟรี
326

ของ Hotmail
7 สังคม ข้อที่ 4 - สังคมออนไลน์ 8 10

ออนไลน์ - เฟซบุ๊ก
- ทวิตเตอร์
- โปรแกรมที่เกี่ยวข้อง
กับสังคม
ออนไลน์
รวม 80 100

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาองค์ประกอบศิลป์ สำหรับงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง 30222
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
327

เวลา 80 ชั่วโมง
จำนวน 2.0 หน่วยกิต
ผล น้ำ
ลำ เวลา(
ชื่อหน่วยการ การ หนัก
ดับ สาระสำคัญ ชั่วโม
เรียนรู้ เรียน คะแ
ที่ ง)
รู้ นน
1 ความรู้พ้น
ื ฐาน ข้อที่ 1 - ความหมายขององค์ 10 10
เกี่ยวกับองค์ ประกอบศิลป์
ประกอบศิลป์ - ความสำคัญขององค์
สำหรับงาน ประกอบศิลป์
คอมพิวเตอร์ - องค์ประกอบพื้นฐาน
ของศิลปะ
- การกำหนดเส้น สี
แสง เงา และรูปร่าง
- การจัดวางวัตถุใน
จอภาพ
- การใช้พ้น
ื ที่ ขนาด
และสัดส่วน
- การใช้ชนิดของการ
จัดภาพแบบต่าง ๆ
2 ทัศนธาตุและ ข้อที่ 2 - จุด เส้น และสี 8 10
องค์ประกอบ ข้อที่ 3 - บริเวณว่างหรือช่อง
ศิลป์ ว่างและทิศทาง
- รูปร่างและรูปทรง
- ลักษณะผิว
328

- ค่าน้ำหนักของสี
- การจัดวางตำแหน่ง
ตามหลักการจัดองค์
ประกอบศิลป์
3 ความรู้เบื้อง ข้อที่ 4 10 10
- ความรู้เกี่ยวกับ
ต้นเกี่ยวกับ ข้อที่ 5
โปรแกรม Adobe
โปรแกรม
Photoshop
สำเร็จรูป
- ส่วนประกอบหน้าจอ
(AdobePhot
หลักของโปรแกรม
oshop)
Adobe Photoshop
การจัดการเกี่ยวกับ
ไฟล์
- หลักการปฏิบัติงาน
คอมพิวเตอร์ที่ดี

น้ำ
ลำ เวลา(
ชื่อหน่วยการ ผลการ หนัก
ดับ สาระสำคัญ ชั่วโม
เรียนรู้ เรียนรู้ คะแ
ที่ ง)
นน
4 การใช้เครื่อง ข้อที่ 4 - การเลือกอ็อบเจกต์ 12 10
มือจัดวางวัตถุ - การคัดลอกอ็อบเจ
กต์
329

- การย้ายตำแหน่งอ็
อบเจกต์
- การเรียงอ็อบเจกต์
- การลำาดับชัน
้ อ็อบ
เจกต์
- การรวมกลุ่มให้อ็อบ
เจกต์
- การล็อกและซ่อนอ็
อบเจกต์
5 พื้นฐานการใช้ ข้อที่ 2 - ความรู้เกี่ยวกับ 10 10
งานสี โหมดสี
- การเติมสีให้อ็อบเจ
กต์
- การเติมสีพ้น
ื และสี
เส้น
- การเติมสีแบบเกร
เดียนต์
6 งานสวยด้วย ข้อที่ 4 การสร้างงาน และ 30 50
องค์ประกอบ ออกแบบภาพชิน
้ งาน
ศิลป์ ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
ด้วยโปรแกรม Adobe
Photoshop
รวม 80 100
330

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาหลักการเขียนโปรแกรม
รหัสวิชา ง 30223
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 100 ชั่วโมง
จำนวน 2.5 หน่วยกิต
331

น้ำ
ลำ เวลา
ชื่อหน่วยการ ผลการ หนัก
ดับ สาระสำคัญ (ชั่วโ
เรียนรู้ เรียนรู้ คะแ
ที่ มง)
นน
1 การจำลอง ข้อที่ 1 -การจำลองความคิด ขัน
้ 20 20
ความคิด ตอนการพัฒนาโปรแกรม
ประกอบไปด้วย 5 ขัน

ตอน คือ 1) วิเคราะห์
ปั ญหา (Analysis) 2)
วางแผนและออกแบบ
(Planning & Design) 3)
เขียนโปรแกรม (Coding)
4) ทดสอบโปรแกรม
(Testing) 5) จัดทำ
คู่มือ(Documentation)
ขัน
้ ตอนการพัฒนา
โปรแกรมภาษาซี ขัน
้ ตอน
ที่ 1 เขียนโปรแกรม
(source code) ขัน
้ ตอนที่
2 คอมไพล์โปรแกรม
(compile) ขัน
้ ตอนที่ 3
เชื่อมโยงโปรแกรม (link)
ขัน
้ ตอนที่ 4 ประมวลผล
(run) การจำลองความคิด
เป็ นข้อความ คือการเขียน
332

เค้าโครงด้วยการบรรยาย
เป็ นภาษาที่มนุษย์ใช้
สื่อสารกัน และผังงาน
แผนภาพ คือ เครื่องมือที่
ใช้อธิบายขัน
้ ตอน
กระบวนการทำงาน โดย
ใช้สัญลักษณ์เพื่ออธิบา
ยอัลกอริทึมให้ผู้อ่านเข้าใจ
ขัน
้ ตอนการทำงานได้ง่าย
ขึน

2 โครงสร้างของ ข้อที่ 2 -ตัวแปร คือ การจองพื้นที่
โปรแกรม ในหน่วยความจำของ
ภาษาซี คอมพิวเตอร์ชนิดของ
ข้อมูล คือ สิ่งที่ใช้กำหนด
ลักษณะและขอบเขตของ
ข้อมูล ค่าคงที่คือ ค่าที่มี
การกำหนดข้อมูลไว้ให้กับ
ตัวแปร ตัวดำเนินการ คือ
การดำเนินการ

ลำ ชื่อหน่วยการ ผลการ สาระสำคัญ เวลา น้ำ


ดับ เรียนรู้ เรียนรู้ (ชั่วโ หนัก
ที่ มง) คะแ
333

นน
ทางคณิตศาสตร์ 20 20
ตรรกศาสตร์ นิพจน์ คือ
ข้อความหรือประโยคที่
เขียนอยู่ในรูปของ
สัญลักษณ์ โปรแกรม
สำหรับเขียนโปรแกรม
ภาษาซี คือ โปรแกรมที่
ใช้ในการประมวลผลคำ
สั่งในภาษาซีโปรแกรม
Dev-c++ โดยเขียนอยู่ใน
รูปแบบของ โครงสร้าง
โปรแกรมภาษาซี ซึ่ง แบ่ง
ออกเป็ น 3 ส่วน ส่วนหัว
ของโปรแกรม ส่วนของ
ฟั งก์ชันหลัก ส่วนของราย
ละเอียดโปรแกรม
3 คำสัง่ รับและ ข้อที่ 3 - คำสั่งรับค่าและแสดงผล 20 20
แสดงผล โดยคำสั่งในการแสดงผล
สำหรับแสดงผลบนหน้า
จอ คือ ฟั งก์ชัน printf()
ฟั งก์ชัน putchar()
ฟั งก์ชันที่สำหรับรับค่า
คือ ฟั งก์ชัน scanf()
ฟั งก์ชัน getchar()
334

ฟั งก์ชัน getch() ฟั งก์ชัน


getche()
4 โครงสร้าง ข้อที่ 4 - การเขียนโปรแกรมโดย 20 20
แบบมีทาง ข้อที่ 5 โครงสร้างแบบมีทาง
เลือก เลือก คำสั่ง if เป็ นการ
เขียนโปรแกรมแบบมีทาง
เลือกเดียว คำสั่ง if else
เป็ นการเขียนโปรแกรม 2
ทางเลือก คำสั่ง nested
if เป็ นการเขียนโปรแกรม
หลายทางเลือก คำสั่ง
switch-case เป็ นคำสั่งที่
ใช้เลือกทำงานตามคำสั่ง
ต่างๆ โดยพิจารณาจาก
ค่าของตัวแปรหรือนิพจน์
ที่กำหนดว่าตรงกับกรณี
ใด
5 โครงสร้าง ข้อที่ 4 - โครงสร้างแบบทำซ้ำ เป็ น 20 20
แบบทำซ้ำ ข้อที่ 5 คำสั่งที่ใช้กำหนดวงรอบ
การทำงานของโปรแกรม
โดยประกอบด้วยคำสั่ง
for คำสั่ง while คำสั่ง
do - while
รวม 100 100
335

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
รหัสวิชา ง 30224
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 100 ชั่วโมง
จำนวน 2.5 หน่วยกิต
น้ำ
ลำ เวลา
ชื่อหน่วยการ ผลการ หนัก
ดับ สาระสำคัญ (ชั่วโ
เรียนรู้ เรียนรู้ คะแ
ที่ มง)
นน
1 พื้นฐานเครือ ข้อที่ 1 - ความรู้พ้น
ื ฐานของ 20 20
ข่าย ระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ - องค์ประกอบของ
ระบบเครือข่าย

2 อุปกรณ์เครือ ข้อที่ 2 - อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง 10 10


ข่าย กับระบบเครือข่าย
3 ประเภทของ ข้อที่ 2 ประเภทเครือข่ายลลักษณะ 20 20
เครือข่าย ต่าง ๆ
-LAN
-MAN
336

-WAN
3 รูปแบบการ ข้อที่ 2 -แบบดาว 10 10
เชื่อมต่อเครือ -แบบบัส
ข่าย -แบบวงแหวน
-แบบผสมผสาน
5 ระบบเครือข่าย ข้อที่ 3 -อินเทอร์เน็ต 10 10
อินเทอร์เน็ต -มาตรฐานการสื่อสารด้าน
อินเทอร์เน็ต
-ระบบไอพีแอดเดรส (IP
Address)
-โดเมนเนม (Domain
Name)
-โดเมนเนมเซิร์ฟเวอร์
(Domain Name Server) 
-การเชื่อมต่อเข้าสู่ระบบ
อินเทอร์เน็ต
-บริการต่าง ๆ บนเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต
6 การบริหาร ข้อที่ 3 - การจัดระบบเครือข่าย 20 20
ระบบเครือข่าย - เครื่องมือพื้นฐานในการ
และการจัดการ จัดการ
เครือข่าย - ส่วนประกอบของเครือ
ข่าย
7 การรักษาความ ข้อที่ 4 - องค์ประกอบของความ 10 10
ปลอดภัยใน ปลอดภัย
337

ระบบเครือข่าย - ภัยคุกคาม ,การดักจับ


ข้อมูล
- เครื่องมือสำหรับการ
รักษาความปลอดภัย
รวม 100 100

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาโปรแกรมกราฟิ ก รหัส
วิชา ง 30225
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต
น้ำ
ลำ เวลา(
ชื่อหน่วยการ ผลการ หนัก
ดับ สาระสำคัญ ชั่วโมง
เรียนรู้ เรียนรู้ คะแ
ที่ )
นน
1 ความรู้พ้น
ื ฐาน ข้อที่ 1 - ประวัติความเป็ น 6 15
เกี่ยวกับ ข้อที่ 4 มาความหมายของ
คอมพิวเตอร์ กราฟิ กและ
กราฟิ ก คอมพิวเตอร์
กราฟิ ก
- บทบาทและความ
สำคัญของงาน
กราฟิ ก
338

- กระบวนการ
ออกแบบกราฟิ ก
- หลักการปฏิบัติงาน
การสร้างานกราฟิ ก
ที่ดี
2 หลักการ ข้อที่ 1 - หลักการทำงาน 4 15
ทำงานและ และการแสดงผล
การแสดงผล ของภาพกราฟิ ก
ของภาพ - ประเภทของภาพ
คอมพิวเตอร์ กราฟิ ก
- หลักการใช้สีและ
แสงในคอมพิวเตอร์
- การประยุกต์ใช้
คอมพิวเตอร์
กราฟิ กในงานต่าง

- อุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ที่ใช้
งานกราฟิ ก
3 ส่วนประกอบ ข้อที่ 2 - ความรู้เกี่ยวกับ 4 10
โปรแกรมและ โปรแกรม Adobe
การใช้งาน Photoshop
โปรแกรม - ส่วนประกอบของ
กราฟิ ก โปรแกรมรู้จัก
เครื่องมือโปรแกรม
339

- การบันทึกงานเพื่อ
นำไปใช้
- การเปิ ด – ปิ ด
โปรแกรม
- การออกจาก
โปรแกรม

ผล น้ำ
ลำ เวลา(
ชื่อหน่วยการ การ หนัก
ดับ สาระสำคัญ ชั่วโมง
เรียนรู้ เรียน คะแ
ที่ )
รู้ นน
4 หลักการสร้าง ข้อที่ 2 - หลักการสร้างงาน 12 30
งานกราฟิ ก ด้านกราฟิ ก
และใช้งาน - แนวคิดในงานด้าน
เบื้องต้น กราฟิ ก
- การสร้างพื้นที่ทำงาน
ใหม่
- การเปิ ดไฟล์รูปภาพ
- การพิมพ์ข้อความ
- การจัดเก็บไฟล์
- การปรับความ
340

ละเอียดและขนาด
ของภาพ
- การปรับขนาดพื้นที่
งานออกแบบ
- การพิมพ์รูปภาพ
5 การทำภาพ ข้อที่ 3 - การสร้างภาพ 14 30
เคลื่อนไหว ข้อที่ 4 เคลื่อนไหว
และภาพ 3 - การสร้างภาพ 3 มิติ
มิติ และ - การสร้างภาพพาโน
เทคนิคเสริม ราม่า
อื่น ๆ - การใช้โน้ตสำหรับ
เตือนความจำ
- สามารถออกแบบ
การฟิ กคอมพิวเตอร์
และเลือกใช้
เทคโนโลยีได้อย่าง
สร้างสรรค์
รวม 40 100
341

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาการสร้างเว็บไซต์ รหัส
วิชา ง 30226
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 80 ชั่วโมง
จำนวน 2.0 หน่วยกิต
ผล น้ำ
ลำดั เวลา(
ชื่อหน่วยการ การ หนัก
บ สาระสำคัญ ชั่วโมง
เรียนรู้ เรียน คะแน
ที่ )
รู้ น
1 ความรู้เบื้อง ข้อที่ 1 เว็บไซต์(Web Site) คือ 12 20
ต้นเกี่ยวกับ ข้อที่ 6 กลุ่มของหน้า
เว็บไซด์ เว็บเพจ หรือ เว็บเพจ
หลาย ๆ หน้า
รวมกน โดยมีการกำหนด
342

เว็บเพจหน้า
แรก เรียกว่า โฮมเพจ ซึ่ง
การจะดู
เว็บไซต์ได้นน
ั ้ ต้องอาศัย
โปรแกรมเว็บ
บราวเซอร์ ในการเรียนรู้
กระบวนการ
ทำงานของเว็บไซต์ จะ
ต้องทำความ
เข้าใจก่อนว่า เราสร้าง
เว็บไซต์ไปใช้ที่
ไหน รูปแบบการใช้งาน
เป็ นอย่างไร
มีข้อแนะนำควรระวัง
อะไรบ้าง อีกทัง้
ต้องมีความรู้พ้น
ื ฐานเกี่ยว
กับระบบ
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
เข้าใจระบบการ
เชื่อมโยงเอกสารเว็บใน
เครือข่าย
อินเทอร์เน็ต รูปแบบการ
ใช้บริการ
ต่าง ๆ รวมทัง้ จรรยา
บรรณ และ
343

คำแนะนำการใช้งานที่
ควรทราบซึ่ง
เป็ นการปูพ้น
ื ฐานความรู้
ก่อนที่จะ
เรียนรู้การสร้างเว็บไซต์
ในหน่วยการ
เรียนอื่นต่อไป
2 โครงสร้างเว็บ ข้อที่ 2 โครงสร้างเว็บไซต์ เป็ น 10 15
ไซด์ ส่วนที่สำคัญ
ผู้ออกแบบเว็บไซต์จะต้อง
คำนึงถึง
เพราะโครงสร้างเว็บไซต์
เป็ นแผนผัง
ของการลำดับเนื้อหา
หรือการจัดวาง
ตำแหน่งของเว็บเพจ
ทัง้ หมด ซึ่งทำให้
ทราบว่าเว็บไซต์นน
ั้
ประกอบไปด้วย
เนื้อหาอะไรบ้างและมี
เว็บเพจไหนที่มี
ความเกี่ยวข้องเชื่อมโยง
กัน การศึกษา
ด้านโครงสร้างเว็บไซต์จึง
เปรียบเสมือน
344

แบบจำลอง ที่ทำให้ผู้
ออกแบบเว็บไซต์
เห็นหน้าตาของเว็บไซต์ที่
อยู่ใน
รูปธรรมมากขึน

ผล น้ำ
ลำดั เวลา(
ชื่อหน่วยการ การ หนัก
บ สาระสำคัญ ชั่วโมง
เรียนรู้ เรียน คะแน
ที่ )
รู้ น
3 การออกแบบ ข้อ 3 การออกแบบเว็บไซต์มี 20 20
และการ ส่วนสำคัญในการสร้าง
พัฒนาเว็บ ความประทับใจให้กับผู้ใช้
ไซด์ บริการ และอยากกลับเข้า
มาอีก ซึ่งการออกแบบ
เว็บไซต์ ควรคำนึงถึง
ประโยชน์สูงสุดต่อผู้ใช้
เพื่อดึงดูดให้เข้า
มาใช้บริการในเว็บไซต์อยู่
เสมอโดยออกแบบอย่าง
สวยงาม และมีการใช้งาน
ที่ง่ายและสะดวก
4 รู้จักและติดตัง้ ข้อ 5 Dreamweaver เป็ น 30 30
และใช้งาน โปรแกรมสำเร็จรูปที่ช่วย
โปรแกรม ในการสร้างงานเว็บไซต์ได้
345

อย่างง่ายๆ โดยเรา
สามารถนำรูปภาพ และ
ข้อความที่ต้องการมา
ประกอบเป็ นหน้าเว็บเพจ
อีกทัง้ ยังสามารถเพิ่มลูก
เล่น
ทางด้านเสียง ภาพ
เคลื่อนไหว การติดต่อกับ
ฐานข้อมูล โดยไม่ต้องเสีย
เวลากับการเขียน
โปรแกรม ด้วยภาษา
HTML อีกต่อไป
5 การอัพโหลด ข้อ 4 ขัน
้ ตอนสุดท้ายหลังจากที่ 8 15
เว็บเพจขึน
้ สู่ เราสร้างเว็บเพจจนเป็ นที่
อินเทอร์เน็ต พอใจแล้ว คือการอัพโหลด
เว็บไซต์ขน
ึ ้ สู่อินเทอร์เน็ต
เพื่อเผยแพร่ให้คนรู้จัก ซึ่ง
เราต้องเข้าใจเกี่ยวกบการ
จัดโครงสร้างไฟล์ การจัด
และเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างโฟลเดอร์ใน
เว็บไซต์ การตรวจสอบแก
ไข้ ลิงค์ และการทางาน
ด้านอื่น ๆก่อนที่จะ
อัพโหลดเว็บไซต์เพื่อตรวจ
346

สอบความถูกต้องของ
เว็บไซต์
รวม 80 100

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชา โปรแกรมตารางงาน
รหัสวิชา ง 30227
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 60 ชั่วโมง
จำนวน 1.5 หน่วยกิต

น้ำ
เวลา
ลำดับ ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
สาระสำคัญ ชั่วโ
ที่ เรียนรู้ รู้ คะแ
มง
นน
1 ความรู้เกี่ยวกับ ข้อที่ 1 - การใช้งานโปรแกรม 10 10
โปรแกรม ตารางงาน
347

ตารางงาน เบื้องต้น
- ความสามารถของ
โปรแกรม Excel
- การเข้าใช้งาน
โปรแกรม Excel
- การสร้าง Workbook
ใหม่
- การป้ อนและการแก้ไข
ข้อมูล
- การป้ อนข้อมูลใน
เซลล์
- การแก้ไขข้อมูลใน
เซลล์
- การใช้
AutoComplete ป้ อน
ข้อมูลซ้ำกัน
- การบันทึกข้อมูล
- การปิ ด Workbook
และออกจาก
โปรแกรม
2 การจัดการกับ ข้อที่ 2 - เริ่มต้นทำงานกับ 10 20
เซลล์และ ตารางข้อมูล
ข้อมูลในเซลล์ - การเลือกเซลล์หรือ
กลุ่มเซลล์
- การตัง้ ชื่อเซลล์หรือ
348

กลุ่มเซลล์ที่ต้อง
ใช้บ่อย
- การย้ายข้อมูลในเซลล์
- การคัดลอกและวางข้อ
มูลในเซลล์
- การแทรกข้อมูล
- การลบข้อมูลในเซลล์
- การปรับความกว้าง
ของคอลัมน์และ
ความสูงของแถว
- การสร้าง Workbook
และ
Worksheet
- การเลือกใช้
Worksheet ที่ต้องการ
- การตัง้ ชื่อ
Worksheet
- การลบ Worksheet
ที่ไม่ต้องการ
- การเพิ่ม Worksheet
- การเรียงลำดับ
ตำแหน่ง Worksheet

ลำดับ ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน สาระสำคัญ เวลา น้ำ


ที่ เรียนรู้ รู้ ชั่วโ หนัก
349

คะแ
มง
นน
- การกำหนดสีให้กับ
แผ่นงาน
- การตรึงแถวหรือ
คอลัมน์
- การย่อ/ขยาย
Worksheet
- การคัดลอก
Worksheet
- การตกแต่ง
Worksheet
- การกำหนดรูปแบบ
การแสดงข้อมูล
- การกำหนดรูปแบบ
และขนาด
ตัวอักษรในตาราง
- การกำหนดข้อมูลให้
แสดงเป็ น
ตัวหนา
ตัวเอนและขีดเส้นใต้
- การกำหนดรูปแบบ
การแสดงข้อมูล
ตามเงื่อนไขที่เรา
ต้องการ
350

- การจัดข้อมูลให้อยู่
กึ่งกลาง ชิดซ้าย
ชิดขวาในแต่ละเซลล์
- การวางแนวตัวข้อมูล
ในเซลล์
- การแสดงข้อมูลให้
ครบในเซลล์
- การจัดเรียงข้อมูลให้
อยู่กึ่งกลางแถว
เพื่อใช้เป็ นหัวเรื่อง
- การตกแต่งข้อมูลโดย
การใช้สี
3 การสร้างสูตร ข้อที่ 2 - การใช้สูตรคำนวณ 10 20
และฟั งก์ชั่นใน - ทำความเข้าใจการใช้
การคำนวณ สูตรคำนวณ
- การเริ่มต้นป้ อนสูตร
คำนวณ
- การแก้ไขสูตรคำนวณ
- การย้ายและการคัด
ลอกสูตร
- การอ้างอิงเซลล์โดยใช้
ชื่อหัว
คอลัมน์
- การคัดลอกสูตรอย่าง
รวดเร็วด้วย
351

AutoFill
- การใช้สูตรกับข้อมูลที่
อยู่ต่าง
Worksheet และ
Workbook
- การใช้ฟังก์ชั่นการ
คำนวณ และการ
พยากรณ์ข้อมูล
- แนะนำส่วนประกอบ
ของฟั งก์ชั่น

น้ำ
เวลา
ลำดับ ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
สาระสำคัญ ชั่วโ
ที่ เรียนรู้ รู้ คะแ
มง
นน
- การเขียนฟั งก์ชั่น
- การใช้ Paste
Function สร้าง
ฟั งก์ชั่นที่ต้องการ
- แนะนำฟั งก์ชั่นที่
สำคัญ
- การแก้ไขฟั งก์ชั่น
- การใช้ AutoSum
- การแสดงข้อผิดพลาด
352

จากการเขียน
สูตรและฟั งก์ชั่นผิด
- การพยากรณ์ข้อมูล
4 การสรุปและ ข้อที่ 3 - การสร้างและตกแต่ง 10 30
การนำเสนอ กราฟ
ข้อมูล - ส่วนประกอบของ
กราฟ
- กราฟประเภทต่าง ๆ
- การสร้างกราฟ
- การเคลื่อนย้าย
เปลี่ยนขนาดและ
ลบรูปกราฟ
- การเปลี่ยนชนิดและ
รูปแบบของ
กราฟ
- การปรับแต่งราย
ละเอียดต่างๆ ของ
กราฟ
- การแสดงกราฟข้อมูล
ด้วย
Sparklines
- เทคนิคเพิ่มเติมเกี่ยว
กับกราฟ
- การปรับแต่งส่วน
ประกอบย่อยใน
353

กราฟ
- การพิมพ์ตารางงาน
- การตรวจสอบงาน
พิมพ์
- การพิมพ์งาน
- การกำหนดราย
ละเอียดเกี่ยวกับ
งานพิมพ์

น้ำ
เวลา
ลำดับ ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
สาระสำคัญ ชั่วโ
ที่ เรียนรู้ รู้ คะแ
มง
นน
5 การวิเคราะห์ ข้อที่ 3 - การบริหารข้อมูลที่มี 20 20
ข้อมูลและสรุป ข้อที่ 4 ปริมาณมาก
สาระสำคัญ - ทำความรู้จักกับศัพท์ที่
ใช้
- การเรียงลำดับข้อมูล
- การใช้ AutoFilter
เพื่อคัดเลือก
ข้อมูล
- การกำหนดหลาย
354

เงื่อนไขพร้อมกัน
- การกำหนดเงื่อนไข
การคัดเลือก
ข้อมูลด้วยตัวเอง
- การคัดเลือกข้อมูล
แบบจัดอันดับ
- การลบการใช้
AutoFilter
- การจัดกลุ่มข้อมูลด้วย
Group
- การยกเลิกการจัดกลุ่ม
ข้อมูลด้วย
Ungroup
- การนำเข้าข้อมูลจาก
เว็บไซต์
- การสรุปข้อมูลจำนวน
มากด้วย
Pivot Table
- แนวทางการใช้ Pivot
Table
รวม 60 100
355

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาโปรแกรมฐานข้อมูล
รหัสวิชา ง 30228
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 80 ชั่วโมง
จำนวน 2.0 หน่วยกิต

น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
สาระสำคัญ ชั่วโ
บที่ เรียนรู้ รู้ คะแ
มง
นน
356

1. ข้อมูลเบื้องต้น ข้อที่ 1 - ข้อมูลคือ อะไร 10 10


- โครงสร้างฐานข้อมูล
- ประโยชน์ในการใช้
ระบบฐานข้อมูล
- การประยุกต์ฐานข้อมูล
ในงานต่างๆ
- การออกแบบฐานข้อมูล
- การทำ
Normalization
2. โปรแกรม ข้อที่ 2 - การเข้าโปรแกรม และ 10 10
Microsoft ส่วนต่างๆ
Access ของโปรแกรม
Microsoft Access
- องค์ประกอบของแฟ้ ม
ฐานข้อมูล
ของโปรแกรม
Microsoft Access
3. การสร้างฐาน ข้อที่ 2 - การสร้างฐานข้อมูล 10 10
ข้อมูล - การกำหนดคุณสมบัติ
พื้นฐานของ
เขตข้อมูล
- การกำหนดศีย์หลักให้
กับเขตข้อมูล
- การป้ อนข้อมูลลงใน
ตาราง
357

- การสร้างความสัมพันธ์
ระหว่าง
ตาราง
4. การสร้าง ข้อที่ 2 - การสอบถามข้อมูลด้วย 8 10
แบบสอบถาม คิวรีวิซาร์ต
ข้อมูล (Query) - แถบเครื่องมือใน
Query Design
- การออกแบบคิวรีด้วย
Query
Design
5. การสร้างฟอร์ม ข้อที่ 2 - การออกแบบฟอร์ม 8 10
(Form) - การสร้างฟอร์มด้วยวิ
ซาร์ต
- การสร้างฟอร์มในมุม
มองออกแบบ
6. การสร้าง ข้อที่ 2 - การสร้างรายงานโดยวิธี 8 10
รายงาน ใช้ตัวช่วย
(Report) สร้าง
- การสร้างรายงานในมุม
มอง
ออกแบบ
- การตกแต่ง แก้ไข
รายงาน
ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน สาระสำคัญ เวลา น้ำ
บที่ เรียนรู้ รู้ ชั่วโ หนัก
358

คะแ
มง
นน
7. การสร้างความ ข้อที่ 2 - การกำหนดแฟ้ มข้อมูล 8 10
ปลอดภัยใน เฉพาะ
ระบบฐาน - การกำหนดรหัสผ่าน
ข้อมูล
8. การเชื่อมโยง ข้อที่ 2 - การเชื่อมฐานข้อมูลจาก 8 10
ข้อมูล Microsoft
Access
- การเชื่อมฐานข้อมูลเข้า
เว็บเพจ
9. การประยุกต์ใช้ ข้อที่ 3 - แนวการจัดทำโครงงาน 10 20
งานโปรแกรม วิชา การ
ฐานข้อมูล จัดการฐานข้อมูล
- รูปแบบโครงงาน
- ตัวอย่างโครงงาน
รวม 80 100
359

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาการพัฒนาโปรแกรมบนอุปกรณ์พกพาเบื้องต้น
รหัสวิชา ง 30229
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 80 ชั่วโมง
จำนวน 2.0 หน่วยกิต

ลำดั ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน สาระสำคัญ เวลา น้ำ


360

หนัก
บ ชั่วโ
เรียนรู้ รู้ คะแ
ที่ มง
นน
1 หลักการพัฒนา ข้อที่ 1 - หลักการพัฒนา 10 20
โปรแกรม โปรแกรม
2 ประเภทของ ข้อที่ 1 -ประเภทของอุปกรณ์ 14 20
อุปกรณ์ พกพา
พกพา
3 ระบบปฏิบัติ ข้อที่ 1 -ระบบปฏิบัติการบน 16 20
การบนอุปกรณ์ อุปกรณ์พกพา
พกพา
4 เครื่องมือ ข้อที่ 1 -เครื่องมือพัฒนาระบบ 20 20
พัฒนาระบบ ปฏิบัติการอุปกรณ์พกพา
ปฏิบัติการ
อุปกรณ์พกพา
5 การใช้เครื่อง ข้อที่ 2,3 -การใช้เครื่องมือ 20 20
มือ ออกแบบและพัฒนา
ออกแบบและ โปรแกรมบนอุปกรณ์พก
พัฒนา พา
โปรแกรมบน
อุปกรณ์พกพา
รวม 80 100
361

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาระบบปฏิบัติการเบื้องต้น
รหัสวิชา ง 30230
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 60 ชั่วโมง
จำนวน 1.5 หน่วยกิต

น้ำ
ลำดั เวลา(
ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
บ สาระสำคัญ ชั่วโม
เรียนรู้ รู้ คะแ
ที่ ง)
นน
362

1 ความรู้ทั่วไป ข้อที่ 1 - ความหมายของ 2 5


เกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ - วิวัฒนาการของ
คอมพิวเตอร์
- การทำงานของ
คอมพิวเตอร์
- ลักษณะสำคัญของ
คอมพิวเตอร์
- ประเภทของ
คอมพิวเตอร์
- ประโยชน์ของ
คอมพิวเตอร์
2 องค์ประกอบ ข้อที่ 1 - ความเหมือนและแตก 4 10

ของ ต่างของ
คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์กับมนุษย์
- องค์ประกอบของ
คอมพิวเตอร์
- ระบบคอมพิวเตอร์
- ส่วนประกอบของ
คอมพิวเตอร์
- ความจุหรือขนาดของ
ข้อมูล
3 หลักการ ข้อที่ 1 - หลักการทำงานของ 4 5
ทำงานของ คอมพิวเตอร์
เครื่อง - หน่วยรับข้อมูล
363

คอมพิวเตอร์ - หน่วยประมวลผลก
ลาง
- หน่วยความจำ
- หน่วยแสดงผล
4 อุปกรณ์ต่อ ข้อที่ 1 - ความหมายของ 2 5
พ่วงและสื่อ อุปกรณ์ต่อพ่วง
บันทึกข้อมูล - ชนิดของอุปกรณ์ต่อ
พ่วง
- ความหมายของสื่อ
บันทึกข้อมูล
- ชนิดของสื่อบันทึก
ข้อมูล
5 ระบบปฏิบัติ ข้อที่ 2 - ระบบปฏิบัติการ 4 10
การ - ความสำคัญของระบบ
คอมพิวเตอร์ ปฏิบัติการ
- หน้าที่ของระบบปฏิบัติ
การ
- องค์ประกอบของ
ระบบปฏิบัติการ
- หลักการทำงานของ
ระบบปฏิบัติการ
- ลักษณะการทำงาน
ของ
ระบบปฏิบัติการ
- ประเภทของระบบ
364

ปฏิบัติการ

น้ำ
ลำดั เวลา(
ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
บ สาระสำคัญ ชั่วโม
เรียนรู้ รู้ คะแ
ที่ ง)
นน
6 การเลือกใช้ ข้อที่ 2 - ความหมายของระบบ 2 5
และติดตัง้ ปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติ มาตรฐานปิ ด
การมาตรฐาน (Proprietary)
ปิ ด - การเลือกใช้และติดตัง้
ระบบปฏิบัติการที่เป็ น
มาตรฐานปิ ด
(Proprietary) บน
เครื่องแม่ข่าย
- การเลือกใช้และติดตัง้
ระบบปฏิบัติการที่เป็ น
มาตรฐานปิ ด
(Proprietary) บน
เครื่องลูกข่าย
- การเลือกใช้และติดตัง้
ระบบปฏิบัติการที่เป็ น
มาตรฐานปิ ด
(Proprietary) บน
อุปกรณ์พกพา
365

7 การเลือกใช้ ข้อที่ 2 - ความหมายของระบบ 4 10

และติดตัง้ ปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติ มาตรฐานเปิ ด (Open
การมาตรฐาน Standard)
เปิ ด - การเลือกใช้และติดตัง้
ระบบปฏิบัติการที่เป็ น
มาตรฐาน
เปิ ด (Open
Standard) บนเครื่อง
แม่ข่าย
- การเลือกใช้และติดตัง้
ระบบปฏิบัติการที่เป็ น
มาตรฐาน
เปิ ด (Open
Standard) บนเครื่อง
ลูกข่าย
- การเลือกใช้และติดตัง้
ระบบปฏิบัติการที่เป็ น
มาตรฐาน
เปิ ด (Open
Standard) บน
อุปกรณ์พกพา
8 การใช้งาน ข้อที่ 3 - การใช้งาน MS-DOS 4 5
ระบบปฏิบัติ เบื้องต้น
การเบื้องต้น - เริ่มต้นใช้งาน
366

Windows 10
- ระบบไฟล์ และ
โฟลเดอร์ของ
Windows 10
- การปรับแต่งระบบ
(Setting) ใน
Windows 10
- การจัดการบัญชีผู้ใช้
(User
Account) บน
Windows 10
- การปรับแต่งหน้าจอใน
Windows 10
- โปรแกรมที่มาพร้อม
กับ Windows 10
- คำสั่งคีย์ลัดบน
Windows 10
น้ำ
ลำดั เวลา(
ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
บ สาระสำคัญ ชั่วโม
เรียนรู้ รู้ คะแ
ที่ ง)
นน
9 การใช้ ข้อที่ 3 - ความหมายของ 2 5
โปรแกรม โปรแกรม
อรรถประโยช อรรถประโยชน์
น์ - ประเภทของโปแกรม
367

อรรถประโยชน์
- การดูแลและบำรุง
รักษา
ระบบปฏิบัติการ
- การจัดระเบียบไฟล์
ด้วยโปรแกรม
Disk Defragmenter
- การใช้งานโปรแกรม
Disk
Cleanup
- การใช้งานโปรแกรม
Task
Scheduler
- การใช้Power
Options
- การตัง้ ค่ารักษาหน้า
จอ (Screen
Saver)
- การสำรองข้อมูล
(Backup)
- การกูค
้ ืนระบบ
(Recovery)
- การถอนโปรแกรม
(Uninstaller)
- การบีบอัดไฟล์ (File
368

Compression
Utility)
- การเขียนแผ่น
ซีดี/ดีวีดีด้วย Nero
Express
- การใช้งานโปรแกรม
Anti-Virus
รวม 60 100

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง 30231
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
369

เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ผล น้ำ
ลำดั เวลา(
ชื่อหน่วยการ การ หนัก
บ สาระสำคัญ ชั่วโมง
เรียนรู้ เรียน คะแน
ที่ )
รู้ น
- วิวัฒนาการของระบบ
จำนวนและตัวเลข
- โครงสร้างของระบบ
จำนวน
ระบบจำนวน - จำนวนจริง
1. (Number ข้อที่ 1 - จำนวนตรรกยะ 6 10
Systems) - จำนวนอตรรกยะ
- จำนวนเต็ม
- จำนวนนับหรือ
จำนวนธรรมชาติ
- เส้นจำนวน
- ระบบเลขฐานสิบ
เลขฐานใน ข้อที่ 1 - ระบบเลขสอง
2. ระบบ ข้อที่ 2 - ระบบเลขฐานแปด 4 10
คอมพิวเตอร์ - ระบบเลขฐานสิบหก
- ระบบเลขฐานอื่น ๆ
3. การแปลงเลข ข้อที่ 3 - การแปลงเลขฐานสิบ 12 30
ฐานในระบบ เป็ นเลขฐานใด ๆ
370

- การแปลงเลขฐาน
สองเป็ นเลขฐานใด ๆ
- การแปลงเลขฐาน
คอมพิวเตอร์
แปดเป็ นเลขฐานใด ๆ
- การแปลงเลขฐานสิบ
หกเป็ นเลขฐานใด ๆ
- การคำนวณในระบบ
คอมพิวเตอร์ได้แก่
หลักการ
การบวก ลบ คูณ
คำนวณเลข
และการหารเลขฐาน
4. ฐานในระบบ ข้อที่ 3 8 25
- การทำงานภายใน
คอมพิวเตอร์
หน่วยคำนวณและ
ตรรกะของ
คอมพิวเตอร์

ผล น้ำ
ลำดั เวลา(
ชื่อหน่วยการ การ หนัก
บ สาระสำคัญ ชั่วโมง
เรียนรู้ เรียน คะแน
ที่ )
รู้ น
5. คณิตศาสตร์ ข้อที่ 3 - นิพจน์ทาง 10 25
ของเลขฐาน คณิตศาสตร์
- ลำดับความสำคัญ
ของเครื่องหมายทาง
คณิตศาสตร์ตามหลัก
371

การคำนวณของ
เครื่องคอมพิวเตอร์
รวม 40 100
372

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาการนำเสนอด้วยสื่อประสม
รหัสวิชา ง 30232
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ผล น้ำ
ลำดั เวลา(
ชื่อหน่วยการ การ หนัก
บ สาระสำคัญ ชั่วโมง
เรียนรู้ เรียน คะแน
ที่ )
รู้ น
1. ความรู้เบื้อง ข้อที่ 1 - ความหมายของสื่อ 6 15
ต้นเกี่ยวกับ ข้อที่ 2 ประสม
โปรแกรมสื่อ - องค์ประกอบของสื่อ
ประสม ประสม
- คุณสมบัติของสื่อ
ประสมหลักการ
373

ทำงานของระบบสื่อ
ประสม 
- คุณค่าและข้อจำกัด
ของสื่อประสม
2. การเขียน Sto ข้อที่ 3 - ความหมายของ 6 20
ry Board Story Board 
- หลักการในการสร้าง
Story Board 
- ขัน
้ ตอนการสร้าง
Story Board 
- การเขียนสคริปต์
- การออกแบบภาพ
ข้อความ เสียง และ
การเคลื่อนไหวให้เข้า
กับการนำเสนอ
การใช้
3. โปรแกรมนำ ข้อที่ 2 - ส่วนประกอบของ 18 50
เสนอด้วย ข้อที่ 4 โปรแกรม Microsoft
โปรแกรม
Microsoft PowerPoint
PowerPoint
- สร้างงาน
Presentation ใหม่
จาก Template
- หลักการออกแบบ
หน้าสไลด์
- กฎในการออกแบบ
หน้าสไลด์
374

- แนะนำเครื่องมือ
- มุมมอง(View) สไลด์
แบบต่างๆการเรียกดู
สไลด์ในมุมมองแบบ
ต่างๆ
- พิมพ์ข้อความลงใน
สไลด์
- การออกแบบด้วย
ธีม(Themes)
- แทรกข้อความศิลป์
- การแทรกรูปภาพ
- การปรับเปลี่ยนขนาด
รูปภาพ
- การจัดการวัตถุต่างๆ

น้ำ
ลำดั
ชื่อหน่วยการ ผลการ เวลา หนัก
บ สาระสำคัญ
เรียนรู้ เรียนรู้ ชั่วโมง คะแน
ที่

4. การประยุกต์ ข้อที่ 5 - การค้นหาข้อมูลเพื่อ 10 15
ใช้ส่ อ
ื ประสม ข้อที่ 6 สร้างงานนำเสนอ
- จริยธรรมการ
ประยุกต์ใช้ข้อมูลเพื่อ
การนำเสนอ
- การตัง้ ค่าการนำเสนอ
375

ออกทางเครื่องพิมพ์
- การบันทึกงานนำ
เสนอและสามารถนำ
เสนอผลงานสู่
สาธารณะได้อย่าง
เหมาะสม
รวม 40 100
376

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาคอมพิวเตอร์และการบำรุงรักษา
รหัสวิชา ง 30233
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 80 ชั่วโมง
จำนวน 2.0 หน่วยกิต

น้ำ
ลำดั เวลา
ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
บ สาระสำคัญ ชั่วโ
เรียนรู้ รู้ คะแ
ที่ มง
นน
1 -ส่วนประกอบ 8 10
ระบบ
ข้อที่ 1 คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
-หลักการทำงานของ
คอมพิวเตอร์
2 อุปกรณ์ภายใน ข้อที่ 1 -อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 8 10
เครื่อง
377

คอมพิวเตอร์
3 การปฏิบัติการ -หลักการประกอบ 8 15
ข้อที่ 2
ประกอบเครื่อง คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
4 -การติดตัง้ ระบบปฏิบัติ 8 15
การติดตัง้ ข้อที่ 2
ระบบปฏิบัติ การ

การ Windows
5 -การติดตัง้ ไดร์เวอร์ระบบ 8 5
การติดตัง้ ข้อที่ 2
ปฏิบัติการ
ไดร์เวอร์

6 การติดตัง้ 8 5
ข้อที่ 2 -การติดตัง้ โปรแกรม
โปรแกรม
ประยุกต์
ประยุกต์
7 การบำรุงรักษา 8 10
ข้อที่ 2 -การบำรุงรักษาอุปกรณ์
อุปกรณ์
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
8 การตรวจและ ข้อที่ 3 8 10
-การตรวจและกำจัดไวรัส
กำจัดไวรัส
9 โปรแกรม ข้อที่ 3 8 10
-โปรแกรมอรรถประโยชน์
อรรถประโยชน์
10 การสำรอง ข้อที่ 4 -การสำรอง การกู้คืนและ 8 10
การกู้คืนและ การป้ องกันความเสีย
การป้ องกัน หายของข้อมูล
ความเสียหาย
378

ของข้อมูล

รวม 80 100

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
รหัสวิชา ง 30234
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 80 ชั่วโมง
จำนวน 2.0 หน่วยกิต

น้ำ
ลำ เวลา
ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
ดับ สาระสำคัญ ชั่วโ
เรียนรู้ รู้ คะแ
ที่ มง
นน
1 บทบาทของ ข้อที่ 1 -บทบาทของโปรแกรมเชิง 20 20
โปรแกรมเชิง วัตถุเบื้องต้น
วัตถุเบื้องต้น
2 หลัก การเขีย น ข้อที่ 1 -หลักการเขียนโปรแกรม 20 20
โปรแ กรม เช ิง เชิงวัตถุ
379

วัตถุ เบื้องต้น
เบื้องต้น
3 ภาษาในการ ข้อที่ 1 -ภาษาในการเขียน 20 30
เขียนโปรแกรม โปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
เชิงวัตถุเบื้อง
ต้น
4 ใช้เครื่องมือ ข้อที่ 2,3,4 -ใช้เครื่องมือสำหรับการ 20 30
สำหรับการ เขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
เขียนโปรแกรม เบื้องต้น
เชิงวัตถุ
เบื้องต้น
รวม 80 100
380

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ รหัส
วิชา ง 30235
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 80 ชั่วโมง
จำนวน 2.0 หน่วยกิต

ผล น้ำ
ลำดั เวลา(
ชื่อหน่วยการ การ หนัก
บ สาระสำคัญ ชั่วโมง
เรียนรู้ เรียน คะแน
ที่ )
รู้ น
1 ความรู้เกี่ยว ข้อที่ 1 - ความหมายของสื่อ 8 10
กับสื่อสิ่งพิมพ์ ข้อที่ 4 สิ่งพิมพ์
- ความเป็ นมาของสื่อ
สิ่งพิมพ์
- ประเภทของสื่อสิ่ง
พิมพ์
- ข้อดีและข้อจำกัด
ของสื่อสิ่งพิมพ์
381

2 การออกแบบ ข้อที่ 2 - การออกแบบสื่อสิง่ 8 5


และ ข้อที่ 3 พิมพ์
กระบวนการ - การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
ผลิตสื่อสิง่ ด้วยคอมพิวเตอร์
พิมพ์ แบบตัง้ โต๊ะ
3 การจัดรูป ข้อที่ 2 - รูปแบบของสื่อสิ่ง 6 5
แบบและองค์ พิมพ์
ประกอบสื่อ - องค์ประกอบที่
สิ่งพิมพ์ สำคัญของสื่อสิง่ พิมพ์
4 การผลิตสื่อสิ่ง ข้อที่ 2 - ปฏิบัติการใช้งาน 14 30
พิมพ์แบบสื่อ โปรแกรม
ภาพนิง่ Photoshop
- - การเปิ ด-ปิ ด
โปรแกรม
- - การสร้าง การ
บันทึก การปิ ด-เปิ ด
ไฟล์ภาพ
- - การปรับแต่งภาพ
การเลือก การตัด
การวาง
- - การใช้งาน Layer,
effect, มุมมองและ
ชุดเครื่องมือ
5 สีในสื่อสิ่ง ข้อที่ 3 - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยว 6 5
พิมพ์ กับสี
382

- ทฤษฏีสี
- ระบบสี
6 ภาพในสื่อสิ่ง ข้อที่ 3 - ไฟล์ภาพและ 4 5
พิมพ์ คุณสมบัติของไฟล์
ภาพ
- รูปภาพในงานด้าน
สื่อสิง่ พิมพ์
- ภาพที่ใช้ในการ
ประกอบสื่อสิง่ พิมพ์

ผล น้ำ
ลำดั เวลา(
ชื่อหน่วยการ การ หนัก
บ สาระสำคัญ ชั่วโมง
เรียนรู้ เรียน คะแน
ที่ )
รู้ น
7 การใช้ ข้อที่ 3 - ความรู้พ้น
ื ฐานของ 24 30
โปรแกรม สื่ออินโฟกราฟิ ก
สำเร็จรูปผลิต Infographic
สื่อสิ่งพิมพ์ - ความหมายของสื่อ
อินโฟกราฟิ ก
- หลักการออกแบบสื่อ
อินโฟกราฟิ ก
- กระบวนการการ
ออกแบบสื่ออินโฟ
กราฟิ ก
383

- การสร้างสื่ออินโฟ
กราฟิ กอย่างมี
ประสิทธิภาพ
- ข้อควรระวังในการ
ออกแบบสื่ออินโฟ
กราฟิ ก
- เทคนิคการออกแบบ
สื่ออินโฟกราฟิ ก
- การออกแบบสื่ออิน
โฟกราฟิ กด้วย
เลเยอร์
- แนวโน้มในปั จจุบัน
เกี่ยวกับการใช้งาน
สื่ออินโฟกราฟิ ก
8 เทคโนโลยี ข้อที่ 3 - การเปลี่ยนแปลง 10 10
การผลิตสื่อสิง เทคโนโลยีการพิมพ์
พิมพ์ยุค - การพัฒนาการพิมพ์
ดิจิตอล - เทคโนโลยีกับการ
เพื่องานอาชีพ ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
- แนวโน้มธุรกิจการ
พิมพ์และบทบาท
- สื่อสิง่ พิมพ์ใน
อินเตอร์เน็ต และ
บทบาท
รวม 80 100
384

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาโปรแกรมมัลติมีเดีย
รหัสวิชา ง 30236
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 80 ชั่วโมง
จำนวน 2.0 หน่วยกิต

น้ำ
ลำ เวลา
ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
ดับ สาระสำคัญ ชั่วโ
เรียนรู้ รู้ คะแ
ที่ มง
นน
1 หลักการสร้าง ข้อที่ 1 -หลักการสร้างสื่อ 8 5
สื่อมัลติมีเดีย มัลติมีเดีย
2 หลักการ ข้อที่ 1 -หลักการออกแบบโครง 8 5
ออกแบบโครง ร่างเรื่องราว
ร่างเรื่องราว (Story Board)
(Story Board)
385

3 ความรู้เบื้องต้น ข้อที่ 1 -ความสำคัญ ของการนำ 8 10


เกี่ยวกับงานนำ เสนอ
เสนอ -โปรแกรมที่ใ ช้ใ นการนำ
เสนอ
-ข้อควรระวังในการสร้าง
งานนำเสนอ
4  การออกแบบ ข้อที่ 2 -ขัน
้ ตอนการสร้างงานนำ 8 10
งานนำเสนอ เสนอ
-หลักในการออกแบบงาน
นำเสนอ
-การเลือกใช้สีและ
Design
5 การใช้เครื่อง ข้อที่ 2 -การเข้าสู่โปรแกรม 8 10
มือในการสร้าง Power Point
งานนำเสนอ -ส่วนประกอบของ
โปรแกรม
-เครื่องมือที่ใช้ใน
โปรแกรม
-การเริ่มสร้างงานนำเสนอ
-การจัดเก็บงานนำเสนอ
-การเรียกใช้งานนำเสนอ
-การแสดงผลงานนำเสนอ
6 การสร้าง ข้อที่ 2 -การสร้างและปรับแต่ง 8 10
ข้อความ ข้อความด้วย Textbox
-เครื่องมือที่ใช้ในการปรับ
386

แต่งข้อความ
-การกำหนดขนาดตัว
อักษร
-การทำงานเกี่ยวกับ
ข้อความศิลป์
7 การสร้างภาพ ข้อที่ 2 -ขัน
้ ตอนการสร้างภาพ 8 10
-เครื่องมือที่ใช้ในการสร้าง
ภาพ

น้ำ
ลำ เวลา
ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
ดับ สาระสำคัญ ชั่วโ
เรียนรู้ รู้ คะแ
ที่ มง
นน
8 การทำงาน ข้อที่ 2 -ประเภทของรูปภาพที่ใช้ 8 10
เกี่ยวกับ ในงานนำเสนอ
รูปภาพ -การแทรกรูป Clip Art
-ขัน
้ ตอนในการนำเสนอ
ข้อมูล
-การปรับแต่งรูปภาพ
9 การทำภาพ ข้อที่ 2 -การใส่ Transition ใน 8 10
เคลื่อนไหว งานนำเสนอ
-การใส่ Animation ในงา
387

นำเสนอ
10 การนำเสนอ ข้อที่ 3,4 -การนำเสนอข้อมูลเชิง 4 10
ข้อมูลเชิงธุรกิจ ธุรกิจและการแทรก
ตาราง
-การนำเสนอโดยใช้กราฟ
และ
การปรับแต่งกราฟ
-การปรับแต่งกราฟ
11 หลักการนำ ข้อที่ 3,4 -หลักการนำเสนอข้อมูล 4 10
เสนอข้อมูล
รวม 80 100
388

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รหัสวิชา ง 30237
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1.0 หน่วยกิต

น้ำ
ลำ เวลา
ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
ดับ สาระสำคัญ ชั่วโ
เรียนรู้ รู้ คะแ
ที่ มง
นน
1 อัลกอรทึมและ ข้อที่ 1 -การพัฒนาโปรแกรมและ 8 15
การเขียน อัลกอริทึม
โปรแกรม -การเขียนอัลกอริทึมโดย
การเขียนรหัสจำลอง
-การเขียนอัลกอริทึมโดย
การเขียนผังงาน
-ผังงานโครงสร้างแบบทำ
389

น้ำ
ลำ เวลา
ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
ดับ สาระสำคัญ ชั่วโ
เรียนรู้ รู้ คะแ
ที่ มง
นน
ซ้ำ
-ผังงานโครงสร้างแบบ
ทางเลือก
-ผัง งานโครงสร้า ง แบ บ
ลำดับ
2 มัลติมีเดีย ข้อที่ 2 -ลักษณะและการ 8 15
ประยุกต์ใช้มัลติมีเดีย
-เว็บไซต์
-อีเมล
-สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
-ภาพยนตร์
-เกม
-มัลติมีเดีย
(Multimedia)

-โปรแกรมประยุกต์ด้าน
สื่อประสม
-โปรแกรมด้านจัดการ
รูปภาพ
-โปรแกรมสร้างแอนิเมชัน
-โปรแกรมสร้างภาพ 3
มิติ
390

น้ำ
ลำ เวลา
ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
ดับ สาระสำคัญ ชั่วโ
เรียนรู้ รู้ คะแ
ที่ มง
นน
-โปรแกรมด้านตัดต่อภาพ
เคลื่อนไหว
3 Macromedia ข้อที่ 3 -การเรียกใช้ 8 30
Authorware Macromedia
7 Authorware 7
-ลักษณะของ
Macromedia --
Authorware
ส่วนประกอบของ
Macromedia
-Authorware 7
-การสร้างสื่อการสอนด้วย
-Macromedia
Authorware 7
-การใช้งาน
Macromedia
Authorware 7
น้ำ
ลำ เวลา
ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
ดับ สาระสำคัญ ชั่วโ
เรียนรู้ รู้ คะแ
ที่ มง
นน
391

น้ำ
ลำ เวลา
ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
ดับ สาระสำคัญ ชั่วโ
เรียนรู้ รู้ คะแ
ที่ มง
นน
4 Macromedia ข้อที่ 4 -การเรียกใช้ 8 10
Flash Macromedia Flash
-ความสามารถและ
ประโยชน์ของ
Macromedia Flash
-ส่วนประกอบของ
Macromedia Flash
-หลักการสร้างงานด้วย
Macromedia Flash
-รูปภาพกราฟิ กและตัว
หนังสือใน Macromedia
Flash

5 อาชีพทาง ข้อที่ 5 -ฝ่ ายวิเคราะห์และ 4 15


เทคโนโลยี ออกแบบระบบ
คอมพิวเตอร์ -นักวิเคราะห์ระบบ
-ผู้จัดการโครงการ
-ผู้บริหารฐานข้อมูล
-ผู้จัดการฝ่ ายสารสนเทศ
-ผู้จัดการระบบเครือข่าย
-ฝ่ ายโปรแกรม
392

น้ำ
ลำ เวลา
ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
ดับ สาระสำคัญ ชั่วโ
เรียนรู้ รู้ คะแ
ที่ มง
นน
-โปรแกรมเมอร์

6 แนวโน้มของ ข้อที่ 6 -แนวโน้มทางด้าน 4 15


เทคโนโลยี ฮาร์ดแวร์
สารสนเทศ -แนวโน้มทางด้าน
และการสื่อสาร ซอฟต์แวร์
ในอนาคตได้ -แนวโน้มทางด้านการ
สื่อสารและเครือข่าย
รวม 40 100
393

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาสารสนเทศเพื่อการจัดการ
รหัสวิชา ง 30238
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา 60 ชั่วโมง
จำนวน 1.5 หน่วยกิต

น้ำ
ลำดั เวลา(
ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
บ สาระสำคัญ ชั่วโม
เรียนรู้ รู้ คะแ
ที่ ง)
นน
1 คอมพิวเตอร์ ข้อที่ 1 - ความหมายของ 6 10

และระบบ เทคโนโลยี
สารสนเทศ สารสนเทศ
- ลักษณะสำคัญของ
เทคโนโลยี
สารสนเทศ
- องค์ประกอบของ
เทคโนโลยี
สารสนเทศ
- ผลกระทบของการใช้
เทคโนโลยี
สารสนเทศ
- จริยธรรมและความรับ
ผิดชอบใน
394

การใช้คอมพิวเตอร์กับ
ระบบ
สารสนเทศ
2 ระบบปฏิบัติ ข้อที่ 1 - ความหมายของระบบ 6 10

การ ปฏิบัติการ
- การใช้งานระบบปฏิบัติ
การ
Windows 7 เบื้องต้น
3 การใช้ ข้อที่ 3 - ประโยชน์ของ 12 20

โปรแกรม โปรแกรม Microsoft


ประมวลผล Office Word
คำ - ส่วนประกอบของ
Microsoft โปรแกรม
Office Word Microsoft Office
2010 Word
- การสร้าง การเปิ ด ปิ ด
และบันทึก
เอกสาร
- การกำหนดขนาด
เอกสาร
การปรับคุณลักษณะ
ของข้อความ
- การสร้างปกรายงาน
- การแทรกรูปภาพ ภาพ
ตัดปะ
395

รูปร่าง SmartArt
แผนภูมิ
- การจับภาพหน้าจอมา
แทรกใน
เอกสาร
- การแทรกหัวกระดาษ
ท้ายกระดาษ
หมายเลขหน้า

น้ำ
ลำดั เวลา(
ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
บ สาระสำคัญ ชั่วโม
เรียนรู้ รู้ คะแ
ที่ ง)
นน
- การแทรกกล่อง
ข้อความ อักษร
ศิลป์
ตัวอักษรหน้า
ข้อความขนาดใหญ่
- การแทรกสัญลักษณ์
พิเศษ และ
แทรกสัญลักษณ์
คณิตศาสตร์
- การแทรกลายน้ำลงใน
เอกสาร
- การสร้างขอบกระดาษ
396

เอกสาร
- การแบ่งข้อความเป็ น
คอลัมน์
4 การใช้ ข้อที่ 3 - ส่วนประกอบของ 12 20

โปรแกรม Microsoft
ตารางงาน Office Excel
Microsoft - การเปิ ด ปิ ด โปรแกรม
Office Excel - การสร้าง เปิ ด ปิ ด
2010 และบันทึกแฟ้ ม
งาน
- ชนิดของข้อมูล
- การจัดการข้อมูลใน
เซลล์
- การจัดการแถวและ
คอลัมน์
- การกำหนดรูปแบบ
เซลล์
- การจัดการแผ่นงาน
- ประเภทของสูตร
- วิธีการป้ อนค่าสูตร
- การคำนวณโดยใช้สูตร
- ประเภทของฟั งก์ชัน
และฟั งก์ชันที่
ใช้งานบ่อย
- การอ้างอิงเซลล์
397

- การคำนวณโดยใช้
ฟั งก์ชัน
- ข้อผิดพลาดที่อาจเกิด
ขึน
้ ในการกำหนด
ฟั งก์ชันและสูตร

น้ำ
ลำดั เวลา(
ชื่อหน่วยการ ผลการเรียน หนัก
บ สาระสำคัญ ชั่วโม
เรียนรู้ รู้ คะแ
ที่ ง)
นน
5 การใช้โปรแกรม ข้อที่ 3 - การเริ่มต้นใช้งาน 12 20
นำเสนอข้อมูล
โปรแกรม
Microsoft
Microsoft Office
Office
PowerPoint PowerPoint

2010 - การจัดการภาพนิ่ง
(Slide)
- การออกแบบการนำ
398

เสนอ
- การใส่เนื้อหาให้กับ
ภาพนิง่
การแทรกวัตถุลงใน
ภาพนิง่
- การใส่ Transition
- กำหนดการเคลื่อนไหว
ของวัตถุ
(Animations)
- การนำเสนอด้วย
มัลติมีเดีย
- การเชื่อมโยงหลายมิติ
(Hyperlink)
การเผยแพร่งานนำ
เสนอ
6 การใช้ ข้อที่ 4 - การทำงานของ 4 10

อินเทอร์เน็ต ข้อที่ 5 จดหมาย


สืบค้นข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์
- เว็บไซต์ต่างๆ ที่ให้
บริการอีเมลฟรี
- การสมัครใช้งาน
Hotmail อีเมล
ฟรี
- การเปิ ดอ่านอีเมลฟรี
ของ Hotmail
399

7 ระบบ ข้อที่ 4 - ระบบสารสนเทศเพื่อ 8 10

สนับสนุนการ การจัดการ
ตัดสินใจ - แยกประเภทหรือการ
ใช้งานระบบ
สารสนเทศ
- การตัดสินใจ
- ระดับของการจัดการ
การตัดสินใจ
- การตัดสินใจสำหรับ
กลุ่ม

รวม 60 100

การจัดการเรียนรู้
400

การจัดการเรียนรู้เป็ นกระบวนการสำคัญในการนำหลักสูตรสู่
การปฏิบัติ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน เป็ นหลักสูตรที่
มีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของผู้เรียน เป็ นเป้ าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชน
ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณสมบัติตามเป้ าหมายหลักสูตรผู้
สอนพยายามคัดสรรกระบวนการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้โดยช่วยให้ผู้
เรียนเรียนรู้ผ่านสาระที่กำหนดไว้ในหลักสูตร 8 กลุ่มสาระการเรียน
รู้ รวมทัง้ ปลูกฝั งเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ พัฒนา
ทักษะต่างๆ อันเป็ นสมรรถนะสำคัญให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้ าหมาย
1. หลักการจัดการเรียนรู้
โรงเรียนสามเงาวิทยาคม จัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมี
ความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญ
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกน
กลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน โดยยึดหลักว่า ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด
เชื่อว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ยึด
ประโยชน์ที่เกิดกับผู้เรียน กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้
ผู้เรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ คำนึงถึง
ความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมอง เน้นให้ความ
สำคัญ ทัง้ ความรู้ และคุณธรรม
2. กระบวนการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ ผู้เรียนจะต้อง
อาศัยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เป็ นเครื่องมือที่จะนำพา
ตนเองไปสู่เป้ าหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ที่จำเป็ น
สำหรับผู้เรียน อาทิ กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ
กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม
401

กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้
จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทำจริง
กระบวนการจัดการ กระบวนการวิจัย กระบวนการเรียนรู้การเรียน
รู้ของตนเองกระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย
กระบวนการเหล่านีเ้ ป็ นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียน
ควรได้รับการฝึ กฝน พัฒนา เพราะจะสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้ได้ดี บรรลุเป้ าหมายของหลักสูตร ดังนัน
้ ผูส
้ อนจึงจำเป็ นต้อง
ศึกษาทำความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถ
เลือกใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. การออกแบบการจัดการเรียนรู้
ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐาน
การเรียนรู้ ตัวชีว้ ัด สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์และสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนแล้วจึงพิจารณา
ออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยเลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน
สื่อ/แหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็ม
ตามศักยภาพและบรรลุตามเป้ าหมายที่กำหนด

4. บทบาทของผู้สอนและผู้เรียน
การจัดการเรียนรู้เ พื่อ ให้ผ ู้เ รียนมีคุณ ภาพตามเป้ าหมายของ
หลักสูตรทัง้ ผู้สอนและผู้เรียนควรมีบทบาท ดังนี ้

4.1 บทบาทของผู้สอน
402

1) ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็ นรายบุคคลแล้วนำ
ข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ท้าทายความ
สามารถของผู้เรียน
2) กำหนดเป้ าหมายที่ต้องการให้เกิดขึน
้ กับผู้เรียน
ด้านความรู้และทักษะกระบวนการ ที่เป็ นความคิดรวบยอด
หลักการ และความสัมพันธ์ รวมทัง้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
3) ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบ
สนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมอง
เพื่อนำผู้เรียนไปสู่เป้ าหมาย
4) จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และดูแลช่วย
เหลือผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้
5) จัดเตรียมและเลือกใช้ส่ อ
ื ให้เหมาะสมกับ
กิจกรรม นำภูมิปัญญาท้องถิ่น
เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียน
การสอน
6) ประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีการที่
หลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาติ
ของวิชาและระดับพัฒนาการของผู้เรียน
7) วิเคราะห์ผลการประเมินมาใช้ในการซ่อมเสริม
และพัฒนาผูเ้ รียน รวมทัง้ ปรับปรุง
การจัดการเรียนการสอนของตนเอง
4.2 บทบาทของผู้เรียน
1) กำหนดเป้ าหมาย วางแผนและความรับผิด
ชอบการเรียนรู้ของตนเอง
403

2) เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถึงแหล่งการเรียนรู้
วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อความรู้ ตัง้ คำถาม คิดหาคำตอบหรือ
หาแนวทางแก้ปัญหาด้วยวิธีการต่าง ๆ ลงมือปฏิบัติจริง
สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน
สถานการณ์ต่าง ๆ มีปฏิสัมพันธ์ ทำงาน ทำกิจกรรมร่วมกับ
กลุ่มและครู
ประเมินและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของตนเองอย่าง
ต่อเนื่อง

สื่อการเรียนรู้

โรงเรียนดำเนินการการดังนี ้
1. จัดให้มีแหล่งการเรียนรู้ ศูนย์ส่ อ
ื การเรียนรู้ ระบบ
สารสนเทศการเรียนรู้และเครือข่าย
การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพทัง้ ในสถานศึกษาและในชุมชน เพื่อการ
ศึกษาค้นคว้าและการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ ระหว่าง
สถานศึกษา ท้องถิ่น ชุมชน สังคมโลก
2. จัดทำและจัดหาสื่อการเรียนรู้สำหรับการศึกษาค้นคว้า
ของผู้เรียน เสริมความรู้ให้ผู้สอน รวมทัง้ จัดหาสิ่งที่มีอยู่ในท้องถิ่น
มาประยุกต์ใช้เป็ นสื่อการเรียนรู้
3. เลือกและใช้ส่ อ
ื การเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม มี
ความหลากหลาย สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ธรรมชาติของสาระ
การเรียนรู้และความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน
4. ประเมิน คุณ ภาพของสื่อ การเรีย นรู้ท ี่เ ลือ กใช้อ ย่า งเป็ น
ระบบ
404

5. ศึกษาค้นคว้า วิจัย เพื่อพัฒนาสื่อการเรียนรู้ให้สอดคล้อง


กับกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน
6. จัดให้มีการกำกับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและ
ประสิทธิภาพเกี่ยวกับสื่อและการใช้ส่ อ

การเรียนรู้เป็ นระยะๆ และสม่ำเสมอ

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนโรงเรียนยึดหลัก
การพื้นฐานสองประการ ได้แก่
การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนโดยผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนา
และประเมินตามตัวชีว้ ัดเพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้
สะท้อนสมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รียน
ซึ่งเป็ นเป้ าหมายหลักของโรงเรียนในการวัดและประเมินผลการ
เรียนรู้ในทุกระดับ และเป็ นสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความ
ก้าวหน้า และความสำเร็จทางการเรียนของผู้เรียนตลอดจนข้อมูลที่
เป็ นประโยชน์ต่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาและเรียนรู้
อย่างเต็มตามศักยภาพ โรงเรียนจึงกำหนดแนวดำเนินการดังนี ้
1. การประเมินระดับชัน
้ เรียน
เป็ นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการ
เรียนรู้ เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้และเพื่อตัดสินเลื่อนชัน
้ เรียน
โดยผู้สอนต้องใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย เช่น การซัก
ถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การ
ประเมินชิน
้ งาน/ภาระงาน แฟ้ มสะสมงาน การใช้แบบ
ทดสอบ ฯลฯโดยผู้สอนเป็ นผู้ประเมินเองหรือเปิ ดโอกาสให้ผู้เรียน
405

ประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน ผู้ปกครองร่วมประเมินในกรณี


ที่ไม่ผ่านตัวชีว้ ัดให้มีการสอนซ่อมเสริม ทัง้ นีต
้ ้องให้สอดคล้องกับ
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว้ ัดและระเบียบการวัดและประเมินผล
ของโรงเรียน
2. การประเมินระดับสถานศึกษา
เป็ นการประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนของผู้เรียนเป็ นราย
ปี /รายภาค ผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และ
เขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ทัง้ นี ้
ต้องให้สอดคล้องกับระเบียบการวัดและประเมินผลของโรงเรียน
3. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา
เป็ นการประเมิน คุณ ภาพผู้เ รีย นในระดับ เขตพื้น ที่ก าร
ศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน

พื้นฐาน ซึ่งโรงเรียนต้องเข้าร่วมรับการประเมินทุกครัง้
4. การประเมินระดับชาติ
เป็ นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตาม
มาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน
สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนที่เรียนในชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 3
ชัน
้ ประถมศึกษา ปี ที่ 6 ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 และชัน
้ มัธยมศึกษาปี
ที่ 6 เข้ารับการประเมิน
406

เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน

1. การตัดสิน การให้ระดับและการรายงานผลการเรียน
1.1 การตัดสินผลการเรียน
ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้
การอ่าน คิดวิเ คราะห์และเขียน คุณ ลัก ษณะอัน พึง ประสงค์ และ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนัน
้ โรงเรียนกำหนดเกณฑ์ดังต่อไปนี ้
ระดับมัธยมศึกษา
(1) ตัดสินผลการเรียนเป็ นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลา
เรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของ
เวลาเรียนทัง้ หมดในรายวิชานัน
้ ๆ
(2) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชีว้ ัด และผ่าน
ตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนด
(3) ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา
(4 ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมิน
ผ่านตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนด ในการอ่าน คิด
วิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
การพิจารณาเลื่อนชัน
้ ระดับมัธยมศึกษา ถ้าผู้เรียนมีข้อ
บกพร่องเพียงเล็กน้อยและโรงเรียนพิจารณาเห็นว่าสามารถพัฒนา
และสอนซ่อมเสริมได้ สามารถผ่อนผันให้เลื่อนชัน
้ ได้แต่หากผู้เรียน
ไม่ผ่านรายวิชาจำนวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็ นปั ญหาต่อการ
เรียนในระดับชัน
้ ที่สูงขึน
้ โรงเรียนตัง้ คณะกรรมการพิจารณาให้
407

เรียนซ้ำชัน
้ ทัง้ นีจ
้ ะต้องคำนึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ความสามารถ
ของผู้เรียนเป็ นสำคัญ
1.2 การให้ระดับผลการเรียน
ระดับมัธยมศึกษา ในการตัดสินเพื่อให้ระดับผล
การเรียนรายวิชา ให้ใช้ตัวเลขแสดงระดับผลการเรียนเป็ น 8 ระดับ
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์นน
ั ้ ให้ระดับผลการประเมินเป็ น ดีเยี่ยม
ดีและผ่านการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาทัง้
เวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของผู้เรียน
ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนดและให้ผลการเข้าร่วมกิจกรรมเป็ น
ผ่านและไม่ผ่าน
1.3 การรายงานผลการเรียน
การรายงานผลการเรียนเป็ นการสื่อ สารให้ผ ู้ป กครอง
และผู้เรียนทราบความก้าวหน้าใน
การเรียนรู้ของผู้เรียนซึ่งสถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินและจัด
ทำเอกสารรายงานให้ผ ู้ป กครองทราบเป็ นระยะๆ หรือ อย่า งน้อ ย
ภาคเรียนละ 1 ครัง้
2. เกณฑ์การจบการศึกษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐานของโรงเรียนสามเงา
กำหนดเกณฑ์กลางสำหรับการจบการศึกษาเป็ น 2 ระดับ คือ ระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
2.1 เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
(1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมไม่เกิน
81 หน่วยกิต โดยเป็ นรายวิชาพื้นฐาน
408

63 หน่วยกิตและรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษา
กำหนด
(2) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77
หน่วยกิตโดยเป็ นรายวิชาพื้นฐาน 63
หน่วยกิตและรายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 14 หน่วยกิต
(3) ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน
ในระดับผ่าน เกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
(4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใน
ระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามที่สถาน
ศึกษากำหนด
(5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมิน
ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
2.2 เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
(1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม ไม่น้อยกว่า 81
หน่วยกิต โดยเป็ น รายวิชาพื้นฐาน 39
หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด
(2) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77
หน่วยกิต โดยเป็ น รายวิชาพื้นฐาน 39
หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติม ไม่น้อยว่า 38 หน่วยกิต
(3) ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน
ในระดับผ่านเกณฑ์ การประเมินตามที่สถาน
ศึกษากำหนด
(4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใน
ระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามที่สถานศึกษากำหนด
409

(5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมิน
ผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามที่สถานศึกษากำหนด

เอกสารหลักฐานการศึกษา

เอกสารหลักฐานการศึกษา เป็ นเอกสารสำคัญที่บันทึกผล


การเรียน ข้อมูลและสารสนเทศ ที่เกี่ยวข้องกับ
พัฒนาการของผู้เรียนในด้านต่าง ๆ แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ดังนี ้
1. เอกสารหลักฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด
1.1 ระเบียนแสดงผลการเรียนเป็ นเอกสารแสดงผลการ
เรียนและรับรองผลการเรียนของผู้เรียนตามรายวิชา ผลการ
ประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผลการประเมิน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษาและผลการประเมิน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สถานศึกษาจะต้องบันทึกข้อมูลและออก
เอกสารนี ้ ให้ผู้เรียนเป็ นรายบุคคล เมื่อผู้เรียนจบการศึกษาภาค
บังคับ(ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3)
จบการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน(ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6) หรือเมื่อลาออกจาก
สถานศึกษาในทุกกรณี
1.2 ประกาศนียบัตร เป็ นเอกสารแสดงวุฒิการศึกษาเพื่อ
รับรองศักดิแ์ ละสิทธิข์ องผู้จบการศึกษา ที่สถานศึกษาให้ไว้แก่ผู้จบ
การศึกษาภาคบังคับ และผู้จบการศึกษาขัน
้ พื้นฐานตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน
1.3 แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา เป็ นเอกสารอนุมัติการ
จบหลักสูตรโดยบันทึกรายชื่อและข้อมูลของผู้จบการศึกษาระดับ
ประถมศึกษา (ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 6) ผู้จบการศึกษาภาคบังคับ
410

(ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3) และผู้จบการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน (ชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 6)
2. เอกสารหลักฐานการศึกษาที่สถานศึกษากำหนด
เป็ นเอกสารที่สถานศึกษาจัดทำขึน
้ เพื่อบันทึกพัฒนาการ
ผลการเรียนรู้และข้อมูลสำคัญ เกี่ยวกับผู้เรียน ประกอบด้วยแบบ
รายงานประจำตัวนักเรียน แบบบันทึกผลการเรียนประจำรายวิชา
ระเบียนสะสม ใบรับรองผลการเรียนฯลฯ
การเทียบโอนผลการเรียน

โรงเรียนจะดำเนินการเทียบโอนผลการเรียนของผู้เรียนใน
กรณีต่างๆ ได้แก่ การย้ายสถานศึกษา การเปลี่ยนรูปแบบการศึกษา
การย้ายหลักสูตร การออกกลางคันแล้วขอกลับเข้ารับการศึกษาต่อ
การศึกษาจากต่างประเทศและขอเข้าศึกษาต่อในประเทศและรับ
เทียบโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จากแหล่งการเรียนรู้อ่ น
ื ๆ
ได้แก่ สถานประกอบการ สถาบันศาสนา สถาบันการฝึ กอบรม
อาชีพ การจัดการศึกษาโดยครอบครัว
การเทียบโอนผลการเรียนจะดำเนินการในช่วงก่อนเปิ ดภาค
เรียนแรก หรือต้นภาคเรียนแรก ที่สถานศึกษารับผู้ขอ
เทียบโอนเป็ นผู้เรียน ทัง้ นีผ
้ ู้เรียนที่ได้รับการเทียบโอนผลการเรียน
ต้องศึกษาต่อเนื่อง ในสถานศึกษาที่รับเทียบโอนอย่างน้อย 1 ภาค
เรียน โดยสถานศึกษาที่รับผู้เรียนจากการเทียบโอน ควรกำหนด
รายวิชา/จำนวนหน่วยกิตที่จะรับเทียบโอนตามความเหมาะสม

การพิจารณาการเทียบโอน ให้ดำเนินการ ดังนี ้


411

1. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษาและเอกสารอื่นๆ ที่ให้
ข้อมูลแสดงความรู้ ความสามารถ ของผู้
เรียน
2. พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผูเ้ รียนโดยการ
ทดสอบด้วยวิธีการต่างๆทัง้ ภาคความรู้ และภาคปฏิบัติ
3. พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบัติในสภาพจริง
ทัง้ นีก
้ ารเทียบโอนผลการเรียนให้เป็ นไปตาม ประกาศหรือ
แนวปฏิบัติของกระทรวง ศึกษาธิการ

การบริหารจัดการหลักสูตร

โรงเรียนมีหน้าที่สำคัญในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ดัง
ต่อไปนี ้
1. การวางแผนพัฒนาและดำเนินการใช้หลักสูตร
2. การเพิ่มพูนคุณภาพการใช้หลักสูตรด้วยการวิจัยและพัฒนา
3. การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรโรงเรียน รายวิชาพื้นฐาน
และรายวิชาเพิ่มเติม
4. จัดทำและพัฒนาระเบียบการวัดและประเมินผล
5. จัดทำเพิ่มเติมในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปั ญหาที่มีผลกระทบ
ต่อชุมชนและสังคม ภูมิปัญญา ท้องถิ่นและความต้องการของ
ผู้เรียน
6. ให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรของ
โรงเรียน
7. จัดให้มีการติดตาม ประเมินผลและรายงานผลการพัฒนา
หลักสูตรทุกปี การศึกษา
412

คุณภาพผู้เรียน

จบชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๓
 เข้าใจกระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ ใช้
กระบวนการกลุ่มในการทำงาน มีทักษะ การแสวงหา
ความรู้ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาและทักษะการจัดการ มี
ลักษณะนิสัยการทำงาน ที่เสียสละ มีคณ
ุ ธรรม
ตัดสินใจอย่างมีเหตุผลและถูกต้อง และมีจิตสำนึกในการใช้พลังงาน
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างประหยัดและคุ้มค่า
 เข้าใจแนวทางการเลือกอาชีพ การมีเจตคติที่ดีต่อและเห็น
ความสำคัญของการประกอบอาชีพ วิธีการหางานทำ คุณสมบัติที่
จำเป็ นสำหรับการมีงานทำ วิเคราะห์แนวทางเข้าสู่อาชีพ มีทักษะ
พื้นฐานที่จำเป็ นสำหรับการประกอบอาชีพ และประสบการณ์ต่อ
อาชีพที่สนใจ และประเมินทางเลือก ในการประกอบอาชีพที่
สอดคล้องกับความรู้ ความถนัด และความสนใจ
จบชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๖
 เข้าใจวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต สร้างผลงานอย่างมี
ความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะ การทำงานร่วมกัน
ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา และทักษะการ
413

แสวงหาความรู้ ทำงานอย่างมีคุณธรรม และมีจิตสำนึกในการใช้


พลังงานและทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและยั่งยืน
 เข้าใจแนวทางสู่อาชีพ การเลือก และใช้เทคโนโลยีอย่าง
เหมาะสมกับอาชีพ มีประสบการณ์ในอาชีพที่ถนัดและสนใจและมี
คุณลักษณะที่ดีต่ออาชีพ

You might also like