You are on page 1of 27

63

1.5 การวิเคราะห์สภาพองค์กรทางการศึกษา (SWOT


Analysis)

การวิเคราะห์สภาพองค์กรในสถานการณ์ของการจัดการ
ศึกษาจังหวัดแพร่ในภาพรวม
ได้จัดทำ SWOT Analysis โดยประเด็นการวิเคราะห์ภายนอก ใช้
หลัก STEP ส่วนการวิเคราะห์ภายในใช้หลัก 2S 4M ซึ่งมีราย
ละเอียดดังนี ้
ปั จจัยภายนอก (External Environment) .ใช้หลัก STEP
คือ
1. ด้านสังคมและวัฒนธรรม (Social – cultural Factors :
S)
2. ด้านเทคโนโลยี (Technological Factors : T)
3. ด้านเศรษฐกิจ (Economic Factors : E)
4. ด้านการเมืองและกฎหมาย (Political and legal
Factors : P)
ปั จจัยภายใน (Internal Environment) .ใช้หลัก 2S 4M
คือ
1. โครงสร้างและนโยบาย (Structure : S1)
2. บริการและผลผลิต ( Service and Products : S2 )
3. บุคลากร ( Man : M1 )
4. ประสิทธิภาพทางการเงิน ( Money : M2 )
5. วัสดุทรัพยากร ( Material : M3 )
6. การบริหารจัดการ ( Management : M4 )
64

1.วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก แสดงให้เห็นดังตารางต่อไปนี ้
ด้านสังคมและวัฒนธรรม (Social–Cultural Factors: S )

โอกาส (opportunities) อุปสรรค (Threat) S


1.ประชาชนชาวจังหวัดแพร่ เป็ น 1. ปั ญหาการหย่าร้าง การ
คนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ยึด ประกอบอาชีพต่างถิ่น ส่งผล
มั่นในหลักศาสนา เป็ นสังคม ให้เด็กต้องอาศัยอยู่กับญาติ
สงบสุข อบอุ่น น่าอยู่ ช่วย ขาดการดูแล เอาใจใส่ของผู้
เหลือ เกื้อกูล มีปัญหาและ ปกครอง ทำให้มีพฤติกรรมที่
เกิดอาชญากรรมน้อย ไม่เหมาะสม
2.ประชาชนให้ความสำคัญทาง 2. การเปลี่ยนแปลงเป็ นสังคม
ด้านการศึกษาทำให้อัตราการ บริโภคนิยมตามยุค
เข้าเรียนและเรียนต่ออยู่ใน โลกาภิวัฒน์ ส่งผลให้เด็ก
ระดับสูง นักเรียนและเยาวชน มี
3.เป็ นสังคมที่เห็นคุณค่า พฤติกรรมไม่พึงประสงค์
ประโยชน์ของการศึกษาส่งผล 3. อัตราการเกิดของ
ให้มีการสนับสนุนการศึกษา ประชากรลดลงและประชาชน
ด้วยรูปแบบ ที่หลากหลาย มีค่านิยมในการส่งบุตรหลาน
4.จังหวัดแพร่ มีเอกลักษณ์ ศิลป เข้าเรียนโรงเรียนในเมือง
วัฒนธรรมและ ประเพณีที่ดี ทำให้โรงเรียนในชนบทมี
งาม มีแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญา จำนวนนักเรียนลดลง ส่งผลให้
ท้องถิ่น ที่สนับสนุนการจัดการ มีสถานศึกษาขนาดเล็กเพิ่มขึน

ศึกษา
65

ด้านเทคโนโลยี (Technological Factors : T )


โอกาส (opportunities) อุปสรรค (Threat) S
1. ระบบโครงสร้างพื้นฐานที่ 1. ความก้าวหน้าของ
ทั่วถึง และความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยี ส่งผลให้วัสดุ
ด้านเทคโนโลยี ส่งผลให้ อุปกรณ์ที่รองรับเปลี่ยนไป
นักเรียนสามารถเข้าถึงแหล่ง อย่างรวดเร็ว ต้องใช้งบ
เรียนรู้และสืบค้นข้อมูล ความรู้ ประมาณจำนวนมาก
ได้ด้วยตนเองอย่างหลากหลาย 2. เด็กและเยาวชน ขาด
2. ภาครัฐและเอกชน เข้ามา วิจารณญาณในการใช้ส่ อ

ส่งเสริมการพัฒนาด้าน เทคโนโลยีที่เหมาะสมและผู้
เทคโนโลยีมากขึน
้ ส่งผลให้มีส่ อ
ื ปกครองขาดความรู้ ทักษะ
เทคโนโลยีที่ทันสมัย และ ความสามารถในการแนะนำ
บุคลากรได้รับการพัฒนาองค์ แก่บุตรหลาน
ความรู้อย่างทั่วถึง 3. การจัดการข้อมูล
สารสนเทศที่แตกต่างกันทำให้
การบูรณาการข้อมูล
สารสนเทศขาดประสิทธิภาพ
4. ขาดการส่งเสริมการทำ
วิจัยและการนำผลการวิจัยไป
ใช้ประโยชน์ในการพัฒนา
คุณภาพการศึกษา
66

ด้านเศรษฐกิจ (Economic Factors : E )


โอกาส (opportunities) อุปสรรค (Threat) S
1.ประชาชนนำแนวปฏิบัติตาม 1. สภาพเศรษฐกิจของชุมชน
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ส่วนใหญ่เป็ นภาคเกษตรมีราย
มาใช้ทำให้ประชาชนมีความ ได้เฉลี่ยต่อหัวประชากรต่ำส่ง
เป็ นอยู่ดีขน
ึ ้ ส่งผลให้มีการ ผลกระทบต่อการระดม
สนับสนุนการจัดการศึกษามาก ทรัพยากรเพื่อจัดการศึกษา
ขึน
้ 2. อัตราการขยายตัวทาง
2.รัฐบาลมีนโยบายกระตุ้น เศรษฐกิจของจังหวัดแพร่ มี
เศรษฐกิจ ทำให้ประชาชนมี อัตราการเติบโตค่อนข้างน้อย
ทางเลือกในการประกอบอาชีพ 3. นักเรียนที่มาจาก
ได้อย่างหลากหลาย ทำให้เกิด ครอบครัวที่ยากจน มีส่ อ
ื วัสดุ
สภาพคล่องในด้านงบประมาณ อุปกรณ์ในการศึกษาไม่เพียง
มีเงินทุนหมุนเวียนในชุมชน ส่ง พอ
ผลให้ผู้ปกครองมีรายได้มากขึน
้ 4. การนำองค์ความรู้ภูมิปัญญา
3.กองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ท้องถิ่นไปสู่การสร้างรายได้
(กยศ.) เป็ นปั จจัยสำคัญต่อการ ทางเศรษฐกิจของจังหวัดมี
เพิ่มโอกาสทางการศึกษา น้อย
4.การขยายตัวการลงทุนโดย
เฉพาะด้านโครงสร้างพื้นฐาน
ของประเทศเพื่อเป็ นศูนย์กลาง
เศรษฐกิจสู่อาเซียน
67

ด้านการเมืองและกฎหมาย (Political and Legal Factors :


P)
โอกาส (opportunities) อุปสรรค (Threat) S
1.รัฐธรรมนูญ และกฎหมาย 1.การเปลี่ยนแปลงนโยบายการ
ทางการศึกษา เปิ ดโอกาสให้ผู้มี จัดการศึกษาของรัฐบ่อยครัง้
ส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วนเข้า ส่งผลให้การขับเคลื่อนการ
มามีส่วนร่วมในการจัดการ ปฏิรูปการศึกษาเป็ นไปอย่าง
ศึกษาทำให้ประชาชนมีโอกาส ล่าช้า เกิดความสับสน ใน
ได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง ทางปฏิบัติ
ตลอดชีวิต 2.การออกกฎหมายทางการ
2.รัฐนำระบบการบริหารกิจการ ศึกษาในบางประเด็น ไม่เป็ น
บ้านเมืองที่ดีมาใช้ ส่งผลให้ผู้รับ ไปตามระยะเวลาที่กำหนด ส่ง
บริการได้รับประโยชน์ มีความ ผลให้ การกำหนดทิศทาง
เสมอภาคและได้รับความเป็ น การศึกษาไม่ชัดเจน
ธรรม 3. การจัดสรรงบประมาณรายหัว
3. โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ตามโครงการสนับสนุนค่าใช้
ในการจัดการศึกษาตัง้ แต่ระดับ จ่ายในการจัดการศึกษาตัง้ แต่
อนุบาลจนจบการศึกษา ส่งผล ระดับอนุบาลจนจบการศึกษา
ให้ลดภาระค่าใช้จ่ายของผู้ โดยใช้อัตราเดียวกันไม่เพียงพอ
ปกครองได้ ต่อการบริหารจัดการโดย
4.นโยบายการประเมินคุณภาพ เฉพาะอย่างยิ่งในโรงเรียน
ภายนอก โดยใช้พ้น
ื ที่จังหวัด ขนาดเล็ก
68

โอกาส (opportunities) อุปสรรค (Threat) S


แพร่เป็ นฐาน ( Area Base
Assessment :ABA) ส่งผลให้
มองเห็นภาพรวมการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาจังหวัดได้ทงั ้
ระบบ
5.ภาครัฐ ภาคเอกชน และ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้
ความสำคัญต่อการศึกษาโดย
สนับสนุนงบประมาณในการ
พัฒนาในการจัดการศึกษา
พัฒนาครูบุคลากรและนักเรียน
อย่างต่อเนื่อง(นโยบายประชา
รัฐ)
6.นโยบายการกระจายอำนาจ
และการปฏิรูปการศึกษา ส่ง
เสริมให้หน่วยงานทางการ
ศึกษามีความเข้มแข็งมากยิ่งขึน

7 การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ส่ง
ผลให้การพัฒนาการเรียนการ
สอนในวิชาภาษาอังกฤษและ
ภาษาอื่นที่ใช้ในกลุ่มประเทศ
อาเซียน
69

2. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน (Internal Analysis)


แสดงให้เห็นดังตารางต่อไปนี ้
ด้านโครงสร้างและนโยบาย (Structure) S1
จุดแข็ง (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses)
1.การกำหนดโครงสร้างสาย 1. การเปลี่ยนแปลงนโยบาย
งานการบังคับบัญชา ของ และผู้บริหาร ทางการ
หน่วยงานทางการศึกษาชัดเจน ศึกษาส่งผลให้การพัฒนา
ส่งผลให้ การกำกับการ คุณภาพการศึกษาไม่ต่อเนื่อง
ประสานงานการส่งเสริมการ 2. นโยบายการกระจายอำนา
นิเทศติดตาม และการประเมิน จทางการศึกษา
ผลเป็ นไปอย่างมีระบบครบ มีข้อจำกัดในทางปฏิบัติ
วงจร 3. ความรู้ความเข้าใจของสถาน
2.การจัดการศึกษาของจังหวัด ประกอบการเกี่ยวกับหลัก
แพร่มุ่งยกระดับคุณภาพการ เกณฑ์และวิธีการจัดการศึกษา
ศึกษาและมาตรฐานอาชีพ แบบทวิภาคี และสถาน
สู่สากล บนพื้นฐานของความ ประกอบที่มีความพร้อมยังมี
70

เป็ นไทย น้อย


3.การจัดทำแผนพัฒนาการ 4. นโยบายประชาคมอาเซียน
ศึกษาของจังหวัดแพร่ ที่ ทำให้เกิดความเสียเปรียบทาง
สอดคล้องกับบริบท นโยบาย อาชีพของคนไทย เนื่องจากข้อ
ของรัฐ และ ความ จำกัดด้านภาษา
เปลี่ยนแปลงเชิงสังคม
4.คณะกรรมการด้านการศึกษา
ในจังหวัดทุกระดับ ทำหน้าที่
ตามบทบาทได้อย่างครบถ้วน
ส่งผลให้ การจัดการศึกษา
บรรลุผลอย่างมีประสิทธิภาพ
5.การส่งเสริมให้ครูและผู้บริหาร
ทางการศึกษาเป็ นผู้นำการ
เปลี่ยนแปลงสู่คณ
ุ ภาพการ
ศึกษาทางการศึกษาสนองต่อ
นโยบายการปฏิรูปการศึกษา
โดยใช้เครือข่ายพัฒนาคุณภาพ
และเทคนิคการบริหารจัดการ
ภาครัฐแนวใหม่
6. หน่วยงานทางการศึกษา
สามารถจัดการศึกษาแบบ
ทวิภาคี (สถานประกอบการ)
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผล
ต่อการเพิ่มจำนวนผู้เรียนสาย
71

อาชีพ
7. หน่วยงานทางการศึกษา
สามารถจัดการศึกษาแบบทวิ
ศึกษา (หน่วยงานทางการ
ศึกษาด้วยกัน) ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ส่งผลต่อการเพิ่ม
จำนวนผู้เรียนสายอาชีพ

ด้านผลผลิตและบริการ (Service) S2
จุดแข็ง (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses)
1.การให้บริการทางการศึกษา 1. ์ างการเรียน
ผลสัมฤทธิท
ครอบคลุมประชากรทุกกลุ่ม ของนักเรียนระดับการศึกษา
เป้ าหมายได้อย่างทั่วถึงและมี ขัน
้ พื้นฐานและจากการ
คุณภาพ ประเมิน O-NET ปี การ
2.การจัดทำหลักสูตรสถาน ศึกษา 2558 ชัน
้ ป.6 ม.3
ศึกษาสอดคล้องหลักสูตรการ และม.6 มีค่าเฉลี่ยต่ำกว่าร้อย
ศึกษาชาติ บริบทและตาม ละ 50 ซึง่ อยู่ในเกณฑ์ที่ควร
ความต้องการของท้องถิ่น ปรับปรุงในกลุ่มสาระการเรียน
3.ประชากรทุกกลุ่มเป้ าหมายที่ รู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
ได้รับบริการ ทางการ ภาษาต่างประเทศ และ
72

ศึกษามีคุณธรรมจริยธรรม ค่า สังคมศึกษา


นิยมและมีคุณลักษณะที่พงึ 2. ขัน
้ ตอนการปฏิบัติงานตาม
ประสงค์ตามหลักสูตร ระเบียบของทางราชการ ทำให้
์ างการเรียนของ
4.ผลสัมฤทธิท การบริการและอำนวย ความ
นักเรียนนักศึกษา ใน สะดวกแก่ประชาชน ยังไม่มี
ภาพรวมของจังหวัดแพร่ มีค่า ประสิทธิภาพเท่าที่ควร
เฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศ
5.ผู้เรียนที่สำเร็จการศึกษาส่วน
ใหญ่มีโอกาสเรียนต่อในระดับ
ที่สูงขึน
้ และมีงานทำ

ด้านบุคลากร (Man) M1
จุดแข็ง (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses)
1.ครูและบุคลากรทางการศึกษา 1. ขาดแคลนครูในกลุ่มสาระ
เป็ นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม ยึด การเรียนรู้หลัก และวิชาชีพ
มั่นในระเบียบวินัยของ เฉพาะ
ราชการเป็ นแบบอย่างที่ดี 2. บุคลากรทางการศึกษาที่
2.ครูและบุคลากรทางการศึกษา ปฏิบัติงานในสำนักงานและ
มีความมุ่งมั่น มีความ สถานศึกษาไม่เพียงพอเป็ น
กระตือรือร้นในการพัฒนา อุปสรรคต่อการปฏิบัติงานรวม
ตนเองส่งผล ต่อการ ทัง้ ขาดแคลนบุคลากรที่มีความ
พัฒนาคุณภาพผู้เรียน รู้ความสามารถเฉพาะด้าน
73

3.การส่งเสริมพัฒนาครูและ 3. ครูและบุคลากรทางการ
บุคลากรทางการศึกษาอย่าง ศึกษาที่เป็ นอัตราจ้าง ไม่มี
ต่อเนื่อง ส่วนใหญ่มีคุณวุฒิ ความมั่นคงและความก้าวหน้า
ทางการศึกษาระดับปริญญา ในวิชาชีพ
ตรีขน
ึ ้ ไปมีความก้าวหน้าใน 4. ขาดการส่งเสริมความร่วมมือ
วิชาชีพ มีขวัญกำลังใจที่ดีใน การแลกเปลี่ยนบุคลากรจาก
การปฏิบัติงาน สถาบันการศึกษา/หน่วยงาน
ในต่างประเทศ และบุคลากร
เชี่ยวชาญเฉพาะทางในท้องถิ่น
เข้ามามีส่วนร่วมในการ
พัฒนาการศึกษา

ด้านประสิทธิภาพทางการเงิน (Money ) M2
จุดแข็ง (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses)
1.หน่วยงานและสถานศึกษาได้ 1. สถานศึกษาขนาดเล็กเพิ่ม
รับการกระจายอำนาจด้านงบ จำนวนมากขึน
้ ส่งผลกระทบ
ประมาณในลักษณะจัดสรร ต่อการจัดสรรงบประมาณไม่
เป็ นวงเงินรวมและเงินอุดหนุน เพียงพอในการพัฒนาคุณภาพ
รายหัวส่งผลให้สามารถบริหาร การศึกษา
จัดการศึกษาได้คล่องตัว 2. การกระจายอำนาจด้านงบ
ตรงตามความต้องการ ประมาณโดยระบบ GFMIS ไม่
74

2.ความสามารถในการระดม ครอบคลุมทุกโรงเรียน
ทรัพยากรจากภาครัฐ 3. การจัดสรรงบประมาณ
รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน จากต้นสังกัดบางครัง้ ล่าช้า ส่ง
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผลต่อประสิทธิภาพในการ
และผู้ปกครอง/ชุมชนส่งผลให้ ดำเนินการ
มีทรัพยากรสำหรับจัดการ
ศึกษา
3.การพัฒนาระบบการเบิกจ่าย
เงินที่ทันสมัย โดยระบบ
GFMIS ทำให้เบิกจ่ายงบ
ประมาณ ได้อย่างถูกต้อง
รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
4.การเบิกจ่ายงบประมาณเป็ น
ไปตามแผนปฏิบัติการประจำ
ปี

ด้านวัสดุ อุปกรณ์ (Materials) M3


จุดแข็ง (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses)
1. สถานศึกษานำสื่อ และ 1. ขาดศูนย์เทคโนโลยี
เทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ ใน สารสนเทศทางการศึกษา
การจัดการศึกษาเพิ่มขึน
้ ประจำจังหวัด (วัสดุอุปกรณ์
2.สถานศึกษามีส่ อ
ื ICT ทำให้ การจัดการ) และศูนย์การเรียน
นักเรียนสามารถแสวงหาความ รู้ทางการศึกษาในสาขาวิชา
75

รู้ได้เต็มศักยภาพของตนเอง ต่าง ๆ ประจำจังหวัด เพื่อให้


3.สถานศึกษาสามารถบูรณาการ บริการ แก่นักเรียน ครู
การจัดการเรียนรู้กับแหล่ง บุคลากรทางการศึกษา และ
เรียนรู้และสถานประกอบการ ประชาชน
อย่างหลากหลาย 2. วัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และ
4. มีแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญา สื่อเทคโนโลยีการศึกษาบาง
ท้องถิ่นสามารถนำมาส่งเสริม รายการไม่ได้มาตรฐานขาดการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษา บำรุงรักษาอย่างต่อเนื่อง
3. ขาดงบประมาณในการพัฒนา
แหล่งเรียนรู้ประจำจังหวัด

ด้านบริหารจัดการ (Management) M4
จุดแข็ง (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses)
1. มีการบริหารจัดการศึกษาตาม 1. ขาดระบบฐานข้อมูลศูนย์
หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจ สารสนเทศจังหวัด (Data
พอเพียงและมีการบริหารเชิงกล Based) ที่เป็ นเอกภาพส่งผลให้การ
ยุทธ์อย่างเป็ นระบบ ใช้ทรัพยากรร่วมกันในการวางแผน
76

2. มีการบริหารจัดการศึกษาใน ขาดประสิทธิภาพ (Unity)


รูปแบบเครือข่ายหลากหลายรูป 2. หน่วยงานทางการศึกษาใน
แบบ ส่งผลให้ทุกภาคส่วนมีส่วน พื้นที่ขาดการประสานงานและบูรณ
ร่วมในการจัดการศึกษาได้อย่างมี าการการจัดการศึกษาร่วมกันอย่าง
ประสิทธิภาพ เป็ นระบบยังอ่อนด้อยประสิทธิภาพ
3. มีโครงสร้างบริหารจัดการ ในการบริหารจัดการ
ศึกษาของจังหวัด ในรูป
แบบใหม่ ที่ชัดเจน ครอบคลุม
ขอบเขต ในการปฏิบัติงาน
ของทุกองค์กรการศึกษา

สรุปและอภิปรายผล
ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมองค์กรการศึกษาจังหวัด
แพร่ โดยเทคนิคการวิเคราะห์ SWOT Analysis จากการวิเคราะห์
ปั จจัยสภาพแวดล้อมภายนอก (External Factors) และปั จจัย
สภาพแวดล้อมภายใน (Internal Factors) สรุปผลจากข้อค้นพบใน
ประเด็นสำคัญรวมทัง้ อภิปรายผลจากการวิเคราะห์ ในรายละเอียด
ต่อไปนี ้

ก. ผลการวิเคราะห์ภายนอก (External Factors


Analysis) ผลสรุปในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก สรุปได้
ดังนี ้
1) ด้านโอกาส (Opportunities) จำแนกประเด็นการ
ค้นพบในองค์ประกอบต่าง ๆ ได้ดังนี ้
77

1.1 ด้านสังคมและวัฒนธรรม (Social–cultural) พบ


ว่า คุณลักษณะของประชาชนจังหวัดแพร่ มีพ้น
ื ฐานชีวิตที่เป็ นคนดี
มีคณ
ุ ธรรมจริยธรรม ยึดมั่นในหลักธรรมพระพุทธศาสนา ทำให้
สังคมน่าอยู่ ประชาชนให้ความสำคัญกับการศึกษา ทำให้อัตราการ
เรียนต่อ อยู่ในเกณฑ์ระดับสูง เป็ นสังคมที่เห็นคุณค่า
ประโยชน์ของการศึกษาส่งผลให้มีการสนับสนุนการศึกษาด้วยรูป
แบบที่หลากหลาย นอกจากนีย
้ ังเป็ นสังคมที่มีเอกลักษณ์ศล
ิ ป
วัฒนธรรมและประเพณีที่ดีงาม มีแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้อง
ถิ่นที่จะเป็ นปั จจัยสนับสนุนการศึกษาได้ อย่างมีคุณภาพ
1.2 ด้านเทคโนโลยี (Technological) พบว่า ระบบ
โครงสร้างพื้นฐานที่ทั่วถึง และความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี ส่ง
ผลให้นักเรียนสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้และสืบค้นข้อมูล ความรู้
ได้ด้วยตนเองอย่างหลากหลาย ภาครัฐและเอกชน เข้ามาส่งเสริม
การพัฒนาด้านเทคโนโลยีมากขึน
้ ส่งผลให้มีส่ อ
ื เทคโนโลยีที่ทันสมัย
และบุคลากรได้รับการพัฒนาองค์ความรู้อย่างทั่วถึง
1.3 ด้านเศรษฐกิจ (Economic) พบว่า ประชาชนได้
นำแนวปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ ทำให้
ประชาชนมีความเป็ นอยู่ดีขน
ึ ้ เกิดการขับเคลื่อนและสนับสนุน
ด้านการจัดการศึกษาในพื้นที่ ในขณะเดียวกันการที่รัฐบาลมีนโย
บายกระตุ้นเศรษฐกิจ ทำให้เกิด การสร้างทางเลือกในการ
ประกอบอาชีพที่หลากหลาย เกิดสภาพคล่องในการลงทุนและงบ
ประมาณ สำหรับด้านเศรษฐกิจการศึกษามีการจัดตัง้ กองทุนให้กู้ยืม
เพื่อการศึกษา (กยศ.) ซึ่งเพิ่มโอกาส ทางการศึกษามากยิ่ง
ขึน
้ เกิดการขยายตัวในการลงทุน โดยเฉพาะด้านโครงสร้างพื้นฐาน
78

การศึกษา พร้อมต่อการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียนต่อไป
1.4 ด้านการเมืองและกฎหมาย (Political and
Legal) พบว่า รัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
จะเปิ ดโอกาสให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ ายได้มีส่วนร่วมจัดการศึกษา
และรับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง รัฐมีการนำระบบธรรมาภิ
บาลมาใช้ ก่อให้เกิดประโยชน์ ต่อผู้รับบริการ เกิดความเสมอ
ภาคและเป็ นธรรม โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา
ตัง้ แต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษา ส่งผลต่อการลดภาระค่าใช้จ่าย
ผู้ปกครอง นโยบายการประเมินภายนอกเชิงพื้นที่ (ABA Model)
ส่งผลต่อการมองภาพรวมการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทัง้ ระบบ
นอกจากนีท
้ งั ้ ภาครัฐ เอกชน และท้องถิ่น ได้สนับสนุนงบประมาณ
ในการพัฒนาการจัดการศึกษา ทัง้ ระบบ เช่น นโยบาย
ประชารัฐ นโยบายกระจายอำนาจในการปฏิรูปการศึกษา ได้สร้าง
ประสิทธิภาพ และความเข้มแข็งให้กบ
ั โรงเรียนมากขึน
้ ส่งผลต่อ
การเตรียมความพร้อมที่จะก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน และการ
สื่อสารเพื่อการเรียนการสอน ด้านภาษาอังกฤษและภาษาอื่นที่ใช้
ในกลุ่มประเทศอาเซียน
2) ด้านอุปสรรค (Threats) จำแนกประเด็นการค้นพบ
ในองค์ประกอบด้านต่างๆ ดังนี ้
2.1 ด้านสังคมและวัฒนธรรม (Social–cultural) พบว่า
ในพื้นที่ประสบปั ญหา การหย่าร้างค่อนข้างสูง ครอบครัว
แตกแยก ทำให้นักเรียนต้องอาศัยอยู่กับญาติ ขาดการดูแลเอาใจ
ใส่จากผูป
้ กครอง ก่อให้เกิดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของเด็ก
79

นักเรียน และในวงกว้างสภาพพื้นที่ได้ปรับเปลี่ยนเป็ นสังคมบริโภค


นิยมตามกระแสโลกาภิวัฒน์ ส่งผลต่อพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ของ
เด็กเยาวชน ผลกระทบที่สำคัญอีกประการหนึ่งคือ ค่านิยมในการส่ง
บุตรหลานเข้าเรียนในโรงเรียน ขนาดใหญ่ ส่งผลต่อจำนวน
โรงเรียนขนาดเล็กที่เพิ่มมากขึน

2.2 ด้านเทคโนโลยี (Technological) พบว่า ความ
ก้าวหน้าของเทคโนโลยี ส่งผล ให้วัสดุอุปกรณ์ที่รองรับ
เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว ต้องใช้งบประมาณจำนวนมาก เด็กและ
เยาวชน ขาดวิจารณญาณในการใช้ส่ อ
ื เทคโนโลยีที่
เหมาะสมและผู้ปกครองขาดความรู้ ทักษะ ความสามารถ
ในการแนะนำแก่บุตรหลาน การจัดการข้อมูลสารสนเทศที่แตกต่าง
กันทำให้การบูรณาการข้อมูลสารสนเทศขาดประสิทธิภาพ และขาด
การส่งเสริมการทำวิจัยและการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์
ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
2.3 ด้านเศรษฐกิจ (Economic) พบว่า สภาพเศรษฐกิจ
ของชุมชนส่วนใหญ่เป็ น ภาคเกษตรมีรายได้เฉลี่ยต่อหัว
ประชากรต่ำส่งผลกระทบต่อการระดมทรัพยากรเพื่อจัดการศึกษา
อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของจังหวัดแพร่ มีอัตราการเติบโต
ค่อนข้างน้อย นักเรียนที่มาจากครอบครัวที่ยากจน มีส่ อ
ื วัสดุ
อุปกรณ์ในการศึกษาไม่เพียงพอ และมีการนำองค์ความรู้
ภูมิปัญญาท้องถิ่นไปสู่การสร้างรายได้ทางเศรษฐกิจของจังหวัดมี
น้อย
80

2.4 ด้านการเมืองและกฎหมาย (Political and


Legal พบว่า การเปลี่ยนแปลงนโยบายการจัดการศึกษาบ่อยครัง้
ส่งผลต่อการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ปฏิรูปการศึกษาที่เป็ นไป
อย่างล่าช้าเกิดความสับสนในการปฏิบัติ เนื่องจากนโยบายมีมาก
และซ้ำซ้อนหลายประเด็น นอกจากนีก
้ ารออกกฎหมายไม่เป็ นไป
ตามระยะเวลาที่กำหนดทำให้การกำหนดทิศทางไม่ชัดเจน รวมทัง้
การจัดสรรงบประมาณรายหัวโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการ
จัดการศึกษาตัง้ แต่ ระดับอนุบาล จนจบการศึกษาที่มี
อัตราเท่ากัน ส่งผลกระทบต่อการบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก
ข. ผลการวิเคราะห์ภายใน (Internal Factors
analysis) ผลสรุปในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน เพื่อการ
กำหนดจุดแข็ง (Strengths) ของการพัฒนาและเพื่อขจัดจุดอ่อน
(Weaknesses) ในการป้ องกันแก้ไขปั ญหาที่เกิดขึน
้ สรุปประเด็น
ต่าง ๆ ดังนี ้
1) ด้านจุดแข็ง (Strengths) พบว่าองค์กร
ทางการศึกษาของจังหวัดแพร่มีจุดแข็ง (Strengths) เป็ นโอกาสของ
การพัฒนา ได้แก่
1.1. ด้านโครงสร้างและนโยบาย
(Structure) พบว่า กำหนดโครงสร้างการศึกษาที่มีความชัดเจนส่ง
ผลต่อประสิทธิภาพการนิเทศ กำกับ ติดตาม มีการกำหนดนโยบาย
การจัดการศึกษา มุ่งสู่การยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็ น
สากลและสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN) มีการกำหนดแบบการ
พัฒนาการจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับสภาพบริบท จาก
ประสิทธิภาพและความชัดเจนในเชิงโครงสร้าง เชิงนโยบายและการ
81

กำหนดแบบปฏิบัติที่กล่าวมานัน
้ ส่งผลต่อบทบาทในการบริหาร
จัดการศึกษาของบุคลากรทุกระดับเกิดผู้นำการเปลี่ยนแปลง
(Leader Change) ส่งผลต่อการพัฒนาตามนโยบายการปฏิรูปการ
ศึกษา
1.2 ด้านการบริการและผลผลิต (Service /
Products) พบว่า จังหวัดแพร่ ได้มีบริการทางการศึกษา
ที่ครอบคลุมประชากรทุกกลุ่มเป้ าหมายที่ทั่วถึงและมีคุณภาพ มีการ
จัดทำหลักสูตรการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการศึกษาชาติและสภาพ
ท้องถิ่น ประชากรทุกกลุ่มเป้ าหมายได้รับบริการทางการศึกษาที่
กระตุ้นให้เกิด คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะที่พงึ
์ างการเรียนโดยรวมของจังหวัดแพร่มี
ประสงค์สำหรับผลสัมฤทธิท
ค่าเฉลี่ยที่สูงกว่าระดับประเทศส่งผล ต่อการสร้างโอกาส
และอัตราการเรียนต่อในระดับที่สูงขึน

1.3 ด้านครูและบุคลากร พบว่า (Man) พบว่า
จังหวัดแพร่ มีจุดแข็งในด้านบุคลากร ที่มีคุณธรรม จริยธรรม ยึดมั่น
ในระเบียบวินัยในการทำงานเป็ นแบบอย่างที่ดี มีความมุ่งมั่น มี
ความกระตือรือร้น ในการพัฒนาตนเองส่งผลต่อการความก้าวหน้า
ทางวิชาชีพ และคุณภาพการศึกษา
1.4 ด้านประสิทธิภาพทางการเงิน (Money) พบว่า
มีการกระจายอำนาจทาง ด้านการเงิน/งบประมาณได้ทว่ั ถึง
ในรูปแบบการจัดสรรในวงเงินรวมและเงินอุดหนุนรายหัวส่งผลต่อความ
คล่องตัวในการบริหาร สามารถระดมทรัพยากรภาครัฐ เอกชนและ
ท้องถิ่นในการจัดการศึกษาได้ อย่างมีประสิทธิภาพ มีระบบ
82

การเบิกจ่ายงบประมาณที่ทันสมัยจากระบบ GFMIS ทำให้การเบิก


จ่ายเป็ นไปตามแผนปฏิบัติการประจำปี
1.5 ด้าน วัสดุ อุปกรณ์การศึกษา (Materials) พบ
ว่า มีการนำสื่อเทคโนโลยี ที่ทันสมัยมาใช้ โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งสื่อ ICT ที่ช่วยผู้เรียนในการเรียนรู้ด้วยตนเอง รวมทัง้ สถานศึกษา
สามารถบูรณาการปรับใช้ส่ อ
ื เพื่อการเรียนรู้ได้หลากหลายและใช้
องค์ความรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นมาส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพการ
ศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.6 ด้านการบริหารจัดการ (Management) พบว่า
จังหวัดแพร่มีการจัดการศึกษาโดยยึดหลักปรัชญาแห่งเศรษฐกิจพอ
เพียงและบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ได้เป็ นระบบ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งการสร้างระบบบริหารแบบเครือข่ายที่ส่งผลต่อหลักการมี
ส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ภายใต้โครงสร้างรูปแบบการบริหารการ
ศึกษาเชิงพื้นที่ของจังหวัดในรูปแบบใหม่
2) จุดอ่อน (Weaknesses)
สำหรับจุดอ่อนในการวิเคราะห์ปัจจัยภายใน ซึง่
จำแนกในแต่ละด้านประกอบด้วย
1.1 ด้านโครงสร้างและนโยบาย (Structure)
พบว่า จังหวัดแพร่มีการเปลี่ยนแปลง ในเชิงโครงสร้างและ
นโยบายของผู้บริหารที่บ่อยครัง้ และต่อเนื่องที่ส่งผลต่อการจัดการ
ศึกษาในพื้นที่ นอกจากนีย
้ ังพบว่านโยบายการกระจายอำนาจ
ทางการศึกษามีข้อจำกัดในทางปฏิบัติ
1.2 ด้านการบริการและผลผลิต (Service
/Products) พบว่า จังหวัดแพร่ผลสัมฤทธิ ์ ทางการเรียน
83

ระดับการศึกษาขัน
้ พื้นฐานที่ผ่านมายังมีค่าเฉลี่ยต่ำกว่าร้อยละ 50
ที่ควรปรับปรุงหลายกลุ่มสาระการเรียนรู้ และขัน
้ ตอนการบริการ
ตามระเบียบของทางราชการ เพื่ออำนวยความสะดวก ยัง
ขาดประสิทธิภาพ
1.3 ด้านครูและบุคลากร พบว่า (Man) พบว่า
จังหวัดแพร่ยังขาดแคลนครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้หลักและจำนวน
บุคลากรไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน รวมทัง้ บุคลากรยังขาดทักษะ
ความรู้ความสามารถเฉพาะด้าน อีกทัง้ ครูอัตราจ้างไม่มีความมั่นคง
และความก้าวหน้าทางวิชาชีพ
1.4 ด้านประสิทธิภาพทางการเงิน (Money) พบว่า
จังหวัดแพร่มีจำนวนสถานศึกษาขนาดเล็กเพิ่มมากขึน
้ ส่งผลกระทบ
ต่อการบริหารและการพัฒนาคุณภาพการศึกษา นอกจากนีร้ ะบบ
การใช้ GFMIS ยังไม่ครอบคลุมในทุกโรงเรียน ทำให้ประสิทธิภาพ
ในการจัดสรร การเบิกจ่ายจาก ต้นสังกัดเกิดความล่าช้า
1.5 ด้าน วัสดุ อุปกรณ์การศึกษา (Materials) พบว่า
จังหวัดแพร่ยังขาดศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา (ICT)
รวมทัง้ ศูนย์การเรียนรู้ในสาขาวิชาเฉพาะ เพื่อให้บริการ แก่
บุคลากร นักเรียน และทุกฝ่ าย นอกจากนีส
้ ่อ
ื เทคโนโลยีที่มีอยู่ยัง
ด้อยคุณภาพขาดการบำรุงรักษา
1.6 ด้านการบริหารจัดการ (Management) พบ
ว่า จังหวัดแพร่ยังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา (ICT)
ระดับจังหวัดที่จะเป็ นศูนย์ในการบริหารและพัฒนาการศึกษา ของ
โรงเรียนให้ดีขน
ึ ้ รวมทัง้ ขาดหน่วยงานกลางในการประสานข้อมูล
และบูรณาการข้อมูลร่วมกัน
84

บทสรุปการวิเคราะห์
บทบาทสรุปการวิเคราะห์ในด้านต่าง ๆ ดังนี ้
ก. การวิเคราะห์สภาพภายนอกขององค์กร มีข้อค้นพบ
ดังนี ้
โอกาส (Opportunity) มีข้อค้นพบที่สำคัญ
1) คุณภาพสังคมและคุณภาพการศึกษา เปิ ดโอกาสให้ผู้มี
ส่วนร่วมทุกฝ่ ายได้เขามา มีบทบาทในการจัดการศึกษา
รวมทัง้ การสร้างโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ
2) ได้นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เป็ นแนว
ปฏิบัติในวิถีชีวิต ส่งผล ต่อความเป็ นอยู่ที่ดีขน
ึ ้ เกิดการ
ขยายตัวในเชิงเศรษฐกิจและระบบโครงสร้างพื้นฐาน
3) วิถีชีวิตของประชาชนจังหวัดแพร่โดยพื้นฐานเป็ นคนดี
มีคณ
ุ ธรรม จริยธรรม ทำให้สังคมสงบสุขน่าอยู่และมุ่งเน้นงาน
สำคัญให้การศึกษาเป็ นปั จจัยสำคัญ
อุปสรรค (Threats) มีข้อค้นพบ ดังนี ้
1) หน่วยงานการเมืองเปลี่ยนแปลงบ่อยครัง้ ส่งผลและ
เป็ นอุปสรรคต่อการขับเคลื่อนนโยบายตามยุทธศาสตร์การปฏิรูป
การศึกษา เกิดผลในเชิงซ้ำซ้อนในหลายประเด็น
2) สภาพเศรษฐกิจชุมชนส่วนใหญ่เป็ นรายได้จากภาค
การเกษตร ซึ่งเป็ นปั จจัยกำหนดรายได้ต่อหัวของประชากรที่อยู่ใน
เกณฑ์ต่ำ เศรษฐกิจครอบครัวยังมีสภาพที่ยากจน
85

3) ปั ญหาสังคมทีม
่ อ
ี ต
ั ราการหย่าร้างค่อนข้างสูง เกิดภาวะ
ครอบครัวแตกแยก ทำให้จำนวนประชากร วัยเรียนในกลุ่มเสี่ยงจาก
ปั ญหาสังคม มีค่อนข้างมาก เกิดพฤติกรรมไม่พึงประสงค์
ข. การวิเคราะห์สภาพภายในองค์กร มีข้อค้นพบ ดังนี ้
จุดแข็ง (Strengths)
1) ได้มก
ี ารกำหนดโครงสร้างทีช
่ ด
ั เจน มีนโยบายชัดเจนมุง่
สูค
่ วามเป็ นสากลและมุง่ สู่ ความเป็ น ASEAN
2) ได้มีการจัดบริการการศึกษาแก่ประชากรวัยเรียนได้
ครอบคลุม ทั่วถึงและมีคุณภาพ ทุกระบบและทุกกลุ่มเป้ า
หมาย
3) บุคลากรมีคุณธรรม จริยธรรม ยึดมั่นในระเบียบวินัย
ในการทำงาน
4) มีการกระจายอำนาจการบริหารงบประมาณและการ
เงินได้อย่างทั่วถึง เกิดประสิทธิภาพสูงสุดด้วยระบบเทคโนโลยีที่ทัน
สมัย (CRMIS)
5) มีการนำเอาสื่อเทคโนโลยีทางการสื่อสารเพื่อการ
ศึกษา (ICT) มาใช้ อย่างหลากหลายเกิด
คุณภาพปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีการบริหารเชิงกุลยุทธ์
จุดอ่อน (Weakness)
1) มีการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างและนโยบายการ
ศึกษาจากต้นสังกัด ที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษาในพื้นที่
์ างการเรียนขัน
2) ผลสัมฤทธิท ้ พื้นฐาน ยังมีค่าเฉลี่ย ต่ำ
กว่าร้อยละ 50
86

3) ขาดแคลนบุคลากรเฉพาะด้านในบางกลุ่มสาระ รวม
ทัง้ บุคลากรขาดทักษะ ความรู้เฉพาะด้านในการปฏิบัติงาน
4) ปริมาณสถานศึกษาขนาดเล็กที่เพิ่มจำนวนมากขึน
้ ส่ง
ผลกระทบต่อการบริหารการศึกษาหลากหลายด้าน
5) สื่อวัสดุ อุปกรณ์ ยังขาดแคลนศูนย์ส่ อ
ื ICT เพื่อเป็ น
อุปกรณ์การจัดระบบฐานข้อมูลการศึกษาและการบูรณาการจัดการ
เรียนรู้ โดยใช้ส่ อ
ื เทคโนโลยีเป็ นฐาน

ตาราง 37 แสดงการวิเคราะห์ SWOT Matrix


87

โอกาส ( O ) อุปสรรค ( T )
1. เปิ ดโอกาสในการมีส่วนร่วมจากทุก 1. มีการเปลี่ยนแปลงเชิง
ภายใน(Internal) ฝ่ ายในการจัด การศึกษา กฎหมายและการเมือง บ่อย
2. นำหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ครัง้ ส่งผลต่อ
มาเป็ นแนวปฏิบัตส
ิ ่งผลต่อวิถีชีวิตและ การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การ
การปฏิบัติของสังคม ปฏิรูปการศึกษา
3. ชาวแพร่โดยพื้นฐานเป็ นคนดีมี 2. สภาพเศรษฐกิจชุมชนมา
คุณธรรมจริยธรรมสังคมเป็ นสุข มุ่งสู่ จากภาคเกษตรกรรมทำ ให้ราย
การจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ ได้เฉลี่ยรายหัวอยู่ในเกณฑ์ต่ำ
อีกทัง้ สภาพ ครอบครัวยากจน
ภายนอก 3. ปั ญหาทางสังคมที่ส่งผลต่อ
(External) อัตราการหย่าร้างทีส
่ ูงก่อให้เกิด
ประชากรกลุ่มเสี่ยงจำนวนมาก
4. การเปลี่ยนแปลงด้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศทีเ่ ป็ นไป
อย่างรวดเร็วส่งผล กระทบ
ต่อทุกภาคส่วน
จุดแข็ง ( S ) กลยุทธ์ SO กลยุทธ์ ST
1. มีการกำหนด ( กลยุทธ์เชิงรุก : Aggressive ) ( กลยุทธ์พัฒนา
โครงสร้างและนโยบาย 1. ส่งเสริมให้ประชากรทีอ
่ ยู่ในวัย องค์การ:Turnaround )
การศึกษาชัดเจนมุ่งสู่ ทำงานได้รับการพัฒนาทักษะ ความรู้ 1. เสริมสร้างความเข้มแข็งใน
สากลและ ASEAN ความสามารถ และสมรรถนะ ที่สนอง การพัฒนาผู้เรียนอย่างมี
2. จัดบริการการศึกษาได้ ความต้องการของตลาด คุณภาพตามมาตรฐานการ
ครอบคลุม แรงงาน(s2,s5,o1,o2) ศึกษา
3. บุคลากรมีคุณธรรม 2. ส่งเสริม สนับสนุนครูและบุคลากร (s2,s3,t2,t3)
จริยธรรม ยึดมั่น ทางการศึกษา ให้มีจต
ิ วิญญาณของ 2. ส่งเสริมการพัฒนาครูและ
ในระเบียบวินัย ความเป็ นครู การเป็ นครูมืออาชีพ และ บุคลากรทางการศึกษา ให้มี
4. มีการกระจายอำนา ยึดมัน
่ ในจรรยาบรรณของวิชาชีพ ทักษะ ความรู้ ความสามารถ
จด้านงบประมาณ อย่าง (s3,o2,03) และสมรรถนะตามมาตรฐาน
ทั่วถึง 3. ส่งเสริม สนับสนุนสถาบันการศึกษา วิชาชีพ
5. มีการนำเอา ICT มา หน่วยงานทัง้ ในและต่างประเทศ (s3,s5,t1,t4)
ใช้ในการศึกษาอย่างแพร่ ปราชญ์ชาวบ้าน บุคลากรเชี่ยวชาญ 3. ส่งเสริมการนำผลการวิจัย
88

หลาย เฉพาะทางเข้ามามีส่วนร่วมในการ ผลการปฏิบัติทเี่ ป็ นเลิศ


พัฒนาการศึกษา นวัตกรรม และสิ่งประดิษฐ์ ไป
(s1,s5,o1,o2) ใช้เป็ นฐานในการพัฒนาวิชาชีพ
4 ส่งเสริมการกระจายอำนาจ การมี และพัฒนาการจัดการศึกษา
ส่วนร่วม ความรับผิดชอบต่อการ (s3,s5,t1,t4)
บริหารจัดการศึกษา สู่สถานศึกษาให้มี 4. ส่งเสริมสนับสนุนการใช้
อิสระและคล่องตัว (s1,s4,o1,o3) ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.พัฒนาศักยภาพประชากรบนพื้นฐาน (ICT) ในการบริหารจัดการ
ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น ศึกษาและการจัดการเรียนการ
จังหวัดแพร่และยึดหลักปรัชญาของ สอน (s1,s5,t1,t4)
เศรษฐกิจพอเพียงในการดำรงชีวิต 5. ส่งเสริม สนับสนุนทุกภาค
(s2,s3,o2,o3) ส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการ
6.ส่งเสริม สนับสนุนทุกภาคส่วนเข้ามา พัฒนาคุณภาพการศึกษา
มีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพการ ให้มีความก้าวหน้าทางวิชาชีพ
ศึกษา (s1,o1,o3) เกิดผลการปฏิบัติงานเชิง
ประจักษ์ (s3,s5,t1,t4)

จุดอ่อน ( W ) กลยุทธ์ WO กลยุทธ์ WT


1. มีการเปลีย
่ นแปลง ( กลยุทธ์ป้องกัน : Defensive ) ( กลยุทธ์ประคองตัว:
โครงสร้างและนโยบาย 1. เพิ่มโอกาสการเข้าถึงการศึกษาทุก Retrenchment)
บ่อยครัง้ ส่งผลต่อการ ระบบอย่างเสมอภาค ทั่วถึง มี 1. ส่งเสริม สนับสนุนให้องค์กร
จัดการศึกษา คุณภาพ และมาตรฐาน (w1,w5,o1) องค์คณะบุคคล และผู้มีส่วนได้
์ างการ
2. ผลสัมฤทธิท 2. เสริมสร้างให้องค์คณะบุคคล และ ส่วนเสีย วางแผน สรรหา ย้าย
เรียนยังไม่ถึง 50% หน่วยงานทางการศึกษาจังหวัดแพร่ใช้ โอนครูและบุคลากรทางการ
3. ขาดแคลนบุคลากร หลัก ธรรมาภิบาลในการปฏิบต
ั ิงาน ศึกษาให้สอดคล้องกับความ
เฉพาะด้าน (w1,w5,o1,o3) ต้องการจำเป็ นของสถานศึกษา
4. มีจำนวนโรงเรียน และท้องถิ่น
ขนาดเล็กเพิ่มมากขึน
้ (w1,w5,t1)
5. ขาดศูนย์ส่ อ
ื เทคโนโลยี
สารสนเทศเพื่อการ
บริการและการบริหาร
จัดการสื่อยุคใหม่
89

You might also like