You are on page 1of 124

บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต

หัวข้อและเค้าโครงวิทยานิ พนธ์
เรื่อง
การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างศักยภาพผู้บริหารและ
ครูด้านการจัดการเรียนรู้
ตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง

โดย
นายนิ คม กกขุนทด
2

ผู้ควบคุมวิทยานิ พนธ์
ดร.กำาพล ดำารงค์วงศ์

หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีและสื่อสาร
การศึกษา
พ.ศ.2550
บทที่ 1
บทนำา
ความเป็ นมาและความสำาคัญของปั ญหาการวิจัย
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นแนวทางการดำาเนิ นชีวิต
และวิถีปฏิบัติท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำารัส
ชี้แนะแกูพสกนิ กรชาวไทยมานานกวูา 30 ปี ดังจะเห็นได้วูา
ปรากฏความหมายเป็ นเชิงนั ยเป็ นครั้งแรกในพระบรมราโชวาทและ
พระราชดำารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในปี 2517 ที่
พระองค์ได้ทรงเน้นยำ้าแนวทางการพัฒนา บนหลักแนวคิดพึ่ง
ตนเอง เพื่อให้เกิดความพอมีพอกิน พอใช้ของคนสูวนใหญู โดยใช้
หลักความพอประมาณ การคำานึ งถึงการมีเหตุผล การสร้าง
ภ่มิคุ้มกันที่ดีในตัว และทรงเตือนสติประชาชนคนไทยไมูให้
ประมาท ตระหนั กถึงการพัฒนาอยูางเป็ นขั้นเป็ นตอนที่ถ่กต้อง
ตามหลักวิชา และการมีคุณธรรมเป็ นกรอบในการปฏิบัติและการ
ดำารงชีวิต
3

ในชูวงที่ประเทศไทยประสบกับภาวะวิกฤตเศรษฐกิจในปี
2540 นั บเป็ นบทเรียนที่สำาคัญที่ทำาให้ประชาชนเข้าใจถึงผลจาก
การพัฒนาที่ไมูคำานึ งถึงระดับความเหมาะสมกับศักยภาพของ
ประเทศ พึ่งพิงความร้่ เงินลงทุน จากภายนอกประเทศเป็ นหลัก
โดยไมูได้สร้างความมัน
่ คงและเข้มแข็งหรือสร้างภ่มิคุ้มกันที่ดี
ภายในประเทศ ให้สามารถพร้อมรับความเสี่ยงจากความผันผวน
ของปั จจัยภายในและนอกจนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจครั้ง
ใหญูสงู ผลกระทบอยูางรุนแรงตูอสังคมไทย
รัฐบาลตระหนั กถึงความสำาคัญในการแก้ไขปั ญหาดังกลูาวให้
เกิดการพัฒนาที่ยังยืนในสังคมไทยอยูางเป็ นระบบ ด้วยการ
กำาหนดนโยบายด้านการศึกษาโดยนำาปรัชญาของเศรษฐกิจพอ
เพียง มาเป็ นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการ
ศึกษาทุกระดับ ใช้คุณธรรมเป็ นพื้ นฐานของกระบวนการเรียนร้่ที่
เชื่อมโยงความรูวมมือระหวูางสถาบันการศึกษา สถาบันครอบครัว
ชุมชน สถาบันทางศาสนา ให้มีสูวนรูวมในการจัดการศึกษา เพื่อให้
ผ้่เรียนเกิดความร้่ ทักษะและเจตคติ สามารถนำาไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจำาวันได้อยูางสมดุล และยัง่ ยืน
(กระทรวงศึกษาธิการ, 2550 : 1-2)
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการ
ดำารงและปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแตูระดับครอบครัว
ระดับชุมชน ถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้
ดำาเนิ นไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้
ก้าวทันตูอโลกยุกโลกาภิวัฒน์
4

ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล


รวมถึงความจำาเป็ นที่จะต้องมีระบบภ่มิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร
ตูอการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอก
และภายใน ทั้งที่จะต้องอาศัยความรอบร้่ ความรอบคอบ และความ
ระมัดระวังอยูางยิ่งในการนำาวิชาการตูาง ๆ มาใช้ในการวางแผน
และการดำาเนิ นการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้าง
พื้ นฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นั กทฤษฎี
และนั กธุรกิจในทุกระดับให้มีสำานึ กในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต
และให้มีความรอบคอบที่เหมาะสม ดำาเนิ นชีวิตด้วยความอดทน
ความเพียร มีสติปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและ
พร้อมตูอการรองรับการเปลี่ยนแปลงอยูางรวดเร็วและกว้างขวาง
ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้
เป็ นอยูางดี
คำานิ ยม
ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไมูน้อยเกินไปและ
ไมูมากเกินไปโดยไมูเบียดเบียนตนเองและผ้่อ่ ืน
ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของ
ความพอเพียงนั้ นจะต้องเป็ นไปอยูางมีเหตุผลโดยพิจารณาจาก
เหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคำานึ งถึงผลที่คาดวูาจะเกิดขึ้นจาก
การกระทำานั้ น ๆ อยูางรอบคอบ
ความมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อม
รับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านตูาง ๆ ที่จะเกิดขึ้น
5

เงื่อนไข หมายถึง การตัดสินใจและการดำาเนิ นกิจกรรมตูาง


ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้ นต้องอาศัยทั้งความร้่และคุณธรรมเป็ น
พื้ นฐาน กลูาวคือ
- เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วยความรอบร้่เกี่ยวกับ
วิชาการตูาง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
อยูางรอบคอบ ความรอบคอบที่จะนำาความร้่เหลูานั้ นมาพิจารณา
และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ
- เงื่อนไขคุณธรรม จะต้องเสริมสร้าง
ประกอบด้วยมีความตระหนั กในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตและ
มีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำาเนิ นชีวิต
(สำานั กงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหูงชาติ,
2550 : 13-15)
กระทรวงศึกษาธิการมีความตระหนั กในภารกิจที่สำาคัญดัง
กลูาวและให้ความสำาคัญกับการพัฒนาคนซึ่งเป็ นศ่นย์กลางของการ
พัฒนาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหูงชาติ ฉบับที่ 10
(พ.ศ.2550 – 2554) มูุงเน้นนำาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ
เพียงมาพัฒนาประเทศ จึงจัดทำา
ยุทธศาสตร์เพื่อดำาเนิ นโครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอ
เพียง เพื่อปล่กฝั งให้เด็กและเยาวชนร้่จักการใช้ชีวิตที่พอเพียง
เห็นคุณคูาของทรัพยากรตูาง ๆ ฝึ กการอยู่รูวมกับผ้่อ่ ืนอยูาง
เอื้ อเฟื้ อเผื่อแผูและแบูงปั น มีจิตสำานึ กรักษ์ส่ิงแวดล้อมและเห็น
คุณคูาของวัฒนธรรม คูานิ ยม และเอกลักษณ์ของความเป็ นไทย
โดยมีหนูวยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการรูวมกันรับผิดชอบ
เพื่อให้มีความตูอเนื่ องและยัง่ ยืน นำาสู่วิถีชีวิตของประชาชน
6

สามารถพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ได้ตามแนวพระราชดำารัส และ


นโยบายรัฐบาล รวมทั้งเป็ นจุดเริม
่ ต้นของการผลักดันให้ประเทศ
ชาติโดยรวมพัฒนาตูอไปอยูางเต็มศักยภาพ โดยใช้ร่ปแบบการ
จัดการศึกษาบนพื้ นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (กระทรวง
ศึกษาธิการ, 2550 : คำานำา)
การจัดการศึกษาตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง เป้ าหมายสำาคัญ
ของการจัดการศึกษาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง คือ การปล่ก
ฝั งให้เด็กและเยาวชนร้่จักการใช้ชีวิตที่พอเพียง เห็นคุณคูาของ
ทรัพยากรตูาง ๆ ฝึ กการอยู่รูวมกับผ้่อ่ ืนอยูางเอื้ อเฟื้ อเผื่อแผูและ
แบูงปั น มีจิตสำานึ กรักษ์ส่ิงแวดล้อม และเห็นคุณคูาของวัฒนธรรม
คูานิ ยม เอกลักษณ์/ความเป็ นไทย การจัดการศึกษาตามหลัก
เศรษฐกิจพอเพียง ดำาเนิ นการได้ใน 2 สูวน คือ
1. การบริหารสถานศึกษาในด้านตูาง ๆ
2. การจัดการเรียนร้่ของผ้่เรียน ซึ่งประกอบด้วย การสอด
แทรกสาระเศรษฐกิจพอเพียงใน
หลักส่ตรและสาระเรียนร้่ในห้องเรียน และการประยุกต์หลัก
เศรษฐกิจพอเพียงในการจัดกิจกรรมพัฒนาผ้่เรียนนอกห้องเรียน
การบรรลุเป้ าหมายดังกลูาวข้างต้น คร่เป็ นบุคลากรที่สำาคัญ
ในการถูายทอดความร้่และ
ปล่กฝั งหลักคิดตูาง ๆ ให้แกูเด็ก โดยคร่ต้องเข้าใจอยูางถ่กต้อง
สามารถวิเคราะห์ความพอเพียง/ไมูพอเพียงของตนเองและ
ครอบครัวได้และทำาตัวเป็ นแบบอยูางที่ดีในการดำาเนิ นชีวิตแบบพอ
เพียง
(สำานั กงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ, 2550 : 3)
7

จากที่กลูาวข้างต้น ในสูวนของสำานั กงานเขตพื้ นที่การศึกษา


ซึ่งเป็ นหนูวยงานในสังกัดสำานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้ น
ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ที่ต้องรับผิดชอบและเป็ นหนูวยงานที่จะ
ต้องดำาเนิ นการในการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่
สถานศึกษา จึงจำาเป็ นอยูางยิ่งที่จะต้องมีกระบวนการทำางานรูวม
กันทั้งคร่ ผ้บ
่ ริหารสถานศึกษา ศึกษานิ เทศก์ และบุคลากรทางการ
ศึกษา ในการนำาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็ นแนวทาง
ในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ใช้คุณธรรม
เป็ นพื้ นฐานของกระบวนการเรียนร้่ที่เชื่อมโยงความรูวมมือระหวูาง
สถาบันการศึกษา สถาบันครอบครัว ชุมชน สถาบันทางศาสนา ให้
มีสูวนรูวมในการจัดการศึกษา เพื่อให้ผ้่เรียนเกิดความร้่ ทักษะ
และเจตคติ สามารถนำาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวันได้อยูาง
สมดุลและยัง่ ยืน (กระทรวงศึกษาธิการ, 2550 : 2)
การดำาเนิ นการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่
สถานศึกษาเป็ นหน้าที่ผ้่มีสูวนเกี่ยวข้องทุกภาคสูวนทั้งผ้่บริหาร
สถานศึกษา คร่ ศึกษานิ เทศก์ และบุคลากรทางการศึกษา ที่จะต้อง
ดำาเนิ นการขับเคลื่อนโดยเฉพาะระดับโรงเรียน ซึ่งเป็ นหนูวยงาน
ระดับปฏิบัติการที่สำาคัญที่สุด เพราะผลการจัดการศึกษาขึ้นอยู่กับ
การปฏิบัติงานของโรงเรียน ภารกิจหลักของโรงเรียน คือ การ
จัดการเรียนการสอนเพื่อให้นักเรียนบรรลุจุดมูุงหมายที่กำาหนดไว้
์ างการ
ในหลักส่ตร คือ คุณภาพที่พงึ ประสงค์ทางด้านผลสัมฤทธิท
เรียน การที่จะพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพื่อมูุงสู่คุณภาพ และ
มาตรฐานการศึกษาที่พึงประสงค์ต้องอาศัยกระบวนสำาคัญประกอบ
ด้วย กระบวนการบริหาร กระบวนการเรียนการสอน และ
8

กระบวนการนิ เทศการศึกษา ซึ่งทั้งสามกระบวนการมีความสำาคัญ


ทัดเทียมกัน โดยเฉพาะกระบวนการนิ เทศการสอนเป็ นสูวนหนึ่ งที่
สำาคัญของกระบวนการบริหารการศึกษา เพราะเป็ นเครื่องมือในการ
พัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพด้านการเรียนการสอน (สำานั กงาน
เขตพื้ นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 1, 2549 : 1)
การนิ เทศการศึกษา (Educational Supervision) เป็ นกระ
บวนการสำาคัญที่จะชูวยให้คร่ผ้่สอนหรือผ้่มีสูวนรูวมในกิจกรรมการ
เรียนร้่ได้ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ
กระบวนการนิ เทศประกอบด้วยขั้นตอนที่สำาคัญ คือ การเตรียมการ
นิ เทศ การวางแผนการนิ เทศ การปฏิบัติการนิ เทศ การประเมินผล
การนิ เทศ และการปรับปรุงการนิ เทศ ผลที่ได้รบ
ั จากการนิ เทศจะ
ประสบผลสำาเร็จมากหรือน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ
หลายประการที่เกี่ยวข้องกันทั้งทางตรงและทางอ้อมกับผ้่นิเทศ สิ่ง
ที่สำาคัญที่สุดคือ ตัวผ้่นิเทศจะต้องมีความเชี่ยวชาญในเรื่องที่จะ
นิ เทศอยูางดีเยี่ยม พร้อมทั้งมีความเชื่อมัน
่ วูาผ้่รบ
ั การนิ เทศทุกคน
เรียนร้่และพัฒนาได้ และในการนิ เทศจะต้องมีเทคนิ ควิธี กิจกรรม
การนิ เทศหลายร่ปแบบให้เหมาะสมกับผ้่รบ
ั การนิ เทศหรือคร่แตูละ
คน เพราะผ้่รบ
ั การนิ เทศหรือคร่มีความแตกตูางระหวูางบุคคล
(สำานั กงานเขตพื้ นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 1, 2549 : 3)
แตูเดิมการเรียนร้่ในวงการศึกษาจะเป็ นแบบเชิงรับ (Passive
Learning Experience) คือ จะมีการจัดอบรมให้ความร้่หรือการ
นิ เทศโดยตรง แตูปรากฏวูา ไมูวูาจะจัดการอบรมได้ดีเพียงใด ผ้่
เข้ารับการอบรมก็ไมูสามารถนำาความร้่จากการอบรมไปใช้ได้
ทั้งหมด เมื่อมาด่สังคมในโรงเรียนจะเห็นวูาเป็ นสังคมที่คูอนข้าง
9

โดดเดี่ยว คร่แตูละคนก็มีห้องเรียนเป็ นของตนเอง ไมูคูอยมีใคร


เข้ามายูุง จึงเป็ นบรรยากาศเอื้ ออำานวยให้คร่รก
ั ษาความเป็ น
Teacher – Centered ได้อยูางเหนี ยวแนูน ฉะนั้ นการเรียนร้่ท่ีควร
จะเป็ นจึงนูาจะเป็ นการเรียนร้่เชิงรุก (Active Learning
Experience) ซึ่งสอดคล้องกับปรัชญา Constructionism ที่มูุงให้ผ้่
เรียนสร้างความร้่ด้วยตนเอง โดยเชื่อวูา แตูละคนมีประสบการณ์
เดิมที่แตกตูางกัน การเรียนร้่จึงเป็ นการเชื่อมโยงระหวูาง
ประสบการณ์เกูากับข้อม่ลใหมู โดยมีการ Interact (ปะทะสังสรรค์)
ซึ่งกันและกัน และ Reflect (การสะท้อนประสบการณ์) ซึ่งกันและ
กันจนเกิดความร้่ใหมูข้ ึน (สำานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้ นฐาน 2549, 447-448)
ตลอดระยะเวลาที่ผูานมาในการขับเคลื่อนปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา ซึ่งเริม
่ มาตั้งแตูปี 2550 เป็ นต้น
มา โรงเรียนซึง่ เป็ นหนูวยงานระดับปฏิบัติยังไมูมีความเข้าใจใน
การดำาเนิ นการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
เทูาที่ควร ถึงแม้จะมีการประชุมชี้แจงแนวปฏิบัติ การให้ความร้่
ด้านปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการนิ เทศการศึกษาการ
ดำาเนิ นงานของโรงเรียนแล้วก็ตาม ผ้ว่ ิจัยในฐานะศึกษานิ เทศก์
สังกัดสำานั กงานเขตพื้ นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 1 ซึ่งมีหน้าที่
โดยตรงในด้านการนิ เทศ ติดตามและประเมินผลด้านการจัดการ
เรียนการสอน
จึงมีความสนใจที่จะหาแนวทางในการนิ เทศการศึกษาเพื่อเสริม
สร้างศักยภาพผ้่บริหารและคร่ด้านการจัดการเรียนร้่ตามแนวทาง
ทางเศรษฐกิจพอเพียง ทั้งนี้ เนื่ องจากคร่เป็ นบุคลากรที่สำาคัญใน
10

การถูายทอดความร้่และปล่กฝั งหลักคิดตูาง ๆ ให้แกูเด็ก ฉะนั้ นคร่


ต้องมีความเข้าใจอยูางถ่กต้อง สามารถวิเคราะห์ความพอเพียง/ไมู
พอเพียงของตนเองและครอบครัวได้ และทำาตัวเป็ นแบบอยูางที่ดี
ในการดำาเนิ นชีวิตแบบพอเพียง (สำานั กงานปลัดกระทรวง
ศึกษาธิการ, 2550 : 3) และเห็นวูาการวิจัยเชิงปฏิบัติการเป็ น
แนวทางหนึ่ งที่จะพัฒนาการจัดการเรียนร้่ตามแนวทางเศรษฐกิจ
พอเพียงในโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพ และบรรลุวัตถุประสงค์ของ
การจัดการศึกษาได้ จึงได้เลือกร่ปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
(Action Research : AR) ซึ่งเป็ นการวิจัยที่เน้นการพัฒนาหรือแก้
ปั ญหาโดยอาศัยการทำางานรูวมกันของทีมผ้่รูวมวิจัย ซึ่งประกอบ
ด้วย ผ้ว่ ิจัย ผ้่บริหารสถานศึกษาและ คณะคร่ในโรงเรียน โดยผ้่
วิจัยเป็ นฝู ายให้คำาปรึกษา แนะนำา และดำาเนิ นการตามกระบวนการ
วิจัยเชิงปฏิบัติการ สูวนผ้่บริหารสถานศึกษา และคณะคร่ใน
โรงเรียนจะเป็ นฝู ายปฏิบัติงาน โดยทุกฝู ายจะมีการวางแผนรูวม
กัน ลงมือปฏิบัติงานรูวมกัน เก็บข้อม่ลรูวมกัน สังเกตสถานการณ์
รูวมกัน และสะท้อนผลการดำาเนิ นงานรูวมกัน โดยผ้่วิจัยได้เลือก
โรงเรียนกรณี ศึกษา จำานวน 1 โรงเรียน ซึ่งเป็ นโรงเรียนในสังกัด
สำานั กงานเขตพื้ นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 1 ที่สมัครใจเข้ารูวม
การวิจัยในครั้งนี้ เพื่อให้ผ้่บริหารและคร่เกิดการเรียนร้่และพัฒนา
ตนเองโดยสามารถนำาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป
ประยุกต์ใช้ในการบริหารและการจัดการเรียนร้่ให้กับผ้่เรียนได้อยูาง
มีประสิทธิภาพ สำาหรับการวิจัยเชิงปฏิบัติการครั้งนี้ ผ้่วิจัยได้ใช้
กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการของ เคมมิสและแมคทาคกาท
(Kemmis and Mc.Taggart, 1982 อ้างใน ประจิต เอราวรรณ์,
11

2545 : 15-16) ชาวออสเตรเลีย ซึ่งขั้นตอนการวิจัย คือ การ


วางแผน (Plan) การปฏิบัติ (Action) การสังเกต (Observation)
การสะท้อนผล (Reflection)

2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
เพื่อให้ผ้่บริหารและคร่มีความร้่ความเข้าใจและสามารถ
จัดการเรียนร้่ตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงได้อยูางมี
ประสิทธิภาพ และสามารถปล่กฝั งให้นักเรียนร้่จักการใช้ชีวิตที่พอ
เพียง เห็นคุณคูาของทรัพยากรตูาง ๆ ฝึ กการอยู่รูวมกับผ้่อ่ ืนอยูาง
เอื้ อเฟื้ อเผื่อแพรูและแบูงปั น มีจิตสำานึ กรักษ์ส่ิงแวดล้อมและเห็น
คุณคูาของวัฒนา คูานิ ยม เอกลักษณ์/ความเป็ นไทย

3. ขอบเขตของการวิจัย
ในการวิจัยครั้งนี้ มีขอบเขตการวิจัย ดังนี้ คือ
3.1 ของเขตประชากร
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผ้บ
่ ริหารสถาน
ศึกษา คร่ และนั กเรียนในโรงเรียนกรณี ศึกษา ซึ่งเปิ ดสอนในระดับ
ชูวงชั้นที่ 1-2 (ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1-ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6) และ
เป็ นโรงเรียนที่สมัครใจ (จิตอาสา) ในการรูวมการวิจัยเชิงปฏิบัติ
การครั้งนี้ จำานวน 1 โรงเรียน
3.2 ขอบเขตเนื้ อหา การวิจัยครั้งนี้ ได้ครอบคลุมเนื้ อหา
ดังนี้
3.2.1 เนื้ อหาเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนตาม
แนวทางเศรษฐกิจพอเพียงใน
12

2 สูวน ประกอบด้วย (สำานั กงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ,


2550 : 3)
3.2.1.1 การบริหารสถานศึกษาในด้านตูาง ๆ
3.2.1.2 การจัดการเรียนร้่ของผ้่เรียน ซึ่ง
ประกอบด้วย
- การสอดแทรกสาระเศรษฐกิจพอเพียงในหลักส่ตร
และสาระเรียนร้่ในห้องเรียน
- การประยุกต์หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการจัด
กิจกรรมพัฒนาผ้่เรียนนอกห้องเรียน
โดยขอบเขตของเนื้ อหาดังกลูาวจะมีการวางแผนรูวม
กันระหวูางผ้ว่ ิจัย ผ้่บริหารสถานศึกษา และคณะคร่ ซึง่ มีการ
ดำาเนิ นงานตามขั้นตอนการวิจัย คือ ขั้นการวางแผนการปฏิบัติงาน
ขั้นการปฏิบัติงานตามแผน ขั้นติดตามประเมินผลระหวูางการ
ปฏิบัติงาน และขั้นประเมินผลการปฏิบัติงานเมื่อสิ้นสุด
กระบวนการ
3.2.2 การพัฒนาศักยภาพผ้่บริหารและคร่ด้านการ
จัดการเรียนร้่ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ผ้่วิจัยจะพัฒนาใน 2
ด้าน ได้แกู ด้านความร้่ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง และด้านการนำาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ
เพียงไปประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนการ
สอน โดยศักยภาพทั้ง 2 ด้านผ้่วิจัยประเมินจากนวัตกรรมการ
ศึกษาซึ่งเป็ นผลงานที่เกิดจากการเรียนร้่และการลงมือปฏิบัติของผ้่
บริหารสถานศึกษา และคณะคร่ในโรงเรียน
13

4. นิ ยามศัพท์เฉพาะ การวิจัยครั้งนี้ เพื่อให้เข้าใจตรงกันผ้่วิจัยได้


ให้คำานิ ยามศัพท์เฉพาะ ดังนี้
กระบวนการวิจัย หมายถึง กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
ซึ่งมีข้ ันตอนการดำาเนิ นงานประกอบด้วย ขั้นการวางแผนปฏิบัติ
งาน ขั้นการปฏิบัติงานตามแผน ขั้นติดตามประเมินผลระหวูางการ
ปฏิบัติงาน และขั้นประเมินผลการปฏิบัติงานเมื่อสิ้นสุด
กระบวนการ ซึ่งทุกขั้นตอนจะมีการทำางานรูวมกันระหวูางผ้่วิจัย
และผ้่รูวมวิจัยซึ่งประกอบด้วย ผ้่บริหารสถานศึกษา คณะคร่และ
บุคลากรทางการศึกษาทุกคน
เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง การดำารงชีวิตและการปฏิบัติ
งานโดยยึดหลักทางสายกลาง มีความเป็ นอยู่อยูางพอเพียงตาม
ฐานะและอัตภาพของตนเอง โดยไมูเบียดเบียนผ้่อ่ ืน มีการแบูงปั น
ชูวยเหลือซึ่งกันและกัน มีความรักความสามัคคีกันในสังคม ใช้
ความร้่อยูางถ่กหลักวิชาการด้วยความรอบคอบและความ
ระมัดระวัง มีการวางแผนและการดำาเนิ นงานเป็ นขั้นตอนอยูาง
รอบคอบและระมัดระวัง ควบคู่ไปกับการมีคุณธรรม
การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง หมาย
ถึง การนำาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาจัดการศึกษาใน
2 สูวน คือ การบริหารสถานศึกษาในด้าน
ตูาง ๆ และการจัดการเรียนร้่ของผ้่เรียน ซึ่งประกอบด้วย การ
สอดแทรกสาระเศรษฐกิจพอเพียงในหลักส่ตรและสาระเรียนร้่ใน
ห้องเรียน และการประยุกต์หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการจัด
กิจกรรมพัฒนาผ้่เรียนนอกห้องเรียน โดยมีเป้ าหมายการปล่กฝั ง
และสร้างคูานิ ยมการใช้ชีวิตที่พอเพียง เห็นคุณคูาของทรัพยากร
14

ตูาง ๆ ฝึ กการอยู่รูวมกับผ้่อ่ ืนอยูางเอื้ อเฟื้ อเผื่อแผู และแบูงปั น มี


จิตสำานึ กรักษ์ส่ิงแวดล้อมและเห็นคุณคูาของวัฒนธรรม คูานิ ยม
เอกลักษณ์ความเป็ นไทย
ค่านิ ยมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง
ความเชื่อในการดำารงชีวิตที่ยึดมัน
่ กับการพยายามพึ่งตนเองอยูางมี
อิสรภาพ มีการวางแผนอยูางเป็ นระบบ เป็ นขั้นตอนตั้งแตูการ
พัฒนาในระดับเพื่อการอยู่รอดไปจนถึงระดับพัฒนาคุณภาพชีวิต มี
การใช้การคำานวณตามหลักวิชาและมีการเน้นถึงความสามัคคี การ
รูวมมือรูวมใจชูวยเหลือกัน รวมทั้งการมีสูวนรูวมของชุมชน และ
สังคม
นวัตกรรมการศึกษา หมายถึง การนำาแนวคิด วิธีการ เทคนิ ค
ใหมู ๆ มาชูวยในการจัดการศึกษาและการเรียนการสอนให้มี
ประสิทธิภาพดีย่ิงขึ้น ผ้่เรียนสามารถเกิดการเรียนร้่ได้อยูางรวดเร็ว
มีประสิทธิภาพส่งขึ้นจากเดิม เกิดแรงจ่งใจในการเรียนด้วย
นวัตกรรมเหลูานั้ น ทั้งยังประหยัดเวลาในการเรียนได้อีกด้วย
สำาหรับการวิจัยในครั้งนี้ ผ้ว่ ิจัยได้ให้ความหมายถึง นวัตกรรมการ
ศึกษาซึ่งเป็ นผลงานที่เกิดจากการเรียนร้่และการลงมือปฏิบัติของผ้่
บริหารสถานศึกษา คร่ และนั กเรียนในโรงเรียน
โรงเรียน หมายถึง โรงเรียนกรณี ศึกษาที่ได้สมัครใจ (จิต
อาสา) เข้ารูวมการวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างศักยภาพผ้่
บริหารและคร่ด้านการจัดการเรียนร้่ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
โดยมีผ้่มีสูวนเกี่ยวข้องได้แกู ผ้บ
่ ริหาร คณะคร่ และนั กเรียนใน
โรงเรียน
15

ศักยภาพ หมายถึง ความสามารถในการเรียนร้่ที่เกิดจากการ


ลงมือปฏิบัติเรื่อง การจัดการเรียนร้่ตามแนวทางของเศรษฐกิจพอ
เพียง โดยพิจารณาจากการเปลี่ยนแปลงด้านความร้่ความเข้าใจ
และด้านทักษะการปฏิบัติการในการนำาไปประยุกต์ใช้ในด้านการ
บริหารและการจัดการเรียนร้่ให้กับนั กเรียน

5. ประโยชน์ของการวิจัย
การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างศักยภาพผ้่บริหารและ
คร่ด้านการจัดการเรียนร้่ตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง เกิด
ประโยชน์ ดังนี้
5.1 ได้แนวคิดในการนำากระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการไปใช้
ในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางเศรษฐกิจพอ
เพียง และสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดดังกลูาวเพื่อพัฒนาในด้าน
อื่น ๆ
5.2 ผ้บ
่ ริหารสถานศึกษาและคณะคร่ มีความร้่ความเข้าใจ
เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเป็ นการพัฒนา
ศักยภาพของตนเองเพื่อนำาไปสู่การพัฒนางานด้านการเรียนการ
สอนตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง และการดำาเนิ นชีวิตตาม
แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
5.3 หนูวยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาอื่น มีแนวทาง
ในการพัฒนาการจัดการเรียนร้่ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
5.4 ผ้่มีสวู นเกี่ยวข้องทุกฝู ายได้ตระหนั กถึงความสำาคัญของ
การมีสูวนรูวมในการดำาเนิ นงานในด้านตูาง ๆ
16

5.5 ผ้่มีสวู นเกี่ยวข้องทุกฝู ายในโรงเรียนได้ตระหนั กและ


เรียนร้่ในการทำางานรูวมกันเพื่อให้งานบรรลุตามเป้ าหมายที่
กำาหนดไว้
17

บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การศึกษาเรื่อง การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้าง
ศักยภาพผ้่บริหารและคร่ด้านการจัดการเรียนร้่ตามแนวทางของ
เศรษฐกิจพอเพียง ผ้ว่ ิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ดังนี้
1. แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
1.1 ความเป็ นมาของเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาชาที่พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำารัส
ชี้แนะแนวทางการดำาเนิ นชีวิตแกูพสกนิ กรชาวไทยมาโดยตลอด
นานกวูา 30 ปี ตั้งแตูกูอนเกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อ
ภายหลังได้ทรงเน้นยำ้าแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และ
สามารถดำารงอยู่ได้อยูางมัน
่ คงและยัง่ ยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์
18

และความเปลี่ยนแปลงตูาง ๆ (สำานั กงานคณะกรรมการพัฒนาการ


เศรษฐกิจและสังคมแหูงชาติ, 2550 : 3)
การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนา
ที่ต้ ังอยู่บนพื้ นฐานของทางสายกลางและความไมูประมาท โดย
คำานึ งถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภ่มิคุ้มกันที่ดี
ในตัว ตลอดจนใช้ความร้่ความรอบคอบ คุณธรรม ประกอบการ
วางแผน การตัดสินใจและการกระทำาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มี
หลักพิจารณาอยู่ 5 สูวน ดังนี้
1. กรอบลักษณะ เป็ นปรัชญาที่ช้ ีแนะแนวการดำารงอยู่
และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็ น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิต
ดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนำามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และ
การมองโลกเชิงระบบการที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มูุง
เน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพื่อความมัน
่ คงและความ
ยัง่ ยืนของการพัฒนา
2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำามา
ประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติตน
ทางสายกลาง และการพัฒนาอยูางเป็ นขั้นตอน
3. คำานิ ยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3
คุณลักษณะพร้อม ๆ กัน ดังนี้
3.1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ีไมู
น้อยเกินไปและไมูมากเกินไปโดยไมูเบียดเบียนตนเองและผ้่อ่ ืน
เชูน การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
3.2 ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับ
ระดับของความเพียงพอนั้ น จะต้องเป็ นไปอยูางมีเหตุผล โดย
19

พิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำานึ งถึงผลที่คาดวูา


จะเกิดขึ้นจากการกระทำานั้ น ๆ อยูางรอบคอบ
3.3 การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัว
ให้พร้อมรับผลบกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านตูาง ๆ ที่จะเกิด
ขึ้น โดยคำานึ งถึงความเป็ นไปได้ของสถานการณ์ตูาง ๆ ที่คาดวูาจะ
เกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล
4. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดำาเนิ นกิจกรรมตูาง ๆ
ให้อยูใ่ นระดับพอเพียงนั้ น ต้องอาศัยทั้งความร้่ และคุณธรรมเป็ น
พื้ นฐาน ดังนี้
4.1 เงื่อนไขความร้่ ประกอบด้วย ความรอบร้่เกี่ยวกับ
วิชาการตูาง ๆ ที่เกี่ยวข้องอยูางรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำา
ความร้่เหลูานั้ นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการ
วางแผนและความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ
4.2 เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบ
ด้วย มีความตระหนั กในคุณธรรมมีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความ
อดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำาเนิ นชีวิต ไมูโลภ และ
ไมูตระหนี่
5. แนวทางการปฏิบัติ/ผลที่คาดวูาจะได้รบ
ั จากการนำา
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุล
และยัง่ ยืน พร้อมรับตูอการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้าน
เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความร้่และเทคโนโลยี
(สำานั กงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหูงชาติ,
2550 : 11-15)
1.2 ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง
20

สำานั กงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แหูงชาติ (สศช.). (2550 : 146-147) ได้ให้คำาจำากัดความ
“เศรษฐกิจพอเพียง” ซึ่งผ้่ทรงคุณวุฒิคณะหนึ่ งที่ติดตามพระราช
ดำารัสและพระราชกระแสอยูางใกล้ชิด และนำามาเรียบเรียงกูอนนำา
ขึ้นกราบบังคมท่ลเกล้าฯ ถวายขอพระราชทานพระบรมราชานุ ญา
ตนำาออกเผยแพรูมีใจความวูา ปรัชญาเศรษฐกิจแบบพอเพียง ชี้ถึง
แนวการดำารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแตู
ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการบริหารและ
พัฒนาประเทศให้ดำาเนิ นไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนา
เศรษฐกิจก้าวทันตูอโลกยุคโลกาภิวัฒน์ ความพอเพียง หมายถึง
ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำาเป็ นที่จะต้องมี
ระบบภ่มิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรตูอการมีผลกระทบใด ๆ อัน
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ ต้องอาศัย
ความร้่ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยูางยิ่งในการนำา
วิชาการตูาง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำาเนิ นการทุกขั้นตอน
และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้ นฐานจิตใจของคนในชาติโดย
เฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นั กทฤษฎี และนั กธุรกิจในทุกระดับให้มี
สำานึ กในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบร้่ท่ีเหมาะ
สม ดำาเนิ นชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา และ
ความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมตูอการรองรับการ
เปลี่ยนแปลงอยูางรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่ง
แวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็ นอยูางดี
คณะอนุ กรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง (2549 :
8) ได้กลูาวถึงเศรษฐกิจพอเพียงวูา เป็ นปรัชญาที่เป็ นทั้งแนวคิด
21

หลักการและแนวทางปฏิบัติตนของแตูละบุคคล และองค์กร โดย


คำานึ งถึงความพอประมาณ กับศักยภาพของตนเองและสภาวะ
แวดล้อม ความมีเหตุผลและการมีภ่มิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง โดยใช้
ความร้่อยูางถ่กหลักวิชาการด้วยความรอบคอบและระมัดระวัง
ควบคู่ไปกับการมีคุณธรรม ไมูเบียดเบียนกัน แบูงปั น ชูวยเหลือ
ซึ่งกันและกัน และรูวมมือปรองดองกันในสังคม ซึ่งจะชูวยเสริม
สร้างสายใยเชื่อมโยงคนในภาคสูวนตูาง ๆ ของสังคมเข้าด้วยกัน
สร้างสรรค์พลังในทางบวก นำาไปสู่ความสามัคคี การพัฒนาที่สมดุล
และยัง่ ยืนพร้อมรับตูอการเปลี่ยนแปลงภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์
ได้
สุเมธ ตันติเวชกุล (2542 : 53) เลขาธิการม่ลนิ ธิชัย
พัฒนา ได้สรุปความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง หรือระบบ
เศรษฐกิจที่พ่ึงตนเองได้วูา หมายถึง ความสามารถของชุมชนเมือง
รัฐ ประเทศ หรือภ่มิภาคหนึ่ ง ๆ ในการผลิตสินค้าและบริการทุก
ชนิ ดเพื่อเลี้ยงสังคมนั้ น ๆ ได้โดยพยายามหลีกเลี่ยงที่จะต้อง
พึ่งพาปั จจัยตูาง ๆ ที่เรามิได้เป็ นเจ้าของ และเศรษฐกิจพอเพียง
ในระดับบุคคลนั้ น คือ ความสามารถในการดำารงชีวิตได้โดยไมู
เดือดร้อน กำาหนดความเป็ นอยู่อยูางประมาณตนตามฐานะ ตาม
อัตภาพ และที่สำาคัญไมูหลงใหลไปตามกระแสของวัตถุนิยม มี
อิสรภาพ เสรีภาพ ไมูพันธนาการอยู่กับสิ่งใด
สุรยุทธ์ จุลานนท์ (2549 : ปาฐกถาพิเศษ) ได้กลูาวถึง
เศรษฐกิจพอเพียงไว้วูา เป็ นแนวทางที่พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวได้ทรงชี้ให้ประชาชนได้เห็นถึงแนวทางการปฏิบัติตน
ที่ควรจะเป็ น เพื่อให้สามารถดำารงชีพได้โดยที่ไมูเดือดร้อน ซึ่งที่
22

จริงแล้วก็เป็ นแนวทางที่มีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของคนไทย
และสามารถนำาไปใช้ได้ในทุกระดับ ในระดับบุคคล ครอบครัว
ชุมชน จนถึงระดับประเทศ
เกษม วัฒนชัย (2550 : 18) ได้กลูาวถึงเศรษฐกิจพอ
เพียงไว้วูา หลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นหลักการพัฒนา
อยูางยัง่ ยืนสำาหรับทุกประเทศในโลก โดยเฉพาะการสร้างความเข้ม
แข็งเพื่อรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงอันเนื่ องมาจาก
กระแสโลกาภิวัฒน์ วิทยา อธิปอนั นต์ (2542 : ไมู
ระบุหน้า) ได้สรุปความหมายไว้วูา ตามกระแสพระราชดำาริของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง เป้ า
หมายหรือปรัชญาการดำาเนิ นชีวิตหรือวิถีชีวิตของคนไทยให้อยู่
อยูางพอประมาณตน ทางสายกลาง มีความพอเพียงและพอดีโดย
ไมูทำาให้ผ้่อ่ ืนเดือดร้อน สิ่งสำาคัญต้องร้่จักพึ่งพาตนเองและ
ทรัพยากรที่เรามีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์ กูอนจะไปพึ่งพาคนอื่น
หรือปั จจัยภายนอก หรือหมายถึง การที่อุ้มช่ตนเองได้ให้มีความ
พอเพียงกับตัวเอง ครอบครัว และชุมชน
กรมวิชาการ (2542 : คำานำา) สรุปวูา “เศรษฐกิจพอ
เพียง” และ “ทฤษฎีใหมู” ตามแนวพระราชดำาริเป็ นหลักการและ
แนวทางสำาคัญในการบริหารจัดการที่ดินและนำ้าเพื่อการเกษตรใน
ที่ดินขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์ส่งสุด รวมทั้งแนวคิดการพัฒนา
เพื่อพึ่งตนเองของเกษตรกรอันเนื่ องมาจากพระราชดำาริ โดยเน้น
การชูวยเหลือและพัฒนาให้เกิดการพึ่งตนเอง อาจกลูาวโดยสรุปได้
วูา องค์พระประมุขของไทย ได้พระราชทานหลักการดำารงชีวิตของ
ประชาชนคนไทยทุกระดับ ทุกสาขาอาชีพ ตลอดจนถึงแนวทาง
23

การพัฒนาและบริหารประเทศ ให้เป็ นไปในทางสายกลาง มีความ


พอประมาณ มีเหตุผล ร้่จักพึ่งตนเอง และทรัพยากรที่เรามีอยู่ นำา
มาใช้ประโยชน์ด้วยความรอบร้่ รอบคอบ เพื่อสร้างภ่มิคุ้มกันในตัว
ให้เกิดสมดุลและพร้อมตูอการรองรับการเปลี่ยนแปลงของโลก ซึ่ง
หลักการนี้ มีความสำาคัญในการนำาไปบริหารจัดการที่ดินและนำ้าเพื่อ
การเกษตรในที่ดินที่มีจำากัดเพื่อให้เกิดประโยชน์ส่งสุด สร้างความ
มัน
่ คงด้านการดำารงชีวิตให้แกูเกษตรกรและสังคมโดยรวมของไทย
อำาพล เสนาณรงค์ (2541 : 2) ได้กลูาววูา เศรษฐกิจ
พอเพียง หมายถึง ความสามารถของชุมชนเมือง รัฐ ประเทศ
หรือภ่มิภาคหนึ่ ง ๆ ในการผลิตสินค้าและบริการทุกชนิ ดเพื่อเลี้ยง
สังคมนั้ น ๆ ได้โดยไมูต้องพึ่งพาปั จจัยตูาง ๆ ที่เราไมูได้เป็ น
เจ้าของ
กรมสูงเสริมการเกษตร (2543 : 4) ได้ขยายความ
เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงไว้วูา เป็ นการดำารงชีวิตหรือวิถีชีวิตของ
คนไทยให้อยู่อยูางพอประมาณตน เดินทางสายกลาง มีความพอดี
และพอเพียงกับตนเอง ครอบครัว และชุมชน โดยไมูต้องพึ่งพา
ปั จจัยภายนอกตูาง ๆ ที่เราไมูได้เป็ นเจ้าของ สิ่งสำาคัญต้องร้่จัก
การพึ่งพาตนเอง โดยไมูทำาให้ผ้่อ่ ืนเดือดร้อน และร้่จักการนำา
ทรัพยากรที่เรามีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดำาเนิ นชีวิตประจำา
วัน เชูน ร้่จักการนำาปั จจัยพื้ นฐานมาใช้ในการดำาเนิ นชีวิตอยูางมี
ความสุขความสบาย และพอเพียงกับตนเอง
ได้มีนักวิชาการได้แสดงทัศนและความคิดเห็นในเรื่อง
เศรษฐกิจพอเพียงในแงูมูุมตูาง ๆ โดยมีรายละเอียดดังนี้ (สำานั กผ้่
24

ตรวจราชการ กระทรวงศึกษาธิการ ประจำาเขตตรวจราชการที่ 4,


2550 : 3-6 ซึ่งอ้างใน อภิชัย พันธเสน และคณะ. 2549 : 60-68)
ปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ตามความหมายของ
ศ.นพ.ประเวศ วะสี เป็ นสูวนหนึ่ งของธรรมรัฐแหูงชาติ หรือเป็ น
สูวนหนึ่ งในระเบียบวาระรีบดูวนของชาติ อันประกอบด้วย 1)
สร้างคุณคูาและจิตสำานึ กใหมู 2) สร้างเศรษฐกิจพอเพียง 3) ปฏิร่ป
ระบบเศรษฐกิจมหภาคและการเงิน 4) ปฏิร่ประบบรัฐทั้งการเมือง
และระบบราชการ 5) ปฏิร่ปการศึกษา 6) ปฏิร่ปสื่อ 7) ปฏิร่ป
กฎหมาย ที่เมื่อเชื่อมโยงกันแล้วจะทำาให้ประเทศไทยมีฐานที่เข้ม
แข็งและเติบโตตูอได้อยูางสมดุล
เศรษฐกิจพอเพียงมีลักษณะเป็ นเศรษฐกิจสายกลาง
หรือเศรษฐกิจแบบมัชฌิมาปฏิปทาที่เชื่อมโยง/สัมพันธ์กับความ
เป็ นครอบครัว ชุมชน วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม เป็ นเศรษฐกิจท ี่
บ่รณาการเชื่อมโยงชีวิต จิตใจ สังคม สิ่งแวดล้อม และความเป็ น
ประชาสังคม ดังนั้ น อาจเรียกชื่อปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
ได้ในชื่ออื่น ๆ เชูน เศรษฐกิจพื้ นฐาน เศรษฐกิจดุลภาพ เศรษฐกิจ
บ่รณาการ หรือเศรษฐกิจศีลธรรม เศรษฐกิจพอเพียงจึงมีความ
หมายถึงความพอเพียงอยูางน้อย 7 ประการ คือ
1. พอเพียงสำาหรับทุกคน ทุกครอบครัว ไมูใชูเศรษฐกิจ
แบบทอดทิ้งกัน
2. จิตใจพอเพียง รักเอื้ ออาทรผ้อ
่ ่ ืน
3. สิ่งแวดล้อมพอเพียง อนุ รก
ั ษ์และเพิ่มพ่นสิ่ง
แวดล้อมที่จะเป็ นพื้ นฐานในการประกอบอาชีพ
25

4. ชุมชนเข้มแข็งพอเพียง รวมตัวกันแก้ไขปั ญหาตูาง


ๆ เชูน ปั ญหาสังคม ปั ญหาความยากจนหรือปั ญหาสิ่งแวดล้อม
5. ปั ญญาพอเพียง เรียนร้่รูวมกัน เทูาทันกับการ
เปลี่ยนแปลงของโลก
6. ตั้งอยูบ
่ นพื้ นฐานวัฒนธรรมพอเพียง เพราะ
เศรษฐกิจที่สัมพันธ์และเติบโตจากฐานทางวัฒนธรรม อันหมายถึง
วิถีชีวิตของกลูุมชนที่สัมพันธ์อยู่กับสิ่งแวดล้อมจึงจะเป็ นเศรษฐกิจ
มัน
่ คง
7. มีความมัน
่ คงพอเพียง ไมูผันผวนอยูางรวดเร็วจน
กระทั้งมนุ ษย์ไมูสามารถรับได้
ศ.ดร.อภิชัย พันธเสน ได้สังเคราะห์ความคิดเห็นของ
นั กเศรษฐศาสตร์ท่ีมีตูอแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง โดยคำานึ งถึง
บริบททางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม ณ ห้วงเวลาตูาง ๆ โดย
อธิบายวูา นั กเศรษฐศาสตร์ให้ความหมายแนวคิดเศรษฐกิจพอ
เพียงแตกตูางกันออกเป็ น 4 ความหมาย ประกอบด้วย
กลูุมที่หนึ่ ง อธิบายวูา ปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจพอ
เพียง เป็ นแนวคิดที่อยู่เหนื อแนวคิดเศรษฐศาสตร์ เป็ นภ่มิปัญญา
ไทย เป็ นทุนทางสังคมของประเทศ เนื่ องจากปรัชญาเศรษฐกิจพอ
เพียงมีพื้นฐานมาจากวัฒนธรรมชุมชน และเป็ นพื้ นฐานระบบ
เศรษฐกิจของสังคมไทย ซึ่งเป็ นวัฒนธรรมของคนสูวนใหญูของ
ประเทศ เป็ นปรัชญาแนวคิดที่ประยุกต์นำาศาสนามาเป็ นแนวทาง
ในการดำาเนิ นชีวิตที่จะลด “ความอยาก” ลงมาสู่ระดับที่สามารถพึ่ง
ตนเองได้
26

กลูุมที่สอง เป็ นกลูุมที่มีความเห็นตรงกันวูาปรัชญา


แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง มีสูวนประกอบที่สำาคัญ 3 สูวน ที่
เกี่ยวข้องกันและจะขาดซึ่งสูวนใดสูวนหนึ่ งมิได้ คือ ความพอดี
ความเสี่ยง และการพึ่งตนเอง โดยความพอดีจะมีลักษณะใกล้เคียง
กับดุลยภาพในวิชาเศรษฐศาสตร์ แตูจะเป็ นดุลภาพที่เป็ นพลวัต
ปรับตัวอยู่ตลอดเวลา ขึ้นอยู่กับสถานะและความเหมาะสมของ
แตูละบุคคล สูวนเรื่องความเสี่ยงนั้ น เกี่ยวข้องกับความพยายาม
ในการลด/กระจายความเสี่ยง เพื่อให้เกิดความพอดีอยูางยัง่ ยืน ดัง
นั้ น การสร้างความสามารถในการพึ่งตนเองให้ได้มากที่สุด คือ
ความพยายามในการเพิ่มขีดความสามารถในการควบคุมปั จจัย
เสี่ยงที่กูอให้เกิดความไมูแนูนอน และลดต้นทุนในการแลกเปลี่ยน
(Transaction Cost) ไมูให้ส่งเกินไป
กลูุมที่สาม มีความเห็นวูาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
เป็ นแนวคิดที่สอดคล้องกับแนวคิดเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก
เพราะเป็ นการดำาเนิ นกิจกรรมทางเศรษฐกิจภายใต้ข้อจำากัดของ
รายได้ (Budget Constraints) ภายใต้การบริหาร การกระจายความ
เสี่ยงอยูางสมดุลและมีการแลกเปลี่ยนอยูางมีประสิทธิภาพ
(Efficiency)
กลูุมที่ส่ี เป็ นกลูุมที่ให้ความคิดเห็นอื่น ๆ ที่เป็ น
ประโยชน์ในการดำาเนิ นชีวิตและการพัฒนาประเทศบนพื้ นฐาน
ความเป็ นอยู่อันควร ตั้งแตูระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึง
ระดับประเทศตามศักยภาพของประเทศ
ในทัศนะของ ศ.ดร.อภิชัย พันธเสน แนวคิดปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงมีสาระสำาคัญที่เกี่ยวข้องกับพุทธเศรษฐศาสตร์
27

ซึ่งไมูแตกตูางจากแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์อ่ ืน ๆ แตูรากฐานวิธี
คิดระหวูางพุทธเศรษฐศาสตร์แตกตูางจากเศรษฐศาสตร์กระแส
หลักอื่น ๆ ซึ่งมีพื้นฐานวิธีคิดที่มาจากความเชื่อวูามนุ ษย์มีเหตุผล
และพยายามแสวงหาความพึงพอใจส่งสุด แตูพุทธเศรษฐศาสตร์
เชื่อวูามนุ ษย์เกิดมาพร้อมกับอวิชชาหรือความไมูร้่ อันเป็ นต้นเหตุ
ของความไร้เหตุผล “ปั ญญา” ที่เกิดจากการรักษาศีลและมีสมาธิ
จะทำาให้ความไร้เหตุผลของมนุ ษย์ลดลง และอธิบายวูาการที่
แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเน้นยำ้าถึงความพอประมาณและมีเหตุผล
หรือการทำาให้ดีที่สุดโดยมีการจัดการความเสี่ยงที่เหมาะสม
(optimization through proper risk management) ทำาให้สามารถ
ประยุกต์ใช้ได้กับภาคเศรษฐกิจทุกสาขาของประเทศ
เศรษฐกิจพอเพียงในทัศนะของ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล
เป็ นปรัชญาที่วูาด้วยการวางรากฐานอันมัน
่ คง ยัง่ ยืนของบุคคลและ
สังคมที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระกรุณาธิคุณ
พระราชทานแกูพสกนิ กรชาวไทยทั้งหลายโดยไมูจำากัดเฉพาะ
เกษตรกรเทูานั้ น หากแตูผ้่ประกอบสัมมาชีพอื่น ๆ สามารถนำาไป
ปรับประยุกต์ใช้ เพื่อสร้างความเข้มแข็ง ยัง่ ยืนให้แกูรากฐานของ
ตนเองได้ และยังกลูาวถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในฐานะระบบ
เศรษฐกิจที่สามารถอุ้มช่ตนเอง (relative self-sufficiency) อยู่ได้
ระดับพื้ นฐานโดยไมูเดือดร้อนได้ จึงจะสามารถสร้างความเจริญ
ก้าวหน้าและฐานะทางเศรษฐกิจขั้นส่งตูอไปได้ โดยอธิบายวูาความ
สามารถในการอยู่ได้ในระดับพื้ นฐานต้องยึดแนวทางสายกลาง
(มัชฌิมาปฏิปทา) เป็ นหลักในการดำารงชีวิต เพื่อสร้างความ
สามารถในการพึ่งตนเอง ประกอบด้วย 1) พึ่งตนเองทางจิตใจ มี
28

จิตใจเข้มแข็งไมูท้อแท้จะประสบความล้มเหลว หรือความยาก
ลำาบาก 2) พึ่งตนเองทางสังคม ชูวยเหลือเกื้ อก่ลกันภายในสังคม
3) พึ่งตนเองได้ทางทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งทรัพยากรสังคมและ
ทรัพยากรทางเศรษฐกิจ 4) พึ่งตนเองได้ทางเทคโนโลยีวิจัยและ
พัฒนาเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับภ่มิประเทศและสังคมไทย 5) พึ่ง
ตนเองได้ทางเศรษฐกิจสามารถอยู่ได้ด้วยตนเองในระดับเบื้ องต้น
ซึ่งจะสามารถนำาไปสู่การพัฒนาประเทศในระดับมหัพภาคตูอไปได้
ด้วย ในการที่จะทำาให้ได้ผลดังกลูาวบุคคลต้องละ ลดความ
ฟู ุมเฟื อย ประกอบอาชีพด้วยความสุจริต การแสวงหาผลประโยชน์
ตั้งอยู่บนพื้ นฐานของจริยธรรม ปฏิบัติตนในทางดีและไมูหยุดนิ่ งที่
จะใฝู หาความร้่เพื่อหาหนทางให้ตนเองหลุดพ้นจากความทุกข์ยาก
ที่เป็ นอยู่ได้
เศรษฐกิจพอเพียงในทัศนะ ศ.เสนูห์ จามริก เป็ น
ระเบียบวาระแหูงโลกที่จะเป็ นกำาแพงต้าน “วัฒนธรรมลูาเหยื่อ”
ของพลังทุนนิ ยม และเทคโนโลยีภายใต้ “ระเบียบโลกใหมู” (New
Word Order) เศรษฐกิจพอเพียง คือ “การกลับฟื้ นจิตวิญญาณ
มนุ ษย์สู่ชีวิตเศรษฐกิจที่แท้จริง อันประกอบด้วยมนุ ษย์กับ
ธรรมชาติเป็ นแกูนสาร” เศรษฐกิจพอเพียง ในความหมายกระบวน
การพัฒนาของ ศ.เสนูห์ จามริก มีฐานอยู่ที่เกษตรกรรมพออยู่พอ
กิน พร้อมด้วยกระบวนการเรียนร้่ยกระดับสู่เกษตรยัง่ ยืน โดยมีไรู
นาระดับครัวเรือน เป็ นหนูวยพื้ นฐานที่กระจายออกไปเป็ นเครือ
ขูายกว้างขวางยิ่งขึ้นตามลำาดับ และพัฒนาให้มีบทบาทรอบด้าน
มากขึ้น เป็ นชูองทางสูงเสริมให้พัฒนาตนเองเป็ นอิสระจากกลไกล
ตลาดภายใต้อำานาจกำากับและควบคุมจากภายนอก
29

ปรียานุ ช พิบ่ลสราวุธ (2549 : 15) ได้สรุปปรัชญาของ


เศรษฐกิจพอเพียงไว้ดังนี้
1. แนวคิดหลัก เป็ นปรัชญาที่ช้ ีถึงแนวการดำารงอยู่และ
ปฏิบัติตนของประชาชนใน
ทุกระดับ ตั้งแตูระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งใน
การพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำาเนิ นไปในทางสายกลาง โดย
เฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันตูอโลกยุคโลกาภิวัฒน์
2. เป้ าหมาย มูุงให้เกิดความสมดุลและพร้อมตูอการ
รองรับการเปลี่ยนแปลงอยูางรวดเร็วและกว้างขวาง ทังทางวัตถุ
้ สังคม
สิงแวดล้อม
่ และวัฒนธรรม จากโลกภายนอกได้เป็นอยูางดี
3. หลักการ ความพอเพียง หมายถึง ความพอ
ประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภ่มิคุ้มกันที่ดีในตัวพอสมควร
ตูอการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอก
และภายใน
4. เงื่อนไขพื้ นฐาน (ความรู้คู่คุณธรรม)
4.1 จะต้องอาศัยความรอบร้่ ความรอบคอบ และ
ความระมัดระวังอยูางยิ่งในการนำาวิชาการตูาง ๆ มาใช้ในการ
วางแผน และการดำาเนิ นการทุกขั้นตอน
4.2 การเสริมสร้างจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะ
เจ้าหน้าที่ของรัฐ นั กทฤษฎีและนั กธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสำานึ กใน
คุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบร้่ที่เหมาะสม
ดำาเนิ นชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปั ญญา และความ
คอบร้่ 1.3 เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่
ตามแนวพระราชดำาริ
30

เศรษฐกิจพอเพียงและแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหมู
เป็ นแนวทางในการพัฒนาที่นำาไปสู่ความสามารถในการพึ่งตนเอง
ในระดับตูาง ๆ อยูางเป็ นขั้นตอน โดยลดความเสี่ยงเกี่ยวกับความ
ผันแปรของธรรมชาติ หรือการเปลี่ยนแปลงจากปั จจัยตูาง ๆ โดย
อาศัยความพอประมาณและความมีเหตุผล การสร้างภ่มิคุ้มกันที่ดี
มีความร้่ ความเพียรและความอดทน สติและปั ญญา การชูวยเหลือ
ซึ่งกันและกัน และความสามัคคี
เศรษฐกิจพอเพียงมีความหมายกว้างกวูาทฤษฎีใหมู
โดยที่ เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นกรอบแนวคิดที่ช้ ีบอกหลักการและ
แนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหมู ในขณะที่แนวพระราชดำาริเกี่ยวกับ
ทฤษฎีใหมู หรือเกษตรทฤษฎีใหมู ซึง่ เป็ นแนวทางการพัฒนาภาค
เกษตรอยูางเป็ นขั้นตอนนั้ น เป็ นตัวอยูางการใช้หลักเศรษฐกิจพอ
เพียงในทางปฏิบัติท่ีเป็ นร่ปธรรมเฉพาะในพื้ นที่ท่ีเหมาะสม
ทฤษฎีใหมูตามแนวพระราชดำาริ อาจเปรียบเทียบกับ
หลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีอยู่ 2 แบบ คือ แบบพื้ นฐานกับแบบ
ก้าวหน้า ได้ดังนี้
1. ความพอเพียงในระดับบุคคลและครอบครัวโดย
เฉพาะเกษตรกร เป็ นเศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้ นฐาน เทียบได้กับ
ทฤษฎีใหม่ข้ ันที่ 1 ที่มูุงแก้ปัญหาของเกษตรกรที่อยู่หูางไกลแหลูง
นำ้า ต้องพึ่งนำ้าฝนและประสบความเสี่ยงจากการที่น้ ำาไมูพอเพียง
แม้กระทั้งสำาหรับการปล่กข้าวเพื่อบริโภค และมีข้อสมมติวูา มี
ที่ดินพอเพียงในการขุดบูอเพื่อแก้ปัญหาในเรื่องดังกลูาว จากการ
แก้ปัญหาความเสี่ยงเรื่องนำ้า จะทำาให้เกษตรกรสามารถมีข้าวเพื่อ
การบริโภคยังชีพในระดับหนึ่ งได้ และใช้ท่ีดินสูวนอื่น ๆ สนอง
31

ความต้องการพื้ นฐานของครอบครัว รวมทั้งขายในสูวนที่เหลือเพื่อ


มีรายได้ท่ีจะใช้เป็ นคูาใช้จูายอื่น ๆ ที่ไมูสามารถผลิตเองได้
ทั้งหมดนี้ เป็ นการสร้างภ่มิคุ้มกันในตัวให้เกิดขึ้นในระดับครอบครัว
อยูางไรก็ตาม แม้กระทัง่ ในทฤษฎีใหมูข้ ันที่ 1 ก็
จำาเป็ นที่เกษตรกรจะต้องได้รบ
ั ความชูวยเหลือจากชุมชน ราชการ
ม่ลนิ ธิ และภาคเอกชน ตามความเหมาะสม
2. ความพอเพียงในระดับชุมชนและระดับองค์กร เป็ น
เศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้า ซึ่งครอบคลุมทฤษฎีใหม่ข้ ันที่ 2
เป็ นเรื่องของการสนั บสนุ นให้เกษตรกรรวมพลังกันในร่ปกลูุมหรือ
สหกรณ์ หรือการที่ธุรกิจตูาง ๆ รวมตัวกันในลักษณะเครือขูาย
วิสาหกิจ
กลูาวคือ เมื่อสมาชิกในแตูละครอบครัวหรือองค์กรตูาง
ๆ มีความพอเพียงขั้นพื้ นฐานเป็ นเบื้ องต้นแล้วก็จะรวมกลูุมกัน
เพื่อรูวมมือกันสร้างประโยชน์ให้แกูกลูุมและสูวนรวมบนพื้ นฐาน
ของการไมูเบียดเบียนกัน การแบูงปั น ชูวยเหลือซึ่งกันและกัน
ตามกำาลังและความสามารถของตน ซึ่งจะสามารถทำาให้ชุมชนโดย
รวมหรือเครือขูายวิสาหกิจนั้ น ๆ เกิดความพอเพียงในวิถีปฏิบัติ
อยูางแท้จริง
3. ความพอเพียงในระดับประเทศ เป็ นเศรษฐกิจพอ
เพียงแบบก้าวหน้า ซึ่งครอบคลุมทฤษฎีใหม่ข้ ันที่ 3 ซึ่งสูงเสริมให้
ชุมชนหรือเครือขูายวิสาหกิจสร้างความรูวมมือกับองค์กรอื่น ๆ ใน
ประเทศ เชูน บริษัทขนาดใหญู ธนาคาร สถาบันวิจัย เป็ นต้น
การสร้างเครือขูายความรูวมมือในลักษณะเชูนนี้ จะเป็ น
ประโยชน์ในการสืบทอดภ่มิปัญญา แลกเปลี่ยนความร้่ เทคโนโลยี
32

และบทเรียนจากการพัฒนา หรือรูวมมือกันพัฒนา ตามแนวทาง


เศรษฐกิจพอเพียง ทำาให้ประเทศอันเป็ นสังคมใหญูซ่ึงประกอบ
ด้วยชุมชน องค์กรและธุรกิจตูาง ๆ ที่ดำาเนิ นชีวิตอยูางพอเพียง
กลายเป็ นเครือขูายชุมชนพอเพียง ที่เชื่อมโยงกันด้วยหลักไมู
เบียดเบียน แบูงปั น และชูวยเหลือ ซึ่งกันและกันได้ในที่สุด
(สำานั กงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหูงชาติ,
2550 : 17-21)

1.4 วิถีชีวิตและเศรษฐกิจทางสายกลางในทุกระดับ
สำานั กงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ
และสังคมแหูงชาติ (2545) ขยายคำาสำาคัญตูาง ๆ ในปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ในการสัมมนาทางวิชาการประจำาปี 2542 ของ
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย เมื่อวันที่ 18-19 ธันวาคม
2542 ดังนี้
พอเพียง คือ การบริโภคและการผลิตอยู่บนพื้ น
ฐานของความพอประมาณและความไมูขัดสนแตูไมูฟูุมเฟื อย
สมดุล คือ การพัฒนาอยูางเป็ นองค์รวม มีความ
สมดุลระหวูางโลกาภิวัฒน์ (Globalization) กับอภิวัฒน์ท้องถิ่น
(Localization) มีความสมดุลระหวูางภาคเศรษฐกิจกับการเงิน และ
ภาคคนกับสังคม มีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจโครงสร้างการผลิตที่
33

สมดุล มีการผลิตหลากหลาย ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อยูางมี


ประสิทธิภาพส่งสุด
ยัง่ ยืน คือ พอเพียงอยูางตูอเนื่ องในทุกด้าน โดย
เฉพาะด้านทรัพยากรธรรมชาติและสังคมแวดล้อม มีภ่มิคุ้มกันที่ดี
ระบบเศรษฐกิจกับสังคมมีความยืดหยูุนที่สามารถก้าวทันและ
พร้อมรับตูอกระแสโลกาภิวัฒน์ ตลอดจนปรับตัวให้สามารถแขูงขัน
ได้ในตลาดโลก การบริหารจัดการที่ดีซึ่งสามารถป้ องกันและพร้อม
รับการเปลี่ยนแปลงอยูางรวดเร็ว (วิกฤติ) ได้
คุณภาพคน โดยการที่จะพัฒนาเศรษฐกิจทางสาย
กลางได้ คนต้องมีคุณภาพในด้านตูาง ๆ ดังนี้ คือ พื้ นฐานจิตใจ มี
ความสำานึ กในคุณธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีไมตรี มีความเมตตาหวังดี
ให้กันและกัน หลักการดำาเนิ นชีวิตมีความอดทน มีความเพียร ใช้
สติปัญญาคิดอยูางรอบคอบกูอน ทำาให้มีวินัย มีภ่มิคุ้มกันในการ
ดำารงชีวิต มีสข
ุ ภาพดี และมีศักยภาพ ทักษะและความรอบร้่อยูาง
เหมาะสมในการประกอบอาชีพ และหารายได้อยูางมัน
่ คง และ
พัฒนาตนเองให้ก้าวหน้าได้อยูางตูอเนื่ อง
1.5 การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในด้านต่าง ๆ
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยพื้ นฐาน
ก็คือ การพึ่งตนเองเป็ นหลัก หมายถึง การทำาอะไรอยูางเป็ นขั้น
เป็ นตอน รอบคอบ ระมัดระวัง พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะ
พอควร ความสมเหตุสมผล และการพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง
การสร้างสามัคคีให้เกิดขึ้นบนพื้ นฐานของความสมดุลในแตูละ
สัดสูวนแตูละระดับ ครอบคลุมทั้งทางด้านจิตใจ สังคม เทคโนโลยี
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงเศรษฐกิจ เราสามารถ
34

ประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในด้านตูาง ๆ ดังนี้ (ปรียานุ ช พิบ่ล


สราวุธ, 2549 : 21)
1. ด้านเศรษฐกิจ ลดรายจูาย เพิ่มรายได้ ใช้ชีวิตอยูาง
พอควร คิดและวางแผนอยูางรอบคอบ มีภ่มิคุ้มกันไมูเสี่ยงเกินไป
การเผื่อทางเลือกสำารอง
2. ด้านจิตใจ มีจิตใจเข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ มีจิตสำานึ ก
ที่ดี เอื้ ออาทร ประนี ประนอม นึ กถึงผลประโยชน์สูวนรวมเป็ นหลัก
3. ด้านสังคม ชูวยเหลือเกื้ อก่ล ร้่รก
ั สามัคคี สร้างความ
เข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน
4. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร้่จักใช้และ
จัดการอยูางฉลาดรอบคอบ เลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อยูางคุ้มคูา
และเกิดประโยชน์ส่งสุด ฟื้ นฟ่ทรัพยากรเพื่อให้เกิดความยัง่ ยืน
ส่งสุด
5. ด้านเทคโนโลยี ร้่จักใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม
สอดคล้องกับความต้องการและสภาพแวดล้อม (ภ่มิสงั คม) พัฒนา
เทคโนโลยีจากภ่มิปัญญาชาวบ้านเองกูอน กูอให้เกิดประโยชน์กับ
คนหมู่มาก
1.6 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาคน
การพัฒนาคนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การ
พัฒนาให้แตูละคนมีหลักคิดและหลักปฏิบัติในการดำาเนิ นชีวิตอยูาง
พอเพียง โดยใช้คุณธรรมนำาความร้่ เพื่อพัฒนาตนเอง/ครอบครัว /
ชุมชน/ชาติ ให้สามารถพึ่งตนเองได้และก้าวหน้าไปพร้อมกับความ
สมดุล ตลอดจนพร้อมรับตูอการเปลี่ยนแปลงในด้านตูาง ๆ
35

แนวทางการพัฒนาคนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
เป็ นการฝึ กให้คิด พ่ด-ทำา อยูางพอดี พอเหมาะ พอควร บนหลัก
เหตุผล ไมูประมาท โดยใช้สติและปั ญญาในทางที่ถ่กต้อง เพื่อเพิ่ม
ทางเลือกและพัฒนาศักยภาพของแตูละคน ให้สามารถอุ้มช่ตัวเอง
และครอบครัวได้ โดยไมูเบียดเบียนตัวเองและผ้่อ่ ืน และอยู่รวู ม
กับผ้่อ่ ืนในสังคมได้อยูางสงบสุข-ร้่รก
ั สามัคคี อยู่รูวมกับธรรมชาติ
ได้อยูางสมดุลและยัง่ ยืน และมีคูานิ ยมที่ดีงาม รูวมรักษาคุณคูา
ของความเป็ นไทย
การขับเคลื่อนหลักเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็ น
วัฒนธรรมหลักในการใช้ชีวิตของคนในสังคม ต้องมีกระบวนการ
หลูอหลอมให้ทุกคนมีความเชื่อมัน
่ และสามารถนำาหลักการนี้ ไป
ประยุกต์ใช้ได้จริงในชีวิตประจำาวัน และการศึกษาเป็ นเครื่องมือ
สำาคัญที่จะทำาให้เกิดกระบวนการดังกลูาว (สำานั กงานปลัดกระทรวง
ศึกษาธิการ, 2550 : 2)
โครงการพัฒนาแหูงสหประชาชาติ (UNDP) ประจำา
ประเทศไทย (2550 : 38) ได้กลูาวถึงเศรษฐกิจพอเพียงกับการ
พัฒนาคน วูา เป็ นพันธมิตรตามธรรมชาติกับการพัฒนาคน เพราะ
เศรษฐกิจพอเพียงกำาหนดให้คนเป็ นศ่นย์กลาง โดยมีจุดเน้นอยู่ท่ี
การมีชีวิตที่ดี มิใชูความมัง่ คัง่ มีเรื่องของความยัง่ ยืนเป็ นความคิด
แกนกลาง เข้าใจถึงความจำาเป็ นในความมัน
่ คงของคนและการเพิ่ม
ขีดความสามารถให้คนสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองได้
อยูางไรก็ตาม เศรษฐกิจพอเพียงนั้ นเป็ นเพียงพันธมิตรมิใชูคู่แฝด
ของการพัฒนาคน ทั้งนี้ เพราะเศรษฐกิจพอเพียงยังมีประเด็นเพิ่ม
เติมอีกสองเรื่อง ประการแรกเศรษฐกิจพอเพียงให้ความสำาคัญตูอ
36

การพัฒนาพื้ นฐานจิตใจและจิตวิญญาณมากกวูาโดยเฉพาะอยูางยิ่ง
เศรษฐกิจพอเพียงถือวูาการพัฒนาพื้ นฐานจิตใจนั้ นต้องเป็ นสูวน
หนึ่ งของการพัฒนาทุกชนิ ดโดยไมูอาจแยกออกจากกันได้ ประการ
ที่สอง เศรษฐกิจพอเพียงได้เสนอแนวทางในการตัดสินใจเกี่ยวข้อง
กับการใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนา ทีส
่ ามารถนำามาใช้ได้ท้ ังใน
ระดับองค์กรหรือหนูวยงาน หรือรัฐบาล ตลอดไปจนถึงปั กเจ
กบุคคล โดยที่เศรษฐกิจพอเพียงได้เสนอวูา จะตัดสินใจอยูางไร
1.7 การจัดการศึกษาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นแนวทางในการดำาเนิ น
ชีวิต แนวทางสำาหรับการตัดสินตั้งแตูเรื่องเล็ก ๆ ในชีวิตประจำาวัน
ของแตูละคน ไปจนถึงเรื่องใหญูระดับชาติ การที่จะทำาให้แนวทาง
ของเศรษฐกิจพอเพียงกลายเป็ นวัฒนธรรมหลักในการใช้ชีวิตของ
คนในสังคม จำาเป็ นต้องมีกระบวนการหลูอหลอมให้ทุกคนมีความ
เชื่อมัน
่ และสามารถนำาหลักการนี้ ไปประยุกต์ใช้ได้อยูางอัตโนมัติ
เหมือน ๆ กับการคิดเลขหรือขี่จักรยานในชีวิตประจำาวัน และการ
ศึกษาเป็ นเครื่องมือสำาคัญที่จะทำาให้เกิดกระบวนการดังกลูาว
(โครงการพัฒนาแหูงสหประชาชาติ (UNDP) ประจำาประเทศไทย,
2550 : 72)
เป้ าหมายสำาคัญของการจัดการศึกษาตามแนวทาง
เศรษฐกิจพอเพียง คือ การปล่กฝั งให้เด็กและเยาวชนร้่จักการใช้
ชีวิตที่พอเพียง เห็นคุณคูาของทรัพยากรตูาง ๆ ฝึ กการอยู่รูวมกับ
ผ้่อ่ ืนอยูางเอื้ อเฟื้ อเผื่อแพรูและแบูงปั น มีจิตสำานึ กรักษ์ส่ิง
แวดล้อม และเห็นคุณคูาของวัฒนธรรมคูานิ ยม เอกลักษณ์/ความ
เป็ นไทย
37

การจัดการศึกษาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ดำาเนิ น
การได้ใน 2 สูวน ได้แกู
1) การบริหารสถานศึกษาในด้านตูาง ๆ 2) การจัดการเรียนร้่ของผ้่
เรียน ซึ่งประกอบด้วย การสอดแทรกสาระเศรษฐกิจพอเพียงใน
หลักส่ตรและสาระเรียนร้่ในห้องเรียน และการประยุกต์หลัก
เศรษฐกิจพอเพียงในการจัดกิจกรรมพัฒนาผ้่เรียนนอกห้องเรียน
การบรรลุเป้ าหมายดังกลูาวข้างต้น คร่เป็ นบุคลากร
ที่สำาคัญในการถูายทอดความร้่ และปล่กฝั งหลักคิดตูาง ๆ ให้แกู
เด็ก โดยคร่ต้องเข้าใจอยูางถ่กต้อง สามารถวิเคราะห์ความพอ
เพียง/ไมูพอเพียงของตนเองและครอบครัวได้และทำาตัวเป็ นแบบ
อยูางที่ดีในการดำาเนิ นชีวิตแบบพอเพียง (สำานั กงานปลัดกระทรวง
ศึกษาธิการ, 2550 : 3)
สำาหรับแนวทางการนำาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ไปจัดการศึกษาในสถานศึกษา สำานั กนโยบายและยุทธศาสตร์
สำานั กงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (2550 : 1-8)
ได้สรุปแนวทางไว้ดังนี้
1. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผ้เู รียนตามแนว
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สถานศึกษาควรมูุงสูงเสริมการเรียนร้่และปล่กฝั ง
เสริมสร้างให้ผ้่เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการดำาเนิ นชีวิต
ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้
38

1.1 มีความร้่ ความเข้าใจ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอ


เพียง และตระหนั กในความสำาคัญของการดำาเนิ นชีวิตตามแนว
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้
1.1.1 มีความร้่ ความเข้าใจในการดำาเนิ นชีวิต
ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1.1.2 มีความร้่ ความเข้าใจปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง และความเชื่อมโยงกับระบบเศรษฐกิจทัว่ ไป
1.1.3 เห็นประโยชน์ และตระหนั กในความ
สำาคัญของการดำาเนิ นชีวิต ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และการใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการ พัฒนา
ตนเอง พัฒนากลูุม/โรงเรียน/ชุมชน และพัฒนาสังคมโดยรวม
1.2 มีความร้่และทักษะพื้ นฐานในการดำาเนิ นชีวิต
ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้
1.2.1 มีความร้่และทักษะพื้ นฐานในการดำารง
ชีวิตและการพัฒนาอาชีพที่เหมาะสมกับศักยภาพของแตูละบุคคล
และสอดคล้องกับภ่มิสังคมตูาง ๆ เชูน การผลิต และจำาหนูาย
สินค้า การให้บริการ การดำาเนิ นธุรกิจขนาดตูาง ๆ การใช้จูายและ
การออมการเกษตร ฯลฯ เพื่อให้สามารถอุ้มช่ตัวเองและครอบครัว
ได้
1.2.2 มีทักษะ คูานิ ยม และจริยธรรมเบื้ องต้น
ที่จำาเป็ นในการอยู่รูวมกับผ้่อ่ ืนในสังคมอยูางเอื้ อเฟื้ อเผื่อแผู
เกื้ อก่ล ไมูเบียดเบียน นำาไปสู่ความสันติสุข และร้่รก
ั สามัคคี
1.2.3 ใช้และพัฒนาทรัพยากรและสิง่ แวดล้อม
ให้เกิดประโยชน์และความสุข อยูางยัง่ ยืน
39

1.2.4 สืบสานและพัฒนาศิลปวัฒนธรรม และ


ภ่มิปัญญาท้องถิ่น หวงแหนทรัพย์สมบัติของชาติ รักและภาค
ภ่มิใจในความเป็ นไทย
1.3 ปฏิบัติตนและดำาเนิ นชีวิตตามแนวปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้
1.3.1 ปฏิบัติตนให้มีความพอประมาณ ร้่จัก
การประมาณตน ร้่จักศักยภาพของตนที่มีอยู่และร้่จักสภาพ
แวดล้อมของชุมชน/สังคม ที่อาศัยอยู่
1.3.2 ปฏิบัติตนอยูางมีเหตุผล บนพื้ นฐานของ
ความถ่กต้อง โดยใช้สติ ปั ญญา มีความรอบร้่ และรอบคอบในการ
คิด พ่ด ทำา โดยยึดทางสายกลางในการปฏิบัติ
1.3.3 มีภ่มิคุ้มกันที่ดีในตัว พร้อมรับผลกระทบ
และการเปลี่ยนแปลงด้านตูาง ๆ ทั้งภายในและภายนอก ภายใต้
กระแสโลกาภิวัฒน์
1.3.4 มีความรอบร้่ในเรื่องทีเ่ กี่ยวข้อง สามารถ
คิดวิเคราะห์และปฏิบัติด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง
1.3.5 ปฏิบัติตนและดำาเนิ นชีวิตตามแนว
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยความซื้ อสัตย์ สุจริต ขยัน อดทน
ขยันหมัน
่ เพียร แบูงปั น มีสติ ปั ญญา มีวินัย พึ่งตนเอง เอื้ อเฟื้ อ
เผื่อแผู เกื้ อก่ล มีความรับผิดชอบและอยู่รูวมกับผ้่อื้นได้อยูางมี
ความสุข

2. แนวทางในการพัฒนาผู้เรียนตามคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
40

2.1 การพัฒนาหลักสูตร มีแนวทางดำาเนิ นการ


ดังนี้
สถานศึกษาควรมีการพัฒนาหรือบ่รณาการ
เนื้ อหาสาระของเศรษฐกิจพอเพียงเข้าไปในหลักส่ตรสถานศึกษา
ตามขั้นตอน ดังนี้
2.1.1 สถานศึกษานำาคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของผ้่เรียน ตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ
เพียงมาพิจารณาปรับปรุงหรือเพิ่มเติม วิสัยทัศน์ เป้ าหมายและ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผ้่เรียนในหลักส่ตรสถานศึกษา
2.1.2 กลูุมสาระการเรียนร้่และกิจกรรม
พัฒนาผ้่เรียน ปรับปรุงหรือเพิ่มเติมมาตรฐานการเรียนร้่ในแตูละ
ชูวงชั้น ให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ เป้ าหมาย และคุณลักษณะอัน
พึงประสงค์ของผ้่เรียนตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ของหลักส่ตรสถานศึกษาที่ปรับปรุงหรือเพิ่มเติม
2.1.3 กลูุมสาระการเรียนร้่และกิจกรรม
พัฒนาผ้่เรียน ปรับปรุง เพิ่มเติม หรือ จัดทำาสาระการเรียนร้่
หนูวยการจัดการเรียนร้่และแผนการจัดการเรียนร้่ ตามลำาดับ เพื่อ
พัฒนาผ้่เรียนให้เป็ นไปตามมาตรฐานการเรียนร้่แตูละชูวงชั้นตาม
ข้อ 1.2
2.2 การจัดการเรียนการสอน
สถานศึกษาควรจัดการเรียนการสอนตามเนื้ อหา
สาระที่กำาหนดไว้ในหลักส่ตรอยูางสอดคล้องกับวิถีชีวิตของผ้่เรียน
เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ เน้นการปฏิบัติจริง เพื่อนำาไปสู่การ
41

ปฏิบัติตนที่เหมาะสมในชีวิตประจำาวัน โดยมีแนวทางดำาเนิ นการ


ดังนี้
2.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนร้่ที่เน้นการฝึ ก
ทักษะ กระบวนการคิด วิเคราะห์ การจัดการ การเผชิญ
สถานการณ์ การแก้ปัญหา ฯลฯ ที่เริม
่ จากชีวิตประจำาวัน และเชื่อม
โยงสู่ครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศชาติ และสังคมโลก
2.2.2 จัดกระบวนการเรียนร้่โดยเน้นการ
ทดลอง การปฏิบัติจริงทั้งในสถานศึกษาและแหลูงเรียนร้่ภายนอก
สถานศึกษา ทั้งในร่ปของการจัดทำาโครงการ โครงงาน และอื่น ๆ
ทั้งการศึกษารายบุคคล และเป็ นกลูุม
2.2.3 วัดและประเมินผลการเรียนร้่ให้
ครอบคลุมทั้ง 3 ด้าน ได้แกู
1) ความร้่ (Knowledge)
2) ทักษะกระบวนการ (Process) และ
3) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attribute)
2.3 การจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมภายในสถาน
ศึกษา
สถานศึกษาควรจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อม
ภายในสถานศึกษาให้เป็ นแหลูงเรียนร้่ กระบวนการเรียนร้่ ปล่กฝั ง
หลูอหลอม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และเอื้ อตูอกระบวนการ
จัดการเรียนการสอนตามหลักส่ตรสถานศึกษา โดยมีแนวทาง
ดำาเนิ นการ ดังนี้
2.3.1 จัดอาคารสถานที่ และสิ่งแวดล้อมใน
โรงเรียนที่เน้นความรูมรื่น ประโยชน์ใช้สอย เป็ นแหลูงเรียนร้่ และ
42

อนุ รก
ั ษ์สืบสานทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดล้อม ศิลปวัฒนธรรม
สถาปั ตยกรรมของท้องถิ่น และภ่มิปัญญาไทย
2.3.2 กำาหนดระเบียบ ธรรมเนี ยมปฏิบัติในสถาน
ศึกษา ที่สงู เสริมความมีระเบียบวินัย เคารพธรรมเนี ยมปฏิบัติ กฎ
กติกาของสังคมสูวนรวม เชูน การมีวินัย การเข้าคิว การรับ
ประทานอาหาร การแตูงกาย การใช้ทรัพยากรรูวมกัน ฯลฯ
2.3.3 สูงเสริมและพัฒนาบรรยากาศด้านคุณธรรม
เชูน การทำาบุญ การบริจาค การปฏิบัติ กิจการศาสนา การฝึ ก
อบรมจิต การเข้ารูวมกิจกรรมทางศาสนา การยกยูองสูงเสริมผ้่
กระทำาความดี การสูงเสริมการแบูงปั น การชูวยเหลือกันและกัน
ฯลฯ
2.3.4 สูงเสริมการแสวงหาความร้่ และเผยแพรู
ความร้่เกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เชูน การจัด
นิ ทรรศการ การจัดการประกวดในร่ปแบบตูาง ๆ การหาความร้่
ผูานสื่อเทคโนโลยีและอื่น ๆ
2.3.5 สูงเสริมการปฏิบัติตนเป็ นแบบอยูางของผ้่
บริหาร คร่ และบุคลากรในสถานศึกษา
2.3.6 จัดโครงการและกิจกรรมสูงเสริมการปฏิบัติตน
และการดำาเนิ นชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2.4 การจัดระบบบริหารจัดการของสถานศึกษา
สถานศึกษาควรมีการจัดระบบการบริหารจัดการ
ภายในสถานศึกษาตามแนว
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เอื้ อตูอการสูงเสริมสนั บสนุ นการ
จัดการศึกษา ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวทางดังนี้
43

2.4.1 ทบทวน ปรับปรุง พัฒนา โครงสร้างและ


กระบวนการบริหารจัดการให้สอดคล้องหรือรองรับการจัดการศึกษา
ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง โดยเน้นการบริหารงานตามหลักธร
รมาภิบาล มีความพอประมาณ มีเหตุผล และมีภ่มิคุ้นกันที่พร้อม
รับการเปลี่ยนแปลง
2.4.2 กำาหนดนโยบาย แผนงาน โครงการ และ
กิจกรรม และการปรับปรุงเพิ่มเติมหรือจัดทำาแผนกลยุทธ์ และ
แผนปฏิบัติงานของสถานศึกษา ให้ครอบคลุมการพัฒนาการศึกษา
ตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษา มีการ
ดำาเนิ นการตามแผนอยูางเป็ นระบบ และมีการติดตามประเมินผลอ
ยูางตูอเนื่ อง
2.4.3 พัฒนาบุคลากร ทั้งผ้บ
่ ริหาร คร่ และกรรมการ
สถานศึกษา ให้มีความร้่ความเข้าใจปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มีความพร้อมในการดำาเนิ นการตามระบบการบริหารจัดการที่
เปลี่ยนแปลง แ ละการจัดการศึกษาตามแนวทางปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งดำาเนิ นชีวิตตามแนวปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
2.4.4 จัดระบบการนิ เทศการศึกษาภายในสถานศึกษา
เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการ และกระบวนการเรียนการสอน
ให้เอื้ อตูอการจัดการศึกษาตามแนวทางในการนำาปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงไปจัดการศึกษาในสถานศึกษา
2.5 การให้ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมใน
การจัดการศึกษาของสถานศึกษา
44

สถานศึกษาควรให้ผ้่ปกครองและชุมชนเข้ามามีสูวน
รูวมในการดำาเนิ นการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในขั้นตอน
สำาคัญทุกขั้นตอน ตามแนวทาง ดังนี้
2.5.1 รูวมกำาหนดแนวนโยบาย และการวางแผน
2.5.2 รูวมให้ขอ
้ คิดเห็น ข้อเสนอแนะในกระบวนการ
พัฒนาหลักส่ตร
2.5.3 รูวมจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและการจัด
สภาพและบรรยากาศภายในสถานศึกษา
2.5.4 สูงเสริมการเรียนร้่และการปฏิบัติตามแนว
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา ทีบ
่ ้าน และสถานที่
อื่น ๆ
2.5.5 รูวมติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา

2.6 การติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
สถานศึกษาควรจัดให้มีการติดตามและประเมินผลการ
ดำาเนิ นการจัดการศึกษาตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดยมีแนวทางดำาเนิ นการ ดังนี้
2.6.1 ติดตามและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ของผ้่เรียน โดยพิจารณาจาก
1) ผลการทดสอบความร้่ ความเข้าใจพื้ นฐาน
ด้านเศรษฐกิจพอเพียง
2) ผลงานและการปฏิบัติกิจกรรมของผ้่เรียน
3) การปฏิบัติตนในชีวิตประจำาวันของผ้่เรียน
45

4) ผลการประเมินโดยผ้ประเมินภายนอก
่ หรือผ้มีสูวน

ได้สูวนเสียจากทุกภาคสูวน
2.6.2 ติดตามและประเมินความเหมาะสมของการ
ดำาเนิ นการในกระบวนการ ขั้นตอน และกิจกรรมการดำาเนิ นการใน
ด้านการพัฒนาหลักส่ตร การจัดการเรียนการสอน การจัด
บรรยากาศและสภาพแวดล้อม การจัดระบบบริหารจัดการ การให้ผ้่
ปกครองและชุมชนเข้ามามีสูวนรูวมในการจัดการศึกษาของสถาน
ศึกษา และการประเมินคุณลักษณะของผ้่เรียนอันพึงประสงค์
2.6.3 จัดให้ระบบการรายงานผลการดำาเนิ นการเป็ น
ระยะ ๆ ทั้งการรายงานภายในสถานศึกษา การรายงานตูอ
สาธารณชน และการรายงานหนูวยงานต้นสังกัดตามลำาดับ
จากแนวทางในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาตาม
ประเด็นดังกลูาข้างต้นเขียนเป็ นแผนภาพเชิงระบบที่แสดงความ
สัมพันธ์เชื่อมโยงกันได้ ดังนี้
พัฒนาผู้เรียนให้มี
ความรู้ ทักษะ และ
แผนภาพที่ 1 ความเชื่อมโยงของแนวทางการนำ
ดำาเนินา
ชีวิตตามแนว
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปจัปรั
ดการชญาของ
ศึกษาในสถานศึกษา เศรษฐกิจพอเพียง
- มีความร้ค
ู วามเข้าใจ
การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุและตระหนั
มชน กใน
มีส่วนร่วมในการดำาเนินการของสถานศึกษาทุ กด้าาคันญของการ
ความสำ
ดำาเนินชีวิตตามแนว
ปรัชญาของ

การพักฒ เศรษฐกิ จพอเพียง ้


พัฒนาหลั สูตนา
รโดย จัการจั
ดการเรีดยการเรี ยนการสอน
นการสอนที ่สอดคล้อง คุณ ลักษณะของผู
- มีความรู้ และทักษะ
บูรณาการเนื้อหา กับวิถีชีวิตของผู้เรียนโดย เรียน
พื้นฐานในการ
สาระของเศรษฐกิจ - พัฒนาทักษะกระบวนการคิด
ดำาเนินชีวิตตามแนว
พอเพียงไว้ใน วิเคราะห์ การจัดการ การเผชิญ
ปรัชญาของ
หลักสูตรสถานศึกษา สถานการณ์ การแก้ปัญหาในชีวิต
เศรษฐกิจพอเพียง
ทุกกลุ่มสาระ การ ประจำาวัน
- ปฏิบัติตนและ
46

การจัดระบบ
การจัดบรรยากาศและสภาพ
บริหารจัดการ แวดลูอมภายในสถานศึกษา
จัดระบบบริหาร จัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมให้
จัดการตามแนว เอื้อต่อการพัฒนาผู้เรียน
ปรัชญาของ - จัดอาคาร สถานที่ สิ่งแวดล้อม ให้
เศรษฐกิจพอเพียง ร่มรื่น เป็ นแหล่งเรียนรู้ สะท้อนการ

- ปรับโครงสร้างและ อนุรักษ์สืบสานทรัพยากร ศิลป

กระบวนการบริหาร วัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย


- ส่งเสริมและพัฒนาบรรยากาศด้าน
ให้สอดคล้องกับแนว
คุณธรรม
ปรัชญาของ
- ส่งเสริมการแสวงหา และเผยแพร่
เศรษฐกิจพอเพียง
ความรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง
- กำาหนดนโยบาย
- ส่งเสริมการปฏิบัติตนเป็ นแบบ

การติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา

ดำาเนินการติดตาม ประเมินผลและรายงานผล
์ ามคุณลักษณะที่พึง
- ติดตามและประเมินผลสัมฤทธิต
ประสงค์ของนักเรียน
47

ขัน
้ ตอนการดำาเนิ นการตามแนวทางการนำ า
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ที่มา : สำานั กงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ, 2550 : 6


ขั้นตอนการดำาเนิ นการตามแนวทางการนำาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงไปจัดการศึกษาในสถานศึกษา
3. ขั้นตอนในการดำาเนิ นงาน
การดำาเนิ นการตามแนวทางการนำาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงไปจัดการศึกษาในสถานศึกษา มีข้ ันตอนในการ
ดำาเนิ นการ ดังนี้
3.1 กำาหนดนโยบายการจัดการศึกษาตามแนว
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นนโยบายสำาคัญของสถานศึกษา
3.2 พัฒนาความร้่ความเข้าใจแกูบุคลากรทั้งผ้่
บริหาร คร่ และคณะกรรมการสถานศึกษา และสูงเสริมให้ปฏิบัติ
ตนตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3.3 ประชาสัมพันธ์เผยแพรูความร้่ ความเข้าใจ
แกูผ้่เกี่ยวข้องอื่น ๆ
3.4 ทบทวนหรือปรับปรุงโครงสร้างและ
พัฒนาการบริหารจัดการตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3.5 จัดทำา ปรับปรุง หรือเพิ่มเติมโครงการ
กิจกรรม และปรับแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการของสถานศึกษา
3.6 ปรับปรุงและพัฒนาหลักส่ตรของสถานศึกษา
48

3.7 จัดการเรียนการสอนตามหลักส่ตรของสถาน
ศึกษา
3.8 เสริมสร้างบรรยากาศ และสภาพแวดล้อมให้
เอื้ อตูอการจัดการเรียนร้่
3.9 จัดระบบนิ เทศ ติดตาม ประเมินผล และ
รายงานผลการดำาเนิ นการ
3.10 ให้ผ้่ปกครองและชุมชนเข้ามามีสูวนรูวมใน
การจัดการศึกษาในขั้นตอนสำาคัญทุกขั้นตอน
ดังแผนภาพแสดงขั้นตอนการดำาเนิ นการ (แผนภาพที่ 2)
49

แผนภาพที่ 2 ขัน
้ ตอนการดำาเนิ นการตามแนวทาง
การนำาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป
จัดการศึกษาในสถานศึกษา

สถานศึกษา

กำาหนดแนวนโยบายการจัดการ
ศึกษาเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเป็ น

พัฒนาความรู้ความเข้าใจแก่
บุคลากรและส่งเสริมการปฏิบัติตน

ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่
ความรู้ ความ

ปรับปรุงการบริหารจัดการ

ส่งเสริมการ ให้เป็ นไปตามแนวปรัชญา นิ เทศ


มีส่วนร่วม ติดตาม
ของผู้ ประเมิน
จัดทำา หรือเพิ่มเติมโครงการ และ
กิจกรรมและปรับแผนกลยุทธ์
50

ปรับปรุง และ
พัฒนาหลักสูตร

เสริมสร้างบรรยากาศ จัดการเรียนการ
และ สภาพ สอนตามหลักสูตร

ที่มา : สำานั กงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ, 2550 : 8

1.8 ความเป็ นมาของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอ


เพียงด้านการศึกษา
เนื่ องจากเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นเรื่องนามธรรม
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาในระยะแรกจึงเริม

จากการค้นหาตัวอยูางกิจกรรมพัฒนาผ้่เรียนที่เป็ นร่ปธรรม เพื่อ
สร้างความเข้าใจที่ถ่กต้องและชัดเจน กิจกรรมพัฒนาผ้่เรียนที่มี
คุณลักษณะและการจัดการที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง
มีดังนี้
1. พอประมาณกับศักยภาพของนั กเรียน พอ
ประมาณกับภ่มิสังคมของโรงเรียนและชุมชนที่ต้องฝึ กให้เด็กคิด
เป็ น ทำาเป็ นอยูางมีเหตุผล และมีภ่มิคุ้มกันในด้านตูาง ๆ โดยการ
ดำาเนิ นกิจกรรมต้องนำาสู่ความยัง่ ยืนของผล
51

2. สูงเสริมให้นักเรียนใช้ความร้่อยูางรอบคอบ
ระมัดระวัง ฝึ กการทำางานรูวมกับผ้่อ่ ืนด้วย ความรับผิดชอบ
ซื่อสัตย์สุจริต ไมูเอารัดเอาเปรียบผ้่อ่ ืน อดทน มีความเพียร มี
วินัย มีสัมมาคารวะ ร้่จักทำาประโยชน์ให้กับสังคม รูวมกันด่แล
รักษาสิ่งแวดล้อม และสืบสานวัฒนธรรมไทย
นอกจากนี้ ยังสูงเสริมให้บ่รณาการการเรียนร้่ผูาน
กิจกรรมเหลูานี้ เข้าไปในการเรียนร้่สาระตูาง ๆ ทุกสาระการเรียนร้่
(สำานั กงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ, 2550 : 9)
กระทรวงศึกษาธิการ ได้จัดทำายุทธศาสตร์การขับ
เคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูส
่ ถานศึกษา (พ.ศ.2550-
2554) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้สถานศึกษานำาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน การ
จัดกิจกรรมพัฒนาผ้่เรียน และการบริหารจัดการสถานศึกษา เพื่อ
ให้เกิดผลในทางปฏิบัติในทุกระดับได้อยูางมีประสิทธิภาพ และมี
ประสิทธิผล เกิดการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการดำาเนิ นชีวิต
บนพื้ นฐานของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอยูางตูอเนื่ อง มี
วิสัยทัศน์ คือ กระทรวงศึกษาธิการมูุงพัฒนาสถานศึกษาในการนำา
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปจัดการศึกษาอยูางมี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล สูงผลสู่การดำาเนิ นชีวิตตามแนวทาง
เศรษฐกิจพอเพียงของผ้่เรียน ผ้่บริหาร คร่และบุคลากรทางการ
ศึกษาอยูางตูอเนื่ อง สำาหรับเป้ าหมายนั้ น ในระยะที่ 1 ปี 2550
กำาหนดให้สถานศึกษาที่สามารถเป็ นแบบอยูางในการจัด
กระบวนการเรียนการสอนและการบริหารจัดการตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงไมูตำ่ากวูา จำานวน 80 แหูง ระยะที่ 2 ปี
52

2551-2552 พัฒนาและขยายเครือขูายสถานศึกษาที่เป็ นแบบอยูาง


ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนและการบริหารจัดการตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทุกจังหวัดเป็ นจำานวน 800 แหูง
และระยะที่ 3 ปี 2553-2554 พัฒนาให้สถานศึกษาสามารถนำาหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการจัดกระบวนการเรียนการ
สอนและการบริหารจัดการที่เหมาะสมกับบริบทของแตูละสถาน
ศึกษาได้ครบทุกแหูงทัว่ ประเทศ
ยุทธศาสตร์และแนวทางการขับเคลื่อนปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา มีดังนี้
1. ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การพัฒนาแนวทางการจัดการ
ศึกษาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แนวทางการขับเคลื่อน
1.1 ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยแนวทางการนำาแนวปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงไป
จัดการศึกษา
1.2 จัดทำาแนวทางการจัดการเรียนร้่ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนการสอน
ทุกระดับการศึกษา โดยสอดแทรกสาระเศรษฐกิจพอเพียงไว้ใน
สาระการเรียนร้่ และกิจกรรมพัฒนาผ้่เรียนเพื่อให้เกิดการพัฒนา
ตามลำาดับโดยเริม
่ ให้เกิดการพัฒนาการเรียนร้่ระดับบุคคลและ
ครอบครัว ร้จ
่ ักนำาไปประยุกต์ใช้ นำาไปขยายผลในครอบครัวและ
ชุมชนเพื่อให้เกิดประโยชน์ตูอสังคมและประเทศ
1.3 จัดทำาแนวทางการจัดระบบบริหารจัดการของ
สถานศึกษาตามแนวทางปรัชญาของ
53

เศรษฐกิจพอเพียง
2. ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การพัฒนาบุคลากร
แนวทางการขับเคลื่อน
2.1 อบรมสัมมนาผ้่บริหารการศึกษาให้เกิดความร้่
ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2.2 ฝึ กอบรมและพัฒนา ผ้่บริหารสถานศึกษา
ข้าราชการคร่และบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษากลูุมเป้ า
หมาย ให้สามารถนำาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปบ่รณา
การสู่การเรียนการสอนและการบริหารจัดการ
3. ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การขยายผลและพัฒนาเครือขูาย
แนวทางการขับเคลื่อน
3.1 ให้สถานศึกษาที่เป็ นแบบอยูางเข้าไปชูวยเหลือ
พัฒนาสถานศึกษาที่เข้ารูวมโครงการ 1:10 แหูงในการนำาหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการ
สอนและการบริหารจัดการ
3.2 ให้มีระบบการแลกเปลี่ยนเรียนร้่และสูงเสริม
สนั บสนุ น ประสานการดำาเนิ นงานของเครือขูาย
3.3 จัดทำาระบบข้อม่ลสารสนเทศและเชื่อมโยงเครือ
ขูายกับหนูวยงานที่เกี่ยวข้อง
4. ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การเผยแพรูประชาสัมพันธ์
แนวทางการขับเคลื่อน
4.1 เผยแพรูการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงในการจัดการศึกษาโดยจัดทำาสื่อร่ปแบบตูาง ๆ
54

4.2 เผยแพรูข้อม่ลขูาวสาร ความก้าวหน้าของการ


จัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
5. ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การพัฒนากระบวนการติดตามและ
ประเมินผล
แนวทางการขับเคลื่อน
ในการติดตามและประเมินผลเพื่อทราบการดำาเนิ นงาน
ด้านการจัดการเรียนการสอน การบริหารจัดการและการพัฒนา
เครือขูายโดยมีแนวทางในการดำาเนิ นงาน ดังนี้
5.1 จัดให้มีคณะกรรมการติดตามประเมินผลระดับ
กระทรวง ระดับภ่มิภาค และระดับสถานศึกษา โดยให้คณะ
กรรมการมีหน้าที่ติดตาม ประเมินผลและรายงานผล การดำาเนิ น
งานในภาพรวมระดับภ่มิภาคและสถานศึกษา
5.2 กำาหนดร่ปแบบ แนวทาง เครื่องมือและคู่มือในการ
ติดตามและประเมินผล
5.3 ดำาเนิ นการติดตามประเมินผลและรายงาน
ผล
6. ตัวชี้วัดความสำาเร็จ การติดตามประเมินผลได้
กำาหนดตัวชี้วัดความสำาเร็จไว้ 5 ด้าน คือ
6.1 ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา
6.2 ด้านหลักส่ตรและการจัดการเรียนการสอน
6.3 ด้านการจัดกิจกรรมพัฒนาผ้่เรียน
6.4 ด้านการพัฒนาบุคลากร
(กระทรวงศึกษาธิการ, 2550 : 1-8)
1.8.1 มาตรฐานการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
55

การเรียนการสอนเศรษฐกิจพอเพียงบรรจุอยู่แล้วใน
สาระการเรียนร้่สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระที่ 3
เศรษฐศาสตร์ในหลักส่ตรการศึกษาขั้นพื้ นฐาน โดยมีมาตรฐาน
เรียนร้่ (ส.3.1) ที่เน้นให้เข้าใจระบบและวิธีการของเศรษฐกิจพอ
เพียง และสามารถนำาไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำาวันได้
คณะทำางานบ่รณาการเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียน
การสอนของ
กระทรวงศึกษาธิการ ได้กำาหนดขอบเขตที่ชัดเจนในการเรียนการ
สอนหรือมาตรฐานการเรียนร้่เศรษฐกิจพอเพียงของแตูละชั้นปี
เพื่อให้ผ้่เรียนเข้าใจหลักเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนำาไป
ประยุกต์ใช้ได้อยูางเหมาะสมกับแตูละวัย ดังนี้
ช่วงชั้นที่ 1 เน้นให้เด็กใช้ชีวิตพอเพียงระดับบุคคลและ
ครอบครัว ร้จ
่ ักชูวยเหลือตนเอง และร้่จักชูวยเหลืองานใน
ครอบครัว แบูงปั นสิ่งของให้เพื่อน ชูวยเหลือผ้่อ่ ืน รักจักวิเคราะห์
รายรับ -รายจูายของตนเอง สอนให้เด็กเห็นคุณคูาของสิ่งของ
ตระหนั กถึงคุณคูาของเงินทอง จะได้ฝึกนิ สัยประหยัด ฝึ กจิตสำานึ ก
และนิ สัยพอเพียง
ช่วงชั้นที่ 2 ฝึ กให้เด็กร้่จักประยุกต์ใช้หลักความพอ
เพียงในโรงเรียนและมีสูวนรูวมในการสร้างความพอเพียงระดับ
โรงเรียนและชุมชนใกล้ตัวโดยเริม
่ จากการสำารวจทรัพยากรตูาง ๆ
ในโรงเรียนและชุมชนมีสูวนรูวมในการด่แลบำารุงรักษาทรัพยากร
ตูาง ๆ ทั้งด้านวัตถุ เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ภ่มิปัญญา วัฒนธรรม
และรวบรวมองค์ความร้่มาเป็ นข้อม่ลในการเรียนร้่วิถีชีวิต ของ
ชุมชน และเห็นคุณคูาของการใช้ชีวิตอยูางพอเพียง
56

ช่วงชั้นที่ 3 ประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงกับ
ชุมชน มีสวู นรูวมในกิจกรรมตูาง ๆ ของชุมชน สามารถสำารวจ
และวิเคราะห์ความพอเพียงในระดับตูาง ๆ และในมิติตูาง ๆ ทั้ง
ทางวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมในชุมชนใกล้ตัว เห็น
คุณคูาของการใช้หลักพอเพียงในการพัฒนาชุมชน และสามารถนำา
หลักการพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวันของแตูละคน จน
นำาไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสู่ความพอเพียงได้ในที่สุด
ช่วงชั้นที่ 4 เตรียมคนให้เป็ นคนที่ดี สามารถทำา
ประโยชน์ให้กับสังคมและประเทศชาติได้ โดยเน้นเข้าใจความพอ
เพียงระดับประเทศและการพัฒนาประเทศภายใต้กระแส
โลกาภิวัฒน์ เชูน การวิเคราะห์สถานการณ์การค้าระหวูางประเทศ
หรือการศึกษาสถานการณ์สิ่งแวดล้อมสภาพปั ญหาด้าสังคมเป็ น
อยูางไร เป็ นต้น
(สำานั กงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ, 2550 : 5-8)
1.8.2 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่สอดคล้องกับหลัก
เศรษฐกิจพอเพียง
กิจกรรมสามารถมีความหลากหลายของเนื้ อหา แล้ว
แตูตามสภาวะภ่มิสังคมของแตูละสถานศึกษา แตูท่ีสุดแล้วต้อง
ปล่กฝั งให้เด็กและเยาวชนมีวิธีคิด อุปนิ สัยและพฤติกรรม ที่
สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นกิจกรรมที่ดำาเนิ นการ
หลักโดยนั กเรียน นั กศึกษา และคร่เป็ นผ้่นำาหรือผ้ส
่ นั บสนุ น
จำานวนนั กเรียน/นั กศึกษา/คร่ ที่มีสูวนรูวมในกิจกรรมตูาง ๆ ไมู
ควรน้อยกวูา 25% ของจำานวนบุคลากรทั้งหมดของโรงเรียน
นั กเรียน นั กศึกษา ที่เข้ารูวมโครงการ ควรมีความประพฤติดี
57

สมัครใจที่จะเข้ารูวมกิจกรรม การเรียนอยู่ในระดับปานกลางถึงดี
และมีสุขภาพดี คร่ท่ีเข้ารูวมโครงการควรมีความประพฤติดี สมัคร
ใจ และมีความพร้อมในการเข้ารูวมกิจกรรม เป็ นกิจกรรมที่มูุงเน้น
ให้เกิดความก้าวหน้าไปพร้อมกับความสมดุลทางเศรษฐกิจ/สังคม/
สิ่งแวดล้อม ของสถานศึกษา และสามารถขยายผลออกสู่ชุมชนได้
พอประมาณกับภ่มิสังคม : สอดคล้องกับความ
ต้องการ/ความจำาเป็ น ของสถานศึกษา/คนในชุมชน และเหมาะสม
กับภ่มิประเทศ สภาพแวดล้อม และความคิด ความเชื่อ วิถีชีวิต
สมเหตุสมผล : มีหลักคิดและหลักปฏิบัติของกิจกรรม
ที่สอดคล้องกับหลักวิชาการที่เกี่ยวข้อง รายละเอียดของโครงการ
แสดงถึงความรอบคอบของการวางแผนดำาเนิ นโครงการ
ภ่มิคุ้นกันที่ดี : การวางแผนโครงการคำานึ งถึง ความ
เสี่ยงในการดำาเนิ นโครงการ โดยมีข้อเสนอทางเลือก หากมีการ
เปลี่ยนแปลงตูาง ๆ เกิดขึ้น
สูงเสริม ความร้่และคุณธรรมของผ้่เข้ารูวมกิจกรรม :
กิจกรรมตูาง ๆ ต้องสูงเสริมให้ผ้่เข้ารูวม มีความรอบร้่มากยิ่งขึ้น
เปิ ดโอกาสให้ได้มีการพัฒนาทักษะในด้านตูาง ๆ สูงเสริมการมี
คุณธรรม (เชูน ความมีระเบียบ มีสัมมาคารวะ ซื่อสัตย์สุจริต มี
ความกตัญญ่กตเวที มีสติปัญญา แยกแยะถ่กผิด ควรไมูควร มี
ความขยันหมัน
่ เพียร อดทน สนใจใฝู ร้่ มีจิตสำานึ กเห็นประโยชน์
ของการชูวยเหลือผ้่อ่ ืน และทำาตัวให้เป็ นประโยชน์ตูอสังคม)
ตัวอยูางกิจกรรม เชูน
1. การจัดการ การผลิต/การบริโภค ในสถานศึกษา/
ชุมชน ให้เกิดความพอเพียง และสมดุล-กินพอดี อยู่พอดี – เชูน
58

โครงการอาหารกลางวัน การสูงเสริมการผลิตเกษตรอินทรีย์ /
เกษตรผสมผสาน บนพื้ นฐานของการพึ่งตนเอง การรักษาสมดุล
ของสังคม และธรรมชาติ
2. การพัฒนาอาชีพ/สร้างรายได้เสริม โดยประยุกต์ใช้
ทรัพยากรท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์ส่งสุด หรือโดยการพัฒนา
เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม หรือตูอยอดกับภ่มิปัญญาท้องถิ่น
3. การจัดการ และการจัดระบบองค์กรความรูวมมือ
ทางการเงิน การผลิต การตลาด เชูน การทำาบัญชีรายรับ -รายจูาย
การจัดตั้งสหกรณ์ร่ปแบบตูาง ๆ การจัดตั้งธนาคารโรงเรียน
เป็ นต้น
4. การจัดการ (รักษา/ฟื้ นฟ่) ทรัพยากรธรรมชาติ /สิ่ง
แวดล้อม/ขยะ ทั้งในสถานศึกษา และในชุมชน อยูางยัง่ ยืน โดยใช้
หลักวิชาการ ความประหยัด ความรอบคอบ
5. การจัดการระบบพลังงานของสถานศึกษา/ชุมชน ให้
สามารถพึ่งตนเองได้มากขึ้น (ประหยัด ผลิตเอง / ทดแทน)
6. การอนุ เคราะห์เกื้ อก่ล ชูวยเหลือ คนยากจน ผ้ด
่ ้อย
โอกาส (เชูน ผ้่ปูวยโรคเอดส์ เด็กกำาพร้า เด็กยากจน ฯลฯ) ใน
สังคม ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ ึน
7. การสร้างจิตสำานึ ก รักท้องถิ่น/รักชุมชน เชูน การ
รักษา/ฟื้ นฟ่ประเพณี /วัฒนธรรมไทย ภ่มิปัญญาท้องถิ่น สถาน
ที่ทางประวัติศาสตร์โบราณสถาน การสร้างความร้่สึกเป็ นเจ้าของ/มี
สูวนรูวมในการพัฒนาชุมชน
8. การสร้างจิตสำานึ กรักชาติ-ศาสน์-กษัตริย์ เชูน
รณรงค์การเห็นคุณคูาของสินค้าไทย การเรียนร้่ประวัติความเป็ นมา
59

ของชาติ ความสำาคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ การเข้ารูวมใน


กิจกรรมทางศาสนาตูาง ๆ การเรียนร้่คำาสอนในศาสนา การฝึ ก
ปฏิบัติธรรม เป็ นต้น
(สำานั กงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ, 2550 : 10-15)
จากกรายละเอียดดังที่กลูาวข้างต้น สามารถสรุปเป็ นหลัก
ปฏิบัติและตัวอยูางกิจกรรมจำาแนกเป็ นด้าน ๆ ได้ดังนี้ (ปรียานุ ช
พิบล
่ สราวุธ, 2549 : 49-56)

ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา
หลักปฏิบต
ั ิ ตัวอย่างกิจกรรม
ด้านเศรษฐกิจ
1. ร้จ
ู ักการใช้จ่ายของตนเอง -บันทึกบัญชีรายรับและรายจูาย
-ใช้จูายอยูางมีเหตุมีผลอ -วิเคราะห์บัญชีรายรับและราย
ยูาง จูาย
พอประมาณ ประหยัด -แลกเปลี่ยนประสบการณ์
เทูาที่จำาเป็ น -ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ
บริโภคเพื่อลด
รายจูายที่ฟูุมเฟื อย
2. รู้จักออมเงิน มีกล -ออมอยูางพอเพียง
ไกล -สัปดาห์การออม
60

- ระบบสวัสดิการ -จัดตั้งกลูุม/สหกรณ์ออมทรัพย์
- ระบบออมเงิน
- ระบบสหกรณ์
- ระบบประกันตูาง
ๆ -ปล่กผักสวนครัวรั้วกินได้
3. รู้จักประหยัด -เลี้ยงปลา เลี้ยงไกู ไว้กิน ไว้
-ใช้และกินอยูางมี ขาย
เหตุผลไมูฟูุมเฟื อย -ใช้สินค้าที่ประหยัดพลังงาน
- ใช้พลังงานเทูาที่ -รีไซเคิลขยะเพื่อนำามาใช้ใหมู
จำาเป็ น -นำาของเหลือใช้ มาทำาให้เกิด
- ใช้ทรัพยากรอยูาง ประโยชน์
คุ้มคูา เน้นการผลิตเพื่อพึง่ ตนเอง ให้
พอเพียงกับการบริโภคและการ
ผลิตที่หลากหลาย เช่น
4. พึ่งตนเองได้ทาง -ปล่กพืชผักผสมผสาน
เศรษฐกิจโดยผลิต หรือ -ปล่กพืชสมุนไพรไทย
สร้างรายได้ ที่ -ผลิตสินค้าจากภ่มิปัญญาท้อง
-สอดคล้องกับความ ถิ่น
ต้องการ -จัดอบรมพัฒนาอาชีพในชุมชน
-สอดคล้องกับภ่มิ
สังคม
-สอดคล้องกับ พัฒนาความรู้คู่คุณธรรม ผ่าน
ภ่มิปัญญาท้องถิ่น กิจกรรมรวมกลุ่มต่าง ๆ
-สอดคล้องกับ -จัดกิจกรรมลด ละ เลิก
61

ทรัพยากรท้องถิ่น อบายมุข
ด้านสังคม -จัดกิจกรรมชูวยเหลือผ้่ด้อย
5. ร้จ
ู ักช่วยเหลือสังคม โอกาส
หรือชุมชน -จัดคูายพัฒนาเยาวชน
-ปล่กจิตสำานึ ก -จัดตั้งศ่นย์เรียนร้่ภายในชุมชน
สาธารณะ
-ปล่กฝั งความสามัคคี พัฒนาความรู้เกี่ยวกับดิน นำ้า
-ปล่กฝั งความเสียสละ ป่ า เพื่อฟื้ นฟู รักษา
-เผยแพรูองค์ความร้่ -โครงการชีววิถี
เศรษฐกิจพอเพียง -จัดอบรมการอนุ รก
ั ษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ
-จัดทำาฝายแม้ว
ด้านสิ่งแวดล้อม
6. สร้างสมดุลของ
ทรัพยากรธรรมชาติ -ปล่กฝั งมารยาทไทย
- ปล่กจิตสำานึ กรักษ์ -สูงเสริมอาหารประจำาท้องถิ่น
สิ่งแวดล้อม -สูงเสริมการใช้ภาษาประจำาท้อง
-ฟื้ นฟ่ ถิ่น
แหลูงเสื่อมโทรมในท้องถิ่น -ทำานุ บำารุงโบราณวัตถุและ
-ฟื้ นฟ่และอนุ รก
ั ษ์ โบราณสถาน
ทรัพยากรในท้องถิ่น
-ฟื้ นฟ่ด่แลสถานที่
ทูองเที่ยวในท้องถิ่น
ด้านวัฒนธรรม
62

7. สืบสานวัฒนธรรม
ไทย
-สร้างจิตสำานึ กรักษ์ -ให้ความสำาคัญกับการรักษาศีล
ไทย รักบ้านเกิด หรือสวดมนต์เป็ นประจำา
-ฟื้ นฟ่และอนุ รก
ั ษ์ -สูงเสริมการฝึ กอบรมสมาธิ
อาหารประจำาท้องถิ่น ภาวนา
-ฟื้ นฟ่และอนุ รก
ั ษ์ -รูวมกันทะนุ บำารุงศาสนา
ดนตรีไทยและ -พัฒนาภ่มิปัญญาท้องถิ่น
เพลงไทย -รณรงค์การใช้สินค้าไทย
-ฟื้ นฟ่และอนุ รก
ั ษ์วัตถุ
โบราณและโบราณ
สถาน

8. ส่งเสริมพระพุทธ
ศาสนา
-ปล่กจิตสำานึ ก
ความรักชาติ
-ตระหนั กถึงคุณคูา
ของพระพุทธศาสนา
-จงรักภักดีตูอพระ
มหากษัตริย์
63

2. การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research)


การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (action research) เป็ นกระบวนการ
วิจัยอีกร่ปแบบหนึ่ งที่มีวิธีการอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ใน
การค้นหาความร้่ความจริง ในปั จจุบันการวิจัยเชิงปฏิบัติการได้ถ่ก
นำามาใช้ในองค์กรหรือในสถาบันการศึกษาตูาง ๆ อยูางมากมาย
โดยจุดประสงค์หลักเพื่อนำาวิธีการมาใช้ในการแก้ปัญหาที่กำาลังเกิด
ขึ้นในระหวูางการทำางาน หรือนำามาใช้เพื่อต้องการเปลี่ยนแปลงสิ่ง
ที่ต้องการปรับให้มีการพัฒนาไปในทางที่ดีข้ ึน โดยผ้่ปฏิบัติเป็ นผ้่
ดำาเนิ นการเอง เนื่ องจากกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการสามารถ
ยืดหยูุนให้สอดคล้องกับสภาพที่เกิดขึ้นจริง โดยไมูมีการควบคุม
ตัวแปรใด ๆ ทั้งสิ้นในระหวูางการดำาเนิ นการ ปลูอยให้เหตุการณ์
ดำาเนิ นไปอยูางเป็ นธรรมชาติ ดังนั้ น ในการวิจัยครั้งนี้ ผ้ว่ ิจัยจึงได้
เลือกใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการในการพัฒนาการจัดการ
เรียนการสอนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง โดยผ้่วิจัยขอเสนอ
รายละเอียดเกี่ยวกับการวิจัยเชิงปฏิบัติการตามประเด็น ดังนี้
1. ความหมายของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
การวิจัยเชิงปฏิบัติการ ได้มีนักวิชาการได้ให้ความ
หมายไว้ ดังตูอไปนี้
64

Anderson (1956 อ้างใน วิรุฬห์ นิ ลโมจน์, 2528 :


46) ได้อธิบายวูา การวิจัยเชิงปฏิบัติการเป็ นวิธีการในการประเมิน
ผลแบบใหมูวิธีการหนึ่ ง การวิจัยเกิดขึ้นโดยมีจุดมูุงหมายเพื่อปิ ด
ชูองวูางระหวูางการปฏิบัติกับความร้่ เป็ นการนำาทฤษฎีมาทดสอบ
กับสภาพแวดล้อมที่เป็ นจริงในโรงเรียน การวิจัยเชิงปฏิบัติการเป็ น
เสมือนสิ่งเร้าที่กระตุ้นให้คร่ ศึกษานิ เทศก์ และผ้บ
่ ริหารเปลี่ยนวิธี
การในการประเมินผลที่เป็ นอัตนั ย (subjective) และไมูมีกฎเกณฑ์
แนูนอนให้เป็ นการประเมินผลที่อาศัยข้อม่ลที่เป็ นปรนั ย
(objective) มากยิ่งขึ้น
Borg (1965 อ้างใน วิรุฬห์ นิ ลโมจน์, 2528 : 47)
กลูาววูา การวิจัยเชิงปฏิบัติการเน้นความสัมพันธ์ระหวูางคร่กับ
ปั ญหาสำาคัญ ๆ ที่เกิดขึ้นในห้องเรียน เป้ าหมายสำาคัญของการวิจัย
เชิงปฏิบัติการ คือ การฝึ กอบรมคร่ระหวูางปฏิบัติงาน และการ
พัฒนาคร่มากกวูาที่จะมูุงค้นหาความร้่ทางศึกษาศาสตร์ การวิจัย
เชิงปฏิบัติการมูุงที่การฝึ กอบรมคร่ระหวูางปฏิบัติงานและการแก้
ปั ญหาในห้องเรียน โดยการชูวยให้คร่เข้าใจวิธีการทางวิทยาศาสตร์
มองเห็นคุณคูาของข้อม่ลทางวิทยาศาสตร์
Good (อ้างใน วิรุฬห์ นิ ลโมจน์, 2528 : 47) ให้ราย
ละเอียดเกี่ยวกับการวิจัยเชิงปฏิบัติการวูา การวิจัยเชิงปฏิบัติการ
หรือการวิจัยแบบรูวมมือกัน หรือการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบรูวม
มือกัน เป็ นความพยายามอยูางหนึ่ งที่จะจัดกระบวนการวิจัยให้
เหมาะสมกับการศึกษา ปั ญหา และการแก้ปัญหาในโรงเรียน และ
ปรับปรุงการเรียนการสอน การวิจัยเชิงปฏิบัติการเป็ นการวิจัยที่
65

ดำาเนิ นการโดยคร่ โดยถือวูาเป็ นสูวนหนึ่ งของกิจกรรมการสอนของ


คร่ ทั้งนี้ ได้รบ
ั คำาปรึกษาและความรูวมมือจากผ้่เชี่ยวชาญ
เคมมิส และแมกเทกการ์ด (Kemmis and McTaggart,
1988/2538 : 12) ได้ให้ความหมายการวิจัยเชิงปฏิบัติการวูา เป็ น
ร่ปแบบของวิธีการศึกษาค้นคว้าแบบสูองสะท้อนตนเองเป็ นหมู่
คณะของกลูุมผ้่ปฏิบัติงานในสถานการณ์ทางสังคม เพื่อต้องการที่
จะพัฒนาลักษณะที่ชอบธรรมและความชอบด้วยเหตุผลของวิธีการ
ปฏิบัติงาน เพื่อให้ได้ร่ปแบบหรือแนวทางไปใช้ในการพัฒนา
คุณภาพการปฏิบัติงานนั้ น ในลักษณะเดียวกันเป็ นภาวะของสังคม
และสถานการณ์ท่ีเกี่ยวข้อง กลูุมผ้่รูวมงานการวิจัยนี้ อาจรวมถึงคร่
นั กเรียน ผ้่บริหารโรงเรียน ผ้่ปกครองนั กเรียน และสมาชิกใน
ชุมชนอื่น ๆ ที่มีสูวนเกี่ยวข้องกลูุมใดก็ได้ท่ีสนใจรูวมกัน
Dick (1995 อ้างใน กิตติพร ปั ญญาภิญโญผล, 2540 : 8)
ได้ให้ความหมายการวิจัยเชิงปฏิบัติการวูา เป็ นวิจัยแบบหนึ่ งที่ชูวย
ผ้่วิจัยพัฒนาความร้่ หรือความเข้าใจในสูวนของการปฏิบัติ คือ ผ้่
วิจัยลงมือกระทำา (action) ให้อยู่ร่ปที่สามารถทำาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลง (action : change) และขณะเดียวกัน การวิจัย
(research) ชูวยพัฒนาให้เกิดความเข้าใจ (research :
understanding) เพิ่มขึ้นจากสิ่งที่ทราบอยู่แล้ว
วิรุฬห์ นิ ลโมจน์ (2528 : 50) ให้ความหมายการวิจัยเชิง
ปฏิบัติการวูา เป็ นการวิจัยที่มีจุดมูุงหมายเฉพาะหน้าและนำาผลไป
ใช้ในการปฏิบัติงานในทันที (here – and – now) กับเฉพาะกลูุม
ที่ทำาวิจัย และกับสภาพการณ์เฉพาะเทูานั้ น
66

วิชัย วงษ์ใหญู (2537 : 10) ให้ความหมายการวิจัยเชิง


ปฏิบัติการวูา การแสวงหาวิธีการแก้ปัญหาการศึกษาที่เกิดขึ้นจาก
การปฏิบัติจริง มีลักษณะการดำาเนิ นการเป็ นบันไดเวียน (spiral)
และสามารถดำาเนิ นการวิจัยได้หลายระดับ ทั้งในระดับห้องเรียน
และระดับโรงเรียน กลูุมผ้่รูวมงานการวิจัยอาจรวมถึงคร่ นั กเรียน
ผ้่บริหารโรงเรียน ผ้ป
่ กครองและสมาชิกในชุมชน
กิตติพร ปั ญญาภิญโญผล (2540 : 9) ให้ความหมายการวิจัย
เชิงปฏิบัติการวูา การศึกษาค้นคว้าเพื่อหาวิธีการแก้ปัญหา
ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง เพื่อพัฒนาคุณภาพของงานที่ตนกำาลัง
ปฏิบัติอยู่ และขณะเดียวกันสร้างความเข้าใจถึงสภาพและ
กระบวนการเปลี่ยนที่เกิดขึ้น โดยผูานกระบวนการของวงจรแบบ
บันไดเวียน ข้อม่ลที่รวบรวมได้ระหวูางดำาเนิ นงานเป็ นฐานของการ
ปรับแก้ไขในขั้นถัดไป
สุภางค์ จันทวานิ ช (2540 : 68) ให้ความหมายการวิจัยเชิง
ปฏิบัติการวูา กระบวนการที่ผ้่วิจัยได้เลือกกิจกรรมอยูางใดอยูาง
หนึ่ งที่เห็นวูาดี เหมาะสม ตามความร้่ความเข้าใจของวิจัย มา
ดำาเนิ นการปฏิบัติเพื่อทดลองวูาใช้ได้หรือไมู ประเมินด่ความเหมาะ
สมในความเป็ นจริง ควบคุมแนวทางปฏิบัติการ แล้วนำาผลมา
ปรับปรุงปฏิบัติการเพื่อนำาไปทดลองใหมูจนกวูาจะได้ผลเป็ นที่นูา
พอใจนำาไปใช้และเผยแพรูได้
ศ่นย์บริการศึกษานอกโรงเรียนอำาเภอหนองเรือ (2545 : 1 )
ได้อธิบายวูา การวิจัยเชิงปฏิบัติการ หรือเรียกกันติดปากวูา
Action Research เป็ นการวิจัยของกลูุมปฏิบัติงานรูวมกันที่
ต้องการจะพัฒนาร่ปแบบการปฏิบัติงานหรือการพัฒนางานที่
67

เหมาะสมและคุณภาพให้สอดคล้องกับความต้องการของ
สถานการณ์ของสังคมนั้ น ๆ เชูน ในสถานศึกษา กลูุมผ้่ปฏิบัติงาน
อาจประกอบด้วย ผ้่บริหาร คร่ผ้่ปกครอง นั กเรียน หรือนั กศึกษา
และสมาชิกในชุมชนอื่น ๆ ที่มีสูวนเกี่ยวข้อง วิธีการวิจัยจะเป็ นไป
ได้ก็ตูอเมื่อได้รบ
ั ความรูวมมือจากกลูุมบุคคลเหลูานี้ ในการ
วิเคราะห์การทำางานของตนเองและกลูุมอยูางถี่ถ้วน ด้วยวิธีการ
สะท้อนความคิดเห็นการแลกเปลี่ยนความเห็นตูอการทำางานของ
ตนเองและกลูุมผ้่รูวมการวิจัย
ประจิต เอราวรรณ์ (2545 : 5) ได้ให้ความหมายของการวิจัย
เชิงปฏิบัติการวูา หมายถึง กระบวนการศึกษาค้นคว้ารูวมกันอยูาง
เป็ นระบบขงอกลูุมปฏิบัติงาน เพื่อทำาความเข้าใจตูอปั ญหาหรือข้อ
สงสัยที่กำาลังเผชิญอยู่ และให้ได้แนวทางการปฏิบัติหรือวิธีการ
แก้ไขปรับปรุงที่ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีข้ ึนในการปฏิบัติงาน
ซึ่งถ้ากลูาวในบริบทของโรงเรียน ก็คือ การวิจัยที่เกิดขึ้นใน
โรงเรียนและชั้นเรียน โดยที่คร่พยายามปรับปรุงการจัดการเรียน
การสอนของตนเอง จากการสูองสะท้อนตนเอง การหาข้อสรุปเพื่อ
แก้ปัญหาที่กำาลังเผชิญอยู่ รวมทั้งการใช้ความเข้าใจและมโนทัศน์
ของตนเองมากกวูาของผ้่เชี่ยวชาญ การวิจัยปฏิบัติการจึงเป็ นการ
เปิ ดโอกาสให้ผ้่ปฏิบัติงานและผ้่เกี่ยวข้องได้ใช้ความสามารถหรือ
ควบคุมสภาพการณ์ท่ีเป็ นอยู่ด้วยตนเอง
นุ ชวนา เหลืออังก่ร (2550 : 1 ) ได้ให้ความหมายของการ
วิจัยเชิงปฏิบัติการวูา เป็ นการวิจัยที่เน้นการพัฒนาหรือแก้ปัญหา
โดยอาศัยการทำางานรูวมกันของทีมผ้่รูวมวิจัย มีวงจรการพัฒนาตูอ
เนื่ องจนกวูาผลการพัฒนาจะเป็ นที่พ่ึงพอใจ
68

ยาใจ พงษ์บริบร่ ณ์ (2550 : 2) ได้เสนอกรอบแสดงลักษณะ


ของการวิจัยเชิงปฏิบัติการทางการศึกษา (Action research in
education) ดังตูอไปนี้ คือ
1. เป็ นการวิจัยแบบมีสูวนรูวมและมีการรูวมมือ
(participation and collaboration) ใช้การทำางานเป็ นกลูุม ผ้่รูวม
วิจัยทุกคนมีสูวนสำาคัญและมีบทบาทเทูาเทียมกันในทุก
กระบวนการของการวิจัยทั้งการเสนอความคิดเชิงทฤษฎี และการ
ปฏิบัติ ตลอดจนการวางนโยบายการวิจัย
2. เน้นการปฏิบัติ (action orientation) การวิจัยชนิ ดนี้ ใช้การ
ปฏิบัติเป็ นสิ่งทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง และศึกษาผลของการ
ปฏิบัติเพื่อมูุงให้เกิดการพัฒนา
3. ใช้การวิเคราะห์วิจารณ์ (critical function) การวิเคราะห์
การปฏิบัติการอยูางลึกซึ้งจากสิ่งที่สังเกตได้ จะนำาไปสู่การตัดสินใจ
ที่สมเหตุสมผลเพื่อการปรับแผนการปฏิบัติการ
4. ใช้วงจรการปฏิบัติการ (the action research spiral) ตาม
แนวคิดของเคมมิส และ
เมคทาคกาท คือ การวางแผน (planning) การปฏิบัติ (action)
การสังเกต (observing) และการสะท้อนการปฏิบัติการ (reflecting)
ตลอดจนการปรับปรุงผล (re-planning) เพื่อนำาไปปฏิบัติในวงจร
ตูอไปจนกวูาจะได้ร่ปแบบของการปฏิบัติงานที่เป็ นที่พึงพอใจ และ
ได้ข้อเสนอเชิงทฤษฎีเพื่อเผยแพรูตูอไป
สุพัฒน์ มีสกุล (2546 : 8) ได้ให้ความหมายของการวิจัยเชิง
ปฏิบัติการวูา คือ กระบวนการค้นหาวิธีการที่นำามาใช้ในการแก้
ปั ญหาที่กำาลังเกิดขึ้นอยู่ในชูวงของการปฏิบัติงาน กระบวนการนั้ น
69

จะต้องมีการปฏิบัติอยูางมีระบบและความตูอเนื่ องเป็ นแบบเกลียว


สวูาน เพื่อให้ได้ผลที่เกิดจากการปฏิบัติงานมคุณภาพมากที่สุด
ประอร สุนทรวิภาต (2551: 1) ได้ให้ความหมายวูา การวิจัย
เพื่อแก้ปัญหาเฉพาะและมูุงนำาผลการวิจัยมาแก้ปัญหาหรือ
ปรับปรุงและพัฒนาการดำาเนิ นงานในเรื่องใดเรื่องหนึ่ งเป็ นสำาคัญ
โดยเฉพาะอยูางยิ่งในเรื่องของการเรียนการสอน ซึ่งคร่ อาจารย์ ที่
เป็ นผ้่สอน ผ้ร่ บ
ั ผิดชอบให้กระบวนการเรียนการสอนบรรลุผลตาม
วัตถุประสงค์ของแตูละวิชานั้ น จำาเป็ นที่จะต้องมีองค์ความร้่และ
สามารถทำาการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการเรียนการ
สอนที่ตนรับผิดชอบ เพื่อให้ได้แนวทางในการปรับปรุงและ
พัฒนาการเรียนการสอนให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ได้อยูางมี
ประสิทธิภาพ
คงศักดิ์ ธาตุทอง (2549 : 1-2) ได้กลูาวถึงการวิจัยเชิง
ปฏิบัติการไว้ดังนี้
1. การวิจัยเชิงปฏิบัติการ เป็ นการวิจัยอยูางเป็ นระบบ
เกี่ยวข้องกับความรูวมมือในการเก็บ
รวบรวมข้อม่ลและการสะท้อนข้อม่ลที่ได้อยูางพินิจพิเคราะห์ เพื่อ
นำาผลที่ได้ไปใช้ในการปรับปรุงการปฏิบัติการอยูางตูอเนื่ องจนเป็ น
ที่พอใจของผ้่วิจัย
2. การวิจัยเชิงปฏิบัติการ เป็ นการค้นหาปั ญหาเพื่อการ
ปรับปรุงและทำาความเข้าใจปั ญหา
ด้วยการกระทำาและเรียนร้่จากผลของการกระทำานั้ น ๆ
3. การวิจัยเชิงปฏิบัติการ เป็ นการทำาวิจัยในงานของผ้่วิจัย
และงานของกลูุมผ้่รูวมวิจัย เป็ น
70

การทำางานรูวมกันของผ้่ท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อชูวยพัฒนาทั้งงานของผ้่
วิจัยทำาและงานของผ้่รูวมวิจัยไปพร้อม ๆ กันในการทำางานรูวมกัน
ผ้่วิจัยต้องมองวูาผ้่รูวมวิจัยเป็ นคนที่มีชีวิตจิตใจไมูใชูวัตถุ พร้อม
ทั้งชูวยกระตุ้นให้เกิดการทำางานรูวมกันอยูางมีจุดหมายและชูวยให้
ผ้่รูวมงานสร้างประวัติศาสตร์ผลงานด้วยตัวของเขาเอง
4. การวิจัยเชิงปฏิบัติการไมูใชูแคูการนำาเอาวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์มาใช้ในการเรียนการ
สอน โดยการตั้งสมมติฐาน ทดสอบสมมติฐาน สรุปและตีความ
จากข้อม่ลเทูานั้ น การทำาวิจัยดังกลูาวคนจะถ่กมองคล้ายเป็ นวัตถุ
สิ่งของเทูานั้ น แตูการวิจัยเชิงปฏิบัติการใช้แนวคิดทางวิทยาศาสตร์
จะเกี่ยวข้องกับบุคคลและการพัฒนาให้ดีข้ ึน การวิจัยเชิงปฏิบัติการ
จะเป็ นระบบที่หมุนไปเรื่อยเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งตัวผ้่ทำา
วิจัยและสถานการณ์แวดล้อม (Henry&kemmis 1985)
จากความหมายที่นักวิชาการได้ให้ความหมายไว้ ผ้ว่ ิจัยขอ
สรุปการวิจัยเชิงปฏิบัติการวูาเป็ นกระบวนการวิจัยประเภทหนึ่ ง ซึ่ง
ใช้กระบวนการปฏิบัติอยูางมีระบบ ซึ่งผ้่วิจัยและผ้่เกี่ยวข้องมีสูวน
รูวมในการปฏิบัติและวิเคราะห์วิจารณ์ผลการปฏิบัติการ โดยมีข้ ัน
ตอนการดำาเนิ นงานวิจัย 4 ขั้น คือ การวางแผน การลงมือปฏิบัติ
การสังเกต และการสะท้อนผลการปฏิบัติ ซึ่งทั้ง 4 ขั้นตอนจะ
เป็ นการทำางานรูวมกันระหวูางผ้่วิจัยและผ้่เกี่ยวข้อง และการ
ดำาเนิ นการจะเป็ นลักษณะตูอเนื่ องไปจนกวูาจะได้ข้อสรุปที่แก้ไขได้
จริง หรือพัฒนาสภาพการณ์ของสิ่งที่ได้อยูางมีประสิทธิภาพ
2. วิธีการของเลวินต่อการปฏิบัติการ
71

Kurt Lewin ผ้่วิจัยได้อ้างใน สุพัฒน์ มีสกุล, 2546 : 8-11


ซึ่งได้อ้างใน เคมมิสและ
แมคทาคกาท (Kemmis and Mc.Taggart, 1988 : 16) ได้อธิบาย
วูา การวิจัยปฏิบัติการเหมือนกับการดำาเนิ นงานในลักษณะของการ
หมุนรอบตัวเป็ นขั้น ๆ แบบเกลียวสวูาน ประกอบด้วย การ
วางแผนการปฏิบัติการ และการประเมินผลของการปฏิบัติ วิธีการ
วิจัยเริม
่ ด้วยแนวคิดทัว่ ไปเกี่ยวกับการปรับปรุง หรือเปลี่ยนแปลง
สิ่งที่ต้องการตัดสนใจวูาจะเริม
่ ปรับปรุงที่ไหน โดยคณะผ้่ดำาเนิ น
การกำาหนดขอบเขตของกลูุมปั ญหาสำาคัญรูวมกันในการทำางาน
กลูุมจัดแนวการแก้ปัญหาในร่ปแนวคิดที่สนใจรูวมกัน (thematic
concern) กลูุมจะตัดสินใจวูาจะเริม
่ ปฏิบัติการแก้ไขเปลี่ยนแปลง
ณ จุดใด โดยศึกษาจากเหตุการณ์ท่ีผูานมาแล้วตัดสินใจวูาที่ใดนูา
จะได้รบ
ั ผลจากการดำาเนิ นงาน นั้ นคือ การสำารวจสถานการณ์ทัว่ ๆ
ไปในขณะนั้ น ๆ ซึ่งในการสำารวจและกำาหนดการเบื้ องต้นนี้ เป็ น
ความต้องการหรือความประสงค์ของคณะผ้่ปฏิบัติการที่มีจุดมูุง
หมายจะปฏิบัติการแก้ไขสภาพงานของตนเองในลักษณะของการ
ปรับปรุงงาน
นอกจากนั้ น Kurt Lewin ( สุพัฒน์ มีสกุล, 2546 : 8-11
ซึ่งได้อ้างใน เคมมิสและแมคทาคกาท (Kemmis and Mc.Taggart,
1988 : 19-21) ได้เสนอแนวคิดที่สนใจรูวมกันและจุด “สำาคัญ” สี่
จุดของการปฏิบัติการ ซึ่งการกำาหนดแนวคิดที่สนใจรูวมกันของ
กลูุม จะต้องกำาหนดตามหลักเกณฑ์พื้นฐาน 4 ประการ หลัก
เกณฑ์ท้ ัง 4 นี้ เกี่ยวข้องกัน และพัฒนาตูอเนื่ องกันเป็ นวงจร และ
72

หมุนเป็ นวงกลมเจาะลึกลงเข้าไปแบบสวูาน ในการทำาวิจัยปฏิบัติ


การ กลูุมและสมาชิกจะต้องปฏิบัติ ดังนี้
1) พัฒนาแผนการปฏิบัติเพื่อปรับปรุงสิ่งที่เกิดขึ้นแล้วให้ดี
ขึ้น
2) ปฏิบัติการตามแผน (นำาแผนไปใช้ปฏิบัติ)
3) สังเกตผลการปฏิบัติ
4) สะท้อนผลของการปฏิบัติน้ ี ให้เป็ นพื้ นฐานของการ
วางแผนงานตูอไปอยูางตูอเนื่ องตลอดวงจร
ซึ่งในการวิจัยปฏิบัติการจะต้องประกอบด้วย การวางแผน
การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนอยูางรอบคอบเป็ นระบบ
และเข้มงวดกวดขันในการดำาเนิ นงาน โดยนำาความสัมพันธ์ระหวูาง
กิจกรรมที่หมุนไปในกระบวนการเหลูานี้ มาใช้ ซึ่งเป็ นกระบวนที่
ทำาให้เกิดการพัฒนาและกูอให้เกิดการเรียนร้่ โดยผ้่วิจัยได้สรุปและ
แยกหัวข้อการนำาเสนอ ( สุพัฒน์ มีสกุล, 2546 : 8-11 ได้อ้างใน
เคมมิสและแมคทาคกาท (Kemmis and Mc.Taggart, 1988 : 22-
28) ดังนี้
1. การวางแผน (Plan) แผน คือ การปฏิบัติงานที่มี
โครงสร้างและตามคำาจำากัดความหรือแนวทางปฏิบัติซึ่งตั้งความ
หวังไว้เป็ นการมองไปในอนาคตข้างหน้า การกำาหนดแผนต้องมี
ความยืดหยูุนเพื่อที่จะสามารถปรับให้เข้ากับความเปลี่ยนแปลง
และความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นได้ กิจกรรมหรือการปฏิบัติที่กำาหนด
ไว้ในแผนจะต้องมี 2 ลักษณะ คือ ลักษณะแรก ต้องพิจารณาเกี่ยว
กับความเสี่ยงอันเนื่ องมาจากความเปลี่ยนแปลงทางสังคมและ
ความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นในสภาพการณ์จริง ลักษณะที่สอง คือ
73

กิจกรรมที่ถ่กเลือกมากำาหนดในแผน จะต้องได้รบ
ั เลือกมา
เนื่ องจากกิจกรรมนั้ นสามารถปฏิบัติได้ดีกวูากิจกรรมอื่น ๆ ลด
ความขัดแย้ง และชูวยให้เกิดพลังในการปฏิบัติท่ีเหมาะสมกวูา
และมีประสิทธิภาพส่งกวูา ผ้่รูวมงานจะต้องให้ความรูวมมือรูวมใจ
ในการอภิปราย (ทั้งในแงูทฤษฎีและปฏิบัติ) เพื่อให้เกิดการ
วิเคราะห์ และปรับปรุงการกำาหนดแผนงานที่สามารถปฏิบัติใน
สภาพการณ์ท่ีเป็ นอยู่
2. การปฏิบัติ (action) เป็ นการปฏิบัติงานจะต้องดำาเนิ นตาม
แนวที่ได้วางไว้อยูางมีเหตุผล และมีการควบคุมอยูางสมบ่รณ์ แตู
การปฏิบัติจากแนวที่วางไว้มีโอกาสของการเสี่ยงอยู่ด้วยเนื่ องจาก
ต้องทำาให้เกิดขึ้นจริงตามเหตุการณ์ทางการเมืองและสภาพการณ์
จริง ดังนั้ น แผนที่วางไว้สำาหรับการปฏิบัติจะต้องสามารถแก้ไขได้
โดยการกำาหนดให้มีความยืดหยูุนและพร้อมที่จะเปลี่ยนแปลงตาม
ผลการตัดสินใจเกี่ยวกับการกระทำานั้ น ๆ
3. การสังเกต (observe) ทำาหน้าที่เก็บบันทึกข้อม่ลเกี่ยวกับ
ผลที่ได้จากการปฏิบัติงานอยูางมีรายงานหลักฐานเชิงวิจารณญาณ
การสังเกตต้องมองไปข้างหน้า การสังเกตอยูางรอบคอบและ
ระมัดระวังเป็ นสิ่งจำาเป็ นเนื่ องจากการปฏิบัติน้ ั นจะมีข้อจำากัดจาก
การบีบบังคับของสภาพความเป็ นจริง การสังเกตต้องมีการ
วางแผนจนกระทั้งได้ข้อม่ลเป็ นเรื่องราวสะท้อนตูอเนื่ อง และ
สอดคล้องตูอกัน ข้อม่ลจากการสังเกตต้องตอบสนองและเปิ ด
กว้าง ต้องมองหลายแงูหลายมุมในทุก ๆ ด้าน ผ้่สงั เกตจะต้องมี
ความไวในการจับภาพหรือเหตุการณ์ที่ไมูคาดคิดวูาจะเกิดขึ้น นั ก
วิจัยปฏิบัติการจะต้องรายงานผลการสังเกตอยูางครบถ้วน สังเกต
74

กระบวนของการปฏิบัติ และผลของการปฏิบัติ (ทั้งที่ต้ ังใจและไมู


ตั้งใจ) สังเกตสถานการณ์และข้อขัดข้องของการปฏิบัติ สังเกตวิธี
การกระทำาอยูางใดอยูางหนึ่ งที่มีอิทธิพลหรือมีผลเกี่ยวเนื่ อง และ
ปั ญหาอื่น ๆ ที่เกิดขึ้น ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแผนการทำางาน
4. การสะท้อน (reflect) การสะท้อนทำาให้หวนคิดถึงการกระ
ทำาตามที่ได้บันทึกไว้จากการสังเกตเก็บข้อม่ล การสะท้อนภาพจะ
พิจารณาโดยใช้การอภิปรายกลูุมกันระหวูางผ้่รูวมงาน ผ้่วิจัยปฏิบัติ
การต้องตัดสินใจจากประสบการณ์ของตนวูาผลของการปฏิบัติน้ ั น
เป็ นสิ่งต้องประสงค์หรือไมู และให้ข้อแนะนำาในการปฏิบัติตูอไป
นอกจากนั้ นการสะท้อนภาพยังหมายถึงการสำารวจข้อม่ลเบื้ องต้น
กูอนที่จะดำาเนิ นการจริง และชูวยในการวางแผนการดำาเนิ นการขั้น
ตูอไป
สรุปได้วูา ลักษณะการทำางานของการวิจัยเชิงปฏิบัติการมี
วงจรการดำาเนิ นงานที่ประกอบด้วย ขั้นการวางแผนการดำาเนิ นงาน
ขั้นการลงมือการปฏิบัติตามแผน ขั้นการสังเกต และขั้นการ
สะท้อนผลกลับ มีข้ ันตอนการทำางานที่ดำาเนิ นการไปเรื่อย ๆ คล้าย
เกลียวสวูาน ซึ่งมีข้ ันตอนการทำางานไมูจบสิ้นจนกวูาผ้่ปฏิบัติซ่ึง
เป็ นผ้่ใช้กระบวนการดังกลูาว เพื่อขจัดแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่กำาลัง
เกิดขึ้นให้หมดไปจากงานของตนเอง หรืออาจจะใช้เพื่อปรับปรุง
งาน หรือพัฒนางานของผ้่ใช้จนกวูาผลที่ได้รบ
ั จากกระบวนการอยู่
ในระดับเป็ นที่นูาพอใจของผ้่ปฏิบัติ

3. ความเชื่อพื้ นฐานของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
75

ทวีป ศิรริ ศ
ั มี (2537 : 13-14 อ้างใน สุพัฒน์ มีสกุล,
2546 : 12) ได้กลูาวถึงความเชื่อพื้ นฐาน (basic assumptions)
ของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ มีอยู่ 4 ประการ คือ
1. วิธีการแก้ปัญหาที่ได้มาจากการค้นคว้าจะมีประสิทธิภาพ
และนูาเชื่อถือได้มากกวูาวิธี
แก้ปัญหาที่ได้จากการสัง่ การของผ้่มีอำานาจหรือผ้่บริหาร โดยสัง่
การนั้ นมักเกิดมาจากการสัง่ สมประสบการณ์และใช้สามัญสำานึ ก
เป็ นหลัก มักขาดหลักฐานข้อม่ลที่ใช้ประกอบการตัดสินใจ
2. การวิจัยเพื่อแก้ปัญหาของผ้่ปฏิบัติงานที่ดำาเนิ นการเอง
โดยผ้่ปฏิบัติงานจะมีโอกาส
แก้ปัญหาของเขาได้สำาเร็จมากกวูาการวิจัยเพื่อการแก้ปัญหาที่ทำา
โดยบุคคลอื่น
3. การวิจัยเป็ นเรื่องของการวิเคราะห์ปัญหา การค้นคว้า
แนวทางการแก้ปัญหา การ
ทดสอบ และประเมินผลวิธีแก้ปัญหา การวิจัยเป็ นทักษะที่สามารถ
เรียนร้่และพัฒนาได้โดยผ้่ปฏิบัติงานทุกคน การวิจัยไมูได้เป็ นสิทธิ
พิเศษของผ้่เชี่ยวชาญคนใดคนหนึ่ งหรือกลูุมใดกลูุมหนึ่ ง
4. การพัฒนาความสามารถของบุคคลโดยการฝึ กหัด ถือวูา
เป็ นรากฐานของการ
พัฒนาการปฏิบัติ
4. ลักษณะของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
ลักษณะของการวิจัยเชิงปฏิบัติการมีประเด็นที่ผ้่ปฏิบัติควร
ให้ความสนใจ ซึ่งรายละเอียด (วิรุฬห์ นิ ลโมจน์, 2528 : 51-55
และ ทวีป ศิรริ ศ
ั มี , 2537 : 12-16) มีดังนี้
76

1. เป็ นการวิจัยที่เริม
่ มาจากความต้องการที่จะปรับปรุงการ
ปฏิบัติงานที่เป็ นอยู่ให้ดีข้ ึน
2. การวิจัยเชิงปฏิบัติการเริม
่ ต้นจากปั ญหาทางสังคมหรือ
ปั ญหาทางการปฏิบัติมากกวูาที่
จะเริม
่ ต้นด้วยปั ญหาทางทฤษฎี ผลการวิจัยมูุงนำาไปใช้เพื่อแก้
ปั ญหาในทันที
3. เป็ นการวิจัยที่นิยมศึกษากับประชากรมากกวูาที่จะศึกษา
กับกลูุมตัวอยูาง ซึ่งเป็ น
ตัวแทนทางทฤษฎีของกลูุมประชากร ทั้งนี้ เนื่ องจากผลการวิจัย
หรือความร้่ที่ได้จากการวิจัยอยู่ในวงจำากัด ภายใต้สภาพแวดล้อม
และปั ญหาเฉพาะอยูาง เฉพาะกรณี ผลการวิจัยจึงใช้กับเฉพาะ
กลูุมที่รูวมทำาวิจัยเทูานั้ น ไมูได้มูุงนำาผลการวิจัยหรือความร้่ไปสรุป
อ้างอิงกับกลูุมประชากรอื่น หรือสภาพการณ์อ่ ืนที่แตกตูางออกไป
การประเมินผลการวิจัยจึงประเมินในแงูของการนำาไปใช้กับเฉพาะ
กรณี ไมูประเมินในแงูของความเที่ยงตรงทัว่ ไปหรือความเที่ยงตรง
ภายนอก (universal validity or external validity)
4. โดยทัว่ ไปแล้วการวิจัยเชิงปฏิบัติการ เป็ นการวิจัยที่ดำาเนิ น
การรูวมกันระหวูางทีม
นั กวิจัย และผ้่ปฏิบัติงานซึ่งเป็ นกลูุมประสบปั ญหาโดยตรง
5. แบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการเป็ นแบบเชิงพัฒนา
(developmental design) คือ จุดมูุงหมาย
การวิจัย สมมติฐาน และวิธีการวิจัย สามารถเปลี่ยนแปลงและ
กำาหนดขึ้นมาใหมูได้ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงของโปรแกรม
77

การปฏิบัติ ความก้าวหน้าของการวิจัยหรือเมื่อสภาพการณ์และ
เงื่อนไขบางอยูางเปลี่ยนแปลงไป
6. ผ้่เข้ารูวมในโปรแกรมการวิจัยเชิงปฏิบัติการ จะต้องได้รบ

การฝึ กในเรื่องของกลูุม
พลวัฎ (group dynamics) เพื่อเป็ นพื้ นฐานสำาหรับการปฏิบัติงาน
รูวมกัน และอาศัยทฤษฎีเกี่ยวกับกลูุมพลวัฏ เป็ นทฤษฎีนำาในการ
ปฏิสัมพันธ์ของผ้เ่ ข้ารูวมในการดำาเนิ นการวิจัย เพราะปั ญหายูุง
ยากตูาง ๆ มักจะเกิดขึ้นได้เสมอในการทำางานเป็ นกลูุม การใช้
ทฤษฎีเกี่ยวกับกระบวนการกลูุมและการฝึ กในเรื่องของกลูุมพลวัฏ
จึงมีความจำาเป็ นอยูางยี่งสำาหรับการทำาวิจัยเชิงปฏิบัติการ
7. เป็ นการวิจัยมูุงปรับปรุงการปฏิบัติงานของหนูวยงาน และ
ในขณะเดียวกันมูุงให้
บุคลากรในหนูวยงานนั้ น พยายามปรับปรุงทัศนคติเกี่ยวกับการ
ทำางานเป็ นกลูุมด้วย
8. การวิจัยเชิงปฏิบัติการเป็ นการประเมินผลตนเอง ของผ้่
ปฏิบัติงานอยูางตูอเนื่ องเพื่อการ
ปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีข้ ึน ทั้งนี้ ในการประเมินผลนั้ นการวิจัย
เชิงปฏิบัติการมูุงให้ผ้่ปฏิบัติงานประเมินผลในลักษณะที่มีความ
เป็ นปรนั ย มีทักษะในกระบวนการวิจัย และมีความสามารถในการ
ที่จะทำางานรูวมกับผ้่อ่ ืน ได้อยูางประสมกลมกลืน (harmoniously)
และมีความรับผิดชอบทางวิชาชีพ หรืองานที่ปฏิบัติ
9. นั กปฏิบัติซ่ึงเป็ นผ้่ท่ีทำาการวิจัยเชิงปฏิบัติการ คือ ผ้ท
่ ่ี
ประสบปั ญหา ทั้งนี้ การวิจัยเชิง
78

ปฏิบัติการมีความเชื่อพื้ นฐาน (assumptions) เกี่ยวกับการวิจัยเพื่อ


แก้ปัญหา การวิจัยเพื่อการแก้ปัญหาที่ดำาเนิ นการโดยผ้่ท่ีประสบ
ปั ญหาเองนั้ น การแก้ปัญหายูอมมีโอกาสได้รบ
ั ความสำาเร็จมากกวูา
การวิจัยเพื่อแก้ปัญหาที่ดำาเนิ นการโดยบุคคลภายนอก
10. การวิจัยเชิงปฏิบัติการเป็ นเครื่องกระตุ้น โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงในการปฏิบัติอยูางฉับไว
11. การวิจัยเชิงปฏิบัติการเป็ นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ
ปฏิบัติงานในหน้าที่ของบุคคล
มนุ ษยสัมพันธ์ และขวัญกำาลังใจในการทำางาน ซึ่งปั จจัยเหลูานี้
ล้วนแล้วแตูเกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพในการทำางานของบุคคล แรง
จ่งใจ และความสัมพันธ์ระหวูางบุคคล และสภาพความเป็ นอยู่โดย
ทัว่ ไป
12. การวิจัยเชิงปฏิบัติการเป็ นการวิเคราะห์งาน (job
analysis) เพื่อการปรับปรุงการ
ปฏิบัติงานในวิชาชีพให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
13. การวิจัยเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการเปลี่ยนขององค์การ
คือ มูุงนำาผลการวิจัยไปใช้ใน
การปรับปรุงการปฏิบัติงาน ในความรับผิดชอบของบุคลากรใน
องค์การในวงการศึกษา ธุรกิจ หรืออุตสาหกรรม
14. การวิจัยเชิงปฏิบัติการเกี่ยวข้องกับการวางแผน และ
การกำาหนดนโยบาย (planning and
policy making) โดยเฉพาะในเรื่องของการบริการสังคม (social
administration)
79

15. การวิจัยเชิงปฏิบัติการเกี่ยวข้องกับเรื่องของนวัตกรรม
และการเปลี่ยนแปลง
(innovation and change) และวิธีการในการนำานวัตกรรมและการ
เปลี่ยนไปใช้ในการปรับปรุงระบบการทำางานที่เป็ นอยู่ให้ดีข้ ึน
16. การวิจัยเชิงปฏิบัติการมีลักษณะการดำาเนิ นการ ที่
เป็ นการประเมินผลการปฏิบัติงานไป
ด้วยในตัว การวิจัยเชิงปฏิบัติการจะมีการประเมินผลการดำาเนิ น
การวิจัยวูาได้ดำาเนิ นการก้าวหน้าไปมากน้อยเพียงไร กูอให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงในการปฏิบัติงานเพียงใด เพราะจุดมูุงหมายสำาคัญ
เบื้ องต้นของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ คือ ต้องการให้มีการ
เปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น ในการปฏิบัติงาน การประเมินผลจึงเป็ น
กิจกรรมที่ต้องการจะค้นหาวูาเกิดการเปลี่ยนแปลงในการทำางานไป
ในทิศทางที่ต้องการมากน้อยเพียงไร
17. การวิจัยเชิงปฏิบัติการเป็ นการวิจัยที่ดำาเนิ นการใน
สภาพแวดล้อมทางสังคมเฉพาะแหูง
เฉพาะกรณี และไมูพยายามที่จะควบคุมตัวแปรโดยเครูงครัดหรือ
พยายามชดเชย (compensate) โดยวิธีการทางสถิติสำาหรับตัวแปรที่
ควบคุมไมูได้
18. ตลอดระยะเวลาในการดำาเนิ นการในโครงการวิจัยเชิง
ปฏิบัติการ จะมีการเก็บรวบรวม
ข้อม่ล ขูาวสารตูาง ๆ มีการอภิปรายข้อม่ลขูาวสารที่เก็บรวบรวม
มาได้ มีการบันทึกข้อม่ลขูาวสาร มีการประเมินผล และจัดกระทำา
ข้อม่ลขูาวสารเป็ นระยะ ๆ อยูางตูอเนื่ อง (from time to time) ซึ่ง
การวิจัยเชิงปฏิบัติการให้ความเชื่อถือมากในข้อม่ลเชิงประจักษ์
80

และข้อม่ลทางพฤติกรรมความตูอเนื่ องกันของกิจกรรมตูาง ๆ ใน
กระบวนการวิจัยจะเป็ นตัวกำาหนดเกณฑ์การพิจารณาความ
ก้าวหน้าของโครงการวิจัย
19. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อม่ลในระหวูางการ
ดำาเนิ นการวิจัย มักจะต้อง
พัฒนาขึ้นมาอยู่เสมอ เพราะเมื่อสภาพการณ์หรือเงื่อนไขบางอยูาง
เปลี่ยนแปลงไป ในหลาย ๆ กรณี ผ้่มีสูวนรูวมในการวิจัยอาจจะ
ต้องสร้างเครื่องมือ หรือคิดหาวิธีการในการเก็บรวบรวมข้อม่ลขึ้น
มาใหมู เพื่อให้สอดคล้องกับจุดมูุงหมายและสมมติฐานของการ
วิจัยที่อาจจะเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพการณ์ และเงื่อนไขดังกลูาว
ที่เปลี่ยนไป
20. การวิจัยเชิงปฏิบัติการเป็ นการวิจัย ที่อิงวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์มาใช้แตูไมูยึดมัน
่ อยู่กับ
มาตรฐานของแบบการวิจัยที่เป็ นแบบแผน (formal research
design) มากนั ก เนื่ องจากจุดมูุงหมายสำาคัญของการวิจัยเชิง
ปฏิบัติการอยู่ท่ีการแก้ปัญหาในสภาพแวดล้อมเฉพาะหน้า ไมูได้มูุง
เพื่อแสวงหาความร้่ทางวิทยาศาสตร์ หรือการวางนั ยสรุปทัว่ ไปที่
สามารถนำาไปอ้างอิงกับสภาพแวดล้อมอื่นเป็ นสำาคัญ แตูการวิจัย
เชิงปฏิบัติการมูุงให้ได้มาซึ่งความร้่ท่ีเหมาะสมสำาหรับสภาพการณ์
และจุดมูุงหมายเฉพาะในการทำาวิจัยในครั้งนั้ น ๆ เทูานั้ น
21. ในขณะที่โครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการกำาลังดำาเนิ นอยู่น้ ั น
ผ้่มีสูวนรูวมในการวิจัยจะ
ปฏิบัติตามแนวทางหรือแนวคิด (สมมติฐาน) ที่กำาหนดไว้ซ่ึง
ลักษณะนี้ เป็ นการทดสอบสมมติฐาน โดยการปฏิบัติจริง (testing
81

the hypotheses by action) ลักษณะประการนี้ ของการวิจัยเชิง


ปฏิบัติการเป็ นลักษณะสำาคัญที่สุด เพราะถ้าไมูมีกิจกรรมนี้ เกิดขึ้น
สมมติฐานก็ไมูได้รบ
ั การทดสอบ ซึ่งถือวูาไมูเป็ นการวิจัยเชิงปฏิบัติ
การ
22. การวิจัยเชิงปฏิบัติการไมูใชูเป็ นการวิจัยเพื่อหาข้อยุติ
เกี่ยวกับความเปลี่ยนแปลงตูาง ๆ
ที่เกิดขึ้นวูาสืบเนื่ องมาจากอิทธิพลของตัวแปรอิสระที่นำามาศึกษา
หรือเนื่ องมาจากอิทธิพลภายนอก
23. การประเมินคุณคูาของโครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการ มูุง
พิจารณาในแงูของขอบเขตที่
วิธีการแก้ปัญหาหรือกระบวนการวิจัย และผลการวิจัยสามารถนำา
ไปใช้เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานในสภาพการณ์เฉพาะ และความ
สามารถในการตอบสนองจุดมูุงหมายของสังคมและการศึกษาได้
มากน้อยเพียงไร ทั้งนี้ องค์ประกอบพื้ นฐานสำาคัญที่จะสูงผล
ให้การวิจัยเชิงปฏิบัติการมีคุณภาพนั้ นมี 4 ประการใหญู คือ
1) สมมติฐานของการวิจัยเป็ นสมมติฐานที่เป็ นปรนั ย
2) การออกแบบการวิจัยทำาขึ้นด้วยความรอบคอบ
3) ข้อม่ลที่นำามาใช้เพื่อการวิเคราะห์เป็ นข้อม่ลที่มีความเชื่อ
ถือได้และเที่ยงตรง
4) การวางนั ยสรุปทัว่ ไปกระทำาด้วยความรอบคอบถี่ถ้วน
ดังนั้ น การวิจัยเชิงปฏิบัติการจึงมีลักษณะเฉพาะ ผ้่ท่ีนำา
กระบวนการดังกลูาวไปใช้ควร
ศึกษาลักษณะของการวิจัยเชิงปฏิบัติการนี้ ให้เข้าใจและมีความ
ชัดเจน จึงจะดำาเนิ นการวิจัยได้อยูางมีประสิทธิภาพได้มากยิ่งขึ้น
82

และให้ผ้่ปฏิบัติได้เข้าใจจุดมูุงหมายหลักของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
ที่แท้จริง เพื่อจะได้ใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการได้ถ่กต้องตาม
ลักษณะของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ รวมถึงการนำาเสนอผลการวิจัย
ที่ได้จากกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการในขอบเขตที่เหมาะสมและ
ถ่กต้องตามหลักการของการวิจัยประเภทนี้
นุ ชวนา เหลืองอังก่ร (2551 : 2-5) ได้นำาเสนอประเด็น
อภิปรายเกี่ยวกับ “การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research)”
และ “การวิจัยโดยผ้่ปฏิบัติการ (Practitioner Research) โดย
พิจารณารายละเอียดใน 3 ประเด็นตูอไปนี้
1. ประเด็นที่หนึ่ ง ที่มาของปั ญหาการวิจัยและแนวทางการ
แก้ปัญหา การวิจัยทั้ง
2 ประเภทเป็ นการวิจัยในปั ญหาที่ผ้่วิจัยประสบ แตูการวิจัยโดยผ้่
ปฏิบัติงาน อาจไมูเน้นการทำางานเป็ นทีมมากเทูากับการวิจัยเชิง
ปฏิบัติการ ข้อควรคำานึ งคือ การเลือกปั ญหาของการวิจัยนั้ นควร
เป็ นปั ญหาสำาคัญของที่ทำางานซึ่งคาดวูาจะสามารถปรับปรุงได้โดย
การวิจัย เชูน การพัฒนาความรูวมมือเพื่อแก้ปัญหาตูาง ๆ เป็ นต้น
ซึ่งกลูาวโดยสรุปคือ การวิจัยทั้ง 2 ประเภทจะมีท่ีมาของปั ญหาการ
วิจัยคล้าย ๆ กัน คือ ผ้่ปฏิบัติงานพบปั ญหาในหน้าที่การงานของ
ตนหรือต้องการพัฒนางาน จึงดำาเนิ นการวิจัยโดยพยายามเลือก
หัวข้อที่นูาจะสามารถแก้ปัญหาโดยอาศัยความรูวมมือของผ้่วิจัย
และผ้่เกี่ยวข้อง สูวนความแตกตูางคือ การวิจัยเชิงปฏิบัติการเน้น
การทำางานเป็ นทีม (Team Work) และการมีสูวนรูวม
(Participatory) ของผ้่รวู มวิจัย ขณะที่การวิจัยโดยผ้่ปฏิบัติงานเน้น
83

การพยายามแก้ปัญหาและตัดสินใจโดยผ้่วิจัยเองหรือเพียงอาศัย
ความรูวมมือ (Collaboration) ของผ้่อ่ ืน
2. ประเด็นที่สอง ร่ปแบบของความสัมพันธ์ระหวูางนั กวิจัย
กับผ้่วิจัย งานวิจัยเชิง
ปฏิบัติการเป็ นการทำาวิจัยโดยผ้่ท่ีประสบปั ญหาหรือผ้่ทเี่ กี่ยวข้อง
กับปั ญหา ทั้งนี้ เน้นการทำางานเป็ นทีมโดยอาจจำาแนกเป็ น 3 ร่ป
แบบ ตามบทบาทความสำาคัญของผ้่วิจัย และผ้่รูวมวิจัยกลูาวคือ
1) การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสูวนรูวมเชิงเทคนิ ควิธี
(Technical Action
Research) เป็ นการทำาวิจัยในลักษณะที่เกิดจากบุคคลหรือกลูุมคน
ที่มีประสบการณ์หรือมีอำานาจส่งกวูา ดังนั้ น ผ้่ท่ีทำาหน้าที่อำานวย
การวิจัยจึงคูอนข้างมีบทบาทในการออกแบบหรือควบคุมทิศทางใน
การวิจัย ตัวอยูางเชูน ผ้่บริหารโรงเรียนแหูงหนึ่ งมีความเห็นวูาคร่
สูวนใหญูในโรงเรียนยังคงจัดกิจกรรมการเรียนร้่โดยคร่เป็ นผ้่สอน
หรือถูายทอดความร้่แกูนักเรียน จึงต้องการจะพัฒนาคร่ให้ปรับ
เปลี่ยนพฤติกรรมไปสู่การจัดกิจกรรมการเรียนร้่ที่เน้นผ้่เรียนเป็ น
สำาคัญ ทั้งนี้ ความลำาบากคือการโน้มน้าวให้คร่ในโรงเรียนตระหนั ก
ในปั ญหารูวมกันและรูวมมือในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียน
ร้่
2) การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสูวนรูวมเชิงปฏิบัติ
(Practical Action Research)
เป็ นการทำาวิจัยที่เกิดจากผ้่ปฏิบัติงานต้องการพัฒนางาน โดยอาศัย
การสะสมความร้่ ประสบการณ์และความสามารถซึ่งได้จากการ
ทำางานรูวมกับผ้่รูวมงาน ลักษณะการทำาวิจัยคูอนข้างอาศัยการ
84

ประสานงานและหาแนวทางแก้ปัญหารูวมกันระหวูางผ้่วิจัยและผ้่
รูวมวิจัย แตูอยู่ในกรอบงานเดิม
3) การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบปลดปลูอยให้เป็ นอิสระ
(Emancipatory Action
Research) เป็ นการวิจัยที่จะกูอให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรุนแรงกวูา
แบบที่ 1 และ 2 ผ้ว่ ิจัยต้องใช้ความสุขุม รอบคอบ ความเป็ น
วิชาชีพชั้นส่งเข้ารูวม โดยมีความมูุงหมายเพื่อปลดปลูอยผ้่ท่ีมีสูวน
รูวมทั้งหมดให้หลุดพ้นจากการควบคุม บังคับ ความกดดัน จาก
ระบบระบอบเดิม
นั กวิจัยเชิงปฏิบัติการบางกลูุมมีความเชื่อวูา การวิจัย
เชิงปฏิบัติการแบบปลดปลูอย
ให้เป็ นอิสระ เพียงแบบเดียวที่ถือวูาการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบ
บริสุทธิเ์ พราะเน้นการมีสูวนรูวมของทุกฝาย หรืออาจเรียกวูา การ
วิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสูวนรูวม (Participatory Action
Research : PAR)
สูวนการวิจัยโดยผ้่ปฏิบัติการ ไมูเครูงครัดในเรื่องการ
ทำาวิจัยคนเดียวหรือทำางานวิจัยเป็ นทีม แตูเน้นวูาเป็ นการพัฒนา
งานโดยผ้่ปฏิบัติงานเอง หากผ้่วิจัยเลือกทำางานวิจัยคนเดียวการ
ตัดสินใจตูาง ๆ ก็จะขึ้นกับคนเพียงคนเดียว ในขณะเดียวกันหาก
ผ้่วิจัยทำางานกับผ้่รูวมวิจัยก็มักจะมีความสัมพันธ์ในลักษณะอาศัย
ความรูวมมือ (Collaboration) จากผ้่อ่ ืน งานวิจัยลักษณะดังกลูาว
เรียกวูา การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบอาศัยความรูวมมือ
(Collaboration Action Research : CAR)
85

3. ประเด็นที่สาม เทคนิ คการรวบรวมข้อม่ลและการวิเคราะห์


งานวิจัยทั้ง 2 ลักษณะอาจใช้เทคนิ คการรวบรวมข้อม่ลทั้งเชิง
ปริมาณและเชิงคุณภาพ การวิเคราะห์ข้อม่ลเชิงปริมาณมักใช้สถิติ
พรรณนาอยูางงูาย ๆ การวิเคราะห์ข้อม่ลเชิงคุณภาพใช้การ
พรรณนาวิเคราะห์ (Descriptive Analysis) ขั้นตอนการวิจัยเชิง
ปฏิบัติการ อาจยึดแนวคิดของคนใดคนหนึ่ ง เชูน การวิจัยเชิง
ปฏิบัติการตามแนวคิดของเคมมิสและแมกเทคกาท (Kemmis &
McTaggart. 1988) คูอนข้างมีลำาดับขั้นชัดเจนคือ วางแผน (Plan)
ลงมือปฏิบัติ (Act) สังเกต (Observe) และสะท้อนผลการปฏิบัติ
(Reflect) เป็ นต้น โดยทำาการพัฒนาหลายรอบ (Spiral) จนกวูาผล
การพัฒนาจะเป็ นที่นูาพอใจ สูวนการวิจัยโดยผ้่ปฏิบัติ อาจใช้หลัก
การวิจัยแบบใด ๆ ที่สามารถพัฒนาหรือแก้ปัญหาที่ตนประสบโดย
อาจดำาเนิ นการเพียงครั้งเดียวหรือหลายครั้งก็ได้
ยาใจ พงษ์บริบร่ ณ์ (2551 : 2 – 3) ได้ให้ลักษณะของการ
วิจัยเชิงปฏิบัติการทางการศึกษา (Action research in education)
ดังนี้
1. เป็ นการวิจัยแบบมีสูวนรูวมและมีการรูวมมือ
(participation and collaboration) ใช้การทำางานเป็ นกลูุม ผ้่รูวม
วิจัยทุกคนมีสูวนสำาคัญและมีบทบาทเทูาเทียมกันในทุก
กระบวนการของการวิจัยทั้งการเสนอความคิดเชิงทฤษฎี และการ
ปฏิบัติ ตลอดจนการวางนโยบายการวิจัย
2. เน้นการปฏิบัติ (action orientation) การวิจัยชนิ ดนี้ ใช้การ
ปฏิบัติเป็ นสิ่งทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง และศึกษาผลของการ
ปฏิบัติเพื่อมูุงให้เกิดการพัฒนา
86

3. ใช้การวิเคราะห์วิจารณ์ (critical function) การวิเคราะห์


การปฏิบัติการอยูางลึกซึ้งจากสิ่งที่สังเกตได้ จะนำาไปสู่การตัดสินใจ
ที่สมเหตุสมผลเพื่อการปรับแผนการปฏิบัติการ
4. ใช้วงจรการปฏิบัติ (the action research spiral) ตามแนว
คิดของเคมมิส และเมคทาคกาท คือ การวางแผน (Planing) การ
ปฏิบัติ (acting) การสังเกต (observing) และการสะท้อนการ
ปฏิบัติ (reflecting) ตลอดจนการปรับปรุงผล (re-planing) เพื่อนำา
ไปปฏิบัติในวงจรตูอไปจนกวูาจะได้ร่ปแบบองการปฏิบัติงานที่เป็ น
ที่พงึ พอใจ และได้ข้อเสนอเชิงทฤษฎีเพื่อเผยแพรูตูอไป
McKernan (1996) (อ้างใน ประจิต เอราวรรณ์, 2545 : 8-
10) ได้อธิบายลักษณะของการวิจัยปฏิบัติการไว้ 10 ประการ โดย
อาศัยแนวคิดของ Elliott (1978) ดังนี้
1. ปั ญหาที่นำามาวิจัย ต้องเป็ นปั ญหาของผ้่ปฏิบัติงาน
2. ปั ญหานั้ นเป็ นปั ญหาที่สามารถแก้ไขได้
3. ปั ญหานั้ นเป็ นปั ญหาในเชิงปฏิบัติ ไมูใชูปัญหาเชิงทฤษฎี
หรือเชิงหลักการ
4. มีการเสนอทางออกของปั ญหา และปรับเปลี่ยนไปจนกวูา
การวิจัยจะเสร็จสิ้น
5. เป้ าหมายคือต้องการให้ผ้่วิจัยเข้าใจปั ญหา
6. ใช้วิธีวิจัยแบบกรณี ศึกษา (case study) เพื่อบอกเลูาเรื่อง
ราวเกี่ยวกับการดำาเนิ นการวิจัยและสถานการณ์ปัญหาที่เกาะติด
เพื่อศึกษา
7. กรณี ศึกษาในที่น้ ี เป็ นการรายงานตามการรับร้่และความ
เชื่อในสิ่งตูาง ๆ ของคร่หรือผ้่เรียน ฯลฯ
87

8. ใช้การบรรยายข้อม่ลจากสัญลักษณ์ทางภาษาที่แสดงออก
มาในชีวิตประจำาวัน
9. กลูุมผ้่มีสูวนเกี่ยวข้องสามารถตรวจสอบความเที่ยงตรง
ของข้อม่ลได้อยูางอิสระ
10. เปิ ดรับหรือรวบรวมข้อม่ลได้อยูางอิสระภายในกลูุมหรือ
ในระหวูางการปฏิบัติ
นอกจากนี้ Mckernan (1996) ยังได้กลูาวถึงการวิจัยปฏิบัติ
การมีหลักการสำาคัญอยู่ 16 ประการ ซึ่งสรุปได้ดังนี้
1. เพิ่มพ่นความเข้าใจในปั ญหาตูาง ๆ
2. มูุงปรับปรุงการปฏิบัติตนและการปฏิบัติงานของบุคคล
3. เน้นที่ปัญหาเรูงดูวนของผ้่ปฏิบัติงาน
4. ให้ความสำาคัญตูอความรูวมมือกันของผ้่มีสูวนเกี่ยวข้อง
5. ดำาเนิ นการวิจัยภายใต้สถานการณ์ท่ีกำาลังเป็ นปั ญหา
6. ผ้่เกี่ยวข้องมีสวู นรูวมอยูางเป็ นธรรมชาติ
7. เน้นการศึกษาเฉพาะกรณี หรือศึกษาเพียงหนูวยเดียว
8. ไมูมีการควบคุมหรือจัดกระทำาตูอตัวแปร
9. ปั ญหา วัตถุประสงค์ และระเบียบวิธี มีลักษณะเป็ นกระ
บวนการสืบเสาะหาความร้่ความจริง
10. มีการประเมินหรือสูองสะท้อนผลที่เกิดขึ้นเพื่อทบทวน
11. ระเบียบวิธีวิจัยมีลักษณะเป็ นนวัตกรรม สามารถคิดขึ้น
มาใหมูให้เหมาะสมกับปั ญหาได้
12. กระบวนการศึกษามีความเป็ นระบบหรือเป็ น
วิทยาศาสตร์
13. มีการแลกเปลี่ยนผลวิจัยและมีการนำาไปใช้จริง
88

14. ใช้วิธีการแบบบรรยายข้อม่ล หรือการอภิปรายรูวมกัน


อยูางเป็ นธรรมชาติ
15. คิดวิเคราะห์อยูางมีเหตุผล ซึ่งต้องมาจากการทำาความ
เข้าใจ การตีความหมายและการคิดอยูางอิสระ
16. เป็ นการวิจัยที่ปลดปลูอยความคิดอยูางอิสระ และ
เป็ นการเสริมสร้างพลังรูวมในการทำางาน (empowerment) ให้ผ้่
เกี่ยวข้อง
5. รูปแบบการวิจัยปฏิบัติการทางการศึกษา
ประจิต เอราวรรณ์ (2545 : 23-25) ได้นำาเสนอร่ปแบบการ
วิจัยปฏิบัติการทางการศึกษา ไว้ 2 ร่ปแบบ ดังนี้
1. รูปแบบการวิจัยปฏิบัติการทางการศึกษาในระยะแรก
Lawrence Stenhouse และ John Elliott ได้ใช้การวิจัยปฏิบัติ
การเป็ นเครื่องมือปรับปรุงคุณภาพการจัดการศึกษาในประเทศ
อังกฤษ ซึ่งเริม
่ จากการที่คร่ไมูพอใจในหลักส่ตรที่สูวนกลางกำาหนด
ให้ จึงเริม
่ ทำาการเปลี่ยนแปลงหลักส่ตร ทั้งด้านเนื้ อหาและ
กระบวนการด้วยตัวคร่เอง ดังนั้ น การวิจัยปฏิบัติการเพื่อพัฒนา
หลักส่ตรจึงเป็ นจุดเริม
่ ต้นของการนำาการวิจัยปฏิบัติการมาใช้กับ
วงการศึกษาของอังกฤษ และแนวคิดนี้ ได้รบ
ั การเผยแพรูอยูาง
กว้างขวางในเวลาตูอมา (Elliott, 1992)
การวิจัยปฏิบัติการทางการศึกษาในประเทศอังกฤษนั้ น
จำาแนกออกได้เป็ น 2 แนวทาง คือ (Kelly, 1985)
1) การใช้วิธีการเชิงทดลองทางสังคม (experimental social
administration) แนวทางนี้ เป็ นลักษณะการวิจัยเชิงทดลองหรือกึ่ง
ทดลอง เพื่อตรวจสอบผลวูาเป้ าหมายและวิธีดำาเนิ นงานที่กำาหนด
89

ไว้ซ่ึงเป็ นเหมือนสิ่งทดลอง สูงผลอยูางไรบ้าง หรือกลูาวอีกนั ย


หนึ่ ง คือ ผลจากการปฏิบัติตามเป้ าหมายและวิธีดำาเนิ นการที่
กำาหนดไว้น้ ั นเป็ นอยูางไร โดยในการทดลองต้องมีการวางแผนและ
อธิบายขั้นตอนการปฏิบัติไว้ในแผนอยูางชัดเจน มีการวิเคราะห์
ความสัมพันธ์ระหวูางเป้ าหมายและวิธีดำาเนิ นงาน และทำาการ
ติดตามผลการปฏิบัติท่ีเกิดขึ้นตามแผน
การวิจัยปฏิบัติการในลักษณะนี้ จะแยกการวิจัยและการ
ปฏิบัติออกจากกัน โดยต้องมีการวางแผนตั้งแตูเริม
่ ต้นโครงการ
และผ้่วิจัยยังคงเป็ นบทบาทของบุคคลภายนอกที่ทำาการศึกษา
สถานการณ์ท่ีกำาลังเป็ นปั ญหาที่โรงเรียนหรือคร่กำาลังประสบอยู่
ยุคแรก ๆ ของการวิจัยปฏิบัติการยังคงมีลักษณะที่นักวิจัย
เป็ นบุคคลภายนอกเข้าไปทำาการวิจัยรูวมกับผ้่ปฏิบัติงาน เมื่อมี
การนำาแนวคิดการวิจัยปฏิบัติการมาใช้ในทางการศึกษาระยะแรก ก็
ยังคงมีลักษณะนั กวิจัยภายนอกรูวมมือกับคร่ผ้่สอนในโรงเรียน มี
เป้ าหมายเพื่อปรับปรุงคุณภาพการจัดการศึกษา การวิจัยปฏิบัติการ
ลักษณะนี้ มีจุดอูอนคือ การกำาหนดจุดพัฒนาหรือปั ญหาการวิจัย
นั กวิจัยภายนอกมักจะเป็ นผ้่มีบทบาทสำาคัญในการกำาหนด ซึ่งใน
ความเป็ นจริง นั กวิจัยภายนอกอาจจะเข้าไมูถึงสภาพปั ญหาที่แท้
จริงของโรงเรียนหรือสิ่งที่จะทำาวิจัยดีเทูากับคร่ นอกจากนี้ ยังมี
ผลกระทบตูอการดำาเนิ นการวิจัย คือ การสร้างความเข้าใจและ
ความรูวมมือระหวูางผ้่วิจัยและคร่ผ้่สอน จากจุดอูอนของการทำา
วิจัยปฏิบัติการดังกลูาวทำาให้เกิดแนวคิดในการพัฒนาให้คร่เป็ นผ้่
ทำาการวิจัยเองในฐานะคร่นักวิจัย แนวคิดนี้ เกิดขึ้นครั้งแรกใน
ประเทศอังกฤษรวมชูวงปี ค.ศ.1960 (Elliott, 1992)
90

2) การวิจัยปฏิบัติการของคร่นักวิจัย (teacher-researcher)
การวิจัยปฏิบัติการตามแนวทางนี้ เป็ นการวิจัยที่ใช้คร่เป็ นฐานของ
การวิจัย โดยคร่มีการปฏิบัติแบบ “สอนไป วิจัยไป” ซึ่งเป็ นการลด
ชูองวูางในการดำาเนิ นงานระหวูางผ้่ปฏิบัติและผ้่วิจัย โดยที่ปัญหา
การวิจัยไมูใชูปัญหาที่ถ่กกำาหนดมาจากบุคคลภายนอกแตูเกิดจาก
ตัวคร่เอง และคร่ไมูจำาเป็ นต้องเริม
่ ต้นจากสมมติฐานที่มาจาก
รายงานวิจัยอื่น ๆ ที่มีนักวิจัยอื่นทำาไว้แตูเริม
่ จากความเป็ นจริงที่
ประสบอยู่และไมูใชูการวิจัยที่สะสมความร้่หรือทฤษฎีทางการศึกษา
แตูเป็ นการทำาวิจัยเพื่อใช้ข้อค้นพบนั้ นปรับปรุงการปฏิบัติงานของ
คร่เอง
2. รูปแบบการวิจัยปฏิบัติการทางการศึกษาในปั จจุบัน
การวิจัยปฏิบัติการทางการศึกษาได้แพรูหลายอยูางรวดเร็ว
และมีการพัฒนาร่ปแบบอยูางมากมายในระยะตูอมา Calhoun
(1993) ได้ใช้ขอบเขตของการทำาวิจัยเป็ นเกณฑ์เพื่อจัดร่ปแบบ
ของการวิจัยปฏิบัติการทางการศึกษา ซึ่งสามารถจำาแนกออกได้ 3
ร่ปแบบ คือ การวิจัยปฏิบัติการแบบเอกัตบุคคล (individual
action research) การวิจัยปฏิบัติการแบบมีสูวนรูวม (collaborative
action research) และการวิจัยปฏิบัติการแบบทั้งโรงเรียน
(schoolwide action research) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
1) การวิจัยปฏิบัติการแบบเอกัตบุคคล (Individual action
research) เป็ นการวิจัยที่ทำาโดยคร่เพียงคนเดียว โดยมีจุดประสงค์
และกระบวนการที่ต้องการเปลี่ยนแปลงในห้องเรียนเพียงห้อง
เดียว คร่จะระบุและนิ ยามขอบเขตปั ญหาที่เกี่ยวกับชั้นเรียน วิธี
การสอน ความสามารถทางสติปัญญาหรือพฤติกรรมทางสังคมของ
91

นั กเรียน จากนั้ นคร่จะทำาการแสวงหาข้อสรุปของปั ญหา นั กเรียน


อาจจะเข้ามามีสูวนเกี่ยวข้องโดยตรงในการชูวยเหลือเพื่อหาทาง
เลือกของการแก้ปัญหาและพิจารณาผลที่เกิดขึ้น สูวนผ้่ปกครอง
เข้ามามีสูวนเกี่ยวข้องในลักษณะของแหลูงผ้่ให้ข้อม่ล โดยคร่เป็ นผ้่
ใช้ผลวิจัยในการเปลี่ยนแปลงชั้นเรียนนั้ น
อยูางไรก็ดี การวิจัยปฏิบัติการแบบเอกัตบุคคลนี้ Kemmis
และ McTaggart ไมูคูอยเห็นด้วยมากนั กเนื่ องจากเห็นวูา จะ
เป็ นการทำาลายพลังการเปลี่ยนแปลงที่ควรจะเกิดจากการมีสูวน
รูวมและความรูวมมือของกลูุม (Kemmis and McTaggart, 1988)
2) การวิจัยปฏิบัติการแบบมีสูวนรูวม (Collaborative action
research) เป็ นการวิจัยซึ่งคร่หลาย ๆ คน มีความสนใจในเรื่องที่
เป็ นปั ญหาแบบเดียวกันแล้วรูวมกันลงมือทำาวิจัย จุดประสงค์และ
กระบวนการเน้นที่ปัญหาและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นใน
ห้องเรียนเพียงห้องเดียว หรืออาจเป็ นปั ญหาที่เหมือนกันแตูเกิด
ขึ้นในหลายห้องเรียนก็ได้ โดยเป็ นปั ญหาที่ไมูกว้าง (Small scale)
แตูจะเน้นที่ปัญหาในชั้นเรียน สำาหรับขั้นตอนการดำาเนิ นการวิจัยมี
ลักษณะเชูนเดียวกับการวิจัยปฏิบัติการแบบเอกัตบุคคล ผ้ใ่ ช้ผล
การวิจัยคือ กลูุมนั กวิจัย
3) การวิจัยปฏิบัติการแบบทั้งโรงเรียน (schoolwide action
research) เป็ นการวิจัยที่โรงเรียนใดโรงเรียนหนึ่ งต้องการที่จะ
ปรับปรุงหรือพัฒนาคุณภาพของนั กเรียน หลักส่ตร การเรียนการ
สอน ระบบการพัฒนาคร่ หรือระบบตูาง ๆ ในโรงเรียนก็ทำาวิจัย
โดยแสวงหาวิธีการเพื่อนำามาใช้ในการพัฒนา โดยดำาเนิ นการพัฒนา
พร้อมกันทั้งโรงเรียน จุดประสงค์และกระบวนการเน้นการปรับปรุง
92

คุณภาพโรงเรียนใน 3 ลักษณะ คือ แก้ปัญหาในองค์กร ปรับปรุง


การปฏิบัติงาน และพัฒนาคุณภาพนั กเรียน การวิจัยปฏิบัติการ
ประเภทนี้ คร่ทุกคนและทุกชั้นเรียน ต้องมีสูวนรูวมในกระบวนการ
และการประเมินผล นอกจากนี้ นั กเรียนและผ้่ปกครองยังมีสูวน
เกี่ยวข้องในการรวบรวมข้อม่ลและอธิบายข้อม่ลที่ได้จากการวิจัย
อีกด้วย โรงเรียนคือผ้่ที่ใช้ผลการวิจัยระดับเบื้ องต้น รวมถึง
นั กเรียน ผ้่ปกครอง ชุมชนและคณะกรรมการโรงเรียน ก็มีสูวนใน
การใช้ข้อม่ลเชูนกัน
การวิจัยปฏิบัติการแบบทั้งโรงเรียนนี้ เป็ นร่ปแบบรวมของ
การวิจัยปฏิบัติการทั้งหมด การอาศัยความรูวมมือจากสมาชิกใน
โรงเรียน ซึ่งผลของการวิจัยลักษณะนี้ คือ เกิดการเรียนร้่ในการ
ทำางานเป็ นกลูุม และการจัดการรูวมกันในการพัฒนาหลักส่ตรและ
การสอนของโรงเรียน
คงศักดิ์ ธาตุทอง (2549 : 3-5) ได้นำาเสนอร่ปแบบของการ
วิจัยเชิงปฏิบัติการสามารถแบูงได้เป็ น 3 แบบ (อ้างใน Zuber-
Skerritt, 1992) ดังนี้
1. เทคนิ คอลแอกชัน
่ รีเสิร์ท (Technical action research)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบนี้ คร่คือผ้่นำาข้อค้นพบหรือผลของการ
วิจัยของบุคคลคนภายนอกไปใช้ในชั้นเรียนภายใต้ความชูวยเหลือ
ของนั กวิจัยภายนอกเทูานั้ น
2. แพคติคอลแอกชัน
่ รีเสิร์ท (Practical action research)
การวิจัยเชิงปฏิบัติแบบนี้ นั กวิจัยที่เป็ นคนภายนอกจะเสนอแนะให้
คร่ผ้่สอนนำาแนวคิดของเขาไปใช้ นั กวิจัยที่เป็ นคนภายนอกจะ
93

ศึกษาเหตุและผลของการปฏิบัติโดยนั กวิจัยจะเรียนร้่จากการ
สะท้อนผลด้วยตนเอง
3. อีแมนสิเปทรี่ หรือ ปาทิสิเปทรีแอกชัน
่ รีเสิร์ท
(Emancipatory or Participatory action research) การวิจัยเชิง
ปฏิบัติการแบบนี้ เน้นความเทูาเทียมกันของผ้่รูวมงานในทุก ๆ
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย คร่จะต้องเป็ นผ้่รบ
ั ผิดชอบโครงการ
วิจัยของตนเอง นั กวิจัยที่เป็ นคนภายนอกให้ความชูวยเหลือโดย
การกระตุ้นเพื่อให้คร่สามารถสร้างกลูุมสะท้อนความเห็นของเขา
เอง
6. ประเภทของการวิจัยปฏิบัติการ
สุวิมล วูองวาณิ ช (2544 : 17-20 อ้างใน สุพัฒน์ มีสกุล,
2546 : 16) ได้เสนอประเภทของการปฏิบัติการไว้ ดังนี้
1. ประเภทการวิจัยปฏิบัติการแบบเป็ นทางการและแบบไมู
เป็ นทางการ (formal and
informal research)
1.1 การวิจัยแบบเป็ นทางการ (formal research)
เป็ นงานวิจัยที่มีแบบแผนการวิจัย
เครูงครัด มีลักษณะการดำาเนิ นงานและการนำาเสนอเหมือนงานวิจัย
เชิงวิชาการ (academic research) ของนั กวิจัยมืออาชีพ นั ก
วิชาการในมหาวิทยาลัย หรือของนั กศึกษาที่ทำาเป็ นวิทยานิ พนธ์ มี
การออกแบบการวิจัยที่รด
ั กุมเพื่อให้ตอบคำาถามวิจัยได้ชัดเจน และ
มีร่ปแบบการนำาเสนอรายงานผลการวิจัยที่กำาหนดชัดเจนสูวนใหญู
จำาแนกเนื้ อหาสาระออกเป็ น 5 บท
94

1.2 การวิจัยแบบไมูเป็ นทางการ (informal research)


เป็ นงานวิจัยที่ไมูยึดแบบการวิจัย
อยูางเครูงครัดเหมือนการวิจัยเชิงวิชาการ มูุงเน้นตอบคำาถามวิจัย
มากกวูาการยึดร่ปแบบการวิจัยแบบเป็ นทางการ ข้อม่ลที่ใช้ในการ
วิจัยก็พยายามใช้ข้อม่ลที่มีอยู่แล้วจากการเรียนการสอนตามปกติ
การนำาเสนอผลการวิจัยครอบคลุมเพียงประเด็นสำาคัญที่ผ้่วิจัย
ต้องการนำาเสนองานวิจัยแบบนี้ บางครับพบวูามีการรายงานผล
เพียง 1-2 หน้า
2. ประเภทการวิจัยปฏิบัติการตามแนวคิดของ Kemmis และ
Zuber – Skerritt
2.1 การวิจัยปฏิบัติการเชิงเทคนิ ค (technical action
research) การวิจัยตามประเภทนี้ มี
เป้ าหมายของการวิจัยเพื่อปรับปรุงประสิทธิผลและประสิทธิภาพ
ของการปฏิบัติงานโดยอาศัยบุคคลภายนอก (outsiders) มาชูวยใน
การทำาวิจัยในหนูวยงาน ผ้่ปฏิบัติ (คร่) จะอยู่ภายใต้การควบคุม
กำากับของนั กวิจัยภายนอก บุคคลภายนอกเลูนบทของผ้่วิจัยหลัก
โดยที่คร่ไมูคูอยมีบทบาทในการนำาเสนอความคิด วิธีการตูาง ๆ ที่
ใช้ในการวิจัยมาจากความคิดของนั กวิจัยภายนอกเป็ นสูวนใหญู ซึ่ง
เน้นเทคนิ คการทำาวิจัยที่ตอบคำาถามวิจัยที่รด
ั กุม ข้อค้นพบที่ได้อาจ
ใช้ไมูได้กับการปฏิบัติจริง
2.2 การวิจัยปฏิบัติการเชิงปฏิบัติจริง (practical
action research) เป็ นการวิจัยที่มี
นั กวิจัยภายนอกแสดงบทบาทของที่ปรึกษาด้านกระบวนการ
ทำางาน (process consultancy role) มีเป้ าหมายของการวิจัยที่มา
95

กกวูาแบบแรก คือ นอกจากชูวยปรับปรุงประสิทธิผลการทำางาน


แล้วยังมูุงสร้างความเข้าใจ และมูุงพัฒนาวิชาชีพให้กับผ้่ปฏิบัติ
ด้วยในกระบวนการวิจัยจะสูงเสริมให้ผ้่ปฏิบัติสะท้อนผลและคิด
วิเคราะห์พัฒนาปรับปรุงการทำางานของตนเอง ดังนั้ น คร่ซ่ึงเป็ นผ้่
ปฏิบัติในโรงเรียนมีโอกาสที่จะเรียนร้่กระบวนการวิจัยและมีสูวนใน
การเสนอความคิดในประเด็นปั ญหาวิจัยที่มาจากการปฎิบัติจริง
และสามารถนำาผลการวิจัยไปใช้ได้
2.3 การวิจัยปฏิบัติการเชิงวิพากษ์/อิสระ (critical /
emancipatory action research) เป็ น
การวิจัยที่มีการทำางานรูวมกันระหวูางนั กวิจัยภายนอกและผ้่ปฏิบัติ
งานในหนูวยงาน เป้ าหมายของการวิจัยเพื่อเติมจากการวิจัย
ปฏิบัติการแบบที่ 1 และ 2 คือนอกจากพัฒนาประสิทธิผลการ
ทำางาน การสูงเสริมให้เกิดความเข้าใจในการพัฒนาปรับปรุงการ
ทำางานแกูผ้่ปฏิบัติแล้ว ยังต้องการให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใน
ระบบการทำางานที่เป็ นอยู่ในองค์กรให้ดีข้ ึนกวูาเดิม แม้จะมีบุคคล
ภายนอกรูวมด้วย แตูทุกคนตูางมีสิทธิมีเสียงในการแสดงความคิด
เห็นเทูาเทียมกัน โดยไมูมีผ้่แสดงบทบาทเป็ นที่ปรึกษาการวิจัย
เหมือนแบบที่สองการวิจัยแบบนี้ เปิ ดโอกาสให้เกิดการพัฒนาความ
สามารถด้านการวิจัยแกูผ้่ปฏิบัติ นั กวิจัยจะเป็ นอิสระจากความร้่
กฎเกณฑ์ และพันธนาการทางความคิดเดิม
จะเห็นได้วูาแนวทางการทำาวิจัยปฏิบัติการทั้ง 3 แบบ มี
การเปลี่ยนแปลงแนวคิดของ
การทำางานจากที่ผ้่ปฏิบัติถ่กครอบความคิดโดยจากนั กวิจัยภายนอก
(cooption) ซึ่งเป็ นแบบแรกมาเป็ นการทำางานรูวมกัน
96

(cooperation) ในแบบที่สอง และประเภทการทำางานแบบที่สามซึ่ง


เป็ นการทำางานแบบรูวมมือ (collaboration) เป็ นแนวทางการวิจัย
ปฏิบัติการที่กำาลังเป็ นที่นิยมและยอมรับกันวูาจะสูงผลให้เกิดการ
พัฒนาวิชาชีพของผ้่ปฏิบัติมากกวูาแบบอื่น ๆ
3. ประเภทการวิจัยปฏิบัติการตามแนวคิดของ Calhoun
3.1 การวิจัยของคร่แบบทำาคนเดียว (individual
teacher research) เป็ นการวิจัยที่เน้น
การเปลี่ยนแปลงในห้องเรียนใดห้องเรียนหนึ่ ง โดยคร่กำาหนด
ปั ญหาในห้องเรียนที่ต้องการแก้ไข และหาแนวทางแก้ไข นั กเรียน
อาจไมูมีสูวนในการชูวยกำาหนดทางเลือกตูาง ๆ หากจะมีผ้่
ปกครองเกี่ยวข้องด้วยในการทำาวิจัยก็จะเป็ นเพียงผ้่ให้ข้อม่ล
มากกวูา
3.2 การวิจัยปฏิบัติการแบบรูวมมือ (collaborative
action research) เป็ นการวิจัยที่ทำา
เป็ นกลูุม ผ้่วิจัยมีจำานวน 1-2 คนขึ้นไป ประกอบด้วย คร่ ผ้่
บริหาร และนั กวิชาการจากมหาวิทยาลัยหรือบุคลากรอื่น ๆ มีจุด
มูุงหมายเน้นที่ปัญหาและการเปลี่ยนแปลงซึ่งเกิดขึ้นในห้องเรียน
ใดห้องเรียนหนึ่ ง คณะวิจัยอาจจะเห็นปั ญหาในระดับพื้ นที่ของตน
แตูยังเป็ นกระบวนการที่เป็ นการสืบค้นความร้่ในห้องเรียน
กระบวนการทำาวิจัยจะเหมือนกับการทำาวิจัยของคร่ท่ีทำาคนเดียว
3.3 การวิจัยปฏิบัติการแบบทำาทั้งโรงเรียน
(schoolwide action research) เป็ นการวิจัยที่
คณะทำางานเป็ นผ้่ปฏิบัติในโรงเรียน มีการทำางานโดยเลือกปั ญหา
วิจัยที่สนใจรูวมกัน มีการรวบรวมข้อม่ล การจัดระบบ และการ
97

แปลความหมายข้อม่ลที่ได้จากโรงเรียนหรือเอกสารที่เกี่ยวข้อง
กระบวนการวิจัยเป็ นแบบวงจรตูอเนื่ อง ที่มีหน้าที่เหมือนการ
ประเมินความก้าวหน้า มีจุดมูุงหมายเน้นที่การปรับปรุงโรงเรียน
ได้แกู 1) การค้นหาวิธีปรับปรุงโรงเรียนเพื่อแก้ปัญหา 2) พยายาม
ปรับปรุงการทำางานเพื่อให้เกิดความเทูาเทียมกันแกูนักเรียน 3)
เพิ่มขอบขูายของสาระในการสืบค้นแนวทางการแก้ปัญหา
Mckernan(1996) (อ้างใน ประจิต เอราวรรณ์, 2545 : 7-8)
ได้แบูงการวิจัยปฏิบัติการออกเป็ น 3 ประเภท คือ
1. การวิจัยปฏิบัติการเชิงวิธีวิทยาศาสตร์ (Scientific Action
Research) เป็ นการวิจัยปฏิบัติการที่อาศัยกระบวนการวิทยาศาสตร์
เป็ นวิธีวิจัยหรือวิธีแก้ปัญหา ยกตัวอยูางเชูน
- ร่ปแบบวิจัยปฏิบัติการของ Kurt Lewin ที่มีข้ ันตอน คือ
การวางแผน (Planning) การค้นหาความจริง (fact finding) การ
ดำาเนิ นการ (execution) และการวิเคราะห์ผล (analysis)
- ร่ปแบบวิจัยปฏิบัติการของ Taba-Noel Hilda Taba ซึ่ง
เป็ นนั กทฤษฎีหลักส่ตร ได้ประยุกต์วิธีการของ Dewey ที่มี 5 ขั้น
ตอน มาใช้ในกระบวนการพัฒนาหลักส่ตรโดยแยกได้เป็ น 6 ขั้น
ตอน คือ 1) ระบุปัญหา 2) วิเคราะห์ปัญหา 3) กำาหนดแนวคิด
หรือสมมุติฐาน 4) รวบรวมและวิเคราะห์ข้อม่ล 5) ปฏิบัติการหรือ
ดำาเนิ นการ 6) ประเมินผลการปฏิบัติ
- ร่ปแบบวิจัยปฏิบัติการของ Lippitt-Radke ซึ่งมี
กระบวนการ ดังนี้
1) เริม
่ ต้นจากกลูุมที่มีความต้องการที่จะค้นหาความร้่ความ
จริง
98

2) รูวมกันกำาหนดวูา “อะไรคือสิ่งที่กลูุมอยากร้่”
3) สร้างเครื่องมือวิจัยที่เป็ นวิทยาศาสตร์ข้ ึนมา
4) กำาหนดกลูุมเป้ าหมายและทดลองใช้เครื่องมือ
5) รวบรวมข้อม่ลโดยมีการรูวมกันกำากับติดตามอยูางใกล้ชิด
6) รวบรวมข้อม่ลด้านทัศนคติท่ีเปลี่ยนแปลงไปของผ้่
เกี่ยวข้อง เชูน ตั้งคำาถามวูา “มองสิ่งตูาง ๆ แตกตูางไปจากเดิม
หรือไมูเมื่อร้่ความจริง”
7) รูวมมือกันค้นหาความจริงและนำาเสนอความจริง ซึ่งอาจ
ต้องใช้เทคนิ ควิจัยเฉพาะ และควรแบูงงานกันอยูางเสมอภาค
8) ในบางครั้งข้อค้นพบทีเ่ กิดขึ้นอาจสูงผลตูอการ
เปลี่ยนแปลงคูานิ ยมหรือการรับร้่ทางสังคมของกลูุมหรือคนใดคน
หนึ่ ง ซึ่งต้องชูวยกันสำารวจให้พบ
9) เสนอข้อค้นพบให้กลูุมอื่นร้่โดยการสนทนาหรือเขียนเป็ น
รายงาน
2. การวิจัยปฏิบัติการเชิงปฏิบัติการ (Practical-deliberative
Action Research) เป็ นการวิจัยปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับความ
เข้าใจและปรับปรุงพัฒนาวิธีการปฏิบัติงาน ซึ่งร่ปแบบนี้ จะเน้นที่
การให้เกิดการวิจัยขึ้นจากคูานิ ยมในการปฏิบัติงาน ผ้่ปฏิบัติงาน
เป็ นผ้่เริม
่ โครงการ และบทบาทของผ้่วิจัย คือ การกระตุ้น และ
ชูวยให้ผ้่ปฏิบัติงานเกิดความเข้าใจและทำาการปรับปรุงการปฏิบัติ
งาน เชูน
- ร่ปแบบวิจัยปฏิบัติการของ John Elliott จะเน้นวิธีการให้ผ้่
ปฏิบัติงานสูองสะท้อนการพัฒนาตนเอง ในมุมมองของ John
99

Elliott เขาเชื่อวูาการวิจัยปฏิบัติการจะนำาไปสู่การปรับปรุงคุณภาพ
ชีวิตที่ดีในสถานการณ์ทางสังคม
- ร่ปแบบวิจัยปฏิบัติการของ David Ebbutt ซึ่งเสนอวูา
แนวทางที่ดีท่ีสุดในการคิดเชิงกระบวนการคือ ลำาดับขั้นตอนตาม
วงจรแหูงความสำาเร็จ ไมูใชูการดำาเนิ นการแบบเกลียว
3. การวิจัยปฏิบัติการเชิงอิสระ (Emancipatory Action
Research) เป็ นการวิจัยปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับการตอบสนอง
ความต้องการขององค์กร โดยมีจุดประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจ
และปรับปรุงการปฏิบัติงาน โดยกลูุมผ้่วิจัยมีอิสระในการเผชิญ
หน้ากับปั ญหา และรูวมมือกันแสวงหาวิธีการที่ดีท่ีจะแก้ไข แล้ว
สูองสะท้อนตนเองจากผลการปฏิบัติ เชูน ร่ปแบบวิจัยเชิงปฏิบัติ
การของมหาวิทยาลัย Deakin หรือการวิจัยปฏิบัติตามร่ปแบบของ
Kemmis และคณะ ซึ่งมีความคิดวูา กระบวนการวิจัยปฏิบัติการมี
ลักษณะเป็ นเกลียว (spiral) ประกอบด้วย การวางแผน การปฏิบัติ
การสังเกตผล และการสะท้อนผล ซึ่งร่ปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติ
การร่ปแบบของ Kemmis และคณะผ้่วิจัยได้นำามาเป็ นแนวทางใน
การวิจัยในครั้งนี้
7. ขั้นตอนของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
ขั้นตอนของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (ทวีป ศิรริ ศ
ั มี ,
2537 : 15-18 อ้างใน สุพัฒน์ มีสกุล, 2546 : 18) มีดังนี้
1. สำารวจ การประเมิน และการกำาหนดปั ญหา
(indentification , evalution and
formulation of the problem) การวิจัยเชิงปฏิบัติงานจะเริม
่ ขึ้นจาก
ผ้่ปฏิบัติงาน เกิดความร้่สึกไมูพอใจกับสภาพการทำางานและผล
100

งานที่เป็ นอยู่ มีความร้่สึกอึดอัด ต้องการแก้ไขเปลี่ยนแปลงการ


์ ่งขึ้น สภาพของปั ญหาอาจจะ
ปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิส
แบูงได้เป็ น 3 ประเภท คือ
1.1 ปั ญหาขัดข้อง คือ เป็ นปั ญหาที่เกิดขึ้นในอดีต
และปั จจุบันก็ยังเป็ นปั ญหาอยู่
ถ้าไมูได้รบ
ั การแก้ไข ปั ญหานี้ ก็ยังคงอยู่และดำาเนิ นตูอไปในอนาคต
1.2 ปั ญหาป้ องกัน คือ คาดวูาจะมีปัญหาเกิดขึ้นใน
อนาคต จึงต้องเตรียมการแก้ไข
ไว้กูอน
1.3 ปั ญหาเชิงพัฒนา คือ ปั ญหาที่เกิดขึ้นมาแล้ว จน
คนทัว่ ๆ ไปไมูคูอยตระหนั กแตู
จะมีคนอีกกลูุมหนึ่ งพยายามจะแก้ไขและต้องเปลี่ยนแปลงให้ดีข้ ึน
ในการกำาหนดปั ญหาเพื่อทำาการวิจัยเชิงปฏิบัติการ สามารถ
ทำาได้หลายวิธี โดยอาจปรึกษาหารือกันระหวูางผ้่เข้ารูวมใน
โครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการ การประชุมกลูุม เทคนิ คที่นำามาใช้มาก
ในการสำารวจปั ญหา การกำาหนดปั ญหา คือ เทคนิ คการระดมพลัง
สมอง การหาปั ญหาอาจจะอาศัยข้อม่ล จากการสำารวจใน
แบบสอบถามที่เคยมีผ้่ทำาการสำารวจไว้กูอน หรือข้อม่ลจากผลการ
วิจัยที่แล้ว ๆ มา
2. เสนอทางแก้ปัญหา (discussion of proposals for action)
เมื่อกำาหนดปั ญหาได้แล้ว
ผ้่เข้ารูวมการวิจัยก็จะรูวมกันพิจารณาหาทางแก้ไข ซึ่งมักจะใช้วิธี
ระดมพลังสมอง นั กวิจัยจะต้องมีทักษะในการเป็ นผ้่ดำาเนิ นการที่
จะดึงเอาความคิดของนั กปฏิบัติหรือผ้่รูวมปฏิบัติงานออกมาให้ได้
101

ขณะเดียวกันนั กวิจัยก็สามารถมีสูวนรูวมโดยการเสนอทางแก้
ปั ญหา ในฐานะสมาชิกคนหนึ่ งได้
3. การเลือกทางแก้ปัญหาและตั้งสมมติฐาน (selecting the
course of action and
developing the hypotheses) เมื่อผ้่เข้ารูวมการวิจัยได้รูวมกันเสนอ
ทางแก้ปัญหาอยูางทัว่ ถึงแล้ว ตูอจากนั้ นก็จะรูวมกันอภิปรายเพื่อ
เลือกทางเลือกที่เสนอมานั้ น เกณฑ์สำาหรับนำามาประกอบการ
พิจารณา เลือกทางแก้ปัญหาอยูางน้อยที่สุด จะต้องประกอบด้วย
เกณฑ์ตูอไปนี้
3.1 ทางแก้ปัญหานั้ นสามารถนำาไปปฏิบัติเพื่อแก้
ปั ญหาได้หรือไมู และมีความเป็ นไป
ได้เพียงใดในการแก้ปัญหานั้ น
3.2 ทางแก้ปัญหานั้ นสอดคล้องกับวิถีชีวิต คูานิ ยมที่
สังคมยอมรับและต้องการหรือไมู
3.3 ทางแก้ปัญหานั้ นมีทฤษฎีหรือหลักการอะไร
รองรับหรือไมู เมื่อตกลงใจเลือกทาง
แก้ปัญหาได้แล้ว ก็นำาทางแก้ปัญหาที่รูวมกันเลือกมานั้ นพัฒนา
เป็ นสมมติฐานสำาหรับการปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหานั้ นตูอไป
สมมติฐานในการวิจัยเชิงปฏิบัติการจะต้องประกอบ
ด้วยสูวนที่จะเน้นการปฏิบัติหรือวิธีการ (action or procedure)
และสูวนที่เป็ นเป้ าหมายหรือผลลัพธ์ (goal or output) ในการตั้ง
สมมติฐานของการวิจัยเชิงปฏิบัติการจะพิจารณาวูา
1) เป็ นสมมติฐานที่ทดสอบได้หรือไมู
102

2) จะใช้วิธีการทางการอนุ มาน (deductive method) ได้


หรือไมู
3) สมมติฐานนั้ นสามารถนำาไปสู่การแก้ปัญหาหรือตอบ
ปั ญหาได้หรือไมู
4) สมมติฐานนั้ นงูายตูอการนำาไปปฏิบัติหรือทดสอบ
หรือไมู
5) การปฏิบัติตามสมมติฐานมีความเหมาะสมกับงบ
ประมาณหรือไมู
6) สมมติฐานขัดแย้งกับแบบแผนและคูานิ ยมของ
องค์กรหรือไมู
7) สมมติฐานมีความชัดเจนเพียงพอหรือไมู
3.4 การวางแผนปฏิบัติและการเก็บรวบรวมข้อม่ล
(planning for action and collection
of data) สมมติฐานที่ต้ ังขึ้น จะชูวยให้ผ้่มีสูวนรูวมในการวิจัยมอง
เห็นความสัมพันธ์ระหวูางตัวแปร แหลูงข้อม่ลที่ต้องเก็บรวบรวม
และวิธีการเก็บรวบรวมข้อม่ล ในการวางแผนเพื่อเก็บรวบรวม
ข้อม่ลจะต้องพิจารณาถึงข้อม่ลที่จะเก็บ แหลูงข้อม่ล เครื่องมือใน
การเก็บรวบรวมและจะเก็บรวบรวมข้อม่ลวิธีใด เมื่อไร ใช้เวลา
เทูาใดอีกด้วย
3.5 การปฏิบัติตามแผนและการบันทึกผลที่เกิดขึ้น
(taking action and gathering
evidence) เป็ นขั้นที่นำาสมมติฐานมาทดสอบเป็ นการปฏิบัติตาม
แผนซึ่งแผนเป็ นขั้นตอนที่สำาคัญที่สุด ตลอดระยะเวลาที่ลงมือ
ปฏิบัติ ผ้่เข้ารูวมโครงการวิจัยจะทำาการบันทึกผลที่เกิดจากการ
103

ปฏิบัติ มีการเก็บข้อม่ลเป็ นระยะอยูางตูอเนื่ อง มีการพบปะกันเป็ น


ระยะทุกสัปดาห์ มีการอภิปรายผลการปฏิบัติ ผลการเก็บข้อม่ล
และประเมินผลการปฏิบัติงานของผ้่เข้ารูวมในการวิจัยในขั้นตอนนี้
อาจจะเปลี่ยนจุดมูุงหมายของโครงการวิจัยใหมู มีการปรับ
สมมติฐานใหมู ปรับแผนปฏิบัติการใหมู ถ้าหากวูาผ้่รูวมวิจัยเห็น
วูาสภาพการณ์เปลี่ยนไปหรือมองเห็นการแก้ปัญหาที่ดีกวูา
3.6 การแปลความหมายข้อม่ลหรือการสรุปผล
(interpreting of the data or drawing
conclusion) ในขั้นตอนนี้ เป็ นการสรุปผลการปฏิบัติงานทั้งหมด
ตามโครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการ จากข้อม่ลหรือผลทีบ
่ ันทึกไว้
ทั้งหมด และมีการประเมินผลโครงการทั้งหมด เป็ นการสรุปผล
จากการทดสอบทางสถิติและทำาการประเมินผลโครงการเปรียบ
เทียบระหวูางผลการปฏิบัติท่ีเกิดขึ้นจริงกับผลที่กำาหนดไว้ในสูวน
ของสมมติฐาน
แนวทางความรูวมมือระหวูางนั กวิจัยและนั กปฏิบัติใน
โครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
กลูาวโดยสรุป การวิจัยเชิงปฏิบัติการมีลักษณะที่สำาคัญ 3 ประการ
คือ
1) เป็ นการวิจัยรูวมกันอยูางใกล้ชิดระหวูางนั กวิจัยและนั ก
ปฏิบัติ
2) เป็ นการเชื่อมโยงระหวูางการวิจัยกับการปฏิบัติ
3) การปฏิบัติการเป็ นการดำาเนิ นการตามระเบียบวิธีวิจัย
ฉะนั้ น หัวใจของวิจัยเชิงปฏิบัติการจึงต้องเป็ นความรูวม
มือกันระหวูางนั กวิจัยและ
104

นั กปฏิบัติ ควรมีการเสนอแนะ แลกเปลี่ยนความเห็นซึ่งกันและกัน


จากสิ่งที่ตนเองได้กระทำา เนื่ องจากทั้งนั กวิจัยและผ้่ปฏิบัติมี
บทบาทตูางกัน เพื่อให้เกิดการทำางานรูวมกันอยูางมีประสิทธิภาพ
และมีประสิทธิผล
ประจิต เอราวรรณ์ (2545 : 26 – 27) ได้นำาเสนอขั้นตอน
การวิจัยปฏิบัติการทางการศึกษา ไว้ 5 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 การศึกษา สำารวจ วิเคราะห์สภาพการปฏิบัติ
งาน เพื่อกำาหนดจุดพัฒนา ขั้นตอนนี้ นั กวิจัยสามารถใช้วิธีการหรือ
เครื่องมือตูาง ๆ มาทำาการรวบรวมข้อม่ล ได้แกู การสังเกต การ
สัมภาษณ์ การบันทึกเหตุการณ์ การตรวจสอบและวิเคราะห์
เอกสาร การทดสอบ ฯลฯ ในขั้นตอนนี้ ถ้าหากเป็ นการวิจัยปฏิบัติ
การที่มีบุคคลภายนอกรูวมเป็ นนั กวิจัย ต้องให้ความสำาคัญกับการมี
สูวนรูวมของทุกฝู ายในการกำาหนดปั ญหา หรือกำาหนดจุดพัฒนา
หรือหาจุดสนใจรูวมกันที่จะวิจัย ไมูควรที่จะให้เป็ นบทบาทของนั ก
วิจัยภายนอกเทูานั้ น
ขั้นตอนที่ 2 การวางแผนเพื่อแก้ปัญหาและ/หรือเพื่อพัฒนา
ขั้นตอนนี้ ต้องอาศัยกลูุมผ้่เกี่ยวข้องหรือกลูุมนั กวิจัยรูวมกัน
กำาหนดแผนงานที่จะนำาไปใช้ ซึ่งแผนควรประกอบด้วย จุด
ประสงค์ของแผน ขั้นตอนและวิธีการ เครื่องมือและวิธีการประเมิน
ผล ความก้าวหน้าหรือความสำาเร็จ การรวบรวมข้อม่ลเพื่อประกอบ
การวางแผนอาจได้มาจากการสัมภาษณ์ การตรวจสอบและ
วิเคราะห์เอกสาร กระบวนการกลูุม ฯลฯ
ขั้นตอนที่ 3 การปฏิบัติตามแผนงาน นั กวิจัยนำาแผนที่จัดทำา
ขึ้นไปปฏิบัติในสภาพการณ์ทำางานที่ประสบปั ญหาอยู่ และมีการ
105

รวบรวมข้อม่ลการปฏิบัติอยูางละเอียดรอบคอบ ซึ่งการรวบรวม
ข้อม่ลนั้ น อาจทำาเป็ นบันทึกประจำาวันหรืออนุ ทินการทำาตาราง
ปฏิบัติงาน การทำาตารางวิเคราะห์และเวลา เป็ นต้น
ขั้นตอนที่ 4 การสังเกตผล เป็ นการเก็บรวบรวมข้อม่ล
ระหวูางและภายหลังการดำาเนิ นงานตามแผน วิธีการที่ใช้ในการเก็บ
รวมรวมข้อม่ลอาจใช้วิธีการเชิงปริมาณ เชูน การใช้แบบสอบถาม
แบบสำารวจ แบบวัด แบบบันทึกการสังเกต แบบทดสอบ หรือวิธี
การเชิงคุณภาพ เชูน การสังเกต การสัมภาษณ์ การสนทนากลูุม
ฯลฯ ก็ได้
ขั้นตอนที่ 5 การส่องสะท้อนผล เมื่อได้ข้อม่ลและผลการ
ปฏิบัติตามแผนที่กำาหนดไว้แล้ว นั กวิจัยรวมทั้งผ้เ่ กี่ยวข้องต้องมี
การรูวมกันพิจารณาจุดเดูนจุดด้อยที่ต้องพัฒนา หรือแก้ไขตูอไป
การรวบรวมข้อม่ลในขั้นตอนนี้ อาจใช้แบบประเมินผล การ
สัมภาษณ์ การสนทนากลูุม หรือเทคนิ คการระดมสมอง เป็ นต้น
หลังจากที่นักวิจัยทำาการประเมินผลการปฏิบัติงานตาม
แผนที่กำาหนดไว้แล้ว นั กวิจัยสามารถดำาเนิ นการได้ในลักษณะ 2
ลักษณะ คือ
1. ในกรณี ท่ีแผนงานนั้ นสามารถแก้ปัญหา หรือพัฒนาในสิ่ง
ที่ต้องการได้สำาเร็จ หรือ
2. ในกรณี ท่ีแผนงานนั้ นยังไมูสามารถแก้ปัญหา หรือพัฒนา
ได้ตามจุดประสงค์ท่ีกำาหนดไว้
ซึ่งขั้นตอนการวิจัยปฏิบัติการทางการศึกษา ทั้ง 5 ขั้นตอนนี้
ผ้่วิจัยได้ใช้เป็ นแนวทางในการวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการ
106

จัดการเรียนการสอนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนใน
ครั้งนี้
8. ข้อจำากัดของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
การวิจัยเชิงปฏิบัติการจะมีประโยชน์มากมาย แตูโดย
ธรรมชาติและหลักการของการวิจัยปฏิบัติการก็สูงผลให้เกิดข้อ
จำากัดของการวิจัยนี้ หลายประการเชูนกัน (สุวิมล วูองวาณิ ช, 2544
ก. : 16) ดังรายละเอียดตูอไปนี้
1. การมีสูวนรูวมของผ้่ปฏิบัติซ่ึงเป็ นหลักการสำาคัญของการ
วิจัยสูงผลกระทบตูอขอบเขต
และขนาดของงานวิจัย การวิจัยแบบนี้ มักจะมีขนาดเล็กซึ่งทำาให้มี
ผลตูอความเป็ นตัวแทนของข้อค้นพบ จึงกูอให้เกิดข้อจำากัดในการ
สรุปอ้างอิงผลการวิจัย
2. งานวิจัยทัว่ ไปไมูยอมให้มีตัวแปรภายนอกสูงผลรบกวน
โดยออกแบบการวิจัยให้
สามารถควบคุมตัวแปรภายนอกได้ และก็สามารถดำาเนิ นการจัด
กระทำาได้ เนื่ องจากงานวิจัยแบบนั้ นไมูได้ทำาเป็ นสูวนหนึ่ งของการ
ปฏิบัติจริงในชีวิตประจำาวัน แตูสำาหรับงานวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้น
เรียน มักมีปัญหาในประเด็นนี้ เนื่ องจากสภาพการณ์ท่ีเกิดในชั้น
เรียนจะปลูอยให้เป็ นไปตามธรรมชาติ ข้อค้นพบที่ได้รบ
ั บางครั้งไมู
สามารถยืนยันได้หนั กแนูนวูาเนื่ องมาจากปั จจัยใด แตูตราบใดที่
ปั ญหาในชั้นเรียนหมดไป ก็ถือวูาการวิจัยครั้งนั้ นประสบความ
สำาเร็จ
3. ธรรมชาติของงานวิจัยถ่กกำาหนดด้วยเงื่อนไขที่มีเรื่องของ
คุณธรรมเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย
107

ในการทำางาน ทำาให้การทดลองตูาง ๆ ที่เกิดขั้นในการปฏิบัติงาน


อาจทำาได้ไมูเต็มที่ เนื่ องจากสิ่งที่ทดลองก็ยังไมูได้มีการตรวจสอบ
ยืนยันในผลที่จะเกิดขึ้น วูาจะเป็ นไปในทิศทางใด
4. มีการวิพากษ์กันมากเกี่ยวกับเจ้าของผลงานวิจัย และมี
การหวัน
่ เกรงกันวูาจะมีการแยูง
ผลงานวิจัย เนื่ องจากเป็ นงานวิจัยที่มีกระบวนการทำางานรูวมกัน
ระหวูางผ้่ปฏิบัติงานและผ้่วิจัยภายนอก เพื่อป้ องกันปั ญหาดังกลูาว
ผ้่ท่ีมีสูวนรูวมในการวิจัย ไมูวูาจะเป็ นคร่นักวิจัย หรือนั กวิชาการ
ต้องทำาความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของแตูละคนและตกลงในเรื่อง
นี้ ให้เข้าใจตรงกัน
5. กระบวนการวิจัยปฏิบัติการไมูได้แยกคร่ออกมาจากการ
วิจัย เนื่ องจากผ้่วิจัยต้อง
เกี่ยวข้องในการทำางานของตนและผ้่อ่ ืนตลอดเวลา การวิจัยปฏิบัติ
การจึงเป็ นการเพิ่มภาระงานของคร่มากขึ้นจากการทำางานปกติ
โดยเฉพาะในชูวงแรกของการวิจัย ที่คร่นักวิจัยต้องวิเคราะห์สภาพ
ปั ญหาและกำาหนดแนวทางการแก้ไข เพื่อให้การทำาวิจัยไมูเป็ น
ภาระสำาหรับคร่มากเกินไป ต้องมีการออกแบบการวิจัยให้เป็ นสูวน
หนึ่ งของการเรียนการสอนให้มากที่สุด
กลูาวโดยสรุป การวิจัยเชิงปฏิบัติการเป็ นการวิจัยที่มีจุด
ประสงค์หลักเพื่อศึกษาและทำาความเข้าใจสถานการณ์ใด
สถานการณ์หนึ่ งเป็ นการเฉพาะ โดยให้ผ้่ปฏิบัติได้ลงมือทำาหรือ
ปฏิบัติงานที่จะชูวยพัฒนางานหรือสภาพการณ์ที่ตนเองทำางานหรือ
รับผิดชอบ ทำาให้การทำางานมีระบบ รวมทั้งเป็ นกระบวนการที่มี
การทบทวน ไตรูตรองการทำางานของตน และสูวนที่สำาคัญการวิจัย
108

เชิงปฏิบัติการยังแตกตูางจากการวิจัยประเภทอื่นกลูาวคือ ผลการ
วิจัยที่ได้จะต้องมีการนำาเสนอเพื่อทำาการแลกเปลี่ยน ทำาการ
วิพากษ์จากผ้่รูวมงาน และผ้่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็ นกระบวนการวิจัยที่
มูุงให้เกิดความรูวมมือในกลูุมที่ใช้ด้วย นั ่นคือ การวิจัยชนิ ดนี้ ไมู
ควรจะทำาตามลำาพังและควรใช้วงจรของกระบวนการวิจัยซึ่ง
ประกอบด้วย การวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อน
ผลการปฏิบัติ เพื่อนำามาปรับปรุงแผนงาน แล้วดำาเนิ นกิจกรรมที่
ปรับปรุงใหมู ซึง่ วงจรของ 4 ขั้นตอนดังกลูาว จะมีลักษณะการ
ดำาเนิ นการเป็ นบันไดเวียน กระทำาซำ้าตามวงจรจนกวูาจะได้ผล
ปฏิบัติการให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางพัฒนาขึ้นโดยรับฟั งความ
คิดเห็น ข้อติเตียนผ้่เกี่ยวข้องอื่น ๆ คือ คร่ นั กเรียน ผ้่
ปกครอง ผ้บ
่ ริหาร หรือสังคมภายนอก บันทึกผลการปฏิบัติการ
ที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงทุก ๆ ขั้นตอน

2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจพอเพียง
ชัยรินทร์ ชัยวิสิทธิ ์ (2545) ได้วิจัยเรื่อง การวิจัยเชิง
ปฏิบัติการแบบมีสูวนรูวมเพื่อสร้างเสริมคูานิ ยมตามแนวคิด
เศรษฐกิจพอเพียงให้นักเรียนและชุมชนด้วยโครงงานอาชีพ ผล
การวิจัยพบวูา ในการทำาโครงงานอาชีพของนั กเรียนนั้ นยังมีการใช้
จูายฟู ุมเฟื อย ใช้วส
ั ดุอุปกรณ์ไมูคุ้มคูา ไมูประหยัดและใช้อยูางสิ้น
เปลืองรวมทั้งยังไมูมีการแลกเปลี่ยนพันธ์ุพืช พันธ์ุสัตว์ เครื่องมือ
และความร้่ตูาง ๆ แกูกัน หลังจากที่นักเรียนได้เรียนร้่เรื่องแนวคิด
เศรษฐกิจพอเพียงแล้วได้นำาไปประยุกต์ใช้ในโครงงานปรากฏวูา
นั กเรียนมีการใช้จูายในโครงงานอยูางประหยัด มีการใช้วัสดุ
อุปกรณ์อยูางคุ้มคูา มีการแลกเปลี่ยนพันธ์ุพืช พันธ์ุสัตว์ และความ
109

ร้่ตูาง ๆ นำาเศษสิ่งเหลือใช้ในโครงงานมาใช้ประโยชน์ ปรึกษากับ


คนในครอบครัวและภ่มิปัญญาท้องถิ่นมากขึ้น โดยทุกคนใน
ครอบครัวให้ความรูวมมือสนั บสนุ น สูวนความคิดเห็นของนั กเรียน
ที่มีตูอเนื้ อหา กิจกรรมการเรียนการสอนและคร่ผ้่สอนเป็ นไปใน
ทางบวกและความคิดเห็นของชุมชนที่มีตูอการทำาโครงงานอาชีพ
ของนั กเรียนก็เป็ นทางบวกเชูนเดียวกัน
พัฒนาภรณ์ ฉัตรวิโรจน์ (2545 : บทคัดยูอ) ได้ศึกษาเรื่อง
บทบาทของคร่ในการสูงเสริมความร้่เศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียน
มัธยมศึกษา จังหวัดขอนแกูน กลูุมประชากรที่ศึกษาได้แกู คร่ใน
โรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดขอนแกูน ผลการศึกษาสรุปได้วูา คร่
สูวนใหญูให้ความสำาคัญกับบทบาทการสูงเสริมความร้่ในระดับตำ่า
110

บทที่ 3
วิธีดำาเนิ นการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้ ใช้วิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research)
ตามแนวคิดของเคมมิสและแมคทาคกาท (Kemmis and
McTaggart , 1982 อ้างใน ประจิต เอราวรรณ์, 2545 : 15-16)
เพื่อเสริมสร้างศักยภาพผ้่บริหาร และคร่ด้านการจัดการเรียนร้่ตาม
แนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนสังกัดสำานั กงานเขต
พื้ นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 1 ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน (PAOR)
ได้แกู การวางแผน (Planning) การปฏิบัติ (Action) การสังเกต
(Observation) และการสะท้อนผล (Reflection) และผ้่วิจัยใช้วิธี
การวิจัยเชิงคุณภาพในการเก็บรวบรวมข้อม่ลที่อยู่บนแนวการ
ปฏิบัติของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ โดยมีวิธีการดำาเนิ นการวิจัย ดังนี้
1. การกำาหนดโรงเรียนกรณีศึกษา
โรงเรียนกรณี ศึกษาที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ผ้ว่ ิจัยได้
กำาหนดคุณสมบัติ ดังนี้
1. เป็ นโรงเรียนที่ผ้่บริหารให้การสนั บสนุ นในการเข้ารูวมการ
วิจัยครั้งนี้ เนื่ องจาก
111

กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ เป็ นกระบวนการที่ต้องการเวลา


และความตูอเนื่ องในการทำางานรูวมกันระหวูางผ้่วิจัย ผ้่บริหาร
คณะคร่และบุคลากรทางการศึกษา ดังนั้ นต้องอาศัยความรูวมมือ
จากผ้่บริหารโรงเรียนที่จะชูวยอำานวยความสะดวกเปิ ดโอกาสให้ผ้่
วิจัยได้มีโอกาสเข้าไปทำางานรูวมกับ คณะคร่และบุคลากรทางการ
ศึกษา และคณะคร่และบุคลากรทางการศึกษาก็ต้องมีความเต็มใจ
ในการให้ความรูวมมือในการดำาเนิ นงานตามขั้นตอนของ
กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการที่ผ้่วิจัยได้วางแผนไว้อีกด้วย
2. เป็ นโรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนตามหลักส่ตรการ
ศึกษาขั้นพื้ นฐาน พ.ศ.2544
3. เป็ นโรงเรียนที่ผ้่บริหาร คณะคร่และบุคลากรทางการศึกษา
มีความสนใจเข้ารูวมการ
วิจัยครั้งนี้
ผ้่วิจัยได้ดำาเนิ นการติดตูอกับโรงเรียนกรณี ศึกษา โดยได้
ติดตูอและขออนุ ญาตผ้่บริหารโรงเรียนเข้าไป พ่ดคุย และสังเกต
การจัดการเรียนการสอน เพื่อศึกษาเกี่ยวกับข้อม่ลทัว่ ไปของ
โรงเรียนกูอนที่จะดำาเนิ นการวิจัยตูอไป
2. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
เครื่องมือที่ผ้่วิจัยใช้ในการเก็บรวมรวมข้อม่ลในการวิจัยใน
ครั้งนี้ ผ้ว่ ิจัยสร้างขึ้นโดยการศึกษาจากเอกสาร ตำาราและหลักการ
สร้างหรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือชนิ ดนั้ น ๆ โดยอาศัยหลัก
การของการประเมินผลตามสภาพจริงที่เกิดจากการปฏิบัติงานจริง
ๆ มีการปรับและเปลี่ยนแปลง ตลอดจนมีการพัฒนาเครื่องมืออยู่
ตลอดชูวงการดำาเนิ นการปฏิบัติตามแผนที่ได้กำาหนดไว้ เพื่อให้ได้
112

เครื่องมือที่มีคุณภาพ สามารถวัดในสิ่งที่ต้องการจะวัดได้ และมี


ความสอดคล้องกับสภาพที่เกิดขึ้นจริง สามารถนำาไปใช้ในการ
รวบรวมข้อม่ลได้ครอบคลุมทุกแงูทุกมุม ซึ่งประกอบด้วย
2.1 แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม (Focus Group Piscussion)
เป็ นแบบบันทึกที่ผ้่วิจัยใช้ในการบันทึกข้อม่ลที่ได้จากการสนทนา
กลูุมระหวูางผ้่บริหาร คร่และผ้่วิจัย เพื่อสรุปประเด็นหรือสาระ
สำาคัญที่เกิดจากการอภิปราย การเสนอแนะ การแสดงความคิด
เห็น หรือข้อขัดแย้งในหัวข้อตูาง ๆ ของผ้่บริหาร คร่กับผ้่วิจัย ที่
ได้กำาหนดไว้แล้วในปฏิทินการปฏิบัติงาน
2.2 แบบสังเกตชนิ ดมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม เป็ นแบบ
สังเกตที่ผ้่วิจัยใช้ในการบันทึกพฤติกรรมของผ้่บริหาร คร่ นั กเรียน
ในขณะที่ผ้่วิจัยเข้าไปเยี่ยมโรงเรียน เยี่ยมชั้นเรียน เพื่อติดตามผล
การดำาเนิ นงานในระหวูางการวิจัย
2.3 แบบสัมภาษณ์ชนิ ดมีโครงสร้าง เป็ นเครื่องมือทีผ
่ ้่วิจัยใช้
ในการสัมภาษณ์ผ้่บริหาร คร่ ตลอดชูวงการดำาเนิ นการวิจัย ซึ่ง
แบบสัมภาษณ์มีการกำาหนดประเด็นในการสัมภาษณ์ไว้ลูวงหน้า
และแบบสัมภาษณ์นักเรียนที่เป็ นกลูุมเป้ าหมายของผ้่บริหาร และ
คร่ ในการพัฒนาการจัดการเรียนร้่ตามแนวทางของเศรษฐกิจพอ
เพียง เพื่อทราบผลการพัฒนาการจัดการเรียนร้่ในการวิจัยครั้งนี้
2.4 แบบบันทึกพฤติกรรมผู้บริหาร ครู และนักเรียน เป็ น
แบบบันทึกที่ผ้่วิจัยใช้ในการรวบรวมพฤติกรรมของผ้บ
่ ริหาร คร่
และนั กเรียน ที่เข้ารูวมการวิจัยในครั้งนี้ โดยใช้เกณฑ์การประเมิน
ตามสภาพจริงในการวัดและประเมินพฤติกรรมในการดำาเนิ นงาน
ของผ้่บริหาร คร่ และนั กเรียนใน 4 ด้าน ได้แกู ความรับผิดชอบ
113

ความสนใจ ความรูวมมือ และการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นตลอดระยะ


เวลาการทำางานตั้งแตูเริม
่ ต้นจนสิ้นสุดกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติ
การ
2.5 แบบประเมินผล การพัฒนาศักยภาพการจัดการเรียนร้่
ตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงของผ้บ
่ ริหาร คร่ และนั กเรียน
ซึ่งจะเป็ นการประเมินผลจากผลงานและนวัตกรรมการศึกษาที่ผ้่
บริหาร คร่และนั กเรียนได้พัฒนาขึ้น

3. ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ
3.1 กำาหนดเนื้ อหาที่ต้องการศึกษา เพื่อให้ได้ข้อม่ลตาม
ลักษณะที่ต้องการ โดยคำานึ งถึงความครอบคลุมประเด็นที่ต้องการ
ศึกษาและความเหมาะสมของเครื่องเมือสามารถนำาไปรวบรวม
ข้อม่ลที่เกิดขึ้นตามสภาพที่เกิดขึ้นจึงจากการปฏิบัติงาน
3.2 ผ้ว่ ิจัยรูางต้นฉบับตามเนื้ อหาหรือประเด็นที่กำาหนด
3.3 เสนอผ้่เชี่ยวชาญและอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิ พนธ์ตรวจ
สอบหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้ อหา (Content Validity) ความเหมาะ
สมของเครื่องมือที่สามารถนำาไปใช้เก็บรวบรวมข้อม่ลตามสภาพ
ความเป็ นจริงได้ และผ้่วิจัยใช้เกณฑ์การตัดสินความคิดเห็นที่มี
ตูอเครื่องมือของผ้่เชี่ยวชาญ 2 ใน 3 ของผ้่เชี่ยวชาญ หลังจากนั้ น
ให้อาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิ พนธ์ได้ตรวจสอบเครื่องมืออีกครั้งซึ่ง
เป็ นการตัดสินครั้งสุดท้าย
3.4 ผ้ว่ ิจัยนำาเครื่องมือที่ผูานการตรวจสอบจากผ้่เชี่ยวชาญ
และอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิ พนธ์มาปรับปรุงแก้ไข และจัดพิมพ์
4. ขั้นตอนการดำาเนิ นการตามรูปแบบกระบวนการวิจัยเชิง
ปฏิบัติการ
114

การศึกษาวิจัยครั้งนี้ ใช้วิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action


Research) ตามแนวคิดของ เคมมิสและแมคทาคกาท (Kemmis
and Mc.Taggart, 1982 อ้างในประจิต เอราวรรณ์, 2545 : 15-16
) ชาวออสเตรเลีย เพื่อเสริมสร้างศักยภาพผ้่บริหารและคร่ด้านการ
จัดการเรียนร้่ตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งประกอบด้วย
ขั้นตอนการวิจัย 4 ขั้นตอน (PAOR) คือ การวางแผน (Plan) การ
ปฏิบัติ (Action) การสังเกต (Observation) การสะท้อนผล
(Reflection) ดังนี้
1. ขั้นวางแผนการปฏิบัติงาน (Planning) ในขั้นการ
วางแผนนี้ ผ้่วิจัยได้ดำาเนิ นการ
วางแผนในเรื่องของการกำาหนดการที่ใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อ
เตรียมความพร้อมกูอนจะมีการดำาเนิ นการตามขั้นตอนของ
กระบวนการวิจัย แผนงานที่ผ้่วิจัยกำาหนดมีข้ ันตอนการดำาเนิ นงาน
ดังนี้
1.1 ผ้่วิจัยได้รูวมพ่ดคุย สนทนา ปรึกษาหารืออยูางไมู
เป็ นทางการกับผ้่บริหาร
และคณะคร่ในโรงเรียน ในเรื่องจุดประสงค์ของการดำาเนิ นการวิจัย
เชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างศักยภาพผ้่บริหารและคร่ด้านการ
จัดการเรียนร้่ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียน และให้ผ้่
บริหารและคณะคร่ระบุปัญหาและความต้องการในด้านการพัฒนา
ศักยภาพด้านการจัดการเรียนร้่ตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง
1.2 นำาปั ญหาและความต้องการ มาวิเคราะห์เพื่อ
กำาหนดเป็ นแนวทางในการ
ดำาเนิ นงานวิจัยเชิงปฏิบัติการในครั้งนี้
115

1.3 ผ้่วิจัยจัดทำาปฏิทินการปฏิบัติงานวิจัยระหวูางผ้่วิจัย

กับผ้่บริหารและคณะคร่
ของโรงเรียน เพื่อเป็ นแนวทางในการดำาเนิ นการทำาวิจัยในครั้งนี้
2. ขั้นการปฏิบัตต
ิ ามแผน (Action) ในขั้นนี้ เป็ นการดำาเนิ น
การตามแผนการและปฏิทิน
การปฏิบัติงานที่ได้วางไว้ โดยมีการปรับเปลี่ยนการปฏิบัติได้ตาม
เหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นจริง มีการยึดหยูุนกระบวนการให้เป็ นไปตาม
ความเหมาะสม และสามารถปฏิบัติการได้จริง ขั้นตอนในการ
ดำาเนิ นงานเป็ นไปตามปฏิทินการปฏิบัติงานที่ได้กำาหนดไว้
3. ขั้นติดตามและประเมินผลระหว่างการปฏิบัติงาน
(Observation) ในขั้นนี้ เป็ นขั้นตอน
ที่ผ้่วิจัยได้ดำาเนิ นการและลงมือปฏิบัติควบคู่กับการดำาเนิ นงาน
ตั้งแตูข้ ันแรก ผ้่วิจัยตรวจสอบการทำากิจกรรมของผ้่บริหารและคร่
ในแตูละกิจกรรม โดยจะใช้วิธีการสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
ประเมินความก้าวหน้าในการทำางาน โดยการทำาการวิเคราะห์วูาพบ
ปั ญหาและอุปสรรคในการทำางานอยูางไร โดยใช้แบบสัมภาษณ์การ
ติดตามการปฏิบัติงาน และการสอบถาม
4. ขั้นประเมินผลการปฏิบัตงิ านเมื่อสิ้นสุดกระบวนการ
(Reflection) ขั้นตอนนี้ เป็ นการ
นำาข้อม่ลที่ได้จากการดำาเนิ นงานในขั้นที่ 3 มาวิเคราะห์ สังเคราะห์
และแปลความหมาย เพื่อเป็ นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนา
ในวงรอบตูอไป
5. การเก็บรวบรวมข้อมูล
116

การเก็บรวบรวมข้อม่ลที่ดำาเนิ นการในการทำาวิจัยครั้งนี้ ผ้่


วิจัยเป็ นผ้่ดำาเนิ นการเก็บรวบรวม
ข้อม่ลด้วยตนเอง ซึ่งจะมีการทำาหนั งสือถึงโรงเรียนทราบลูวงหน้า
กูอนเข้าไปเก็บข้อม่ลการวิจัยในแตูละครั้ง และระหวูางจัดเก็บ
ข้อม่ลจะมีการบันทึกเสียง การถูายภาพเหตุการณ์และสถานที่
เกี่ยวข้อง และจดบันทึกเพื่อเพิ่มความครบถ้วนของข้อม่ล หลัง
จากนั้ นจะทำาการรวบรวมข้อม่ลทุกด้านเพื่อทำาการวิเคราะห์และ
สรุปผลตูอไป
6. การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อม่ล ผ้ว่ ิจัยใช้วิธีวิเคราะห์โดยการวิเคราะห์
เนื้ อหา ซึ่งเป็ นเนื้ อหาที่อิงตามกรอบแนวคิดการวิจัย สามารถตอบ
วัตถุประสงค์ของการวิจัยได้อยูางถ่กต้องแล้วสรุปเป็ นความเรียง
และนำาเสนอข้อม่ลในลักษณะของการบรรยายในร่ปความเรียง
7. ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย
ระยะเวลาในการวิจัยใช้เวลาใน 1 ภาคการศึกษา คือในภาค
การศึกษาที่ 1/2551 เริม
่ เดือน พฤษภาคม 2551 ถึง 31
ตุลาคม 2551
117

บรรณานุกรม

สำานั กงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหูงชาติ. (2550). “พระบาท


สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับเศรษฐกิจ
พอเพียง”, กรุงเทพมหานคร: บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์
พับลิชชิ่ง จำากัด (มหาชน).
พัฒนาภรณ์ ฉัตรวิโรจน์. (2545). “บทบาทของครูในการส่งเสริม
ความรู้เศรษฐกิจพอเพียง
ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัด
ขอนแก่น”, วิทยานิ พนธ์,
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแกูน.
กฤษณพงศ์ วิมลศิลป์ . (2547). “เศรษฐกิจพอเพียงกับการก่อรูป
นโยบายทางแนวความคิด
118

ความมัน
่ คงของมนุษย์ของกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
กระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมัน
่ คงของมนุษย์”, วิทยานิ พนธ์, รัฐศาสนศาสตร
มหาบัณฑิต, สาขานโยบาย
สาธารณะ, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบ่รพา.
ชัยรินทร์ ชัยวิสิทธิ ์ .(2545). การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม
เพื่อสร้างเสริมค่านิ ยมตามแนวคิด
เศรษฐกิจพอเพียงให้นักเรียนและชุมชนด้วยโครงงานอาชีพ .
วิทยานิ พนธ์ปริญญาโท.
มหาวิทยาลัยเชียงใหมู.
โครงการพัฒนาแหูงสหประชาชาติประจำาประเทศไทย. (2550).
รายงานการพัฒนาคน
ของประเทศไทย ปี 2550. กรุงเทพมหานคร :
บริษัท คีน พับพลิชชิ่ง (ประเทศไทย) จำากัด.
กลูุมเครือขูายปฏิบัติการทางการศึกษา สำานั กงานผ้่ตรวจราชการ
ประจำาเขตตรวจราชการที่ 4.
(2550). รายงานการติดตามสถานศึกษาต้นแบบ (Good
Practice) ในเขตตรวจราชการที่ 4
ด้านนำาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดการศึกษา.
เอกสารหมายเลข 10/2550.
กระทรวงศึกษาธิการ.(2550). แนวทางการนำาปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงไปจัดการศึกษาในสถาน
ศึกษา. พฤษภาคม 2550.
119

ปรียานุ ช พิบ่ลสราวุธ และ ระวิวรรณ ภาคพรต. (2550). กรอบ


แนวคิดในการจัดทำาร่างหลักสูตร
เศรษฐกิจพอเพียง. 20 มิถุนายน 2550.
_____. (2550). การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา.
กรุงเทพมหานคร: ศ่นย์ประสาน
งานกลางการดำาเนิ นงานโครงการอันเนื่ องมาจากพระราชดำาริ
สำานั กงานปลัดกระทรวง
ศึกษาธิการ.
_____.(2549). เศรษฐกิจพอเพียงและการประยุกต์ใช้ด้านการ
ศึกษา. โครงการวิจัยเศรษฐกิจพอเพียง
สำานั กงานทรัพย์สินสูวนพระมหากษัตริย์ .
_____. (2549). ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการจัดการ
ศึกษา. เอกสารประกอบการบรรยาย.
โครงการวิจัยเศรษฐกิจพอเพียง สำานั กงานทรัพย์สินสูวนพระ
มหากษัตริย์ .
สุรยุทธ์ จุลานนท์. (2549). แนวทางการบริหารประเทศตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง.
เอกสารการบรรยาย วันศุกร์ท่ี 24 พฤศจิกายน 2549 ณ ตึก
สันติไมตรี ทำาเนี ยบรัฐบาล.
เกษม วัฒนชัย. (2548). การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอ
เพียงในเครือข่ายการศึกษา.
เอกสารการบรรยาย วันเสาร์ท่ี 17 มิถุนายน 2548 ณ ศ่นย์
ศึกษาการพัฒนาอูาวคุ้งกระเบน
อันเนื่ องมาจากพระราชดำาริ.
120

___________. (2550). ถอดรหัสเศรษฐกิจพอเพียงเวอร์ชัน


่ การ
ศึกษา. มติชนสุดสัปดาห์
ฉบับประจำาวันที่ 11-17 พฤษภาคม พ.ศ.2550 ปี ที่ 27 ฉบับ
ที่ 1395.
ระวิวรรณ ภาคพรต. (2550). ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังในหลักสูตร
เศรษฐกิจพอเพียง. สำานั กวิชาการ
และมาตรฐานการศึกษา สพฐ.
กรมสูงเสริมการเกษตร.(2543). เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการเกษตร
ที่พงึ่ พาตนเอง. สำานั กสูงเสริมและ
ฝึ กอบรม. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2550). ยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
(พ.ศ.2550 – 2554). กรุงเทพมหานคร: ศ่นย์ประสานงาน
กลางการดำาเนิ นงานโครงการอัน
เนื่ องมาจากพระราชดำาริ.สำานั กพัฒนากิจการนั กเรียน
นั กศึกษาและกิจการพิเศษ, สำานั กงานปลัดกระทรวง
ศึกษาธิการ.
_________________.(2550). การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
ด้านการศึกษา. กรุงเทพมหานคร:
ศ่นย์ประสานงานกลางการดำาเนิ นงานโครงการอันเนื่ องมา
จากพระราชดำาริ.สำานั กพัฒนากิจการนั กเรียน นั กศึกษาและ
กิจการพิเศษ, สำานั กงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.
สำานั กงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหูงชาติ.
(2550). เศรษฐกิจพอเพียงคือ
121

อะไร.กรุงเทพมหานคร: ศ่นย์ประสานงานกลางการดำาเนิ น
งานโครงการอันเนื่ องมาจาก
พระราชดำาริ.สำานั กพัฒนากิจการนั กเรียน นั กศึกษาและ
กิจการพิเศษ, สำานั กงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.
กรมวิชาการ. (2542). แนวการจัดการเรียนรู้เกษตรแบบเศรษฐกิจ
พอเพียง. กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพ์กรมการศาสนา กระทรงศึกษาธิการ.
เกษม วัฒนชัย. (2545). การปฏิรป
ู การศึกษาไทย.
กรุงเทพมหานคร : สำานั กงานคณะกรรมการ
การศึกษาแหูงชาติ.
วิทยา อธิปอนั นต์. (2542). เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการเกษตรที่
พึ่งพาตนเอง. กรุงเทพมหานคร :
กรมสูงเสริมการเกษตร.
สุเมธ ตันติเวชกุล. (2542). “การดำาเนิ นชีวิตในระบบเศรษฐกิจพอ
เพียงตามแนวพระราชดำาริ”
ในวันพัฒนา 2542. กรุงเทพมหานคร : กรมพัฒนาชุมชน.
ประจิต เอราวรรณ์. (2545). “การวิจัยปฏิบัติการการเรียนรู้ของครู
และการสร้างพลังร่วมใน
โรงเรียน”.กรุงเทพมหานคร : สำานั กพิมพ์ดอกหญ้าวิชาการ
จำากัด.
สุพัฒน์ มีสกุล. (2546) “กระบวนการวิจัยพัฒนาศักยภาพครูใน
การทำาวิจัยในชั้นเรียน”
โรงเรียนคลองลานวิทยา จังหวัดกำาแพงเพชร, วิทยานิ พนธ์
ปริญญาโท, สาขาวิชาวิจัยและ
122

สถิติการศึกษา, ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย


เชียงใหมู.
พันธ์ทิพย์ รามส่ตร.(2540).การวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วน
ร่วม.กรุงเทพฯ:สถาบันพัฒนาการ
สาธารณสุขอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล
บุญชม ศรีสะอาด. (2543) การวิจัยเบื้ องต้น. กรุงเทพฯ : สุวีรย
ิ า
สาส์น, 2543
สุภางค์ จันทวาณิ ช.(2531). การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิง
คุณภาพ.กรุงเทพฯ:สำานั กพิมพ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นิ ศา ช่โต. (2540). การวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ: พี. เอ็น.
การพิมพ์
ชาย โพสิตา.(2549).ศาสตร์และศิลป์ แห่งการวิจัยเชิง
คุณภาพ.กรุงเทพฯ:อมรินทร์พริ้นติ้งฯ
เสนูห์ มัง่ ม่ล.(2547). การพัฒนาวินัยนักเรียนโดยการมีส่วนร่วม
ของครูและผ้ป
ู กครองโรงเรียน
บ้านแม่มะ อำาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย. ปริญญา
นิ พนธ์ปริญญาครุศาสตร
มหาบัณฑิต, สาขาบริหารการศึกษา,บัณฑิต
วิทยาลัย,มหาวิทยาลัยราชภัฏกำาแพงเพชร.
ประสาท สหัสทัศน์.(2551). การพัฒนาครูเกี่ยวกับการจัดการเรียน
รู้กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้าน
ดนตรี และนาฏศิลป์ พื้ นเมือง โรงเรียนกมลาไสย อำาเภอ
กมลาไสย สำานักงานเขตพื้ นที่
123

การศึกษากาฬสินธ์ุ เขต 1 โดยใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติ


การ. โรงเรียนกมลาไสย
จังหวัดกาฬสินธ์ุ.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2550). คู่มือดำาเนิ นการพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาผู้นำาการเปลี่ยนแปลง
เพื่อรองรับการกระจายอำานาจสำาหรับครูและศึกษานิ เทศก์,
กระทรวงศึกษาธิการ.
สำานั กงานเขตพื้ นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 1. (2548). คู่มือการ
นิ เทศแบบมีส่วนร่วม.
กลูุมนิ เทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
สำานั กงานเขตพื้ นที่การศึกษา
ปทุมธานี เขต 1.
พัฒนาภรณ์ ฉัตรวิโรจน์. (2545). บทบาทของครูในการส่งเสริม
ความรู้เศรษฐกิจพอเพียงใน
โรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดขอนแก่น .
ยาใจ พงษ์บริบร่ ณ์ . (2551). การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action
Research). [ออนไลน์].

http://www.rmuti.ac.th/support/special/project/new/ar/Yachai_A
R_2_pdf
ศ่นย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดขอนแกูน กรมการศึกษา
นอกโรงเรียน. (2545).
การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research). [ออนไลน์].
http://www.geocities.com/zurin111/actionresearch1.html
124

นุ ชวนา เหลืองอังก่ร. (2551). การวิจัยเชิงปฏิบัติการและการวิจัย


โดยผู้ปฏิบัติการ (Action research
: AR and Practitioner Research : PR). [ออนไลน์].
http://eclqssnet.kku.ac.th.
คงศักดิ์ ธาตุทอง. (2551). การประยุกต์ใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการ
ในชั้นเรียน. [ออนไลน์].

http://secondary.kku.ac.th/sec4/mailtokongsak@kkul.kku.ac.th

You might also like