You are on page 1of 41

PGU 5501:จิตวิทยาและการจัดการชั้น

เรียน
Psychology and Classroom
โดย
รองศาสตราจารย์มาลี พัฒนกุล
คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
สาระการเรียนรู้
o จิตวิทยาพัฒนาการ
o จิตวิทยาการศึกษา
o จิตวิทยาการแนะแนว
o ทฤษฎีการเรียนรู้ และการประยุกต์ใชูทฤษฎีการเรียนรู้
o ปั จจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้
o การจัดสภาพแวดลูอมทางกายภาพของชั้นเรียนเพื่อส่ง
ผลการเรียนรู้
o การพัฒนาลักษณะที่พงึ ประสงค์ของผูเ้ รียน
o วินัยในชั้นเรียน การบริหารจัดการชั้นเรียน
จิจิตตวิวิท
ทยาการเรี
ยาการเรียยนการ
นการ
สอน
สอน
และความเป็
และความเป็นคร้ นคร้
จิตวิทยา
การเรียนการสอน

ความหมาย หลักการ จิตวิทยาคร้ ความสำาคัญ


ความหมาย

“จิตวิทยา”เป็ นศาสตร์ที่
ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมและ
กระบวนการทางจิต โดยศึกษาว่า
สิ่งเหล่านี้ ไดูอิทธิพลอย่างไรจาก
สภาวะทางร่างกาย สภาพจิตใจ
และสิ่งแวดลูอมภายนอก
แนวทางในการศึกษา

ศึกษาและสังเกตพฤติกรรมการเรียนรูอ
้ ย่างเป็ นระบบในหูองทดลอง

นำาผลการทดลองไปใชูในสถานการณ์จริงในหูองเรียน

คูนหาวิธีการเรียนการสอนที่มป
ี ระสิทธิภาพ

ศึกษาเกีย
่ วกับการวัดและการประเมินทางการศึกษา

ศึกษาพัฒนาการดูานต่างๆของนักเรียน
จิจิตตวิวิท
ทยากั
ยากับ
บการเรี
การเรียยนการ
นการ
สอน
สอน
จิตวิทยาการเรียนการสอนเป็ น
ศาสตร์อันมุ่งศึกษาการเรียนรู้และ
พฤติกรรมของผูเ้ รียนในสถานการณ์
การเรียนการสอน พรูอมทั้งหาวิธีที่ดี
ที่สด
ุ ในการสอนใหูผเู้ รียนไดูเรียนรู้
อย่างสอดคลูองกับพัฒนาการของผู้
ความรูท
้ ี่อย่้ในขอบข่ายการเรียน
การสอน

1. ความรู้เรื่องพัฒนาการมนุษย์
2. หลักการของการเรียนรู้และการ
สอนประกอบดูวย
ทฤษฎีการเรียนรู้และการเรียนรู้
ชนิ ดต่างๆ
3. ความแตกต่างระหว่างบุคคลทีม ่ ี
ผลต่อการเรียน
จุดมุ่งหมายของการนำาจิตวิทยามา
ประยุกต์ใชู
กับการเรียนการสอน

ประการแรก มุ่งพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับการเรียนรู้ของ
มนุษย์ในสถานการณ์การเรียนการสอน

ประการที่สอง นำาเอาองค์ความรู้ขาู งตูนมาสรูางร้ปแบบเชิง


ปฏิบตั เิ พื่อคร้และผูท
้ ี่เกี่ยวขูองกับการจัดการศึกษา
สามารถนำาไปใชูประโยชน์ในการเรียนการสอน
หลักการ
สำาคัญ

1. มีความรูใ้ นเนื้ อหาวิชาที่สอน


2. มีความสามารถในการประยุกต์หลัก
การจิตวิทยาเพื่อการเรียนการสอน
3. มีความสามารถในการปรับตัวใหูเขูา
กับสถานการณ์ใหม่
4. มีเจตคติที่ดต ี ่อผู้เรียน
จิตวิทย
าคร้

คร้ หมายถึง ผูส ้ อน มาจากภาษาบาลี


ว่า “ครุ”
ภาษาสันสกฤตว่า “คุรุ” แปลว่า หนั ก ส้ง
ใหญ่

- คร้ตูองรับภารหนั กในหนูาที่และความ
รับผิดชอบ
บทบาทและความสำาคัญของคร้ใน
ปั จจุบัน
ธีรศักดิ์ (2542) ไดูกล่าวถึง 4 ประเด็น ดังนี้
 บทบาทและความสำาคัญต่อเยาวชน
 บทบาทและความสำาคัญของคร้ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

 บทบาทและความสำาคัญของคร้ในการรักษาชาติ

 บทบาทและความสำาคัญของคร้ในเยียวยาสังคม
ร้ปแบบของคร้ (Models of
Teachers)
Fenstermacher และ Soltis (1992)ไดู
กล่าวถึงร้ปแบบและ
บทบาทของคร้ เป็ น 3 ประเภท
The Executive Model ทำาหนูาที่คลูายบริหาร
The Therapist Model มีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
อย่างใกลูชิด
The Liberationist Model คร้ท่ีใหูอิสระผู้เรียนในการ
เรียนรู้
Parsons and others (2001) กล่าว
ว่าคร้ควรมีหลายบทบาทตามความเหมาะสมของ
สภาพการณ์ มิใช่มีความรู้หรือเชี่ยวชาญเฉพาะ
เนื้ อหา ดังนั้นคร้อาจมีบทบาท ดังนี้
 รับผิดชอบการวางแผนการสอนและวัดผล
 มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการสอนหรือใหูขอ
ู ม้ลแก่ผู้เรียนอย่างมี
ประสิทธิภาพ
 ทำาหนูาที่ผู้จัดการ หรือบริหารหูองเรียนใหูเหมาะสมกับการ
เรียนรู้
 ใหูคำาปรึกษา รับฟั งความคิดเห็นแก่ผู้เรียน
บทบาทดังกล่าวนี้ มีความสอดคลูอง
กับแนวคิดของWoolfok และ
Nicalich (1980) ที่กล่าวไวูหลาย
ประเด็นและมีคลอบคลุม ดังนี้
เป็ นผู้ชำานาญการสอน เป็ นผู้ที่กระตูุนใหูเกิดแรง
จ้งใจ
เป็ นผู้จัดการ เป็ นผู้นำา
เป็ นผู้ใหูคำาปรึกษา
เป็ นวิศวกรสังคม
เป็ นตัวแบบ
หลักการที่สำาคัญสำาหรับคร้

Mamchak and Mamchak (1981)


ไดูกล่าวถึงขั้นตอนในการสรูาง
บรรยากาศ ในหูองเรียนที่
เป็ นร้ปธรรม เพื่อใหูเกิดความ
เขูาใจอันดีระหว่างคร้และนั กเรียน
การสร้างบรรยากาศในห้องเรียน
ไม่รอฟื้ ื้ นปั ญหาที่เคยเกิดขึ้น
ใหูความยุตธ
ิ รรมแก่เด็ก อย่างเท่าเทีย

ตั้งเปู าหมายที่นักเรียนสามารถทำาไ

คร้ควรบอกถึงขูอจำากัดของตน

คร้ควรทราบขูอจำากัดของเด็กแต่ละค

คร้ควรใส่ใจเด็กทุกคน
ความสำาคัญของจิตวิทยาการ
เรียนการสอน

- ทำาใหูรู้จก
ั ลักษณะนิ สัยของผู้เรียน
- ทำาใหูเขูาใจพัฒนาการบุคลิกภาพบางอย่างของ
ผู้เรียน
- ทำาใหูคร้เขูาใจความแตกต่างระหว่างบุคคล
- ทำาใหูคร้ทราบว่ามีองค์ประกอบใดบูางที่มีผลก
ระทบต่อสัมฤทธิท ์ างการเรียนเช่น แรงจ้งใจ
ความคาดหวัง เชาวน์ปัญญา ทัศนคติ ฯลฯ
ความสำาคัญของจิตวิทยาการ
เรียนการสอน

- ทำาใหูคร้ทราบทฤษฎี หลักการเรียนรู้ รวม


ทั้งหลักการสอนและวิธีการสอน
- ทำาใหูคร้วางแผนการสอนไดูอย่างเหมาะสม
- ทำาใหูคร้จัดสภาพแวดลูอมของหูองเรียนไดู
สอดคลูองกับพัฒนาการ รวมทั้งสรูาง
บรรยากาศในชั้นเรียนที่เอื้ อต่อการปกครอง
ชั้นเรียน (สุวรี, 2535)
จิตวิทยาพัฒนาการ
(Developmental Psychology)
เราตั้งใจว่าจะสรูางใหูเขาเป็ นบุคคล
ที่พึงปรารถนาต่อทุกคนมากที่สุด
แต่... “เราจะทำาไดูอย่างไร”
แนวคิดเกี่ยวกับจิตวิทยา
พัฒนาการ
(Concepts of
Developmental Psychology)
ความหมายของคำาว่า “จิตวิทยา
พัฒนาการ”
จิตวิทยา ( Psychology) หมายถึง วิชาหนึ่ งที่ศึกษาเกี่ยวกับ
พฤติกรรมของมนุ ษย์ โดยมีการศึกษาพฤติกรรมหรือการก
ระทำาของสัตว์ เพื่อนำาผลที่ไดูจากการศึกษาดังกล่าวมา
ประยุกต์ใชูและเปรียบเทียบกับลักษณะการกระทำาของ
มนุ ษย์ต่อไป นอกจากนั้ น จุดม่งุ หมายของจิตวิทยาที่
สำาคัญอีกประการหนึ่ ง คือเพื่อช่วยใหูเกิดความเขูาใจใน
พฤติกรรมต่างๆของบุคคลไดูง่ายขึ้น และประสบความ
สำาเร็จไดูอย่างรวดเร็ว
พัฒนาการ(Development) หมายถึง
ลักษณะของการเปลี่ยนแปลงที่มีการ
เปลี่ยนแปลงไปอย่างมีระเบียบแบบแผน
งานพัฒนาการต่างๆจะเป็ นกระบวนการ
เฉพาะอย่าง ซึ่งจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
ในหลายๆแง่ เช่น ทางดูานสรีระทาง
โครงสรูางของร้ปร่างและอื่นๆ
จิตวิทยาพัฒนาการ
(development psychology)
เป็ นจิตวิทยาแขนงหนึ่ งที่มุ่งศึกษามนุ ษย์ทก
ุ วัยตั้งแต่
ปฏิสนธิจนกระทัง่ วาระสุดทูายของชีวิต ในทุก ๆ ดูาน
ทั้งดูานการเจริญเติบโตทางร่างกาย ความคิด อารมณ์
ความรู้สึก เจตคติ พฤติกรรมการแสดงออก สังคม
บุคลิกภาพ ตลอดจนสติปัญญาของบุคคลในวัยต่างกัน
เพื่อใหูทราบถึงลักษณะพื้ นฐาน ความเป็ นมา จุด
เปลี่ยน จุดวิกฤตในแต่ละวัย
จุดมุ่งหมายของการศึกษา
พัฒนาการของมนุษย์
1. เพื่อใหูเกิดแรงจ้งใจในการที่จะเขูาใจลักษณะของ
พัฒนาการในระยะเวลาต่างๆว่าเป็ นอย่างไร และจะมี
ส่วนช่วยในการแกูไขและเขูาใจปั ญหาที่เกิดขึ้น ตาม
ความเหมาะสมของแต่ละอายุ
2. เพื่อใหูสามารปรับตัวใหูเขูากับความยากลำาบากของ
การพัฒนาการในแต่ละช่วงอายุว่ามีความแตกต่างกัน
ไดูเป็ นอย่างดี
จุดม่งุ หมายที่สอดคลูองกับหลักการ
ทางวิทยาศาสตร์อ่ ืนๆ
เพื่อการบรรยาย (Description)
เพื่อการอธิบาย (Explanation)
เพื่อการทำานาย (Prediction)
เพื่อการควบคุม (Control)
ลักษณะพัฒนาการของมนุษย์
 พัฒนาการที่เป็ นทิศทาง(Developmental direction)
1. Cephalo caudalพัฒนาการจากบนส่ล ้ า่ ง(ศีรษะ ลำาตัว)
2. Proximo distalพัฒนาการจากส่วนกลางส่้ภายนอก
 พัฒนาการของมนุ ษย์ในลักษณะต่อเนื่ อง
Continuity(ทารก เด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่)
 พัฒนาการของมนุ ษย์จะเกิดขึ้นตามลำาดับขั้น Sequence(ควำ่า
คลาน นั่ง ตั้งไข่ ยืน เดิน)
พัฒนาการของคนแต่ละวัยจะแตกต่างกันวัยก่อนคลอด
อัตราของพัฒนาการจะส้งที่สุด ชูาลงในวัย
ผู้ใหญ่(Different growth rate)
 พัฒนาการของแต่ละคนจะแตกต่างกันบางคนจะเป็ น
หน่มุ สาวเร็ว บางคนเป็ นหนุ่มสาวชูา(Different Ratio)
พัฒนาการของมนุ ษย์ในส่วนต่างๆของร่างกายจะมีการ
พัฒนาไม่พรูอมกัน (Different parts)
วิธีศึกษาพัฒนาการของมนุษย์
 D.G. Marquis สรุปไวูว่า ขั้นตอนของการศึกษาจิตวิทยา
พัฒนาการ ประกอบดูวย 6 ขั้นตอน
ขั้นที่ 1 ขั้นปั ญหา (Problem)
ขั้นที่ 2 การทบทวนความรู้ (Review of knowledge)
ขั้นที่ 3 การสังเกต (Observation)
ขั้นที่ 4 การตั้งสมมติฐานหรือการตั้งทฤษฎีข้ ึนมา
(Hypothesis)
ขั้นที่ 5 ทดสอบสมมติฐาน (Testing)
ขั้นที่ 6 การประยุกต์ใชู (Application)
Allport ไดูกล่าวถึงวิธีการศึกษาทาง
ดูานจิตวิทยาพัฒนาการไวูว่า จิตวิทยา
พัฒนาการจะมีวิธีการศึกษา 2 วิธี คือ
1. Nomothetic approach
2. Idiographic approach
นอกจากวิธีการศึกษาแบบ
Nomothetic และ Idiographic
ยังมีวิธีการอื่นๆ
1. การศึกษาระยะยาว (Longitudinal approach)รวบรวม
ขูอม้ลเด็กระยะยาว
2. การศึกษาแบบภาคตัดขวาง (Cross-sectional
approach)ช่วงระยะเวลาของการศึกษาระยะสั้น
วิธีการเก็บขูอม้ลในจิตวิทยา
พัฒนาการ
1. การสังเกต(Observation)
2. รายงานระเบียนพฤติการณ์(Anecdotal
report)
3. การเขียนชีวประวัติส่วนตัว
(Authobiography)
4. การใชูแบบสอบถามหรือแบบสำารวจ
(Questionnaires or Check lists)
5. การสัมภาษณ์ (Interview)
6. มาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale)
7. กลวิธรี ะบายความในใจ (Projective techniques)
8. วิธีการทดลอง (Experimental techniques)
9. วิธีการศึกษาทางสรีระ (Psychophysical study)
10. วิธีการศึกษาเด็กเป็ นรายกรณี (Clinical case Study)
วุฒิภาวะ (Maturity)

 ความสามารถที่สมองคิดทำางาน
เหนื อสมองส่วนหยาบ ความสาม
รถในการควบคุมใจตัวเอง ความ
สามารถในการยับยั้งชัง่ ใจตัวเอง
หรือที่เขูาใจกันว่า อีคว

(Emotional Quotient)
วุฒิภาวะ (Maturation)
เป็ นการบรรลุถึงความพรูอม ซึ่งเป็ นผลของ
การเจริญเติบโตที่เป็ นไปตามพัฒนาการของวัย
ต่างๆ จนบรรลุถึงความสามารถในการปรับตัว
สามารถทำาหนูาที่ตา่ งๆไดูสำาเร็จ ไดูมีการแบ่ง
วุฒภิ าวะออกเป็ น 2 ประเภท คือ
1.วุฒภิ าวะทางกาย (Mature Growth)
2. วุฒภ ิ าวะทางใจ (Maturity)
1.วุฒิภาวะทางกาย
(Mature Growth)
เป็ นการบรรลุถึงความพรูอมดูานร่างกาย ทั้งการเจริญ
เติบโตดูานโครงสรูางร่างกาย ระบบประสาทที่สัง่ การใหู
อวัยวะและกลูามเนื้ อทำางาน เช่น เด็กที่มีวุฒิภาวะทาง
กายพรูอมที่จะเขูาเรียนไดูแลูว สมองจะตูองสามารถ
บังคับกลูามเนื้ อ แขน มือ และนิ้ วใหูจับดินสอไดู ตา
สามารถมองเห็นไดูชัดเจน
2. วุฒิภาวะทางใจ
(Maturity)
เป็ นการบรรลุถึงความพรูอมในการควบคุมอารมณ์และการใชู
เหตุผล ส่วนมากเกิดจากการเรียนรู้เอง และการไดูรบ ั การ
อบรมฝึ กฝน ฉะนั้ นวุฒิภาวะทางใจอาจไม่เท่ากันในคนอายุ
เท่ากัน คนอายุนูอยอาจมีวุฒิภาวะทางใจส้งกว่าคนอายุ
มากกว่าไดู วุฒิภาวะทางใจจะเจริญเต็มที่ในวัยกลางคน ใน
ขณะที่วุฒิภาวะทางกายจะเจริญถึงขั้นส้งสุด เมื่อสิ้นสุดวัยรุ่น
ลักษณะของงานพัฒนาการใน
ขั้นต่างๆของชีวต

 ช่วงที่ 1 วัยทารกแรกเกิด และวัยเด็ก
ตอนตูน
 ช่วงที่ 2 วัยเด็กตอนกลาง
 ช่วงที่ 3 วัยรุ่น
 ช่วงที่ 4 วัยผู้ใหญ่ตอนตูน
 ช่วงที่ 5 วัยผู้ใหญ่ตอนกลาง
 ช่วงที่ 6 วัยชรา
คำาถาม
1. จิตวิทยาพัฒนาการมีความหมายว่าอย่างไร
2. เพราะเหตุใดจึงตูองศึกษาจิตวิทยาพัฒนาการ
3. ขั้นตอนในการศึกษา จิตวิทยาพัฒนาการเป็ นอย่างไร
4. วิธีการศึกษาจิตวิทยาประกอบดูวยสิ่งใดบูาง
5. การเก็บรวบรวมขูอม้ลในจิตวิทยาพัฒนาการมีอย่างไรบูาง
แต่ละวิธีมค
ี วามสำาคัญและมีรายละเอียดอย่างไร
6. การเก็บรวบรวมขูอม้ลในจิตวิทยามีอย่างไรบูาง แต่ละวิธม
ี ีความ
สำาคัญและมีรายละเอียดอย่างไร
7. องค์ประกอบที่มีผลต่อพัฒนาการของบุคคลเป็ นอย่างไร

You might also like