You are on page 1of 19

เทคนิคเขียนแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นสมรรถนะและแบบฟอร์มแผนฯ (สรุปมาโดยย่อ)

1. หัวเรื่อง (หมายถึงข้อมูลหัวกระดาษ)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ .....

รหัสวิชา…………..……..ชื่อวิชา…………………………… ………….สัปดาห์ที่.....ครั้งที… ่ ..
หน่วยการเรียนรู้ที่…ชื่อหน่วย……………………………………เวลา….ชม. ชั่วโมงที่......-…..

2. สาระสาคัญ
เป็นการเขียนสรุปประเด็นของความรู้ อาจเขียนลักษณะของความหมาย ความสาคัญ หรือการ
นาไปใช้
หลักการเขียนสาระสาคัญ
เขียนด้วยภาษาที่กะทัดรัด สรุปโครงสร้างของเรื่อง
เขียนให้ครอบคลุมจุดประสงค์
เขียนเป็นประโยคบอกเล่า
เขียนเป็นความเรียง (หรือเป็นข้อ ๆ แต่ไม่นิยม)
คากิริยาที่นิยมใช้
..........(ชื่อเรื่อง).........เป็น.........(ข้อความขยายชื่อเรื่อง)
..........(ชื่อเรื่อง).........หมายถึง.........(ข้อความขยายชื่อเรื่อง)
..........(ชื่อเรื่อง).........คือ.........(ข้อความขยายชื่อเรื่อง)

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
ระดับของจุดประสงค์การเรียนรู้
ในการกาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้โดยทั่วไปจะแบ่งเป็น 2 ระดับ คือ
1. จุดประสงค์ทั่วไป หรือจุดประสงค์ปลายทาง
2. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมหรือจุดประสงค์นาทาง หรือจุดประสงค์เฉพาะ
จุดประสงค์ทั่วไป
จุดประสงค์ทั่วไปหรือจุดประสงค์ปลายทาง คือ จุดประสงค์ที่เป็นเป้าหมายสาคัญที่มุ่งหวังให้
เกิดขึ้นกับผู้เรียนในการเรียนรู้แต่ละเรื่องหรือแต่ละหน่วยการเรียนรู้
ลักษณะของจุดประสงค์ทั่วไป มีดังนี้
1. ตอบสนองพฤติกรรมสาคัญของจุดหมายหลักสูตร จุดประสงค์สาขาวิชา มาตรฐานวิชาชีพ
สาขาวิชา/สาขางาน จุดประสงค์รายวิชาและมาตรฐานรายวิชา
2. สะท้อนคุณลักษณะที่พึงประสงค์ที่เป็นผลจากการเรียนรู้ โดยครอบคลุมทั้งด้านความรู้
ความคิดความสามารถในการปฏิบัติ เจตคติและกิจนิสัยที่พึงประสงค์
3. การเขียนจุดประสงค์ทั่วไป จะใช้คากิริยากว้าง ๆ โดยเขียนเป็นข้อ ๆ แต่น้อยข้อ
ครอบคลุมสิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนตามคาอธิบายรายวิชา เช่น เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนัก
เห็นคุณค่า สามารถ เป็นต้น
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมต้องสัมพันธ์กับจุดประสงค์ทั่วไป ครบทั้ง 3 ด้าน
สติปัญญา(พุทธิพิสัย) ความรู้ความจา ความเข้าใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ การ
สังเคราะห์ การประเมินค่า
ทักษะ(ทักษะพิสัย) แสดงได้ถูกลักษณะ ปฏิบัติถูกต้อง แสดงได้คล่องแคล่ว ทางานได้
รวดเร็ว ถูกต้อง
เจตคติ(จิตพิสัย) การรับ การตอบสนอง การเห็นคุณค่า การจัดระเบียบ

ลักษณะของจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม มีดังนี้
1. สอดคล้องกับจุดประสงค์ทั่วไปโดยแตกย่อยออกมาจากจุดประสงค์ทั่วไป และแสดงถึง
รายการพฤติกรรมคาดหวังที่จะทาให้การเรียนรู้บรรลุตามที่กาหนดไว้ในจุดประสงค์ทั่วไป
2. แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียนหลังจบการเรียนรู้ในเรื่องหรือหน่วยการ
เรียนรู้นั้น ๆ
3. การเขียนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ผู้จัดการเรียนรู้ควรพิจารณาโดยคานึงถึงสิ่งต่อไปนี้
3.1 ควรเขียนให้ครอบคลุมทั้งด้านพุทธิพิสัย ทักษะพิสัยและจิตพิสัย แต่การเขียน
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมด้านจิตพิสัยนั้นอาจทาได้ยากเพราะผู้สอนไม่สามารถสังเกตได้โดยตรง ในกรณีนี้
ถ้าไม่สามารถเขียนเป็นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม อาจเขียนเป็นจุดประสงค์เฉพาะ เช่น ใช้คาว่า บอกคุณค่า
บอกประโยชน์เพื่อสะท้อนให้เห็นพฤติกรรมของผู้เรียนว่ามีความตระหนักหรือเห็นถึงคุณค่าของสิ่งนั้น ๆ
3.2 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมต้องมีลักษณะชัดเจน รัดกุม ไม่คลุมเครือ เพื่อให้สามารถ
เข้าใจได้ตรงกัน และสามารถสังเกตได้หรือวัดได้
3.3 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมที่สมบูรณ์จะประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ คือ พฤติกรรมที่
คาดหวัง สถานการณ์/เงื่อนไข และเกณฑ์ โดยแต่ละข้อจะต้องระบุพฤติกรรมที่คาดหวังเพียง 1 พฤติกรรม
และควรพิจารณาเลือกคากริยาที่แสดงพฤติกรรมที่คาดหวังให้ถูกต้องตามระดับขั้นของพฤติกรรมการเรียนรู้
ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนดังกล่าวมาแล้ว
บางกรณีอาจจะเว้นการเขียนสถานการณ์/เงื่อนไขไว้ในฐานะที่เข้าใจกัน หากพิจารณาว่า
จุดประสงค์นั้นสมบูรณ์พอ หรือไม่ระบุเกณฑ์ของพฤติกรรมโดยนาไปกาหนดไว้ในเกณฑ์การประเมินแทน
นอกจากนี้ ควรละเว้นการเขียนส่วนขยายที่ไม่จาเป็นด้วย

สรุปองค์ประกอบของจุดประสงค์การเรียนรู้เชิงพฤติกรรม
จุดประสงค์การเรียนรู้เชิงพฤติกรรม ที่สมบูรณ์มี 3 องค์ประกอบ ดังนี้
1 พฤติกรรมที่คาดหวัง
2 สถานการณ์/เงื่อนไขที่ทาให้เกิดพฤติกรรม
3 เกณฑ์/ระดับความสามารถของพฤติกรรม
ถ้าจาเป็นเขียนได้ไม่ครบ ส่วนที่ขาดไม่ได้เลย คือ พฤติกรรมที่คาดหวัง

ตัวอย่างจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ที่ สถานการณ์/เงื่อนไข พฤติกรรมที่คาดหวัง เกณฑ์
1 ฟังคาอธิบายการเล่นต่อคา สามารถเล่นต่อคา ได้ถูกต้อง
2 เมื่อกาหนดข้อความให้ สามารถอ่านและเขียนให้ถูกวรรคตอน ได้ถูกต้อง
3 เมื่ออ่านบทความเกี่ยวกับ สามารถเขียนคาขวัญ ได้อย่างน้อย 1 คาขวัญ
การเกษตรแล้ว
4 หลังจากศึกษาคาใหม่แล้ว สามารถเขียนตามคาบอก ได้อย่างน้อย 8 ใน 10 คา
5 สาธิตให้ดูแล้ว สามารถปฏิบัติ ได้ถูกต้อง

การใช้ถ้อยคา
ถ้อยคาที่บ่งชี้พฤติกรรมด้านสติปัญญา(พุทธิพิสัย)
จา...............(ความรู้ ความจา)
ให้ความหมาย....ได้
บอกเรื่องราว....ได้
ชี้....ได้
จับคู่....ได้
กล่าวเป็นข้อความ/ถ้อยคา....ได้
เลือก....ได้
เขียนโครงร่าง....ได้
ฯลฯ
ใจ ................(ความเข้าใจ)
แยกแยะ....ได้
อธิบาย....ได้
แปลความ...ได้
เปลี่ยนข้อความ...ได้
ให้เหตุผล...ได้
ขยายความ...ได้
คาดคะเน...ได้
ย่อความ...ได้
อ้างอิง...ได้
ยกตัวอย่าง...ได้
ฯลฯ

ใช้ ...............(การนาไปใช้)
ปฏิบัติ...ได้
คานวณ....ได้
แสดง...ได้
สาธิต...ได้
สัมพันธ์เรื่อง...ได้
ทาให้ดู...ได้
ฯลฯ

วิ................(วิเคราะห์)
แยก...ได้
แยกแยะ...ได้
จาแนก...ได้
แบ่งกลุ่ม...ได้
อ้างอิง...ได้
แสดงเป็นแผนภาพ...ได้
เปรียบเทียบ
วิเคราะห์...ได้
ฯลฯ

สัง................(สังเคราะห์)
สร้าง...ได้
สรุป...ได้
ประกอบ...ได้
ฯลฯ

ประ................(ประเมินค่า)
เกิดความพอใจ
เห็นความแตกต่าง
เปรียบเทียบ...ได้
สรุปความ...ได้
วิจารณ์...ได้
แปลความ...ได้
ทานาย...ได้
ฯลฯ

ถ้อยคาที่บ่งชี้พฤติกรรมด้านทักษะ(ทักษะพิสัย)
แสดงได้ถูกลักษณะ
ว่ายน้า
โยนลูกบอล
วิ่ง
ฯลฯ
ปฏิบัติถูกต้อง
เลื่อย
เจาะ
ตอกตะปู
ติดตั้งเครื่องมือ
ฯลฯ
แสดงได้คล่องแคล่ว
เล่นเปียโน
สีไวโอลิน
เต้นราถูกจังหวะ
ฯลฯ
ทางานได้รวดเร็วถูกต้องและสวยงาม
พิมพ์ดีด
เขียนหนังสือ
ฯลฯ
ทางานได้คล่องแคล่วและปลอดภัย
ขับรถ
ทางานต่างๆ
ฯลฯ

ถ้อยคาที่บ่งชี้พฤติกรรมด้านเจตคติ (จิตพิสัย)
การรับ
สอบถาม
ทาตาม
ยึดถือ
เลือก
บรรยาย
ชี้
บอกตาแหน่งที่ตั้ง
บอกชื่อ
ฯลฯ
การตอบสนอง
ตอบ
ช่วยเหลือ
ทาตาม
อธิบาย
ปฏิบัติ
เสนอ
รายงาน
ฯลฯ
การเห็นคุณค่า
ทาให้เสร็จ
อธิบาย
ริเริ่ม
ร่วม
กระทา
เชื้อเชิญ
ฯลฯ

การจัดระเบียบ
จัด
รวม
เปรียบเทียบ
ชี้
สั่งการ
เปลี่ยนแปลง
จัดระเบียบ
เตรียมการ
ฯลฯ

ตัวอย่างการเขียนจุดประสงค์การเรียนรู้ แสดงจุดประสงค์ทั่วไปสัมพันธ์กับเชิงพฤติกรรม
จุดประสงค์ทั่วไป จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ด้านพุทธิพิสัย
1. เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับฟันและการรักษา 1.1 บอกความหมายของคาว่า “ฟัน” ได้
ความสะอาดของฟัน 1.2 ระบุปัญหาที่เกิดขึ้นจากการไม่ดูแลรักษา
ความสะอาดของฟันได้
1.3 อธิบายวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธีได้
ด้านทักษะพิสัย
2. เพื่อให้สามารถแปรงฟันได้ถูกวิธี 2.1 สาธิตการแปรงฟันที่ถูกวิธีกับหุ่นจาลองได้
2.2 แปรงฟันของตนเองอย่างถูกต้องได้
ด้านจิตพิสัย
3. เพื่อให้ตระหนักในการความสาคัญของการ 3.1 แปรงฟันทุกครั้งหลังจากรับประทานอาหาร
รักษาความสะอาดของฟัน 3.2 บอกคุณค่าความสาคัญของการแปรงฟันที่
ถูกวิธีได้

ตัวอย่างจุดประสงค์ทั่วไป และจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม พอแสดงให้เห็นชัดเจน ดังนี้


จุดประสงค์ทั่วไป

ประธาน + กริยารวมๆ + เรื่องที่จัดการเรียนรู้ + เกณฑ์กว้างๆ

เช่น 1 ผู้เรียน + ประดิษฐ์ + เครื่องแขวนจากเปลือกหอย + ได้


2 ผูเ้ รียน + หา + ปริมาตรดินถม + ได้
3 ผูเ้ รียน + เขียน + สมการการสมดุล + ได้

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

พฤติกรรม(กริยา) + เรื่องย่อยที่จะจัดการเรียนรู้ + เกณฑ์

1.1 เลือก+เปลือกหอยที่จะนามา+ประดิษฐ์เครื่องแขวน+ได้อย่างเหมาะสม
1.2 ออกแบบ+เครื่องแขวน+ได้ภายในเวลาที่กาหนด
1.3 บอก +ขั้นตอนการประดิษฐ์เครื่องแขวนด้วยเปลือกหอย+ได้ถูกต้อง
1.4 อภิปรายถึง +ประโยชน์ของเปลือกหอย+ได้อย่างน้อย 3 ประการ
2.1 คานวณ + ปริมาตรดินถม + ได้ถูกต้อง
2.2 ......................
2.3 ......................
3.1 บอกขั้นตอน + การเขียนสมการการสมดุล + ได้ถูกต้อง
3.2 ......................
3.3 ......................
4. การเขียนสาระการเรียนรู้/เนื้อหาสาระ/เนื้อหา
หัวข้อใหญ่ (ตัวหนาขนาด 18 ชิดขอบพอดี)
หัวข้อรอง (ตัวหนาขนาด 16 ย่อหน้าเข้ามา 7 ตัวอักษรธรรมดาขนาด 16 พิมพ์ตัวที่ 8)
หัวข้อย่อย (ตัวหนาขนาด 16 ย่อหน้าเข้ามาอีก 3 ตัวอักษรธรรมดาขนาด 16 พิมพ์ตัวที่ 4)
ถ้าต้องย่อหน้าอีก (ตัวธรรมดาขนาด 16 ย่อหน้าเข้ามาอีก 3 ตัวอักษรธรรมดาขนาด 16
พิมพ์ตัวที่ 4)
สาระการเรียนรู้ที่สมบูรณ์ให้ใส่ในภาคผนวก ในลักษณะของใบความรู้ เอกสารประกอบ
(เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ เอกสารประกอบการเรียนรู้)

5. การเขียนกิจกรรมการเรียนรู้ (กระบวนการจัดการเรียนรู้)
สนองจุดประสงค์ครบทุกข้อ (ห้ามขาด)
ควรมีการนา การจัดการเรียนรู้ การสรุป อย่างเป็นระบบ
จัดกิจกรรมโดยเน้นให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง(ผู้เรียนเป็นผู้กระทาและได้ปฏิบัติจริง) เน้นกิจกรรมที่
แปลกใหม่ ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียน ให้ผู้เรียนรู้สึกสนุกและมีความสุขในการเรียน
การเขียนขั้นตอนการประกอบกิจกรรมต้องมีรายละเอียดอย่างชัดเจนให้คนอื่นสามารถนาไปใช้ได้
ด้วย (ทาอะไร ทาอย่างไร เพื่ออะไร)
การแนบรายละเอียดของกิจกรรมในภาคผนวก ต้องกล่าวโยงไว้ให้ชัดเจน

6. สื่อ/แหล่งการจัดการเรียนรู้
สื่อ หมายถึง วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการ
ควรยึดหลัก
หาง่าย ประหยัด สร้างสรรค์ เหมาะสม

มีลักษณะสาคัญดังนี้
1. กระตุ้นความสนใจเกิดความรู้สึกอยากเรียน
2. เข้าใจหน่วยการเรียนได้ง่ายขึ้น จากนามธรรมเป็นรูปธรรม ประหยัดเวลาและเข้าใจตรงกัน
3. สามารถย่อขยายสิ่งที่จะเรียนรู้แทนของจริงได้
4. จาได้นานกว่าการฟังอย่างเดียว
5. มีส่วนสร้างเสริมความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียน

7. การวัดผลประเมินผล
ต้องเขียน เครื่องมือวัดผลประเมินผล วิธีการวัดผลประเมินผลไว้ให้ชัดเจน เช่น โดยใช้ การสังเกต
การซักถาม การสัมภาษณ์ การตรวจผลงาน (แบบฝึก แบบฝึกหัด ใบงาน รายงาน ฯลฯ ) การทดสอบ การ
ประเมินผลตามสภาพที่แท้จริงโดยใช้แฟ้มสะสมผลงาน/แฟ้มพัฒนางาน( Portfolio ) และอื่น ๆ ระบุเกณฑ์
การวัดผลประเมินผล ทั้งนี้ต้องครอบคลุมจุดประสงค์ครบถ้วน
8. กิจกรรมเสนอแนะ/งานที่มอบหมาย
ใบมอบหมายงาน (เช่นมอบหมายให้ทาแบบฝึกหัด มอบหมายให้ทารายงาน มอบหมายให้สืบค้น
ข้อมูลทาง IT)
ควรเขียนกิจกรรมเสนอแนะ เพราะจะทาให้เห็นว่ายังมีแนวทางเรียนรู้ได้อีกหลากหลาย
งานที่มอบหมาย แล้วแต่ความเหมาะสมของแผนฯ นั้นๆ

9. เอกสารอ้างอิง/บรรณานุกรม
เลือกใช้วิธีเขียนเอกสารอ้างอิง(ไม่เกิน 4 เอกสาร/เล่ม)/บรรณานุกรม(5 เอกสาร/เล่ม ขึ้นไป) ของ
สถาบันใดสถาบันหนึ่งเป็นแนวทาง

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
รหัสวิชา.........................รายวิชา..............................................สัปดาห์ที่........ครั้งที่.......
ระดับชั้น..........กลุ่ม ........ สาขางาน...............................สาขาวิชา ................................
10.1 ผลการจัดการเรียนรู้ (ข้อดี ข้อด้อย)
10.2 ปัญหาและอุปสรรค
10.3 แนวทางแก้ไข
10.4 ข้อเสนอแนะ (ถ้ามี)

หมายเหตุ บันทึกข้อมูลที่นอกเหนือจากข้อ 9.1 ถึง 9.4 เช่น ตรงกับไปราชการ ตรงกับหยุด


นักขัตฤกษ์ มีข้อแนะนาดังนี้ ให้ท่านบันทึกขออนุญาตสอนชดเชยในวันที่ผู้เรียนว่างครูว่างตรงกันและมีเวลา
พักของนักเรียนเพียงพอ หรือวันเสาร์ หรือแลกชั่วโมงที่เท่ากัน ไม่แนะนาให้สอนแทนเพราะครูท่านอื่น
สอนแทนมิใช่ตัวเรา มิใช่ผลงานของเรา เราจะรายงานผลการจัดการเรียนรู้อย่างไร
สภาพทั่วไปของแผนการจัดการเรียนรู้

รหัสวิชา......................ชื่อวิชา……………………………จานวน….หน่วยกิต…..ชม./สป.
หลักสูตร………………ประเภทวิชา……………………..…สาขาวิชา…………………..

จุดประสงค์รายวิชา
1. .............................................................................................................................................
2. ..............................................................................................................................................
3. ..............................................................................................................................................
4. ..............................................................................................................................................
5. ..............................................................................................................................................

มาตรฐานรายวิชา
1. ............................................................................................................................................
2. ............................................................................................................................................
3. ............................................................................................................................................
4. ............................................................................................................................................
5. ............................................................................................................................................

คาอธิบายรายวิชา
..............................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................
หน่วยการเรียนรู้

รหัสวิชา ……………. ชื่อวิชา ........................... จานวน ... หน่วยกิต ... ชม./สป.


ภาคเรียนที.่ ... ปีการศึกษา ........ ระดับ ................... สาขางาน ................................สาขาวิชา .....................

หน่วยการเรียนรู้ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ เวลา (ชม.)

รวม
ตารางวิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้

รหัสวิชา ……………. ชื่อวิชา ........................... จานวน ... หน่วยกิต ... ชม./สป.


ภาคเรียนที.่ ... ปีการศึกษา ........ ระดับ ................... สาขางาน ................................สาขาวิชา .....................

หน่วย ระดับพฤติกรรมที่พึงประสงค์
การ พุทธพิสัย เวลา
ชื่อหน่วย ทักษะ จิต
เรียนรู้ 1 2 3 4 5 6 (ชม.)
พิสัย พิสัย
ที่

หมายเหตุ ระดับพุทธิพิสัย 1 = ความทรงจา 2 ความเข้าใจ 3 = การนาไปใช้


4 = วิเคราะห์ 5 สังเคราะห์ 6 = ประเมินค่า
กาหนดการเรียนรู้

รหัสวิชา ……………. ชื่อวิชา ................................. จานวน ... หน่วยกิต ... ชม./สป.


ภาคเรียนที.่ ... ปีการศึกษา ............... ระดับ ............... สาขางาน ................................สาขาวิชา ..........................

สัปดาห์ที่ หน่วยการ เวลา


ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ชั่วโมงที่
(ว.ด.ป.) เรียนรู้ที่ (ชม.)

รวม
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ .....

รหัสวิชา…………..……..ชื่อวิชา…………………………… ………….สัปดาห์ที่.....ครั้งที… ่ ..
หน่วยการเรียนรู้ที่…ชื่อหน่วย……………………………………เวลา….ชม. ชั่วโมงที่......-…..

1. สาระสาคัญ (ความเรียง)
………………………………………………………………………………………………..………
………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………..

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 จุดประสงค์ทั่วไป (เป็นข้อๆ ครบ 3 ด้าน นาจุดประสงค์ทั่วไป มาจากหน่วยการเรียนรู้ที่...
บางส่วนกรณีหน่วยการเรียนรู้ที่.....ใหญ่มาก แต่ถ้าหน่วยการเรียนรู้ที่....เท่ากับแผนการจัดการเรียนรู้ที่....ให้
นาจุดประสงค์ทั่วไป มาทั้งหมด)
2.1.1 ……………………………………………………………………………………
2.1.2 ……………………………………………………………………………………
2.1.3 ……………………………………………………………………………………
2.2 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (เป็นข้อๆ ครบ 3 ด้าน แตกย่อยจากจุดประสงค์ทั่วไป แต่ไม่ควรเกิน
8 ข้อ)
2.2.1 ……………………………………………………………………………………
2.2.2 ……………………………………………………………………………………
2.2.3 ……………………………………………………………………………………
2.2.4 ……………………………………………………………………………………
2.2.5 ……………………………………………………………………………………
2.2.6 ……………………………………………………………………………………
2.2.7 ……………………………………………………………………………………
2.2.8 ……………………………………………………………………………………
3. สาระการเรียนรู้ (หัวข้อใหญ่ หัวข้อรอง หัวข้อย่อย หรือมีข้อความสาคัญกล่าวนา)
3.1 ……………………………………………………………………………………………
3.1.1 ……………………………………………………….
3.1.1.1 ……………………………………………….
3.1.1.2 ……………………………………………….
3.1.2 ……………………………………………………….
3.1.2.1 ……………………………………………….
3.1.2.2 ……………………………………………….
3.2 …..……………………………………………………………………………………….
3.2.1 ……………………………………………………….
3.2.1.1 ……………………………………………….
3.2.1.2 ……………………………………………….

4. กิจกรรมการเรียนรู/้ กระบวนการเรียนรู้ (เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ด้วย วิธีการเรียนรู้ เทคนิคการ


เรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ ที่หลากหลายเหมาะสมกับรายวิชา ควรบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนใดแผนหนึ่งด้วย)
………………………………………………………………………………………………..………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………
………………………………………………………………………………………………..………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………..

5. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ (สื่อสิ่งพิมพ์ นวัตกรรม สื่อโสตทัศน์และแหล่งการเรียนรู้ที่


หลากหลายเหมาะสมกับเรื่องนั้นๆ ในส่วนนี้ใช้เป็นผลงานวิชาการได้ เช่น ผลงานวิชาการคือ
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย ใบความรู้, แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน-
หน่วยเรียน-แบบฝึกหัด-แบบฝึก-ใบกิจกรรม, เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน-หน่วย
เรียน-แบบฝึกหัด-แบบฝึก-กิจกรรม)
5.1 ……………………………
5.2 ……………………………
5.3 ……………………………
5.4 ……………………………
5.5 ……………………………
5.6 ……………………………
5.7 ……………………………
5.8 ……………………………
5.9 ……………………………
5.10 ……………………………
5.11 ……………………………
5.12 ……………………………
5.13 ……………………………
5.14 ……………………………
5.15 ……………………………

6. การวัดผลประเมินผล
6.1 วัดผลประเมินผลตามจุดประสงค์ (ครบทุกข้อ)
6.1.1 ........................................
6.1.2 ........................................
6.1.3 ........................................
6.2 เครื่องมือวัดผลประเมินผล (เฉพาะที่ใช้จริงครอบคลุมทุกข้อ)
6.2.1 ........................................
6.2.2 ........................................
6.2.3 ........................................
6.3 วิธีวัดผลประเมินผล (บอกวิธีที่ใช้)
6.3.1 ........................................
6.3.2 ........................................
6.3.3 ........................................
6.4 เกณฑ์การวัดผลประเมินผล (กาหนดเกณฑ์ผ่าน)
6.4.1 ........................................
6.4.2 ........................................
6.4.3 ........................................

7. กิจกรรมเสนอแนะ/งานที่มอบหมาย
ใบมอบหมายงาน (เช่นมอบหมายให้ทาแบบฝึกหัด มอบหมายให้ทารายงาน มอบหมายให้สืบค้น
ข้อมูลทาง IT)
7.1 กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………..
7.2 งานที่มอบหมาย
……………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………..

8. เอกสารอ้างอิง/บรรณานุกรม
เลือกใช้วิธีเขียนเอกสารอ้างอิง(ไม่เกิน 4 เอกสาร/เล่ม)/บรรณานุกรม(5 เอกสาร/เล่ม ขึ้นไป) ของ
สถาบันใดสถาบันหนึ่งเป็นแนวทาง)

…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………….
9. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ (เป็นรายห้อง/กลุ่ม และเป็นรายครั้ง แยกแผ่นจากข้อ 8)
หน่วยการเรียนรู้ท.ี่ .....แผนการจัดการเรียนรู้ที่......สัปดาห์ที่..........ครั้งที่..........จานวน.........ชั่วโมง
ระดับชั้น..........กลุ่ม ...... สาขางาน.............................................สาขาวิชา .............................................
9.1 ผลการจัดการเรียนรู้ (ข้อดี ข้อด้อย)
……………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………..
9.2 ปัญหาและอุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………..
9.3 แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………..
9.4 ข้อเสนอแนะ(ถ้ามี)
……………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………..

หมายเหตุ .......................................(บันทึกข้อมูลที่นอกเหนือจากข้อ 9.1 ถึง 9.4 เช่น ชั่วโมงสอน


ตรงกับไปราชการ ตรงกับหยุดนักขัตฤกษ์ หนึ่งความคิดครูชอบ......ซึ่งได้รับคาแนะนามาจากคณะกรรมการ
ชุดที่ 3 (เชิงประจักษ์)มีข้อแนะนาดังนี้ ให้ครูบันทึกขออนุญาตสอนชดเชยในวันที่ผู้เรียนว่างครูว่างตรงกัน
และมีเวลาพักของผู้เรียนเพียงพอ หรือวันเสาร์ หรือแลกชั่วโมงที่เท่ากัน ไม่แนะนาให้สอนแทนเพราะครู
ท่านอื่นสอนแทนมิใช่ตัวเรา มิใช่ผลงานของเรา เราจะรายงานผลการจัดการเรียนรู้อย่างไร)
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................

You might also like