You are on page 1of 19

วช.

022_1 ไม่เต็มรูปแบบ

โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม
งานวิจัยในชัน้ เรียน / งานวิจัยเชิงปฏิบัตกิ าร
ปี การศึกษา 2559

ชื่องานวิจัย การพัฒนาการเขียนคาพ้ องเสียงของนักเรียนระดับชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 4/3 โดยใช้ แบบฝึ ก


เสริมทักษะการเขียนคาพ้ องเสียง
ชื่อคุณครู ม.ชาญชัย ผ่ านเสนา กลุ่มสาระฯ/งาน ภาษาไทย ชัน้ ป. 4

1. หลักการและเหตุผล
ในปั จจุบนั นี ้พบว่ามีปัญหาการเขียนคาพ้ องเสียงของนักเรี ยนไม่ถกู ต้ อง และไม่ชดั เจน ไม่เป็ นที่น่าพอใจ
สาหรับผลการประเมินจากการเขียนคาพ้ องเสียงหากปล่อยให้ ปัญหานี ้ดาเนินต่อไป จะทาให้ เป็ นอุปสรรคต่อการ
เรี ยนต่อในชันที
้ ่สงู ขึ ้น และจะเป็ นอุปสรรคในการติดต่อสื่อสาร และจะมีผลทาให้ การเขียนคาพ้ องเสียงผิดอีกด้ วย
ฉะนันผู
้ ้ วิจยั จึงมีความสนใจที่จะแก้ ปัญหาการเขียนคาพ้ องเสียงโดยการสร้ างและพัฒนาแบบฝึ กเสริม
ทักษะการเขียนคาพ้ องเสียงเพื่อให้ นกั เรี ยนได้ ฝึกทักษะการเขียนและการเรี ยนรู้ได้ หากมีเวลาและตังใจฝึ ้ กอย่าง
จริงจัง
2. วัตถุประสงค์ การวิจัย
1. เพื่อพัฒนาการเขียนคาพ้ องเสียงของนักเรี ยนชันประถมศึ
้ กษาปี ที่ 4/3 โดยใช้ แบบฝึ กเสริมทักษะการ
เขียนคาพ้ องเสียง
2. เพื่อเปรี ยบเทียบการเขียนคาพ้ องเสียงของนักเรี ยนชันประถมศึ
้ กษาปี ที่ 4/3 ระหว่างก่อนเรี ยนและหลัง
เรี ยน โดยใช้ แบบฝึ กเสริมทักษะการเขียนคาพ้ องเสียง
3. นิยามศัพท์
1. แบบฝึ กหัดเสริมทักษะ หมายถึง แบบฝึ กที่นามาเสริมสร้ างทักษะการเขียนคาพ้ องเสียงของนักเรี ยนชัน้
ประถมศึกษาปี ที่ 4/3
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน หมายถึง คะแนนที่นกั เรี ยนได้ รับจากการเขียนคาพ้ องเสียงถูกต้ องตาม
แบบฝึ กหัดเสริมทักษะที่ครูสร้ างขึ ้น
3. ประชากร หมายถึง นักเรี ยนชันประถมศึ
้ กษาปี ที่ 4/3 โรงเรี ยนอัสสัมชัญแผนกประถม
4. กลุม่ ตัวอย่าง หมายถึง นักเรี ยนชันประถมศึ
้ กษาปี ที่ 4/3 โรงเรี ยนอัสสัมชัญแผนกประถม จานวน 10
คน

4. ความรู้ /ทฤษฎีท่ เี กี่ยวข้ องก่ อนทาการวิจัย


ความหมายของการเขียนสะกดคา
นักการศึกษาได้ ให้ ความหมายของการเขียนสะกดคาไว้ ดงั นี ้
1. เว็บสเตอร์ (Webster) กล่าวว่า การเขียนสะกดคาคือศิลปะหรื อเทคนิคในการสร้ างคาโดยใช้ อกั ษรตามแบบ
ที่สงั คมยอมรับ
2. อดุลย์ ไทรเล็กพิม (2528 : 63) ได้ ให้ ความหมายของการสะกดคาว่า เป็ นการเขียนโดยเรี ยงลาดับ พยัญชนะ
สระ วรรณยุกต์ รวมทังตั ้ วสะกดการันต์ ภายในคาหนึง่ ๆ ได้ ถกู ต้ องตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน
อรพรรณ ภิญโญภาพ (2529 : 14) ได้ อธิบายว่า การเขียนสะกดคา เป็ นการฝึ กทักษะการเขียนให้ ถกู ต้ องตาม
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถานแก่ผ้ เู รี ยน และจะต้ องให้ ผ้ เู รี ยนเข้ าใจขบวนการประสมคา รู้หลักเกณฑ์ที่จะ
เรี ยบเรี ยงลาดับตัวอักษรในคาหนึง่ ๆ ให้ ได้ ความหมายที่ต้องการ เพื่อจะนาประโยชน์ไปใช้ ในการสื่อสาร
จากความหมายของการเขียนสะกดคาที่กล่าวมาข้ างต้ น สรุปได้ วา่ การเขียนสะกดคา หมายถึง การเขียนโดย
เรี ยงลาดับพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และตัวสะกดเป็ นคาได้ อย่างถูกหลักเกณฑ์ และถูกต้ องตามพจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑิตสถาน เพื่อให้ สามารถสื่อความหมายได้ ถกู ต้ อง
ความสาคัญของการเขียนสะกดคา
การเขียนสะกดคาให้ ถกู ต้ อง มีความสาคัญในเรื่ องการสื่อความหมายหากเขียนสะกดผิดพลาด จาทาให้ การ
สื่อความหมายผิดเพี ้ยนไป เข้ าใจไม่ตรงกัน ความสาคัญของการสะกดคาได้ มีนกั การศึกษาให้ ความหมายสาคัญ
ดังต่อไปนี ้
1. วัฒนา บุรกสิกร ได้ กล่าวถึงความสาคัญของการสะกดคาไว้ ในเอกสารประกอบคาบรรยายการใช้ ภาษาไทย
เรื่ อง วิธีใช้ ภาษาไทยว่า “เรื่ องของการเขียน ตัวสะกด เป็ นเรื่ องสาคัญมากต้ องระมัดระวังเป็ นที่สดุ เพราะการเขียน
สะกดผิด นอกจากจะผิดหลักอักขรวิธีแล้ ว ยังทาให้ สื่อความหมายที่เข้ าใจกันไม่ได้ อีกด้ วย”
2. บุปผา บุญทิพย์ กล่าวถึงความสัมพันธ์ของการเรี ยนการสอนสะกดคาในเรื่ องความรู้ทวั่ ไปทางภาษาไทย
ตอน 2 การใช้ ภาษาไทยว่า “การเขียนสะกดคาถือว่าเป็ นการสื่อสารด้ วยการเขียน ถ้ าเขียนสะกดคาผิดพลาด การ
สื่อสารจะไม่ชดั เจน ผู้รับสารจะไม่เข้ าใจ หรื อทาให้ เข้ าใจผิด การเขียนคาให้ ถกู ต้ องตามอักขรวิธีจงึ ต้ องฝึ กฝนและ
ระมัดระวังอย่าละเลย”
3. นิตยา กาญจนะวรรณ, เสาวลักษณ์ อนันตศานต์และ ทิพย์สเุ นตร อนัมบุตร กล่าวถึงความสาคัญของการ
เขียนสะกดคาในเรื่ องลักษณะและการใช้ ภาษาไทยว่า “การเขียนสะกดคาเป็ นเรื่ องสาคัญในการสื่อภาษาเขียน ถ้ า
เขียนผิดย่อมทาให้ ความหมายเปลี่ยนแปลงไป
สาเหตุท่ ที าให้ เขียนสะกดคาผิด
หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมการฝึ กหัดครู กระทรวงศึกษาธิการ ได้ กล่าวถึงสาเหตุของการเขียนสะกดคาผิดไว้ ในคูม่ ือ
ครูภาษาไทยว่า เขียนสะกดคาผิดเป็ นเพราะดังนี ้
1. ใช้ แนวเทียบผิด
2. ไม่สนใจในการเขียนว่าจะผิดหรื อถูก
3. ไม่ได้ ศกึ ษาว่าคาใดเขียนอย่างไรจึงถูก เวลาสงสัยก็ไม่เคยใช้ พจนานุกรม จึงไม่มีโอกาส ได้ จดจาคาที่ถกู
ตามพจนานุกรมไว้ ใช้
4. มีการแก้ ไขภาษาและพจนานุกรมที่ทาให้ นกั เรี ยนกาหนดแบบอย่างที่ถกู ต้ องได้ ยาก
5. ขาดการฝึ กโดยเฉพาะในการเขียนตามคาบอก
6. เห็นแต่แบบแผนที่ไม่ถกู ต้ องตลอดเวลา
7. ขาดความรู้ในเรื่ องรูปศัพท์เดิม
วิธีสอนการเขียนสะกดคา
การเขียนสะกดคา เป็ นทักษะที่ต้องอาศัยการสังเกต การจดจาอย่างสม่าเสมอ ดังนัน้ ในการจัดการเรี ยนการ
สอนจึงจาเป็ นอย่างยิ่งที่ผ้ สู อนจะต้ องคานึงถึงการจัดกิจกรรมการสอนให้ กบั นักเรี ยนในลักษณะแตกต่างกันตาม
ความเหมาะสมกับวัยและความสามารถของนักเรี ยนแต่ละคน เพื่อให้ นกั เรี ยนมีความสนใจและตังใจพยายาม ้
ฝึ กฝนทักษะการเขียนให้ ดียิ่งขึ ้น ในการสร้ างแบบฝึ กการเขียนสะกดคายาก จึงต้ องอาศัยแนวทางวิธีสอนมาจาก
เอกสารต่าง ๆ ดังนี ้
อัจฉรา ชีวพันธ์ ได้ เสนอแนะวีสอนการเขียนสะกดคาในระดับประถมศึกษา ในเรื่ อง ศาสตร์ ของการสอน
ภาษาไทยว่า
1. ต้ องจัดอย่างมีลาดับขันตอน
้ เพื่อช่วยให้ นกั เรี ยนเกิดการเรี ยนรู้ที่ตอ่ เนื่องเพราะภาษาไทยเป็ นทักษะที่
จะต้ องมีการฝึ กฝนให้ เกิดความชานาญสามารถใช้ ได้ อย่างถูกต้ องคล่องแคล่ว ดังนันกิ ้ จกรรมที่จดั ขึ ้น จัดให้
นักเรี ยนได้ ฝึกทักษะจากสิ่งง่ายไปหายาก
2. ควรจัดให้ สอดคล้ องและเหมาะสมกับวัย ความสามารถและความต้ องการของนักเรี ยน นักเรี ยนในระดับ
ประถมศึกษามีความต้ องการความสาเร็จครูผ้ สู อนควรคานึงถึงการจัดกิจกรรมส่งเสริมให้ นกั เรี ยนประสบ
ความสาเร็จมากกว่าล้ มเหลว เช่น การจัดแข่งขันเขียนคาศัพท์ ควรจัดกิจกรรมแข่งขันเขียนเป็ นหมู่ รู้จกั ให้ ความ
ช่วยเหลือกัน
3. การจัดกิจกรรมการสอนจะต้ องให้ นกั เรี ยนได้ มีสว่ นร่วมในการแสดงออกอย่างทัว่ ถึง เช่นให้ นกั เรี ยนออกมา
แข่งขันเขียนคาศัพท์ในกระดาน ผู้สอนควรเปิ ดโอกาสให้ นกั เรี ยนได้ ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันออกมาร่วมกิจกรรม
การได้ รับโอกาสโดยเท่าเทียมกันจะทาให้ เขาได้ เสนอแนะวิธีแก้ ไขข้ อบกพร่องในการเขียนไว้ ในคูม่ ือครู

5. กรอบแนวคิดของการวิจัย
ตัวแปรต้ น ตัวแปรตาม
- แบบฝึ กเสริมทักษะการเขียน - การพัฒนาการเขียนคาพ้ อง
คาพ้ องเสียง เสียง

6. สมมติฐานการวิจัย
ในการใช้ แบบฝึ กเสริมทักษะการเขียนคาพ้ องเสียงนักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ในการการเขียน หลังการใช้ แบบ
ฝึ กเสริมทักษะการเขียนคาพ้ องเสียงสูงกว่าก่อนใช้ แบบฝึ กเสริมทักษะการเขียนคาพ้ องเสียง
7. ตัวแปรอิสระ
แบบฝึ กเสริมทักษะการเขียนคาพ้ องเสียง
8. ตัวแปรตาม
การพัฒนาด้ านการเขียนคาพ้ องเสียง
9. ประชากร และกลุ่มตัวอย่ าง และวิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่ าง
ประชากร = นักเรี ยนชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 4/3 โรงเรี ยนอัสสัมชัญแผนกประถม
กลุม่ ตัวอย่าง=นักเรี ยนชันประถมศึ
้ กษาปี ที่ 4/3 โรงเรี ยนอัสสัมชัญแผนกประถม จานวน 10 คน
วิธีสมุ่ ตัวอย่าง=คัดจากการสังเกตการเรี ยนการสอนวิชาภาษาไทย ในส่วนการอ่านออกเสียงแล้ วครูเลือก
จากนักเรี ยนที่อ่านออกเสียงไม่ถกู ต้ องจานวน 10 คน
10. เครื่ องมือในการเก็บรวบรวมข้ อมูล
1. แบบฝึ กเสริมทักษะการเขียนคาพ้ องเสียง
2. แบบทดสอบการเขียนคาพ้ องเสียงก่อนเรี ยน / หลังเรี ยน
11. การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
ศึกษาหลักสูตรเนื ้อหาวิชาภาษาไทย และคาพ้ องเสียงที่นกั เรี ยนส่วนใหญ่มกั เขียนผิด โดยใช้ กระบวนการ
ดังนี ้
1. สังเกตปั ญหาที่เกิดขึ ้นขณะดาเนินการสอบอ่านออกเสียงคาพ้ องเสียง
2. พิจารณาแนวทางแก้ ปัญหาที่เกิดขึ ้นในข้ อ 1 โดยสร้ างแบบฝึ กหัดการเขียนคาพ้ องเสียงและเลือกคา
พ้ องเสียงที่นกั เรี ยนส่วนใหญ่เขียนสะกดผิด กาหนดเป็ นลาดับขันตอน ้
3. ศึกษารูปแบบของการสร้ างแบบฝึ กหัดการเขียนคาพ้ องเสียงจากเอกสารตัวอย่าง
4. ออกแบบชุดแบบฝึ กหัดการเขียนคาพ้ องเสียงแต่ละชุด ให้ มีรูปแบบที่หลากหลาย น่าสนใจ
5. ลงมือสร้ างแบบฝึ กหัดคาพ้ องเสียงในแต่ละชุด
6. ส่งให้ ผ้ เู ชี่ยวชาญวิชาภาษาไทยตรวจสอบ
7. นาไปใช้ จริงและเผยแพร่ตอ่ ไป
12. การเก็บรวบรวมข้ อมูล และระยะเวลาการเก็บข้ อมูล
ในการวิจยั ครัง้ นี ้ผู้วิจยั ดาเนินการเก็บข้ อมูลตังแต่
้ วนั ที่ 2 พฤศจิกายน-2 ธันวาคม พ.ศ. 25559 เวลา
12.30-13.00 น. ดังนี ้
1. ผู้วิจยั ทาการทดสอบการเขียนคาพ้ องเสียงก่อนเรี ยน( Pre test ) ใช้ แบบทดสอบการเขียนคา
พ้ องเสียงแล้ วบันทึกลงแบบการให้ คะแนน
2. ผู้วิจยั ดาเนินการทดลองโดยให้ นกั เรี ยนใช้ แบบฝึ กเสริมทักษะการเขียนคาพ้ องเสียง
3. ทาการทดสอบการเขียนคาพ้ องเสียงหลังเรี ยน ( Post test ) โดยใช้ แบบทดสอบการเขียนคา
พ้ องเสียงชุดเดียวกับแบบทดสอบก่อนเรี ยน
13. การวิเคราะห์ ข้อมูล
ผู้วิจยั ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี ้ คือ ผู้วิจยั ตรวจแบบบันทึกคะแนนการเขียนคาพ้ องเสียงของ
นักเรี ยนก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนทัง้ 2 ครัง้ มาเปรี ยบเทียบความแตกต่างของคะแนนที่ ได้ สถิติที่ใช้ ในการ
วิเคราะห์ข้อมูลในครัง้ นี ้ คือ เปรี ยบเทียบเป็ นจานวนร้ อยละ
14. ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
ผู้วิจยั ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี ้ คือ ผู้วิจยั ตรวจแบบบันทึกคะแนนของนักเรี ยนก่อนเรี ยนและหลัง
เรี ยนทัง้ 2 ครัง้ มาเปรี ยบเทียบความแตกต่างของคะแนนที่ได้ สถิตทิ ี่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูลในครัง้ นี ้ คือ
เปรี ยบเทียบเป็ นจานวนร้ อยละ แสดงตารางเปรี ยบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังใช้ แบบฝึ กเสริมทักษะการ
เขียนคาพ้ องเสียงดังนี ้

ตารางเปรี ยบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังใช้ แบบฝึ กเสริมทักษะการเขียนคาพ้ องเสียง

ลาดับ ชื่อ-สกุล คะแนนก่ อนใช้ คะแนนหลังใช้ D


ที่ แบบฝึ กเสริม แบบฝึ กเสริม
ทักษะการเขียน ทักษะการเขียน
คาพ้ องเสียง คาพ้ องเสียง
(20 คะแนน) (20 คะแนน)
1 นิตพิ ฒั น์ ยิ่งกิจภิญโญ 12 15 3
2 สุนิธิ ชีรานนท์ 10 13 3
3 ก้ องภพ อิทธิสกุลชัย 7 12 5
4 สพลดนัย ปทีปกมล 12 15 3
5 ฐกร ติระบริ สทุ ธิ์ 9 14 5
6 กุมภการ เกาะไพบูลย์ 9 13 4
7 ชวรรณ เทพหัสดิน ณ อยุธยา 14 17 3
8 เนวพรรษ ธนมงคลสวัสดิ์ 12 14 2
9 ภูวิศ นาคเจริญ 8 13 5
10 สิริภมู ิ อัศวจินดา 11 14 3
เฉลี่ย (X) 10 14
ค่ าร้ อยละ 52% 70%

จากตารางเปรี ยบเทียบ แสดงให้ เห็นว่าผลสัมฤทธิ์การเขียนคาพ้ องเสียงของนักเรี ยนชันประถมศึ


้ กษาปี ที่
4 ( กลุม่ ตัวอย่าง 10 คน ) หลังจากฝึ กด้ วยชุดแบบฝึ กหัดเสริ มทักษะการเขียนคาพ้ องเสียงแล้ วมีคะแนนสูงขึ ้นกว่า
ก่อนใช้ ชดุ แบบฝึ กหัดเสริมทักษะการเขียนคาพ้ องเสียงจาก 52% เป็ น 70%

15. สรุปผลการวิจัย
คะแนนทดสอบหลังใช้ ชดุ แบบฝึ กหัดเสริ มทักษะการเขียนคาพ้ องเสียงของนักเรี ยนชันประถมศึ
้ กษาปี ที่ 4
มีคะแนนสูงจากก่อนใช้ ชดุ แบบฝึ กหัดเสริ มทักษะการเขียนคาพ้ องเสียงจาก 52 % เป็ น 70 % ซึ่งแสดงว่า การใช้
ชุดแบบฝึ กหัดเสริ มทักษะการเขียนคาพ้ องเสียงของนักเรี ยนชันประถมศึ
้ กษาปี ที่ 4 ทาให้ นักเรี ยนมี ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ยนสูงขึ ้น
16. ข้ อเสนอแนะ
1. ครูผ้ สู อนวิชาภาษาไทย ชันประถมศึ
้ กษาปี ที่ 4 ควรนาชุดแบบฝึ กหัดเสริ มทักษะการเขียนคาพ้ องเสียง
ไปใช้ ในการเรี ยนการสอน หรื อใช้ ในการสอนซ่อมเสริม
2. ควรมีการสร้ างชุดแบบฝึ กหัดเสริมทักษะการเขียนคาพ้ องเสียงในระดับชันต่ ้ างๆ อย่างทัว่ ถึง
3. ควรมีการนาชุดแบบฝึ กหัดเสริ มทักษะการเขียนคาพ้ องเสียงไปทดลองใช้ กับหลายๆ โรงเรี ยน เพื่ อ
สรุปผลและปรับปรุงแก้ ไข
4. ผู้บริหาร และผู้เกี่ยวข้ อง ควรสนับสนุนให้ มีการอบรมเชิงปฏิบตั ิการสร้ างชุดแบบฝึ กหัดเสริ มทักษะการ
เขียนคาพ้ องเสียง ให้ แก่คณะครูในโรงเรี ยน

บรรณานุกรม
www.google.com

ภาคผนวก
1.ชุดแบบฝึ กหัดเสริมทักษะการเขียนคาพ้ องเสียง
2. แบบทดสอบก่อนเรี ยน / หลังเรี ยน

หมายเหตุ
- แบบฟอร์ มนี ้สาหรับงานวิจยั แบบไม่เต็มรูปแบบ
- ให้ ครูจดั ทาตามหัวข้ อ 1 – 13 ตามกาหนดการส่งแผนงานวิจยั
- Save ข้ อมูลเป็ น File PDF นาขึ ้น SWIS ลงในช่องส่งเค้ าโครงงานวิจยั ด้ วยตนเอง
- หลังจากทาวิจยั เรี ยบร้ อย ให้ กรอกข้ อมูลหัวข้ อ 14 – ภาคผนวก ตามกาหนดการส่งรายงานการวิจยั
- Save ข้ อมูลเป็ น File PDF นาขึ ้น SWIS ลงในช่องส่งรายงานวิจยั ด้ วยตนเอง
ภาคผนวก
ชุดแบบฝึ กหัดเสริมทักษะ
การเขียนคาพ้ องเสียง
แบบฝึ กหัดที่ ๑
คำชี้แจง เติมคำพ้องเสี ยง (คำทีข่ ดี เส้ นใต้ ) ให้ ถูกต้ อง
(๑) จักตอก เครื่ อง...................... ประ.....................
(๒) สะบัด สม.......................... นาม.....................
(๓) ผูกพัน สัม.......................... ผิว.......................
(๔) ผักกาด ประ......................... เก่ง......................
(๕) ประสาน สง........................... มหา....................
(๖) กานพลู ประสบ.................... เทศ.....................
(๗) สี สัน จัด........................... สร้าง...................
(๘) ข้าวสุ ก วัน........................... ความ...................
(๙) คุณค่า ........................ทาส ....................แมลง
(๑๐) ดอกพุด วัน.......................... พระ......................

คำชี้แจง ขีดเส้ นใต้ คำพ้องเสี ยงจำกประโยคทีก่ ำหนดต่ อไปนี้


(๑) แม่เด็ดขั้วพริ กแล้วนาไปคัว่ ไฟอ่อนๆ
(๒) สุ นขั เป็ นสัตว์ที่มีความซื่อสัตย์มาก
(๓) ผูเ้ ฒ่าตักขี้เถ้ามาดับไฟ
(๔) แม่เตรี ยมอาหารสาหรับตักบาตรพระที่มาบิณฑบาต
(๕) แม่ร้อยพวงมาลัยดอกพุดไปไหว้พระพุทธ
แบบฝึ กหัดที่ ๒
คำชี้แจง เติมคำพ้องเสี ยงโดยใช้ คำจำกคำอ่ำนในวงเล็บท้ ำยข้ อ
(๑) นิชาถูกกักบริ .....................................(เวน)
(๒) เด็กๆชาวเวียง...............................นัง่ ดูฟุตบอลอยูบ่ นอัฒ............................(จัน)
(๓) ..................................ช้างกาลังใช้มือ.................................หาของ (ควาน)
(๔) พระสงฆ์อุม้ .................................ออกบิณฑ......................................ทุกเช้า (บาด)
(๕) ...................การเมืองกาลังกล่าวคาปฏิญาณต่อหน้าพระ........................ในหลวง (พัก)
(๖) อา............................กาลังวิ.......................รายงานของนักเรี ยน (จาน)
(๗) ..............................ปรี ดาไม่ชอบรับของ.....................................จากใคร (กา-นัน)
(๘) ประชาสัม.........................กล่าวชื่นชมนางสาวไทยว่ามีผวิ .......................................ดี (พัน)
(๙) ป้ าช้อยเด็ด...................................พริ กก่อนเอาไป....................................... (คัว่ )
(๑๐) สุ ชาติ..................................ใจ ว่าคู่......................................ของเขาเป็ นคนดี (มัน่ )
(๑๑) เขาพบเหตุ...................................ตื่นเต้นที่เมือง..................................... (กาน)
(๑๒) ป้ าแจ่มทาแกง.................................ฟักทองเลี้ยงในงาน...................................พระ (บวด)
(๑๓) พุกรองขีด............................ให้วรรณี นงั่ กราบเพื่อ.............................ไหว้เจ้าที่ (เซ่น)
(๑๔) หญิงมี..................................คนนั้น ขึ้นรถ..............................แรก (คัน)
(๑๕) ทนายตั้ง..................................คาถามว่าทาไม....................................จึงฟ้ องจาเลย (โจด)
(๑๖) ผล............................ของการ...............................มีดคือทาให้มีดคม (ลับ)
(๑๗) ศาลมีคาสัง่ อนุ...............................ให้ทา..............................เป็ นผูร้ ับมรดก (ยาด)
(๑๘) เจ้าหน้าที่กาลัง..................................ชื่อคนที่เกิดปี ....................................... (ขาน)
(๑๙) น้องยิม้ โชว์.............................ในขณะที่คุณแม่กาลัง..................................น้ าตาล (เคี่ยว)
(๒๐) น้อง.......................................ได้ทาไฟ................................บ้าน (ไม่)
แบบฝึ กหัดที่ ๓
คำชี้แจง นำคำพ้องเสี ยงในวงเล็บมำเติมลงในช่ องว่ ำงให้ ถูกต้ อง
(๑) ................................................................. ( การ , กาล , กาฬ ) เวลาและวารี ไม่เคยคอยใคร

(๒) เราไม่ควรใส่ ของมี .............. ออกไปเดินตามท้องถนน เพราะอาจถูกโจร.............( ฆ่า , ค่า , ข้า )

(๓) มีเสี ยง................................. ( โจทย์ , โจทก์ , โจษ ) จันกันเซ็งแซ่ถึงความเก่งของนักเรี ยน ป. ๔

(๔) ร้านของคุณลุงขายดีมาก เพราะคุณลุงขายของในราคาย่อม................................. ( เยาว์ , เยา ) (๕)


นักเรี ยนที่ประพฤติตนเป็ นเด็กดี .................................................... ( หน้า , น่า ) รัก มักมีคนชื่นชม
และ.............................. ( สัน , สันต์ , สรร ) เสริ ญ

คำชี้แจง ยกตัวอย่ ำงคำพ้องเสี ยงมำ ๒ คำ จำกคำทีก่ ำหนดต่ อไปนี้


(๑) กาฬ ................................... .....................................
(๒) จรรย์ ................................... .....................................
(๓) รส ................................... .....................................
(๔) ข้า ................................... .....................................
(๕) พรรณ ................................... .....................................
(๖) ศาล ................................... .....................................
แบบฝึ กหัดที่ ๔
คำชี้แจง เลือกคำพ้องเสี ยงในวงเล็บท้ ำยประโยคเติมในช่ องว่ ำงให้ ได้ ควำมหมำยทีถ่ ูกต้ อง
(๑) คุณยายเก็บดอก.....................ไปถวายพระ......................ทุกวัน..................( พุทธ พุธ พุด )
(๒) .....................ราชการผูห้ นึ่งถูกโจร......................เพื่อชิงของมี........................( ข้า ค่า ฆ่า )
(๓) เขา.....................กระบุงสาหรับใส่ ขา้ ว......................บริ เวณ.................พระภูมิ ( สาร สาน ศาล )
(๔) พ่อโทร..................สัง่ ให้แม่บา้ นซื้อหมู....... .........ที่หา้ ง.................สิ นค้า ( สับ สรรพ ศัพท์ )
(๕) หญิงสาวเลือก............แต่เสื้ อผ้าสี ............สดใสเพื่อใส่ ไปงานเลี้ยงสัง..............(สัน สรร สรรค์)
(๖) คุณรัง.............................ได้ทาการจัด................................ทุกสิ่ ง....................................ไว้ให้ลูก
สาวที่กาลังจะเดินทางกลับจากต่างประเทศ ( สัน / สรร / สรรค์ / ศันต์ / สรรพ์ / ศัลย์ / สันต์ )
(๗) คุณอภิ.........................เดินทางไปเยีย่ มลูก..............................ที่ประสบอุบตั ิเหตุที่รัง......................(
สิ ด / สิ ต / ศิษย์ / สิ ทธิ์ )
(๘) คุณปรา........................ถูกเจ้านายเลือกให้ไปทางานที่จงั หวัดบึง............................เพราะเป็ นคนที่มี
ประสบ.......................สู งในการทางานชิ้นนี้ ( กาน / กานท์ / กานต์ / การ / กาฬ / กาล /การณ์ /กาญจน์
)
(๙) คุณอภิ.................................น้องชายของคุณสุ ............................ได้รับราง............................ยอด
เยีย่ มในการใช้เถา...................มาประดิษฐ์เป็ นสิ่ งของเครื่ องใช้ ( วัน / วรรณ / วันท์ / วัล / วัลย์ )
แบบทดสอบก่ อนเรียน / หลังเรียน
ชื่อ...........................................................................................ชั้น ป.๔/...............เลขที…
่ ……..
แบบทดสอบก่ อนเรียน Pre-Test
คำชี้แจง ทำเครื่องหมำย xทับตัวอักษรทีถ่ ูกทีส่ ุ ด
๑. คาพ้องเสี ยงหมายถึงตัวเลือกใด
ก. ออกเสี ยงเหมือนกัน เขียนต่างกัน ความหมายต่างกัน
ข. ออกเสี ยงเหมือนกัน เขียนเหมือนกัน ความหมายต่างกัน
ค. ออกเสี ยงต่างกัน เขียนต่างกัน ความหมายเหมือนกัน
ง. ออกสี ยงต่างกัน เขียนเหมือนกัน ความหมายต่างกัน
๒. ตัวเลือกใดไม่มีคาพ้องเสี ยง
ก. คุณพ่อหยิบพระขรรค์มาวางใกล้ขนั น้ า
ข. คุณย่าถอนหญ้าอยูร่ ิ มสนาม
ค. คุณแม่ตกั บาตรพระที่มาบิณฑบาต
ง. กรี เดินลงน้ าถูกกรี แทงจนเลือดไหล
๓. ควรเติมคาใดลงในช่องว่างตามลาดับ
“คนที่ไม่มีคุณ........มักเป็ น.......ยาเสพติด และสุ ดท้ายมักจะ.......กันเอง เพื่อประโยชน์ส่วนตัว”
ก. ฆ่า / ข้า / ค่า ข. ค่า / ข้า / ฆ่า
ค. ข้า / ค่า / ฆ่า ง. ค่า / ฆ่า / ข้า
๔. คาในคู่ใดเป็ นคาพ้องเสี ยง
ก. ลูกจันมีกลิ่นหอมเช่นเดียวกับไม้จนั ทน์ ข. ฉันมีขา้ ทาสบริ วารมากมาย
ค. หน้าหนาวนี้ควรซื้อครี มมาทาหน้าด้วย ง. ฆ่าควายอย่าเสี ยดายเกลือ
๕. “ฉันไม่ได้เป็ นคนทาให้ไฟไหม้บา้ น” คู่ใดเป็ นคาพ้องเสี ยง
ก. ฉัน-คน ข. ไฟ-ไหม้
ค. ไม่-ไหม้ ง. ให้-บ้าน
๖. ตัวเลือกใดเป็ นคาพ้องเสี ยง
ก. พันธุไ์ ม้-ใกล้ฝั่ง ข. ช้อนส้อม-ถนอมอาหาร
ค. สัตว์ป่า-สัดส่ วน ง. พูดชัด-ปัดเป่ า
๗. เลือกใดเป็ นคาพ้องเสี ยง
ก. จัด-แจง ข. เดือน-ดาว
ค. กัน-กรรณ ง. ย่า-ยาย
๘. ควรเติมคาในตัวเลือกใดลงในช่องว่างตามลาดับ จึงได้ความหมายถูกต้อง
“หลังจากคุณ..................ใส่ ........................เสร็จแล้ว จึงเดินไปเก็บดอก....................หลังบ้าน
เพื่อนาไปบูชาพระ...........................”
ก. ย่า / บาท / พุธ / พุทธ ข. หญ้า / บาตร / พุด / พุธ
ค. ย่า / บาตร / พุด / พุทธ ง. หญ้า / บาด / พุทธ / พุธ

๙. ควรเติมคาในตัวเลือกใดลงในช่องว่างตามลาดับ จึงได้ความหมายถูกต้อง
“ฉันเห็นร้านช่าง................นาด้ายสาย.................มาโยงรอบบ้าน...................ว่าคงทาบุญเปิ ด
..................ใหม่วนั นี้แน่ๆ”
ก. สิ น / ศิลป์ / ฆาต / ร้าน ข. ศิลป์ / สิ น / คาด / ล้าน
ค. สิ น / สิ ญจน์ / ฆาต / ล้าน ง. ศิลป์ / สิ ญจน์ / คาด / ร้าน

๑๐. ควรเติมคาในตัวเลือกใดลงในช่องว่างตามลาดับ จึงได้ความหมายถูกต้อง


“ครี มบารุ งผิว.................ตัวใหม่ที่...................โฆษณาออกอากาศทางโทรทัศน์เมื่อวานนี้ มี
ส่ วนผสมของน้ า....................และดอกไม้นานา....................ช่วยให้ผวิ ขาวกระจ่างใสยิง่ ขึ้น”
ก. พรรณ / พึ่ง / ผึ้ง / พันธุ์ ข. พัน / ผึ้ง / พัน / พรรณ
ค. พรร / พึ่ง / ผึ้ง / พันธ์ ง. พันธุ์ / ผึ้ง / พัน / พรร

๑๑. คาที่ขีดเส้นใต้ในประโยคตัวเลือกใดใช้ไม่ถูกต้อง
ก. ฉันเดินเจอที่คนั่ หนังสื อตกอยูท่ ี่ข้ นั บันไดสะพานลอย
ข. ชาวบ้านต่างโจษกันว่า มีโจทก์บอกว่าดาขโมยของ
ค. ครู เลือกสรรค์งานของนักเรี ยนที่มีความคิดสร้างสรรเข้าประกวด
ง. ป้ านาผลขนุนสุ กมาแกะใส่ จาน และกินอย่างมีความสุ ข
๑๒. ตัวเลือกใดไม่มีคาพ้องเสี ยง
ก. ฉันชอบกินหมูปิ้งไม่ไหม้ ข. เขาวางขันใกล้กบั พระขรรค์
ข. คุณย่าตัดหญ้าอยูห่ น้าบ้าน ง. พ่อปลูกต้นเสมาใกล้ใบเสมา
๑๓. คาพ้องเสี ยงคู่ใดใช้ไม่ถูกต้อง
ก. ทุกวันพุดแม่คา้ จะมาขายดอกพุธ ข. เขานาพานใส่ ของไปให้คนพาล
ค. เขารดน้ าใส่ รถยนต์ ง. แม่ใส่ บาตรพระที่มาบิณฑบาต
๑๔. ตัวเลือกใดไม่ ใช่ ลกั ษณะของคาพ้องเสี ยง
ก. เขียนต่างกัน ข. เขียนเหมือนกัน
ค. อ่านออกเสี ยงเหมือนกัน ง. ความหมายต่างกัน
๑๕. คาคู่ใดเป็ นคาพ้องเสี ยง
ก. ฉัน-กัน ข. รด-รส
ค. ฟัน-ฝัน ง. สุ ด-สมุด
๑๖. “คนส่ วนใหญ่ชอบเลี้ยงสุ นขั เพราะมันเป็ น.........ที่มีความซื่อ......” ควรนาคาใดเติมลงในช่องว่าง
ก. สัด-สัตย์ ข. สัตว์-สัตย์
ค. สัตย์-สัตว์ ง. สัตย์-สัด
๑๗. “เมื่อวัน.........ชาวบ้านต่างโจษ...........ว่าต้น..........หน้าบ้านออกดอกแปลกมาก” ควรนาคาในข้อ
ใดเติมลงในช่องว่าง
ก. จันทร์-จัน-จันทน์ ข. จันทร์-จันทน์-จัน
ค. จัน-จันทร์-จันทน์ ง. จันทน์-จัน-จันทร์
๑๘. ตัวเลือกใดแตกต่างจากพวก
ก. เขมา-เขมา ข. จัน-จันทร์
ค. หญ้า-ย่า ง. บาต-บาท
๑๙. ตัวเลือกใดไม่มีคาพ้องเสี ยง
ก. มานะถูกคุณย่าว่าเพราะลืมซื้อลูกหว้า
ข. เขาเห็นเหรี ยญบาทวางอยูบ่ นบาตรพระ
ค. แม่เด็ดขั้วพริ กไปคัว่ ไฟอ่อนๆ
ง. ปูเห็นคนแขมเดินลุยดงแขมที่ปลายทุ่ง
๒๐. คาพ้องเสี ยงคู่ใดใช้ไม่ถูกต้อง
ก. ในชีวติ ของเขาเคยพบพานคนพาลมามากมาย
ข. ผูเ้ ฒ่าตักขี้เถ้ามาดับไปในเตา
ค. พ่อล้างรดก่อนที่จะไปรถน้ าต้นไม้
ง. แม่เตรี ยมอาหารสาหรับตักบาตรพระที่มาบิณฑบาต
********************************************************************************************************
ชื่อ...........................................................................................ชั้น ป.๔/...............เลขที…
่ ……..
แบบทดสอบก่อนเรียน Post-Test
คำชี้แจง ทำเครื่องหมำย xทับตัวอักษรทีถ่ ูกทีส่ ุ ด
๑. คาที่ขีดเส้นใต้ในประโยคตัวเลือกใดใช้ไม่ถูกต้อง
ก. ฉันเดินเจอที่คนั่ หนังสื อตกอยูท่ ี่ข้ นั บันไดสะพานลอย
ข. ชาวบ้านต่างโจษกันว่า มีโจทก์บอกว่าดาขโมยของ
ค. ครู เลือกสรรค์งานของนักเรี ยนที่มีความคิดสร้างสรรเข้าประกวด
ง. ป้ านาผลขนุนสุ กมาแกะใส่ จาน และกินอย่างมีความสุ ข
๒. ตัวเลือกใดไม่มีคาพ้องเสี ยง
ก. ฉันชอบกินหมูปิ้งไม่ไหม้ ข. เขาวางขันใกล้กบั พระขรรค์
ข. คุณย่าตัดหญ้าอยูห่ น้าบ้าน ง. พ่อปลูกต้นเสมาใกล้ใบเสมา
๓. คาพ้องเสี ยงคู่ใดใช้ไม่ถูกต้อง
ก. ทุกวันพุดแม่คา้ จะมาขายดอกพุธ ข. เขานาพานใส่ ของไปให้คนพาล
ค. เขารดน้ าใส่ รถยนต์ ง. แม่ใส่ บาตรพระที่มาบิณฑบาต
๔. ตัวเลือกใดไม่ ใช่ ลกั ษณะของคาพ้องเสี ยง
ก. เขียนต่างกัน ข. เขียนเหมือนกัน
ค. อ่านออกเสี ยงเหมือนกัน ง. ความหมายต่างกัน
๕. คาคู่ใดเป็ นคาพ้องเสี ยง
ก. ฉัน-กัน ข. รด-รส
ค. ฟัน-ฝัน ง. สุ ด-สมุด
๖. “คนส่ วนใหญ่ชอบเลี้ยงสุ นขั เพราะมันเป็ น.....ที่มีความซื่อ.....” ควรนาคาใดเติมลงในช่องว่าง
ก. สัด-สัตย์ ข. สัตว์-สัตย์
ค. สัตย์-สัตว์ ง. สัตย์-สัด
๗. “เมื่อวัน.........ชาวบ้านต่างโจษ...........ว่าต้น..........หน้าบ้านออกดอกแปลกมาก” ควรนาคาในข้อใด
เติมลงในช่องว่าง
ก. จันทร์-จัน-จันทน์ ข. จันทร์-จันทน์-จัน
ค. จัน-จันทร์-จันทน์ ง. จันทน์-จัน-จันทร์
๘. ตัวเลือกใดแตกต่างจากพวก
ก. เขมา-เขมา ข. จัน-จันทร์
ค. หญ้า-ย่า ง. บาต-บาท
๙. ตัวเลือกใดไม่มีคาพ้องเสี ยง
ก. มานะถูกคุณย่าว่าเพราะลืมซื้อลูกหว้า
ข. เขาเห็นเหรี ยญบาทวางอยูบ่ นบาตรพระ
ค. แม่เด็ดขั้วพริ กไปคัว่ ไฟอ่อนๆ
ง. ปูเห็นคนแขมเดินลุยดงแขมที่ปลายทุ่ง
๑๐. คาพ้องเสี ยงคู่ใดใช้ไม่ถูกต้อง
ก. ในชีวติ ของเขาเคยพบพานคนพาลมามากมาย
ข. ผูเ้ ฒ่าตักขี้เถ้ามาดับไปในเตา
ค. พ่อล้างรดก่อนที่จะไปรถน้ าต้นไม้
ง. แม่เตรี ยมอาหารสาหรับตักบาตรพระที่มาบิณฑบาต
๑๑. คาพ้องเสี ยงหมายถึงตัวเลือกใด
ก. ออกเสี ยงเหมือนกัน เขียนต่างกัน ความหมายต่างกัน
ข. ออกเสี ยงเหมือนกัน เขียนเหมือนกัน ความหมายต่างกัน
ค. ออกเสี ยงต่างกัน เขียนต่างกัน ความหมายเหมือนกัน
ง. ออกสี ยงต่างกัน เขียนเหมือนกัน ความหมายต่างกัน
๑๒. ตัวเลือกใดไม่มีคาพ้องเสี ยง
ก. คุณพ่อหยิบพระขรรค์มาวางใกล้ขนั น้ า
ข. คุณย่าถอนหญ้าอยูร่ ิ มสนาม
ค. คุณแม่ตกั บาตรพระที่มาบิณฑบาต
ง. กรี เดินลงน้ าถูกกรี แทงจนเลือดไหล
๑๓. ควรเติมคาใดลงในช่องว่างตามลาดับ
“คนที่ไม่มีคุณ........มักเป็ น.......ยาเสพติด และสุ ดท้ายมักจะ.......กันเอง เพื่อประโยชน์ส่วนตัว”
ก. ฆ่า / ข้า / ค่า ข. ค่า / ข้า / ฆ่า
ค. ข้า / ค่า / ฆ่า ง. ค่า / ฆ่า / ข้า
๑๔. คาในคู่ใดเป็ นคาพ้องเสี ยง
ก. ลูกจันมีกลิ่นหอมเช่นเดียวกับไม้จนั ทน์ ข. ฉันมีขา้ ทาสบริ วารมากมาย
ค. หน้าหนาวนี้ควรซื้อครี มมาทาหน้าด้วย ง. ฆ่าควายอย่าเสี ยดายเกลือ
๑๕. “ฉันไม่ได้เป็ นคนทาให้ไฟไหม้บา้ น” คู่ใดเป็ นคาพ้องเสี ยง
ก. ฉัน-คน ข. ไฟ-ไหม้
ค. ไม่-ไหม้ ง. ให้-บ้าน
๑๖. ตัวเลือกใดเป็ นคาพ้องเสี ยง
ก. พันธุไ์ ม้-ใกล้ฝั่ง ข. ช้อนส้อม-ถนอมอาหาร
ค. สัตว์ป่า-สัดส่ วน ง. พูดชัด-ปัดเป่ า
๑๗. เลือกใดเป็ นคาพ้องเสี ยง
ก. จัด-แจง ข. เดือน-ดาว
ค. กัน-กรรณ ง. ย่า-ยาย

๑๘. ควรเติมคาในตัวเลือกใดลงในช่องว่างตามลาดับ จึงได้ความหมายถูกต้อง


“หลังจากคุณ..................ใส่ ........................เสร็จแล้ว จึงเดินไปเก็บดอก....................หลังบ้าน
เพื่อนาไปบูชาพระ...........................”
ก. ย่า / บาท / พุธ / พุทธ ข. หญ้า / บาตร / พุด / พุธ
ค. ย่า / บาตร / พุด / พุทธ ง. หญ้า / บาด / พุทธ / พุธ

๑๙. ควรเติมคาในตัวเลือกใดลงในช่องว่างตามลาดับ จึงได้ความหมายถูกต้อง


“ฉันเห็นร้านช่าง................นาด้ายสาย.................มาโยงรอบบ้าน...................ว่าคงทาบุญเปิ ด
..................ใหม่วนั นี้แน่ๆ”
ก. สิ น / ศิลป์ / ฆาต / ร้าน ข. ศิลป์ / สิ น / คาด / ล้าน
ค. สิ น / สิ ญจน์ / ฆาต / ล้าน ง. ศิลป์ / สิ ญจน์ / คาด / ร้าน

๒๐. ควรเติมคาในตัวเลือกใดลงในช่องว่างตามลาดับ จึงได้ความหมายถูกต้อง


“ครี มบารุ งผิว.................ตัวใหม่ที่...................โฆษณาออกอากาศทางโทรทัศน์เมื่อวานนี้ มี
ส่ วนผสมของน้ า....................และดอกไม้นานา....................ช่วยให้ผวิ ขาวกระจ่างใสยิง่ ขึ้น”
ก. พรรณ / พึ่ง / ผึ้ง / พันธุ์ ข. พัน / ผึ้ง / พัน / พรรณ
ค. พรร / พึ่ง / ผึ้ง / พันธ์ ง. พันธุ์ / ผึ้ง / พัน / พรร
********************************************************************************

You might also like