You are on page 1of 59

คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คำนำ

คู่มือการใช้สื่อการสอนวิชาเคมี จัดทาขึ้นเพื่อเป็ นแนวทางสาหรับครู ในการใช้สื่อการสอนวิชาเคมี


ในระดับ มัธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย ตามหนัง สื อ เรี ย นรายวิ ช าเพิ่ ม เติ ม เคมี เล่ ม 4 กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู ้
วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4- 6 ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (พิมพ์
ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2554) จัดทาโดยสถาบันส่ งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิ การ
โดยสื่ อการสอนตอนนี้ เป็ นบทเรี ยนเรื่ องไฟฟ้ าเคมี ตอน “ เซลล์ อิเล็กโทรไลต์ : กำรแยกน้ำด้ วยกระแส
ไฟฟ้ ำ ” ซึ่ ง ประกอบด้ว ยเนื้ อหาเกี่ ย วกับ การทดลองแยกน้ า ด้ว ยกระแสไฟฟ้ า การทดลองแยกน้ า ด้ว ย
กระแสไฟฟ้ าแบบย่อส่ วนหลักการทางาน ส่ วนประกอบของเซลล์ ขั้วไฟฟ้ า อิเล็กโทรไลต์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น
ที่ข้ วั ไฟฟ้ าในการแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ า
ก่ อนเข้า สู่ เนื้ อหาของสื่ อการสอน มี แบบทดสอบก่ อนเรี ย นเพื่ อทดสอบความรู ้ พ้ื นฐานที่ ค วรรู ้
ส าหรั บ ตอนเรี ย นนี้ และหลัง จบเนื้ อ หาของสื่ อ การสอนมี แ บบทดสอบหลัง เรี ย นและแบบฝึ กหัด ซึ่ ง
แบบทดสอบหลังเรี ยนเป็ นการประเมินผลการเรี ยนรู้ตามวัตถุประสงค์ โดยเน้นการทดสอบความรู้และความ
เข้าใจของนักเรี ยน ส่ วนแบบฝึ กหัดนั้นเป็ นโจทย์ที่เชื่ อมโยงเนื้ อหาของตอนเรี ยนนี้ กบั ความรู ้ของตอนเรี ยน
อื่นๆ ในบทนี้ และเรื่ องอื่นๆ ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยเพิ่มทักษะการใช้ความรู ้ ความเข้าใจ และ
การคิดวิเคราะห์สาหรับแก้ปัญหาโจทย์
นอกจากนี้ คู่มือสื่ อการสอนนี้ ยงั ประกอบด้วยเฉลยแบบทดสอบก่อนเรี ยน เฉลยแบบทดสอบหลัง
เรี ย น เฉลยแบบฝึ กหัด ค าอธิ บ ายและค าแนะนาเพิ่ มเติ ม ของเนื้ อหาในสื่ อการสอน เนื้ อหาเพิ่ มเติ ม หรื อ
บทความเสริ มและภาคผนวก เพื่อให้ครู ผูส้ อนสามารถใช้คู่มือสื่ อการสอนนี้ สาหรับประกอบการอธิ บาย
ให้แก่นกั เรี ยนได้เข้าใจการใช้สื่อการสอนและเนื้อหาของสื่ อการสอนมากยิง่ ขึ้น
ผูเ้ รี ย บเรี ย งหวัง เป็ นอย่างยิ่งว่าสื่ อการสอนและคู่ มือสื่ อการสอนนี้ จะเป็ นประโยชน์ แก่ นัก เรี ย น
ครู ผสู ้ อนและผูท้ ี่เกี่ยวข้อง ที่จะช่วยให้การเรี ยนการสอนมีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลและบรรลุผลการ
เรี ยนรู้ตามเป้ าหมายของวิชาเคมีในหลักสู ตรระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผูเ้ รี ยบเรี ยงคู่มือสื่ อการสอน


รองศาสตราจารย์ เทพจานงค์ แสงสุ นทร
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สำรบัญ
หน้ ำ

1 จุดประสงค์การเรี ยนรู้ 3

2 ผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวัง 4

3 แบบทดสอบก่อนเรี ยนและเฉลยแบบทดสอบก่อนเรี ยน 5

4 รายละเอียดของเนื้ อหาในสื่ อการสอนพร้อมคาอธิ บายและคาแนะนาเพิม่ เติม 13

5 แบบทดสอบหลังเรี ยนและเฉลยแบบทดสอบหลังเรี ยน 39

6 แบบฝึ กหัดและเฉลยแบบฝึ กหัด 47

7 ข้อมูลอ้างอิง 58

8 ภาคผนวก 59

2
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1. จุดประสงค์ กำรเรียนรู้

1. อธิ บายลักษณะทัว่ ไปและหลักการทางานของเซลล์อิเล็กโทรไลติกได้


2. ทดลองแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ าได้
3. อธิ บายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ าได้
4. ระบุข้ วั ที่เป็ นแอโนด แคโทด และเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นที่ข้ วั ไฟฟ้ าทั้งสองได้

3
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2. ผลกำรเรียนรู้ที่คำดหวัง

นักเรี ยนสามารถ

1. อธิ บายลักษณะทัว่ ไปและหลักการทางานของเซลล์อิเล็กโทรไลติกได้


2. ทดลองแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ าได้
3. ทดลองแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ าแบบย่อส่ วนได้
4. อธิ บายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ าได้
5. ระบุข้ วั ที่เป็ นแอโนด แคโทด และเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นที่ข้ วั ไฟฟ้ าทั้งสองได้
6. อธิบายความหมาย และความสาคัญของบทเรี ยนได้
7. ประเมินตนเองเกี่ยวกับความรู ้ความเข้าใจในเนื้ อหาเฉพาะของตอนเรี ยนได้
8. สามารถนาไปใช้ร่วมกับเนื้ อหาในตอนอื่นได้
9. สื บค้นข้อมูลเพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับเนื้ อหาในตอนเรี ยนได้

4
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3. แบบทดสอบก่อนเรียนและเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน

แบบทดสอบก่อนเรี ยนจัดทาขึ้ นเพื่อใช้ ทดสอบความรู ้ เบื้ องต้นหรื อความรู ้ พ้ืนฐานของนักเรี ยน


ก่อนที่จะเข้าสู่ บทเรี ยนตอนนี้ วา่ มีเพียงพอที่จะใช้เรี ยนบทเรี ยนใหม่หรื อไม่ ถ้าผลการทดสอบของนักเรี ยน
ได้คะแนนน้อยหรื อได้ระดับ “ ปรับปรุ ง ” ครู ควรแนะนาให้นกั เรี ยนกลับไปทบทวนความรู ้ที่ผ่านมาแล้ว
ด้วย
แบบทดสอบก่อนเรี ยน เรื่ อง ไฟฟ้ าเคมี ตอน “ เซลล์ อิเล็กโทรไลต์ : กำรแยกน้ำด้ วยกระแสไฟฟ้ำ ”
เป็ นแบบทดสอบปรนัย 4 ตัวเลือก มีท้ งั หมด 5 ข้อ ซึ่ งเปลี่ยนลาดับทั้งโจทย์และตัวเลือกทุกครั้งที่เปิ ดสื่ อการ
สอนขึ้นมาใหม่ นักเรี ยนแต่ละคนอาจได้ลาดับโจทย์และตัวเลื อกไม่เหมือน นักเรี ยนต้องตอบแบบทดสอบ
ให้ถูกต้องก่อน จึงจะเปลี่ยนเป็ นโจทย์ขอ้ ถัดไป โดยหลักเกณฑ์การให้คะแนนแต่ละข้อ ดังนี้
ตอบถูกในครั้งแรก ได้ 4 คะแนน
ตอบถูกในครั้งที่สอง ได้ 2 คะแนน
ตอบถูกในครั้งที่สาม ได้ 1 คะแนน
ตอบถูกในครั้งที่สี่ ได้ 0 คะแนน
ดังนั้นคะแนนรวมเต็ม 20 คะแนน และหลังจากทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนครบ 5 ข้อ จะมีกรอบ
ข้อความแสดงผลคะแนนรวมที่ได้ และผลการประเมินระดับศักยภาพของนักเรี ยนก่อนเรี ยน ดังนี้
ถ้านักเรี ยนได้
17 – 20 คะแนน จัดอยูใ่ นระดับ ดีมาก
15 – 16 คะแนน จัดอยูใ่ นระดับ ดี
11 – 14 คะแนน จัดอยูใ่ นระดับ พอใช้
0 – 10 คะแนน จัดอยูใ่ นระดับ ปรับปรุ ง
แบบทดสอบก่อนเรี ยน 5 ข้อ มีคาถามและเฉลยคาตอบดังนี้ (ลาดับโจทย์และตัวเลือกในสื่ อการสอน
อาจต่างจากนี้)
แบบทดสอบก่อนเรี ยนชุดนี้ควรใช้เวลาประมาณ 5 – 10 นาที
ในกรณี ที่โจทย์บางข้อมีความยากหรื อมีการคานวณ สามารถใช้เวลาเพิ่มขึ้นได้

เมื่อคลิกเลือก “ แบบทดสอบก่อนเรี ยน ” ที่เมนู จะเข้าสู่ การทดสอบดังต่อไปนี้

5
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จากค่า Eo ต่อไปนี้
Mg2+(aq) + 2e-  Mg(s) Eo = - 2.36 V
Ni2+(aq) + 2e-  Ni(s) Eo = - 0.24 V
Zn2+(aq) + 2e-  Zn(s) Eo = - 0.76 V
Mn2+(aq) + 2e- Mn(s) Eo = - 1.18 V
ข้ อใดเกิดปฏิกริ ิยำ
ตัวเลือก Mn(s) + Zn2+(aq)  Mn2+(aq) + Zn(s)
ตัวเลือก Mn(s) + Mg2+(aq)  Mn2+(aq) + Mg(s)
ตัวเลือก Ni(s) + Zn2+(aq)  Ni2+(aq) + Zn(s)
ตัวเลือก Ni(s) + Mg2+(aq)  Ni2+(aq) + Mg(s)

คำตอบทีถ่ ูกต้ อง Mn(s) + Zn2+(aq)  Mn2+(aq) + Zn(s)


คำอธิบำย
ปฏิกิริยาที่มี Eo เป็ นบวกจะเกิดปฏิกิริยาได้
ปฏิกิริยาที่มี Eo เป็ นลบจะไม่เกิดปฏิกิริยา
Mg2+(aq) + 2e-  Mg(s) Eo = - 2.36 V....(1)
Ni2+(aq) + 2e-  Ni(s) Eo = - 0.24 V....(2)
Zn2+(aq) + 2e-  Zn(s) Eo = - 0.76 V....(3)

6
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Mn2+(aq) + 2e- Mn(s) Eo = - 1.18 V....(4)


ตัวเลือก Mn(s) + Zn2+(aq)  Mn2+(aq) + Zn(s)
เกิดจาก (3) – (4) : Mn(s) + Zn2+(aq)  Mn2+(aq) + Zn(s)
Eo = Eo (3) - Eo (4)
= (- 0.76) – (- 1.18)
= 0.42 V
มีค่า Eo เป็ นบวกจึงเกิดปฏิกิริยา

มีค่า Eo เป็ นลบจึงไม่เกิดปฏิกิริยา


ตัวเลือก Mn(s) + Mg2+(aq)  Mn2+(aq) + Mg(s)
เกิดจาก (1) – (4) : Mn(s) + Mg2+(aq)  Mn2+(aq) + Mg(s)
Eo = Eo (1) - Eo (4)
= (- 2.36) – (- 1.18)
= - 1.18 V
o
มีค่า E เป็ นลบจึงไม่เกิดปฏิกิริยา
ตัวเลือก Ni(s) + Zn2+(aq)  Ni2+(aq) + Zn(s)
เกิดจาก (3) – (2) : Ni(s) + Zn2+(aq)  Ni2+(aq) + Zn(s)
Eo = Eo (3) - Eo (2)
= (- 0.76) – (- 0.24)
= - 0.52 V
มีค่า Eo เป็ นลบจึงไม่เกิดปฏิกิริยา
ตัวเลือก Ni(s) + Mg2+(aq)  Ni2+(aq) + Mg(s)
เกิดจาก (3) – (2) : Ni(s) + Mg2+(aq)  Ni2+(aq) + Mg(s)
Eo = Eo (1) - Eo (2)
= (- 2.36) – (- 0.24)
= - 0.52 V
มีค่า Eo เป็ นลบจึงไม่เกิดปฏิกิริยา

7
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คำตอบทีถ่ ูกต้ อง โลหะ Zn เป็ นขั้วลบ เรียกว่ำขั้วแอโนด


คำอธิบำย
ตามรู ป Zn เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ขั้วไฟฟ้ าจึงเป็ นแอโนดหรื อขั้วลบ

8
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คำตอบทีถ่ ูกต้ อง Ag(s) | Ag+(aq) || Pb2+(aq) | Pb(s)


คำอธิบำย
คาตอบนี้ เป็ นแผนภาพของเซลล์อิเล็กโทรไลติก
จาก Eocell = Eocathode - Eoanode
= (- 0.13) – (0.80)
= - 0.93 V
แผนภาพนี้มี Eocell เป็ นลบจึงเป็ นแผนภาพของเซลล์อิเล็กโทรไลติก

ตัวเลือก Mg(s) | Mg2+(aq) || Ag+(aq) | Ag(s)


จาก Eocell = Eocathode - Eoanode
= (0.80) – (- 2.36)
= 3.16 V
แผนภาพนี้มี Eocell เป็ นบวกจึงเป็ นแผนภาพของเซลล์กลั ป์ วานิก

ตัวเลือก Cu(s) | Cu2+(aq) || Ag+(aq) | Ag(s)


จาก Eocell = Eocathode - Eoanode
= (0.80) – (0.34)
= 0.46 V

9
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

แผนภาพนี้มี Eocell เป็ นบวกจึงเป็ นแผนภาพของเซลล์กลั ป์ วานิก

ตัวเลือก Pb(s) | Pb2+(aq) || Cu2+(aq) | Cu(s)


จาก Eocell = Eocathode - Eoanode
= (0.34) – (- 0.13)
= 0.47 V
แผนภาพนี้มี Eocell เป็ นบวกจึงเป็ นแผนภาพของเซลล์กลั วานิ ก

10
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คำตอบทีถ่ ูกต้ อง เซลล์กลั วำนิกและเซลล์อเิ ล็กโทรไลติกจัดว่ำเป็ นเซลล์ไฟฟ้ำเคมี


คำอธิบำย
เซลล์ไฟฟ้ าเคมีแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
1. เซลล์กลั วานิก
2. เซลล์อิเล็กโทรไลติก
เซลล์กลั วานิ ก เกิดจากสารเคมีในเซลล์ทาปฏิกิริยากันแล้วทาให้มีกระแสไฟเกิดขึ้น เซลล์กลั วานิ ก
สามารถเกิดปฏิกิริยาได้เอง มีศกั ย์ไฟฟ้ าของเซลล์เป็ นบวก
เซลล์อิเล็กโทรไลติ กหรื อเซลล์อิเล็กโทรไลต์ เกิ ดจากการใส่ กระแสไฟฟ้ าลงในเซลล์ แล้วทาให้
สารเคมีเกิดปฏิ กิริยา เซลล์อิเล็กโทรไลติกเกิดขึ้นเองไม่ได้ ต้องใช้พลังงานจากภายนอก เช่ นจากแบตเตอรี่
ศักย์ไฟฟ้ าของเซลล์จึงมีค่าเป็ นลบ
เซลล์กลั วานิ กแบ่งตามลักษณะของปฏิ กิริยาที่เกิดขึ้นภายในเซลล์ จะแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทคือ
เซลล์ปฐมภูมิและเซลล์ทุติยภูมิ
เซลล์ปฐมภูมิ เช่น ถ่านไฟฉาย เซลล์แอลคาไลน์ เซลล์เงินและเซลล์ปรอท
เซลล์ทุติยภูมิ เช่น เซลล์สะสมไฟฟ้ าแบบตะกัว่ เซลล์นิกเกิล– แคดเมียมและเซลล์โซเดียม– ซัลเฟอร์

11
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คำตอบทีถ่ ูกต้ อง เซลล์ปรอท


คำอธิบำย
เซลล์กลั วานิ กแบ่งตามลักษณะของปฏิ กิริยาที่เกิดขึ้นภายในเซลล์ จะแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทคือ
เซลล์ปฐมภูมิและเซลล์ทุติยภูมิ
เซลล์ปฐมภูมิ คือ เซลล์กลั วานิ กที่ ใช้แล้วหมดไป เนื่ องจากปฏิ กิริยาเคมี เกิ ดขึ้นภายในเซลล์อย่าง
สมบูรณ์และไม่สามารถเปลี่ ยนผลิตภัณฑ์กลับมาเป็ นสารตั้งต้นได้อีก เซลล์ปฐมภูมิ เช่น ถ่านไฟฉาย เซลล์
แอลคาไลน์ เซลล์เงินและเซลล์ปรอท
เซลล์ ทุ ติ ย ภู มิ เป็ นเซลล์ ก ัล วานิ ก ที่ ส ามารถน ากลับ มาใช้ ใ หม่ ไ ด้ เซลล์ ช นิ ด นี้ สามารถท าให้
เกิดปฏิกิริยาย้อนกลับได้โดยการประจุไฟ ทาให้นากลับมาใช้ใหม่ได้อีก เซลล์ทุติยภูมิ เช่น เซลล์สะสมไฟฟ้ า
แบบตะกัว่ เซลล์นิกเกิล– แคดเมียมและเซลล์โซเดียม– ซัลเฟอร์

12
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

4. รำยละเอียดของเนือ้ หำในสื่อกำรสอนพร้ อมคำอธิบำยและคำแนะนำเพิม่ เติม


การเปิ ดสื่ อการสอนตอนนี้ ต้องใช้โปรมแกรม Flash Player เช่น Adobe Flash Player ซึ่ งสามารถ
ดาวน์โหลดได้ฟรี จากอินเทอร์เน็ต
เมื่อเปิ ดสื่ อการสอน จะปรากฏหน้าเมนูหลัก ดังนี้

เมื่อคลิกเลือก “ เนื้อหาบทเรี ยน ” ที่เมนู จะมีรายละเอียดต่าง ๆ ดังต่อไปนี้

13
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ช่วงเวลาประมาณ 0.00 นาที


นำเข้ ำสู่ บทเรียนและชี้แจงจุดประสงค์ กำรเรียนรู้

สวัสดีครับนักเรี ยนทุก ๆ คน
วันนี้ เราจะมาเรี ยนเกี่ยวกับการแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ าโดยใช้เซลล์อิเล็กโทรไลต์หรื อเซลล์อิเล็ก
โทรไลติกกัน เราจะได้ทราบว่าถ้าต้องการแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ าจะทาอย่างไร จะใช้เครื่ องมือประเภท
ไหน น้ าบริ สุทธิ์ จะแยกด้วยกระแสไฟฟ้ าได้หรื อไม่ ถ้าไม่ได้จะต้องทาอย่างไร ต้องเติมสารใดลงไปในน้ า
และเมื่อแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ าจะใดสารใดบ้าง

โอ้โฮ มากมายขนาดนี้เชียวหรื อครับ แต่ก็ดูน่าจะสนุกและน่าสนใจนะครับ


เนื้อหามากแต่ก็น่าสนใจนะครับ แต่ก่อนที่จะพูดถึงรายละเอียด ครู ขอถามก่อนว่า นักเรี ยนทุกคนได้
ทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนกันแล้วหรื อยังครับ ถ้ายังไม่ได้ทา ครู ขอให้กลับไปทาก่อน ก่อนที่เราจะได้เริ่ มต้น

14
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เรี ยนกัน การทดสอบก่อนเรี ยนเป็ นการทดสอบความรู ้เบื้องต้นที่ตอ้ งใช้ในตอนเรี ยนนี้ เช่ น เรื่ องของเซลล์
กัลวานิก ขั้วไฟฟ้ าแอโนด แคโทด ปฏิกิริยาออกซิ เดชันและรี ดกั ชัน เป็ นต้น
สาหรั บนักเรี ยนที่ ทาแบบทดสอบก่ อนเรี ยนแล้ว ผลการทดสอบเป็ นอย่างไรกันบ้าง ได้คะแนนดี
ไหมครับ ใครที่ได้คะแนนน้อย แสดงว่ายังมีพ้นื ฐานความรู ้ค่อนข้างน้อย ควรหาโอกาสกลับไปทบทวนและ
กลับมาทาแบบทดสอบใหม่อีกครั้งครับ
ในช่วงแรก เราจะมาดูจุดประสงค์การเรี ยนรู้ของการแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ ากันก่อนซึ่ งมีหลายข้อ
ดังนี้ครับ

จุดประสงค์ กำรเรี ยนรู้

1. อธิ บายลักษณะทัว่ ไปและหลักการทางานของเซลล์อิเล็กโทรไลติกได้


2. ทดลองแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ าได้
3. อธิ บายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ าได้
4. ระบุข้ วั ที่เป็ นแอโนด แคโทด และเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นที่ข้ วั ไฟฟ้ าทั้งสองได้

15
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ช่วงเวลาประมาณ 2.19 นาที


ทบทวนเซลล์ไฟฟ้ำเคมี

เมื่อทุกคนเข้าใจจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ในวันนี้ แล้ว เราจะมาทบทวนบทเรี ยนที่ผา่ นมาซึ่ งจะต้องนา


มาใช้ในบทเรี ยนนี้กนั ก่อน มาเริ่ มต้นกันเลยนะครับ ลาดับแรกคือการทบทวนเซลล์ไฟฟ้ าเคมี นักเรี ยนจาได้
ไหมว่าเซลล์ไฟฟ้ าเคมีแบ่งออกเป็ นกี่ประเภท คืออะไรบ้าง
แบ่งออกเป็ น 2 ประเภทดังนี้ ครับ
1. เซลล์กลั วานิก
2. เซลล์อิเล็กโทรไลติก
เซลล์กลั วานิ ก เกิดจากสารเคมีในเซลล์ทาปฏิกิริยากันแล้วทาให้มีกระแสไฟเกิดขึ้น เซลล์กลั วานิ ก
สามารถเกิดปฏิกิริยาได้เอง มีศกั ย์ไฟฟ้ าของเซลล์เป็ นบวก
ส่ วนเซลล์อิเล็กโทรไลติกหรื อเซลล์อิเล็กโทรไลต์ เกิดจากการใส่ กระแสไฟฟ้ าลงในเซลล์ แล้วทา
ให้สารเคมีเกิดปฏิกิริยา เซลล์อิเล็กโทรไลติกเกิดขึ้นเองไม่ได้ ต้องใช้พลังงานจากภายนอก เช่นจากแบตเตอรี่
ศักย์ไฟฟ้ าของเซลล์จึงมีค่าเป็ นลบ

16
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เซลล์ไฟฟ้ าเคมี

(Electrochemical cell)

เซลล์ กัลวานิก เซลล์ อิเล็กโทรไลติก

(Galvanic cell) (Electrolytic cell)

-สารเคมีทาปฏิกิริยากันให้ -ใส่ กระแสไฟฟ้ าเข้าไป ทา


กระแสไฟฟ้ า ให้เกิดปฏิกิริยา
-เกิดปฏิกิริยาได้เอง -ไม่สามารถเกิดปฏิกิริยาขึ้น
(spontaneous) เอง (non-spontaneous)
-ศักย์ไฟฟ้ าของเซลล์เป็ น -ศักย์ไฟฟ้ าของเซลล์เป็ นลบ
บวก (E = +) (E = -)

เซลล์กลั วานิกและเซลล์อิเล็กโทรไลติกมีการเปลี่ยนแปลงตรงกันข้าม ถ้าเซลล์กลั วานิกเกิดปฏิกิริยา


ไปข้างหน้า เซลล์อิเล็กโทรไลติกคือปฏิกิริยาย้อนกลับของเซลล์กลั วานิก
ตัวอย่างปฏิกิริยาของเซลล์กลั วานิก
Zn(s) + Cu2+(aq) Zn2+(aq) + Cu(s)
ตัวอย่างปฏิกิริยาของเซลล์อิเล็กโทรไลติก
Cu(s) + Zn2+(aq) Cu2+(aq) + Zn(s)

17
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เซลล์กลั วานิกเกิดจาก 2 ครึ่ งเซลล์ต่อกันด้วยสะพานเกลือ แล้วนาขั้วไฟฟ้ าของทั้ง 2 ครึ่ งเซลล์ต่อเข้า


กับโวลต์มิเตอร์ หรื อหลอดไฟ แต่ละครึ่ งเซลล์ประกอบด้วยโลหะที่เป็ นขั้วไฟฟ้ าจุ่มอยู่ในสารละลายอิเล็ก
โทรไลต์ซ่ ึ งเป็ นไอออนของโลหะที่ใช้ทาขั้วไฟฟ้ า
ขั้วไฟฟ้ าของครึ่ งเซลล์ที่เกิดปฏิกิริยาออกซิ เดชันเรี ยกว่าขั้วแอโนดหรื อขั้วลบ ที่ข้ วั ไฟฟ้ านี้ จะมีการ
ให้อิเล็กตรอน อีกขั้วไฟฟ้ าหนึ่งจะเกิดปฏิกิริยารี ดกั ชัน เรี ยกว่าขั้วแคโทดหรื อขั้วบวก ขั้วไฟฟ้ านี้ จะมีการรับ
อิเล็กตรอน โดยอิ เล็กตรอนที่เกิ ดจากขั้วแอโนดจะวิ่งผ่านโวลต์มิเตอร์ มาที่ข้ วั แคโทด และไอออนซึ่ งเป็ น
อิเล็กโทรไลต์จะเข้ามารับอิเล็กตรอน
ตัวอย่างเซลล์กลั วานิกได้แก่ เซลล์สังกะสี – ทองแดงและเซลล์ดีบุก – ทองแดง เป็ นต้น

Zn (s)|Zn2+(1.0 M)||Cu2+(l.0 M)|Cu (s) Cu (s)|Cu2+(0.l M)||Cu2+(l.0 M)|Cu (s)

เซลล์กลั วานิกยังมีอีกชนิ ดหนึ่ งเรี ยกว่าเซลล์ความเข้มข้น เช่น เซลล์ ทองแดง – ทองแดง เซลล์ชนิด
นี้มี 2 ครึ่ งเซลล์ที่เหมือนกันแต่ความเข้มข้นของอิเล็กโทรไลต์ไม่เท่ากัน

กำรแบ่ งประเภทเซลล์
นอกจากเซลล์กลั วานิ กตามที่กล่าวมาแล้ว นักเรี ยนนักเรี ยนยังจาได้ไหมว่า ถ้าเราแบ่งตามลักษณะ
ของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นภายในเซลล์ จะได้กี่ประเภทครับ

18
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สองประเภท คือเซลล์ปฐมภูมิและเซลล์ทุติยภูมิค่ะ

เซลล์ปฐมภูมิ คือ เซลล์กลั วานิ กที่ ใช้แล้วหมดไป เนื่ องจากปฏิ กิริยาเคมี เกิ ดขึ้นภายในเซลล์อย่าง
สมบูรณ์ และไม่สามารถเปลี่ ยนผลิ ตภัณฑ์กลับมาเป็ นสารตั้งต้นได้อีก เช่ น ถ่านไฟฉาย เซลล์แอลคาไลน์
เซลล์เงินและเซลล์ปรอท

สาหรับเซลล์ทุติยภูมิ เป็ นเซลล์กลั วานิกที่สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ เซลล์ชนิดนี้สามารถทาให้


เกิดปฏิกิริยาย้อนกลับได้โดยการประจุไฟ ทาให้นากลับมาใช้ใหม่ได้อีก เช่น เซลล์สะสมไฟฟ้ าแบบตะกัว่
เซลล์นิกเกิล– แคดเมียมและเซลล์โซเดียม– ซัลเฟอร์

ช่วงเวลาประมาณ 5.40 นาที


ทบทวนเกีย่ วกับเซลล์อเิ ล็กโทรไลต์

เมื่อทบทวนเกี่ยวกับเซลล์กลั วานิ กกันแล้ว เราจะมาทบทวนเกี่ยวกับเซลล์อิเล็กโทรไลต์กนั บ้าง ซึ่ ง


จะเป็ นส่ วนสาคัญของการเรี ยนวันนี้

19
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เซลล์อิเล็กโทรไลต์หรื อเซลล์อิเล็กโทรลิติกเป็ นเซลล์ไฟฟ้ าเคมีชนิดหนึ่ งที่มีการใช้พลังงานไฟฟ้ า


ก่อให้เกิดปฏิกิริยาเคมี เช่น การแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ า การแยกสารละลายด้วยกระแสไฟฟ้ า การแยกสาร
ไอออนิกที่หลอมเหลวด้วยกระแสไฟฟ้ า การทาโลหะให้บริ สุทธิ์ และการชุบด้วยไฟฟ้ าเป็ นต้น
กระบวนการผ่านกระแสไฟฟ้ าจากแหล่งกาเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงเข้าไปในเซลล์ แล้วทาให้มี
ปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นและได้สารใหม่ เรี ยกว่าอิเล็กโทรไลซิสหรื อกระบวนการแยกสลายด้วยไฟฟ้ า
ลักษณะเซลล์อเิ ล็กโทรไลติก

เซลล์อิเล็กโทรไลติกเป็ นเซลล์ไฟฟ้ าเคมีที่ไม่สามารถเกิดขึ้นเองได้ ต้องอาศัยพลังงานจากภายนอก


เช่ น จากแบตเตอรี มีลกั ษณะทัว่ ไปดังนี้ เซลล์ประกอบด้วยภาชนะซึ่ งบรรจุข้ วั ไฟฟ้ า 2 ขั้ว จุ่มอยู่ในสาร
ละลายอิเล็กโทรไลต์ปลายทั้งสองของขั้วไฟฟ้ าต่ออยูก่ บั ขั้วของแบตเตอรี ดงั ในรู ป
ในเซลล์อิเล็กโทรไลติกชนิ ดนี้ ใช้ข้ วั ไฟฟ้ า 2 ขั้วที่เมือนกัน คือ ขั้ว A ใช้สารละลาย MX เป็ นอิเล็ก
โทรไลต์ซ่ ึงจะทาให้ในสารละลายมีไอออน M+(aq) และ X-(aq)
เมื่อใช้ข้ วั ไฟฟ้ าชนิ ดเดี ยวกัน จุ่มอยูใ่ นสารละลายอิเล็กโทรไลต์ชนิ ดเดียวกัน ศักย์ไฟฟ้ าระหว่างขั้ว
เท่ากัน จึ งไม่มีปฏิ กิริยาเกิ ดขึ้ น เมื่ อต่อกับแบตเตอรี่ อิ เล็กตรอนจะเคลื่ อนที่ ออกจากขั้วลบลงมาทางซ้า ย
ไอออน M+(aq) จะเข้าไปรับอิเล็กตรอน เกิดปฏิกิริยารี ดกั ชัน ขั้วไฟฟ้ าจึงเป็ นแคโทดหรื อขั้วลบเพราะต่ออยู่
กับขั้วลบของแบตเตอรี่
แคโทด M+(aq) + e- M(s)
ในขณะเดียวกัน ไอออน X-(aq) จะเข้าไปคายอิเล็กตรอนให้แก่ข้ วั ไฟฟ้ าด้านขวา เกิดปฏิกิริยาออกซิ เดชันทา
ให้ข้ วั ไฟฟ้ าเป็ นแอโนดหรื อขั้วบวกเพราะต่ออยูก่ บั ขั้วบวกของแบตเตอรี่
แอโนด X-(aq)  X(g) + e-

20
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ข้ ึนข้างบนไปหาขั้วบวกของแบตเตอรี่ ทาให้ครบวงจรไฟฟ้ า


ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นสรุ ปได้ดงั นี้
สารละลาย MX แตกตัวเป็ นไอออน
MX(s)  M+(aq) + X-(aq)
แคโทด M+(aq) + e- M(s)
แอโนด X-(aq)  X(g) + e-
ปฏิกิริยารวม M+(aq) + X-(aq)  M(s) + X(g)

เมื่อเกิดปฏิกิริยาในเซลล์ ความเข้มข้นของสารละลายจะเปลี่ยนแปลง ทาให้ไม่คงที่ซ่ ึ งอาจจะเพิ่มขึ้น


หรื อ ลดลงก็ ไ ด้แ ล้ว แต่ ก รณี ลัก ษณะของเซลล์ อิ เ ล็ ก โทรไลติ ก แบบนี้ ใช้ ก ับ การแยกสารละลายด้ว ย
กระแสไฟฟ้ าเช่ น การแยกสารละลายคอปเปอร์ ซัล เฟตด้ว ยกระแสไฟฟ้ าและการแยกสารไอออนิ ก ที่
หลอมเหลวด้วยกระแสไฟฟ้ าเช่นการแยกแคลเซี ยมคลอไรด์ที่หลอมเหลวด้วยกระแสไฟฟ้ า เป็ นต้น

สาหรับเซลล์อิเล็กโทรไลติกอีกลักษณะหนึ่งคือกรณี ที่ใช้ข้ วั ไฟฟ้ าต่างชนิดกัน โดยมีข้ วั ไฟฟ้ าอย่าง


น้อย 1 ขั้วเกี่ยวข้องกับไอออนในสารละลายอิเล็กโทรไลต์ดงั ในรู ป

21
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ลักษณะของเซลล์เกื อบเหมือนกับเซลล์ที่ผ่านมาแล้ว ในเซลล์อิเล็กโทรไลติกชนิ ดนี้ ใช้ข้ วั ไฟฟ้ า 2 ชนิ ดที่


ต่างกัน คือ ฃั้ว A และ ขั้ว B ใช้สารละลาย BX เป็ นอิเล็กโทรไลต์ซ่ ึ งจะทาให้ในสารละลายมีไอออน B+(aq)
และไอออน X-(aq) เมื่อต่อให้ครบวงจรไฟฟ้ า อิเล็กตรอนจะเคลื่ อนที่ออกจากขั้วลบลงมาทางซ้าย ไอออน
B+(aq) จะเข้าไปรับอิเล็กตรอน เกิดปฏิกิริยารี ดกั ชัน ขั้วไฟฟ้ าจึงเป็ นแคโทดหรื อขั้วลบเพราะต่ออยูก่ บั ขั้วลบ
ของแบตเตอรี่
แคโทด B+(aq) + e- B(s)
ในขณะเดียวกันโลหะ B จะเกิดปฏิกิริยาออกซิ เดชันให้ไอออน B+(aq) ลงสารละลายและให้อิเล็กตรอนทา
ให้ข้ วั ไฟฟ้ าเป็ นแอโนดหรื อขั้วบวกเพราะต่ออยูก่ บั ขั้วบวกของแบตเตอรี่
แอโนด B(s)X-(aq) + e-
อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ข้ ึนข้างบนไปหาขั้วบวกของแบตเตอรี่ ทาให้ครบวงจรไฟฟ้ า
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นสรุ ปได้ดงั นี้
สารละลายBXแตกตัวเป็ นไอออน
BX(s)  B+(aq) + X-(aq)
แคโทด B+(aq) + e- B(s)
แอโนด B(s)  X-(aq) + e-
ปฏิกิริยารวม B (แอโนด)  B (แคโทด)

จะเห็นได้วา่ ในกรณี น้ ีไอออน X-(aq) ในสารละลายจะไม่เกิดปฏิกิริยา ส่ วนที่เกิดปฏิกิริยาคือโลหะB


และไอออน B+(aq) โดยโลหะบีจะเกิดปฏิกิริยาออกซิ เดชันให้ไอออน B+(aq) ในสารละลาย แล้วไอออน
B+(aq) ในสารละลายจะเข้าไปรับอิเล็กตรอนเกิดปฏิกิริยารี ดกั ชันที่ข้ วั A ความเข้มข้นของสารละลาย BX จึง
คงที่

22
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ลักษณะของเซลล์อิเล็กโทรไลติ กแบบนี้ ใช้กบั การการทาโลหะให้บริ สุทธิ์ เช่ น การเตรี ยมโลหะ


ทองคาที่บริ สุทธ์ดว้ ยกระแสไฟฟ้ าและการการชุบด้วยไฟฟ้ าเช่นการชุบทอง เป็ นต้น

ช่วงเวลาประมาณ 10.02 นาที


การทดลองแยกนา้ ด้ วยกระแสไฟฟ้ า

หลังจากที่เราได้ทบทวนเรื่ องของเซลล์ไฟฟ้ าเคมีท้ งั เซลล์กลั วานิ กและเซลล์อิเล็กโทรไลติกไปแล้ว


เราจะเข้าสู่ บทเรี ยนเกี่ ยวกับการแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ ากัน เราจะได้ทราบกันว่าการแยกน้ าด้วยกระแส
ไฟฟ้ าจะทาอย่างไร ต้องใช้เครื่ องมือแบบไหน ใช้สารใดเป็ นอิเล็กโทรไลต์ ใช้น้ าบริ สุทธิ์ ได้หรื อไม่ ถ้าไม่ได้
จะต้องทาอย่างไรและเมื่อแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ าจะใดสารใดบ้างอย่างละเท่าใด นักเรี ยนทุกคนพร้อมหรื อ
ยังครับ

การทดลองนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อทดลองแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ า เนื่องจากเป็ นการทดลอง ดังนั้นขั้นตอนแรก


จึงเป็ นการเตรี ยมอุปกรณ์และสารเคมีที่ตอ้ งใช้ท้ งั หมด

23
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สารเคมีและอุปกรณ์
อุปกรณ์ที่เราต้องใช้ ได้แก่
เครื่ องแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ า ซึ่ งประกอบด้วยกระป๋ องพร้อมฝาสาหรับบรรจุน้ าหรื อสารละลายที่
จะแยกด้วยกระแสไฟฟ้ า ฝากระป๋ องเจาะรู ไว้ 5 รู สาหรับใส่ ข้ วั ไฟฟ้ า 2 ขั้ว และหลอดแก้ว 2 หลอด

24
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หลอดแก้ว 2 หลอด สาหรับใส่ สารละลาย


ขั้วไฟฟ้ า 2 ขั้ว ที่เสี ยบอยู่ในจุกยางปลายด้านหนึ่ งงอและขดเป็ นเกลี ยวขั้วสี แดง เป็ นขั้วบวกหรื อ
ขั้วแอโนดและขั้วสี ดาเป็ นขั้วลบหรื อขั้วแคโทด
แบตเตอร์ รี่ 9 โวลต์ พร้ อมขั้วต่อ หรื อใช้ไฟ 4 โวลต์ในกระบะถ่านที่มี ถ่านไฟฉาย 4 ก้อน พร้ อม
ขั้วต่อ
สายไฟ พร้อมคลิปปากจระเข้
หลอดหยด / จุกยาง
น้ าบริ สุทธิ์
สารละลายกรดซัลฟิ วริ ก 0.1 โมล ต่อลูกบาศก์เดซิ เมตร

วิธีการทดลอง

เมื่อเตรี ยมสารเคมี และอุ ปกรณ์ พ ร้ อมแล้ว เราจะเริ่ มทดลองแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ ากัน วิธีการ
ทดลองเป็ นดังนี้
- เริ่ มต้นเติมน้ าบริ สุทธิ์ ลงในกระป๋ องให้ได้ปริ มาตร 3 ใน 4 ของกระป๋ อง

25
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

- ขั้นต่อไป ประกอบขั้วไฟฟ้ าและหลอดแก้วเข้ากับฝากระป๋ อง โดยนาหลอดแก้วทั้ง 2 หลอด เสี ยบ


เข้าไปในช่องที่เจาะไว้ ให้หลอดโผล่ข้ ึนมาด้านบนประมาณครึ่ งหลอด นาขั้วไฟฟ้ าทั้ง 2 ขั้ว เสี ยบเข้าไปใน
ช่องที่เจาะไว้ ปรับจุกยางให้แน่น ให้ปลายขั้วไฟฟ้ าที่ขดเป็ นเกลียวสอดเข้าไปในหลอดแก้ว ปรับระดับให้
เหมาะสม
- นาฝากระป๋ องที่ประกอบขั้วไฟฟ้ าและหลอดแก้วแล้วไปปิ ดบนกระป๋ องให้แน่น ปรับระดับหลอด
แก้วให้เหมาะสม ให้ปากหลอดแก้วต่ากว่าระดับน้ าเล็กน้อย (0.5-1.0 เซนติเมตร)
- ปิ ดรู ระบายอากาศเล็ก ๆบนฝากกระป๋ อง แล้วคว่ า กระป๋ อง เพื่ อให้น้ า เข้า ไปแทนที่ อากาศใน
หลอดแก้ว ให้น้ าเต็มหลอดแล้วหงายกระป๋ องโดยเร็ ว น้ าจะเต็มหลอดเหมือนตอนคว่ากระป๋ อง
- ต่อไฟฟ้ าให้ครบวงจร โดยนาปลายด้านหนึ่ งของสายไฟสี แดงต่อเข้ากับขั้วบวกของแบตเตอร์ รี่ 9
โวลต์ ปลายอีกด้านหนึ่งต่อเข้ากับขั้วไฟฟ้ าสี แดง ซึ่ งเป็ นขั้วแอโนดของเครื่ องแยกน้ าด้วยไฟฟ้ าและนาปลาย
ด้านหนึ่งของสายไฟสี ดา ต่อเข้ากับขั้วลบของแบตเตอร์ รี่ ส่ วนปลายของอีกด้านหนึ่ ง ต่อเข้ากับขั้วไฟฟ้ าสี ดา
ซึ่ งเป็ นขั้วแคโทดของเครื่ องแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ า
เมื่อต่อครบวงจรไฟฟ้ าแล้ว นักเรี ยนเห็นอะไรเกิดขึ้นบ้างครับ

หนู ไ ม่เห็ นการเปลี่ ย นแปลงใด ๆ เกิ ดขึ้ นเลยค่ ะ มี อะไรผิดพลาดหรื อเปล่ าคะคุ ณครู เราจัดการ
ทดลองผิดหรื อเปล่าคะ มันคล้ายกับไม่มีปฏิกิริยาเกิดขึ้นเลยค่ะ
เราไม่ ไ ด้ท ดลองผิ ด หรอกครั บ เมื่ อ แยกน้ า บริ สุ ท ธิ์ ด้ว ยกระแสไฟฟ้ า จะไม่ มี ป ฏิ กิ ริ ย าเกิ ด ขึ้ น
เนื่ องจากน้ าเป็ นอิเล็กโทรไลต์อ่อนมาก ทาให้นาไฟฟ้ าได้น้อยมากหรื อไม่นาไฟฟ้ าเลย การที่แยกน้ าด้วย
ไฟฟ้ าจึงต้องใส่ สารอิเล็กโทรไลต์บางอย่างลงไป ซึ่ งถ้าเลือกใช้สารที่เหมาะสมจะได้ผลลัพธ์เป็ นการแยกน้ า
ด้วยไฟฟ้ า เช่น เติมสารละลายกรดซัลฟิ วริ กเจือจางลงไป จะทาให้เกิดการแยกน้ าด้วยไฟฟ้ า

26
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

แต่ถ้าเติ มสารละลายโพแทสเซี ยมไอโอไดด์ลงไปจะได้ไอโอดี นซึ่ งไม่ใช่ ก ารแยกน้ าด้วยไฟฟ้ า


วิธีการเลือกสารที่จะเติมลงไป จะได้กล่าวถึงต่อไป

การทดลองแยกนา้ ด้ วยไฟฟ้า โดยใส่ สารละลาย H2SO4 ลงไปด้ วย


เรามาทดลองแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ ากันต่อไปดีกว่าครับ แต่ครั้งนี้ ใส่ สารละลายกรดซัลฟิ วริ ก 0.1
โมลต่อลู กบาศก์เดซิ เมตร ลงไปเล็กน้อย เพื่อทาให้เป็ นสารละลายอิเล็กโทรไลต์ นักเรี ยนคิ ดว่าครั้ งนี้ จะ
ประสบผลสาเร็ จหรื อไม่ครับ
สาเร็ จแน่ ๆ ค่ะ เพราะคุณครู เพิ่งอธิ บายไปเมื่อสักครู่ น้ ีค่ะ
ครับ ถ้างั้นเรามาเริ่ มทดลองกันเลยครับ
วิธีการทดลองก็ทาได้ในทานองเดียวกับการแยกน้ าบริ สุทธิ์ ด้วยไฟฟ้ า แต่เปลี่ยนจากน้ าบริ สุทธิ์ เป็ น
น้ าที่ใส่ สารละลายกรดเจือจางลงไปเล็กน้อย
- เริ่ มต้นบรรจุสารละลายกรดลงในกระป๋ องของเครื่ องแยกน้ าด้วยไฟฟ้ า
- นาฝากระป๋ องที่ประกอบขั้วไฟฟ้ าและหลอดแก้วแล้ว ปิ ดลงบนกระป๋ อง กดให้แน่น ปรับระดับ
หลอดแก้วให้ต่ากว่าระดับน้ าเล็กน้อย
- ปิ ดรู ระบายอากาศบนฝากระป๋ อง แล้วคว่ากระป๋ อง ให้สารละลายกรดเข้าไปแทนที่อากาศจนเต็ม
หลอดแก้ว
- จากนั้นจึงต่อไฟฟ้ าให้ครบวงจร โดยใช้สายไฟเชื่อมต่อแบตเตอร์ รี่ 9 โวลต์ กับขั้วไฟฟ้ าทั้งสอง
ของเครื่ องแยกน้ า

นักเรี ยนสังเกตเห็นอะไรบ้างครับ มีปฏิกิริยาเกิดขึ้นหรื อไม่

27
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

มีปฏิ กิริยาเกิ ดขึ้นค่ะ หนู เห็ นฟองแก๊สเกิ ดขึ้นที่ข้ วั ไฟฟ้ าทั้งสองขั้วเลยค่ะ ขนาดของฟองแก๊สก็ไม่
เท่ากัน ปริ มาณที่เกิดขึ้นที่ข้ วั ไฟฟ้ าทั้งสองก็ไม่เท่ากัน แปลกจริ ง ๆ นะคะ แล้วฟองแก๊สที่เกิดขึ้นจะเข้าไป
แทนที่น้ าและลอยขึ้นสู่ ขา้ งบนของหลอดทดลองด้วยค่ะ ไม่รู้วา่ เป็ นแก๊สอะไร รู ้แต่วา่ เบาและไม่ละลายน้ าค่ะ
เก่งมากครับ ดูกนั ต่อไป อีกสักครู่ ครู จะอธิ บายให้ทราบกัน ขอให้นกั เรี ยนสังเกตไว้ดว้ ยนะครับว่า
แก๊สที่เกิดขึ้นที่ข้ วั ไฟฟ้ าที่ต่อกับขั้วบวกของแบตเตอร์ รี่หรื อสายไฟสี แดง จะมีฟองน้อยกว่าที่ข้ วั ที่ต่อกับขั้ว
ลบของแบตเตอร์รี่หรื อสายไฟสี ดา
เอาละครั บ ตอนนี้ ก็ ใ ช้เ วลาพอสมควรแล้ว ได้แ ก๊ ส ที่ มี ป ริ ม าตรเหมาะสมพอสั ง เกตปริ ม าตรที่
แตกต่างกันได้แล้ว ครู จะหยุดการทดลองนะครับ วิธีหยุดการทดลองก็ทาได้ง่าย ๆโดยถอดสายไฟออกจาก
วงจรไฟฟ้ า นักเรี ยนเห็นอะไรครับเมื่อครู ถอดสายไฟออก
ไม่มีปฏิกิริยาเกิดขึ้นแล้วครับ ฟองแก๊สที่ข้ วั ไฟฟ้ าก็จะไม่มีดว้ ยครับ ปริ มาตรของแก๊สที่ข้ วั ลบมี
มากกว่าที่ข้ วั บวกครับ ประมาณ 2 เท่าครับ

ถูกต้องครับ อีกสักครู่ ครู จะอธิ บายให้ทราบกัน แต่ตอนนี้ ขอให้ทดลองต่อไปก่อนครับ

28
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ใช้นิ้วมือกดจุกยางสี ดาที่ประกอบขั้วไฟฟ้ าทั้ง 2 แห่ งบนฝากระป๋ อง กดให้ตกลงในกระป๋ อง ค่อย ๆ เปิ ดฝา


เผยอขึ้นโดยไม่ให้หลอดแก้วพ้นจากระดับสารละลายกรด ใช้นิ้วมือหรื อจุกยางปิ ดหลอดแก้วทั้ง 2 ไว้ จะได้
แก๊สที่เกิดจากการแยกสารละลายด้วยไฟฟ้ า จากนั้นจึงหงายฝาขึ้น นาออกจากกระป๋ อง นาหลอดแก้วบรรจุ
แก๊สเปรี ยบเทียบปริ มาตรของแก๊สที่ได้
เอาละ ตอนนี้ เ ราจะอภิ ป รายร่ วมกัน เมื่ อ สั ก ครู่ น้ ี ขณะที่ ก าลัง ทดลอง หลอดทดลองคว่ า อยู่ใ น
กระป๋ อง นักเรี ยนสังเกตเห็นว่า แก๊สที่เกิ ดจากขั้วลบมีมากกว่าที่ข้ วั บวก ประมาณ 2 เท่าใช่ไหมครับ ตอนนี้
เมื่อนามาเปรี ยบเทียบกันชัดๆ จะใช่ 2 เท่าไหมครับ
ประมาณ 2 เท่าครับ หลอดทดลองไม่มีขีดบอกปริ มาตร แต่ก็ประมาณ 2 เท่าครับ มันคือแก๊สอะไร
ครับคุณครู
ก่อนที่จะตอบคาถามนี้ เรามาดู ขอ้ มูลพื้นฐานกันก่อนดี กว่า ดังที่ ทราบกันแล้วว่าน้ าเป็ นอิ เล็กโทร
ไลต์อ่อนมากจึงไม่นาไฟฟ้ า เมื่อเติมสารอิเล็กโทรไลต์ เช่ น กรดซัลฟิ วริ กลงไป จะทาให้เป็ นสารละลาย
อิเล็กโตรไลต์และสามารถแยกด้วยไฟฟ้ าได้
สารละลายกรดซัลฟิ วริ กจะแตกตัวเป็ นไอออน ดังสมการ
H2SO4 + 2H2O  2H3O+ + SO42-
หรื อ
H2SO4  2H+ + SO42-

ทาให้ในสารละลายมี ไฮโดรเนียมไอออน (H3O+) หรื อไฮโดรเจนไอออน (H+) และซัลเฟตไอออน


(SO42- ) สามารถนาไฟฟ้ าได้ โดยไฮโดรเนียมไอออนซึ่ งมีประจุบวกจะเคลื่อนที่เข้าไปหาขั้วลบของเซลล์
ขั้วลบ 2H+ + 2e–  H2
และซัลเฟตไอออนซึ่งมีประจุลบจะเคลื่อนที่เข้าไปหาขั้วบวกของเซลล์
ขั้วบวก 2SO42-  S2O82-+ 2e–
ในขณะเดี ยวกันน้ าซึ่ งเมื่ออยู่ในสารละลายอิเล็กโทรไลต์จะมีสมบัติพิเศษคือสามารถรับและให้อิเล็กตรอน
ได้คือน้ าจะเคลื่อนที่เข้าไปทั้งที่ข้ วั ลบเพื่อรับอิเล็กตรอนและที่ข้ วั บวกของเซลล์เพื่อให้อิเล็กตรอน
ขั้วลบ 2H2O + 2 e–  H2 + 2OH-
ขั้วบวก 2H2O  O2 + 4H+ + 4e–
เมื่อใส่ กระแสไฟฟ้ าเข้าไป การเปลี่ ยนแปลงที่เกิ ดขึ้ นที่ข้ วั ไฟฟ้ าแต่ละขั้วจึงมี การแย่งชิ งและให้
อิเล็กตรอนระหว่างไอออนต่าง ๆ กับน้ าซึ่ งจะต้องใช้ค่า Eo พิจารณา

29
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ในกรณี แแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ า เมื่อพิจารณาจากค่า Eo จะเกิดปฏิกิริยาดังนี้


ที่ ข้ ัว แคโทดหรื อ ขั้ว ลบซึ่ งต่ อ อยู่ ก ับ ขั้ว ลบของแบตเตอรี่ เกิ ด ปฏิ กิ ริ ย ารี ดัก ชัน ซึ่ งทั้ง น้ า และ
ไฮโดรเจนไอออนสามารถเกิดปฏิกิริยารี ดกั ชันได้ดงั สมการ
แคโทด(ขั้วลบ)
2H+ + 2e–  H2 Eo = 0 V...…... (1)
2H2O + 2e–  H2 + 2OH- Eo = - 0.83V..... (2)

เมื่ อพิจารณาค่า Eo จะพบว่าไฮโดรเจนไอออนในสมการ (1) มี ค่า Eo มากกว่าน้ าในสมการ (2)


ไฮโดรเจนไอออนจึ ง รั บ อิ เ ล็ ก ตรอนได้ดีก ว่า น้ า ดัง นั้นที่ แ คโทดหรื อขั้วลบจึ ง เกิ ดปฏิ กิ ริย ารี ดัก ชันของ
ไฮโดรเจนไอออนได้เป็ นแก๊สไฮโดรเจนตามสมการ (1)
ที่ข้ วั แอโนดหรื อขั้วบวก เกิดปฏิกิริยาออกซิ เดชัน ซึ่ งทั้งน้ าและซัลเฟตไอออนสามารถเกิดปฏิกิริยา
ออกซิเดชันได้ ดังสมการ
แอโนด(ขั้วบวก)
2SO42-  S2O82-+ 2e– Eo = - 2.01 V ……… (3)
2H2O  O2 + 4H+ + 4e– Eo = - 1.23 V ....…… (4)

เมื่อพิจารณาค่า Eo แบบออกซิ เดชันในสมการ (3) และ (4) จะพบว่า Eo ของน้ าในสมการ (4) มีค่า
มากกว่า Eo ของซัลเฟตไอออนในสมการ (3) แสดงว่าน้ าให้อิเล็กตรอนได้ดีกว่าซัลเฟตไอออนดังนั้นที่
ขั้วแอโนดหรื อขั้วบวกจึงเกิดปฏิกิริยาออกซิ เดชันของน้ าได้แก๊สอ๊อกซิ เจนตามสมการ (4)

30
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เมื่อนาการเกิดปฏิกิริยาที่ข้ วั ไฟฟ้ าแต่ละชนิดมาเขียนรวมกันจะได้ดงั นี้


แคโทด(ขั้วลบ) : 2H+ + 2e–  H2 Eo = 0 V...…... (1)
แอโนด(ขั้วบวก) : 2H2O  O2 + 4H+ + 4e– Eo = - 1.23 V....…… (4)
ปฏิกิริยารวม : 2H2O  2H2 + O2 Eo cell = -1.23 V

ที่ข้ วั แคโทดหรื อขั้วลบจะได้แก๊สไฮโดรเจน


ที่ข้ วั แอโนดหรื อขั้วบวกจะได้แก๊สออกซิ เจน
ปฏิกิริยารวมได้แก๊สไฮโดรเจนและแก๊สออกซิ เจน

จากค่า Eo ของเซลล์ซ่ ึ งเป็ น- 1.23 โวลต์ แสดงว่าเป็ นเซลล์อิเล็กโทรไลติก ไม่สามารถเกิดขึ้นเองได้


ต้องใช้ไฟฟ้ ากระแสตรงอย่างน้อย 1.23 โวลต์ จึงจะทาให้เกิดการแยกน้ าด้วยไฟฟ้ า

สรุ ปการทดลองแยกนา้ ด้ วยไฟฟ้า


จากการทดลองแยกน้ าด้วยไฟฟ้ า ครู จะสรุ ปให้นกั เรี ยนฟั งดังนี้นะครับ
1. ใช้ไฟฟ้ ากระแสตรง
2. ใช้สารละลายกรดH2SO4เป็ นสารอิเล็กโทรไลต์
3. ขั้วบวกของเซลล์(แอโนด)เกิดปฏิกิริยาออกซิ เดชันได้แก๊สออกซิ เจน
4. ขั้วลบของเซลล์(แคโทด)เกิดปฏิกิริยารี ดกั ชันได้แก๊สไฮโดรเจน
5. ปริ มาตรของแก๊สไฮโดรเจนเป็ น 2เท่าของแก๊สออกซิ เจนที่ภาวะเดียวกัน
6. แก๊สออกซิ เจนเกิดจากน้ า
7. แก๊สไฮโดรเจนเกิดจากกรดH2SO4
8. ศักย์ไฟฟ้ าของเซลล์เป็ น -1.23 โวลต์
ถึงขั้นตอนนี้ นักเรี ยนคงเข้าใจเกี่ยวกับการแยกน้ าด้วยไฟฟ้ าพอสมควรแล้ว ทั้งภาคทฤษฎีและ
ภาคปฏิบตั ิ ครู อยากจะบอกนักเรี ยนว่า เครื่ องมือสาเร็ จที่ใช้แยกน้ าด้วยไฟฟ้ านั้น ชนิดสมบูรณ์จะยุง่ ยากกว่านี้
ดังในรู ป

31
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เครื่ องมือชนิดนี้อาจใช้ไฟกระแสตรง 9 โวลต์จากแบตเตอร์ รี่ เหมือนที่เราใช้ทดลองกันในตอนเรี ยน


นี้ ก็ได้ หรื ออาจจะใช้แหล่งของไฟฟ้ ากระแสตรงชนิ ดปรับแรงดันได้ จากรู ปของเครื่ องมือจะเห็ นได้ว่า มี
ส่ วนที่ใช้เติมสารละลายอยูต่ รงกลาง และมีส่วนที่ใช้เก็บแก๊สอยูท่ างด้านซ้ายและขวาซึ่ งมีสเกลบอกปริ มาตร
ทาให้ทราบว่าเกิดแก๊สปริ มาตรเท่าใด และยังสามารถนาแก๊สออกมาเพื่อใช้ทดสอบได้ดว้ ยแต่เครื่ องมือชนิ ด
นี้ราคาจะค่อยข้างแพง

ช่วงเวลาประมาณ 22.48 นาที


การทดลองแยกนา้ ด้ วยไฟฟ้าแบบย่อส่ วน

นอกจากจะทดลองแยกน้ าด้วยเครื่ องแยกน้ าด้วยไฟฟ้ า ดังที่ เราได้ร่วมกันทดลองแล้ว เราอาจจะ


ทดลองด้วยอุปกรณ์ แบบง่าย ๆ ที่เรี ยกว่า การทดลองแบบย่อส่ วน หรื อ small scale โดยใช้อุปกรณ์ซ่ ึ ง
ประกอบด้วย

32
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อุปกรณ์ และสารเคมี

ปิ เปตพลาสติก
บีกเกอร์
ขวดรู ปชมพู่
เข็มหมุด
สายไฟพร้อมคลิปปากจระเข้
แบตเตอร์ รี่ 9 โวลต์ พร้อมขั้วต่อ
แผ่นพลาสติก
และสารละลายกรดซัลฟิ วริ ก

33
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิธีทดลอง
เริ่ มต้นทดลองโดยใช้ปิเปตต์พลาสติกดูดน้ าให้เต็ม แล้ววางตั้งไว้ในบีกเกอร์ หรื อขวดรู ปชมพู่ ใช้
เข็มหมุด 2เล่ม แทงเข้าไปในปิ เปตต์ ให้เข็มหมุดอยูต่ รงข้ามกันและอยูใ่ นระดับต่างกันพอควร วางปิ เปตต์ที่
เสี ยบเข็มหมุดแล้วบนขวดรู ปชมพู่

ต่อวงจรไฟฟ้ า ให้ปลายด้านหนึ่ งของสายไฟต่อกับแบตเตอร์ รี่ 9 โวลต์ ปลายอีกด้านหนึ่ งไว้ต่อกับเข็มหมุด


นาปลายสายไฟที่เหลือ ต่อเข้ากับเข็มหมุดบนปิ เปตต์พลาสติก จะทาให้ครบวงจรไฟฟ้ า จะพบว่า เมื่อใช้น้ า
บริ สุทธิ์ จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น เพราะน้ าเป็ นอิเล็กโทรไลต์ที่อ่อนมาก ๆ แตกตัวเป็ นไอออนได้นอ้ ย
จึงไม่นาไฟฟ้ า

ขั้นต่อมาจึงเปลี่ ยนจากน้ าบริ สุทธิ์ เป็ นสารละลายกรดเจือจาง โดยใช้ปิเปตต์พลาสติกดูดสารละลายกรด จน


เต็มปิ เปตต์เสี ยบเข็มหมุด 2 อัน เข้าไปในปิ เปตต์ ต่อวงจรไฟฟ้ าให้ครบ

34
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เมื่อครบวงจรไฟฟ้ า จะเห็ นฟองแก๊สเกิดขึ้นที่ข้ วั ไฟฟ้ า ซึ่ งก็คือแก๊สไฮโดรเจนที่ข้ วั แคโทดหรื อขั้วลบ และ


แก๊สออกซิ เจนที่ข้ วั แอโนดหรื อขั้วบวก โดยที่ปริ มาตรของแก๊สไฮโดรเจนมากกว่าแก๊สออกซิ เจนดังที่ทราบ
แล้ว วิธีน้ ีจะไม่ทราบปริ มาตรของแก๊สที่เกิดขึ้นเพราะแก๊สทั้งสองชนิ ดจะผสมกันอยูใ่ นปิ เปตต์พลาสติก แต่
สังเกตได้วา่ เกิดแก๊สใดมากกว่า จากปริ มาณของฟองแก๊สที่เกิดขึ้น
นักเรี ยนเห็นไหมครับ เราสามารถแยกน้ าด้วยไฟฟ้ าโดยใช้อุปกรณ์ซ่ ึ งทดลองได้ง่าย ๆ

ช่วงเวลาประมาณ 22.48 นาที


การแยกนา้ ด้ วยไฟฟ้าโดยใช้ สารละลาย H2SO4 แบบ small scale

วิธีทดลอง
นอกจากจะแยกน้ าด้วยไฟฟ้ าโดยใช้ปิเปตต์พลาสติกแล้ว ยังมีวิธีที่ง่ายกว่านี้ อีก โดยใช้สารละลาย
เพียง 2-3 หยดเท่านั้น อุปกรณ์ที่ใช้ก็เป็ นชุ ดเดี ยวกับการแยกน้ าด้วยไฟฟ้ าโดยใช้ปิเปตต์พลาสติก วิธีการ
ดังกล่าว ต่อวงจรไฟฟ้ าไว้ก่อนด้วยอุปกรณ์ ดังรู ป

35
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปลายสายไฟด้านหนึ่งต่อกับขั้วไฟฟ้ าทั้งสองของแบตเตอร์ รี่ ปลายอีกด้านหนึ่งต่อกับเข็มหมุด


หยดน้ า 2-3 หยดลงบนแผ่นพลาสติก

น าปลายสายไฟทั้ง สองซึ่ งต่ อ อยู่ ก ับ เข็ ม หมุ ด จุ่ ม ลงในน้ าบริ สุ ท ธิ์ ซึ่ งจะครบวงจรไฟฟ้ า มี ก ารผ่ า น
กระแสไฟฟ้ าลงไป แต่จะไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นทั้งที่ข้ วั ไฟฟ้ าแคโทดและแอโนด กรณี น้ าบริ สุทธิ์
จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น ไม่มีแยกน้ าด้วยไฟฟ้ า เนื่องจากน้ าไม่นาไฟฟ้ า

36
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

แต่เมื่อทดลองต่อโดยใช้สารละลายกรดเจือจางแทนน้ าบริ สุทธิ์

โดยหยดสารละลายกรด 2-3 หยดลงบนแผ่นพลาสติกต่อให้ครบวงจรไฟฟ้ า ดังรู ป


เมื่อผ่านกระแสไฟฟ้ าลงไป จะเห็นฟองแก๊สเกิดขึ้นที่ข้ วั ไฟฟ้ าทั้งสอง
ขั้วแอโนดหรื อขั้วบวก คือสายไฟสี แดง จะเกิดฟองแก๊สออกซิ เจน
ขั้วแคโทดหรื อขั้วลบ คือสายไฟสี ดา จะเกิดฟองแก๊สไฮโดรเจน ฟองแก๊สไฮโดรเจน จะเกิดมากกว่า

37
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิธีน้ ีก็ไม่สามารถหาปริ มาตรของแก๊สที่เกิดขึ้น แต่เป็ นวิธีง่าย ๆ ที่ทุกคนสามารถทดลองได้เองที่บา้ น เพราะ


ใช้อุปกรณ์ที่หาง่ายและราคาไม่แพง
ครู หวังว่าการทดลองในวันนี้ คงจะช่วยให้นกั เรี ยนเข้าใจเกี่ยวกับการการแยกน้ าด้วยไฟฟ้ าเป็ นอย่าง
ดี ควรจะตอบได้แล้วว่า การแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ าจะทาอย่างไร ต้องใช้เครื่ องมือแบบไหน ใช้สารใด
เป็ นอิ เล็กโทรไลต์ใช้น้ าบริ สุทธิ์ ได้หรื อไม่ ถ้าแยกน้ าบริ สุทธิ์ ไม่ได้จะต้องทาอย่างไรและเมื่ อแยกน้ าด้วย
กระแสไฟฟ้ าจะใดสารใดบ้าง อย่างละเท่าใด
และเพื่อให้ทุกคนได้ทดสอบความรู ้ กนั ครู ขอให้นกั เรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยนจานวน 5 ข้อ
ต่อไปนี้ ซึ่ งเป็ นแบบทดสอบปรนัย 4 ตัวเลือก เมื่อทาแบบทดสอบหลังเรี ยนเสร็ จแล้ว อย่าลืมทาแบบฝึ กหัด
ท้ายบทจานวน 5 ข้อ ซึ่ งเป็ นแบบทดสอบอัตนัยด้วยนะครับ ถ้าพร้อมแล้วก็เริ่ มต้นทาแบบทดสอบหลังเรี ยน
กันได้เลยครับ

38
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

5. แบบทดสอบหลังเรียนและเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน

แบบทดสอบหลังเรี ยนเป็ นการประเมินผลการเรี ยนรู้ตามวัตถุประสงค์ โดยเน้นการทดสอบความรู้


และความเข้าใจของนักเรี ยน
แบบทดสอบหลังเรี ยน เรื่ องไฟฟ้ าเคมี ตอน “ เซลล์ อิเล็กโทรไลต์ : การแยกน้าด้ วยกระแสไฟฟ้า ”
เป็ นแบบทดสอบปรนัย 4 ตัวเลือก มีท้ งั หมด 5 ข้อ ซึ่ งเปลี่ยนลาดับทั้งโจทย์และตัวเลือกทุกครั้งที่เปิ ดสื่ อการ
สอนขึ้ น มาใหม่ นัก เรี ย นแต่ ล ะคนอาจได้ล าดับ โจทย์แ ละตัว เลื อ กไม่ เ หมื อ นกัน นัก เรี ย นต้อ งตอบ
แบบทดสอบให้ถูกต้องก่อนจึงจะเปลี่ยนเป็ นโจทย์ขอ้ ถัดไป เกณฑ์การให้คะแนนและผลการประเมินระดับ
ศักยภาพของนักเรี ยนหลังเรี ยน ทานองเดียวกับแบบทดสอบก่อนเรี ยน ดังนี้
ตอบถูกในครั้งแรก ได้ 4 คะแนน
ตอบถูกในครั้งที่สอง ได้ 2 คะแนน
ตอบถูกในครั้งที่สาม ได้ 1 คะแนน
ตอบถูกในครั้งที่สี่ ได้ 0 คะแนน
ดังนั้นคะแนนรวมเต็ม 20 คะแนน และหลังจากทาแบบทดสอบหลังเรี ยนครบ 5 ข้อ จะมีกรอบ
ข้อความแสดงผลคะแนนรวมที่ได้ และผลการประเมินระดับศักยภาพของนักเรี ยนก่อนเรี ยน ดังนี้
ถ้านักเรี ยนได้
17 – 20 คะแนน จัดอยูใ่ นระดับ ดีมาก
15 – 16 คะแนน จัดอยูใ่ นระดับ ดี
11 – 14 คะแนน จัดอยูใ่ นระดับ พอใช้
0 – 10 คะแนน จัดอยูใ่ นระดับ ปรับปรุ ง
ถ้าผลการทดสอบของนักเรี ยนได้คะแนนน้อยหรื อได้ระดับ “ ปรับปรุ ง ” ครู ควรแนะนาให้นกั เรี ยน
กลับไปทบทวนบทเรี ยนอีกครั้ง
แบบทดสอบหลังเรี ยน 5 ข้อ มีคาถามและเฉลยคาตอบดังนี้ (ลาดับโจทย์และตัวเลือกในสื่ อการสอน
อาจต่างจากนี้)
แบบทดสอบหลังเรี ยนชุดนี้ควรใช้เวลาประมาณ 5 – 10 นาที
ในกรณี ที่โจทย์บางข้อมีความยากหรื อมีการคานวณ สามารถใช้เวลาเพิ่มขึ้นได้
เมื่อคลิกเลือก “ แบบทดสอบหลังเรี ยน ” จากเมนู จะเข้าสู่ การทดสอบดังต่อไปนี้

39
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คาตอบทีถ่ ูกต้ อง 4 กรัม


คาอธิบาย
เมื่อแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ าโดยเติมสารละลาย H2SO4 ลงในน้ า มีปฏิกิริยาเกิดขึ้นดังนี้
2H2O  2H2+ O2
จากสมการเกิด H2 5.6 dm3 ที่ STP = 5.6 / 22.4
= 0.25 โมล
ดังนั้นเกิด O2 = 0.25 / 2
= 0.125 โมล
= 0.125 x 32
= 4.0 กรัม

40
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คาตอบทีถ่ ูกต้ อง 2H2O(l) → 2H2(g) + O2(g)


คาอธิบาย
จากค่า Eo
S2O82- + 2e- → 2SO42- Eo = +2.01 V ….(1)
O2 + 4H+ + 4e-→ 2H2O Eo = +1.23 V ….(2)
2H+ + 2e- → H2 Eo = 0 V ….(3)
2H2O + 2e-→ H2 + 2OH- Eo = - 0.83 V ….(4)
เมื่อแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ าโดยเติมสารละลาย H2SO4 ลงในน้ า มีปฏิกิริยาเกิดขึ้นดังนี้
O2 + 4H+ + 4e-→ 2H2O Eo = +1.23 V ….(2)
2H+ + 2e- → H2 Eo = 0 V ….(3)
สมการรวมเกิดจาก 2(3) – (2) :
2H2O  2H2+ O2

41
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คาตอบทีถ่ ูกต้ อง 2H2O  O2 + 4H+ + 4e–


คาอธิบาย
ในการแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ าโดยเติม H2SO4
สารละลายกรด H2SO4 จะแตกตัวเป็ นไอออน ดังสมการ
H2SO4 2H+ + SO42-
ที่ข้ วั แคโทดหรื อขั้วลบ เกิ ดปฏิ กิริยารี ดกั ชัน ซึ่ งทั้งน้ าและไฮโดรเจนไอออนสามารถเกิ ดปฏิ กิริยา
รี ดกั ชันได้ดงั สมการ
แคโทด(ขั้วลบ)
2H+ + 2e–  H2 Eo = 0 V...…... (1)
2H2O + 2e–  H2 + 2OH- Eo = - 0.83V..... (2)
เมื่ อพิ จารณาค่ า Eo จะพบว่า ไฮโดรเจนไอออนในสมการ (1) มี ค่า Eo มากกว่าน้ าในสมการ (2)
ไฮโดรเจนไอออนจึ ง รั บ อิ เ ล็ ก ตรอนได้ดีก ว่า น้ า ดัง นั้นที่ แ คโทดหรื อขั้วลบจึ ง เกิ ดปฏิ กิ ริย ารี ดัก ชันของ
ไฮโดรเจนไอออนได้เป็ นแก๊สไฮโดรเจนตามสมการ (1)
ที่ข้ วั แอโนดหรื อขั้วบวก เกิดปฏิกิริยาออกซิ เดชัน ซึ่ งทั้งน้ าและซัลเฟตไอออนสามารถเกิดปฏิกิริยา
ออกซิเดชันได้ ดังสมการ
แอโนด(ขั้วบวก)
2SO42-  S2O82-+ 2e– Eo = - 2.01 V ……… (3)

42
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2H2O  O2 + 4H+ + 4e– Eo = - 1.23 V ....…… (4)


เมื่อพิจารณาค่า Eo แบบออกซิ เดชันในสมการ (3) และ (4) จะพบว่า Eo ของน้ าในสมการ (4) มีค่า
มากกว่า Eo ของซัลเฟตไอออนในสมการ (3) แสดงว่าน้ าให้อิเล็กตรอนได้ดีก ว่าซัลเฟตไอออนดังนั้นที่
ขั้วแอโนดหรื อขั้วบวกจึงเกิดปฏิกิริยาออกซิ เดชันของน้ าได้แก๊สอ๊อกซิ เจนตามสมการ (4)
ที่ข้ วั แอโนดหรื อขั้วบวก เกิดปฏิกิริยาออกซิ เดชัน ซึ่ งทั้งน้ าและซัลเฟตไอออนสามารถเกิดปฏิกิริยา
ออกซิเดชันได้ ดังสมการ
แอโนด(ขั้วบวก)
2SO42-  S2O82-+ 2e– Eo = - 2.01 V ……… (3)
2H2O  O2 + 4H+ + 4e– Eo = - 1.23 V ....…… (4)
เมื่อพิจารณาค่า Eo แบบออกซิ เดชันในสมการ (3) และ (4) จะพบว่า Eo ของน้ าในสมการ (4) มีค่า
มากกว่า Eo ของซัลเฟตไอออนในสมการ (3) แสดงว่าน้ าให้อิเล็กตรอนได้ดีก ว่าซัลเฟตไอออนดังนั้นที่
ขั้วแอโนดหรื อขั้วบวกจึงเกิดปฏิกิริยาออกซิ เดชันของน้ าได้แก๊สอ๊อกซิ เจนตามสมการ (4)
เมื่อนาการเกิดปฏิกิริยาที่ข้ วั ไฟฟ้ าแต่ละชนิดมาเขียนรวมกันจะได้ดงั นี้
แคโทด(ขั้วลบ) : 2H+ + 2e–  H2 Eo = 0 V...…... (1)
แอโนด(ขั้วบวก) : 2H2O  O2 + 4H+ + 4e– Eo = - 1.23 V....…… (4)
ปฏิกิริยารวม : 2H2O  2H2 + O2 Eo cell = -1.23 V

43
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คาตอบทีถ่ ูกต้ อง เซลล์อเิ ล็กโทรไลติก


คาอธิบาย
การแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ าต้องใช้พลังงานจากภายนอกทาให้เกิดปฏิกิริยาซึ่ งก็คือใช้เซลล์อิเล็กโทรไลติก
นัน่ เอง

44
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คาตอบทีถ่ ูกต้ อง ได้ H2ทีข่ ้วั ลบและได้ O2ทีข่ ้วั บวก


คาอธิบาย
ในการแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ าโดยเติม H2SO4
สารละลายกรด H2SO4 จะแตกตัวเป็ นไอออน ดังสมการ
H2SO4 2H+ + SO42-
ที่ข้ วั แคโทดหรื อขั้วลบ เกิดปฏิกิริยารี ดกั ชัน
แคโทด(ขั้วลบ)
2H+ + 2e–  H2 Eo = 0 V...…... (1)
2H2O + 2e–  H2 + 2OH- Eo = - 0.83V..... (2)
ค่า Eo จากสมการ (1) มีค่า Eo มากกว่าสมการ (2) ไฮโดรเจนไอออนจึงรับอิเล็กตรอนได้ดีกว่าน้ า
ดังนั้นที่แคโทดหรื อขั้วลบจึงเกิ ดปฏิ กิริยารี ดกั ชันของไฮโดรเจนไอออนได้เป็ นแก๊สไฮโดรเจนตามสมการ
(1)
ที่ข้ วั แอโนดหรื อขั้วบวก เกิดปฏิกิริยาออกซิ เดชัน
แอโนด(ขั้วบวก)
2SO42-  S2O82-+ 2e– Eo = - 2.01 V ……… (3)
2H2O  O2 + 4H+ + 4e– Eo = - 1.23 V ....…… (4)

45
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ค่า Eo แบบออกซิ เดชันในสมการ (4) มากกว่า Eo สมการ (3) แสดงว่าน้ าให้อิเล็กตรอนได้ดีกว่า


ซัลเฟตไอออนดังนั้นที่ข้ วั แอโนดหรื อขั้วบวกจึงเกิดปฏิกิริยาออกซิ เดชันของน้ าได้แก๊สอ๊อกซิ เจนตามสมการ
(4)
เมื่อนาการเกิดปฏิกิริยาที่ข้ วั ไฟฟ้ าแต่ละชนิดมาเขียนรวมกันจะได้ดงั นี้
แคโทด(ขั้วลบ) : 2H+ + 2e–  H2 Eo = 0 V...…... (1)
แอโนด(ขั้วบวก) : 2H2O  O2 + 4H+ + 4e– Eo = - 1.23 V....…… (4)
ปฏิกิริยารวม : 2H2O  2H2 + O2 Eo cell = -1.23 V

ที่ข้ วั แคโทดหรื อขั้วลบจะได้แก๊สไฮโดรเจน


ที่ข้ วั แอโนดหรื อขั้วบวกจะได้แก๊สออกซิ เจน
ปฏิกิริยารวมได้แก๊สไฮโดรเจนและแก๊สออกซิ เจน

46
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

6. แบบฝึ กหัดและเฉลยแบบฝึ กหัด

หลังจากทาแบบทดสอบหลังเรี ยนเสร็ จแล้วซึ่ งจะใช้เวลาทั้งหมดตั้งแต่เริ่ มทาแบบทดสอบก่อนเรี ยน


จนถึงแบบทดสอบหลังเรี ยนประมาณ 50 นาทีหรื อประมาณ 1 คาบ ขั้นตอนต่อไปคือการทาแบบฝึ กหัด (ท้าย
ตอนเรี ยน) ซึ่ งจัดว่าเป็ นการเรี ยนนอกเวลา เนื่ องจากจะต้องใช้เวลานาน ดังนั้นจึงถือว่าเป็ นการจบตอนเรี ยน
ไม่มีการทาแบบฝึ กหัด (ท้ายตอนเรี ยน) ต่อเนื่ องไป ต้องออกนอกระบบไปก่อน แล้วจึงกลับเข้าระบบใหม่
และเลือกแบบฝึ กหัดโดยตรงจากเมนู อย่างไรก็ตามถ้ามีเวลาเหลืออยูบ่ า้ ง อาจจะทาแบบฝึ กหัดบางส่ วนก่อน
และทาส่ วนที่เหลือนอกเวลา อาจทาเป็ นการบ้าน
แบบฝึ กหัดเป็ นโจทย์อตั นัยที่เชื่อมโยงเนื้อหาของตอนเรี ยนนี้กบั ความรู ้ของตอนเรี ยนอื่น ๆ ในบทนี้
และเรื่ องอื่น ๆ ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยเพิ่มทักษะการใช้ความรู้ ความเข้าใจ และการคิดวิเคราะห์
สาหรับแก้ปัญหาโจทย์
แบบฝึ กหัดในสื่ อการสอนเรื่ องไฟฟ้ าเคมี ตอน “ เซลล์ อิเล็กโทรไลต์ : การแยกน้าด้ วยกระแส
ไฟฟ้า ” มีท้ งั หมด 5 ข้อ มีคาถามและเฉลยคาตอบดังนี้

47
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คาตอบและคาอธิบาย
เซลล์กลั วานิ ก เกิดจากสารเคมีในเซลล์ทาปฏิกิริยากันแล้วทาให้มีกระแสไฟเกิดขึ้น เซลล์กลั วานิ ก
สามารถเกิดปฏิกิริยาได้เอง มีศกั ย์ไฟฟ้ าของเซลล์เป็ นบวก
เซลล์อิเล็กโทรไลติ กหรื อเซลล์อิเล็กโทรไลต์ เกิ ดจากการใส่ กระแสไฟฟ้ าลงในเซลล์ แล้วทาให้
สารเคมีเกิดปฏิ กิริยา เซลล์อิเล็กโทรไลติกเกิดขึ้นเองไม่ได้ ต้องใช้พลังงานจากภายนอก เช่ นจากแบตเตอรี่
ศักย์ไฟฟ้ าของเซลล์จึงมีค่าเป็ นลบ

เปรี ยบเทียบเซลล์กลั วานิกและเซลล์อิเล็กโทรไลติก


เซลล์กลั วานิก เซลล์อิเล็กโทรไลติก
1 เปลี่ยนพลังงานเคมีให้เป็ นพลังงานไฟฟ้ า หรื อ เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าให้เป็ นพลังงานเคมี หรื อ
เกิดจากสารเคมีในเซลล์ทาปฏิกิริยากันแล้วทา เกิดจากการใส่ กระแสไฟฟ้ าลงในเซลล์ แล้วทาให้
ให้มีกระแสไฟเกิดขึ้น สารเคมีเกิดปฏิกิริยา
2 ขั้วไฟฟ้ าที่เกิดปฏิกิริยาออกซิ เดชันเรี ยกว่า ขั้วไฟฟ้ าที่เกิดปฏิกิริยาออกซิ เดชันเรี ยกว่าแอโนด
แอโนดหรื อขั้วลบ หรื อขั้วบวก
3 ขั้วไฟฟ้ าที่เกิดปฏิกิริยารี ดกั ชันเรี ยกว่าแคโทด ขั้วไฟฟ้ าที่เกิดปฏิกิริยารี ดกั ชันเรี ยกว่าแคโทด
หรื อขั้วบวก หรื อขั้วลบ
4 ศักย์ไฟฟ้ าของเซลล์มีค่าเป็ นบวก ศักย์ไฟฟ้ าของเซลล์มีค่าเป็ นลบ

48
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จากค่า Eo ที่กาหนดให้
Cu2+(aq) + 2e-  Cu(s) Eo = +0.34 V ….(1)
Sn2+(aq) + 2e-  Sn(s) Eo = -0.14 V ….(2)
(2) – (1) : Sn2+(aq) + 2e- - (Cu2+(aq) + 2e-)  Sn(s) - Cu(s)
หรื อ Sn2+(aq) + Cu(s)  Sn(s) + Cu2+(aq)
Eo = Eo (2) - Eo (1)
= - 0.14 – 0.34
= - 0.48 V .................(3)
ปฏิกิริยาในสมการ (3) คือปฏิกิริยาระหว่าง Cu กับ Sn2+
มีค่า Eo เป็ นลบจึงเป็ นเซลล์อิเล็กโทรไลติก

49
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คาตอบและคาอธิบาย
เซลล์อิเล็กโทรไลติกมีค่า Eo ของเซลล์เป็ นลบ
เซลล์กลั วานิกมีค่า Eo ของเซลล์เป็ นบวก
จากค่า Eo ที่กาหนดให้
MnO4-(aq) + 8H+(aq) + 5e-  Mn2+(aq) + 4H2O(l) Eo= +1.51 V ….(1)
NO3-(aq) + 4H+(aq) + 3e- NO(g) + 2H2O(l) Eo = +0.96V ….(2)

50
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Ag+(aq) + e-  Ag(s) Eo = +0.80V ….(3)


Fe3+(aq) + e-  Fe2+(aq) Eo = +0.77V ….(4)
I2(s) + 2e-  2I-(aq) Eo = +0.54 V ….(5)
Pb2+(aq) + 2e-  Pb(s) Eo = - 0.13V ….(6)
N2(g) + 5H+(aq) + 4e-  N2H5+(aq) Eo = - 0.23V ….(7)
Cd2+ (aq) + 2e-  Cd(s) Eo = - 0.40 V ….(8)
Cr3+ (aq) + 3e-  Cr(s) Eo = - 0.74 V ….(9)

ก. Fe3+(aq) + Ag(s)  Fe2+(aq) + Ag+(aq)


เกิดจาก (4) – (5) : Fe3+(aq) + Ag(s)  Fe2+(aq) + Ag+(aq)
Eo = Eo (4) - Eo (5)
= 0.77 – 0.80
= - 0.03 V
มีค่า Eo เป็ นลบจึงเป็ นเซลล์อิเล็กโทรไลติก

ข. 3Cd (s) + 2Cr3+ (aq)  2Cr (s) + 3Cd2+ (aq)


เกิดจาก 2(9) – 3(8) : 3Cd (s) + 2Cr3+ (aq)  2Cr (s) + 3Cd2+ (aq)
Eo = Eo (9) - Eo (8)
= - 0.74 – (-0.40)
= - 0.34 V
มีค่า Eo เป็ นลบจึงเป็ นเซลล์อิเล็กโทรไลติก

ค. Pb(s) + 2Ag+(aq)  Pb2+(aq) + 2Ag(s)


เกิดจาก 2(3) – (6) : Fe3+(aq) + Ag(s)  Fe2+(aq) + Ag+(aq)
Eo = Eo (4) - Eo (5)
= 0.80 – (- 0.13)
= 0.67 V
มีค่า Eo เป็ นบวกจึงเป็ นเซลล์กลั วานิก

51
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ง. 4NO3-(aq) + 3N2H5+(aq) + H+(aq)  4NO(g) + 3N2(g) + 8H2O(l)


เกิดจาก 4(2) – 3(7) : 4NO3-(aq) + 3N2H5+(aq) + H+(aq)  4NO(g) + 3N2(g) + 8H2O(l)
Eo = Eo (2) - Eo (7)
= 0.96 – (- 0.23)
= 1.19 V
มีค่า Eo เป็ นบวกจึงเป็ นเซลล์กลั วานิก

จ. 2MnO4-(aq) + 16H+(aq) + 10I-(aq)  2Mn2+(aq) + 5I2(s) + 8H2O(l)


เกิดจาก 2(1) – 5(5) : 4NO3-(aq) + 3N2H5+(aq) + H+(aq)  4NO(g) + 3N2(g) + 8H2O(l)
Eo = Eo (1) - Eo (5)
= 1.51 – 0.54
= 0.97 V
o
มีค่า E เป็ นบวกจึงเป็ นเซลล์กลั วานิก

52
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คาตอบและคาอธิบาย
จากค่า Eo ที่กาหนดให้
S2O82- + 2e- → 2SO42- Eo = +2.01 V ….(1)
O2 + 4H+ + 4e-→ 2H2O Eo = +1.23 V ….(2)
2H+ + 2e- → H2 Eo = 0 V ….(3)
2H2O + 2e-→ H2 + 2OH- Eo = - 0.83 V ….(4)
Na+ + e- → Na Eo = - 2.71 V ….(5)
K+ + e- → K Eo = - 2.92 V ….(6)
ก. เมื่อแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ าโดยเติมสารละลาย H2SO4 ลงในน้ า มีปฏิกิริยาเกิดขึ้นดังนี้
O2 + 4H+ + 4e-→ 2H2O Eo = +1.23 V ….(2)
2H+ + 2e- → H2 Eo = 0 V ….(3)
2(3) – (2) : 2H2O  2H2+ O2
Eo = Eo (3) - Eo (2)
= 0.0 – 1.23
= - 1.23 V
ศักย์ไฟฟ้ าที่ตอ้ งใช้เมื่อแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ าคือมากกว่า 1.23 V

53
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ข. เมื่อแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ าโดยเติมสารละลาย Na2SO4 ลงในน้ า มีปฏิกิริยาเกิดขึ้นดังนี้


O2 + 4H+ + 4e-→ 2H2O Eo = +1.23 V ….(2)
2H2O + 2e-→ H2 + 2OH- Eo = - 0.83 V ….(4)
2(4) – (2) : 2H2O  2H2+ O2
Eo = Eo (4) - Eo (2)
= - 0.83 – 1.23
= - 2.06 V
ศักย์ไฟฟ้ าที่ตอ้ งใช้เมื่อแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ าคือมากกว่า 2.06 V

ค. เมื่อแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ าโดยเติมสารละลาย K2SO4 ลงในน้ า มีปฏิกิริยาเกิดขึ้นดังนี้


O2 + 4H+ + 4e-→ 2H2O Eo = +1.23 V ….(2)
2H2O + 2e-→ H2 + 2OH- Eo = - 0.83 V ….(4)
2(4) – (2) : 2H2O  2H2+ O2
Eo = Eo (4) - Eo (2)
= - 0.83 – 1.23
= - 2.06 V
ศักย์ไฟฟ้ าที่ตอ้ งใช้เมื่อแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ าคือมากกว่า 2.06 V

54
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คาตอบและคาอธิบาย
ก. ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นคือ 2H2O(l)  2H2(g) + O2(g)
จากสมการเกิด H2 11.2 dm3 ที่ STP = 11.2 / 22.4
= 0.5 โมล
ดังนั้นเกิด O2 = 0.5 / 2 = 0.25 โมล
= 0.25 x 32 = 8.0 กรัม
= 0.25 x 6.02 x 1023 = 1.51 x 1023 โมเลกุล
= 0.25 x 22.4 = 5.6 dm3(ที่ STP)
ข. ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นคือ 2H2O(l)  2H2(g) + O2(g)
จากสมการเกิด O2 8.0 กรัม = 8.0 / 32 =0.25 โมล
ดังนั้นเกิด H2 = 2 x 0.25 = 0.5 โมล
= 0.5 x 2 = 1.0 กรัม
= 0.5 x 6.02 x 1023
= 3.01 x 1023 โมเลกุล = 0.5 x 22.4
= 11.2 dm3 (ที่ STP) = (760 x 11.2 x 303) / (273 x 700)
= 13.5 dm3 ที่ 30 oC 700 mmHg

55
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คาตอบและคาอธิบาย
สรุ ปการแยกน้ าด้วยไฟฟ้ า
1. ใช้เซลล์อิเล็กโทรไลติก
2. ใช้ไฟฟ้ ากระแสตรง
2. ใช้สารละลายกรด H2SO4 เป็ นสารอิเล็กโทรไลต์
3. ขั้วบวกของเซลล์ (แอโนด) เกิดปฏิกิริยาออกซิ เดชัน ได้แก๊สออกซิ เจน
4. ขั้วลบของเซลล์ (แคโทด) เกิดปฏิกิริยารี ดกั ชัน ได้แก๊สไฮโดรเจน
5. ปริ มาตรของแก๊สไฮโดรเจนเป็ น 2 เท่าของแก๊สออกซิ เจนที่ภาวะเดียวกัน
6. แก๊สออกซิ เจนเกิดจากน้ า
7. แก๊สไฮโดรเจนเกิดจากกรด H2SO4
8. ศักย์ไฟฟ้ าของเซลล์เป็ น -1.23 โวลต์ ถ้าต้องการให้เกิดการแยกน้ าด้วยไฟฟ้ าต้องใช้ไฟฟ้ าแยก
น้ าด้วยไฟฟ้ ามากกว่า 1.23 โวลต์
ก. ในการแยกน้ าด้วยไฟฟ้ า จะต้องเติมสารละลายอิเล็กโทรไลต์ที่เหมาะสมลงไป ถ้าเป็ นสารไอออ
นิก ควรเลือกสารที่ประกอบด้วยไอออนบวกที่มีค่า Eo น้อยกว่า H2O คือน้อยกว่า – 0.83 V เพราะไอออน
เหล่านี้จะแย่งชิงและรับอิเล็กตรอนสู ้น้ าไม่ได้ ทาให้ไม่เกิดโลหะหรื อสารอื่น ๆ ที่ไม่ตอ้ งการ
2H2O + 2e-→ H2 + 2OH- Eo = - 0.83 V
และเลือกไออนลบที่มีค่า Eo แบบออกซิเดชันน้อยกว่า H2O คือน้อยกว่า – 1.23 V
2H2O → O2 + 4H+ + 4e- Eo = - 1.23 V

56
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เช่นใช้ K2SO4 หรื อ Na2SO4 เป็ นต้น


K+ + e- → K Eo = - 2.92 V
Na+ + e- → Na Eo = - 2.71 V
2SO42- → S2O82- + 2e- Eo = - 2.01 V

ข. ในการแยกน้ าด้วยไฟฟ้ า จะต้องเติมสารละลายอิเล็กโทรไลต์ที่เหมาะสมลงไป ถ้าเป็ นสารโคเว


เลนท์ จะเลือกใช้สารละลายกรด เช่น H2SO4 แต่ตอ้ งเป็ นกรดที่ไอออนลบมีค่า Eo แบบออกซิ เดชันน้อยกว่า
H2O คือน้อยกว่า – 1.23 V เช่นไม่เลือกกรด HCl HBr เป็ นต้น เพราะจะได้แก๊ส Cl2 และ Br2

57
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

7. ข้ อมูลอ้างอิง

1. สถาบันส่ งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี คู่มือครู สาระการเรี ยนรู ้พ้ืนฐานและเพิ่มเติม วิชาเคมี


เล่ม 4 พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุ งเทพฯ โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว 2548.

2. สถาบันส่ งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี หนังสื อเรี ยนสาระการเรี ยนรู ้ พ้ืนฐานและเพิ่มเติม


วิชาเคมี เล่ม 4 พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุ งเทพฯ โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว 2549.

3. Silberberg, M.S. Chemistry : The Molecular Nature of Matter and Change. 4th ed. ; McGraw-Hill,
2006.

4. Atkins, P.W. and Jones, L.L. Chemistry: Molecules, Matter and Change. 3rd ed. ; New York : W.H.
Freeman and Company, 1997.

5. Chang, R. Chemistry : 9th ed. ; McGraw-Hill International Edition, 2007.

6. Hill, J.W. and Petrucci, R.H. General Chemistry : An Integrated Approach. 2nd ed. ; New Jersey :
Prentice-Hall Inc., 2000.

58
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี จัดทาโดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

8. ภาคผนวก

59

You might also like