You are on page 1of 8

1

เอกสารประกอบการปรับพื้นฐาน
วิชาวิทยาศาสตร์ 1 ว21101
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

ของ
ชื่อ-นามสกุล......................................................
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/..... เลขที่ .......

จัดทาโดย

คุณครูปาณิสรา อุดอ้าย

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1

บทที่ 1 การศึกษาชีววิทยา
2

เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร
QR code : วิดีโอวิทยาศาสตร์
 ความสาคัญและความหมายของวิทยาศาสตร์ และวิธีการทางวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์ (Science) ที่มีมาจากคาว่า Sientea ในภาษาลาติน แปลว่า ความรู้ (Knowledge)
หมายถึง กระบวนการหรือวิธีการแสวงหาความรู้ ความจริงจากธรรมชาติอย่างมีระบบเพื่ออธิบายและทาความ
เข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ โดยการสังเกต ทดลอง การวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล เพื่อให้ได้มา
ซึ่งความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นที่ยอมรับ และเชื่อถือได้

วิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับต่อการดารงชีวิต
และเป็นจุดเริ่มต้นของเทคโนโลยีต่าง ๆ

ตัวอย่างวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจาวัน

 กระบวนการทางานของนักวิทยาศาสตร์

QR code : วิดีโอ
ศ.ดร.พิมพ์ใจ ใจเย็น
3

ตัวอย่างนักวิทยาศาสตร์โลกที่มีชื่อเสียง

เซอร์ไอแซก นิวตัน เกิดเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1642 และ


เสียชีวิตลงขณะอายุ 85 ปี เป็นอัจฉริยะที่เก่งรอบด้านทั้งในฐานะนัก
ฟิสิกส์ นักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ นักปรัชญา
โดยผลงานเด่นที่สุดของเขาที่คนรู้จักกันดีที่สุดก็คือ กฎการ
เคลื่อนที่ของนิวตันและกฎแรงโน้มถ่วงสากล ที่เขาคิดขึ้นมาได้จากการ
เซอร์ ไอแซก นิวตัน สังเกตผลแอปเปิลที่ตกจากต้น
(Sir Isaac Newton)

นั กวิทยาศาสตร์ ช าวเยอรมัน เชื้ อสายยิว เกิดเมื่อวัน ที่ 14


มี น าคม ค.ศ. 1879 และเสี ย ชี วิต ลง ในขณะที่ มี อ ายุ 78 ปี เป็ น นั ก
ฟิสิกส์ทฤษฎี ชาวเยอรมันที่มีสัญชาติสวิสและอเมริกัน (ตามลาดับ)
โดยผลงานเด่น เช่น ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ ที่อธิบายว่าเรา
ทุกคนจะมองเห็ น อัตราความเร็ ว แสงได้ในระยะเท่ากัน และทฤษฎี
สั ม พั ท ธภาพทั่ ว ไปซึ่ ง เป็ น ทฤษฎี ที่ อ ธิ บ ายกฎแรงโน้ ม ถ่ ว งในเชิ ง
อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์
เรขาคณิต ซึ่งทาให้ได้รับรางวัลโนเบลในที่สุด
(Albert Einstein)

ชาลส์ ดาร์วิน เกิดเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1809 และ


เสียชีวิตลงในวัย 73 ปี เป็นนักธรรมชาติวิทยาชาวอังกฤษ แนวคิดของ
ดาร์วินได้มาจากข้อมูล ทางธรรมชาติที่เขาเก็บรวบรวมได้ ขณะที่เขา
เดินทางไปกับเรือสารวจตามแนวฝั่งทวีปรอบโลก การสารวจตามแนวฝั่ง
ของทวีปอเมริกาใต้ และหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก
ได้นาเสนอทฤษฎีวิวัฒนาการว่า “ วิวัฒนาการโดยการคัดเลือก
ตามธรรมชาติ ” ซึ่ ง อธิ บ ายว่ า ตามสภาพธรรมชาติ สิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ มี
ชาร์ลส์ ดาร์วิน ความสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมไดดีกว่าพวกอื่น จะสามารถ
(Charles Robert Darwin) ดารงชีวิตอยู่ และถ่ายทอดลักษณะที่เหมาะสมต่อไป
4

นักวิทยาศาสตร์ มีการทางานเป็นระบบและมีขั้นตอน เพื่อให้ได้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ถู ก ต้ อง


แม่นยาและเชื่อถือได้ เรียกกระบวนการดังกล่าวว่า กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (scientific method)
โดยกระบวนการดังกล่าวอาจมีรายละเอียดขั้นตอนแตกต่างกันออกไป และสามารถสลับลาดับหรือเพิ่มลด
ขั้นตอนตามความเหมาะสม ซึ่งประกอบด้วยแต่ละขั้นตอน ดังนี้

การสังเกตและระบุปัญหา
การสังเกตนาไปสู่การระบุปัญหา และการหาคาอธิบายของสิ่งที่สงสัย

การตั้งสมมติฐาน
เป็นการสร้างคาอธิบายหรือคาดคะเนคาตอบไว้ล่วงหน้า ซึ่งเป็นแนวทางในการ
สารวจหรือทดลองว่าคาอธิบายหรือคาตอบนั้นเป็นจริงหรือไม่
***สมมติฐานไม่จาเป็นต้องถูกต้องหากพบว่าไม่เป็นจริง สามารถตั้งใหม่ได้

การวางแผนและการสารวจหรือการทดลอง หรือการเก็บข้อมูล
เป็นการวางแผนการสารวจหรือออกแบบการทดลองให้สอดคล้องกับสมมติฐาน
รวมทั้งเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อนาไปใช้ในการวิเคราะห์และสร้างคาอธิบาย

การวิเคราะห์ข้อมูลและสร้างคาอธิบาย
เมื่อได้ข้อมูลจากการสารวจหรือทดลองแล้วจะมีการนาข้อมูลมาวิเคราะห์
แปลความหมาย และสร้างคาอธิบายข้อมูลเหล่านั้น

การสรุปผลและสื่อสาร
หากได้คาอธิบายเกี่ยวกับข้อมูล สมมติฐาน และปัญหาที่เป็นเหตุเป็นผล
และเชื่อถือได้ ก็สามารถสรุปผลเป็นความรู้ใหม่และเผยแพร่ต่อไป
5

 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
การทางานแต่ล ะขั้น ตอนในกระบวนการทางวิทยาศาสตร์จาเป็นต้องอาศัยทักษะเพื่อช่วยให้ ก าร
ทางานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เรียกว่า ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (science process skills)

1. การสังเกต 8. การพยากรณ์

2. การวัด 9. การตั้งสมมติฐาน
สเปซสเปซ

3. การจาแนกประเภท 10. การกาหนดนิยามเชิง


ปฏิบัติการ
4. การหาความสัมพันธ์ระหว่าง
สเปซกับสเปซ และเสปซกับเวลา 11. การกาหนดและควบคุมตัวแปร

5. การใช้จานวน 12. การทดลอง

6. การจัดกระทาและสื่อความหมาย 13. การตีความหมายของข้อมูล


ข้อมูล และสรุปผล

7. การลงความเห็นจากข้อมูล 14. การสร้างแบบจาลอง


6

ตัวอย่างทักษะของนักวิทยาศาสตร์จนนาไปสู่การค้นพบ

QR code : วิดีโอ
การค้นพบยาเพนิซิลลิน อเล็กซานเดอร์ เฟลมิ่ง
(Alexander Fleming)

อเล็กซานเดอร์ เฟลมิ่ง (Alexander Fleming) นักจุลชีววิทยาชาวอังกฤษสังเกตว่าแบคทีเรีย


ในจานเพาะเชื้อไม่เจริญถ้ามีเชื้อราเพนิซิลเลียม (Penicillium sp.) เจริญอยู่ด้วย เฟลมิงจึงเกิดความ
สงสัยและตั้งปัญหาว่าเพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น
การค้นพบของเฟลมิ่งก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมากต่อมนุษย์ในช่วงเวลาต่อมา ทาให้มีการสกัด
สารปฏิชีวนะจากเชื้อราเพนิซิลเลียมใช้เป็นยารักษาโรคหลายโรคที่เกิดจากแบคทีเรีย

การสั ง เกต (observation) เป็ น ทั ก ษะที่ ส าคั ญ ที่ น าไปสู่ ก ารค้ น พบปั ญ หา และ
รวบรวมข้อมูล นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย และผู้ที่สามารถสังเกตได้อย่างละเอียดรอบคอบจะ
ช่วยให้สามารถแก้ปัญหาได้อย่างรวดเร็ว
7
ตัวอย่างการทดลอง เรือ่ ง แสงกับการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช

จุดประสงค์ : ทดลอง สังเกต และระบุปัจจัยในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช


วัสดุและอุปกรณ์
1. ต้นชบา 8. ปากคีบ QR code : วิดีโอ
2. ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์ 9. จานเพาะเชื้อ แสงกับการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
3. หลอดหยด 10. กระดาษทึบแสงสีดา
4. บีกเกอร์ขนาด 250 cm3 11. ไม้ขีดไฟ
5. หลอดทดลองขนาดใหญ่ 12. สารละลายไอโอดีน
6. ที่จับหลอดทดลอง 13. เอทานอล
7. ที่วางหลอดทดลอง 14. น้าเปล่า

ข้อควรระวัง
1. . แอลกอฮอล์เป็นสารไวไฟ ดังนั้นในการต้มใบชบาในแอลกอฮอล์จึงต้องให้ความร้อนผ่านน้า
2. ในการใช้หลอดหยดดูดสารละลายไอโอดีน ควรระวังอย่าให้สารละลายไอโอดีนถูกผิวหนัง

วิธีการทดลอง
1. นาต้นชบาครอบด้วยกล่องทึบแสงหรือที่มืดอย่างน้อย 48 ชั่วโมง
2. เลื อ กใบชบาที่ มี ข นาดใกล้ เ คี ย งกั น จ านวน 2 ใบ โดยหุ้ ม ใบที่ 1 ด้ ว ยกระดาษทึ บ แสงสี ด า
ใบที่ 2 ไม่หุ้มกระดาษทึบแสงสีดา แล้วนาต้นชบาไปวางกลางแดด 2-3 ชั่วโมง
3. เมื่อครบ 3 ชั่วโมง นาใบชบาทั้ง 2 ใบ วางบนจานเพาะเชื้อ แล้วสังเกตความแตกต่างระหว่างใบ
ชบาทั้งสองใบ บันทึกผล
4. นาใบชบาต้มในน้าเดือดประมาณ 5 นาที เพื่อทาให้เซลล์ใบชบาตาย
5. สกัดคลอโรฟิลล์ออกจากใบชบาด้วยแอลกอฮอล์ โดยคีบใบชบาที่ต้มแล้วใส่ในหลอดทดลองขนาด
ใหญ่ เติมเอทานอลจนท่วมใบชบา แล้วนาหลอดทดลองใส่ในบีกเกอร์ที่มีน้าร้อนต้มจนใบชบาซีดขาว
6. คีบใบชบาออกจากหลอดทดลองแล้วล้างด้วยน้าเปล่า คลี่ใบออก หยดสารละลายไอโอดีนลงบนใบ
ชบาทั้ง 2 ใบให้ทั่ว สังเกตและบันทึกผลการเปลี่ยนสารของสารละลายไอโอดีนบนใบชบา โดยการวาดภาพหรือ
ถ่ายภาพ
8

ปัญหาการทดลอง คือ.......................................................................................................................... ................


สมมติฐานการทดลอง คือ....................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรต้น ได้แก่ ........................................................................................................................................... ......
ตัวแปรตาม ได้แก่ ................................................................................................................................................
ตัวแปรควบคุม ได้แก่ ......................................................................................................................................... .

ตารางบันทึกผลการทดลอง
การทดลอบด้วย ใบที่ไม่หุ้มด้วย ใบที่หุ้มด้วย
สารละลายไอโอดีน กระดาษทึบแสงสีดา กระดาษทึบแสงสีดา

ก่อนการทดลอบด้วย
สารละลายไอโอดีน

หลังการทดลอบด้วย
สารละลายไอโอดีน

อภิปรายผลการทดลอง
........................................................................................................................................................... ...................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................. .............................
สรุปผลการทดลอง
........................................................................................................................................................... ...................
..............................................................................................................................................................................

You might also like