You are on page 1of 4

ผังงาน ( Flowchart )

ความหมายของผังงาน
ผังงาน (Flowchart) คือ รูปภาพ (Image) หรือสัญลักษณ์(Symbol) ที่ใช้เขียนแทนขั้นตอน
คาอธิบาย ข้อความ หรือคาพูด ที่ใช้ในอัลกอริทึม (Algorithm) เพราะการนาเสนอขั้นตอนของงาน
ให้เข้าใจตรงกัน ระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ด้วยคาพูด หรือข้อความทาได้ยากกว่า
ผังงานแบ่งได้ 2 ประเภท
1. ผังงานระบบ (System Flowchart)
คือ ผังงานที่แสดงขั้นตอนการทางานในระบบอย่างกว้าง ๆ แต่ไม่เจาะลงในระบบงานย่อย
2. ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
คือ ผังงานที่แสดงถึงขั้นตอนในการทางานของโปรแกรม ตั้งแต่รับข้อมูล คานวณ จนถึงแสดง
ผลลัพธ์
ประโยชน์ของผังงาน
1. ทาให้เข้าใจ และแยกแยะปัญหาได้ง่าย (Problem Define)
2. แสดงลาดับการทางาน (Step Flowing)
3. หาข้อผิดพลาดได้ง่าย (Easy to Debug)
4. ทาความเข้าใจโปรแกรมได้ง่าย (Easy to Read)
5. ไม่ขึ้นกับภาษาใดภาษาหนึ่ง (Flexible Language)
การโปรแกรมแบบมีโครงสร้าง หรือ การโปรแกรมโครงสร้าง ประกอบด้วยอะไรบ้าง
ผมขอตอบอย่างสั้น ๆ ว่าทุกภาษาต้องมีหลักการ 3 อย่างนี้คือ การทางานแบบตามลาดับ
(Sequence) การเลือกกระทาตามเงื่อนไข(Decision) และ การทาซ้า(Loop) แม้ตาราหลาย ๆ เล่มจะ
บอกว่า decision แยกเป็น if กับ case หรือ loop นั้นยังแยกเป็น while และ until ซึ่งแตกต่างกัน แต่
ผมก็ยังนับว่าการเขียนโปรแกรม แบบมีโครงสร้างนั้น มองให้ออกแค่ 3 อย่างก็พอแล้ว และหลาย
ท่านอาจเถียงผมว่าบางภาษาไม่จาเป็นต้องใช้ Structure Programming แต่เท่าที่ผมศึกษามา ยังไม่มี
ภาษาใด เลิกใช้หลักการทั้ง 3 นี้อย่างสิ้นเชิง เช่น MS Access ที่หลายคนบอกว่าง่าย ซึ่งก็อาจจะง่าย
จริง ถ้าจะศึกษาเพื่อสั่งให้ทางานตาม wizard หรือตามที่เขาออกแบบมาให้ใช้ แต่ถ้าจะนามาใช้งาน
จริง ตามความต้องการของผู้ใช้แล้ว ต้องใช้ประสบการณ์ในการเขียน Structure Programming เพื่อ
สร้าง Module สาหรับควบคุม Object ทั้งหมดให้ทางานประสานกัน
1. การทางานแบบตามลาดับ 2. การเลือกกระทาตามเงื่อนไข(Decision or Selection) 3. การทาซา(Repeation or Loop) :
(Sequence) : รูปแบบการ : การตัดสินใจ หรือเลือกเงื่อนไขคือ เขียนโปรแกรม การทากระบวนการหนึ่งหลายครั้ง
เขียนโปรแกรมที่ง่ายที่สุด เพื่อนาค่าไปเลือกกระทา โดยปกติจะมีเหตุการณ์ให้ทา โดยมีเงื่อนไขในการควบคุม หมายถึง
คือ เขียนให้ทางานจากบน 2 กระบวนการ คือเงื่อนไขเป็นจริงจะกระทา การทาซ้าเป็นหลักการที่ทาความ
ลงล่าง เขียนคาสั่งเป็น กระบวนการหนึ่ง และเป็นเท็จจะกระทาอีก เข้าใจได้ยากกว่า 2 รูปแบบแรก เพราะ
บรรทัด และทาทีละบรรทัด กระบวนการหนึ่ง แต่ถ้าซับซ้อนมากขึ้น จะต้องใช้ การเขียนโปรแกรมแต่ละภาษา จะไม่
จากบรรทัดบนสุดลงไป เงื่อนไขหลายชั้น เช่นการตัดเกรดนักศึกษา เป็นต้น แสดงภาพอย่างชัดเจนเหมือนการ
จนถึงบรรทัดล่างสุด สมมติ ตัวอย่างผังงานนี้ จะแสดงผลการเลือกอย่างง่าย เพื่อ เขียนผังงาน ผู้เขียนโปรแกรมต้อง
ให้มีการทางาน 3 กระทากระบวนการเพียงกระบวนการเดียว จินตนาการด้วยตนเอง
กระบวนการคือ อ่านข้อมูล
คานวณ และพิมพ์
ภาพสัญลักษณ์ ความหมาย
กระบวนการ การคานวณ

กระบวนการที่นิยามไว้ การทางานย่อย

ข้อมูล รับ หรือ แสดงข้อมูลโดยไม่ระบุชนิดของอุปกรณ์

การตัดสินใจ การเปรียบเทียบ

การเตรียมการ การกาหนดค่าล่วงหน้า หรือ กาหนดค่าเป็นชุดตัวเลข

ป้อนข้อมูลด้วยตนเอง การรับข้อมูลเข้าทางแป้นพิมพ์

ขั้นตอนที่ทาด้วยตนเอง การควบคุมโปรแกรมทางแป้นพิมพ์

เอกสาร/แสดงผล การแสดงผลทางเครื่องพิมพ์

เอกสารแสดงผลหลายฉบับ

จอภาพแสดงผล

การ์ด หรือบัตรเจาะรู ใช้ใส่ข้อมูล

เทป (สื่อบันทึกข้อมูล)

เริ่มต้น/สิ้นสุด การเริ่มต้น หรือการลงท้าย

จุดเชื่อมต่อใน หน้าเดียวกัน

ตัวเชื่อมต่อไปหน้าอื่น

จุดร่วมการ เชื่อมต่อ

หรือ

ตรวจเทียบ

หน่วงเวลา

ที่เก็บแบบเข้าถึงโดยเรียงลาดับ

ดิสก์แม่เหล็ก

เส้นแสดงลาดับกิจกรรม

You might also like