You are on page 1of 47

การจัดการเรียนรู้

แบบสะเต็มศึกษา

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หัวข้อ
• สะเต็มศึกษา คืออะไร
• ทําไมจึงต้องสะเต็มศึกษา
• ระดับการบูรณาการ
สะเต็มศึกษา (STEM Education)
• สะเต็มศึกษา คือ แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการความรู้ใน 4
วิชาได้แก่ วิ ทยาศาสตร์( S) เทคโนโลยี( T) วิศวกรรมศาสตร์(E) และ
คณิ ต ศาสตร์ ( M) โดยเน้ น การนํ า ความรู้ ไ ปใช้ แ ก้ ปั ญ หาในชี วิ ต จริ ง
รวมทั้งการพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหม่ ที่เป็นประโยชน์ต่อการ
ดําเนินชีวิต และการทํางาน
• คําสําคัญ
- การบูรณาการ 4 วิชา
- เชื่อมโยงสู่ชีวิตจริงและการทํางาน
- กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
การออกแบบเชิงวิศวกรรม
วิศวกรรมศาสตร์ในหลักสูตรฯ 51

สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี
กลุ่มสาระฯ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
- ธรรมชาติของเทคโนโลยี
- กระบวนการเทคโนโลยี
- การเลือกใช้เทคโนโลยี
การออกแบบเชิงวิศวกรรม vs กระบวนการเทคโนโลยี
• การกําหนดปั ญหา
1 หรื อความต้ องการ

• การรวบรวมข้ อมูล
2
• การเลือกวิธีการ
3
• การออกแบบ และปฏิบตั ิการ
4
• การทดสอบ
5
• การปรับปรุงแก้ ไข
6
• การประเมินผล
7
Animation   กระบวนการเทคโนโลยี
สาระการออกแบบและเทคโนโลยี
กลุ่มสาระฯ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ทําไมต้องสะเต็มศึกษา
• ประเทศไทยขาดกําลังคนด้ านสะเต็ม (STEM workforce)
ที่สอดคล้ องกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ในระบบ ต้ องการ ขาด
แพทย์ 13,266 คน 13,764 คน 498 คน
ทันตแพทย์ 4,123 คน 7,444 คน 3,321 คน
เภสัชกร 5,814 คน 7,051 คน 1,237 คน
พยาบาล 64,655 คน 111,168 คน 46,513 คน
ข้ อมูลปี 2557 จาก www.hfocus.org
ข่าวจากเว็บไซต์ www.manager.co.th วันที่ 11 ก.พ. 58

พล.อ.สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ รมว.กระทรวงแรงงาน กล่าวหลังการประชุม


คณะกรรมการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึ กอาชีพแห่งชาติ (กพร.ปช.) ที่
ทําเนียบรัฐบาลว่า สถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ ไอ) ได้ เสนอผล
การศึกษาการเตรี ยมแรงงานไทยเพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (เออีซี) ซึง่
พบว่า แรงงานสาขาต่างๆ มีทกั ษะด้ านภาษา ไอที และการคิดคํานวณ
ตํ่ากว่าที่นายจ้ างต้ องการ ทังยั
้ งได้ จดั อันดับสัดส่วนแรงงานทักษะฝี มือ
ของไทยต่อจํานวนประชากรทังประเทศใน
้ 7 สาขา เปรี ยบเทียบกลุม่
ประเทศสมาชิกอาเซียนอีก 9 ประเทศ พบว่า สาขาแพทย์อยูอ่ นั ดับ 7
ทันตแพทย์ อยูอ่ นั ดับ 5 พยาบาล อยูอ่ นั ดับ 6 นักบัญชี อยูอ่ นั ดับ 1
สถาปนิก อยูอ่ นั ดับ 4 วิศวกร อยูอ่ นั ดับ 8 และนักสํารวจ อยูอ่ นั ดับ 1
ทําไมต้องสะเต็มศึกษา
• นักเรียนเห็นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นเรื่องไกลตัว

• ขาดแรงบันดาลใจในการเรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
• การประเมินผลทั้งในระดับประเทศ (ONET) และ
นานาชาติ (PISA) ต่ํากว่าเกณฑ์
คะแนนสอบ ONET ม.6 ปี การศึกษา 2557
วิชา จํานวนผู้เข้ าสอบ คะแนนเฉลี่ย
วิทยาศาสตร์ 429,876 คน 32.54
คณิตศาสตร์ 431,287 คน 21.74
การงานอาชีพและ 429,442 คน 49.01
เทคโนโลยี
จากเว็บไชต์ www.dailynews.com
โครงการ PISA
( Programme for International Student Assessment)
- จัดขึ้นทุก ๆ 3 ปี
- เด็กอายุ 15 ปี
- ประเมินผล 3 ด้าน คือ - Science literacy
- Mathematics literacy
- Reading literacy
- ผลของ PISA เป็นตัวบ่งชี้หนึ่งในการจัดลําดับ
ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
อันดับคะแนน PISA ปี 2012 (พ.ศ.2555)

ข้อมูลจากเว็บไซต์กระทรวงศึกษาธิการ www.obec.go.th
คะแนน PISA ในแต่ละครั้งของไทย

ข้อมูลจากเว็บไซต์กระทรวงศึกษาธิการ www.obec.go.th
โคลนนิ่ง
จงอ่านบทความจากหนังสือพิมพ์ แล้วตอบคําถาม
เครื่องทําสําเนาสิ่งมีชีวิต
ถ้ามีการเลือกยอดสัตว์แห่งปี พ.ศ. 2540 นักวิทยาศาสตร์ชาวสก๊อตชื่อ
ดอลลี จะต้องได้รับตําแหน่งนี้อย่าง เอียน วิลมุต เป็นคนออกแบบ
แน่นอน ดอลลีเป็นแกะสัญชาติสก๊อตที่ เครื่องทําสําเนาแกะ เขานํา
เห็นในรูปข้างล่างนี้ แต่ดอลลีไม่ใช่แกะ ชิ้นส่วนเล็กๆ จากต่อมน้ํานมของ
ธรรมดา ดอลลี่เป็นสําเนา (Clone) ของ แกะตัวเมียที่โตเต็มทีแ่ ล้ว (แกะตัว
แกะอีกตัวหนึ่ง การโคลนนิ่ง (Cloning) ที่ 1) จากชิ้นส่วนเล็กๆ นี้
หมายถึง การทําสําเนาจากต้นฉบับ
นักวิทยาศาสตร์ประสบผลสําเร็จในการ
สร้างแกะ (ดอลลี) ให้เหมือนกับแกะที่เป็น
ต้นฉบับทุกอย่าง
เขาแยกเอานิวเคลียสออก แล้วก็ นักวิทยาศาสตร์บางคนคิดว่า
ปลูกถ่ายนิวเคลียสนี้ลงไปในเซลล์ ภายใน 2-3 ปีนี้ เป็นไปได้ที่จะมี
ไข่ของแกะตัวเมียอีกตัวหนึ่ง (แกะ การโคลนนิ่งมนุษย์ แต่รัฐบาล
ตัวที่ 2) ที่แยกเอาสิ่งที่อาจเป็น หลายประเทศได้ตัดสินใจออก
ตัวกําหนดคุณลักษณะของแกะ ตัว กฎหมายห้ามการทําโคลนนิ่ง
ที่ 2 ออกแล้ว จากนั้นจึงนําไข่จาก มนุษย์แล้ว
แกะตัวที่ 2 นี้ ไปปลูกถ่ายลงใน
แกะตัวเมียอีกตัวหนึ่ง (แกะตัวที่
3) แกะตัวที่ 3 ตั้งท้องและคลอด
ลูกออกมาเป็นดอลลี
ข้อที่ 5: ดอลลีเหมือนกับแกะตัวใด
(1) แกะตัวที่ 1
(2) แกะตัวที่ 2
ตัวชี้วัด: ว 1.1 ม.2/4
(3) แกะตัวที่ 3
ประเทศ % ตอบถูก
(4) พ่อของดอลลี
ญี่ปุ่น 72
เกาหลี 68
จีน-ฮ่องกง 72
จีน-มาเก๊า 69
ไทย 39
ข้อที่ 6: จากบทความ เรื่อง โคลนนิ่ง กล่าวถึงชิ้นส่วนของต่อม
น้ํานม ที่ใช้ว่าเป็น“ชิ้นส่วนเล็กๆ” นักเรียนคิดว่า “ชิ้นส่วน
เล็กๆ” นั้น หมายถึงอะไร
(1) เซลล์
ตัวชี้วัด: ว 1.1 ม.2/4
(2) ยีน
ประเทศ % ตอบถูก
(3) นิวเคลียส
(4) โครโมโซม ญี่ปุ่น 44
เกาหลี 33
จีน-ฮ่องกง 53
จีน-มาเก๊า 54
ไทย 33
• เตรียมความพร้อมเด็กไทยในโลกแห่งศตวรรษที่ 21
โลกในศตวรรษที่ 21
• ยุคแห่งความเป็ นโลกาภิวตั น์ (Globalization)
• สังคมข้ อมูลข่าวสาร (Information Society)
• การแข่งขันในด้ านเศรษฐกิจ เน้ นไปที่ด้าน
เศรษฐกิจสร้ างสรรค์ (creative economy)
• ความต้ องการแรงงานที่มีความคิดสร้ างสรรค์
transtechpackersandmovers.com

getsocialeyes.com http://phys.org/ http://agileimpact.org/


3R
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
Reading 4C
Critical thinking
WRiting Communication
ARithemetics Collaboration
Creativity 
เป้าหมายของการเรียนการสอน S T M
• Science Literacy 
 ความรู้ ความเข้ าใจเกี่ยวกับเนื ้อหา (หลัก กฎ และ
ทฤษฎี) วิชาวิทยาศาสตร์ (ฟิ สกิ ส์ เคมี ชีววิทยา และโลก อวกาศ
ดาราศาสตร์ ) สามารถเชื่อมโยงความเกี่ยวเนื่องเนื ้อหาระหว่าง
สาระวิชา และมีทกั ษะในการปฏิบตั ิการเชิงวิทยาศาสตร์
มีทกั ษะในการคิดที่เป็ นเหตุเป็ นผล สามารถค้ นหาความรู้และ
แก้ ปัญหาอย่างเป็ นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ ข้อมูลที่
หลากหลายและมีประจักษ์ พยานที่ตรวจสอบได้
เป้าหมายของการเรียนการสอน S T M
• Mathematics Literacy
ความสามารถในการวิเคราะห์ ให้ เหตุผล และการ
ประยุกต์แนวคิดทางคณิตศาสตร์ เพื่อสร้ างอธิบายและทํานาย
ปรากฏการณ์ตา่ งๆ ภายใต้ บริ บทที่แตกต่างกัน รวมถึงตระหนักถึง
บทบาทของคณิตศาสตร์ และสามารถใช้ คณิตศาสตร์ ชว่ ยในการ
วินิจฉัยและการตัดสินใจที่ดี
เป้าหมายของการเรียนการสอน S T M
• Technology Literacy
 ความเข้ าใจ และความสามารถในการใช้ งาน จัดการ
และเข้ าถึงเทคโนโลยี (กระบวนการหรื อสิง่ ประดิษฐ์ ที่สร้ างขึ ้นเพื่อ
ตอบสนองความต้ องการของมนุษย์)
• Engineering Literacy
 ความเข้ าใจการพัฒนาหรื อการได้ มาของเทคโนโลยีโดย
การประยุกต์ความรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีที่มีอยู่
กับกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เพื่อสร้ างเครื่ องใช้ หรื อวิธีการ
เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต
สิ่งที่ได้จากการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็ม
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการทํางานเป็นทีม
- ทักษะการสื่อสาร/การนําเสนอ
- ทักษะการใช้เครื่องมือ/เทคโนโลยี
- ความคิดสร้างสรรค์
- นักเรียนมีความเข้าใจและสนใจอาชีพด้านสะเต็มมากขึ้น
- ฯลฯ
สะเต็มกับปากกาลูกลื่นแบบกด
สะเต็มกับปากกาลูกลื่นแบบกด
• สังเกตรูปร่างและการทํางานของปากกา
• เสียง “คลิก” ของปากกา เกิดขึ ้นได้ อย่างไร
• ส่วนประกอบชิ ้นไหนมีสว่ นทําให้ เกิดเสียง “คลิก” 
• ใคร/บุคลากรอาชีพใดที่เกี่ยวข้ องกับการผลิต
ส่วนประกอบที่ทําให้ เกิดเสียง “คลิก” 
• ความรู้ที่ต้องใช้ ในการผลิตส่วนประกอบที่ทําให้ เกิดเสียง
“คลิก”  คืออะไรบ้ าง
สะเต็มกับปากกาลูกลื่นแบบกด

*ที่มา:  Vasquez, J.A., Sneider, C., and Comer, M. (2013). STEM Lesson Essentials: Integrating Science, Technology, Engineering, and Mathematics, p.38.
Transdisciplinary
Interdisciplinary บูรณาการข้ามวิชา
Multidisciplinary บูรณาการสหวิทยาการ
บูรณาการพหุวิทยาการ
Disciplinary
บูรณาการภายในวิชา

นักเรียนได้เรียนเนื้อหา นักเรียนได้เรียนเนื้อหาและฝึก นักเรียนเรียนเนื้อหาและฝึก นอกจากการเรียนรู้เนื้อหา


และฝึกทักษะของแต่ละ ทักษะของแต่ละวิชาของ ทักษะที่มีความสอดคล้อง และฝึกทักษะของทั้ง 4 วิชา
วิชาของสะเต็มแยกกัน สะเต็มแยกกันผ่านหัวข้อหลัก กันของวิชาที่เกี่ยวข้อง แล้ว นักเรียนได้ประยุกต์
(theme) โดยการอ้างอิงถึง ร่วมกันผ่านกิจกรรม ช่วยให้ ความรู้และทักษะเหล่านั้น
หัวข้อหลักในการสอนทําให้ นักเรียนได้เห็นความ ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง
นักเรียนเห็นความเชื่อมโยง สอดคล้องและสัมพันธ์กัน และสร้างประสบการณ์การ
ระหว่างเนื้อหาวิชากับ ของวิชาเหล่านั้น เรียนรู้ของตัวเอง
หัวข้อหลัก
Reference: Vasquez, Jo A. (2013). Presentation to IPST Staffs. Bangkok. Thailand.
Multidisciplinary: กระติบข้าว
Interdisciplinary: กระติบข้าว
• วิทยาศาสตร์ - เรี ยนเรื่ องการถ่ายโอนความร้อน
• คณิตศาสตร์ - เรี ยนเรื่ องการหาพื้นที่และปริ มาตรของ
รู ปทรงต่าง ๆ
• วิทยาศาสตร์ - นักเรี ยนทําการทดลองเพื่อศึกษาปั จจัยที่มีผลต่อการเก็บ
ความร้อนของกระติบข้าว (ทดลองและเก็บข้อมูล)
• คณิตศาสตร์ - นําข้อมูลจากการทดลองไปสร้างกราฟและตีความผลการ
ทดลอง
• เทคโนโลยี - ทดลองออกแบบและสร้างลายสานที่เก็บความร้อนได้นาน
• วิศวกรรม - ออกแบบรู ปทรงของกระติบที่เก็บความร้อนได้นาน
Transdisciplinary: กระติบข้าว
ปัญหา
ปัจจุบันในร้านอาหารอีสานหรือเหนือมักใช้กระติบข้าว
เป็นภาชนะใส่ข้าวเหนียว โดยใส่ข้าวเหนียวในถุงพลาสติกก่อน
บรรจุลงในกระติบข้าวเพื่อไม่ให้ข้าวเหนียวติดค้างที่กระติบซึ่ง
ทําความสะอาดยาก แต่หน่วยงานต่างๆ กําลังรณรงค์การลด
ปริมาณถุงพลาสติกลงเพราะปัญหาขยะพลาสติกนับวันยิ่งก่อน
ให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม จากปัญหานี้เราจึงต้องการออกแบบ
กระติบข้าวหรือหาวิธีการที่จะทําให้ข้าวเหนียวไม่ติดกระติบข้าว
เพื่อลดการใช้ถุงพลาสติกดังกล่าว
What do you see?
กิจกรรม ไข่ ในอะไร
• ปั ญหา (Condition) 
ในปี 2554 ประเทศไทยประสบการปั ญหาอุทกภัยครัง้ ใหญ่ ครอบคลุม
ในหลายจังหวัด เมื่อเกิดอุทกภัย ปั ญหาใหญ่ข้อหนึง่ ของรัฐฯ คือการส่ง
อาหารให้ แก่ผ้ ปู ระสบภัย หลายครัง้ ต้ องส่งอาหารโดยโยนจาก
เฮลิคอปเตอร์ ซงึ่ อาจทําให้ อาหารเสียหาย ดังนัน้ เพื่อหาวิธีที่จะจัดส่ง
อาหารให้ ถงึ มือผู้ประสบภัยโดยไม่เสียหาย ผู้รับผิดชอบต้ องออกแบบ
บรรจุภณ
ั ฑ์ที่แข็งแรงและสามารถปกป้องของที่โยนจากเฮลิคอปเตอร์ ได้
• โจทย์ (Challenge) 
ออกแบบบรรจุภณั ฑ์หรื อสิง่ ประดิษฐ์ ที่แข็งแรงและสามารถป้องกัน
การแตกเสียหายจากที่โยนจากเฮลิคอปเตอร์ ได้
กิจกรรม ไข่ ในอะไร
• ข้ อจํากัด (Constraints) 
– แต่ละกลุม่ สามารถเลือกใช้ วสั ดุได้ 3 ชนิด
– ออกแบบสิง่ ประดิษฐ์ ลงในกระดาษวาดเขียนเป็นแบบร่าง
– จับฉลากเพื่อจัดลําดับกลุม่ มานําเสนอแบบร่าง และเลือกวัสดุ
– หากวัสดุที่เลือกไว้ หมด ต้ องเลือกวัสดุอื่นมาใช้ งานแทน โดยระบุ
ในแบบร่างว่าจะใช้ แทนวัสดุเดิมอย่างไร
– วัสดุประกอบด้ วย วัสดุนิ่ม เช่น กระดาษทิชชู สําลี กระดาษลังหรื อ
กล่องกระดาษ พลาสติกกันกระแทก ถุงพลาสติก แก้ วกระดาษ
กล่องโฟม โฟมห่อผลไม้ กระดาษสมุดฉีกเป็นฝอย ฟองนํ ้า
กิจกรรม ไข่ ในอะไร
• ขัน้ ดําเนินการออกแบบและสร้ างชิน้ งาน
– ใบงาน และเขียนภาพร่างของสิง่ ประดิษฐ์
– ให้ นกั เรี ยนชัง่ นํ ้าหนักของไข่ก่อนการประกอบเข้ ากับ
สิง่ ประดิษฐ์
– ปรับเปลี่ยนสิง่ ประดิษฐ์ จากวัสดุที่ได้ รับมา
– ประกอบสิง่ ประดิษฐ์ และชัง่ นํ ้าหนักของไข่หลังจาก
ประกอบเข้ ากับสิง่ ประดิษฐ์
กิจกรรม ไข่ ในอะไร
• การทดสอบและบันทึกผล
– ให้ ผ้ เู รี ยนทดสอบชิ ้นงานโดยปล่อยจากชัน้ 3 ของอาคาร
– มอบหมายให้ สมาชิกทําหน้ าที่ดงั นี ้
• คนทําหน้ าที่เป็ นคนปล่อยชิ ้นงานจากชัน้ 3
• คนจับเวลาและส่งสัญญาณ
• คนบันทึกผล
– ผู้เรี ยนทุกกลุม่ ทําการทดสอบและบันทึกผลในใบงาน
– แต่ละกลุม่ กรอกข้ อมูลลงในตารางข้ อมูลของชันเรี้ ยน
กิจกรรม ไข่ ในอะไร (ใบงาน)
กิจกรรม ไข่ ในอะไร
• การปรั บปรุ งและทดสอบ
– นักเรี ยนปรับปรุงชิ ้นงาน (โดยเพิ่มเงื่อนไขบางประการ)
– ผู้เรี ยนทุกกลุม่ ทําการทดสอบ โดยปล่อยชิ ้นงานจากชัน้ 4 
ของอาคาร
กิจกรรม ไข่ ในอะไร
• ขัน้ วิเคราะห์ ผล
– จากตารางแสดงผลการทดสอบ ให้ ผ้ เู รี ยนเขียนสังเกตรูปแบบ
(pattern) ของผลลัพท์กบั ค่าตัวเลขต่างๆ ในตาราง แล้ ว
เขียนเป็นข้ อสรุป 2 ข้ อลงในใบงาน เขียนแผนภูมิแสดง
ความสัมพันธ์ของข้ อมูลลงในกระดาษกราฟ
– อภิปรายเปรี ยบเทียบแผนภูมิของแต่ละกลุม่ ตัวแปรในแกน
X และ Y 
– ชนิดของ แผนภูมิ
– จํานวนข้ อมูลบนแผนภูมิ
กิจกรรม ไข่ ในอะไร
• วิทยาศาสตร์
– วัสดุแต่ละชนิดมีคณ ุ สมบัตแิ ตกต่างกัน ลักษณะเฉพาะของวัสดุ เช่น
ความเหนียว การซึมผ่านของนํ ้า จัดเป็ นสมบัติของวัสดุ
– ในการทําของเล่นของใช้ แต่ละอย่าง ต้ องเลือกใช้ วสั ดุที่มีคณ
ุ สมบัติ
เหมาะสมกับการใช้ งาน เช่น เบา แข็ง เหนียว ทนทาน
– การปล่อยหรื อโยนวัตถุ ในที่สดุ วัตถุจะตกถึงพื ้นเสมอเนื่องจากแรงที่
โลกดึงดูดวัตถุ เรี ยกว่าแรงดึงดูดของโลก
– แรงกดที่เกิดจากแรงที่โลกกระทําต่อวัตถุ เรี ยกว่า นํ ้าหนัก
• วิศวกรรมศาสตร์
– ใช้ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเพื่อแก้ ปัญหาในชีวิตประจําวัน
กิจกรรม ไข่ ในอะไร
• คณิตศาสตร์
– การบวกลบจํานวนเต็ม
– การชัง่ การวัด
– ความสัมพันธ์ระหว่างข้ อมูล 2 ชุดสามารถแสดงได้ ด้วยกราฟ
หรื อแผนภูมิ
• เทคโนโลยี
– สร้ างชิ ้นงานหรื อวิธีการอย่างมีความคิดสร้ างสรรค์ เพื่อใช้
แก้ ปัญหาหรื อสนองความต้ องการในชีวิตประจําวัน
– เลือกใช้ วสั ดุในการสร้ างชิ ้นงาน
แนวทางการใช้กิจกรรมสะเต็มในชั้นเรียน

จัดกิจกรรมสอดแทรกไปตามเนื้อหาที่เกี่ยวข้องในคาบเรี ยน

จัดกิจกรรมไว้ในรายวิชาเลือกเสรี

จัดกิจกรรมไว้ในกลุ่มกิจกรรมนอกชั้นเรี ยน
www.stemedthailand.org

ศูนย์สะเต็มศึกษาแห่งชาติ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
0-2392-4021 ต่อ 3502-5

You might also like