You are on page 1of 23

แบบเสนอโครงการวิจัยสิ่งประดิษฐ์ของ

คนรุ่นใหม่
(ว-สอศ-2)
ประจำปี การศึกษา 2563
ปี พุทธศักราช 2563 - 2564

ผลงานสิ่งประดิษฐ์ประเภทที่ 1
สิ่งประดิษฐ์ด้านพัฒนาคุณภาพชีวิต
(Medical & disaster relief)
ผลิตภัณฑ์เจลล้างมือสมุนไพร ป้ องกัน
ไวรัสโควิด-19

วิทยาลัยเทคนิคอุทัยธานี
อาชีวศึกษาจังหวัดอุทัยธานี
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
แบบ ว-สอศ-2
แบบเสนอโครงการวิจัยสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ “สุดยอด
นวัตกรรมอาชีวศึกษา”
การประกวดสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ ประจำปี การศึกษา 2563
ปี พุทธศักราช 2563-2564
......................................................................
ชื่อผลงานวิจัย ผลิตภัณฑ์เจลล้างมือสมุนไพร ป้ องกันไวรัสโควิด-19
(Herbal hand sanitizer Prevent COVID-19)อ
ชื่อสถานศึกษา วิทยาลัยเทคนิคอุทัยธานี
ที่อยู่ 58 ถนน วงศาโรจน์ ตำบล อุทัยใหม่ อำเภอ เมือง จังหวัด
อุทัยธานี 61000
เบอร์โทรศัพท์ : 0-5651-1582 E-mail : utc_9@hotmail.com
ส่วน ก : ลักษณะงานวิจัย
 งานวิจัยใหม่ งานวิจัยต่อเนื่องระยะเวลา..........
…..ปี

ความสอดคล้องระดับชาติ
1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการ
พัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่ง และยั่งยืน
2.นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติฉบับที่ 8
ยุทธศาสตร์การวิจัยที่ 4 การสร้างศักยภาพและความสามารถ
เพื่อการพัฒนานวัตกรรม และบุคลากรทางการวิจัย
3. ยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติรายประเด็น
ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาเทคโนโลยี
4. ยุทธศาสตร์ประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ
ประเทศ เพื่อหลุดพ้นจากประเทศรายได้จากประเทศรายได้
ปานกลาง
5.นโยบายรัฐบาล/เป้ าหมายของรัฐบาล
นโยบายที่ 8 การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จาก
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา และนวัตกรรม

ความสอดคล้องระดับกระทรวง
1. นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายเร่งเสริมสร้างสังคมนวัตกรรม
2. ยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ
ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารและส่งเสริมให้นำไปใช้ในการบริหาร การบริการ และ
การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. ยุทธศาสตร์สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาและการฝึ ก
อบรมวิชาชีพให้มีคุณภาพมาตรฐาน

ความสอดคล้องระดับส่วนภูมิภาค
1.ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต รวมถึง
โครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพและสังคม จังหวัดอุทัยธานี

ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต ความมั่นคง


การดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2.พันธกิจหรือนโยบายของสถานศึกษา/สถาบันการ
อาชีวศึกษา
- ผลิตแรงงานระดับ ปวช. ,ปวส.และเทคโนโลยี
คุณภาพตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน
- พัฒนาความรู้ และทักษะของผูเ้ รียนให้มีมาตรฐาน
- พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการเรียนรู้ให้
ทันสมัย
- ปลูกฝั งค่านิยมอันดีงาม สร้างเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ
และสอดแทรกแนวคิดตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงให้แก่ผู้เรียนทุกระดับ
- สร้างระบบเครือข่ายและใช้ทรัพยากรร่วมกันในการ
บริหารจัดการอาชีวศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ
- ส่งเสริม พัฒนาศักยภาพของครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาสูค
่ วามเป็ นเลิศทางวิชาการและเทคโนโลยี

โครงการวิจัยนี ้ สามารถนำไปเผยแพร่และขยายผลไปสู่

การใช้ประโยชน์ได้
□ เชิงนโยบาย
ดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ สอดคล้อ งกับ ปั ญหา
และความต้อ งการ ตามนโยบายระดับ ประเทศ ระดับ
ภูม ิภ าค ระดับ จัง หวัด ระดับ ท้อ งถิ่น หรือ ระดับ หน่ว ย

งาน(เพื่อส่งเสริมพัฒนาซอฟต์แวร์ ยกระดับคุณภาพสังคม
ให้เป็ นสังคมแห่งเทคโนโลยีและการเรียนรู้
□ เชิงพาณิชย์
การนำนวัตกรรม เทคโนโลยี ผลิตภัณฑ์สู่การผลิตสู่เชิง
พาณิชย์และอุตสาหกรรมเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและลดต้นทุน
การผลิต พัฒนากระบวนการผลิตสูเ่ ชิงพาณิชย์

□ เชิงวิชาการ
การนำองค์ค วามรู้จ ากผลงานวิจ ัย ที่ต ีพ ิม พ์ใ นรูป แบบ
ต่า งๆ เช่น วารสารระดับ นานาชาติ ระดับ ชาติ หนัง สือ
ตำรา บทเรียน ไปเป็ นประโยชน์ในด้านวิชาการ การเรียน
การสอน รวมถึงนำไปต่อยอดในการสร้างสรรค์นวัตกรรม
และเทคโนโลยีใ หม่ๆ (นัก เรีย นนัก ศึก ษาเกิด การเรีย นรู้
ทักษะและเจตคติในกระบวนการประดิษ ฐ์ค ิด ค้น พัฒ นา
นวัตกรรมและเทคโนโลยี (เพื่อส่ง เสริมพัฒ นาซอฟต์แ วร์
ยกระดับคุณภาพสังคมให้เป็ นสังคมแห่งเทคโนโลยีและการ
เรียนรู้)

□ เชิงพื้นที่
การนำ กระบวนการ วิธ ีก าร องค์ค วามร ู้ และการ
เปลี่ยนแปลงอัน เป็ นผลกระทบที่เ กิด จากการวิจัยพัฒ นา

ชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่หนึ่งไปขยายผลให้เกิดประโยชน์
ต่อชุมชน ท้องถิ่น และสังคมอื่น
□ เชิงสาธารณะ/สังคม
การนำผลงานวิจัยและนวัตกรรมไปใช้เพื่อสร้างความรู้
ความเข้าใจ เกิดความตระหนักรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง
ซึ่งจะนำไปสู่การเปลี่ยนวิธีคิด พฤติกรรม เพื่อเพิ่มคุณภาพ
ชีว ิต ของประชาชน สร้า งสัง คมคุณ ภาพ และส่ง เสริม
คุณ ภาพสิ่ง แวดล้อ ม (บริก ารวิช าชีพ สู่ช ุม ชน สัง คมได้
อย่างแท้จริง สร้างอาชีพและทางเลือกให้กับผู้ประกอบการ
เกษตรกร และผู้ประกอบอาชีพอื่นๆ)
□ อื่น ๆ
บนพื้น ฐานของการพัฒ นาประเทศใน 4 ด้า น ได้แ ก่
การสร้า งความสามารถในการแข่ง ขัน ของประเทศ การ
สร้างความเสมอภาคและเท่าเทียมกันในสังคม การสร้า ง
การเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จะก่อ
ให้เกิดการเติบโตอย่างยั่งยืน

ภาพแบบร่าง/หรือภาพผลงานสิ่งประดิษฐ์
ส่วน ข : องค์ประกอบในการจัดทำโครงการวิจัย
1. ผู้รับผิดชอบประกอบด้วย
1.1 หัวหน้าทีมโครงการวิจัย
นางสาวนิติยา เสริมสุขต่อ ตำแหน่ง นักเรียน
ระดับชัน
้ ปวส.1 สาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
ที่อยู่ 16/2 หมู่ 4 ต.น้ำซึม อ.เมือง จ.อุทัยธานี 61000
เบอร์โทรศัพท์ 065-5718044
E-mail serisukhtx@gmail.com

1.2 นักวิจัยรุ่นใหม่/คณะผู้ร่วมวิจัย
1.2.1 นางสาวประกาพพร รอดประดิษฐ์ ตำแหน่ง
นักเรียน
ระดับชัน
้ ปวส.1 สาขาวิชา เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1.2.2 นางสาวสุชัญญ์ญา จริยเดช ตำแหน่ง นักเรียน
ระดับชัน
้ ปวส.1 สาขาวิชา เทคโนโลยี
สารสนเทศ
คณะผู้ร่วมวิจัย/ที่ปรึกษาโครงการวิจัย
1.3.1 นายบุลากร เกิดสุวรรณ ตำแหน่ง ครู
แผนกวิชา สามัญสัมพันธ์
1.3.2 นายสรณัฐ พรมมา ตำแหน่ง ครู
แผนกวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
1.3.3 นางสาวอรรถพร มากสุริวงษ์ ตำแหน่ง ครู
แผนกวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
1.3.4 นางสาวจุไรวรรณ ศรีอาจ ตำแหน่ง ครู
แผนกวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
1.3.5 นางสาวศุภรดา สมัครเขตร์การ ตำแหน่ง ครู
ฝึ กสอน
แผนกวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
1.3 หน่วยงานหลัก วิทยาลัยเทคนิคอุทัยธานี 58 ถนนวงศา
โรจน์ ตำบลอุทัยใหม่ อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี 61000

โทร.0-5651-1582 โทรสาร.0-5651-1901
E-mail : utc_9@hotmail.com
1.4 หน่วยงานสนับสนุน(ถ้ามี)
-
2. ประเภทการวิจัย
□ การวิจัยพื้นฐาน (basic research)
□ การวิจัยประยุกต์ (applied research)
□ การวิจัยและพัฒนา (research and development)
3. สาขาวิชาการ/ประเภทสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่
 1)สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่ทำการวิจัย ประเภท
ที.่ .......................
 2)สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่ทำการวิจัย ประเภท
ที.่ .......................
 3)สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่ทำการวิจัย ประเภท
ที.่ .......................


 4)สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่ทำการวิจัย ประเภทที่ 1
 5)สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย
สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่ทำการวิจัย ประเภท
ที.่ .......................
 6)สาขาปรัชญา
สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่ทำการวิจัย ประเภท
ที.่ .......................
 7)สาขานิติศาสตร์
สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่ทำการวิจัย ประเภท
ที.่ .......................
 8)สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์
สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่ทำการวิจัย ประเภท
ที.่ .......................
 9)สาขาเศรษฐศาสตร์
สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่ทำการวิจัย ประเภท
ที.่ .......................
 10) สาขาสังคมวิทยา
สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่ทำการวิจัย ประเภท
ที.่ .......................
 11) สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่ทำการวิจัย ประเภท
ที.่ .......................
 12) สาขาการศึกษา
สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่ทำการวิจัย ประเภท
ที.่ .......................
4. คำสำคัญ (keywords) ของการวิจัย
4.1 เจลล้างมือ หมายถึง เจลล้างมือหรือผลิตภัณฑ์ทําความ
สะอาดมือแบบ ไม่ต้องล้างน้ำออกมีทงั ้ ชนิดเจลของเหลว และส
เปรย์ จัดเป็ นผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางควบคุมมีส่วนประกอบ
สำคัญ คือแอลกอฮอล์(alcohol) ในปริมาณน้อยกว่าร้อยละ 70
4.2 รูปแบบการป้ องกันตัวจากวรัส หมายถึง ไวรัสโคโรนาสาย
พันธุ์ใหม่ หรือที่เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า COVID-19 | โควิด 19 ที่
กำลังระบาดอยู่ในขณะนี ้ มีความรุนแรงเทียบเท่ากับโรคซาร์ส
มากที่สุด ทำให้ผู้ป่วยมีอาการปอดอักเสบรุนแรงจนถึงแก่ชีวิตได้
5. ความสำคัญและที่มาของปั ญหาที่ทำการวิจัย
ปั จจุบัน เราไม่สามารถหลีกเลี่ยงปั ญหาเชื้อโรคได้เลย เรา
ต้องเดินทางไปมาในสังคมส่วนรวมเป็ นประจำ ทำให้โอกาสติด
เชื้อโรคหรือล้มป่ วยจึงมีมากขึน
้ ด้วยเหตุนน
ั ้ จึงมีมาตรการ
ป้ องกันเชื้อโรคหลายๆด้านหนึง่ ในนัน
้ คือเจลล้างมือ เจลล้างมือ
มีประโยชน์อย่างมากแต่บางคนก็ไม่ชอบใช้เจลเพราะมีกลิ่น
แอลกอฮอล์ ทางคณะผู้จัดทำได้เล็งเห็นปั ญหานีจ
้ ึงได้
จัดทำเจลล้างมือกลิ่นสมุนไพรขึน
้ มา
เจลล้างมือเป็ นผลิตภัณฑ์ทําความสะอาดมือสำหรับใช้ใน
กรณีไม่สะดวกในการล้างมือด้วยน้ำและสบู่ ซึ่งเป็ นวิธีทำความ
สะอาดที่มีประสิทธิภาพ เพื่อช่วยลดความเสี่ยงจากการรับเชื้อ
โรคที่มือไปสัมผัสโดนโดยไม่ร้ต
ู ัว ซึ่งอาจทำให้เชื้อเข้าสู่ร่างกาย
และนำไปสู่การเกิดโรคได้ในภายหลัง ปั จจุบันจึงมักพบเห็นเจล
ล้างมือตามโรงพยาบาล สถานพยาบาล สถานที่มีคนอยู่อย่าง
หนาแน่น หรือบางคนอาจพกติดตัวไว้ในกระเป๋าอย่างไรก็ตาม
หากมือเลอะคราบสกปรปนเปื้ อนเลือดหรือของเหลวในร่างกาย
จากคนอื่นอย่างเห็นได้ชัดก็ควรหลีกเลี่ยงที่จะใช้เจลล้างมือ แต่
ควรใช้การล้างมือด้วยน้ำและสบู่แทนการศึกษาหลายชิน
้ ระบุว่า
เจลล้างมือที่มีความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ระหว่าง 60-95%
ค่อนข้างมีประสิทธิภาพในการกำจัดเชื้อโรคได้มากกว่าสูตรที่มี
แอลกอฮอล์ต่ำกว่าหรือไม่มีแอลกอฮอล์ผสมอยู่เลย ขณะที่เจล
ล้างมือสูตรไม่มีแอลกอฮอล์ไม่สามารถป้ องกันหรือยับยัง้ เชื้อโรค
บางชนิด และอาจทำให้เชื้อโรคเหล่านัน
้ ดื้อต่อสารทำความ
สะอาดในเจลล้างมือมากขึน
้ รวมถึงอาจทำให้เกิดการระคาย
เคืองกับผิวหนังมากกว่าสูตรผสมแอลกอฮอล์ เจลล้างมือส่วน
ใหญ่จึงมักใช้แอลกอฮอล์เป็ นส่วนประกอบสำคัญ
6. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
6.1 เพื่อลดการแพร่กระจายของเชื้อโรค
6.2 เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของเจลล้างมือสมุนไพร
6.3 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของ
7. ขอบเขตของการวิจัย
7.1 ประชากร ได้แก่ นักเรียนชัน
้ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน
้ สูงปี
ที่ 1 กลุ่ม 1 แผนกเทคโนโลยีส ารสนเทศ วิท ยาลัย เทคนิค
อุทัยธานี จำนวน 20 คน
7.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชัน
้ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน

สูงปี ที่ 1 กลุ่ม 1 แผนกเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาลัยเทคนิค
อุท ัย ธานี จำ นวน 19 คน โดยมีก ารสุ่ม กลุ่ม ตัว อย่า งแบบ
เจาะจง
8. ทฤษฎี สมมุติฐาน และกรอบแนวความคิดของการวิจัยหรือแบบ
ร่าง
8.1 ทฤษฎี
มือสามารถนาโรคต่างๆมาให้ คือ โรคติดเชื้อระบบทางเดิน
หายใจ เช่น หวัด วัณโรคไข้หวัดใหญ่ โรคหัด โดย ติดต่อผ่านการ
หายใจเอา เชื้อโรคเข้าไป และติดต่อได้จากการที่มืสัมผัสกับ
สิ่งของ เครื่องใช้ หรือสิ่งคัดหลั่งของผู้ป่วย (น้ามูก น้าลาย
เสมหะ เลือด)โรคติดต่ระบทางเดินอาหาร เช่น อุจจาระร่วง
อหิวาตกโรค อาหารเป็ นพิษ โรคตับ อักเสบชนิดเอ โรคพยาธิ
ชนิดต่างๆ การติดต่อเกิดจากการที่มือปนเปื้ อนเชื้อเหล่านัน
้ แล้ว
หยิบจับอาหารรับประทานโรคติดต่อจากการสัมผัสได้โดยตรง
ตอนนีกำ
้ ลังเป็ นช่วงกำลังระบาดโควิด-19 ต้องล้างมือบ่อยๆ
8.2 สมมุติฐาน
เจลล้างมือในปั จจุบันมีการนำเอาสารเคมีมาใช้เป็ นส่วน
ผสมเป็ นจำนวนมากทำให้เราได้รับสารเคมีที่เข้าไปในร่างกาย ถ้า
สารเคมีตกค้างแล้วไปสะสมในร่างกายของเราเป็ นเวลานานอาจ
ก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตได้
ดัง้ นัน
้ กลุ่มของพวกเราจึงมีความสนใจที่จะทำเจลล้าง
มือจากสมุนไพร ( ว่านหางจระเข้ )
เพื่อที่จะทดลองใช้ล้างมือ
9. การทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศ (information) ที่เกี่ยวข้อง
แอลกอฮอล์ที่ผสมอยู่ในเจลล้างมือ คือ เอทิลแอลกอฮอล์
หรือเอธานอล (Ethylalcohol หรือ Ethanol), ไอโซโพรพิล
แอลกอฮอล์ หรือไอโซโพรพานอล(isopropyl alcohol
หรือ isopropanol), เอ็น-โพรพิลแอลกอฮอล์ หรือเอ็น-โพรพา
นอล (n-propyl alcohol หรือ n-propanol) อาจจะเป็ นการ
ผสมหรือเป็ นเพียงสารเดียวตัง้ แต่ 70% โดยปริมาตรขึน
้ ไป จะมี
ประสิทธิภาพสำหรับการฆ่าเชื้อโรคทัง้ แบคทีเรียและไวรัส เมื่อ
แอลกอฮอล์ไปทำลายพื้นผิวโปรตีนที่หุ้มเชื้อโรค จะทำให้เชื้อโรค
ตายในที่สุด
10. การสืบค้นจากฐานข้อมูลสิทธิบัตร
ในปั จจุบ ัน ประเทศไทยพบผู้ต ิด เชื้อ เพิ่ม มากขึน
้ เรื่อ ยๆ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วยกันรณรงค์และให้ความรู้ประชาชนให้
หมั่นดูแลสุขภาพและแนะนำวิธีการป้ องกันการติดเชื้อของโรคดัง
กล่า วหลายวิธ ี โดยวิธ ีท ี่เ ราทุก คนสามารถทำ ได้ง ่า ย และมี
ประสิท ธิภ าพสูง คือ การล้า งมือ ด้ว ยน้ำและสบู่ เนื่อ งจากเชื้อ
COVID-19
11. เอกสารอ้างอิงของการวิจัย
ธัชญมณ บุษน้ำเพชร์ และ เบญจพร พูนศรีสวัสดิ.์ (2561).
เจลล้า งมือ ว่า นหางจระเข้. (สหกิจ ศึก ษา). กรุง เทพฯ: คณะ
ศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.
12. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
12.1 เจลล้างมือผสมแอลกอฮออล์ สามารถพกพาได้ สะดวก
ง่ายต่อการใช้งาน และประหยัดเวลา
12.2 สามารถต่อยอดสู่ผลผลิตเชิงพาณิชย์ได้
13.แผนการถ่ายทอดเทคโนโลยีหรือผลการวิจัยสู่กลุ่มเป้ าหมาย
13.1 การถ่ายทอด/การนำการวิจัยไปใช้ประโยชน์ผลิตภัณฑ์เจ
ลล้างมือสมุนไพร
ป้ องกันไวรัสโควิด-19
13.2 กลุ่มเป้ าหมาย
นักเรียนปวส.1 แผนกเทคโนโลยีสารสนเทศ จำนวน 25
คน
13.3 วิธีการถ่ายทอด
13.3.1 การสาธิตการใช้งาน
13.3.2 อบรมหลักสูตรระยะสัน

14.วิธีการดำเนินการวิจัยและสถานที่ทำการทดลอง/เก็บข้อมูล
14.1 การดำเนินการวิจัย
การวิจัยคณะมุ่งศึกษา ผลิตภัณฑ์เจลล้างมือสมุนไพร
ป้ องกันไวรัสโควิด-19 และหาประสิทธิภาพของผลงานที่ผลิตขึน
้ มา
ซึง่ คณะผู้วิจัยได้ศึกษาและสังเคราะห์แนวทฤษฎีทีเกี่ยวข้อง ได้ข้อ
สรุปเพื่อใช้เป็ นแนวทางในการผลิตและหาประสิทธิภาพของสิ่ง
ผลิตภัณฑ์ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
14.2 ประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
14.2.1 ประชากร ได้แก่ นักเรียนชัน
้ ประกาศนียบัตร
วิชาชีพชัน
้ สูงปี ที่ 1 กลุ่ม 1 แผนกเทคโนโลยีสารสนเทศ
วิทยาลัยเทคนิคอุทัยธานี จำนวน 20 คน
14.2.2 กลุ่มตัวอย่า ง ได้แ ก่ นัก เรีย นชัน
้ ประกาศนีย บัต ร
วิช าชีพ ชัน
้ สูง ปี ที่ 1 กลุ่ม 1 แผนกเทคโนโลยีส ารสนเทศ
วิท ยาลัย เทคนิค อุท ัย ธานี จำนวน 25 คน โดยมีก ารสุ่ม
กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง
14.3 เครื่องมือในการวิจัยและการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
14.3.ผลิตภัณฑ์เจลล้างมือสมุนไพร ป้ องกันไวรัสโควิด -19
สำหรับการหาประสิทธิภาพ
14.3.2 แบบสอบสอบความพึงพอใจ
14.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล
14.4.1 ผลิตภัณฑ์เจลล้างมือสมุนไพร ป้ องกันไวรัสโควิด-
19 ไปให้กลุ่มตัวอย่างทดลอง
14.4.2 ให้กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถามความพึงพอใจที่
มีต่อผลิตภัณฑ์เจลล้างมือสมุนไพร ป้ องกันไวรัสโควิด-19
14.5 การวิเคราะห์ข้อมูล
14.5.1 การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์เจล
ล้างมือสมุนไพร ป้ องกันไวรัสโควิด-19
14.5.2 วิเคราะห์ความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อ
ผลิตภัณฑ์เจลล้างมือสมุนไพร ป้ องกันไวรัสโควิด-19 โดย
ใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้เกณฑ์
ประเมินดังนี ้
4.51 - 5.00 ความหมายมีประสิทธิภาพระดับ
มากที่สุด
3.51 - 4.50 ความหมาย มีประสิทธิภาพ
ระดับมาก
2.51 – 3.50 ความหมาย มีประสิทธิภาพระดับ
ปานกลาง
1.51 – 2.50 ความหมาย มีประสิทธิภาพระดับ
น้อย
1.00 – 1.50 ความหมาย มีประสิทธิภาพระดับ
น้อยที่สุด
14.6 เกณฑ์การวิเคราะห์
หากผลการวิเคราะห์ข้อมูลมีผล ร้อยละ 60 ขึน
้ ไป ถือว่า
ประสิทธิภาพด้านนัน
้ ผ่าน
15. ระยะเวลาทำการวิจัยและแผนการดำเนินงานตลอดการวิจัย
ระยะเวลาดำเนินการวิจัย พฤษภาคม – ตุลาคม พ.ศ. 2563
(Gantt Chart)
พ.ศ. 2563
ขัน
้ ตอนการดำเนิน
ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พ.ย ธ.ค
งาน
. . . . . .
1. จัดทำแบบเสนอ
โครงการ
2. ประชุมคณะ
กรรมการดำเนินงาน
3. เก็บข้อมูลสำรวจ
ความต้องการ
4. ออกแบบสิ่ง
ประดิษฐ์และทดลอง
5. ทดลองกับกลุ่ม
เป้ าหมายและเก็บ
รวบรวมข้อมูล
6. วิเคราะห์ข้อมูล
7. สรุปรายงานผล
การดำเนินงาน

16.ปั จจัยที่เอื้อต่อการวิจัย (ถ้ามี)


-
17.งบประมาณของการวิจัย
17.1 งบประมาณทัง้ หมด 300 บาท
17.2 รายละเอียดงบประมาณค่าใช้จ่าย

รายละเอียดงบประมาณการวิจัยจำแนกตามงบประเภทต่าง ๆ (ปี งบประมาณ


ที่เสนอขอ)
จำนวน
รายการ หมายเหตุ
เงิน
1. งบบุคลากร -
ค่าจ้างชั่วคราว -
2. งบดำเนินงาน -
2.1 ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ -
2.1.1 ค่าตอบแทน เช่น ค่าตอบแทน
ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ค่าเบีย
้ เลีย
้ ง -
ประชุมกรรมการ ฯลฯ
2.1.2 ค่าใช้สอย เช่น -
1) ค่าเบีย
้ เลีย
้ ง ค่าเช่าที่พัก ค่า
-
พาหนะ
2) ค่าจ้างเหมาบริการ -
3) ค่าใช้จ่ายในการสัมมนาและฝึ ก
-
อบรม
4) ค่าใช้สอยอื่น ๆ -
2.1.3 ค่าวัสดุ เช่น -
1) เจลล้างมือ 100
2) แอลกอฮอล์ 100
3) น้ำหอมระเหย 50
4) กระป๋องเจล 20
7) วัสดุอ่ น
ื ๆ -
2.2 ค่าสาธารณูปโภค เช่น -
ค่าไฟฟ้ า ค่าน้ำประปา ค่าโทรศัพท์ ค่า
ไปรษณีย์ -
ค่าบริการด้านสื่อสารและโทรคมนาคม
3. งบลงทุน -
ค่าครุภัณฑ์ -
รวมงบประมาณที่เสนอขอ 270

18.ผลสำเร็จและความคุ้มค่าของโครงการวิจัยที่คาดว่าจะได้รับ
18.1 ผลสำเร็จเป็ นองค์ความรู้ ที่จะนำไปสู่การวิจัยครัง้ ต่อไป
18.2 ผลสำเร็จอาจนำไปต่อยอดการวิจัยได้
19.โครงการวิจัยนีห
้ รือส่วนใดส่วนหนึ่งหรืองานวิจัยสืบเนื่องจากนี ้
ได้ย่ น
ื เสนอขอรับทุนหรือได้รับการสนับสนุนจากแหล่งทุนอื่น
หรือไม่
□ ไม่ได้ย่ น
ื เสนอขอรับทุน
□ ยื่นเสนอ โปรดระบุแหล่งทุน
…………………................................………………......………………
( ) ได้รับการสนับสนุน จาก……………….....……ชื่อ
โครงการ…………..................................
( ) ไม่ได้รับการสนับสนุน
( ) ยังไม่ทราบผลการพิจารณา
20.โครงการวิจัยนีม
้ ีการใช้สิ่งมีชีวิตที่มีการดัดแปลงทางพันธุกรรม
หรือไม่
□ มี □ ไม่มี

21.ลงชื่อหัวหน้าทีมวิจัย (นักศึกษา)

(ลงชื่อ).............................................
(นางสาวนิติยา เสริมสุขต่อ)
วันที่ 24 เดือน ธันวาคม พ.ศ 2563

22.ลงชื่อครูที่ปรึกษางานวิจัย

(ลงชื่อ).............................................
(นายบุลากร เกิด
สุวรรณ)
วันที่ 24 เดือน ธันวาคม พ.ศ 2563

23. คำรับรองของหัวหน้างานวิจัยพัฒนานวัตกรรมและสิ่ง
ประดิษฐ์
ขอรับรองว่าโครงการวิจัย ผลิตภัณฑ์เจลล้างมือสมุนไพร
ป้ องกันไวรัสโควิด-19 เป็ นผลงานของ นักเรียน นักศึกษา
วิทยาลัยเทคนิคอุทัยธานีจริง

(ลงชื่อ)..........................................
(ว่าที่ ร.ต.เกชา อยู่แก้ว)
วันที่ 24 เดือน ธันวาคม พ.ศ 2563

24.คำรับรองของรองผู้อำนวยการฝ่ ายแผนงานและความร่วมมือ
ขอรับรองว่าผลิตภัณฑ์เจลล้างมือสมุนไพร ป้ องกันไวรัสโค
วิด-19 เป็ นผลงานของ นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยเทคนิค
อุทัยธานีจริง

(ลงชื่อ).....................................................
(นางสุนัน เทพพันธ์)
วันที่ 24 เดือน ธันวาคม พ.ศ 2563

25. คำอนุมัติและลายมือชื่อของผู้อำนวยการสถาน
ศึกษา
□ อนุมัติ □ ไม่
อนุมัติ....................................................................................

(ลงชื่อ).....................................................
(นายปรีชา การัก)
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคอุทัยธานี
วันที่ 24 เดือน ธันวาคม พ.ศ 2563
ส่วน ค : ประวัติคณะผู้วิจัย
นักเรียน นักศึกษา
1.ชื่อ - นามสกุล นางสาวนิติยา เสริมสุขต่อ
Name – Surname Ms. Nitiya Soemsukto
เลขหมายบัตรประจำตัวประชาชน 1619900394782
ระดับการศึกษา □ ปวส. ชัน
้ ปี ที่ 1
สาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ สาขางานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระยะเวลาที่ใช้ทำวิจัย กรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ. 2563
ที่อยู่ 16/2 หมู่ที่ 4 ต.น้ำซึม อ.เมือง จ.อุทัยธานี 61000
โทร.0655718044
E-mail serisukhtx@gmail.com
2.ชื่อ - นามสกุล นางสาวประการพร รอดประดิษฐ์
Name – Surname Ms. Prakaypon Rodpradit
เลขหมายบัตรประจำตัวประชาชน 1839900653387
ระดับการศึกษา □ ปวส. ชัน
้ ปี ที่ 1
สาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ สาขางานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระยะเวลาที่ใช้ทำวิจัย กรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ. 2563
ที่อยู่ 2/1 หมู่ที่ 6 ต.หลุมเข้า อ.หนองขาหย่าง จ.อุทัยธานี
61130
โทร.0933147672
E-mail Teerapatwongkasikit@gmail.com
3.ชื่อ - นามสกุล นางสาวสุชัญญ์ญา จริยเดช
Name – Surname Ms.Suchanya Jariyadech
เลขหมายบัตรประจำตัวประชาชน 1619900387662
ระดับการศึกษา □ ปวส. ชัน
้ ปี ที่ 1
สาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ สาขางานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระยะเวลาที่ใช้ทำวิจัย กรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ. 2562
ที่อยู่ 132/24 หมู่ที่ 7 ต.น้ำซึม อ.เมือง จ.อุทัยธานี 61000
โทร.0946500614
E-mail sitplay1@hotmail.com

ประวัติครูที่ปรึกษา (ไม่เกิน 5 คน)


1. ชื่อ - นามสกุล นายบุลากร เกิดสุวรรณ
Name – Surname Mr.
เลขหมายบัตรประจำตัวประชาชน 1610200062991
ตำแหน่งปั จจุบัน ครู แผนกวิชา สามัญสัมพันธ์
หน่วยงานวิทยาลัยเทคนิคอุทัยธานี
ที่อยู่ 62 หมู่ที่ 4 ต.ทุ่งใหญ่ อ.เมือง จ.อุทัยธานี 61000
โทร. 0979826995
อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) burakorn0979826995@gmail.com
ประวัติการศึกษา (ตัง้ แต่ระดับปริญญาตรีขน
ึ ้ ไป)
- ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาฟิ สิกส์
สาขาวิชาการที่มีความชำนาญพิเศษ (แตกต่างจากวุฒิการศึกษา)
ระบุสาขาวิชาการ
-
ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิจัยทัง้ ภายใน และ
ภายนอกประเทศ

2. ชื่อ - นามสกุล นายสรณัฐ พรมมา


Name – Surname Mr. Soranat Phromma
เลขหมายบัตรประจำตัวประชาชน 1189900002943
ตำแหน่งปั จจุบัน ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ
หน่วยงานวิทยาลัยเทคนิคอุทัยธานี
ที่อยู่ 136 หมู่ท4
ี่ ต.เที่ยงแท้ อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท 1740
โทร. 0864127634
อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) yokintel34@gmail.com
ประวัติการศึกษา (ตัง้ แต่ระดับปริญญาตรีขน
ึ ้ ไป)
-ค.อ.บ. วิศวกรรมคอมพิวเตอร์
-ค.อ.ม. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
สาขาวิชาการที่มีความชำนาญพิเศษ (แตกต่างจากวุฒิการศึกษา)
ระบุสาขาวิชาการ
-
ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิจัยทัง้ ภายใน และ
ภายนอกประเทศ
-

3. ชื่อ - นามสกุล นางสาวอรรถพร มากสุริวงษ์


Name – Surname Miss Auttaporn Maksuriwong
เลขหมายบัตรประจำตัวประชาชน 3720700517624
ตำแหน่งปั จจุบัน ครู แผนกวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยงานวิทยาลัยเทคนิคอุทัยธานี
ที่อยู่ 125/1 หมู่ที่ 1 ต.หนองปอ อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี
72190
โทร. 0985365055
อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) Oil.aut2012@gmail.com
ประวัติการศึกษา (ตัง้ แต่ระดับปริญญาตรีขน
ึ ้ ไป)
- ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาระบบสารสนเทศ
สาขาวิชาการที่มีความชำนาญพิเศษ (แตกต่างจากวุฒิการศึกษา)
ระบุสาขาวิชาการ
-
ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิจัยทัง้ ภายใน และ
ภายนอกประเทศ
-
4. ชื่อ - นามสกุล นางสาวจุไรววรณ ศรีอาจ
Name – Surname Miss Juraiwan Sriarj
เลขหมายบัตรประจำตัวประชาชน 3619900144332
ตำแหน่งปั จจุบัน ครู แผนกวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยงานวิทยาลัยเทคนิคอุทัยธานี
ที่อยู่ที่ 281 หมู่ที่ 3 ต.น้ำซึม อ.เมือง จ.อุทัยธานี 61000

อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) Freshyblue1@gmail.com


โทร. 0817070122
ประวัติการศึกษา (ตัง้ แต่ระดับปริญญาตรีขน
ึ ้ ไป)
- ปริญญาตรี วส.บ. สาขา สารสนเทศเพื่อการจัดการ
- ปริญญาโท ค.ม. สาขา บริหารการศึกษา
สาขาวิชาการที่มีความชำนาญพิเศษ (แตกต่างจากวุฒิการศึกษา)
ระบุสาขาวิชาการ
-
ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิจัยทัง้ ภายใน และ
ภายนอกประเทศ
-
5. ชื่อ - นามสกุล นางสาวศุภรดา สมัครเขตร์การ
Name – Surname Miss Suparada Samakkhetkarn
เลขหมายบัตรประจำตัวประชาชน 161900273411
ตำแหน่งปั จจุบัน นักศึกษาฝึ กสอน แผนกวิชา เทคโนโลยี
สารสนเทศ
หน่วยงานวิทยาลัยเทคนิคอุทัยธานี
ที่อยู่ 15/1 หมู่ที่ 5 ต.ทุ่งใหญ่ อ.เมือง จ.อุทัยธานี 61000
อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) Mildsuparadaa@gmail.com
โทร. 0993854334
ประวัติการศึกษา (ตัง้ แต่ระดับปริญญาตรีขน
ึ ้ ไป)
- ปริญญาตรี ค.อ.บ.สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ า มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (กำลังศึกษา)
สาขาวิชาการที่มีความชำนาญพิเศษ (แตกต่างจากวุฒิการศึกษา)
ระบุสาขาวิชาการ
-ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิจัยทัง้ ภายใน และ
ภายนอกประเทศ
-

You might also like