You are on page 1of 21

แบบเสนอโครงการวิจัยสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่

(ว-สอศ-2)
ประจำปีการศึกษา 2565
ปีพุทธศักราช 2565

ผลงานสิ่งประดิษฐ์ประเภทที่ 1
สิ่งประดิษฐ์ด้านนวัตกรรมซอฟต์แวร์และระบบสมองกลฝังตัว
Software & Embedded System Innovation

ระบบบริหารจัดการยืม-คืนอุปกรณ์สันทนาการ
Equipment borrowed management
service system

วิทยาลัยเทคนิคพัทลุง
อาชีวศึกษาจังหวัดพัทลุง
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
แบบเสนอโครงงาน
ประจำปีการศึกษา 2565
ชื่อผลงานวิจัย ระบบบริหารจัดการยืม-คืนอุปกรณ์สันทนาการ
Equipment borrowed management service system
ชื่อสถานศึกษา วิทยาลัยเทคนิคพัทลุง อาชีวศึกษาจังหวัดพัทลุง
ที่อยู่ 248 ถนนราเมศวร์ ตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง 93000
เบอร์โทรศัพท์ 074-643066 E-mail : vishnuptl@yahoo.com
ส่วน ก : ลักษณะงานวิจัย
✓ งานวิจัยใหม่ งานวิจัยต่อเนื่องระยะเวลา..........…..ปี

ความสอดคล้องระดับชาติ
1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564 )
ยุทธศาสตร์ที่ 8 การพัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี วิจัย และนวัต กรรม
2. นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติฉบับที่ 9 (พ.ศ.2560 - 2564 )
ยุทธศาสตร์การวิจัยที่ 4 ส่งเสริมกลไกและกิจกรรมการนำกระบวนการวิจัย
ผลงานวิจัย องค์ความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีจากงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ได้จริง โดยความร่วมมือ
ของภาคส่วนต่าง ๆ
3. ยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติรายประเด็น
ยุทธศาสตร์ที่ 9 การพัฒนาเทคโนโลยี
4. ยุทธศาสตร์ประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เพื่อหลุด
พ้นจากประเทศรายได้ปานกลาง (Growth & Competitiveness)
5. นโยบายรัฐบาล/เป้าหมายของรัฐบาล
นโยบายที่ 8 การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนาและนวัตกรรม

ความสอดคล้องระดับกระทรวง
1. นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
เรียนรู้การใช้ดิจิทัล เพื่อใช้เป็นเครื่องมือสำหรับในการสร้างอาชีพ
2. ยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ
การส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา
3. ยุทธศาสตร์ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม

ความสอดคล้องระดับส่วนภูมิภาค
1. ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝังอ่าวไทย
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาการท่องเที่ยวของภาคให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพ
ชั้นนำของโลก
จังหวัดพัทลุง
ยุทธศาสตร์เพิ่มขีดความสามารถภาคเกษตร อุตสาหกรรมต่อเนื่องจาก
การเกษตรและผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่น
2. พันธกิจหรือนโยบายของสถานศึกษา/สถาบันการอาชีวศึกษา
พันธกิจหรือนโยบาย การส่งเสริมและพัฒนางานวิจัย สิ่งประดิษฐ์
นวัตกรรมและเทคโนโลยีให้มีคุณภาพระดับสากล

โครงการวิจัยนี้ สามารถนำไปเผยแพร่และขยายผลไปสู่การใช้ประโยชน์ได้
 เชิงนโยบาย (ระบุ)
 เชิงพาณิชย์ (ระบุ)
 เชิงวิชาการ (ระบุ) องค์ความรู้ใหม่จากผล
 เชิงพื้นที่ (ระบุ)
 เชิงสาธารณะ/สังคม (ระบุ)
 อื่น ๆ (ระบุ)
ภาพแบบร่าง/หรือภาพผลงานสิ่งประดิษฐ์
ส่วน ข : องค์ประกอบในการจัดทำโครงการวิจัย
1. ผู้รับผิดชอบประกอบด้วย
1.1 หัวหน้าทีมโครงการวิจัย
ชื่อ นางสาวอมรลักษณ์ นามสกุล จันผลึก ตำแหน่ง นักศึกษา
ที่อยู่ 179 ม.1 ต.อ่างทอง อ.ศรีนครินทร์ จ.พัทลุง 93000
เบอร์โทรศัพท์ 0954037314 E-mail 64302040047@ptl.ac.th
1.2 นักวิจัยรุ่นใหม่/คณะผู้ร่วมวิจัย
1.2.1 ชื่อ นางสาวสูฮัยเฟีย นามสกุล ซำซี
ตำแหน่ง นักศึกษา ระดับชั้น ปวส.2
สาขาวิชา เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
1.3 คณะผู้ร่วมวิจัย/ที่ปรึกษาโครงการวิจัย
1.3.1 ชือ่ นางศรีวรรณ นามสกุล ชูมี
ตำแหน่ง ครูที่ปรึกษา
แผนกวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจและเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ การสร้างสื่อการเรียนการสอน
1.3.2 ชือ่ นายเดชาภพ นามสกุล ศรีพิทักษ์
ตำแหน่ง ครูที่ปรึกษา
แผนกวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจและเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ คอมพิวเตอร์และการบำรุงรักษา
1.3.3 ชือ่ นายเอกชัย นามสกุล เพ็จเซ่ง
ตำแหน่ง ครูที่ปรึกษา
แผนกวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจและเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ ออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์
1.4 หน่วยงานหลัก วิทยาลัยเทคนิคพัทลุง
1.5 หน่วยงานสนับสนุน(ถ้ามี)
1.6 อื่นๆ

2. ประเภทการวิจัย
 การวิจัยพื้นฐาน (basic research)
 การวิจัยประยุกต์ (applied research)
 การวิจัยและพัฒนา (research and development)
3. สาขาวิชาการ/ประเภทสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่
 1) สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่ทำการวิจัย ประเภทที่
 2) สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่ทำการวิจัย ประเภทที่........................
 3) สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่ทำการวิจัย ประเภทที่........................
 4) สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่ทำการวิจัย ประเภทที่........................
 5) สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย
สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่ทำการวิจัย ประเภทที่........................
 6) สาขาปรัชญา
สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่ทำการวิจัย ประเภทที่........................
 7) สาขานิติศาสตร์
สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่ทำการวิจัย ประเภทที่........................
 8) สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์
สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่ทำการวิจัย ประเภทที่........................
 9) สาขาเศรษฐศาสตร์
สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่ทำการวิจัย ประเภทที่........................
 10) สาขาสังคมวิทยา
สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่ทำการวิจัย ประเภทที่........................
 11) สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
1
สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่ทำการวิจัย ประเภทที่........................
ด้านนวัตกรรมการพัฒนาซอฟต์แวร์และระบบสมองกลฝังตัว
…………………………………………………………………………………………..
 12) สาขาการศึกษา
สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่ทำการวิจัย ประเภทที่........................

4. คำสำคัญ (keywords) ของการวิจัย


ระบบบริหารจัดการยืม -คืนอุปกรณ์สันทนาการ หมายถึง การพัฒนาระบบบริหาร
จัดการยืม-คืนอุปกรณ์สันทนาการ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบที่สามารถบริหารบริหารจัดการยืม-
คืนอุปกรณ์สันทนาการอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถลดปัญหาการเสียหาย และสูญหายของอุปกรณ์
สันทนาการ ที่มี มีผลกระทบในด้านการจัดการด้านเวลา ค่าใช้จ่าย และการสูญเสียของอุปกรณ์
สันทนาการโดยเปล่าประโยชน์ รวมถึงยังเพิ่มความสะดวกสบายให้แก่ผู้ใช้บริการโดยสามารถจัดการ
บริหารเวลาสำหรับผู้ใช้บริการ เพื่อช่วยลดหย่อนแก้ปัญหาในการยืมอุปกรณ์สันทนาการต่างๆได้ดี
ยิ่งขึ้นช่วยในเรื่องเวลาได้รวดเร็วและสะดวกสบายสามารถยืม -คืนผ่านเว็บไซต์ได้ด้วยตัวเองแบบง่ายๆ
โดยไม่ต้องมายืมที่สถานที่ จริงเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัส Covid-19 และเสียเวลากับการกรอกเอกสาร
ยืนเรื่องขอการยืมอุปกรณ์อย่า งลำบากและล่าช้าให้มีระบบดียิ่ งขึ้น การพัฒนาระบบบริหารบริหาร
จัดการยืม-คืนอุปกรณ์สันทนาการนั้น คณะผู้วิจัยใช้โปรแกรม Visual Studio Code ในการเขียน
คำสั่ง และใช้ MySQL ในการจัดการฐานข้อมูล

5. ความสำคัญและที่มาของปัญหาที่ทำการวิจัย
ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาคนสู ่ ส ั ง คมแห่ ง การเรี ย นรู ้ ต ลอดชี ว ิ ต อย่ า งยั ่ ง ยื น ของ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) เกี่ยวกับการปรับโครงสร้าง
เศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพ และยั่งยืน ให้ความสำคัญกับการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ โดย
ใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม ความคิดสร้ างสรรค์ ทั้งนี้โดยมีแนวทางหลักในการผลักดันการ
พัฒ นานวัตกรรมและการนำมาใช้ คือ การกำหนดวาระการวิจัยแห่ งชาติ (National Research
Agenda) ให้มีจุดเน้น ที่ชัดเจนเฉพาะเจาะจง และสอดคล้องกับสาขา เป้าหมายการพัฒนาประเทศ
และการใช้กลยุทธ์ด้านนวัตกรรมบูรณาการ รวมทั้งการพัฒนาระบบข้อมูลและประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการประเมินผล และในปัจจุบันมีแอพพลิเคชั่นรวมทั้งเว็บไซต์ที่มี การ
บริการในด้านต่างๆเป็นจำนวนมากได้รับผลกระทบจากสถานการณ์แพร่ระบาดของไวรัส Covid-19
เนื่องจากมีการระบาดของเชื้อทำให้มีผลกระทบในหลายๆด้ าน เช่นการบริการ การเข้าถึง การรอคิว
และสถานที่
ในปัจจุบันอินเทอร์เน็ตมีบทบาทและมีความสำคัญต่อชีวิตประจำวันของคนเราเป็น
อย่างมากเพราะทำให้วิถีชีวิตเราทันสมัยและทันเหตุการณ์อยู่เสมอเนื่องจากอินเทอร์เน็ตจะมีการ
เสนอข้อมูลข่าวปัจจุบันและสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นให้ผู้ใช้ทราบเปลี่ยนแปลงไปทุกวัน สารสนเทศที่เสนอใน
อินเทอร์เน็ตจะมีมากมายหลายรูปแบบเพื่อสนองความสนใจและความต้องการของผู้ใช้ทุ กกลุ่ ม
อินเทอร์เน็ตจึงเป็นแหล่งสารสนเทศสำคัญสำหรับทุกคนเพราะสามารถค้นหาสิ่งที่ตนสนใจได้ในทันที
โดยไม่ต้องเสียเวลาเดินทางไปค้นคว้าในห้องสมุด หรือแม้แต่การรับรู้ข่าวสารทั่วโลกก็สามารถอ่านได้
ในอินเทอร์เน็ตจากเว็บไซต์ต่าง ๆ ของหนังสือพิมพ์
กิจกรรมนันทนาการชีวิตการศึกษาในระดับอุดมศึกษา สิ่งที่ขาดไม่ได้เลยคือกิจกรรม
เพราะการศึกษาด้านวิชาการอย่างเดียวแต่ขาดกิจกรรม ก็จะเปรียบเสมือนมีสติ ปัญญา แต่ขาดการ
เรียนรู้ประสบการณ์ชีวิต กิจกรรมของนักศึกษาจะเสริมสร้างให้นักศึกษาเป็นผู้นำ มีความเสียสละ
รู้จักการทำงานเป็นทีมเรียนรู้ที่จะคิดเป็นทำเป็นและแก้ปัญหาเป็นกิจกรรมนักศึกษาในด้านต่างๆ
อย่างสมบูรณ์ อาทิ องค์การนักศึกษา ชมรม และนันทนาการ แต่ปัญหา การยืม-คืนอุปกรณ์สันทนา
การไม่เพียงพอกับความต้องการและความเป็นระเบียนและลำดับการจัดการการยื ม-คืน อุปกรณ์
สันทนานักศึกษา เช่น การสูญหายของอุปกรณ์ ความเสียหายต่ออุปกรณ์ ของนักศึกษาทำกิจกรรม
นักศึกษาในด้านต่างๆ
ดังนั้นคณะผู้จัดทำจึงได้นำระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ใน
การพัฒนาจัดทำระบบยืม - คืนสันทนาการของนักศึกษาบนอินเตอร์เน็ตขึ้นมาเพื่อช่วยลดหย่อน
แก้ปัญหาในการยืมอุปกรณ์สันทนาการต่างๆได้ดียิ่งขึ้นช่วยในเรื่องเวลาได้รวดเร็วและสะดวกสบาย
สามารถยืม-คืนผ่านเว็บไซต์ได้ด้วยตัวเองแบบง่ายๆโดยไม่ต้องมายืมที่สถานที่จริงเองเสียเวลากับการ
กรอกเอกสารยืนเรื่องขอการยืมอุปกรณ์อย่างลำบากและล่าช้าให้มีระบบทีด่ ียิ่งขึ้น

6. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
6.1 เพื่อความสะดวกและรวดเร็วให้กับนักศึกษาในการยืม-คืน
6.2 เพื่อความเป็นระเบียบและลดปัญหาการสูญเสียอุปกรณ์สันทนาการ
6.3 เพื่อเพิ่มช่องทางให้กบั นักศึกษาที่ต้องการใช้อุปกรณ์สันทนาการ
6.4 เพื่อเก็บข้อมูลให้เป็นระบบในการใช้อุปกรณ์สันทนาการของนักศึกษา

7. ขอบเขตของการวิจัย
7.1 ขอบเขตด้านเนื้อหา
ระบบบริหารจัดการยืม -คืนอุปกรณ์สันทนาการ เป็นระบบที่สร้างขึ้นเพื่อ
นักศึกษา เป็นระบบบริหารจัดการยืม -คืนอุปกรณ์สันทนาการ มีข้อมูลการยืม-คืน ระยะเวลา ความ
สะดวกต่อบุคลากรและนักศึกษา
7.2 ขอบเขตด้านระบบ
7.2.1 สามารถเข้าสู่เว็บไซต์ด้วยรหัสของผู้ดูแลระบบได้
7.2.2 สามารถตรวจสอบยอดคงเหลือของอุปกรณ์สันทนาการได้
7.2.3 สามารถเรียกดูข้อมูลการยืม-คืนอุปกรณ์สันทนาการได้
7.2.4 สามารถแสดงสถานะของอุปกรณ์สันทนาการได้
7.2.5 สามารถอนุมัติการยืม-คืนอุปกรณ์ของนักศึกษาได้
7.2.6 สามารถเรียกดูและออกรายงานประวัติการยืม -คืนอุปกรณ์ ข อง
นักศึกษาได้
7.3 ขอบเขตด้านประชากร
7.3.1 Admin สามารถเรียกดูและออกรายงานประวัติ การยืม-คืนอุปกรณ์
ของนักศึกษาได้ และสามารถอนุมัติการยืม-คืนอุปกรณ์ของนักศึกษาได้
7.3.2 Employee (พนักงาน) สามารถเข้าและออกจากระบบในส่วนของ
การจัดการระบบได้ และสามารถ เพิ่ม ลบ แก้ไข รายละเอียดข้อมูล การยืม-คืนอุปกรณ์สันทนาการ
เพื่อเช็คการยืม-ยืนของนักศึกษาเพื่อสรุปรายงานการเข้าใช้บริการ
7.3.3 User (ผู้รับบริการ) สามารถเข้าสู่ระบบผ่านหน้าเว็บไซต์ เพื่อสมัคร
สมาชิกผ่านเว็บไซต์ สามารถยืม-คืนอุปกรณ์สันทนาการผ่านเว็บไซต์ และสามารถแก้ไขข้อมูลส่วนตัว
ของตัวเองได้
7.4 ด้านระยะเวลา/สถานที่
ดำเนินการ ณ วิทยาลัยเทคนิคพัทลุง ตั้งแต่ เดือนพฤษภาคม 2565 ถึง เดือน
กันยายน 2565

8. ทฤษฎี สมมุติฐาน (ถ้ามี) และกรอบแนวความคิดของการวิจัยหรือแบบร่าง


8.1 สมมุติฐานการวิจัย
8.1.1 ได้ระบบบริหารจัดการยืม -คืนอุปกรณ์สันทนาการ
8.1.2 ระบบบริหารจัดการยืม-คืนอุปกรณ์สันทนาการมีประสิทธิภาพ และ
สามารถนำระบบไปใช้งานได้จริง
8.1.3 ระบบบริหารจัดการยืม -คืนอุปกรณ์สันทนาการ มีผลการประเมิน
ความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก
8.2 กรอบแนวคิดการวิจัย
ตารางที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย

ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม

ระบบบริหารจัดการยืม -คืนอุปกรณ์สันทนาการ ผลประสิทธิภาพ และผลความพึงพอใจ จากการร่วม


ทดลองใช้งานระบบบริหารจัดการยืม-คืนอุปกรณ์
สันทนาการ
9. การทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศ (information) ที่เกี่ยวข้อง
9.1 ทฤษฎีเกี่ยวกับระบบจัดการฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล ประกอบด้วยกลุ่มการจัดการข้อมูลสำหรับผู้ใช้หนึ่งคน
หรือหลายๆ คน โดยทั่วไปมักอยู่ในรูปแบบดิจิทัล วิธีการแบ่งชนิดของฐานข้อมูลได้รู ปแบบหนึ่งคือ
แบ่งตามชนิดของเนื้อหา เช่น บรรณานุกรม เอกสารตัวอักษร สถิติ โดยฐานข้อมูลดิจิทัลจะถูกจัดการ
โดยใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลซึ่ง เก็บเนื้อหาฐานข้อมูล โดยอนุญาตให้สร้าง, ดูแลรักษา, ค้นหา และ
การเข้าถึงในรูปแบบอื่นๆ
ระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS) ประกอบด้วย ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการจัดการ
ฐานข้อมูล, จัดเตรียมพื้นที่ในการเก็บ , การเข้าถึง, ระบบรักษาความปลอดภัย, สำรองข้อมูล และสิ่ง
อำนวยความสะดวกอื่นๆ ระบบจัดการฐานข้อมูลสามารถแบ่งหมวดหมู่ได้ตามแบบจำลองฐานข้อมูล ที่
สนับสนุน อาทิเช่น เชิงสัมพันธ์ หรือ XML เป็นต้น แบ่งตามประเภทของคอมพิวเตอร์ที่สนับสนุน อาทิ
เช่น Server cluster หรือ โทรศัพท์พกพา เป็นต้น แบ่งตามประเภทของภาษาสอบถามที่ใช้ในการ
เข้าถึงฐานข้อมูล อาทิเช่น ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง หรือ XQuery แบ่งตามประสิทธิภาพในการ
trade-offs อาทิเช่น ขนาดที่ใหญ่ที่สุด หรือ ความเร็วสูงสุด หรือ อื่นๆ เป็นต้น ในบาง DBMS จะ
ครอบคลุมมากกว่าหนึ่งหมวดหมู่ เช่น สนับสนุนภาษาสอบถามได้หลายๆ ภาษา ยกตัวอย่างเช่น ใน
DBMS ที ่ น ิ ย มใช้ ก ารอย่ า งแพร่ ห ลาย MySQL, PostgreSQL, Microsoft Access, SQL Server,
FileMaker, Oracle, Sybase, dBase, Clipper, FoxPro อื่นๆ ในทุกๆ ซอฟต์แวร์ฐ านข้อมูล จะมี
Open Database Connectivity (ODBC) driver มาให้ด้วย เพื่ออนุญาตให้ฐานข้อมูลสามารถทำงาน
ร่วมกับฐานข้อมูลแบบอื่นๆ ได้
9.2 ทฤษฎีการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
ความหมายของการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
การวิเคราะห์ระบบ เป็นการศึกษาถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบงานปัจจุบัน เพื่อ
ออกแบบระบบการทำงานใหม่ นอกจากออกแบบสร้างระบบงานใหม่แ ล้ว เป้าหมายในการวิเคราะห์
ระบบต้องการปรับปรุงและแก้ไขระบบงานเดิมให้มีทิศทางที่ดีขึ้น โดยก่อนที่ระบบงานใหม่ยังไม่
นำมาใช้งาน ระบบงานที่ดำเนินการอยู่ในปัจจุบันเรียกว่า ระบบปัจจุบัน แต่ถ้าต่อมามีการพัฒ นา
ระบบใหม่และนำมาใช้งาน เราจะเรียกระบบปัจจุบันที่เคยใช้นั้นว่า ระบบเก่าการออกแบบระบบ คือ
การนำเอาความต้องการของระบบมาเป็นแบบแผนในการสร้างระบบสารสนเทศนั้น ให้ใช้งานได้จริง
และเกิดประโยชน์สูงสุดในการทำงาน
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ คือ วิธีการที่ใช้ในการสร้างระบบสารสนเทศ
ขึ้นมาใหม่ในธุรกิจใดธุรกิจหนึ่ง หรือระบบย่อยของธุรกิจ นอกจากการสร้างระบบสารสนเทศใหม่แล้ว
การวิเคราะห์ระบบช่วยในการแก้ไขระบบสารสนเทศเดิมที่ มีอยู่แล้วให้ดีขึ้นด้วยก็ได้ การวิเคราะห์
ระบบคือ การหาความต้องการ (Requirement) ของระบบสารสนเทศว่าคืออะไร หรือต้องการ
เพิ่มเติมอะไรเข้าไปในระบบ และ การออกแบบก็คือการนำเอาความต้องการของระบบมาเป็นแบบ
แผนหรือพิมพ์เขียว ในการสร้างระบบสารสนเทศนั้นให้ใช้งานได้จริง ผู้ที่ทำหน้าที่นี้คือ นักวิเคราะห์
และออกแบบระบบ (System Analysis: SA) การพัฒนาระบบงานประยุกต์แบบรวดเร็ว เป็นวงจร
การพัฒนาระบบที่ใช้ระยะเวลาในการพัฒนารวดเร็วกว่าและคุณภาพดีกว่าวิธีพัฒนาระบบงานแบบ
ดั้งเดิม โดยมีการนำเครื่องมือซอฟต์แวร์มาช่วยในการพัฒนาระบบ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
แนวคิดและเครื่องมือ แนวคิด ของวิธีพัฒนาระบบแบบรวดเร็ว เริ่มในช่วงปลาย
ทศวรรษ 1980 และต้น 1990 แนวคิดนี้ยังคงใช้หลักการของวงจรพัฒนาระบบ โดยการนำมาจัดทำ
เป็นระบบใหม่ ลดขั้นตอนบางอย่างลง ทำให้พัฒนาระบบได้เร็ว ลดงบประมาณเกี่ยวกับบุคลากร
เวลา ทรัพยากรต่าง ๆ มีโปรแกรมช่วยพัฒนาระบบที่สามารถเรียนรู้ได้เร็วใช้งานง่าย ขณะเดียวกัน
การกำหนดความต้องการของระบบและความคาดหวังที่จะได้รับของระบบสามารถเข้าใจได้ง ่าย
สนับสนุนการเข้ามามีส่วนร่วมของผู้ใช้ให้มากที่สุด การใช้วิธีพัฒนาระบบแบบรวดเร็วต้ องคำนึงถึง
เครื่องมือ คน วิธีการ และการบริหารจัดการองค์การสมัยใหม่มักใช้วิธีการพัฒนาระบบที่ใช้ระยะเวลา
สั้น และมีลักษณะที่ไม่เป็นทางการมากนัก โดยนำวิธีการต่างๆ มาปรับใช้ตามความเหมาะสม ซึ่งแต่ละ
วิธีก็มีทั้งข้อดีและข้อด้อย วิธีการพัฒนาระบบแบบรวดเร็วสามารถลดขั้ นตอนของวงจรพัฒนาระบบ
จาก 7 ขั้นตอน เหลือเพียง 4 ขั้นตอน

เปรียบเทียบขั้นตอนของวงจรพัฒนาระบบ และการพัฒนาระบบแบบรวดเร็ว

SDLC RAD
1. การวิเคราะห์ปัญหา 1. การวางแผนกำหนดความต้องการ
2. การศึกษาความเป็นไปได้ (Requirement planning)
3. การวิเคราะห์ความต้องการของระบบ 2. การออกแบบโดยผู้ใช้ (User design)
4. การวิเคราะห์เพื่อตัดสินใจ 3. การสร้างระบบ (Construction)
5. การออกแบบ 4. การเปลี่ยนระบบ (Cutover)
6. การสร้างระบบ
7. การใช้ระบบ

9.4 ศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
จากการศึกษาค้นคว้าและผลงานวิจัยที่ที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้
จักรกฤช ดวงมารดา (2560) ระบบคืน – ยืมอุปกรณ์สำนักงาน. (สหกิจศึกษา).
กรุงเทพฯ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสยามเพื่อพัฒนากระบวนการจัดเก็บข้อมูลในรูป
แบบเดิมให้มีความทัน สมัย ขึ้นเพื่อให้เกิดความรวดเร็ว และมีความถูกต้องของอุปกรณ์ และเพิ่ม
ศักยภาพของระบบให้บริการให้สามารถบริการ ณ จุดใดก็ได้ของสำนักงาน โครงงานนี้ใช้เครื่องมื อใน
การพัฒนาระบบคือ โปรแกรม Visual Studio 2010 โปรแกรม Microsoft SQL Server 2008 R2
เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการจัการฐานข้อมูลเพื่อเก็บข้อมูล ต่าง ๆ และเขียนโปรแกรมด้วนภาษา C#
ระบบช่วยทำให้บุคลากรภายในได้รับทราบข้อมูลอุปกรณ์ต่างๆได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วมากขึ้น
ปัจจุบันการยืมสิ่งของเป็นเรื่องปกติสำหรับทุกองค์กร แต่การจัดเก็บข้อมูลนั้นยัง
เป็นแค่ เพียงเอกสารทำให้มีการยุงยากซับซ้อนในการจัดเก็ บข้อมูล และการค้นหาข้อมูลต่างๆ หรือ
ข้อมูล นั้นอาจผิดพลาดได้ อาจมีความล้าช้าในการตรวจสอบ และอาจผิดพลาดได้เสมอ หากใช้ระบบ
การ ยืมคืนอุปกรณ์จะทำให้สะดวกมากยิ่ งขึ้นในระบบเก่าที่องค์กรใช้ จากที่นักศึกษาปฏิบัติสหกิจ
ศึกษาได้เห็นถึงปัญหาคือในระบบเดิมใช้นั้นยังเป็นรูปแบบกระดาษจดหรือยังไม่มีการจดบันทึกสิ่งของ
ทำให้อาจเกิดการศูนย์หายได้ ข้อมูลเกิดความซ้ำซ้อน ยากต่อการค้นหาข้อมูลการยืมอุปกรณ์ ข้อมูล
การคืนอุปกรณ์ทำให้สิ้นเปลืองงบประมาณของทางองค์กรอาจเกิดความล่าช้าและเสียเวลาในการจด
บันทึกข้อมูลจากทั้งหมดที่กล่าวมานี้นักศึกษาปฏิบัติสหกิจศึกษาจึงมีความคิดที่จะแก้ ไขปัญหาให้แก่
ภายในองค์กร โดยการนำระบบการยืม-คืนอุปกรณ์มาใช้งาน เพื่อให้การค้นหาสิ่งของทำได้ง่ายและ
สะดวกยิ่งขึ้น มีความเป็นระเบียบมากขึ้น ยังเกิดความผิดพลาดน้อยลง และยังสามารถตรวจสอบ
ย้อนหลัง ทำให้สามารถตรวจสอบข้อมูลได้อยากมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ประโยชน์ที่ได้รับ
1. ทำให้สามารถค้นหาและตรวจสอบข้อมูลอุปกรณ์สำนักงานได้อยางถูกต้อง
2. ทำให้ลดอัตราศูนย์หายของอุปกรณ์
3. ทำให้ลดปัญหาข้อมูลสูญหาย
4. ทำให้ช่วยในการจัดเก็บข้อมูลให้มีความสะดวกมากขึ้น
ระบบยืมคืนอุปกรณ์สำนักงานเป็นเครื่องมือในการช่วยลดระยะเวลาในการทำงาน
และลดขั้นตอนการปฏิบัติการเนื่องจากบริษัทโปรอิมเมจเอ็นจิเนียริ่งแอนด์คอมมูนิเคชัน จำกัด
มีอุปกรณ์จำนวนมากจึงทำให้ในการตรวจสอบอุปกรณ์เป็นไปได้ช้าและการให้บริการแบบเดิมนั้นไม่มี
การจัดเก็บข้อมูลอุปกรณ์ส่งผลทำให้การตรวจสอบอุปกรณ์นั้นเป็ นไปได้ยาก อาจเกิดผลเสียตามมา
ดังนั้นจึง ดำเนินการพัฒนาระบบคืนยืมอุปกรณ์ส ำนักงาน โดยใช้เครื่องมือ ในการพัฒนาระบบ คือ
โปรแกรม Visual Studio 2010 เป็นเครื่องมือในการพัฒนาหน้าโปรแกรม โปรแกรม Microsoft SQL
Server 2008 R2 เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเป็นฐานข้อมูลเพื่อเก็บข้อมูลต่างๆ และเขียนโปรแกรมด้วย
ภาษา C# ซึ่งจะช่วยให้บุคลากรในสำนักงานได้มี ระบบจัดเก็บข้อมูลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ของสถาน
ประกอบการ เพื่อปฏิบัติงานได้รวดเร็วยิงขึ้น
ศรีสวย และ สมศักดิ์ ศรีสวการย์ วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ประยุกต์ (2562) ระบบยืม-คืนหนังสือออนไลน์โรงเรียนแม่ทะประชาสามัคคี สาขาวิชาวิทยาการ
คอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
การพัฒนาระบบยืม-คืนหนังสือออนไลน์โรงเรียนแม่ทะประชาสามัคคี มีเป้าหมาย
เพื่อสร้าง เครื่องมืออำนวยความสะดวกให้กับบรรณารักษ์ นักเรียน และครูโรงเรียนแม่ทะ ประชา
สามัคคี อำเภอแม่ทะ จั งหวัดลำปาง เพื่อลดภาระบรรณารักษ์ห้องสมุดในการให้บริการยืม -คืน
หนังสือ สมาชิกสามารถสืบค้นข้อมูล หนังสือ จองหนังสือล่วงหน้าและตรวจสอบรายการหนังสือที่ยืม
ได้ เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล คือ ระบบงานคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาบนหลักการของแอพพลิเคชั่นบนเว็บ
(Web-based Application) ผลของงานวิจัยพบว่า 1) มีจ ำนวนหนังสือที่สามารถให้สมาชิกยืมได้
จำนวน 1,772 เรื่อง แบ่งออกเป็น 10 หมวด มีจำนวนสมาชิก จำนวน 187 คน แบ่งสมาชิกออกเป็น
3 ประเภท ได้แก่นักเรียน ครู และบุคคลทั่วไป 2) ผลการศึกษาความพึงพอใจพบว่า กลุ่มเป้าหมายมี
ระดับความพึงพอใจต่อการใช้งาน ระบบ โดยรวมอยู่ที่ระดับมาก ( X = 4.48, S.D. = 0.52)
โรงเรียนแม่ทะประชาสามัคคี ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ 5 ถนนวชิราวุธด าเนิน ตำบล
ดอนไฟ อำเภอ แม่ทะ จังหวัดลำปาง 52150 โทรศัพท์ 054-282121 โทรสาร 054-282121 สังกัดส
านักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการ พ.ศ. 2546
(ฉบับแก้ไข พ.ศ. 2553) ปัจจุบันเปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย มี
นักเรียน จำนวน 165 คน และครูจำนวน 22 คน โรงเรียนมีห้องสมุดไว้ส ำหรับบริการให้นักเรียน ครู
และ ผู้ปกครองสามารถยืมหนังสือได้ แต่ในการยืมหนังสือแต่ละครั้งจะต้องไปค้นหาหนังสือภายใน
ห้องสมุด เท่านั้น ซึ่งเกิดความไม่สะดวกต่อการใช้บริการ เพราะในบางครั้งหนังสือที่ต้องการอาจมี
สมาชิกยืมแล้ว หรือไม่มีหนังสือที่ต้องการ ซึ่งจะต้องเสียเวลาในการค้นหาหนังสือ จากปัญหาดังกล่าว
สามารถแก้ไขได้โดยการใช้ ระบบยืม-คืนหนังสือออนไลน์ ซึ่งสมาชิก สามารถสืบค้นหนังสือที่ต้องการ
ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ เมื่อสืบค้นพบสามารถตรวจสอบได้ว่า หนังสือยังอยู่หรือมีสมาชิกยืมแล้ว
ถ้าหากมีสมาชิกยืมก็สามารถจองการยืมล่วงหน้าได้ รวมทั้งสามารถตรวจสอบหนังสือที่ยืม วันที่ครบ
กำหนดส่งคืน เป็นต้น ซึ่งระบบดังกล่าวจะช่วยอำนวยความสะดวกให้กับสมาชิก และบรรณารักษ์
ประจำห้องสมุดได้เป็นอย่างดี
งานวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ได้มีการกำหนดประเภทของงานวิจัยไว้
เพื่อ 1) สร้างองค์ความรู้ 2) นำไปใช้ประโยชน์ 3) พัฒนาท้องถิ่น 4) ถ่ายทอดเทคโนโลยี และ 5) สร้าง
องค์ความรู้ และนำไปใช้ประโยชน์ ทำให้งานวิจัยนี้ มีเป้าหมายเพื่อสร้างระบบงาน และให้หน่วยงาน
อื่นภายนอกมหาวิทยาลัยนำไปใช้ประโยชน์ โดยใช้งบประมาณจากคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏลำปาง การนำไปใช้ประโยชน์นี้ คณะผู้วิจัย ได้พิจารณาถึงการสร้างเครื่องมืออำนวยความ
สะดวกให้ บรรณารักษ์ห้องสมุด จากการศึกษา ในการยืม -คืน ตรวจสอบ การสร้างรายงานที่เกี่ยวกับ
หนังสือ สมาชิก สามารถทำได้สะดวกและรวดเร็ว

10. การสืบค้นจากฐานข้อมูลสิทธิบัตร
การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ศึกษาสิทธิบตั ร อนุสิทธิบตั รภายในประเทศและนานาชาติ
เอกสารและงานวิจัยเกี่ยวกับระบบบริหารจัดการยืม -คืนอุปกรณ์สันทนาการ ที่เกี่ยวข้องดังนี้
10.1 ระบบสำหรับจอง เช่าหรือยืมล็อคและปลดล็อคและควบคุมติดตามจักรยาน
ตามเวลาจริง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
10.2 ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ บริษัท อาร์เอฟไอดี จำกัด

11. เอกสารอ้างอิงของการวิจัย
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 ( พ.ศ.2560-2564) [ออนไลน์]
เข้าถึงได้จาก www.randdcreation.com/content/4785/ สืบค้นวันที่
31 พ.ค. 2565
รายงานการวิจัยที่เกี่ยวข้อง [ออนไลน์]
เข้าถึงได้จาก IT-Information-technology-2017-coop-Office-
Equipment-Borrowing-System.pdf (siam.edu) สืบค้นวันที่ 31 พ.ค. 2565
การจัดการฐานข้อมูล [ออนไลน์]
เข้าถึงได้จาก Database Management.pdf (bangkok.go.th) สืบค้นวันที่
31 พ.ค. 2565
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ [ออนไลน์]
เข้าถึงได้จาก http://ithesis-ir.su.ac.th สืบค้นวันที่ 31 พ.ค. 2565

12. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
12.1 ได้ระบบบริหารจัดการยืม-คืนอุปกรณ์สันทนาการ
12.2 ระบบบริ ห ารจั ด การยื ม -คื น อุ ป กรณ์ ส ั น ทนาการมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และนำ
ระบบไปใช้งานได้จริง
12.3 ผู้ใช้บริการระบบจัดการยืม-คืนอุปกรณ์สันทนาการมีความพอใจในระดับดี
มาก
13. แผนการถ่ายทอดเทคโนโลยีหรือผลการวิจัยสู่กลุ่มเป้าหมาย
13.1 ถ่ายทอดการใช้งานและองค์ความรู้การสาธิตการใช้งานผ่านคู่มือการใช้งาน

14. วิธีการดำเนินการวิจัยและสถานที่ทำการทดลอง/เก็บข้อมูล
14.1 การวางแผน (Planning Phase)
การวางแผนโครงการระบบบริหารจัดการยืม -คืนอุปกรณ์สันทนาการจัดเป็น
กระบวนการพื้นฐานของความเข้าใจว่าทำไมระบบบริหารจัดการยืม-คืนอุปกรณ์สันทนาการจึงสมควร
สร้างขึ้นมา และจะต้องกำหนดทีมงานขึ้นมาเพื่อดำเนินการสร้างระบบนี้ได้อย่างไร ประกอบด้วย
14.1.1 การกำหนดปัญหา (Problem Definition)
ระบบบริหารจัดการยืม-คืนอุปกรณ์สันทนาการ มีการจัดทำที่ไม่คลอบคลุมกับ
กลุ่มนักศึกษาซึ่งการให้บริการยังอยู่ในระบบการให้บริ การแบบล้าสมัยไม่มีเทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้อง
จึงทำให้การจัดการกับข้อมูลต่างๆ ทำได้ล่าช้า หรือเมื่อต้องการอยากใช้บริการยืม-คืนอุปกรณ์สันทนา
การ ต้องมาเสียเวลาในการนั่งทำเอกสารที่เสียเวลา และอาจเกิดข้อผิดพลาด อย่างการสูญเสียและสูญ
หายได้ ทำให้เกิดข้อผิดพลาดได้ง่าย
14.2 การวิเคราะห์ (Analysis Phase)
การยืม -คืน อุปกรณ์ส ันทนาการในปัจจุบันไม่มีความสะดวกในการยืม-คืน
อุปกรณ์สันทนาการจึงทำให้เสียเวลาในการทำเอกสารสำหรับ การยืม-คืน คณะผู้วิจัยจึงคิดค้นระบบ
บริหารจัดการยืม-คืนอุปกรณ์สันทนาการเพื่อเพิ่มความสะดวกรวดเร็วในการใช้งานและประหยัดเวลา
14.3 การออกแบบ (Design Phase)
การออกแบบระบบ คือ การกำหนดสถาปัตยกรรมของระบบโดยรวม ซึ่ง
ประกอบด้วยชุดประกอบของการประมวลผลทางกายภาพเพื่อตอบสนองความต้องการของระบบด้วย
การใช้เทคโนโลยี ทั้งนี้รายละเอียดบางส่วนของระยะการออกแบบ อาจถูกพัฒนาขึ้นจากระยะการ
วิเคราะห์ และในบางครั้งการออกแบบระบบจะทำงานควบคู่ไปกับระยะการวิเคราะห์ด้วย และโดย
ปกติกิจกรรมต่าง ๆ ในระยะออกแบบมักจะทางานแบบคู่ขนานกันไป
การออกแบบระบบบริหารจัดการยืม-คืนอุปกรณ์สันทนาการ คณะผู้วิจัยได้ทำ
การออกแบบการทำงานของระบบ โดยใช้โปรแกรม Visual Studio Code
14.4 การสร้างและพัฒนาระบบ (Implementation Phase)
กิจ กรรมต่า งๆ ในระยะการสร้า งและพั ฒ นาในส่ว นของรูปภาพต่า งๆ จะ
เกี่ยวข้องกับการสร้างระบบงานการทดสอบและการติดตั้งระบบรวมไปถึงการพัฒนาและบำรุงรักษา
ด้วย โดยมีจุดประสงค์ ในการสร้างระบบงานให้มีความน่าเชื่อถือ ระบบสารสนเทศจะต้องสามารถ
ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้และองค์กรได้อย่างสมบูรณ์แบบ
14.4.1 การสร้างระบบ
14.4.1.1 การติดตั้งโปรแกรม Visual Studio Code
14.4.1.2 การสร้างฐานข้อมูล MySQL
14.4.1.3 การเขียนโปรแกรม
14.4.2 การติดตั้งระบบ
การติดตั้งระบบ คือ การเปลี่ยนการทำงานจากระบบงานเดิมไปเป็น
ระบบงานใหม่ แต่การเปลี่ย นแปลงไปสู ่ส ิ่ งใหม่ ย่ อมมีผ ลกระทบต่ อผู้ ใช้ง านบางกลุ่ ม ที ่ย ั ง คงมี
ความคุ้นเคยกับวิธีการดำเนินงานแบบเก่า รวมทั้งข้อจำกัดในเรื่องความพร้อมในการเปลี่ยนแปลง
14.4.3 การจัดทำเอกสาร
การจัดทำเอกสาร คือ การจัดเก็บเอกสารเป็นการดำเนินการเอกสารที่
ใช้ในสำนักงานให้เป็นระบบ นับตั้งแต่การผลิต การใช้ การจัดเก็บ การค้นคืน และการกำจัด ไม่ว่าจะ
เป็น เอกสารจากภายใน หรือภายนอกโดยมีกระบวนการในการจัดการเอกสาร พร้อมทั้งการนำ
เทคโนโลยีต่างๆมาใช้ เพื่อให้บริการในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเอกสารภายในสำนักงาน
14.4.4 การประเมิน (Evaluation)
การประเมิ น คื อ การรวบรวมข้ อ มู ล ที ่ เ กี ่ ย วกั บ ผลของการ
ดำเนินงาน เพื่อนำมาเปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ว่าได้ผลตามที่กำหนดไว้เพียงใด มีบทบาท
ความสำคัญในการให้ข้อมูลด้านความคืบหน้า ชี้ปัญหา และข้อขัดข้องด้านประสิทธิภาพ ประสิทธิผล
และผลกระทบที่เกิดจากการดำเนินงานโครงการ เพื่อนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในด้านการจัดการ
15. ระยะเวลาทำการวิจัย และแผนการดำเนินงานตลอดการวิจัย
ตารางที่ 2 แผนการดำเนินงานตลอดการวิจัย
ระยะเวลาดำเนินการ
ขั้นตอนการดำเนินงาน พ.ศ.2565
พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.เสนอโครงการ
2.ศึกษาข้อมูลเบื้องต้น
3.ออกแบบและสร้าง
4.ทดสอบหาประสิทธิภาพนวัตกรรม
5.นำนวัตกรรมไปใช้งานจริง
6.วิเคราะห์ผลสรุปรายงานการวิจัย
7.เผยแพร่ผลงานและประกวด
8.ถ่ายทอดเทคโนโลยี

16. ปัจจัยที่เอื้อต่อการวิจัย(ถ้ามี)
16.1 หน่วยงานต้นสังกัดมีนโยบายการสนับสนุนการดำเนินการวิจัย
16.2 บุคลากรมีความรู้ความสามารถในการดำเนินการวิจัย

17. งบประมาณของการวิจัย
17.1 งบประมาณทั้งหมด 1,000 บาท
17.2 รายละเอียดงบประมาณค่าใช้จ่าย
ตารางที่ 3 รายละเอียดงบประมาณการวิจัยจำแนกตามงบประเภทต่างๆ
รายการ จำนวนเงิน หมายเหตุ
1. งบบุคลากร -
ค่าจ้างชั่วคราว -
2. งบดำเนินงาน -
2.1 ค่าใช้สอยและวัสดุอุปกรณ์ -
2.1.1 ค่าใช้สอย เช่น -
1) ค่าเข้าเล่ม 200
2.2.1 ค่าวัสดุอุปกรณ์ เช่น -
1) วัสดุสำนักงาน 800
2) หมึกเครื่องพิมพ์ -
3. งบลงทุน -
ค่าครุภัณฑ์ -
รวมงบประมาณที่เสนอขอ 1,000

18. ผลสำเร็จและความคุ้มค่าของโครงการวิจัยที่คาดว่าจะได้รับ
18.1 ผลสำเร็จตามจุดประสงค์ คือ ระบบบริหารจัดการร้านตัดผมออนไลน์

19. โครงการวิจัยนี้หรือส่วนใดส่วนหนึ่งหรืองานวิจัยสืบเนื่องจากนี้ ได้ยื่นเสนอขอรับทุน


หรือได้รับการสนับสนุนจากแหล่งทุนอื่นหรือไม่
 ไม่ได้ยื่นเสนอขอรับทุน
 ยื่นเสนอ โปรดระบุแหล่งทุน …………………................................………
( ) ได้รับการสนับสนุน
( ) ไม่ได้รับการสนับสนุน
( ) ยังไม่ทราบผลการพิจารณา

20. โครงการวิจัยนี้มีการใช้สิ่งมีชีวิตที่มีการดัดแปลงทางพันธุกรรมหรือไม่
 มี  ไม่มี

21. คำชี้แจงอืน่ ๆ (ถ้ามี


-
22. ลงชื่อหัวหน้าทีมวิจัย (นักศึกษา)

(ลงชื่อ).....................................................
(นางสาวอมรลักษณ์ จันผลึก)
วันที่........ เดือน....................... พ.ศ..........

23. ลงชื่อครูที่ปรึกษางานวิจัย

(ลงชื่อ).....................................................
(นางศรีวรรณ ชูมี)
วันที่........ เดือน....................... พ.ศ..........
24. คำรับรองของหัวหน้าแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจและเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
ขอรับรองว่าโครงการวิจัย ระบบบริหารจัดการยืม-คืนอุปกรณ์สันทนาการ
เป็นผลงานของ นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยเทคนิคพัทลุง

(ลงชื่อ).....................................................
(นายเอกชัย เพ็จเซ่ง)
วันที่........ เดือน....................... พ.ศ..........
ส่วน ค : ประวัติคณะผู้วิจัย
นักเรียน นักศึกษา
1. ชื่อ -นามสกุล (ภาษาไทย) นางสาวอมรลักษณ์ จันผลึก
Name – Surname (ภาษาอังกฤษ) Miss Amornluck Janpaluek
2. เลขหมายบัตรประจำตัวประชาชน 1919900309863
3. ระดับการศึกษา  ปวช. ชั้นปีที่....  ปวส. ชั้นปีที่ 2  ทล.บ. ชั้นปีที่
สาขาวิชา เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล สาขางาน ธุรกิจดิจิทัล
ระยะเวลาที่ใช้ทำวิจัย เดือนพฤษภาคม 2565 ถึง เดือนกันยายน 2565
4. ที่อยู่ที่ติดต่อได้สะดวก พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ และไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
(Tel) 0954037314
(e-mail) 64302040047@ptl.ac.th

1. ชื่อ -นามสกุล (ภาษาไทย) นางสาวสูฮัยเฟีย ซำซี


Name – Surname (ภาษาอังกฤษ) Miss Suhyfear Samsee
2. เลขหมายบัตรประจำตัวประชาชน 1939900481194
3. ระดับการศึกษา  ปวช. ชั้นปีที่....  ปวส. ชั้นปีที่ 2  ทล.บ. ชั้นปีที่
สาขาวิชา เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล สาขางาน ธุรกิจดิจิทัล
ระยะเวลาที่ใช้ทำวิจัย เดือนพฤศจิกายน 2564 ถึง เดือนมีนาคม 2565
4. ที่อยู่ที่ติดต่อได้สะดวก พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ และไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
(Tel) 096-8829470
(e-mail) Suhyfearfia@gmail.com

ประวัติครูที่ปรึกษา
1. ชื่อ - นามสกุล (ภาษาไทย) นางศรีวรรณ ชูมี
Name – Surname (ภาษาอังกฤษ) Mrs. Sriwan Choomee
2. เลขหมายบัตรประจำตัวประชาชน 3939900050637
3. ตำแหน่งปัจจุบัน ครูชำนาญการ
4. แผนกวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจและเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
เงินเดือน (บาท) 36,480 บาท
5. หน่วยงานและสถานที่อยู่ที่ติดต่อได้สะดวก พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ โทรสารและ
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) วิทยาลัยเทคนิคพัทลุง
เลขที่ 248 ถนนราเมศวร์ ตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง 93000
6. ประวัติการศึกษา ปริญญาตรี (คอมพิวเตอร์ศึกษา)
7. สาขาวิชาการที่มีความชำนาญพิเศษ ระบบจัดการฐานข้อมูล
8. ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิจัยทั้งภายใน และภายนอกประเทศ
-

1. ชื่อ - นามสกุล (ภาษาไทย) นายเดชาภพ ศรีพิทักษ์


Name – Surname (ภาษาอังกฤษ) Mr. Dachapop Sripitak
2. เลขหมายบัตรประจำตัวประชาชน 1939900172833
3. ตำแหน่งปัจจุบัน ครูจ้างสอน
แผนกวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจและเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
เงินเดือน (บาท) 8,340 บาท
4. หน่วยงานและสถานที่อยู่ที่ติดต่อได้สะดวก พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ โทรสารและ
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) วิทยาลัยเทคนิคพัทลุง เลขที่ 248 ถนนราเมศวร์
ตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง 93000 โทร. : 093-7583408
Email: Birdamppa@gmail.com
5. ประวัติการศึกษา ปริญญาตรี (เทคโนโลยีสารสนเทศ)
6. สาขาวิชาการที่มีความชำนาญพิเศษ การบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
7. ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิจัยทั้งภายใน และภายนอกประเทศ
การวิจัยในขณะศึกษา ระดับปริญญาตรี (เทคโนโลยีสารสนเทศ)

1. ชื่อ - นามสกุล (ภาษาไทย) นายเอกชัย เพ็จเซ่ง


Name – Surname (ภาษาอังกฤษ) Mr. Ekkachai Petseng
2. เลขหมายบัตรประจำตัวประชาชน 3920100884977
3. ตำแหน่งปัจจุบัน ครูชำนาญการพิเศษ
4. แผนกวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจและเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
เงินเดือน (บาท) 32,430 บาท
5. หน่วยงานและสถานที่อยู่ที่ติดต่อได้สะดวก พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ โทรสารและ
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) วิทยาลัยเทคนิคพัทลุง
เลขที่ 248 ถนนราเมศวร์ ตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง 93000
6. ประวัติการศึกษา ปริญญาโท (การบริหารการศึกษา)
7. สาขาวิชาการที่มีความชำนาญพิเศษ การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์แบบไดนามิค
8. ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิจัยทั้งภายใน และภายนอกประเทศ
วิจัยระดับปริญญาโท เรื่อง ความคิดเห็นของผู้เรียนแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจที่มีต่อ
ปัญหาการออกกลางคัน ในวิทยาลัยเทคนิคพัทลุง

You might also like