You are on page 1of 10

วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 พ.ค. - ส.ค.

2554
The Journal of KMUTNB., Vol. 21, No. 2, May. - Aug. 2011

การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย วิชาเขียนแบบวิศวกรรม 1 เรื่องภาพตัด


The Development of Multimedia Computer Lesson
on Engineering Drawing I Course, Section View

ชูชีพ เขียวอุบล1
Choocheep Kheawubon1

บทคัดย่อ Abstract
การวิ จั ย นี้ เ ป็ น การดำเนิ น การพั ฒ นาบทเรี ย น This research has been conducted to develop
คอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย วิชาเขียนแบบวิศวกรรม 1 เรื่อง the multimedia computer lesson on Engineering -
ภาพตัด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบการใช้บทเรียน Drawing I course, Section View. The objectives of
คอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย และประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการ this were to investigate the use of the multimedia
เรี ย นรู้ แ ละศึ ก ษาทั ศ นคติ ข องนั ก ศึ ก ษาสาขาอุ ต สาห-
computer lesson, and to evaluate the learning
กรรมศาสตร์ ที่มีต่อการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ achievement and to study attitudes of industrial
มัลติมีเดียที่พัฒนาขึ้น โดยใช้กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษา students. The sample group consisted of 30
สาขาอุ ต สาหกรรมศาสตร์ จ ำนวน 30 คน ที่ ศึ ก ษา
industrial students who were enrolled in the
ในรายวิ ช าเขี ย นแบบวิ ศ วกรรม 1 คณะเทคโนโลยี
Engineering Drawing I course at the faculty of
และการจัดการอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี Technology and Industrial management, King
พระจอมเกล้าพระนครเหนือ ผลการวิจัยพบว่าภายหลัง Mongkut’s University of Technology North Bangkok.
การเรี ย นรู้ ด้ ว ยบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ มั ล ติ มี เ ดี ย เรื่ อ ง The results of research showed that the learning
ภาพตัด กลุ่มตัวอย่างมีผลการเรียนรู้มากกว่าก่อนเรียน achievement of the sample group improved after the
อย่ า งมี นั ย สำคั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .05 และมี ทั ศ นคติ
experiment with statistical significance at .05 and
ในการเรี ย นรู้ ด้ ว ยการใช้ สื่ อ ดั ง กล่ า วในระดั บ ที่ ดี ม าก
their attitudes were excellent. Based on the research,
จากผลการวิจัยนี้ จึงเสนอแนะให้ผู้สอนในสาขาอุตสาห-
it is recommended that industrial Instructors should
กรรมศาสตร์ ค วรนำบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ มั ล ติ มี เ ดี ย incorporate the multimedia computer lesson, section
เรื่องภาพตัด ไปใช้ในการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้าง view, in their teaching to enhance their students’
ความสามารถในการเรียนรู้ของนักศึกษาต่อไป learning ability.

คำสำคัญ: บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย ภาพตัด Keyword: Multimedia Computer Lesson, Section
ผลสัมฤทธิ์ ทัศนคติ View, Achievement, Attitudes

1
อาจารย์ ภาควิ ช าเทคโนโลยี ก ารออกแบบและผลิ ต เครื่ อ งจั ก รกลอุ ต สาหกรรมเกษตร คณะเทคโนโลยี

และการจัดการอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ Tel. 08-2462-8713,


E-mail: choogreen@gmail.com

รับเมื่อ 30 ธันวาคม 2553 ตอบรับเมื่อ 14 มีนาคม 2554

357
วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 พ.ค. - ส.ค. 2554
The Journal of KMUTNB., Vol. 21, No. 2, May. - Aug. 2011

1. บทนำ ชั่วโมง ประกอบด้วยภาคบรรยาย 2 ชัว่ โมง ภาคปฏิบตั



การเขี ย นแบบและอ่ า นแบบทางวิ ศ วกรรม
2 ชัว ่ โมง และภาคศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง [4],[5]

เป็ น ความรู้ พื้ น ฐานที่ จ ำเป็ น ของวิ ศ วกร เป็ น การใช้


ซึ่งเป็นการส่งเสริมให้นักศึกษาได้ศึกษาทบทวนเพิ่มเติม
แบบสั่งงานในการสื่อสารระหว่างวิศวกร นักออกแบบ
ด้วยตนเองหลังจากเรียนในห้องเรียนให้มากขึ้น
และช่ า งเทคนิ ค ในการปฏิ บั ติ ง านนั้ น จะต้ อ งมี ค วาม ปั จ จุ บั น การใช้ บ ทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ มั ล ติ มี เ ดี ย

เข้ า ใจในแบบสั่ ง งานที่ ต รงกั น ด้ ว ยมาตรฐานต่ า งๆ


ได้ ถู ก นำมาใช้ เ พื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการศึ ก ษาให้

[1] และในกรณี ที่ ร ายละเอี ย ดภายในของแบบสั่ ง งาน


สูงขึ้นในหลายๆ วิชา โดยมีเป้าหมายให้ผู้เรียนได้ใช้
มี ค วามซั บ ซ้ อ นยากต่ อ การอ่ า นแบบลั ก ษณะภายใน
สำหรั บ การเรี ย นรู้ ไ ด้ อ ย่ า งอิ ส ระ ไม่ มี ข้ อ กำหนดใน

ของงานผูเ้ ขียนแบบควรใช้แบบสัง่ งานทีแ่ สดงด้วยภาพตัด เรื่ อ งเวลา สถานที่ แ ละจำนวนครั้ ง ในการเรี ย น มี

(Section - View) เพื่อแสดงรายละเอียดภายในของงาน ปฏิ สั ม พั น ธ์ กั น ระหว่ า งผู้ เ รี ย นและสื่ อ ในลั ก ษณะ

ให้ชัดเจน [2] การตอบคำถามและให้ ผ ลย้ อ นกลั บ (Feedback)

สำหรับการจัดการเรียนการสอนในหัวข้อดังกล่าว อย่างสม่ำเสมอ เป็นรูปแบบหนึ่งของการเรียนโดยยึด

พบว่าเป็นเนือ้ หาทีย่ าก ซับซ้อนต่อการทำความเข้าใจของ ผู้เรียนเป็นสำคัญ (Child-Center) [6] อีกปัจจัยหนึ่ง

นักศึกษา มีผลให้นักศึกษาสาขาอุตสาหกรรมศาสตร์
ที่มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน
ที่ศึกษาในวิชาเขียนแบบเบื้องต้น และวิชาเขียนแบบ ได้แก่ ทัศนคติที่มีต่อวิชาที่เรียน ทัศนคติเป็นสิ่งสำคัญ
เทคโนโลยี 1 ระหว่างปีการศึกษา 2551 ถึงปีการศึกษา 2552 เพราะเป็นพื้นฐานในการกำหนดทิศทางของพฤติกรรม
มีผลการสอบในหัวข้อภาพตัด ได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ มนุษย์ว่าจะไปในทิศทางบวกหรือลบ ดังนั้นถ้านำวิธีการ
68.54 [3] ซึ่งผู้วิจัยได้ทำการพัฒนาการเรียนการสอน สอนที่สามารถสร้างประสบการณ์ ให้เกิดความประทับ
จากเดิ ม ที่ เ ป็ น สื่ อ ภาพนิ่ ง ประกอบคำบรรยายเป็ น สื่ อ ใจในทางบวกก็ จ ะสามารถทำให้ ผู้ เ รี ย นมี ทั ศ นคติ ที่ ดี

ภาพนิ่ ง และภาพเคลื่ อ นไหวที่ ผู้ ส อนสร้ า งขึ้ น ด้ ว ย ต่อการเรียนได้ [7]


โปรแกรมสำเร็ จ รู ป เพื่ อ นำเสนอการตัดชิ้นส่วนอย่าง
จากสภาพปั ญ หาข้ า งต้ น และความก้ า วหน้ า

เป็นลำดับขั้นตอนประกอบคำบรรยายของผู้ ส อน และ ของเทคโนโลยี ท างการศึ ก ษา ประกอบกั บ หลั ก สู ต ร

กำหนดให้มีกิจกรรมของนักศึกษระหว่างบรรยายเพิม่ ขึน้ ที่เน้นให้นักศึกษาได้ศึกษาทบทวนด้วยตนเองหลังจาก


เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้ แต่เนื่องจากมี ขี ด จำกั ด
เรียนในห้องเรียนให้มากขึ้น ผู้วิจัยจึงได้พัฒนาบทเรียน
ด้านการเตรียมสือ่ ภาพนิง่ และภาพเคลือ่ นไหวจำนวนมาก คอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย วิชาเขียนแบบวิศวกรรม 1 เรื่อง
ขีดจำกัดด้านเวลาในการเรียนรูข้ องนักศึกษาในชั้นเรียน ภาพตั ด ขึ้ น โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ พั ฒ นาบทเรี ย น
และขีดจำกัดด้านเวลาในการทบทวนศึกษาด้วยตนเอง คอมพิวเตอร์มัลติมีเดียวิชาเขียนแบบวิศวกรรม 1 เรื่อง
ของนักศึกษา ประกอบกับหลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตร ภาพตัด ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 สำหรับ

บัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเครือ่ งจักรกลเกษตร พ.ศ. 2544 ใช้ เ ป็ น สื่ อ ที่ ส ามารถช่ ว ยให้ นั ก ศึ ก ษาเกิ ด ผลสั ม ฤทธิ์

ได้ มี ก ารปรั บ ปรุ ง หลั ก สู ต รใหม่ โดยวิ ช าเขี ย นแบบ ในการเรียนรู้ พร้อมกับมีทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้ด้วย

เทคโนโลยี 1 ตามหลักสูตรเดิม ได้กำหนดเวลาในการ บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียที่พัฒนาขึ้น


เรียนรู้ไว้ทั้งหมด 4 ชั่วโมง ประกอบด้วยภาคบรรยาย

2 ชั่ ว โมงและภาคปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ส่วนวิชาเขียนแบบ 2. วิธีดำเนินการวิจัย
วิศวกรรม 1 ในหลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต
การวิ จั ย ในครั้ ง นี้ ผู้ วิ จั ย ได้ ใ ช้ ร ะบบการออกแบบ

สาขาวิชาเทคโนโลยีเครือ่ งจักรกลเกษตรหลักสูตรปรับปรุง การสอน ADDIE Model [8] มาพัฒนาการเรียนการสอน


พ.ศ. 2553 ได้กำหนดเวลาในการเรียนรู้ไว้ทั้งหมด 9 โดยมีขั้นตอนดังนี้

358
วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 พ.ค. - ส.ค. 2554
The Journal of KMUTNB., Vol. 21, No. 2, May. - Aug. 2011

2.1 การวิเคราะห์ นั ก ศึ ก ษาแยกแยะความแตกต่ า งและเข้ า ใจความคิ ด

ขั้นตอนนี้เป็นการวิเคราะห์เนื้อหาวิชาเขียนแบบ รวบยอด (Concept) ของเนื้อหาต่างๆ ได้ชัดเจน และมี


วิศวกรรม 1 และวิชาเขียนแบบเบื้องต้น ตามหลักสูตร การกระตุ้นด้วยการใช้สื่อ เช่น ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว
อุ ต สาหกรรมศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าเทคโนโลยี ประกอบเสี ย งและตั ว อั ก ษร ที่ เ รี ย กว่ า สื่ อ ประสม
เครือ่ งจักรกลเกษตร และสาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรม (Multimedia ) นอกจากนี้ ยั ง กำหนดให้ นั ก ศึ ก ษามี
คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัย กิจกรรมร่วมในบทเรียนในหลายลักษณะเช่นการตอบ
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และวิเคราะห์ผล คำถาม การเลือกกิจกรรม และปฏิสัมพันธ์กับบทเรียน
สัมฤทธิ์ในการเรียนของนักศึกษาในหลักสูตรดังกล่าว ทำให้ ผู้ เ รี ย นไม่ รู้ สึ ก เบื่ อ หน่ า ย และเกิ ด การติ ด ตาม

จนถึงการกำหนดหัวข้อที่มีผลสัมฤทธิ์ในการเรียนของ บทเรียนอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะมีการเฉลยคำตอบในแต่ละ


นักศึกษาต่ำ กิจกรรมเป็นข้อมูลย้อนกลับเสมอ ทั้งยังมีแบบฝึกหัด

ให้ ท ดสอบความรู้ ใ หม่ ใ นแต่ ล ะหน่ ว ยของบทเรี ย น ที่


2.2 การออกแบบเครื่องมือในการวิจัย สามารถช่วยให้สรุปความคิดรวบยอดสำหรับนำความรู้
ประกอบด้ ว ยการออกแบบเครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการ ไปประยุกต์ใช้งานได้ต่อไป
วิจัยต่างๆ ดังนี้ 2.2.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
2.2.1 บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย วิชาเขียน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทั้งก่อนและหลังเรียน

แบบวิศวกรรม 1 เรื่องภาพตัด ผู้วิจัยได้ออกแบบสร้างให้เป็นแบบทดสอบแบบคู่ขนาน


การออกแบบบทเรียนนี้ เริม่ จากการกำหนดขอบเขต (Parallel Form) [10] จำนวน 2 ชุด ชุดละ 40 ข้อ โดย
เนื้อหา การกำหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม กิจกรรม เป็นแบบเลือกตอบจำนวน 4 ตัวเลือก ผู้วิจัยดำเนินการ
การเรียน การฝึกทักษะการอ่านแบบและแบบฝึกหัด ออกแบบโดยเริม่ จากการกำหนดโครงสร้างจำนวนข้อสอบ
จำนวนทัง้ หมด 80 ข้อ จากเนือ้ หาทีก่ ำหนดไว้ 11 หน่วย ตามหน่ ว ยบทเรี ย นทั้ ง 11 หน่ ว ย ให้ ค รอบคลุ ม และ
คือ ทฤษฎีเบื้องต้นของภาพตัด ภาพตัดเต็ม ภาพตัด สอดคล้ อ งกั บ วั ต ถุ ป ระสงค์ เ ชิ ง พฤติ ก รรมของแต่ ล ะ
ครึ่ง การแสดงภาพตัดของรูเจาะและเกลียว มาตรฐาน หน่วยบทเรียน ให้มีจำนวนข้อสอบในแบบทดสอบชุดละ
ของภาพตั ด ภาพตั ด ขนาน ภาพตั ด เฉพาะส่ ว น
60 ข้อ [11] จากนั้นทำการตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิง
ภาพตัดหมุนตัว ภาพตัดเคลื่อนตัว ภาพตัดช่วย และ เนือ้ หา (Content - Validity) ของข้อสอบด้วยผูเ้ ชีย่ วชาญ
ภาพตัดย่อส่วน โดยผู้วิจัยได้ทำการออกแบบบทเรียน โดยการพิจารณาจากค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of
ดังกล่าวโดยประยุกต์ใช้กระบวนการเรียนรู้ 9 ขั้นของ
Item Objective Congruence : IOC) เพื่ อ คั ด เลื อ ก
กาเย่ (Robert - Gange') [9] ให้บทเรียนมีส่วนนำที่ ข้ อ สอบที่ มี ค่ า ดั ช นี ค วามสอดคล้ อ งตั้ ง แต่ .60 ขึ้ น ไป
สามารถสื่อถึงเนื้อหาของบทเรียนภายในและมีความ
[10] พร้ อ มหาค่ า ความยากง่ า ย (Difficulty: p) และ

น่าสนใจให้เข้าไปศึกษา โดยก่อนเข้าสู่เนื้อหาได้มีการ ค่ า อำนาจจำแนกของข้ อ สอบ (Discrimination: r)

บอกวั ต ถุ ป ระสงค์ เ ชิ ง พฤติ ก รรมเพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษามี


โดยนำแบบทดสอบทั้ง 2 ชุด ไปทดลองใช้ (Tryout)
เป้าหมายในการเรียน สำหรับการดำเนินกิจกรรมการ [10] กับนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 1 หลักสูตร
เรี ย นรู้ แ ละฝึ ก ทั ก ษะที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เนื้ อ หานั้ น ได้ มี อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรม
การนำเสนอเนื้อหาเรื่องภาพตัดพร้อมกับทบทวนความ (ต่ อ เนื่ อ ง) มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า
รู้ในเรื่องภาพฉาย ซึ่งเป็นความรู้และทักษะพื้นฐานที่ พระนครเหนื อ ในภาคเรี ย นที่ 2 ปี ก ารศึ ก ษา 2552
สำคัญต่อเนื้อหาเรื่องภาพตัดอยู่เสมอ ทั้งยังใช้เทคนิค จำนวน 68 คน ซึ่ ง ผ่ า นการศึ ก ษาวิ ช าเขี ย นแบบ

การให้ ตั ว อย่ า ง (Example) ที่ ต่ า งกั น เพื่ อ ช่ ว ยให้


เบื้องต้นมาแล้ว โดยให้ทำแบบทดสอบชุดที่ 1 จำนวน

359
วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 พ.ค. - ส.ค. 2554
The Journal of KMUTNB., Vol. 21, No. 2, May. - Aug. 2011

34 คน และทำแบบทดสอบชุดที่ 2 จำนวน 34 คน และ 2.3 การพัฒนาเครื่องมือในการวิจัย


หาค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ (Reliability) ของ ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนการเขียนโปรแกรมเพื่อสร้าง
แต่ละชุด ด้วยวิธีของคูเดอร์ริชาร์ดสัน (KR-20) โดยใช้ บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย ตามบทดำเนินเรื่องใน
ผลจากการทดลองใช้ข้อสอบ (Tryout) ที่ได้คัดเฉพาะ ผังดำเนินเรือ่ ง (Storyboard) ทีไ่ ด้ออกแบบไว้ดว้ ยโปรแกรม
ข้อสอบที่มีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาตามเกณฑ์ และมี ต่างๆ ตั้งแต่การเตรียมสื่อแต่ละประเภท เช่นภาพนิ่ง
ค่าความยากง่าย (Difficulty : p) ตั้งแต่ 0.31-0.69 และ ภาพเคลื่ อ นไหว อั ก ษร เสี ย ง แบบฝึ ก หั ด และแบบ
มีค่าอำนาจจำแนก (Discrimination : r) 0.48 - 0.74 ทดสอบท้ า ยบทเรี ย น พร้ อ มเฉลยแบบฝึ ก หั ด และ

[10] มาจำนวน 40 ข้อให้ครบตามโครงสร้างจำนวนข้อสอบ แบบทดสอบท้ า ยบทเรี ย น ตลอดจนเขี ย นโปรแกรม

ที่กำหนดทั้ง 2 ชุด ได้ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ เพื่อนำสื่อต่างๆ มาประสมกันอย่างสอดคล้องเหมาะสม


ชุดที่ 1 และชุดที่ 2 เท่ากับ 0.87 และ 0.81 ตามลำดับ กับการเรียนรู้ จนเป็นบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย
2.2.3 แบบสอบถามทัศนคติที่มีต่อการเรียนด้วย วิชาเขียนแบบวิศวกรรม 1 เรือ่ งภาพตัด โดยเป็นสือ่ ทีม่ ี
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย ความเหมาะสมต่ อ การเรี ย นรู้ จ ากการประเมิ น โดยผู้
ผูว้ จิ ยั ได้ออกแบบสร้างแบบสอบถามประเมินทัศนคติ เชี่ยวชาญจำนวน 5 คน ในระดับที่มีความเหมาะสมมาก
เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ตามวิธี ที่สุด สำหรับใช้ในการเรียนในหัวข้อดังกล่าว ส่วนแบบ
การของลิเคริ์ท (Likert) [12] ซึ่งกำหนดระดับทัศนคติ ทดสอบท้ายบทเรียนนั้นผู้วิจัยได้นำแบบทดสอบทั้ง 2
ไว้ เ ป็ น 5 ระดั บ โดยประเมิ น ทั ศ นคติ ข องนั ก ศึ ก ษา
ชุดมาพัฒนาด้วยการโปรแกรมคำสัง่ ให้เกิดกระบวนการ
3 ด้าน คือ ด้านเนื้อหาและการดำเนินเรื่อง ด้านภาพ
สุม่ ชุดข้อสอบคู่ขนาน และกระบวนการเรียงสับเปลี่ยน
ตัวอักษร ภาษา และเสียง และด้านปฏิสมั พันธ์ของผูเ้ รียน จัดหมวดหมู่ข้อสอบ [13] จากหน่วยบทเรียน 11 หน่วย

กั บ บทเรี ย น จากนั้ น ทำการประเมิ น ความสอดคล้ อ ง ให้เกิดขึ้นภายในชุดข้อสอบคู่ขนาน ซึ่งทำให้ได้จำนวน


ระหว่างดัชนีตัวชี้วัดกับคุณลักษณะแบบประเมิน จาก ชุดข้อสอบมากถึง 79,833,600 ชุด สำหรับใช้เป็นเครือ่ งมือ

ค่ า ดั ช นี ค วามสอดคล้ อ ง (Index of Item Objective ในการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มตัวอย่าง


Congruence : IOC) โดยผู้ เ ชี่ ย วชาญ และทดลองใช้ จำนวนชุดข้อสอบ = 2! × 11!
(Tryout) กับนักศึกษาระดับปริญญาตรีชน ั้ ปีที่ 1 หลักสูตร จำนวนชุดข้อสอบ = 79,833,600 ชุด
อุ ต สาหกรรมศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าการจั ด การ ส่ ว นแบบสอบถามทั ศ นคติ ข องนั ก ศึ ก ษานั้ น ได้
อุ ต สาหกรรม (ต่ อ เนื่ อ ง) มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ทำการจัดพิมพ์เตรียมไว้ เพื่อใช้ในการสอบถามทัศนคติ
พระจอมเกล้าพระนครเหนือ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา ในภายหลังต่อไป
2552 จำนวน 68 คนที่ ท ดลองเรี ย นด้ ว ยบทเรี ย น
คอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแล้ว โดยแบ่งกลุ่มให้ประเมิน 2.4 นำบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียไปใช้งาน
ทั ศ นคติ ข องตนเองที่ มี ต่ อ บทเรี ย น จำนวนกลุ่ ม ละ
ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนการนำเครื่องมือในการวิจัย
34 คน จากนั้ น ผู้ วิ จั ย ได้ น ำข้ อ มู ล มาวิ เ คราะห์ ห าค่ า
ต่ า งๆ ไปใช้ กั บ กลุ่ ม ตั ว อย่ า งที่ เ ป็ น นั ก ศึ ก ษาระดั บ
อำนาจจำแนกของดัชนีชี้วัดแต่ละข้อโดยการทดสอบที ปริญญาตรี สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องจักรกลเกษตร
(t-test) แล้วคัดเลือกข้อทีม ่ นี ยั สำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัย
ขึ้นไปจำนวน 12 ข้อ มาวิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่น
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ภาคเรียนที่ 1 ปี
ของแบบประเมินทัศนคติทั้งฉบับ โดยใช้สัมประสิทธิ์ การศึ ก ษา 2553 ที่ เ รี ย นวิ ช าเขี ย นแบบวิ ศ วกรรม 1
แอลฟาของคอนบราค (α-coefficient) [10] มีความเชือ่ มัน่ จำนวน 30 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง
เป็น 0.89 (Purposive Sampling) ให้เป็นตัวแทนของประชากรที่

360
วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 พ.ค. - ส.ค. 2554
The Journal of KMUTNB., Vol. 21, No. 2, May. - Aug. 2011

รูปที่ 1 โครงสร้างของบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย วิชาเขียนแบบวิศวกรรม 1 เรื่องภาพตัด

เป็ น นั ก ศึ ก ษาสาขาอุ ต สาหกรรมศาสตร์ ที่ ศึ ก ษาใน 3. ผลการวิจัย


รายวิ ช าวิ ศ วกรรมเขี ย นแบบ 1 คณะเทคโนโลยี แ ละ
3.1 ผลการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย
การจั ด การอุ ต สาหกรรม มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี วิชาเขียนแบบวิศวกรรม 1 เรื่องภาพตัด
พระจอมเกล้าพระนครเหนือ 3.1.1 บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียที่พัฒนาขึ้น

361
วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 พ.ค. - ส.ค. 2554
The Journal of KMUTNB., Vol. 21, No. 2, May. - Aug. 2011

รูปที่ 1 แสดงส่วนหน้าของบทเรียน รูปที่ 3 แสดงส่วนหน้าแบบฝึกหัดของบทเรียน



รูปที่ 2 แสดงส่วนหน้าเนื้อหาของบทเรียน รูปที่ 4 แสดงส่วนหน้าแบบทดสอบ



ดังแสดงตัวอย่างในรูปที่ 1 – 4 มีความเหมาะสมต่อการ กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 30 คน และได้ทำการประเมินหา
เรียนรู้จากการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญในระดับความ ประสิทธิภาพ (Efficiency) ของบทเรียนได้ผลดังนี้
เหมาะสมมากที่สุด โดยในด้านวัตถุประสงค์การ
เรียนรู้มีความเหมาะสมมากที่สุด ด้านเนื้อหามี ตารางที่ 1 เปรียบเทียบค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของ
ความเหมาะสมมากที่ สุ ด ด้ า นกิ จ กรรมการ แบบฝึกหัดและแบบทดสอบหลังเรียน
เรียนการสอนมีความเหมาะสมมากที่สุด และ หน่วยที่ N X E1 E2 ประสิทธิภาพ
ด้ า นแบบฝึ ก หั ด และแบบทดสอบประเมิ น ผลมี ค วาม 1-11 E1/E2
เหมาะสมมากที่สุด E1 30 68.60 85.75 - 85.75/83.00

3.1.2 ผลการทดสอบหาประสิทธิภาพของบทเรียน E2 30 33.20 - 83.00

คอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย
หลังจากนำบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย วิชา จากตารางที่ 1 ผลการประเมินหาประสิทธิภาพ
เขียนแบบวิศวกรรม 1 เรื่องภาพตัด ไปทดลองใช้กับ พบว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย วิชาเขียนแบบ

362
วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 พ.ค. - ส.ค. 2554
The Journal of KMUTNB., Vol. 21, No. 2, May. - Aug. 2011

วิศวกรรม 1 เรื่องภาพตัด มีประสิทธิภาพ 85.75/83.00 4. อภิปรายผลและสรุป


ซึ่งประสิทธิภาพที่ได้สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 จากการพั ฒ นาบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ มั ล ติ มี เ ดี ย
วิชาเขียนแบบวิศวกรรม 1 เรื่องภาพตัด เพื่อมุ่งหวัง

3.2 ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ที่จะพัฒนาการเรียนการสอนเรื่องภาพตัด ที่ยากต่อการ


จากการศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ทำความเข้าใจ ซึ่งเห็นได้จากผลสัมฤทธิ์ในการเรียน
โดยให้กลุ่มตัวอย่าง 30 คน ทำแบบทดสอบก่อนเรียน ของนักศึกษาสาขาอุตสาหกรรมศาสตร์ ที่ศึกษาในวิชา
และหลังเรียนได้ผลดังนี้ เขี ย นแบบเบื้ อ งต้ น และวิ ช าเขี ย นแบบเทคโนโลยี 1

ตามหลักสูตรเดิม [4] ระหว่างปีการศึกษา 2551 ถึงปี


ตารางที่ 2 คะแนนเฉลี่ยผลการเรียนรู้ จากการทดสอบ การศึกษา 2552 มีผลการสอบในหัวข้อ ภาพตัด ได้
ก่อนเรียนและการทดสอบหลังเรียน คะแนนเฉลี่ยเพียงร้อยละ 68.54 [3] ให้มีผลสัมฤทธิ์
N X S.D. t ทางการเรียนที่มากขึ้นนั้น สามารถอภิปรายผลและสรุป
ก่อนเรียน 30 19.13 2.08 2.450
ผลการวิจัยได้ดังนี้

หลังเรียน 30 33.20 2.44
4.1 ประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย
จากการวิจัยเพื่ อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

จากตารางที่ 2 ผลการประเมินหาผลสัมฤทธิ์ทาง
พบว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียวิชาเขียนแบบ
การเรี ย นจากการเรี ย นด้ ว ยบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์
วิศวกรรม 1 เรื่องภาพตัด ที่ได้พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ
มั ล ติ มี เ ดี ย วิ ช าเขี ย นแบบวิ ศ วกรรม 1 เรื่ อ งภาพตั ด
85.75/83.00 สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 แสดงให้
พบว่ า ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นระหว่ า งก่ อ นเรี ย น
เห็ น ว่ า บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ มั ล ติ มี เ ดี ย ที่ พั ฒ นาขึ้ น
และหลังเรียนมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทาง สามารถพั ฒ นาผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นในหั ว ข้ อ

สถิ ติ ที่ ร ะดั บ .05 โดยคะแนนเฉลี่ ย หลั ง เรี ย นสู ง กว่ า


ดังกล่าวได้มากขึ้น [10],[14] โดยก่อนที่จะมีการพัฒนา
ก่อนเรียน บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียดังกล่าวขึ้น นักศึกษา

ได้คะแนนเฉลี่ยของการสอบเพียงร้อยละ 68.54 และ


3.3 ผลการศึ ก ษาทั ศ นคติ ข องนั ก ศึ ก ษาที่ มี ต่ อ
เมื่ อ มี ก ารพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียดังกล่าว

บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ มั ล ติ มี เ ดี ย วิ ช าเขี ย นแบบ นักศึกษาที่ใช้สามารถสอบได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 83.00


วิศวกรรม 1 เรื่องภาพตัด ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจากผู้ วิ จั ย ใช้ ร ะบบการออกแบบการสอน
ผลการศึกษาทัศนคติพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีทัศนคติ ADDIE Model [8] มาพัฒนาการสอน และได้ทำการ
ในการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียเรื่อง ออกแบบพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย วิชา
ภาพตัดนี้อยู่ในระดับดีมากมีค่า = 4.70, S.D. = 0.48
เขียนแบบวิศวกรรม 1 เรื่องภาพตัด ดังกล่าวขึ้นมาโดย
และหากพิจารณาด้านต่างๆ พบว่ากลุม่ ตัวอย่างมีทศั นคติ ประยุกต์ใช้กระบวนการเรียนรู้ 9 ขัน้ ของกาเย่ (Robert -
ในด้านเนื้อหาการดำเนินเรื่องของบทเรียนอยู่ในระดับ
Gange') [9] เป็นหลักในการออกแบบพัฒนาสื่อบทเรียน
ดีมากโดยมีคา่ =4.61, S.D.= 0.52 สำหรับทัศนคติในด้าน คอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย สำหรับเนื้อหาบทเรียนได้มีการ
ภาพตัวอักษร ภาษาและเสียงนั้นอยู่ในระดับดีมากโดย
แยกย่อยและเรียงลำดับหน่วยบทเรียนและจัดเรียงลำดับ
มีคา่ =4.75, S.D.=0.45 และทัศนคติในด้านปฏิสมั พันธ์
เนื้อหาภายในแต่ละหน่วยบทเรียนออกอย่างเหมาะสม

ของนั ก ศึ ก ษากั บ บทเรี ย นอยู่ ใ นระดั บ ดี ม ากโดยมี ค่ า


ในแต่ละเนือ้ หาใช้เวลาในการเรียนสั้นๆ ทำให้นักศึกษา

=4.88, S.D.=0.32 ไม่ เ บื่ อ หรื อ เกิ ด ความล้ า ในการเรี ย น โดยในระหว่ า ง

363
วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 พ.ค. - ส.ค. 2554
The Journal of KMUTNB., Vol. 21, No. 2, May. - Aug. 2011

ขั้ น ตอนการเรี ย นรู้ มี กิ จ กรรมหรื อ คำถามที่ ใ ช้ ใ นการ วิศวกรรม 1 เรื่องภาพตัด มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน


ตรวจสอบความก้ า วหน้ า ความเข้ า ใจของนั ก ศึ ก ษา อย่ า งมี นั ย สำคั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .05 ทั้ ง นี้ มี ผ ลจาก

พร้ อ มกั บ มี ก ารแสดงผลการป้ อ นกลั บ (Feedback)


นักศึกษาให้ความสนใจ มีความกระตือรือร้นในการเรียน
การเสริมแรง (Reinforcement) ให้นักศึกษา และจัด ด้ ว ยบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ มั ล ติ มี เ ดี ย เป็ น อย่ า งมาก

ลำดับการเรียนให้นักศึกษาย้อนกลับไปเรียนหน่วยบท นั ก ศึ ก ษาสามารถควบคุ ม การเรี ย นได้ ด้ ว ยตนเอง

เรียนเดิมอีกครั้งเพื่อทบทวนเนื้อหา หรื อ จั ด ลำดั บ ให้


การเรียนผ่านบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบตัว
นักศึกษาข้ามไปยังหน่วยบทเรียนอื่นที่กำหนดไว้ตาม ต่ อ ตั ว กั บ เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ทำให้ นั ก ศึ ก ษาเป็ น ตั ว

ลำดั บ ความก้ า วหน้ า ต่ อ ไป การเรี ย นรู้ ด้ ว ยบทเรี ย น ของตัวเอง ช่วยให้มีความสบายใจไม่กังวลใจในกรณี


คอมพิ ว เตอร์ มั ล ติ มี เ ดี ย ที่ พั ฒ นาขึ้ น ทำให้ นั ก ศึ ก ษา ตอบคำถามผิด ไม่รู้สึกคับข้องใจจากการถูกตำหนิจาก
สามารถควบคุมเวลาเรียนได้ดว้ ยตนเอง ตามความสามารถ ครู ผู้ ส อน [14] มี ก ระบวนการที่ ท ำให้ เ กิ ด ทั ก ษะและ
ในการเรียนรู้ของแต่ละบุคคลที่แตกต่างกัน และสามารถ ความรู้ ใ นการอ่ า นแบบภาพฉายที่ มี ร ายละเอี ย ดของ
ใช้สอนได้ทั้งในเวลาเรียนปกติหรือทบทวนเนื้อหานอก ภาพตั ด จากการทำกิ จ กรรมระหว่ า งเรี ย นและเมื่ อ จบ

เวลาเรียน [9] บทเรียนแล้วก็ยังสามารถทบทวนเนื้อหาที่ยังไม่เข้าใจ


บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ มั ล ติ มี เ ดี ย เรื่ อ งภาพตั ด นี้
ได้ อี ก และหลั ง จากนั ก ศึ ก ษาทำการเรี ย นรู้ ใ นแต่ ล ะ
ได้ จั ด กิ จ กรรมในรู ป ของคำถามแบบเลื อ กตอบ ทั้ ง หน่วยบทเรียน และทำแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน จนได้
แบบข้อคำถามเพือ่ ตรวจสอบความรูค้ วามเข้าใจในเนือ้ หา คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 85.75 ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัย
(Knowledge) หรื อ การอ่ า นแบบภาพโจทก์ ที่ ก ำหนด ของวินสโรว์ [15] เป็นผลทำให้นักศึกษาสามารถทำ

เงื่อนไขไว้ แล้วเลือกภาพคำตอบเพื่อตรวจสอบทักษะ การทดสอบหลั ง จากเรี ย นด้ ว ยบทเรี ย นมั ล ติ มี เ ดี ย

(Skill) ในการอ่านแบบของนักศึกษา เป็นการตรวจปรับ ได้ ค ะแนนเฉลี่ ย ร้ อ ยละ 83.00 ซึ่ ง มากกว่ า คะแนน
ความเข้าใจของนักศึกษาเป็นระยะๆ เมื่อนักศึกษาตอบ ทดสอบก่ อ นเรี ย นที่ ไ ด้ ค ะแนนเฉลี่ ย ร้ อ ยละ 47.82

คำถามจะมี ผ ลป้ อ นกลั บ สู่ ผู้ เ รี ย นเสมอ ทั้ ง ในรู ป การ แสดงให้ เ ห็ น ว่ า บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ มั ล ติ มี เ ดี ย วิ ช า
ชมเชย หรือการอธิบายถึงสาเหตุเมื่อตอบคำถามผิด
เขี ย นแบบวิ ศ วกรรม 1 เรื่ อ งภาพตั ด ช่ ว ยทำให้ เ กิ ด

มี ผ ลให้ นั ก ศึ ก ษามี ค วามเข้ า ใจในเนื้ อ หามากขึ้ น [9]


ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ในเนื้อหาดังกล่าวได้มากขึ้น
ดัง นั้ นบทเรียนคอมพิ วเตอร์มัลติมีเดียวิชาเขียนแบบ
วิ ศ วกรรม 1 เรื่ อ งภาพตั ด นี้ จึ ง สามารถใช้ ส ำหรั บ
4.3 ผลการศึกษาทัศนคติของนักศึกษาในการเรียน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในหัวข้อ ภาพตัดให้ โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย
กับนักศึกษา หรือผู้ที่สนใจ ที่จะนำไปใช้ในการเรียน ผลการศึกษาทัศนคติของนักศึกษาจากการเรียน
การศึ ก ษาหาความรู้ ไ ด้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ทำให้ มี ด้ ว ยบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ มั ล ติ มี เ ดี ย วิ ช าเขี ย นแบบ
ความรู้ในเรื่องการเขียนแบบและการอ่านแบบภาพตัด วิ ศ วกรรม 1 เรื่ อ งภาพตั ด พบว่ า นั ก ศึ ก ษามี ทั ศ นคติ

เพิ่มขึ้นได้จริง ในการเรี ย นด้ ว ยบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ มั ล ติ มี เ ดี ย

ในระดับที่ดีมาก =4.70 โดยมีทัศนคติในด้านเนื้อหา


4.2 ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่าง การดำเนินเรื่องบทเรียนอยู่ในระดับดีมาก = 4.61 มี
ก่อนเรียนกับหลังเรียน ทัศนคติในด้านภาพ ตัวอักษร ภาษา และเสียงในระดับ
จากผลการทำแบบทดสอบก่ อ นเรี ย นและหลั ง ดี ม าก = 4.75 และมี ทั ศ นคติ ใ นด้ า นปฏิ สั ม พั น ธ์
เรียนของนักศึกษากลุ่มตัวอย่าง 30 คน ที่ผ่านการใช้ ระหว่างนักศึกษากับบทเรียนอยูใ่ นระดับดีมาก = 4.88
บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ มั ล ติ มี เ ดี ย วิ ช าเขี ย นแบบ ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากบทเรียนมีการจัดลำดับการนำเสนอเนือ้ หา

364
วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 พ.ค. - ส.ค. 2554
The Journal of KMUTNB., Vol. 21, No. 2, May. - Aug. 2011

และกิจกรรมได้อย่างน่าสนใจ มีการกำหนดให้ทำกิจกรรม 4.5 ข้อเสนอแนะ


ระหว่างบทเรียนช่วยให้เข้าใจในเนื้อหาได้ง่ายขึ้น ก่อนที่ จากการสังเกตพฤติ กรรมของนักศึกษาระหว่าง
จะทำแบบฝึ ก หั ด ท้ า ยบทเรี ย น ที่ เ ปิ ด โอกาสให้ เ รี ย น การเรียนรูพ้ บว่า ความรู้ และทักษะการอ่านแบบภาพฉาย
ทบทวนและทำแบบฝึกหัดได้โดยไม่กำหนดจำนวนครั้ง ของนั ก ศึ ก ษาที่ แ ตกต่ า งกั น เป็ น ปั จ จั ย หนึ่ ง ที่ ท ำให้

ในการเรียนรู้ ซึ่งการทบทวนความรู้และทักษะด้วยการ การเรียนรู้เรื่องภาพตัดเป็นเรื่องที่ยากยิ่งขึ้น ดังนั้นหาก


ทำแบบฝึกหัดทำให้มีความรู้และทักษะที่ทำให้เกิดการ มีผู้สนใจในการทำการวิจัย ในหัวข้อที่ต้องใช้ความรู้หรือ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (Behavior) ของนักศึกษาให้ ทักษะพื้นฐานก่อนหัวข้อหรือเนื้อหาที่จะดำเนินการวิจัย
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมของบทเรียนได้ ควรทำการทดสอบวัดความรู้พื้นฐานที่เป็นปัจจัยสำคัญ
อย่างชัดเจน สำหรับการใช้แบบทดสอบจากการสุ่มแบบ ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในหัวข้อที่จะดำเนินการวิจัย
ทดสอบจากข้อสอบคู่ขนานนั้น ได้รับความยอมรับใน ก่อน และทำการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของคะแนน
ความเป็ น ธรรมในการใช้ วั ด ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น ทดสอบของทั้งสองหัวข้อ จะทำให้สามารถเปรียบเทียบ
สำหรับขนาด สีสัน ของภาพ เสียงบรรยายประกอบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นรายบุคคลได้ เพื่อใช้เป็น
ภาพ และตัวอักษรมีความเหมาะสมชัดเจน และได้มีการ ข้อมูลให้ผู้สอนสามารถเสริมความรู้ให้กับนักศึกษาเป็น
ผสมผสาน สื่ อ ต่ า งๆ ทั้ ง ภาพ เสี ย ง และตั ว อั ก ษร
รายบุคคลได้ถูกต้องมากขึ้น
เข้าด้วยกัน อย่างสอดคล้องสัมพันธ์กันอย่างเหมาะสม นอกจากนี้กิจกรรมการเรียนการสอนที่ออกแบบ
ต่ อ เนื่ อ งทำให้ นั ก ศึ ก ษาสามารถเรี ย นรู้ ไ ด้ ง่ า ย และ
ให้เป็นแบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry) ทีม่ งุ่ ให้นกั ศึกษา
มีความตื่นตัวและสนใจในการเรียนรู้ [9] จึงส่งผลให้
สืบสวนสอบสวนความรู้หรือข้อเท็จจริงด้วยตนเอง ฝึกให้
นั ก ศึ ก ษาสามารถพั ฒ นาการเรี ย นรู้ ใ นวิ ช าเขี ย นแบบ นักเรียนรูจ้ กั คิดหาเหตุผลเพือ่ ฝึกให้นกั ศึกษารูจ้ กั คิดเป็น
วิ ศ วกรรม 1 เรื่ อ งภาพตั ด ให้ นั ก ศึ ก ษามี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ทำเป็ น แก้ ปั ญ หาได้ ด้ ว ยตนเอง ทำให้ นั ก ศึ ก ษาเกิ ด
ทางการเรียนเพิ่มขึ้น ความเชื่อมั่นกล้าแสดงความคิดเห็นอย่างมีอิสระ ผ่าน
คำถามในสือ่ บทเรียนคอมพิวเตอร์มลั ติมเี ดีย ทีน่ กั ศึกษา
4.4 สรุป ต้องวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อเลือกคำตอบ ซึ่งได้รับผล
จากความสำเร็ จ ในการพั ฒ นาผลสั ม ฤทธิ์ ใ น
การตอบคำถามนัน้ ทันที ทำให้นกั ศึกษามีควากระตือรือร้น
การเรียนรู้ในวิชาเขียนแบบวิศวกรรม 1 เรื่องภาพตัด ในการติดตามค้นคว้าความรู้จากเนื้อหาเพื่อทำกิจกรรม
ของนั ก ศึ ก ษาหลั ก สู ต รอุ ต สาหกรรมศาสตรบั ณ ฑิ ต ต่างๆ ในลักษณะของการแข่งขันกับนักศึกษาในชัน้ เรียน
สาขาวิชาเทคโนโลยีเครือ่ งจักรกลเกษตร ด้วยสือ่ บทเรียน ให้ก้าวหน้าตามที่กำหนดไว้อย่างเป็นลำดับ ผู้วิจัยจึง
คอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย วิชาเขียนแบบวิศวกรรม 1 เรื่อง เห็นว่าควรมีการศึกษาวิจยั การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์
ภาพตัดที่ได้พัฒนาขึ้นจนมีประสิทธิภาพ 85.75/83.00 มัลติมีเดีย ในรายวิชาเขียนแบบวิศวกรรม 1 หรือวิชา
และทำให้นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทีม่ ากขึน้ เขียนแบบเบื้องต้นในเรื่องอื่นๆ ทั้งในหลักสูตรระดับ
อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ตลอดจนเป็นสื่อ
ปริญญาบัณฑิตและระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ เช่น
ที่นักศึกษามีทัศนคติในการเรียนรู้ในระดับที่ดีมากนั้น เรือ่ งการอ่านแบบภาพฉาย รวมทัง้ การพัฒนาสือ่ บทเรียน
จึ ง ทำให้ สื่ อ ดั ง กล่ า วนี้ มี ค วามเหมาะสมที่ ผู้ ส อนและ
คอมพิ ว เตอร์ มั ล ติ มี เ ดี ย ที่ มี อั ต ราส่ ว นของกิ จ กรรมใน
ผู้เรียนตลอดจนผู้ที่สนใจศึกษาทบทวนในเรื่องภาพตัดนี้ ลั ก ษณะเกมส์ ต อบคำถามต่ อ กิ จ กรรมทั้ ง หมดภายใน

สามารถนำไปใช้ในการสอนและการเรียนรู้ด้วยตนเอง บทเรียนให้มอี ตั ราส่วนมากขึน้ น่าจะทำให้สามารถพัฒนา

ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดผลสัมฤทธิ์ในการสอน การเรียนการสอนในรายวิชาเขียนแบบวิศวกรรม 1 หรือ


และการเรียนรู้ได้อย่างแท้จริง เขียนแบบเบื้องต้นให้เกิดผลสัมฤทธิ์มากขึ้นได้

365
วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 พ.ค. - ส.ค. 2554
The Journal of KMUTNB., Vol. 21, No. 2, May. - Aug. 2011

เอกสารอ้างอิง and relationship with learning styles, Lincoln :


[1] สภาวิศวกร, ระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกรว่า Nebraska University, 1997.
ด้วยวิชาพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ วิชาพื้นฐานทาง [8] มนต์ ชั ย เที ย นทอง , การออกแบบและพั ฒ นา
ด้านวิศวกรรม และวิชาเฉพาะทางวิศวกรรมที่สภา คอร์ส-แวร์สำหรับบทเรียนคอมพิวเตอร์, พิมพ์ครั้ง
วิศวกรจะให้การรับรองปริญญา ประกาศนียบัตร ที่ 2, กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
วุฒิบัตรในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม, พระนครเหนือ, 2548.
กรุงเทพฯ: สภาวิศวกร, 2552. [9] บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ และคณะ, ความรู้เกี่ยวกับสื่อ
[2] ศิริชัย ต่อสกุล, การเขียนแบบวิศวกรรมพื้นฐาน, มั ล ติ มี เ ดี ย เพื่ อ การศึ ก ษา , กรุ ง เทพฯ: โรงพิ ม พ์

กรุงเทพฯ: บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่นจำกัด (มหาชน), ครุสภา, 2544.


2552. [10] ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ, หลักการวิจัย
[3] คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม, รายการ ทางการศึกษา, กรุงเทพฯ: บริษัทศึกษาพรจำกัด,
บันทึกคะแนนทดสอบวิชาเขียนแบบเทคโนโลยี 1 2538.
และเขียนแบบเบื้องต้น, ปราจีนบุรี: มหาวิทยาลัย
[11] ธีระพล เมธีกุล, ยุทธวิธีการออกแบบข้อสอบ+แบบ
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2551-2552. ฝึ ก หั ด เขี ย นแบบเครื่ อ งกล, กรุ ง เทพฯ: สถาบั น
[4] คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม, คู่มือ เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2533.
หลั ก สู ต รอุ ต สาหกรรมศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช า [12] ธานิ น ทร์ ศิ ล ป์ จ ารุ , การวิ จัยและวิเคราะห์ข้อมูล
เทคโนโลยีเครือ่ งจักรกลอุตสาหกรรมเกษตร, ปราจีนบุร:ี ทางสถิติด้วย SPSS, นนทบุรี: เอส.อาร์.พริ้นติ้ง
สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า พระนครเหนื อ, แมสโปรดักส์จำกัด, 2551.
2544. [13] ทวีชัย เจริญเศรษฐศิลป์, ความน่าจะเป็นและการ
[5] คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม, คู่มือ เรียงสับเปลี่ยน, กรุงเทพฯ: ซัคเซสมีเดีย, 2550.
หลั ก สู ต รอุ ต สาหกรรมศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช า [14] อัญชริกา จันจุฬา, การศึกษาผลสัมฤทธิ์และความ
เทคโนโลยีเครือ่ งจักรกลอุตสาหกรรมเกษตร, ปราจีนบุร:ี พึงพอใจในเรียน โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ,
มีเดีย วิชาภาษาอังกฤษ เรื่องคำศัพท์ ชั้นประถม
2553. ศึกษาปีที่ 6, กรุงเทพฯ: ภาควิชาเทคโนโลยีและ
[6] ถนอมพร เลาหจรัสแสง, คอมพิวเตอร์ช่วยสอน, สื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
กรุงเทพฯ: ภาควิชาโสตทัศนะศึกษา คณะครุศาสตร์ ทักษิณ, 2552.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541. [15] Wilson, James W, Evaluaition of Learning in
[7] Mcdonald, L. Michael, The impact of Multimedia Secondary School Mathematics, USA:
instruction upon student attitude and achievement McGraw- Hill, 1996.

366

You might also like