You are on page 1of 200

คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี

การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป.1
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

• ออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ โดยใช้ มาตรฐานการเรี ยนรู้ และตัวชี้วดั ชั้นปี เป็ นเป้ าหมาย
• ออกแบบการจัดการเรี ยนรู้โดยเน้ นนักเรี ยนเป็ นศูนย์ กลาง
• ใช้ แนวคิด Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรี ยนรู้ ต่าง ๆ อย่ างหลากหลาย
• ออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ เพือ่ พัฒนาสมรรถนะสําคัญของผู้เรี ยนในการสื่อสาร การคิด
การแก้ ปัญหา การใช้ ทกั ษะชีวติ และการใช้ เทคโนโลยี
• แบ่ งแผนการจัดการเรี ยนรู้เป็ นรายชั่วโมง สะดวกในการใช้
• มีองค์ประกอบครบถ้ วนตามแนวทางการจัดทําแผนการจัดการเรี ยนรู้ของสถานศึกษา
• นําไปพัฒนาเป็ นผลงานทางวิชาการเพือ่ เลือ่ นวิทยฐานะได้

ผลิตและจัดจําหน่ายโดย บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

วัฒนาพานิช สํ าราญราษฎร์
216-220 ถนนบํารุ งเมือง แขวงสําราญราษฎร์ เขตพระนคร กรุ งเทพฯ 10200
โทร.02 222 9394 • 02 222 5371-2 FAX 02 225 6556 • 02 225 6557
Email: info@wpp.co.th

คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี

การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป.1

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
สงวนลิขสิ ทธิ์ตามกฎหมาย
ห้ ามละเมิด ทําซํา้ ดัดแปลง เผยแพร่
ส่ วนหนึ่งส่ วนใด เว้ นแต่ จะได้ รับอนุญาต

คณะผู้เขียน
อรุ ณี ลิมศิริ กศ.บ., กศ.ม.
กมลชนก สกาว์วฒั นานนท์ ศษ.บ.
คณะบรรณาธิการ
สุระ ดามาพงษ์ กศ.บ., กศ.ม.
สุดารัตน์ อุน่ เมือง วท.บ., วท.ม.
สกุนา หนูแก้ว วท.บ.

ISBN 978-974-18-5805-7
พิมพ์ที่ บริษัท โรงพิมพ์วฒ
ั นาพานิช จํากัด นายเริงชัย จงพิพฒ
ั นสุ ข กรรมการผู้จดั การ

คํานํา
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 ชุดนี้เป็ นสื่ อการเรี ยนรู ้ที่จดั ทําขึ้น
เพื่อใช้เป็ นแนวทางในการจัดการเรี ยนรู ้ โดยยึดหลักการออกแบบการจัดการเรี ยนรู้แบบ Backward Design ที่เน้น
ผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลาง (Child- Centered) ตามหลักการยึดผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ ส่ งเสริ มให้นกั เรี ยนมีส่วนร่ วมในกิจกรรม
และกระบวนการเรี ยนรู้ สามารถสร้างองค์ความรู ้ได้ดว้ ยตนเอง ทั้งเป็ นรายบุคคลและรายกลุ่ม โดยครู มีบทบาท
หน้าที่ อ าํ นวยความสะดวกให้ นัก เรี ย นประสบผลสําเร็ จ สนับ สนุ น ให้ นัก เรี ย นมี โอกาสฝึ กปฏิ บ ัติ ง านทั้ง ใน
ห้องเรี ยนและนอกห้องเรี ยน สามารถเชื่อมโยงความรู ้ในกลุ่มสาระการเรี ยนรู้อื่น ๆ ได้ในเชิงบูรณาการด้วยวิธีการที่
หลากหลาย เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุ ปความรู้ได้ดว้ ยตนเอง ทําให้นกั เรี ยนได้รับการพัฒนา
สมรรถนะสําคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่หลักสูตรกําหนดนําไปสู่การอยูร่ ่ วมกันในสังคมอย่างสันติสุข
การจัดทําคู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 เล่มนี้ ได้จดั ทําตาม หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่ งครอบคลุมสาระการเรี ยนรู้ ได้แก่ การดํารงชีวิตและครอบครัว
การออกแบบและเทคโนโลยี และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร ภายในเล่มได้นําเสนอแผนการจัดการ
เรี ยนรู ้เป็ นรายชัว่ โมงตามหน่วยการเรี ยนรู ้ เพื่อให้ครู นาํ ไปใช้ในการจัดการเรี ยนรู้ได้สะดวกยิง่ ขึ้น นอกจากนี้ แต่ละ
หน่ วยการเรี ยนรู ้ยงั มีการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ท้ งั 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู ้ ด้านทักษะ/กระบวนการ และ
ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม และ ค่านิยม ทําให้ทราบผลการเรี ยนรู้แต่ละหน่วยการเรี ยนรู้ของนักเรี ยนได้ทนั ที
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ นําเสนอเนื้อหาแบ่งเป็ น 3 ตอน คือ
ตอนที่ 1 คํ า ชี้ แ จงการจั ด แผนการจั ด การเรี ย นรู้ ประกอบด้ว ยแนวทางการใช้แ ผนการจัด การเรี ย นรู้
สัญลักษณ์ลกั ษณะกิจกรรมการเรี ยนรู ้ แนวคิดการออกแบบการเรี ยนรู ้แบบ Backward Design (BwD) เทคนิ คและ
วิธีการจัดการเรี ยนรู้–การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ ตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐานการเรี ยนรู้ และตัวชี้วดั ชั้นปี
และโครงสร้างการแบ่งเวลารายชัว่ โมงในการจัดการเรี ยนรู้
ตอนที่ 2 แผนการจัดการเรี ยนรู้ ได้เสนอแนะแนวทางการจัดการเรี ยนรู้แต่ละหน่ วยการเรี ยนรู้ ในสื่ อการ
เรี ยนรู้ สมบู รณ์ แ บบและหนัง สื อ เรี ย น โดยมี ผ งั มโนทัศ น์ เป้ าหมาย การเรี ย นรู ้ แ ละขอบข่ ายภาระงาน ผังการ
ออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้ และแบ่งเป็ นแผนย่อยรายชัว่ โมง ซึ่ งแผนการจัดการเรี ยนรู้แต่ละแผนมีองค์ประกอบ
ครบถ้วนตามแนวทางการจัดทําแผนการจัดการเรี ยนรู้ของสถานศึกษา
ตอนที่ 3 เอกสาร/ความรู้เสริมสํ าหรับครู ประกอบด้วยแบบทดสอบต่าง ๆ ได้แก่ แบบทดสอบก่อนเรี ยน
และหลังเรี ยน แบบทดสอบกลางปี แบบทดสอบปลายปี แบบประเมิ น ผลงาน แบบประเมิ น พฤติ กรรมและ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ดา้ นต่าง ๆ ของนักเรี ยน และความรู้เสริ มสําหรับครู อาทิ กระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ใช้
ในกลุ่มสาระการงานอาชี พและเทคโนโลยี การจัดการเรี ยนรู ้แบบกลับด้านชั้นเรี ยน (Flipped Classroom) การจัด
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (STEM Education) ซึ่งบันทึกลงในซีดี (CD) เพื่ออํานวยความสะดวกให้แก่ครู หรื อ ผูส้ อน

คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี ป. 1 เล่มนี้ ได้ออกแบบการเรี ยนรู้ ด้วยเทคนิ ค


และวิธีการสอนอย่างหลากหลาย หวังว่าจะเป็ นประโยชน์ต่อการนําไปประยุกต์ใช้ในการ จัดการเรี ยนรู้ให้เหมาะสม
กับสภาพแวดล้อมของนักเรี ยนต่อไป

คณะผู้จดั ทํา

สารบัญ
ตอนที่ 1 คําชี้แจงการจัดแผนการจัดการเรียนรู้..................................................................................................... 1
1. แนวทางการใช้แผนการจัดการเรี ยนรู้..................................................................................................... 2
2. สัญลักษณ์ลกั ษณะกิจกรรมการเรี ยนรู้.................................................................................................... 5
3. การออกแบบการจัดการเรี ยนรู้แบบ Backward Design (BwD).............................................................. 6
4. เทคนิคและวิธีการจัดการเรี ยนรู ้–การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้........................................................ 17
5. ตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐานการเรี ยนรู ้ และตัวชี้วดั ชั้นปี .................................................................. 19
6. โครงสร้างการแบ่งเวลารายชัว่ โมงในการจัดการเรี ยนรู้.......................................................................... 20
ตอนที่ 2 แผนการจัดการเรียนรู้ ........................................................................................................................... 26
แผนปฐมนิเทศ ปฐมนิเทศและข้อตกลงในการเรี ยน............................................................................................. 27
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 การทํางานเพือ่ ช่ วยเหลือตนเอง........................................................................................... 31
ผังมโนทัศน์เป้ าหมายการเรี ยนรู ้และขอบข่ายภาระงาน.............................................................................. 31
ผังการออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้............................................................................................................... 32
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย.................................................................................. 35
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 วิธีการแต่งกายด้วยตนเอง................................................................................. 39
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 การแต่งกายให้เหมาะสมกับฤดูกาล.................................................................. 43
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 การแต่งกายให้เหมาะสมกับโอกาสและสถานที่............................................... 47
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การดูแลรักษาเสื้ อผ้า......................................................................................... 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 การจัดเก็บอุปกรณ์การเรี ยน.............................................................................. 55
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การจัดเก็บของเล่นและของใช้ส่วนตัว.............................................................. 59
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 การจัดโต๊ะ ตู้ และชั้น........................................................................................ 63
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 2 พืชใกล้ตวั ............................................................................................................................ 67
ผังมโนทัศน์เป้ าหมายการเรี ยนรู ้และขอบข่ายภาระงาน............................................................................. 67
ผังการออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้.............................................................................................................. 68
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 รู้จกั พืช............................................................................................................. 70
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 เครื่ องมือดูแลรักษาพืช................................................................................... 74
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 การรดนํ้าต้นไม้.............................................................................................. 78
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 การถอนและเก็บวัชพืช.................................................................................. 83
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 ช่ างประดิษฐ์ น้อย................................................................................................................. 87
ผังมโนทัศน์เป้ าหมายการเรี ยนรู ้และขอบข่ายภาระงาน.............................................................................. 87
ผังการออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้............................................................................................................... 88
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือที่ใช้ทาํ ของเล่น.................................................... 90
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 การพับกระดาษเป็ นของเล่น (1) .................................................................... 94

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 การพับกระดาษเป็ นของเล่น (2)..................................................................... 98


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 การพับกระดาษเป็ นของเล่น (3)..................................................................... 102
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17 การบํารุ งรักษาของเล่น................................................................................... 106
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 4 ข้ อมูลและแหล่งข้ อมูลรอบตัว.............................................................................................. 110
ผังมโนทัศน์เป้ าหมายการเรี ยนรู ้ และขอบข่ายภาระงาน............................................................................ 110
ผังการออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้............................................................................................................... 111
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18 ข้อมูล.............................................................................................................. 113
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 19 ประเภทของข้อมูล.......................................................................................... 117
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20 แหล่งข้อมูลรอบตัว......................................................................................... 121
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 21 อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ....................................................................... 125
ตอนที่ 3 เอกสาร/ความรู้เสริมสํ าหรับครู.............................................................................................................. 130
1. สาระ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วดั ชั้นปี และสาระการเรียนรู้ ……………….……..……………… 131
2. กระบวนการจัดการเรียนรู้……………………………………………………….............................. 133
3 แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio)……………………………………………… ……………………… 141
4. ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้และรูปแบบแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง……….…………… 145
5. ใบความรู้และใบงาน……...…………………………………………………………………………. 147
6. เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้……………………………………...………….. 155
7. แบบบันทึกผลการเรียนรู้..................................................................................................................... 165
8. เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่ านิยม………………………. 167
9. เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะ/กระบวนการ ………………….……………….. 171
10. เครื่องมือประเมินสมรรถนะและภาระงานของนักเรียนโดยใช้ มิตคิ ุณภาพ (Rubrics)........................ 175
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  1

ตอนที่ 1
คําชี้แจงการจัดแผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  2

1. แนวทางการใช้ แผนการจัดการเรียนรู้
คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี ป. 1 เล่มนี้ จัดทําขึ้นเพื่อเป็ นแนวทางให้ครู ใช้
ประกอบการจัดการเรี ยนรู้กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ตามหลักสู ตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่ งการแบ่งหน่วยการเรี ยนรู ้สาํ หรับจัดทําแผนการจัดการเรี ยนรู้
รายชัว่ โมงในคู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้เล่มนี้ แบ่งเนื้ อหาเป็ น 4 หน่ วย สามารถใช้ควบคู่กบั สื่ อการเรี ยนรู้ การ
งานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 และหนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ประกอบด้วยหน่วยการเรี ยนรู ้ ดังนี้
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 การทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเอง
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 2 พืชใกล้ตวั
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 ช่างประดิษฐ์นอ้ ย
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 4 ข้อมูลและแหล่งข้อมูลรอบตัว
แผนการจัดการเรี ยนรู ้เล่มนี้ ได้นาํ เสนอรายละเอียดไว้ครบถ้วนตามแนวทางการจัดทําแผนการจัดการเรี ยนรู้
ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยออกแบบกิจกรรมการเรี ยนการสอนให้นกั เรี ยนได้พฒั นาองค์
ความรู ้ สมรรถนะสําคัญ และคุณ ลักษณะอันพึงประสงค์ไว้อย่างครบถ้วนตามหลักสู ตรแกนกลางการศึ กษาขั้น
พื้ น ฐาน พุ ท ธศัก ราช 2551 ซึ่ งครู ค วรศึ ก ษาแผนการจัด การเรี ย นรู้ น้ ี ให้ ล ะเอี ย ด เพื่ อ ปรั บ ใช้ใ ห้ ส อดคล้อ งกับ
สภาพแวดล้อม สถานการณ์ และสภาพของนักเรี ยน
ในแต่ละหน่วยการเรี ยนรู้จะแบ่งแผนการจัดการเรี ยนรู้ออกเป็ นรายชัว่ โมง ซึ่ งมีจาํ นวนมากน้อยไม่เท่ากัน
ขึ้นอยูก่ บั ความยาวของเนื้อหาสาระและในแต่ละหน่วยการเรี ยนรู้มีองค์ประกอบดังนี้
1. ผั ง มโนทั ศ น์ เป้ าหมายการเรี ย นรู้ แ ละขอบข่ า ยภาระงาน แสดงขอบข่ า ยเนื้ อ หาการจัด การเรี ย นรู้ ที่
ครอบคลุมความรู้ คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม ทักษะ/กระบวนการ และภาระงาน/ชิ้นงาน
2. กรอบแนวคิ ด การออกแบบการจั ด การเรี ย นรู้ แบบ BwD (Backward Design Template) เป็ นผัง แสดง
แนวคิดในการจัดการเรี ยนรู ้ของแต่ละหน่วยการเรี ยนรู้แบ่งเป็ น 3 ขั้น ได้แก่
ขั้นที่ 1 ผลลัพธ์ปลายทางที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรี ยนรู้ซ่ ึ งเป็ นหลักฐานที่ แสดงว่านักเรี ยนมีผลการเรี ยนรู้ตามที่
กําหนดไว้อย่างแท้จริ ง
ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรี ยนรู ้ จะระบุวา่ ในหน่วยการเรี ยนรู้น้ ี แบ่งเป็ นแผนการจัดการเรี ยนรู ้กี่แผน และแต่
ละแผนใช้เวลาในการจัดกิจกรรมกี่ชวั่ โมง
3. แผนการจัดการเรี ยนรู้ เป็ นแผนการจัดการเรี ยนรู ้ตามกรอบแนวคิดการออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้แบบ
BwD ประกอบด้วย
3.1 ชื่ อแผนการจัดการเรี ยนรู้ ประกอบด้วยลําดับที่ของแผน ชื่ อแผน และเวลาเรี ยน เช่น แผนการจัดการ
เรี ยนรู ้ที่ 1 เรื่ อง เสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย เวลา 1 ชัว่ โมง
3.2 สาระสํ าคัญ เป็ นความคิดรวบยอดของเนื้อหาที่นาํ มาจัดการเรี ยนรู้ในแต่ละแผนการจัดการเรี ยนรู้
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  3

3.3 ตัวชี้วัดชั้ นปี เป็ นตัวชี้วดั ที่ใช้ตรวจสอบนักเรี ยนหลังจากเรี ยนจบเนื้ อหาที่นาํ เสนอใน แต่ละแผนการ
จัดการเรี ยนรู ้น้ นั ๆ ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานการเรี ยนรู้ของหลักสูตร
3.4 จุดประสงค์ การเรียนรู้ เป็ นส่วนที่บอกจุดมุ่งหมายที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยนภายหลังจากการเรี ยน
จบในแต่ละแผนการจัดการเรี ยนรู้ ทั้งในด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิ ยม (A) และด้านทักษะ/
กระบวนการ (P) ซึ่งสอดคล้องสัมพันธ์กบั ตัวชี้วดั ชั้นปี และเนื้อหาในแผนการจัดการเรี ยนรู้น้ นั ๆ
3.5 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็ นการตรวจสอบผลการจัดการเรี ยนรู ้วา่ หลังจากจัดการเรี ยนรู้ในแต่
ละแผนการจัดการเรี ยนรู ้แล้ว นักเรี ยนมีพฒั นาการ มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนตามเป้ าหมายที่คาดหวังไว้หรื อไม่ และ
มี สิ่ งที่ จะต้อ งได้รับ การพัฒ นา ปรั บ ปรุ ง หรื อ ส่ งเสริ ม ด้านใดบ้าง ดังนั้น ในแต่ ละแผนการจัด การเรี ย นรู ้ จึง ได้
ออกแบบวิธีการและเครื่ องมือในการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ดา้ นต่าง ๆ ของนักเรี ยนไว้อย่างหลากหลาย เช่น
การทําแบบทดสอบ การตอบคําถามสั้น ๆ การตรวจผลงาน การสังเกตพฤติกรรมทั้งที่เป็ นรายบุคคลและรายกลุ่ม
โดยเน้นการปฏิบตั ิให้สอดคล้องและเหมาะสมกับตัวชี้วดั และมาตรฐานการเรี ยนรู้
วิธีการและเครื่ องมือในการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้เหล่านี้ ครู สามารถนําไปใช้ประเมินนักเรี ยนได้ท้ งั
ในระหว่างการจัดการเรี ยนรู ้และการทํากิจกรรมต่าง ๆ ตลอดจนการนําความรู้ไปใช้ในชีวิตประจําวัน
3.6 สาระการเรี ยนรู้ เป็ นหัวข้อย่อยที่นาํ มาจัดการเรี ยนรู ้ในแต่ละแผนการจัดการเรี ยนรู้ ซึ่ งสอดคล้องกับ
สาระการเรี ยนรู ้แกนกลาง
3.7 แนวทางบูรณาการ เป็ นการเสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ในเรื่ องที่เรี ยนของแต่ละแผน
ให้เชื่ อมโยงสัม พัน ธ์กันกับ กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ อื่ น ๆ ได้แก่ ภาษาไทย คณิ ตศาสตร์ วิท ยาศาสตร์ สังคมศึ กษา
ศาสนา และวัฒ นธรรม สุ ข ศึ กษาและพลศึ กษา ศิ ลปะ และภาษาต่ างประเทศ เพื่ อให้การเรี ยนรู้ สอดคล้องและ
ครอบคลุมสถานการณ์จริ ง
3.8 กระบวนการจัดการเรียนรู้ เป็ นการเสนอแนวทางการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ในเนื้อหาแต่ละเรื่ อง โดยใช้
แนวคิดและทฤษฎีการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ตามความเหมาะสม ทั้งนี้เพื่อให้ครู นาํ ไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนการจัดการ
เรี ยนรู ้ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ซึ่งกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ประกอบด้วย 5 ขั้น ได้แก่
ขั้นที่ 1 ขั้นนําเข้าสู่บทเรี ยน
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุ ป
ขั้นที่ 4 ขั้นฝึ กฝนนักเรี ยน
ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช้
3.9 กิ จ กรรมเสนอแนะ เป็ นกิ จ กรรมเสนอแนะสํา หรั บ ให้ นั ก เรี ย นได้พ ัฒ นาเพิ่ ม เติ ม ในด้า นต่ า ง ๆ
นอกเหนื อจากที่ ได้จดั การเรี ยนรู ้มาแล้วในชัว่ โมงเรี ยน กิ จกรรมเสนอแนะมี 2 ลักษณะ คือ กิ จกรรมสําหรับกลุ่ม
สนใจพิเศษจัดให้แก่ผทู ้ ี่มีความสามารถพิเศษและต้องการศึกษาค้นคว้าในเนื้อหานั้น ๆ ให้ลึกซึ้งกว้างขวางยิง่ ขึ้นและ
กิจกรรมสําหรับฝึ กทักษะเพิ่มเติมจัดให้แก่ผทู ้ ี่ตอ้ งการเรี ยนรู ้ให้ครบตามเป้ าหมาย ซึ่ งมีลกั ษณะเป็ นการซ่ อมเสริ ม
ความรู ้ให้แก่นกั เรี ยน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  4

3.10 สื่ อ /แหล่ งการเรี ย นรู้ เป็ นรายชื่ อ สื่ อ การเรี ย นรู ้ ทุ ก ประเภทที่ ใ ช้ในการจัด การเรี ย นรู ้ ซึ่ งมี ท้ ังสื่ อ
ธรรมชาติ สื่ อสิ่ งพิมพ์ สื่ อเทคโนโลยี และบุคคล เช่นหนังสื อ เอกสารความรู ้ รู ปภาพ เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต ปราชญ์
ชาวบ้าน เป็ นต้น
3.11 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ เป็ นส่วนที่ให้ครู บนั ทึกผลการจัดการเรี ยนรู้วา่ ประสบความสําเร็ จ
หรื อไม่ มีปัญหาหรื ออุปสรรคอะไรเกิดขึ้นบ้าง ได้แก้ไขปั ญหาและอุปสรรคนั้นอย่างไร และข้อเสนอแนะสําหรับ
การจัดการเรี ยนรู้ครั้งต่อไป
นอกจากนี้ยงั อํานวยความสะดวกให้ครู โดยจัดทําแบบทดสอบ แบบประเมินผลงาน แบบประเมินพฤติกรรม
ด้านต่าง ๆ ของนักเรี ยน และความรู้เสริ มสําหรับครู บนั ทึกลงในซีดี (CD) ประกอบด้วย
1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เป็ นแบบทดสอบเพื่อใช้วดั และประเมินผลนักเรี ยนก่อนการจัดการ
เรี ยนรู ้และหลังการจัดการเรี ยนรู ้
2. แบบทดสอบกลางปี และปลายปี เป็ นแบบทดสอบเพื่อใช้วดั และประเมินผลการเรี ยนรู้ของนักเรี ยนในช่วง
กลางปี และปลายปี ซึ่งประเมินผล 3 ด้าน ได้แก่
1) ด้านความรู้ มีแบบทดสอบทั้งที่เป็ นแบบปรนัยและอัตนัย
2) ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม เป็ นตารางประเมิน
3) ด้านทักษะ/กระบวนการ เป็ นตารางประเมิน
3. แบบประเมินผลการจัดกิจกรรมต่ าง ๆ เช่น แบบจัดอันดับคุณภาพ แบบประเมินผลงาน แบบบันทึกความรู้
4. ความรู้เสริมสํ าหรับครู เป็ นการนําเสนอความรู้ในเรื่ องต่าง ๆ แก่ครู เช่น
1) หลักการจัดทําแฟ้ มสะสมผลงาน (Portfolio) และวิธีการคัดเลือกผลงานเพื่อเก็บในแฟ้ มสะสมผลงาน
2) ความรู ้เรื่ องโครงงาน
3) การจัดการเรี ยนรู้แบบกลับด้าน (Flipped Classroom)
5. แบบฟอร์ มโครงสร้ างแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ออกแบบการเรี ยนรู้แบบ Backward Design
ครู ควรศึ กษาแผนการจัดการเรี ยนรู้ เพื่ อเตรี ยมการสอนอย่างมี ป ระสิ ทธิ ภาพ จัดกิ จกรรมให้นักเรี ยนได้
พัฒนาครบทุกสมรรถนะสําคัญที่กาํ หนดไว้ในหลักสูตร ได้แก่ สมรรถนะในการสื่ อสาร การคิดการแก้ปัญหา การ
ใช้ทกั ษะชีวติ และการใช้เทคโนโลยีรวมถึงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมเสนอแนะเพื่อการเรี ยนรู้เพิ่มเติม
ให้เต็มตามศักยภาพของนักเรี ยนแต่ละคนซึ่งได้กาํ หนดไว้ในแผนการจัดการเรี ยนรู ้น้ ีแล้ว
นอกจากนี้ ครู สามารถปรั บ ปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ให้สอดคล้องกับ สภาพความพร้ อ มของนักเรี ย น
และสถานการณ์ เฉพาะหน้า ซึ่ งจะใช้เป็ นผลงานเพื่อเลื่อนวิทยฐานะได้ แผนการจัดการเรี ยนรู้ น้ ี ได้อาํ นวยความ
สะดวกให้แก่ครู โดยจัดพิมพ์โครงสร้างแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้แบบ Backward Design
เพื่อให้ครู เพิ่มเติมเฉพาะส่วนที่สามารถปรับปรุ งเองได้ไว้ดว้ ยแล้ว
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  5

2. สั ญลักษณ์ ลกั ษณะกิจกรรมการเรียนรู้

สัญ ลักษณ์ ล กั ษณะกิ จกรรมการเรี ย นรู ้ เป็ นเครื่ อ งหมายที่ ป รากฏอยู่ในสื่ อ การเรี ย นรู ้ การงานอาชี พ และ
เทคโนโลยีสมบูรณ์ แบบ และแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้น ฐาน การงานอาชี พและเทคโนโลยีทุ กเล่ม โดยกําหนด
สัญ ลักษณ์ กาํ กับ กิ จกรรมการเรี ยนรู ้ไว้ทุ กกิ จกรรม เพื่อช่ วยให้ครู และนักเรี ยนทราบลักษณะที่ ต้องการเน้นของ
กิจกรรมนั้น ๆ เพื่อที่จะจัดกิจกรรมให้บรรลุเป้ าหมาย สัญลักษณ์ลกั ษณะกิจกรรมการเรี ยนรู ้มีดงั นี้
1. สัญลักษณ์ หลักของกลุ่มสาระการเรี ยนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี 
โครงงาน เป็ นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาการคิด การวางแผน และการแก้ปัญหา

การพัฒนากระบวนการคิด เป็ นกิจกรรมที่กาํ หนดให้นกั เรี ยนได้ใช้กระบวนการคิด เพื่อเพิ่มพูนทักษะ


การคิดด้านต่าง ๆ ของตนเอง
การประยุ ก ต์ ใช้ ในชี วิต ประจํ าวัน เป็ นกิ จกรรมที่ ก าํ หนดให้นัก เรี ย นนําความรู้ แ ละทัก ษะไปใช้
แก้ปัญหาในสถานการณ์จริ งในชีวิตประจําวัน
การปฏิบัตจิ ริง/ ฝึ กทักษะ เป็ นกิจกรรมที่กาํ หนดให้นกั เรี ยนได้ ฝึ กปฏิบตั ิเพื่อให้เกิดทักษะ ซึ่งจะช่วย
ให้การเรี ยนรู้เป็ นไปตามเป้ าหมายและเกิดความเข้าใจที่คงทน
ความคิดสร้ างสรรค์ เป็ นกิจกรรมที่กาํ หนดให้นกั เรี ยนได้พฒั นาความคิดสร้างสรรค์ลกั ษณะต่าง ๆ
ได้แก่ ความคิดริ เริ่ ม ความคล่องในการคิด ความยืดหยุน่ ในการคิด และความคิดละเอียดลออ

2. สัญลักษณ์ เสริ มของกลุ่มสาระการเรี ยนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี

การทําประโยชน์ ในสั งคม เป็ นกิจกรรมที่กาํ หนดให้นกั เรี ยนนําความรู ้ไปปฏิบตั ิในการทําประโยชน์
แก่ส่วนรวม เพื่อให้อยูร่ ่ วมกันในสังคมอย่างมีความสุ ข
การศึกษาค้ นคว้า/ สื บค้ น เป็ นกิจกรรมที่กาํ หนดให้นกั เรี ยนศึกษาค้นคว้าหรื อสื บค้นข้อมูล
จากการแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ เพื่อสร้างองค์ความรู ้ดว้ ยตนเอง

การสํ ารวจ เป็ นกิจกรรมที่กาํ หนดให้นกั เรี ยนสํารวจและรวบรวมข้อมูลเพื่อนํามาศึกษา วิเคราะห์


หาเหตุ หาผล และสรุ ปข้อมูล เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ดว้ ยตนเอง

การสั งเกต เป็ นกิจกรรมที่กาํ หนดให้นกั เรี ยนรู ้จกั สังเกตสิ่ งที่ตอ้ งการเรี ยนรู้จนสามารถ
สร้างองค์ความรู ้ได้อย่างเป็ นระบบและมีเหตุผล
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  6

ทักษะการพูด เป็ นกิจกรรมที่กาํ หนดให้นกั เรี ยนได้พฒั นาทักษะการพูดประเภทต่าง ๆ

กิจกรรมสํ าหรับกลุ่มพิเศษ เป็ นกิจกรรมสําหรับให้นกั เรี ยนใช้พฒั นาการเรี ยนรู้เพื่อเติมเต็มศักยภาพ


การเรี ยนรู ้ของตนเอง

กิจกรรมสํ าหรับซ่ อมเสริม เป็ นกิจกรรมสําหรับให้นกั เรี ยนใช้เรี ยนซ่อมเสริ มเพื่อให้เกิดการเรี ยนรู ้
ตามตัวชี้วดั ชั้นปี

3. การออกแบบกาจัดการเรียนรู้ แบบ Backward Design (BwD)

การจัดการเรี ยนรู ้หรื อการสอนเป็ นงานที่ ครู ทุกคนต้องใช้กลวิธีต่าง ๆ มากมายเพื่อให้นักเรี ยนสนใจที่ จะ


เรี ย นรู้ แ ละเกิ ด ผลตามที่ ค รู ค าดหวัง การจัด การเรี ย นรู้ จดั เป็ นศาสตร์ ที่ ต้อ งใช้ค วามรู้ ความสามารถ ตลอดจน
ประสบการณ์อย่างมาก ครู บางคนอาจจะละเลยเรื่ องของการออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้หรื อการออกแบบการสอน
ซึ่งเป็ นงานที่ครู จะต้องทําก่อนการเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ทําอย่ างไร ทําไมจึงต้ องออกแบบการจัดการเรียนรู้
ครู ทุกคนผ่านการศึกษาและได้เรี ยนรู ้เกี่ยวกับการออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้มาแล้ว ในอดีตการออกแบบการ
จัดการเรี ยนรู้จะเริ่ มต้นจากการกําหนดจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ การวางแผนการจัดการเรี ยนรู ้ การดําเนิ นการจัดการ
เรี ย นรู้ และการวัด และประเมิ น ผลการเรี ย นรู้ ปั จจุ บัน การเรี ย นรู้ ไ ด้มี ก ารเปลี่ ย นแปลงไปตามสภาพแวดล้อ ม
เศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เข้ามามีบทบาทต่อการเรี ยนรู้ของ
นักเรี ยน ซึ่ งนักเรี ยนสามารถเรี ยนรู ้ได้จากสื่ อและแหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ ที่ มีอยู่รอบตัว ดังนั้น การออกแบบการ
จัดการเรี ยนรู ้จึงเป็ นกระบวนการสําคัญที่ครู จาํ เป็ นต้องดําเนินการให้เหมาะสมกับศักยภาพของนักเรี ยนแต่ละคน
วิกกิ นส์ และแมกไท นักการศึ กษาชาวอเมริ กันได้เสนอแนวคิ ดเกี่ ยวกับ การออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้ ที่
เรี ยกว่า Backward Design ซึ่ งเป็ นการออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ที่ครู จะต้องกําหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ตอ้ งการให้
เกิดขึ้นกับนักเรี ยนก่อน โดยทั้งสองให้ชื่อว่า ความเข้าใจที่คงทน (Enduring Understandings) เมื่อกําหนดความเข้าใจ
ที่คงทนได้แล้ว ครู จะต้องบอกให้ได้ว่าความเข้าใจที่คงทนของนักเรี ยนนี้เกิดจากอะไร นักเรี ยนจะต้องมีหรื อแสดง
พฤติกรรมอะไรบ้าง ครู มีหรื อใช้วิธีการวัดอะไรบ้างที่จะบอกว่านักเรี ยนมีหรื อแสดงพฤติกรรมเหล่านั้นแล้ว จากนั้น
ครู จึงนึกถึงวิธีการจัดการเรี ยนรู ้ที่จะทําให้นกั เรี ยนเกิดความเข้าใจที่คงทนต่อไป
แนวคิด Backward Design
Backward Design เป็ นการออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ที่ใช้ผลลัพธ์ปลายทางเป็ นหลัก ซึ่ งผลลัพธ์ปลายทางนี้
จะเกิดขึ้นกับนักเรี ยนก็ต่อเมื่อจบหน่วยการเรี ยนรู ้ ทั้งนี้ ครู จะต้องออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ โดยใช้กรอบความคิดที่
เป็ นเหตุเป็ นผลและมีความสัมพันธ์กนั จากนั้นจึงจะลงมือเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้และขยายรายละเอียดเพิ่มเติม
ให้มีคุณภาพและประสิ ทธิภาพต่อไป
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  7

กรอบความคิดหลักของการออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ Backward Design มีข้ นั ตอนหลักที่สาํ คัญ 3 ขั้น คือ


ขั้นที่ 1 กําหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กําหนดภาระงานและการประเมินผลการเรี ยนรู ้ซ่ ึงเป็ นหลักฐานที่แสดงว่านักเรี ยนมีผลการเรี ยนรู้
ตามที่กาํ หนดไว้อย่างแท้จริ ง
ขั้นที่ 3 วางแผนการจัดการเรี ยนรู้
ขั้นที่ 1 กําหนดผลลัพธ์ ปลายทางที่ต้องการให้ เกิดขึน้ กับนักเรียน
ก่อนที่จะกําหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยนนั้น ครู ควรตอบคําถามสําคัญต่อไปนี้
– นักเรี ยนควรจะมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถทําสิ่ งใดได้บา้ ง
– เนื้ อ หาสาระใดบ้างที่ มี ค วามสําคัญ ต่ อ การสร้ า งความเข้าใจของนัก เรี ย นและความเข้าใจที่ ค งทน
(Enduring Understandings) ที่ครู ตอ้ งการจัดการเรี ยนรู ้ให้แก่นกั เรี ยนมีอะไรบ้าง
เมื่อจะตอบคําถามสําคัญดังกล่าวข้างต้น ให้ครู นึกถึงเป้ าหมายของการศึกษา มาตรฐานการเรี ยนรู ้ดา้ นเนื้อหา
ระดับชาติที่ปรากฏอยู่ในหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 รวมทั้งมาตรฐานการเรี ยนรู้
ระดับเขตพื้นที่การศึกษาหรื อท้องถิ่น
การทบทวนความคาดหวังของหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เนื่ องจากมาตรฐานแต่ละระดับจะมี
ความสัมพันธ์กบั เนื้ อหาสาระต่าง ๆ ซึ่ งมี ความแตกต่างลดหลัน่ กันไป ด้วยเหตุน้ ี ขั้นที่ 1 ของ Backward Design
ครู จึงต้องจัดลําดับความสําคัญและเลือกผลลัพธ์ปลายทางของนักเรี ยน ซึ่ งเป็ นผลการเรี ยนรู ้ที่เกิดจากความเข้าใจที่
คงทนต่อไป
ความเข้ าใจที่คงทนของนักเรียน
ความเข้าใจที่คงทนคืออะไร ความเข้าใจที่คงทนเป็ นความรู ้ที่ลึกซึ้ง ได้แก่ ความคิดรวบยอด ความสัมพันธ์
และหลักการของเนื้อหาและวิชาที่นกั เรี ยนเรี ยนรู ้ หรื อกล่าวอีกนัยหนึ่งเป็ นความรู ้ที่อิงเนื้อหา ความรู ้น้ ีเกิดจากการ
สะสมข้อมูลต่าง ๆ ของนักเรี ยนและเป็ นองค์ความรู ้ที่นกั เรี ยนสร้างขึ้นด้วยตนเอง
การเขียนความเข้ าใจที่คงทนในการออกแบบการจัดการเรียนรู้
ถ้าความเข้าใจที่คงทนหมายถึงสาระสําคัญของสิ่ งที่จะ เรี ยนรู ้แล้ว ครู ควรจะรู ้ว่าสาระสําคัญหมายถึงอะไร
คําว่า สาระสําคัญ มาจากคําว่า Concept ซึ่งนักการศึกษาของไทยแปลเป็ นภาษาไทยว่า สาระสําคัญ ความคิดรวบยอด
มโนทัศน์ มโนมติ และสังกัป ซึ่งการเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้นิยมใช้คาํ ว่า สาระสําคัญ
สาระสําคัญ เป็ นข้อ ความที่ แสดงแก่ นหรื อเป้ าหมายเกี่ ยวกับ เรื่ อ งใดเรื่ องหนึ่ ง เพื่อ ให้ได้ขอ้ สรุ ปรวมและ
ข้อแตกต่างเกี่ ยวกับเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ ง โดยอาจครอบคลุมข้อเท็จจริ ง กฎ ทฤษฎี ประเด็น และการสรุ ปสาระสําคัญ
และข้อความที่มีลกั ษณะรวบยอดอย่างอื่น
ประเภทของสาระสําคัญ
1. ระดับกว้าง (Broad Concept)
2. ระดับการนําไปใช้ (Operative Concept หรื อ Functional Concept)
ตัวอย่ างสาระสําคัญระดับกว้ าง
– การแต่งกายที่ดีควรแต่งกายให้เหมาะสมกับสภาพอากาศ
– ข้อมูลมีหลายประเภทและอยูใ่ นรู ปแบบที่แตกต่างกัน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  8

ตัวอย่ างสาระสําคัญระดับนําไปใช้
– การแต่งกายที่ดีควรแต่งกายให้เหมาะสมกับอากาศในฤดูกาลต่าง ๆ ได้แก่ ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว
– ข้อมูลมี 4 ประเภท ได้แก่ ข้อมูลภาพ ข้อมูลตัวอักษร ข้อมูลเสี ยง และข้อมูลตัวเลข
แนวทางการเขียนสาระสํ าคัญ
1. ให้เขียนสาระสําคัญของทุกเรื่ อง โดยแยกเป็ นข้อ ๆ (จํานวนข้อของสาระสําคัญจะเท่ากับจํานวนเรื่ อง)
2. การเขียนสาระสําคัญที่ดีควรเป็ นสาระสําคัญระดับการนําไปใช้
3. สาระสําคัญต้องครอบคลุมประเด็นสําคัญครบถ้วน เพราะหากขาดส่วนใดไปแล้วจะทําให้นกั เรี ยนรับ
สาระสําคัญที่ผดิ ไปทันที
4. การเขียนสาระสําคัญที่จะให้ครอบคลุมประเด็นสําคัญวิธีการหนึ่งคือ การเขียนแผนผังสาระสําคัญ
ตัวอย่างการเขียนแผนผังสาระสํ าคัญ
ความหมายและลักษณะของ
ข้อมูลที่เป็ นข้อข้มูอลมูภาพ
ลตัวเลข
ข้ อมูลภาพ
ตัวอย่างของข้อมูลที่เป็ น
ข้อมูลภาพ

ความหมายและลักษณะของ
ข้ อมูลตัวอักษร ข้อมูลที่เป็ นข้อมูลตัวอักษร

ตัวอย่างของข้อมูลที่เป็ น
ประเภทของ ข้อมูลตัวอักษร

ความหมายและลักษณะของ
ข้ อมูลตัวเลข ข้อมูลที่เป็ นข้อมูลตัวเลข

ตัวอย่างของข้อมูลที่เป็ น
ข้อมูลตัวเลข
ความหมายและลักษณะของ
ข้อมูลที่เป็ นข้อมูลเสี ยง
ข้ อมูลเสี ยง
ตัวอย่างของข้อมูลที่เป็ น
ข้อมูลเสี ยง

สาระสําคัญของประเภทของข้ อมูล: ประเภทของข้อมูลแบ่งเป็ น 4 ประเภท ได้แก่ ข้อมูลภาพ ข้อมูลตัวอักษร


ข้อมูลตัวเลข และข้อมูลเสี ยง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  9

5. การเขียนสาระสําคัญเกี่ยวกับเรื่ องใดควรเขียนลักษณะเด่นที่มองเห็นได้หรื อนึ กได้ออกมาเป็ นข้อ ๆ แล้ว


จําแนกลักษณะเหล่านั้นเป็ นลักษณะจําเพาะและลักษณะประกอบ
6. การเขียนข้อความที่เป็ นสาระสําคัญ ควรใช้ภาษาที่มีการขัดเกลาอย่างดี เลี่ยงคําที่มีความหมายกํากวมหรื อ
ฟุ่ มเฟื อย
ตัวอย่างการเขียนสาระสํ าคัญ เรื่อง ไม้ ดอก
ไม้ดอก ลักษณะจําเพาะ ลักษณะประกอบ
เป็ นพืช - 
มีดอกสวยงาม  -
มีลาํ ต้ นสวยงาม  -
มีกลิน่ หอม - 

สาระสํ าคัญของไม้ ดอก ไม้ดอกเป็ นพืชที่มีดอกและลําต้นสวยงาม ไม้ดอกบางชนิ ดมีกลิ่นหอมและบางชนิ ด


ไม่มีกลิ่น
ขั้นที่ 2 กําหนดภาระงาน และ การประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็ นหลักฐานที่แสดงว่ านักเรียนมีผลการเรียนรู้
ตามที่กาํ หนดไว้ อย่ างแท้ จริง
เมื่อครู กาํ หนดผลลัพธ์ปลายทางที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยนแล้ว ก่อนที่จะดําเนิ นการขั้นต่อไปขอให้ครู
ตอบคําถามสําคัญต่อไปนี้
– นักเรี ยนมี พฤติกรรมหรื อแสดงออกในลักษณะใด จึ งทําให้ครู ทราบว่า นักเรี ยนบรรลุ ผลลัพธ์ปลายทาง
ตามที่กาํ หนด ไว้แล้ว
– ครู มี ห ลัก ฐานหรื อ ใช้วิธี ก ารใดที่ ส ามารถระบุ ไ ด้ว่า นัก เรี ยนมี พ ฤติ ก รรมหรื อ แสดงออกตามผลลัพ ธ์
ปลายทางที่กาํ หนดไว้
การออกแบบการจัด การเรี ย นรู ้ ต ามแนวคิ ด Backward Design เน้ น ให้ ค รู รวบรวมหลัก ฐานการวัด และ
ประเมินผลการเรี ยนรู้ที่จาํ เป็ นและมีหลักฐานเพียงพอที่จะกล่าวได้วา่ การจัดการเรี ยนรู้ทาํ ให้นกั เรี ยนเกิดผลสัมฤทธิ์
แล้ว ไม่ ใช่ เรี ยนแค่ ให้จบตามหลักสู ตรหรื อ เรี ย นตามชุ ดของกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ ที่ ค รู ก าํ หนดไว้เท่ านั้น วิธีการ
Backward Design ต้อ งการกระตุ ้น ให้ ค รู คิ ด ล่ ว งหน้ าว่า ครู ค วรจะกํา หนดและรวบรวมหลัก ฐานเชิ ง ประจัก ษ์
อะไรบ้างก่อนที่จะออกแบบหน่วยการเรี ยนรู ้โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลักฐานดังกล่าวควรจะเป็ นหลักฐานที่สามารถใช้
เป็ นข้อ มู ล ย้อ นกลับ ที่ มี ป ระโยชน์ สํ าหรั บ นัก เรี ย นและครู ไ ด้เป็ นอย่า งดี นอกจากนี้ ครู ค วรใช้วิ ธี ก ารวัด และ
ประเมิ นผลแบบต่อเนื่ องอย่างไม่เป็ นทางการและเป็ นทางการตลอดระยะเวลาที่ ครู จดั กิ จกรรมการเรี ยนรู ้ให้แก่
นักเรี ยน ซึ่ งสอดคล้องกับแนวคิดที่ตอ้ งการให้ครู ทาํ การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ระหว่างการจัดกิ จกรรมการ
เรี ยนรู ้ที่เรี ยกว่า สอนไปวัดผลไป
จึ งกล่าวได้ว่า ขั้นนี้ ครู ควรนึ กถึ งพฤติกรรมหรื อการแสดงออกของนักเรี ยน โดยพิจารณาจากผลงานหรื อ
ชิ้นงานที่เป็ นหลักฐานเชิงประจักษ์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่านักเรี ยนเกิดผลลัพธ์ปลายทางตามเกณฑ์ที่กาํ หนดไว้แล้ว และ
เกณฑ์ที่ใช้ประเมินควรเป็ นเกณฑ์คุณภาพในรู ปของมิติคุณภาพ (Rubrics) อย่างไรก็ตาม ครู อาจจะมีหลักฐานหรื อใช้
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  10

วิธีการอื่ น ๆ เช่ น การทดสอบก่ อนเรี ยนและหลังเรี ยน การสัมภาษณ์ การศึ กษาค้นคว้า การฝึ กปฏิ บ ตั ิ ข ณะเรี ยน
ประกอบด้วยก็ได้
การกําหนดภาระงานและการประเมินผลการเรี ยนรู้ ซึ่งเป็ นหลักฐานที่แสดงว่ านักเรียนมีผลการเรียนรู้ ตาม
ผลลัพธ์ ปลายทางที่กาํ หนดไว้แล้ว
หลังจากที่ครู ได้กาํ หนดผลลัพธ์ปลายทางที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยนแล้ว ครู ควรกําหนดภาระงานและ
วิธีการประเมินผลการเรี ยนรู้ ซึ่ งเป็ นหลักฐานที่แสดงว่านักเรี ยนมีผลการเรี ยนรู ้ตามผลลัพธ์ปลายทางที่กาํ หนดไว้
แล้ว
ภาระงาน หมายถึง งานหรื อกิ จกรรมที่ กาํ หนดให้นักเรี ยนปฏิบตั ิ เพื่อให้บรรลุตามจุดประสงค์การเรี ยนรู้ /
ตัวชี้ วดั ชั้นปี /มาตรฐานการเรี ยนรู้ที่กาํ หนดไว้ ลักษณะสําคัญของงานจะต้องเป็ นงานที่ สอดคล้องกับชี วิตจริ งใน
ชีวิตประจําวัน เป็ นเหตุการณ์จริ งมากกว่ากิจกรรมที่จาํ ลองขึ้นเพื่อใช้ในการทดสอบ ซึ่งเรี ยกว่า งานที่ปฏิบตั ิเป็ นงาน
ที่มีความหมายต่อนักเรี ยน (Meaningful Task) นอกจากนี้ งานและกิจกรรมจะต้องมีขอบเขตที่ชดั เจน สอดคล้องกับ
จุดประสงค์การเรี ยนรู ้/ตัวชี้วดั ชั้นปี /มาตรฐานการเรี ยนรู ้ที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยน
ทั้งนี้ เมื่อได้ภาระงานครบถ้วนตามที่ตอ้ งการแล้ว ครู จะต้องนึกถึงวิธีการและเครื่ องมือวัดและประเมินผลการ
เรี ยนรู ้ของนักเรี ยนที่มีอยูม่ ากมายหลายประเภท ซึ่งครู จะต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับภาระงานที่นกั เรี ยนปฏิบตั ิ
ตัวอย่างภาระงานเรื่ อง การแต่งกายให้เหมาะสมกับฤดูกาล รวมทั้งการกําหนดวิธีการวัดและประเมินผลการ
เรี ยนรู ้ของนักเรี ยน (ดังตาราง)
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  11

ตัวอย่ าง ภาระงาน/ผลงาน แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การแต่ งกายให้ เหมาะสมกับฤดูกาล

สาระที่ 1 การดํารงชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน ง 1.1


จุดประสงค์ สาระ ภาระงาน/ การวัดและประเมินผล
กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้
การเรียนรู้ การเรียนรู้ ผลงาน วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
บอกวิธีการ การแต่งกาย – สอบถาม – รายงานเรื่ อง – ซักถามความรู ้ – แบบสัมภาษณ์ – เกณฑ์คุณภาพ 1. ภาพการแต่งกายที่เหมาะกับฟดูกาล
แต่งกายให้ ให้เหมาะสม ผูป้ กครอง การแต่งกาย – ตรวจผลงาน – แบบตรวจสอบ 4 ระดับ 2. ภาพเด็กที่แต่งกายเหมาะสมกับฤดูกาล
เหมาะสมกับ กับฤดูกาล เกี่ยวกับวิธีการ ให้เหมาะสม – สังเกตการพูด ผลงาน และเด็กที่แต่งกายไม่เหมาะสมกับฤดูกาล
ฤดูกาลได้ แต่งกายให้ กับฤดูกาล รายงาน – แบบประเมิน 3. แบบบันทึกข้อมูลการสร้างคําถามของ
เหมาะสมกับ – ภาพการ – สังเกตการ การนําเสนอผลงาน นักเรี ยนจากประเด็นปั ญหาที่ศึกษา
ฤดูกาล แต่งกาย ทํางานกลุ่ม – แบบประเมิน 4. แบบบันทึกข้อมูลการอภิปรายจากประเด็น
– สาธิตวิธีการ ที่เหมาะสมกับ พฤติกรรมขณะ ปั ญหาที่ศึกษา
แต่งกาย ฤดูกาล ปฏิบตั ิกิจกรรมเป็ น 5. แบบบันทึกความรู ้
ที่เหมาะสมกับ รายบุคคลและ 6. ใบกิจกรรมที่ 1 สอบถามผูป้ กครองเรื่ อง
ฤดูกาล รายกลุ่ม วิธีการแต่งกายให้เหมาะสมกับฤดูกาล
– วาดภาพ 7. ใบกิจกรรมที่ 2 สาธิ ตวิธีการแต่งกายที่
การแต่งกาย เหมาะสมกับฤดูกาล
ที่เหมาะสมกับ 8. ใบกิจกรรมที่ 3 วาดภาพการแต่งกาย
ฤดูกาล ที่เหมาะสมกับฤดูกาล
9. แบบทดสอบ เรื่ อง การแต่งกายให้
เหมาะสมกับฤดูกาล
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  12

การสร้ างความเข้ าใจที่คงทน


ความเข้าใจที่คงทนจะเกิดขึ้นได้ นักเรี ยนจะต้องมีความสามารถ 6 ประการ ได้แก่
1. การอธิบาย ชี้แจง เป็ นความสามารถที่นกั เรี ยนแสดงออกโดยการอธิ บายหรื อชี้แจงในสิ่ งที่เรี ยนรู ้ได้อย่าง
ถูกต้อง สอดคล้อง มีเหตุมีผล และเป็ นระบบ
2. การแปลความและตีความ เป็ นความสามารถที่นกั เรี ยนแสดงออกโดยการแปลความและตีความได้อย่างมี
ความหมาย ตรงประเด็น กระจ่างชัด และทะลุปรุ โปร่ ง
3. การประยุกต์ ดัดแปลง และนําไปใช้ เป็ นความสามารถที่นกั เรี ยนแสดงออกโดยการนําสิ่ งที่ได้เรี ยนรู ้ไปสู่
การปฏิบตั ิได้อย่างมีประสิ ทธิผล มีประสิ ทธิภาพ และคล่องแคล่ว
4. การมีมุมมองที่หลากหลาย เป็ นความสามารถที่นกั เรี ยนแสดงออกโดยการมีมุมมองที่น่าเชื่อถือ เป็ นไปได้
มีความลึกซึ้ง แจ่มชัด และแปลกใหม่
5. การให้ ความสํ าคัญและใส่ ใจในความรู้ สึกของผู้อื่น เป็ นความสามารถที่ นักเรี ยนแสดงออกโดยเปิ ดเผย
รับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น และระมัดระวังที่จะไม่ให้เกิดความกระทบกระเทือนต่อผูอ้ ื่น
6. การรู้ จักตนเอง เป็ นความสามารถที่นกั เรี ยนแสดงออกโดยมีความตระหนักรู้ สามารถประมวลผลข้อมูล
จากแหล่งการเรี ยนรู้ที่หลากหลาย ปรับตัวได้ รู้จกั ใคร่ ครวญ และมีความเฉลียวฉลาด
นอกจากนี้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กาํ หนดสมรรถนะสําคัญของผูเ้ รี ยน
หลังจากสําเร็ จการศึกษาตามหลักสูตรไว้ 5 ประการ ดังนี้
1. ความสามารถในการสื่ อสาร เป็ นความสามารถของนักเรี ยนในการรับและส่ งสาร การถ่ายทอดความคิ ด
ความรู ้ ค วามเข้าใจ ความรู ้ สึ ก และทัศ นะของตนเอง เพื่ อ แลกเปลี่ ยนข้อ มู ล ข่ าวสารและประสบการณ์ อ ัน เป็ น
ประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปั ญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การ
เลื อ กที่ จ ะรั บ หรื อ ไม่ รั บ ข้อ มู ล ข่ าวสารด้ว ยเหตุ ผ ลและความถู ก ต้อ ง ตลอดจนการเลื อ กใช้วิ ธี ก ารสื่ อ สารที่ มี
ประสิ ทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบต่อตนเองและสังคม
2. ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถของนักเรี ยนในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็ นระบบ เพื่อนําไปสู่ การสร้างองค์ความรู้หรื อสารสนเทศ เพื่อ
การตัดสิ นใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็ นความสามารถของนักเรี ยนในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญ
ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรม และข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้ องกันและแก้ไขปั ญหา
และมีการตัดสิ นใจที่มีประสิ ทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคม และสิ่ งแวดล้อม
4. ความสามารถในการใช้ ทักษะชี วิต เป็ นความสามารถของนักเรี ยนในการนํากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน
การดําเนิ นชี วิตประจําวัน การทํางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริ มความสัมพันธ์อนั ดี ระหว่าง
บุคคล การจัดการปั ญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทนั กับการเปลี่ยนแปลงของสังคม
และสภาพแวดล้อม และการรู ้จกั หลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ซ่ ึงส่งผลกระทบต่อตนเองและผูอ้ ื่น
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  13

5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี เป็ นความสามารถของนักเรี ยนในการเลือกและใช้เทคโนโลยีดา้ นต่าง ๆ


ทั้งด้านวัตถุ แนวคิด วิธีการ และมีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรี ยนรู้
การสื่ อสาร การทํางาน การแก้ปัญหา และการอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม
นอกจากสมรรถนะสําคัญ ของผูเ้ รี ยนหลังจากสําเร็ จการศึกษาตามหลักสู ตรที่ กล่าวข้างต้นแล้ว หลักสู ตร
แกนกลางการศึ กษาขั้น พื้ น ฐาน พุท ธศัก ราช 2551 ยังได้ก าํ หนดคุ ณ ลักษณะอัน พึ งประสงค์ 8 ประการ เพื่ อ ให้
นักเรี ยนสามารถอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นในสังคมได้อย่างมีความสุ ขทั้งในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
2. ซื่อสัตย์สุจริ ต
3. มีวินยั
4. ใฝ่ เรี ยนรู ้
5. อยูอ่ ย่างพอเพียง
6. มุ่งมัน่ ในการทํางาน
7. รักความเป็ นไทย
8. มีจิตสาธารณะ
ดังนั้น การกําหนดภาระงานให้นกั เรี ยนปฏิบตั ิ รวมทั้งการเลือกวิธีการและเครื่ องมือประเมินผลการเรี ยนรู ้น้ นั
ครู ค วรคํา นึ ง ถึ ง ความสามารถของนั ก เรี ย น 6 ประการ ตามแนวคิ ด Backward Design สมรรถนะสํา คัญ และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรี ยนหลังจากสําเร็ จการศึกษาตามหลักสูตรที่ได้กล่าวไว้ขา้ งต้น เพื่อให้ภาระงาน
วิธีการ และเครื่ องมือวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้มีครอบคลุมสิ่ งที่สะท้อนผลลัพธ์ปลายทางที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นกับ
นักเรี ยนอย่างแท้จริ ง
โดยสรุ ป การออกแบบการเรี ยนรู้ตามแนวคิ ด Backward Design ในขั้นที่ 2 นี้ ครู จะต้องคํานึ งถึ งภาระงาน
วิธีการ เครื่ องมือวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ที่มีความเที่ยงตรง ความเชื่อถือได้ มีประสิ ทธิ ภาพ ตรงกับสภาพจริ ง มี
ความยืดหยุน่ และให้ความสบายใจแก่นกั เรี ยนเป็ นสําคัญ
ขั้น ที่ 3 วางแผนการจัดการเรียนรู้
เมื่อครู มีความรู้ ความเข้าใจที่ ชดั เจนเกี่ ยวกับการกําหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ ตอ้ งการให้เกิ ดขึ้ นกับนักเรี ยน
รวมทั้งกําหนดภาระงานและการประเมิ นผลการเรี ยนรู้ ซึ่ งเป็ นหลักฐานที่ แสดงว่านักเรี ยนเกิ ดการเรี ยนรู้ ตามที่
กําหนดไว้อย่าง แท้จริ งแล้ว ขั้นต่อไปครู ควรนึกถึงกิจกรรมการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ที่จะจัดให้แก่นกั เรี ยน โดยครู ควรตอบ
คําถามสําคัญต่อไปนี้
– ถ้าครู ตอ้ งการจะจัดการเรี ยนรู ้ให้นักเรี ยนเกิดความรู ้เกี่ ยวกับข้อเท็จจริ ง ความคิดรวบยอด หลักการ และ
ทักษะกระบวนการต่าง ๆ ที่จาํ เป็ นสําหรับนักเรี ยน ซึ่งจะทําให้นกั เรี ยนเกิดผลลัพธ์ปลายทางตามที่กาํ หนดไว้ รวมทั้ง
เกิดเป็ นความ เข้าใจที่คงทนต่อไปนั้น ครู สามารถจะใช้วิธีการง่าย ๆ อะไรบ้าง
– กิจกรรมการเรี ยนรู้ที่จะช่วยเป็ นสื่ อนําให้นกั เรี ยนเกิดความรู้และทักษะที่จาํ เป็ นมีอะไรบ้าง
– สื่ อและแหล่งการเรี ยนรู ้ที่เหมาะสมและดี ที่สุด ซึ่ งจะทําให้นักเรี ยนบรรลุตามมาตรฐานของหลักสู ตรมี
อะไรบ้าง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  14

– กิจกรรมการเรี ยนรู้ต่าง ๆ ที่กาํ หนดไว้ควรจัดกิจกรรมใดก่อนและควรจัดกิจกรรมใดภายหลัง


– กิจกรรมต่าง ๆ ออกแบบไว้เพื่อตอบสนองความแตกต่าง ระหว่างบุคคลของนักเรี ยนหรื อไม่ เพราะเหตุใด
การจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ เพื่อให้นักเรี ยนเกิ ดผลลัพธ์ปลายทางตามแนวคิ ด Backward Design นั้น
วิกกินส์และแมกไท ได้เสนอแนะให้ครู เขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้แนวคิด WHERE TO (ไปที่ไหน) ซึ่ งมี
รายละเอียด ดังนี้
W แทน กิจกรรมการเรี ยนรู้ที่จดั ให้น้ นั จะต้องช่วยให้นกั เรี ยนรู้วา่ หน่วยการเรี ยนรู้น้ ีจะดําเนินไปในทิศทางใด
(Where) และสิ่ งที่คาดหวังคืออะไร (What) มีอะไรบ้างช่วยให้ครู ทราบว่านักเรี ยนมีความรู ้พ้ืนฐานและความสนใจ
อะไรบ้าง
H แทน กิจกรรมการเรี ยนรู้ที่ควรดึงดูดความสนใจของนักเรี ยนทุกคน (Hook) ทําให้นกั เรี ยนเกิดความสนใจ
ในสิ่ งที่จะเรี ยนรู้ (Hold) และใช้สิ่งที่นกั เรี ยนสนใจเป็ นแนวทางในการจัดการเรี ยนรู ้
E แทน กิ จกรรมการเรี ยนรู ้ที่ควรส่ งเสริ มและจัดให้ (Equip) นักเรี ยนได้มีประสบการณ์ (Experience) ใน
แนวคิดหลัก/ความคิดรวบยอด และสํารวจ รวมทั้งวินิจฉัย (Explore) ในประเด็นต่าง ๆ ที่ น่าสนใจ
R แทน กิจกรรมการเรี ยนรู้ที่ควรเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้คิดทบทวน (Rethink) ปรับ (Revise) ความเข้าใจ
ในความรู้และงานที่ปฏิบตั ิ
E แทน กิ จกรรมการเรี ยนรู้ที่ควรเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้ประเมิน (Evaluate) ผลงานและสิ่ งที่เกี่ยวข้องกับ
การเรี ยนรู ้
T แทน กิ จกรรมการเรี ยนรู้ที่ควรออกแบบ (Tailored) สําหรับนักเรี ยนเป็ นรายบุคคลเพื่อให้สอดคล้องกับ
ความต้องการ ความสนใจ และความสามารถที่แตกต่างกันของนักเรี ยน
O แทน การจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ให้เป็ นระบบ (Organized) ตามลําดับการเรี ยนรู้ของนักเรี ยนและ
กระตุน้ ให้นกั เรี ยนมีส่วนร่ วมในการสร้างองค์ความรู ้ต้ งั แต่เริ่ มแรกและตลอดไป ทั้งนี้เพื่อการเรี ยนรู้ที่มีประสิ ทธิผล
อย่างไรก็ตามมี ขอ้ สังเกตว่า การวางแผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่ มีการกําหนดวิธีการจัดการเรี ยนรู ้ การลําดับ
บทเรี ยน รวมทั้งสื่ อและแหล่ งการเรี ยนรู้ ที่ เฉพาะเจาะจงนั้นจะประสบผลสําเร็ จได้ก็ต่อ เมื่ อครู ได้มีการกําหนด
ผลลัพธ์ปลายทาง หลักฐาน และวิธีการวัดและประเมินผลที่แสดงว่านักเรี ยนมีผลการเรี ยนรู ้ตามที่กาํ หนดไว้อย่าง
แท้จริ งแล้ว การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้เป็ นเพียงสื่ อที่จะนําไปสู่ เป้ าหมายความสําเร็ จที่ตอ้ งการเท่านั้น ด้วยเหตุน้ ีถา้
ครู มีเป้ าหมายที่ ชดั เจนก็จะช่ วยทําให้การวางแผนการจัดการเรี ยนรู้และการจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู้ สามารถทําให้
นักเรี ยนเกิดผลสัมฤทธิ์ตามที่กาํ หนดไว้ได้
โดยสรุ ปจึงกล่าวได้วา่ ขั้นนี้เป็ นการค้นหาสื่ อการเรี ยนรู ้ แหล่งการเรี ยนรู้ และกิจกรรมการเรี ยนรู้ท่ีสอดคล้อง
เหมาะสมกับนักเรี ยน กิจกรรมที่กาํ หนดขึ้นควรที่จะส่งเสริ มให้นกั เรี ยนสามารถสร้างและสรุ ปเป็ นความคิดรวบยอด
และหลักการสําคัญของสาระที่เรี ยนรู ้ ซึ่ งก่อให้เกิดความเข้าใจที่คงทน รวมทั้งความรู้สึกและค่านิยมที่ดีไปพร้อม ๆ
กับทักษะความชํานาญ
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  15

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้
หน่ วยการเรียนรู้ ท_ี่ ____________________________
ขั้นที่ 1 ผลลัพธ์ ปลายทางที่ต้องการให้ เกิดขึน้ กับนักเรียน
ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. ______________________________________________________________________________________________
2. ______________________________________________________________________________________________
ความเข้ าใจทีค่ งทนของนักเรียน คําถามสําคัญทีท่ ําให้ เกิดความเข้ าใจคงทน
นักเรียนจะเข้ าใจว่ า… – _____________________________________________
____________________________________________ _______________________________________________
ความรู้ ของนักเรียนทีน่ ําไปสู่ ความเข้ าใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนทีน่ ําไปสู่
นักเรียนจะรู้ ว่า… ความเข้ าใจทีค่ งทน นักเรียนจะสามารถ…
1. ___________________________________________ 1. ____________________________________________
2. ___________________________________________ 2. ____________________________________________
3. ___________________________________________ 3. ____________________________________________

ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็ นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมี


ผลการเรียนรู้ตามที่กาํ หนดไว้อย่างแท้ จริง
1. ภาระงานที่นักเรียนต้ องปฏิบัติ
– ____________________________________________________________________________________________
– _____________________________________________________________________________________________

2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ เครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
– _________________________________________ – ___________________________________________
– _________________________________________ – ___________________________________________
3. สิ่ งทีม่ ่ ุงประเมิน
– ______________________________________________________________________________________________

ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้
– _______________________________________________________________________________________________
– _______________________________________________________________________________________________
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  16

รู ปแบบแผนการจัดการเรี ยนรู ้รายชัว่ โมงจากการออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ตามแนวคิด Backward Design


เขียนโดยใช้รูปแบบของแผนการจัดการเรี ยนรู้แบบเรี ยงหัวข้อ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
ชื่อแผน...(ระบุชื่อและลําดับที่ของแผนการจัดการเรี ยนรู ้)
ชื่อเรื่อง...(ระบุชื่อเรื่ องที่ตอ้ งการจัดการเรี ยนรู้)
สาระที่...(ระบุสาระที่ใช้จดั การเรี ยนรู ้)
เวลา...(ระบุระยะเวลาที่ใช้ในการจัดการเรี ยนรู้ต่อ 1 แผน)
ชั้น...(ระบุระดับชั้นที่จดั การเรี ยนรู ้)
หน่ วยการเรียนรู้ที่...(ระบุชื่อและลําดับที่ของหน่วยการเรี ยนรู ้)
สาระสํ าคัญ...(เขียนความคิดรวบยอดหรื อมโนทัศน์ของหัวเรื่ องที่จดั การเรี ยนรู้)
ตัวชี้วดั ชั้นปี ...(ระบุตวั ชี้วดั ชั้นปี ที่ใช้เป็ นเป้ าหมายของแผนการจัดการเรี ยนรู ้)
จุด ประสงค์ การเรี ยนรู้ ...(กําหนดให้สอดคล้อ งกับ สมรรถนะสําคัญ และคุ ณ ลักษณะอัน พึ งประสงค์ข อง
นักเรี ยนหลังจากสําเร็ จการศึกษา) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งประกอบด้วย
ด้านความรู้ (Knowledge: K)
ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม (Affective: A)
ด้านทักษะ/กระบวนการ (Performance: P)
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้...(ระบุวิธีการและเครื่ องวัดและประเมินผลที่สอดคล้องกับจุดประสงค์การ
เรี ยนรู ้ท้ งั 3 ด้าน)
สาระการเรียนรู้...(ระบุสาระและเนื้อหาที่นาํ มาจัดการเรี ยนรู้ อาจเขียนเฉพาะหัวเรื่ องก็ได้)
แนวทางบูรณาการ...(เสนอแนะและระบุกิจกรรมของกลุ่มสาระอื่นที่บูรณาการร่ วมกัน)
กระบวนการจัดการเรี ยนรู้ ...(กําหนดให้สอดคล้องกับธรรมชาติของกลุ่มสาระและการบูรณาการข้ามกลุ่ม
สาระ)
กิจกรรมเสนอแนะ...(ระบุรายละเอียดของกิจกรรมที่นกั เรี ยนควรปฏิบตั ิเพิ่มเติม)
สื่ อ/แหล่ งการเรียนรู้...(ระบุสื่อ อุปกรณ์ และแหล่งการเรี ยนรู ้ที่ใช้ในการจัดการเรี ยนรู้)
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ ...(ระบุรายละเอียดของผลการจัดการเรี ยนรู ้ตามแผนที่กาํ หนดไว้อาจนําเสนอ
ข้อเด่นและข้อด้อยเพื่อเป็ นข้อมูลที่สามารถนําไปใช้เป็ นส่วนหนึ่งของการทําวิจยั ในชั้นเรี ยนได้)
ในส่ วนของการเขียนกิจกรรมการเรี ยนรู ้น้ นั ให้ครู นาํ ขั้นตอนหลักของวิธีการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ น
ศูนย์กลาง เช่ น การเรี ยนแบบแก้ปัญ หา การศึ กษาเป็ นรายบุคคล การอภิปรายกลุ่มย่อย/กลุ่มใหญ่ การฝึ กปฏิ บ ัติ
การสื บค้นข้อมูลมาเขียนในขั้นสอน โดยคํานึงถึงธรรมชาติของกลุ่มสาระการเรี ยนรู้เป็ นสําคัญ
การใช้แนวคิดของการออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้ตามแนวคิด Backward Design จะช่วยให้ครู มีความมัน่ ใจ
ในการจัดการเรี ยนรู ้และใช้แผนการจัดการเรี ยนรู ้ของ บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิ ช จํากัด ในการจัดการเรี ยนรู้ได้
อย่างมีประสิ ทธิภาพต่อไป
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  17

4. เทคนิคและวิธีการจัดการเรียนรู้ –การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 24 (2) และ (3) ได้ระบุแนวทางการจัดการเรี ยนรู้ โดย
เน้นการฝึ กทักษะกระบวนการคิด การฝึ กทักษะการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเองจากแหล่งเรี ยนรู ้ที่หลากหลาย การฝึ ก
ปฏิบตั ิจริ ง และการประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อการป้ องกันและแก้ปัญหา ดังนั้น เพื่อให้การจัดการเรี ยนรู ้สอดคล้องกับ
นโยบายดังกล่าวนี้ การจัดทําแผนการจัดการเรี ยนรู ้ใน คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ป. 1 เล่มนี้ จึงยึดแนวทางการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ (Child Centered) เน้นการเรี ยนรู ้จากการปฏิบตั ิ
จริ ง และเน้นการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการที่ผสมผสานเชื่ อมโยงสาระการเรี ยนรู้ต่าง ๆ กับหัวข้อเรื่ องหรื อประเด็นที่
สอดคล้องกับชี วิตจริ ง เพื่อให้นกั เรี ยนเกิ ดการพัฒนา โดยองค์รวม เป็ นธรรมชาติ สอดคล้องกับสภาพและปั ญหาที่
เกิดในวิถีชีวิตของนักเรี ยน
แนวทางการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลาง ได้เปลี่ยนแปลงบทบาทของครู จากการเป็ นผูช้ ้ ีนาํ หรื อ
ถ่ายทอดความรู้ไปเป็ นผูช้ ่วยเหลือ อํานวยความสะดวก และส่ งเสริ มสนับสนุ นนักเรี ยนโดยใช้วิธีการต่าง ๆ อย่าง
หลากหลายรู ปแบบ เพื่อให้นักเรี ยนเกิ ดการสร้างสรรค์ความรู้ และนําความรู ้ไปใช้อย่างมี ป ระสิ ท ธิ ภาพ คู่มือครู
แผนการจัดการเรี ยนรู้ การงานอาชี พ และเทคโนโลยี ป. 1 เล่มนี้ จึงได้นาํ เสนอทฤษฎีและเทคนิ ควิธีการเรี ยนการ
สอน ต่าง ๆ มาเป็ นแนวทางในการจัดการเรี ยนรู ้ เช่น
การจั ด การเรี ย นรู้ โดยใช้ สมองเป็ นฐาน (Brain-Base Learning–BBL) เป็ นวิ ธี ก ารจัด การเรี ยนรู ้ ที่ อิ ง
ผลการวิจยั ทางประสาทวิท ยา ซึ่ งได้เสนอแนะไว้ว่า ตามธรรมชาติ น้ ัน สมองเรี ย นรู ้ ไ ด้อ ย่างไรโดยได้กล่ าวถึ ง
โครงสร้ างที่ แท้จริ งของสมองและการทํางานของสมองมนุ ษ ย์ที่ มีการแปรเปลี่ ยนไปตามขั้นของการพัฒ นา ซึ่ ง
สามารถนํามาใช้เป็ นกรอบแนวคิดของการสร้างสรรค์การจัดการเรี ยนรู้ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
การจัดการเรียนรู้ แบบใช้ ปัญหาเป็ นฐาน (Problem-Based Learning – PBL) เป็ นวิธีการจัดการเรี ยนรู ้ที่ใช้
ปั ญหาที่เกิดขึ้นเป็ นจุดเริ่ มต้นและเป็ นตัวกระตุน้ ให้เกิดกระบวนการเรี ยนรู ้ โดยให้นกั เรี ยนร่ วมกันแก้ปัญหาภายใต้
การแนะนําของครู ให้นกั เรี ยนช่วยกันตั้งคําถามและช่วยกันค้นหาคําตอบโดยอาจใช้ความรู้เดิมมาแก้ปัญหา หรื อ
ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมสําหรับการแก้ปัญหา นําข้อมูลที่ ได้จากการค้นคว้ามาสรุ ปเป็ นข้อมูลในการแก้ปัญหา แล้ว
ช่วยกันประเมินผลการแก้ปัญหาเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาครั้งต่อไป
การจัดการเรี ยนรู้ แบบพหุ ปัญ ญา (Multiple Intelligences) เป็ นการพัฒนาองค์รวมของนักเรี ยนทั้งสมอง
ด้านซ้ายและสมองด้านขวา บนพื้นฐานความสามารถและสติปัญญาที่แตกต่างกันของแต่ละบุคคลโดยมุ่งหมายให้
นักเรี ยนสามารถแก้ปัญหาหรื อสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ ภายใต้ความหลากหลายของวัฒนธรรมหรื อสภาพแวดล้อม
การจัดการเรียนรู้ แบบร่ วมมือ (Cooperative Learning) เป็ นการจัดสถานการณ์และบรรยากาศให้นกั เรี ยน
เกิดการเรี ยนรู้ร่วมกัน ฝึ กให้นกั เรี ยนที่มีลกั ษณะแตกต่างกันทั้งสติปัญญาและความถนัดร่ วมกันทํางานเป็ นกลุ่ม และ
ร่ วมกันศึกษาค้นคว้า
การจัดการเรียนรู้ แบบใช้ หมวกความคิด 6 ใบ (Six Thinking Hats) เป็ นการให้นกั เรี ยนฝึ กตั้งคําถามและตอบ
คําถามที่ใช้ความคิดในลักษณะต่าง ๆ โดยสามารถอธิบายเหตุผลประกอบหรื อวิเคราะห์วิจารณ์ได้
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  18

การจั ดการเรี ยนรู้ แบบกระบวนการแก้ ปั ญ หา (Problem Solving) เป็ นการฝึ กให้นัก เรี ยนเรี ยนรู ้ จากการ
แก้ปัญหาที่เกิ ดขึ้นโดยการทําความเข้าใจปั ญหา วางแผนแก้ปัญหา ดําเนิ นการแก้ปัญหา และตรวจสอบหรื อมอง
ย้อนกลับ
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Work) เป็ นวิธีการจัดการเรี ยนรู้รูปแบบหนึ่งที่ส่งเสริ มให้นกั เรี ยน
เรี ยนรู้ดว้ ยตนเองจากการลงมือปฏิ บตั ิ โดยใช้กระบวนการแสวงหาความรู ้หรื อค้นคว้าหาคําตอบในสิ่ งที่นักเรี ยน
อยากรู้หรื อสงสัยด้วยวิธีการต่าง ๆ อย่างหลากหลาย
การจัดการเรียนรู้ที่เน้ นการปฏิบัติ (Active Learning) เป็ นการให้นกั เรี ยนได้ทดลองทําด้วยตนเองเพื่อจะได้
เรี ยนรู ้ข้ นั ตอนของงานและรู ้จกั วิธีแก้ปัญหาในการทํางาน
การจัดการเรียนรู้ แบบสร้ างผังความคิด (Concept Mapping) เป็ นการสอนด้วยวิธีการจัดกลุ่มความคิดรวบ
ยอด เพื่อให้เห็นความสัมพันธ์กนั ระหว่างความคิดหลักและความคิดรองลงไป โดยนําเสนอเป็ นภาพหรื อผัง
การจัดการเรี ยนรู้ จากประสบการณ์ (Experience Learning) เป็ นการจัดกิ จกรรมหรื อจัดประสบการณ์ ให้
นักเรี ยนเกิ ดการเรี ยนรู ้จากการปฏิ บ ตั ิ แล้วกระตุน้ ให้นักเรี ยนพัฒ นาทักษะใหม่ ๆ เจตคติ ใหม่ ๆ หรื อวิธีการคิ ด
ใหม่ ๆ
การเรี ยนรู้ โดยการแสดงบทบาทสมมุติ (Role Playing) เป็ นการจัดกิจกรรมให้นกั เรี ยนได้แสดงบทบาทใน
สถานการณ์ที่สมมุติข้ ึน โดยอาจกําหนดให้แสดงบทบาทสมมุติที่เป็ นพฤติกรรมของบุคคลอื่นหรื อแสดงพฤติกรรม
ในบทบาทของตนเองในสถานการณ์ต่าง ๆ
การจัดการเรี ยนรู้ โดยใช้ กิจกรรมสะเต็มศึกษา (STEM Education) เป็ นการจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู้ที่บูรณา-
การวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิ ตศาสตร์เข้าด้วยกัน เพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้วางแผนคิดค้น วิเคราะห์
ออกแบบ สร้างชิ้นงาน และปรับปรุ งแก้ไข เพื่อให้เกิดการเรี ยนรู้แบบบูรณาการและนําความรู้เหล่านี้ไปประยุกต์ใช้
ในการแก้ปัญหา และสร้างชิ้นงานที่เป็ นประโยชน์ต่อการดํารงชีวิต
การจัดการเรี ยนรู้ตอ้ งจัดควบคู่กบั การวัดและการประเมินผลตามภาระงานและชิ้นงานที่สอดคล้องกับตัวชี้วดั
แผนการจัดการเรี ยนรู ้น้ ี ได้เสนอวิธีการวัดและประเมินผลครบทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านความรู ้ ด้านทักษะ/กระบวนการ
ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิ ยม เน้นวิธีการวัดที่หลากหลายตามสถานการณ์จริ ง การดูร่องรอยต่าง ๆ ควบคู่ไป
กับการดูกระบวนการทํางาน และผลผลิตของงาน โดยออกแบบการประเมินก่อนเรี ยน ระหว่างเรี ยน หลังเรี ยน และ
แบบทดสอบประจําหน่วย พร้อมแบบฟอร์มและเกณฑ์การประเมิน เพื่ออํานวยความสะดวกให้ครู ไว้พร้อม ทั้งนี้ครู
อาจเพิม่ เติมโดยการออกแบบเครื่ องมือวัดและประเมินด้วยมิติคุณภาพ (Rubrics)
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  19

5. ตารางวิเคราะห์ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วดั ชั้นปี

การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1

สาระ มาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1 สาระที่ 2 สาระที่ 3 สาระที่ 4 สรุปผล


และตัวชี้วดั ชั้นปี มฐ. ง 1.1 มฐ. ง 2.1 มฐ. ง 3.1 มฐ. ง 4.1 การประเมิน
หน่ วยการเรียนรู้
1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 ผ่ าน ไม่ ผ่าน
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1
X X X
การทํางานเพือ่ ช่ วยเหลือตนเอง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2
X X X
พืชใกล้ ตัว
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3
X X X
ช่ างประดิษฐ์ น้อย
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4
X X
ข้ อมูลและแหล่งข้ อมูลรอบตัว
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  20

6. โครงสร้ างการแบ่ งเวลารายชั่วโมงในการจัดการเรียนรู้

หน่ วยการเรียนรู้ที่ แผนการจัดการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ หมายเหตุ


ปฐมนิเทศ ชั่วโมงที่ 1 ปฐมนิเทศและข้อตกลงในการเรี ยน
(1 ชัว่ โมง)

หน่วยที่ 1 การทํางานเพื่อ แผนที่ 1 เสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย ชั่วโมงที่ 2 เสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย
ช่วยเหลือตนเอง (1 ชัว่ โมง) 1. การแต่งกายด้วยตนเอง
(8 แผน) 1.1 เสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย
แผนที่ 2 วิธีการแต่งกายด้วยตนเอง ชั่วโมงที่ 3 วิธีการแต่งกายด้วยตนเอง
(1 ชัว่ โมง) 1.2 วิธีการแต่งกายด้วยตนเอง

แผนที่ 3 การแต่งกายให้เหมาะสมกับฤดูกาล ชั่วโมงที่ 4 การแต่งกายให้เหมาะสมกับฤดูกาล


(1ชัว่ โมง) 1.3 การแต่งกายให้เหมาะสมกับฤดูกาล

แผนที่ 4 การแต่งกายให้เหมาะสมกับโอกาสและ ชั่วโมงที่ 5 การแต่งกายให้เหมาะสมกับโอกาสและสถานที่


สถานที่ 1.4 การแต่งกายให้เหมาะสมกับโอกาสและสถานที่
(3 ชัว่ โมง) – การแต่งกายเมื่ออยูท่ ี่บา้ น

หน่ วยการเรียนรู้ที่ แผนการจัดการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ หมายเหตุ


คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  21

หน่วยที่ 1 การทํางานเพื่อ แผนที่ 4 การแต่งกายให้เหมาะสมกับโอกาสและ ชั่วโมงที่ 6 การแต่งกายให้เหมาะสมกับโอกาสและสถานที่


ช่วยเหลือตนเอง สถานที่ (ต่อ)
(8 แผน) – การแต่งกายเมื่อไปโรงเรี ยน
ชั่วโมงที่ 7 การแต่งกายให้เหมาะสมกับโอกาสและสถานที่
(ต่อ)
– การแต่งกายเมื่อไปเที่ยว
แผนที่ 5 การดูแลรักษาเสื้ อผ้า ชั่วโมงที่ 8 การดูแลรักษาเสื้ อผ้า
(2ชัว่ โมง) 2. การดูแลรักษาเสื้ อผ้า
2.1 การดูแลรักษาเสื้ อผ้าขณะสวมใส่
ชั่วโมงที่ 9 การดูรักษาเสื้ อผ้า (ต่อ)
2.2 การดูแลรักษาเสื้ อผ้าที่สวมใส่แล้ว

แผนที่ 6 การจัดเก็บอุปกรณ์การเรี ยน ชั่วโมงที่ 10 การจัดเก็บอุปกรณ์การเรี ยน


(1 ชัว่ โมง) 3. การจัดเก็บของใช้ส่วนตัว
3.1 การจัดเก็บอุปกรณ์การเรี ยน

แผนที่ 7 การจัดเก็บของเล่น ชั่วโมงที่ 11 การจัดเก็บของเล่น


และของใช้ส่วนตัว 3.2 การจัดเก็บของเล่น
(2 ชัว่ โมง) ชั่วโมงที่ 12 การจัดเก็บภาชนะใส่อาหาร
3.3 การจัดเก็บภาชนะใส่ อาหาร

หน่ วยการเรียนรู้ที่ แผนการจัดการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ หมายเหตุ


คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  22

หน่วยที่ 1 การทํางานเพื่อ แผนที่ 8 การจัดโต๊ะ ตู้ และชั้น ชั่วโมงที่ 13 การจัดโต๊ะเขียนหนังสื อ ตู้ และชั้นวางหนังสื อ
ช่วยเหลือตนเอง (2 ชัว่ โมง) 4. การจัดโต๊ะ ตู้ และชั้น
(8 แผน) 4.1 การจัดโต๊ะเขียนหนังสื อ ตู้ และชั้นวางหนังสื อ
ชั่วโมงที่ 14 การจัดตูห้ รื อชั้นวางรองเท้า
4.2 การจัดตูห้ รื อชั้นวางรองเท้า

หน่วยที่ 2 พืชใกล้ตวั แผนที่ 9 รู ้จกั พืช ชั่วโมงที่15 ไม้ดอก ไม้ประดับ


(4 แผน) (2 ชัว่ โมง) ชั่วโมงที่ 16 ผักสวนครัว ไม้ผล

แผนที่ 10 เครื่ องมือดูแลรักษาพืช ชั่วโมงที่ 17 เครื่ องมือดูแลรักษาพืช


(1 ชัว่ โมง)

แผนที่ 11 การรดนํ้าต้นไม้ ชั่วโมงที่ 18 การรดนํ้าต้นไม้


(3 ชัว่ โมง) 1. การรดนํ้าต้นไม้ดว้ ยบัวรดนํ้า
ชั่วโมงที่ 19 การรดนํ้าต้นไม้ (ต่อ)
2. การรดนํ้าต้นไม้ดว้ ยถังนํ้า
ชั่วโมงที่ 20 การรดนํ้าต้นไม้ (ต่อ)
3. การรดนํ้าต้นไม้ดว้ ยสายยาง

แผนที่ 12 การถอนและเก็บวัชพืช ชั่วโมงที่ 21 การถอนและเก็บวัชพืช


(1 ชัว่ โมง)

หน่ วยการเรียนรู้ที่ แผนการจัดการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ หมายเหตุ


คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  23

ทดสอบกลางปี ชั่วโมงที่ 22 ทดสอบกลางปี ปรับเปลี่ยนชัว่ โมงทดสอบ


(1 ชัว่ โมง) ตามความเหมาะสม
หน่วยที่ 3 ช่างประดิษฐ์นอ้ ย แผนที่ 13 วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือ ชั่วโมงที่ 23 วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือที่ใช้ทาํ ของเล่น
(5 แผน) ที่ใช้ทาํ ของเล่น 1. วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือที่ใช้ทาํ ของเล่น
(1 ชัว่ โมง)
แผนที่ 14 การพับกระดาษเป็ นของเล่น (1) ชั่วโมงที่ 24 การพับกระดาษเป็ นของเล่น
(2 ชัว่ โมง) 2.1 ประโยชน์ของการทําของเล่นได้เอง
2.2 ตัวอย่างการพับกระดาษเป็ นของเล่น
– การพับแมลงตัวน้อย
ชั่วโมงที่ 25 การพับกระดาษเป็ นของเล่น (ต่อ)
2.2 ตัวอย่างการพับกระดาษเป็ นของเล่น (ต่อ)
– การพับจรวด
แผนที่ 15 การพับกระดาษเป็ นของเล่น (2) ชั่วโมงที่ 26 การพับกระดาษเป็ นของเล่น (ต่อ)
(2 ชัว่ โมง) 2.2 ตัวอย่างการพับกระดาษเป็ นของเล่น (ต่อ)
– การพับตัวหนอน
ชั่วโมงที่ 27 การพับกระดาษเป็ นของเล่น (ต่อ)
2.2 ตัวอย่างการพับกระดาษเป็ นของเล่น (ต่อ)
– การพับหน้ากาก

หน่ วยการเรียนรู้ที่ แผนการจัดการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ หมายเหตุ


คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  24

หน่วยที่ 3 ช่างประดิษฐ์นอ้ ย แผนที่ 16 การพับกระดาษเป็ นของเล่น (3) ชั่วโมงที่ 28 การพับกระดาษเป็ นของเล่น (ต่อ)
(5 แผน) (2 ชัว่ โมง) 2.2 ตัวอย่างการพับกระดาษเป็ นของเล่น (ต่อ)
– การพับเรื อ
ชั่วโมงที่ 29 การพับกระดาษเป็ นของเล่น (ต่อ)
2.2 ตัวอย่างการพับกระดาษเป็ นของเล่น (ต่อ)
– การพับรถไฟ

แผนที่ 17 การบํารุ งรักษาของเล่น ชั่วโมงที่ 30 การบํารุ งรักษาของเล่น


(1 ชัว่ โมง) 3. การบํารุ งรักษาของเล่น
– วิธีการบํารุ งรักษาของเล่น

หน่วยที่ 4 ข้อมูลและ แผนที่ 18 ข้อมูล ชั่วโมงที่ 31 ข้อมูล


แหล่งข้อมูลรอบตัว (1 ชัว่ โมง) 1. ข้อมูล
(4 แผน)
แผนที่ 19 ประเภทและประโยชน์ของข้อมูล ชั่วโมงที่ 32 ข้อมูล (ต่อ)
(2 ชัว่ โมง) 2. ประเภทของข้อมูล
ชั่วโมงที่ 33 ข้อมูล (ต่อ)
3. ประโยชน์ของข้อมูล
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  25

หน่ วยการเรียนรู้ที่ แผนการจัดการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ หมายเหตุ


หน่วยที่ 4 ข้อมูลและ แผนที่ 20 แหล่งข้อมูลรอบตัว ชั่วโมงที่ 34 แหล่งข้อมูลรอบตัว
แหล่งข้อมูลรอบตัว (3 ชัว่ โมง) – แหล่งข้อมูลที่เป็ นคน
(4 แผน) ชั่วโมงที่ 35 แหล่งข้อมูลรอบตัว (ต่อ)
– แหล่งข้อมูลที่เป็ นสถานที่
ชั่วโมงที่ 36 แหล่งข้อมูลรอบตัว (ต่อ)
– แหล่งข้อมูลที่เป็ นสิ่ งอื่น ๆ

แผนที่ 21 อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ชั่วโมงที่ 37 อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจําวัน


(3 ชัว่ โมง) – วิทยุและโทรทัศน์
ชั่วโมงที่ 38 อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจําวัน
(ต่อ)
– กล้องดิจิทลั และโทรศัพท์
ชั่วโมงที่ 39 อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจําวัน
(ต่อ)
– คอมพิวเตอร์

ทดสอบปลายปี ชั่วโมงที่ 40 ทดสอบปลายปี ปรับเปลี่ยนชัว่ โมงทดสอบตาม


(1 ชัว่ โมง) ความเหมาะสม
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี ป. 1  26

ตอนที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  27

แผนปฐมนิเทศ
ปฐมนิเทศและข้ อตกลงในการเรียน
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
ปฐมนิเทศเป็ นการแนะนํา ชี้แนวทางเพื่อให้นกั เรี ยนมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกลุ่มสาระที่เรี ยน
วิธีการเรี ยน การสอบ และข้อตกลงในการเรี ยน
2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนการสอนของกลุ่มสาระการงานอาชีพ (K)
2. มีความสามารถและทักษะที่สอดคล้องกับการงานอาชีพ (P)
3. มีเจตคติและมีความกระตือรื อร้นในการเรี ยนและทํากิจกรรม (A)
3. การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้
ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม
ด้านความรู ้ (K) ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่านิยม (A)
1. สังเกตการตอบคําถาม 1. สังเกตจากความตั้งใจในการเรี ยน 1. สังเกตการให้ความร่ วมมือในการ
และการแสดงความคิดเห็น 2. สังเกตความกระตือรื อร้นในการ ปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ประเมินการอ่านออกเสี ยง ทํากิจกรรม 2. สังเกตทัก ษะการทํางานร่ วมกับ
ของนักเรี ยน ผูอ้ ื่น

4. สาระการเรี ยนรู้
1. ทําไมจึงต้องเรี ยนการงานอาชีพและเทคโนโลยี
2. เราเรี ยนรู ้อะไรในการงานอาชีพและเทคโนโลยี
3. คําอธิ บายรายวิชาพื้นฐาน
4. โครงสร้างรายวิชาพื้นฐาน
5. เราจะเรี ยนกันอย่างไร
6. เทคนิคและวิธีการจัดการเรี ยนรู ้
7. เวลาเรี ยน
8. การเก็บคะแนนและการสอบ
9. การตัดสิ นผลการเรี ยน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  28

10. สื่ อการเรี ยนรู้และแหล่งการเรี ยนรู ้


11. ข้อตกลงในการเรี ยน
12. มอบหมายงาน
5. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย การตอบคําถาม การสนทนา การแสดงความคิดเห็น
คณิ ตศาสตร์ การนับจํานวนสาระของกลุ่มการงานอาชีพและเทคโนโลยี
สังคมศึกษา การปฏิบตั ิตนในการอยูร่ ่ วมกันกับผูอ้ ื่น
6. กระบวนการจัดการเรี ยนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู ถามคําถาม “นักเรี ยนได้ยนิ คําว่า การงานอาชีพและเทคโนโลยี แล้วนึกถึงอะไรบ้าง”
2. ครู แนะนําเกี่ยวกับกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
1. ครู นาํ ซีดี (CD) ดีวีดี (DVD) หรื อภาพการทํางานบ้านของเด็ก ๆ มาให้นกั เรี ยนดู
2. ครู ถามคําถาม “ถ้านักเรี ยนทํางานเหล่านี้ได้จะเกิดผลอย่างไร” แล้วให้นกั เรี ยนช่วยกันตอบ
3. ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปผลผลดีของการเรี ยนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
แล้วเปิ ดสื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint เกี่ยวกับเหตุผล ทําไมจึงต้องเรี ยนการงานอาชีพและเทคโนโลยีและสาระของ
กลุ่มสาระนี้ (4 สาระ) พร้อมกับอธิ บายรายละเอียด
4. ให้นกั เรี ยนอ่านบัตรหัวข้อหน่วยการเรี ยนรู ้ที่เรี ยนในชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 โดยอ่านรายละเอียดตามครู
ทีละข้อ แล้วร่ วมกันสนทนาเกี่ยวกับเรื่ องที่จะเรี ยน
5. ครู นาํ หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี มาให้นกั เรี ยนดู และแนะนํา
แนวทางการเรี ยนโดยภาพรวม
6. ครู เปิ ดสื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint เกี่ยวกับเทคนิคและวิธีการจัดการเรี ยนรู ้ แล้วอธิบายพร้อมกับ
ยกตัวอย่างทีละข้อ จากนั้นเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนซักถามข้อสงสัย
7. ครู อธิ บายเกี่ยวกับเวลาเรี ยน การเก็บคะแนน การสอบ และการตัดสิ นผลการเรี ยน ให้นกั เรี ยนพอเข้าใจ
8. ครู ถามคําถาม “ถ้านักเรี ยนไม่มีความรู ้ในเรื่ องที่เรี ยน จะทําอย่างไร” แล้วให้นกั เรี ยนตอบคําถามและ
แสดงความคิดเห็น
9. ครู เปิ ดสื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint หรื อภาพเกี่ยวกับสื่ อและแหล่งการเรี ยนรู้มาให้นกั เรี ยนดู พร้อมกับ
แนะนําสื่ อและแหล่งการเรี ยนรู ้ที่ตนเองรู ้จกั และใช้ประโยชน์ได้
10. นักเรี ยนช่วยกันเสนอแนะสื่ อและแหล่งการเรี ยนรู้ที่ตนเองรู ้จกั และสามารถใช้ประโยชน์ได้
11. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกี่ยวกับข้อตกลงในการเรี ยน แล้วเปิ ดสื่ อ PowerPoint หรื อติดแผนภูมิ
ข้อตกลงในการเรี ยน จากนั้นให้นกั เรี ยนอ่านตามครู
12. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับแนวทางการเรี ยนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพ
และเทคโนโลยี
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  29

ขั้นที่ 3 ขั้นสรุ ป
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปเกี่ยวกับแนวการเรี ยนกลุ่มสาระการเรี ยนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
2. นักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปเกี่ยวกับข้อตกลงในการเรี ยน
3. ครูมอบหมายงานให้ นักเรียนไปสํ ารวจเสื้อผ้าและเครื่องแต่ งกายของตนเอง พร้ อมกับระบุว่าเป็ นเสื้อผ้า
หรื อเครื่ องแต่ งกาย แล้ วบันทึกผล และให้ นักเรียนตั้งคําถามที่สงสั ยคนละ 1 คําถาม (เพื่อนํามาร่ วมกันสนทนาใน
การเรียนครั้งต่ อไป)
ขั้นที่ 4 ขั้นฝึ กฝนนักเรียน
1. ให้นกั เรี ยนดูหนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้น ป. 1 ประมาณ 5 นาที แล้ว
ซักถามข้อสงสัย
2. นักเรี ยนแบ่งเป็ นกลุ่ม 2 กลุ่มใหญ่ แล้วช่วยกันตั้งคําถามหรื อตอบคําถามเกี่ยวกับแนวทางการเรี ยนและ
ข้อตกลงในการเรี ยน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยผลัดกันเป็ นฝ่ ายตั้งคําถามและฝ่ ายตอบ
คําถาม
ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช้
นักเรี ยนนําความรู ้เกี่ยวกับแนวทางการเรี ยนและข้อตกลงในการเรี ยนไปปฏิบตั ิ เมื่อเรี ยนกลุ่มกลุ่มสาระ
การเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี

7. กิจกรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสํ าหรับกลุ่มสนใจพิเศษ
ให้นกั เรี ยนไปสํารวจสื่ อและแหล่งกาเรี ยนรู้ที่บา้ นของตนเอง
2. กิจกรรมสํ าหรับฝึ กทักษะเพิม่ เติม
ให้นกั เรี ยนไปทบทวนความรู ้เกี่ยวกับแนวทางการเรี ยนและข้อตกลงในการเรี ยน

8. สื่อ/แหล่ งการเรียนรู้
1. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
ของ บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
2. ภาพเด็กทํางานบ้านและภาพแหล่งการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ
3. สถานที่ เช่น ห้องสมุด
4. บัตรข้อความ หัวข้อเรื่ อง
5. แผนภูมิขอ้ ตกลงในการเรี ยน
6. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิ ช จํากัด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  30

9. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู้
แนวทางการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
แนวทางแก้ไข
3. สิ่ งทีไ่ ม่ ได้ ปฏิบัติตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
/ /
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  31

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 การทํางานเพือ่ ช่ วยเหลือตนเอง

เวลา 13 ชั่วโมง
ผังมโนทัศน์ เป้ าหมายการเรียนรู้และขอบข่ ายภาระงาน

ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ
1. เสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย 1. ทักษะการทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเอง
2. วิธีการแต่งกายด้วยตนเอง 2. ทักษะการใช้วสั ดุ อุปกรณ์และเครื่ องมือ
3. การแต่งกายให้เหมาะสมกับฤดูกาล 3. ทักษะการทํางานกลุ่ม
4. การแต่งกายให้เหมาะสมกับโอกาส
และสถานที่
5. การดูแลรักษาเสื้ อผ้า
6. การจัดเก็บอุปกรณ์การเรี ยน
7. การจัดเก็บของเล่นและของใช้ส่วนตัว
8. การจัดโต๊ะ ตู ้ และชั้น

การทํางาน
เพือ่ ช่ วยเหลือตนเอง

ภาระงาน/ชิ้นงาน คุณธรรม จริยธรรม และค่ านิยม


1. การเลือกเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย 1. เจตคติ ที่ ดี ต่ อ การทํางานเพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ
2. การออกแบบเสื้ อผ้า ตนเอง
3. การแต่งกายด้วยตนเอง 2. มีความกระตือรื อร้น
4. การจัด เก็ บ อุ ป กรณ์ ก ารเรี ย น ของเล่ น 3. ความตรงต่อเวลา
และของใช้
5. การแสดงบทบาทสมมุติจดั เก็บของใช้
6. การจัดโต๊ะ ตู ้ และชั้น
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  32

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 การทํางานเพือ่ ช่ วยเหลือตนเอง
ขั้นที่ 1 ผลลัพธ์ ปลายทางที่ต้องการให้ เกิดขึน้ กับนักเรียน
ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. บอกวิธีการทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเอง (ง 1.1 ป. 1/1)
2. ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือง่าย ๆ ในการทํางานอย่างปลอดภัย (ง 1.1 ป. 1/2)
3. ทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเองอย่างกระตือรื อร้นและตรงต่อเวลา (ง 1.1 ป. 1/3)
ความเข้ าใจทีค่ งทนของนักเรียน คําถามสํ าคัญทีท่ ําให้ เกิดความเข้ าใจทีค่ งทน
นักเรียนจะเข้ าใจว่ า... – การแต่งกายได้ดว้ ยตนเองจะเกิดผลดีอย่างไร
1. การแต่งกาย การจัดเก็บอุปกรณ์ การเรี ยน การจัดเก็บ – การแต่ งกายจําเป็ นต้องทําตามลําดับ ขั้น ตอนหรื อ ไม่
ของเล่ น ของใช้ การจั ด โต๊ ะ ตู ้ และชั้ นเป็ นงานที่ เรา เพราะอะไร
สามารถปฏิบตั ิได้ดว้ ยตนเอง – ถ้าเราเล่นของเล่น หรื อหยิบของใช้ต่าง ๆ มาใช้แล้ว
2. การแต่งกาย การจัดเก็บอุปกรณ์ การเรี ยน การจัดเก็บ ไม่เก็บเข้าที่จะเกิดผลอย่างไร
ของเล่น ของใช้ การจัดโต๊ะ ตู ้ และชั้นด้วยตนเองเป็ นงานที่ – การจัดโต๊ะ ตู ้ และชั้นจะเกิดผลด้านใดมากที่สุด
ต้องทําตามลําดับขั้นตอน
ความรู้ของนักเรียนที่นําไปสู่ ความเข้ าใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนทีน่ ําไปสู่
นักเรียนจะรู้ ว่า... ความเข้ าใจทีค่ งทน
1. คํา ที่ ค วรรู ้ ได้ แ ก่ ภาระ แต่ ง กาย ส่ วนประกอบ นักเรียนจะสามารถ...
เชื้อโรค ชําระ ฤดู โอกาส สุขภาพ ของใช้ ระเบียบ จัดเก็บ 1. เลือกเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกายได้เหมาะสม
2. เสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกายเป็ นส่ วนประกอบของการ 2. แต่งกายด้วยตนเองตามลําดับขั้นตอนของการแต่งกาย
แต่งกาย 3. แต่งกายได้เหมาะสมกับฤดูกาล โอกาส และสถานที่
3. การแต่งกายให้สะอาดเรี ยบร้ อยด้วยตนเองมี ข้ นั ตอน 4. จัดเก็บ อุปกรณ์ การเรี ยน ของเล่ น และของใช้ทุกครั้ ง
การปฏิบตั ิตามลําดับ ได้แก่ อาบนํ้า ทาแป้ ง สวมชุดชั้นใน หลังจากใช้งานเสร็ จแล้ว
ใส่ เสื้ อ ใส่ กระโปรงหรื อ สวมกางเกง หวีผมและตรวจดู 5. จัดโต๊ะเขียนหนังสื อ และจัดวางของใช้ในตูห้ รื อชั้น
ความเรี ยบร้อยของเสื้ อผ้าที่สวมใส่ ได้อย่างมีระเบียบ
4. การแต่ งกายที่ ดีควรเลื อกสวมใส่ เสื้ อผ้าให้เหมาะสม
กับฤดูกาล โอกาสและสถานที่
5. การจัดเก็บอุปกรณ์ การเรี ยน ของเล่ น และของใช้ใส่
กล่ อ ง แล้ว เก็บ เข้าที่ ให้เรี ย บร้ อ ยจะทําให้ห ยิบ ใช้ไ ด้ง่าย
และสิ่ งของไม่สูญหาย
6. การจัดโต๊ะ ตู้ และชั้นจะทําให้บา้ นมีความเป็ นระเบียบ
และน่าอยูอ่ าศัย
7. การทํางานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับชี วิตประจําวันควรทํา
ตามลําดับขั้นตอนงานจึงจะประสบผลสําเร็ จ
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  33

ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็ นหลักฐานที่แสดงว่ านักเรียนมีผลการเรียนรู้


ตามที่กาํ หนดไว้อย่างแท้ จริง
1. ภาระงานทีน่ ักเรียนต้ องปฏิบัติ
– ศึกษาและสํารวจเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย
– เล่าประสบการณ์เกี่ยวกับการแต่งกายของตนเอง
– ปฏิบตั ิการแต่งกายด้วยตนเองตามขั้นตอนวิธีการที่ถูกต้อง
– แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบตั ิการแต่งกาย
– ฝึ กแต่งกายด้วยตนเอง
– แข่งขันกันแต่งกายด้วยตนเอง
– จําแนกประเภทของสิ่ งของเครื่ องใช้
– เล่าประสบการณ์การจัดเก็บอุปกรณ์การเรี ยน ของเล่น และของใช้
– ฝึ กปฏิบตั ิการจัดเก็บอุปกรณ์การเรี ยน ของเล่น และของใช้
– ตรวจสอบผลการแต่งกาย การจัดเก็บอุปกรณ์การเรี ยน ของเล่น และของใช้
– แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดโต๊ะ ตู้ และชั้น
– ฝึ กปฏิบตั ิการจัดโต๊ะเขียนหนังสื อ และการจัดวางของใช้ไว้ในตูแ้ ละชั้น
2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ เครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
– การทดสอบ – แบบทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน
– การสนทนาซักถามโดยครู – แบบทดสอบประจําหน่วยการเรี ยนรู ้
– การฝึ กปฏิบตั ิระหว่างเรี ยน – แบบบันทึกการสนทนา
– การประเมินตนเองของนักเรี ยน – ใบความรู ้และใบงาน
– แบบประเมินด้านคุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิยม
– แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ
3. สิ่ งทีม่ ่ ุงประเมิน
– ความสามารถในการอธิบายวิธีการทํางานให้ผอู ้ ื่นเข้าใจ
– การทํางานตามลําดับขั้นตอน
– การใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือในการทํางาน
– การสังเกต การฝึ กปฏิบตั ิ และการสรุ ปผล
– พฤติกรรมการปฏิบตั ิกิจกรรมเป็ นรายบุคคลและรายกลุ่ม
– ความกระตือรื อร้นในการทํางาน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  34

ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 1 เสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย 1 ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 2 วิธีการแต่งกายด้วยตนเอง 1 ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 3 การแต่งกายให้เหมาะสมกับฤดูกาล 1 ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 4 การแต่งกายให้เหมาะสมกับโอกาสและสถานที่ 3 ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 5 การดูแลรักษาเสื้ อผ้า 2 ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 6 การจัดเก็บอุปกรณ์การเรี ยน 1 ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 7 การจัดเก็บของเล่นและของใช้ส่วนตัว 2 ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 8 การจัดโต๊ะ ตู ้ และชั้น 2 ชัว่ โมง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  35

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 1
เสื้อผ้ าและเครื่องแต่ งกาย
สาระที่ 1 การดํารงชีวติ และครอบครัว ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 การทํางานเพือ่ ช่ วยเหลือตนเอง เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
เสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกายใช้สาํ หรับสวมใส่ห่อหุม้ ร่ างกายทําให้เกิดความสวยงามและน่ามอง ซึ่งในการ
แต่งกายจะต้องเตรี ยมเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกายให้พร้อม
2. ตัวชี้วัดชั้นปี
1. บอกวิธีการทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเอง (ง 1.1 ป. 1/1)
2. ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือง่าย ๆ ในการทํางานอย่างปลอดภัย (ง 1.1 ป. 1/2)
3. ทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเองอย่างกระตือรื อร้นและตรงเวลา (ง 1.1 ป. 1/3)
3. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
1. บอกประโยชน์และลักษณะของเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกายได้ (K)
2. มีเจตคติที่ดีต่อการใช้เสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย (A)
3. เลือกเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกายได้อย่างเหมาะสม (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A)
1. สังเกตการตอบคําถาม 1. สังเกตความสนใจเรี ยน 1. สังเกตพฤติกรรมการทํา
และการแสดงความคิดเห็น 2. ความมีเจตคติที่ดีต่อการใช้เสื้ อผ้า กิจกรรมการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง
2. ตรวจผลการปฏิบตั ิกิจกรรม และเครื่ องแต่งกาย 2. สังเกตทักษะการเลือกเสื้ อผ้า
3. ตรวจการทํา แบบทดสอบก่ อ น และเครื่ องแต่งกาย
เรี ยน (Pre-test)

5. สาระการเรี ยนรู้
เสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  36

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย การพูดแสดงความคิดเห็น การตอบคําถาม เกี่ยวกับเสื้ อผ้า
และเครื่ องแต่งกาย
คณิ ตศาสตร์ นับจํานวนเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย
วิทยาศาสตร์ การสังเกตเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย
สุ ขศึกษาฯ การเลือกเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกายในการทํากิจกรรมร่ วมกัน
ในครอบครัว เช่น การไปออกกําลังกาย
ศิลปะ การวาดภาพระบายสี เสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย
ภาษาต่างประเทศ คําศัพท์เกี่ยวกับเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย
7. กระบวนการจัดการเรี ยนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน
1. นักเรี ยนทําแบบทดสอบก่อนเรี ยน (Pre-test) จํานวน 10 ข้อ เวลา 10 นาที (โดยครู เปิ ดสื่ อการเรี ยนรู ้
PowerPoint การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 1 หรื อคู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ การงาน
อาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 ตอนที่ 3 แบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู้ที่ 1)
2. ครู นาํ เสื้ อผ้าเครื่ องแต่งกายของจริ งหรื อภาพ (เสื้ อ กระโปรง กางเกง หมวกไหมพรม และรองเท้า)
มาให้นกั เรี ยนดู แล้วถามคําถามเพื่อกระตุน้ ความคิดและความสนใจของนักเรี ยน เช่น
– สิ่ งของในภาพนี้มีอะไรบ้าง
– สิ่ งของที่นาํ มานั้นมีอะไรบ้าง
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
1. ครู ตรวจบันทึกผลการสํารวจจากงานที่มอบหมายให้นกั เรี ยนทํา และให้นกั เรี ยนนําคําถามที่เตรี ยมไว้
แล้วคนละ 1 คําถามมาร่ วมกันสนทนา
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกี่ยวกับเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกายที่นกั เรี ยนสวมใส่มาโรงเรี ยน
3. ครู อธิ บายเพิ่มเติมเกี่ยวกับประโยชน์ของเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย
4. นักเรี ยนจับคู่ผลัดกันสํารวจเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกายที่สวมใส่ มาโรงเรี ยน แล้วนับจํานวนเสื้ อผ้าและ
เครื่ องแต่งกายที่ประกอบกันเป็ นชุดนักเรี ยน
5. นักเรี ยนอ่านคําศัพท์ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย
6. ให้นกั เรี ยนแต่ละคนเล่าเกี่ยวกับเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกายของตนเอง
7. ครู เสริมความรู้ อาเซี ยนเกี่ยวกับการแต่ งกายของประเทศสมาชิ กอาเซี ยน เช่ น ชาวพม่ าทั้งผู้ชายและ
ผู้หญิงนิยมสวมใส่ ผ้าโลงยีเป็ นชุ ดประจําชาติ โดยผู้ชายจะสวมใส่ คู่กับเสื้ อสี ขาวส่ วนผู้หญิงจะสวมใส่ คู่กับเสื้ อสี
สดใส
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  37

ขั้นที่ 3 ขั้นสรุ ป
1. นักเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความสําคัญและประโยชน์ของเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย
2. ครูมอบหมายงานให้ นักเรียนไปปฏิบัตกิ ารแต่ งกายด้ วยตนเองในช่ วงเวลาเช้ าก่อนมาโรงเรียน
แล้วบันทึกผล และให้ นักเรียนตั้งคําถามที่สงสั ยคนละ 1 คําถาม (เพือ่ นํามาร่ วมกันสนทนาในการเรียนครั้งต่ อไป)
ขั้นที่ 4 ขั้นฝึ กฝนนักเรียน
1. นักเรี ยนสังเกตภาพและจําแนกว่าภาพใดเป็ นเสื้ อผ้าหรื อเครื่ องแต่งกาย
2. นักเรี ยนศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกายจากหนังสื อการออกแบบเสื้ อผ้า และนิตยสาร
3. นักเรี ยนทําแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐานการงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 กิจกรรมที่ 1 ระบายสี
กันเถอะและกิจกรรมที่ 2 วาดภาพเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย
ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช้
นักเรี ยนสามารถนําความรู ้เรื่ องเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกายไปปฏิบตั ิในชีวิตประจําวันได้

8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสํ าหรับกลุ่มสนใจพิเศษ
1) นักเรี ยนออกแบบเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกายที่ชอบคนละ 2 ชุด
2) นักเรี ยนศึกษาข้อมูลและสอบถามเกี่ยวกับเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกายจากบุคคลอื่น ๆ เช่น ผูป้ กครอง
ครู ช่างตัดเสื้ อ เป็ นต้น
2. กิจกรรมสํ าหรับฝึ กทักษะเพิม่ เติม
นักเรี ยนระบายสี ภาพเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย

9. สื่อ/แหล่ งการเรี ยนรู้


1. ตัวอย่างเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย
2. ภาพเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย
3. อุปกรณ์วาดภาพระบายสี
4. สถานที่ เช่น บ้านของนักเรี ยน ชุมชน ร้านตัดเย็บเสื้ อผ้า
5. บุคคล เช่น ผูป้ กครอง ครู ผูร้ ู ้ พนักงานขายเสื้ อผ้า
6. สื่ อ เช่น หนังสื อพิมพ์ โฆษณา ภาพยนตร์
7. หนังสื อเกี่ยวกับเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย วารสาร นิตยสาร
8. สื่ อการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชี พและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิ ช
จํากัด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  38

11. คู่มือการสอน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด


12. สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์
วัฒนาพานิช จํากัด
10. บันทึกหลังการจัดการเรี ยนรู้
1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู้
แนวทางการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
แนวทางแก้ไข
3. สิ่ งทีไ่ ม่ ได้ ปฏิบัติตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)

/ /
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  39

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 2
วิธีการแต่ งกายด้ วยตนเอง
สาระที่ 1 การดํารงชีวติ และครอบครัว ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 การทํางานเพือ่ ช่ วยเหลือตนเอง เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
การแต่งกายด้วยตนเองเป็ นงานอย่างหนึ่งที่ควรทําเพื่อช่วยเหลือตนเอง โดยทําตามลําดับขั้นตอน
เริ่ มจากการชําระร่ างกายให้สะอาด สวมใส่เสื้ อผ้าที่สะอาด และตรวจสอบความเรี ยบร้อยเป็ นลําดับสุ ดท้าย
2. ตัวชี้วัดชั้นปี
1. บอกวิธีการทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเอง (ง 1.1 ป. 1/1)
2. ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือง่าย ๆ ในการทํางานอย่างปลอดภัย (ง 1.1 ป. 1/2)
3. ทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเองอย่างกระตือรื อร้นและตรงเวลา (ง 1.1 ป. 1/3)
3. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
1. อธิ บายขั้นตอนของการแต่งกายได้ (K)
2. มีความกระตือรื อร้นในการแต่งกายด้วยตนเอง (A)
3. เลือกเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกายได้เหมาะสม (P)
4. สามารถแต่งกายด้วยตนเองได้ถูกวิธี (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้
ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A)
1. สังเกตการตอบคําถาม 1. สังเกตความกระตือรื อร้น 1. สังเกตพฤติกรรมขณะทํากิจกรรม
และการบอกเหตุผล ในการทํากิจกรรม 2. สังเกตทักษะการแต่งกาย
2. ตรวจผลงานการแต่ ง กายด้ ว ย 2. สั งเก ต ค วาม มี นํ้ าใจ เอื้ อ เฟื้ อ ตามลําดับขั้นตอน
ตนเอง ในขณะทํากิจกรรมร่ วมกับเพื่อน

5. สาระการเรี ยนรู้
การแต่งกายด้วยตนเอง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  40

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย การเล่าประสบการณ์ การตั้งคําถามเกี่ยวกับการแต่งกายด้วยตนเอง
วิทยาศาสตร์ การสังเกตวิธีการแต่งกายของตนเอง
สุ ขศึกษา ฯ การแข่งขันกันแต่งกายด้วยตนเอง
ศิลปะ การวาดภาพการแต่งกาย
ภาษาต่างประเทศ การเขียนคําศัพท์เกี่ยวกับวิธีการแต่งกาย
7. กระบวนการจัดการเรี ยนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน
ครู นาํ ภาพเด็กผูห้ ญิงกําลังแต่งชุดนักเรี ยนมาให้นกั เรี ยนดู แล้วถามคําถามเพื่อกระตุน้ ความคิดและ
ความสนใจของนักเรี ยน เช่น สังเกตภาพ แล้วช่วยกันบอกว่าเด็กคนนี้กาํ ลังทําอะไร
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
1. ครู ตรวจบันทึกผลการปฏิบตั ิงานที่มอบหมายให้นกั เรี ยนทํา และให้นกั เรี ยนนําคําถามที่เตรี ยมไว้แล้ว
คนละ 1 คําถามมาร่ วมกันสนทนา
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับการแต่งกายชุดนักเรี ยน
3. นักเรี ยนที่แต่งกายชุดนักเรี ยนด้วยตนเองออกมาเล่าวิธีการแต่งกายของตนเองให้เพื่อนฟัง
4. นักเรี ยนที่แต่งกายชุดนักเรี ยนด้วยตนเอง ออกมาสาธิ ตวิธีการแต่งกายให้เพื่อน ๆ ในชั้นเรี ยนดู
5. นักเรี ยนที่ฟังและสังเกตการสาธิตช่วยกันตั้งคําถามเกี่ยวกับการแต่งกาย
6. ครู อธิ บายเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีการและขั้นตอนการแต่งกายที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนฟัง
7. ครู เลือกนักเรี ยนในชั้นที่แต่งกายสะอาดเรี ยบร้อยมา 1 คน ให้เพื่อนในชั้นสังเกตการแต่งกาย จากนั้น
ครู ถามนักเรี ยนว่าการแต่งกายของเพื่อนถูกต้องหรื อไม่
8. ครู เปิ ดสื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint หรื อ นําภาพที่แสดงวิธีการแต่งกายมาให้นกั เรี ยนสังเกต แล้วให้
นักเรี ยนช่วยกันบรรยายภาพ และ เล่าเรื่ องจากภาพ
9. ครู อธิ บายวิธีการแต่งกายที่ถกู ต้องให้นกั เรี ยนฟัง
10. ครูบูรณาการตามหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงด้ านความประหยัด โดยบูรณาการในขั้นตอน
การแต่ งกายด้ วยตนเอง เช่ น การอาบนํา้ ชําระร่ างกาย ขณะที่กาํ ลังถูสบู่ควรปิ ดนํา้ เพือ่ ประหยัดนํา้ การรักษาความ
สะอาดเสื้อผ้าทีส่ วมใส่ เพือ่ ให้ ใช้ ได้ นาน
11. ครูเสริมความรู้อาเซียนเกีย่ วกับการขาดแคลนนํา้ จืดในประเทศสมาชิกอาเซียน กล่าวคือ ประเทศ
สิ งคโปร์ เป็ นเกาะเล็ก ๆ ซึ่งขาดแคลนนํา้ จืดสําหรับใช้ ในการดํารงชีวติ จึงจําเป็ นต้ องซื้อนํา้ จืดมาจากประเทศมาเลเซีย
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุ ป
1. นักเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ของการแต่งกายด้วยตนเอง
2. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน ช่วยกันสรุ ปความรู ้เกี่ยวกับวิธีการแต่งกายด้วยตนเอง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  41

3. ครูมอบหมายงานให้ นักเรียนไปสํ ารวจเสื้อผ้าและเครื่องแต่ งกายของตนเองที่สวมใส่ ในวันที่มอี ากาศ


ร้ อน ฝนตก หรื ออากาศหนาว แล้ วบันทึกผล และให้ นักเรี ยนตั้งคําถามที่สงสั ยคนละ 1 คําถาม (เพื่อนํามาร่ วมกัน
สนทนาในการเรียนครั้งต่ อไป)
ขั้นที่ 4 ขั้นฝึ กฝนนักเรียน
1. นักเรี ยนสังเกตภาพที่กาํ หนดให้และช่วยกันเล่าเรื่ องจากภาพ แล้วเขียนคําตอบลงในช่องว่าง
2. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ส่งตัวแทนกลุ่มออกไปแข่งขันใส่เสื้ อ แล้วร่ วมกันสรุ ปวิธีการใส่เสื้ อ
ให้รวดเร็ วและถูกต้อง
3. นักเรี ยนทําแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป.1 กิจกรรมที่ 3 เล่าเรื่ อง
จากภาพและกิจกรรมที่ 4 แต่งกายให้ถูกต้อง
ขั้นที่ 5 ขั้นนําไป ใช้
นักเรี ยนนําวิธีการไปใช้ในการแต่งกายด้วยตนเองและช่วยแต่งกายให้สมาชิกในครอบครัว เช่น แต่งกาย
ให้นอ้ ง

8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสํ าหรับกลุ่มสนใจพิเศษ
1) นักเรี ยนวาดภาพแสดงวิธีการแต่งกายของตนเอง พร้อมกับระบายสี ให้สวยงาม แล้วนําเสนอผลงาน
หน้าชั้นเรี ยน
2) นักเรี ยนศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีการแต่งกายด้วยตนเองจากผูป้ กครอง ผูร้ ู้ และแหล่งการ
เรี ยนรู ้อื่น ๆ
2. กิจกรรมสํ าหรับฝึ กทักษะเพิม่ เติม
นักเรี ยนดูวิซีดีเกี่ยวกับขั้นตอนการแต่งกายด้วยตนเอง

9. สื่อ/แหล่ งการเรี ยนรู้


1. ภาพขั้นตอนการแต่งกาย
2. หนังสื อเกี่ยวกับเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย วารสาร นิตยสาร
3. สถานที่ เช่น บ้านของนักเรี ยน ชุมชน ห้องสมุด ร้านตัดเย็บเสื้ อผ้า
4. บุคคล เช่น ผูป้ กครอง ครู ผูร้ ู ้ พนักงานขายเสื้ อผ้า
5. สื่ อการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
6. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. คู่มือการสอน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์
วัฒนาพานิช จํากัด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  42

10. บันทึกหลังการจัดการเรี ยนรู้


1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู้
แนวทางการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
แนวทางแก้ไข
3. สิ่ งทีไ่ ม่ ได้ ปฏิบัติตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)

/ /
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  43

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 3
การแต่ งกายให้ เหมาะสมกับฤดูกาล
สาระที่ 1 การดํารงชีวติ และครอบครัว ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 การทํางานเพือ่ ช่ วยเหลือตนเอง เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
อากาศในแต่ละฤดูมีความแตกต่างกัน นักเรี ยนจึงควรเลือกสวมใส่เสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกายให้เหมาะสม
กับสภาพอากาศ
2. ตัวชี้วัดชั้นปี
1. บอกวิธีการทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเอง (ง 1.1 ป. 1/1)
2. ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือง่าย ๆ ในการทํางานอย่างปลอดภัย (ง 1.1 ป. 1/2)
3. ทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเองอย่างกระตือรื อร้นและตรงเวลา (ง 1.1 ป. 1/3)
3. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
1. อธิ บายวิธีการแต่งกายที่เหมาะสมกับฤดูกาลได้ (K)
2. มีเจตคติที่ดีต่อการเลือกเสื้ อผ้าที่เหมาะสมกับฤดูกาล (A)
3. สวมใส่เสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกายให้เหมาะสมกับฤดูกาลได้ดว้ ยตนเอง (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้
ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่านิยม (A
1. สังเกตการตอบคําถาม 1. สังเกตความกระตือรื อร้น 1. สังเกตทักษะการเลือกเสื้ อผ้า
และการอธิบายเหตุผล และความตั้งใจเรี ยน และเครื่ องแต่งกายในฤดูกาลต่าง ๆ
2. ตรวจผลงานการเขียนอธิบาย 2. สังเกตความรับผิดชอบในการ 2. สังเกตพฤติกรรมขณะปฏิบตั ิ
วิธีแต่งกายให้เหมาะสมกับ ฤดูกาล ทํางานและความตรงต่อเวลา กิจกรรมการเรี ยนรู ้

5. สาระการเรี ยนรู้
การแต่งกายให้เหมาะสมกับฤดูกาล
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  44

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย การพูดแสดงความคิดเห็น การเล่าประสบการณ์เกี่ยวกับการ
แต่งกายให้เหมาะสมกับฤดูกาล
วิทยาศาสตร์ การสังเกตการแต่งกาย วัสดุที่นาํ มาทําเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย
ในฤดูกาลต่าง ๆ
สุ ขศึกษาฯ การแต่งกายเพื่อสร้างเสริ มสุขภาพและการป้ องกันโรค
ศิลปะ การวาดภาพธรรมชาติในฤดูกาลต่าง ๆ
ภาษาต่างประเทศ คําศัพท์เกี่ยวกับฤดูกาลต่าง ๆ
7. กระบวนการจัดการเรี ยนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน
ครู นาํ ภาพเสื้ อแขนยาวและเสื้ อคอกลมไม่มีแขนมาให้นกั เรี ยนดู แล้วถามคําถามเพื่อกระตุน้ ความคิดและ
ความสนใจของนักเรี ยน เช่น นักเรี ยนจะเลือกใส่เสื้ อในภาพเมื่อไร เพราะอะไร
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
1. ครู ตรวจบันทึกผลการปฏิบตั ิงานที่มอบหมายให้นกั เรี ยนทํา และให้นกั เรี ยนนําคําถามที่เตรี ยมไว้แล้ว
คนละ 1 คําถามมาร่ วมกันสนทนา
2. ครู ถามคําถามนักเรี ยนเกี่ยวกับสภาพอากาศในประเทศไทย เช่น ประเทศไทยมีกี่ฤดู อะไรบ้าง
3. ครู นาํ เสื้ อผ้า ได้แก่ เสื้ อยืด กางเกงขาสั้น เสื้ อแขนยาว และกางเกงขายาวมาให้นกั เรี ยนดู แล้วช่วยกัน
แสดงความคิดเห็นว่าเสื้ อผ้าทั้ง 2 ชุด แตกต่างกันอย่างไร และควรสวมใส่ เมื่อไร
4. ครู เปิ ดสื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint เกี่ยวกับภาพเสื้ อผ้าแลเครื่ องแต่งกายหรื อนําภาพเสื้ อผ้าและ
เครื่ องแต่งกายทีละภาพ แล้วให้นกั เรี ยนตอบคําถามว่าเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกายแต่ละภาพเหมาะสม
ที่จะสวมใส่ในฤดูกาลใด
5. ครูเสริมความรู้อาเซียนเกีย่ วกับฤดูกาลในประเทศสมาชิกอาเซียน ได้ แก่
- อากาศในประเทศอินโดนีเซีย แบ่ งเป็ น 2 ฤดู ได้ แก่ ฤดูร้อน และฤดูฝน
- เมืองบาเกียวในประเทศฟิ ลิปปิ นส์ เป็ นเมืองที่ฝนตกมากที่สุดในอาเซียน
6. นักเรี ยนอาสาสมัครออกมาเล่าเกี่ยวกับการแต่งกายของตนเองในฤดูกาลต่าง ๆ
7. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน พิจารณาตัวอย่างเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกายที่กาํ หนดให้ แล้วจัดกลุ่ม
เสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกายให้เหมาะสมกับฤดูกาลต่าง ๆ
8. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปเกี่ยวกับการแต่งกายให้เหมาะสมกับฤดูกาลต่าง ๆ
9. นักเรี ยนหาภาพการแต่งกายในฤดูต่าง ๆ จากหนังสื อและนิตยสาร แล้วจัดทําบัตรภาพหรื อสมุดภาพ
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุ ป
1. นักเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลเสี ยต่อสุ ขภาพที่เกิดจากการแต่งกายไม่เหมาะสมกับ
สภาพอากาศ
2. นักเรี ยนแต่ละคนสรุ ปลักษณะการแต่งกายที่เหมาะสมกับตนเองในฤดูใดฤดูหนึ่งที่นกั เรี ยนชอบ
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  45

3. ครูมอบหมายงานให้ นักเรียนไปสั งเกตการแต่ งกายของตนเองเมือ่ อยู่ที่บ้านในขณะทํากิจกรรมต่ าง ๆ


ภายในบ้ าน และเมื่อจะเข้ านอน แล้ วบันทึกผล และให้ นักเรียนตั้งคําถามที่สงสั ยคนละ 1 คําถาม (เพื่อนํามาร่ วมกัน
สนทนาในการเรียนครั้งต่ อไป)
ขั้นที่ 4 ขั้นฝึ กฝนนักเรียน
1. ครู นาํ ภาพการแต่งกายมาให้นกั เรี ยนดู แล้วอธิบายเหตุผลว่าการแต่งกายตามภาพที่กาํ หนดให้เหมาะสม
จะสวมใส่ในฤดูกาลใด เพราะเหตุใด แล้วให้นกั เรี ยนเล่าเรื่ องจากภาพ
2. นักเรี ยนศึกษาข้อมูลความรู ้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการเลือกเสื้ อผ้าและการแต่งกายที่เหมาะสม โดยศึกษาจาก
หนังสื อออกแบบเสื้ อผ้า นิตยสาร หรื อสอบถามจากผูร้ ู ้
ขั้นที่ 5 ขั้นนํา ไป ใช้
นักเรี ยนสามารถแต่งกายได้เหมาะสมกับฤดูกาลต่าง ๆ
8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสํ าหรับกลุ่มสนใจพิเศษ
นักเรี ยนสอบถามผูป้ กครองเกี่ยวกับการแต่งกายในฤดูกาลต่าง ๆ แล้วนํามาเล่าให้ครู ฟัง
2. กิจกรรมสํ าหรับฝึ กทักษะเพิม่ เติม
นักเรี ยนวาดภาพเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกายในฤดูกาลต่าง ๆ พร้อมกับระบายสี ให้สวยงาม จากนั้น
นําผลงานไปจัดป้ ายนิเทศ
9. สื่อ/แหล่ งการเรี ยนรู้
1. ภาพเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย การแต่งกายในฤดูกาลต่าง ๆ
2. ตัวอย่างเสื้ อผ้าประเภทต่าง ๆ
3. สถานที่ เช่น บ้านของนักเรี ยน ชุมชน ห้องสมุด ร้านตัดเย็บเสื้ อผ้า
4. บุคคล เช่น ผูป้ กครอง ครู ผูร้ ู ้ พนักงานขายเสื้ อผ้า
5. หนังสื อเกี่ยวกับเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย วารสาร นิตยสาร
6. สื่ อการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นา พานิช จํากัด
7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8 . คู่มือการสอน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์
วัฒนาพานิช จํากัด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  46

10. บันทึกหลังการจัดการเรี ยนรู้


1. ความสํ าเร็จในการจัดการเรียนรู้
แนวทางการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
แนวทางแก้ไข
3. สิ่ งทีไ่ ม่ ได้ ปฏิบัติตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรียนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)

/ /
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  47

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 4
การแต่ งกายให้ เหมาะสมกับโอกาสและสถานที่
สาระที่ 1 การดํารงชีวติ และครอบครัว ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 การทํางานเพือ่ ช่ วยเหลือตนเอง เวลา 3 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
ในแต่ละวันเราต้องทํากิจกรรมมากมาย การแต่งกายที่เหมาะสมจะช่วยให้ทาํ กิจกรรมได้สะดวก ดังนั้น
เราจึงควรเลือกเสื้ อผ้าที่นาํ ไปใช้ให้เหมาะสมกับโอกาสและสถานที่ต่าง ๆ
2. ตัวชี้วัดชั้นปี
1. บอกวิธีการทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเอง (ง 1.1 ป. 1/1)
2. ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือง่าย ๆ ในการทํางานอย่างปลอดภัย (ง 1.1 ป. 1/2)
3. ทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเองอย่างกระตือรื อร้นและตรงเวลา (ง 1.1 ป. 1/3)
3. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
1. อธิ บายวิธีการแต่งกายที่เหมาะสมกับโอกาสและสถานที่ได้ (K)
2. มีเจตคติที่ดีต่อการแต่งกายให้เหมาะสมกับโอกาสและสถานที่ (A)
3. เลือกสวมใส่เสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกายให้เหมาะสมกับโอกาสและสถานที่ได้ดว้ ยตนเอง (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้
ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A)
1. สังเกตการตอบคําถาม 1. สังเกตความสนใจและ 1. สังเกตทักษะการเลือกเสื้ อผ้า และ
และอธิบายเหตุผล ความตั้งใจเรี ยน เครื่ องแต่งกายที่เหมาะสมกับโอกาส
2. ตรวจผลงานการปรับปรุ ง 2. สังเกตความขยันในการทํางาน และสถานที่
การแต่งกายของนักเรี ยน และความตรงต่อเวลา 2. สังเกตพฤติกรรมขณะปฏิบตั ิ
กิจกรรมร่ วมกับผูอ้ ื่น

5. สาระการเรี ยนรู้
การแต่งกายให้เหมาะสมกับโอกาสและสถานที่
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  48

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย การเล่าประสบการณ์เกี่ยวกับการแต่งกายไปร่ วมงานหรื อไปเที่ยว
ตามสถานที่ต่าง ๆ
วิทยาศาสตร์ การสังเกตและเปรี ยบเทียบการแต่งกายในโอกาสและสถานที่ต่าง ๆ
สังคมศึกษาฯ การแต่งกายตามประเพณี ไทย
ศิลปะ การวาดภาพการแต่งกายที่เหมาะสมกับโอกาสและสถานที่ต่าง ๆ
ภาษาต่างประเทศ คําศัพท์เกี่ยวกับสถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ
7. กระบวนการจัดการเรี ยนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน
ครู นาํ ภาพเด็กผูห้ ญิงใส่เสื้ อคอกลม ไม่มีแขน ใส่กางเกงขาสั้นมาให้นกั เรี ยนดู แล้วถามคําถามเพื่อกระตุน้
ความคิดและความสนใจของนักเรี ยน เช่น นักเรี ยนคิดว่าการแต่งกายของเด็กในภาพเหมาะสมกับการอยูบ่ า้ นหรื อไม่
เพราะอะไร
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
ชั่วโมงที่ 1 (การแต่ งกายเมือ่ อยู่ทบี่ ้ าน)
1. ครู บนั ทึกผลการสังเกตจากงานที่มอบหมายให้นกั เรี ยนทํา และให้นกั เรี ยนนําคําถามที่เตรี ยมไว้แล้ว
คนละ 1 คําถามมาร่ วมกันสนทนา
2. นักเรี ยนช่วยกันบอกลักษณะการแต่งกายขณะทํากิจกรรมต่าง ๆ ภายในบ้าน และเมื่อจะเข้านอน
3. ให้อาสาสมัคร 3–4 คน เล่าประสบการณ์การแต่งกายไปร่ วมงานต่าง ๆ เช่น งานแต่งงาน งานวันเกิด
ให้เพื่อน ๆ ฟัง
4. ครู ถามคําถามเพื่อให้นกั เรี ยนเปรี ยบเทียบลักษณะการแต่งกายเมื่ออยูท่ ี่บา้ นกับการแต่งกายเมื่อต้องไป
ร่ วมงานต่าง ๆ
5. ครู อธิ บายเกี่ยวกับการแต่งกายให้เหมาะสมกับโอกาสต่าง ๆ
ชั่วโมงที่ 2 (การแต่ งกายเมือ่ ไปโรงเรียน)
1. ครู ให้นกั เรี ยนที่แต่งกายได้ดว้ ยตนเองเล่าประสบการณ์เกี่ยวกับการแต่งกายชุดนักเรี ยนให้เพื่อน ๆ ฟัง
2. ครู ให้นกั เรี ยนชายและนักเรี ยนหญิงที่แต่งกายสะอาดเรี ยบร้อยออกมายืนที่หน้าชั้นเรี ยน และให้
นักเรี ยนร่ วมกันสังเกตการแต่งกายของนักเรี ยนชายและนักเรี ยนหญิง แล้วร่ วมกันแสดงความคิดเห็น
3. ครูเสริมความรู้อาเซียนเกีย่ วกับการแต่ งกายเมือ่ ไปโรงเรียนของนักเรียนชาวลาว โดยนักเรียนชาย
ชาวลาวกับชาวไทยแต่ งกายคล้ายกันจะต่ างกันที่นักเรียนชาวลาวนุ่งกางเกงขายาวสี ดํา
4. ครู อธิ บายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการแต่งกายชุดนักเรี ยนที่ถูกต้อง
5. นักเรี ยนจับคู่แล้วผลัดกันสังเกตการแต่งกายของตนเองและของเพื่อนว่าเรี ยบร้อยหรื อไม่
ถ้าพบข้อบกพร่ องก็ให้ปรับปรุ งแก้ไขให้เรี ยบร้อยและถูกต้อง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  49

ชั่วโมงที่ 3 (การแต่ งกายเมือ่ ไปเทีย่ ว)


1. ครู เปิ ดสื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint เกี่ยวกับภาพสถานที่ต่าง ๆ หรื อนําภาพ เช่น ภาพทะเล ภาพสวนสัตว์
ภาพวัด ภาพโบราณสถาน มาให้นกั เรี ยนดูแล้วถามคําถามเพื่อกระตุน้ ความคิดและความสนใจของนักเรี ยน เช่น ถ้า
นักเรี ยนไปเที่ยวสถานที่ในภาพ นักเรี ยนจะแต่งกายอย่างไร เพราะเหตุใด
2. ครู ให้นกั เรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการแต่งกายจากภาพ 
3. ครูเสริมความรู้อาเซียน ได้ แก่
- สถานที่ท่องเที่ยวทางทะเลที่สวยงามในอาเซียน เช่ น เกาะเต่ าในประเทศไทย เกาะบาหลีในประเทศ
อินโดนีเซีย เกาะสิ ปาดันในประเทศมาเลเซีย
- วัดพระศรีรัตนศาสดารามหรือวัดพระแก้วเป็ นสถานที่สําคัญของประเทศไทย โดยเป็ นสถานที่
ประดิษฐานพระแก้วมรกต ซึ่งเป็ นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวไทยเคารพ
4. ครู อธิ บายเพิม่ เติมเกี่ยวกับวิธีการแต่งกายที่เหมาะสมกับสถานที่ให้นกั เรี ยนฟัง
5. ให้นกั เรี ยนอ่านเพิ่มเติมจากสื่ อการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ ป. 1 หรื อ
หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุ ป
1. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3–4 คน แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับลักษณะของการแต่งกายที่เหมาะสมกับ
โอกาสและสถานที่ต่าง ๆ ตามที่ครู กาํ หนด
2. นักเรี ยนส่งตัวแทนกลุ่มออกมาพูดสรุ ปลักษณะการแต่งกายที่เหมาะสมกับโอกาสและสถานที่ต่าง ๆ
3. ครูมอบหมายงานให้ นักเรียนไปสั งเกตพฤติกรรมที่ทําให้ เสื้อผ้าเปื้ อนขณะสวมใส่ แล้ วบันทึกผล และ
ให้ นักเรียนตั้งคําถามที่สงสั ยคนละ 1 คําถาม (เพือ่ นํามาร่ วมกันสนทนาในการเรียนครั้งต่ อไป)
ขั้นที่ 4 ขั้นฝึ กฝนนักเรียน
1. นักเรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรมโดยสังเกตภาพการแต่งกายที่กาํ หนดให้แล้วบอกสถานที่ที่ควรไป
2. ให้นกั เรี ยนดูภาพและเลือกชุดที่เหมาะสม
3. นักเรี ยนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการแต่งกายให้เหมาะสมกับโอกาสและสถานที่จากหนังสื อ ผูป้ กครอง
ผูร้ ู ้ และแหล่งการเรี ยนรู้อื่น ๆ
4. นักเรี ยนทําแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 กิจกรรมที่ 5 ไปที่ไหนดี
กิจกรรมที่ 6 แข่งขันกันแต่งกายและกิจกรรมที่ 7 เลือกชุดให้เหมาะสม
ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช้
นักเรี ยนสามารถแต่งกายได้เหมาะสมกับโอกาสและสถานที่
8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสํ าหรับกลุ่มสนใจพิเศษ
นักเรี ยนวาดภาพเสื้ อผ้าเครื่ องแต่งกายที่เหมาะสมกับตนเองเพื่อสวมใส่ไปเที่ยวสถานที่ที่อยากไป
มากที่สุดพร้อมกับอธิ บายเหตุผลประกอบ
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  50

2. กิจกรรมสํ าหรับฝึ กทักษะเพิม่ เติม


นักเรี ยนดูวีซีดีเกี่ยวกับการแต่งกายไปในสถานที่ต่าง ๆ
9. สื่อ/แหล่ งการเรี ยนรู้
1. ภาพการแต่งกายในโอกาสและสถานที่ต่าง ๆ
2. ตัวอย่างเสื้ อผ้าประเภทต่าง ๆ
3. หนังสื อเกี่ยวกับเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย วารสาร นิตยสาร
4. สถานที่ เช่น บ้านของนักเรี ยน ชุมชน ห้องสมุด ร้านตัดเย็บเสื้ อผ้า
5. บุคคล เช่น ผูป้ กครอง ครู ผูร้ ู ้ พนักงานขายเสื้ อผ้า
6. สื่ อการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช
จํากัด
9. คู่มือการสอน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์
วัฒนาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
1. ความสํ าเร็จในการจัดการเรียนรู้
แนวทางการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
แนวทางแก้ไข
3. สิ่ งทีไ่ ม่ ได้ ปฏิบัติตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)

/ /
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  51

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 5
การดูแลรักษาเสื้อผ้ า
สาระที่ 1 การดํารงชีวติ และครอบครัว ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 การทํางานเพือ่ ช่ วยเหลือตนเอง เวลา 2 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
การปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ในแต่ละวันอาจทําให้เสื้ อผ้าที่สวมใส่สกปรกหรื อชํารุ ด จึงจําเป็ นต้องดูแล
รักษาเสื้ อผ้าทั้งในขณะที่สวมใส่และภายหลังจากการสวมใส่แล้ว เพื่อให้เสื้ อผ้าสะอาด น่าสวมใส่ และใช้งาน
ได้นาน
2. ตัวชี้วัดชั้นปี
1. บอกวิธีการทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเอง (ง 1.1 ป. 1/1)
2. ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือง่าย ๆ ในการทํางานอย่างปลอดภัย (ง 1.1 ป. 1/2)
3. ทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเองอย่างกระตือรื อร้นและตรงเวลา (ง 1.1 ป. 1/3)
3. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
1. อธิ บายวิธีการดูแลรักษาเสื้ อผ้าได้ (K)
2. มีเจตคติที่ดีและมีความกระตือรื อร้นในการดูแลรักษาเสื้ อผ้า (A)
3. ดูแลรักษาเสื้ อผ้าด้วยตนเองอย่างถูกวิธี (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A)
1. สังเกตการตอบคําถาม 1. สังเกตความเอาใส่ ในการเรี ยน 1. สังเกตทักษะ/กระบวนการเกี่ยวกับ
และการแสดงความคิดเห็น 2. สังเกตความรับผิดชอบในการทํา การดูแลรักษาเสื้ อผ้า
2. ตรวจผลงานการดูแลรักษาเสื้ อผ้า กิจกรรมที่ได้รับมอบหมาย 2. สังเกตจากการทํากิจกรรมร่ วมกับ
ของนักเรี ยน ผูอ้ ื่น

5. สาระการเรี ยนรู้
1. การดูแลรักษาเสื้ อผ้าขณะสวมใส่
2. การดูแลรักษาเสื้ อผ้าที่สวมใส่แล้ว
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  52

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย การพูดแสดงความคิดเห็น และเล่าประสบการณ์เกี่ยวกับการดูแล
รักษาเสื้ อผ้า
คณิ ตศาสตร์ การนับจํานวนเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกายที่ตอ้ งดูแลรักษา
วิทยาศาสตร์ การสังเกตเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกายที่สกปรกและชํารุ ด
ศิลปะ สี สนั ของเสื้ อผ้า การจัดเรี ยงเสื้ อผ้า การพับเสื้ อผ้า
ภาษาต่างประเทศ คําศัพท์เกี่ยวกับเสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย
7. กระบวนการจัดการเรี ยนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน
ครู นาํ ภาพเด็ก ๆ นอนเล่นที่พ้นื สนามหญ้ามาให้นกั เรี ยนดู แล้วถามคําถามเพื่อกระตุน้ ความคิดและ
ความสนใจของนักเรี ยน เช่น นักเรี ยนคิดว่าการปฏิบตั ิของเด็กในภาพนี้จะทําให้เสื้ อผ้าเป็ นอย่างไร เพราะอะไร
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
ชั่วโมงที่ 1 (การดูแลรักษาเสื้อผ้ าขณะสวมใส่ )
1. ครู บนั ทึกผลการสังเกตจากงานที่มอบหมายให้นกั เรี ยนทํา และให้นกั เรี ยนนําคําถามที่เตรี ยมไว้แล้ว
คนละ 1 คําถามมาร่ วมกันสนทนา
2. ครู นาํ ภาพการปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ เช่น รับประทานอาหาร เล่นกีฬา เดินทางไปโรงเรี ยน มาให้
นักเรี ยนดู แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับภาพ
3. นักเรี ยนระดมความคิดเกี่ยวกับวิธีการการดูแลรักษาเสื้ อผ้าขณะสวมใส่
4. ครู อธิ บายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใช้ความระมัดระวังไม่ให้เสื้ อผ้าเปื้ อนหรื อสกปรก
5. ครูเสริมความรู้อาเซียนเกีย่ วกับการละเล่นของเด็กในประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งการละเล่ นบางอย่าง
มีวธิ ีการเล่นคล้าย ๆ กัน เช่ น เด็กชาวลาวนิยมเล่ น “ลูลขี ้ าวสาร” เด็กชาวไทยเรียกว่ า รีรีข้าวสาร
ชั่วโมงที่ 2 (การดูแลรักษาเสื้อผ้ าที่สวมใส่ แล้ ว)
1. ครู ถามคําถาม เช่น นักเรี ยนจะดูแลรักษาเสื้ อผ้าที่สวมใส่แล้วอย่างไร
2. ครู ให้นกั เรี ยนแบ่งกลุ่ม สํารวจการแต่งกายของเพื่อนในกลุ่ม แล้วคัดเลือกผูท้ ี่แต่งกายสะอาดเรี ยบร้อย
ที่สุดออกมาเล่าเกี่ยวกับวิธีการดูแลรักษาเสื้ อผ้าให้เพื่อน ๆ ฟัง
3. ครู สื่อการเรี ยนรู ้ PowerPoint เกี่ยวกับวิธีการดูแลรักษาเสื้ อผ้าเมื่อสวมใส่แล้ว แล้วอธิบายเพิ่มเติม
เกี่ยวกับวิธีการดูแลรักษาเสื้ อผ้าเมื่อสวมใส่แล้ว เพื่อให้นกั เรี ยนเข้าใจยิง่ ขึ้น
4. ให้นกั เรี ยนอ่านเพิ่มเติมจากสื่ อการเรี ยนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ ป. 1 หรื อ
หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1
5. ครูบูรณาการตามหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงด้ านความประหยัด โดยบูรณาการการซ่ อมแซม
เสื้อผ้าที่มรี อยฉีกขาดเป็ นการใช้ สิ่งของอย่างคุ้มค่ าและช่ วยประหยัดค่ าใช้ จ่ายของครอบครัว
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  53

ขั้นที่ 3 ขั้นสรุ ป
1. นักเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ของการดูแลรักษาเสื้ อผ้า แล้วสรุ ปเป็ นแผนที่
ความคิด
2. นักเรี ยนช่วยกันสรุ ปวิธีการดูแลรักษาเสื้ อผ้าขณะสวมใส่และเมื่อสวมใส่แล้ว
3. ครูมอบหมายงานให้ นักเรียนไปสํ ารวจการจัดเก็บอุปกรณ์ การเรียนของตนเองที่บ้านแล้วบันทึกผล
และให้ นักเรียนตั้งคําถามที่สงสั ยคนละ 1 คําถาม (เพือ่ นํามาร่ วมกันสนทนาในการเรียนครั้งต่ อไป)
ขั้นที่ 4 ขั้นฝึ กฝนนักเรียน
1. นักเรี ยนพิจารณาภาพการปฏิบตั ิตนที่ทาํ ให้เสื้ อผ้าเปื้ อนหรื อสกปรก และบอกเหตุผลว่า ควรปฏิบตั ิ
ตามตัวละครในภาพหรื อไม่ เพราะเหตุใด
2. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน ร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการดูแลรักษาเสื้ อผ้าที่สวมใส่
แล้ว และสรุ ปเป็ นแผนที่ความคิด
3. นักเรี ยนศึกษาความรู ้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการดูแลรักษาเสื้ อผ้า
4. นักเรี ยนทําแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 กิจกรรมที่ 8 ทําตาม
ใครดี
ขั้นที่ 5 ขั้นนําไป ใช้
นักเรี ยนสามารถปฏิบตั ิการดูแลรักษาเสื้ อผ้าขณะสวมใส่และเสื้ อผ้าที่สวมใส่แล้วของตนเองได้
8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสํ าหรับกลุ่มสนใจพิเศษ
นักเรี ยนสอบถามผูป้ กครองเกี่ยวกับการดูแลรักษาเสื้ อด้วยวิธีการซักหรื อซ่อมแซมเสื้ อผ้า แล้วทดลอง
ฝึ กปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง
2. กิจกรรมสํ าหรับฝึ กทักษะเพิม่ เติม
ครู ให้นกั เรี ยนจับคู่กบั เพือ่ น แล้วถาม–ตอบเกี่ยวกับการดูแลรักษาเสื้ อผ้าของตนเอง
9. สื่อ/แหล่ งการเรี ยนรู้
1. ตัวอย่างเสื้ อผ้าที่สกปรกและชํารุ ด
2. ภาพขั้นตอนวิธีการดูแลรักษาเสื้ อผ้า
3. หนังสื อคู่มือการดูแลรักษาเสื้ อผ้า วารสาร นิตยสาร
4. สื่ อ เช่น หนังสื อพิมพ์ โทรทัศน์ วีซีดี ภาพยนตร์
5. บุคคล เช่น ครู ผูป้ กครอง ผูร้ ู ้
6. สถานที่ เช่น บ้านของนักเรี ยน ห้องเรี ยน ห้องสมุด ห้างสรรพสิ นค้า
7. สื่ อการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิชจํากัด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  54

10. คู่มือการสอน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด


11. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์
วัฒนาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู้
แนวทางการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
แนวทางแก้ไข
3. สิ่ งทีไ่ ม่ ได้ ปฏิบัติตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)

/ /
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  55

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 6
การจัดเก็บอุปกรณ์ การเรียน
สาระที่ 1 การดํารงชีวติ และครอบครัว ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 การทํางานเพือ่ ช่ วยเหลือตนเอง เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
อุปกรณ์การเรี ยนหากวางทิ้งไว้เกะกะจะทําให้ดูรกรุ งรัง เราควรจัดเก็บอุปกรณ์การเรี ยนให้เป็ นระเบียบ
เรี ยบร้อย เพื่อให้หยิบใช้สอยได้สะดวกและไม่สูญหาย
2. ตัวชี้วัดชั้นปี
1. บอกวิธีการทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเอง (ง 1.1 ป. 1/1)
2. ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือง่าย ๆ ในการทํางานอย่างปลอดภัย (ง 1.1 ป. 1/2)
3. ทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเองอย่างกระตือรื อร้นและตรงเวลา (ง 1.1 ป. 1/3)
3. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
1. อธิ บายวิธีการจัดเก็บอุปกรณ์การเรี ยนได้ (K)
2. มีเจตคติที่ดีและมีความกระตือรื อร้นในการจัดเก็บอุปกรณ์การเรี ยน (A)
3. จัดเก็บอุปกรณ์การเรี ยนได้ถูกวิธี (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A)
1. สังเกตการตอบคําถาม 1. สังเกตความตั้งใจเรี ยน 1. สังเกตทักษะการจัดเก็บอุปกรณ์
2. สังเกตการแสดงความคิดเห็น 2. สังเกตความเอาใจใส่ ในการเรี ยน การเรี ยน
3. ตรวจผลงานการจัดเก็บอุปกรณ์ 2. สังเกตพฤติกรรมขณะปฏิบตั ิ
การเรี ยน กิจกรรมร่ วมกับผูอ้ ื่น

5. สาระการเรี ยนรู้
การจัดเก็บอุปกรณ์การเรี ยน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  56

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย การเล่าประสบการณ์เกี่ยวกับการจัดเก็บอุปกรณ์การเรี ยน
คณิ ตศาสตร์ การนับจํานวน การวัดความกว้าง และความยาวของอุปกรณ์
การเรี ยน
สังคมศึกษาฯ หน้าที่ของบุคคลในครอบครัวในการจัดเก็บสิ่ งของในบ้าน
ศิลปะ การร้องเพลง การวาดภาพระบายสี อุปกรณ์การเรี ยน
ภาษาต่างประเทศ คําศัพท์เกี่ยวกับอุปกรณ์การเรี ยน
7. กระบวนการจัดการเรี ยนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันร้องเพลงเก็บของ
เพลงเก็บของ
เก็บ เก็บ มาช่วยกันเก็บของที
เร็ วคนดี มาเก็บเข้าที่กนั เอย
2. ครู นาํ ภาพดินสอสี ที่วางกระจัดกระจายอยูด่ า้ นนอกกล่องสี แล้วถามคําถามเพื่อกระตุน้ ความคิดและ
ความสนใจของนักเรี ยน เช่น นักเรี ยนมีวิธีการแก้ไขการวางดินสอสี ที่ใช้เสร็ จแล้วดังในภาพนี้อย่างไร
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
1. ครู ตรวจบันทึกผลการปฏิบตั ิงานที่มอบหมายให้นกั เรี ยนทํา และให้นกั เรี ยนนําคําถามที่เตรี ยมไว้แล้ว
คนละ 1 คําถามมาร่ วมกันสนทนา
2. นักเรี ยนอาสาสมัครเล่าประสบการณ์การเกี่ยวกับการจัดเก็บอุปกรณ์การเรี ยนของตนเองให้เพื่อน ๆ ฟัง
3. ครู แสดงภาพอุปกรณ์การเรี ยนวางไว้ไม่ถูกที่ แล้วให้นกั เรี ยนแสดงความคิดเห็นว่าควรจัดเก็บสิ่ งใด
ในภาพบ้าง และจะเก็บอย่างไร
4. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3–5 คน ช่วยกันคิดวิธีการจัดเก็บอุปกรณ์การเรี ยน เช่น หนังสื อ สมุดบันทึก
และเครื่ องเขียน แล้วออกมาสาธิ ตวิธีการจัดเก็บอุปกรณ์การเรี ยนให้เพื่อน ๆ กลุ่มอื่นชม
5. นักเรี ยนวาดภาพระบายสี อุปกรณ์การเรี ยนที่นกั เรี ยนควรจัดเก็บให้เรี ยบร้อยเป็ นประจํา
6. นักเรี ยนช่วยกันสรุ ปความรู ้เกี่ยวกับการจัดเก็บอุปกรณ์การเรี ยนโดยระบุอุปกรณ์ที่ใช้เก็บ
7. ครูบูรณาการตามหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงด้ านความพอประมาณและความมีระเบียบ โดย
บูรณาการการจัดเก็บอุปกรณ์ การเรียนนอกจากจะทําให้ หยิบใช้ ได้ สะดวก และไม่ สูญหายแล้ วยังเป็ นการใช้ สิ่งของ
อย่ างคุ้มค่ า ประหยัดค่ าใช้ จ่าย และทําให้ บ้านเป็ นระเบียบเรียบร้ อย
8. ให้นกั เรี ยนอ่านเพิ่มเติมจากสื่ อการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ ป. 1 หรื อ
หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  57

ขั้นที่ 3 ขั้นสรุ ป
1. นักเรี ยนช่วยกันสรุ ปความรู ้เกี่ยวกับการจัดเก็บอุปกรณ์การเรี ยนโดยระบุอุปกรณ์ที่ใช้เก็บ
2. ครูมอบหมายงานให้ นักเรียนไปสั งเกตวิธีการจัดเก็บของเล่นของตนเองที่บ้าน แล้วบันทึกผล และให้
นักเรียนตั้งคําถามที่สงสั ยคนละ 1 คําถาม (เพือ่ นํามาร่ วมกันสนทนาในการเรียนครั้งต่อไป)
ขั้นที่ 4 ขั้นฝึ กฝนนักเรียน
1. นักเรี ยนลากเส้นโยงจับคู่สิ่งของกับภาชนะหรื ออุปกรณ์ที่ใช้จดั เก็บให้ถูกต้อง
2. นักเรี ยนศึกษาวิธีการจัดเก็บอุปกรณ์การเรี ยนเพิ่มเติมจากพ่อแม่ หรื อผูป้ กครอง
3. นักเรี ยนทําแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพแลเทคโนโลยี ป. 1 กิจกรรมที่ 9 เก็บให้ถูกที่
ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช้
นักเรี ยนสามารถจัดเก็บอุปกรณ์การเรี ยนที่บา้ นของตนเองได้
8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสํ าหรับกลุ่มสนใจพิเศษ
นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3–4 คน แข่งขันกันจัดเก็บอุปกรณ์การเรี ยนที่ถูกต้องพร้อมกับอธิ บายเหตุผล
2. กิจกรรมสํ าหรับฝึ กทักษะเพิม่ เติม
นักเรี ยนฝึ กจัดเก็บอุปกรณ์การเรี ยนของตนเอง โดยครู เป็ นผูใ้ ห้คาํ แนะนํา
9. สื่อ/แหล่ งการเรี ยนรู้
1. ตัวอย่างอุปกรณ์การเรี ยน
2. ภาพอุปกรณ์การเรี ยนที่เก็บไม่เป็ นระเบียบ
3. เพลงเกี่ยวกับความมีระเบียบ เช่น เพลงเก็บของ
4. อุปกรณ์วาดภาพระบายสี
5. หนังสื อภาพเกี่ยวกับการจัดเก็บสิ่ งของเครื่ องใช้
6. สถานที่ เช่น โรงเรี ยน บ้านของนักเรี ยน
7. บุคคล เช่น ผูป้ กครอง ญาติ เพื่อน และครู
8. สื่ อการเรี ยนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์ วัฒนาพานิช จํากัด
10. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
11. คู่มือการสอน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
12. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์
วัฒนาพานิช จํากัด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  58

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
1. ความสํ าเร็จในการจัดการเรียนรู้
แนวทางการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
แนวทางแก้ไข
3. สิ่ งทีไ่ ม่ ได้ ปฏิบัติตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรียนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)

/ /
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  59

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 7
การจัดเก็บของเล่ นและของใช้ ส่วนตัว
สาระที่ 1 การดํารงชีวติ และครอบครัว ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 การทํางานเพือ่ ช่ วยเหลือตนเอง เวลา 2 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
ของเล่นและของใช้ส่วนตัวหากเราวางกระจัดกระจายไม่เป็ นระเบียบ อาจทําให้สูญหายได้ ดังนั้นเมื่อเล่น
หรื อใช้เสร็ จแล้วควรนําไปเก็บเข้าที่และจัดวางให้เป็ นระเบียบเรี ยบร้อย
2. ตัวชี้วัดชั้นปี
1. บอกวิธีการทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเอง (ง 1.1 ป. 1/1)
2. ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือง่าย ๆ ในการทํางานอย่างปลอดภัย (ง 1.1 ป. 1/2)
3. ทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเองอย่างกระตือรื อร้นและตรงเวลา (ง 1.1 ป. 1/3)
3. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
1. อธิ บายวิธีการจัดเก็บของเล่นและของใช้ส่วนตัวได้ (K)
2. มีเจตคติที่ดีต่อการจัดเก็บของเล่นและของใช้ส่วนตัว (A)
3. สามารถจัดเก็บของเล่นและของใช้ส่วนตัวได้ดว้ ยตนเอง (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A)
1. สังเกตการตอบคําถาม 1. สังเกตความตั้งใจเรี ยน 1. สังเกตทักษะการจัดเก็บของเล่น
2. ตรวจผลการจัดเก็บของเล่น 2. สังเกตความสนใจเรี ยน 2. สังเกตพฤติกรรมขณะปฏิบตั ิ
และของใช้ส่วนตัวตามขั้นตอน 3. สังเกตความรับผิดชอบในการ กิจกรรมร่ วมกับผูอ้ ื่น
ทํากิจกรรมร่ วมกับผูอ้ ื่น

5. สาระการเรี ยนรู้
1. การจัดเก็บของเล่น
2. การจัดเก็บภาชนะใส่อาหาร
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  60

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย การฟังความคิดเห็นของเพื่อนในกลุ่ม การเล่าประสบการณ์
เกี่ยวกับการจัดเก็บของเล่นและของใช้ส่วนตัว
คณิ ตศาสตร์ การนับจํานวน การวัดความกว้าง และความยาวของของเล่น
สุขศึกษาฯ การร่ วมมือจัดเก็บของเล่นต่าง ๆ ในบ้าน
ศิลปะ การวาดภาพระบายสี ของเล่นและของใช้ต่าง ๆ
ภาษาต่างประเทศ คําศัพท์เกี่ยวกับของเล่นและของใช้ต่าง ๆ

7. กระบวนการจัดการเรี ยนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันร้องเพลงเก็บของ
เพลงเก็บของ
เก็บ เก็บ มาช่วยกันเก็บของที
เร็ วคนดี มาเก็บเข้าที่กนั เอย
2. ครู นาํ ภาพของเล่นที่วางกระจัดกระจายและมีน้ าํ หกบนพื้น เด็กผูห้ ญิงกําลังลื่นล้มมาให้นกั เรี ยนดู แล้ว
ถามคําถามเพื่อกระตุน้ ความคิดและความสนใจของนักเรี ยน เช่น นักเรี ยนคิดว่าเหตุการณ์ในภาพเกิดจากสาเหตุใด
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
ชั่วโมงที่ 1 (การจัดเก็บของเล่ น)
1. ครู ตรวจบันทึกผลการสังเกตจากงานที่มอบหมายให้นกั เรี ยนทํา และให้นกั เรี ยนนําคําถามที่เตรี ยมไว้
แล้ว คนละ 1 คําถามมาร่ วมกันสนทนา
2. นักเรี ยนบอกวิธีการจัดเก็บของเล่นที่ตนเองปฏิบตั ิ
3. ครู อธิ บายพร้อมทั้งสาธิตวิธีการจัดเก็บของเล่นให้นกั เรี ยนดู
4. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3–4 คน แสดงวิธีการจัดเก็บของเล่นต่าง ๆ ที่ครู เตรี ยมมาให้
5. ให้นกั เรี ยนอ่านเพิ่มเติมจากสื่ อการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ ป. 1 หรื อ
หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1
ชั่วโมงที่ 12 (การจัดเก็บภาชนะใส่ อาหาร)
1. ครู แสดงภาพขั้นตอนการจัดเก็บภาชนะใส่ อาหาร แล้วให้นกั เรี ยนสังเกต และเล่าเรื่ องจากภาพ
2. ครู สื่อการเรี ยนรู้ PowerPoint เกี่ยวกับวิธีการทําความสะอาดและจัดเก็บภาชนะใส่อาหาร แล้วอธิ บาย
พร้อมทั้งสาธิตวิธีการทําความสะอาดและจัดเก็บภาชนะใส่อาหารให้นกั เรี ยนดู
3. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3–4 คน ฝึ กปฏิบตั ิการทําความสะอาดและจัดเก็บภาชนะใส่อาหารที่โรง
อาหารของโรงเรี ยน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  61

ขั้นที่ 3 ขั้นสรุ ป
1. นักเรี ยนช่วยกันสรุ ปความรู ้เกี่ยวกับเรื่ องการจัดเก็บของเล่นและของใช้ส่วนตัว
2. ครูมอบหมายงานให้ นักเรียนไปสํ ารวจการจัดโต๊ ะเขียนหนังสื อ ตู้ และชั้นวางหนังสื อของตนเองที่บ้าน
แล้วบันทึกผล และให้ นักเรียนตั้งคําถามที่สงสั ยคนละ 1 คําถาม (เพือ่ นํามาร่ วมกันสนทนาในการเรียนครั้งต่ อไป)
ขั้นที่ 4 ขั้นฝึ กฝนนักเรียน
1. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน แสดงบทบาทสมมุติเกี่ยวกับวิธีการจัดเก็บภาชนะใส่อาหาร
แล้วร่ วมกันแสดงความคิดเห็น
2. นักเรี ยนทําแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 กิจกรรมที่ 10 แสดง
บทบาทสมมุติ
ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช้
นักเรี ยนสามารถจัดเก็บของเล่นและของใช้ส่วนตัว เช่น ภาชนะใส่อาหารทั้งของตนเองและสมาชิก
ในครอบครัว
8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสํ าหรับกลุ่มสนใจพิเศษ
1) นักเรี ยนจับคู่กบั เพื่อน สาธิตวิธีการจัดเก็บของเล่นและของใช้ส่วนตัว
2) นักเรี ยนวาดภาพของเล่นและของใช้ส่วนตัว แล้วระบายสี ให้สวยงาม
2. กิจกรรมสํ าหรับฝึ กทักษะเพิม่ เติม
1) นักเรี ยนระบายสี ภาพของเล่นและของใช้ต่าง ๆ
2) นักเรี ยนบอกชื่ออุปกรณ์สาํ หรับจัดเก็บของเล่นและของใช้ส่วนตัวที่วาดในข้อ 1 ให้เพื่อนใน
ชั้นเรี ยนฟัง
9. สื่อ/แหล่ งการเรี ยนรู้
1. ภาพของเล่นและภาชนะใส่อาหาร ภาพขั้นตอนการจัดเก็บ
2. ตัวอย่างของเล่นและของใช้ส่วนตัว
3. เพลงเกี่ยวกับการเก็บสิ่ งของ
4. อุปกรณ์วาดภาพระบายสี
5. หนังสื อภาพหรื อวีซีดีแสดงวิธีการจัดเก็บสิ่ งของเครื่ องใช้
6. สถานที่ เช่น โรงเรี ยน บ้านของนักเรี ยน
7. บุคคล เช่น ผูป้ กครอง ญาติ เพื่อน และครู
8. สื่ อการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นา พานิช จํากัด
9. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช
จํากัด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  62

11. คู่มือการสอน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด


12. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์
วัฒนาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
1. ความสํ าเร็จในการจัดการเรียนรู้
แนวทางการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
แนวทางแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ ได้ ปฏิบัติตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรียนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)

/ /
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  63

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 8
การจัดโต๊ ะ ตู้ และชั้น
สาระที่ 1 การดํารงชีวติ และครอบครัว ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 การทํางานเพือ่ ช่ วยเหลือตนเอง เวลา 2 ชั่วโมง
1. สาระสําคัญ
การจัดโต๊ะ ตู้ และชั้นวางของในบ้านจะทําให้บา้ นเรื อนหรื อห้องของเราเป็ นระเบียบเรี ยบร้อยช่วยให้
หยิบของมาใช้ได้สะดวก และทําให้บา้ นน่าอยู่
2. ตัวชี้วัดชั้นปี
1. บอกวิธีการทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเอง (ง 1.1 ป. 1/1)
2. ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือง่าย ๆ ในการทํางานอย่างปลอดภัย (ง 1.1 ป. 1/2)
3. ทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเองอย่างกระตือรื อร้นและตรงเวลา (ง 1.1 ป. 1/3)
3. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
1. อธิ บายวิธีการจัดโต๊ะ ตู้ และชั้นได้ (K)
2. มีความกระตือรื อร้นและความรับผิดชอบต่อการจัดโต๊ะ ตู้ และชั้น (A)
3. สามารถจัดโต๊ะ ตู้ และชั้นได้ดว้ ยตนเอง (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่านิยม (A)
1. สังเกตการตอบคําถาม 1. สังเกตความรับผิดชอบในการ 1. สังเกตพฤติกรรมขณะปฏิบตั ิ
2. ตรวจผลงานการจัดโต๊ะ ตู ้ ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ กิจกรรมการเรี ยนรู ้
และชั้น 2. ประเมินพฤติกรรมตาม 2. สังเกตทักษะการทํางานตาม
3. ตรวจการทําแบบทดสอบ แบบประเมินด้านคุณธรรม จริ ยธรรม แบบประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ
หลังเรี ยน (Post-test) และค่านิยม

5. สาระการเรี ยนรู้
การจัดโต๊ะ ตู้ และชั้น
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  64

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย การฟังความคิดเห็นของเพื่อนในกลุ่ม
คณิ ตศาสตร์ การนับจํานวน การวัดความกว้าง ความยาวของโต๊ะ ตู้ และชั้น
สุ ขศึกษา ฯ ความปลอดภัยในการจัดโต๊ะ ตู้ และชั้น
ศิลปะ การวาดภาพระบายสี โต๊ะ ตู้ และชั้น
ภาษาต่างประเทศ คําศัพท์เกี่ยวกับโต๊ะ ตู้ และชั้น
7. กระบวนการจัดการเรี ยนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน
ครู นาํ ภาพตูห้ รื อชั้นหนังสื อที่วางหนังสื อไม่เป็ นระเบียบให้นกั เรี ยนดู แล้วถามคําถามเพื่อกระตุน้
ความคิดและความสนใจของนักเรี ยน เช่น การจัดชั้นวางหนังสื อในภาพนี้ควรปรับปรุ งหรื อไม่ เพราะอะไร
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
ชั่วโมงที่ 1 (การจัดโต๊ ะเขียนหนังสื อ ตู้ และชั้นวางหนังสื อ)
1. ครู ตรวจบันทึกผลการสํารวจจากงานที่มอบหมายให้นกั เรี ยนทํา และให้นกั เรี ยนนําคําถามที่เตรี ยมไว้
แล้ว คนละ 1 คําถามมาร่ วมกันสนทนา
2. ครู ให้นกั เรี ยนดูภาพโต๊ะ ตู้ และชั้นวางหนังสื อ แล้วอ่านคําศัพท์ภาษาอังกฤษสิ่ งของที่มีในภาพ
โดยอ่านตามครู
3. นักเรี ยนร่ วมกันบอกวิธีการจัดโต๊ะ ตู้ และชั้นวางหนังสื อในภาพ
4. ครู สื่อการเรี ยนรู้ PowerPoint เกี่ยวกับวิธีการจัดโต๊ะเขียนหนังสื อแล้วอธิ บาย พร้อมทั้งสาธิ ตวิธีการ
จัดโต๊ะเขียนหนังสื อให้นกั เรี ยนดู
5. นักเรี ยนฝึ กจัดตะเขียนหนังสื อโดยครู ให้คาํ แนะนําและตรวจสอบความเรี ยบร้อย
ชั่วโมงที่ 2 (การจัดตู้หรือชั้นวางรองเท้ า)
1. ครู ให้นกั เรี ยนออกมาสังเกตชั้นวางรองเท้าที่หน้าชั้นเรี ยน แล้วช่วยกันเสนอแนะวิธีวางรองเท้า
2. ครู อธิ บายวิธีการจัดชั้นวางรองเท้าที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนฟัง
3. ครูเสริมความรู้อาเซียนเกีย่ วกับรองเท้ านักเรียนของเด็กในประเทศสมาชิกอาเซียน เช่ น นักเรียน
ในประเทศเวียดนาม กัมพูชา และเมียนมาเลือกสวมรองเท้ าแตะหรือรองเท้ าหุ้มส้ นไปโรงเรียนได้ ตามความต้ องการ
4. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5–6 คน แข่งขันกันจัดชั้นวางรองเท้า กลุ่มใดจัดได้เร็ วและถูกต้องเป็ นผูช้ นะ
5. นักเรี ยนทําแบบทดสอบหลังเรี ยน (Post-test) จํานวน 10 ข้อ เวลา 10 นาที (โดยครู เปิ ดสื่ อการเรี ยนรู ้
PowerPoint การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 1 หรื อคู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ การงาน
อาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 ตอนที่ 3 แบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู้ที่ 1)
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป
1. นักเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อดีของการจัดโต๊ะ ตู้ และชั้น และวิธีการจัดโต๊ะ ตู้
และชั้น
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  65

2. ครูมอบหมายงานให้ นักเรียนไปศึกษาเนือ้ หาในหน่ วยการเรียนรู้ที่ 2 พืชใกล้ตวั เพือ่ จัดการเรียนรู้


ครั้งต่ อไป (โดยครูเปิ ดสื่ อการเรียนรู้ PowerPoint การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 คําถาม
เชื่อมโยงสู่ บทเรียนต่ อไป)
ขั้นที่ 4 ขั้นฝึ กฝนนักเรียน
1. ให้นักเรี ยนแบ่ งกลุ่ม กลุ่มละ 3–4 คน จับสลากเลื อกวิธีการจัด โต๊ะ ตู้ และชั้นมากลุ่ มละ 1 วิธี แล้ว
ออกมาสรุ ปให้เพื่อน ๆ ในชั้นเรี ยนฟัง
2. นักเรี ยนศึกษาวิธีการจัดโต๊ะ ตู้ และชั้นเพิ่มเติมจากผูป้ กครอง ผูร้ ู ้ และแหล่งการเรี ยนรู้อื่น ๆ
3. นักเรี ยนทําแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 กิจกรรมที่ 11 เลือกถูก
หรื อผิด กิจกรรมที่ 12 เรี ยนรู้วิธีการทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเองด้วยโครงงาน กิจกรรมที่ 13 การประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจําวัน และกิจกรรมที่ 14 คําถามชวนตอบ
ขั้นที่ 5 ขั้นนําไป ใช้
นักเรี ยนสามารถนําความรู ้เรื่ องการจัดโต๊ะ ตู้ และชั้นไปปฏิบตั ิที่บา้ นของตนเองได้
8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสํ าหรับกลุ่มสนใจพิเศษ
นักเรี ยนสอบถามผูป้ กครองเกี่ยวกับการจัดโต๊ะ ตู้ และชั้น ที่บา้ นของตนเองแล้วทดลองจัดด้วยตนเอง
2. กิจกรรมสํ าหรับฝึ กทักษะเพิม่ เติม
ให้นกั เรี ยนวาดภาพระบายสี รูปโต๊ะ ตู้ และชั้น แล้วนําไปติดป้ ายนิเทศหน้าชั้นเรี ยน
9. สื่อ/แหล่ งการเรี ยนรู้
1. โต๊ะ ตู้ และชั้น
2. บุคคลต่าง ๆ เช่น ผูป้ กครอง และครู
3. หนังสื อเกี่ยวกับการจัดบ้าน นิตยสาร วารสาร
4. ภาพโต๊ะ ตู้ และชั้น และภาพวิธีการจัดโต๊ะ ตู้ และชั้น
5. สถานที่ต่าง ๆ เช่น ห้องสมุด บ้านของนักเรี ยน ห้างสรรพสิ นค้า
6. สื่ อการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. คู่มือการสอน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์
วัฒนาพานิช จํากัด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  66

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู้
แนวทางการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
แนวทางแก้ไข
3. สิ่ งทีไ่ ม่ ได้ ปฏิบัติตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)

/ /
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  67

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 พืชใกล้ ตัว

เวลา 7 ชั่วโมง

ผังมโนทัศน์ เป้าหมายการเรียนรู้ และขอบข่ ายภาระงาน

ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ
1. รู ้จกั พืช 1. ทักษะการทํางานเพื่อช่วยเหลือ
2. เครื่ องมือดูแลรักษาพืช ตนเอง
3. การรดนํ้าต้นไม้ 2. ทักษะการใช้วสั ดุ อุปกรณ์
4. การถอนและเก็บวัชพืช และเครื่ องมือ
3. ทักษะการทํางานกลุ่ม

พืชใกล้ ตัว 

ภาระงาน/ชิ้นงาน คุณธรรม จริยธรรม และค่ านิยม


1. สํารวจพืช 1. เจตคติที่ดีต่อการทํางานเพื่อ
2. ฝึ กใช้เครื่ องมือ ช่วยเหลือตนเอง
3. รดนํ้าต้นไม้ 2. มีความกระตือรื อร้น
4. เล่าประสบการณ์การดูแลรักษาพืช 3. ความตรงต่อเวลา
5. ถอนและเก็บวัชพืช
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  68

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 พืชใกล้ ตัว

ขั้นที่ 1 ผลลัพธ์ ปลายทางทีต่ ้ องการให้ เกิดขึน้ กับนักเรียน


ตัวชี้วดั ชั้นปี
ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือง่าย ๆ ในการทํางานอย่างปลอดภัย (ง 1.2 ป. 1/2)
ความเข้ าใจทีค่ งทนของนักเรียน คําถามสํ าคัญทีท่ าํ ให้ เกิดความเข้ าใจทีค่ งทน
นักเรียนจะเข้ าใจว่ า... – การทํางานเกี่ยวกับพืชใดบ้างที่จาํ เป็ นต้องใช้เครื่ องมือ
1. การทํางานเกี่ยวกับพืชจะต้องใช้เครื่ องมือ เพื่อช่วยให้ – การใช้เครื่ องมือทํางานเกี่ยวกับพืชมีผลดีอย่างไร
ทํางานได้สะดวกและเสร็ จเร็ ว – ทําอย่างไรจึงจะใช้เครื่ องมือต่าง ๆ ได้อย่างปลอดภัย
2. การนําเครื่ องมือมาใช้จะต้องรู ้วิธีใช้เพื่อให้ทาํ งานได้
อย่างปลอดภัย
ความรู้ ของนักเรียนทีน่ ําไปสู่ ความเข้ าใจทีค่ งทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นําไปสู่
นักเรียนจะรู้ ว่า... ความเข้ าใจทีค่ งทน
1. คําที่ ค วรรู ้ ได้แ ก่ เจริ ญ เครื่ องมื อ ผ่อ นแรง ร่ ว นซุ ย นักเรียนจะสามารถ...
เหี่ยวเฉา แปลง ฝักบัว – จําแนกประเภทของพืชได้
2. พืชใช้เป็ นอาหารและใช้ประดับตกแต่งบ้านเรื อน – รดนํ้าต้นไม้โดยใช้เครื่ องมือได้เหมาะสมกับพืช
3. พืชที่ปลูกไว้ควรได้รับการดูแลรักษาด้วย – ใช้มือและเครื่ องมือทํางานอย่างปลอดภัย
การรดนํ้า ถอน และเก็บวัชพืช พืชจึงจะเจริ ญเติบโต
4. การรดนํ้าต้นไม้จะต้องเลือกใช้เครื่ องมือให้เหมาะสม
เช่น บัวรดนํ้า สายยาง ถังนํ้า
5. การถอนและการเก็บ วัช พื ช สามารถใช้มื อถอนและ
เก็บได้โดยไม่จาํ เป็ นต้องใช้เครื่ องมือ
ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ ซึ่งเป็ นหลักฐานทีแ่ สดงว่านักเรียนมีผลการเรียนรู้ ตามทีก่ าํ หนดไว้
อย่างแท้ จริง
1. ภาระงานทีน่ ักเรียนต้ องปฏิบัติ
– สํารวจพืชที่มีอยูร่ อบ ๆ ตัว
– เล่าประสบการณ์เกี่ยวกับการใช้เครื่ องมือต่าง ๆ ในการทํางานเกี่ยวกับพืช
– ฝึ กการใช้เครื่ องมือเกษตร
– เล่าประสบการณ์เกี่ยวกับการดูแลรักษาพืช
– ปฏิบตั ิการรดนํ้าต้นไม้ ถอน และเก็บวัชพืช
 
 
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  69

2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ เครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
– การทดสอบ – แบบทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน
– การสนทนาซักถามโดยครู – แบบทดสอบประจําหน่วยการเรี ยนรู ้
– การฝึ กปฏิบตั ิระหว่างเรี ยน – แบบบันทึกการสนทนา
– การประเมินตนเองของนักเรี ยน – ใบความรู ้และใบงาน
– แบบประเมินด้านคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม
– แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ
3. สิ่ งที่ม่ ุงประเมิน
– ความสามารถในการอธิบายวิธีการใช้เครื่ องมือทํางานเกี่ยวกับพืชให้ผอู ้ ื่นเข้าใจ
– ความสามารถในการเลือกและใช้เครื่ องมือเกษตร
– การปฏิบตั ิเกี่ยวกับการรดนํ้าต้นไม้ การถอน และการเก็บวัชพืช
– พฤติกรรมการปฏิบตั ิกิจกรรมเป็ นรายบุคคลและรายกลุ่ม
ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 9 รู ้จกั พืช 2 ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 10 เครื่ องมือดูแลรักษาพืช 1 ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 11 การรดนํ้าต้นไม้ 3 ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 12 การถอนและเก็บวัชพืช 1 ชัว่ โมง

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  70

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 9
รู้ จักพืช
สาระที่ 1 การดํารงชีวติ และครอบครัว ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 พืชใกล้ ตัว เวลา 2 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
พืชที่อยูใ่ กล้ตวั เรามีท้ งั พืชที่เรากินเป็ นอาหาร และพืชที่ใช้ประดับตกแต่งบ้านเรื อนหรื อสถานที่ต่าง ๆ ซึ่ง
พืชแต่ละชนิดมีประโยชน์แตกต่างกัน
2. ตัวชี้วัดชั้นปี
1. บอกวิธีการทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเอง (ง 1.1 ป.1/1)
2. ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือง่าย ๆ ในการทํางานอย่างปลอดภัย (ง 1.1 ป.1/2)
3. ทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเองอย่างกระตือรื อร้นและตรงเวลา (ง 1.1 ป.1/3)
3. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
1. สามารถบอกชนิดและประโยชน์ของพืชได้ (K)
2. เห็นความสําคัญของพืชแต่ละชนิดและนําไปใช้ในชีวิตประจําวัน (A)
3. มีทกั ษะในการจําแนกพืช (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้
ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A
1. สังเกตการตอบคําถาม 1. สังเกตความสนใจเรี ยน 1. สังเกตพฤติกรรมขณะปฏิบตั ิ
2. ตรวจผลงานการจําแนกกลุ่มพืช 2. สังเกตความกระตือรื อร้น กิจกรรมการเรี ยนรู ้
3. ตรวจการทําแบบทดสอบ ในการปฏิบตั ิงาน 2. สังเกตการปฏิบตั ิงานร่ วมกับผูอ้ ื่น
ก่อนเรี ยน (Pre-test) 3. สังเกตพฤติกรรมการสํารวจ

5. สาระการเรี ยนรู้
รู้จกั พืช ได้แก่ ไม้ดอก ไม้ประดับ ผักสวนครัว และไม้ผล
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  71

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย การอ่านข้อมูลเกี่ยวกับชื่อพืช และการเขียนชื่อพืช
คณิ ตศาสตร์ การนับจํานวนพืช
วิทยาศาสตร์ พืชและการจําแนกส่วนต่าง ๆ ของพืช
ศิลปะ การวาดภาพพืชชนิดต่าง ๆ
ภาษาต่างประเทศ คําศัพท์เกี่ยวกับพืช และส่วนต่าง ๆ ของพืช
7. กระบวนการจัดการเรี ยนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน
1. นักเรี ยนทําแบบทดสอบก่อนเรี ยน (Pre-test) จํานวน 10 ข้อ เวลา 10 นาที (โดยครู เปิ ดสื่ อการเรี ยนรู้
PowerPoint การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 2 หรื อคู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ การงาน
อาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 ตอนที่ 3 แบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู้ที่ 2)
2. ครู นาํ ภาพที่ 1) มะลิ 2) กระบองเพชร 3) แครอต 4) กล้วย มาให้นกั เรี ยนดูแล้วถามคําถามเพื่อกระตุน้
ความคิดและความสนใจของนักเรี ยน เช่น นักเรี ยนรู้จกั พืชในภาพนี้หรื อไม่ พร้อมทั้งบอกชื่อและประโยชน์ของพืช
นั้น ๆ
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
ชั่วโมงที่ 1 (ไม้ ดอก ไม้ ประดับ)
1. ครู ถามคําถามเกี่ ยวกับงานที่ มอบหมายให้นักเรี ยนไปศึ กษาเนื้ อหาในหน่ วยการเรี ยนรู้ที่ 2 พืชใกล้ตวั
(ซึ่ งมอบหมายในชัว่ โมงสุ ดท้ายของการเรี ยนการสอนหน่วยการเรี ยนรู้ที่ 1 คําถามเชื่ อมโยงสู่บทเรี ยนต่อไป) เช่น
ในชีวติ ประจําวันนักเรี ยนรู้จกั พืชชนิดใดบ้าง
2. ครู เปิ ดสื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint เกี่ยวกับภาพไม้ดอก ไม้ประดับชนิดต่าง ๆ หรื อนําภาพมาให้นกั เรี ยน
แล้วให้นกั เรี ยนบอกชื่อไม้ดอก ไม้ประดับชนิดอื่น ๆ ที่นกั เรี ยนรู้จกั
3. ครู อธิ บายเกี่ยวกับลักษณะและประโยชน์ของไม้ดอก ไม้ประดับ
4. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3–4 คน สํารวจพืชตามฐานกิจกรรมที่กาํ หนดให้ ได้แก่
1) ฐานพืชไม้ดอก
2) ฐานพืชไม้ประดับ
5. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มเขียนชื่อพืชเป็ นภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และบอกประโยชน์ของพืชแต่ละชนิดใน
แต่ละฐาน เมื่อทํากิจกรรมครบทุกฐานแล้วให้ตวั แทนกลุ่มนําเสนอผลงานหน้าชั้นเรี ยน
6. ครูเสริมความรู้อาเซียนเกีย่ วกับไม้ ดอกที่เป็ นดอกไม้ ประจําชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน เช่ น
ดอกบัวเป็ นดอกไม้ ประจําชาติของประเทศเวียดนาม
7. ครูมอบหมายงานให้ นักเรียนไปสํ ารวจพืชที่ปลูกในบริเวณบ้ านของตนเอง แล้วบันทึกผลและให้
นักเรียนตั้งคําถามที่สงสั ยคนละ 1 คําถาม (เพือ่ นํามาร่ วมกันสนทนาในการเรียนครั้งต่ อไป)
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  72

ชั่วโมงที่ 2 (ไม้ ผล)


1. ครู ตรวจบันทึกผลการสํารวจจากงานที่มอบหมายให้นกั เรี ยนทํา และให้นกั เรี ยนนําคําถามที่เตรี ยมไว้
แล้วคนละ 1 คําถามมาร่ วมกันสนทนา
2. นักเรี ยนบอกชื่อผักสวนครัวและไม้ที่นกั เรี ยนรู ้จกั คนละ 1 ชนิด โดยไม่ซ้ าํ กันไว้บนกระดานดํา
3. นักเรี ยนช่วยกันนับชื่อพืชบนกระดานดําว่าแต่ละชนิดมีจาํ นวนเท่าไร
4. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3–4 คน สํารวจพืชตามฐานกิจกรรมที่กาํ หนดให้ ได้แก่
1) ฐานพืชผักสวนครัว
2) ฐานพืชไม้ผล
5. ครู เปิ ดสื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint เกี่ยวกับไม้ผลแล้วอธิบายเกี่ยวกับลักษณะและประโยชน์ของไม้ผล
6. ครูเสริมความรู้อาเซียนเกีย่ วกับไม้ผลของไทยที่ชาวอาเซียนนิยมรับประทาน เช่ น ทุเรียนเป็ นไม้ผล
ยอดนิยมของชาวสิ งคโปร์
7. ให้นกั เรี ยนอ่านเพิ่มเติมจากสื่ อการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ ป. 1 หรื อ
หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุ ป
1. นักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้เกี่ยวกับชนิดของพืช
2. ครูมอบหมายงานให้ นักเรียนไปสํ ารวจเครื่องมือดูแลรักษาพืชที่บ้านของตนเอง แล้วบันทึกผล และให้
นักเรียนตั้งคําถามที่สงสั ยคนละ 1 คําถาม (เพือ่ นํามาร่ วมกันสนทนาในการเรียนครั้งต่ อไป)
ขั้นที่ 4 ขั้นฝึ กฝนนักเรียน
1. นักเรี ยนจัดกลุ่มพืช โดยพิจารณาภาพที่กาํ หนดให้แล้วจัดกลุ่มพืชให้ถูกต้อง โดยขีดเครื่ องหมายลงใน
ช่องหน้าคําที่สมั พันธ์กนั
2. นักเรี ยนสํารวจพืชโดยให้สาํ รวจพืชที่บา้ น โรงเรี ยน หรื อชุมชน แล้วบันทึกลงในตาราง
3. นักเรี ยนวาดภาพพืชชนิดต่าง ๆ และระบายสี
4. นักเรี ยนทําแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 กิจกรรมที่ 15 เลือก
ชนิดของพืชและกิจกรรมที่ 16 สํารวจพืช
ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช้
นักเรี ยนสามารถจําแนกชนิดของพืชและบอกประโยชน์ของพืชแต่ละชนิดได้
8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสํ าหรับกลุ่มสนใจพิเศษ
นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3–4 คน เขียนแผนที่ความคิดแสดงการจําแนกชนิดของพืชแล้วนําเสนอ
ผลงานหน้าชั้นเรี ยน
2. กิจกรรมสํ าหรับฝึ กทักษะเพิม่ เติม
1) นักเรี ยนสํารวจพืชที่บา้ นของตนเองว่ามีอะไรบ้าง
2) นักเรี ยนสอบถามผูป้ กครองเกี่ยวกับประโยชน์ของพืชแต่ละชนิด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  73

9. สื่อ/แหล่ งการเรียนรู้
1. ตัวอย่างพืชชนิดต่างๆ
2. ภาพแสดงพืชชนิดต่างๆ
3. หนังสื อเกี่ยวกับพืชชนิดต่างๆ
4. บุคคล เช่น ผูป้ กครอง ครู ผูร้ ู้ เกษตรกร
5. สื่ อ เช่น หนังสื อพิมพ์ โทรทัศน์ วีซีดี สารคดี
6. สถานที่ เช่น ห้องสมุด ชุมชน โรงเรี ยน สวนเกษตร ตลาดต้นไม้
7. สื่ อการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. คู่มือการสอน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
11. สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์
วัฒนาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
1. ความสํ าเร็จในการจัดการเรียนรู้
แนวทางการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
แนวทางแก้ไข
3. สิ่ งทีไ่ ม่ ได้ ปฏิบัติตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรียนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)

/ /
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  74

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 10
เครื่องมือดูแลรักษาพืช
สาระที่ 1 การดํารงชีวติ และครอบครัว ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 พืชใกล้ ตัว เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
เครื่ องมือที่ใช้ในการปลูกพืชหรื อเรี ยกว่า เครื่ องมือเกษตร เป็ นสิ่ งที่ช่วยให้เราทํางานได้สะดวกรวดเร็ วขึ้น
และช่วยผ่อนแรงในการทํางาน
2. ตัวชี้วัดชั้นปี
1. บอกวิธีการทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเอง (ง 1.1 ป.1/1)
2. ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือง่าย ๆ ในการทํางานอย่างปลอดภัย (ง 1.1 ป.1/2)
3. ทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเองอย่างกระตือรื อร้นและตรงเวลา (ง 1.1 ป.1/3)
3. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
1. บอกชนิดของเครื่ องมือเกษตรได้ (K)
2. เห็นความสําคัญของเครื่ องมือเกษตร (A)
3. มีทกั ษะในการเลือกใช้เครื่ องมือเกษตร (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่านิยม (A)
1. สังเกตการตอบคําถาม 1. สังเกตความตั้งใจเรี ยน 1. สังเกตการปฏิบตั ิกิจกรรม
และการแสดงความคิดเห็น 2. มีความสนใจในการ การเรี ยนรู ้
2. ตรวจผลงานการใช้เครื่ องมือ ใช้เครื่ องมือดูแลรักษาพืช 2. สังเกตพฤติกรรมการใช้
เกษตร เครื่ องมือเกษตร

5. สาระการเรี ยนรู้
เครื่ องมือดูแลรักษาพืช
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  75

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย การพูดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีใช้ และการเก็บรักษาเครื่ องมือ
ดูแลรักษาพืช
คณิ ตศาสตร์ การวัดความยาวและขนาดของเครื่ องมือดูแลรักษาพืช
วิทยาศาสตร์ หลักการผ่อนแรงจากการใช้เครื่ องมือดูแลรักษาพืช
สังคมศึกษา ฯ การสํารวจเครื่ องมือดูแลรักษาพืชที่มีอยูใ่ นบ้าน
สุ ขศึกษาฯ ความปลอดภัยในการใช้เครื่ องมือดูแลรักษาพืช
ศิลปะ การวาดภาพระบายสี เครื่ องมือดูแลรักษาพืช
ภาษาต่างประเทศ คําศัพท์เกี่ยวกับเครื่ องมือดูแลรักษาพืช
7. กระบวนการจัดการเรี ยนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน
ครู ถามคําถามเพื่อกระตุน้ ความคิดและความสนใจของนักเรี ยน เช่น เพราะอะไรเราจึงต้องใช้เครื่ องมือ
ในการดูแลรักษาพืช
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
1. ครู ตรวจบันทึกผลการสํารวจจากงานที่มอบหมายให้นกั เรี ยนทํา และให้นกั เรี ยนนําคําถามที่เตรี ยมไว้
แล้วคนละ 1 คําถามมาร่ วมกันสนทนา
2. นักเรี ยนอาสาสมัครเล่าประสบการณ์ที่เคยเห็นบุคคลในครอบครัวหรื อเพื่อนบ้านใช้เครื่ องมือในการ
ปลูกพืช
3. ครู เปิ ดสื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint เกี่ยวกับเครื่ องมือดูแลรักษาพืชหรื อนําตัวอย่างเครื่ องมือดูแลรักษา
พืชมาให้นกั เรี ยนดู
4. ครู ให้นกั เรี ยนสังเกตลักษณะของเครื่ องมือดูแลรักษาพืช แล้วสาธิตการใช้เครื่ องมือแต่ละชนิดให้
นักเรี ยนดู
5. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน ทดลองใช้เครื่ องมือดูแลรักษาพืช แล้วให้ตวั แทนกลุ่มออกมาสาธิต
ให้เพื่อนกลุ่มอื่นดู
6. ครู อธิ บายเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีการใช้และการเก็บรักษาเครื่ องมือดูแลรักษา
7. ครูบูรณาการตามหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงด้ านความมีเหตุผล โดยบูรณาการการใช้ เครื่องมือ
ดู แ ลรั ก ษาพื ช มาพิ จ ารณาในการเลื อ กใช้ เครื่ อ งมื อ ให้ เหมาะสมกั บ งาน เพื่ อ ให้ ทํ า งานได้ ง่ า ย สะดวก และ
ประหยัดเวลา
8. ครูเสริมความรู้อาเซียนเกีย่ วกับคําที่ใช้ เรียก ต้ นกล้า ในภาษาลาว เรียกว่ า เบีย้ ไม้
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุ ป
1. นักเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ของเครื่ องมือดูแลรักษาพืช
2. นักเรี ยนช่วยกันสรุ ปวิธีการใช้เครื่ องมือดูแลรักษาพืชให้ปลอดภัย
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  76

3. ครู มอบหมายงานให้ นักเรี ยนไปสอบถามผู้ปกครองเกี่ยวกับ เครื่ องมือที่ใช้ ในการรดนํ้าต้ นไม้ แล้ ว


บันทึกผล และให้ นักเรียนตั้งคําถามที่สงสั ยคนละ 1 คําถาม (เพือ่ นํามาร่ วมกันสนทนาในการเรียนครั้งต่ อไป)
ขั้นที่ 4 ขั้นฝึ กฝนนักเรียน
1. นักเรี ยนวาดภาพเครื่ องมือที่ใช้ในการปลูกพืชพร้อมกับเขียนชื่อภาพ วิธีการใช้ วิธีการดูแลรักษา
เครื่ องมือ
2. นักเรี ยนฝึ กใช้เครื่ องมือ โดยให้นกั เรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3–4 คน เลือกเครื่ องมือเกษตร 1 ชนิด แล้ว
ร่ วมกันสนทนาเกี่ยวกับวิธีการใช้เครื่ องมือ แล้วฝึ กใช้เครื่ องมือนั้น ๆ
3. เลือกเครื่ องมือชนิดอื่น ๆ แล้วปฏิบตั ิกิจกรรมเช่นเดียวกันกับข้อ 1 และทําต่อไปจนครบทุกชนิด แล้ว
ร่ วมกันสรุ ป
4. นักเรี ยนทําแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 กิจกรรมที่ 17 เลือกใช้
ให้ถูก กิจกรรมที่ 18 จับคู่เครื่ องมือเกษตร กิจกรรมที่ 19 ฝึ กใช้เครื่ องมือเกษตร และกิจกรรมที่ 20 วาดภาพเครื่ องมือ
เกษตร
ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช้
นักเรี ยนสามารถเลือกใช้เครื่ องมือเกษตรได้อย่างเหมาะสม
8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสํ าหรับกลุ่มสนใจพิเศษ
1) นักเรี ยนสํารวจเครื่ องมือเกษตรที่มีอยูท่ ี่บา้ นของตนเอง แล้วเขียนบันทึก
2) นักเรี ยนสอบถามผูป้ กครองหรื อเกษตรกรเกี่ยวกับวิธีการใช้เครื่ องมือเกษตร
2. กิจกรรมสํ าหรับฝึ กทักษะเพิม่ เติม
นักเรี ยนวาดภาพเครื่ องมือเกษตรที่เคยเห็นและระบายสี ตกแต่งให้สวยงาม แล้วนําผลงานไป
จัดป้ ายนิเทศโดยบอกชื่อ วิธีการใช้ และการเก็บรักษา
9. สื่อ/แหล่ งการเรี ยนรู้
1. ตัวอย่างเครื่ องมือดูแลรักษาพืช
2. ภาพเครื่ องมือและภาพแสดงวิธีการดูแลรักษาเครื่ องมือ วิธีการใช้ และวิธีการเก็บรักษาเครื่ องมือ
3. หนังสื อเกี่ยวกับการเกษตร และเครื่ องมือเกษตร วารสารการเกษตร
4. บุคคล เช่น ผูป้ กครอง ครู ผูร้ ู ้ เกษตรกร นักวิชาการเกษตร
5. สื่ อ เช่น หนังสื อพิมพ์ โทรทัศน์
6. สถานที่ เช่น ห้องสมุด ชุมชน โรงเรี ยน สวนเกษตร
7. สื่ อการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช
จํากัด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  77

10. คู่มือการสอน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด


11. สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์
วัฒนาพานิช จํากัด
10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
1. ความสํ าเร็จในการจัดการเรียนรู้
แนวทางการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
แนวทางแก้ไข
3. สิ่ งทีไ่ ม่ ได้ ปฏิบัติตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรียนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)

/ /
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  78

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 11
การรดนํา้ ต้ นไม้
สาระที่ 1 การดํารง ชีวติ และครอบครัว ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 พืชใกล้ ตัว เวลา 3 ชั่วโมง
1. สาระสําคัญ
นํ้าเป็ นอาหารสําคัญของต้นไม้ เพราะช่วยให้ตน้ ไม้เจริ ญเติบโตงอกงาม ถ้าต้นไม้ขาดนํ้า ดอกใบจะเหี่ ยว
เฉาหรื อตาย
2. ตัวชี้วัดชั้นปี
1. บอกวิธีการทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเอง (ง 1.1 ป.1/1)
2. ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือง่าย ๆ ในการทํางานอย่างปลอดภัย (ง 1.1 ป.1/2)
3. ทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเองอย่างกระตือรื อร้นและตรงเวลา (ง 1.1 ป.1/3)
3. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
1. อธิ บายวิธีการรดนํ้าต้นไม้ได้ (K)
2. มีความกระตือรื อร้นและรักษาเวลาในการรดนํ้าต้นไม้ (A)
3. เลือกใช้เครื่ องมือและปฏิบตั ิการรดนํ้าต้นไม้ได้ดว้ ยตนเอง (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้
ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่านิยม (A)
1. สังเกตการตอบคําถาม 1. สังเกตความตั้งใจเรี ยน 1. สังเกตการปฏิบตั ิการรดนํ้า
2. ตรวจผลงานเลือกใช้เครื่ องมือ 2. สังเกตความกระตือรื อร้นในการ ต้นไม้
และการรดนํ้าต้นไม้ รดนํ้าต้นไม้ในเวลาเช้าและเย็น 2. สังเกตพฤติกรรมในการ
ปฏิบตั ิงานร่ วมกับเพื่อน

5. สาระการเรี ยนรู้
การรดนํ้าต้นไม้
1) การรดนํ้าต้นไม้ดว้ ยบัวรดนํ้า
2) การรดนํ้าต้นไม้ดว้ ยถังนํ้า
3) การรดนํ้าต้นไม้ดว้ ยสายยาง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  79

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย การเล่าประสบการณ์เกี่ยวกับการรดนํ้าต้นไม้
คณิ ตศาสตร์ การวัดความยาวและขนาดของเครื่ องมือรดนํ้าต้นไม้
วิทยาศาสตร์ หลักการผ่อนแรงจากการใช้เครื่ องมือรดนํ้าต้นไม้
สังคมศึกษาฯ การ เรี ยนรู้เรื่ องเวลาในการรดนํ้าต้นไม้
ศิลปะ การวาดภาพระบายสี
ภาษาต่างประเทศ คําศัพท์เกี่ยวกับเครื่ องมือรดนํ้าต้นไม้
7. กระบวนการจัดการเรี ยนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน
ครู ถามคําถามเพื่อกระตุน้ ความคิดและความสนใจของนักเรี ยน เช่น นักเรี ยนเคยช่วยผูป้ กครองรดนํ้า
ต้นไม้หรื อไม่
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
ชั่วโมงที่ 1 (การรดนํา้ ต้ นไม้ ด้วยบัวรดนํา้ )
1. ครู ตรวจบันทึกผลการสอบถามจากงานที่มอบหมายให้นกั เรี ยนทํา และให้นกั เรี ยนนําคําถาม
ที่เตรี ยมไว้แล้วคนละ 1 คําถามมาร่ วมกันสนทนา
2. นักเรี ยนอาสาสมัครออกมาเล่าประสบการณ์การรดนํ้าต้นไม้ดว้ ยบัวรดนํ้าของตนเอง
3. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกี่ยวกับการเลือกใช้เครื่ องมือให้เหมาะสมกับต้นไม้ที่จะรดนํ้า
4. ครูบูรณาการตามหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงด้ านความพอประมาณ โดยบูรณาการการใช้ นํา้
รดนํา้ ต้ นไม้แบบประหยัด ด้ วยการกะปริมาณนํา้ ที่รดไม่ให้ มากหรือน้ อยเกินไป เพราะอาจทําให้ ต้นไม้ ตายได้
5. ครู เปิ ดสื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint เกี่ยวกับวิธีการรดนํ้าต้นไม้ดว้ ยบัวรดนํ้าหรื อพานักเรี ยนไปที่สนาม
ในบริ เวณโรงเรี ยน พร้อมทั้งอธิบายวิธีการรดนํ้าต้นไม้ดว้ ยบัวรดนํ้า และสาธิ ตให้นกั เรี ยนดู
6. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3–4 คน ปฏิบตั ิการรดนํ้าต้นไม้ดว้ ยบัวรดนํ้า แล้วเขียนบันทึกผลการ
ปฏิบตั ิงาน แล้วนําเสนอหน้าชั้นเรี ยน
7. ครู มอบหมายงานให้ นักเรียนไปศึกษาการรดนํา้ ต้ นไม้ด้วยถังนํา้ จากหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน
การงานอาชีพฯ ป. 1 หน้ า 35 ลงมือปฏิบัติ และบันทึกผล แล้วให้ นักเรียนตั้งคําถามที่สงสั ยคนละ 1 คําถาม (เพือ่
นํามาร่ วมกันสนทนาในการเรียนครั้งต่ อไป)
ชั่วโมงที่ 2 (การรดนํา้ ต้ นไม้ ด้วยถังนํา้ )
1. ครู ตรวจบันทึกผลการปฏิบตั ิงานที่มอบหมายให้นกั เรี ยนทํา และให้นกั เรี ยนนําคําถามที่เตรี ยมไว้แล้ว
คนละ 1 คําถามมาร่ วมกันสนทนา
2. ครู นาํ ถังนํ้ามาให้นกั เรี ยนดู แล้วถามคําถามเพื่อกระตุน้ ความคิดและความสนใจของนักเรี ยน เช่น
นักเรี ยนเคยใช้สิ่งนี้รดนํ้าต้นไม้หรื อไม่ อย่างไร
3. ครู พานักเรี ยนไปที่สนามในบริ เวณโรงเรี ยนแล้วสาธิตวิธีการรดนํ้าต้นไม้ดว้ ยถังนํ้าให้นกั เรี ยนดู
4. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3–4 คน ร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการรดนํ้าต้นไม้ดว้ ยถังนํ้า
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  80

5. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มลงมือปฏิบตั ิการรดนํ้าต้นไม้ดว้ ยถังนํ้า แล้วเขียนบันทึกผลการปฏิบตั ิงาน แล้ว


นําเสนอหน้าชั้นเรี ยน
6. ครูมอบหมายงานให้ นักเรียนไปทดลองรดนํา้ ต้ นไม้ ด้วยสายยาง แล้วบันทึกผล และให้ นักเรียน
ตั้งคําถามที่สงสั ยคนละ 1 คําถาม (เพือ่ นํามาร่ วมกันสนทนาในการเรียนครั้งต่ อไป)
ชั่วโมงที่ 3 (การรดนํา้ ต้ นไม้ ด้วยสายยาง)
1. ครู ตรวจบันทึกผลการปฏิบตั ิงานที่มอบหมายให้นกั เรี ยนทํา และให้นกั เรี ยนนําคําถามที่เตรี ยมไว้แล้ว
คนละ 1 คําถามมาร่ วมกันสนทนา
2. ครู นาํ ภาพคนกําลังรดนํ้าต้นไม้ดว้ ยสายยางให้นกั เรี ยนดูแล้วถามคําถามเพื่อกระตุน้ ความคิดและความ
สนใจของนักเรี ยน เช่น นักเรี ยนเคยใช้สิ่งนี้รดนํ้าต้นไม้หรื อไม่ อย่างไร
3. ครู สื่อการเรี ยนรู้ PowerPoint เกี่ยวกับวิธีการรดนํ้าต้นไม้ดว้ ยสายยางหรื อนําภาพมาให้นกั เรี ยนดู
แล้วอธิ บายเกี่ยวกับขั้นตอนการรดนํ้าต้นไม้ดว้ ยสายยางทีละขั้นตอน
4. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3–4 ร่ วมกันสรุ ปเกี่ยวกับวิธีการรดนํ้าต้นไม้ดว้ ยสายยาง โดยสรุ ปเป็ นแผน
ที่ความคิดและนําเสนอผลงานหน้าชั้นเรี ยน
5. ครู เสริ ม ความรู้ อ าเซี ย นเกี่ ย วกับ การรดนํ้ าต้ น ไม้ กล่ าวคื อ ประเทศเมี ย นมามี ส วนผั ก ลอยนํ้ าใน
ทะเลสาบอินเล ซึ่งสวนผักลอยนํา้ นีไ้ ม่ จําเป็ นต้ องรดนํา้
6. ให้นักเรี ยนอ่านเพิ่ มเติ ม จากสื่ อการเรี ยนรู ้ การงานอาชี พ และเทคโนโลยี สมบูรณ์ แบบ ป. 1 หรื อ
หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุ ป
1. นักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้เกี่ยวกับวิธีการรดนํ้าต้นไม้โดยเรี ยงตามลําดับขั้นตอน
2. ครู มอบหมายงานให้ นั ก เรี ยนไปสั งเกตวัช พืช ที่ ขึ้น อยู่ในกระถางปลูกต้ น ไม้ ห รื อแปลงปลู กต้ น ไม้
บริเวณบ้ านของตนเอง แล้ วบันทึกผล และให้ นักเรียนตั้งคําถามที่สงสั ยคนละ 1 คําถาม (เพือ่ นํามาร่ วมกันสนทนาใน
การเรียนครั้งต่ อไป)
ขั้นที่ 4 ขั้นฝึ กฝนนักเรียน
1. นักเรี ยนเรี ยงลําดับภาพโดยสังเกตภาพแล้วเรี ยงลําดับขั้นตอนการรดนํ้าต้นไม้ดว้ ยสายยาง และระบาย
สี ให้สวยงาม
2. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 2–3 คน ช่วยกันรดนํ้าต้นไม้โดยเลือกใช้บวั รดนํ้า ถังนํ้า หรื อสายยาง เพียง
กลุ่มละ 1 วิธี แล้วสรุ ปผลการปฏิบตั ิ
3. นักเรี ยนทําแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 กิจกรรมที่ 21 เรี ยงลําดับ
ให้ถูก กิจกรรมที่ 22 เล่าประสบการณ์ และกิจกรรมที่ 23 เคยปฏิบตั ิอะไร
ขั้นที่ 5 ขั้นนําไป ใช้
นักเรี ยนสามารถรดนํ้าในบริ เวณบ้านหรื อโรงเรี ยนได้ถูกวิธี
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  81

8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสํ าหรับกลุ่มสนใจพิเศษ
1) นักเรี ยนสอบถามเกษตรกรเกี่ยวกับวิธีของการรดนํ้าต้นไม้ที่ถกู ต้อง
2) นักเรี ยนศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการดูแลรักษาพืชจากเกษตรกร ผูป้ กครอง หรื อ ผูร้ ู ้ในชุมชน
2. กิจกรรมสํ าหรับฝึ กทักษะเพิม่ เติม
นักเรี ยนปรึ กษาผูป้ กครองเกี่ยวกับวิธีการใช้เครื่ องมือรดนํ้าต้นไม้ และทดลองปฏิบตั ิการใช้
เครื่ องมือนั้น ๆ
9. สื่อ/แหล่ งการเรี ยนรู้
1. เครื่ องมือที่ใช้ในการรดนํ้าต้นไม้
2. ภาพวิธีการรดนํ้าต้นไม้
3. หนังสื อเกี่ยวกับเครื่ องมือเกษตร วารสารการเกษตร
4. บุคคล เช่น ผูป้ กครอง ครู ผูร้ ู ้ เกษตรกร นักวิชาการเกษตร
5. สื่ อ เช่น หนังสื อพิมพ์ โทรทัศน์
6. สถานที่ เช่น ห้องสมุด ชุมชน โรงเรี ยน สวนเกษตร
7. สื่ อการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์ วัฒนาพานิช จํากัด
9. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชี พและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิ ช
จํากัด
10. คู่มือการสอน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
11. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชี พและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษ ทั สํานักพิมพ์
วัฒนาพานิช จํากัด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  82

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
1. ความสํ าเร็จในการจัดการเรียนรู้
แนวทางการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
แนวทางแก้ไข
3. สิ่ งทีไ่ ม่ ได้ ปฏิบัติตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรียนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)

/ /
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  83

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 12
การถอนและเก็บวัชพืช
สาระที่ 1 การดํารง ชีวติ และครอบครัว ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 พืชใกล้ ตัว เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
วัชพืชเป็ นต้นไม้เล็กๆ ที่มาแย่งนํ้าและแย่งอาหารของต้นไม้ที่เราปลูกไว้ ทําให้ตน้ ไม้ไม่เจริ ญเติบโต ซึ่งเรา
สามารถป้ องกันไม่ให้วชั พืชขึ้นในกระถางหรื อแปลงปลูกได้โดยมีวิธีการถอนและการเก็บวัชพืช
2. ตัวชี้วัดชั้นปี
1. บอกวิธีการทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเอง (ง 1.1 ป.1/1)
2. ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือง่าย ๆ ในการทํางานอย่างปลอดภัย (ง 1.1 ป.1/2)
3. ทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเองอย่างกระตือรื อร้นและตรงเวลา (ง 1.1 ป.1/3)
3. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
1. อธิ บายวิธีการกําจัดวัชพืชโดยการถอนและการเก็บวัชพืชได้ (K)
2. มีความกระตือรื อร้นในการกําจัดวัชพืช (A)
3. มีทกั ษะในการถอนและเก็บวัชพืชได้ดว้ ยตนเอง (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้
ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A)
1. สังเกตการตอบคําถามและ 1. สังเกตความตั้งใจเรี ยน 1. สังเกตการปฏิบตั ิกิจกรรม
แสดงความคิดเห็น 2. สังเกตความกระตือรื อร้นในการ การ เรี ยนรู ้
2. ตรวจผลงานการถอน ดูแลรักษาพืช 2. สังเกตทักษะการทํางานตามแบบ
และเก็บวัชพืช 3. ประเมินพฤติกรรมตาม ประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ
3. ตรวจการทําแบบทดสอบ แบบประเมินด้านคุณธรรม จริ ยธรรม
หลังเรี ยน (Post-test) และค่านิยม
4. ตรวจการทําแบบทดสอบ
กลางปี

5. สาระการเรี ยนรู้
การถอนและเก็บวัชพืช
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  84

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย การเล่าประสบการณ์ การฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับการกําจัดวัชพืช
คณิ ตศาสตร์ ระยะเวลาในการถอนและการเก็บวัชพืช
วิทยาศาสตร์ การเจริ ญเติบโตของพืชและวัชพืช
สังคมศึกษาฯ การศึกษาภูมิปัญญาชาวบ้านเกี่ยวกับการกําจัดวัชพืช
ศิลปะ การวาดภาพเกี่ยวกับการเก็บวัชพืช
ภาษาต่างประเทศ คําศัพท์เกี่ยวกับวัชพืชต่าง ๆ
7. กระบวนการจัดการเรี ยนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน
ครู นาํ ภาพหรื อวัชพืชของจริ งมาให้นกั เรี ยนดู แล้วถามคําถามเพื่อกระตุน้ ความคิดและความสนใจของ
นักเรี ยน เช่น ถ้าพบวัชพืชแซมขึ้นมาในกระถางต้นไม้ที่ปลูกไว้ นักเรี ยนจะมีวิธีการกําจัดวัชพืชอย่างไร
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
1. ครู ตรวจบันทึกผลการสังเกตจากงานที่มอบหมายให้นกั เรี ยนทํา และให้นกั เรี ยนนําคําถามที่เตรี ยมไว้
แล้ว คนละ 1 คําถามมาร่ วมกันสนทนา
2. นักเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวัชพืชว่ามีประโยชน์หรื อไม่ อย่างไร
3. นักเรี ยนอาสาสมัครเล่าประสบการณ์กาํ จัดวัชพืชของตนเองหรื อบุคคลในครอบครัวให้เพื่อนฟัง
4. ครู สื่อการเรี ยนรู ้ PowerPoint เกี่ยวกับวิธีการกําจัดวัชพืชหรื อนําภาพมาให้นกั เรี ยนดู พร้อมทั้งอธิบาย
วิธีการป้ องกันหรื อกําจัดวัชพืช
5. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3–4 คน สํารวจต้นไม้บริ เวณโรงเรี ยนว่ามีวชั พืชขึ้นหรื อไม่
6. นักเรี ยนปฏิบตั ิการถอนและเก็บวัชพืชบริ เวณโรงเรี ยน เสร็ จแล้วรายงานให้เพื่อนฟังหน้าชั้นเรี ยน
7. นักเรี ยนทําแบบทดสอบหลังเรี ยน (Post-test) จํานวน 10 ข้อ เวลา 10 นาที (โดยครู เปิ ดสื่ อการเรี ยนรู้
PowerPoint การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 2 หรื อคู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ การงาน
อาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 ตอนที่ 3 แบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู้ที่ 2)
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุ ป
1. นักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปวิธีการกําจัดวัชพืช
2. ครูมอบหมายงานให้ นักเรียนไปศึกษาเนือ้ หาในหน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 ช่ างประดิษฐ์ น้อย เพือ่ จัดการ
เรียนรู้ครั้งต่ อไป (โดยครูเปิ ดสื่ อการเรียนรู้ PowerPoint การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 หน่ วยการเรียนรู้ที่ 2
คําถามเชื่อมโยงสู่ บทเรียนต่ อไป)
ขั้นที่ 4 ขั้นฝึ กฝนนักเรียน
1. นักเรี ยนสังเกตภาพที่กาํ หนดให้แล้วบอกเกี่ยวกับสิ่ งที่เป็ นปัญหาในภาพและวิธีการแก้ไขปัญหานั้น ๆ
2. นักเรี ยนเล่าประสบการณ์การดูแลรักษาพืช โดยให้แต่ละคนเล่าประสบการณ์การดูแลรักษาพืช แล้ว
ร่ วมกันสรุ ป
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  85

3. นักเรี ยนทําแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 กิจกรรมที่ 24 ช่วยกัน


แก้ปัญหา กิจกรรมที่ 25 เรี ยนรู ้วธิ ี การรดนํ้าต้นไม้ดว้ ยโครงงาน กิจกรรมที่ 26 การประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน
และกิจกรรมที่ 27 คําถามชวนตอบ
ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช้
นักเรี ยนสามารถถอนและเก็บวัชพืชในกระถางต้นไม้ที่บา้ นของตนเองหรื อในบริ เวณโรงเรี ยนได้
8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสํ าหรับกลุ่มสนใจพิเศษ
1) นักเรี ยนสอบถามเกษตรกรเกี่ยวกับวิธีการถอนและเก็บวัชพืชที่ถูกวิธี
2) นักเรี ยนศึกษาข้อมูลเพิม่ เติมเกี่ยวกับการดูแลรักษาพืชจากเกษตรกร ผูป้ กครอง หรื อ ผูร้ ู ้
2. กิจกรรมสํ าหรับฝึ กทักษะเพิม่ เติม
นักเรี ยนปรึ กษาผูป้ กครองเกี่ยวกับการใช้เครื่ องมือในการรดนํ้าต้นไม้ แล้วฝึ กรดนํ้าต้นไม้ทุกวัน
พร้อมกับสังเกตการเจริ ญเติบโตของต้นไม้น้ นั
9. สื่อ/แหล่ งการเรี ยนรู้
1. ภาพวิธีการเก็บวัชพืช
2. ตัวอย่างวัชพืชต่าง ๆ
3. หนังสื อเกี่ยวกับเครื่ องมือเกษตร วารสารการเกษตร
4. หนังสื อสารานุกรมสําหรับเด็ก เรื่ องที่เกี่ยวกับการดูแลรักษาพืช
5. บุคคล เช่น ผูป้ กครอง ญาติพี่นอ้ ง เพื่อน ๆ และครู
6. สถานที่ เช่น ห้องสมุด ชุมชน โรงเรี ยน สวนเกษตร
7. สื่ อการเรี ยนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช
จํากัด
10. คู่มือการสอน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
11. สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์
วัฒนาพานิช จํากัด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  86

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู้
แนวทางการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
แนวทางแก้ไข
3. สิ่ งทีไ่ ม่ ได้ ปฏิบัติตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรียนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)

/ /

ทดสอบกลางปี

สาระที่ 1 การดํารงชีวติ และครอบครัว ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1


เวลา 1 ชั่วโมง

ชั่วโมงที่ 22 ทดสอบกลางปี  
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  87

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 ช่ างประดิษฐ์ น้อย

เวลา 8 ชั่วโมง
ผังมโนทัศน์ เป้าหมายการเรียนรู้ และขอบข่ ายภาระงาน

ความรู้ . ทักษะ/กระบวนการ
1. วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือที่ใช้ 1. ทักษะการทํางาน เพื่อช่วยเหลือ
ทําของเล่น ตนเอง
2. การพับกระดาษเป็ นของเล่น 2. ทักษะการใช้ วัสดุ อุปกรณ์
3. การบํารุ งรักษาของเล่น และเครื่ องมือ
3. ทักษะการทํางานกลุ่ม

ช่ างประดิษฐ์ น้อย

ภาระงาน/ชิ้นงาน คุณธรรม จริยธรรม และค่ านิยม


1. ฝึ กใช้เครื่ องมือ 1. เจตคติที่ดีต่อการทํางานเพื่อ
2. พับกระดาษเป็ นของเล่นแบบต่าง ๆ ช่วยเหลือตนเอง
ได้ แ ก่ แมลงตั ว น้ อ ยจรวด ตั ว หนอน 2. มีความกระตือรื อร้น
หน้ากาก และรถไฟ 3. ความตรงต่อเวลา
3. แสดงความคิ ด เห็ นเกี่ ยวกับวิธีก าร
บํารุ งรักษาของเล่น
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  88

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 ช่ างประดิษฐ์ น้อย

ขั้นที่ 1 ผลลัพธ์ ปลายทางที่ต้องการให้ เกิดขึน้ กับนักเรียน


ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. บอกวิธีการทํางานเพื่อช่วยเหลือ ตนเอง (ง 1.1 ป. 1/1)
2. ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือง่าย ๆ ในการทํางานอย่างปลอดภัย (ง 1.1 ป. 1/2)
3. ทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเองอย่างกระตือรื อร้นและตรงเวลา (ง 1.1 ป. 1/3)
ความเข้ าใจทีค่ งทนของนักเรียน คําถามสํ าคัญที่ทาํ ให้ เกิดความเข้ าใจทีค่ งทน
นักเรียนจะเข้ าใจว่ า... – ถ้าเราสามารถประดิษฐ์ของเล่นไว้เล่นเองได้จะเกิดผลดี
1. การประดิษฐ์ของเล่นเป็ นงานที่เราสามารถปฏิบตั ิได้ ต่อตนเองอย่างไรบ้าง
ด้วยตนเอง – ถ้ า มี ก ระดาษสมุ ด 1 แผ่ น นั ก เรี ยนคิ ด ว่ า จะนํ า มา
2. การประดิษฐ์ของเล่นแต่ละอย่างจะใช้วสั ดุ อุปกรณ์ ประดิษฐ์ของเล่นได้หรื อไม่ ทําอะไร
และเครื่ องมือแตกต่างกัน – ถ้าเราไม่เก็บรักษาของเล่นน่าจะเกิดผลอย่างไร
ความรู้ ของนักเรียนทีน่ ําไปสู่ ความเข้ าใจทีค่ งทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นําไปสู่
นักเรียนจะรู้ ว่า... ความเข้ าใจทีค่ งทน
1. คํา ที่ ค วรรู ้ ได้ แ ก่ วัส ดุ อุ ป กรณ์ ดั ด แปลง เชื่ อ ม นักเรียนจะสามารถ...
ละเอียด รู ปร่ าง ซ่อมแซม บํารุ ง สร้างสรรค์ ทแยง 1. ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือในการทํางาน
2. การประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ จะต้องจัดเตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ ได้เหมาะสม
และเครื่ องมือให้พร้อมก่อนลงมือประดิษฐ์ 2. พับกระดาษเป็ นของเล่นรู ปแบบต่าง ๆ
3. เครื่ องมือที่มีความแหลมคมควรใช้ดว้ ย 3. บํารุ งรักษาของเล่นของตนเอง
ความระมัดระวัง ไม่นาํ มาแกว่ง โยน หรื อหยอกล้อกันเล่น
4. กระดาษแผ่นเดียวสามารถนํามาพับเป็ นของเล่นได้
5. การพับ กระดาษเป็ นของเล่ น รู ป ร่ า งต่ า งกั น จะมี
วิธีการพับต่างกัน
6. การรู ้ จกั บํารุ งรั กษาของเล่นจะทําให้ของเล่นดูใหม่
และช่วยประหยัดรายจ่าย
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  89

ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็ นหลักฐานที่แสดงว่ านักเรียนมีผลการเรียนรู้ตามที่


กําหนดไว้ อย่ างแท้ จริง
1. ภาระงานทีน่ ักเรียนต้ องปฏิบัติ
– สํารวจวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือทํางานประดิษฐ์
– แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการใช้เครื่ องมือทํางานอย่างปลอดภัย
– ศึกษาเกี่ยวกับวัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ทาํ ของเล่น
– พับกระดาษเป็ นของเล่น 3 แบบ
– แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ของการบํารุ งรักษาของเล่น
2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ เครื่องมือประเมินผลการเรียน รู้
– การทดสอบ – แบบทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน
– การสนทนาซักถามโดยครู – แบบทดสอบประจําหน่วยการเรี ยนรู ้
– การฝึ กปฏิบตั ิระหว่างเรี ยน – แบบบันทึกการสนทนา
– การทดสอบ – ใบความรู ้และใบงาน
– การตรวจผลงาน – แบบประเมินด้านคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม
– การประเมินตนเองของนักเรี ยน – แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ
– การทดสอบ – แบบทดสอบกลางปี
3. สิ่ งทีม่ ่ ุงประเมิน
– ความสามารถในการอธิบายวิธีการใช้เครื่ องมือให้ผอู ้ ื่นเข้าใจ
– ความสามารถในการใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือทํางาน
– การประดิษฐ์ของเล่นโดยวิธีการพับกระดาษเป็ นรู ปแบบต่าง ๆ
– พฤติกรรมการปฏิบตั ิกิจกรรมเป็ นรายบุคคลและรายกลุ่ม
ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือที่ใช้ทาํ ของเล่น 1 ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 การพับกระดาษเป็ นของเล่น (1) 2 ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 การพับกระดาษเป็ นของเล่น (2) 2 ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 การพับกระดาษเป็ นของเล่น (3) 2 ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17 การบํารุ งรักษาของเล่น 1 ชัว่ โมง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  90

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 13
วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้ ทําของเล่ น
สาระที่ 1 การดํารงชีวติ และครอบครัว ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 ช่ างประดิษฐ์ น้อย เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือที่ใช้ทาํ ของเล่นเป็ นสิ่ งที่ช่วยให้เราทําของเล่นได้สะดวกรวดเร็ วขึ้น และสําเร็ จ
เป็ นรู ปร่ างตามที่เราต้องการ
2. ตัวชี้วัดชั้นปี
1. บอกวิธีการทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเอง (ง 1.1 ป.1/1)
2. ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือง่าย ๆ ในการทํางานอย่างปลอดภัย (ง 1.1 ป.1/2)
3. ทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเองอย่างกระตือรื อร้นและตรงเวลา (ง 1.1 ป.1/3)
3. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
1. จําแนกชนิดและบอกประโยชน์ชนิดของวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือที่ใช้ทาํ ของเล่นได้ (K)
2. อธิ บายวิธีการใช้เครื่ องมือทํางานอย่างปลอดภัยได้ (K)
3. มีความกระตือรื อร้นที่จะประดิษฐ์ของเล่น (A)
4. พับกระดาษเป็ นของเล่นได้ดว้ ยตนเอง (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้
ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A
1. สังเกตการตอบคําถาม 1. สังเกตความสนใจเรี ยน 1. สังเกตการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ตรวจผลการใช้วสั ดุ อุปกรณ์ 2. สังเกตความกระตือรื อร้น การเรี ยนรู ้
และเครื่ องมือในการทําของเล่น ในการปฏิบตั ิงาน 2. สังเกตทักษะการใช้วสั ดุ อุปกรณ์
3. ตรวจการทําแบบทดสอบ และเครื่ องมือในการทํางาน
ก่อนเรี ยน (Pre-test)

5. สาระการเรี ยนรู้
วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือที่ใช้ทาํ ของเล่น
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  91

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย การเขียน การอ่าน และการพูดเพื่อนําเสนอผลงาน
คณิ ตศาสตร์ การวัดขนาด รู ปร่ าง และรู ปทรงของวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือ
วิทยาศาสตร์ การสังเกตลักษณะของวัสดุที่ใช้ทาํ ของเล่น
ศิลปะ การจัดป้ ายนิเทศแสดงวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือที่ใช้ทาํ ของเล่น
ภาษาต่างประเทศ คําศัพท์เกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือที่ใช้ทาํ ของเล่น
7. กระบวนการจัดการเรี ยนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน
1. นักเรี ยนทําแบบทดสอบก่อนเรี ยน (Pre-test) จํานวน 10 ข้อ เวลา 10 นาที (โดยครู เปิ ดสื่ อการเรี ยนรู้
PowerPoint การงานอาชี พและเทคโนโลยี ป. 1 หน่ วยการเรี ยนรู้ที่ 3 หรื อคู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้การงาน
อาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 ตอนที่ 3 แบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู้ที่ 3)
2. ครู ถามคําถามเพื่อกระตุน้ ความคิ ดและความสนใจของนักเรี ยน เช่ น นักเรี ยนเคยประดิ ษ ฐ์ของเล่น
หรื อไม่ แล้วใช้วสั ดุ อุปกรณ์อะไรบ้าง
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
1. ครู ถามคําถามเกี่ยวกับงานที่มอบหมายให้นกั เรี ยนไปศึกษาเนื้อหาในหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 3 ช่าง
ประดิษฐ์นอ้ ย (ซึ่งมอบหมายในชัว่ โมงสุดท้ายของการเรี ยนการสอนหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 2 คําถามเชื่อมโยงสู่
บทเรี ยนต่อไป) เช่น ถ้านักเรี ยนต้องการประดิษฐ์ของเล่นไว้เล่นเองจะทําอย่างไร
2. นักเรี ยนอาสาสมัครออกมาเล่าประสบการณ์เกี่ยวกับการใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือที่ตนเองเคยใช้
3. ครู เปิ ดสื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint เกี่ยวกับวิธีการใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือที่ใช้ทาํ ของเล่น อธิบาย
พร้อมสาธิ ตวิธีการใช้และวิธีการเก็บรักษาวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือที่ใช้ทาํ ของเล่น
4. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3–4 คน ทดลองฝึ กใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือที่ทาํ ของเล่นจนคล่อง
5. ครู อธิ บายเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีการใช้เครื่ องมือที่มีความแหลมคมอย่างปลอดภัย
6. ครูเสริมความรู้อาเซียนเกีย่ วกับคําที่ใช้ เรียก ดินสอ ในภาษาอาเซียน เช่ น ภาษาลาว เรียกว่ า สอ
ภาษาพม่ า เรียกว่ า แคดั่น ภาษาเขมร เรียกว่ า เดกเขมา
7. ครูบูรณาการตามหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงด้ านการมีภูมคิ ุ้มกันที่ดีในตัว โดยบูรณาการ
การประยุกต์ ใช้ วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือที่มีในท้ องถิ่นมาใช้ ทํางานประดิษฐ์ ซึ่งเป็ นการใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง
คุ้มค่ า และสามารถป้องกันปัญหาการขาดแคลนวัสดุได้
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุ ป
1. นักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้เกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือที่ใช้ทาํ ของเล่น โดยเขียนเป็ นแผนที่
ความคิด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  92

2. ครูมอบหมายงานให้ นักเรียนไปสอบถามผู้ปกครองเกีย่ วกับการพับกระดาษเป็ นของเล่น แล้ว


บันทึกผล และให้ นักเรียนตั้งคําถามที่สงสั ยคนละ 1 คําถาม (เพือ่ นํามาร่ วมกันสนทนาในการเรียนครั้งต่ อไป)
ขั้นที่ 4 ขั้นฝึ กฝนนักเรียน
1. นักเรี ยนบอกประโยชน์ของวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือ โดยเขียนบอกชื่อและประโยชน์ของวัสดุ
อุปกรณ์ และเครื่ องมือที่กาํ หนดให้
2. นักเรี ยนสํารวจเครื่ องมือในบ้านและโรงเรี ยนแล้วเขียนบอกชื่อและแหล่งที่สาํ รวจพบ
3. นักเรี ยนใช้เครื่ องมืออย่างปลอดภัย โดยให้นกั เรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการ ใช้
เครื่ องมืออย่างปลอดภัย แล้วสรุ ปเป็ นแผนที่ความคิด
4. นักเรี ยนทําแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพฯ ป. 1 กิจกรรมที่ 28 รู้จกั ไว้ไม่เสี ยหาย
กิจกรรมที่ 29 อย่างนี้สิจะปลอดภัย และกิจกรรมที่ 30 คิดก่อนตอบ
ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช้
นักเรี ยนเลือกใช้และใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือที่ใช้ทาํ ของเล่นได้
8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสํ าหรับกลุ่มสนใจพิเศษ
1) นักเรี ยนจัดป้ ายนิเทศหน้าห้องเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือที่ใช้ทาํ ของเล่น
2) นักเรี ยนสอบถามผูป้ กครองเพิม่ เติมเกี่ยวกับการใช้เครื่ องมือที่มีความแหลมคม
2. กิจกรรมสํ าหรับฝึ กทักษะเพิม่ เติม
นักเรี ยนวาดภาพเกี่ยวกับต้นไม้ ดอกไม้ สัตว์ หรื อคน โดยใช้อุปกรณ์และเครื่ องมือที่ใช้ทาํ ของ เล่น
โดยวาดภาพระบายสี ให้สวยงาม
9. สื่อ/แหล่ งการเรี ยนรู้
1. วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือที่ใช้ทาํ ของเล่น
2. ภาพวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือที่ใช้ทาํ ของเล่น
3. หนังสื อเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือ วารสาร นิตยสาร
4. บุคคล เช่น ผูป้ กครอง ญาติพี่นอ้ ง เพื่อน ๆ และครู
5. สถานที่ เช่น ห้องสมุด บ้าน โรงเรี ยน
6. สื่ อการเรี ยนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. คู่มือการสอน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์
วัฒนาพานิช จํากัด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  93

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู้
แนวทางการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
แนวทางแก้ไข
3. สิ่ งทีไ่ ม่ ได้ ปฏิบัติตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)

/ /
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  94

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 14
การพับกระดาษเป็ นของเล่ น (1)
สาระที่ 1 การดํารงชีวติ และครอบครัว ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 ช่ างประดิษฐ์ น้อย เวลา 2 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
การพับกระดาษเป็ นของเล่นเป็ นวิธีการสร้างงานประดิษฐ์ที่ทาํ ได้ง่ายและทําได้สะดวกเพราะใช้มือพับ
ซึ่งเราสามารถทําได้และยังช่วยให้เรามีของเล่นไว้เล่นอีกด้วย
2. ตัวชี้วัดชั้นปี
1. บอกวิธีการทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเอง (ง 1.1 ป.1/1)
2. ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือง่าย ๆ ในการทํางานอย่างปลอดภัย (ง 1.1 ป.1/2)
3. ทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเองอย่างกระตือรื อร้นและตรงเวลา (ง 1.1 ป.1/3)
3. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
1. อธิ บายขั้นตอนการพับกระดาษเป็ นของเล่นได้ (K)
2. บอกประโยชน์ของการพับกระดาษเป็ นของเล่นได้ (K)
3. มีความกระตือรื อร้นและมีเจตคติที่ดีต่อการพับกระดาษเป็ นของเล่น (A)
4. มีทกั ษะในการพับกระดาษเป็ นของเล่นได้ดว้ ยตนเอง (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้
ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A
1. สังเกตการตอบคําถาม 1. สังเกตความเอาใจใส่ในการเรี ยน 1. สังเกตพฤติกรรมขณะพับกระดาษ
2. ตรวจผลงานการพับกระดาษ 2. สังเกตความรับผิดชอบในการ เป็ นของเล่น
เป็ นของเล่น ทํากิจกรรม 2. สังเกตทักษะการเลือกใช้วสั ดุ
และอุปกรณ์ในการพับกระดาษ
เป็ นของเล่น

5. สาระการเรี ยนรู้
การพับกระดาษเป็ นของเล่น
1) การพับแมลงตัวน้อย
2) การพับจรวด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  95

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย การพูดซักถาม การฟังขั้นตอนในการพับกระดาษเป็ นของเล่น
คณิ ตศาสตร์ การนับจํานวนและการวัดขนาดของกระดาษที่พบั เป็ นของเล่น
วิทยาศาสตร์ ของเล่นใกล้ตวั ที่สามารถเป็ นแบบในการพับกระดาษได้
ศิลปะ การสร้างสรรค์ศิลปะจากกระดาษ
ภาษาต่างประเทศ คําศัพท์ที่เป็ นชื่อของเล่นที่พบั จากกระดาษ
7. กระบวนการจัดการเรี ยนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน
ครู ถามคําถามเพื่อกระตุน้ ความคิดและความสนใจของนักเรี ยน เช่น ถ้าเราสามารถประดิษฐ์ของเล่นได้
เองจะเกิดผลดีต่อตนเองอย่างไรบ้าง
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
ชั่วโมงที่ 1 (การพับแมลงตัวน้ อย)
1. ครู ตรวจบันทึกผลการสอบถามจากงานที่มอบหมายให้นกั เรี ยนทํา และให้นกั เรี ยนนําคําถามที่เตรี ยม
ไว้แล้ว คนละ 1 คําถามมาร่ วมกันสนทนา
2. ครู นาํ ตัวอย่างของเล่นที่พบั จากกระดาษให้นกั เรี ยนดู แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับการใช้วสั ดุอุปกรณ์
และเครื่ องมือในการพับ
3. นักเรี ยนอ่านบทสนทนาของเด็กสองคนจากสื่ อการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ
ป. 1 หรื อหนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 แล้วตอบคําถามต่อไปนี้
1) นักเรี ยน 2 คนในภาพคุยกันเกี่ยวกับเรื่ องอะไร
2) นักเรี ยนคิดว่าประโยชน์ของการทําของเล่นได้เองมีอะไรบ้าง
4. ครู อธิ บายเพิ่มเติมเกี่ยวกับประโยชน์ของการทําของเล่น
5. นักเรี ยนอาสาสมัครออกมาเล่าประสบการณ์เกี่ยวกับการพับกระดาษของตนเอง
6. ครู เปิ ดสื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint เกี่ยวกับวิธีการพับแมลงตัวน้อยหรื อนําภาพวิธีการพับแมลงตัวน้อย
ติดไว้ที่กระดานดําหน้าชั้นเรี ยน พร้อมทั้งสาธิตวิธีการพับกระดาษเป็ นแมลงตัวน้อยให้นกั เรี ยนดูทีละขั้นตอน
7. นักเรี ยนฝึ กพับกระดาษเป็ นแมลงตัวน้อยตามลําดับขั้นตอน
8. นักเรี ยนนําเสนอผลงานหน้าชั้นเรี ยน
9. ครูเสริมความรู้อาเซียนเกีย่ วกับการพับกระดาษของเด็ก ๆ ในประเทศสมาชิกอาเซียน เช่ น มาเลเซีย
ฟิ ลิปปิ นส์ ชอบพับกระดาษเป็ นของเล่นเหมือนกับเด็กไทย
ชั่วโมงที่ 2 (การพับจรวด)
1. ครู นาํ จรวดที่พบั ด้วยกระดาษมาให้นกั เรี ยนดู แล้วถามคําถามเพื่อกระตุน้ ความคิดและความสนใจของ
นักเรี ยน เช่น นักเรี ยนเคยพับกระดาษเป็ นของเล่นแบบนี้หรื อไม่ (ถ้าเคย) พับด้วยกระดาษอะไร
2. ครู เปิ ดสื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint เกี่ยวกับวิดีโอขั้นตอนวิธีการพับจรวดหรื อนําภาพวิธีการพับจรวด
มาให้นกั เรี ยนดู พร้อมทั้งสาธิตให้นกั เรี ยนดูทีละขั้นตอน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  96

3. นักเรี ยนฝึ กพับกระดาษเป็ นจรวดตามลําดับขั้นตอน


4. นักเรี ยนนําจรวดกระดาษที่พบั เสร็ จแล้วไปทดลองเล่น พร้อมกับนําเสนอผลงานหน้าชั้นเรี ยน
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุ ป
1. นักเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความหมายและประโยชน์ของการพับกระดาษเป็ นของเล่น
2. ครูมอบหมายงานให้ นักเรียนไปศึกษาวิธีการพับตัวหนอน จากหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน การงาน
อาชีพฯ ป. 1 หน้ า 51–52 ลงมือปฏิบัติ แล้วบันทึกผล และให้ นักเรียนตั้งคําถามที่สงสั ยคนละ 1 คําถาม (เพือ่ นํามา
ร่ วมกันสนทนาในการเรียนครั้งต่ อไป)
ขั้นที่ 4 ขั้นฝึ กฝนนักเรียน
1. นักเรี ยนสํารวจของเล่น โดยแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน สํารวจของเล่นที่ทาํ จากวัสดุต่าง ๆ ที่มีอยูใ่ น
บ้านหรื อห้องเรี ยนมาให้มากที่สุด แล้วเขียนบันทึกผลการสํารวจลงในตาราง
2. นักเรี ยนจับคู่กบั เพื่อน ช่วยกันพิจารณาภาพของเล่นที่กาํ หนดให้ และสนทนาเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์
ที่ใช้ทาํ ของ เล่นว่าควรใช้อะไรบ้าง
ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช้
นักเรี ยนพับกระดาษเป็ นของเล่นด้วยตนเอง โดยทําตามแบบที่ครู สอน หรื อพับเป็ นแบบอื่น ๆ
8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสํ าหรับกลุ่มสนใจพิเศษ
นักเรี ยนพับกระดาษเป็ นของเล่น โดยพับตามความคิดของตนเอง
2. กิจกรรมสํ าหรับฝึ กทักษะเพิม่ เติม
นักเรี ยนฝึ กพับกระดาษเป็ นของเล่นโดยทําตามแบบ และมีครู หรื อผูป้ กครองคอยให้คาํ แนะนํา
3. กิจกรรมสะเต็มศึกษา
ครู ให้นกั เรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM Education) จากสถานการณ์ เรื่ อง
จรวดมิสไซล์ โดยใช้แนวการสอนในคู่มื อการสอน การงานอาชี พและเทคโนโลยี ชั้น ป. 1 บริ ษ ทั สํานักพิม พ์
วัฒนาพานิช จํากัด
9. สื่อ/แหล่ งการเรี ยนรู้
1. ตัวอย่างของเล่นที่พบั จากกระดาษ
2. . ภาพขั้นตอนการพับกระดาษเป็ นของเล่น เช่น การพับแมลงตัวน้อย การพับจรวด
3. หนังสื อเกี่ยวกับงานพับกระดาษ วารสาร นิตยสาร
4. บุคคลต่าง ๆ เช่น ผูป้ กครอง ญาติพี่นอ้ ง เพื่อน ๆ และครู
5. สถานที่ต่าง ๆ เช่น ห้องสมุด ชุมชน โรงเรี ยน
6. สื่ อการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  97

7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด


8. คู่มือการสอน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์
วัฒนาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู้
แนวทางการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
แนวทางแก้ไข
3. สิ่ งทีไ่ ม่ ได้ ปฏิบัติตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)

/ /
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  98

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 15
การพับกระดาษเป็ นของเล่ น (2)
สาระที่ 1 การดํารงชีวติ และครอบครัว ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 ช่ างประดิษฐ์ น้อย เวลา 2 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
การพับกระดาษเป็ นของเล่นเป็ นวิธีที่ง่ายและทําได้สะดวกเพราะใช้มือแทนเครื่ องมือต่าง ๆ ซึ่งจะทําให้เรา
ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
2. ตัวชี้วัดชั้นปี
1. บอกวิธีการทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเอง (ง 1.1 ป.1/1)
2. ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือง่าย ๆ ในการทํางานอย่างปลอดภัย (ง 1.1 ป.1/2)
3. ทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเองอย่างกระตือรื อร้นและตรงเวลา (ง 1.1 ป.1/3)
3. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
1. อธิ บายขั้นตอนการพับกระดาษเป็ นของเล่นได้ (K)
2. มีความกระตือรื อร้นและพับกระดาษเป็ นของเล่นเสร็ จตรงตามเวลา (A)
3. มีทกั ษะในการพับกระดาษเป็ นของเล่นได้ดว้ ยตนเอง (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้
ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A
1. สังเกตการตอบคําถาม 1. สังเกตความเอาใจใส่ ใน 1. สังเกตพฤติกรรมขณะพับ
2. ตรวจผลงานการพับกระดาษ การเรี ยน กระดาษเป็ นของเล่น
เป็ นของเล่น 2. สังเกตความรับผิดชอบ 2. สังเกตทักษะการเลือกใช้วสั ดุ
ในการทํากิจกรรม และอุปกรณ์ในการพับกระดาษ
3. สังเกตความตรงเวลา เป็ นของเล่น

5. สาระการเรี ยนรู้
การพับกระดาษเป็ นของเล่น
1) การพับกระดาษเป็ นตัวหนอน
2) การพับกระดาษเป็ นหน้ากาก
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  99

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย การพูด การฟังเกี่ยวกับการพับกระดาษเป็ นของเล่น
คณิ ตศาสตร์ การนับจํานวนและการวัดขนาดของกระดาษที่พบั เป็ นของเล่น
วิทยาศาสตร์ ของเล่นใกล้ตวั ที่สามารถเป็ นแบบในการพับกระดาษได้
ศิลปะ การสร้างสรรค์ศิลปะจากกระดาษ
ภาษาต่างประเทศ คําศัพท์เกี่ยวกับชื่อของเล่นที่พบั จากกระดาษ
7. กระบวนการจัดการเรี ยนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน
ครู นาํ ตัวหนอนที่พบั จากกระดาษมาให้นกั เรี ยนดู แล้วถามคําถามเพื่อกระตุน้ ความคิดและความสนใจ
ของนักเรี ยน เช่น นักเรี ยนเคยเล่นของเล่นแบบนี้หรื อไม่ และมีวิธีการเล่นอย่างไร
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
ชั่วโมงที่ 1 (การพับกระดาษเป็ นตัวหนอน)
1. ครู ตรวจบันทึกผลการปฏิบตั ิงานที่มอบหมายให้นกั เรี ยนทํา และให้นกั เรี ยนนําคําถามที่เตรี ยมไว้แล้ว
คนละ 1 คําถามมาร่ วมกันสนทนา
2. ครู เปิ ดสื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint เกี่ยวกับวิธีการพับตัวนอนหรื อนําภาพวิธีการพับตัวนอนมาให้
นักเรี ยนดูพร้อมทั้งสาธิตให้นกั เรี ยนดูทีละขั้นตอน
3. นักเรี ยนฝึ กพับกระดาษเป็ นตัวหนอนตามลําดับขั้นตอน จากนั้นนําผลงานที่พบั เสร็ จมานําเสนอ
หน้าชั้นเรี ยน
4. ให้นกั เรี ยนอ่านเพิ่มเติมจากสื่ อการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ ป. 1 หรื อ
หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1
5. ครูนําบูรณาการตามหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงด้ านการมีภูมคิ ุ้มกันที่ดีในตัว โดยบูรณาการ
การประยุกต์ ใช้ วสั ดุที่มใี นท้ องถิ่นมาใช้ ในการพับตัวหนอน เช่ น การนําใบไม้ มาพับเป็ นตัวหนอนแทนการใช้
กระดาษ
6. ครูมอบหมายงานให้ นักเรียนไปศึกษาวิธีการพับหน้ ากาก จากหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน การงาน
อาชี พฯ ป. 1 หน้ า 52–53 ลงมือปฏิบัติ แล้ วบันทึกผล และให้ นักเรียนตั้งคําถามที่สงสั ยคนละ 1 คําถาม (เพื่อนํามา
ร่ วมกันสนทนาในการเรียนครั้งต่ อไป)
ชั่วโมงที่ 2 (การพับหน้ ากาก)
1. ครู ตรวจบันทึกผลการปฏิบตั ิงานที่มอบหมายให้นกั เรี ยนทํา และให้นกั เรี ยนนําคําถามที่เตรี ยมไว้แล้ว
คนละ 1 คําถามมาร่ วมกันสนทนา
2. ครู นาํ หน้ากากมาให้นกั เรี ยนดู แล้วถามคําถามเพื่อกระตุน้ ความคิดและความสนใจของนักเรี ยน เช่น
นักเรี ยนเคยเล่นของเล่นแบบนี้หรื อไม่ (ถ้าเคย) ของเล่นแบบนี้เรี ยกว่าอะไร แล้วมีวิธีการเล่นอย่างไร
3. ครู เปิ ดสื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint เกี่ยวกับวิดีโอขั้นตอนวิธีการพับหน้ากากหรื อนําภาพวิธีการพับ
หน้ากากมาให้นกั เรี ยนดู พร้อมทั้งสาธิตให้นกั เรี ยนดูทีละขั้นตอน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  100

4. นักเรี ยนฝึ กพับกระดาษเป็ นหน้ากากตามลําดับขั้นตอน


5. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3–4 คน นําหน้ากากที่พบั เสร็ จแล้วมาแสดงบทบาทสมมุติให้เพื่อนชม
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุ ป
1. นักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปขั้นตอนการพับกระดาษเป็ นของเล่นแบบต่าง ๆ
2. ครู มอบหมายงานให้ นักเรี ยนไปศึ กษาวิธีการพับเรื อ จากหนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชี พและ
เทคโนโลยี ป. 1 หน้ า 54 ลงมือปฏิบัติ แล้ วบันทึกผล และให้ นักเรี ยนตั้งคําถามที่สงสั ยคนละ 1 คําถาม (เพื่อนํามาร่ วมกัน
สนทนา ในการเรียนครั้งต่ อไป)
ขั้นที่ 4 ขั้นฝึ กฝนนักเรียน
1. นักเรี ยนจับคู่กบั เพื่อนช่วยกันพิจารณาของเล่นที่กาํ หนดให้แล้วสนทนาเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ทาํ
ของเล่นนั้น ๆ ว่ามีอะไรบ้าง แล้วเติมคําตอบ
2. นักเรี ยนเลือกทําของเล่นจากกระดาษ
ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช้
นักเรี ยนสามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยการพับกระดาษเป็ นของเล่นได้
8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสํ าหรับกลุ่มสนใจพิเศษ
1) นักเรี ยนศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการพับกระดาษด้วยวิธีต่าง ๆ เพิ่มเติม
2) นักเรี ยนร่ วมกันจัดนิทรรศการแสดงผลงานเกี่ยวกับการพับกระดาษเป็ นของเล่นแบบต่าง ๆ
2. กิจกรรมสํ าหรับฝึ กทักษะเพิม่ เติม
นักเรี ยนดูตวั อย่างของเล่นที่พบั ด้วยกระดาษแบบต่าง ๆ แล้วเลือกตัวอย่างของเล่นที่นกั เรี ยนอยากพับ
1 อย่าง
9. สื่อ/แหล่ งการเรี ยนรู้
1. วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือที่ใช้ในการพับกระดาษ
2. ภาพขั้นตอนการพับกระดาษเป็ นของเล่น เช่น การพับตัวหนอน การพับหน้ากาก
3. ตัวอย่างของเล่นที่พบั จากกระดาษ
4. หนังสื อเกี่ยวกับงานพับกระดาษ วารสาร นิตยสาร
5. บุคคล เช่น ผูป้ กครอง ญาติพี่นอ้ ง เพื่อน ๆ และครู
6. สถานที่ เช่น ห้องสมุด โรงเรี ยน
7. สื่ อการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. คู่มือการสอน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์
วัฒนาพานิช จํากัด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  101

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู้
แนวทางการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
แนวทางแก้ไข
3. สิ่ งทีไ่ ม่ ได้ ปฏิบัติตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)

/ /
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  102

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 16
การพับกระดาษเป็ นของเล่ น (3)
สาระที่ 1 การดํารงชีวติ และครอบครัว ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 ช่ างประดิษฐ์ น้อย เวลา 2 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
การพับกระดาษเป็ นของเล่นเป็ นวิธีที่ง่ายและทําได้สะดวกเพราะใช้มือแทนเครื่ องมือต่าง ๆ ซึ่งจะทําให้เรา
ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
2. ตัวชี้วัดชั้นปี
1. บอกวิธีการทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเอง (ง 1.1 ป.1/1)
2. ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือง่าย ๆ ในการทํางานอย่างปลอดภัย (ง 1.1 ป.1/2)
3. ทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเองอย่างกระตือรื อร้นและตรงเวลา (ง 1.1 ป.1/3)
3. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
1. บอกขั้นตอนการพับกระดาษเป็ นของเล่นได้ (K)
2. มีความกระตือรื อร้นในการพับกระดาษเป็ นของเล่น และทําเสร็ จตรงเวลา (A)
3. มีทกั ษะในการพับกระดาษเป็ นของเล่น (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้
ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A
1. สังเกตการตอบคําถาม 1. สังเกตความเอาใจใส่ 1. สังเกตพฤติกรรมขณะพับกระดาษ
2. ตรวจผลงานการพับกระดาษ ในการ เรี ยน เป็ นของเล่น
เป็ นของเล่น 2. สังเกตความกระตือรื อร้นในการ 2. สังเกตทักษะการเลือกใช้วสั ดุ
ฝึ กพับกระดาษเป็ นของเล่น และอุปกรณ์ในการพับกระดาษ
3. ประเมินพฤติกรรมการทํางาน เป็ นของเล่น
เสร็ จตามเวลาที่กาํ หนด

5. สาระการเรี ยนรู้
การพับกระดาษเป็ นของเล่น
1) การพับเรื อ
2) การพับรถไฟ
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  103

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย การพูดนําเสนอเกี่ยวกับการพับกระดาษเป็ นของเล่น
วิทยาศาสตร์ ของเล่นใกล้ตวั ที่สามารถเป็ นแบบในการพับกระดาษได้
คณิ ตศาสตร์ การนับจํานวนของเล่นที่พบั จากกระดาษที่ทาํ ไว้ท้ งั หมด
ศิลปะ การสร้างสรรค์ศิลปะจากกระดาษ
ภาษาต่างประเทศ คําศัพท์เกี่ยวกับชื่อของเล่นที่พบั จากกระดาษ
7. กระบวนการจัดการเรี ยนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน
ครู ถามคําถามเพื่อกระตุน้ ความคิดและความสนใจของนักเรี ยน เช่น ถ้านักเรี ยนต้องการนําของเล่นที่พบั
ด้วยกระดาษไปลอยนํ้า นักเรี ยนจะพับเป็ นรู ปอะไร
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
ชั่วโมงที่ 1 (การพับเรือ)
1. ครู ตรวจบันทึกผลการปฏิบตั ิงานที่มอบหมายให้นกั เรี ยนทํา และให้นกั เรี ยนนําคําถามที่เตรี ยมไว้แล้ว
คนละ 1 คําถามมาร่ วมกันสนทนา
2. ครู เปิ ดสื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint เกี่ยวกับวิธีการพับเรื อหรื อภาพวิธีการพับเรื อมาให้นกั เรี ยนดู
พร้อมทั้งสาธิตวิธีการพับเรื อให้นกั เรี ยนดู
3. นักเรี ยนฝึ กพับกระดาษเป็ นเรื อตามลําดับขั้นตอน
4. นักเรี ยนนําผลงานของตนเองที่พบั เสร็ จแล้วออกมานําเสนอชั้นเรี ยน แล้วนําไปทดลองเล่น
5. ครู มอบหมายงานให้ นักเรี ยนไปศึ กษาวิธีการพับรถไฟ จากหนั งสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงาน
อาชี พฯ ป. 1 หน้ า 55–56 ลงมือปฏิบัติ แล้ วบันทึกผล และให้ นักเรียนตั้งคําถามที่สงสั ยคนละ 1 คําถาม (เพื่อนํามา
ร่ วมกันสนทนาในการเรียนครั้งต่ อไป)
ชั่วโมงที่ 2 (การพับรถไฟ)
1. ครู ตรวจบันทึกผลการปฏิบตั ิงานที่มอบหมายให้นกั เรี ยนทํา และให้นกั เรี ยนนําคําถามที่เตรี ยมไว้แล้ว
คนละ 1 คําถามมาร่ วมกันสนทนา
2. ครู นาํ รถไฟที่พบั จากกระดาษมาให้นกั เรี ยนดู แล้วถามคําถามเพื่อกระตุน้ ความคิดและความสนใจของ
นักเรี ยน เช่น ถ้าจะทําของเล่นแบบนี้ นักเรี ยนจะต้องเตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือใดบ้าง

3. ครู เปิ ดสื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint เกี่ยวกับวิธีการพับรถไฟหรื อภาพวิธีการพับรถไฟมาให้นกั เรี ยนดู
พร้อมทั้งสาธิตวิธีการพับรถไฟให้นกั เรี ยนดูทีละขั้นตอน แล้วให้นกั เรี ยนลองฝึ กปฏิบตั ิตาม
4. นักเรี ยนฝึ กพับกระดาษเป็ นรถไฟตามลําดับขั้นตอน
5. นักเรี ยนนําผลงานของตนเองที่ พ บั เสร็ จแล้วออกมานําเสนอชั้นเรี ยน แล้วให้เพื่ อ น ๆ ช่ วยกัน ให้
คะแนนและนําไปทดลองเล่น
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  104

ขั้นที่ 3 ขั้นสรุ ป
1. นักเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับขั้นตอนการพับกระดาษแบบต่าง ๆ พร้อมสรุ ปเป็ นแผนที่
ความคิด
2. ครูมอบหมายงานให้ นักเรียนไปสํ ารวจของเล่ นชํารุดของตนเอง แล้ วบันทึกผล และให้ นักเรียน
ตั้งคําถามที่สงสั ยคนละ 1 คําถาม (เพือ่ นํามาร่ วมกันสนทนาในการเรียนครั้งต่ อไป)
ขั้นที่ 4 ขั้นฝึ กฝนนักเรียน
1. นักเรี ยนเลือกทําของเล่นจากกระดาษคนละ 1 ชิ้น แล้วนําเสนอผลงานหน้าชั้น แล้วเขียนบันทึกผล
การปฏิบตั ิงาน
2. นักเรี ยนศึกษาเพิม่ เติมเกี่ยวกับวิธีการพับกระดาษเป็ นของเล่น จากหนังสื องานพับกระดาษ แล้วฝึ กพับ
กระดาษด้วยตนเอง
ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช้
นักเรี ยนสามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยการพับกระดาษเป็ นของเล่น ของใช้ หรื อของตกแต่ง
แบบต่าง ๆ ได้
8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสํ าหรับกลุ่มสนใจพิเศษ
1) นักเรี ยนเล่าประสบการณ์เกี่ยวกับการพับกระดาษของตัวเอง ให้เพื่อนในชั้นเรี ยนฟัง
2) นักเรี ยนดูวิซีดีเกี่ยวกับการพับกระดาษ แล้ววางแผนทําการพับกระดาษด้วยตนเอง
2. กิจกรรมสํ าหรับฝึ กทักษะเพิม่ เติม
1) นักเรี ยนศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการพับกระดาษด้วยวิธีต่าง ๆ เพิ่มเติม
2) นักเรี ยนดูตวั อย่างของเล่นที่พบั ด้วยกระดาษแบบต่าง ๆ แล้วเลือกตัวอย่างของเล่นที่นกั เรี ยน
อยากพับ 1 อย่าง
9. สื่อ/แหล่ งการเรี ยนรู้
1. วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือพับกระดาษ
2. ภาพขั้นตอนการพับกระดาษเป็ นของเล่น เช่น การพับเรื อ การพับรถไฟ
3. หนังสื อเกี่ยวกับงานพับกระดาษ วารสาร นิตยสาร
4. บุคคล เช่น ผูป้ กครอง ญาติพี่นอ้ ง เพื่อน ๆ และครู
5. สถานที่ เช่น ห้องสมุด โรงเรี ยน
6. สื่ อการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. คู่มือการสอน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9.. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์
วัฒนาพานิช จํากัด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  105

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
1. ความสํ าเร็จในการจัดการเรียนรู้
แนวทางการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
แนวทางแก้ไข
3. สิ่ งทีไ่ ม่ ได้ ปฏิบัติตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรียนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)

/ /
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  106

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 17
การบํารุ งรักษาของเล่ น
สาระที่ 1 การดํารงชีวติ และครอบครัว ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 ช่ างประดิษฐ์ น้อย เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
การบํารุ งรักษาของเล่นเป็ นการดูแลรักษาของเล่นเพื่อให้ของเล่นอยูใ่ นสภาพดี ไม่แตกหักและนํามาเล่น
ได้นาน
2. ตัวชี้วัดชั้นปี
1. บอกวิธีการทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเอง (ง 1.1 ป.1/1)
2. ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือง่าย ๆ ในการทํางานอย่างปลอดภัย (ง 1.1 ป.1/2)
3. ทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเองอย่างกระตือรื อร้นและตรงเวลา (ง 1.1 ป.1/3)
3. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
1. บอกประโยชน์ของการบํารุ งรักษาของเล่นได้ (K)
2. อธิ บายวิธีการบํารุ งรักษาของเล่นได้ (K)
3. มีเจตคติที่ดีต่อการบํารุ งรักษาของเล่น (A)
4. บํารุ งรักษาของเล่นอย่างถูกวิธีได้ดว้ ยตนเอง (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้
ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่านิยม (A)
1. สังเกตการตอบคําถาม 1. สังเกตความเอาใจใส่ ในการเรี ยน 1. สังเกตพฤติกรรมขณะทํา
2. ตรวจสอบผลงานการบํารุ งรักษา 2. สังเกตความรับผิดชอบในการ กิจกรรมการบํารุ งรักษาของเล่น
ของเล่นอย่างถูกวิธี ทํากิจกรรม 2. สังเกตทักษะการทํางานตาม
3. ตรวจการทําแบบทดสอบ 3. ประเมินพฤติกรรมตามแบบ แบบประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ
หลังเรี ยน (Post-test) ประเมินด้านคุณธรรม จริ ยธรรม
และค่านิยม

5. สาระการเรี ยนรู้
การบํารุ งรักษาของเล่น
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  107

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย การพูด การเขียน เกี่ยวกับการบํารุ งรักษาของเล่น
สุ ขศึกษาฯ หลักการและวิธีในการบํารุ งรักษาของเล่น
สังคมศึกษาฯ การเรี ยนรู ้วธิ ี การดูแลรักษาของเล่นที่เป็ นสมบัติของตนเองหรื อ
ของห้องเรี ยน
ศิลปะ การทําแผ่นป้ ายเกี่ยวกับการบํารุ งรักษาของเล่น
ภาษาต่างประเทศ คําศัพท์เกี่ยวกับการบํารุ งรักษาของเล่น
7. กระบวนการจัดการเรี ยนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน
ครู นาํ ภาพหรื อของเล่นที่มีสภาพชํารุ ดมาให้นกั เรี ยนดู แล้วถามคําถามเพื่อกระตุน้ ความคิดและความ
สนใจของนักเรี ยน เช่น ถ้านักเรี ยนต้องการนําของเล่นชิ้นนี้ไปเล่นอีกจะต้องทําอย่างไร
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
1. ครู ตรวจบันทึกผลการสํารวจจากงานที่มอบหมายให้นกั เรี ยนทํา และให้นกั เรี ยนนําคําถามที่เตรี ยมไว้
แล้วคนละ 1 คําถามมาร่ วมกันสนทนา
2. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3–4 คน ร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ของการบํารุ งรักษา
ของเล่นมีอะไรบ้าง แล้วนําเสนอผลงานหน้าชั้นเรี ยน
3. นักเรี ยนอาสาสมัครออกมาเล่าประสบการณ์เกี่ยวกับวิธีการบํารุ งรักษาของเล่นที่บา้ นของตนเอง
4. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3–4 คน สาธิ ตวิธีการบํารุ งรักษาของเล่น แล้วนําเสนอผลงานหน้าชั้นเรี ยน
5. ครูบูรณาการตามหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงด้ านความพอประมาณมาบูรณาการการ
บํารุงรักษาของเล่ น ซึ่งการบํารุงรักษาของเล่ นจะช่ วยยืดอายุของเล่ นและประหยัดค่ าใช้ จ่าย
6. ครูเสริมความรู้อาเซียนเกีย่ วกับของเล่นของเด็กในประเทศสมาชิกอาเซียน เช่ น ไทย ลาว เวียดนาม
อินโดนีเซียนิยมเล่ นลูกข่ าง ซึ่งเป็ นของเล่นพืน้ บ้ านทีท่ ําจากไม้ สามารถทําขึน้ เองได้ และเมือ่ เล่นเสร็จแล้วจะทํา
ความสะอาดโดยเช็ดด้ วยผ้า
7. นักเรี ยนทําแบบทดสอบหลังเรี ยน (Post-test) จํานวน 10 ข้อ เวลา 10 นาที (โดยครู เปิ ดสื่ อการเรี ยนรู้
PowerPoint การงานอาชีพฯ ป. 1 หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 3 หรื อ คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี ป. 1 ตอนที่ 3)
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุ ป
1. นักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปเกี่ยวกับวิธีการบํารุ งรักษาของเล่น
2. ครูมอบหมายงานให้ นักเรียนไปศึกษาเนือ้ หาในหน่ วยการเรียนรู้ที่ 4 ข้ อมูลและแหล่งข้ อมูลรอบตัว
เพือ่ จัดการเรียนรู้ครั้งต่อไป (โดยครูเปิ ดสื่ อการเรียนรู้ PowerPoint การงานอาชีพฯ ป. 1 หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง
คําถาม เชื่อมโยงสู่ บทเรียนต่ อไป
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  108

ขั้นที่ 4 ขั้นฝึ กฝนนักเรียน


1. นักเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ของการบํารุ งรักษาของเล่นแล้ว สรุ ปเป็ นแผนที่
ความคิด
2. นักเรี ยนพิจารณาภาพที่กาํ หนดให้ แล้วทําเครื่ องหมายลงในช่องของภาพที่แสดงวิธีการบํารุ งรักษา
ของเล่น
3. นักเรี ยนทําแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพฯ ป. 1 กิจกรรมที่ 31 อันไหนดีกว่ากัน
กิจกรรมที่ 32 สังเกตของเล่น กิจกรรมที่ 33 ควรใช้อะไรบ้าง และกิจกรรมที่ 34 ของเล่นฝี มือฉันเอง
ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช้
นักเรี ยนสามารถบํารุ งรักษาของเล่นของตนเองได้ถูกวิธี
8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสํ าหรับกลุ่มสนใจพิเศษ
นักเรี ยนศึกษาความรู ้เพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีการบํารุ งรักษาของเล่นที่ทาํ จากวัสดุชนิดต่าง ๆ นอกจาก
กระดาษ และเขียนสรุ ปวิธีการบํารุ งรักษาปะติดไว้ในกล่องหรื อตูเ้ ก็บของเล่น
2. กิจกรรมสํ าหรับฝึ กทักษะเพิม่ เติม
นักเรี ยนสอบถามผูป้ กครองเกี่ยวกับวิธีการซ่อมแซมของเล่นและการบํารุ งรักษาของเล่นเพิ่มเติม
9. สื่อ/แหล่ งการเรี ยนรู้
1. ตัวอย่างของเล่นที่สกปรกและมีรอยชํารุ ด
2. หนังสื อเกี่ยวกับการบํารุ งรักษาของเล่น วารสาร นิตยสาร
3. บุคคล เช่น ผูป้ กครอง ญาติพี่นอ้ ง เพื่อน ๆ และครู
4. สถานที่ เช่น ห้องสมุด ห้องเรี ยน บ้าน
5. สื่ อการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
6. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชี พและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิ ช
จํากัด
8. คู่มือการสอน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช
จํากัด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  109

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
1. ความสํ าเร็จในการจัดการเรียนรู้
แนวทางการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
แนวทางแก้ไข
3. สิ่ งทีไ่ ม่ ได้ ปฏิบัติตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรียนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)

/ /
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  110

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 ข้ อมูลและแหล่ งข้ อมูลรอบตัว

เวลา 9 ชั่วโมง
ผังมโนทัศน์ เป้ าหมายการเรียนรู้และขอบข่ ายภาระงาน

ความรู้ ทักษะ/ กระบวนการ


1. ข้อมูล 1. ทักษะการทํางานเพื่อช่วยเหลือ
2. ประเภทของข้อมูล ตนเอง
3. แหล่งข้อมูลรอบตัว 2. ทักษะการทํางานกลุ่ม
4. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ

ข้ อมูลและ
แหล่ งข้ อมูลรอบตัว

ภาระงาน/ชิ้นงาน คุณธรรม จริยธรรม และค่ านิยม


1. สํารวจข้อมูล 1. เจตคติที่ดีต่อการทํางานเพื่อ
2. แยกประเภทข้อมูล ช่วยเหลือตนเอง
3. สํารวจแหล่งข้อมูล 2. มีความกระตือรื อร้น
4. วาดภาพอุปกรณ์เทคโนโลยี
สารสนเทศ
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  111

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 ข้ อมูลและแหล่ งข้ อมูลรอบตัว

ขั้นที่ 1 ผลลัพธ์ ปลายทางที่ต้องการให้ เกิดขึน้ กับนักเรียน


ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. บอกข้อมูลที่สนใจและแหล่งข้อมูลที่อยูใ่ กล้ตวั (ง 3.1 ป.1/1)
2. บอกประโยชน์ของอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ง 3.1 ป.1/2)

ความเข้ าใจที่คงทนของนักเรียน คําถามสํ าคัญที่ทําให้ เกิดความเข้ าใจที่คงทน


นักเรียนจะเข้ าใจว่า... – การได้รับ รู ้ ข อ้ มู ลต่ าง ๆ จะเกิ ด ผลดี ต่ อ ตัวเราใน
1. ข้อมูลและแหล่งข้อมูลมีอยูร่ อบตัวเรา เรื่ องใดมากที่สุด
2. ข้อมู ลและอุป กรณ์ เทคโนโลยีส ารสนเทศช่ วยให้เรามี – นักเรี ยนคิดว่าแหล่งข้อมูลใดมีความน่าเชื่อถือมาก
ความรู ้กว้างขวาง เป็ นประโยชน์ต่อการดํารงชี วิตประจําของ ที่สุด
เรา – ถ้า เราไม่ มี ค วามรู ้ เกี่ ย วกั บ อุ ป กรณ์ เทคโนโลยี
สารสนเทศจะเกิดผลกระทบต่อตัวเราอย่างไร
ความรู้ของนักเรียนที่นําไปสู่ ความเข้ าใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นําไปสู่ ความ
นักเรียนจะรู้ว่า... เข้ าใจที่คงทน
1. คําที่ควรรู ้ ได้แก่ การดํารงชีวิต รู ปแบบ คํานวณ นักเรียนจะสามารถ...
งานอดิ เรก เหตุ ก ารณ์ สิ่ ง แวดล้อ ม ภาพนิ่ ง สถานการณ์ 1. สื บค้นข้อมูลที่มีอยูร่ อบ ๆ ตัว
เผยแพร่ สารคดี 2. สํารวจแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่มีอยูร่ อบตัว
2. คน สัตว์ พืช สิ่ งของ ข่าว เรื่ องราว และเหตุการณ์ต่าง ๆ 3. นําอุปกรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ประโยชน์
ที่เราพบเห็น ได้ยนิ ได้อ่าน หรื อได้สมั ผัสจัดเป็ นข้อมูล ในชีวิตประจําวัน
3. ข้อ มู ล มี อ ยู่ร อบตัว เรา ข้อ มู ล มี ห ลายประเภทและมี
ประโยชน์ต่อชีวิตประจําวันของเรา
4. แหล่งข้อมูล คือ คน สิ่ งของ หรื อสถานที่ที่ให้ขอ้ มูล
แก่เราซึ่งมีอยูร่ อบตัวเรา
5. อุปกรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นสิ่ งมี ประโยชน์ต่อ
การดํารงชี วิ ต ของเราอย่างยิ่งเพราะทําให้ เราได้รั บ ความรู ้
ความบันเทิ ง และเป็ นอุปกรณ์ ช่ ว ยให้เราทํางานได้สะดวก
รวดเร็ ว และประหยัดเวลา
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  112

ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็ นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผลการเรียนรู้


ตามที่กาํ หนดไว้ อย่ างแท้ จริง
1. ภาระงานที่นักเรียนต้ องปฏิบัติ
– สํารวจข้อมูลและแหล่งข้อมูลที่มีอยูร่ อบ ๆ ตัว
– บอกวิธีรับข้อมูลและแยกประเภทของข้อมูลต่าง ๆ
– แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ของข้อมูลและอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
– เล่าประสบการณ์เกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
– จัดทําแผ่นภาพอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ

2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ เครื่องมือประเมินผลการเรียน รู้
–การทดสอบ – แบบทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน
– การสนทนาซักถามโดยครู – แบบทดสอบประจําหน่วยการเรี ยนรู ้
– การแสดงความคิดเห็น – แบบบันทึกการสนทนา
– การฝึ กปฏิบตั ิระหว่างเรี ยน – ใบความรู ้และใบงาน
– การทดสอบ – แบบประเมินด้านคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม
– การตรวจ ผลงาน – แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ
– การประเมินตนเองของนักเรี ยน
3. สิ่ งที่ม่งุ ประเมิน
– ความสามารถในการจําแนกประเภทของข้อมูล
– ความสามารถในการระบุแหล่งข้อมูลที่มีอยูร่ อบตัว
– การสังเกตและการสรุ ปผล
– ความรู ้เกี่ยวกับประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ
– พฤติกรรมการปฏิบตั ิกิจกรรมเป็ นรายบุคคลและรายกลุ่ม
ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 18 ข้อมูล 1 ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 19 ประเภทของข้อมูล 2 ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 20 แหล่งข้อมูลรอบตัว 3 ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 21 อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ 3 ชัว่ โมง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  113

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 18
ข้ อมูล
สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 ข้ อมูลและแหล่ งข้ อมูลรอบตัว เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
ข้อมูลเป็ นเรื่ องราวหรื อเหตุการณ์ที่เป็ นความจริ ง ซึ่งเรารับรู้ขอ้ มูลได้จากการมองเห็น การอ่านเป็ นต้น
ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งๆเราอาจได้รับข้อมูลได้หลายทาง
2. ตัวชี้วัดชั้นปี
บอกข้อมูลที่สนใจและแหล่งข้อมูลที่อยูใ่ กล้ตวั (ง 3.1 ป.1/1)
3. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
1. อธิ บายความหมายและประโยชน์ของข้อมูลได้ (K)
2. เห็นประโยชน์ของข้อมูลและขยันค้นคว้าหาความรู้ (A)
3. สามารถรวบรวมข้อมูลต่างๆได้ (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้
ด้ านคุณธรรมจริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่านิยม (A)
1. สังเกตการตอบคําถาม 1. สังเกตความเอาใจใส่ ในการเรี ยน 1. สังเกตพฤติกรรมการทํา
2. ตรวจกิจกรรมการเรี ยนรู ้ 2. สังเกตความมีเจตคติที่ดีต่อการ กิจกรรมร่ วมกับผูอ้ ื่น
3. ตรวจแบบทดสอบก่อนเรี ยน ทํากิจกรรม 2. สังเกตทักษะ/กระบวนการ
(Pre-test) เกี่ยวกับข้อมูล

5. สาระการเรี ยนรู้
ข้อมูลต่าง ๆ
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  114

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย การพูดแสดงความคิดเห็น
สังคมศึกษาฯ การสํารวจข้อมูลและการเก็บข้อมูลรอบ ๆ ตัว
ศิลปะ การแสดงบทบาทสมมุติและการสร้างสรรค์ศิลปะจากข้อมูล
ภาษาต่างประเทศ คําศัพท์เกี่ยวกับข้อมูล
7. กระบวนการจัดการเรี ยนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนทําแบบทดสอบก่อนเรี ยน (Pre-test) จํานวน 10 ข้อ เวลา 10 นาที (โดยครู เปิ ดสื่ อการเรี ยนรู ้
PowerPoint การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 หน่วยการเรี ยนรู้ที่ 4 หรื อคู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงาน
อาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 ตอนที่ 3)
2. ครู เขียนคําว่า “ข้อมูล” บนกระดานดําให้นกั เรี ยนดู แล้วถามคําถามเพื่อกระตุน้ ความคิดและความ
สนใจของนักเรี ยน เช่น นักเรี ยนเห็นคํานี้ แล้วนึกถึงอะไรบ้าง
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
1. ครู ถามคําถามเกี่ยวกับงานที่มอบหมายให้นกั เรี ยนไปศึกษาเนื้อหาในหน่วยการเรี ยนรู้ที่ 4 ข้อมูลและ
แหล่งข้อมูลรอบตัว (ซึ่งมอบหมายในชัว่ โมงสุ ดท้ายของการเรี ยนการสอนหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 3 คําถามเชื่อมโยงสู่
บทเรี ยนต่อไป) เช่น ในชีวติ ประจําวันนักเรี ยนได้รับข้อมูลจากสิ่ งใดบ้าง
2. ครู เปิ ดสื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint เกี่ยวกับภาพสวนสัตว์หรื อนําภาพสวนสัตว์มาให้นกั เรี ยนดู แล้วให้
นักเรี ยนพิจารณาภาพ แล้วตอบคําถามต่อไปนี้
1) ภาพนี้แสดงเกี่ยวกับอะไร
2) ถ้านักเรี ยนเป็ นเด็กในภาพ นักเรี ยนจะได้รับข้อมูลเกี่ยวกับอะไรบ้าง
3. นักเรี ยนช่วยกันยกตัวอย่างข้อมูลที่พบเห็นในชีวิตประจําวัน
4. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3–4 คน ช่วยกันเขียนว่ามีอะไรบ้างที่เป็ นข้อมูล
5. ครูเสริมความรู้อาเซียนเกีย่ วกับสั ตว์ ประจําชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน เช่ น ช้ างของไทย
ลิงอุรังอุตงั ของอินโดนีเซีย สิ งโตของสิ งคโปร์
6. ครู แสดงภาพสมาชิกในบ้านที่กาํ ลังรับประทานอาหาร แล้วถามนักเรี ยนว่าในภาพนี้เราจะสามารถรับรู ้
ข้อมูลอะไรบ้าง
7. ครูเสริมความรู้อาเซียนเกีย่ วกับข้ อมูลจากการรับรู้รสของผลไม้ของประเทศสมาชิกอาเซียน เช่ น
ซาลักหรือสละเป็ นผลไม้ที่มชี ื่อเสี ยงของประเทศอินโดนีเซียเนื่องจากมีรสชาติดี อร่ อย
8. นักเรี ยนจับคู่กบั เพื่อนผลัดกันถามข้อมูลจากเพื่อน แล้วเขียนบันทึกลงสมุด
9. ให้นกั เรี ยนอ่านเพิม่ เติมจากสื่ อการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ ป. 1
หรื อหนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุ ป
1. นักเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเรื่ องความหมายและประโยชน์ของข้อมูล
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  115

2. ครูมอบหมายงานให้ นักเรียนไปสํ ารวจข้ อมูลที่พบเห็นในบ้ านของตนเอง แล้วบันทึกผล และให้


นักเรียนตั้งคําถามที่สงสั ยคนละ 1 คําถาม (เพือ่ นํามาร่ วมกันสนทนาในการเรียนครั้งต่ อไป)
ขั้นที่ 4 ขั้นฝึ กฝนนักเรียน
1. นักเรี ยนแต่ละคนสํารวจข้อมูลรอบ ๆ ตัวว่ามีอะไรบ้างที่เป็ นข้อมูล พร้อมกับระบุแหล่งที่มาของข้อมูล
2. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน สังเกตภาพแล้วช่วยกันระบุวิธีการได้รับข้อมูลของ เด็ก ๆ ในภาพ
3. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน ร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ของข้อมูล แล้วสรุ ป
เป็ นแผนที่ความคิด
4. นักเรี ยนทําแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 กิจกรรมที่ 39 ข้อมูล
รอบตัว และกิจกรรมที่ 40 ข้อมูลที่มีประโยชน์
ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช้
นักเรี ยนมีความเข้าใจ และสามารถรับรู้ขอ้ มูลได้ถูกต้อง
8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสํ าหรับกลุ่มสนใจพิเศษ
1) นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3–4 คน สํารวจข้อมูลต่าง ๆ ภายในโรงเรี ยนแล้วออกมานําเสนอ
ผลงานหน้าชั้นเรี ยน
2) นักเรี ยนเขียนข้อมูลส่วนตัวลงสมุดบันทึกแล้วนํามาส่งครู
2. กิจกรรมสํ าหรับฝึ กทักษะเพิม่ เติม
นักเรี ยนสอบถามข้อมูลจากผูป้ กครอง เช่น ข้อมูลส่วนตัว ข้อมูลที่บา้ น
9. สื่อ/แหล่ งการเรี ยนรู้
1. ภาพข้อมูลต่าง ๆ เช่น ข้อมูลจากการอ่าน ข้อมูลจากการมองเห็น
2. หนังสื อเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ข้อมูลและแหล่งข้อมูล
3. บุคคล เช่น ครู ผูร้ ู ้ ผูป้ กครอง นักวิชาการ
4. สื่ อ เช่น หนังสื อพิมพ์ โทรทัศน์ วิทยุ แผ่นพับ ใบโฆษณาสิ นค้า
5. สถานที่ เช่น โรงเรี ยน ห้องสมุด ชุมชน ห้างสรรพสิ นค้า ร้านค้า
6. สื่ อการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช
จํากัด
9. คู่มือการสอน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์
วัฒนาพานิชจํากัด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  116

10. บันทึกหลังการจัดการเรี ยนรู้


1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู้
แนวทางการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
แนวทางแก้ไข
3. สิ่ งทีไ่ ม่ ได้ ปฏิบัติตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)

/ /
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  117

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 19
ประเภทของข้ อมูล

สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 ข้ อมูลและแหล่ งข้ อมูลรอบตัว เวลา 2 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
ข้อมูลมีหลายประเภทอยูใ่ นรู ปแบบที่แตกต่างกัน เราจึงต้องแยกแยะประเภทของของข้อมูลให้ถูกต้อง
2. ตัวชี้วัดชั้นปี
บอกข้อมูลที่สนใจและแหล่งข้อมูลที่อยูใ่ กล้ตวั (ง 3.1 ป.1/1)
3. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
1. บอกประเภทของข้อมูลได้ (K)
2. เห็นประโยชน์ของข้อมูล (A)
3. มีทกั ษะในการค้นหาข้อมูลประเภทต่าง ๆ (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้
ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่านิยม (A)
1. สังเกตการตอบคําถาม 1. สังเกตความเอาใจใส่ ในการเรี ยน 1. สังเกตทักษะในการค้นหาข้อมูล
2. ตรวจกิจกรรมการเรี ยนรู ้ 2. สังเกตความรับผิดชอบจากการ 2. สังเกตการทํากิจกรรมร่ วมกับ
ทํากิจกรรมที่ได้รับมอบหมาย ผูอ้ ื่น

5. สาระการเรี ยนรู้
ประเภทของข้อมูล

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย การเล่าประสบการณ์และการพูดแสดงความคิดเห็น
คณิ ตศาสตร์ เปรี ยบเทียบรู ปเรขาคณิ ตกับรู ปทรงของแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
สังคมศึกษาฯ การสํารวจแหล่งข้อมูลในบริ เวณโรงเรี ยนและชุมชน
สุ ขศึกษาฯ การเล่นเกมและการฟังเพลงเพื่อรับข้อมูลเสี ยง
ศิลปะ การตกแต่งแผ่นป้ ายแสดงแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
ภาษาต่างประเทศ คําศัพท์เกี่ยวกับประเภทของข้อมูล
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  118

7. กระบวนการจัดการเรี ยนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน
ครู นาํ ภาพเด็กยืนแนะนําตนเองโดยมีคาํ บรรยายใต้ภาพ (ชื่อ นามสกุล วัน/เดือน/ปี เกิด ชั้น เลขที่) มาให้
นักเรี ยนดู แล้วถามคําถามเพื่อกระตุน้ ความคิดและความสนใจของนักเรี ยน เช่น สิ่ งที่นกั เรี ยนเห็นนี้มีขอ้ มูลอะไรอยู่
บ้าง
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
ชั่วโมงที่ 1 (ประเภทของข้ อมูล)
1. ครู ตรวจบันทึกผลการสํารวจจากงานที่มอบหมายให้นกั เรี ยนทํา และให้นกั เรี ยนนําคําถามที่เตรี ยมไว้
แล้วคนละ 1 คําถามมาร่ วมกันสนทนา
2. ครู แจกภาพให้นกั เรี ยนคนละ 1 ภาพ นักเรี ยนพิจารณาภาพของตนเองแล้วไปรวมกลุ่มกับเพื่อนที่มี
ภาพเหมือนกัน
3. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันอธิบายว่าภาพที่กลุ่มตนได้รับนั้นจัดเป็ นข้อมูลประเภทใด
4. ครู สื่อการเรี ยนรู ้ PowerPoint เกี่ยวกับประเภทของข้อมูล แล้วอธิ บายเพิ่มเติมเกี่ยวกับประเภท
ของข้อมูลเพื่อให้นกั เรี ยนเข้าใจมากยิง่ ขึ้น
5. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3–4 คน เลือกตัวอย่างของประเภทของข้อมูล 1 อย่าง แล้วระบายสี
ให้สวยงาม จากนั้นนําไปติดป้ ายนิเทศ
6. ครูเสริมความรู้อาเซียนเกีย่ วกับข้ อมูลตัวเลข ซึ่งเงินตราของประเทศสมาชิกอาเซียนจัดเป็ นข้ อมูล
ตัวเลข เช่ น 1 ดอลลาร์ สิงคโปร์ เท่ ากับ 24 บาทของไทย
7. ครูมอบหมายให้ นักเรียนไปศึกษาประโยชน์ ของข้ อมูล จากหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน การงาน
อาชี พและเทคโนโลยี ป. 1 หน้ า 69–70 แล้ วบันทึกความรู้ และให้ นักเรี ยนตั้งคําถามที่สงสั ยคนละ 1 คําถาม (เพื่อ
นํามาร่ วมกันสนทนาในการเรียนครั้งต่ อไป)
ชั่วโมงที่ 2 (ประโยชน์ ของข้ อมูล)
1. ครู ตรวจบันทึกความรู้จากงานที่มอบหมายให้นกั เรี ยนทํา และให้นกั เรี ยนนําคําถามที่เตรี ยมไว้
แล้วคนละ 1 คําถามมาร่ วมกันสนทนา
2. ครู ถามคําถาม เช่น นักเรี ยนคิดว่าข้อมูลที่นกั เรี ยนได้รับจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ มีประโยชน์
หรื อไม่ อย่างไร
3. นักเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ของข้อมูล
4. ครู สื่อการเรี ยนรู ้ PowerPoint เกี่ยวกับประโยชน์ของข้อมูล แล้วอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับประโยชน์ของ
ข้อมูลเพื่อให้นกั เรี ยนเข้าใจมากยิง่ ขึ้น
5. ครูบูรณาการตามหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงด้ านความมีเหตุผล โดยบูรณาการการพิจารณา
ความน่ าเชื่อถือของข้ อมูลที่ได้ รับจากแหล่ งข้ อมูลต่ าง ๆ
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  119

ขั้นที่ 3 ขั้นสรุ ป
1. นักเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเภทและประโยชน์ของข้อมูล
2. ครูมอบหมายงานให้ นักเรียนไปสํ ารวจแหล่ งข้ อมูลที่มใี นบ้ านของตนเอง แล้วบันทึกผล และ
ให้ นักเรียนตั้งคําถามที่สงสั ยคนละ 1 คําถาม (เพือ่ นํามาร่ วมกันสนทนาในการเรียนครั้งต่ อไป)
ขั้นที่ 4 ขั้นฝึ กฝนนักเรียน
1. นักเรี ยนสังเกตภาพที่กาํ หนดให้แล้วระบุวา่ เป็ นข้อมูลประเภทใด
2. นักเรี ยนทําแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 กิจกรรมที่ 41
แยกประเภทของข้อมูล
ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช้
นักเรี ยนมีความเข้าใจและสามารถแยกแยะประเภทของข้อมูลต่าง ๆ ด้วยตนเองได้
8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสํ าหรับกลุ่มสนใจพิเศษ
1) นักเรี ยนศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับประเภทของข้อมูลเพิ่มเติม แล้วร่ วมกันแสดงความคิดเห็นกับเพื่อน
2) นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3–4 คน ศึกษาเกี่ยวกับประโยชน์ของข้อมูลแต่ละประเภทแล้ว
ช่วยกันสรุ ปข้อดี และข้อเสี ย
2. กิจกรรมสํ าหรับฝึ กทักษะเพิม่ เติม
1) นักเรี ยนสอบถามผูป้ กครองเกี่ยวกับประเภทของข้อมูลต่าง ๆ ที่บา้ นของตนเอง
2) นักเรี ยนดูวีซีดีเกี่ยวกับประเภทของข้อมูลต่าง ๆ แล้วครู ถามนักเรี ยนเกี่ยวกับประเภทของข้อมูลที่
นักเรี ยนสนใจ
9. สื่อ/แหล่ งการเรี ยนรู้
1. ภาพข้อมูลประเภทต่าง ๆ เช่น ข้อมูลภาพ ข้อมูลตัวอักษร ข้อมูลตัวเลข
2. หนังสื อเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ข้อมูลและแหล่งข้อมูล
3. บุคคล เช่น ครู ผูร้ ู ้ ผูป้ กครอง นักวิชาการ
4. สื่ อ เช่น หนังสื อพิมพ์ โทรทัศน์ วิทยุ แผ่นพับ ใบโฆษณาสิ นค้า
5. สถานที่ เช่น โรงเรี ยน ห้องสมุด ชุมชน ห้างสรรพสิ นค้า ร้านค้า
6. สื่ อการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นา พานิช จํากัด
7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช
จํากัด
9. คู่มือการสอน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช
จํากัด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  120

10. บันทึกหลังการจัดการเรี ยนรู้


1. ความสํ าเร็จในการจัดการเรียนรู้
แนวทางการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
แนวทางแก้ไข
3. สิ่ งทีไ่ ม่ ได้ ปฏิบัติตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรียนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)

/ /
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  121

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 20
แหล่ งข้ อมูลรอบตัว

สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 ข้ อมูลและแหล่ งข้ อมูลรอบตัว เวลา 3 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
แหล่งข้อมูลเป็ นสิ่ งที่ทาํ ให้เราทราบข้อมูลต่าง ๆที่เราต้องการรู ้ได้อย่างถูกต้อง
2. ตัวชี้วัดชั้นปี
บอกข้อมูลที่สนใจและแหล่งข้อมูลที่อยูใ่ กล้ตวั (ง 3.1 ป.1/1)
3. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
1. ระบุแหล่งข้อมูลที่มีอยูร่ อบตัวได้ (K)
2. เห็นความสําคัญของแหล่งข้อมูล (A)
3. มีทกั ษะในการเลือกใช้แหล่งข้อมูล (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้
ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่านิยม (A)
1. สังเกตการตอบคําถาม 1. สังเกตความเอาใจใส่ในการเรี ยน 1. สังเกตทักษะในการหา
2. ตรวจกิจกรรมการเรี ยนรู ้ 2. สังเกตจากความรับผิดชอบในการ แหล่งข้อมูลรอบตัว
ทํากิจกรรม ที่ได้รับมอบหมาย 2. สังเกตจากการทํากิจกรรม
ร่ วมกับผูอ้ ื่น

5. สาระการเรี ยนรู้
แหล่งข้อมูลรอบตัว
6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย การเล่าประสบการณ์และการฟังความคิดเห็นของเพื่อนในกลุ่ม
สังคมศึกษาฯ เรี ยนรู้เรื่ องแหล่งข้อมูลที่มีอยูใ่ นชุมชน
ศิลปะ การวาดภาพระบายสี แหล่งข้อมูล
ภาษาต่างประเทศ คําศัพท์เกี่ยวกับแหล่งข้อมูลรอบตัว
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  122

7. กระบวนการจัดการเรี ยนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน
ครู ถามคําถามเพื่อกระตุน้ ความคิดและความสนใจของนักเรี ยน เช่น ในชีวติ ประจําวันนักเรี ยนได้รับ
ข้อมูลข่าวสารจากแหล่งข้อมูลใดบ้าง
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
ชั่วโมงที่ 1 (แหล่งข้ อมูลที่เป็ นคน)
1. ครู ตรวจบันทึกผลการสํารวจจากงานที่มอบหมายให้นกั เรี ยนทํา และให้นกั เรี ยนนําคําถามที่เตรี ยม
ไว้แล้ว คนละ 1 คําถามมาร่ วมกันสนทนา
2. ครู เปิ ดสื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint เกี่ยวกับภาพแหล่งข้อมูลที่เป็ นบุคคลหรื อนําภาพมาให้นกั เรี ยนดู
แล้วร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบุคคลในภาพ
3. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน ไปรวบรวมแหล่งข้อมูลที่เป็ นคนในบริ เวณโรงเรี ยนมาให้ได้
มากที่สุด จดบันทึก แล้วนําเสนอผลงานหน้าชั้นเรี ยน
ชั่วโมงที่ 2 (แหล่งข้ อมูลที่เป็ นสถานที่)
1. นักเรี ยนร่ วมยกตัวอย่างแหล่งข้อมูลที่เป็ นสถานที่ที่นกั เรี ยนพบเห็นในชีวติ ประจําวัน โดยไม่ให้ซ้ าํ กัน
2. ครู พานักเรี ยนไปสํารวจแหล่งข้อมูลที่เป็ นสถานที่ในโรงเรี ยนหรื อบริ เวณชุมชนใกล้ ๆ โรงเรี ยน แล้ว
อธิ บายเพิม่ เติมเกี่ยวกับสถานที่น้ นั ๆ
3. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม 4–5 ช่วยกันระดมความคิดเกี่ยวกับแหล่งข้อมูลที่ไปสํารวจ โดยเขียนเป็ นแผนที่
ความคิด แล้วนําเสนอผลงานหน้าชั้นเรี ยน
4. ครู เปิ ดสื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint แล้วอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับแหล่งข้อมูลที่เป็ นสถานที่
ชั่วโมงที่ 3 (แหล่งข้ อมูลที่เป็ นสิ่ งอืน่ ๆ )
1. ครู นาํ ภาพมาให้นกั เรี ยนดูแล้วให้นกั เรี ยนพิจารณาแหล่งข้อมูลจากภาพ ได้แก่
- ภาพที่ 1 เด็กกําลังนัง่ ฟังเพลง
- ภาพที่ 2 เด็กกําลังหนังดูการ์ตูน
- ภาพที่ 3 คุณพ่อกําลังนัง่ อ่านหนังสื อพิมพ์
2. นักเรี ยนบอกแหล่งข้อมูลรอบตัวที่นกั เรี ยนพบเห็นในชีวิตประจําวัน
3. ครูถามคําถามอาเซียนว่ า การค้ นคว้าความรู้ เกีย่ วกับอาเซียน นักเรียนควรเลือกค้ นคว้ าจากแหล่งข้ อมูล
รอบตัวใด (แนวคําตอบ: ครู ผู้ปกครอง ห้ องสมุด โทรทัศน์ )
4. นักเรี ยนจับคู่กบั เพื่อน ผลัดกันถามแหล่งข้อมูลรอบตัวจากเพื่อน แล้วบันทึกลงสมุด
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุ ป
1. นักเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแหล่งข้อมูลรอบตัว
2. ครูมอบหมายงานให้ นักเรียนไปสํ ารวจอุปกรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศที่บ้านของตนเอง แล้ วบันทึกผล
และให้ นักเรียนตั้งคําถามที่สงสั ยคนละ 1 คําถาม (เพือ่ นํามาร่ วมกันสนทนาในการเรียนครั้งต่ อไป)
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  123

ขั้นที่ 4 ขั้นฝึ กฝนนักเรียน


1. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน ช่วยกันคิดว่าในแต่ละวันเราได้รับข้อมูลจากแหล่งข้อมูลใดบ้าง
2. นักเรี ยนวาดภาพแหล่งข้อมูลรอบตัว ระบายสี ให้สวยงาม พร้อมกับเขียนชื่อแหล่งข้อมูลในภาพและ
ข้อมูลที่ได้รับ
3. นักเรี ยนทําแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 กิจกรรมที่ 42
แหล่งข้อมูลที่น่าสนใจ และกิจกรรมที่ 43 วาดภาพแหล่งข้อมูล
ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช้
นักเรี ยนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแหล่งข้อมูลรอบตัวได้ถูกต้อง
8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสํ าหรับกลุ่มสนใจพิเศษ
นักเรี ยนจับคู่กบั เพื่อนทําสมุดภาพเกี่ยวกับแหล่งข้อมูลรอบตัวที่นกั เรี ยนสนใจ
2. กิจกรรมสํ าหรับฝึ กทักษะเพิม่ เติม
นักเรี ยนจับคู่กบั เพื่อนช่วยกันค้นหาแหล่งข้อมูลในบริ เวณโรงเรี ยนแล้วจดบันทึก
3. กิจกรรมสะเต็มศึกษา
ครู ให้นกั เรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM Education) จากสถานการณ์ เรื่ อง
รอบรั้วโรงเรี ยน ดังต่อไปนี้
คุณครู ให้นกั เรี ยนไปสํารวจบริ เวณโรงเรี ยนและจดบันทึกข้อมูลที่ได้พบเห็น โดยแต่ละกลุ่มจะต้อง
รวบรวมข้อมูลดังต่อไปนี้ ข้อมูลตัวอักษร ข้อมูลภาพ ข้อมูลตัวเลข ข้อมูลเสี ยง ให้ได้มากที่สุดภายในเวลา 20 นาที
วัสดุอุปกรณ์
กระดาษ ดินสอ
วิธีปฏิบัตกิ จิ กรรม
ให้นกั เรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน ช่วยกันสํารวจข้อมูล แล้วลงมือปฏิบตั ิ สังเกต บันทึกผล
โดยการเขียนแผนที่ความคิด และประเมินผลชิ้นงานตามกระบวนการทางเทคโนโลยี โดยใช้แนวคิด STEM
Education (S: วิทยาศาสตร์ T: เทคโนโลยี E: วิศวกรรมศาสตร์ M: คณิ ตศาสตร์) เพื่อ แก้ปัญหาจากสถานการณ์ที่
กําหนด แล้วนําเสนอผลงาน
9. สื่อ/แหล่ งการเรี ยนรู้
1. ภาพแหล่งข้อมูล
2. หนังสื อเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ข้อมูลและแหล่งข้อมูล
3. บุคคล เช่น ครู ผูร้ ู ้ ผูป้ กครอง นักวิชาการ
4. สื่ อ เช่น หนังสื อพิมพ์ โทรทัศน์ วิทยุ แผ่นพับ ใบโฆษณาสิ นค้า
5. สถานที่ เช่น โรงเรี ยน ห้องสมุด ชุมชน
6. สื่ อการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  124

8. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช


จํากัด
9. คู่มือการสอน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั
สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรี ยนรู้


1. ความสํ าเร็จในการจัดการเรียนรู้
แนวทางการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
แนวทางแก้ไข
3. สิ่ งทีไ่ ม่ ได้ ปฏิบัติตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรียนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)

/ /
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  125

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 21
อุปกรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ

สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 ข้ อมูลและแหล่ งข้ อมูลรอบตัว เวลา 3 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นอุปกรณ์ที่สามารถบันทึกหรื อเผยแพร่ ความรู ้และความบันเทิงได้อย่าง
รวดเร็ วและกว้างขวาง
2. ตัวชี้วัดชั้นปี
บอกประโยชน์ของอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ง 3.1 ป.1/2)
3. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
1. บอกความหมาย ลักษณะ และอธิบายประโยชน์ของอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศได้ (K)
2. เห็นคุณค่าของการใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (A)
3. มีทกั ษะในการเลือกใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศให้ปลอดภัย (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้
ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่านิยม (A)
1. สังเกตการตอบคําถาม 1. สังเกตความตั้งใจเรี ยน 1. สังเกตพฤติกรรมการทํางาน
2. ตรวจผลจากการใช้อุปกรณ์ 2. สังเกตความรับผิดชอบในการ ร่ วมกับผูอ้ ื่น
เทคโนโลยีสารสนเทศ ทํางานให้สาํ เร็ จ 2. ประเมินทักษะการทํางานตาม
3. ตรวจแบบทดสอบ หลังเรี ยน 3. ประเมินพฤติกรรมตามแบบประเมิน แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ
(Post-test) ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม
4. ตรวจแบบทดสอบปลายปี

5. สาระการเรี ยนรู้
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ

 
 
 
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  126

 
6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย การเขียน การอ่าน และการฟังความคิดเห็นของเพื่อนในกลุ่ม
คณิ ตศาสตร์ การเปรี ยบเทียบ รู ปทรงเรขาคณิ ตกับอุปกรณ์เทคโนโลยี
สารสนเทศ
สุ ขศึกษาฯ ความปลอดภัยในการใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
ศิลปะ การปั้นดินนํ้ามัน
ภาษาต่างประเทศ คําศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
 

7. กระบวนการจัดการเรี ยนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน
ครู ถามคําถามเพื่อกระตุน้ ความคิดและความสนใจของนักเรี ยน เช่น อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศมี
ความสําคัญต่อการดํารงชีวิตของนักเรี ยนอย่างไร
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
ชั่วโมงที่ 1 (วิทยุและโทรทัศน์ )
1. ครู ตรวจบันทึกผลการสํารวจจากงานที่มอบหมายให้นกั เรี ยนทํา และให้นกั เรี ยนนําคําถามที่เตรี ยม
ไว้แล้ว คนละ 1 คําถามมาร่ วมกันสนทนา
2. นักเรี ยนช่วยกันบอกอุปกรณ์เทคโนโลยีสารเทศที่บา้ นและที่โรงเรี ยนของตนเอง
3. ครู ให้นกั เรี ยนฟังวิทยุและดูโทรทัศน์แล้วช่วยกันบอกประโยชน์และวิธีการใช้
4. ครู อธิ บายเพิ่มเติมเกี่ยวกับลักษณะและประโยชน์ของวิทยุและโทรทัศน์
5. ครูเสริมความรู้อาเซียนเกีย่ วกับการรับชมรายการโทรทัศน์ ในประเทศสมาชิกอาเซียน เช่ น ผู้ชมทีวี
ดาวเทียมสามารถรับชมรายการโทรทัศน์ ของเพือ่ นบ้ านในประเทศสมาชิกอาเซียนได้ เช่ น ลาว เมียนมา โดยผ่าน
จานรับสั ญญาณดาวเทียม
6. ครูมอบหมายงานให้ นักเรียนไปสอบถามผู้ปกครองเกีย่ วกับการใช้ อุปกรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ
(กล้องดิจิทัล,โทรศัพท์ ) แล้ วบันทึกผล และให้ นักเรียนตั้งคําถามที่สงสั ยคนละ 1 คําถาม (เพือ่ นํามาร่ วมกันสนทนา
ในการเรียนครั้งต่ อไป)
ชั่วโมงที่ 2 (กล้ องดิจิทัลและโทรศัพท์ )
1. ครู ตรวจบันทึกผลการสอบถามจากงานที่มอบหมายให้นกั เรี ยนทํา และให้นกั เรี ยนนําคําถามที่เตรี ยม
ไว้แล้ว คนละ 1 คําถามมาร่ วมกันสนทนา
2. นักเรี ยนอาสาสมัครเล่าประสบการณ์เกี่ยวกับการใช้กล้องดิจิทลั ของสมาชิกในครอบครัว
3. ครู นาํ กล้องดิจิทลั มาให้นกั เรี ยนดูพร้อมทั้งอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับประโยชน์ของกล้องดิจิทลั
4. ครู ถามปริ ศนาคําทาย อะไรเอ่ยใบหน้าตัวตน ไม่เหมือนคนสักนิดตัวเล็กกระจิริด ใช้ติดต่อกับคนได้
5. ครู นาํ โทรศัพท์ของจริ งหรื อรู ปภาพรู ปแบบต่าง ๆ มาให้นกั เรี ยนดูอธิบายเกี่ยวกับรู ปร่ างลักษณะ
และประโยชน์ของโทรศัพท์
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  127

6. นักเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ของกล้องดิจิทลั และโทรศัพท์ แล้วสรุ ปเป็ น


แผนที่ความคิด
7. ครู อธิ บายเพิ่มเติมเกี่ยวกับลักษณะและประโยชน์ของกล้องดิจิทลั และโทรศัพท์
8. ให้นกั เรี ยนอ่านเพิ่มเติมจากสื่ อการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ ป. 1 หรื อ
หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1
9. ครูมอบหมายงานให้ นักเรียนไปสอบถามผู้ปกครองหรือสมาชิกในครอบครัวเกีย่ วกับการใช้ อุปกรณ์
เทคโนโลยีสารสนเทศ (คอมพิวเตอร์ ) แล้วบันทึกผล และให้ นักเรียนตั้งคําถามที่สงสั ยคนละ 1 คําถาม (เพือ่ นํามา
ร่ วมกันสนทนาในการเรียนครั้งต่ อไป)
ชั่วโมงที่ 3 (คอมพิวเตอร์ )
1. ครู ตรวจบันทึกผลการสอบถามจากงานที่มอบหมายให้นกั เรี ยนทํา และให้นกั เรี ยนนําคําถามที่เตรี ยม
ไว้แล้ว คนละ 1 คําถามมาร่ วมกันสนทนา
2. ครู เปิ ดสื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint เกี่ยวกับภาพคอมพิวเตอร์หรื อพานักเรี ยนไปห้องปฏิบตั ิการ
คอมพิวเตอร์ของโรงเรี ยน แล้วถามคําถามเพื่อกระตุน้ ความคิดและความสนใจของนักเรี ยน เช่น
- นักเรี ยนคิดว่าคอมพิวเตอร์มีรูปร่ างลักษณะคล้ายกับสิ่ งใด
- นักเรี ยนคิดว่าคอมพิวเตอร์มีประโยชน์ต่อเราอย่างไร
3. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3–4 คน แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจําวัน
แล้วนําเสนอหน้าชั้นเรี ยน
4. ครู อธิ บายเพิม่ เติมเกี่ยวกับประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
5. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3–4 คน แสดงบทบาทสมมุติเกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
6. ครูเสริมความรู้ อาเซียนเกีย่ วกับประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งเป็ นแหล่ งผลิตอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์
คือ ไทย มาเลเซีย และสิ งคโปร์
7. นักเรี ยนทําแบบทดสอบหลังเรี ยน (Post-test) จํานวน 10 ข้อ เวลา 10 นาที (โดยครู เปิ ดสื่ อการเรี ยนรู้
PowerPoint การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 4 หรื อ คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงาน
อาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 ตอนที่ 3)
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป 
1. นักเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความหมายและประโยชน์ของอุปกรณ์เทคโนโลยี
สารสนเทศในชีวิตประจําวัน
ขั้นที่ 4 ขั้นฝึ กฝนนักเรียน
1. นักเรี ยนนําภาพจากสื่ อต่าง ๆ หรื อวาดอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศคนละ 1 ภาพ แล้วนํามาทํา
แผ่นภาพโดยระบุชื่อและประโยชน์ของอุปกรณ์น้ นั ๆ ไว้ดว้ ย
2. นักเรี ยนเล่าประสบการณ์เกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ 1 อย่าง พร้อมกับบอก
การได้รับประโยชน์จากอุปกรณ์น้ นั ๆ
3. นักเรี ยนทําแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 กิจกรรมที่ 44 นี่คือ
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  128

ภาพอะไร กิจกรรมที่ 45 หัดทําแผ่นภาพ กิจกรรมที่ 46 เล่าประสบการณ์ กิจกรรมที่ 47 เรี ยนรู้อุปกรณ์เทคโนโลยี


สารสนเทศด้วยโครงงาน กิจกรรมที่ 48 การประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน และกิจกรรมที่ 49 คําถามชวนตอบ
ขั้นที่ 5 ขั้นนําไป ใช้
นักเรี ยนเลือกใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจําวันได้อย่างปลอดภัย
8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสํ าหรับกลุ่มสนใจพิเศษ
1) นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน จัดทําป้ ายนิเทศเรื่ องอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
2) นักเรี ยนสํารวจอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศที่มีในชุมชนหรื อห้างสรรพสิ นค้า แล้ว
บันทึกความรู ้
2. กิจกรรมสํ าหรับฝึ กทักษะเพิม่ เติม
1) นักเรี ยนสอบถามผูป้ กครองเกี่ยวกับอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจําวันที่บา้ นของ
ตนเอง
2) นักเรี ยนวาดภาพอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศที่นกั เรี ยนชอบ 1 อย่าง แล้วระบายสี ให้สวยงาม
9. สื่อ/แหล่ งการเรี ยนรู้
1. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศที่เป็ นของจริ ง เช่น วิทยุ โทรทัศน์ กล้องดิจิทลั โทรศัพท์
คอมพิวเตอร์
2. หนังสื อเกี่ยวกับอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
3. บุคคล เช่น ครู ผูร้ ู ้ ผูป้ กครอง พนักงานขาย
4. สื่ อ เช่น หนังสื อพิมพ์ แผ่นพับ ใบโฆษณาสิ นค้า โรงเรี ยน บ้านของนักเรี ยน
5. สถานที่ เช่น ห้องปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ ห้างสรรพสิ นค้า
6. สื่ อการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมบูรณ์แบบ ป. 1บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช
จํากัด
9. คู่มือการสอน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 บริ ษทั สํานักพิมพ์
วัฒนาพานิช จํากัด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  129

10. บันทึกหลังการจัดการเรี ยนรู้


1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู้
แนวทางการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
แนวทางแก้ไข
3. สิ่ งทีไ่ ม่ ได้ ปฏิบัติตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรียนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)

/ /

ทดสอบปลายปี

สาระที่ 1 การดํารงชีวติ และครอบครัว ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1


สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร เวลา 1 ชั่วโมง

ชั่วโมงที่ 40 ทดสอบปลายปี
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  130

ตอนที่ 3
เอกสาร/ความรู้ เสริมสํ าหรับครู
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี

เอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้


1. สาระ มาตรฐานการเรี ยนรู ้ ตัวชี้วดั ชั้นปี และสาระการเรี ยนรู ้
2. กระบวนการจัดการเรี ยนรู้
3. แฟ้ มสะสมผลงาน (Portfolio)
4. ผังการออกแบบการจัดการเรี ยนรู้และรู ปแบบแผนการจัดการเรี ยนรู ้รายชัว่ โมง
5. ใบความรู้และใบงาน
6. เครื่ องมือวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ดา้ นความรู ้
– แบบทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน
– แบบทดสอบกลางปี
– แบบทดสอบปลายปี
7. แบบบันทึกผลการเรี ยนรู้
– แบบบันทึกผลการสํารวจ
– แบบประเมินคุณภาพของชิ้นงาน
8. เครื่ องมือวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ดา้ นคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม
9. เครื่ องมือวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ดา้ นทักษะ/กระบวนการ
10. เครื่ องมือประเมินสมรรถนะทางการงานอาชีพและเทคโนโลยี และภาระงานของนักเรี ยน
โดยใช้มิติคุณภาพ (Rubrics)
– แบบประเมินการทํางานตามกระบวนการทํางาน
– แบบประเมินโครงงาน
– แฟ้ มสะสมผลงาน (Portfolio)
– แบบประเมินการนําเสนอผลงาน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  131

1. สาระ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วดั ชั้นปี และสาระการเรียนรู้


สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
สาระที่ 1 การดํารงชีวติ และครอบครัว
มาตรฐาน ง 1.1 เข้าใจการทํางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกั ษะกระบวนการทํางาน ทักษะการจัดการ
ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทํางานร่ วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะ
นิสยั ในการทํางาน มีจิตสํานึกในการใช้พลังงานทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อมเพื่อการดํารงชีวิตและครอบครัว
สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี
มาตรฐาน ง 2.1 เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้างสิ่ งของเครื่ องใช้หรื อ
วิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เลือกใช้เทคโนโลยีในทางสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม
สิ่ งแวดล้อม และมีส่วนร่ วมในการจัดการเทคโนโลยีที่ยงั่ ยืน
สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร
มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื บค้นข้อมูลการเรี ยนรู้
การสื่ อสาร การแก้ปัญหา การทํางาน และอาชีพอย่างมีประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผล และมีคุณธรรม
สาระที่ 4 การอาชีพ
มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ มีทกั ษะที่จาํ เป็ น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนา
อาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ
เรียนรู้อะไรในการงานอาชีพและเทคโนโลยี
กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ก ารงานอาชี พ และเทคโนโลยี มุ่ ง พัฒ นาผูเ้ รี ย นแบบองค์ร วม เพื่ อ ให้ มี ค วามรู้
ความสามารถ มีทกั ษะในการทํางาน เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ และการศึกษาต่อได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้
 การดํ ารงชี วิต และครอบครั ว เป็ นสาระเกี่ ยวกับ การทํางานในชี วิตประจําวัน ช่ วยเหลื อ ตนเอง ครอบครั ว

และสังคมได้ในสภาพเศรษฐกิจที่พอเพียง ไม่ทาํ ลายสิ่ งแวดล้อม เน้นการปฏิบตั ิจริ งจนเกิดความมัน่ ใจและภูมิใจใน


ผลสําเร็ จของงาน เพื่อให้คน้ พบความสามารถ ความถนัด และความสนใจของตนเอง
 การออกแบบและเทคโนโลยี เป็ นสาระการเรี ย นรู ้ ที่ เกี่ ย วกับ การพัฒ นาความสามารถของมนุ ษ ย์อ ย่ า ง

สร้างสรรค์โดยนําความรู ้มาใช้กบั กระบวนการเทคโนโลยี สร้างสิ่ งของเครื่ องใช้ วิธีการหรื อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพใน
การดํารงชีวิต
 เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร เป็ นสาระเกี่ ย วกั บ กระบวนการเทคโนโลยี ส ารสนเทศ การ

ติดต่อสื่ อสาร การค้นหาข้อมูล การใช้ขอ้ มูลและสารสนเทศ การแก้ปัญหาหรื อการสร้างงาน คุณค่าและผลกระทบ


ของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร
 การอาชี พ เป็ นสาระที่ เกี่ ยวข้องกับทักษะที่ จาํ เป็ นต่ ออาชี พ เห็ นความสําคัญ ของคุ ณธรรม จริ ยธรรมและเจต

คติที่ดีต่ออาชีพ ใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสม เห็นคุณค่าของอาชีพสุ จริ ต และเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ


คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  132

ตัวชี้วดั ชั้นปี และสาระการเรียนรู้ แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1


สาระที่ 1 การดํารงชีวติ และครอบครัว
มาตรฐาน ง 1.1 เข้าใจการทํางาน มีความคิดสร้างสรรค์ ทักษะกระบวนการทํางาน ทักษะการจัดการ ทักษะ
กระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทํางานร่ วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู ้ มีคุณธรรม และลักษณะนิสยั ใน
การทํางาน มีจิตสํานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อมเพื่อการดํารงชีวิตและครอบครัว
ตัวชี้วดั ชั้นปี สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1. บอกวิธีการทํางานเพือ่ ช่วยเหลือตนเอง  การทํางานเพือ่ ช่วยเหลือตนเอง เช่น
(ง 1.1ป. 1/1) – การแต่งกาย
2. ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือง่าย ๆ ในการทํางาน – การเก็บของใช้
อย่างปลอดภัย (ง 1.1 ป. 1/2) – การหยิบจับและใช้ของใช้ส่วนตัว
3. ทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเองอย่างกระตือรื อร้น – การจัดโต๊ะ ตู้ และชั้น
และตรงเวลา (ง 1.1 ป. 1/3)  การใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือง่าย ๆ ในการทํางาน
อย่างปลอดภัย เช่น
– การทําความคุน้ เคยการใช้เครื่ องมือ
– การรดนํ้าต้นไม้
– การถอนและเก็บวัชพืช
– การพับกระดาษเป็ นของเล่น

สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร


มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื บค้นข้อมูล การเรี ยนรู ้
การสื่ อสาร การแก้ปัญหา การทํางาน และอาชีพอย่างมีประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผล และมีคุณธรรม

ตัวชี้วดั ชั้นปี สาระการเรียนรู้แกนกลาง


1. บอกข้อมูลที่น่าสนใจและแหล่งข้อมูล  ข้อมูลของสิ่ งที่สนใจอาจเป็ นข้อมูลเกี่ ยวกับบุคคล

ที่อยูใ่ กล้ตวั (ง 3.1 ป. 1/1) สัตว์ สิ่ งของ เรื่ องราว และเหตุการณ์ต่าง ๆ
2. บอกประโยชน์ของอุปกรณ์เทคโนโลยี  แหล่งข้อมูลที่อยูใ ่ กล้ตวั เช่น บ้าน ห้องสมุด ผูป้ กครอง
สารสนเทศ (ง 3.1 ป. 1/2) ครู หนังสื อพิมพ์ รายการโทรทัศน์
 อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น คอมพิวเตอร์

วิทยุ โทรทัศน์ กล้องดิจิทลั โทรศัพท์มือถือ


 ประโยชน์ของอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น ใช้

ในการเรี ยน ใช้วาดภาพ ใช้ติดต่อสื่ อสาร


คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  133

2. กระบวนการจัดการเรียนรู้

กระบวนการจัดการเรียนรู้ ทใี่ ช้ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี


กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชี พและเทคโนโลยีเป็ นกลุ่มสาระที่ ช่วยพัฒนาให้นักเรี ยนมีความรู้ ความ
เข้าใจ มี ท กั ษะพื้นฐานที่ จาํ เป็ นต่อ การดํารงชี วิต และรู ้ เท่ าทัน การเปลี่ ยนแปลง สามารถนําความรู้ เกี่ ยวกับ การ
ดํารงชี วิต การอาชีพ และเทคโนโลยีมาใช้ประโยชน์ในการทํางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์เห็นแนวทางในการ
ประกอบอาชีพ รักการทํางาน มีเจตคติที่ดีต่อการทํางาน และสามารถดํารงชีวิตอยูใ่ นสังคมได้อย่างเพียงพอและมี
ความสุ ข วิธีการหรื อเทคนิ คที่นาํ มาใช้ในกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้มีอยูห่ ลายวิธี แต่ละวิธีจะมีประสิ ทธิ ผลในการ
สร้างความรู้ เจตคติ ทักษะ และประสบการณ์ที่แตกต่างกันออกไป ดังนั้น ในการพิจารณาเลือกวิธีการใดมาใช้ครู
ต้องวิเคราะห์ตวั ชี้วดั และสาระการเรี ยนรู ้แกนกลางก่อนว่าต้องการให้นกั เรี ยนเกิดพฤติกรรมใด ในระดับใด จึงจะ
นํามาปรับใช้ให้เหมาะสมกับนักเรี ยนทั้งนี้เพื่อให้การเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนบรรลุตามจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ที่กาํ หนด
ในคู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้เล่มนี้ ได้บูรณาการเทคนิควิธีการจัดการเรี ยนรู้ที่สอดคล้องกับกลุ่มสาระการ
เรี ยนรู้การงานอาชี พไว้เพื่อให้ครู เลือกใช้ให้เหมาะสมกับเนื้ อหาที่สอน ซึ่ งแต่ละวิธีการจัดการเรี ยนรู้มีสาระพอ
สังเขป ดังนี้
1. ทักษะกระบวนการทํางาน
ทักษะกระบวนการทํางานเป็ นการลงมือทํางานด้วยตนเองโดยมุ่งเน้นการฝึ กวิธีการทํางานอย่างสมํ่าเสมอ
ทั้งการทํางานเป็ นรายบุคคล และการทํางานเป็ นกลุ่ม เพื่อให้สามารถทํางานได้บรรลุเป้ าหมายโดยขั้นตอนของ
กระบวนการทํางานมีดงั นี้
1) การวิเคราะห์ งาน นักเรี ยนแต่ละคนหรื อแต่ละกลุ่มจะต้องศึกษารายละเอียดของงานที่จะทําว่ามีลกั ษณะ
อย่างไร มี รายละเอี ยดปลี กย่อ ยอะไรบ้าง เพื่อ นําข้อ มู ลเหล่านี้ ไปใช้ในการกําหนวัตถุ ป ระสงค์ การเตรี ยมวัสดุ
อุปกรณ์ และเครื่ องมือในการทํางาน พร้อมกับกําหนดวิธีการทําในขั้นการวางแผนในการทํางาน
2) การวางแผนในการทํางาน นักเรี ยนแต่ละคนหรื อแต่ละกลุ่มควรร่ วมกันวางแผนการทํางาน เพื่อกําหนด
แนวทางในการปฏิบตั ิงานไว้ล่วงหน้าว่าจะทําอะไร ทําเมื่อไร ทําวิธีใด ใครเป็ นผูท้ าํ กําหนดงานเสร็ จเมื่อใด แล้วจึง
กําหนดภาระงานหรื อหน้าที่ ความรับผิดชอบของแต่ละคน ได้แก่ รายการงานที่ ตอ้ งปฏิบตั ิ เวลาปฏิบตั ิ งาน และ
ผูร้ ับผิดชอบ
3) การปฏิบัติงาน เมื่อนักเรี ยนแต่ละคนหรื อแต่ละกลุ่มได้รับมอบหมายหน้าที่และความรับผิดชอบแล้ว ให้
ลงมือปฏิบตั ิงานจริ งตามแผนที่วางไว้
4) การประเมินผลการทํางาน หลังจากนักเรี ยนแต่ละคนหรื อแต่ละกลุ่มปฏิ บตั ิงานเสร็ จแล้ว ให้ร่วมกัน
ตรวจสอบผลการปฏิ บตั ิ งานว่าเป็ นไปตามแผนที่ วางไว้หรื อไม่ ผลงานมี ขอ้ ดี หรื อข้อบกพร่ องอย่างไร และควร
ปรับปรุ งผลงานส่วนใดบ้าง ถ้าพบข้อบกพร่ องในส่วนใดจะต้องร่ วมกันหาวิธีการปรับปรุ งแก้ไขทันที
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  134

2. ทักษะกระบวนการเทคโนโลยี
กระบวนการเทคโนโลยีเป็ นกระบวนการที่ เกี่ ยวข้องกับการคิ ดแก้ปั ญ หา การคิ ดริ เริ่ ม สร้ างสรรค์ การ
ออกแบบ เพื่อนําไปสู่ การประดิษฐ์ การสร้างสิ่ งของเครื่ องใช้ อุปกรณ์ และผลิตภัณฑ์ ซึ่ งเป็ นการปฏิบตั ิที่ทาํ ให้
มนุ ษ ย์ใช้ส อยประโยชน์ ได้ตามความต้อ งการและช่ วยเพิ่ ม พูน ประสิ ท ธิ ภ าพในการทํากิ จกรรมต่ าง ๆ อี ก ด้วย
กระบวนการเทคโนโลยีมี 6 ขั้นตอน ดังนี้
1) การกําหนดปั ญ หาหรื อความต้ องการ โดยให้นักเรี ยนศึ กษาและกําหนดปั ญ หาที่ ต้องการแก้ไขหรื อ
กําหนดความต้องการที่จะสร้างสิ่ งต่าง ๆ โดยการร่ วมกันแสดงความคิดเห็น แล้วคัดเลือกปั ญหาหรื อความต้องการที่
แท้จริ งและชัดเจนเพื่อนํามาตั้งเป็ นวัตถุประสงค์
2) การรวบรวมข้ อมูล เป็ นขั้นตอนที่ให้นกั เรี ยนร่ วมกันสํารวจ ค้นหา หรื อแสวงหาข้อมูล แล้วรวบรวม
ข้อมูลต่าง ๆ นํามาสร้างทางเลือกหลาย ๆ ทางเลือกเพื่อนําไปสู่การแก้ปัญหา
3) การเลือกวิ ธีการแก้ ปัญหา เป็ นการพิจารณาทางเลือกแต่ละทางเลือกว่ามีขอ้ ดี และข้อเสี ยอย่างไรบ้าง
การนําทางเลือกนี้มาใช้แก้ปัญหาจะทําได้หรื อไม่ แล้วจึงตัดสิ นใจเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด
4) การออกแบบและปฏิบัติ เป็ นการให้นกั เรี ยนร่ วมกันนําทางเลือกที่ได้เลือกไว้แล้วมาลําดับความคิด เพื่อ
กําหนดแนวทางการแก้ปัญหาหรื อเพื่อสร้างชิ้ นงานและถ่ายทอดความคิดออกมาเป็ นภาพที่ มีรายละเอียด โดยใช้
ความรู้ดา้ นการออกแบบเขียนเป็ นภาพร่ าง 3 มิติ หรื อแผนที่ความคิด จากนั้นจึงลงมือปฏิบตั ิการสร้างตามขั้นตอน
ของการออกแบบจนสําเร็ จเป็ นชิ้นงาน
5) การประเมิ นผล เป็ นการตรวจสอบประสิ ท ธิ ภาพของชิ้ นงานที่ สร้ างหรื อประดิ ษ ฐ์เสร็ จแล้ว โดยให้
นักเรี ยนนําชิ้นงานไปทดลองใช้ แล้วประเมินผลการใช้งานว่ามีขอ้ บกพร่ องหรื อไม่ อย่างไร
6) การปรั บปรุ งหรื อพัฒนา เป็ นการให้นกั เรี ยนนําข้อบกพร่ องของชิ้นงานหรื อปั ญหาที่ พบมาดําเนิ นการ
ปรับปรุ งแก้ไขให้ดีข้ ึนหรื อนําผลงานที่ดีแล้วมาพัฒนาให้มีคุณภาพและมีประสิ ทธิ ภาพเพิ่มขึ้น
3. ทักษะการจัดการ
ทักษะการจัดการเป็ นความพยายามของบุคคลที่จะจัดระบบงาน (ทํางานเป็ นรายบุคคล) และจัดระบบคน
(ทํางานเป็ นกลุ่ ม ) เพื่ อ ให้ท าํ งานสําเร็ จตามเป้ าหมายอย่างมี ป ระสิ ท ธิ ภาพ ซึ่ งทักษะการจัดการเป็ นวิธีการหรื อ
รู ปแบบในการปฏิบตั ิงานเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนต่อไปนี้
1) การตั้งเป้ าหมาย เป็ นการกําหนดว่าสิ่ งที่กลุ่มหรื อองค์กรต้องการคืออะไร แต่ละกลุ่มหรื อองค์กรจะต้อง
มีเป้ าหมายเดียวกัน ซึ่งเป้ าหมายจะมีท้ งั เป้ าหมายระยะสั้นและระยะยาว และเป้ าหมายที่ต้ งั ขึ้นอาจมีการเปลี่ยนแปลง
ได้
2) การวิ เคราะห์ ทรั พยากร เป็ นการให้พิจารณาว่าทรั พยากรที่ มีอ ยู่ ได้แก่ คน วัสดุ อุ ป กรณ์ เครื่ องมื อ
งบประมาณ และเวลาจะสามารถทําให้บรรลุเป้ าหมายที่ ต้ งั ไว้หรื อไม่ ( ถ้ามี) ทรัพยากรใดไม่เพียงพอจะต้องรี บ
จัดหาทรัพยากรนั้นมาเตรี ยมไว้ให้พร้อมและเพียงพอ
3) การวางแผนและการกําหนดทรั พยากร เป็ นการให้นักเรี ยนกําหนดกิ จกรรมไว้ล่วงหน้าว่าจะต้องทํา
อะไร สิ่ งใดบ้าง เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายที่ต้ งั ไว้ โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยูใ่ ห้เหมาะสมและใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด
ได้แก่ การจัดคนทํางานในหน้าที่ต่าง ๆ การค้นหาหรื อจัดซื้ อวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือเพิ่มเติม การจัดสรรเงิน
เพื่อใช้ในการดําเนินงานด้านต่าง ๆ รวมทั้งการบริ หารเวลาในการทํางานเพื่อให้งานเสร็ จตามกําหนด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  135

4) การปฏิบัติตามแผนและการปรั บแผน โดยให้นกั เรี ยนแต่ละคนหรื อแต่ละกลุ่มลงมือปฏิบตั ิงานตามแผน


และควบคุมให้เป็ นไปตามแผนที่วางไว้ดว้ ย แต่ถา้ พบปั ญหาในขณะที่ปฏิบตั ิงานอาจมีการปรับเปลี่ยนแผนที่วางไว้
เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาหรื อข้อบกพร่ องที่อาจจะเกิดขึ้นได้
5) การประเมิ น ผล เป็ นการตรวจสอบเพื่ อ ให้ ท ราบว่า การปฏิ บ ัติ ง านของตนเองหรื อ กลุ่ ม บรรลุ ต าม
เป้ าหมายที่ กาํ หนดไว้หรื อไม่ ซึ่ งการประเมินผลนั้นสามารถทําได้ในทุกขั้นตอนของการปฏิบตั ิงานตามแผน ถ้า
ประสบความสําเร็ จเร็ วก็แสดงให้เห็นว่าการจัดการของกลุ่มเป็ นการจัดการที่ดี แต่ถา้ ไม่ประสบผลสําเร็ จกลุ่มจะต้อง
นําปัญหาหรื อข้อบกพร่ องเหล่านั้นมาปรับปรุ งแก้ไข เพื่อใช้เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิงานในครั้งต่อไป
4. การสาธิต
การสาธิ ตเป็ นวิธีการสอนเพื่อให้นกั เรี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ตามเป้ าหมายที่ กาํ หนดโดยครู แสดงหรื อทําสิ่ งที่
ต้องการให้นกั เรี ยนเรี ยนรู ้แล้วนักเรี ยนสังเกตซักถามอภิปรายและสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการเรี ยนรู้ซ่ ึงมีวิธีการ ดังนี้
1) การเตรี ยมตัวครู ครู ควรเตรี ยมความพร้อมของตนเองโดยวางแผนการสาธิตทดลองทําก่อนที่จะสาธิ ตให้
นักเรี ยนดูและจัดเตรี ยมสิ่ งต่างๆได้แก่ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่ องมือ และเตรี ยมสถานที่ที่จะใช้ในการสาธิ ต เพื่อให้การ
สาธิ ตดําเนินไปอย่างราบรื่ นและป้ องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได้
2) การเตรี ยมนักเรี ยน ครู ควรให้ความรู ้เกี่ยวกับเรื่ องที่ สาธิ ตแก่นกั เรี ยนอย่างเพียงพอ เพื่อให้นกั เรี ยนเกิด
ความเข้าใจในสิ่ งที่สาธิ ตได้ดียงิ่ ขึ้นและควรให้คาํ แนะนําเทคนิคการสังเกตและการบันทึกการสาธิ ต
3) ลงมือสาธิ ต ในขณะที่ครู กาํ ลังสาธิ ตครู ควรบรรยาย ประกอบการ สาธิตให้เป็ นลําดับขั้นตอนพร้อมกับ
ซักถามนักเรี ยนเป็ นระยะ ๆ เพื่อกระตุน้ ความสนใจของนักเรี ยน ในกรณี ที่การสาธิตอาจเกิดอันตรายต่อนักเรี ยน ครู
ควรหาวิธีการป้ องกันอันตรายไว้ให้เรี ยบร้อย และควรใช้เวลาในการสาธิ ตให้เหมาะสมกับเรื่ องที่สาธิต
4) การสรุ ปผลการสาธิ ต เมื่อครู สาธิ ตเสร็ จแล้วควรสรุ ปและเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนซักถามข้อสงสัยหรื อให้
นักเรี ยนแต่ละคนแสดงความคิดเห็ น หรื อครู อาจเตรี ยมคําถามไว้ถามนักเรี ยนเพื่อกระตุน้ ให้นักเรี ยนคิ ดแล้วให้
นักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการชมการสาธิ ตของ ครู
5. การฝึ กปฏิบัติ
การฝึ กปฏิ บตั ิ เป็ นวิธีการสอนที่ เน้นให้นักเรี ยนได้รับประสบการณ์ตรงจากสถานการณ์ จริ งที่ จะทําให้
นักเรี ยนได้ฝึกคิด ฝึ กลงมือทํา ฝึ กการแก้ปัญหา ฝึ กการทํางานร่ วมกัน ซึ่ งจะส่ งผลให้นกั เรี ยนเรี ยนรู ้อย่างมีความสุ ข
เกิดการพัฒนารอบด้าน มีอิสระที่จะเลือกเรี ยนรู ้ในสิ่ งที่เหมาะสมกับตนเอง และยังสามารถนําความรู ้ที่ได้รับไปใช้
ประโยชน์ในชีวิตประจําวันได้ดว้ ย ซึ่งมีวิธีการจัดการเรี ยนรู้ ดังนี้
1) การนําเข้ าสู่ เนื ้อหา ก่อนจัดการเรี ยนรู้ครู จะต้องกระตุน้ นักเรี ยนให้เกิ ดความกระตือรื อร้นและสนใจ
อยากค้นคว้าหาความรู้ดว้ ยวิธีการต่าง ๆ เช่น การซักถามเกี่ ยวกับความสําคัญของเรื่ องที่จะเรี ยนหรื อการทบทวน
ความรู ้เดิม เพื่อเชื่อมโยงให้เข้ากับความรู ้ใหม่ที่นกั เรี ยนจะต้องเรี ยนรู ้ โดยครู ควรแจ้งจุดประสงค์การเรี ยนรู้และร่ วม
กําหนดขอบข่ายหรื อประเด็นความรู้ใหม่
2) การศึกษา/วิเคราะห์ เป็ นการแบ่งกลุ่มนักเรี ยนเพื่อทํากิจกรรมกลุ่มร่ วมกันโดยการแสวงหาความรู้ แสดง
ความคิ ดเห็ น ร่ วมกันวิเคราะห์ และหาข้อสรุ ปในประเด็นที่ต้ งั ไว้ ซึ่ งครู จะต้องออกแบบกลุ่มให้เหมาะสมเพื่อให้
นักเรี ยนทุกคนมีส่วนร่ วมมากที่สุดพร้อมกับเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้กาํ หนดบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในกลุ่ม
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  136

3) การปฏิบัติ นักเรี ยนฝึ กปฏิบตั ิตามขั้นตอน ฝึ กคิดวิเคราะห์ จินตนาการ สร้างสรรค์ โดยมีครู คอยอํานวย
ความสะดวกในด้านต่าง ๆ เพื่อให้นกั เรี ยนเกิดการเรี ยนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กาํ หนดไว้
4) การสรุ ปและเสนอผลการเรี ยนรู้ เป็ นขั้น ที่ นักเรี ยนแต่ล ะกลุ่มนําผลที่ ได้จากการปฏิ บ ตั ิ มาวิเคราะห์
สังเคราะห์เป็ นความรู้ใหม่ วิธีการใหม่ สรุ ป และนําเสนอความรู้ใหม่ต่อกลุ่มใหญ่ในรู ปแบบที่หลากหลาย ซึ่ งเป็ น
การแลกเปลี่ยนความรู้ซ่ ึงกันและกันทําให้เกิดการขยายเครื อข่ายความรู้อย่างกว้างขวางมากขึ้น
5) การปรั บปรุ งการเรี ยนรู้ และการนําไปใช้ ประโยชน์ เป็ นขั้นที่นักเรี ยนแต่ละกลุ่มนําข้อบกพร่ องหรื อ
ปัญหาที่พบจากการนําเสนอผลงานมาปรับปรุ งแก้ไขหรื อพัฒนาผลงานของตนเองให้ดีข้ ึน รวมถึงการได้รับแนวคิด
จากข้อเสนอแนะของครู มาประยุกต์ เพื่อสร้างผลงานใหม่ ๆ ที่สามารถนําไปใช้ประโยชน์ในชีวิตได้จริ ง
6) การประเมินผล เป็ นการนําวิธีการวัดผลประเมินตามสภาพจริ งมาใช้โดยเน้นการวัดผลจากการปฏิบตั ิ
จริ งจากแฟ้ มสะสมงาน ชิ้นงาน/ผลงาน ผูป้ ระเมินอาจเป็ นครู นักเรี ยนประเมินตนเอง สมาชิกในกลุ่มหรื อผูป้ กครอง
6. การอภิปรายกลุ่มย่ อย
วิธีน้ ี เป็ นกระบวนการที่ครู ใช้ในการช่วยให้นกั เรี ยนเกิดการเรี ยนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กาํ หนด โดยการจัด
นั ก เรี ยนเป็ นกลุ่ ม เล็ ก ๆ ประมาณ 4–8 คน ให้ นั ก เรี ยนในกลุ่ ม พู ด คุ ย แลกเปลี่ ย นข้อ มู ล ความคิ ด เห็ น และ
ประสบการณ์ในเรื่ องหรื อประเด็นที่ กาํ หนด แล้วสรุ ปผลการอภิปรายออกมาเป็ นข้อสรุ ปของกลุ่ม ซึ่ งการจัดการ
เรี ยนรู้โดยใช้การอภิปรายกลุ่มย่อยนี้ จะช่วยให้นกั เรี ยนมีส่วนร่ วมในกิจกรรมการเรี ยนรู้อย่างทัว่ ถึง มีโอกาสแสดง
ความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนประสบการณ์จะช่วยให้นกั เรี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ในเรื่ องที่เรี ยนกว้างขึ้น
ขั้นตอนของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ การอภิปรายกลุ่มมีดงั นี้
1) การจัดกลุ่ม ครู จดั นักเรี ยนออกเป็ นกลุ่มย่อย ๆ ประมาณ 4–8 คนควรเป็ นกลุ่มที่ไม่เล็กเกินไปและไม่
ใหญ่เกินไป เพราะถ้ากลุ่มเล็กจะไม่ได้ความคิดที่ หลากหลายเพียงพอ ถ้ากลุ่มใหญ่สมาชิ กกลุ่มจะมี โอกาสแสดง
ความคิ ดเห็ นได้ไม่ทวั่ ถึ ง ซึ่ งการแบ่งกลุ่มอาจทําได้หลายวิธี เช่ น วิธีสุ่มเพื่อให้นักเรี ยนมีโอกาสได้ร่วมกลุ่มกับ
เพื่อนไม่ซ้ าํ กัน จําแนกตามเพศวัย ความสนใจ ความสามารถหรื อเลือกอย่างเจาะจงตามปัญหาที่มีกไ็ ด้ ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั
วัตถุประสงค์ของครู และสิ่ งที่จะอภิปราย
2) กําหนดประเด็น ครู หรื อนักเรี ยนกําหนดประเด็นในการอภิปรายให้มีวตั ถุประสงค์ของการอภิปรายที่
ชัดเจน โดยการอภิปรายแต่ละครั้งไม่ควรมีประเด็นมากจนเกินไปเพราะจะทําให้นกั เรี ยนอภิปรายได้ไม่เต็มที่
3) อภิปราย นักเรี ยนเริ่ มอภิปรายโดยการพูดแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์กนั ตามประเด็นที่
กําหนดในการอภิปรายแต่ละครั้ง ควรมีการกําหนดบทบาทหน้าที่ที่จาํ เป็ นในการอภิปราย เช่น ประธานหรื อผูน้ าํ ใน
การอภิปราย เลขานุ การ ผูจ้ ดบันทึก และผูร้ ักษาเวลา เป็ นต้น นอกจากนี้ครู ควรบอกให้สมาชิกกลุ่มทุกคนทราบถึง
บทบาทหน้าที่ของตน ให้ความรู ้ ความเข้าใจ หรื อคําแนะนําแก่กลุ่มก่อนการอภิปราย และควรยํ้าถึ งความสําคัญ
ของการให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มมีส่วนร่ วมในการอภิปรายอย่างทัว่ ถึงเพราะวัตถุประสงค์หลักของการอภิปราย คือ
การให้นัก เรี ยนมี โ อกาสแสดงความคิ ดเห็ น อย่างทั่วถึ ง และได้รับ ฟั งความคิ ดเห็ น ที่ ห ลากหลาย ซึ่ งจะช่ วยให้
นักเรี ยนมีความคิดที่ ลึกซึ้ งและรอบคอบขึ้น ในกรณี ที่มีหลายประเด็นควรมีการจํากัดเวลาของการอภิปรายแต่ละ
ประเด็นให้มีความเหมาะสม
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  137

4) การสรุ ปผลการอภิ ปราย นักเรี ยนสรุ ปสาระที่สมาชิกกลุ่มได้อภิปรายร่ วมกันเป็ นข้อสรุ ปของกลุ่ม ครู
ควรให้สัญญาณแก่กลุ่มก่อนหมดเวลา เพื่อที่แต่ละกลุ่มจะได้สรุ ปผลการอภิปรายเป็ นข้อสรุ ปของกลุ่ม หลังจากนั้น
อาจให้แต่ละกลุ่มนําเสนอผลการอภิปรายแลกเปลี่ยนกันหรื อดําเนินการในรู ปแบบอื่นต่อไป
5) การสรุ ปหน่ วยการเรี ยนรู้ หลังจากการอภิปรายสิ้ นสุ ดลง ครู จาํ เป็ นต้องเชื่ อมโยงความรู ้ที่นักเรี ยนได้
ร่ วมกันคิดกับหน่วยการเรี ยนที่กาํ ลังเรี ยนรู ้ โดยนําข้อสรุ ปของกลุ่มมาใช้ในการสรุ ปหน่วยการเรี ยนรู ้ดว้ ย
7. โครงงาน
โครงงานเป็ นการจัดการเรี ยนรู้ ที่ ส่งเสริ มให้นักเรี ยนได้ศึกษาค้น คว้าและลงมื อ ปฏิ บ ตั ิ ด้วยตนเองตาม
แผนการดําเนิ นงานที่นกั เรี ยนได้จดั ขึ้น โดยครู ช่วยให้คาํ ปรึ กษา แนะนํา กระตุน้ ให้คิด และติดตามการปฏิบตั ิงาน
จนบรรลุเป้ าหมาย โครงงานแบ่งออกเป็ น 4 ประเภท คือ
– โครงงานประเภทสํารวจ รวบรวมข้อมูล
– โครงงานประเภททดลอง ค้นคว้า
– โครงงานประเภทศึกษาความรู ้ ทฤษฎี หลักการหรื อแนวคิดใหม่
– โครงงานประเภทสิ่ งประดิษฐ์
การเรี ยนรู้ด้วยโครงงาน มีวิธีการดังนี้
1) กําหนดหั วข้ อที่จะทําโครงงาน โดยให้นกั เรี ยน คิดหัวข้อโครงงาน ซึ่งอาจได้มาจากปั ญหาคําถาม ความ
อยากรู ้ อ ยากเห็ น ของนัก เรี ยนเอง หรื อ ได้จากการอ่ านหนังสื อ บทความ การไปทัศ นศึ กษาดู งาน เป็ นต้น โดย
นักเรี ยนต้องตั้งคําถามว่า “จะศึกษาอะไร” “ทําไมต้องศึกษาเรื่ องดังกล่าว”
2) ศึ กษาเอกสารที่ เกี่ ย วข้ อ ง เป็ นการศึ ก ษาเอกสารต่ าง ๆ ที่ เกี่ ยวข้อ งกับ หัว ข้อ ที่ ท าํ โครงงาน การขอ
คําปรึ กษาจากครู หรื อผูท้ ี่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในสาขานั้น ๆ รวมถึงการสํารวจวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือต่าง
ๆ ที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่ งการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องนี้จะช่วยให้นกั เรี ยนได้แนวคิดที่จะกําหนดขอบข่ายของเรื่ องที่จะ
ศึกษาให้เฉพาะเจาะจงมากขึ้น
3) เขียนเค้ าโครงของโครงงานหรื อสร้ างแผนผังความคิด โดยทัว่ ไปเค้าโครงของโครงงานจะประกอบด้วย
หัวข้อต่าง ๆ ดังนี้
– ชื่อโครงงาน
– ชื่อผูท้ าํ โครงงาน
– ชื่อที่ปรึ กษาโครงงาน
– หลักการและเหตุผลของโครงงาน
– จุดประสงค์/ วัตถุประสงค์ของโครงงาน
– สมมุติฐานของการศึกษา (ในกรณี ที่เป็ นโครงงานทดลอง)
– ขั้นตอนการดําเนินงาน
– แผนปฏิบตั ิงาน (ระบุรายการงานที่ปฏิบตั ิและระยะเวลาดําเนินการ)
– ผลที่คาดว่าจะได้รับ
– เอกสารอ้างอิง/บรรณานุกรม
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  138

4) การปฏิบัติโครงงาน เป็ นการลงมือปฏิบตั ิงานตามแผนงานและขั้นตอนที่กาํ หนดไว้ โดยจัดเตรี ยมวัสดุ


อุปกรณ์ เครื่ องมือ และสถานที่ให้พร้อม ในระหว่างปฏิบตั ิงานควรคํานึ งถึงความประหยัด ความปลอดภัยในการ
ทํางานและมี ค วามรอบคอบ รวมทั้งมี การจดบันทึ กข้อมูลต่าง ๆ ไว้อย่างละเอี ยดว่าทําอย่างไร ได้ผลอย่างไร มี
ปัญหาหรื ออุปสรรคอะไร และมีแนวทางแก้ไขอย่างไร
5) การเขียนรายงาน เป็ นการรายงานสรุ ปผลการดําเนิ นงานเพื่อให้ผอู้ ื่นได้ทราบแนวคิด วิธีดาํ เนินงาน ผล
ที่ ได้รับ และข้อ เสนอแนะต่ าง ๆ เกี่ ย วกับ โครงงาน ซึ่ งการเขี ยนรายงานนี้ ควรใช้ภาษาที่ สื่ อความเข้าใจได้ง่าย
ชัดเจน และครอบคลุมประเด็นที่ศึกษา
6 ) การแสดงผลงาน เป็ นการนําผลของการดําเนินงานโครงงานมาเสนอเพื่อให้ผอู้ ื่นรับรู้และเข้าใจ โดยจัด
ได้หลายรู ปแบบ เช่น การอธิ บาย การบรรยาย การเขียนรายงาน การจัดนิทรรศการ การจัดทําสื่ อสิ่ งพิมพ์ สื่ อมัลติ-
มิเดีย การสาธิ ตผลงาน เป็ นต้น
8. กระบวนการเรียนรู้ แบบร่ วมแรงร่ วมใจ
วิธีการนี้เป็ นการผสมผสานหลักการอยูร่ ่ วมกันในสังคมและความสามารถทางวิชาการเข้าด้วยกัน โดยให้
นักเรี ยนที่มีความรู ้ความสามารถแตกต่างกันมาทํางานร่ วมกัน คนที่เก่งกว่าจะต้องช่วยเหลือคนที่อ่อนกว่า ทุกคน
ต้องมีโอกาสได้ แสดงความสามารถร่ วมแสดงความคิดเห็นและปฏิบตั ิจริ ง โดยถือว่าความสําเร็ จของแต่ละบุคคล
คือ ความสําเร็ จของกลุ่ม การเรี ยนแบบร่ วมแรงร่ วมใจมีดงั นี้
1) ขั้นเตรี ยม นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม แนะนําแนวทางในการทํางานกลุ่ม บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในกลุ่ม และ
แจ้งวัตถุประสงค์ของการทํางาน
2) ขัน้ สอน นําเข้าสู่บทเรี ยน แนะนําเนื้อหาสาระ แหล่งความรู้ แล้วมอบหมายงานให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่ม
3) ขั้นทํากิจกรรม นักเรี ยนร่ วมกันทํากิจกรรมในกลุ่มย่อย โดยสมาชิกแต่ละคนมีบทบาทหน้าที่ตามที่ได้รับ
มอบหมาย ซึ่งในการทํากิจกรรมกลุ่มครู จะใช้เทคนิคต่าง ๆ เช่น คู่คิดเพื่อนเรี ยนปริ ศนาความคิด กลุ่มร่ วมมือ
เป็ นต้น การทํากิจกรรมแต่ละครั้งจะต้องเลือกเทคนิ คให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ในการเรี ยนแต่ละเรื่ อง โดยอาจ
ใช้เทคนิคเดียวหรื อหลายเทคนิครวมกันก็ได้
4) ขั้นตรวจสอบผลงาน เมื่อทํากิ จกรรมเสร็ จแล้วต้องมีการตรวจสอบการปฏิบ ตั ิงานว่าถูกต้องครบถ้วน
หรื อไม่ โดยเริ่ มจากการตรวจภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่ม เพื่อนําข้อบกพร่ องในการปฏิบตั ิงานไปปรับปรุ งให้ดีข้ ึน
5) ขั้น สรุ ป บทเรี ยนและประเมิ น ผล ครู แ ละนักเรี ย นช่ วยกัน สรุ ป บทเรี ยน ครู อ ธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม ในส่ วนที่
นักเรี ยนยังไม่ เข้าใจ และช่ วยกัน ประเมิ นผลการทํางานกลุ่ ม ว่า จุ ดเด่ นของงานคื ออะไร และอะไรคื อ สิ่ งที่ ควร
ปรับปรุ งแก้ไข
ตัวอย่างเทคนิคการเรี ยนแบบร่ วมแรงร่ วมใจ
(1) เพื่ อนเรี ยน (Partners) ให้นักเรี ยนเตรี ยมจับคู่กนั ทําความเข้าใจเนื้ อหาและสาระสําคัญของเรื่ องที่ ครู
กําหนดให้ โดยคู่ที่ ยงั ไม่เข้าใจอาจขอคําแนะนําจากครู ห รื อ คู่อื่ นที่ เข้าใจดี กว่า เมื่ อ คู่น้ ัน เกิ ดความเข้าใจดี แ ล้วก็
ถ่ายทอดความรู้ให้เพื่อนคู่อื่นต่อไป
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  139

(2) ปริ ศนาความคิ ด (Jigsaw) แบ่ งกลุ่ มนักเรี ยนโดยคละความสามารถเก่ง– อ่อน เรี ยกว่า “ กลุ่ มบ้าน”
(Home Groups) ครู แบ่งเนื้ อหาออกเป็ นหัวข้อย่อย ๆ เท่ ากับจํานวนสมาชิ กกลุ่มให้สมาชิ กในกลุ่มศึ กษาหัวข้อที่
แตกต่างกัน นักเรี ยนที่ได้รับหัวข้อเดียวกันมารวมกลุ่มเพื่อร่ วมกันศึกษา เรี ยกว่า “กลุ่มผูเ้ ชี่ยวชาญ” (Expert Groups)
เมื่ อ ร่ วมกันศึ กษาจนเข้าใจแล้ว สมาชิ กแต่ ล ะคนออกจากกลุ่ มผูเ้ ชี่ ยวชาญกลับ ไปกลุ่ มบ้านของตนเอง จากนั้น
ถ่ายทอดความรู้ที่ตนศึกษามาให้เพื่อน ๆ ในกลุ่มฟังจนครบทุกคน
(3) กลุ่มร่ วมมือ (Co-op) แบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุ่มคละความสามารถกันแต่ละกลุ่มเลือกหัวข้อที่จะศึกษา
เมื่อได้หัวข้อแล้วสมาชิ กในกลุ่มช่วยกันกําหนดหัวข้อย่อย แล้วแบ่งหน้าที่กนั รับผิดชอบโดยศึกษาคนละ 1 หัวข้อ
ย่อย จากนั้น สมาชิ กนําผลงานมารวมกันเป็ นงานกลุ่ม ช่ วยกันเรี ยบเรี ยงเนื้ อหาให้สอดคล้องกัน และเตรี ยมที ม
นําเสนอผลงานหน้าห้องเรี ยน เมื่อนําเสนอผลงานแล้วทุกกลุ่มช่วยกันประเมินผลการทํางานและผลงานของกลุ่ม
9. กระบวนการคิดสร้ างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์เป็ นความสามารถทางสมองของมนุษย์ที่คิดได้กว้างไกลหลายแง่มุมและนําไปสู่การคิด
ประดิ ษ ฐ์สิ่งใหม่ ๆ เพื่อ นําไปใช้ประโยชน์ได้อ ย่างเหมาะสม ความคิ ดสร้ างสรรค์จึงถื อว่าเป็ นคุ ณ ลักษณะทาง
ความคิดอย่างหนึ่งที่มีความสําคัญต่อนักเรี ยน ความคิดสร้างสรรค์มีองค์ประกอบที่สาํ คัญ 4 อย่างได้แก่
1) ความคิ ดริ เริ่ ม หมายถึง ความสามารถในการคิดแปลกใหม่แตกต่างจากความคิดธรรมดาหรื อความคิด
ง่าย ๆ ความคิดริ เริ่ มอาจจะเกิดจากการนําความรู้เดิมมาดัดแปลงและประยุกต์ให้เกิดเป็ นสิ่ งใหม่ข้ ึน
2) ความคล่ องในการคิ ด หมายถึง ความสามารถในการคิดตอบสนองต่อสิ่ งเร้าให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะมาก
ได้หรื อความสามารถคิดหาคําตอบที่เด่นชัดและตรงประเด็นมากที่สุด ซึ่ งจะนับปริ มาความคิ ดที่ไม่ซ้ าํ กันในเรื่ อง
เดียวกัน
3) ความยืดหยุ่นในการคิด หมายถึง ความสามารถในการปรับสภาพของความคิดในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
ความยืดหยุน่ เน้นในเรื่ องของปริ มาณที่เป็ นประเภทใหญ่ ๆ ของความคิดแบบคล่องแคล่ว ความยืดหยุ่นในการคิด
จึงเป็ นตัวเสริ มและเพิ่มคุณภาพของความคล่องในการคิดให้มากขึ้น ด้วยการจัดเป็ นหมวดหมู่และมีหลักเกณฑ์มาก
ขึ้น
4) ความคิ ดละเอี ยดลออ หมายถึง ความสามารถในการมองเห็นรายละเอียดในสิ่ งที่คนอื่นมองไม่เห็นและ
ยังรวมถึงการเชื่อมโยงสัมพันธ์ของสิ่ งต่าง ๆ อย่างมีความหมาย
การจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริ มให้ นักเรี ยนเกิดกระบวนการคิดสร้ างสรรค์ มีวิธีการดังนี ้
1) ขัน้ สร้ างความตระหนัก เป็ นขั้นที่ครู จะต้องกระตุน้ ให้นกั เรี ยนเกิดความอยากรู ้อยากเห็นด้วยวิธีการหรื อ
เทคนิคต่าง ๆ เช่น เกม เพลง นิทาน
2) ขั้นระดมพลังความคิ ด ครู จดั กิจกรรมการเรี ยนการสอนที่เน้นกระบวนการคิด เช่น คิดจินตนาการ คิด
วิเคราะห์ คิดแปลกใหม่ คิดหลากหลาย เพื่อดึงศักยภาพของนักเรี ยนโดยครู คอยอํานวยความสะดวกทุกขั้นตอน
3) ขั้น สร้ างสรรค์ งาน เมื่ อ นักเรี ยนได้ผ่านกระบวนการเรี ย นรู้ แ ล้วครู ค วรจัดกิ จกรรมที่ ให้นักเรี ยนได้
สร้างสรรค์ชิ้นงานด้วยตนเองหรื อทําเป็ นกลุ่ม เช่น ประดิษฐ์ชิ้นงานประเภทต่าง ๆ
4) ขั้นนําเสนอผลงาน เป็ นขั้นที่เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้นาํ ชิ้นงานที่สร้างเสร็ จแล้วมาแสดงให้คนอื่นได้
รับรู้ วิพากษ์วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการนําเสนอผลของผูอ้ ื่น ซึ่ งเป็ นขั้นที่ส่งเสริ มคุณธรรม จริ ยธรรม
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  140

และค่านิ ยมที่พึงประสงค์ การรู้จกั การยอมรับ การมีเหตุผล การประยุกต์ และการนําไปใช้ ซึ่ งจะทําให้นกั เรี ยนเกิด
ความภาคภูมิ ใจ
5) ขัน้ วัดและประเมินผล ครู ประเมินผลงานของนักเรี ยนตามสภาพจริ งและให้เกิดความหลากหลาย
พร้อมกับเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้ประเมินผลร่ วมกับผูอ้ ื่น มีการยอมรับ และเสนอแนะแนวทางแก้ไขบนพื้นฐาน
ของหลักการทางประชาธิปไตย
6) ขัน้ เผยแพร่ ผลงาน เป็ นการจัดกิจกรรมที่เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้นาํ ชิ้นงานมาเผยแพร่ ในรู ปแบบต่าง ๆ
เช่น การจัดนิ ทรรศการและการนําผลงานสู่ สาธารณชน ซึ่ งเป็ นการนําเสนอความรู ้และความคิดสร้างสรรค์ของ
นักเรี ยน เพื่อให้เพื่อน ผูป้ กครอง ชุมชน และบุคคลที่เกี่ยวข้องได้ชื่นชมผลงานของนักเรี ยน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  141

3. แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio)

แฟ้ มสะสมผลงาน หมายถึ ง แหล่งรวบรวมเอกสาร ผลงาน หรื อหลักฐาน เพื่อใช้สะท้อนถึงผลสัมฤทธิ์


ความสามารถ ทักษะ และพัฒนาการของนักเรี ยน มีการจัดเรี ยบเรี ยงผลงานไว้อย่างมีระบบ โดยนําความรู ้ ความคิด
และการนําเสนอมาผสมผสานกัน ซึ่ งนักเรี ยนเป็ นผูค้ ดั เลือกผลงานและมีส่วนร่ วมในการประเมิน แฟ้ มสะสมผล
ผลงานจึงเป็ นหลักฐานสําคัญที่จะทําให้นกั เรี ยนสามารถมองเห็นพัฒนาการของตนเองได้ตามสภาพจริ ง รวมทั้งเห็น
ข้อบกพร่ องและแนวทางในการปรับปรุ งแก้ไขให้ดีข้ ึนต่อไป
ลักษณะสําคัญของการประเมินผลโดยใช้ แฟ้ มสะสมผลงาน
1. ครู สามารถใช้เป็ นเครื่ อ งมื อ ในการติ ดตามความก้าวหน้าของนักเรี ย นเป็ นรายบุ ค คลได้เป็ นอย่างดี
เนื่ องจากมีผลงานสะสมไว้ ครู จะทราบจุดเด่น จุดด้อยของนักเรี ยนแต่ละคนจากแฟ้ มสะสมผลงาน และสามารถ
ติดตามพัฒนาการได้อย่างต่อเนื่อง
2. วัดศักยภาพของนักเรี ยนในการผลิตหรื อสร้างผลงานมากกว่าการวัดความจําจากการทําแบบทดสอบ
3. วัดและประเมิ น โดยเน้น ผูเ้ รี ยนเป็ นศูน ย์กลาง คื อ นัก เรี ยนเป็ นผูว้ างแผน ลงมื อ ปฏิ บ ัติงาน รวมทั้ง
ประเมินและปรับปรุ งตนเอง ซึ่งมีครู เป็ นผูช้ ้ ีแนะเน้นการประเมินผลย่อยมากกว่าการประเมินผลรวม
4. ฝึ กให้นกั เรี ยนรู ้จกั การประเมินตนเองและหาแนวทางปรับปรุ งพัฒนาตนเอง
5. นักเรี ยนเกิดความมัน่ ใจ ภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง และรู้วา่ ตนเองมีจุดเด่นในเรื่ องใด
6. ช่วยในการสื่ อความหมายเกี่ยวกับความรู ้ ความสามารถ ตลอดจนพัฒนาการของนักเรี ยนให้ผทู้ ี่เกี่ยวข้อง
ทราบ เช่น ผูป้ กครอง ฝ่ ายแนะแนว ตลอดจนผูบ้ ริ หารของโรงเรี ยน
ขั้นตอนการประเมินผลโดยใช้ แฟ้ มสะสมผลงาน
การจัดทําแฟ้ มสะสมผลงานมี 10 ขั้นตอน ซึ่งแต่ละขั้นตอนมีรายละเอียดดังนี้
1) การวางแผนจัดทําแฟ้ มสะสมผลงาน การจัดทําแฟ้ มสะสมผลงานต้องมีส่วนร่ วมระหว่างครู นักเรี ยน
และผูป้ กครอง
ครู การเตรี ยมตัวของครู ตอ้ งเริ่ มจากการศึกษา และวิเคราะห์หลักสูตร คู่มือครู คําอธิบายรายวิชา วิธีการ
วัดและประเมินผลในหลักสู ตรรวมทั้งครู ตอ้ งมี ความรู้และความเข้าใจเกี่ ยวกับวิธีการประเมินโดยใช้แฟ้ มสะสม
ผลงานจึงสามารถวางแผนกําหนดชิ้นงานได้
นั กเรี ยน ต้องมี ความเข้าใจเกี่ ยวกับ จุดประสงค์การเรี ยนรู้ เนื้ อหาสาระ การประเมิ นผลโดยใช้แ ฟ้ ม
สะสมผลงาน การมีส่วนร่ วมในกิจกรรมการเรี ยนรู้ การกําหนดชิ้นงาน และบทบาทในการทํางานกลุ่ม โดยครู ตอ้ ง
แจ้งให้นกั เรี ยนทราบล่วงหน้า
ผู้ปกครอง ต้องเข้ามามีส่วนร่ วมในการคัดเลือกผลงาน การแสดงความคิดเห็น และรับรู้พฒั นาการของ
นักเรี ยนอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น ก่อนทําแฟ้ มสะสมผลงาน ครู ตอ้ งแจ้งให้ผปู้ กครองทราบหรื อขอความร่ วมมือ รวมทั้ง
ให้ความรู้ในเรื่ องการประเมินผลโดยใช้แฟ้ มสะสมผลงานแก่ผปู ้ กครองเมื่อมีโอกาส
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  142

2) การรวบรวมผลงานและจั ด ระบบแฟ้ ม ในการรวบรวมผลงานต้อ งออกแบบการจัด เก็บ หรื อ แยก


หมวดหมู่ของผลงานให้ดี เพื่อสะดวกและง่ายต่อการนําข้อมูลออกมาใช้ แนวทางการจัดหมวดหมู่ของผลงาน เช่น
– จัดแยกตามลําดับ วัน เวลา ที่สร้างผลงานขึ้นมา
– จัดแยกตามความซับซ้อนของผลงานเป็ นการแสดงถึงทักษะหรื อพัฒนาการของนักเรี ยนที่มากขึ้น
– จัดแยกตามวัตถุประสงค์ เนื้อหา หรื อประเภทของผลงาน
ผลงานที่อยูใ่ นแฟ้ มสะสมผลงานอาจมีหลายเรื่ อง หลายวิชา ดังนั้น นักเรี ยนจะต้องทําเครื่ องมือในการ
ช่วยค้นหา เช่น สารบัญ ดัชนีเรื่ อง จุด สี แถบสี ติดไว้ที่ผลงานโดยมีรหัสที่แตกต่างกัน
3) การคัดเลือกผลงาน ในการคัดเลือกผลงานนั้นควรให้สอดคล้องกับเกณฑ์หรื อมาตรฐานที่โรงเรี ยน ครู
หรื อ นักเรี ยนร่ วมกัน กําหนดขึ้ น มาและผูค้ ดั เลื อกผลงานควรเป็ นนักเรี ยนเจ้าของแฟ้ มสะสมผลงานหรื อมี ส่วน
ร่ วมกับครู เพื่อน และผูป้ กครอง
ผลงานที่เลือกเก็บเข้าแฟ้ มสะสมผลงานควรมีลกั ษณะดังนี้
– สอดคล้องกับเนื้อหาและวัตถุประสงค์ของการเรี ยนรู ้
– เป็ นผลงานชิ้นที่ดีที่สุดและมีความหมายต่อนักเรี ยนมากที่สุด
– สะท้อนให้เห็นถึงพัฒนาการของนักเรี ยนในทุกด้าน
– เป็ นสื่ อที่จะช่วยให้นกั เรี ยนมีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับครู ผูป้ กครอง และเพื่อน ๆ ส่ วน
จํานวนชิ้ น งานนั้นให้กาํ หนดตามความเหมาะสม ไม่ ค วรมี ม ากเกิ น ไป เพราะอาจจะทําให้ผลงานบางชิ้ น ไม่ มี
ความหมาย แต่ถา้ มีนอ้ ยเกินไปจะทําให้การประเมินไม่มีประสิ ทธิ ภาพ
4) สร้ างสรรค์ แฟ้ มสะสมผลงานให้ มีเอกลักษณ์ ของตนเอง โครงสร้ างหลักของแฟ้ มสะสมผลงานอาจ
เหมือนกัน แต่นกั เรี ยนสามารถตกแต่งรายละเอียดย่อยให้แตกต่างกันตามความคิดสร้างสรรค์ของแต่ละบุคคล โดย
อาจใช้ภาพ สี หรื อสติกเกอร์ ตกแต่งให้สวยงามและเน้นเอกลักษณ์ของเจ้าของแฟ้ มสะสมผลงาน
5) การแสดงความคิดเห็นหรื อความรู้ สึกต่ อผลงาน ในขั้นตอนนี้นกั เรี ยนจะได้รู้จกั การวิพากษ์วิจารณ์ หรื อ
สะท้อนความคิดเกี่ยวกับผลงานของตนเอง ตัวอย่างข้อความที่ใช้แสดงความรู้สึกต่อผลงาน เช่น
– ได้แนวคิดจากการทําผลงานชิ้นนี้มาจากไหน
– เหตุผลที่เลือกผลงานชิ้นนี้คืออะไร
– จุดเด่น จุดด้อยของผลงานชิ้นนี้คืออะไร
– รู้สึกพอใจกับผลงานชิ้นนี้มากน้อยเพียงใด
– ได้ขอ้ คิดอะไรจากการทําผลงานชิ้นนี้
6) ตรวจสอบความสามารถของตนเอง เป็ นการเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้ประเมินความสามารถของตนเอง
โดยพิจารณาตามเกณฑ์ยอ่ ย ๆ ที่ครู และนักเรี ยนช่วยกันกําหนดขึ้น เช่น นิสยั การทํางานทักษะทางสังคม การทํางาน
เสร็ จ ตามระยะเวลาที่ ก ําหนด การขอความช่ ว ยเหลื อ เมื่ อ มี ค วามจําเป็ น เป็ นต้น นอกจากนี้ ยังมี วิ ธี ต รวจสอบ
ความสามารถตนเองอีกวิธีหนึ่ งคือการให้นกั เรี ยนเขียนวิเคราะห์จุดเด่นจุดด้อยของตนเอง และสิ่ งที่ตอ้ งปรับปรุ ง
แก้ไข
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  143

7) การประเมินผลงาน เป็ นขั้นตอนที่สาํ คัญเนื่ องจากเป็ นการสรุ ปคุณภาพของงานและความสามารถหรื อ


พัฒนาการของนักเรี ยน การประเมิ นแบ่ งออกเป็ น 2 ลักษณะ คื อ การประเมิ น โดยไม่ให้ระดับ คะแนนและการ
ประเมินโดยให้ระดับคะแนน
การประเมิ น โดยไม่ ใ ห้ ระดั บ คะแนน ครู ก ลุ่ ม นี้ มี ค วามเชื่ อ ว่ า แฟ้ มสะสมผลงานมี ไ ว้เพื่ อ ศึ ก ษา
กระบวนการทํางาน ศึกษาความคิดเห็น ความรู้สึกของนักเรี ยนที่มีต่อผลงานของตนเอง ตลอดจนดูพฒั นาการหรื อ
ความก้าวหน้าของนักเรี ยนอย่างไม่เป็ นทางการ ครู ผูป้ กครอง และเพื่อนสามารถให้คาํ ชี้ แนะแก่นักเรี ยนได้ ซึ่ ง
วิธีการนี้จะทําให้นกั เรี ยนได้เรี ยนรู้และปฏิบตั ิงานอย่างเต็มที่โดยไม่ตอ้ งกังวลว่าจะได้คะแนนเท่าไร
การประเมินโดยให้ ระดับคะแนน มีท้ งั การประเมินตามจุดประสงค์การเรี ยนรู้ การประเมินระหว่างภาค
เรี ยน และการประเมินปลายภาค ซึ่ งจะช่วยในวัตถุประสงค์ดา้ นการปฏิบตั ิเป็ นหลักการประเมินแฟ้ มสะสมผลงาน
ต้อ งกําหนดมิ ติ ก ารให้ ค ะแนน (scoring rubrics) ตามเกณฑ์ที่ ค รู แ ละนัก เรี ย นร่ วมกัน กําหนดขึ้ น การให้ระดับ
คะแนนมีท้ งั การให้คะแนนเป็ นรายชิ้นก่อนเก็บเข้าแฟ้ มสะสมผลงานและการให้คะแนนแฟ้ มสะสมผลงานทั้งแฟ้ ม
ซึ่ งมาตรฐานคะแนนนั้นต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การจัดทําแฟ้ มสะสมผลงาน และมุ่งเน้นพัฒนาการของ
นักเรี ยนแต่ละคนมากกว่าการนําไปเปรี ยบเทียบกับบุคคลอื่น
8) การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ กับผู้อื่น มีวตั ถุประสงค์เพื่อเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้รับฟั งความคิดเห็น
จากผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ เพื่อน ครู และผูป้ กครอง อาจทําได้หลายรู ปแบบ เช่น การจัดประชุมในโรงเรี ยนโดย
เชิ ญผูท้ ี่มีส่วนเกี่ ยวข้องมาร่ วมกันพิจารณาผลงาน การสนทนาแลกเปลี่ยนระหว่างนักเรี ยนกับเพื่อน การส่ งแฟ้ ม
สะสมผลงานไปให้ผทู ้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้องช่วยให้ขอ้ เสนอแนะหรื อคําแนะนํา
ในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์น้ นั นักเรี ยนจะต้องเตรี ยมคําถามเพื่อถามผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้องซึ่ งจะเป็ น
ประโยชน์ในการปรับปรุ งงานของตนเอง ตัวอย่างคําถาม เช่น
– ท่านคิดอย่างไรกับผลงานชิ้นนี้
– ท่านคิดว่าควรปรับปรุ งแก้ไข ส่วนใดอีกบ้าง
– ผลงานชิ้นใดที่ท่านชอบมากที่สุด เพราะอะไร
9) การปรั บเปลี่ยนผลงาน หลังจากที่นกั เรี ยนได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและได้รับคําแนะนําจากผูท้ ี่มีส่วน
เกี่ยวข้องแล้วก็จะนําผลงานมาปรับปรุ งให้ดีข้ ึน ซึ่งนักเรี ยนสามารถนําผลงานที่ดีกว่าเก็บเข้าแฟ้ มสะสมผลงานแทน
ผลงานเดิมทําให้แฟ้ มสะสมผลงานมีผลงานที่ดี ทันสมัย และตรงตามจุดประสงค์ในการประเมิน
10) การประชาสั มพันธ์ ผลงานของนักเรี ยน เป็ นการแสดงนิ ทรรศการผลงานของนักเรี ยน โดยนําแฟ้ มสะสม
ผลงานของนักเรี ยนทุกคนมาจัดแสดงร่ วมกัน และเปิ ดโอกาสให้ผปู้ กครอง ครู และนักเรี ยนทัว่ ไปได้เข้าชมผลงาน
ทําให้นกั เรี ยนเกิดความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง
ผูท้ ี่ เริ่ ม ต้น ทําแฟ้ มสะสมผลงานอาจไม่ต้องดําเนิ น การทั้ง 10 ขั้น ตอนนี้ แต่ ใช้ข้ นั ตอนหลัก ๆ คื อ การ
รวบรวมผลงานและการจัดระบบแฟ้ ม การคัดเลือกผลงาน และการแสดงความคิดเห็นหรื อความรู ้สึกต่อผลงาน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  144

องค์ ประกอบสําคัญของแฟ้ มสะสมผลงาน มีดงั นี้


1) ส่ วนนํา ประกอบด้วย ปก คํานํา สารบัญ ประวัติส่วนตัว จุดมุ่งหมายของการทําแฟ้ มสะสมผลงาน
2) ส่ วนเนือ้ หาแฟ้ ม ประกอบด้วย ผลงาน ความคิดเห็นที่มีต่อผลงาน และ Rubrics ประเมินผลงาน
3) ส่ วนข้ อมูลเพิ่มเติม ประกอบด้วย ผลการประเมินการเรี ยนรู้ การรายงานความก้าวหน้าโดยครู และความ
คิดเห็นของผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น เพื่อน ผูป้ กครอง

1. ส่ วนนํา ประกอบด้วย
– ปก
– คํานํา
– สารบัญ
– ประวัติส่วนตัว
– จุดมุ่งหมายของการทําแฟ้ มสะสมผลงาน
2. ส่ วนเนือ้ หาแฟ้ ม ประกอบด้วย
– ผลงาน
– ความคิดเห็นที่มีต่อผลงาน
– Rubrics ประเมินผลงาน
3. ส่ วนข้ อมูลเพิม่ เติม ประกอบด้วย
– ผลการประเมินการเรี ยนรู ้
– การรายงาน ความก้าวหน้า โดยครู
– ความคิดเห็นของผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น
เพื่อน ผูป้ กครอง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  145
 

4. ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้ และรู ปแบบแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้ แบบ Backward Design


หน่ วยการเรียนรู้ ท_ี่ _______________________________
ขั้นที่ 1 ผลลัพธ์ ปลายทางที่ต้องการให้ เกิดขึน้ กับนักเรียน
ตัวชี้วดั ชั้นปี
1._____________________________________________________
2._____________________________________________________
ความเข้ าใจทีค่ งทนของนักเรียนนักเรียนจะเข้ าใจว่ า... คําถามสําคัญทีท่ ําให้ เกิดความเข้ าใจทีค่ งทน
1.__________________________________________ – _________________________________________
2.__________________________________________ – _________________________________________
ความรู้ ของนักเรียนทีน่ ําไปสู่ ความเข้ าใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นําไปสู่
นักเรียนจะรู้ ว่า... ความเข้ าใจทีค่ งทน
1.__________________________________________ นักเรียนจะสามารถ...
2.__________________________________________ 1. ________________________________________
3.__________________________________________ 2. ________________________________________
3._________________________________________
ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็ นหลักฐานที่แสดงว่ านักเรียนมีผลการเรียนรู้
ตามที่กาํ หนดไว้ อย่ างแท้ จริง
1. ภาระงานทีน่ ักเรียนต้ องปฏิบัติ
– ________________________________________________________________________________________
– ________________________________________________________________________________________
2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ เครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
–_______________________________________ – _________________________________________
–_______________________________________ – _________________________________________
3. สิ่ งที่ม่ ุงประเมิน
–________________________________________________________________________________________
–________________________________________________________________________________________

ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้
– __________________________________________________________________________________
– _______________________________________________________________________________________________________

 
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  146
 
รู ปแบบแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง
เมื่ อครู อ อกแบบการจัดการเรี ยนรู้ ตามแนวคิ ด Backward Design แล้ว ครู สามารถเขี ยนแผนการจัดการ
เรี ยนรู ้รายชัว่ โมงโดยใช้รูปแบบของแผนการจัดการเรี ยนรู ้แบบเรี ยงหัวข้อ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
ชื่อแผน…(ระบุชื่อและลําดับที่ของแผนการจัดการเรี ยนรู้)
ชื่อเรื่อง...(ระบุช่ือเรื่ องที่จดั การเรี ยนรู ้)
สาระที่...(ระบุสาระที่ใช้จดั การเรี ยนรู ้)
เวลา...(ระบุระยะเวลาที่ใช้ในการจัดการเรี ยนรู้ต่อ 1 แผน)
ชั้น...(ระบุช้ นั ที่จดั การเรี ยนรู ้)
หน่ วยการเรียนรู้ที่...(ระบุชื่อและลําดับที่ของหน่วยการเรี ยนรู ้)
สาระสํ าคัญ...(เขียนความคิดรวบยอดหรื อมโนทัศน์ของหัวเรื่ องที่จดั การเรี ยนรู้)
ตัวชี้วดั ชั้นปี ...(ระบุตวั ชี้วดั ชั้นปี ที่ใช้เป็ นเป้ าหมายของแผนการจัดการเรี ยนรู ้)
จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ ...(กําหนดให้สอดคล้องกับสมรรถนะสําคัญและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของ
นักเรี ยนหลังจากสําเร็ จการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งประกอบด้วย
ด้านความรู ้ (Knowledge: K)
ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม (Affective: A)
ด้านทักษะ/กระบวนการ (Performance: P)
การวัด และประเมิ น ผลการเรี ยนรู้ ...(ระบุ วิธี ก ารและเครื่ อ งมื อ วัด และประเมิ น ผลที่ ส อดคล้อ งกับ
จุดประสงค์การเรี ยนรู ้ท้ งั 3 ด้าน)
สาระการเรียนรู้...(ระบุสาระและเนื้อหาที่ใช้จดั การเรี ยนรู้โดยเขียนเฉพาะหัวเรื่ องก็ได้)
กระบวนการจัดการเรียนรู้ ...(กําหนดให้สอดคล้องกับธรรมชาติของกลุ่มสาระและการบูรณาการข้าม
สาระ)
กิจกรรมเสนอแนะ...(ระบุรายละเอียดของกิจกรรมที่นกั เรี ยนควรปฏิบตั ิเพิ่มเติม)
แนวทางการบูรณาการ...(เสนอแนะและระบุกิจกรรมของกลุ่มสาระอื่นที่บูรณาการร่ วมกัน)
สื่ อ/แหล่ งการ เรียนรู้...(ระบุรายการสื่ อ อุปกรณ์ และแหล่งการเรี ยนรู ้ที่ใช้ในการจัดการเรี ยนรู้)
บันทึกผลหลังการจัดการเรี ยนรู้ ...(ระบุรายละเอียดของผลการจัดการเรี ยนรู ้ตามแผนที่ กาํ หนดไว้อาจ
นําเสนอข้อเด่นและข้อด้อยให้เป็ นข้อมูลที่สามารถนําไปใช้เป็ นส่วนหนึ่งของการทําวิจยั ในชั้นเรี ยนได้)

 
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  147
 

5. ใบความรู้ และใบงาน

ใบความรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1

ใบความรู้ ที่ 1
เรื่อง เคล็ดลับการดูแลรักษาเสื้อผ้ า

เสื้ อผ้าที่เราสวมใส่ เป็ นประจําทุกวันหากดูแลรักษาไม่ถูกวิธีอาจทําให้เสื้ อผ้าซี ดจาง และมีสีหม่นหมอง ซึ่ ง


การดูแลรักษาผ้าเสื้ อให้ใหม่อยูเ่ สมอมีวิธีการดังนี้
เคล็ดลับการดูแลผ้าสี
1. การรั ก ษาเสื ้ อ ผ้ า ให้ มี สี สั น สดใสอยู่ เสมอ ทําได้โ ดยนํา นํ้าส้ ม สายชู ½ ถ้ว ยตวง ผสมลงในนํ้าผสม
ผงซักฟอก ซัก และล้างนํ้าให้สะอาด ถ้าเป็ นเสื้ อผ้าที่เพิ่งซื้ อมาใหม่ควรนําผ้าไปแช่ในนํ้าส้มสายชูหรื อนํ้าเกลือก่อน
เพื่อช่วยป้ องกันผ้าสี ตก
2. การป้ องกันไม่ ให้ เสื ้อผ้ าสี ซีด ทําได้โดยกลับตะเข็บเสื้ อผ้าก่อนนําไปซักหรื อตาก และควรตากผ้าในที่ร่ม มี
ลมโกรก ไม่นาํ ไปตากกลางแดดจัด ๆ เพื่อป้ องกันผ้าสี ถูแสงแดดทําลายจนซีดจาง

เคล็ดลับการดูแลผ้าขาว
การดูแลรักษาเสื้ อผ้าสี ขาวที่มีสีหม่นทําได้โดยการต้มนํ้าครึ่ งหม้อ ใส่น้ าํ ส้มสายชู ½ ถ้วยตวงลงไป รอจนนํ้า
เดือด ปิ ดไฟ แล้วตั้งพักไว้รอให้คลายความร้อนสักครู่ จากนั้นนําเสื้ อผ้าสี ขาวที่ เตรี ยมไว้ลงไปแช่น้ าํ ทิ้ งไว้ 1 คื น
นําไปซัก แล้วล้างนํ้าให้สะอาด ซึ่งจะช่วยคืนความขาวสะอาดให้กบั เสื้ อผ้าสี ขาวได้
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  148
 

ใบความรู้ ที่ 2
เรื่อง การกําจัดวัชพืชด้ วยแป้ งข้ าวโพด
วัชพืชเป็ นต้นไม้ตน้ เล็ก ๆ ที่ข้ ึนแซมข้าง ๆ ต้นไม้ที่ปลูกไว้ และคอยแย่งนํ้า แย่งอาหารของต้นไม้ ทําให้
ต้นไม้ไม่เจริ ญเติบโต ซึ่งเราสามารถกําจัดวัชพืชได้โดยการถอนทิ้ง
นอกจากนี้ ยัง มี วิ ธี ก ารอื่ น ๆ ที่ ช่ ว ยกําจัด วัช พื ช ด้ว ยการใช้แ ป้ งข้าวโพดที่ มี คุ ณ สมบัติ ใ นการยับ ยั้ง การ
เจริ ญเติบโตของวัชพืช โดยการโรยแป้ งข้าวโพดลงในภาชนะปลูกหรื อแปลงเพาะเมล็ดพันธุ์พืชที่เจริ ญเติบโตเป็ น
ต้นกล้าแล้วให้ทวั่ แปลง แป้ งข้าวโพดจะจับตัวกันบนผิวดินทําให้วชั พืชไม่สามารถงอกหรื อเจริ ญเติบโตได้ และยัง
ช่วยดึงดูดให้ไส้เดือนมาอาศัยอยูใ่ นบริ เวณนั้น ๆ ซึ่งจะทําให้ดินร่ วนซุยขึ้นอีกด้วย
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  149
 

ใบความรู้ ที่ 3
เรื่อง งานโครงสร้ างจากกระดาษ
งานโครงสร้างจากระดาษมีหลายรู ปแบบ และมีวิธีการประดิษฐ์แตกต่างกัน ดังนี้
1. งานโครงสร้ างจากกระดาษม้ วน เป็ นการนํากระดาษชนิ ดต่าง ๆ มาม้วนให้เป็ นแท่ง แล้วจัดตกแต่งให้
เป็ นโครงสร้างรู ปแบบต่าง ๆ ซึ่งมีวิธีการประดิษฐ์ดงั นี้
1) นํากระดาษมาม้วนให้ได้ขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ มีความยาว หรื อสั้นตามที่ตอ้ งการ โดยทําไว้หลาย ๆ
ม้วน
2) นํากระดาษที่มว้ นไว้แล้วมาทากาว แล้ววางต่อกันในแนวตั้ง (อาจมีแนวขวางบ้างก็ได้) โดยวางต่อกัน
ให้เป็ นรู ปร่ างคล้ายอาคารหรื อสิ่ งก่อสร้างตามความคิดสร้างสรรค์ของแต่ละคน
3) ระบายสี ดว้ ยสี น้ าํ หรื อสี โปสเตอร์ตกแต่งให้สวยงาม แต่หากใช้กระดาษสี หรื อกระดาษที่มีลวดลายอยู่
แล้วก็ไม่ตอ้ งระบายสี
2. งานโครงสร้ างจากการต่ อกระดาษแข็ง มีวิธีการประดิษฐ์ดงั นี้
1) ตัดกระดาษแข็งที่ เป็ นกระดาษสี หรื อมีลวดลายต่าง ๆ ให้เป็ นรู ปแบบที่ ตอ้ งการ เช่น รู ปสี่ เหลี่ยม รู ป
สามเหลี่ยม รู ปวงกลม หรื อรู ปร่ างอิสระ
2) นํามาต่อกันโดยวิธีการบากหรื อตัดให้ลึกเข้าไป แล้วสอดหรื อเสี ยบเข้าหากันเพื่อให้ต้ งั ได้ ซึ่ งจะต่อกี่
ชั้นก็ได้โดยพยายามให้ได้โครงสร้างที่สูงที่สุด
3) ฉี กหรื อตัดกระดาษสี เป็ นชิ้ นเล็ก ๆ นํามาติดตกแต่งโครงสร้างนั้น ๆ ก็จะได้ผลงานที่แปลกใหม่และ
สวยงามอีกรู ปแบบหนึ่ง
3. งานโครงสร้ างจากกล่ องกระดาษ กล่องกระดาษเหลือใช้ เช่น กล่องสบู่ กล่องยาสี ฟัน กล่องนม สามารถ
นํามาออกแบบตกแต่งให้เป็ นงานโครงสร้าง ซึ่งนําไปใช้ประโยชน์ได้อีกโดยมีวิธีการประดิษฐ์ดงั นี้
1) นํากระดาษสี หรื อเศษกระดาษห่อของขวัญมาปิ ดทับบนกล่องกระดาษขนาดต่าง ๆ
2) นํากล่ อ งมาทากาวยึด ต่ อ กัน ให้เป็ นโครงสร้ างรู ป แบบต่ าง ๆ ตามที่ ต้อ งการ เช่ น อาคารบ้านเรื อ น
หุ่นยนต์ รถไฟ
3) ตกแต่งเพิ่มเติมโดยนํากระดาษสี มาม้วนหรื อตัดกระดาษแข็งต่อเติมเข้าไป เพื่อให้เกิดความสวยงาม
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  150
 

ใบความรู้ ที่ 4
เรื่อง การใช้ โทรศัพท์ มือถือ
โทรศัพท์มือถือเป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ในการติดต่อสื่ อสารแบบไร้สายที่ สามารถพกพาไปในที่ต่าง ๆ ได้ตาม
ต้องการ ซึ่งช่วยให้สามารถติดต่อสื่ อสารได้อย่างสะดวกรวดเร็ว  
การใช้โทรศัพท์มือถือควรใช้เมื่อต้องติดต่อสื่ อสารกับพ่อแม่หรื อบุคคลในครอบครัวเพื่อบอกเหตุการณ์
แจ้งข่าวสาร หรื อใช้ในกรณี เกิดเหตุฉุกเฉิ น เช่น พลัดหลงกับผูป้ กครอง บอกตําแหน่งที่อยูข่ องตนเอง โทรแจ้งให้
พ่อแม่หรื อผูป้ กครองไปรับ นอกจากนี้โทรศัพท์มือถือยังสามารถใช้งานในรู ปแบบอื่น ๆ ได้อีก เช่น การส่งข้อความ
ค้นหาข้อมูลความรู ้ผา่ นระบบอินเทอร์เน็ต ฟังเพลง เล่นเกม เป็ นต้น 
มารยาทในการใช้ โทรศัพท์ มอื ถือ ควรปฏิบตั ิดงั นี้
1. ควรพูดด้วยถ้อยคําที่สุภาพไพเราะ ชัดเจน และได้ใจความที่ถูกต้อง
2. ควรปิ ดโทรศัพท์มือถือเมื่ออยูใ่ นที่สาธารณะ เช่น โรงเรี ยน ห้องเรี ยน ห้องสมุดโรงภาพยนตร์
3.ไม่ควรรับโทรศัพท์ขณะรับประทานอาหาร ขึ้น–ลงรถโดยสาร หรื อขณะข้ามถนน เพราะอาจเกิด
อุบตั ิเหตุได้
4. ไม่ควรพูดด้วยเสี ยงดังเพราะเป็ นการรบกวนความสงบของผูอ้ ื่น
5. เมื่อเลิกใช้โทรศัพท์ควรเก็บใส่ ซองหรื อกระเป๋ าให้เรี ยบร้อย เพื่อป้ องกันการสูญหาย
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  151
 
ใบงาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1

ใบงานที่ 1
เรื่อง การแต่ งกายในฤดูกาลต่ าง ๆ หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 การทํางานเพือ่ ช่ วยเหลือตนเอง

ชื่อ ชั้น ______________________เลขที่____________________________

คําชี้แจง ให้นกั เรี ยนวาดภาพการแต่งกายของตนเองที่เหมาะสมกับฤดูกาลต่าง ๆ แล้วระบายสี ให้สวยงาม

ชุ ดฤดูร้อน ชุ ดฤดูฝน
 

ชุ ดฤดูหนาว
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  152
 

ใบงานที่ 2
เรื่อง ช่ วยกันแก้ปัญหา หน่ วยการเรียนรู้ที่ 2 พืชใกล้ตวั

ชื่อ ชั้น _________________เลขที_่ __________________________

คําชี้แจง อ่านสถานการณ์ที่กาํ หนด แล้วเขียนเสนอแนะความคิดเห็นหรื อวิธีการแก้ปัญหา

1. พ่อของสุ ดาปลูกต้นไม้ไว้ในกระถาง พ่อบอกสุ ดาว่า ต้นไม้ที่ปลูกคื อต้นกุหลาบ มีดอกสวยงามสุ ดา


อยากเห็นดอกกุหลาบเร็ ว ๆ

ถ้าฉันเป็ นสุดา ฉันจะ___________________________________________________________


___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________

2. บ้านของวารี มี ไ ม้ด อกไม้ป ระดับ หลายชนิ ด ปลูกไว้ริม ทางเดิ น เข้าบ้าน วัน หนึ่ งวารี สังเกตเห็ น ว่ามี
ต้นหญ้าเล็ก ๆ ขึ้นแซมอยูใ่ ต้ตน้ ดาวกระจายและบางต้นมีหนอนตัวเล็ก ๆ เกาะอยูบ่ นใบไม้

ถ้าฉันเป็ นวารี ฉันจะ___________________________________________________________


___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  153
 

ใบงานที่ 3
เรื่อง ควรใช้ อะไรบ้ าง หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 ช่ างประดิษฐ์

ชื่อ ชั้น _________________เลขที่___________________________

คําชี้แจง นักเรี ยนจับคู่กบั เพื่อนช่วยกันแสดงความคิดเห็นว่า ถ้ามีวสั ดุและอุปกรณ์ต่อไปนี้นกั เรี ยนจะนําไปประดิษฐ์


อะไร (ตอบได้มากกว่า 1 อย่าง) พร้อมบอกวิธีการประดิ ษฐ์มาพอสังเขปวัสดุ และอุป กรณ์ ได้แก่ กล่องยาสี ฟัน
กระดาษสมุด กรรไกร กาว สี และเชือกฟาง

สิ่ งประดิษฐ์ ชิ้นที่ 1 คือ_______________________________________________________

วิธีทํา____________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

สิ่ งประดิษฐ์ ชิ้นที่ 2 คือ ______________________________________________________

วิธีทํา____________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  154
 

ใบงานที่ 4
เรื่อง แหล่ งข้ อมูลที่น่าสนใจ หน่ วยการเรียนรู้ที่ 4 ข้ อมูลและแหล่งข้ อมูลรอบตัว

ชื่อ ชั้น _________________เลขที่___________________________________

คําชี้ แจง นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน ช่วยกันรวบรวมแหล่งข้อมูลและบอกรายการข้อมูลที่ได้รับจากแหล่ง


นั้น ๆ ลงในตาราง

แหล่ งข้ อมูล ข้ อมูลทีไ่ ด้ รับ


 

คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  155

 
6. เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้  

การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1


แบบทดสอบก่ อนเรียน
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 การทํางานเพือ่ ช่ วยเหลือตนเอง
ชื่อ ชั้น______________เลขที_่ _______________________________
คําชี้แจง เลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงคําตอบเดียว
 
1. การแต่ งกายควรสวมใส่ สิ่งใดเป็ นอันดับแรก 5. ถ้ าต้ องไปสถานที่ดังในภาพ
ควรแต่งกายตามข้ อใด
ก ข ค
  ก ข ค

2. จากภาพเป็ นประโยชน์ ของเสื้อผ้า 6. จากภาพควรสวมใส่ ขณะทํา


และเครื่องแต่ งกายที่ตรงกับข้ อใด กิจกรรมใด
มากที่สุด  ก ขณะช่วยแม่ทาํ อาหาร
ก ช่วยให้ร่างกายอบอุ่น ข ขณะรับประทานอาหาร
ข ช่วยป้ องกันแสงแดด ค ขณะเล่นกีฬากับเพื่อน
ค ช่วยให้เกิดความสวยงาม
3. จากภาพขั้นตอนใดที่ควรปฏิบัติ 7. เสื้อผ้าที่สวมใส่ แล้วควรทําอย่ างไร
เป็ นลําดับต่ อไป ก ใส่ไว้ในตะกร้า
ก สวมชุดชั้นใน ข กองไว้ที่มุมห้อง
ข เช็ดตัวให้แห้ง ค เก็บไว้ในตูเ้ สื้ อผ้า
ค หวีผมและทาแป้ ง
4. จากภาพถ้าจําเป็ นต้ องออกนอกบ้ าน 8. เครื่องเขียนใดไม่ ควรจัดเก็บรวมกับพวก
ควรแต่ งกายตามข้ อใด ก ดินสอ
ข ดินสอสี
ก ข ค
ค ไม้บรรทัด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  156

 
 
 
9. หลังจากเล่นของเล่นเสร็จแล้ว ควรปฏิบัตอิ ย่ างไร 10. จากภาพควรปฏิบัตอิ ย่างไร
ก วางไว้ที่เดิม เป็ นอันดับแรก
ข วางไว้หลังตูเ้ ย็น ก เช็ดโต๊ะให้สะอาด
ค วางไว้บนชั้นวางของ ข เรี ยกให้แม่ช่วยเก็บ
ค จัดเก็บหนังสื อและดินสอสี

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  157

 
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 หน่ วยการเรียนรู้ที่ 2 พืชใกล้ตวั
ชื่อ ชั้น______________เลขที_่ _______________________________
คําชี้แจง เลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงคําตอบเดียว
 

1. พืชชนิดใดจัดเป็ นไม้ประดับ 6. ข้ อใดเป็ นวิธีรดนํา้ ต้นไม้ ด้วยบัวรดนํา้ ที่ถูกต้ อง


ก พลูด่าง ก จับหูหิ้วยกให้สูงและเอียงขณะรดนํ้า
ข กล้วยไม้ ข จับหูหิ้วยกให้สูงขึ้นในแนวตรงขณะรดนํ้า
ค ดาวเรื อง  ค จับหูหิ้วแล้วใช้ใช้มือวักนํ้าจากบัวรดนํ้าขณะ
รดนํ้า 
2. ข้ อใดเป็ นไม้ดอกทั้งหมด 7. ใครรดนํา้ ต้ นไม้ ด้วยถังนํา้ ผิดวิธี
ก มะยม ก เอใช้มือวักนํ้าจากถัง
ข บอนสี ข บียกถังเทนํ้าลงบนต้นไม้
ค ดาวกระจาย ค ซีใช้ขนั ตักนํ้าจากถังแล้วรดนํ้า 

3. สิ่ งใดไม่ ใช่ เครื่องมือเกษตร 8. ข้ อใดเป็ นขั้นตอนสุ ดท้ าย ของการรดนํา้ ต้ นไม้


ก ส้อม ก เก็บเครื่ องมือ
ข พลัว่ ข สํารวจเครื่ องมือ
ค ช้อนปลูก ค ล้างมือให้สะอาด

4. เครื่องมือเกษตรใดช่ วยให้ ดนิ ร่ วนซุย 9. ถ้ าพบต้ นหญ้ าขึน้ แซมในกระถางปลูกกุหลาบ


ก บัวรดนํ้า ควรทําอย่างไร
ข ช้อนปลูก ก ถอนทิ้ง
ค ส้อมพรวน ข ใช้เสี ยมขุดออก
ค พรวนดินในกระถาง

5. การใช้ เครื่องมือใดควรระมัดระวังมากที่สุด 10. ใครเก็บเครื่องมือรดนํา้ ไม่ ถูกต้ อง


ก ข ค ก ไก่ควํ่าบัวรดนํ้าไว้
ข นกหงายถังนํ้าตั้งไว้
  ค กบม้วนสายยางวางไว้
 
 
 
 
 
 
 
 
 
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  158

 
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 ช่ างประดิษฐ์ น้อย
ชื่อ ชั้น__________________เลขที่________________
คําชี้แจง เลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงคําตอบเดียว

1. ถ้ าต้ องการวัดความยาวของกระถางควรใช้ อุปกรณ์ ใด 6. ข้ อใดเป็ นประโยชน์ ของการพับกระดาษเป็ นของเล่น


ก ดินสอ ก ช่วยประหยัดเงิน
ข ยางลบ ข ได้ของเล่นที่คงทน
ค ไม้บรรทัด ค มีของเล่นไว้สาํ หรับเล่น

2. อุปกรณ์ ใดขณะใช้ ต้องใช้ ด้วยความระมัดระวัง 7. วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือใดจําเป็ นน้ อยที่สุด


มากที่สุด ในการพับจรวด
ก ดินสอ ก ดินสอ
ข คัตเตอร์ ข กรรไกร
ค ไม้บรรทัด ค กระดาษ

3. วัสดุ อุปกรณ์ ใดเหมาะสํ าหรับใช้ ตกแต่ งผลงาน 8. การพับกระดาษเป็ นของเล่ นถ้ ากระดาษทีพ่ บั
ก สี เทียน มีขนาดใหญ่ กว่ าแบบควรทําอย่ างไร
ข กรรไกร ก ใช้มือฉี กออก
ค การลาเท็กซ์ ข ใช้กรรไกรตัดออก
ค ใช้ไม้บรรทัดตัดออก

4. การปฏิบัตขิ องใครอาจเป็ นอันตราย 9. การปฏิบัตอิ ย่ างไรจะช่ วยให้ ของเล่นแลดูใหม่


ก ส้มนํากรรไกรใส่ซอง อยู่เสมอ
ข เปิ้ ลโยนกรรไกรให้เพื่อน ก นําของเล่นไปล้างนํ้า
ค แตงเลื่อนใบมีดคัตเตอร์เก็บเข้าด้านใน ข ทําความสะอาดก่อนเก็บ
ค วางของเล่นไว้บนชั้นวางของ

5. กระดาษชนิดใดไม่ เหมาจะใช้ พบั ของเล่น 10. ของเล่นชนิดใดไม่ ควร ให้ เปี ยกนํา้
ก กระดาษสมุด ก ของเล่นที่ทาํ ด้วยไม้
ข กระดาษลูกฟูก ข ของเล่นที่มีแบตเตอรี่
ค กระดาษหนังสื อพิมพ์ ค ของเล่นที่ทาํ ด้วยพลาสติก
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  148

 
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 หน่ วยการเรียนรู้ที่4 ข้ อมูลและแหล่ งข้ อมูลรอบตัว
ชื่อ ชั้น_________________เลขที่________________
คําชี้แจง เลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงคําตอบเดียว
1. “ดอกกุหลาบดอกนีม
้ ีสีชมพู” เป็ นข้ อมูล ทีไ่ ด้ จากข้ อใด 6. มานีได้ ยนิ เสี ยงนกแก้ วพูด “สวัสดี” ข้ อใด
ก การอ่าน เป็ นแหล่งข้ อมูล
ข การได้กลิ่น ก มานี
ค การมองเห็น ข นกแก้ว
ค คําพูด “สวัสดี”

2. “เสี ยงเหมียว ๆ อยู่ในห้ อง” เป็ นข้ อมูลที่ได้ 7. สิ่ งใด ไม่ ใช่ อุปกรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ
จากข้ อใด ก วิทยุ
ก การได้ยนิ ข โทรทัศน์
ข การได้กลิ่น ค หนังสื อเรี ยน
ค การมองเห็น  

3. ข้ อใดเป็ นข้ อมูลตัวเลข 8. สิ่ งใดใช้ สําหรับจัดเก็บข้ อมูล


ก นกบินมา 3 ตัว ก วิทยุ
ข บ้านเลขที่ 15/20 ข โทรทัศน์
ค ทะเบียนรถหมายเลข 999 ค คอมพิวเตอร์
   
4. ป้ายเขียนไว้ว่า “ห้ ามเดินลัดสนาม” จัดเป็ นข้ อมูล 9. ข้ อใดไม่ ใช่ ประโยชน์ ของคอมพิวเตอร์
ประเภทใด ก ใช้พิมพ์รายงาน
ก ข้อมูลภาพ ข ใช้เพิ่มแสงสว่าง
ข ข้อมูลตัวเลข ค ใช้เก็บข้อมูลและเล่นเกม
ค ข้อมูลตัวอักษร
 
5. “คุณครู เล่ านิทานสนุก ๆ ให้ นักเรี ยนฟั ง” 10. ใครใช้ ประโยชน์ จากคอมพิวเตอร์ เหมาะสมที่สุด
ข้ อใดเป็ นแหล่งข้ อมูล ก ฝ้ ายใช้คอมพิวเตอร์เล่นเกม
ก คุณครู ข นกใช้คอมพิวเตอร์ฟังเพลง
ข นิทาน ค อ้อนใช้คอมพิวเตอร์พิมพ์รายงาน
ค นักเรี ยน  
 
 
 
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  149

แบบทดสอบหลังเรียน
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 การทํางานเพือ่ ช่ วยเหลือตนเอง
ชื่อ ชั้น______________เลขที_่ _______________________________
คําชี้แจง เลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงคําตอบเดียว

1. การแต่ งกายดังในภาพมีประโยชน์ 5. การปฏิบัตขิ องใครจะช่ วยป้องกันไม่ให้ เสื้อผ้า


ตรงกับข้ อใดมากที่สุด สกปรก
ก ช่วยป้ องกันแสงแดด ก โจชอบเล่นในที่ที่มีน้ าํ ขัง
ข ช่วยให้เกิดความสวยงาม ข จ๋ าชอบใช้ชายเสื้ อเช็ดปาก
ค ช่วยป้ องกันอันตรายเข้าสู่ร่างกาย ค แจงชอบนัง่ เก้าอี้ที่ปัดฝุ่ นแล้ว
   
2. จากภาพข้ อใดคือขั้นตอน 6. การจัดหนังสื อดังในภาพ
ที่ต้องปฏิบัตเิ ป็ นลําดับต่อไป มีจุดประสงค์ อะไร
ก สวมชุดชั้นใน ก เพื่อความสะดวก
ข อาบนํ้าชําระร่ างกาย ข เพื่อความสวยงาม
ค สวมเสื้ อและกางเกงขาสั้น ค เพื่อประหยัดพื้นที่
   
3. หากสภาพอากาศเป็ นดังในภาพ 7. หลังจากเล่นของเล่นในภาพ
ควรแต่งกายตามข้ อใด เสร็จแล้วควรปฏิบัตอิ ย่างไร
ก ข ค ก เก็บไว้บนโต๊ะ
ข เก็บใส่ถุงรวมกันเป็ นชุด
ค เก็บไว้ในกล่องรวมกับของเล่นชิ้นอื่น
 

4. จากภาพถ้ านักเรียนหญิง 8. จากภาพขั้นตอนใดที่ต้อง


ไปสถานที่นี้ ควรแต่ งกาย ปฏิบัตเิ ป็ นลําดับต่ อไป
ตามข้ อใด ก ยกจานไปล้าง
ก สวมเสื้ อเชิ้ตและกางเกงขาสั้น ข ยกจานไปเก็บ
ข สวมเสื้ อคอปิ ดและกระโปรงยาว ค ยกจานไปผึ่งแดด
ค สวมเสื้ อแขนยาวและกระโปรงสั้น  
 
 
 
 
 
 
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  150

 
 
9. การจัดโต๊ ะเขียนหนังสื อสิ่ งใดจําเป็ นน้ อยทีส่ ุ ด 10. จากภาพขั้นตอนใดที่ต้องปฏิบัติ
ก เป็ นลําดับต่ อไป
ก วางรองเท้าไว้ที่เดิม
ข เรี ยกให้แม่ช่วยเก็บรองเท้า
ข ค นํารองเท้าไปวางบนชั้นวางรองเท้า


   
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  151

 
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 หน่ วยการเรียนรู้ที่ 2 พืชใกล้ตวั
ชื่อ ชั้น__________เลขที_่ _______________________________
คําชี้แจง เลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงคําตอบเดียว

1. พืชชนิดใดจัดเป็ นไม้ดอก 6. ข้ อใดเป็ นการใช้ บัวรดนํา้ ที่ไม่ ถูกต้ อง


ก โกสน ก จับหูหิ้วขณะใช้งาน
ข บอนสี ข ใช้บวั รดนํ้าตักนํ้าในโอ่ง
ค ดาวเรื อง ค ยกบัวรดนํ้าให้สูงและเอียงขณะรดนํ้า
   
2. ข้ อใดเป็ นไม้ประดับทั้งหมด 7. ใครใช้ เครื่องมือเกษตรไม่ ถูกต้ อง
ก มะลิ กล้วยไม้ ก ธานียกถังเทนํ้าลงบนต้นไม้
ข แครอต กะหลํ่าดอก ข มีนาใช้มือวักนํ้าจากถังรดบนต้นไม้
ค พลูด่าง กระบองเพชร ค สาลีใช้ขนั ตักนํ้าใส่ลงในบัวรดนํ้าก่อนรดนํ้า
  ต้นไม้
 
3. สิ่ งใดเป็ นเครื่องมือเกษตร 8. ข้ อใดเป็ นขั้นตอนแรกของการรดนํา้ ต้ นไม้
ก ส้อม ก ล้างมือให้สะอาด
ข กรรไกร ข ตรวจดูสภาพเครื่ องมือ
ค ช้อนปลูก ค ล้างเครื่ องมือให้สะอาด
   
4. เครื่องมือใดใช้ ประโยชน์ เหมือนกัน 9. สิ่ งใดควรกําจัดโดยวิธีการถอนทิง้
ก ถังนํ้ากับสายยาง ก ตะไคร่ ในอ่างบัว
ข ช้อนปลูกกับบัวรดนํ้า  ข ต้นเข็มในกระถางปลูก
ค ช้อนปลูกกับส้อมพรวน ค ต้นหญ้าในกระถางเฟื่ องฟ้ า
   
5. เครื่องมือใดใช้ ดูแลรักษาดิน 10. ข้ อใดเป็ นขั้นตอนสุ ดท้ ายของการถอน
ก สายยาง และเก็บวัชพืช
ข บัวรดนํ้า ก ถอนและเก็บวัชพืชไปทิ้ง
ค ส้อมพรวน ข สํารวจกระถางปลูกพืชทุกวัน
ค ล้างมือให้สะอาดและเช็ดให้แห้ง
 
 
 
 
 
 
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  152

 
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 ช่ างประดิษฐ์ น้อย
ชื่อ ชั้น __________เลขที_่ _______________________________
คําชี้แจง เลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงคําตอบเดียว
 
1. อุปกรณ์ ใดไม่ ใช้ ในการร่ างแบบ 6. การพับหน้ ากากควรใช้ อุปกรณ์ ใดเจาะช่ องลูกตา
ก ดินสอ ก ดินสอ
ข กรรไกร ข นิ้วมือ
ค ไม้บรรทัด  ค กรรไกร
 
2. อุปกรณ์ ใดใช้ ประโยชน์ เหมือนกัน 7. ข้ อใดไม่ ใช่ ประโยชน์ ของการบํารุงรักษาของเล่น
ก กาวกับสี เทียน ก ทําให้ของเล่นดูใหม่
ข ดินสอกับดินสอสี ข ทําให้เล่นได้ปลอดภัย
ค กรรไกรกับคัตเตอร์ ค ทําให้มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น
 
3. อุปกรณ์ ใดใช้ เชื่อมกระดาษให้ ตดิ กัน 8. ของเล่นชนิดใดไม่ ควรเปี ยกนํา้
ก กาว ก ของเล่นที่ทาํ ด้วยไม้
ข ยางลบ ข ของเล่นที่มีแบตเตอรี่
ค สี เมจิก  ค ของเล่นที่ทาํ ด้วยพลาสติก
 
4. ใครใช้ กรรไกรได้ อย่ างปลอดภัย 9. ของเล่นจากการพับกระดาษมีข้อจํากัดในเรื่องใด
ก บีแกว่งกรรไกรก่อนใช้ ก ทําให้สะอาด
ข เอเก็บกรรไกรไว้ในซอง ข ทําให้สวยงาม
ค ซี โยนกรรไกรให้เพื่อน  ค ทําให้เปี ยกนํ้า 
 
5. กระดาษชนิดใดใช้ พบั ของเล่นได้ สวยงาม 10. ใครดูแลรักษาของเล่นได้ ถูกต้ อง
ก กระดาษสี ก นิดโยนของเล่นใส่ในตู้
ข กระดาษสมุด ข หนึ่งเก็บของเล่นใส่กล่อง
ค กระดาษหนังสื อพิมพ์ ค น้อยเก็บของเล่นใส่กระเป๋ ากางเกง
   
 
 
 
 
 
 
 
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  153

 
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 หน่ วยการเรียนรู้ที่ 4 ข้ อมูลและแหล่งข้ อมูลรอบตัว
ชื่อ ชั้น ______เลขที_่ _____________________
คําชี้แจง เลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงคําตอบเดียว
1. “เสื อ้ ตัวนีส้ วยมาก” เป็ นข้ อมูลที่ได้ จากข้ อใด 6. ดาราได้ ยนิ เสี ยงสุ นัขเห่ า “โฮ่ ง ๆ ” ข้ อใด
ก การสัมผัส เป็ นแหล่ งข้ อมูล
ข การได้กลิ่น ก ดารา
ค การมองเห็น ข สุ นขั
  ค โฮ่ง ๆ
 
2. “ไก่ ขนั เสี ยงดัง” เป็ นข้ อมูลที่ได้ จากข้ อใด 7. สิ่ งใดจัดอุปกรณ์ เทคโนโลยี
ก การได้ยนิ ก ดินสอ
ข การได้กลิ่น ข บัวรดนํ้า
ค การมองเห็น ค โทรทัศน์
 
3. ข้ อใดไม่ ใช่ ข้อมูลตัวเลข 8. รูปแบบของภาพเคลือ่ นไหวและเสี ยงที่ชัดเจน
ก โจอยูบ่ า้ นเลขที่ 75 จากสิ่ งใด
ข โนสอบได้ 75 คะแนน ก โทรศัพท์
ค โอซื้อเสื้ อราคา 75 บาท ข โทรทัศน์
  ค กล้องดิจิทลั
 
4. ข้ อใดไม่ ใช่ ข้อมูลตัวอักษร 9. อุปกรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศใดให้ ข้อมูล ในรูปแบบ
ก ป้ ายเขียนว่า “หยุด” ของเสี ยงอย่ างเดียว
ข ราคาอาหารรวม 109 บาท  ก วิทยุ
ค หมายเลขโทรศัพท์สายด่วน 191 ข โทรศัพท์
  ค โทรทัศน์
 
5. “เสี ยงเพลงดังมาจากวิทยุ”ข้ อใดเป็ นแหล่งข้ อมูล 10. คอมพิวเตอร์ มปี ระโยชน์ สําหรับนักเรียนในข้ อใด
ก วิทยุ มากที่สุด
ข นักร้อง ก ดูหนัง
ค เนื้อเพลง ข ฟังเพลง
  ค พิมพ์รายงาน
 
 
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  154

แบบทดสอบกลางปี
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
ชื่อ ชั้น__________________เลขที_่ _____________________
ตอนที่ 1 คําชี้แจง เลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงคําตอบเดียว  
1. งานใดที่นักเรียนควรทําด้ วยตนเอง 6. เพราะเหตุใดจึงต้ องดูแลรักษาเสื้อผ้า
ก ใส่เสื้ อ ก เพื่อให้ทนั สมัย
ข อาบนํ้า ข เพื่อให้สะอาด
ค ถูกทุกข้อ ค เพื่อให้สีสนั สดใส
   
2. นักเรียนควรเลือกเสื้อผ้าข้ อใดใส่ อยู่บ้าน 7. การปฏิบัตขิ องใครจะช่ วยป้องกันไม่ให้ เสื้อผ้า
ก เสื้ อยืด กางเกงขาสั้น สกปรก
ข เสื้ อนักเรี ยน กางเกงขาสั้น ก หนึ่งเดินตากฝน
ค เสื้ อแขนยาว กางเกงขายาว ข สองใช้ผา้ เช็ดหน้าเช็ดปาก
  ค สามนัง่ บนเก้าอี้ที่มีฝนเกาะ
ุ่
 
3. แต่ งกายไปวัดควรแต่ งกายอย่างไรจึงจะเหมาะสม 8. เสื้อผ้าที่สวมใส่ แล้วควรทําอย่ างไร
ข นุ่งกางเกงขาสั้น ใส่ เสื้ อแขนยาว ก ผึ่งแดด
ก นุ่งกระโปรงยาว ใส่เสื้ อมีแขน ข ใส่ไว้ในตะกร้า
ค นุ่งกระโปรงสั้น ใส่ เสื้ อไม่มีแขน ค เก็บใส่ตูเ้ สื้ อผ้า
   
4. เพราะเหตุใดจึงควรสวมใส่ เสื้อแขนยาวในวัน 9. ข้ อใดเป็ นขั้นตอนแรกของการจัดเก็บภาชนะใส่
ที่มอี ากาศหนาวเย็น อาหาร
ก ช่วยให้ร่างกายอบอุ่น ก รวบรวมภาชนะใส่อาหาร
ข ช่วยให้ร่างกายสะอาด ข ใช้ชอ้ นกวาดเศษอาหารทิ้ง
ค ช่วยให้ร่างกายสวยงาม  ค ยกภาชนะใส่อาหารไปล้างเอง
   
5. สิ่ งใดควรนํามาใช้ ในฤดูฝน 10. อุปกรณ์ ใดช่ วยป้ องกันไม่ ให้ หนังสื อล้ม
ก ผ้าพันคอ ก ไม้อดั
ข ร่ ม ข ที่ก้ นั หนังสื อ
ค ร้องเท้าผ้าใบ ค แผ่นเหล็กบาง
   
 
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  155

 
11. อุปกรณ์ การเรียนใดมีวธิ ีจัดเก็บต่ างจากพวก 16. ใครตั้งชั้นวางรองเท้ าได้ เหมาะสม
ก ดินสอ ก เอตั้งไว้ดา้ นหลังบ้าน
ข หนังสื อ ข ซีต้ งั ไว้ดา้ นในของห้องรับแขก
ค ยางลบ ค บีต้ งั ไว้ใกล้ประตูทางเข้า–ออก
   
12. การจัดเก็บของเล่นข้ อใดทําถูกวิธี 17. ข้ อใดเป็ นไม้ดอกทั้งหมด
ก วางไว้บนที่สูง ก มะระและมะนาว
ข เก็บรวมกันในถุงพลาสติก ข กุหลาบและบานชื่น
ค เก็บใส่กล่องแยกตามประเภท ค เฟื่ องฟ้ าและบอนสี
   
13. เพราะเหตุใดจึงต้ องจัดเก็บโต๊ ะ ตู้ และชั้น 18. ถ้ าต้ องการปลูกพืชไว้ รับประทานควรเลือก
ก เพื่อป้ องกันฝุ่ นละออง ปลูกพืชชนิดใด
ข เพื่อให้เกิดความสวยงาม ก ผักกาด
ค เพื่อความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย ข คะน้า
  ค กระบองเพชร
 
14. ใครจัดโต๊ ะเขียนหนังสื อไม่ ถกู ต้ อง 19. ข้ อใดคือประโยชน์ ของเครื่องมือเกษตร
ก แก้ววางของเล่นไว้บนโต๊ะ ก ช่วยผ่อนแรง
ข แหวนตั้งถังขยะไว้ขา้ ง ๆ โต๊ะ ข ช่วยดูแลรักษาพืช
ค ป่ านหามุมห้องที่มีแสงสว่างตั้งโต๊ะ ค ช่วยป้ องกันวัชพืช 
 
15. ก่ อนวางรองเท้ าบนชั้นควรทําสิ่ งใดเป็ น 20. เครื่องมือใดใช้ ประโยชน์ ต่างจากพวก
อันดับแรก ก บัวรดนํ้า
ก ล้างนํ้าให้สะอาด ข ช้อนปลูก
ข เคาะเศษดินออก ค ส้อมพรวน
ค เช็ดด้วยผ้าขนหนู  
 
 
 
 
 
 
 
 
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  156

 
21. การรดนํา้ ต้ นไม้ที่มจี ํานวนมากควรใช้ เครื่องมือ 26. การรดนํา้ ต้ นไม้แต่ ละครั้งควรรดอย่างไร
ใด ก รดให้แฉะ
ก ถังนํ้า ข รดให้ชุ่ม
ข สายยาง ค รดเพียงเล็กน้อย
ค บัวรดนํ้า  
22. ข้ อใดเป็ นสาเหตุที่ทําให้ นํา้ ในบัวรดนํา้ ไม่ ไหล 27. ข้ อใดจัดเป็ นวัชพืชในกระถางต้นไม้
ก มีเศษผงอุดที่รูฝักบัว ก เศษไม้
ข ยกฝักบัวตั้งตรงเกินไป ข ใบไม้
ค ตักนํ้าใส่บวั รดนํ้ามากเกินไป ค ต้นหญ้า  

23. ข้ อใดเป็ นการรดนํา้ ต้นไม้ ด้วยถังนํา้ ที่ถูกวิธี 28. ถ้ าพบหญ้ าขึน้ ในกระถางปลูกพืช
ก ใช้ถงั นํ้าตักนํ้าจากโอ่ง ควรทําอย่ างไร
ข ยกถังนํ้าเทลงบนต้นไม้ ก ไปบอกภารโรง
ค ใช้ขนั ตักนํ้าจากถังแล้วรดนํ้า   ข ถอนและเก็บไปทิ้ง
  ค รดนํ้าพืชในแปลงปลูก

24. ข้ อใดเป็ นขั้นตอนแรกของการทําความสะอาด 29. วิธีการใดช่ วยป้ องกันไม่ ให้ วชั พืชขึน้ ในกระถาง
ช้ อนปลูก ต้ นไม้
ก เช็ดด้วยผ้าแห้ง ก ตั้งกระถางไว้ภายในบ้าน
ข ล้างด้วยนํ้าสะอาด ข สํารวจกระถางเป็ นระยะ ๆ
ค ขูดดินออกให้หมด ค ยกกระถางไปวางไว้ในที่ร่ม
   
25. ข้ อใดเป็ นขั้นตอนสุ ดท้ ายของการจัดเก็บสายยาง 30. เราควรทําอย่ างไรกับวัชพืชที่ถอนมาแล้ว
ก วางไว้เฉย ๆ ก นําไปเพาะกล้า
ข ให้ผปู ้ กครองเก็บให้ ข นําไปประกอบอาหาร
ค ม้วนสายยางเก็บเข้าที่ ค นําไปใส่ถงั ขยะ
   
 
 
 
 
 
 
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  157

 
ตอนที่ 2 ตอบคําถามต่อไปนี้

1. การแต่ งกายด้ วยตนเองมีข้ันตอนอะไรบ้ าง


1. อาบนํ้าให้สะอาด
2. เช็ดตัวให้แห้งและทาแป้ ง
3. สวมชุดชั้นในและใส่เสื้ อผ้า
4. ตรวจดูความให้เรี ยบร้อย
5. สวมรองเท้าให้เรี ยบร้อย

2. การจัดเก็บหนังสื อเรียนมีวิธีการอย่ างไร


1. จัดหาที่เก็บหนังสื อ
2. แยกประเภทของหนังสื อ
3. จัดหนังสื อตามลักษณะของอุปกรณ์ที่ใช้จดั เก็บ โดยเรี ยงตามขนาดจากเล่มเล็กไปเล่มใหญ่และหันสันปก  
ออก ด้านนอก และควรมีที่คนั่ หนังสื อไว้สาํ หรับวางคัน่ เป็ นระยะ

3. วิธีการป้องกันไม่ ให้ วชั พืชขึน้ ในกระถางหรือแปลงปลูกพืช ควรปฏิบัตอิ ย่ างไร


1. สํารวจกระถางหรื อแปลงปลูกพืชอย่างสมํ่าเสมอ
2. ถ้าพบวัชพืชในกระถางเหนือแปลงปลูกให้รีบถอนออกให้หมดและเก็บไปทิ้ง
3. เมื่อถอนวัชพืชเสร็ จแล้วควรล้างมือให้สะอาด

คะแนน
สรุปการประเมินผล
เต็ม ได้

ตอนที่ 1

ตอนที่ 2

รวม

ลงชื่อ ผู้ประเมิน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  158

แบบทดสอบปลายปี
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
ชื่อ ชั้น___________________ เลขที_่ _____________________
ตอนที่ 1 เลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงคําตอบเดียว
1. ใครแต่ งกายไม่ เหมาะสมกับฤดูร้อน 6. เสื้อผ้าที่สวมใส่ แล้วควรทําอย่างไร
ก มดใส่เสื้ อขนสัตว์ตวั ใหญ่ ก ผึ่งแดด
ข ปิ่ นใส่เสื้ อที่มีเนื้อผ้าบางเบา ข ใส่ไว้ในตะกร้า
ค ผึ้งใส่เสื้ อยืดแขนสั้นกับกางเกงขาสั้น ค เก็บไว้ในตูเ้ สื้ อผ้า
 
2. ผ้าพันคอควรนํามาใช้ ในฤดูใด 7. ข้ อใดคือประโยชน์ ของการจัดเก็บสิ่ งของ
ก ฤดูฝน ก ทําให้เป็ นระเบียบ
ข ฤดูร้อน ข หาสิ่ งของได้ง่าย
ค ฤดูหนาว ค ถูกทุกข้อ
   
3. ชุ ดนักเรียนไม่ เหมาะที่จะสวมใส่ ไปสถานที่ใด 8. สิ่ งของเมือ่ ใช้ แล้วควรทําอย่ างไร
ก วัด ก เก็บเข้าที่
ข ทะเล ข เก็บไว้บนเก้าอี้
ค โรงเรี ยน ค เก็บไว้หลังโทรทัศน์
   
4. ข้ อใดเป็ นการแต่งกายด้ วยตนเอง 9. อุปกรณ์ การเรียนใดมีวธิ ีการเก็บต่ างจากพวก
ก ให้พี่หวีผมให้ ก ดินสอ
ข รี บสวมเสื้ อเอง ข หนังสื อ
ค ให้แม่อาบนํ้าให้ ค ยางลบ
   
5. เพราะเหตุใดจึงต้ องดูแลรักษาเสื้อผ้า 10. เมือ่ รับประทานอาหารเสร็จแล้ วควรทํา
ก เพื่อให้สะอาด อย่ างไร
ข เพื่อให้ทนั สมัย ก เก็บภาชนะ
ค เพื่อให้สีสนั สดใส ข รี บไปดูการ์ตูน
  ค ล้างมือให้สะอาด
 
 
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  159

 
 
11. เด็กที่มรี ูปร่ างผอมสู งควรแต่ งกายอย่ างไร 16. พืชที่นําใบหรือดอกมารับประทานเรียกว่ าอะไร
ก เสื้ อสี อ่อน ก ไม้ดอก
ข เสื้ อสี เข้ม ๆ ข ไม้ประดับ
ค เสื้ อที่มีลายเส้นขวางสี อ่อน ค ผักสวนครัว
   
12. นักเรียนควรใส่ เสื้อผ้าชนิดใดไปออกกําลังกาย 17. พืชชนิดใดเป็ นไม้ ผล
ก เสื้ อเชิ้ต ก มะลิ
ข เสื้ อคอกระเช้า ข มะระ
ค เสื้ อยืดคอกลม ค มะปราง
   
13. สิ่ งใดควรนํามาใช้ ในฤดูฝน 18. อุปกรณ์ ใดทําให้ ดินร่ วนซุ ย
ก ร่ ม ก บัวรดนํ้า
ข หมวก ข ช้อนปลูก
ค ผ้าพันคอ ค ส้อมพรวน
   
14. ข้ อใดเป็ นวัตถุประสงค์ สําคัญที่สุด ของการจัดเก็บ  19. ถ้ าไม่ รดนํา้ ต้ นไม้จะเกิดอะไรขึน้
โต๊ ะ ตู้ และชั้น ก ออกดอกเร็ ว
ก เพื่อความทันสมัย ข เจริ ญเติบโตช้า
ข เพื่อความสวยงาม ค ให้ผลที่หวานและหอม
ค เพื่อความเป็ นระเบียบ  
 
15. ขั้นตอนใดของการจัดเก็บภาชนะใส่ อาหารที่ควรให้ 20. การรดนํา้ ต้ นไม้แต่ ละครั้งควรรดอย่างไร
ผู้ปกครองเป็ นคนทํา ก รดให้ชุ่ม
ก รวบรวมภาชนะที่จะล้าง ข รดให้แฉะ
ข ยกภาชนะใส่อาหารไปล้าง ค รดเพียงเล็กน้อย
ค ใช้ชอ้ นกวาดเศษอาหารลงในถุงขยะ  
 
 
 
 
 
 
 
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  160

 
21. ควรใช้ อุปกรณ์ ใดรดนํา้ ต้ นไม้ ในแปลงเพาะกล้ า 26. ข้ อใดต่ อไปนีเ้ ป็ นไม้ ดอก
ที่มปี ริมาณน้ อย ก ส้ม
ก ถังนํ้า ข มะลิ
ข สายยาง ค มะเขือเทศ
ค บัวรดนํ้า  
 
22. ต้ นไม้ ที่แข็งแรงและปลูกไว้ จํานวนมาก 27. ไม้ดอกใช้ ประโยชน์ ด้านใดมากที่สุด
ควรใช้ อุปกรณ์ ใดรดนํา้ ก ใช้ประดับตกแต่ง
ก ถังนํ้า ข ใช้ในการค้าขาย
ข สายยาง ค ใช้เป็ นอาหาร 
ค บัวรดนํ้า

23. เครื่องมือที่ใช้ แล้วควรทําอย่างไร 28. การรดนํา้ ไม้ดอกในภาชนะควรใช้ เครื่องมือใด


ก เก็บเข้าที่ ก ถังนํ้า
ข วางไว้ที่เดิม ข สายยาง
ค ให้คนอื่นเก็บให้ ค บัวรดนํ้า
   
24. พืชชนิดอืน่ ที่ขนึ้ ในกระถางปลูกดอกบานชื่น 29. ข้ อใดไม่ ใช่ วธิ ีการป้องกันและกําจัดวัชพืช
เรียกว่ าอะไร ก สํารวจกระถางหรื อแปลงปลูก
ก วัชพืช ข ใช้กรรไกรตัดกิ่งตัด
ข ไม้ดอก ค ถอนและกําจัดวัชพืชทันที 
ค ต้นหญ้า
 
25. ถ้ าพบหญ้ าขึน้ ในแปลงปลูกผักควรทํา 30. พืชชนิดใดนํามารับประทานได้
อย่ างไร ก ไม้ผล
ก ถอน ข ไม้ดอก
ข รดนํ้า ค ไม้ประดับ
ค พรวนดิน  
 
 
 
 
 
 
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  161

 
31. ดินสอเป็ นเครื่องมือที่ใช้ ทําอะไร 37. ใครรู้จักบํารุงรักษาของเล่น
ก ปั้น ก นุชนําของเล่นไปแช่น้ าํ
ข ระบายสี ข นกอมของเล่นไว้ในปาก
ค ร่ างแบบ ค น้อยล้างของเล่นที่เปื้ อนโคลน
   
32. ถ้ าต้ องการกรีดกระดาษควรใช้ เครื่องมือใด 38. การนํากระดาษมาพับเป็ นของเล่นมีข้อดี
ก กรรไกร อย่ างไร
ข คัตเตอร์ ก ประหยัดเงิน
ค ไม้บรรทัด ข ได้ของเล่นที่คงทน
  ค ได้ของเล่นที่สวยงาม
 

33. เมือ่ ใช้ เครื่องมือเสร็จแล้วควรทําอย่ างไร 39. กระดาษที่จะนํามาพับเป็ นของเล่ นควรมี


ก ให้เพื่อนเก็บ ลักษณะอย่ างไร
ข วางไว้ตรงที่ทาํ งาน ก อ่อนพับง่าย
ค เก็บเข้ากล่องเครื่ องมือ ข แข็งสวยงาม
  ค คงทนมีหลายสี
 
34. ถ้ าต้ องการทําให้ กระดาษติดกันควรทํา 40. การพับหน้ ากากเราใช้ วสั ดุใดทําห่ วงคล้องหู
อย่ างไร ก ด้าย
ก ใช้กาวติด ข ยางรัด
ข ใช้ดา้ ยร้อย ค กระดาษ
ค ใช้ไม้บรรทัดวัด  
35. ข้ อใดไม่ ควรปฏิบัตใิ นขณะใช้ เครื่องมือที่ 41. ข้ อใดไม่ ใช่ เครื่องมือที่ใช้ พบั กระดาษ
แหลมคม ก ไขควง
ก เลือกใช้ให้เหมาะสม ข กรรไกร
ข พูดคุยกับเพื่อนตลอดเวลา ค ไม้บรรทัด
ค ใช้เครื่ องมืออย่างระมัดระวัง  

36. การเช็ดของเล่ นที่มฝี ุ่ นเป็ นการทําเพือ่ อะไร 42. อุปกรณ์ ใดเหมาะที่จะตัดขวดพลาสติก


ก ซ่อมแซม ก มีด
ข ทําความสะอาด ข กรรไกร
ค เตรี ยมการประดิษฐ์ ค คัตเตอร์
 
 
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  162

 
 
43. เมือ่ ใช้ เครื่องมือเสร็จแล้วควรทําอย่ างไร 49. ป้ายเขียนไว้ว่า “ห้ ามทิง้ ขยะ” เป็ นข้ อมูลที่
ก ให้เพื่อนเก็บ ได้ จากข้ อใด
ข วางไว้ตรงที่ทาํ งาน ก การอ่าน
ค เก็บเข้ากล่องเครื่ องมือ ข การสัมผัส
  ค การได้กลิ่น

44. ข้ อใดไม่ ควรปฏิบัตใิ นขณะใช้ เครื่องมือที่แหลมคม 50. ข้ อใดไม่ ใช่ ข้อมูลตัวเลข


ก เลือกใช้ให้เหมาะสม ก มีไก่ 5 ตัว
ข พูดคุยกับเพื่อนตลอดเวลา ข โทร. 1188
ค ใช้เครื่ องมืออย่างระมัดระวัง ค วันนี้แม่ให้เงิน ๒๐ บาท
 
45.การพับหน้ ากากเราใช้ วสั ดุใดทําห่ วงคล้องหู 51. ชื่อเล่นของนักเรียนจัดเป็ นข้ อมูลใด
ก ด้าย ก ข้อมูลภาพ
ข ยางรัด ข ข้อมูลเสี ยง
ค กระดาษ ค ข้อมูลตัวอักษร

46. ของเล่นที่ทาํ จากกระดาษควรบํารุงรักษาอย่ างไร 52. “นิดนําภาพไปเที่ยวสวนสัตว์ มาให้ แอนดู”


ก นําไปแช่ในนํ้า แอนได้ รับข้ อมูลประเภทใด
ข เก็บใส่กระเป๋ ากางเกง ก ข้อมูลภาพ
ค เก็บใส่กล่องให้เรี ยบร้อย ข ข้อมูลเสี ยง
  ค ข้อมูลตัวอักษร
 
47. “เค้ กอร่ อย” เป็ นข้ อมูลที่ได้ จากข้ อใด 53. “แม่ เล่ านิทานให้ แก้ วฟั ง” แก้ วได้ รับข้ อมูล
ก การรับรู ้รส ประเภทใด
ข การได้กลิ่น ก ข้อมูลภาพ
ค การมองเห็น ข ข้อมูลเสี ยง
  ค ข้อมูลตัวอักษร
 
48. ป้ายเขียนไว้ว่า “ห้ ามทิง้ ขยะ” เป็ นข้ อมูลที่ 54. “บีมดูการ์ ตูนในโทรทัศน์ ที่บ้าน” ข้ อใดเป็ น
ได้ จากข้ อใด แหล่ งข้ อมูล
ก การอ่าน ก บีม
ข การสัมผัส ข บ้าน
ค การได้กลิ่น ค โทรทัศน์
 
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  163

 
 
55. “เสี ยงแมวร้ องบนหลังคาบ้ าน” ข้ อใดเป็ น 58. อุปกรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศใน ใช้ ในการ 
แหล่งข้ อมูล บันทึกภาพ
ก บ้าน ก วิทยุ
ข แมว ข โทรทัศน์
ค หลังคาบ้าน ค กล้องดิจิทลั
   
56. “พ่ อบอกว่ าจะพาไปกินไอศกรี มที่ร้าน” 59. ประโยชน์ ของการได้ รับข้ อมูลคือข้ อใด
ข้ อใดเป็ นแหล่งข้ อมูล ก ได้ขอ้ มูลที่เราต้องการ
ก พ่อ ข รับรู ้เหตุการณ์ต่าง ๆ ได้
ข ต้อม ค ได้ขอ้ มูลที่ถูกต้องทุกอย่าง
ค ร้านใกล้ตลาด

57. แหล่งข้ อมูลใดที่นักเรียนควรใช้ ค้นหาข้ อมูล 60. ข้ อใดเป็ นอุปกรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ใช้
ด้ านความรู้ มากที่สุด ค้ นข้ อมูลและพิมพ์รายงาน
ก วิทยุ ก โทรศัพท์
ข โทรทัศน์ ข โทรทัศน์
ค ห้องสมุด ค คอมพิวเตอร์

 
ตอนที่ 2 ตอบคําถามต่อไปนี้
1. การแต่งกายด้วยตนเองมีข้ นั ตอนอะไรบ้าง
1. อาบนํา้ ให้ สะอาด
2. เช็ดตัวให้ แห้ งและทาแป้ ง
3. สวมชุดชั้นในและใส่ เสื ้อผ้ า
4. ตรวจดูความให้ เรี ยบร้ อย
5. สวมรองเท้ าให้ เรี ยบร้ อย

2. การกําจัดวัชพืชมีข้ นั ตอนอะไรบ้าง
1. สํารวจกระถางปลูกต้ นไม้
2. ถอนวัชพืชออกให้ หมด
3. นําไปทิ ง้ ถังขยะ
4. ล้ างมือให้ สะอาด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1  164

 
3. การใช้กรรไกรให้ปลอดภัยมีวิธีการอย่างไร
1. ไม่ นาํ กรรไกรใส่ กระเป๋ าเสื ้อหรื อกระเป๋ ากางเกง
2. ไม่ นาํ กรรไกรมาโยนเล่ น
3. ไม่ หยอกล้ อเล่ นกันในขณะใช้ กรรไกร
4. หลังจากใช้ กรรไกรเสร็ จควรเก็บใส่ ซองให้ เรี ยบร้ อย
4. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง อุปกรณ์ ที่สามารถบันทึกหรื อเผยแพร่ ความรู้ หรื อความบันเทิง
อย่ างรวดเร็ วและกว้ างขวาง
5. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศมีประโยชน์อย่างไร ทําให้ ได้ รับข้ อมูลและ ข่ าวสารที่มีประโยชน์ และสะดวก
รวดเร็ ว

คะแนน
สรุปการประเมินผล
เต็ม ได้

ตอนที่ 1

ตอนที่ 2

รวม

ลงชื่อ ผู้ประเมิน

 
 
 
 
 
 
 
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 165

7. แบบบันทึกผลการเรียนรู้

แบบบันทึกผลการสํ ารวจ
เรื่องที่สํารวจ______________________________ วันที่สํารวจ__________________________
ชื่อผู้สํารวจ ชั้น เลขที_่ ____________

รายการ แหล่งที่พบ การนําไปใช้ ประโยชน์


คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 166

แบบประเมินผลงาน
แบบประเมินคุณภาพของชิ้นงาน

รายการประเมิน
ระดับ
การ ความ ความ ความคิด คะแนน
ที่ ชื่อ-นามสกุล คุณภาพ
ออกแบบ สวยงาม ประณีต สร้ างสรรค์
5 5 5 5 20

4 = ดีมาก 3 = ดี 2 = พอใช้ 1 = ควรปรับปรุ ง


เกณฑ์ การประเมินและระดับคุณภาพ
18–20 หมายถึง ดีมาก
15–17 หมายถึง ดี
9–14 หมายถึง พอใช้
1–8 หมายถึง ควรปรับปรุ ง
จํานวนนักเรี ยนที่ผา่ นระดับคุณภาพ_________ คน
จํานวนนักเรี ยนที่ไม่ผา่ นระดับคุณภาพ_______ คน

ลงชื่อ ผู้ประเมิน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 167

8. เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่ านิยม

การประเมินผลด้ านคุณธรรม จริยธรรม และค่ านิยม


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 การทํางานเพือ่ ช่ วยเหลือตนเอง
สําหรั บนักเรี ยนประเมินตนเอง
คําชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนเครื่ องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับความเป็ นจริ ง
คะแนน
รายการประเมิน พฤติกรรมการแสดงออก
3 2 1
1. เจตคติทดี่ ตี ่อการ 1. เต็มใจแต่งกายและสนใจดูแลรักษาเสื้ อผ้าด้วยตนเอง
ทํางานเพือ่ ช่ วยเหลือ 2. ตั้งใจจัดเก็บของเล่นและสิ่ งของเครื่ องใช้ดว้ ยตนเอง
ตนเอง 3. เห็นประโยชน์ของการทํางานเพือ่ ช่วยเหลือตนเอง
4. มีความสุ ขกับการทํางานที่เป็ นการช่วยเหลือตนเอง
2. ความกระตือรือร้ น 1. ลงมือทํางานทันทีที่ได้รับมอบหมาย
2. เอาใจใส่ ในการทํางานอยูต่ ลอดเวลา
3. ชอบทํางานที่เป็ นงานใหม่อยูเ่ สมอ
3. ความตรงต่อเวลา 1. ทํางานด้วยตนเองเสร็จตามเวลาที่กาํ หนด
2. ส่ งงานตรงเวลา
คะแนนที่ได้
คะแนนรวม
ระดับคุณภาพเฉลีย่

เกณฑ์การตัดสิน คุณภาพ
ช่ วงคะแนนเฉลี่ ย 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66 หมายเหตุ การหาระดับคุณภาพเฉลี่ยหาได้จากการนํา
ระดับคุณภาพ 3 2 1 คะแนนที่ได้ในแต่ละช่วงมารวมกันแล้วหารด้วย
จํานวนข้อ จากนั้นนําระดับคุณภาพเฉลี่ยมาเทียบกับ
ดีมาก, ดี พอใช้ ควรปรับปรุ ง
เกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพและสรุ ปผลการประเมิน

สรุประดับคุณภาพด้ านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม (เขียนเครื่ องหมาย  ลงในช่อง )


ดีมาก, ดี พอใช้ ควรปรับปรุ ง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 168

การประเมินผลด้ านคุณธรรม จริยธรรม และค่ านิยม


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 พืชใกล้ ตวั
สําหรั บนักเรี ยนประเมินตนเอง
คําชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนเครื่ องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับความเป็ นจริ ง
คะแนน
รายการประเมิน พฤติกรรมการแสดงออก
3 2 1
1. เจตคติทดี่ ตี ่อการ 1. มีความสนใจและตั้งใจที่จะรดนํ้าต้นไม้
ทํางานเพือ่ ช่ วยเหลือ 2. เห็นประโยชน์ในการถอนและเก็บวัชพืช
ตนเอง 3. รดนํ้าต้นไม้ ถอน และเก็บวัชพืชอย่างมีความสุข
2. ความกระตือรือร้ น 1. ควรทํางานทันทีที่ได้รับมอบหมาย
2. เอาใจใส่ ในการทํางานอยูต่ ลอดเวลา
3. ชอบทํางานที่เป็ นงานใหม่อยูเ่ สมอ
3. ความตรงต่อเวลา 1. ทํางานด้วยตนเองเสร็จตามเวลาที่กาํ หนด
2. ส่ งงานตรงเวลา
คะแนนรวม
ระดับคุณภาพเฉลีย่
ระดับคุณภาพเฉลีย่

เกณฑ์การตัดสิน คุณภาพ
ช่ วงคะแนนเฉลี่ ย 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66 หมายเหตุ การหาระดับคุณภาพเฉลี่ยหาได้จากการ
ระดับคุณภาพ 3 2 1 นําคะแนนที่ได้ในแต่ละช่วงมารวมกันแล้วหารด้วย
ดีมาก, ดี พอใช้ ควรปรับปรุ ง จํานวนข้อ จากนั้นนําระดับคุณภาพเฉลี่ยมาเทียบกับ
เกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพและสรุ ปผลการประเมิน

สรุประดับคุณภาพด้ านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม (เขียนเครื่ องหมาย  ลงในช่อง )


ดีมาก, ดี พอใช้ ควรปรับปรุ ง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 169

การประเมินผลด้ านคุณธรรม จริยธรรม และค่ านิยม


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 ช่ างประดิษฐ์ น้อย

สําหรั บนักเรี ยนประเมินตนเอง


คํา ชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนเครื่ องหมาย  ลงในช่องว่างที่ตรงกับความเป็ นจริ ง
คะแนน
รายการประเมิน พฤติกรรมการแสดงออก
3 2 1
1. เจตคติที่ดีต่อการทํางาน 1. มีความกระตือรื อร้นที่จะพับกระดาษเป็ นของเล่น
เพื่อช่วยเหลือตนเอง 2. เห็นประโยชน์ในการพับกระดาษเพื่อทําของเล่น
3. พับกระดาษเป็ นของเล่นอย่างมีความสุข
2. ความกระตือรื อร้น 1. ควรทํางานทันทีที่ได้รับมอบหมาย
2. เอาใจใส่ ในการทํางานอยูต่ ลอดเวลา
3. ชอบทํางานที่เป็ นงานใหม่อยูเ่ สมอ
3. ความตรงต่อเวลา 1. ทํางานด้วยตนเองเสร็จตามเวลาที่กาํ หนด
2. ส่ งงานตรงเวลา
คะแนนที่ได้
คะแนนรวม
ระดับคุณภาพเฉลีย่

เกณฑ์การตัดสิน คุณภาพ
ช่ วงคะแนนเฉลี่ ย 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66 หมายเหตุ การหาระดับคุณภาพเฉลี่ยหาได้จากการ
ระดับคุณภาพ 3 2 1 นําคะแนนที่ได้ในแต่ละช่วงมารวมกันแล้วหารด้วย
ดีมาก, ดี พอใช้ ควรปรับปรุ ง จํานวนข้อ จากนั้นนําระดับคุณภาพเฉลี่ยมาเทียบกับ
เกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพและสรุ ปผลการประเมิน

สรุประดับคุณภาพด้ านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม (เขียนเครื่ องหมาย  ลงในช่อง )


ดีมาก, ดี พอใช้ ควรปรับปรุ ง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 170

การประเมินผลด้ านคุณธรรม จริยธรรม และค่ านิยม


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 ข้ อมูลและแหล่ งข้ อมูลรอบตัว

สําหรั บนักเรี ยนประเมินตนเอง


คํา ชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนเครื่ องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับความเป็ นจริ ง
คะแนน
รายการประเมิน พฤติกรรมการแสดงออก
3 2 1
1. เจตคติที่ดีต่อการ 1. มีความสนใจที่จะนําข้อมูลไปใช้ในชีวิตประจําวัน
ทํางานเพื่อช่วยเหลือ 2. เห็นประโยชน์ของการค้นหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูล
ตนเอง 3. มีความสุ ขกับการใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศค้นหาข้อมูล
2. ความกระตือรื อร้น 1. ควรทํางานทันทีที่ได้รับมอบหมาย
2. เอาใจใส่ในการทํางานอยูต่ ลอดเวลา
3. ชอบทํางานที่เป็ นงานใหม่อยูเ่ สมอ
คะแนนที่ได้
คะแนนรวม
ระดับคุณภาพเฉลีย่

เกณฑ์การตัดสิน คุณภาพ
ช่ วงคะแนนเฉลี่ ย 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66 หมายเหตุ การหาระดับคุณภาพเฉลี่ยหาได้จากการ
ระดับคุณภาพ 3 2 1 นําคะแนนที่ได้ในแต่ละช่วงมารวมกันแล้วหารด้วย
ดีมาก, ดี พอใช้ ควรปรับปรุ ง จํานวนข้อ จากนั้นนําระดับคุณภาพเฉลี่ยมาเทียบกับ
เกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพและสรุ ปผลการประเมิน

สรุประดับคุณภาพด้ านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม (เขียนเครื่ องหมาย  ลงในช่อง )


ดีมาก, ดี พอใช้ ควรปรับปรุ ง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 171

9. เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านทักษะ/กระบวนการ

การประเมินผลด้ านทักษะ/กระบวนการ
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 การทํางานเพือ่ ช่ วยเหลือตนเอง

สําหรั บนักเรี ยนประเมินตนเอง


คําชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนเครื่ องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับความเป็ นจริ ง
คะแนน
รายการประเมิน พฤติกรรมการแสดงออก
3 2 1
1. ทักษะการทํางาน 1. แต่งกายตามขั้นตอนได้ดว้ ยตนเอง
เพื่อช่วยเหลือ 2. ดูแลรักษาเสื้ อผ้าได้ถูกวิธี
ตนเอง 3. จัดเก็บสิ่ งของเครื่ องใช้ส่วนตัวได้ถูกวิธี
2. ทักษะการใช้ 1. เลือกวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือในการทํางานได้เหมาะสม
วัสดุ อุปกรณ์ 2. ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือในการทํางานได้อย่างปลอดภัย
และเครื่ องมือ 3. จัดเก็บวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือที่ใช้แล้วได้ถกู วิธี
3. ทักษะการ 1. ให้ความร่ วมมือกับกลุ่ม
ทํางานกลุ่ม 2. ทํางานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทํางาน
4. ให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับการทํางานแก่เพื่อนในกลุ่ม
คะแนนที่ได้
คะแนนรวม
ระดับคุณภาพเฉลีย่

เกณฑ์การตัดสิน คุณภาพ
ช่ วงคะแนนเฉลี่ ย 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66 หมายเหตุ การหาระดับคุณภาพเฉลี่ยหาได้จากการ
ระดับคุณภาพ 3 2 1 นํ า คะแนนที่ ไ ด้ ใ นแต่ ล ะช่ ว งมารวมกัน แล้ว หารด้ ว ย
ดีมาก, ดี พอใช้ ควรปรับปรุ ง จํา นวนข้อ จากนั้ นนํ า ระดับ คุ ณ ภาพเฉลี่ ย มาเที ย บกับ
เกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพและสรุ ปผลการประเมิน

สรุประดับคุณภาพด้ านทักษะ/กระบวนการ (เขียนเครื่ องหมาย  ลงในช่อง )


ดีมาก, ดี พอใช้ ควรปรับปรุ ง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 172

การประเมินผลด้ านทักษะ/กระบวนการ
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 พืชใกล้ ตวั

สําหรั บนักเรี ยนประเมินตนเอง


คําชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนเครื่ องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับความเป็ นจริ ง
คะแนน
รายการประเมิน พฤติกรรมการแสดงออก
3 2 1
1. ทักษะการทํางาน 1. รดนํ้าต้นไม้ได้ถูกวิธี
เพื่อช่วยเหลือ 2. ถอนและเก็บวัชพืชได้
ตนเอง 3. ตรวจสอบผลงานการรดนํ้าต้นไม้ การถอนและเก็บวัชพืช
2. ทักษะการใช้ 1. เลือกวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือในการทํางานได้เหมาะสม
วัสดุ อุปกรณ์ 2. ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือในการทํางานได้อย่างปลอดภัย
และเครื่ องมือ 3. จัดเก็บวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือที่ใช้แล้วได้ถกู วิธี
3. ทักษะการ 1. ให้ความร่ วมมือกับกลุ่ม
ทํางานกลุ่ม 2. ทํางานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทํางาน
4. ให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับการทํางานแก่เพื่อนในกลุ่ม
คะแนนที่ได้
คะแนนรวม
ระดับคุณภาพเฉลีย่

เกณฑ์การตัดสิน คุณภาพ
ช่ วงคะแนนเฉลี่ ย 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66 หมายเหตุ การหาระดับคุ ณภาพเฉลี่ยหาได้จากการ
ระดับคุณภาพ 3 2 1 นํ า คะแนนที่ ไ ด้ ใ นแต่ ล ะช่ ว งมารวมกัน แล้ว หารด้ ว ย
ดีมาก, ดี พอใช้ ควรปรับปรุ ง จํา นวนข้อ จากนั้ นนํ า ระดับ คุ ณ ภาพเฉลี่ ย มาเที ย บกับ
เกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพและสรุ ปผลการประเมิน

สรุประดับคุณภาพด้ านทักษะ/กระบวนการ (เขียนเครื่ องหมาย ลงในช่อง )


ดีมาก, ดี พอใช้ ควรปรับปรุ ง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 173

การประเมินผลด้ านทักษะ/กระบวนการ
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 ช่ างประดิษฐ์ น้อย

สําหรั บนักเรี ยนประเมินตนเอง


คําชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนเครื่ องหมาย ในช่องว่างที่ตรงกับความเป็ นจริ ง
คะแนน
รายการประเมิน พฤติกรรมการแสดงออก
3 2 1
1. ทักษะการทํางาน 1. พับของเล่นจากกระดาษได้
เพื่อช่วยเหลือ 2. ตรวจสอบผลงานการพับกระดาษได้
ตนเอง 3. บํารุ งรักษาของเล่นได้ถูกวิธี
2. ทักษะการใช้ 1. เลือกใช้เครื่ องมือได้ถูกต้องเหมาะสม
วัสดุ อุปกรณ์
2. จัดเก็บเครื่ องมือที่ใช้แล้วได้ถูกวิธี
และเครื่ องมือ
3. ทักษะการ 1. ให้ความร่ วมมือกับกลุ่ม
ทํางานกลุ่ม 2. ทํางานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทํางาน
4. ให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับการทํางานแก่เพื่อนในกลุ่ม
คะแนนที่ได้
คะแนนรวม
ระดับคุณภาพเฉลีย่

เกณฑ์การตัดสิน คุณภาพ
ช่ วงคะแนนเฉลี่ ย 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66 หมายเหตุ การหาระดับคุณภาพเฉลี่ยหาได้จากการ
ระดับคุณภาพ 3 2 1 นํ า คะแนนที่ ไ ด้ ใ นแต่ ล ะช่ ว งมารวมกัน แล้ว หารด้ ว ย
ดีมาก, ดี พอใช้ ควรปรับปรุ ง จํา นวนข้อ จากนั้ นนํ า ระดับ คุ ณ ภาพเฉลี่ ย มาเที ย บกับ
เกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพและสรุ ปผลการประเมิน

สรุประดับคุณภาพด้ านทักษะ/กระบวนการ (เขียนเครื่ องหมาย  ลงในช่อง )


ดีมาก, ดี พอใช้ ควรปรับปรุ ง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 174

การประเมินผลด้ านทักษะ/กระบวนการ
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 ข้ อมูลและแหล่ งข้ อมูลรอบตัว

สําหรั บนักเรี ยนประเมินตนเอง


คําชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนเครื่ องหมาย  ลงในช่องว่างที่ตรงกับความเป็ นจริ ง
คะแนน
รายการประเมิน พฤติกรรมการแสดงออก
3 2 1
1. ทักษะการทํางาน 1. นําข้อมูลมาใช้ได้ถูกต้อง
เพื่อช่วยเหลือ
ตนเอง 2. แสวงหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลใกล้ตวั ที่น่าเชื่อถือ

3. ทักษะการ 1. ให้ความร่ วมมือกับกลุ่ม


ทํางานกลุ่ม 2. ทํางานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทํางาน
4. ให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับการทํางานแก่เพื่อนในกลุ่ม
คะแนนที่ได้
คะแนนรวม
ระดับคุณภาพเฉลีย่

เกณฑ์การตัดสิน คุณภาพ
ช่ วงคะแนนเฉลี่ ย 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66 หมายเหตุ การหาระดับคุณภาพเฉลี่ยหาได้จากการนํา
ระดับคุณภาพ 3 2 1 คะแนนที่ได้ในแต่ละช่วงมารวมกันแล้วหารด้วยจํานวนข้อ
ดีมาก, ดี พอใช้ ควรปรับปรุ ง จากนั้นนําระดับคุณภาพเฉลี่ยมาเทียบกับเกณฑ์การตัดสิ น
คุณภาพและสรุ ปผลการประเมิน

สรุประดับคุณภาพด้ านทักษะ/กระบวนการ (เขียนเครื่ องหมาย  ลงในช่อง )


ดีมาก, ดี พอใช้ ควรปรับปรุ ง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 175

10. เครื่องมือประเมินสมรรถนะและภาระงานของนักเรียนโดยใช้ มิติคุณภาพ (Rubrics)

กระบวนการทํางาน เป็ นการลงมือทํางานด้วยตนเอง โดยมุ่งเน้นการฝึ กวิธีการทํางานอยูส่ มํ่าเสมอทั้งการ


ทํางานเป็ นรายบุคคลและการทํางานเป็ นกลุ่ม เพื่อให้สามารถทํางานได้บรรลุเป้ าหมายโดยขั้นตอนของกระบวนการ
ทํางาน ได้แก่ การวิเคราะห์งาน การวางแผนการทํางาน การปฏิบตั ิงาน และการประเมินผลการทํางาน
ตัวอย่าง
แบบประเมินการทํางานตามกระบวนทํางาน
เรื่อง__________________________________________________กลุ่มที่_______________________
ภาคเรียนที่___________________ชั้น___________________________
ระดับคุณภาพ
รายการประเมิน
1 2 3 4
1. การวิเคราะห์งาน
2. การวางแผนการทํางาน
3. การปฏิบตั ิงาน
4. การประเมินผลการทํางาน

เกณฑ์ การประเมิน แยกตามขั้นตอนของกระบวนการทํางาน 4 ขั้นตอน ดังนี้


1. การวิเคราะห์ งาน
4 หมายถึง วิเคราะห์รายละเอียดของงานได้ครบถ้วนด้วยตนเอง
3 หมายถึง วิเคราะห์รายละเอียดของงานได้ครบถ้วนและต้องการความช่วยเหลือจากครู เป็ นบางครั้ง
2 หมายถึง วิเคราะห์รายละเอียดของงานได้ครบถ้วน แต่ตอ้ งได้รับความช่วยเหลือจากครู บ่อยครั้ง
1 หมายถึง วิเคราะห์รายละเอียดของงานไม่ครบถ้วน ต้องการความช่วยเหลือจากครู ตลอดเวลา

2. การวางแผนการทํางาน
4 หมายถึง กําหนดวิธีการทํางานตามลําดับก่อน–หลังได้ถูกต้องเหมาะสมกับเวลาที่กาํ หนดได้ดว้ ยตนเอง
3 หมายถึง กําหนดวิธีการทํางานตามลําดับก่อน–หลังได้ถูกต้องเหมาะสมกับเวลาที่กาํ หนดและต้องการ
ความช่วยเหลือจากครู เป็ นบางครั้ง
2 หมายถึง กําหนดวิธีการทํางานตามลําดับก่อน–หลังได้ถูกต้อง แต่ใช้เวลาเกินที่กาํ หนด และต้องการ
ความช่วยเหลือจากครู
1 หมายถึง กําหนดวิธีการทํางานตามลําดับก่อน–หลังได้ไม่ถูกต้อง และไม่เหมาะสมกับเวลาที่กาํ หนด
จึงต้องการความช่วยเหลือจากครู ตลอดเวลา
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 176

3. การปฏิบัตงิ าน
4 หมายถึง ปฏิบตั ิงานตามแผนที่วางไว้ได้อย่างถูกต้องรวดเร็ ว และปลอดภัย
3 หมายถึง ปฏิบตั ิงานตามแผนที่วางไว้ได้อย่างถูกต้อง และปลอดภัย
2 หมายถึง ปฏิบตั ิงานตามแผนที่วางไว้ได้อย่างถูกต้อง แต่ครู ตอ้ งคอยดูแลและแนะนําเป็ นบางครั้ง
1 หมายถึง ปฏิบตั ิงานตามแผนที่วางไว้ได้อย่างถูกต้องแต่ครู ตอ้ งคอยดูแลและแนะนําบ่อยครั้ง
4. การประเมินผลการทํางาน
4 หมายถึง ตรวจสอบผลการปฏิบตั ิงานและปรับปรุ งแก้ไขข้อบกพร่ องในการปฏิบตั ิงานได้ดว้ ยตนเอง
3 หมายถึง ตรวจสอบผลการปฏิบตั ิงานและปรับปรุ งแก้ไขข้อบกพร่ องในการปฏิบตั ิงานได้แต่ครู ตอ้ งคอย
ดูแลและแนะนําเป็ นบางครั้ง
2 หมายถึง ตรวจสอบผลการปฏิบตั ิงานและปรับปรุ งแก้ไขข้อบกพร่ องในการปฏิบตั ิงานได้แต่ครู ตอ้ งคอย
ดูแลและแนะนําบ่อยครั้ง
1 หมายถึง ตรวจสอบผลการปฏิบตั ิงานและปรับปรุ งแก้ไขข้อบกพร่ องในการปฏิบตั ิงานได้บา้ งโดยครู ตอ้ ง
คอยดูแลและแนะนําตลอดเวลา
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 177

โครงงาน เป็ นการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มให้นักเรี ยนได้ลงมื อปฏิบตั ิ และ ศึ กษาค้นคว้าด้วยตนเองตาม
แผนการดําเนินงานที่นกั เรี ยนได้จดั ขึ้นโดยครู ช่วยให้คาํ แนะนําปรึ กษากระตุน้ ให้คิดและติดตามการปฏิบตั ิงานจน
บรรลุเป้ าหมาย
ตัวอย่าง
แบบประเมินโครงงาน
เรื่อง_________________________________________________________กลุ่มที่__________________
ภาคเรียนที่____________________ชั้น_______________________

รายการประเมิน รวม สรุป


จํานวน ผ่าน ไม่

สามารถนําไปใช้ แก้ ปัญหา


วางแผนกําหนดขั้นตอน
ผ่าน
กําหนดประเด็นปัญหา

เขียนรายงานนําเสนอ
ลงมือปฏิบัตติ ามแผน
รายการ
การแก้ปัญหาได้ อย่ าง
เลขที่ ชื่อ–สกุล

ในชีวติ ประจําวัน
ที่ผ่าน
เกณฑ์
เหมาะสม
ชัดเจน

ขั้นตํา่
1
2
3
4
5

เกณฑ์ การประเมิน
1. กําหนดประเด็นปัญหาชัดเจนแยกตามองค์ ประกอบย่ อย 5 ด้ าน
4 หมายถึง กําหนดประเด็นปัญหาได้ดว้ ยตนเองปั ญหาที่กาํ หนดมีความเฉพาะเจาะจงชัดเจนดีมาก
3 หมายถึง กําหนดประเด็นปัญหาได้ดว้ ยตนเองปั ญหาที่กาํ หนดมีความเฉพาะเจาะจงชัดเจนดี
2 หมายถึง กําหนดประเด็นปัญหาได้ดว้ ยตนเองเป็ นบางส่วนปั ญหาที่กาํ หนดมีความเฉพาะเจาะจง
ชัดเจนพอใช้
1 หมายถึง กําหนดประเด็นปัญหาด้วยตนเองไม่ได้
2. วางแผนกําหนดขั้นตอนการแก้ปัญหาได้ เหมาะสม
4 หมายถึง ออกแบบวิธีการ ขั้นตอนการแก้ปัญหา ระบุควบคุมตัวแปรได้ถูกต้องเหมาะสม
3 หมายถึง ออกแบบวิธีการ ขั้นตอนการแก้ปัญหา ระบุควบคุมตัวแปรได้ค่อนข้างเหมาะสม
2 หมายถึง ออกแบบวิธีการ ขั้นตอนการแก้ปัญหา ระบุควบคุมตัวแปรได้เหมาะสมพอใช้
1 หมายถึง ออกแบบวิธีการ ขั้นตอนการแก้ปัญหา ระบุควบคุมตัวแปรได้ไม่เหมาะสม
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 178

3. ลงมือปฏิบัตติ ามแผน
4 หมายถึง ลงมือแก้ปัญหาตามขั้นตอนที่กาํ หนดไว้อย่างครบถ้วนจริ งจัง สามารถค้นพบความรู้ ข้อคิด
แนวทางการปฏิบตั ิตามประเด็นปั ญหาที่ต้ งั ไว้ดว้ ยตนเองทั้งหมด
3 หมายถึง ลงมือแก้ปัญหาตามขั้นตอนที่กาํ หนดไว้อย่างครบถ้วนจริ งจัง สามารถค้นพบความรู้ขอ้ คิด
แนวทางการปฏิบตั ิตามประเด็นปั ญหาที่ต้ งั ไว้ดว้ ยตนเองเป็ นส่วนใหญ่
2 หมายถึง ลงมือปฏิบตั ิตามขั้นตอนที่กาํ หนดบ้าง แต่ไม่ครบถ้วน สามารถค้นพบความรู ้ ข้อคิด แนว
ทางการปฏิบตั ิตามประเด็นปัญหาที่ต้ งั ไว้ดว้ ยตนเองเป็ นบางส่วน
1 หมายถึง ลงมือปฏิบตั ิตามขั้นตอนที่กาํ หนดได้นอ้ ยมาก ไม่สามารถค้นพบความรู ้ ข้อคิด แนวทาง
การปฏิบตั ิตามประเด็นปัญหาที่ต้ งั ไว้
4. สามารถนําไปใช้ แก้ปัญหาในชีวติ ประจําวัน
4 หมายถึง นําข้อค้นพบ วิธีปฏิบตั ิไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจําวันได้ครบถ้วน ถูกต้องและต่อเนื่อง
3 หมายถึง นําข้อค้นพบ วิธีปฏิบตั ิไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจําวันได้ครบถ้วน ถูกต้อง แต่ขาดความ
ต่อเนื่อง
2 หมายถึง นําข้อค้นพบ วิธีปฏิบตั ิไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจําวันได้เป็ นบางส่วน และต้องกระตุน้
เตือนให้ปฏิบตั ิอย่างต่อเนื่อง
1 หมายถึง นําข้อค้นพบ วิธีปฏิบตั ิไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจําวันได้นอ้ ยมาก หรื อไม่นาํ ไปใช้เลย
5. เขียนรายงานนําเสนอ
4 หมายถึง บันทึกผลการศึกษาค้นคว้าและ นําเสนอข้อมูลได้ถูกต้องชัดเจน แสดงให้เห็นถึงขั้นตอน
การวางแผนการลงมือแก้ปัญหา และข้อค้นพบที่ได้ครบถ้วน
3 หมายถึง บันทึกผลการศึกษาค้นคว้าและนําเสนอข้อมูลได้ถูกต้องชัดเจน แสดงให้เห็นถึงขั้นตอนการ
วางแผนการลงมือแก้ปัญหา และข้อค้นพบที่ได้ค่อนข้างครบถ้วน
2 หมายถึง บันทึกผลการศึกษาค้นคว้าและ นําเสนอข้อมูลได้บา้ ง แสดงให้เห็นถึงขั้นตอนการวางแผน
การลงมือแก้ปัญหา และข้อค้นพบที่ได้เพียงบางส่วน
1 หมายถึง บันทึกผลการศึกษาค้นคว้าและ นําเสนอข้อมูลได้นอ้ ยมาก เห็นขั้นตอนการวางแผน การลงมือ
แก้ปัญหา และข้อค้นพบที่ได้ไม่ชดั เจน
เกณฑ์ การตัดสิ นผลการเรียน
นักเรี ยนต้องมีพฤติกรรมในแต่ละรายการอย่างน้อยระดับ 2 ขึ้นไปจํานวน 3 ใน 5 รายการ
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 179

แฟ้ ม สะสม ผลงาน (Portfolio) เป็ นแหล่งรวบรวมผลงานของนักเรี ยนอย่างเป็ นระบบ ที่นาํ มาใช้ประเมิน
สมรรถภาพของนักเรี ยน เพื่อช่วยให้นกั เรี ยน ครู ผูป้ กครอง หรื อผูท้ ี่เกี่ยวข้องเกิดความเข้าใจและมองเห็นอย่างเป็ น
รู ปธรรมได้วา่ การปฏิบตั ิงานและผลงานของนักเรี ยนมีคุณภาพมาตรฐานอยูใ่ นระดับใด
แฟ้ มสะสมผลงานเป็ นเครื่ องมือประเมินผลตามสภาพจริ งที่ให้โอกาสนักเรี ยนได้ใช้ผลงานจากที่ได้ปฏิบตั ิจริ ง
สื่ อสารให้ผอู ้ ื่นเข้าใจถึงความสามารถที่แท้จริ งของตน ซึ่งผลงานที่เก็บคะแนนในแฟ้ มสะสมผลงานมีหลายลักษณะ
เช่น การเขี ยนรายงาน บทความ การศึ กษาค้นคว้า สิ่ งประดิ ษฐ์ การทําโครงงาน บันทึ ก การบรรยาย บันทึ กการ
ทดลองบันทึกการอภิปรายบันทึกประจําวันแบบทดสอบ

แบบบันทึกความคิดเห็นเกีย่ วกับการประเมินชิ้นงานในแฟ้มสะสม ผลงาน


ชื่อชิ้นงาน___________________________ วันที่__________ เดือน_______________ ปี __________
หน่ วยการเรียนรู้ที่____________________เรื่อง

รายการประเมิน บันทึกความคิดเห็นของนักเรียน
1. เหตุผลที่เลือกชิ้นงานนี้ไว้ในแฟ้ มสะสม ____________________________________________
ผลงาน ____________________________________________
2. จุดเด่นและจุดด้อยของงานชิ้นนี้มีอะไรบ้าง _____________________________________________
_____________________________________________
3. ถ้าจะปรับปรุ งงานชิ้นนี้ให้ดีข้ ึนควร _____________________________________________
ปรับปรุ งอย่างไร _____________________________________________
4. งานชิ้นนี้ควรได้คะแนนเท่าใดเพราะเหตุใด _____________________________________________
(ถ้ากําหนดให้คะแนนเต็ม 10 คะแนน) _____________________________________________

ความเห็นของครูหรือที่ปรึกษา ความเห็นของผู้ปกครอง
_____________________________ ______________________________
_____________________________ ______________________________
_____________________________ ______________________________
_____________________________ ______________________________
_____________________________ ______________________________

ผลการประเมินของครูหรือที่ปรึกษา
____________________________________
____________________________________
____________________________________
____________________________________
____________________________________
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 180

ตัวอย่ าง
แบบประเมินแฟ้ มสะสมผลงาน
เรื่อง____________________________________________________ กลุ่มที่_____________________
ภาคเรียนที่_______________________ชั้น_____________________
ระดับคุณภาพ
รายการประเมิน
1 2 3 4
1. โครงสร้างและองค์ประกอบ
2. แนวความคิดหลัก
3. การประเมินผล
4. การนําเสนอ

เกณฑ์ การประเมิน แยกตามองค์ประกอบย่อย 4 ด้าน


ระดับคุณภาพ รายการประเมิน
1. โครงสร้ างและองค์ ประกอบ
4 ผลงานมีองค์ประกอบที่สาํ คัญครบถ้วนและจัดเก็บได้อย่างเป็ นระบบ
3 ผลงานมีองค์ประกอบที่สาํ คัญเกือบครบถ้วนและส่วนใหญ่จดั เก็บอย่างเป็ นระบบ
2 ผลงานมีองค์ประกอบที่สาํ คัญเป็ นส่วนน้อย แต่บางชิ้นงานมีการจัดเก็บที่เป็ นระบบ
1 ผลงานขาดองค์ประกอบที่สาํ คัญและการจัดเก็บไม่เป็ นระบบ
2. แนวความคิดหลัก
4 ผลงานสะท้อนแนวความคิดหลักของนักเรี ยนที่ได้ความรู้ทางการงานอาชีพและ
เทคโนโลยี มีหลักฐานแสดงว่ามีการนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้มาก
3 ผลงานสะท้อนแนวความคิดหลักของนักเรี ยนที่ได้ความรู้ทาง การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี มีหลักฐานแสดงว่าสามารถนําความรู ้ไปใช้ในสถานการณ์ตวั อย่างได้
2 ผลงานสะท้อนแนวความคิดหลักของนักเรี ยนว่าได้ความรู้ทางการงานอาชีพและ
เทคโนโลยีบา้ ง มีหลักฐานแสดงถึงความพยายามที่จะนําไปใช้ประโยชน์
1 ผลงานจัดไม่เป็ นระบบ มีหลักฐานแสดงว่ามีความรู้ทางการงานอาชีพและ
เทคโนโลยีนอ้ ยมาก
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 181

ระดับคุณภาพ รายการประเมิน
3. การประเมินผล
4 มีการประเมินความสามารถและประสิ ทธิภาพการปฏิบตั ิงานและผลงาน รวมทั้งมีการ
เสนอแนะโครงการที่เป็ นไปได้ที่จะจัดทําต่อไปไว้ อย่างชัดเจนหลายโครงการ
3 มีการประเมินความสามารถและประสิ ทธิภาพการปฏิบตั ิงานและผลงาน รวมทั้งการ
เสนอแนะโครงการที่ควรจัดทําต่อไป
2 มีการประเมินความสามารถและประสิ ทธิภาพการปฏิบตั ิงานและผลงานบ้าง รวมทั้ง
มีการเสนอแนะโครงการที่จะทําต่อไปแต่ไม่ชดั เจน
1 มีการประเมินประสิ ทธิ ภาพการปฏิบตั ิงานและผลงานน้อยมาก และไม่มีขอ้ เสนอแนะ
ใด ๆ
4. การนําเสนอ
4 เขียนบทสรุ ปและรายงานที่มีระบบดี มีข้ นั ตอน มีขอ้ มูลครบถ้วน มีการประเมินผล
ครบถ้วน แสดงออกถึงความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
3 เขียนบทสรุ ปและรายงานแสดงให้เห็นว่ามีข้ นั ตอนการจัดเก็บผลงาน มีการประเมิน
ผลงานเป็ นส่วนมาก
2 เขียนบทสรุ ปและรายงานแสดงให้เห็นว่ามีข้ นั ตอนการจัดเก็บผลงาน มีการประเมินผล
เป็ นบางส่วน
1 เขียนบทสรุ ปและรายงานแสดงให้เห็นว่ามีข้ นั ตอนการจัดเก็บผลงาน แต่ไม่มีการ
ประเมินผล

เกณฑ์ การประเมินโดยภาพรวม
ระดับคุณภาพ รายการประเมิน
ผลงานมีรายละเอียดมากเพียงพอ ไม่มีขอ้ ผิดพลาดหรื อแสดงถึงความไม่เข้าใจ
มีความเข้าใจในเรื่ องที่ศึกษาโดยมีการบูรณาการหรื อเชื่อมโยงแนวความคิดหลักต่าง
4

เข้าด้วยกัน
ผลงานมีรายละเอียดมากเพียงพอและไม่มีขอ้ ผิดพลาดหรื อแสดงถึงความไม่เข้าใจ
3 แต่ขอ้ มูลต่าง ๆ เป็ นลักษณะของการนําเสนอที่ไม่ได้บูรณาการระหว่างข้อมูลกับ
แนวความคิดหลักของเรื่ องที่ศึกษา
ผลงานมีรายละเอียดที่บนั ทึกไว้ แต่พบว่าบางส่วนมีความผิดพลาดหรื อไม่ชดั เจน
2
หรื อแสดงถึงความไม่เข้าใจเรื่ องที่ศึกษา
1 ผลงานมีขอ้ มูลน้อยไม่มีรายละเอียดบันทึกไว้
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 182

การนําเสนอผลงาน เป็ นการนําผลจากการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ งที่รวบรวมไว้ในรู ปของ


รายงานหรื อชิ้นงานมานําเสนอให้ผอู ้ ื่นได้รับทราบและ เข้าใจรู ปแบบ เนื้อหา และวิธีคิดที่เกี่ยวข้องกับผลงานนั้น ๆ
รู ป แบบการประเมิ น ต่ อ ไปนี้ เป็ นตัวอย่างที่ ใ ช้ป ระเมิ น ผลการปฏิ บ ัติ งานหรื อ ชิ้ น งานที่ ค รู ก าํ หนดให้
นักเรี ยนทํา
ตัวอย่ าง
แบบประเมินการนําเสนอผลงานของนักเรียน
เรื่อง_______________________________________________________กลุ่มที่___________________
ผู้ปฏิบัต/ิ กลุ่ม______________________ภาคเรียนที่________________________
ชั้น_______________________
ระดับคุณภาพ
รายการประเมิน
1 2 3 4
1. ความรู ้ในเนื้อหา
2. รู ปแบบการนําเสนอ
3. การใช้สื่อประกอบการเสนอ
4. การตอบคําถาม

เกณฑ์ การประเมิน จําแนกตามประเด็นรายการประเมิน มีดงั นี้


1. ความรู้ในเนือ้ หา
4 หมายถึง นําเสนอเนื้อหาถูกต้อง ครบถ้วนหรื อมากกว่าที่กาํ หนด พร้อมทั้งอธิ บายและขยายความเนื้อหาได้
3 หมายถึง นําเสนอเนื้อหาถูกต้อง ครบถ้วน แต่อธิบายรายละเอียดบางเรื่ องไม่ได้
2 หมายถึง นําเสนอเนื้อหาถูกต้อง แต่ไม่ครบถ้วน และอธิบายรายละเอียดได้เล็กน้อย
1 หมายถึง นําเสนอเนื้อหาเป็ นบางเรื่ อง และไม่สามารถอธิบายรายละเอียดเพิ่มเติม
2. รูปแบบการนําเสนอ
4 หมายถึง มีวิธีการนําเสนอที่น่าสนใจ ชวนติดตาม และนําเสนอข้อมูลหรื อผลงานเป็ นลําดับขั้นตอน
อย่างชัดเจน
3 หมายถึง มีวิธีการนําเสนอที่น่าสนใจ และนําเสนอข้อมูลหรื อผลงานเป็ นลําดับขั้นตอน
2 หมายถึง นําเสนอข้อมูลหรื อผลงานโดยการอ่าน และจัดหัวข้อไว้ไม่เป็ นระบบ
1 หมายถึง ไม่มีการจัดลําดับข้อมูลที่นาํ เสนอ ทําให้ผฟู ้ ังไม่เข้าใจเนื้อหาที่นาํ เสนอ
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1 183

3. การใช้ สื่อประกอบการนําเสนอ
4 หมายถึง ใช้เทคโนโลยีในการนําเสนอ ใช้ภาพ แผนภูมิ แผนผัง ประกอบการนําเสนออย่างชัดเจน
สื่ อที่ใช้ช่วยสนับสนุนเนื้อหาและการอธิบายได้เป็ นอย่างดี
3 หมายถึง ใช้ภาพ แผนภูมิ แผนผัง ประกอบการนําเสนอ สื่ อที่ใช้ช่วยสนับสนุนเนื้อหาและการอธิ บายได้
2 หมายถึง ใช้ภาพ แผนภูมิ ประกอบการนําเสนอบ้างเป็ นบางครั้ง และสื่ อนั้นไม่ค่อยสนับสนุนเนื้อหาสาระ
ที่นาํ เสนอ
1 หมายถึง ไม่ใช้สื่อประกอบการนําเสนอเลย
4. การตอบคําถาม
4 หมายถึง เปิ ดโอกาสให้ผฟู ้ ังแสดงความคิดเห็นหรื อซักถาม โดยสามารถตอบคําถามได้ถกู ต้องพร้อมทั้ง
อธิบายขยายความได้
3 หมายถึง สามารถตอบข้อซักถามได้ แต่ไม่สามารถอธิบายรายละเอียดเพิ่มเติม
2 หมายถึง ตอบคําถามง่าย ๆ เกี่ยวกับเนื้อหาที่นาํ เสนอได้
1 หมายถึง ไม่สามารถตอบคําถามเกี่ยวกับเนื้อหาที่นาํ เสนอ

You might also like