You are on page 1of 609

คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา

สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

• ออกแบบการเรียนรู้ โดยใช้ มาตรฐานการเรี ยนรู้และตัวชี้วดั ชั้นปี เป็ นเป้ าหมาย


• ออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยเน้ นนักเรี ยนเป็ นศูนย์กลาง
• ใช้ แนวคิด Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู้ต่าง ๆ อย่ างหลากหลาย
• ออกแบบการเรียนรู้ เพือ่ พัฒนาสมรรถนะสําคัญของนักเรียนในการสื่อสารการคิด
การแก้ปัญหาการใช้ ทักษะชีวติ และการใช้ เทคโนโลยี
• แบ่ งแผนการจัดการเรี ยนรู้เป็ นรายชั่วโมงสะดวกในการใช้
• มีองค์ ประกอบครบถ้วนตามแนวทางการจัดทําแผนการจัดการเรี ยนรู้ของสถานศึกษา
• นําไปพัฒนาเป็ นผลงานทางวิชาการเพือ่ เลือ่ นวิทยฐานะได้

คณะผู้เขียน
ผศ.เชาวลิต ภูมิภาค
กัลยภัฏร์ ศรี ไพโรจน์
ทิวาวลี บุญญดิษฐ์
คณะบรรณาธิการ
สมาพร ยิง่ คุณธนา
นิตยาพร สายเสนา
วิชุดา คงสุ ทธิ์

คู่มอื ครู แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา


สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5
ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
สงวนลิขสิ ทธิ์ ตามกฎหมาย
ห้ ามละเมิดทําซํา้ ดัดแปลงเผยแพร่
ส่ วนหนึ่งส่ วนใดเว้ นแต่ จะได้ รับอนุญาต

คณะผู้เขียน
ผศ.เชาวลิต ภูมิภาค กศบ., กศ.ม.
กัลยภัฏร์ ศรี ไพโรจน์ วท.บ.
ทิวาวลี บุญญดิษฐ์ วท.บ., วท.ม.

คณะบรรณาธิการ
สมาพร แซ่บาง ศษ.บ., ศษ.ม.
นิตยาพร สายเสนา วท.บ., ศศ.ม.
วิชุดา คงสุ ทธิ์ คบ., คม.

ISBN978-974-18-5803-3
พิมพ์ที่ บริษัท โรงพิมพ์วฒ
ั นาพานิช จํากัด นายเริงชัย จงพิพฒ
ั นสุ ข กรรมการผู้จดั การ

สื่ อการเรียนรู้ ป. 1–ป.6 (ชั้นละ 1 เล่ม) ตัวชี้วดั เป็ นชั้นปี ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551
หนังสื อเรียน (ฉบับ ศธ. อนุญาต) –แบบฝึ กทักษะ–แผนฯ (CD) –คู่มือการสอน–สื่ อการเรียนรู้ PowerPoint (CD)
หนังสื อเรี ยน–แบบฝึ กหัด–แผนฯ (CD) –คูม่ ือการสอน–สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint (CD) ภาษาไทย ป. 1–6 เล่ ม 1–2..................... สุ ระ ดามาพงษ์ และคณะ
หนังสื อเรี ยน–แบบฝึ กหัด–แผนฯ(CD) –คูม่ ือการสอน–สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint (CD) คณิตศาสตร์ ป. 1–6 เล่ ม 1–2.....ประทุมพร ศรี วฒั นกูล และคณะ
หนังสื อเรี ยน–แบบฝึ กทักษะ–แผนฯ(CD) –คูม่ ือการสอน–สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint (CD) วิทยาศาสตร์ ป. 1–6 ……........…ดร.บัญชา แสนทวี และคณะ
หนังสื อเรี ยน–แบบฝึ กทักษะ–แผนฯ(CD) –คูม่ ือการสอน–สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint (CD) สั งคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม..ป. 1–6 สุ เทพ–พิษณุและคณะ
หนังสื อเรี ยน–แบบฝึ กทักษะ–แผนฯ(CD) –คูม่ ือการสอน–สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint (CD) สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 1–6.…ผศ.เชาวลิต ภูมิภาค และคณะ
หนังสื อเรี ยน–แบบฝึ กทักษะ–แผนฯ(CD) –คูม่ ือการสอน–สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint (CD) ศิลปะ ป. 1–6 …………..…………ทวีศกั ดิ์ จริ งกิจ และคณะ
หนังสื อเรี ยน–แบบฝึ กทักษะ–แผนฯ(CD) –คูม่ ือการสอน–สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint (CD) การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 1–6........อรุ ณี ลิมศิริ และคณะ
หนังสื อเรี ยน–แบบฝึ กทักษะ–แผนฯ(CD) เทคโนโลยีสารสนเทศ ป. 1–6………………………………..…………ดร.ศรี ไพร ศักดิ์รุ่งพงศากุล และคณะ
หนังสื อเรี ยน–แบบฝึ กทักษะ–แผนฯ–ซีดี Tops ป. 1–6 ………………………………………………………….Rebecca York Hanlon และคณะ
หนังสื อเรี ยน–แบบฝึ กทักษะ–แผนฯ–ซีดี Gogo Loves English ป. 1–6 ………….………………………………………..Staton Proctor และคณะ
หนังสื อเรี ยน–แบบฝึ กทักษะ–แผนฯ–ซีดี BINGO! ป. 1–6 ………….……….….………………………………………….Ken Methold และคณะ
สื่ อการเรี ยนรู ้ –ฉบับสมบูรณ์แบบ–แผนฯ(CD) ภาษาอังกฤษ ป. 1–6 ……………..…………………………………ดร.ประไพพรรณ เอมชู และคณะ
สื่ อการเรี ยนรู ้ –ฉบับสมบูรณ์แบบ–แผนฯ(CD) หลักการใช้ ภาษาไทย สมบูรณ์ แบบ ป. 1–6 ……………………………………สุ ระ ดามาพงษ์ และคณะ
สื่ อการเรี ยนรู ้ ฉบับสมบูรณ์แบบเศรษฐกิจพอเพียง ป. 1–6 ………………………….……..…………………………………สุ เทพ จิตรชื่น และคณะ
สื่ อการเรี ยนรู ้ ฉบับสมบูรณ์แบบคุณธรรมนําความรู้ สมบูรณ์ แบบ ป. 1–6 …………………..…………………………….…สุ เทพ จิตรชื่น และคณะ
กิจกรรม ลูกเสื อ เนตรนารี ฉบับสมบูรณ์แบบ ป. 1–6 ……………………………………..…………………………....ดร.อํานาจ ช่างเรี ยน และคณะ
กิจกรรม ยุวกาชาด ฉบับสมบูรณ์แบบ ป. 1–6 …………………………………………..………………...…………....ดร.อํานาจ ช่างเรี ยน และคณะ

คํานํา
คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สุ ขศึกษาและพลศึกษา ชั้ น ป. 1–6 ชุดนี้ เป็ นสื่ อการเรี ยนรู้ที่จดั ทําขึ้นเพื่อใช้เป็ น
แนวทางในการจัดการเรี ยนรู ้ โดยยึ ดหลักการออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ แบบ Backward Design ที่ เน้ นผู้ เรี ยนเป็ น
ศู นย์ กลาง (child centered) ตามหลักการที่เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสํ าคัญ เพื่อให้นักเรี ยนมีส่วนร่ วมในกิ จกรรมและกระบวนการ
เรี ยนรู ้ สามารถสร้างองค์ความรู้ ได้ด้วยตนเอง ทั้งเป็ นรายบุ คคลและรายกลุ่ม บทบาทของครู มีหน้าที่ เอื้ ออํานวยความ
สะดวกให้นักเรี ยนประสบผลสําเร็ จ โดยสร้ างสถานการณ์ การเรี ยนรู้ท้ งั ในห้องเรี ยนและนอกห้องเรี ยน ทําให้นักเรี ยน
สามารถเชื่ อมโยงความรู้ในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น ๆ ได้ในเชิ งบูรณาการด้วยวิธีการที่ หลากหลาย เน้นกระบวนการคิด
วิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุ ปความรู ้ดว้ ยตนเอง ทําให้นกั เรี ยนได้รับการพัฒนาทั้งด้านความรู้และด้านทักษะ/กระบวนการ
ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และนําไปสู่การอยูร่ ่ วมกันในสังคมอย่างสันติสุข
การจัดทําคู่ มื อครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ สุ ขศึ กษาและพลศึ กษา ป. 1–6 ชุ ดนี้ ได้จดั ทําตามหลักสู ตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่ งครอบคลุมทุกสาระการเรี ยนรู้ โดยภายในเล่มได้นาํ เสนอแผนการจัดการเรี ยนรู้เป็ น
รายชัว่ โมงตามหน่วยการเรี ยนรู้ เพื่อให้ครู นาํ ไปใช้ในการจัดการเรี ยนรู้ได้สะดวกยิง่ ขึ้น นอกจากนี้แต่ละหน่วยการเรี ยนรู้
ยังมีการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ท้ งั 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู ้ และด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ และด้านทักษะ/กระบวนการ ทําให้ทราบผลการเรี ยนรู้แต่ละหน่วยการเรี ยนรู้ของนักเรี ยนได้ทนั ที
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 1–6 ชุดนี้ นําเสนอเนื้อหาแบ่งเป็ น 3 ตอน คือ
ตอนที่ 1 คํ าชี้ แ จงการจั ด แผนการจั ด การเรี ยนรู้ ประกอบด้วยแนวทางการใช้แ ผนการจัดการเรี ย นรู้
สัญลักษณ์แสดงลักษณะและเป้ าหมายของกิจกรรมการเรี ยนรู้ การออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ตามแนวคิด Backward
Design เทคนิ คและวิธีการจัดการเรี ยนรู ้–การวัดและประเมินผลกลุ่มสาระการเรี ยนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ตาราง
วิเคราะห์ความสอดคล้องของหน่ วยการเรี ยนรู้กบั สาระ/มาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชี้ วดั ชั้นปี โครงสร้างการแบ่ง
เวลารายชัว่ โมงและขอบข่ายสาระการเรี ยนรู้
ตอนที่ 2 แผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมงได้เสนอแนะแนวทางการจัดการเรี ยนรู้แต่ละหน่วยการเรี ยนรู ้ใน
หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา แบ่งเป็ นแผนย่อยรายชัว่ โมง ซึ่ งแผนการจัดการเรี ยนรู้แต่ละ
แผนมีองค์ประกอบครบถ้วนตามแนวทางการจัดทําแผนการจัดการเรี ยนรู ้ของสถานศึกษา
ตอนที่ 3 เอกสาร/ความรู้เสริมสํ าหรับครู ประกอบด้วยตัวอย่างแบบทดสอบต่าง ๆ และความรู ้เสริ มสําหรับ
ครู ซึ่งบันทึกลงในซีดีรอม (CD-ROM) เพื่ออํานวยความสะดวกให้ครู ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน
คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 1–6 ชุดนี้ได้ออกแบบการเรี ยนรู ้ดว้ ยเทคนิ คและ
วิธีการสอนอย่างหลากหลาย หวังว่าจะเป็ นประโยชน์ต่อการนําไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรี ยนรู ้ให้เหมาะสมกับ
สภาพแวดล้อมของนักเรี ยนต่อไป

คณะผู้จดั ทํา

สารบัญ
ตอนที่ 1 คําชี้แจงการจัดแผนการจัดการเรียนรู้.................................................................................................... 1–00
 แนวทางการใช้แผนการจัดการเรี ยนรู้........................................................................................................... 2
 สัญลักษณ์แสดงลักษณะและเป้ าหมายของกิจกรรมการเรี ยนรู ้.................................................................... 5
 การออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ตามแนวคิดของ Backward Design...............................................................7
 เทคนิคและวิธีการจัดการเรี ยนรู ้–การวัดและประเมินผล กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษาและพลศึกษา....... 17
 ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของหน่วยการเรี ยนรู ้กบั สาระ/มาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชี้วดั ชั้นปี ........ 20
 โครงสร้างการแบ่งเวลารายชัว่ โมงและขอบข่ายสาระการเรี ยนรู ้............................................................... 21

ตอนที่ 2 แผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง...................................................................................................... 22–490


หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 เรียนรู้ตวั เรา...................................................................................................................... 23–77
 ผังมโนทัศน์เป้ าหมายการเรี ยนรู ้และขอบข่ายภาระงาน.............................................................................. 23
 กรอบแนวคิดผังการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้เพื่อเน้นสู่ผลลัพธ์ปลายทาง (Backward Design
Template)................................................................................................................................................... 24
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ปฐมนิเทศและข้อตกลงในการเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษา ป. 5....................... 27
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย......................................................................................... 32
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย (ต่อ)................................................................................. 38
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย (ต่อ)................................................................................. 44
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย (ต่อ)................................................................................. 50
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย (ต่อ)................................................................................. 55
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย (ต่อ)................................................................................. 61
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย (ต่อ)................................................................................. 67
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย (ต่อ)..................................................................................72
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวติ และครอบครัว.......................................................................................................... 78–141
 ผังมโนทัศน์เป้ าหมายการเรี ยนรู ้และขอบข่ายภาระงาน.............................................................................. 78
 กรอบแนวคิดผังการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้เพื่อเน้นสู่ผลลัพธ์ปลายทาง (Backward Design
Template)................................................................................................................................................... 79
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 พัฒนาการทางเพศ................................................................................................. 84
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 พัฒนาการทางเพศ (ต่อ) ....................................................................................... 90
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 พัฒนาการทางเพศ (ต่อ) ....................................................................................... 95
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 พัฒนาการทางเพศ (ต่อ) ..................................................................................... 100
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 ครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย................................................................ 105
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 ครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย (ต่อ)........................................................ 111

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง.............................................................................. 117


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17 การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง (ต่อ)...................................................................... 122
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18 การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง (ต่อ)...................................................................... 127
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 19 การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง (ต่อ)...................................................................... 132
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20 การทดสอบกลางปี รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษา ป. 5............................................. 138
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว....................................................................................... 142–364
 ผังมโนทัศน์เป้ าหมายการเรี ยนรู ้และขอบข่ายภาระงาน............................................................................ 142
 กรอบแนวคิดผังการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้เพื่อเน้นสู่ผลลัพธ์ปลายทาง (Backward Design
Template)................................................................................................................................................. 143
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 21 ปฐมนิเทศและข้อตกลงในการเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน พลศึกษา ป. 5 .................. 151
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 22 การเคลื่อนไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา........................................ 156
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 23 การเคลื่อนไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา (ต่อ)................................ 163
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 24 การเคลื่อนไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา (ต่อ)................................ 169
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 25 การเคลื่อนไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา (ต่อ)................................ 175
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 26 เกมนําไปสู่กีฬาและกิจกรรมแบบผลัด................................................................ 181
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 27 กีฬา: กรี ฑาประเภทลู่.......................................................................................... 187
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 28 กีฬา: กรี ฑาประเภทลู่ (ต่อ)................................................................................. 193
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 29 กีฬา: กรี ฑาประเภทลู่ (ต่อ)................................................................................. 199
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 30 กีฬา: ฟุตบอล...................................................................................................... 204
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 31 กีฬา: ฟุตบอล (ต่อ).............................................................................................. 211
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 32 กีฬา: ฟุตบอล (ต่อ).............................................................................................. 217
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 33 กีฬา: ฟุตบอล (ต่อ).............................................................................................. 222
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 34 กีฬา: ฟุตบอล (ต่อ).............................................................................................. 228
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 35 กีฬา: ฟุตบอล (ต่อ).............................................................................................. 234
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 36 กีฬา: ฟุตบอล (ต่อ).............................................................................................. 239
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 37 กีฬา: ฟุตบอล (ต่อ).............................................................................................. 244
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 38 กีฬา: ฟุตบอล (ต่อ).............................................................................................. 249
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 39 กีฬา: ฟุตบอล (ต่อ).............................................................................................. 254
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 40 การทดสอบกลางปี รายวิชาพื้นฐาน พลศึกษา ป. 5............................................. 259
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 41 กีฬา: มวยไทย..................................................................................................... 263
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 42 กีฬา: มวยไทย (ต่อ)............................................................................................. 269
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 43 กีฬา: มวยไทย (ต่อ)............................................................................................. 274
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 44 กีฬา: มวยไทย (ต่อ)............................................................................................. 279

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 45 กีฬา: มวยไทย (ต่อ)............................................................................................. 284


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 46 กีฬา: มวยไทย (ต่อ)............................................................................................. 288
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 47 กีฬา: มวยไทย (ต่อ)............................................................................................. 294
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 48 กีฬา: มวยไทย (ต่อ)............................................................................................. 299
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 49 กีฬา: มวยไทย (ต่อ)............................................................................................. 305
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 50 กีฬา: ตะกร้อวง................................................................................................... 310
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 51 กีฬา: ตะกร้อวง (ต่อ)........................................................................................... 316
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 52 กีฬา: ตะกร้อวง (ต่อ)........................................................................................... 321
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 53 กีฬา: ตะกร้อวง (ต่อ)........................................................................................... 326
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 54 กีฬา: ตะกร้อวง (ต่อ)........................................................................................... 331
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 55 กีฬา: ตะกร้อวง (ต่อ)........................................................................................... 336
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 56 กีฬา: ตะกร้อวง (ต่อ)........................................................................................... 342
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 57 กีฬา: ตะกร้อวง (ต่อ)........................................................................................... 346
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 58 กิจกรรมนันทนาการ........................................................................................... 350
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 59 กิจกรรมนันทนาการ (ต่อ)................................................................................... 355
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 60 การทดสอบปลายปี รายวิชาพื้นฐาน พลศึกษา ป. 5............................................ 361
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 4 ใส่ ใจสุ ขภาพ...................................................................................................................365–452
 ผังมโนทัศน์เป้ าหมายการเรี ยนรู ้และขอบข่ายภาระงาน............................................................................ 365
 กรอบแนวคิดผังการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้เพื่อเน้นสู่ผลลัพธ์ปลายทาง (Backward Design
Template)................................................................................................................................................. 367
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 61 การปฏิบตั ิตนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ……………............................................. 372
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 62 การปฏิบตั ิตนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ (ต่อ)……………..................................... 378
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63 ข้อมูลข่าวสารสุขภาพ......................................................................................... 384
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 64 ข้อมูลข่าวสารสุขภาพ (ต่อ)................................................................................. 390
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 65 สื่ อโฆษณากับอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ....................................................... 394
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 66 สื่ อโฆษณากับอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ต่อ)............................................... 400
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 67 การดูแลรักษาตนเองเบื้องต้นเมื่อเจ็บป่ วย........................................................... 406
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 68 การดูแลรักษาตนเองเบื้องต้นเมื่อเจ็บป่ วย (ต่อ)................................................... 412
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 69 การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ.................................. 419
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 70 การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ (ต่อ).......................... 426
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 71 การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ (ต่อ).......................... 432
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 72 การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ (ต่อ).......................... 437
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 73 การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ (ต่อ).......................... 442

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 74 การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ (ต่อ).......................... 447


หน่ วยการเรียนรู้ที่ 5 ชีวติ ปลอดภัย.................................................................................................................453–490
 ผังมโนทัศน์เป้ าหมายการเรี ยนรู ้และขอบข่ายภาระงาน............................................................................ 453
 กรอบแนวคิดผังการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้เพื่อเน้นสู่ผลลัพธ์ปลายทาง (Backward Design
Template)................................................................................................................................................. 454
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 75 ยาและสารเสพติด............................................................................................... 458
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 76 ยาและสารเสพติด (ต่อ)....................................................................................... 465
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 77 อิทธิพลของสื่ อที่มีต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ............................................................. 470
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 78 อิทธิพลของสื่ อที่มีต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ (ต่อ).................................................... 476
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 79 การป้ องกันอันตรายจากการเล่นกีฬา...................................................................
481 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 80 การทดสอบปลายปี รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษา ป. 5............................................. 487

ตอนที่ 3 เอกสาร/ความรู้เสริมสํ าหรับครู....................................................................................................... 491–543


ตอนที่ 3.1 มาตรฐานการเรี ยนรู้ ตัวชี้วดั และสาระการเรี ยนรู ้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ สุ ขศึกษา
และพลศึกษา ป. 5 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551...................... 504
ตอนที่ 3.2 ความสําคัญของการจัดการเรี ยนรู ้ในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ สุขศึกษาและพลศึกษา.......................... 508
ตอนที่ 3.3 แฟ้ มสะสมผลงาน (Portfolio) ผังและรู ปแบบแผนการจัดการเรี ยนรู ้แบบ Backward Design ….... 509
ตอนที่ 3.4 เอกสารแบบทดสอบก่อนเรี ยน....................................................................................................... 515
ตอนที่ 3.5 เอกสารใบกิจกรรมการเรี ยนรู ้ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5............................................................. 525
ตอนที่ 3.6 แบบประเมินและเกณฑ์การประเมินผล.......................................................................................... 584
ตอนที่ 3.7 ตัวอย่างแบบบันทึกสรุ ปการประเมินผล......................................................................................... 591
ตอนที่ 3.8 เอกสารแบบประเมินผลการปฏิบตั ิทกั ษะการวิ่งระยะสั้น............................................................... 593
ตอนที่ 3.9 เอกสารแบบประเมินผลการปฏิบตั ิทกั ษะกีฬาฟุตบอล................................................................... 594
ตอนที่ 3.10 เอกสารแบบประเมินผลการปฏิบตั ิทกั ษะกีฬามวยไทย................................................................ 595
ตอนที่ 3.11 เอกสารแบบประเมินผลการปฏิบตั ิทกั ษะกีฬาตะกร้อวง............................................................... 596
ตอนที่ 3.12 ความรู้เกี่ยวกับการจัดทําโครงงานสุขศึกษาและพลศึกษา แผนที่ความคิด (Mind Mapping)
และผังแสดงเหตุและผล............................................................................................................... 597
1

ตอนที่ 1
คําชี้แจงการจัดแผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา
2

1. แนวทางการใช้ แผนการจัดการเรียนรู้
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ สุ ขศึกษาและพลศึกษาเล่มนี้ จัดทําขึ้นเพื่อเป็ นแนวทางให้ครู ใช้ประกอบการ
จัดการเรี ยนรู ้ กลุ่มสาระการเรี ยนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งการแบ่งหน่วยการเรี ยนรู้สาํ หรับจัดทําแผนการจัดการเรี ยนรู้เป็ นรายชัว่ โมงในคู่มือครู
แผนการจัดการเรี ยนรู้เล่มนี้ สามารถใช้ควบคู่กบั หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 คู่มือการสอน
สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป.5 และสื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 โดยแบ่งเนื้ อหาออกเป็ น
5 หน่วยการเรี ยนรู้ ประกอบด้วยหน่วยการเรี ยนรู ้ดงั นี้
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 เรี ยนรู้ตวั เรา
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตและครอบครัว
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 4 ใส่ใจสุ ขภาพ
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 5 ชีวิตปลอดภัย
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ น้ ี ได้นําเสนอรายละเอี ยดไว้ครบถ้วนตามแนวทางการจัดการเรี ยนรู ้ของ
สถานศึกษา นอกจากนี้ยงั ได้ออกแบบกิจกรรมการเรี ยนการสอนให้นกั เรี ยนได้พฒั นาองค์ความรู้สมรรถนะสําคัญ
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้อย่างครบถ้วนตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ครู ควรศึกษาแผนการจัดการเรี ยนรู ้น้ ีให้ละเอียด เพื่อปรับใช้ให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม สถานการณ์ และสภาพ
ของนักเรี ยน
ในแต่ละหน่วยการเรี ยนรู ้จะแบ่งแผนการจัดการเรี ยนรู ้ออกเป็ นรายชัว่ โมง ซึ่งมีจาํ นวนมากน้อยไม่เท่ากัน
ขึ้นอยูก่ บั ความยาวของเนื้อหาสาระและในแต่ละหน่วยการเรี ยนรู้จะระบุ
1. ผังมโนทัศน์ เป้ าหมายการเรียนรู้และขอบข่ ายภาระงาน เป็ นการแสดงขอบข่ายเนื้อหาการจัดการเรี ยนรู้
ที่ครอบคลุมความรู้ คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ทักษะ/กระบวนการ และภาระงาน/
ชิ้นงาน
2. กรอบแนวคิดผังการออกแบบการจัดกิจกรรมเรียนรู้เพือ่ เน้ นสู่ ผลลัพธ์ ปลายทาง (Backward Design
Template) เป็ นกรอบแนวคิดในการจัดการเรี ยนรู ้ของแต่ละหน่วยการเรี ยนรู้ แบ่งเป็ น 3 ขั้น ได้แก่
ขั้นที่ 1 ผลลัพธ์ปลายทางที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรี ยนรู ้ ซึ่งเป็ นหลักฐานที่แสดงว่านักเรี ยนมีผลการเรี ยนรู้ตามที่
กําหนดไว้อย่างแท้จริ ง
ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรี ยนรู ้จะระบุวา่ ในหน่วยการเรี ยนรู ้น้ ี แบ่งเป็ นแผนการจัดการเรี ยนรู้กี่แผน และ
แต่ละแผนใช้เวลาในการจัดกิจกรรมกี่ชวั่ โมง
3. แผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง เป็ นแผนการจัดการเรี ยนรู้ตามกรอบแนวคิดผังการออกแบบการเรี ยนรู ้
เพื่อเน้นสู่ผลลัพธ์ปลายทาง (Backward Design) ประกอบด้วย
3

3.1 ชื่อแผนการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วยลําดับที่ของแผน ชื่อแผน และเวลาเรี ยน เช่น แผนการจัดการ


เรี ยนรู ้ที่ 1 เรื่ อง ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย เวลา 1 ชัว่ โมง
3.2 สาระสํ าคัญ เป็ นความคิดรวบยอดของเนื้อหาที่นาํ มาจัดการเรี ยนรู ้ในแต่ละแผนการจัดการเรี ยนรู ้
3.3 ตัวชี้วัดชั้นปี เป็ นตัวชี้วดั ที่ใช้ตรวจสอบนักเรี ยนหลังจากเรี ยนจบเนื้อหาที่นาํ เสนอในแต่ละแผนการ
จัดการเรี ยนรู ้น้ นั ๆ ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานการเรี ยนรู ้ของหลักสูตร
3.4 จุดประสงค์ การเรียนรู้ เป็ นส่ วนที่บอกจุดมุ่งหมายที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นแก่นกั เรี ยนภายหลังจากการ
เรี ยนจบในแต่ละแผน ทั้งในด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิ ยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) ซึ่งสอดคล้องสัมพันธ์กบั ตัวชี้วดั ชั้นปี และเนื้อหาในแผนการจัดการเรี ยนรู้น้ นั ๆ
3.5 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็ นการตรวจสอบผลการจัดการเรี ยนรู้วา่ หลังจากจัดการเรี ยนรู ้ใน
แต่ละแผนการจัดการเรี ยนรู ้แล้ว นักเรี ยนมีพฒั นาการ มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนตามเป้ าหมายที่คาดหวังไว้หรื อไม่
และมี สิ่งที่ จะต้องได้รับ การพัฒ นาปรับ ปรุ งส่ งเสริ มในด้านใดบ้าง ดังนั้น ในแต่ละแผนการจัดการเรี ยนรู้ จึงได้
ออกแบบวิธีการและเครื่ องมือในการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ดา้ นต่าง ๆ ของนักเรี ยนไว้อย่างหลากหลาย เช่น
การทําแบบทดสอบ การตอบคําถามสั้น ๆ การตรวจผลงานการประเมินพฤติกรรมทั้งที่เป็ นรายบุคคลและเป็ นกลุ่ม
เป็ นต้น โดยเน้นการปฏิบตั ิให้สอดคล้องและเหมาะสมกับตัวชี้วดั และมาตรฐานการเรี ยนรู ้
วิธีการและเครื่ องมือในการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้เหล่านี้ครู สามารถนําไปใช้ประเมินนักเรี ยน
ได้ท้ งั ในระหว่างการจัดการเรี ยนรู ้และการทํากิจกรรมต่างๆตลอดจนการนําความรู้ไปใช้ในชีวิตประจําวัน
3.6 สาระการเรียนรู้ เป็ นหัวข้อย่อยที่นาํ มาจัดการเรี ยนรู้ในแต่ละแผนการจัดการเรี ยนรู้ ซึ่งสอดคล้องกับ
สาระการเรี ยนรู ้แกนกลาง
3.7 แนวทางบูรณาการ เป็ นการเสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ในเรื่ องที่เรี ยนรู้ของแต่ละ
แผนให้เชื่อมโยงสัมพันธ์กบั สาระการเรี ยนรู้อื่น ๆ ได้แก่ ภาษาไทย คณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ ศิลปะ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษาต่างประเทศ เพื่อให้การเรี ยนรู้สอดคล้องและครอบคลุมสถานการณ์จริ ง
3.8 กระบวนการจัดการเรี ยนรู้ เป็ นการเสนอแนวทางการจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู้เนื้ อหาในแต่ละเรื่ อง โดยใช้
แนวคิดและทฤษฎีการเรี ยนรู้ต่าง ๆ ตามความเหมาะสม ทั้งนี้ เพื่อให้ครู นาํ ไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนการจัดการเรี ยนรู้
ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ ซึ่งกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ประกอบด้วยขั้นตอนการจัดการเรี ยนรู้ 5 ขั้นตอนที่สาํ คัญ ได้แก่
ขั้นที่ 1 นําเข้าสู่บทเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรี ยนรู้
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
(หมายเหตุ: ในแผนที่ 1 ของการจัดการเรี ยนรู้ในแต่ละหน่วยการเรี ยนรู้ ครู อาจสอนเพิ่มขั้นตอนการ
จัดการเรี ยนรู้อีก 1 ขั้น เป็ นขั้นเตรี ยมก่อนนําเข้าสู่บทเรี ยนเพิ่มก่อนเข้าสู่ข้ นั ที่ 1 นําเข้าสู่บทเรี ยนหรื ออาจยุบรวมเข้า
สู่ข้ นั ที่ 1 เลยก็ได้)
3.9 กิจ กรรมเสนอแนะ เป็ นกิ จ กรรมเสนอแนะสําหรั บ ให้ นัก เรี ย นได้พ ฒ ั นาเพิ่ ม เติ ม ในด้านต่ าง ๆ
นอกเหนื อจากที่ได้จดั การเรี ยนรู ้มาแล้วในชัว่ โมงเรี ยน กิจกรรมเสนอแนะมี 2 ลักษณะ คือ กิ จกรรมสําหรับผูท้ ี่มี
4

ความสามารถพิเศษและต้องการศึกษาค้นคว้าในเนื้ อหานั้น ๆ ให้ลึกซึ้งกว้างขวางยิ่งขึ้น และกิจกรรมสําหรับผูท้ ี่ยงั


ไม่เข้าใจเนื้อหาหรื อยังไม่เกิดการเรี ยนรู ้ตามเป้ าหมาย ซึ่งมีลกั ษณะเป็ นการเรี ยนซํ้าหรื อซ่อมเสริ ม
3.10 สื่ อ /แหล่ ง การเรี ย นรู้ เป็ นรายชื่ อ สื่ อ การเรี ย นรู ้ ทุ ก ประเภทที่ ใ ช้ใ นการจัด การเรี ย นรู ้ ซึ่ ง มี ท้ ัง
สื่ อ ธรรมชาติ สื่ อสิ่ งพิมพ์ สื่ อเทคโนโลยี และสื่ อบุคคล เช่น หนังสื อ เอกสารความรู ้ รู ปภาพ เครื อข่ายอินเทอร์เน็ต
วีดิทศั น์ หรื อปราชญ์ชาวบ้านในท้องถิ่น/ชุมชน
3.11 บันทึกหลังการจัดการเรี ยนรู้ เป็ นส่ วนที่ ให้ครู บนั ทึกผลการจัดการเรี ยนรู ้ว่าประสบความสําเร็ จ
หรื อไม่ มีปัญหาหรื ออุปสรรคอะไรเกิดขึ้นบ้าง ได้แก้ไขปั ญหาและอุปสรรคนั้นอย่างไร และข้อเสนอแนะสําหรับ
การจัดการเรี ยนรู ้ครั้งต่อไป
นอกจากนี้ ยงั อํานวยความสะดวกให้ครู โดยการจัดทําแบบทดสอบต่าง ๆ และความรู้เสริ มสําหรับครู
บันทึกลงในซีดีรอม (CD-ROM) ประกอบด้วย
1) แบบทดสอบก่ อนเรี ยนและหลังเรี ยน เป็ นแบบทดสอบเพื่อใช้วดั และประเมินผลนักเรี ยนก่ อนการ
จัดการเรี ยนรู ้และหลังการจัดการเรี ยนรู ้ ซึ่ งครู สามารถที่จะนําแบบทดสอบดังกล่าวมาใช้ตรวจสอบความรู้พ้ืนฐาน
และเป็ นการเตรี ยมความพร้อมก่อนเรี ยน นอกจากนี้การนําแบบทดสอบดังกล่าวมาใช้ยงั จะช่วยให้ครู ทราบถึงระดับ
ของการพัฒนาการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนที่มีการพัฒนาการขึ้น และปกติการวัดและประเมินผลดังกล่าวนี้ จะไม่นาํ ผล
มาใช้พิจารณาตัดสิ นผลการเรี ยน
2) แบบทดสอบปลายปี เป็ นแบบทดสอบเพื่อใช้วดั และประเมินผลการเรี ยนปลายปี 3 ด้าน ได้แก่
(1) ด้านความรู ้ มีแบบทดสอบทั้งที่เป็ นแบบปรนัยและอัตนัย
(2) ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เป็ นตารางการประเมิน
(3) ด้านทักษะ/กระบวนการ เป็ นตารางการประเมิน
3) เอกสาร/ความรู้ เสริมสํ าหรับครู เป็ นการนําเสนอความรู ้ในเรื่ องต่าง ๆ แก่ครู เช่น หลักการจัดทําแฟ้ ม
สะสมผลงาน (Portfolio) และวิธีการคัดเลื อกผลงานเพื่อเก็บในแฟ้ มสะสมผลงาน ความรู ้เรื่ องโครงงานและการ
ประเมินผล โครงงานสุ ขศึกษาและพลศึกษา และความรู ้ที่ครู สามารถนําไปปรับใช้ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการ
สอนอื่น ๆ
4) แบบฟอร์ มโครงสร้ างแผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่ออกแบบจัดการเรี ยนรู้ ตามแนวคิดของ Backward
Design เป็ นรู ปแบบของผังการจัดการเรี ยนรู้แบบ Backward ที่ช่วยให้ครู เข้าใจถึงลําดับการสร้างกระบวนการสอน
ครู ควรศึ กษาแผนการจัดการเรี ยนรู ้เพื่อเตรี ยมการสอนอย่างมี ประสิ ท ธิ ภาพ จัดกิ จกรรมให้นักเรี ยนได้
พัฒนาครบทุกสมรรถนะสําคัญที่ กาํ หนดไว้ในหลักสู ตร กล่าวคือ สมรรถนะในการสื่ อสาร การคิด การแก้ปัญหา
การใช้ทกั ษะชี วิต และการใช้เทคโนโลยี รวมถึงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสู ตรและกิจกรรมเสนอแนะ
เพื่อการเรี ยนรู ้เพิ่มเติมให้เต็มตามศักยภาพของนักเรี ยนแต่ละคน ซึ่งได้กาํ หนดไว้ในแผนการจัดการเรี ยนรู้น้ ีแล้ว
นอกจากนี้ครู สามารถปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้ให้สอดคล้องกับสภาพความพร้อมของนักเรี ยนและ
สถานการณ์ เฉพาะหน้าได้ ซึ่ งจะใช้เป็ นผลงานเพื่ อเลื่ อ นวิทยฐานะได้ แผนการจัดการเรี ยนรู้ น้ ี ได้อาํ นวยความ
สะดวกให้ครู โดยได้พิมพ์โครงสร้างแผนการเรี ยนรู ้ที่ออกแบบการเรี ยนรู ้แบบ Backward Design ให้ครู เพิ่มเติม
เฉพาะส่วนที่ครู ปรับปรุ งเองไว้ดว้ ยแล้ว
5

2. สั ญลักษณ์ แสดงลักษณะและเป้าหมายของกิจกรรมการเรียนรู้
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ สุ ขศึกษาและพลศึกษาชุดนี้ สามารถใช้คู่กบั หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน
สุ ขศึกษาและพลศึกษา และยังสอดรับกับคู่มือการสอน ฯ สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint (CD) และแบบฝึ กทักษะ
รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษาและพลศึกษา ซึ่งทุกเล่มได้มีสญ ั ลักษณ์กาํ กับกิจกรรมการเรี ยนรู ้ไว้ทุกกิจกรรมเพื่อช่วยให้
ครู และนักเรี ยนรู้และเข้าใจถึงลักษณะและเป้ าหมายของกิจกรรมนั้น ๆ ซึ่งจะช่วยให้สามารถจัดกิจกรรมได้ดียงิ่ ขึ้น
สัญลักษณ์แสดงลักษณะกิจกรรมการเรี ยนรู ้มีดงั นี้

โครงงาน เป็ นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้นกั เรี ยนพัฒนาการคิดการวางแผนและการแก้ปัญหา\

การพัฒนากระบวนการคิด เป็ นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้นกั เรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรมเพื่อพัฒนา


กระบวนการคิดด้านต่าง ๆ

การประยุกต์ ใช้ ในชีวติ เป็ นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้นกั เรี ยนนําความรู้ ทักษะไปประยุกต์ใช้ใน


ชีวิตประจําวันให้เกิดประโยชน์สูงสุด

การปฏิบัตจิ ริง/ฝึ กทักษะ เป็ นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้นกั เรี ยนได้ปฏิบตั ิจริ งหรื อฝึ กปฏิบตั ิเพื่อเกิด
ทักษะอันจะช่วยให้การเรี ยนรู้เป็ นไปตามเป้ าหมายอย่างสมบูรณ์และติดตัวคงทน

การศึกษาค้ นคว้า/สื บค้ น เป็ นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้นกั เรี ยนศึกษาค้นคว้าหรื อสื บค้น เพื่อสร้าง
องค์ความรู้ดว้ ยตนเองจนเกิดเป็ นนิสยั

การสํ ารวจ เป็ นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้นกั เรี ยนสํารวจ รวบรวมข้อมูล เพื่อนํามาศึกษาวิเคราะห์


หาเหตุ หาผล ฝึ กให้เป็ นผูท้ ี่มีความรอบ

การสั งเกต เป็ นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้นกั เรี ยนรู ้จกั สังเกตสิ่ งที่ตอ้ งการเรี ยนรู ้จนสร้างองค์ความรู้ได้
อย่างเป็ นระบบและมีเหตุผล
6

ทักษะการฟัง/ดู เป็ นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้นกั เรี ยนได้พฒั นาทักษะการฟังและการดูต่าง ๆ

ทักษะการพูด เป็ นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้นกั เรี ยนได้พฒั นาทักษะการพูดประเภทต่าง ๆ

ทักษะการอ่าน เป็ นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้นกั เรี ยนได้พฒั นาทักษะการอ่านประเภทต่าง ๆ

ทักษะการเขียน เป็ นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้นกั เรี ยนได้พฒั นาทักษะการเขียนประเภทต่าง ๆ

การคิดคํานวณ เป็ นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้นกั เรี ยนได้พฒั นาทักษะการคิดคํานวณ

กิจกรรมสํ าหรับกลุ่มพิเศษ เป็ นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้นกั เรี ยนได้พฒั นาการเรี ยนรู ้เพิ่มเติม เพื่อการ
พัฒนาให้เต็มตามศักยภาพ

กิจกรรมสํ าหรับซ่ อมเสริม เป็ นกิจกรรมสําหรับให้นกั เรี ยนได้เรี ยนซ่อมเสริ ม เพื่อให้เกิดการ


เรี ยนรู ้ตามตัวชี้วดั

ความคิดริเริ่มสร้ างสรรค์ เป็ นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้นกั เรี ยนได้พฒั นาทักษะการคิดริ เริ่ ม


สร้างสรรค์

การเคลื่อนไหวร่ างกาย เป็ นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้นกั เรี ยนได้พฒั นาทักษะการเคลื่อนไหวร่ างกาย


ของตนเองให้ดียงิ่ ขึ้น
7

3. การออกแบบการจัดการเรียนรู้ ตามแนวคิดของ Backward Design


การจัดการเรี ยนรู้หรื อการสอนเป็ นงานที่ครู ทุกคนต้องใช้กลวิธีต่าง ๆ มากมายเพื่อให้นกั เรี ยนสนใจที่จะ
เรี ย นรู ้ แ ละเกิ ด ผลตามที่ ค รู ค าดหวัง การจัด การเรี ย นรู ้ จ ัด เป็ นศาสตร์ ที่ ต้อ งใช้ค วามรู ้ ค วามสามารถตลอดจน
ประสบการณ์อย่างมาก ครู บางคนอาจจะละเลยเรื่ องของการออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้หรื อการออกแบบการสอน
ซึ่งเป็ นงานที่ครู จะต้องทําก่อนการเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ทําอย่ างไร ทําไมจึงต้ องออกแบบการจัดการเรียนรู้
ครู ทุกคนผ่านการศึ กษาและได้เรี ยนรู้ เกี่ ยวกับการออกแบบการเรี ยนรู ้มาแล้ว ในอดี ตการออกแบบการ
เรี ยนรู้จะเริ่ มต้นจากการกําหนดจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ การวางแผนการจัดการเรี ยนรู้ การดําเนิ นการจัดการเรี ยนรู้
และการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ ปั จจุบนั การเรี ยนรู้ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ และ
สังคม รวมทั้งการเปลี่ ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่เข้ามามี บทบาทต่อการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน ซึ่ ง
นักเรี ยนสามารถเรี ยนรู ้ได้จากสื่ อและแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ที่มีอยูร่ อบตัว ดังนั้นการออกแบบการจัดการเรี ยนรู้จึงเป็ น
กระบวนการสําคัญที่ครู จาํ เป็ นต้องดําเนินการให้เหมาะสมกับศักยภาพของนักเรี ยนแต่ละบุคคล
แกรนต์ วิ กกิ น ส์ (Grant Wiggins) และเจย์ แมกไท (Jay McTighe) นักการศึ ก ษาชาวอเมริ กัน ได้เสนอ
แนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้ ซึ่งเขาเรี ยกว่า Backward Design เป็ นการออกแบบการจัดการเรี ยนรู้
ที่ครู จะต้องกําหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยนก่อน โดยทั้งสองให้ชื่อว่า ความเข้ าใจที่ คงทน
(enduring understandings) เมื่อกําหนดความเข้าใจที่คงทนได้แล้ว ครู จะต้องบอกให้ได้ว่าความเข้าใจที่คงทนของ
นักเรี ยนนี้เกิดจากอะไร นักเรี ยนจะต้องมีหรื อแสดงพฤติกรรมอะไรบ้าง ครู มีหรื อใช้วิธีการวัดอะไรบ้างที่จะบอกว่า
นักเรี ยนมีหรื อแสดงพฤติกรรมเหล่านั้นแล้ว จากนั้นครู จึงนึ กถึงวิธีการจัดการเรี ยนรู ้ที่จะทําให้นักเรี ยนเกิดความ
เข้าใจที่คงทนต่อไป
แนวคิดของ Backward Design
Backward Design เป็ นการออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้ที่ใช้ผลลัพธ์ปลายทางเป็ นหลัก ซึ่งผลลัพธ์ปลายทาง
นี้จะเกิดขึ้นกับนักเรี ยนก็ต่อเมื่อจบหน่วยการเรี ยนรู ้ ทั้งนี้ครู จะต้องออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ โดยใช้กรอบความคิด
ที่เป็ นเหตุเป็ นผล มีความสัมพันธ์กนั จากนั้นจึงจะลงมือเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้ ขยายรายละเอียดเพิ่มเติมให้มี
คุณภาพและประสิ ทธิ ภาพต่อไป
กรอบความคิดหลักของการออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้โดย Backward Design มีข้ นั ตอนหลักที่สาํ คัญ 3 ขั้นตอน คือ
ขั้นที่ 1 กําหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กําหนดภาระงานและการประเมินผลการเรี ยนรู้ซ่ ึงเป็ นหลักฐานที่แสดงว่านักเรี ยนมีผลการเรี ยนรู ้
ตามที่กาํ หนดไว้อย่างแท้จริ ง
ขั้นที่ 3 วางแผนการจัดการเรี ยนรู้
ขั้นที่ 1 กําหนดผลลัพธ์ ปลายทางที่ต้องการให้ เกิดขึน้ กับผู้เรียน
ก่อนที่จะกําหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยนนั้น ครู ควรตอบคําถามสําคัญต่อไปนี้
1. นักเรี ยนควรจะมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถทําสิ่ งใดได้บา้ ง
2. เนื้อหาสาระใดบ้างที่มีความสําคัญต่อการสร้างความเข้าใจของนักเรี ยน และความเข้าใจที่คงทนที่ครู
ต้องการจัดการเรี ยนรู้ให้แก่นกั เรี ยนมีอะไรบ้าง
8

เมื่ อ จะตอบคําถามสําคัญ ดังกล่ าวข้างต้นให้ค รู นึกถึ งเป้ าหมายของการศึ กษา มาตรฐานการเรี ยนรู้ ด้าน
เนื้ อหาระดับชาติที่ปรากฏอยู่ในหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 รวมทั้งมาตรฐานการ
เรี ยนรู ้ระดับเขตพื้นที่การศึกษาหรื อท้องถิ่น
การทบทวนความคาดหวัง ของหลัก สู ต รการศึ ก ษาขั้น พื้ น ฐานเนื่ อ งจากมาตรฐานแต่ ล ะระดับ จะมี
ความสัมพันธ์กบั เนื้ อหาสาระต่าง ๆ ซึ่ งมีความแตกต่างลดหลัน่ กันไปด้วยเหตุน้ ี ข้ นั ที่ 1 ของ Backward Design ครู
จึงต้องจัดลําดับความสําคัญ และเลื อกผลลัพธ์ปลายทางของนักเรี ยนซึ่ งเป็ นผลการเรี ยนรู้ท่ี เกิ ดจากความเข้าใจที่
คงทนต่อไป
ความเข้ าใจที่คงทนของนักเรียน
ความเข้าใจที่คงทนคืออะไรความเข้าใจที่คงทนเป็ นความรู้ที่ลึกซึ้ง ได้แก่ ความคิดรวบยอด ความสัมพันธ์
และหลักการของเนื้อหาและวิชาที่นกั เรี ยนเรี ยนรู ้ หรื อกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ เป็ นความรู ้ท่ีอิงเนื้อหา ความรู ้น้ ีเกิดจาก
การสะสมข้อมูลต่าง ๆ ของนักเรี ยน และเป็ นองค์ความรู้ที่นกั เรี ยนสร้างขึ้นด้วยตนเอง
การเขียนความเข้ าใจที่คงทนในการออกแบบการจัดการเรียนรู้
ถ้าความเข้าใจที่คงทนหมายถึงสาระสําคัญของสิ่ งที่จะเรี ยนรู ้แล้ว ครู ควรจะรู้วา่ สาระสําคัญหมายถึงอะไร
คําว่า สาระสําคัญ มาจากคําว่า Concept ซึ่ งนักการศึ กษาของไทยแปลเป็ นภาษาไทยว่า สาระสําคัญ ความคิ ด
รวบยอด มโนทัศน์ มโนมติ และสังกัป แต่การเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้นิยมใช้คาํ ว่า สาระสําคัญ
สาระสําคัญเป็ นข้อความที่แสดงแก่นหรื อเป้ าหมายเกี่ยวกับเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งเพื่อให้ได้ขอ้ สรุ ปรวมและข้อ
แตกต่างเกี่ ยวกับเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ ง โดยอาจครอบคลุมข้อเท็จจริ ง กฎ ทฤษฎี ประเด็น และการสรุ ปสาระสําคัญและ
ข้อความที่มีลกั ษณะรวบยอดอย่างอื่น
ประเภทของสาระสําคัญ
1. ระดับกว้าง (Broad Concept)
2. ระดับการนําไปใช้ (Operative Concept หรื อ Functional Concept)
ตัวอย่ างสาระสําคัญระดับกว้ าง
– พัฒนาการทางเพศ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของร่ างกายโดยมีฮอร์โมนเป็ นตัวเร่ งการเจริ ญเติบโต
ตัวอย่ างสาระสําคัญระดับนําไปใช้
– การเจริ ญ เติ บโตของมนุ ษ ย์จะเป็ นไปตามเพศและวัยที่ เปลี่ ยนแปลงไป โดยมี ฮอร์ โมนเป็ นตัวเร่ งการ
เจริ ญเติบโตลักษณะการเจริ ญเติบโตของร่ างกายทางเพศมนุ ษย์ สามารถมองเห็นได้จากขนาดของร่ างกายที่มีขนาด
ใหญ่ข้ ึนมีการเปลี่ยนแปลงทางร่ างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
แนวทางการเขียนสาระสําคัญ
1. ให้เขียนสาระสําคัญของทุกเรื่ อง โดยแยกเป็ นข้อ ๆ (จํานวนข้อของสาระสําคัญจะเท่ากับจํานวนเรื่ อง)
2. การเขียนสาระสําคัญที่ดีควรเป็ นสาระสําคัญระดับการนําไปใช้
3. สาระสําคัญต้องครอบคลุมประเด็นสําคัญครบถ้วน เพราะหากขาดส่ วนใดไปแล้ว จะทําให้นกั เรี ยนรับ
สาระสําคัญที่ผดิ ไปทันที
4. การเขียนสาระสําคัญที่จะให้ครอบคลุมประเด็นสําคัญวิธีการหนึ่งคือ การเขียนแผนผังสาระสําคัญ
9

ตัวอย่ างการเขียนแผนผังสาระสําคัญเรื่ องความหมายและลักษณะของพัฒนาการทางเพศ

ความหมายของ การเปลี่ยนแปลงในส่วนที่
การพัฒนาการทางเพศ เกี่ยวกับแรงผลักดันทางเพศ
ความหมายและลักษณะ บทบาททางเพศ และ
ของพัฒนาการทางเพศ พฤติกรรมทางเพศ
ลักษณะของการ เด็กหญิงจะเข้าสู่ช่วงในวัยรุ่ น
พัฒนาการทางเพศ เร็ วกว่าเด็กชาย

สาระสํ าคัญของความหมายและลักษณะของพัฒนาการทางเพศ: พัฒนาการทางเพศ เป็ นการเปลี่ยนแปลง


ของร่ างกายในส่ วนที่เกี่ ยวข้องกับแรงผลักดันทางเพศ บทบาททางเพศ และพฤติกรรมทางเพศของคนเรา โดยมี
ปัจจัยที่สาํ คัญ ซึ่งเกิดจากฮอร์โมนที่ต่อมเพศผลิตออกมา ซึ่งพบว่าเด็กหญิงจะมีพฒั นาการทางเพศที่เร็ วกว่าเด็กชาย
5. การเขี ยนสาระสําคัญ เกี่ยวกับเรื่ องใด ควรเขียนลักษณะเด่นที่ มองเห็นได้หรื อนึ กได้ออกมาเป็ นข้อ ๆ
แล้วจําแนกลักษณะเหล่านั้นเป็ นลักษณะจําเพาะและลักษณะประกอบ
6. การเขี ยนข้อความที่ เป็ นสาระสําคัญ ควรใช้ภาษาที่มีการขัดเกลาอย่างดี เลี่ยงคําที่มีความหมายกํากวม
หรื อฟุ่ มเฟื อย

ตัวอย่ างการเขียนสาระสําคัญ เรื่ อง ความหมายและลักษณะพัฒนาการทางเพศ

โครงสร้ างของกระดูก ลักษณะจําเพาะ ลักษณะประกอบ


มีน้ าํ หนักและส่วนสูงเพิ่มขึ้น  –
ต่อมเพศเริ่ มผลิตฮอร์โมน – 
มีลกั ษณะการเปลี่ยนแปลง  –
ทางร่ างกายอย่างเด่นชัด
เพศหญิงและเพศชายแตกต่างกัน – 

สาระสําคัญของความหมายและลักษณะพัฒนาการทางเพศ: พัฒนาการทางเพศเป็ นการเปลี่ยนแปลงของ


ร่ างกายในส่วนที่เกี่ยวข้องกับแรงผลักดันทางเพศ บทบาททางเพศ และพฤติกรรมทางเพศของคนเรา โดยมีปัจจัยที่
สําคัญซึ่งเกิดจากฮอร์โมนที่ต่อมเพศผลิตออกมา ซึ่งพบว่าเด็กหญิงจะมีพฒั นาการทางเพศที่เร็ วกว่าเด็กชาย
ขั้นที่ 2 กําหนดภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็ นหลักฐานที่แสดงว่ านักเรียนมีผลการเรียนรู้
ตามที่กาํ หนดไว้อย่างแท้ จริง
เมื่อครู กาํ หนดผลลัพธ์ปลายทางที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยนแล้วก่อนที่จะดําเนินการขั้นต่อไปขอให้ครู
ตอบคําถามสําคัญต่อไปนี้
10

– นักเรี ยนมีพฤติกรรมหรื อแสดงออกในลักษณะใด จึงทําให้ครู ทราบว่านักเรี ยนบรรลุผลลัพธ์ปลายทาง


ตามที่กาํ หนดไว้แล้ว
– ครู มี หลักฐานหรื อ ใช้วิธีการใดที่ สามารถระบุ ได้ว่านักเรี ยนมี พฤติ กรรมหรื อแสดงออกตามผลลัพธ์
ปลายทางที่กาํ หนดไว้
การออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้ตามหลักการของ Backward Design เน้นให้ครู รวบรวมหลักฐานการวัดและ
ประเมินผลการเรี ยนรู้ที่จาํ เป็ นและมีหลักฐานเพียงพอที่จะกล่าวได้วา่ การจัดการเรี ยนรู ้ทาํ ให้นกั เรี ยนเกิดผลสัมฤทธิ์
ไม่ ใช่ เรี ย นแค่ ให้ จบตามหลัก สู ต รหรื อ เรี ย นตามชุ ด ของกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ ที่ ค รู ก าํ หนดไว้เท่ านั้น วิธี การของ
Backward Design ต้อ งการกระตุ ้น ให้ ค รู คิ ด ล่ ว งหน้าว่า ครู ค วรจะกํา หนดและรวบรวมหลัก ฐานเชิ ง ประจัก ษ์
อะไรบ้างก่อนที่จะออกแบบหน่วยการเรี ยนรู ้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลักฐานดังกล่าวควรจะเป็ นหลักฐานที่สามารถใช้
เป็ นข้อมูลย้อนกลับที่มีประโยชน์สาํ หรับนักเรี ยนและครู ได้เป็ นอย่างดี นอกจากนี้ ครู ควรใช้วิธีการวัดและประเมิน
แบบต่อเนื่ องอย่างไม่เป็ นทางการและเป็ นทางการ ตลอดระยะเวลาที่ ครู จดั กิ จกรรมการเรี ยนรู ้ให้แก่นักเรี ยน ซึ่ ง
สอดคล้องกับแนวคิ ดที่ ต้องการให้ค รู ท าํ การวัดและประเมิ นผลการเรี ยนรู้ ระหว่างการจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู้ ที่
เรี ยกว่า สอนไปวัดผลไป
จึงกล่าวได้ว่า ขั้นนี้ ครู ควรนึ กถึงพฤติกรรมหรื อการแสดงออกของนักเรี ยน โดยพิจารณาจากผลงานหรื อ
ชิ้นงานที่เป็ นหลักฐานเชิงประจักษ์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่านักเรี ยนเกิดผลลัพธ์ปลายทางตามเกณฑ์ที่กาํ หนดไว้แล้ว และ
เกณฑ์ที่ใช้ประเมินควรเป็ นเกณฑ์คุณภาพในรู ปของมิติคุณภาพ (Rubrics) อย่างไรก็ตาม ครู อาจจะมีหลักฐานหรื อ
ใช้วิธีการอื่น ๆ เช่น การทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน การสัมภาษณ์ การศึกษาค้นคว้า การฝึ กปฏิบตั ิขณะเรี ยนรู้
ประกอบด้วยก็ได้
หลังจากที่ครู ได้กาํ หนดผลลัพธ์ปลายทางที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยนแล้ว ครู ควรกําหนดภาระงานและ
วิธีการประเมินผลการเรี ยนรู ้ ซึ่ งเป็ นหลักฐานที่แสดงว่านักเรี ยนมีผลการเรี ยนรู้ตามผลลัพธ์ปลายทางที่กาํ หนดไว้
แล้ว
ภาระงาน หมายถึง งานหรื อกิจกรรมที่กาํ หนดให้นกั เรี ยนปฏิบตั ิเพื่อให้บรรลุตามจุดประสงค์การเรี ยนรู้/
ตัวชี้ วดั ชั้นปี /มาตรฐานการเรี ยนรู ้ที่กาํ หนดไว้ ลักษณะสําคัญของงานจะต้องเป็ นงานที่สอดคล้องกับชี วิตจริ งใน
ชีวิตประจําวัน เป็ นเหตุการณ์จริ งมากกว่ากิจกรรมที่จาํ ลองขึ้นเพื่อใช้ในการทดสอบ ซึ่งเรี ยกว่า งานที่ปฏิบตั ิเป็ นงาน
ที่มีความหมายต่อนักเรี ยน (Meaningful Task) นอกจากนี้งานและกิจกรรมจะต้องมีขอบเขตที่ชดั เจนสอดคล้องกับ
จุดประสงค์การเรี ยนรู ้/ตัวชี้วดั ชั้นปี /มาตรฐานการเรี ยนรู ้ที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยน
ทั้งนี้ เมื่ อ ได้ภาระงานครบถ้วนตามที่ ต้อ งการแล้วครู จะต้อ งนึ ก ถึ งวิธีการและเครื่ องมื อ ที่ จะใช้วดั และ
ประเมิ นผลการเรี ยนรู ้ ของนักเรี ยนซึ่ งมี อยู่มากมายหลายประเภทครู จะต้องเลื อกให้เหมาะสมกับ ภาระงานที่ ค รู
ปฏิบตั ิ
11

ตัวอย่างแสดงภาระงาน/ชิ้นงานแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 5


เรื่ อง ความหมายและลักษณะของพัฒนาการทางเพศ รวมทั้งการกําหนดวิธีการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
จุดประสงค์ สาระ กิจกรรม ภาระงาน/ การวัดและประเมินผล
สื่ อการเรียนรู้
การเรียน การเรียนรู้ การเรียนรู้ ชิ้นงาน วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
1. อธิบายการเปลี่ยนแปลง • พัฒนาการ 1. ตอบคําถาม • การปฏิบตั ิ 1. การซักถาม 1. แผนประเมินผล 1. เกณฑ์คุณภาพ 1. ภาพประกอบลักษณะ
ทางด้านร่ างกายจิตใจ ทางเพศและ เกี่ยวกับ กิจกรรมการ 2. การทํางาน การอภิปราย 3 อันดับ การเปลี่ยนแปลงทาง
อารมณ์และสังคมใน การปฏิบตั ิตน พัฒนาการ วิเคราะห์ กลุ่ม 2. แผนสังเกตการ 2. เกณฑ์คุณภาพ ร่ างกาย
วัยแรกรุ่ นและวัยรุ่ น ที่เหมาะสม ทางเพศของ รู ปภาพและ 3. การปฏิบตั ิ ทํางานกลุ่ม 3 อันดับ 2. ภาพประกอบวิธีการ
อย่างถูกต้องได้ (K) วัยรุ่ น อภิปรายภาพใด กิจกรรม 3. แบบ 3. เกณฑ์คุณภาพ ปฏิบตั ิตนให้เหมาะสม
2. มีทศั นคติที่ดีต่อการ 2. การปฏิบตั ิ เป็ นการกระทํา วิเคราะห์ ประเมินผล/ 3 อันดับ/ ของวัยรุ่ น
เปลี่ยนแปลงเมื่อเข้าสู่ กิจกรรมการ ที่ถูกต้องและ และ รู ปแบบที่ ความถูกต้อง
วัยแรกรุ่ นและวัยรุ่ น (A) วิเคราะห์ ไม่ถูกต้อง อภิปราย กําหนดใน ร้อยละ 80
3. แสดงทักษะในการ รู ปภาพและ กิจกรรม กิจกรรม ขึ้นไป
ปรับตัวเมื่อเข้าสู่วยั อภิปราย 4. การเขียน 4. แบบประเมินผล 4. เกณฑ์คุณภาพ
แรกรุ่ นและวัยรุ่ น ภาพใดเป็ น สรุ ปความรู้ การนําเสนอ 3 อันดับ
อย่างถูกต้องได้ (P) การกระทําที่ ข้อมูล
ถูกต้องและ
ไม่ถูกต้อง
3. การเขียนสรุ ป
12

ความเข้าใจที่คงทนจะเกิดขึ้นได้นกั เรี ยนจะต้องมีความสามารถ 6 ประการ ได้แก่


1. การอธิบาย ชี้แจง เป็ นความสามารถที่ นักเรี ยนแสดงออกโดยการอธิ บายหรื อชี้ แจงในสิ่ งที่ เรี ยนรู ้ได้
อย่างถูกต้อง สอดคล้อง มีเหตุมีผล และเป็ นระบบ
2. การแปลความและตีความ เป็ นความสามารถที่นกั เรี ยนแสดงออกโดยการแปลความและตีความได้อย่าง
มีความหมาย ตรงประเด็น กระจ่างชัด และทะลุปรุ โปร่ ง
3. การประยุกต์ ดัดแปลง และนําไปใช้ เป็ นความสามารถที่นักเรี ยนแสดงออกโดยการนําสิ่ งที่ ได้เรี ยนรู้
ไปสู่การปฏิบตั ิได้อย่างมีประสิ ทธิผล มีประสิ ทธิภาพ และคล่องแคล่ว
4. การมีมุมมองที่หลากหลาย เป็ นความสามารถที่นกั เรี ยนแสดงออกโดยการมีมุมมองที่น่าเชื่อถือ เป็ นไป
ได้ มีความลึกซึ้ง แจ่มชัด และแปลกใหม่
5. การให้ ความสํ าคัญและใส่ ใจในความรู้ สึกของผู้อื่น เป็ นความสามารถที่ นักเรี ยนแสดงออกโดยการมี
ความละเอียดรอบคอบ เปิ ดเผย รับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น ระมัดระวังที่จะไม่ให้เกิดความกระทบกระเทือนต่อผูอ้ ื่น
6. การรู้ จักตนเอง เป็ นความสามารถที่นกั เรี ยนแสดงออกโดยการมีความตระหนักรู ้ สามารถประมวลผล
ข้อมูลจากแหล่งที่หลากหลาย ปรับตัวได้ รู ้จกั ใคร่ ครวญ และมีความเฉลียวฉลาด
นอกจากนี้ หลักสู ตรแกนกลางการศึ กษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กาํ หนดสมรรถนะสําคัญของ
นักเรี ยนหลังจากสําเร็ จการศึกษาตามหลักสูตรไว้ 5 ประการ ดังนี้
1. ความสามารถในการสื่ อสาร เป็ นความสามารถของนักเรี ยนในการถ่ายทอดความคิด ความรู ้ ความเข้าใจ
ความรู้ สึก และทัศนะของตนเอง เพื่อ แลกเปลี่ ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์ อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการ
พัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อประนีประนอม การเลือกที่จะรับและไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วย
หลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่ อสารที่ มีประสิ ทธิ ภาพ โดยคํานึ งถึงผลกระทบที่มีต่อ
ตนเองและสังคม
2. ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถของนักเรี ยนในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิ ด
อย่างมีวิจารณญาณ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดเชิงคุณธรรม และการคิดอย่างเป็ นระบบ เพื่อนําไปสู่ การสร้าง
องค์ความรู้หรื อสารสนเทศ เพื่อการตัดสิ นใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ ปัญหา เป็ นความสามารถของนักเรี ยนในการแก้ปัญหาและอุ ปสรรคต่าง ๆ ที่
เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรม และข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ ต่าง ๆ ในสังคม ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้ องกันและแก้ไขปั ญ หา และมี การ
ตัดสิ นใจที่มีประสิ ทธิ ภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเองสังคมและสิ่ งแวดล้อม
4. ความสามารถในการใช้ ทักษะกระบวนการและทักษะในการดําเนินชีวิต เป็ นความสามารถของนักเรี ยน
ในการนํากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดําเนิ นชี วิตประจําวัน การทํางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการ
สร้ างเสริ มความสัมพันธ์อนั ดี ระหว่างบุ ค คล การจัดการและหาทางออกที่ เหมาะสมด้านความขัดแย้งและความ
แตกต่างระหว่างบุคคล การปรับตัวให้ทนั กับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม การสื บเสาะหาความรู้
และการรู้จกั หลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ซ่ ึงจะส่งผลกระทบต่อตนเองและผูอ้ ื่น
13

5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี เป็ นความสามารถของนักเรี ยนในการเลือกใช้เทคโนโลยีดา้ นต่าง ๆ


ทั้งด้านวัตถุ แนวคิด และวิธีการในการพัฒนาตนเองและสังคมด้านการเรี ยนรู ้ การสื่ อสาร การทํางาน การแก้ปัญหา
และการอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม
นอกจากสมรรถนะสําคัญของนักเรี ยนหลังจากสําเร็ จการศึกษาตามหลักสู ตรที่กล่าวแล้วข้างต้นหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กาํ หนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับ
ผูอ้ ื่นในสังคมได้อย่างมีความสุ ขในฐานะเป็ นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก
1. รักชาติศาสน์กษัตริ ย ์
2. ซื่อสัตย์สุจริ ต
3. มีวินยั
4. ใฝ่ เรี ยนรู้
5. อยูอ่ ย่างพอเพียง
6. มุ่งมัน่ ในการทํางาน
7. รักความเป็ นไทย
8. มีจิตสาธารณะ
นอกจากนี้ สถานศึกษาสามารถกําหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพิ่มเติมให้สอดคล้องตามบริ บทและ
จุดเน้นของตน ดังนั้นการกําหนดภาระงานให้นกั เรี ยนปฏิบตั ิ รวมทั้งการเลือกวิธีการและเครื่ องมือประเมินผลการ
เรี ยนรู ้น้ นั ครู ควรคํานึ งถึงความสามารถของผูเ้ รี ยน 5 ประการ ตามแนวคิดของ Backward Design สมรรถนะสําคัญ
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรี ยนหลังจากสําเร็ จการศึกษาตามหลักสูตรที่ได้กล่าวไว้ขา้ งต้น เพื่อให้ภาระ
งาน วิธีการ และเครื่ องมือวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ครอบคลุมสิ่ งที่สะท้อนผลลัพธ์ปลายทางที่ตอ้ งการให้เกิด
ขึ้นกับนักเรี ยนอย่างแท้จริ ง
นอกจากนี้ การออกแบบการเรี ยนรู ้ตามแนวคิดของ Backward design ในขั้นที่ 2 นี้ ครู จะต้องคํานึงถึงภาระ
งานวิธีการเครื่ องวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ที่มีความเที่ ยงตรง เชื่ อถื อได้ มี ประสิ ทธิ ภาพ ตรงกับสภาพจริ ง มี
ความยืดหยุน่ และให้ความสบายใจแก่นกั เรี ยนเป็ นสําคัญ
ขั้นที่ 3 วางแผนการจัดการเรียนรู้
เมื่อครู มีความรู้ความเข้าใจที่ชดั เจนเกี่ยวกับการกําหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยน
รวมทั้งกําหนดภาระงานและการประเมิ นผลการเรี ยนรู้ ซ่ ึ งเป็ นหลักฐานที่ แสดงว่านักเรี ยนเกิ ด การเรี ยนรู ้ตามที่
กําหนดไว้อย่างแท้จริ งแล้ว ขั้นต่อไปครู ควรนึกถึงกิจกรรมการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ที่จะจัดให้แก่นกั เรี ยน การที่ครู จะนึกถึง
กิจกรรมต่าง ๆ ที่จะจัดให้นกั เรี ยนได้น้ นั ครู ควรตอบคําถามสําคัญต่อไปนี้
– ถ้าครู ตอ้ งการจะจัดการเรี ยนรู ้ให้นกั เรี ยนเกิดความรู ้เกี่ยวกับข้อเท็จจริ ง ความคิดรวบยอด หลักการ และ
ทักษะกระบวนการต่าง ๆ ที่ จาํ เป็ นสําหรั บนักเรี ยน ซึ่ งจะทําให้นักเรี ยนเกิ ดผลลัพธ์ ป ลายทางตามที่ กาํ หนดไว้
รวมทั้งเกิดเป็ นความเข้าใจที่คงทนต่อไปนั้น ครู สามารถจะใช้วิธีการง่าย ๆ อะไรบ้าง
– กิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่จะช่วยเป็ นสื่ อนําให้นกั เรี ยนเกิดความรู ้และทักษะที่จาํ เป็ นมีอะไรบ้าง
– สื่ อและแหล่งการเรี ยนรู้ที่เหมาะสมและดีที่สุด ซึ่ งจะทําให้นกั เรี ยนบรรลุตามมาตรฐานของหลักสู ตรมี
อะไรบ้าง
14

– กิจกรรมการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ที่กาํ หนดไว้ควรจัดกิจกรรมใดก่อน และควรจัดกิจกรรมใดภายหลัง


– กิจกรรมต่าง ๆ ออกแบบไว้เพื่อตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลของนักเรี ยนหรื อไม่ เพราะเหตุใด
การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ เพื่อให้นกั เรี ยนเกิดผลลัพธ์ปลายทางตามแนวคิดของ Backward Design
นั้น วิกกินส์และแม็คไทได้เสนอแนะให้ครู เขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้แนวคิดของ WHERETO (ไปที่ไหน)
ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
W แทนกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่จดั ให้น้ นั จะต้องช่วยให้นกั เรี ยนรู้วา่ หน่วยการเรี ยนรู ้น้ ีจะดําเนินไปในทิศทาง
ใด (Where) และสิ่ งที่ คาดหวังคื ออะไร (What) มีอะไรบ้างช่วยให้ครู ทราบว่านักเรี ยนมีความรู ้พ้ืนฐานและความ
สนใจอะไรบ้าง
H แทนกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ควรดึงดูดความสนใจนักเรี ยนทุกคน (Hook) ทําให้นกั เรี ยนเกิดความสนใจใน
สิ่ งที่จะเรี ยนรู ้ (Hold) และใช้สิ่งที่นกั เรี ยนสนใจเป็ นแนวทางในการจัดการเรี ยนรู้
E แทนกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ควรส่ งเสริ ม และจัดให้ (Equip) นักเรี ยนได้มีป ระสบการณ์ (Experience) ใน
แนวคิดหลัก/ความคิดรวบยอด และสํารวจ รวมทั้งวินิจฉัย (Explore) ในประเด็นต่าง ๆ ที่น่าสนใจ
R แทนกิจกรรมการเรี ยนรู ้ควรเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้คิดทบทวน (Rethink) ปรับ (Revise) ความเข้าใจ
ในความรู ้และงานที่ปฏิบตั ิ
E แทนกิจกรรมการเรี ยนรู ้ควรเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้ประเมิน (Evaluate) ผลงานและสิ่ งที่เกี่ยวข้องกับ
การเรี ยนรู ้
T แทนกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ควรออกแบบ (Tailored) สําหรับนักเรี ยนเป็ นรายบุคคลเพื่อให้สอดคล้องกับ
ความต้องการ ความสนใจ และความสามารถที่แตกต่างกันของนักเรี ยน
O แทนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ให้เป็ นระบบ (Organized) ตามลําดับการเรี ยนรู้ของนักเรี ยนและ
กระตุน้ ให้นกั เรี ยนมีส่วนร่ วมในการสร้างองค์ความรู ้ต้ งั แต่เริ่ มแรกและตลอดไปทั้งนี้เพื่อการเรี ยนรู ้ที่มีประสิ ทธิผล
อย่างไรก็ตาม มีขอ้ สังเกตว่า การวางแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่มีการกําหนดวิธีการจัดการเรี ยนรู ้ การลําดับ
บทเรี ยน รวมทั้งสื่ อและแหล่ งการเรี ยนรู้ ที่ เฉพาะเจาะจงนั้น จะประสบผลสําเร็ จได้ก็ต่อเมื่ อครู ได้มีการกําหนด
ผลลัพธ์ปลายทาง หลักฐาน และวิธีการวัดและประเมินผลที่แสดงว่านักเรี ยนมีผลการเรี ยนรู้ตามที่กาํ หนดไว้อย่าง
แท้จริ งแล้ว การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้เป็ นเพียงสื่ อที่จะนําไปสู่เป้ าหมายความสําเร็ จที่ตอ้ งการเท่านั้น ด้วยเหตุน้ ีถา้
ครู มีเป้ าหมายที่ ชดั เจนก็จะช่วยทําให้การวางแผนการจัดการเรี ยนรู ้และการจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู้ สามารถทําให้
นักเรี ยนเกิดผลสัมฤทธิ์ตามที่กาํ หนดไว้ได้
โดยสรุ ป จึ งกล่ าวได้ว่า ขั้น นี้ เป็ นการค้นหาสื่ อ การเรี ย นรู ้ แหล่ ง การเรี ย นรู ้ และกิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ที่
สอดคล้องเหมาะสมกับนักเรี ยน กิจกรรมที่กาํ หนดขึ้นควรเป็ นกิจกรรมที่จะส่ งเสริ มให้นกั เรี ยนสามารถสร้างและ
สรุ ปเป็ นความคิดรวบยอดและหลักการที่ สาํ คัญของสาระที่เรี ยนรู ้ ก่อให้เกิดความเข้าใจที่คงทนรวมทั้งความรู ้สึก
และค่านิยมที่ดีไปพร้อม ๆ กับทักษะความชํานาญ
15

กรอบแนวคิดผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้เพือ่ เน้ นสู่ ผลลัพธ์ ปลายทาง (Backward Design Template)


หน่ วยการเรียนรู้ที่...........................................
ขั้นตอนที่ 1 ผลลัพธ์ ปลายทางที่ต้องการให้ เกิดขึน้ กับนักเรียน (Design Results)
ตัวชี้วดั ชั้นปี
.......................................................................................................................................................................................
ความเข้ าใจทีค่ งทนของนักเรียน คําถามสํ าคัญทีก่ ระตุ้นให้ นักเรียนเกิดความเข้ าใจทีค่ งทน
 เมื่อศึกษาจบหน่วยการเรี ยนรู ้น้ ี นักเรี ยนจะเข้ าใจ
ว่า…
1. ............................................................................... – ............................................................................................
2. ............................................................................... – ............................................................................................

ความรู้ของนักเรียนที่จะนําไปสู่ ความเข้ าใจทีค่ งทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนทีจ่ ะนําไปสู่ ความเข้ าใจที่


 เมื่อศึกษาจบหน่วยการเรี ยนรู ้น้ ี นักเรี ยนจะรู้ ว่า… คงทน
 เมื่อศึกษาจบหน่วยการเรี ยนรู ้ นักเรี ยนควรมีทักษะและ
สามารถที่จะ…
1. ............................................................................... 1. ..........................................................................................
2. ............................................................................... 2. ..........................................................................................
3. ............................................................................... 3. ..........................................................................................
ขั้นที่ 2 หลักฐานในการประเมินเพือ่ แสดงว่ านักเรียนมีผลการเรียนรู้ตามที่กาํ หนด (Assessment Evidence)
1. ภาระงานทีน่ ักเรียนปฏิบัติ
– ...............................................................................................................................................................................
– ...............................................................................................................................................................................
2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
• วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ • เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
– การสนทนาซักถามโดยครู – แบบบันทึกการสนทนา
– การวัดและประเมินผลด้านความรู ้ – แบบทดสอบก่อนเรี ยน
– แบบทดสอบหลังเรี ยน
– แบบทดสอบประจําหน่วย
– การวัดและประเมินผลด้านคุณธรรม จริ ยธรรม – การวัดและประเมินผลด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม
ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
3. สิ่ งทีม่ ่ ุงประเมิน
– ...............................................................................................................................................................................
ขั้นที่ 3 การวางแผนการจัดการเรียนรู้
– ....................................................................................................................................................................................
– ....................................................................................................................................................................................
16

รู ปแบบแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่ วโมงจากการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ตามแนวคิดของ Backward


Design
Backward Design เขียนโดยใช้รูปแบบของแผนการจัดการเรี ยนรู ้แบบเรี ยงหัวข้อ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
• ชื่อแผน... (ระบุชื่อและลําดับที่ของแผนการจัดการเรี ยนรู ้)
• สาระที่... (ระบุสาระที่ใช้จดั การเรี ยนรู้)
• เวลา... (ระบุระยะเวลาที่ใช้ในการจัดการเรี ยนรู้ต่อ 1 แผน)
• ชั้น... (ระบุช้ นั ที่จดั การเรี ยนรู้)
• หน่วยการเรี ยนรู้ที่... (ระบุชื่อและลําดับที่ของหน่วยการเรี ยนรู ้)
• สาระสําคัญ... (เขียนความคิดรวบยอดหรื อมโนทัศน์ของหัวเรื่ องที่จะจัดการเรี ยนรู ้)
• ตัวชี้วดั ชั้นปี ... (ระบุตวั ชี้วดั ชั้นปี ที่ใช้เป็ นเป้ าหมายของแผนการจัดการเรี ยนรู้)
• จุดประสงค์การเรี ยนรู้... (กําหนดให้สอดคล้องกับสมรรถนะสําคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ
นักเรี ยนหลังจากสําเร็ จการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งประกอบด้วย
– ด้านความรู้ความคิด (Knowledge: K)
– ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attribute: A)
– ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process: P))
• การวัด และประเมิ น ผลการเรี ย นรู้ ... (ระบุ วิ ธี ก ารและเครื่ อ งมื อ วัด และประเมิ น ผลที่ ส อดคล้อ งกับ
จุดประสงค์การเรี ยนรู ้ท้ งั 3 ด้าน)
• สาระการเรี ยนรู้... (ระบุสาระและเนื้อหาที่ใช้จดั การเรี ยนรู้ อาจเขียนเฉพาะหัวเรื่ องก็ได้)
• กระบวนการจัดการเรี ยนรู้... (กําหนดให้สอดคล้องกับธรรมชาติของกลุ่มสาระและการบูรณาการข้าม
สาระ)
• กิจกรรมเสนอแนะ... (ระบุรายละเอียดของกิจกรรมที่นกั เรี ยนควรปฏิบตั ิเพิ่มเติม)
• แนวทางบูรณาการ... (เสนอแนะและระบุกิจกรรมของกลุ่มสาระอื่นที่บูรณาการร่ วมกัน)
• สื่ อ/แหล่งการเรี ยนรู้... (ระบุสื่อ อุปกรณ์ และแหล่งการเรี ยนรู้ที่ใช้ในการจัดการเรี ยนรู้)
• บันทึ กผลหลังการจัดการเรี ยนรู ้...(ระบุรายละเอี ยดของผลการจัดการเรี ยนรู ้ตามแผนที่ กาํ หนดไว้ อาจ
นําเสนอข้อเด่นและข้อด้อยให้เป็ นข้อมูลที่สามารถใช้เป็ นส่วนหนึ่งของการทําวิจยั ในชั้นเรี ยนได้)
ในส่วนของการเขียนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้น้ นั ให้ครู ที่เขียนแผนฯ นําขั้นตอนหลักของเทคนิค วิธีการ
ของการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นนักเรี ยนเป็ นสําคัญ เช่น การเรี ยนแบบแก้ปัญหา การศึกษาเป็ นรายบุคคล การอภิปราย
กลุ่มย่อย/กลุ่มใหญ่ การฝึ กปฏิบตั ิการ การสื บค้นข้อมูล ฯลฯ มาเขียนในขั้นสอน โดยให้คาํ นึงถึงธรรมชาติของกลุ่ม
สาระการเรี ยนรู ้
การใช้แนวคิดของการออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้ตามแนวคิดของ Backward Design จะช่วยให้ครู มีความ
มัน่ ใจในการจัดการเรี ยนรู ้และใช้แผนการจัดการเรี ยนรู ้ของ บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิ ช จํากัด (วพ.) ในการ
จัดการเรี ยนรู ้ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพต่อไป
17

4. เทคนิคและวิธีการจัดการเรียนรู้ –การวัดและประเมินผล กลุ่มสาระการเรียนรู้


สุ ขศึกษาและพลศึกษา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 24 (2) และ (3) ได้ระบุแนวทางการจัดการเรี ยนรู ้ โดย
เน้นการฝึ กทักษะกระบวนการคิด การฝึ กทักษะการแสวงหาความรู ้ดว้ ยตนเองจากแหล่งเรี ยนรู้ที่หลากหลาย การฝึ ก
ปฏิบตั ิจริ ง และการประยุกต์ใช้ความรู ้เพื่อการป้ องกันและแก้ปัญหา ดังนั้น เพื่อให้การจัดการเรี ยนรู ้สอดคล้องกับ
นโยบายดังกล่าวนี้ การจัดทําแผนการจัดการเรี ยนรู้ในคู่มอื ครู แผนการจัดการเรียนรู้ สุ ขศึกษาและพลศึกษาชุดนี้ จึง
ยึดแนวทางการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลาง เน้นการเรี ยนรู ้จากการปฏิบตั ิจริ ง และเน้นการเรี ยนรู ้แบบ
บูรณาการที่ผสมผสานเชื่อมโยงสาระการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ กับหัวข้อเรื่ องหรื อประเด็นที่สอดคล้องกับชีวิตจริ ง เพื่อให้
นักเรี ยนเกิดการพัฒนาในองค์รวมอย่างเป็ นธรรมชาติ สอดคล้องกับสภาพและปั ญหาที่เกิดในวิถีชีวิตของผูเ้ รี ยน
แนวทางการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลาง ได้เปลี่ยนแปลงบทบาทของครู จากการเป็ นผูช้ ้ ีนาํ หรื อ
ถ่ายทอดความรู ้ ไปเป็ นผูช้ ่วยเหลือ อํานวยความสะดวก และส่ งเสริ มสนับสนุ นนักเรี ยนโดยใช้วิธีการต่าง ๆ อย่าง
หลากหลายรู ปแบบ เพื่อให้นักเรี ยนเกิ ดการสร้ างสรรค์ความรู้ และนําความรู้ ไปใช้อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ คู่มือครู
แผนการจัดการเรียนรู้ สุ ขศึกษาและพลศึกษาชุดนี้ จึงได้นาํ เสนอทฤษฎีและเทคนิ ควิธีการเรี ยนการสอนต่าง ๆ มา
เป็ นแนวทางในการจัดการเรี ยนรู้ เช่น
การจั ด การเรี ย นรู้ โดยใช้ สมองเป็ นฐาน (Brain-Based Learning–BBL) ที่ เป็ นวิ ธี ก ารจัด การเรี ย นรู้ ที่
อิงผลการวิจยั ทางประสาทวิทยา ซึ่ งได้เสนอแนะไว้ว่า ตามธรรมชาติน้ นั สมองเรี ยนรู ้ได้อย่างไร โดยได้กล่าวถึ ง
โครงสร้ างที่ แ ท้จ ริ ง ของสมองและการทํางานของสมองมนุ ษ ย์ที่ มี ก ารแปรเปลี่ ย นไปตามขั้น ของการพัฒ นา
ซึ่งสามารถนํามาใช้เป็ นกรอบแนวคิดของการสร้างสรรค์การจัดการเรี ยนรู้ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
การจัดการเรียนรู้ แบบใช้ ปัญหาเป็ นฐาน (Problem-Based Learning–PBL) เป็ นวิธีการจัดการเรี ยนรู ้ที่ใช้
ปัญหาที่เกิดขึ้นเป็ นจุดเริ่ มต้นและเป็ นตัวกระตุน้ ให้เกิดกระบวนการเรี ยนรู้ โดยให้นกั เรี ยนร่ วมกันแก้ปัญหาภายใต้
การแนะนําของครู ให้นกั เรี ยนช่วยกันตั้งคําถามและช่วยกันค้นหาคําตอบ โดยใช้อาจใช้ความรู ้เดิมมาแก้ปัญหา หรื อ
ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมสําหรับการแก้ปัญหา นําข้อมูลที่ ได้จากการค้นคว้ามาสรุ ปเป็ นข้อมูลในการแก้ปัญหา แล้ว
ช่วยกันประเมินการแก้ปัญหาเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาครั้งต่อไปสําหรับขั้นตอนการจัดการเรี ยนรู้
การจัดการเรียนรู้ แบบพหุ ปัญญา (Multiple Intelligences) เป็ นการพัฒนาองค์รวมของนักเรี ยน ทั้งสมอง
ด้านซ้ายและสมองด้านขวา บนพื้นฐานความสามารถและสติปัญญาที่แตกต่างกันของแต่ละบุคคล มุ่งหมายจะให้
นักเรี ยนสามารถแก้ปัญหาหรื อสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ ภายใต้ความหลากหลายของวัฒนธรรมหรื อสภาพแวดล้อม
การจัดการเรียนรู้แบบร่ วมมือ (Cooperative Learning) เป็ นการจัดสถานการณ์และบรรยากาศให้นกั เรี ยน
เกิ ดการเรี ยนรู้ร่วมกัน ฝึ กให้นักเรี ยนที่มีลกั ษณะแตกต่างกันทั้งสติปัญญาและความถนัดร่ วมกันทํางานเป็ นกลุ่ม
ร่ วมกันศึกษาค้นคว้า
การจัด การเรี ยนรู้ แบบใช้ หมวกความคิด 6 ใบ (Six Thinking Hats) ให้ นักเรี ยนฝึ กตั้งคําถามและตอบ
คําถามที่ใช้ความคิดในลักษณะต่าง ๆ โดยสามารถอธิ บายเหตุผลประกอบ หรื อวิเคราะห์วิจารณ์ได้
18

การจัดการเรี ยนรู้ โดยการสื บสวนสอบสวน (Inquiry Process) เป็ นการฝึ กให้นักเรี ยนค้นหาความรู้ด้วย
ตนเอง เพื่ออธิ บายสิ่ งต่าง ๆ อย่างเป็ นระบบ มีหลักเกณฑ์ โดยนักเรี ยนจะต้องใช้ความสามารถของตนเองคิดค้น
สื บเสาะ แก้ปัญหา หรื อคิดประดิษฐ์สิ่งใหม่ดว้ ยตนเอง
การจัดการเรี ยนรู้ แบบกระบวนการแก้ ปัญหา (Problem Solving) เป็ นการฝึ กให้นักเรี ยนเรี ยนรู้จากการ
แก้ปัญหาที่เกิดขึ้น โดยการทําความเข้าใจปั ญหา วางแผนแก้ปัญหา ดําเนิ นการแก้ปัญหา และตรวจสอบหรื อมอง
ย้อนกลับ
การจัดการเรี ยนรู้ แบบโครงงาน (Project Work) ซึ่ งเป็ นวิธีการจัดการเรี ยนรู้ รูปแบบหนึ่ งที่ ส่งเสริ มให้
นักเรี ยนเรี ยนรู้ดว้ ยตนเองจากการลงมือปฏิบตั ิ โดยใช้กระบวนการแสวงหาความรู ้หรื อค้นคว้าหาคําตอบในสิ่ งที่
นักเรี ยนอยากรู้หรื อสงสัย ด้วยวิธีการต่าง ๆ อย่างหลากหลาย
การจัดการเรียนรู้ที่เน้ นการปฏิบัติ (Active Learning) ให้นกั เรี ยนได้ทดลองทําด้วยตนเอง เพื่อจะได้เรี ยนรู้
ขั้นตอนของงาน รู้จกั วิธีแก้ปัญหาในการทํางาน
การจัดการเรียนรู้แบบสร้ างผังความคิด (Concept Mapping) เป็ นการสอนด้วยวิธีการจัดกลุ่มความคิดรวบ
ยอด เพื่อให้เห็นความสัมพันธ์กนั ระหว่างความคิดหลักและความคิดรองลงไป โดยนําเสนอเป็ นภาพหรื อเป็ นผัง
การจัดการเรียนรู้ จากประสบการณ์ (Experience Learning) เป็ นการจัดกิจกรรมหรื อจัดประสบการณ์ให้
นักเรี ยนเกิดการเรี ยนรู ้จากการปฏิบตั ิ แล้วกระตุน้ ให้นกั เรี ยนพัฒนาทักษะใหม่ ๆ เจตคติใหม่ ๆ หรื อวิธีการคิดใหม่ ๆ
การจัดการเรียนรู้ โดยการแสดงบทบาทสมมุติ (Role Playing) เป็ นการจัดกิจกรรมที่ให้นกั เรี ยนได้แสดง
บทบาทในสถานการณ์ ที่สมมุ ติข้ ึน โดยอาจกําหนดให้แสดงบทบาทสมมุติที่เป็ นพฤติ กรรมของบุ คคลอื่น หรื อ
แสดงพฤติกรรมในบทบาทของตนเองในสถานการณ์ต่าง ๆ
การจัดการเรียนรู้ จากเกมจําลองสถานการณ์ (Simulation Gaming) เป็ นเทคนิ คการจัดการเรี ยนรู ้ที่คล้าย
กับการแสดงบทบาทสมมุ ติ แต่เป็ นการให้เล่นเกมจําลองสถานการณ์ โดยครู นําสถานการณ์จริ งมาจําลองไว้ใน
ห้ อ งเรี ย น โดยการกําหนดกฎ กติ ก า เงื่ อ นไขสํ าหรั บ เกมนั้น ๆ แล้ว ให้ นัก เรี ย นไปเล่ น เกมหรื อ กิ จ กรรมใน
สถานการณ์จาํ ลองนั้น
การจัดการศึกษาแบบนีโอฮิวแมนนิสต์ (Neo-humanist) เป็ นการจัดการศึกษาเพื่อเน้นเป้ าหมายให้นกั เรี ยน
บรรลุเป้ าหมายใน 2 มิติ คือ มิติทางด้านจิตใจ ให้รู้จกั ตนเองและสังคม และมิติทางด้านสติปัญญา โดยการจัดการ
เรี ยนรู ้แบบบูรณาการ 2 มิติเข้าด้วยกัน
การจั ด การเรี ย นรู้ ตามแนวคิ ด สรรคนิ ย ม (Constructivism) เป็ นการจัด การเรี ย นรู ้ ที่ มี นั ก เรี ย นเป็ น
ศูนย์กลาง ซึ่ งนักเรี ยนจะต้องสร้างกระบวนการเรี ยนรู้จากความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งที่พบเห็นกับสิ่ งที่มีอยูเ่ ดิมด้วย
ตนเอง และจะต้องให้นกั เรี ยนมีส่วนร่ วมในกิจกรรมการเรี ยนรู ้ตลอดเวลา ให้นกั เรี ยนได้ฝึกคิด ฝึ กวิเคราะห์ วิจารณ์
คิ ดสร้ างองค์ความรู ้ ฝึ กสังเกต ฝึ กถาม–ตอบ ฝึ กสื่ อสาร ฝึ กการเชื่ อ มโยงบู รณาการ ฝึ กบันทึ ก ฝึ กนําเสนอ ฝึ ก
วิเคราะห์วิจารณ์ และลงมือปฏิบตั ิจริ ง
การจัดการเรียนรู้ ด้วยการจัดกิจกรรมที่เน้ นไปสู่ ผลลัพธ์ ปลายทาง (Backward Design) เป็ นกระบวนการ
ออกแบบจัดการเรี ยนรู้ โดยเริ่ มต้นจากการเลือกมาตรฐานที่ ตอ้ งการจะเรี ยนรู ้แล้วออกแบบการประเมิ นผล เพื่อ
เชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างการประเมินผลกับมาตรฐานการเรี ยนรู้น้ นั เพื่อสะท้อนให้เห็นว่านักเรี ยนสามารถ
แสดงออกได้ตามมาตรฐาน โดยใช้คาํ ถามหลากหลายเพื่อกระตุน้ การเรี ยนรู้น้ นั หลังจากนั้นจึงตัดสิ นใจเลือกสร้าง
19

สิ่ งที่เป็ นโอกาสที่จะทําให้นกั เรี ยนเกิดความสําเร็ จในการเรี ยนรู ้ตามมาตรฐานและใช้ขอ้ มูลจากการประเมินผลเป็ น


ข้อมูลย้อนกลับ หากนักเรี ยนไม่สามารถบรรลุตามมาตรฐาน อาจสอนซํ้าโดยการคิ ดออกแบบการเรี ยนการสอน
ใหม่ ฯลฯ
20

5. ตารางวิเคราะห์ ความสอดคล้ องของหน่ วยการเรียนรู้ กบั สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วดั ชั้นปี


กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้ นประถมศึกษาปี ที่ 5
ความสอดคล้องกับสาระ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วดั ชั้นปี ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5
มาตรฐานกลุ่มฯ มาตรฐานกลุ่มฯ มาตรฐานกลุ่มฯ มาตรฐานกลุ่มฯ มาตรฐานกลุ่มฯ
สาระการเรียนรู้ ช้ ันปี มาตรฐานกลุ่มฯ พ 5.1
พ 1.1 พ 2.1 พ 3.1 พ 3.2 พ 4.1
1 2 1 2 3 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1: เรียนรู้ ตวั เรา
– ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย  
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2: ชีวติ และครอบครัว
1. พัฒนาการทางเพศ 
2. ครอบครัวอบอุน่ ตามวัฒนธรรมไทย 
3. พัฒนาการทางเพศ 
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3: เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว
1. การเคลื่อนไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์ การกีฬา  
2. เกมนําไปสู่กีฬาและกิจกรรมแบบผลัด    
3. กีฬา     
4. กิจกรรมนันทนาการ 
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4: ใส่ ใจสุ ขภาพ
1. การปฏิบตั ิตนตามสุขบัญญัติแห่ งชาติ 
2. ข้อมูลข่าวสารสุขภาพ 
3. สื่ อโฆษณากับอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ 
4. การดูแลรักษาตนเองเบื้องต้นเมื่อเจ็บป่ วย 
5. การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ 
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5: ชีวติ ปลอดภัย
1. ยาและสารเสพติด   
2. อิทธิพลของสื่ อที่มีต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ  
3. การป้ องกันอันตรายจากการเล่นกีฬา 
21

6. โครงสร้ างการแบ่ งเวลารายชั่วโมงและขอบข่ ายสาระการเรียนรู้

หน่ วยการเรียนรู้ ชื่อหน่ วยการเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง)


1 เรี ยนรู ้ตวั เรา 9
2 ชีวิตและครอบครัว 11
3 เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว 40
4 ใส่ใจสุ ขภาพ 14
5 ชีวิตปลอดภัย 6
รวมทั้งสิ้น 80
22

ตอนที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา
23

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 เรียนรู้ ตวั เรา เวลา 9 ชั่วโมง

ผังมโนทัศน์ เป้าหมายการเรียนรู้และขอบข่ายภาระงาน
ความรู้
 ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย
– ระบบย่อยอาหาร
– ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ทักษะ/กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม
1. การสื่ อสารเพื่ออธิบายความสําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
หน้าที่ โครงสร้าง และการทํางาน 1. มีวินยั และใฝ่ เรี ยนรู ้ในการร่ วมศึกษาและ
ของระบบย่อยอาหารและระบบ ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้เกี่ยวกับ
ขับถ่ายปั สสาวะ ความสําคัญ หน้าที่ โครงสร้างการ
2. การสื่ อสารเพื่ออธิบายแนวทางการ ทํางาน และแนวทางในการดูแลระบบ
ดูแลระบบย่อยอาหารและระบบ เรียนรู้ ตัวเรา ย่อยอาหารและระบบขับถ่ายปั สสาวะ
ขับถ่ายปั สสาวะให้ทาํ งานตามปกติ กับผูอ้ ื่น
3. การแสดงทักษะในการดูแลระบบ 2. ตระหนักถึงความสําคัญของระบบ
ย่อยอาหารและระบบขับถ่าย ย่อยอาหารและระบบขับถ่ายปั สสาวะ
ปั สสาวะ ที่มีผลต่อสุขภาพการเจริ ญเติบโตและ
4. การนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์ใน พัฒนาการ
ชีวิตประจําวัน 3. ตระหนักถึงความสําคัญของการดูแล
5. การใช้เทคโนโลยีในการศึกษา ระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่าย
ค้นคว้า ปั สสาวะให้ทาํ งานตามปกติ

ภาระงาน/ชิ้นงาน
1. ศึกษาความสําคัญ หน้าที่ โครงสร้างการทํางาน และการดูแลระบบย่อยอาหาร
2. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ระบบย่ อยอาหาร ลองมาบอกขานหน้ าที่
3. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ วิธีดูแลรั กษาระบบย่ อยอาหาร ที่ เรี ยนวันวานนั้นเป็ นเช่ นไร
4. ศึกษาความสําคัญ หน้าที่ โครงสร้างการทํางาน และการดูแลระบบขับถ่ายปั สสาวะ
5. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ลากเส้ นจับคู่ ลองหาดูค่ ไู หนเป็ นคู่กัน
6. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ สนใจระบบขับถ่ าย ยังไม่ สายที่ จะดูแล
7. โครงงานการค้นคว้าข้อมูลเรื่ อง ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อระบบย่อยอาหาร
8. โครงงานการทดลองเรื่ อง การรณรงค์ให้คนในชุมชนดูแลรักษาระบบขับถ่ายปัสสาวะ
9. โครงงานการค้นคว้าข้อมูลเรื่ อง อาหารที่ช่วยให้ระบบย่อยอาหารทํางานได้ดีข้ นึ
24

กรอบแนวคิดผังการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพือ่ เน้ นสู่ ผลลัพธ์ ปลายทาง


(Backward Design Template)
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1: เรียนรู้ ตวั เรา
ขั้นตอนที่ 1 ผลลัพธ์ ปลายทางที่ต้องการให้ เกิดขึน้ กับนักเรียน (Design Results)
ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. อธิ บายความสําคัญของระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายที่มีผลต่อสุขภาพการเจริ ญเติบโตและ
พัฒนาการ (พ 1.1 ป. 5/1)
2. อธิ บายวิธีดูแลระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายให้ทาํ งานตามปกติ (พ 1.1 ป. 5/2)
ความเข้ าใจที่คงทนของนักเรียน คําถามสํ าคัญที่กระตุ้นให้ นักเรียนเกิดความเข้ าใจที่
 เมื่อศึกษาจบหน่วยการเรี ยนรู ้น้ ี นักเรี ยนจะเข้ าใจ คงทน
ว่า… – นักเรี ยนตอบได้ไหมว่าระบบย่อยอาหารมีหน้าที่
1. การทํางานของระบบย่อยอาหารมีผลต่อ อย่างไร และแตกต่างจากระบบขับถ่ายปัสสาวะ
สุ ขภาพและการเจริ ญเติบโตของคนเราโดยจะ อย่างไร
ทําหน้าที่ในการย่อยอาหารที่เรารับประทาน – นักเรี ยนคิดว่าระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่าย
เข้าไปให้กลายเป็ นสารอาหารและถูกดูดซึม ปัสสาวะมีความสัมพันธ์กนั อย่างไรบ้าง
ไปใช้ประโยชน์ในการเจริ ญเติบโตและสร้าง – ระบบย่อยอาหารมีอวัยวะส่วนใดเป็ น
พลังงานให้กบั ร่ างกาย องค์ประกอบบ้าง และแต่ละอวัยวะมีหน้าที่และ
2. คนเราจําเป็ นต้องมีการกําจัดของเสี ยออกจาก ความสําคัญอย่างไร
ร่ างกายในรู ปของนํ้าปั สสาวะเป็ นประจําทุก – ระบบขับถ่ายปัสสาวะมีโครงสร้างและกลไกการ
วัน เพื่อไม่ให้เกิดการตกค้างของของเสี ย ทํางานเป็ นอย่างไร
ภายในร่ างกาย ซึ่งเป็ นสาเหตุที่ก่อให้เกิดโรค – หากระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายปัสสาวะมี
3. ระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายปัสสาวะมี ความผิดปกติจะเกิดอะไรขึ้นกับคนเราได้บา้ ง
ความสําคัญต่อสุ ขภาพและการเจริ ญเติบโต – นักเรี ยนจะมีวิธีการดูแลระบบย่อยอาหารและ
ของคนเรา โดยแต่ละระบบจะมีลกั ษณะ ระบบขับถ่ายปัสสาวะได้อย่างไร
โครงสร้างและหน้าที่การทํางานเฉพาะ
แตกต่างกัน การดูแลอวัยวะในระบบย่อย
อาหารและระบบขับถ่ายปัสสาวะอย่าง
ถูกต้องจะช่วยให้การทํางานของระบบย่อย
อาหารและระบบขับถ่ายปัสสาวะเป็ นไป
ด้วยดี
25

ความรู้ของนักเรียนที่จะนําไปสู่ ความเข้ าใจที่ ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่จะนําไปสู่ ความ


คงทน เข้ าใจที่คงทน
 เมื่อศึกษาจบหน่วยการเรี ยนรู ้น้ ี นักเรี ยนจะรู้  เมื่อศึกษาจบหน่วยการเรี ยนรู้ นักเรี ยนควรมีทักษะ
ว่า… และสามารถที่จะ…
1. คําที่ควรรู้ ได้แก่ คําว่า ระบบย่อยอาหาร 1. อธิ บายลักษณะ ความสําคัญ หน้าที่ และ
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ โครงสร้างการทํางานของระบบย่อยอาหารและ
2. ระบบย่ อยอาหาร หมายถึง ระบบที่มีหน้าที่ ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
หลักในการสร้างกระบวนการที่ทาํ ให้ 2. อธิ บายวิธีการดูแลระบบย่อยอาหารและระบบ
อาหารแตกตัวมีขนาดเล็กลง และถูกย่อย ขับถ่ายปั สสาวะ
กลายเป็ นสารอาหารและถูกดูดซึมไปใช้ 3. อธิ บายแนวทางการปฏิบตั ิเมื่อเกิดความผิดปกติ
ประโยชน์ในร่ างกาย ส่วนอาหารที่ไม่ กับระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายปั สสาวะ
สามารถย่อยหรื อถูกดูดซึมได้จะถูกกําจัด 4. ร่ วมฝึ ก/หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมโดยตนเองและเป็ น
ออกนอกร่ างกายในรู ปของอุจจาระ หมู่คณะเกี่ยวกับการเรี ยนรู ้ในเรื่ อง ระบบย่อย
3. ระบบขับถ่ ายปั สสาวะ หมายถึง ระบบที่มี อาหารและระบบขับถ่ายปัสสาวะด้วยพฤติกรรม
หน้าที่หลักในการสร้างกระบวนการกรอง ที่ถูกต้องเหมาะสม
ของเสี ยออกจากเลือดและกําจัดออกจาก
ร่ างกายในรู ปของนํ้าปั สสาวะ โดยผ่านการ
ทํางานของอวัยวะที่สาํ คัญ คือ ไต

ขั้นที่ 2 หลักฐานในการประเมินเพือ่ แสดงว่ านักเรียนมีผลการเรียนรู้ตามที่กาํ หนด


(Assessment Evidence)
1. ภาระงานที่นักเรียนปฏิบัติ
– ศึกษาความสําคัญ หน้าที่ โครงสร้างการทํางาน และการดูแลระบบย่อยอาหาร
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ระบบย่ อยอาหาร ลองมาบอกขานหน้ าที่
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ วิธีดูแลรั กษาระบบย่ อยอาหาร ที่เรี ยนวันวานนั้นเป็ นเช่ นไร
– ศึกษาความสําคัญ หน้าที่ โครงสร้างการทํางาน และการดูแลระบบขับถ่ายปัสสาวะ
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ ลากเส้ นจับคู่ ลองหาดูค่ ไู หนเป็ นคู่กัน
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ สนใจระบบขับถ่าย ยังไม่ สายที่จะดูแล
– โครงงานการค้นคว้าข้อมูลเรื่ อง ปั จจัยที่ส่งผลกระทบต่อระบบย่อยอาหาร
– โครงงานการทดลองเรื่ อง การรณรงค์ให้คนในชุมชนดูแลรักษาระบบขับถ่ายปัสสาวะ
– โครงงานการค้นคว้าข้อมูลเรื่ อง อาหารที่ช่วยให้ระบบย่อยอาหารทํางานได้ดีข้ ึน
26

2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
• วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ • เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
– การสนทนาซักถามโดยครู – แบบบันทึกการสนทนา
– การวัดและประเมินผลด้านความรู ้ – แบบทดสอบก่อนเรี ยน
– แบบทดสอบหลังเรี ยน
– แบบทดสอบประจําหน่วย
– การวัดและประเมินผลด้านคุณธรรม จริ ยธรรม – การวัดและประเมินผลด้านคุณธรรม จริ ยธรรม
ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
3. สิ่ งที่มุ่งประเมิน
– ความสามารถในการอธิ บาย ชี้ แจง การแปลความและตี ความ การประยุกต์ ดัดแปลง และนําไปใช้
การมีมุมมองที่หลากหลาย การให้ความใส่ใจในความรู้สึกของผูอ้ ื่น และการรู ้จกั ตนเอง
– ความสามารถในการพัฒนาพฤติกรรมสุ ขภาพที่ให้ความสําคัญทั้งทางด้านร่ างกาย จิตใจ สังคม และ
จิตวิญญาณ
– ความสามารถในการวางแผนการปฏิบตั ิ แสดงความคิดเห็นวิเคราะห์ เพื่อพัฒนาความรู ้ ความเข้าใจ
ทัศนคติ และทักษะที่ช่วยส่งเสริ มการปฏิบตั ิเกี่ยวกับสุ ขภาพ
ขั้นที่ 3 การวางแผนการจัดการเรียนรู้
• หน่วยการเรี ยนรู้ที่ 1 เรี ยนรู้ตวั เรา จํานวน 9 ชัว่ โมง
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 1: ปฐมนิเทศและข้อตกลงในการเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษา ป. 5
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 2: ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 3: ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 4: ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 5: ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 6: ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 7: ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 8: ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 9: ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย (ต่อ)
27

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 1
ปฐมนิเทศและข้ อตกลงในการเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษา ป. 5
สาระการเรียนรู้ ที่ 1: การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 เรียนรู้ ตวั เรา
เรื่อง ปฐมนิเทศและข้ อตกลงในการเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษา ป. 5

1. สาระสํ าคัญ
การจัดการเรี ยนรู ้ตามแนวทางการปฏิ รูปการศึ กษาของไทย ปั จจุบนั ยึดแนวคิดของการพัฒนาที่ มุ่งเน้น
ผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ ดังนั้นการสร้างความเข้าใจในขอบข่ายของเรื่ องที่นกั เรี ยนจะได้เรี ยนรู ้ รายละเอียดในการเรี ยนรู้
เป้ าหมายของการเรี ยนรู้ วิธีการเรี ยนรู ้ ตลอดจนการวัดและประเมินผลเพื่อตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ ของการเรี ยนรู้
ดังกล่าวให้นกั เรี ยนได้รับรู ้ นอกจากจะช่วยให้นกั เรี ยนมีความเข้าใจพื้นฐานในแนวทางและขอบข่ายองค์ความรู้ที่
ได้ศึกษาแล้ว ยังจะช่วยให้การจัดการจัดการเรี ยนรู ้ตามแนวทางในการปฏิรูปการศึกษาของไทยบรรลุเป้ าหมายตาม
แนวทางที่กาํ หนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่ได้วางไว้
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษาและพลศึกษา
ในระดับประถมศึกษาได้กาํ หนดตัวชี้วดั การเรี ยนรู ้เป็ นตัวชี้วดั ชั้นปี โดยแบ่งสาระการเรี ยนรู้ออกเป็ น 5 สาระและ 6
มาตรฐานการเรี ยนรู ้ ซึ่ งรายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษา ได้กาํ หนดองค์ความรู ้ไว้ในสาระและมาตรฐานการเรี ยนรู้ที่สาระ
ที่ 1 มาตรฐาน พ 1.1 สาระที่ 2 มาตรฐาน พ 2.1 สาระที่ 4 มาตรฐาน พ 4.1 และสาระที่ 5 มาตรฐาน พ 5.1 หาก
นักเรี ยนมี ความรู ้และความเข้าใจในเรื่ องดังกล่าวอย่างชัดเจนจะช่ วยให้การเรี ยนรู้ และการเข้าร่ วมกิ จกรรมของ
นักเรี ยนมีการพัฒนาและบรรลุไปสู่เป้ าหมาย

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายเกี่ยวกับข้อตกลงและแนวทางในการศึกษาวิชาสุขศึกษาอย่างถูกต้องได้ (K)
2. ระบุวธิ ี และแหล่งความรู้ที่สนับสนุนการเรี ยนรู ้ของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษาและพลศึกษาอย่างถูกต้องได้
(P)
3. อธิ บายและระบุเกณฑ์การตัดสิ นผลการเรี ยนในวิชาสุขศึกษาอย่างถูกต้องได้ (K, P)
4. เข้าร่ วมกิจกรรมการเรี ยนรู ้กบั ผูอ้ ื่นด้วยความเต็มใจและกระตือรื อร้น (A)
28

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามความรู้และแนวคิดเกี่ยวกับ • แบบประเมินผลการนําเสนข้อมูล/ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
– ขอบข่ายเนื้อหาในสาระการ การอภิปราย/การเขียนแผนที่ 2 ขึ้นไป
เรี ยนรู ้วชิ าสุ ขศึกษา ความคิด*
– เจตคติที่มีต่อการศึกษาในสาระ
การเรี ยนรู ้วชิ าสุ ขศึกษา
– ข้อตกลงในการเข้าร่ วม
กิจกรรมการเรี ยนรู ้และการ
ปฏิบตั ิกิจกรรม
– แนวทางการสื บค้นความรู ้ที่
เกี่ยวข้องกับวิชาสุ ขศึกษา
• ตรวจสอบความถูกต้องของการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ปฏิบตั ิกิจกรรม ใบงานเรื่ อง หน่วยการเรี ยนรู ้
– ใบงานเรื่ อง หน่วยการเรี ยนรู ้ กลุ่มสาระการเรี ยนรู้สุขศึกษาและ
กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษา พลศึกษา*/**
และพลศึกษา
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
*/**ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู หรื อในสื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์
วัฒนาพานิช จํากัด

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
29

5. สาระการเรียนรู้
 การปฐมนิเทศและข้อตกลงในการเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษา ป. 5
– ข้อตกลงในการเรี ยน
– สาระและมาตรฐานการเรี ยนรู้ รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึ กษา ในกลุ่มสาระการเรี ยนรู้สุขศึ กษาและพลศึกษา
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
– การจัดแบ่งหน่ วยการเรี ยนรู ้การวัดและประเมิ นผล ตลอดจนเกณฑ์การตัดสิ นผลการเรี ยนในกลุ่มสาระ
การเรี ยนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษา

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาต่างประเทศ  ฟัง อ่าน และเขียนคําศัพท์ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับวิชาสุขศึกษา
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็นและเขียนสรุ ปความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทาง
ในการศึกษาในรายวิชาสุขศึกษา
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนผังหรื อโปสเตอร์ภาพเรื่ อง สาระและมาตรฐานการ
เรี ยนรู้ รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษา ในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษาและพลศึกษา
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นเตรียมก่อนนําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาทําความรู ้จกั กัน โดยครู แนะนําตัว แล้วให้นกั เรี ยนแต่ละคนแนะนําตัว โดยครู ใช้วิธี
เรี ยกชื่อเรี ยงตามกลุ่มตัวอักษร
2. ครู ให้นกั เรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นในประเด็นคําถามที่กาํ หนด เพื่อตรวจสอบเจตคติและประสบการณ์
การเรี ยนรู้ของนักเรี ยนในวิชาสุ ขศึกษาที่ผา่ นมา เช่น
– การเรี ยนวิชาสุ ขศึกษามีผลดีต่อนักเรี ยนอย่างไร
– นักเรี ยนเคยศึกษาความรู้ในเรื่ องใดบ้างที่เกี่ยวข้องกับวิชาสุขศึกษา
– วิชาสุขศึกษาระดับชั้นนี้นกั เรี ยนจะเรี ยนรู ้ในเรื่ องใดบ้าง
(ครู อาจใช้ คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้ )
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
• ให้นกั เรี ยนช่วยกันคิดประเด็นคําถามที่ เกี่ยวข้องกับการจัดการเรี ยนการสอนในวิชาสุ ขศึกษาตามที่สนใจ
ตัวอย่างเช่น
– ข้อตกลงในการเรี ยน
– มารยาทในการปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ร่วมกับเพื่อน
– วิธีเรี ยนให้ประสบผลสําเร็ จ
30

– การวัดและประเมินผลตลอดจนเกณฑ์การตัดสิ นผลการเรี ยนมีแนวปฏิบตั ิอย่างไร


ฯลฯ
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู แ จกใบความรู้ เรื่ อ ง สาระและมาตรฐานการเรี ย นรู ้ กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ สุ ข ศึ ก ษาและพลศึ ก ษา
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และใบความรู ้เรื่ อง การจัดแบ่งหน่วยการ
เรี ยนรู ้ การวัดและประเมินผล ตลอดจนเกณฑ์การตัดสิ นผลการเรี ยนในกลุ่มสาระการเรี ยนรู้สุขศึกษาและ
พลศึกษาให้กบั นักเรี ยน โดยครู อธิบายและให้ความรู้เพิ่มเติม
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ โดยครู แนะนําแนวทางในการเขียนจดบันทึ กลงสมุดบันทึ กให้กบั
นักเรี ยน
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• ครู แจกใบงานเรื่ อง หน่วยการเรี ยนรู ้ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษาและพลศึกษา ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่ม
ร่ วมกันปฏิบตั ิกิจกรรมตามคําชี้แจงในใบงาน โดยใช้เวลาตามที่กาํ หนด
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• ครู ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมานําเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้เกี่ยวกับขอบข่ายเนื้ อหาสาระที่จะได้ศึกษาในชั้นนี้ และข้อตกลงและระเบียบ
ในการเข้าร่ วมกิจกรรมการเรี ยนรู ้ในวิชาสุ ขศึกษา และความรู้ที่ได้รับจากการปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้
แล้วบันทึกความรู ้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
2. มอบหมายให้ นักเรี ยนศึ กษาเนื้อหาการเรียนรู้ ในหน่ วยการเรี ยนรู้ ที่ 1 เรี ยนรู้ ตัวเรา ในหั วข้ อระบบย่ อย
อาหาร มาล่วงหน้ า เพือ่ กระตุ้นความสนใจในการเรียนรู้และเตรียมความพร้ อมในการเรียนครั้งต่อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรศึกษาและปฏิบตั ิกิจกรรมที่ได้รับมอบหมายมาล่วงหน้า เพื่อประกอบการศึกษาในการเรี ยนครั้ง
ต่อไป

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ใบความรู ้ที่ 1 เรื่ อง สาระและมาตรฐานการเรี ยนรู้ กลุ่มสาระการเรี ยนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
2. ใบงานเรื่ อง หน่วยการเรี ยนรู้ กลุ่มสาระการเรี ยนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
3. ใบความรู ้ที่ 2 เรื่ อง การจัดแบ่งหน่วยการเรี ยนรู ้และการวัดประเมินผล ตลอดจนเกณฑ์การตัดสิ นผลการเรี ยน
ในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษาและพลศึกษา
4. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
31

5. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด


6. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
32

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 2
ระบบต่ าง ๆ ของร่ างกาย
สาระการเรียนรู้ ที่ 1: การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 เรียนรู้ ตวั เรา เรื่อง ระบบย่ อยอาหาร

1. สาระสํ าคัญ
ระบบย่อยอาหารเป็ นระบบที่มีความสําคัญต่อการดํารงชีวิต โดยจะทําหน้าที่ในการย่อยอาหารให้มีขนาด
เล็กและดูดซึ มอาหารที่รับประทานเข้าไป เพื่อให้ร่างกายได้นาํ สารอาหารไปใช้ประโยชน์ในการเจริ ญเติบโตและ
สร้างพลังงาน

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. อธิ บายความสําคัญของระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายที่มีผลต่อสุ ขภาพ การเจริ ญเติบโต และพัฒนาการ
(พ 1.1 ป. 5/1)
2. อธิ บายวิธีดูแลระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายให้ทาํ งานตามปกติ (พ 1.1 ป. 5/2)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายหน้าที่ของระบบย่อยอาหารอย่างถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของระบบย่อยอาหารที่มีผลต่อสุ ขภาพการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการ (A)
3. ระบุหน้าที่ของระบบย่อยอาหารอย่างถูกต้องได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ทดสอบความรู้พ้นื ฐานในหน่วย • แบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการ –
การเรี ยนรู้ที่ 1 เรี ยนรู้ตวั เรา เรี ยนรู้ที่ 1 เรี ยนรู้ตวั เรา*/**

• ซักถามเกี่ยวกับความสําคัญของ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ


ระบบย่อยอาหารที่มีผลต่อสุขภาพ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
การเจริ ญเติบโต และพัฒนาการ แผนที่ความคิด*
33

วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล


• ซักถามเกี่ยวกับความสําคัญและ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
หน้าที่ของระบบย่อยอาหาร ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
แผนที่ความคิด*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
*/**ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู หรื อในสื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์
วัฒนาพานิช จํากัด

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
 ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย
– ระบบย่อยอาหาร
• ความสําคัญของระบบย่อยอาหาร
1. หน้าที่ของระบบย่อยอาหาร

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาต่างประเทศ  ฟั งและอ่ านคําศั พท์ ภาษาอังกฤษหรื อภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิ กอาเซี ยนที่
เกีย่ วกับอวัยวะในระบบย่ อยอาหาร
สังคมศึกษาฯ  พูดคุ ยแสดงความคิ ดเห็ นเกี่ ยวกับ เรื่ อง ค่ านิ ยมของคนในสังคมเมื องในการ
บริ โภคอาหารจานด่วนที่ส่งผลกระทบต่อการเกิดโรคกับระบบย่อยอาหารของ
คนไทย
34

ภาษาไทย  พูดคุยหรื อแสดงความคิดเห็นในเรื่ อง ความสําคัญและหน้าที่ของระบบย่อยอาหาร


ของคนเรา
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิด ออกแบบและตกแต่งสมุดภาพ แผ่นพับ
ใบความรู้เกี่ยวกับความสําคัญของระบบย่อยอาหาร
ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพทางเดินอาหารในร่ างกายของมนุษย์
วิทยาศาสตร์  สังเกตและเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการทํางานของระบบย่อยอาหารในร่ างกาย
ของตนเองเปรี ยบเทียบกับบุคคลอื่น

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
2. ครู แจกแบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 1 เรี ยนรู ้ตวั เรา ให้นกั เรี ยนเพื่อตรวจสอบความรู้ความ
เข้าใจพื้นฐานโดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
3. ครู สุ่มนักเรี ยนให้บอกคําตอบที่นกั เรี ยนเลือกในแต่ละข้อเรี ยงตามลําดับ เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจ
ของนักเรี ยนเบื้องต้น
4. ครู เฉลยคําตอบที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนทราบเพื่อสร้างความสนใจให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยน และระบุเชื่อมโยง
ไปสู่เนื้อหาที่นกั เรี ยนจะได้เรี ยนรู ้ในหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 1 เรี ยนรู ้ตวั เรา
5. นักเรี ยนดูภาพแสดงอวัยวะในระบบย่อยอาหารในร่ างกายของคนเราที่ครู เตรี ยมมาแล้วสนทนาร่ วมกัน
เกี่ยวกับความรู้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู้ของนักเรี ยนและตอบคําถามร่ วมกัน
ตัวอย่างเช่น
– นักเรี ยนรู้ หรื อไม่ อาหารที่ เรารั บประทานต้ องผ่ านการทํางานของระบบใดในร่ างกาย (ระบบ
ย่ อยอาหาร)
– จากภาพโครงสร้ างการทํางานของอวัยวะต่ าง ๆ ที่นักเรี ยนมองเห็นจัดเป็ นโครงสร้ างการทํางานของ
ระบบใดในร่ างกาย (ระบบย่ อยอาหาร)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อ ระบบย่อยอาหาร ในประเด็นเกี่ยวกับความสําคัญของ
ระบบย่อยอาหาร และหัวข้อย่อยที่ 1. หน้าที่ของระบบย่อยอาหาร เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและ
ความสนใจในการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
35

ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูให้ ความรู้ เรื่อง ระบบต่ าง ๆ ของร่ างกาย ในหัวข้ อระบบย่อยอาหาร ในประเด็นเกีย่ วกับความสํ าคัญของ
ระบบย่อยอาหาร และหัวข้ อย่ อยที่ 1. หน้ าที่ของระบบย่ อยอาหาร โดยใช้ ภาพหรือเปิ ดสื่ อวีดิทัศน์ ที่
เกีย่ วข้ องให้ นักเรียนดูประกอบการอธิบาย และร่ วมกันสรุปความรู้ที่ได้ รับจากการเรียนรู้และการปฏิบัติ
กิจกรรมลงในสมุดบันทึก
2. ครูนําบัตรคําแสดงชื่อระบบย่อยอาหารในภาษาอังกฤษให้ นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่านสะกดคําและอ่านออก
เสี ยงให้ นักเรียนอ่านตาม เพือ่ สร้ างเสริมทักษะทางด้ านภาษา โดยระบบย่อยอาหารในภาษาอังกฤษตรงกับ
คําว่า Digestive System อ่านออกเสี ยงว่า ไดเจซ-ทิฝ ซีซ-เท็ม (ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศ
สมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
3. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน แต่ละกลุ่มร่ วมกันเขียนความหมายของระบบย่อยอาหาร ความสําคัญ
ของระบบย่อยอาหาร หน้าที่ของระบบย่อยอาหาร และความผิดปกติของร่ างกายที่เกิดจากการทํางานของ
ระบบย่อยอาหารจากประสบการณ์และความเข้าใจของนักเรี ยน โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
2. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน โดยครู คอย
เสนอแนะและให้ความรู้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
3. นักเรี ยนแบ่งเป็ น 2 กลุ่ม แต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันตั้งคําถามและตอบคําถามที่เกี่ยวข้องกับระบบย่อย
อาหาร โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด ตัวอย่างเช่น
– ถ้ าคนเราไม่ มีระบบย่ อยอาหารจะเป็ นอย่ างไร (อาหารที่รับประทานเข้ าไปไม่ ถกู ย่ อยและดูดซึ มไปใช้
ประโยชน์ ในร่ างกาย ทําให้ ร่างกายไม่ เจริ ญเติบโต)
– ระบบย่ อยอาหารของแต่ ละคนทํางานเหมือนกันหรื อแตกต่ างกันอย่ างไร (ระบบย่ อยอาหารในร่ างกาย
ของทุกคนทํางานเหมือนกัน แต่ จะมีประสิ ทธิ ภาพมากน้ อยเพียงใดขึน้ อยู่กบั ปั จจัยในหลายด้ าน
โดยเฉพาะอย่ างยิ่งพฤติกรรมส่ วนบุคคลซึ่ งส่ งผลต่ อการทํางานของระบบย่ อยอาหาร เช่ น คนที่ เคีย้ ว
อาหารไม่ ละเอี ยดก่ อนกลืนย่ อมทําให้ ประสิ ทธิ ภาพการทํางานของระบบย่ อยอาหารด้ อยกว่ าคนที่เคีย้ ว
อาหารละเอียดก่ อนกลืน หรื ออาจก่ อให้ เกิดความผิดปกติของระบบย่ อยอาหารขึน้ เช่ น ท้ องอื ด ท้ องเฟ้ อ
เป็ นต้ น)
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• นักเรี ยนสังเกตการทํางานของระบบย่อยอาหารของตนเอง แล้วจดบันทึกลงในสมุด เป็ นเวลา 1 สัปดาห์
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
36

2. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าในหัวข้ อระบบย่ อยอาหาร ในหัวข้ อย่ อยที่ 2. โครงสร้ างของระบบย่อย
อาหาร ในประเด็นเกีย่ วกับหน้ าที่ของของอวัยวะปาก หลอดอาหาร และกระเพาะอาหาร ดังรายละเอียดใน
หนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต
ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า และจดบันทึกข้ อคําถามที่สงสั ยหรือสนใจอย่างน้ อย 2 ถึง 3
ประเด็นลงในสมุด เพือ่ ใช้ เป็ นร่ องรอยและหลักฐานในการศึกษา แล้ วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียน
ครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. นักเรียนควรศึกษาค้ นคว้ าเพิ่มเติมเกีย่ วกับคําศัพท์ ที่เกีย่ วข้ องกับอวัยวะของระบบย่อยอาหารในภาษาอังกฤษ
และภาษาของประเทศสมาชิกอาเซียน โดยขอคําแนะนําจากผู้ปกครอง เช่ น คําว่า ย่ อยอาหาร ในภาษาอังกฤษ
ใช้ คาํ ว่ า Digestion (อ่านว่ า ไดเจซ-ชัน) แล้ วรวบรวมจัดทําสมุดคําศัพท์ ระบบย่ อยอาหาร เพือ่ สร้ างเสริม
ทักษะทางด้ านภาษา
2. นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงสร้างและการทํางานของระบบย่อยอาหาร จากแหล่งการเรี ยนรู ้
ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต หรื อหนังสื อที่ให้ความรู้เกี่ยวกับร่ างกายของมนุษย์ในห้องสมุดของโรงเรี ยน เพื่อ
กระตุน้ ความสนใจในการเรี ยนรู้และทําให้เกิดความเข้าใจในระบบย่อยอาหารในร่ างกายของตนเองมากขึ้น

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. แบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 1 เรี ยนรู ้ตวั เรา
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์แสดงอวัยวะและหน้าที่ของระบบย่อยอาหารในร่ างกาย
3. บัตรคําแสดงชื่อระบบย่อยอาหารในภาษาอังกฤษ
4. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ
5. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
6. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
37

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
38

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 3
ระบบต่ าง ๆ ของร่ างกาย (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 1: การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 เรียนรู้ ตวั เรา เรื่อง ระบบย่ อยอาหาร (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
โครงสร้างของระบบย่อยอาหารประกอบด้วยอวัยวะที่สาํ คัญได้แก่ ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ตับ
ลําไส้เล็ก และสําไส้ใหญ่ ทํางานร่ วมกันเป็ นระบบย่อยอาหาร โดยปากจะมีต่อมนํ้าลายซึ่ งสร้างนํ้าลาย และเอนไซม์
ในนํ้าลายที่ช่วยในการย่อยอาหาร ส่วนหลอดอาหารจะมีกล้ามเนื้อที่ทาํ หน้าที่ในการหดตัวและคลายตัวเพื่อให้
อาหารเคลื่อนที่ผา่ นหลอดอาหารลงไปในกระเพาะอาหาร โดยกระเพาะอาหารจะเป็ นที่รวมอาหารที่รับประทานเข้า
ไปและมีน้ าํ ย่อยทําหน้าที่ยอ่ ยอาหารให้มีขนาดเล็กลง

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. อธิ บายความสําคัญของระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายที่มีผลต่อสุ ขภาพ การเจริ ญเติบโต และพัฒนาการ
(พ 1.1 ป. 5/1)
2. อธิ บายวิธีดูแลระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายให้ทาํ งานตามปกติ (พ 1.1 ป. 5/2)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายโครงสร้างของระบบย่อยอาหาร และหน้าที่ของอวัยวะปาก หลอดอาหาร และกระเพาะอาหาร
อย่างถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของระบบย่อยอาหารที่มีผลต่อสุ ขภาพการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการ (A)
3. ระบุโครงสร้างของระบบย่อยอาหารอย่างถูกต้องได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับโครงสร้างของ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ระบบย่อยอาหาร และหน้าที่ของ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
อวัยวะปาก หลอดอาหาร และ แผนที่ความคิด*
กระเพาะอาหาร
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
39

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
 ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย (ต่อ)
– ระบบย่อยอาหาร (ต่อ)
2. โครงสร้างของระบบย่อยอาหาร
– ปาก
– หลอดอาหาร
– กระเพาะอาหาร

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ภาษาอังกฤษหรื อภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
เกี่ยวกับปาก หลอดอาหาร และกระเพาะอาหาร ซึ่งเป็ นอวัยวะในโครงสร้าง
ของระบบย่อยอาหาร
คณิ ตศาสตร์  นับจํานวนของอวัยวะที่จดั เป็ นโครงสร้างของระบบย่อยอาหาร
ภาษาไทย  พูดคุยหรื อเขียนสรุ ปความรู ้เกี่ยวกับโครงสร้างของระบบย่อยอาหาร และ
หน้าที่ ของอวัยวะปาก หลอดอาหาร และกระเพาะอาหาร ซึ่ งเป็ นอวัยวะใน
โครงสร้างของระบบย่อยอาหาร
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิด ออกแบบและตกแต่งสมุดภาพ แผ่นพับ
ใบความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างและการทํางานของระบบย่อยอาหาร
ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพอวัยวะปาก หลอดอาหาร และกระเพาะอาหาร ซึ่ งเป็ น
อวัยวะในโครงสร้างของระบบย่อยอาหาร
40

วิทยาศาสตร์  ศึกษา สื บค้น และบันทึกข้อมูลที่ เกี่ยวข้องกับหน้าที่และกระบวนการทํางาน


ของอวัยวะปาก หลอดอาหาร และกระเพาะอาหาร ซึ่งเป็ นอวัยวะในโครงสร้าง
ของระบบย่อยอาหาร

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน
เพื่อทบทวนความรู้
2. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอประเด็นคําถามเกีย่ วกับโครงสร้ างของระบบย่อยอาหาร
และหน้ าที่ของอวัยวะปาก หลอดอาหาร และกระเพาะอาหารที่สงสั ยหรือสนใจ ตามที่ได้ รับมอบหมายให้
ศึกษาค้ นคว้ามาล่วงหน้ าในการเรียนครั้งที่ผ่านมา แล้วให้ เพือ่ น ๆ ช่ วยกันตอบคําถามดังกล่ าวร่ วมกัน โดย
ครูคอยให้ ความรู้ที่ถูกต้ องเพิม่ เติม
3. ให้นกั เรี ยนดูภาพบุคคลที่กาํ ลังรับประทานอาหารที่ครู เตรี ยมมา และร่ วมกันตอบคําถามในประเด็นที่วา่
“เกิดอะไรขึ้นกับอาหารที่เรารับประทานเข้าไปในร่ างกาย”
4. ครู อธิ บายถึงแนวคําตอบที่ถูกต้องว่า อาหารที่เรารับประทานเข้าไปในร่ างกาย จะเข้าสู่ระบบย่อยอาหาร
โดยเริ่ มต้นตั้งแต่อวัยวะปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ตับ ลําไส้เล็ก และลําไส้ใหญ่ ซึ่งในระหว่าง
กระบวนการย่อยนั้น สารอาหารที่ได้จากอาหารที่เรารับประทานเข้าไปนั้นจะถูกดูดซึมบางส่วน และอีก
บางส่วนที่เหลือจะเป็ นกากอาหารหรื อเป็ นของเสี ยที่ตอ้ งขับออกจากร่ างกาย ซึ่งนักเรี ยนจะได้เรี ยนรู้ใน
ระดับที่สูงขึ้นต่อไป
5. ให้นกั เรี ยนดูภาพแสดงโครงสร้างของระบบย่อยอาหาร ซึ่งประกอบด้วยอวัยวะที่สาํ คัญได้แก่ ปาก หลอด
อาหาร กระเพาะอาหาร ตับ ลําไส้เล็ก และสําไส้ใหญ่ ที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู ้
ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน และตอบคําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– นักเรี ยนรู ้หรื อไม่ อาหารที่เรารับประทานก่อนที่ร่างกายจะนําไปใช้ประโยชน์ ต้องผ่านการทํางานของ
ระบบใดในร่ างกาย (ระบบย่ อยอาหาร)
– อวัยวะที่ทาํ งานในระบบย่อยอาหารประกอบด้วยอวัยวะสําคัญใดบ้าง (ปาก หลอดอาหาร กระเพาะ
อาหาร ตับ ลําไส้ เล็ก และสําไส้ ใหญ่ )
– หากอวัยวะดังกล่าวเกิดความผิดปกตินกั เรี ยนคิดว่าจะมีผลอย่างไร (ส่ งผลให้ การทํางานของร่ างกายเกิด
ความผิดปกติ)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
6. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อระบบย่อยอาหาร ในหัวข้อย่อยที่ 2. โครงสร้างของ
ระบบย่อยอาหาร ในประเด็นเกี่ยวกับหน้าที่ของอวัยวะปาก หลอดอาหาร และกระเพาะอาหาร เพื่อเป็ น
การกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
41

ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู แสดงภาพทางเดินอาหารหรื อโครงสร้างของระบบย่อยอาหารในร่ างกายของมนุษย์ให้นกั เรี ยนดูและชี้
ไปที่ภาพอวัยวะในแต่ละตําแหน่ง แล้วให้นกั เรี ยนร่ วมกันตอบว่าอวัยวะที่ครู ช้ ีคืออวัยวะใดในระบบย่อย
อาหาร (ชี้ไปที่อวัยวะปาก หลอดอาหาร และกระเพาะอาหารตามลําดับ)
2. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย ในหัวข้อระบบย่อยอาหาร ในหัวข้อย่อยที่ 2. โครงสร้างของ
ระบบย่อยอาหาร ในประเด็นเกี่ยวกับหน้าที่ของอวัยวะปาก หลอดอาหาร และกระเพาะอาหาร โดยใช้
ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิบาย และร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้รับจาก
การเรี ยนรู้และการปฏิบตั ิกิจกรรมลงในสมุดบันทึก
3. ครูนําบัตรคําแสดงชื่ออวัยวะในระบบย่ อยอาหารในภาษาอังกฤษที่ตรงกับคําว่า ปาก หลอดอาหาร และ
กระเพาะอาหารให้ นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่ านสะกดคําและอ่ านออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่านตาม เพือ่ สร้ างเสริม
ทักษะทางด้ านภาษา ดังนี้
– ปาก ในภาษาในอังกฤษ คือ Mouth อ่านออกเสี ยงว่ า เมาธ
– หลอดอาหาร ในภาษาในอังกฤษ คือ Esophagus อ่านออกเสียงว่ า อิซอฟ-อะกัซ
– กระเพาะอาหาร ในภาษาในอังกฤษ คือ Stomach อ่านออกเสี ยงว่ า ซทัม-แอ็ค
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ อนื่ ๆ ที่เกีย่ วข้ องนอกเหนือจากนีไ้ ด้ หรืออาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศ
สมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
4. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิม่ เติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนแบ่งเป็ น 3 กลุ่ม แต่ละกลุ่มส่งอาสาสมัครออกมาจับสลากเลือกหัวข้อเรื่ องเพื่อปฏิบตั ิกิจกรรมการ
อภิปรายสรุ ปเกี่ยวกับหน้าที่และการทํางานของอวัยวะในโครงสร้างของระบบย่อยอาหาร พร้อมทั้งวาดรู ป
และระบายสี ประกอบให้สวยงาม ซึ่งหัวข้อเรื่ องในที่น้ ีประกอบด้วย
– เรื่ องที่ 1 ปาก
– เรื่ องที่ 2 หลอดอาหาร
– เรื่ องที่ 3 กระเพาะอาหาร
โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• นักเรี ยนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนผลัดเปลี่ยนกันออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยนโดยครู คอย
เสนอแนะและให้ความรู ้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
42

2. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าในหัวข้ อระบบย่ อยอาหาร ในหัวข้ อย่ อยที่ 2. โครงสร้ างของระบบย่อย
อาหาร (ต่ อ) ในประเด็นเกีย่ วกับหน้ าทีข่ องอวัยวะตับ ลําไส้ เล็ก และลําไส้ ใหญ่ ดังรายละเอียดในหนังสื อ
เรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต
ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า และจดบันทึกข้ อคําถามที่สงสั ยหรือสนใจอย่างน้ อย 2 ถึง 3
ประเด็นลงในสมุด เพือ่ ใช้ เป็ นร่ องรอยและหลักฐานในการศึกษา แล้ วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียน
ครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
• นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับสาระน่ารู ้ที่เกี่ยวข้องกับการทํางานของอวัยวะในโครงสร้างของระบบ
ย่อยอาหาร ได้แก่ ปาก หลอดอาหาร และกระเพาะอาหาร จากแหล่งการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต หรื อ
หนังสื อที่ให้ความรู้เกี่ยวกับร่ างกายของมนุษย์ในห้องสมุดของโรงเรี ยน หรื อหนังสื อข่าวสารสุ ขภาพทัว่ ไป
เพื่อเสริ มสร้างการเรี ยนรู้และทําให้เกิดความเข้าใจในการทํางานของระบบย่อยอาหารมากยิง่ ขึ้น

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพแสดงบุคคลกําลังรับประทานอาหาร
2. ภาพแสดงทางเดินอาหารหรื อโครงสร้างของระบบย่อยอาหารในร่ างกายของมนุษย์
3. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์แสดงโครงสร้างการทํางานของระบบย่อยอาหาร และหน้าที่ของอวัยวะปาก หลอดอาหาร
และกระเพาะอาหาร
4. บัตรคําแสดงชื่ออวัยวะในระบบระบบย่อยอาหารในภาษาอังกฤษหรื อภาษาของประเทศสมาชิกอาเซียนที่ตรง
กับคําว่า ปาก หลอดอาหาร และกระเพาะอาหาร
5. อุปกรณ์ในการวาดภาพระบายสี
6. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ
7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
43

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
44

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 4
ระบบต่ าง ๆ ของร่ างกาย (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 1: การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 เรียนรู้ ตวั เรา เรื่อง ระบบย่ อยอาหาร (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
โครงสร้างการทํางานของระบบย่อยอาหารประกอบด้วยอวัยวะที่สาํ คัญได้แก่ ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร
ตับ ลําไส้เล็ก และสําไส้ใหญ่ ทํางานร่ วมกันเป็ นระบบย่อยอาหาร ซึ่ งตามที่ได้กล่าวถึงหน้าที่และการทํางานของ
ปาก หลอดอาหาร และกระเพาะอาหารไปแล้ว ในที่น้ี จะกล่าวถึงหน้าที่แ ละการทํางานของตับ ลําไส้เล็ก และ
ลําไส้ใหญ่ โดยตับจะทําหน้าที่ผลิตนํ้าดีเพื่อช่วยย่อยไขมันให้แตกตัว ในขณะที่ลาํ ไส้เล็กจะย่อยและดูดซึ มอาหาร
ให้กบั ร่ างกาย โดยมีลาํ ไส้ใหญ่ทาํ หน้าที่ดูดนํ้ากลับเข้าสู่ร่างกายและขับกากอาหารออกทางไส้ตรงในลําดับต่อไป

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. อธิ บายความสําคัญของระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายที่มีผลต่อสุ ขภาพ การเจริ ญเติบโต และพัฒนาการ
(พ 1.1 ป. 5/1)
2. อธิ บายวิธีดูแลระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายให้ทาํ งานตามปกติ (พ 1.1 ป. 5/2)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายโครงสร้างของระบบย่อยอาหาร และหน้าที่ของอวัยวะตับ ลําไส้เล็ก และลําไส้ใหญ่อย่างถูกต้องได้
(K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของระบบย่อยอาหารที่มีผลต่อสุ ขภาพการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการ (A)
3. ระบุโครงสร้างของระบบย่อยอาหารอย่างถูกต้องได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับโครงสร้างของ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ระบบย่อยอาหาร และหน้าที่ของ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
อวัยวะตับ ลําไส้เล็ก และลําไส้ แผนที่ความคิด*
ใหญ่
45

วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล


• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ปฏิบตั ิกิจกรรม ระบบย่ อยอาหาร ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
ลองมาบอกขานหน้ าที่ พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ป. 5*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
 ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย (ต่อ)
– ระบบย่อยอาหาร (ต่อ)
2. โครงสร้างของระบบย่อยอาหาร (ต่อ)
– ตับ
– ลําไส้เล็ก
– ลําไส้ใหญ่

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ ภาษาอังกฤษหรือภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
เกี่ยวกับอวัยวะตับ ลําไส้ เล็ก และลําไส้ ใหญ่ ซึ่ งเป็ นอวัยวะในโครงสร้ างของ
ระบบย่อยอาหาร
ภาษาไทย  พูดคุยหรื อเขียนสรุ ปความรู ้เกี่ยวกับหน้าที่ของอวัยวะตับ ลําไส้เล็ก และลําไส้
ใหญ่ ซึ่งเป็ นอวัยวะในโครงสร้างของระบบย่อยอาหาร
46

ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพอวัยวะตับ ลําไส้เล็ก และลําไส้ใหญ่ ซึ่ งเป็ นอวัยวะใน


โครงสร้างของระบบย่อยอาหาร
วิทยาศาสตร์  ศึกษา สื บค้น และบันทึกข้อมูลที่ เกี่ยวข้องกับหน้าที่และกระบวนการทํางาน
ของอวัยวะตับ ลําไส้เล็ก และลําไส้ใหญ่ ซึ่ งเป็ นอวัยวะในโครงสร้ างของระบบ
ย่อยอาหาร

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน
เพื่อทบทวนความรู้
2. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอผลการศึกษาค้ นคว้ าในหัวข้ อระบบย่อยอาหาร ในหัวข้ อย่ อย
ที่ 2. โครงสร้ างของระบบย่ อยอาหาร (ต่ อ) ในประเด็นเกีย่ วกับหน้ าที่ของอวัยวะตับ ลําไส้ เล็ก และลําไส้ ใหญ่
พร้ อมทั้งนําเสนอข้ อคําถามที่สงสั ยหรือสนใจที่จดบันทึกมา แล้วให้ เพือ่ น ๆ ในชั้นเรียนร่ วมกันตอบ
คําถาม
3. ครู แสดงความคิดเห็นต่อผลการปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรี ยนและให้ความรู ้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
4. ให้นกั เรี ยนดูภาพแสดงเด็กสองคนกําลังรับประทานอาหารจนมีอาการปวดท้อง พร้อมข้อความบทสนทนา
ที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู ้ของ
นักเรี ยน และตอบคําถามในประเด็นที่วา่ “ทําไมเด็กสองคนในภาพจึงปวดท้อง”
5. ครู อธิ บายถึงแนวคําตอบที่ถูกต้องว่า การที่เด็กสองในภาพมีอาการปวดท้องอาจมีผลมาจากการ
รับประทานอาหารในปริ มาณมากเกินไปและเร็ วเกินไป จึงเกิดอาการอึดอัดแน่นท้อง ทําให้เกิดแก๊สใน
กระเพาะอาหารมากกว่าปกติ และอาหารไม่ยอ่ ยด้วย ซึ่งอาจเรี ยกได้วา่ มีอาการท้องอืดนัน่ เอง
6. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อระบบย่อยอาหาร ในหัวข้อย่อยที่ 2. โครงสร้างของ
ระบบย่อยอาหาร (ต่อ) ในประเด็นเกี่ยวกับหน้าที่ของอวัยวะตับ ลําไส้เล็ก และลําไส้ใหญ่ เพื่อเป็ นการ
กระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย ในหัวข้อระบบย่อยอาหาร ในหัวข้อย่อยที่ 2. โครงสร้างของ
ระบบย่อยอาหาร (ต่อ) ในประเด็นเกี่ยวกับหน้าที่ของอวัยวะตับ ลําไส้เล็ก และลําไส้ใหญ่ โดยใช้ภาพหรื อ
เปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิบาย
2. ครูนําบัตรคําแสดงชื่ออวัยวะในระบบย่ อยอาหารในภาษาอังกฤษที่ตรงกับคําว่า ตับ ลําไส้ เล็ก และลําไส้
ใหญ่ ให้ นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่านสะกดคําและอ่านออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่ านตาม เพือ่ สร้ างเสริมทักษะ
ทางด้ านภาษา ดังนี้
– ตับ ในภาษาในอังกฤษ คือ Liver อ่านออกเสี ยงว่ า ลีฝ-เออะ
– ลําไส้ เล็ก ในภาษาในอังกฤษ คือ Small Intestine อ่านออกเสี ยงว่า ซมอล อินเทซ-ทิน
47

– ลําไส้ ใหญ่ ในภาษาในอังกฤษ คือ Large Intestine อ่านออกเสี ยงว่ า ลาจ อินเทซ-ทิน
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ อนื่ ๆ ที่เกีย่ วข้ องนอกเหนือจากนีไ้ ด้ หรืออาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศ
สมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
3. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิม่ เติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนแบ่งเป็ น 3 กลุ่ม แต่ละกลุ่มส่งอาสาสมัครออกมาจับสลากเลือกหัวข้อเรื่ องเพื่อปฏิบตั ิกิจกรรมการ
อภิปรายสรุ ปเกี่ยวกับหน้าที่และการทํางานของอวัยวะในโครงสร้างของระบบย่อยอาหาร พร้อมทั้งวาด
ภาพและระบายสี ประกอบให้สวยงาม ซึ่งหัวข้อเรื่ องในที่น้ ีประกอบด้วย
– เรื่ องที่ 1 ตับ
– เรื่ องที่ 2 ลําไส้เล็ก
– เรื่ องที่ 3 ลําไส้ใหญ่
โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
2. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยนโดยครู คอย
เสนอแนะและให้ความรู ้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
3. ครู ให้นกั เรี ยนร่ วมกันอภิปรายทบทวนความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของระบบย่อยอาหาร โดยครู เสนอแนะ
และให้ความรู้ที่เป็ นประโยชน์เพิม่ เติม
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรม ระบบย่ อยอาหาร ลองมาบอกขานหน้ าที่ ดังรายละเอียดในใบกิจกรรมที่ครู แจก
ให้หรื อในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 ภายในเวลาที่ครู กาํ หนด
2. ครู สุ่มนักเรี ยน 2–3 คนออกมานําเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรม ระบบย่ อยอาหาร ลองมาบอกขานหน้ าที่
หน้าชั้นเรี ยน
3. ครู เฉลยคําตอบที่ถูกต้อง และให้นกั เรี ยนปรบมือให้เพื่อนที่ปฏิบตั ิกิจกรรมที่ได้ถูกต้อง
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
2. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าในหัวข้ อระบบย่ อยอาหาร ในหัวข้ อย่ อยที่ 3. การดูแลระบบย่อยอาหาร
มาล่ วงหน้ า ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่ง
การเรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า และให้ แต่ ละคนเสนอวิธีการ
ดูแลระบบย่อยอาหารของตนเองมาคนละ 5 ข้ อ เพือ่ ใช้ เป็ นร่ องรอยและหลักฐานในการศึกษา แล้วมา
นําเสนอและสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป
48

8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. นักเรียนควรศึกษาค้ นคว้ าเพิ่มเติมเกีย่ วกับคําศัพท์ ที่เกีย่ วข้ องกับอวัยวะของระบบย่อยอาหารในภาษาอังกฤษ
และภาษาของประเทศสมาชิกอาเซียน โดยขอคําแนะนําจากผู้ปกครอง แล้วรวบรวมจัดทําสมุดคําศัพท์ ระบบ
ย่ อยอาหาร เพือ่ สร้ างเสริมทักษะทางด้ านภาษา
2. นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับสาระน่ารู ้ที่เกี่ยวข้องกับการทํางานของอวัยวะในโครงสร้างของระบบ
ย่อยอาหาร ได้แก่ ตับ ลําไส้เล็ก และลําไส้ใหญ่ จากแหล่งการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต หรื อหนังสื อที่ให้
ความรู้เกี่ยวกับร่ างกายของมนุษย์ในห้องสมุดของโรงเรี ยน หรื อหนังสื อข่าวสารสุ ขภาพทัว่ ไป เพื่อเสริ มสร้าง
การเรี ยนรู้และทําให้เกิดความเข้าใจในการทํางานของระบบย่อยอาหารมากยิง่ ขึ้น

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพแสดงเด็กสองคนกําลังรับประทานอาหารจนมีอาการปวดท้อง พร้อมข้อความบทสนทนา
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์แสดงโครงสร้างการทํางานของระบบย่อยอาหาร และหน้าที่ของอวัยวะตับ ลําไส้เล็ก และ
ลําไส้ใหญ่
3. บัตรคําแสดงชื่ออวัยวะในระบบระบบย่อยอาหารในภาษาอังกฤษหรื อภาษาของประเทศสมาชิกอาเซียนที่ตรง
กับคําว่า ตับ ลําไส้เล็ก และลําไส้ใหญ่
4. อุปกรณ์ในการวาดภาพระบายสี
5. ใบกิจกรรม เรื่ อง ระบบย่ อยอาหาร ลองมาบอกขานหน้ าที่
6. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ
7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
49

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
50

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 5
ระบบต่ าง ๆ ของร่ างกาย (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 1: การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 เรียนรู้ ตวั เรา เรื่อง ระบบย่ อยอาหาร (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
ระบบย่อยอาหารเป็ นระบบที่มีความสําคัญต่อสุ ขภาพ การเจริ ญเติบโต และพัฒนาการของคนเรา เพื่อให้ระบบ
ย่อยอาหารทํางานได้ปกติ เราควรรับประทานผักและผลไม้ เคี้ยวอาหารให้ละเอียดก่อนกลืน ไม่รับประทานอาหารรสจัด
และหมัน่ ออกกําลังกายอย่างสมํ่าเสมอ

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. อธิ บายความสําคัญของระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายที่มีผลต่อสุ ขภาพ การเจริ ญเติบโต และพัฒนาการ
(พ 1.1 ป. 5/1)
2. อธิ บายวิธีดูแลระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายให้ทาํ งานตามปกติ (พ 1.1 ป. 5/2)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายวิธีการดูแลระบบย่อยอาหารอย่างถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของระบบย่อยอาหารที่มีผลต่อสุ ขภาพ การเจริ ญเติบโต และพัฒนาการ (A)
3. แสดงทักษะในการดูแลระบบย่อยอาหารอย่างถูกต้องได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับวิธีการดูแลระบบ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ย่อยอาหาร ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
แผนที่ความคิด*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
51

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
 ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย (ต่อ)
– ระบบย่อยอาหาร (ต่อ)
3. การดูแลระบบย่อยอาหาร

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย  พูดคุย หรื อเขียนสรุ ปความรู้ หรื อเขียนบทความเกี่ยวกับวิธีการดูแล
ระบบย่อยอาหาร
ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพการ์ตูนบุคคลแสดงพฤติกรรมการดูแลระบบย่อยอาหาร
วิทยาศาสตร์  ศึกษาและรวบรวมข้อมูลสถิติที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติของระบบย่อยอาหาร
ที่เกิดจากการมีพฤติกรรมการดูแลสุ ขภาพที่ไม่ถูกต้อง
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผ่นพับความรู ้หรื อป้ ายนิเทศเกี่ยวกับการดูแลระบบย่อย
อาหาร

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน
เพื่อทบทวนความรู้
52

2. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คน ออกมานําเสนอผลการศึกษาค้ นคว้าตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียน


ครั้งที่ผ่านมา โดยให้ นําเสนอวิธีการดูแลระบบย่ อยอาหารของตนเอง 5 ข้ อ แล้ วให้ เพือ่ น ๆ ในชั้นเรียน
ร่ วมกันแสดงความคิดเห็น
3. ครู แสดงความคิดเห็นต่อผลการปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรี ยน พร้อมทั้งให้ขอ้ เสนอแนะหากผลการปฏิบตั ิ
กิจกรรมดังกล่าวแสดงถึงวิธีการ แนวคิด หรื อความเชื่อที่ผิด ๆ ของนักเรี ยนในการดูแลระบบย่อยอาหาร
ให้เกิดความเข้าใจในเบื้องต้นที่ถูกต้อง และให้นกั เรี ยนปรบมือให้เพื่อน ๆ ที่ออกมานําเสนอผลการปฏิบตั ิ
กิจกรรม
4. นักเรี ยนดูภาพแสดงพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู้
ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนและตอบคําถามร่ วมกันในประเด็นที่วา่
“นักเรี ยนจะทําอย่างไรไม่ให้ปวดท้องจากโรคกระเพาะอาหารอักเสบ”
5. ครู อธิ บายถึงแนวคําตอบที่ถูกต้องว่า ถ้านักเรี ยนไม่อยากปวดท้องจากโรคกระเพาะอาหารอักเสบ นักเรี ยน
จะต้องรับประทานอาหารให้ตรงเวลาครบทั้ง 3 มื้อ คือ เช้า กลางวัน และเย็น โดยเลือกรับประทานอาหาร
ที่มีคุณค่าทางโภชนาการในปริ มาณที่พอดี หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารรสจัด เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์
และนํ้าอัดลม เพราะนอกจากจะมีคุณค่าทางโภชนาการตํ่าแล้ว อาหารเหล่านี้ยงั มีโทษด้วย ซึ่งหาก
รับประทานเป็ นประจําจะส่งผลไปทําลายเยือ่ บุกระเพาะอาหารและลําไส้ ทําให้เป็ นแผลและเกิดการ
อักเสบได้ รวมถึงต้องไม่เครี ยด ไม่นอนดึก พักผ่อนให้เพียงพอด้วย
6. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อระบบย่อยอาหาร ในหัวข้อย่อยที่ 3. การดูแลระบบ
ย่อยอาหาร เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย ในหัวข้อระบบย่อยอาหาร ในหัวข้อย่อยที่ 3. การดูแลระบบ
ย่อยอาหาร โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิบาย
2. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน แต่ละกลุ่มระดมสมองจัดทําแผ่นพับความรู ้เรื่ อง การดูแลระบบย่อยอาหาร
โดยใช้อุปกรณ์ที่ครู เตรี ยมให้ ภายในเวลาที่ครู กาํ หนด
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยนโดยครู คอยเสนอแนะ
และให้ความรู้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
2. ครู ให้นกั เรี ยนนําแผ่นพับความรู ้ดงั กล่าวไปเผยแพร่ โดยจัดแสดงบนป้ ายนิเทศภายในโรงเรี ยน
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
53

2. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าในหัวข้ อระบบขับถ่ ายปัสสาวะ ในประเด็นเกีย่ วกับความสํ าคัญของ


ระบบขับถ่ ายปัสสาวะ และในหัวข้ อย่อยที่ 1. หน้ าที่ของระบบขับถ่ ายปัสสาวะ ดังรายละเอียดในหนังสื อ
เรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต
ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า แล้ วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่อไป
3. มอบหมายให้ นักเรียนปฏิบตั กิ จิ กรรม วิธีดูรักษาระบบย่อยอาหาร ที่เรียนวันวานนั้นเป็ นเช่ นไร ดัง
รายละเอียดในใบกิจกรรมที่ครูแจกให้ หรือในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5
นอกเวลาเรียน แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับสาระน่ารู ้ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลระบบย่อยอาหารให้มีประสิ ทธิภาพ
ตลอดจนความรู ้เกี่ยวกับโรคหรื อความผิดปกติต่าง ๆ ของระบบย่อยอาหาร จากแหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ เช่น
อินเทอร์เน็ต หรื อห้องสมุดของโรงเรี ยน เพื่อเสริ มสร้างการเรี ยนรู้และสามารถนําความรู ้ดงั กล่าวไปปรับใช้
ในชีวติ ประจําวันได้
2. นักเรี ยนควรนําความรู้เกี่ยวกับการดูแลรักษาระบบย่อยอาหารที่ถูกต้องไปใช้ปฏิบตั ิในชีวิตประจําวัน โดยขอ
ความรู้และคําแนะนําเพิ่มเติมจากผูป้ กครอง

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพแสดงพฤติกรรมการรับประทานอาหาร
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายในหัวข้อระบบย่อยอาหาร ในหัวข้อย่อยที่ 3. การดูแลระบบย่อย
อาหาร
3. อุปกรณ์ประกอบการทําแผ่นพับความรู้เรื่ อง การดูแลระบบย่อยอาหาร เช่น กระดาษ กรรไกร ดินสอสี เป็ นต้น
4. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ
5. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
6. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
54

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
55

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 6
ระบบต่ าง ๆ ของร่ างกาย (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 1: การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 เรียนรู้ ตวั เรา เรื่อง ระบบขับถ่ ายปัสสาวะ

1. สาระสํ าคัญ
ระบบขับถ่ายปั สสาวะเป็ นอีกระบบหนึ่ งของร่ างกายที่มีความสําคัญต่อการดํารงชีวิต โดยทําหน้าที่กรองของเสี ย
ออกจากเลือดและกําจัดออกจากร่ างกายในรู ปของนํ้าปัสสาวะ โดยผ่านการทํางานของไต

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. อธิ บายความสําคัญของระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายที่มีผลต่อสุ ขภาพ การเจริ ญเติบโต และพัฒนาการ
(พ 1.1 ป. 5/1)
2. อธิ บายวิธีดูแลระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายให้ทาํ งานตามปกติ (พ 1.1 ป. 5/2)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายหน้าที่ของระบบขับถ่ายปัสสาวะอย่างถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของระบบขับถ่ายปัสสาวะที่มีผลต่อสุขภาพการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการ (A)
3. ระบุหน้าที่ของระบบขับถ่ายปัสสาวะอย่างถูกต้องได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับความสําคัญของ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ระบบขับถ่ายปัสสาวะที่มีผลต่อ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
สุ ขภาพ การเจริ ญเติบโต และ แผนที่ความคิด*
พัฒนาการ

• ซักถามเกี่ยวกับหน้าที่ของระบบ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ


ขับถ่ายปั สสาวะ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
แผนที่ความคิด*
56

วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล


• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ปฏิบตั ิกิจกรรม ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
– วิธีดูแลรั กษาระบบย่ อยอาหาร พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ที่เรี ยนวัยวานนั้นเป็ นเช่ นไร ป. 5*
– ลากเส้ นจับคู่ ลองหาดูว่าคู่ไหน
เป็ นคู่กัน
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
 ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย (ต่อ)
– ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
• ความสําคัญของระบบขับถ่ายปัสสาวะ
1. หน้าที่ของระบบขับถ่ายปั สสาวะ

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ภาษาอังกฤษหรื อภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนที่
เกี่ยวกับอวัยวะในระบบขับถ่ายปัสสาวะ
สังคมศึกษาฯ  พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่ อง พฤติกรรมการขับถ่ายปัสสาวะของ
บุคคลในปั จจุบนั
57

ภาษาไทย  พูดคุ ยหรื อแสดงความคิ ดเห็ นในเรื่ อง ความสําคัญและหน้าที่ ของระบบขับถ่าย


ปัสสาวะของคนเรา
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิด ออกแบบและตกแต่งสมุดภาพ แผ่นพับ
ใบความรู้เกี่ยวกับความสําคัญของระบบขับถ่ายปั สสาวะ
ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพทางเดินปั สสาวะในร่ างกายของมนุษย์
วิทยาศาสตร์  สังเกตและเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการทํางานของระบบขับถ่ายปั สสาวะใน
ร่ างกายของตนเองเปรี ยบเทียบกับบุคคลอื่น

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน
เพื่อทบทวนความรู้
2. ให้ นักเรียนจับคู่แลกเปลีย่ นผลการปฏิบัตกิ จิ กรรม วิธีดูแลรักษาระบบย่อยอาหาร ที่เรี ยนวันวานนั้นเป็ น
เช่ นไร กับเพือ่ นในชั้นเรียน หากเพือ่ นวาดภาพและเขียนวิธีการดูแลรักษาระบบย่ อยอาหารได้ ถูกต้องให้
เขียนชื่นชมเพือ่ นลงไปในบริเวณที่ว่างในผลงาน แต่ หากเพือ่ นทําผิดให้ เขียนแก้ไขให้ ถูกต้ อง แล้วส่ งคืน
เพือ่ นที่เป็ นเจ้ าของผลงาน โดยครูแสดงความคิดเห็นและประเมินผลการปฏิบัตกิ จิ กรรมของนักเรียนและ
ให้ นักเรียนปรบมือให้ ตนเอง
3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในหัวข้ อระบบขับถ่ าย
ปัสสาวะ ในประเด็นเกีย่ วกับความสํ าคัญของระบบขับถ่ ายปัสสาวะ และในหัวข้ อย่อยที่ 1. หน้ าที่ของ
ระบบขับถ่ ายปัสสาวะ มาล่วงหน้ า ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครู แสดงความ
คิดเห็นต่ อการปฏิบัตกิ จิ กรรมดังกล่าวของนักเรียน
4. ให้นกั เรี ยนดูภาพแสดงทางเดินของนํ้าปัสสาวะในร่ างกายของมนุษย์และภาพแสดงพฤติกรรมการขับถ่าย
ปัสสาวะและที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การ
เรี ยนรู ้ของนักเรี ยนและตอบคําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– จากภาพโครงสร้ างการทํางานของอวัยวะต่ าง ๆ ที่นักเรี ยนมองเห็นจัดเป็ นโครงสร้ างการทํางานของ
ระบบใดในร่ างกาย (ระบบขับถ่ ายปั สสาวะ)
– นํ้าปัสสาวะมาจากไหน (นํา้ ปั สสาวะเป็ นของเสี ยที่ไตกรองออกมาจากเลือดในร่ างกายและถูกขับออก
นอกร่ างกายผ่ านทางท่ อปั สสาวะ)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ ในหัวข้อระบบขับถ่ายปัสสาวะ ในประเด็นเกี่ยวกับ
ความสําคัญของระบบขับถ่ายปั สสาวะ และในหัวข้อย่อยที่ 1. หน้าที่ของระบบขับถ่ายปั สสาวะ เพื่อเป็ น
การกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
58

ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้แก่นกั เรี ยนเพิ่มเติมเกี่ยวกับการกําจัดของเสี ยของร่ างกายผ่านการทํางานของอวัยวะที่สาํ คัญ
ใน 4 ระบบ ได้แก่ ระบบหายใจ (ของเสี ยในรู ปของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์) ระบบผิวหนัง (ของเสี ยใน
รู ปของเหงื่อ) ระบบขับถ่ายของเสี ยทางลําไส้ใหญ่ (ของเสี ยในรู ปของอุจจาระ) และระบบขับถ่าย
ปัสสาวะ (ของเสี ยในรู ปของนํ้าปัสสาวะ)
2. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย ในหัวข้อระบบขับถ่ายปัสสาวะ ในประเด็นเกี่ยวกับ
ความสําคัญของระบบขับถ่ายปั สสาวะ และในหัวข้อย่อยที่ 1. หน้าที่ของระบบขับถ่ายปั สสาวะ โดยใช้
ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิบาย และร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้รับจาก
การเรี ยนรู้และการปฏิบตั ิกิจกรรมลงในสมุดบันทึก
3. ครูนําบัตรคําแสดงชื่อระบบขับถ่ ายปัสสาวะในภาษาอังกฤษให้ นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่ านสะกดคําและอ่ าน
ออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่านตาม เพือ่ สร้ างเสริมทักษะทางด้ านภาษา โดยระบบขับถ่ ายปัสสาวะใน
ภาษาอังกฤษตรงกับคําว่า Urinary System อ่านออกเสี ยงว่า ยู-ริเนริ ซีซ-เท็ม (ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ น
ภาษาในประเทศสมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
4. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรม ลากเส้ นจับคู่ ลองหาดูว่าคู่ไหนเป็ นคู่กัน ดังรายละเอียดในใบกิจกรรมที่ครู แจกให้
หรื อในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. สุ่มนักเรี ยนประมาณ 2–3 คนออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน โดยครู คอยเสนอแนะ
และให้ความรู้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
2. ครู เฉลยคําตอบที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนทราบและให้นกั เรี ยนร่ วมกันตรวจสอบแก้ไขคําตอบให้ถูกต้อง
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
2. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าในหัวข้ อระบบขับถ่ ายปัสสาวะ ในหัวข้ อย่อยที่ 2. โครงสร้ างของระบบ
ขับถ่ ายปัสสาวะ ในประเด็นเกีย่ วกับหน้ าที่ของอวัยวะไตและท่ อไต ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน
รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุด
ของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า และจดบันทึกข้ อคําถามที่สงสั ยหรือสนใจอย่างน้ อย 2 ถึง 3 ประเด็นลงใน
สมุด เพือ่ ใช้ เป็ นร่ องรอยและหลักฐานในการศึกษา แล้ วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่อไป
59

8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. นักเรียนควรศึกษาค้ นคว้ าเพิ่มเติมเกีย่ วกับคําศัพท์ ที่เกีย่ วข้ องกับอวัยวะของระบบขับถ่ ายปัสสาวะใน
ภาษาอังกฤษและภาษาของประเทศสมาชิกอาเซียน โดยขอคําแนะนําจากผู้ปกครอง เช่ น คําว่ า นํา้ ปัสสาวะ ใน
ภาษาอังกฤษใช้ คาํ ว่า Urine (อ่านว่ า ยู-ริน) แล้ วรวบรวมทําสมุดคําศัพท์ ระบบขับถ่ ายปัสสาวะ เพือ่ สร้ างเสริม
ทักษะทางด้ านภาษา
2. นักเรี ยนควรสังเกตการทํางานของระบบขับถ่ายปั สสาวะของตนเองแล้วจดบันทึกลงในสมุด เป็ นเวลาอย่าง
น้อย 1 สัปดาห์ เพื่อให้เข้าใจการทํางานของระบบขับถ่ายปั สสาวะมากขึ้นและสามารถประเมินความผิดปกติที่
เกิดขึ้นกับระบบขับถ่ายปัสสาวะของตนเองได้
3. นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงสร้างและการทํางานของระบบย่อยอาหารจากแหล่งการเรี ยนรู้
ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต หรื อหนังสื อที่ให้ความรู้เกี่ยวกับร่ างกายของมนุษย์ในห้องสมุดของโรงเรี ยน เพื่อ
กระตุน้ ความสนใจในการเรี ยนรู้และทําให้เกิดความเข้าใจในระบบย่อยอาหารในร่ างกายของตนเองมากขึ้น

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพแสดงทางเดินของนํ้าปั สสาวะในร่ างกายของมนุษย์
2. ภาพแสดงพฤติกรรมการขับถ่ายปัสสาวะ
3. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์แสดงอวัยวะและหน้าที่ของระบบปัสสาวะในร่ างกาย
4. บัตรคําชื่อระบบขับถ่ายปั สสาวะในภาษาอังกฤษ
5. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ
6. ใบกิจกรรม เรื่ อง วิธีดูแลรั กษาระบบย่ อยอาหาร ที่เรี ยนวันวานนั้นเป็ นเช่ นไร
7. ใบกิจกรรม เรื่ อง ลากเส้ นจับคู่ ลองหาดูวา่ คู่ไหนเป็ นคู่กัน
8. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
11. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
60

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
61

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 7
ระบบต่ าง ๆ ของร่ างกาย (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 1: การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 เรียนรู้ ตวั เรา เรื่อง ระบบขับถ่ ายปัสสาวะ (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
โครงสร้ างการทํางานของระบบขับถ่ายปั สสาวะประกอบด้วยอวัยวะที่ สําคัญได้แก่ ไต ท่ อไต กระเพาะ
ปั สสาวะ และท่อปั สสาวะ ทํางานร่ วมกันเป็ นระบบขับถ่ายปั สสาวะโดยไตจะทําหน้าที่กรองของเสี ยออกจากเลือด
แล้วกลายเป็ นนํ้าปั สสาวะ ส่วนท่อไตจะรองรับนํ้าปัสสาวะจากไตแล้วส่งต่อไปยังกระเพาะปั สสาวะ

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. อธิ บายความสําคัญของระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายที่มีผลต่อสุ ขภาพ การเจริ ญเติบโต และพัฒนาการ
(พ 1.1 ป. 5/1)
2. อธิ บายวิธีดูแลระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายให้ทาํ งานตามปกติ (พ 1.1 ป. 5/2)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายโครงสร้างของระบบขับถ่ายปั สสาวะ และหน้าที่ของอวัยวะไตและท่อไตอย่างถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของระบบขับถ่ายปัสสาวะที่มีผลต่อสุขภาพการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการ (A)
3. ระบุโครงสร้างของระบบขับถ่ายปัสสาวะอย่างถูกต้องได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับโครงสร้างของ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ และหน้าที่ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ของอวัยวะไตและท่อไต แผนที่ความคิด*

*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู


62

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
 ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย (ต่อ)
– ระบบขับถ่ายปัสสาวะ (ต่อ)
2. โครงสร้างของระบบขับถ่ายปัสสาวะ
– ไต
– ท่อไต

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ภาษาอังกฤษหรื อภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
เกี่ยวกับอวัยวะไตและท่อไต ซึ่งเป็ นอวัยวะในโครงสร้างของระบบขับถ่าย
ปัสสาวะ
คณิ ตศาสตร์  นับจํานวนของอวัยวะที่จดั เป็ นโครงสร้างในระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ภาษาไทย  พูดคุยหรื อเขียนสรุ ปความรู ้เกี่ยวกับโครงสร้างของระบบขับถ่ายปัสสาวะ และ
หน้าที่ของอวัยวะไตและท่อไต ซึ่งเป็ นอวัยวะในโครงสร้างของระบบขับถ่าย
ปัสสาวะ
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิด ออกแบบและตกแต่งสมุดภาพ แผ่นพับ
ใบความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างและการทํางานของระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพอวัยวะไตและท่อไต ซึ่งเป็ นอวัยวะในโครงสร้างของ
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
63

วิทยาศาสตร์  ศึกษา สื บค้น และบันทึกข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่และกระบวนการทํางาน


ของอวัยวะไตและท่อไต ซึ่งเป็ นอวัยวะในโครงสร้างของระบบขับถ่าย
ปัสสาวะ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน
เพื่อทบทวนความรู้
2. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอประเด็นคําถามเกีย่ วกับโครงสร้ างของระบบขับถ่ าย
ปัสสาวะที่นักเรียนสงสั ยหรือสนใจ ตามที่ได้ รับมอบหมายให้ อ่านมาล่วงหน้ าในการเรียนครั้งที่ผ่านมา
แล้วให้ เพือ่ น ๆ ช่ วยกันตอบคําถามดังกล่ าวร่ วมกัน โดยครูคอยให้ ความรู้ที่ถูกต้ องเพิม่ เติม
3. นักเรี ยนดูภาพที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการขับถ่ายปั สสาวะที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับ
ความรู้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู้ของนักเรี ยนและตอบคําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– ในแต่ละวันนักเรี ยนปั สสาวะประมาณวันละกี่ครั้ง (พิจารณาคําตอบของนักเรี ยนซึ่ งขึน้ อยู่กับพฤติกรรม
ในการขับถ่ ายปั สสาวะของแต่ ละบุคคล ดังนั้นคําตอบอาจแตกต่ างกัน จึงไม่ มีคาํ ตอบใดถูกหรื อผิด และ
อธิ บายเพิ่มเติมว่ า จํานวนการขับถ่ ายปั สสาวะถือเป็ นพฤติกรรมส่ วนบุคคล ซึ่ งในแต่ ละคนจะไม่ เท่ ากัน
ขึน้ อยู่กบั ปริ มาณของนํา้ ที่ ได้ รับในแต่ วัน เช่ น บางคนดื่มนํา้ มากก็ย่อมขับถ่ ายปั สสาวะมาก บางคนดื่ม
นํา้ น้ อยก็ย่อมขับถ่ ายปั สสาวะน้ อย แต่ โดยส่ วนใหญ่ แล้ วคนเราจะปั สสาวะวันละ 4–6 ครั้ ง
โดยประมาณ)
– ทําไมเพื่อนบางคนจึงปัสสาวะบ่อยกว่าเรา (จํานวนครั้ งและปริ มาณการขับถ่ ายปั สสาวะถือเป็ น
พฤติกรรมส่ วนบุคคล ซึ่ งในแต่ ละคนจะไม่ เท่ ากันขึน้ อยู่กับปริ มาณของนํา้ ที่ได้ รับในแต่ วัน ซึ่ งการที่
เพื่อนบางคนปั สสาวะบ่ อยกว่ าเรา ก็อาจจะเป็ นไปได้ ว่าเพื่อนคนดังกล่ าวนั้นได้ ดื่มนํา้ ในปริ มาณที่
มากกว่ าเรานั่นเอง)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
4. นักเรี ยนดูภาพแสดงโครงสร้างของระบบขับถ่ายปัสสาวะ ซึ่งประกอบด้วยอวัยวะที่สาํ คัญได้แก่ ไต ท่อไต
กระเพาะปัสสาวะ และท่อปัสสาวะ ที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู้ในเรื่ องดังกล่าวจาก
ประสบการณ์การเรี ยนรู้ของนักเรี ยนและตอบคําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– อวัยวะที่ทาํ งานในระบบขับถ่ายปั สสาวะประกอบด้วยอวัยวะสําคัญใดบ้าง (ไต ท่ อไต กระเพาะ
ปั สสาวะ และท่ อปั สสาวะ)
– หากอวัยวะดังกล่าวเกิดความผิดปกตินกั เรี ยนคิดว่าจะมีผลอย่างไร (ส่ งผลให้ การทํางานของร่ างกายเกิด
ความผิดปกติ)
64

5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อระบบขับถ่ายปัสสาวะ ในหัวข้อย่อยที่ 2. โครงสร้าง


ของระบบขับถ่ายปัสสาวะ ในประเด็นเกี่ยวกับหน้าที่ของอวัยวะไตและท่อไต เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมี
ส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู นาํ ภาพแสดงโครงสร้างของระบบขับถ่ายปั สสาวะในร่ างกายของมนุษย์ให้นกั เรี ยนดูและชี้ไปที่ภาพ
อวัยวะในแต่ละตําแหน่ง แล้วให้นกั เรี ยนร่ วมกันตอบว่าอวัยวะที่ครู ช้ ีคืออวัยวะใดในระบบขับถ่าย
ปัสสาวะ (ชี้ไปที่ไตและท่อไตตามลําดับ)
2. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย ในหัวข้อระบบขับถ่ายปัสสาวะ ในหัวข้อย่อยที่ 2. โครงสร้าง
ของระบบขับถ่ายปัสสาวะ ในประเด็นเกี่ยวกับหน้าที่ของอวัยวะไตและท่อไต โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิ
ทัศน์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย และร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้รับจากการเรี ยนรู ้และการ
ปฏิบตั ิกิจกรรมลงในสมุดบันทึก
3. ครูนําบัตรคําแสดงชื่ออวัยวะในระบบขับถ่ ายปัสสาวะในภาษาอังกฤษที่ตรงกับคําว่ า ไต และคําว่ า ท่ อไต
ให้ นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่านสะกดคําและอ่านออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่านตาม เพือ่ สร้ างเสริมทักษะทางด้ าน
ภาษา ดังนี้
– ไต ในภาษาในอังกฤษ คือ Kidney อ่านออกเสี ยงว่ า คีด-นิ
– ท่ อไต ในภาษาในอังกฤษ คือ Ureter อ่านออกเสี ยงว่า ยุรี-เทอะ
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ อนื่ ๆ ที่เกีย่ วข้ องนอกเหนือจากนีไ้ ด้ หรืออาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศ
สมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
4. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนแบ่งเป็ น 2 กลุ่ม แต่ละกลุ่มส่งอาสาสมัครออกมาจับสลากเลือกหัวข้อเรื่ องเพื่อปฏิบตั ิกิจกรรมการ
อภิปรายสรุ ปเกี่ยวกับหน้าที่และการทํางานของอวัยวะในโครงสร้างของระบบขับถ่ายปั สสาวะ พร้อมทั้ง
วาดรู ปและระบายสี ประกอบให้สวยงาม ซึ่งหัวข้อเรื่ องในที่น้ ีประกอบด้วย
– เรื่ องที่ 1 ไต
– เรื่ องที่ 2 ท่อไต
โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• นักเรี ยนแต่ละกลุ่มส่ งตัวแทนผลัดเปลี่ยนกันออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยนโดยครู คอย
เสนอแนะและให้ความรู ้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
65

2. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้ าความรู้เกีย่ วกับระบบขับถ่ ายปัสสาวะเพิม่ เติมจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ


เช่ น ห้ องสมุด อินเทอร์ เน็ต แล้วเขียนแผนที่ความคิดแสดงหน้ าที่และลําดับการทํางานของอวัยวะใน
ระบบขับถ่ ายปัสสาวะ แล้วมานําเสนอในการเรียนครั้งต่ อไป
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าในหัวข้ อระบบขับถ่ ายปัสสาวะ ในหัวข้ อย่อยที่ 2. โครงสร้ างของระบบ
ขับถ่ ายปัสสาวะ (ต่ อ) ในประเด็นเกีย่ วกับหน้ าที่ของอวัยวะกระเพาะปัสสาวะและท่ อปัสสาวะ ดัง
รายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ ต่าง ๆ
เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่ วงหน้ า และจดบันทึกข้ อคําถามที่สงสั ยหรือสนใจ
อย่ างน้ อย 2 ถึง 3 ประเด็นลงในสมุด เพือ่ ใช้ เป็ นร่ องรอยและหลักฐานในการศึกษา แล้วนํามาสนทนา
ร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
• นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับสาระน่ารู ้ที่เกี่ยวข้องกับการทํางานของอวัยวะในโครงสร้างของระบบ
ขับถ่ายปั สสาวะ ได้แก่ ไตและท่อไต จากแหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต หรื อหนังสื อที่ให้ความรู้
เกี่ยวกับร่ างกายของมนุษย์ในห้องสมุดของโรงเรี ยน หรื อหนังสื อข่าวสารสุ ขภาพทัว่ ไป เพื่อเสริ มสร้างการ
เรี ยนรู้และทําให้เกิดความเข้าใจในการทํางานของระบบขับถ่ายปัสสาวะมากยิง่ ขึ้น

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการขับถ่ายปั สสาวะ
2. ภาพแสดงโครงสร้างของระบบขับถ่ายปัสสาวะในร่ างกายของมนุษย์
3. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์แสดงโครงสร้างการทํางานของระบบขับถ่ายปั สสาวะ และหน้าที่ของอวัยวะไตและท่อไต
4. บัตรคําแสดงชื่ออวัยวะในระบบขับถ่ายปั สสาวะในภาษาอังกฤษหรื อภาษาของประเทศสมาชิกอาเซียน
5. อุปกรณ์ในการวาดภาพระบายสี
6. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ
7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
66

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
67

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 8
ระบบต่ าง ๆ ของร่ างกาย (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 1: การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 เรียนรู้ ตวั เรา เรื่อง ระบบขับถ่ ายปัสสาวะ (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
โครงสร้ างการทํางานของระบบขับถ่ายปั สสาวะประกอบด้วยอวัยวะที่ สําคัญได้แก่ ไต ท่ อไต กระเพาะ
ปัสสาวะ และท่อปัสสาวะ ทํางานร่ วมกันเป็ นระบบขับถ่ายปั สสาวะ ซึ่งตามที่ได้กล่าวถึงหน้าที่และการทํางานของไต
และท่อไตไปแล้ว ในที่ น้ ี จะกล่าวถึ งหน้าที่ และการทํางานของกระเพาะปั สสาวะและท่อปั สสาวะ โดยกระเพาะ
ปัสสาวะจะทําหน้าที่กกั เก็บนํ้าปัสสาวะ ส่ วนท่อปั สสาวะจะรับนํ้าปัสสาวะจากกระเพาะปัสสาวะและขับถ่ายออกสู่
ภายนอกร่ างกาย

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. อธิ บายความสําคัญของระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายที่มีผลต่อสุ ขภาพ การเจริ ญเติบโต และพัฒนาการ
(พ 1.1 ป. 5/1)
2. อธิ บายวิธีดูแลระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายให้ทาํ งานตามปกติ (พ 1.1 ป. 5/2)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายโครงสร้างของระบบขับถ่ายปั สสาวะ และหน้าที่ของอวัยวะกระเพาะปั สสาวะและท่อปัสสาวะ
อย่างถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของระบบขับถ่ายปัสสาวะที่มีผลต่อสุขภาพการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการ (A)
3. ระบุโครงสร้างของระบบขับถ่ายปัสสาวะอย่างถูกต้องได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับโครงสร้างของ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ และหน้าที่ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ของอวัยวะกระเพาะปัสสาวะและ แผนที่ความคิด*
ท่อปั สสาวะ
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
68

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
 ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย (ต่อ)
– ระบบขับถ่ายปัสสาวะ (ต่อ)
2. โครงสร้างของระบบขับถ่ายปั สสาวะ (ต่อ)
– กระเพาะปัสสาวะ
– ท่อปั สสาวะ

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ภาษาอังกฤษหรื อภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
เกี่ยวกับอวัยวะกระเพาะปั สสาวะและท่อปัสสาวะ ซึ่งเป็ นอวัยวะในโครงสร้าง
ของระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ภาษาไทย  พูดคุยหรื อเขียนสรุ ปความรู ้เกี่ยวกับหน้าที่ของอวัยวะกระเพาะปัสสาวะและ
ท่อปั สสาวะ ซึ่งเป็ นอวัยวะในโครงสร้างของระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพอวัยวะกระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะ ซึ่งเป็ นอวัยวะ
ในโครงสร้างของระบบขับถ่ายปัสสาวะ
วิทยาศาสตร์  ศึกษา สื บค้น และบันทึกข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่และกระบวนการทํางาน
ของกระเพาะปั สสาวะและท่อปัสสาวะ ซึ่งเป็ นอวัยวะในโครงสร้างของระบบ
ขับถ่ายปั สสาวะ
69

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน
เพื่อทบทวนความรู้
2. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอผลการศึกษาค้ นคว้ าในหัวข้ อระบบขับถ่ ายปัสสาวะ ใน
หัวข้ อย่ อยที่ 2. โครงสร้ างของระบบขับถ่ ายปัสสาวะ (ต่ อ) ในประเด็นเกีย่ วกับหน้ าที่ของอวัยวะกระเพาะ
ปัสสาวะและท่ อปัสสาวะ พร้ อมทั้งนําเสนอข้อคําถามที่สงสั ยหรือสนใจที่จดบันทึกมา แล้วให้ เพือ่ น ๆ ใน
ชั้นเรียนร่ วมกันตอบคําถาม
3. ครู แสดงความคิดเห็นต่อผลการปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรี ยนและให้ความรู ้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
4. นักเรี ยนดูแผนภาพแสดงวงกลมสี เหลืองที่มีการไล่ระดับสี จากสี เหลืองอ่อนมาหาสี เหลืองเข้ม ซึ่งเป็ น
แสดงการจําลองสี ของนํ้าปัสสาวะที่ครู เตรี ยมมา หรื อเปิ ดในสื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพล
ศึกษา ป. 5หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 1 เรี ยนรู ้ตวั เรา แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 8 ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย (ต่อ) ให้
นักเรี ยนดูประกอบการเรี ยน แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู ้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การ
เรี ยนรู ้ของนักเรี ยน และตอบคําถามในประเด็นที่วา่ “สี ของนํ้าปัสสาวะมีความเกี่ยวข้องกับภาวะสุขภาพ
ของเราหรื อไม่”
5. ครู อธิ บายถึงแนวคําตอบที่ถูกต้องว่า สี ของนํ้าปัสสาวะมีความเกี่ยวข้องกับภาวะสุ ขภาพของเราโดยตรง
เช่น ปั สสาวะมีสีเหลืองเข้ม อาจเกิดจากการดื่มนํ้าน้อย หรื อเกิดภาวะการติดเชื้อของกระเพาะปั สสาวะ
เป็ นต้น
6. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อระบบขับถ่ายปัสสาวะ ในหัวข้อย่อยที่ 2. โครงสร้าง
ของระบบขับถ่ายปั สสาวะ (ต่อ) ในประเด็นเกี่ยวกับหน้าที่ของอวัยวะกระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะ
เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย ในหัวข้อระบบขับถ่ายปัสสาวะ ในหัวข้อย่อยที่ 2. โครงสร้าง
ของระบบขับถ่ายปั สสาวะ (ต่อ) ในประเด็นเกี่ยวกับหน้าที่ของอวัยวะกระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะ
โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
2. ครูนําบัตรคําแสดงชื่ออวัยวะในระบบขับถ่ ายปัสสาวะในภาษาอังกฤษที่ตรงกับคําว่ า กระเพาะปัสสาวะ
และท่ อปัสสาวะ ให้ นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่านสะกดคําและอ่านออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่านตาม เพือ่ สร้ างเสริม
ทักษะทางด้ านภาษา ดังนี้
– กระเพาะปัสสาวะ ในภาษาในอังกฤษ คือ Bladder อ่านออกเสี ยงว่ า บแลด-เดอะ
– ท่ อปัสสาวะ ในภาษาในอังกฤษ คือ Urethra อ่านออกเสี ยงว่า ยุรี-ธระ
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ อนื่ ๆ ที่เกีย่ วข้ องนอกเหนือจากนีไ้ ด้ หรืออาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศ
สมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
3. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิม่ เติม
70

ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนแบ่งเป็ น 2 กลุ่ม แต่ละกลุ่มส่งอาสาสมัครออกมาจับสลากเลือกหัวข้อเรื่ องเพื่อปฏิบตั ิกิจกรรมการ
อภิปรายสรุ ปเกี่ยวกับหน้าที่และการทํางานของอวัยวะในโครงสร้างของระบบขับถ่ายปั สสาวะ พร้อมทั้ง
วาดรู ปและระบายสี ประกอบให้สวยงาม ซึ่งหัวข้อเรื่ องในที่น้ ีประกอบด้วย
– เรื่ องที่ 1 กระเพาะปัสสาวะ
– เรื่ องที่ 2 ท่อปัสสาวะ
โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยนโดยครู คอย
เสนอแนะและให้ความรู ้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
2. ครู ให้นกั เรี ยนร่ วมกันอภิปรายทบทวนความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของระบบขับถ่ายปัสสาวะ โดยครู
เสนอแนะและให้ความรู ้ที่เป็ นประโยชน์เพิ่มเติม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
2. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าในหัวข้ อระบบขับถ่ ายปัสสาวะ ในหัวข้ อย่อยที่ 3. การดูแลระบบ
ขับถ่ ายปัสสาวะ มาล่ วงหน้ า ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5
หรือจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า และให้ แต่ ละ
คนเสนอวิธีการดูแลระบบขับถ่ ายปัสสาวะของตนเองมาคนละ 5 ข้ อ เพือ่ ใช้ เป็ นร่ องรอยและหลักฐานใน
การศึกษา แล้วมานําเสนอและสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. นักเรียนควรศึกษาค้ นคว้ าเพิ่มเติมเกีย่ วกับคําศัพท์ ที่เกีย่ วข้ องกับอวัยวะของระบบขับถ่ ายปัสสาวะใน
ภาษาอังกฤษและภาษาของประเทศสมาชิกอาเซียน โดยขอคําแนะนําจากผู้ปกครอง แล้วรวบรวมทําสมุด
คําศัพท์ ระบบขับถ่ ายปัสสาวะ เพือ่ สร้ างเสริมทักษะทางด้ านภาษา
2. นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิม่ เติมเกี่ยวกับสาระน่ารู ้ที่เกี่ยวข้องกับการทํางานของอวัยวะในโครงสร้างของระบบ
ขับถ่ายปั สสาวะ ได้แก่ กระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะ จากแหล่งการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต หรื อ
หนังสื อที่ให้ความรู้เกี่ยวกับร่ างกายของมนุษย์ในห้องสมุดของโรงเรี ยน หรื อหนังสื อข่าวสารสุ ขภาพทัว่ ไป
เพื่อเสริ มสร้างการเรี ยนรู้และทําให้เกิดความเข้าใจในการทํางานของระบบขับถ่ายปัสสาวะมากยิ่งขึ้น
71

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. แผนภาพแสดงการจําลองสี ของนํ้าปั สสาวะ
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์แสดงโครงสร้างการทํางานของระบบขับถ่ายปั สสาวะ และหน้าที่ของอวัยวะกระเพาะ
ปัสสาวะและท่อปั สสาวะ
3. บัตรคําแสดงชื่ออวัยวะในระบบขับถ่ายปั สสาวะในภาษาอังกฤษหรื อภาษาของประเทศสมาชิกอาเซียนที่ตรง
กับคําว่า กระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะ
4. อุปกรณ์ในการวาดภาพระบายสี
5. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ
6. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
72

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 9
ระบบต่ าง ๆ ของร่ างกาย (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 1: การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 เรียนรู้ ตวั เรา เรื่อง ระบบขับถ่ ายปัสสาวะ (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
ระบบขับถ่ายปั สสาวะเป็ นอีกระบบหนึ่งในร่ างกายที่มีความสําคัญต่อสุ ขภาพ การเจริ ญเติบโต และพัฒนาการของ
คนเรา โดยจะทําหน้าที่ในการขับถ่ายหรื อกําจัดของเสี ยออกจากร่ างกาย เพื่อไม่เกิ ดการตกค้างของของเสี ยภายใน
ร่ างกายซึ่งจะเป็ นสาเหตุที่ก่อให้เกิดโรคมากมาย นักเรี ยนจึงควรดูแลรักษาระบบดังกล่าวให้สามารถทํางานได้อย่าง
ปกติ ด้วยการดื่มนํ้าที่สะอาดอย่างน้อยวันละ 8 แก้ว ไม่กลั้นปัสสาวะ ไม่รับประทานอาหารที่มีรสเค็มจัด ดูแลความ
สะอาดของอวัยวะเพศอยูเ่ สมอ และถ้ามีอาการผิดปกติในการขับถ่ายปั สสาวะให้รีบบอกผูป้ กครองพาไปพบแพทย์

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. อธิ บายความสําคัญของระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายที่มีผลต่อสุ ขภาพ การเจริ ญเติบโต และพัฒนาการ
(พ 1.1 ป. 5/1)
2. อธิ บายวิธีดูแลระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายให้ทาํ งานตามปกติ (พ 1.1 ป. 5/2)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายวิธีการดูแลระบบขับถ่ายปัสสาวะอย่างถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของระบบขับถ่ายปัสสาวะที่มีผลต่อสุ ขภาพ การเจริ ญเติบโต และพัฒนาการ (A)
3. แสดงทักษะในการดูแลระบบขับถ่ายปัสสาวะอย่างถูกต้องได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับวิธีการดูแลระบบ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ขับถ่ายปั สสาวะ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
แผนที่ความคิด*
• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ปฏิบตั ิกิจกรรม สนใจระบบ ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
ขับถ่ าย ยังไม่ สายที่จะดูแล พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ป. 5*
73

วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล


• ตรวจสอบความถูกต้องของ • แบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการ • ร้อยละ 80 ขึ้นไป
การทดสอบประจําหน่วย เรี ยนรู้ที่ 1 เรี ยนรู้ตวั เรา**
การเรี ยนรู้ที่ 1 เรี ยนรู้ตวั เรา
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
*/**ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู หรื อในสื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์
วัฒนาพานิช จํากัด

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
 ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย (ต่อ)
– ระบบขับถ่ายปัสสาวะ (ต่อ)
3. การดูแลระบบขับถ่ายปัสสาวะ

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย  พูดคุย หรื อเขียนสรุ ปความรู้ หรื อเขียนบทความเกี่ยวกับวิธีการดูแล
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพการ์ตูนบุคคลแสดงพฤติกรรมการดูแลระบบขับถ่าย
ปัสสาวะ
วิทยาศาสตร์  ศึกษาและรวบรวมข้อมูลสถิติที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติของระบบขับถ่าย
ปัสสาวะที่เกิดจากการมีพฤติกรรมการดูแลสุ ขภาพที่ไม่ถูกต้อง
74

การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผ่นพับความรู ้หรื อป้ ายนิเทศเกี่ยวกับการดูแลระบบ


ขับถ่ายปั สสาวะ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน
เพื่อทบทวนความรู้
2. ครูให้ นักเรียนผลัดกันตั้งคําถามและตอบคําถามในประเด็นที่เชื่อมโยงกับเนือ้ หาที่ศึกษาค้นคว้าผ่านมา
ตัวอย่างเช่ น
– ระบบขับถ่ ายปัสสาวะเป็ นระบบที่มคี วามสํ าคัญต่ อสุ ขภาพและการเจริญเติบโตของคนเราอย่ างไร (ช่ วย
กรองของเสียออกจากเลือดและกําจัดออกจากร่ างกายในรูปของนํ้าปัสสาวะ เพือ่ ไม่ ให้ เกิดการตกค้ าง
ของของเสียภายในร่ างกาย ซึ่งจะส่ งผลเสียต่ อสุ ขภาพและการเจริ ญเติบโตเป็ นสาเหตุให้ เกิดโรคต่ าง ๆ
มากมาย)
– ปกติร่างกายของคนเรามีโครงสร้ างการกําจัดของเสี ยออกจากร่ างกายกีท่ าง อะไรบ้ าง (4 ทางได้ แก่ ทาง
ลําไส้ ใหญ่ ทางไต ทางปอด และทางผิวหนัง)
– ของเสี ยที่ถูกกําจัดออกมาจากร่ างกายโดยอวัยวะไตเรียกว่ าอะไร (นํ้าปัสสาวะ)
(ครูอาจใช้ คาํ ถามอืน่ ๆที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรียนการสอนได้ )
3. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คน ออกมานําเสนอวิธีการดูแลระบบขับถ่ ายปัสสาวะของตนเอง 5 ข้ อ แล้ วให้
เพือ่ น ๆ ในชั้นเรียนร่ วมกันแสดงความคิดเห็น
4. ครู แสดงความคิดเห็นต่อผลการปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรี ยน พร้อมทั้งให้ขอ้ เสนอแนะหากผลการปฏิบตั ิ
กิจกรรมดังกล่าวแสดงถึงวิธีการ แนวคิด หรื อความเชื่อที่ผิด ๆ ของนักเรี ยนในการดูแลระบบขับถ่าย
ปัสสาวะ ให้เกิดความเข้าใจในเบื้องต้นที่ถูกต้อง และให้นกั เรี ยนปรบมือให้เพื่อน ๆ ที่ออกมานําเสนอผล
การปฏิบตั ิกิจกรรม
5. นักเรี ยนดูภาพแสดงพฤติกรรมการกลั้นปัสสาวะที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู้ในเรื่ อง
ดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู้ของนักเรี ยนและตอบคําถามร่ วมกันในประเด็นที่ว่า “ทําไมเราจึงไม่
ควรกลั้นปั สสาวะ”
6. ครู อธิ บายถึงแนวคําตอบที่ถูกต้องว่า เราไม่ควรกลั้นปัสสาวะเพราะอาจทําให้ปัสสาวะตกค้างในกระเพาะ
ปัสสาวะและเกิดการติดเชื้อแบคทีเรี ย ทําให้กระเพาะปั สสาวะอักเสบ มีอาการปวดท้องได้
7. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อระบบขับถ่ายปัสสาวะ ในหัวข้อย่อยที่ 3. การดูแล
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
75

ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย ในหัวข้อระบบขับถ่ายปัสสาวะ ในหัวข้อย่อยที่ 3. การดูแล
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
2. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิม่ เติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนร่ วมกันปฏิบตั ิกิจกรรม สนใจระบบขับถ่ าย ยังไม่ สายที่ จะดูแล ดังรายละเอียดในใบกิจกรรมที่ครู
แจกให้หรื อในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
แล้วนํามาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการดูแลรักษาระบบขับถ่ายดังกล่าวร่ วมกับเพื่อน
2. ครู เฉลยคําตอบในกิจกรรม สนใจระบบขับถ่ าย ยังไม่ สายที่ จะดูแล โดยให้นกั เรี ยนที่ลากเส้นจับคู่ไม่
ถูกต้องแก้ไขให้ถูกต้อง
3. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน แต่ละกลุ่มระดมสมองทําแผ่นพับความรู้เรื่ อง การดูแลระบบขับถ่าย
ปัสสาวะ โดยใช้อุปกรณ์ที่ครู เตรี ยมให้ ภายในเวลาที่ครู กาํ หนด
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยนโดยครู คอยเสนอแนะ
และให้ความรู้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
2. ครู ให้นกั เรี ยนนําแผ่นพับความรู ้ดงั กล่าวไปเผยแพร่ โดยจัดแสดงบนป้ ายนิเทศภายในโรงเรี ยน
3. ครู แจกแบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 1 เรี ยนรู ้ตวั เรา ให้นกั เรี ยนทําเพื่อตรวจสอบความรู ้ความ
เข้าใจหลังการเรี ยนรู ้ โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
4. ครู เฉลยคําตอบที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนทราบและให้ความรู ้เพิ่มเติมเพื่อเสริ มสร้างการเรี ยนรู้ให้กบั นักเรี ยน
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
2. ครูถามคําถามเชื่อมโยงสู่ บทเรียนต่ อไป เพือ่ ให้ นักเรียนไปค้ นหาคําตอบจากบทเรียนมาล่วงหน้ า ดังนี้
– เมื่อเข้ าสู่ ช่วงวัยรุ่นนักเรียนจะมีพฒ
ั นาการทางเพศเกีย่ วกับการเปลีย่ นแปลงทางด้ านร่ างกายที่สําคัญ
อย่ างไรบ้ าง
3. มอบหมายให้ นักเรียนไปศึกษาเนือ้ หาในหน่ วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวติ และครอบครัว เรื่อง พัฒนาการทางเพศ
ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้
ต่ าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ หรือขอรับความรู้จากผู้ปกครอง มาล่วงหน้ า แล้ ว
นํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป
76

8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับสาระน่ารู ้ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลระบบขับถ่ายปั สสาวะให้มี
ประสิ ทธิภาพ ตลอดจนความรู้เกี่ยวกับโรคหรื อความผิดปกติต่าง ๆ ของระบบขับถ่ายปั สสาวะ จากแหล่งการ
เรี ยนรู ้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต หรื อห้องสมุดของโรงเรี ยน เพื่อเสริ มสร้างการเรี ยนรู ้และสามารถนําความรู้
ดังกล่าวไปปรับใช้ในชีวิตประจําวันได้
2. นักเรี ยนควรวาดภาพระบายสี กิจกรรมที่ถือว่าเป็ นการดูแลรักษาระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายปัสสาวะ
พร้อมกับคําอธิบายประกอบภาพ แล้วนํามาอภิปรายร่ วมกัน
3. นักเรี ยนควรแบ่งกลุ่ม จัดกิจกรรมการให้ความรู้และรณรงค์ให้กบั สมาชิกภายในชุมชนเรื่ อง การดูแลรักษา
ระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายปัสสาวะ
4. นักเรี ยนควรนําความรู้เกี่ยวกับการดูแลรักษาระบบขับถ่ายที่ถูกต้องไปใช้ปฏิบตั ิในชีวิตประจําวัน โดยขอ
ความรู้และคําแนะนําเพิ่มเติมจากผูป้ กครอง

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพแสดงพฤติกรรมการกลั้นปัสสาวะ
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายในหัวข้อระบบขับถ่ายปัสสาวะ ในหัวข้อย่อยที่ 3. การดูแลระบบ
ขับถ่ายปั สสาวะ
3. อุปกรณ์ประกอบการทําแผ่นพับความรู้เรื่ อง การดูแลระบบขับถ่ายปัสสาวะ เช่น กระดาษ กรรไกร ดินสอสี
เป็ นต้น
4. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ
5. แบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ท่ี 1 เรี ยนรู้ตวั เรา
6. ใบกิจกรรม เรื่ อง สนใจระบบขับถ่ าย ยังไม่ สายที่ จะดูแล
7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
77

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
78

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 ชีวติ และครอบครัว เวลา 11 ชั่วโมง

ผังมโนทัศน์ เป้าหมายการเรียนรู้และขอบข่ายภาระงาน
คุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม
ความรู้
ทักษะ/กระบวนการ 1. พัฒนาการทางเพศ
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. การสื่ อสารเพื่ออธิบายความหมายและ 2. ครอบครัวอบอุ่นตามวัฒนธรรม 1. มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ในการร่ วมศึกษาและปฏิบตั ิ
ลักษณะของพัฒนาการทางเพศ ไทย กิจกรรมการเรี ยนรู ้เกี่ยวกับความหมายและ
2. การสื่ อสารเพื่ออธิบายแนวทางการปฏิบตั ิตน 3. การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง ลักษณะของพัฒนาการทางเพศรวมถึงแนวทาง
ที่เหมาะสมเมื่อเกิดพัฒนาการทางเพศ ในการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสมกับพัฒนาการทาง
3. การแสดงทักษะการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสมกับ เพศที่เกิดขึ้นกับผูอ้ ื่น
พัฒนาการทางเพศที่เกิดขึ้น 2. มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ในการร่ วมศึกษาและปฏิบตั ิ
4. การสื่ อสารเพื่ออธิบายลักษณะของครอบครัว กิจกรรมการเรี ยนรู ้เกี่ยวกับลักษณะของ
ไทยและครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรม ชีวติ และครอบครัว ครอบครัวไทยและครอบครัวที่อบอุ่นตาม
ไทย วัฒนธรรมไทยตลอดจนแนวทางการปฏิบตั ิ
5. การระบุแนวทางในการปฏิบตั ิตนเพื่อให้ เพื่อให้ครอบครัวอบอุ่นกับผูอ้ ื่น
ครอบครัวอบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย 3. ตระหนักถึงความสําคัญของการมีครอบครัวที่
6. การระบุปัจจัยที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งและ อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย
พฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ 4. มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ในการร่ วมศึกษาและปฏิบตั ิ
ในการแก้ไขปั ญหาความขัดแย้ง กิจกรรมการเรี ยนรู ้เกี่ยวกับปั จจัยที่ก่อให้เกิด
7. การใช้เทคโนโลยีในการศึกษาค้นคว้า ความขัดแย้งและพฤติกรรมที่พงึ ประสงค์และ
ไม่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความ
ขัดแย้งกับผูอ้ ื่น

ภาระงาน/ชิ้นงาน
1. ศึกษาความหมายและลักษณะของพัฒนาการทางเพศ
2. ศึกษาเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสมกับพัฒนาการทางเพศ
3. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ สิ่ งใดควรทําและเป็ นพฤติกรรมที่สร้ างสรรค์ คนดี
4. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ช่ วงวัยรุ่ นที่ผันผ่ าน หาผู้เล่ าขานประสบการณ์ ที่ผ่านมา
5. ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะของครอบครัวไทย
6. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ครอบครั วเดี่ยวหรื อครอบครั วขยาย วาดภาพระบายให้ สวยงาม
7. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ครอบครั วของฉันวาดฝั นไว้ เช่ นไร
8. ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทยและการปฏิบตั ิตนเพือ่ ให้ครอบครัวอบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย
9. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ครอบครั วอบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย เป็ นเช่ นไรไหนลองบอก
10. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ปั ญหาครอบครั วไทย เป็ นเช่ นไรช่ วยกันศึกษา
11. ศึกษาเกี่ยวกับปั จจัยที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งและพฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ในการแก้ไขปั ญหาความขัดแย้งในครอบครัวและ
กลุ่มเพือ่ น
12. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ สิ่ งใดทําให้ ขดั แย้ง ช่ วยแสดงเครื่ องหมายเพื่อแยกออกไป
13. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ฝึ กทักษะการสื่ อสาร เพื่อผสานความสั มพันธ์
14. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ แยกแยะสิ่ งดี เพื่อหลีกหนีความขัดแย้ง
15. โครงงานการค้นคว้าข้อมูลเรื่ อง พฤติกรรมที่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน
16. โครงงานการสํารวจเรื่ อง พัฒนาการทางเพศของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ในสถานศึกษา
17. โครงงานการทดลองเรื่ อง แนวทางในการพูดคุยและปฏิบตั ิกิจกรรมร่ วมกันเพื่อสร้างความอบอุ่นภายในครอบครัวและกลุ่มเพือ่ น
79

กรอบแนวคิดผังการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพือ่ เน้ นสู่ ผลลัพธ์ ปลายทาง


(Backward Design Template)
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 ชีวติ และครอบครัว
ขั้นตอนที่ 1 ผลลัพธ์ ปลายทางที่ต้องการให้ เกิดขึน้ กับนักเรียน (Design Results)
ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. อธิบายการเปลี่ยนแปลงทางเพศและปฏิบตั ิตนได้เหมาะสม (พ 2.1 ป. 5/1)
2. อธิบายความสําคัญของการมีครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย (พ 2.1 ป. 5/2)
3. ระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่ม
เพื่อน (พ 2.1 ป. 5/3)
ความเข้ าใจที่คงทนของนักเรียน คําถามสํ าคัญที่กระตุ้นให้ นักเรียนเกิดความเข้ าใจที่
 เมื่อศึกษาจบหน่วยการเรี ยนรู ้น้ ีนกั เรี ยนจะเข้ าใจ คงทน
ว่า… – นักเรี ยนตอบได้ไหมว่าพัฒนาการคืออะไร และ
1. พัฒนาการทางเพศ หมายถึง การเปลี่ยนแปลง ประกอบด้วยอะไรบ้าง
ในส่วนที่เกี่ยวกับแรงผลักดันทางเพศ – นักเรี ยนคิดว่าการเตรี ยมพร้อมและการปรับตัว
บทบาททางเพศ และพฤติกรรมทางเพศ เมื่อเข้าสู่วยั รุ่ นเป็ นสิ่ งที่จาํ เป็ นตัวต่อนักเรี ยน
ตั้งแต่วยั ทารกถึงวัยชรา หรื อไม่ อย่างไร
2. วัยรุ่ น คือ วัยที่ยา่ งเข้าสู่วยั หนุ่มสาว เป็ นวัยที่มี – ครอบครัวของนักเรี ยนมีลกั ษณะอย่างไร และ
พัฒนาการระหว่างอายุ 10–20 ปี และเป็ นช่วง สมาชิกในครอบครัวประกอบด้วยใครบ้าง
ต่อระหว่างวัยเด็กกับวัยผูใ้ หญ่ เป็ นวัยที่เกิด – นักเรี ยนรู้สึกอย่างไรต่อสมาชิกทุกคนใน
การเปลี่ยนแปลงในหลาย ๆ ด้าน เช่น การ ครอบครัว
เปลี่ยนแปลงด้านร่ างกาย อารมณ์ สังคม และ – นักเรี ยนจะมีวิธีการปฏิบตั ิตนเพื่อให้ครอบครัว
สติปัญญา ของตนเองมีความอบอุ่นตามวัฒนธรรมไทยได้
3. เมื่อเข้าสู่วยั เด็กตอนปลายที่กาํ ลังจะย่างเข้าสู่ อย่างไร
วัยรุ่ น ร่ างกายจะมีการเจริ ญเติบโตอย่าง – นักเรี ยนคิดว่าความขัดแย้งกันของคนในสังคมเกิด
รวดเร็ ว นักเรี ยนซึ่งอยูใ่ นวัยนี้จึงควรได้เรี ยนรู้ จากสาเหตุใด มีปัจจัยใดบ้างมาเกี่ยวข้อง และควร
ถึงการเปลี่ยนแปลงและวิธีการปรับตัวทั้งทาง แก้ไขปัญหาความขัดแย้งดังกล่าวด้วยวิธีใด
ร่ างกาย จิตใจอารมณ์ และสังคม ต่อการ
เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคตเมื่อเข้าสู่
วัยรุ่ น ซึ่งจะช่วยให้นกั เรี ยนเป็ นวัยรุ่ นที่มี
สุ ขภาพดี มีการเจริ ญเติบโตและมีพฒั นาการที่
เหมาะสมกับวัย และควรปฏิบตั ิตนให้
เหมาะสมกับพัฒนาการทางเพศ จะช่วยให้เรา
สามารถปรับตัวได้อย่างเหมาะสมและดําเนิน
80

ชีวิตได้อย่างราบรื่ น
4. ครอบครั ว หมายถึง กลุ่มคนตั้งแต่ 2 คน
ขึ้นไปมาเกี่ยวกันและสื บสายเลือด ได้แก่ พ่อ
แม่ ลูก และอาจมีญาติหรื อไม่ใช่ญาติมาอาศัย
อยูด่ ว้ ยกัน ซึ่งถือว่าเป็ นสมาชิกของครอบครัว
เช่นกัน
5. สมาชิกทุกคนในครอบครัวมีความสําคัญที่จะ
ทําให้ครอบครัวอบอุ่นได้ เพราะการอยู่
ร่ วมกันย่อมมีการปฏิบตั ิต่อกันพึ่งพาซึ่งกัน
และกัน ดังนั้นสมาชิกทุกคนในครอบครัวจึง
ต้องปฏิบตั ิตนเพื่อสร้างความอบอุ่นให้เกิดขึ้น
ภายในครอบครัวตามวัฒนธรรมไทย สิ่ งนี้จะ
ช่วยปลูกฝังให้เรามีความอ่อนโยน รัก
ครอบครัว เชื่อฟังผูใ้ หญ่และยังส่งผลทําให้
เกิดความสงบสุ ขในสังคม
6. การดําเนินชีวิตของคนเราต้องมีการ
ติดต่อสื่ อสารกับคนรอบข้างมากมาย ซึ่ง
บางครั้งอาจมีปัจจัยที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง
ระหว่างกันขึ้นได้ ซึ่งเป็ นเรื่ องที่ไม่สามารถ
หลีกเลี่ยงได้ แต่เราสามารถที่จะปรับตัวเพื่อ
ยอมรับกันและกัน และหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่
ไม่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาที่ก่อให้เกิด
ความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อนได้
ซึ่งจะช่วยให้เราอยูร่ ่ วมกับบุคคลอื่นในสังคม
ได้อย่างมีความสุ ข
81

ความรู้ของนักเรียนที่จะนําไปสู่ ความเข้ าใจที่ ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่จะนําไปสู่ ความ


คงทน เข้ าใจที่คงทน
 เมื่อศึกษาจบหน่วยการเรี ยนรู ้น้ ีนกั เรี ยนจะรู้  เมื่อศึกษาจบหน่วยการเรี ยนรู้นกั เรี ยนควรมีทักษะ
ว่า… และสามารถที่จะ…
1. คําที่ควรรู้ ได้แก่ คําว่า ครอบครัวอบอุ่น 1. อธิ บายความหมายและลักษณะของพัฒนาการ
พัฒนาการทางเพศ วัฒนธรรมไทย ทางเพศและแนวทางการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสม
ฮอร์โมน ฝันเปี ยก ประจําเดือน เมื่อเกิดพัฒนาการทางเพศ
2. ครอบครั วอบอุ่น คือ ครอบครัวที่มีความรัก 2. อธิบายลักษณะของครอบครัวไทยและ
ความเอาใจใส่ซ่ ึงกันและกัน พูดจาสุ ภาพ ครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมและแนวทาง
ต่อกัน ไม่นินทาว่าร้าย และช่วยเหลือพึ่งพา ในการปฏิบตั ิตนเพื่อให้ครอบครัวอบอุ่นตาม
กันและกัน วัฒนธรรม
3. พัฒนาการทางเพศ คือ การเปลี่ยนแปลงใน 3. อธิบายปัจจัยที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งและ
ส่วนที่เกี่ยวกับแรงผลักดันทางเพศ บทบาท พฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ใน
ทางเพศ และพฤติกรรมทางเพศ ตั้งแต่วยั การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและ
ทารกถึงวัยชรา กลุ่มเพื่อน
4. วัฒนธรรมไทย คือ สิ่ งที่ดีงามที่สืบทอดมา 4 ฝึ ก/หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมโดยตนเองและเป็ นหมู่
ตั้งแต่อดีต ควรค่าแก่การรักษาไว้สืบต่อไป คณะเกี่ยวกับการเรี ยนรู ้ในเรื่ องพัฒนาการทาง
5. ฮอร์ โมน คือ สารที่สร้างขึ้นโดยต่อมไร้ท่อ เพศและการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสมเมื่อเกิด
ของมนุษย์ มีหน้าที่ควบคุมการทํางานของ พัฒนาการทางเพศความสําคัญของการมี
ร่ างกาย ครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทยและการ
6. ฝั นเปี ยก คือ การหลัง่ อสุจิออกจากอวัยวะ แก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้วยพฤติกรรมที่
เพศของเพศชายในขณะหลับ ถูกต้องเหมาะสม
7. ประจําเดือน คือ เลือดที่ถูกขับออกมาทาง
ช่องคลอดเดือนละครั้ง
ขั้นที่ 2 หลักฐานในการประเมินเพือ่ แสดงว่ านักเรียนมีผลการเรียนรู้ตามที่กาํ หนด
(Assessment Evidence)
1. ภาระงานที่นักเรียนปฏิบัติ
– ศึกษาความหมายและลักษณะของพัฒนาการทางเพศ
– ศึกษาเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสมกับพัฒนาการทางเพศ
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ สิ่ งใดควรทําและเป็ นพฤติกรรมที่สร้ างสรรค์ คนดี
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ ช่ วงวัยรุ่ นที่ผันผ่ าน หาผู้เล่ าขานประสบการณ์ ที่ผ่านมา
– ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะของครอบครัวไทย
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ ครอบครั วเดี่ยวหรื อครอบครั วขยาย วาดภาพระบายให้ สวยงาม
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ ครอบครั วของฉั นวาดฝั นไว้ เช่ นไร
82

– ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทยและการปฏิบตั ิตนเพื่อให้ครอบครัว
อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ ครอบครั วอบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย เป็ นเช่ นไรไหนลองบอก
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ ปั ญหาครอบครั วไทย เป็ นเช่ นไรช่ วยกันศึกษา
– ศึกษาเกี่ยวกับปั จจัยที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งและพฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ในการ
แก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ สิ่ งใดทําให้ ขดั แย้ ง ช่ วยแสดงเครื่ องหมายเพื่อแยกออกไป
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ ฝึ กทักษะการสื่ อสาร เพื่อผสานความสัมพันธ์
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ แยกแยะสิ่ งดี เพื่อหลีกหนีความขัดแย้ ง
– โครงงานการค้นคว้าข้อมูลเรื่ อง พฤติกรรมที่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัว
และกลุ่มเพื่อน
– โครงงานการสํารวจเรื่ อง พัฒนาการทางเพศของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ในสถานศึกษา
– โครงงานการทดลองเรื่ อง แนวทางในการพูดคุยและปฏิบตั ิกิจกรรมร่ วมกันเพื่อสร้างความอบอุ่น
ภายในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน
2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
• วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ • เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
– การสนทนาซักถามโดยครู – แบบบันทึกการสนทนา
– การวัดและประเมินผลด้านความรู ้ – แบบทดสอบก่อนเรี ยน
– แบบทดสอบหลังเรี ยน
– แบบทดสอบประจําหน่วย
– การวัดและประเมินผลด้านคุณธรรมจริ ยธรรม – การวัดและประเมินผลด้านคุณธรรม จริ ยธรรม
ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
3. สิ่ งที่มุ่งประเมิน
– ความสามารถในการอธิ บาย ชี้แจง การแปลความและตีความ การประยุกต์ ดัดแปลง และนําไปใช้
การมีมุมมองที่หลากหลาย การให้ความใส่ใจในความรู้สึกของผูอ้ ื่น และการรู ้จกั ตนเอง
– ความสามารถในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่ให้ความสําคัญทั้งทางด้านร่ างกาย จิตใจ สังคม และ
จิตวิญญาณ
– ความสามารถในการวางแผนการปฏิบตั ิ แสดงความคิดเห็นวิเคราะห์ เพื่อพัฒนาความรู ้ ความเข้าใจ
ทัศนคติ และทักษะที่ช่วยส่งเสริ มการปฏิบตั ิเกี่ยวกับสุ ขภาพ
ขั้นที่ 3 การวางแผนการจัดการเรียนรู้
• หน่วยการเรี ยนรู้ที่ 2 ชีวติ และครอบครัว จํานวน 11 ชัว่ โมง
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 10: พัฒนาการทางเพศ
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 11: พัฒนาการทางเพศ (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 12: พัฒนาการทางเพศ (ต่อ)
83

– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 13: พัฒนาการทางเพศ (ต่อ)


– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 14: ครอบครัวอบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 15: ครอบครัวอบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 16: การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 17: การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 18: การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 19: การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 20: การทดสอบกลางปี รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษา ป. 5
84

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 10
พัฒนาการทางเพศ
สาระการเรียนรู้ ที่ 2: ชีวติ และครอบครัว เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 ชีวติ และครอบครัว
เรื่อง พัฒนาการทางเพศและการปฏิบัติตนทีเ่ หมาะสม

1. สาระสํ าคัญ
เด็กชายอายุประมาณ 12–13 ปี เด็กหญิงอายุประมาณ 10–11ปี จะเป็ นช่วงเข้าสู่วยั เด็กตอนปลายหรื อวัยแรก
รุ่ น โดยจะมีการเจริ ญเติบโตของร่ างกายอย่างรวดเร็ วทั้งในด้านส่วนสูงและนํ้าหนัก เพราะต่อมเพศภายในร่ างกาย
จะผลิตฮอร์โมนที่เป็ นตัวเร่ งการเจริ ญเติบโตส่งผลให้เด็กวัยนี้มีส่วนสูงเพิ่มขึ้นจากเดิม ซึ่งเป็ นเรื่ องปกติของเด็กชาย
และเด็กหญิงที่กาํ ลังจะย่างเข้าสู่วยั รุ่ น
เมื่อเข้าสู่ช่วงวัยรุ่ นจะมีพฒั นาการทางเพศเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่ างกายที่สาํ คัญ คือ ในเด็กชาย
จะเริ่ มเกิดอาการฝันเปี ยก ส่วนในเด็กหญิงจะเริ่ มมีประจําเดือน

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
• อธิ บายการเปลี่ยนแปลงทางเพศและปฏิบตั ิตนได้เหมาะสม (พ 2.1ป. 5/1)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายความหมายของพัฒนาการทางเพศและความหมายของวัยรุ่ นอย่างถูกต้องได้ (K)
2. อธิ บายการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่ างกายของวัยรุ่ นอย่างถูกต้องได้ (K)
3. ร่ วมศึกษาและปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้เกี่ยวกับความหมายและลักษณะของพัฒนาการทางเพศ และการ
เปลี่ยนแปลงทางด้านร่ างกายของวัยรุ่ นด้วยความสนใจ (A)
4. แสดงทักษะในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่ างกายเมื่อเข้าสู่วยั รุ่ นอย่างถูกต้องได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ทดสอบความรู้พ้นื ฐานในหน่วย • แบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการ –
การเรี ยนรู้ที่ 2 ชีวิตและครอบครัว เรี ยนรู้ที่ 2 ชีวิตและครอบครัว*/**
85

วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล


• ซักถามเกี่ยวกับพัฒนาการทางเพศ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ในประเด็นเกี่ยวกับการ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
เปลี่ยนแปลงทางด้านร่ างกาย แผนที่ความคิด*
เมื่อเข้าสู่วยั รุ่ น
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
*/**ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู หรื อในสื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์
วัฒนาพานิช จํากัด

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
1. พัฒนาการทางเพศ
– พัฒนาการทางเพศและการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสม
1. การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่ างกาย

6. แนวทางบูรณาการ
สังคมศึกษาฯ  ค้นคว้าและเปรี ยบเทียบลักษณะพัฒนาการทางเพศของวัยรุ่ นในภูมิภาคต่าง ๆ
ภาษาต่างประเทศ  ฟั งและอ่ านคําศั พท์ ภาษาอังกฤษหรื อภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิ กอาเซี ยนที่
เกีย่ วกับพัฒนาการทางเพศของวัยรุ่น
คณิ ตศาสตร์  คาดคะเนนํ้าหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ของวัยรุ่ นชายและวัยรุ่ นหญิงไทย
86

ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนเรี ยงความเรื่ องที่เกี่ยวข้องกับ


การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่ างกายของวัยรุ่ น
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งสมุดบันทึกการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่ างกายของตนเอง
วิทยาศาสตร์  สังเกตและเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ ยวกับการเปลี่ ยนแปลงทางด้านร่ างกายของ
ตนเอง

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
2. ครู แจกแบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 2 ชีวติ และครอบครัว ให้นกั เรี ยนเพื่อตรวจสอบความรู้
ความเข้าใจพื้นฐานโดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
3. ครู เฉลยคําตอบที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนทราบและระบุเชื่อมโยงไปสู่เนื้อหาที่นกั เรี ยนจะได้เรี ยนรู้ในหน่วย
การเรี ยนรู้ที่ 2 ชีวิตและครอบครัว
4. ครูและนักเรียนสนทนาร่ วมกันเกีย่ วกับเนือ้ หาการเรียนรู้ในหน่ วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวติ และครอบครัว เรื่อง
พัฒนาการทางเพศ ที่มอบหมายให้ นักเรียนอ่ านมาล่วงหน้ าในการเรียนครั้งที่ผ่านมา
5. สุ่ มนักเรียน 2–3 คนออกมาตอบคําถามเชื่อมโยงที่ให้ นักเรียนไปค้ นหาคําตอบจากการเรียนครั้งที่ผ่านมา
ในคําถามที่ว่า “เมือ่ เข้ าสู่ ช่วงวัยรุ่นนักเรียนจะมีพฒ ั นาการทางเพศเกีย่ วกับการเปลีย่ นแปลงทางด้ าน
ร่ างกายที่สําคัญอย่างไรบ้ าง” (เมื่อเข้ าสู่ ช่วงวัยรุ่นจะมีพฒั นาการทางเพศเกีย่ วกับการเปลี่ยนแปลง
ทางด้ านร่ างกายที่สําคัญ คือ ในเด็กชายจะเริ่มเกิดอาการฝันเปี ยก ส่ วนในเด็กหญิงจะเริ่ มมีประจําเดือน)
โดยครูให้ ความรู้ที่ถูกต้ องเพิม่ เติม
6. นักเรี ยนดูภาพวัยรุ่ นชายหญิงที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู ้ในเรื่ องดังกล่าวจาก
ประสบการณ์การเรี ยนรู้ของนักเรี ยนและตอบคําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– วัยรุ่ นเป็ นวัยที่อยูใ่ นช่วงอายุกี่ปี (อายุระหว่ าง 10–20 ปี )
– เราจะรู้ได้อย่างไรว่าตนเองเข้าสู่วยั รุ่ น (เราจะรู้ ว่าตนเองเข้ าสู่ช่วงวัยรุ่ นโดยพิจารณาจากอายุของตนเอง
และสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน้ กับร่ างกายเป็ นสําคัญ ซึ่ งโดยปกติเพศหญิงจะเข้ าสู่วัยรุ่ นเมื่อมีอายุ
ประมาณ 10 ปี แต่ เพศชายจะเข้ าสู่วยั รุ่ นช้ ากว่ าเพศหญิง 1–2 ปี และเมื่อเราเข้ าสู่ช่วงวัยรุ่นจะมีการ
เปลี่ยนแปลงทั้งทางด้ านร่ างกาย จิตใจและอารมณ์ และสังคมเกิดขึน้ มากกว่ าทุกช่ วงวัย ซึ่ งมักจะสังเกต
ได้ อย่ างชัดเจนจากการเปลี่ยนแปลงทางด้ านร่ างกาย โดยวัยรุ่ นหญิงจะเริ่ มมีประจําเดือน ส่ วนวัยรุ่ นชาย
จะเริ่ มเกิดอาการฝั นเปี ยก)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
87

7. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อ พัฒนาการทางเพศและการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสม ใน


ประเด็นเกี่ยวกับความหมายของพัฒนาการทางเพศและความหมายของวัยรุ่ น และหัวข้อย่อยที่ 1. การ
เปลี่ยนแปลงทางด้านร่ างกาย เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู ้ของ
นักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง พัฒนาทางเพศ ในหัวข้อ พัฒนาการทางเพศและการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสม ในประเด็น
เกี่ยวกับความหมายของพัฒนาการทางเพศและความหมายของวัยรุ่ น และหัวข้อย่อยที่ 1. การเปลี่ยนแปลง
ทางด้านร่ างกาย โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
2. ครูแสดงบัตรคําที่เกีย่ วข้ องกับพัฒนาการทางเพศ ในภาษาอังกฤษให้ นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่านสะกดคําและ
อ่านออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่ านตาม เพือ่ สร้ างเสริมทักษะทางด้ านภาษา ตัวอย่ างเช่ น คําว่า
– วัยรุ่น ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Adolescence อ่านออกเสี ยงว่ า แอโดะเลซ-เซ็นซ
– ฮอร์ โมน ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่า Hormone อ่านออกเสี ยงว่า ฮอ-โมน
– ฝันเปี ยก ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่า Wet dream อ่านออกเสี ยงว่า เว็ท-ดรีม
– การมีประจําเดือน ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่า Menstruation อ่านออกเสี ยงว่า เมนสทรุ เอ-ฌัน
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศสมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
3. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนร่ วมกันศึกษาภาพประกอบลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางร่ างกายของวัยรุ่ นที่ครู เตรี ยมมา โดยใช้
เวลาตามที่กาํ หนด
2. นักเรียนแบ่ งเป็ น 2 กลุ่ม แต่ ละกลุ่มผลัดเปลีย่ นกันตั้งคําถามและตอบคําถามที่เกีย่ วข้ องกับลักษณะของ
พัฒนาการทางเพศ ในประเด็นเกีย่ วกับการเปลีย่ นแปลงทางด้ านร่ างกาย โดยใช้ เวลาตามที่ครูกําหนด
ตัวอย่างเช่ น
– เมื่อเข้ าสู่ ช่วงวัยรุ่น เพศชายจะมีรูปร่ างอย่างไร (มีรูปร่ างสู งใหญ่ ไหล่ กว้ างมากขึ้น)
– เมื่อเข้ าสู่ ช่วงวัยรุ่น เพศหญิงจะมีรูปร่ างอย่ างไร (มีทรวดทรงที่ชัดเจนมากขึ้น หน้ าอกขยายใหญ่
สะโพกผายออก)
– การฝันเปี ยกจะเกิดขึน้ เฉพาะกับวัยรุ่นชายที่หมกมุ่นในเรื่ องเพศจริ งหรื อไม่ (ไม่ จริ ง เพราะฝันเปี ยก
หรื อการหลั่งอสุ จิออกจากอวัยวะเพศชายในขณะหลับเป็ นปรากฏการณ์ ตามธรรมชาติที่เกิดขึ้นกับ
เด็กชายเมื่อเริ่ มเข้ าสู่ ช่วงวัยรุ่น)
– การเริ่ มมีประจําเดือนในครั้ งแรกของเด็กผู้หญิงแต่ ละคนจะเกิดขึ้นพร้ อมกันหรือไม่ (ไม่ พร้ อมกัน
ขึ้นอยู่กบั ระดับฮอร์ โมนในร่ างกายของแต่ ละบุคคล)
3. ครู แสดงบัตรคําที่มีขอ้ ความเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่ างกายที่เกิดขึ้นในช่วงวัยรุ่ นให้นกั เรี ยนดู
และร่ วมกันระบุวา่ เป็ นลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่ างกายที่เกิดขึ้นกับวัยรุ่ นเพศหญิงหรื อวัยรุ่ นเพศ
ชาย ตัวอย่างข้อความในบัตรคํา เช่น
88

สะโพกผาย มีหนวดเครา มีประจําเดือน ฝันเปี ยก

เสี ยงเล็กแหลม เห็นลูกกระเดือก หน้าอกขยาย เสี ยงแตกห้าว

4. ครู เฉลยผลการปฏิบตั ิกิจกรรมและให้ความรู ้ที่เป็ นประโยชน์เพิ่มเติม


ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนเขียนลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่ างกายที่เกิดขึ้นกับตนเองลงในสมุดบันทึก โดยใช้เวลา
ตามที่ครู กาํ หนด
2. ครู สุ่มนักเรี ยน 2–3 คนออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน โดยครู คอยเสนอแนะและให้
ความรู้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
2. มอบหมายให้ นักเรียนขอความรู้หรือสอบถามผู้ปกครองเพิม่ เติมเกีย่ วกับการเปลีย่ นแปลงทางด้ านร่ างกาย
ที่เกิดขึน้ เมือ่ เริ่มเข้ าสู่ ช่วงวัยรุ่ น และจดความรู้หรือประสบการณ์ ที่ได้ รับลงในสมุดบันทึก แล้วนํามา
สนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าในหัวข้ อ พัฒนาการทางเพศและการปฏิบัตติ นที่เหมาะสม ในหัวข้ อ
ย่ อยที่ 2. การเปลีย่ นแปลงทางด้ านจิตใจและอารมณ์ ดังรายละเอียดในหนังสือเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ข
ศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มา
ล่วงหน้ า แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมในหัวข้อ พัฒนาการทางเพศและการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสม ในหัวข้อย่อยที่ 1.
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่ างกาย จากแหล่งการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต หรื อห้องสมุดของโรงเรี ยน เพื่อ
เสริ มสร้างการเรี ยนรู ้และสามารถนําความรู้ดงั กล่าวไปปรับใช้ในชีวิตประจําวันได้
2. นักเรี ยนควรสังเกตพัฒนาการทางเพศเกี่ยวกับลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่ างกายที่เกิดขึ้นกับตนเอง
อย่างสมํ่าเสมอ พร้อมทั้งจดลงในสมุดบันทึก เพื่อให้มีทกั ษะในค้นหาหรื อตรวจสอบความผิดปกติของ
สุ ขภาพด้วยตนเอง

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. แบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 2 ชีวิตและครอบครัว
2. ภาพวัยรุ่ นชายหญิงหรื อภาพแสดงลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางร่ างกายของวัยรุ่ น
89

3. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายเรื่ อง พัฒนาทางเพศ ในหัวข้อ พัฒนาการทางเพศและการปฏิบตั ิตนที่


เหมาะสม ในประเด็นเกี่ยวกับความหมายของพัฒนาการทางเพศและความหมายของวัยรุ่ น และหัวข้อย่อยที่ 1.
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่ างกาย
4. บัตรคําที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการทางเพศในภาษาอังกฤษ
5. บัตรคําที่มีขอ้ ความเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่ างกายที่เกิดขึ้นในช่วงวัยรุ่ น
6. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเทอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ
7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
90

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 11
พัฒนาการทางเพศ (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 2: ชีวติ และครอบครัว เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 ชีวติ และครอบครัว
เรื่อง พัฒนาการทางเพศและการปฏิบัติตนทีเ่ หมาะสม (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
วัยรุ่ นมีพฒั นาการทางเพศเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและอารมณ์โดยมักมีความเชื่อมัน่ ใน
ตนเอง มีความสนุกสนาน มีความรัก มีความอยากรู้อยากเห็น และมีอารมณ์แปรปรวนง่าย ซึ่งถ้าวัยรุ่ นไม่ปรับตัวต่อ
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอาจก่อให้เกิดปัญหาได้

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
• อธิ บายการเปลี่ยนแปลงทางเพศและปฏิบตั ิตนได้เหมาะสม (พ 2.1ป. 5/1)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและอารมณ์ของวัยรุ่ นอย่างถูกต้องได้ (K)
2. ร่ วมศึกษาและปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและอารมณ์ของวัยรุ่ นด้วย
ความสนใจ (A)
3. แสดงทักษะในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและอารมณ์เมื่อเข้าสู่วยั รุ่ นอย่างถูกต้องได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับพัฒนาการทางเพศ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ในประเด็นเกี่ยวกับการ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
เปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและ แผนที่ความคิด*
อารมณ์เมื่อเข้าสู่วยั รุ่ น
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
91

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
1. พัฒนาการทางเพศ (ต่อ)
– พัฒนาการทางเพศและการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสม (ต่อ)
2. การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและอารมณ์

6. แนวทางบูรณาการ
สังคมศึกษาฯ  ศึกษาค้นคว้าข้อมูลข่าวสารจากสื่ อสิ่ งพิมพ์หรื อสื่ ออินเทอร์เน็ตเกี่ยวกับปั ญหา
ที่ เกิ ดจากการไม่ป รับ ตัวต่อการเปลี่ ยนแปลงทางด้านจิ ตใจและอารมณ์ ข อง
วัยรุ่ นในสังคมปั จจุบนั
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนเรี ยงความเรื่ องที่เกี่ยวข้องกับ
การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและอารมณ์ของวัยรุ่ น
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิดแสดงอารมณ์ของวัยรุ่ นในลักษณะต่าง ๆ
วิทยาศาสตร์  สังเกตและเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและ
อารมณ์ของตนเองและเพื่อน

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
92

2. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอความรู้หรือประสบการณ์ ทไี่ ด้ รับจากการสอบถาม


ผู้ปกครองเกีย่ วกับการเปลีย่ นแปลงทางด้ านร่ างกายเมือ่ เข้ าสู่ ช่วงวัยรุ่น โดยครูคอยให้ ความรู้ที่ถูกต้ อง
เพิม่ เติม
3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในหัวข้ อ พัฒนาการทาง
เพศและการปฏิบัตติ นที่เหมาะสม ในหัวข้ อย่อยที่ 2. การเปลีย่ นแปลงทางด้ านจิตใจและอารมณ์ มา
ล่วงหน้ า ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัติ
กิจกรรมดังกล่าวของนักเรียน
4. นักเรี ยนดูภาพวัยรุ่ นหญิงที่กาํ ลังแสดงอารมณ์ในลักษณะต่าง ๆ เช่น โกรธ ยิม้ ร้องไห้ เศร้า เครี ยด ตกใจ
ที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู ้ของ
นักเรี ยนและตอบคําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– นักเรี ยนเคยทะเลาะกับเพื่อนหรื อคนในครอบครัวหรื อไม่ ส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากเรื่ องใด (ตอบได้ โดย
อิสระ เช่ น เคยทะเลาะกับพ่ อแม่ เพราะโต้ เถียงกันเรื่ องขอไปเที่ ยวต่ างจังหวัดกับกลุ่มเพื่อนในวันหยุด
แล้ วพ่ อแม่ ไม่ อนุญาตให้ ไป เนื่องจากเป็ นห่ วงเราที่ไปกันตามลําพังโดยไม่ มีผ้ ใู หญ่ ไปดูแล)
– นักเรี ยนมีความคิดเห็นอย่างไรกับการที่ผใู ้ หญ่มกั มองวัยรุ่ นทุกคนว่า เป็ นวัยที่มีอารมณ์รุนแรง (เห็น
ด้ วยบางส่ วน เนื่องจากวัยรุ่ นเป็ นช่ วงวัยที่มีสภาวะทางอารมณ์ เปลี่ยนแปลงง่ าย หากไม่ ปรั บตัวและขาด
การควบคุมก็มกั จะแสดงพฤติกรรมที่ไม่ เหมาะสมออกมา เช่ น โกรธ ฉุนเฉี ยว หงุดหงิดใส่ ผ้ อู ื่น และ
อาจใช้ ความรุ นแรงได้ แต่ บางคนที่ สามารถปรั บตัวและควบคุมอารมณ์ ได้ ดีกจ็ ะแสดงพฤติกรรมที่
เหมาะสม ดังนั้นจึงไม่ ใช่ วัยรุ่ นทุกคนตามการสื่ อความหมายของประเด็นคําถามดังกล่ าว)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อ พัฒนาการทางเพศและการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสม ใน
หัวข้อย่อยที่ 2. การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและอารมณ์ เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความ
สนใจในการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้ในหัวข้อ พัฒนาการทางเพศและการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสม ในหัวข้อที่ 2. การเปลี่ยนแปลง
ทางด้านจิตใจและอารมณ์ โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิบาย
2. ครูแสดงบัตรคําที่เกีย่ วข้ องกับพัฒนาการทางเพศในการเปลีย่ นแปลงทางด้ านจิตใจและอารมณ์ ใน
ภาษาอังกฤษให้ นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่านสะกดคําและอ่านออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่ านตาม เพือ่ สร้ างเสริม
ทักษะทางด้ านภาษา ตัวอย่ างเช่ น คําว่ า
– อารมณ์ ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Emotion อ่านออกเสียงว่ า อิโม-ฌัน
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศสมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
3. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
93

ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. ครู นาํ บัตรคําแสดงข้อความเกี่ยวกับอารมณ์ในลักษณะต่าง ๆ ของวัยรุ่ นให้นกั เรี ยนดู แล้วแต่ละคนจําแนก
ว่าอารมณ์ใดเป็ นอารมณ์ที่ดีและควรเก็บไว้ และอารมณ์ใดเป็ นอารมณ์ที่ไม่ดี ไม่ควรเก็บไว้ เขียนลงใน
สมุดบันทึก โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด ตัวอย่างบัตรคําแสดงข้อความเกี่ยวกับอารมณ์ เช่น

ผิดหวัง สนุกสนาน ฉุนเฉี ยว โมโห

ยินดี ภูมิใจ อิจฉาริ ษยา รัก

ซึมเศร้า เกลียด สบายใจ เบื่อหน่าย

วิตกกังวล ดีใจ ปลาบปลื้ม รื่ นเริ ง

ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. ครู สุ่มนักเรี ยน 2–3 คนออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน โดยครู คอยเสนอแนะและให้
ความรู้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
2. ครู เฉลยผลการปฏิบตั ิกิจกรรมและให้ความรู ้ที่เป็ นประโยชน์เพิ่มเติม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
2. มอบหมายให้ นักเรียนขอความรู้หรือสอบถามผู้ปกครองเพิม่ เติมเกีย่ วกับผลกระทบที่เกิดจากการไม่
ควบคุมอารมณ์ ของตนเองของวัยรุ่น และจดความรู้หรือประสบการณ์ ที่ได้ รับลงในสมุดบันทึก แล้วนํามา
สนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าในหัวข้ อ พัฒนาการทางเพศและการปฏิบัตติ นที่เหมาะสม ในหัวข้ อ
ย่ อยที่ 3. การเปลีย่ นแปลงทางด้ านสั งคม ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพล
ศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า แล้ว
นํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
• นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมในหัวข้อ พัฒนาการทางเพศและการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสม ในหัวข้อย่อยที่ 2.
การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและอารมณ์ จากแหล่งการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต หรื อห้องสมุดของ
โรงเรี ยน เพื่อเสริ มสร้างการเรี ยนรู้และสามารถนําความรู้ดงั กล่าวไปปรับใช้ในชีวิตประจําวันได้
94

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพวัยรุ่ นหญิงที่กาํ ลังแสดงอารมณ์ในลักษณะต่าง ๆ
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายในหัวข้อ พัฒนาการทางเพศและการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสม ในหัวข้อ
ย่อยที่ 2. การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและอารมณ์
3. บัตรคําที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการทางเพศในการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและอารมณ์ในภาษาอังกฤษ
4. บัตรคําแสดงข้อความเกี่ยวกับอารมณ์ในลักษณะต่าง ๆ ของวัยรุ่ น
5. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเทอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ
6. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
95

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 12
พัฒนาการทางเพศ (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 2: ชีวติ และครอบครัว เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 ชีวติ และครอบครัว
เรื่อง พัฒนาการทางเพศและการปฏิบัติตนทีเ่ หมาะสม (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
วัยรุ่ นมีพฒั นาการทางเพศเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมโดยส่วนใหญ่มกั ชอบอยูก่ บั เพื่อน ซึ่ง
เพื่อนคือบุคคลที่เข้ามามีบทบาทสําคัญในช่วงวัยนี้เป็ นอย่างมาก และวัยนี้ยงั เป็ นวัยที่เริ่ มสนใจเพื่อนต่างเพศ และคบ
เพื่อนต่างเพศมากขึ้นด้วย

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
• อธิ บายการเปลี่ยนแปลงทางเพศและปฏิบตั ิตนได้เหมาะสม (พ 2.1ป. 5/1)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมของวัยรุ่ นอย่างถูกต้องได้ (K)
2. ร่ วมศึกษาและปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมของวัยรุ่ นด้วยความสนใจ (A)
3. แสดงทักษะในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมเมื่อเข้าสู่วยั รุ่ นอย่างถูกต้องได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับพัฒนาการทางเพศ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ในประเด็นเกี่ยวกับการ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
เปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมเมื่อเข้า แผนที่ความคิด*
สู่วยั รุ่ น
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
96

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
1. พัฒนาการทางเพศ (ต่อ)
– พัฒนาการทางเพศและการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสม (ต่อ)
3. การเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม

6. แนวทางบูรณาการ
สังคมศึกษาฯ  พูดคุยและเปรี ยบเทียบเกี่ยวกับลักษณะของกลุ่มเพื่อนที่พบเห็นในปัจจุบนั
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนเรี ยงความเรื่ องที่เกี่ยวข้องกับ
เพื่อนและครอบครัว
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิดแสดงอารมณ์ของวัยรุ่ นในลักษณะต่าง ๆ
วิทยาศาสตร์  สังเกตการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและอารมณ์ของตนเองและเพื่อน

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
2. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอความรู้หรือประสบการณ์ ทไี่ ด้ รับจากการสอบถาม
ผู้ปกครองเกีย่ วกับผลกระทบทีเ่ กิดจากการไม่ ควบคุมอารมณ์ ของตนเองของวัยรุ่น โดยครูคอยให้ ความรู้
ที่ถูกต้ องเพิม่ เติม
97

3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในหัวข้ อ พัฒนาการทาง


เพศและการปฏิบัตติ นที่เหมาะสม ในหัวข้ อย่อยที่ 3. การเปลีย่ นแปลงทางด้ านสั งคม มาล่วงหน้ า ตามที่
ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัตกิ จิ กรรมดังกล่ าวของ
นักเรียน
4. นักเรี ยนดูภาพกลุ่มเพื่อนวัยรุ่ นกําลังปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ร่ วมกัน แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู ้ใน
เรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู้ของนักเรี ยน และตอบคําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– เหตุใดเราจึงต้องมีเพื่อน (เราควรมีเพื่อน เพราะเพื่อนเป็ นบุคคลที่ อยู่ในช่ วงวัยเดียวกับเรา จึงมักมีความ
เข้ าใจและสามารถปฏิบัติกิจกรรมที่ อยู่ในความสนใจร่ วมกับเราได้ คอยให้ ความช่ วยเหลือ ให้ คาํ ปรึ กษา
พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิ ดเห็นกันได้ ทําให้ เราไม่ ต้องอยู่คนเดียวตามลําพังในการดําเนินชี วิต)
– บอกข้อดีของการมีเพื่อนมาคนละ 3 ข้อ (1. คอยช่ วยเหลือและให้ คาํ ปรึ กษาเวลาเรามีปัญหา 2. ได้ ทาํ
กิจกรรมที่สนใจร่ วมกัน 3. เป็ นกําลังใจและช่ วยปลอบใจเวลาเรามีความทุกข์ )
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อ พัฒนาการทางเพศและการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสม ใน
หัวข้อย่อยที่ 3. การเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการ
เรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้ในหัวข้อ พัฒนาการทางเพศและการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสม ในหัวข้อย่อยที่ 3. การ
เปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
2. ครูแสดงบัตรคําที่เกีย่ วข้ องกับพัฒนาการทางเพศในการเปลีย่ นแปลงทางด้ านสั งคมในภาษาอังกฤษให้
นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่านสะกดคําและอ่านออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่ านตาม เพือ่ สร้ างเสริมทักษะทางด้ าน
ภาษา ตัวอย่ างเช่ น คําว่า
– สั งคม ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Social อ่านออกเสี ยงว่ า โซ-แฌ็ล
– เพือ่ น ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Friend อ่านออกเสี ยงว่ า ฟเร็นด
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศสมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
3. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนเขียนเรี ยงความในหัวข้อเรื่ อง เพื่อน โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับเพื่อนสนิทของนักเรี ยน เขียนลงใน
กระดาษ ให้มีความยาว 1 หน้ากระดาษ A4 ตามเวลาที่ครู กาํ หนด
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• ให้นกั เรี ยนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมารายงานผลการเขียนเรี ยงความหน้าชั้นเรี ยน โดยครู แสดงความ
คิดเห็นต่อการปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรี ยน แล้วให้เพื่อน ๆ ในชั้นเรี ยนร่ วมกันปรบมือให้
98

ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้


1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
2. มอบหมายให้ นักเรียนขอความรู้หรือสอบถามผู้ปกครองเกีย่ วกับแนวทางการเลือกคบเพือ่ น และจดความรู้
หรือประสบการณ์ ที่ได้ รับลงในสมุดบันทึก แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าในหัวข้ อ พัฒนาการทางเพศและการปฏิบัตติ นที่เหมาะสม ในประเด็น
เกีย่ วกับการปฏิบัตติ นที่เหมาะสมเมือ่ เกิดพัฒนาการทางเพศ ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชา
พืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของ
โรงเรียน ฯลฯ มาล่ วงหน้ า และจดบันทึกข้ อคําถามที่สงสั ยหรือสนใจอย่ างน้ อย 2 ถึง 3 ประเด็นลงในสมุด
เพือ่ ใช้ เป็ นร่ องรอยและหลักฐานในการศึกษา แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
• นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมในหัวข้อ พัฒนาการทางเพศและการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสม ในหัวข้อย่อยที่ 3.
การเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม จากแหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต หรื อห้องสมุดของโรงเรี ยน เพื่อ
เสริ มสร้างการเรี ยนรู้และสามารถนําความรู ้ดงั กล่าวไปปรับใช้ในชีวิตประจําวันได้

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพกลุ่มเพื่อนวัยรุ่ นกําลังปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ร่ วมกัน
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายในหัวข้อ พัฒนาการทางเพศและการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสม ในหัวข้อ
ย่อยที่ 3. การเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม
3. บัตรคําที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการทางเพศในการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมในภาษาอังกฤษ
4. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเทอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ
5. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
6. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
99

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
100

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 13
พัฒนาการทางเพศ (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 2: ชีวติ และครอบครัว เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 ชีวติ และครอบครัว
เรื่อง พัฒนาการทางเพศและการปฏิบัติตนทีเ่ หมาะสม (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
การปฏิบตั ิตนที่เหมาสมเมื่อเกิดพัฒนาทางเพศทําได้โดยเมื่อมีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้นควรปรึ กษาพ่อแม่ ไม่วิตก
กังวลกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น พยายามควบคุมอารมณ์ กรณี มีประจําเดือนควรเปลี่ยนผ้าอนามัยบ่อย ๆ หมัน่
ชําระร่ างกายให้สะอาด หากมีอาการปวดท้องควรวางกระเป๋ านํ้าร้อนที่บริ เวณท้องน้อยหรื อกินยาแก้ปวด ส่วนกรณี
การเกิดอาการฝันเปี ยก ควรเปลี่ยนกางเกงในและผ้าปูที่นอนที่เปื้ อนนํ้าอสุจิ อาบนํ้าชําระร่ างกายและอวัยวะเพศให้
สะอาด

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
• อธิ บายการเปลี่ยนแปลงทางเพศและปฏิบตั ิตนได้เหมาะสม (พ 2.1ป. 5/1)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายแนวทางการปฏิบตั ิตนเมื่อเกิดพัฒนาการทางเพศอย่างถูกต้องได้ (K)
2. ร่ วมศึกษาและปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสมเมื่อเกิดพัฒนาการทางเพศด้วยความ
สนใจ (A)
3. แสดงทักษะในการปฏิบตั ิตนเมื่อเกิดพัฒนาการทางเพศอย่างถูกต้องได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตน • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ที่เหมาะสมเมื่อเกิดพัฒนาการ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ทางเพศ แผนที่ความคิด*
• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ปฏิบตั ิกิจกรรม สิ่ งใดควรทํา และ ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
เป็ นพฤติกรรมที่ สร้ างสรรค์ คนดี พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ป. 5*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
101

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
1. พัฒนาการทางเพศ (ต่อ)
– พัฒนาการทางเพศและการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสม
• การปฏิบตั ิตนที่เหมาะสมเมื่อเกิดพัฒนาการทางเพศ

6. แนวทางบูรณาการ
สังคมศึกษาฯ  พูดคุยเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารในสื่ อสิ่ งพิมพ์หรื อสื่ ออินเทอร์เน็ตเกี่ยวกับผลของ
การปฏิบตั ิตนไม่เหมาะสมเมื่อเกิดพัฒนาการทางเพศในวัยรุ่ นและแนวทางการ
ปรับปรุ งแก้ไข
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนสรุ ปเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตนที่
เหมาะสมเมื่อเกิดพัฒนาการทางเพศ
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิด ออกแบบและตกแต่งสมุดภาพ แผ่นพับ
ใบความรู้เกี่ยวกับการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสมเมื่อเกิดพัฒนาการทางเพศ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
2. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอความรู้หรือประสบการณ์ ทไี่ ด้ รับจากการสอบถาม
ผู้ปกครองเกีย่ วกับแนวทางการเลือกคบเพือ่ น โดยครูคอยให้ ความรู้ที่ถูกต้ องเพิม่ เติม
102

3. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอประเด็นคําถามเกีย่ วกับการปฏิบัตติ นที่เหมาะสมเมือ่ เกิด


พัฒนาการทางเพศที่สงสั ยหรือสนใจ ตามที่ได้ รับมอบหมายให้ ศึกษาค้ นคว้ามาล่วงหน้ าในการเรียนครั้งที่
ผ่านมา แล้วให้ เพือ่ น ๆ ช่ วยกันตอบคําถามดังกล่ าวร่ วมกัน โดยครูคอยให้ ความรู้ที่ถูกต้ องเพิม่ เติม
4. นักเรี ยนร่ วมกันตอบคําถามนําเข้าสู่บทเรี ยน ตัวอย่างเช่น
– หากนักเรี ยนรู ้สึกว่าร่ างกายตนเองผิดปกติจะปฏิบตั ิอย่างไรจึงจะดีที่สุด (ปรึ กษาพ่ อแม่ หรื อผู้ปกครอง
หรื อญาติผ้ ูใหญ่ ที่ไว้ ใจได้ จึงจะดีที่สุด เพราะท่ านเป็ นผู้ที่มีความรู้ และประสบการณ์ ในชี วิตมากกว่ าเรา
รวมทั้งมีความปรารถนาดีกับเรา ย่ อมให้ คาํ ปรึ กษา แนะนํา และพาไปพบแพทย์ เพื่อตรวจรั กษาต่ อไปได้
อย่ างถูกต้ อง)
– หากนักเรี ยนไม่ควบคุมอารมณ์จะส่งผลกระทบอย่างไร (ทําให้ แสดงอารมณ์ ที่ไม่ เหมาะสมออกมา จน
อาจก่ อให้ เกิดความขัดแย้ งกับผู้อื่นหรื อก่ อให้ เกิดการกระทําความรุ นแรงต่ อกันได้ )
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อ พัฒนาทางเพศและการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสม ใน
ประเด็นเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสมเมื่อเกิดพัฒนาการทางเพศ เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วม
และความสนใจในการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้ในหัวข้อ พัฒนาทางเพศและการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสม ในประเด็นเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตนที่
เหมาะสมเมื่อเกิดพัฒนาการทางเพศ โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการ
อธิ บาย
2. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรม สิ่ งใดควรทํา และเป็ นพฤติกรรมที่ สร้ างสรรค์ คนดี ดังรายละเอียดในใบกิจกรรมที่
ครู แจกให้หรื อในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. สุ่ มนักเรี ยนประมาณ 2–3 คนออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน โดยครู คอยเสนอแนะ
และให้ความรู้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
2. ครู เฉลยคําตอบที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนทราบและให้นกั เรี ยนร่ วมกันตรวจสอบแก้ไขคําตอบให้ถูกต้อง
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
2. มอบหมายให้ นั ก เรี ยนปฏิ บั ติกิจ กรรม ช่ วงวั ยรุ่ นที่ ผั น ผ่ าน หาผู้เล่ าขานประสบการณ์ ที่ น านมา ดั ง
รายละเอียดในใบกิจกรรมที่ครู แจกให้ หรือในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5
แล้วมานําเสนอในการเรียนครั้งต่ อไป
103

3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าในเรื่อง ครอบครัวอบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย ในหัวข้ อที่ 2.1 ลักษณะ


ของครอบครัวไทย ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจาก
แหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า แล้วนํามาสนทนา
ร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. นักเรี ยนควรนําวิธีการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสมเมื่อเกิดพัฒนาการทางเพศที่ถูกต้องไปใช้ในชีวิตประจําวัน โดยขอ
ความรู้และคําแนะนําเพิ่มเติมจากผูป้ กครอง
2. นักเรียนควรศึกษาเกีย่ วกับรูปแบบการแต่ งกายของผู้หญิงในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนที่แต่ งกายได้ สุภาพ
เรียบร้ อย แล้วนํามาปรับใช้ ในชีวติ ประจําวัน เนื่องจากเป็ นพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม ซึ่งจะช่ วยป้องกัน
ภัยทางเพศที่อาจเกิดขึน้ ได้

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายในหัวข้อ พัฒนาทางเพศและการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสม ในประเด็น
เกี่ยวกับการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสมเมื่อเกิดพัฒนาการทางเพศ
2. ใบกิจกรรม เรื่ อง สิ่ งใดควรทํา และเป็ นพฤติกรรมที่สร้ างสรรค์ คนดี
3. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเทอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ
4. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
5. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
6. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
104

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
105

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 14
ครอบครัวอบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย
สาระการเรียนรู้ ที่ 2: ชีวติ และครอบครัว เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 ชีวติ และครอบครัว เรื่อง ลักษณะของครอบครัวไทย

1. สาระสํ าคัญ
ครอบครัวไทยในอดีตมักมีลกั ษณะเป็ นครอบครัวขยายซึ่งเป็ นครอบครัวใหญ่ โดยครอบครัวหนึ่งมีท้ งั พ่อ
แม่ ลูก ปู่ ย่า ตา ยายและญาติพนี่ อ้ งอื่น ๆ อาศัยอยูร่ วมกัน ซึ่งส่วนใหญ่ครอบครัวขยายจะพบมากในชนบท แต่ใน
ปัจจุบนั พบครอบครัวที่มีลกั ษณะเป็ นครอบครัวเดี่ยวหรื อครอบครัวขนาดเล็กเพิ่มมากขึ้น คือ สมาชิกในครอบครัวมี
เฉพาะพ่อ แม่ ลูก อาศัยอยูร่ ่ วมกัน โดยแยกออกมาจากญาติพนี่ อ้ ง ซึ่งส่วนใหญ่ครอบครัวเดี่ยวพบได้มากในสังคมเมือง

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
• อธิ บายความสําคัญของการมีครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย (พ 2.1 ป. 5/2)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายลักษณะของครอบครัวไทยอย่างถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงคุณค่าและความสําคัญของความเป็ นครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย (A)
3. แสดงทักษะการปฏิบตั ิตนในการปรับตัวกับครอบครัวของตนเองอย่างถูกต้องได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับลักษณะของ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ครอบครัวไทย ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
แผนที่ความคิด*

• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ขึ้นอยูก่ บั ดุลยพินิจของครู


ปฏิบตั ิกิจกรรม ช่ วงวัยรุ่ นที่ผันผ่ าน ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
หาผู้เล่ าขานประสบการณ์ ที่นานมา พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ป. 5*
106

วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล


• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ขึ้นอยูก่ บั ดุลยพินิจของครู
ปฏิบตั ิกิจกรรม ครอบครั วเดี่ยว ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
หรื อขยาย วาดระบายให้ สวยงาม พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ป. 5*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
2. ครอบครัวอบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย
2.1 ลักษณะของครอบครัวไทย

6. แนวทางบูรณาการ
สังคมศึกษาฯ  พูดคุยเกี่ยวกับลักษณะของครอบครัวไทยในภูมิภาคต่าง ๆ
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ ภาษาอังกฤษหรือภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
เกีย่ วกับครอบครัว
คณิ ตศาสตร์  นับจํานวนสมาชิกในครอบครัวของตนเองและของเพื่อน
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนเรี ยงความเรื่ องที่เกี่ยวข้องกับ
ลักษณะของครอบครัวไทย
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิด ออกแบบและตกแต่งสมุดภาพ แผ่นพับ
ใบความรู้เกี่ยวกับลักษณะของครอบครัวไทย
107

ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพสมาชิกในครอบครัวเดี่ยวและครอบครัวขยาย ซึ่งเป็ น


ลักษณะของครอบครัวไทย และวาดภาพ/ระบายสี เรื่ อง ครอบครัวของฉัน
วิทยาศาสตร์  ศึกษา สื บค้น และบันทึกข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่และกระบวนการทํางาน
ของอวัยวะปาก หลอดอาหาร และกระเพาะอาหาร ซึ่งเป็ นอวัยวะในโครงสร้าง
ของระบบย่อยอาหาร

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
2. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอผลการปฏิบัตกิ จิ กรรม ช่ วงวัยรุ่นที่ผันผ่ าน หาผู้เล่ าขาน
ประสบการณ์ ที่นานมา ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูคอยให้ ความรู้ที่ถูกต้ อง
เพิม่ เติม
3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในเรื่อง ครอบครัวอบอุ่น
ตามวัฒนธรรมไทย ในหัวข้ อที่ 2.1 ลักษณะของครอบครัวไทย มาล่วงหน้ า ตามที่ได้ รับมอบหมายในการ
เรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัตกิ จิ กรรมดังกล่ าวของนักเรียน
4. ให้นกั เรี ยนดูภาพแสดงการเปรี ยบเทียบครอบครัว 2 ครอบครัว ที่มีจาํ นวนสมาชิกในครอบครัวแตกต่าง
กัน โดยภาพครอบครัวที่ 1 เป็ นครอบครัวขนาดเล็กหรื อครอบครัวเดี่ยว ประกอบด้วยสมาชิกใน
ครอบครัว ได้แก่ พ่อ แม่ ลูก ส่วนภาพครอบครัวที่ 2 เป็ นครอบครัวขนาดใหญ่หรื อครอบครัวขยาย
ประกอบด้วยสมาชิกในครอบครัว ได้แก่ พ่อ แม่ ลูก ตา ยาย (หรื อญาติคนอื่น ๆ ร่ วมด้วย) ที่ครู เตรี ยมมา
แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู ้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู้ของนักเรี ยน และตอบ
คําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– นักเรี ยนรู ้ไหมว่าครอบครัวที่ 1 และครอบครัวที่ 2 มีความแตกต่างกันในด้านใด (แตกต่ างกันที่ขนาด
ของครอบครั วหรื อรู ปแบบของครอบครั ว โดยครอบครั วที่ 1 เป็ นครอบครั วขนาดเล็ก ประกอบด้ วย
สมาชิ กในครอบครั ว ได้ แก่ พ่ อ แม่ และลูก หรื อเรี ยกว่ า ครอบครั วเดี่ยว ส่ วนครอบครั วที่ 2 เป็ น
ครอบครั วขนาดใหญ่ ประกอบด้ วยสมาชิ กในครอบครั ว ได้ แก่ พ่ อ แม่ ลูก ปู่ /ตา ย่ า/ยาย หรื อเรี ยกว่ า
ครอบครั วขยาย)
– นักเรี ยนชอบภาพครอบครัวแบบใด และทําไมจึงคิดเช่นนั้น (ตอบได้ โดยอิ สระ เช่ น ชอบภาพครอบครั ว
ที่ 2 เพราะมีสมาชิ กในครอบครั วจํานวนมาก ทําให้ ร้ ู สึกอบอุ่นและมีความสุขที่ได้ อยู่ร่วมกับญาติพี่น้อง
อย่ างพร้ อมหน้ ากัน)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 2.1 ลักษณะของครอบครัวไทย เพื่อเป็ นการกระตุน้
การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
108

ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง ครอบครัวอบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย ในหัวข้อที่ 2.1 ลักษณะของครอบครัวไทย โดยใช้
ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิบาย
2. ครูนําบัตรคําแสดงชื่อสมาชิกในครอบครัวในภาษาอังกฤษให้ นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่ านสะกดคําและอ่าน
ออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่านตาม เพือ่ สร้ างเสริมทักษะทางด้ านภาษา ตัวอย่ างเช่ น
– บิดาหรือพ่อ ในภาษาในอังกฤษ คือ Father อ่านออกเสี ยงว่า ฟา-เฑอะ
– มารดาหรือแม่ ในภาษาในอังกฤษ คือ Mother อ่านออกเสี ยงว่า มัฑ-เออะ
– ลูกชาย/ลูกสาว ในภาษาในอังกฤษ คือ Son/Daughter อ่านออกเสี ยงว่า ซัน/ดอ-เทอะ
– ปู่ /ตา ในภาษาในอังกฤษ คือ Grand Father อ่านออกเสี ยงว่า กแร็นด ฟา-เฑอะ
– ย่ า/ยาย ในภาษาในอังกฤษ คือ Grand Mother อ่านออกเสี ยงว่า กแร็นด มัฑ-เออะ
– น้ าผู้ชาย/อาผู้ชาย/ลุง ในภาษาในอังกฤษ คือ Uncle อ่านออกเสี ยงว่า อัง-ค’ล
– น้ าผู้หญิง/อาผู้หญิง/ป้า ในภาษาในอังกฤษ คือ Aunt อ่านออกเสี ยงว่า อานท
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ อนื่ ๆ ที่เกีย่ วข้ องนอกเหนือจากนีไ้ ด้ หรืออาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศ
สมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
3. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัคร 1–2 คน ออกมาเล่าเรื่ อง ลักษณะของครอบครัวที่นกั เรี ยนประทับใจ โดยครู แสดง
ความคิดเห็นต่อการปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรี ยนและให้เพื่อน ๆในชั้นเรี ยนร่ วมกันปรบมือให้เพื่อนที่
ออกมาเล่าเรื่ อง
4. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนร่ วมกันยกตัวอย่างลักษณะของครอบครัวเดี่ยวและครอบครัวขยาย โดยพิจารณาจากครอบครัว
ของตนเองว่าอยูใ่ นประเภทใด และมีสมาชิกเป็ นใครบ้าง (ตอบโดยอิสระ)
2. นักเรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรม ครอบครั วเดี่ยวหรื อขยาย วาดระบายให้ สวยงาม ดังรายละเอียดในใบกิจกรรมที่
ครู แจกให้หรื อในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• สุ่ มนักเรี ยนประมาณ 2–3 คนออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยนโดยครู คอยเสนอแนะและ
ให้ความรู้ที่ถูกต้องเพิม่ เติม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
2. มอบหมายให้ นักเรียนปฏิบัตกิ จิ กรรม ครอบครั วของฉัน วาดฝันไว้ เช่ นไร ดังรายละเอียดในใบกิจกรรมที่
ครูแจกให้ หรือในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 นอกเวลาเรียน แล้วมา
นําเสนอในการเรียนครั้งต่อไป
109

3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าในเรื่อง ครอบครัวอบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย ในหัวข้ อที่ 2.2 ครอบครัวที่


อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5
หรือจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า แล้วนํามา
สนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับลักษณะของครอบครัวไทย โดยขอรับความรู้จากผูป้ กครอง หรื อจาก
แหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต ห้องสมุดของโรงเรี ยน ฯลฯ เพื่อเสริ มสร้างการเรี ยนรู ้และทําให้เกิด
ความเข้าใจในเรื่ องดังกล่าวมากยิง่ ขึ้น
2. นักเรียนควรศึกษาค้ นคว้ าเพิม่ เติมเกีย่ วกับลักษณะของครอบครัวในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนจากแหล่งการ
เรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ เพือ่ เสริมสร้ างการเรียนรู้ในเรื่องดังกล่าวให้
กว้ างขวางมากยิ่งขึน้

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพแสดงการเปรี ยบเทียบครอบครัว 2 ครอบครัวที่มีจาํ นวนสมาชิกในครอบครัวแตกต่างกัน หรื อภาพ
ครอบครัวขนาดเล็กและภาพครอบครัวขนาดใหญ่
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายเรื่ อง ครอบครัวอบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย ในหัวข้อที่ 2.1 ลักษณะ
ของครอบครัวไทย
3. อุปกรณ์ประกอบการวาดภาพ/ระบายสี
4. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ
5. ใบกิจกรรม เรื่ อง ช่ วงวัยรุ่ นที่ผันผ่ าน หาผู้เล่ าขานประสบการณ์ ที่นานมา
6. ใบกิจกรรม เรื่ อง ครอบครั วเดี่ยวหรื อขยาย วาดระบายให้ สวยงาม
7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
110

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
111

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 15
ครอบครัวอบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 2: ชีวติ และครอบครัว เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 ชีวติ และครอบครัว เรื่อง ครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย

1. สาระสํ าคัญ
สมาชิกทุกคนในครอบครัวมีความสําคัญในการทําให้ครอบครัวอบอุ่นและมีความสุขได้โดยควรมีความรัก
ความห่วงใยซึ่งกันและกัน พูดจาสุ ภาพต่อกัน มีน้ าํ ใจ ให้ความเคารพและเชื่อฟังผูใ้ หญ่ มีส่วนร่ วมในการตัดสิ นใจ
หรื อแสดงความคิดเห็นในครอบครัว ปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ของตนเองอย่างเหมาะสม มีความอดทนและรู ้จกั ให้
อภัยผูอ้ ื่น และหมัน่ สร้างสัมพันธภาพอันดีต่อเครื อญาติอย่างสมํ่าเสมอ

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
• อธิ บายความสําคัญของการมีครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย (พ 2.1 ป. 5/2)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายลักษณะของครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทยและแนวทางการปฏิบตั ิตนของสมาชิกในครอบครัว
เพื่อการมีครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทยอย่างถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงคุณค่าและความสําคัญของความเป็ นครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย (A)
3. แสดงทักษะในการปฏิบตั ิตนต่อครอบครัวเพื่อการมีครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทยอย่างถูกต้องได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับลักษณะของ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรม ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ไทยและแนวทางการปฏิบตั ิตน แผนที่ความคิด*
ของสมาชิกในครอบครัวเพื่อการมี
ครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรม
ไทย
112

วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล


• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ขึ้นอยูก่ บั ดุลยพินิจของครู
ปฏิบตั ิกิจกรรม ครอบครั วของฉั น ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
วาดฝั นไว้ เช่ นไร พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ป. 5*
• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ปฏิบตั ิกิจกรรม ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
– ครอบครั วอบอุ่นตามวัฒนธรรม พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ไทย เป็ นเช่ นไรไหนลองบอก ป. 5*
– ปั ญหาครอบครั วไทย เป็ นเช่ นไร
ช่ วยกันศึกษา
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
2. ครอบครัวอบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย (ต่อ)
2.2 ครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย

6. แนวทางบูรณาการ
สังคมศึกษาฯ  พูดคุยเกี่ยวกับตัวอย่างของครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทยในสังคม
ทั้งในอดีตและปัจจุบนั เช่น ครอบครัวของบุคคลที่มีชื่อเสี ยงต่าง ๆ ที่เป็ นที่รู้จกั
อย่างกว้างขวาง
113

ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนเรี ยงความเรื่ องที่เกี่ยวข้องกับ


ครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิด ออกแบบและตกแต่งสมุดภาพ แผ่นพับ
ใบความรู้เกี่ยวกับแนวทางการปฏิบตั ิตนเพื่อการมีครอบครัวที่อบอุ่นตาม
วัฒนธรรมไทย
ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทยในอุดมคติ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
2. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอผลการปฏิบัตกิ จิ กรรม ครอบครั วของฉัน วาดฝันไว้ เช่ นไร
ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัตกิ จิ กรรมของ
นักเรียนและให้ คาํ แนะนําเพิม่ เติม
3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในเรื่อง ครอบครัวอบอุ่น
ตามวัฒนธรรมไทย ในหัวข้ อที่ 2.2 ครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย ตามที่ได้ รับมอบหมายในการ
เรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัตกิ จิ กรรมดังกล่ าวของนักเรียน
4. ให้นกั เรี ยนดูภาพสมาชิกในครอบครัวกําลังปฏิบตั ิกิจกรรมร่ วมกัน ที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกัน
เกี่ยวกับความรู้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู้ของนักเรี ยน และตอบคําถามร่ วมกัน
ตัวอย่างเช่น
– ครอบครัวที่อบอุ่นมีลกั ษณะอย่างไร ตอบมาอย่างน้อย 3 ข้อ (ตอบได้ โดยอิสระ เช่ น 1. มีความรั กและ
ความห่ วงใยซึ่ งกันและกันอยู่เสมอ 2. สมาชิ กในครอบครั วทุกคนรู้ จักรั บผิดชอบในบทบาทหน้ าที่ของ
ตนเองอย่ างเต็มที่ 3. หมัน่ ปฏิบัติกิจกรรมร่ วมกันอย่ างมีความสุข)
– นักเรี ยนคิดว่าบุคคลที่อยูใ่ นครอบครัวที่ขาดความอบอุ่นจะมีลกั ษณะอย่างไร (ไม่ มีความสุขในการ
ดําเนินชี วิต อาจส่ งผลกระทบต่ อการเรี ยน ทําให้ ขาดสมาธิ ในการเรี ยน ผลการเรี ยนตกตํา่ เกิดปั ญหา
สุขภาพจิต นอกจากนั้นอาจทําให้ ติดเพื่อนหรื อคบหาคนที่มีพฤติกรรมที่ ไม่ ดีและถูกชักจูงไปปฏิบัติใน
สิ่ งที่ไม่ เหมาะสม หรื อเมื่อเกิดปั ญหาในครอบครั วแล้ วแก้ ไขปั ญหาด้ วยวิธีการที่ผิด ๆ เช่ น ดื่มสุรา
เสพสารเสพติด ทําร้ ายตนเอง เป็ นต้ น)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 2.2 ครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย เพื่อเป็ น
การกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
114

ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง ครอบครัวอบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย ในหัวข้อที่ 2.2 ครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรม
ไทย โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิบาย
2. ให้นกั เรี ยนแบ่งกลุ่มเป็ น 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มร่ วมกันปฏิบตั ิกิจกรรม โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด ดังนี้
– กลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 เขียนวิเคราะห์สาเหตุของครอบครัวไทยที่ขาดความอบอุ่น
– กลุ่มที่ 3 และกลุ่มที่ 4 เขียนวิธีการปฏิบตั ิตนเพื่อให้ครอบครัวอบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย
3. ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมานําเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน โดยครู ให้ความรู ้
ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
4. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรม ครอบครั วอบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย เป็ นเช่ นไรไหนลองบอก และกิจกรรม
ปั ญหาครอบครั วไทย เป็ นเช่ นไรช่ วยกันศึกษา ดังรายละเอียดในใบกิจกรรมที่ครู แจกให้หรื อในแบบฝึ ก
ทักษะ รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
2. สุ่มนักเรี ยนประมาณ 2–3 คนออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน โดยครู คอยเสนอแนะ
และให้ความรู้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
3. ครู เฉลยคําตอบที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนทราบและให้นกั เรี ยนร่ วมกันตรวจสอบแก้ไขคําตอบให้ถูกต้อง
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• นักเรี ยนนําวิธีการปฏิ บตั ิ ตนเป็ นสมาชิ กที่ ดีของครอบครัวไปปฏิบตั ิในชี วิตประจําวัน โดยให้ผปู ้ กครอง
คอยให้คาํ แนะนําและตอบรับผลการปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรี ยนกลับมาที่ครู
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
2. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าในเรื่อง การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง ในหัวข้ อที่ 3.1 ปัจจัยที่ก่อให้ เกิด
ความขัดแย้ง ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่ง
การเรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า และจดบันทึกข้ อคําถามที่
สงสั ยหรือสนใจอย่างน้ อย 2 ถึง 3 ประเด็นลงในสมุด เพือ่ ใช้ เป็ นร่ องรอยและหลักฐานในการศึกษา แล้ว
นํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป
115

8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. นักเรี ยนควรเข้าไปช่วยเหลือพ่อแม่ทาํ งานบ้านหลังเลิกเรี ยนทุกวัน แล้วสังเกตพร้อมทั้งจดบันทึกถึงพฤติกรรม
วิธีการพูดคุยของสมาชิกในครอบครัว และบรรยากาศที่เกิดขึ้นภายในครอบครัวก่อนและหลังการช่วยเหลือ
งาน เพื่อให้เข้าใจและตระหนักถึงความสําคัญของการมีครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทยมากยิง่ ขึ้น และ
ควรปฏิบตั ิจนเป็ นสุ ขนิสยั
2. นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับแนวทางการปฏิบตั ิตนเพื่อการมีครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรม
ไทย โดยขอรับความรู ้จากผูป้ กครอง หรื อจากแหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต ห้องสมุดของโรงเรี ยน
ฯลฯ เพื่อเสริ มสร้างการเรี ยนรู้และสามารถนํามาปรับใช้ในชีวิตประจําวันได้เป็ นอย่างดี
3. นักเรียนควรศึกษาเกีย่ วกับคําพูดลงท้ ายอย่ างสุ ภาพในภาษาของประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งในภาษาไทย
ผู้หญิงจะลงท้ ายด้ วยคําว่า “ค่ ะ และผู้ชายจะลงท้ ายคําว่ า “ครับ” เช่ น ในภาษาลาวผู้หญิงและผู้ชายจะกล่าวลง
ท้ ายด้ วยคําว่า “เจ้ า หรือ โดย” เพือ่ แสดงความสุ ภาพ โดยไม่ มีการแบ่ งแยกชายหรือหญิง เป็ นต้ น เพือ่
เสริมสร้ างการเรียนรู้ในเรื่องดังกล่าวให้ กว้ างขวางมากยิง่ ขึน้
4. นักเรียนควรศึกษาค้ นคว้ าเพิม่ เติมเกีย่ วกับครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมอืน่ ๆ โดยเฉพาะวัฒนธรรมของ
ประเทศในกลุ่มสมาชิกอาเซียน เพือ่ ให้ เกิดการเรียนรู้ที่กว้างขวางมากยิง่ ขึน้ และสามารถนําความรู้และแนว
ทางการปฏิบัตทิ ี่ดีและเป็ นประโยชน์ มาปรับใช้ ในชีวติ ประจําวันได้

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพสมาชิกในครอบครัวกําลังปฏิบตั ิกิจกรรมร่ วมกัน
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายเรื่ อง ครอบครัวอบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย ในหัวข้อที่ 2.2 ครอบครัวที่
อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย
3. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเทอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ
4. ใบกิจกรรม เรื่ อง ครอบครั วของฉั น วาดฝั นไว้ เช่ นไร
5. ใบกิจกรรม เรื่ อง ครอบครั วอบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย เป็ นเช่ นไรไหนลองบอก
6. ใบกิจกรรม เรื่ อง ปั ญหาครอบครั วไทย เป็ นเช่ นไรช่ วยกันศึกษา
7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
116

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
117

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 16
การแก้ ไขปัญหาความขัดแย้ ง
สาระการเรียนรู้ ที่ 2: ชีวติ และครอบครัว เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 ชีวติ และครอบครัว เรื่อง ปัจจัยทีก่ ่ อให้ เกิดความขัดแย้ ง

1. สาระสํ าคัญ
การดําเนินชีวิตในแต่ละวันต้องมีการติดต่อสื่ อสารกับคนรอบข้างมากมาย ทั้งสมาชิกภายในครอบครัว
เพื่อน และคนภายในชุมชน ซึ่งบางครั้งอาจมีปัจจัยที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่างกันขึ้นได้ ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความ
ขัดแย้ง ได้แก่ ค่านิยมหรื อความเชื่อของแต่ละบุคคล ความไม่เข้าใจระหว่างกัน การไม่ยอมรับฟังความคิดเห็นของ
ผูอ้ ื่น ความอิจฉาริ ษยา ไม่พอใจในสิ่ งที่ตนเองมี และการขาดศีลธรรมและคุณธรรมประจําใจ

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
• ระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์และพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและ
กลุ่มเพื่อน (พ 2.1 ป. 5/3)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายปัจจัยที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งอย่างถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงผลกระทบของการเกิดความขัดแย้ง (A)
3. แสดงทักษะในการปฏิบตั ิตนให้ถูกต้องเพื่อลดความขัดแย้งภายในครอบครัวและสังคมอย่างถูกต้อง
เหมาะสม (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับความหมายของ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ความขัดแย้งและปัจจัยที่ก่อให้เกิด ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ความขัดแย้ง แผนที่ความคิด*
• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ปฏิบตั ิกิจกรรม สิ่ งใดที่ ทาํ ให้ ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
ขัดแย้ ง ช่ วยแสดงเครื่ องหมาย พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
เพื่อแยกออกไป ป. 5*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
118

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง
3.1 ปั จจัยที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง

6. แนวทางบูรณาการ
สังคมศึกษาฯ  พูดคุยเกี่ยวกับปัญหาความขัดแย้งของบุคคลในลักษณะต่าง ๆ ในสังคม
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ ภาษาอังกฤษหรือภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
เกีย่ วกับปัญหาความขัดแย้ง
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนบทความเรื่ องที่เกี่ยวข้องกับ
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิดสรุ ปปั จจัยที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
2. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอประเด็นคําถามเกีย่ วกับปัจจัยที่ก่อให้ เกิดความขัดแย้ง ที่สงสั ย
หรือสนใจ ตามที่ได้ รับมอบหมายให้ ศึกษาค้ นคว้ ามาล่วงหน้ าในการเรียนครั้งที่ผ่านมา แล้ วให้ เพือ่ น ๆ
ช่ วยกันตอบคําถามดังกล่าวร่ วมกัน โดยครูคอยให้ ความรู้ที่ถูกต้ องเพิม่ เติม
119

3. ให้นกั เรี ยนดูภาพบุคคลกําลังแสดงท่าทางหรื อสี หน้าที่บ่งบอกถึงการทะเลาะเบาะแว้งหรื อมีปัญหาขัดแย้ง


กัน ที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู ้ของ
นักเรี ยน และตอบคําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– นักเรี ยนเคยเกิดปั ญหาความขัดแย้งกับบุคคลอื่นหรื อไม่ เกิดจากสาเหตุใด (ตอบได้ โดยอิสระ เช่ น เคย มี
ปั ญหาขัดแย้ งกับเพื่อนสนิท เพราะคิดเห็นไม่ ตรงกันในการการทํารายงานกลุ่ม)
– ความขัดแย้งเกิดจากอะไรบ้าง ตอบคนละ 2 ข้อ (ตอบได้ โดยอิสระ เช่ น 1. ความไม่ เข้ าใจกันหรื อ
สื่ อสารไม่ ตรงกัน 2. การไม่ ยอมรั บฟั งความคิดเห็นของผู้อื่น)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
4. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 3.1 ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง เพื่อเป็ นการ
กระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง การแก้ไขปั ญหาความขัดแย้ง ในหัวข้อที่ 3.1 ปั จจัยที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง โดยใช้ภาพ
หรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิบาย
2. ให้นกั เรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5–6 คน แต่ละกลุ่มระดมสมองร่ วมกันวิเคราะห์สาเหตุหรื อปัจจัยของการเกิด
ปั ญหาความขัดแย้งจากภาพและบทความในข่าวหรื อสถานการณ์ตวั อย่างที่ครู แจกให้ โดยใช้เวลาตามที่
ครู กาํ หนด
3. ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมานําเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน โดยครู ให้ความรู ้
ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
4. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรม สิ่ งใดที่ ทาํ ให้ ขดั แย้ ง ช่ วยแสดงเครื่ องหมายเพื่อแยกออกไป ดังรายละเอียดในใบ
กิจกรรมที่ครู แจกให้หรื อในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 โดยใช้เวลาตามที่
ครู กาํ หนด
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. สุ่มนักเรี ยนประมาณ 2–3 คนออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน โดยครู คอยเสนอแนะ
และให้ความรู้ที่ถูกต้องเพิม่ เติม
2. ครู เฉลยคําตอบที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนทราบและให้นกั เรี ยนร่ วมกันตรวจสอบแก้ไขคําตอบให้ถูกต้อง
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
120

2. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าในเรื่อง การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง ในหัวข้ อที่ 3.2 พฤติกรรมที่พงึ


ประสงค์ และไม่พงึ ประสงค์ ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพือ่ น ในหัวข้ อย่อยที่
1. การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อนื่ ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและ
พลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า
และให้ แต่ ละคนเขียนตัวอย่ างการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อนื่ มาคนละ 3 ตัวอย่ าง แล้วมานําเสนอ
และสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
• นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับปัจจัยที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่างบุคคลหรื อระหว่างกลุ่มบุคคล
ที่มกั เกิดขึ้นในสังคมไทย โดยเฉพาะความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อนในวัยรุ่ น โดยขอรับความรู้จาก
ผูป้ กครอง หรื อจากแหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต ห้องสมุดของโรงเรี ยน ฯลฯ เพื่อเสริ มสร้างการ
เรี ยนรู ้และทําให้เข้าใจในเรื่ องดังกล่าวมากยิง่ ขึ้น

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพบุคคลกําลังแสดงท่าทางหรื อสี หน้าที่บ่งบอกถึงการทะเลาะเบาะแว้งหรื อมีปัญหาขัดแย้งกัน
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายเรื่ อง การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง ในหัวข้อที่ 3.1 ปัจจัยที่ก่อให้เกิด
ความขัดแย้ง
3. ภาพและบทความในข่าวหรื อสถานการณ์ตวั อย่างการเกิดปั ญหาความขัดแย้ง
4. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเทอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ
5. ใบกิจกรรม เรื่ อง สิ่ งใดที่ ทาํ ให้ ขดั แย้ ง ช่ วยแสดงเครื่ องหมายเพื่อแยกออกไป
6. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
121

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
122

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 17
การแก้ ไขปัญหาความขัดแย้ ง (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 2: ชีวติ และครอบครัว เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 ชีวติ และครอบครัว
เรื่อง พฤติกรรมทีพ่ งึ ประสงค์ และไม่ พงึ ประสงค์ ในการแก้ ไขปัญหาความขัดแย้ งในครอบครัว
และกลุ่มเพือ่ น

1. สาระสํ าคัญ
ปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ เป็ นเรื่ องที่อาจเกิดขึ้นได้ในชีวติ ประจําวันของคนเราทุกคนที่ตอ้ งดําเนินชีวิตอยู่
ร่ วมกับผูอ้ ื่นมากมายในสังคม ดังนั้นเราจึงควรรู ้จกั ปรับตัวให้เข้ากับผูอ้ ื่น และรู้จกั แก้ไขสถานการณ์เมื่อเกิดปั ญหา
ความขัดแย้งอย่างเหมาะสม ซึ่งการที่เราจะสามารถแก้ไขปัญหาความขัดแย้งได้น้ นั ต้องมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์
คือ ยอมรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น คิดในแง่บวก สื่ อสารทางบวกทั้งวาจาและการแสดงออกทางกาย และยึดหลัก
ศีลธรรมและคุณธรรมประจําใจ
การรู ้จกั ยอมรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่นเป็ นวิธีหนึ่งในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและ
กลุ่มเพื่อน โดยคิดเสมอว่าการยอมรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่นเป็ นสิ่ งที่ช่วยให้เกิดความสามัคคี และเพิ่มเติม
แนวความคิดใหม่ ๆ มากขึ้น

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
• ระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์และพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและ
กลุ่มเพื่อน (พ 2.1 ป. 5/3)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายลักษณะพฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและ
กลุ่มเพื่อนอย่างถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของการมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและ
กลุ่มเพื่อน (A)
3. แสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในการแก้ไขปั ญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อนได้ (P)
123

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับพฤติกรรมที่ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง แผนที่ความคิด*
ในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน
ในประเด็นเกี่ยวกับการยอมรับฟัง
ความคิดเห็นของผูอ้ ื่น
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง (ต่อ)
3.2 พฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน
1. การยอมรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ ภาษาอังกฤษหรือภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
เกีย่ วกับการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อนื่
124

ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนเรี ยงความจากประสบการณ์


ของตนเองเกี่ยวกับการยอมรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิด ออกแบบและตกแต่งสมุดภาพ แผ่นพับ
ใบความรู้เกี่ยวกับการยอมรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น
ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพการ์ ตูนจําลองสถานการณ์ตวั อย่างการยอมรับฟั งความ
คิดเห็นของผูอ้ ื่น
วิทยาศาสตร์  ศึกษา สังเกต และวิเคราะห์เกี่ ยวกับผลดี ของการยอมรับฟั งความคิดเห็นของ
ผูอ้ ื่น

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
2. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอตัวอย่ างการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อนื่ 3 ตัวอย่ าง ที่
เขียนมา ตามที่ได้ รับมอบหมายให้ ศึกษาค้ นคว้ ามาล่ วงหน้ าในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความ
คิดเห็นต่ อการรายงานผลของนักเรียน และให้ ความรู้ที่ถูกต้ องเพิม่ เติม
3. ให้นกั เรี ยนดูภาพตัวอย่างบทสนทนาของสมาชิกในครอบครัวที่ขดั แย้งกันอันเนื่องจากจากการไม่ยอมรับ
ฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู ้ในเรื่ องดังกล่าวจาก
ประสบการณ์การเรี ยนรู้ของนักเรี ยน และตอบคําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– นักเรี ยนคิดว่าความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในครอบครัวนี้เกิดจากสาเหตุใดเป็ นสําคัญ (การไม่ ยอมรั บฟั งความ
คิดเห็นของผู้อื่น)
– ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นดังกล่าวจะส่งผลกระทบอย่างไร (อาจทําให้ เกิดการใช้ ความรุ นแรงในการ
แก้ ปัญหา หรื อทําให้ เกิดความบาดหมางต่ อกัน ครอบครั วขาดความอบอุ่น)
– หากนักเรี ยนเป็ นสมาชิกในครอบครัวดังกล่าว เหตุการณ์เหล่านี้จะไม่เกิดขึ้นถ้านักเรี ยนปฏิบตั ิตน
อย่างไร (ยอมรั บฟั งความคิดเห็นของสมาชิ กคนอื่น ๆ ในครอบครั ว และพยายามกระตุ้นเตือนคนใน
ครอบครั วให้ รับฟั งกันและกันอย่ างมีเหตุผล สามัคคีกัน)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
4. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 3.2 พฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ใน
การแก้ไขปั ญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน ในหัวข้อย่อยที่ 1. การยอมรับฟังความคิดเห็น
ของผูอ้ ื่น เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
125

ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง การแก้ไขปั ญหาความขัดแย้ง ในหัวข้อที่ 3.2 พฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึง
ประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน ในหัวข้อย่อยที่ 1. การยอมรับฟัง
ความคิดเห็นของผูอ้ ื่น โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
2. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนอาสาสมัครผลัดเปลี่ ยนกันออกมาเขียนข้อดี ของการยอมรับฟั งความคิดเห็ นของผูอ้ ื่ น หน้าชั้น
เรี ยน คนละ 1 ข้อ
2. ครู แสดงความคิดเห็นต่อการปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรี ยน พร้อมทั้งเฉลยคําตอบและให้ความรู้ที่ถูกต้อง
เพิ่มเติม แล้วให้เพื่อน ๆ ในชั้นเรี ยนปรบมือให้เพื่อนที่ออกมาปฏิบตั ิกิจกรรม
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ น 2 กลุ่ม แต่ละกลุ่มร่ วมกันระดมสมองวางแผนการแสดงบทบาทสมมุติเรื่ อง การ
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น ภายในเวลาที่กาํ หนด ในหัวข้อเรื่ องดังต่อไปนี้
– กลุ่มที่ 1 เรื่ อง การยอมรับฟังความคิดเห็นของสมาชิกในครอบครัว
– กลุ่มที่ 2 เรื่ อง การยอมรับฟังความคิดเห็นของเพื่อนหรื อกลุ่มเพื่อน
2. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมาปฏิบตั ิกิจกรรมแสดงบทบาทสมมุติหน้าชั้นเรี ยนตามหัวข้อที่
กลุ่มตนเองได้รับ โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
3. ครู ให้เพื่อนแต่ละกลุ่มผลัดกันวิจารณ์หรื อแสดงความคิดเห็นต่อการแสดงของเพื่อนอีกกลุ่ม จากนั้นครู
สรุ ปผลการปฏิบตั ิกิจกรรมและให้คาํ แนะนําเพิ่มเติม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
2. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าในเรื่อง การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง ในหัวข้ อที่ 3.2 พฤติกรรมที่พงึ
ประสงค์ และไม่ พงึ ประสงค์ ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพือ่ น (ต่อ) ในหัวข้ อย่อย
ที่ 2. การคิดในแง่ บวก ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือ
จากแหล่งการเรียนรู้ ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า และให้ แต่ ละคน
เขียนตัวอย่างการคิดในแง่ บวกมาคนละ 5 ตัวอย่ าง แล้ วมานําเสนอและสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้ง
ต่ อไป
126

8. กิจกรรมเสนอแนะ
• นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับแนวทางการปฏิบตั ิในการยอมรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น โดยขอรับ
ความรู้จากผูป้ กครอง หรื อจากแหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต ห้องสมุดของโรงเรี ยน ฯลฯ เพื่อ
เสริ มสร้างการเรี ยนรู ้และนําไปปรับใช้ในชีวิตประจําวัน

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพตัวอย่างบทสนทนาของสมาชิกในครอบครัวที่ขดั แย้งกันอันเนื่องจากจากการไม่ยอมรับฟังความคิดเห็น
ซึ่งกันและกัน
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายในหัวข้อที่ 3.2 พฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พงึ ประสงค์ในการ
แก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน (ต่อ) ในหัวข้อย่อยที่ 1. การยอมรับฟังความคิดเห็นของ
ผูอ้ ื่น
3. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ
4. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
5. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
6. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
127

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 18
การแก้ ไขปัญหาความขัดแย้ ง (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 2: ชีวติ และครอบครัว เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 ชีวติ และครอบครัว
เรื่อง พฤติกรรมทีพ่ งึ ประสงค์ และไม่ พงึ ประสงค์ ในการแก้ ไขปัญหาความขัดแย้ งในครอบครัว
และกลุ่มเพือ่ น (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
การคิดในแง่บวก เป็ นอีกวิธีหนึ่งในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน โดยควรคิด
ในแต่เรื่ องที่ดี มีความสุ ข มีรอยยิม้ อยูเ่ สมอ และไม่หนีปัญหา ซึ่งนอกจากจะช่วยลดความขัดแย้งแล้ว ยังเป็ นแรงเสริ ม
สนับสนุนให้เกิดการยอมรับตัวเราจากคนรอบข้างมากขึ้นด้วย

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
• ระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์และพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและ
กลุ่มเพื่อน (พ 2.1 ป. 5/3)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายลักษณะพฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและ
กลุ่มเพื่อนอย่างถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของการมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและ
กลุ่มเพื่อน (A)
3. แสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในการแก้ไขปั ญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อนได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับพฤติกรรมที่ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง แผนที่ความคิด*
ในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน ใน
ประเด็นเกี่ยวกับการคิดในแง่บวก
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
128

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง (ต่อ)
3.2 พฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน (ต่อ)
2. การคิดในแง่บวก

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ ภาษาอังกฤษหรือภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
เกีย่ วกับการคิดในแง่ บวก
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนเรี ยงความจากประสบการณ์
ของตนเองเกี่ยวกับการคิดในแง่บวก
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิด ออกแบบและตกแต่งสมุดภาพ แผ่นพับ
ใบความรู้เกี่ยวกับการคิดในแง่บวก
ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพการ์ตูนจําลองสถานการณ์ตวั อย่างการคิดในแง่บวก
วิทยาศาสตร์  ศึกษา สังเกต และวิเคราะห์เกี่ยวกับผลดีของการคิดในแง่บวก

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
129

2. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอตัวอย่ างการคิดในแง่ บวก 5 ตัวอย่ าง ที่เขียนมา ตามที่ได้ รับ
มอบหมายให้ ศึกษาค้ นคว้ามาล่วงหน้ าในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการรายงานผล
ของนักเรียน และให้ ความรู้ที่ถูกต้ องเพิม่ เติม
3. ให้นกั เรี ยนดูภาพเปรี ยบเทียบระหว่างภาพที่ 1 แสดงลักษณะของบุคคลที่กาํ ลังคิดวิตกกังวลในเรื่ องต่าง ๆ
ของชีวติ กับภาพที่ 2 แสดงลักษณะของบุคคลที่กาํ ลังยิม้ อย่างความสุ ขกับการปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ใน
ชีวิตประจําวันหรื อนัง่ ใช้ความคิดด้วยสี หน้าที่ยมิ้ แย้ม มีความสุข ที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกัน
เกี่ยวกับความรู้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู้ของนักเรี ยน และตอบคําถามร่ วมกัน
ตัวอย่างเช่น
– นักเรี ยนชอบอยูก่ บั เพื่อนที่มีลกั ษณะเหมือนในภาพที่ 1 หรื อภาพที่ 2 เพราะเหตุใด (ภาพที่ 2 เพราะเป็ น
บุคคลที่คิดในแง่ บวก เมื่ออยู่ร่วมด้ วยแล้ วจะเกิดความสบายใจ มีความสุข ไม่ มีความเครี ยด หรื อความ
กดดัน หรื อความวิตกกังวลกับสิ่ งต่ าง ๆ ในชี วิตมากจนเกินไป และยังส่ งผลทําให้ เรามีความคิ ดในแง่
บวกตามไปด้ วย)
– บุคคลในภาพใดมีแนวโน้มที่จะก่อให้เกิดความขัดแย้งได้มากที่สุด (ภาพที่ 1 เพราะบุคคลในภาพเป็ น
คนที่ มองโลกในแง่ ร้ายหรื อคิดในแง่ ลบ ส่ งผลให้ มกั แสดงพฤติกรรมที่สร้ างความกดดันและขัดแย้ งกับ
ผู้อื่นได้ มากกว่ าบุคคลในภาพที่ 1 ซึ่ งดําเนินชี วิตอย่ างมีความสุข)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
4. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 3.2 พฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ใน
การแก้ไขปั ญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน (ต่อ) ในหัวข้อย่อยที่ 2. การคิดในแง่บวก เพื่อ
เป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง การแก้ไขปั ญหาความขัดแย้ง ในหัวข้อที่ 3.2 พฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึง
ประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน (ต่อ) ในหัวข้อย่อยที่ 2. การคิดใน
แง่บวก โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิบาย
2. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิม่ เติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนอาสาสมัครผลัดเปลี่ยนกันออกมาเขียนข้อดีของการคิดในแง่บวก หน้าชั้นเรี ยน คนละ 1 ข้อ
2. ครู แสดงความคิดเห็นต่อการปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรี ยน พร้อมทั้งเฉลยคําตอบและให้ความรู้ที่ถูกต้อง
เพิ่มเติม แล้วให้เพื่อน ๆ ในชั้นเรี ยนปรบมือให้เพื่อนที่ออกมาปฏิบตั ิกิจกรรม
3. นักเรี ยนเขียนเรี ยงความเรื่ อง การคิดในแง่บวกของฉัน โดยมีความยาว 1 หน้ากระดาษ และใช้เวลาตามที่
ครู กาํ หนด
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนอาสาสมัคร 3–4 คนออกมานําเสนอผลการเขียนเรี ยงความหน้าชั้นเรี ยน
2. ครู แสดงความคิดเห็นต่อการปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรี ยน พร้อมทั้งให้คาํ แนะนําเพิ่มเติม
130

ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้


1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
2. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าในเรื่อง การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง ในหัวข้ อที่ 3.2 พฤติกรรมที่พงึ
ประสงค์ และไม่พงึ ประสงค์ ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพือ่ น (ต่อ) ในหัวข้ อ
ย่ อยที่ 3. การสื่ อสารทางบวกทั้งวาจาและการแสดงออกทางกาย และหัวข้ อย่ อยที่ 4. การยึดหลักศีลธรรม
และคุณธรรมประจําใจ ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือ
จากแหล่งการเรียนรู้ ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า และให้ แต่ ละคน
เขียนตัวอย่างการคิดในแง่ บวกมาคนละ 5 ตัวอย่ าง แล้ วมาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป
3. มอบหมายให้ นักเรียนแบ่ งกลุ่มออกเป็ น 4 กลุ่ม แต่ ละกลุ่มระดมสมองร่ วมกันวางแผนจัดเตรียมกิจกรรม
การโต้ วาทีตามประเด็นดังต่ อไปนี้
– กลุ่มที่ 1 พบกับกลุ่มที่ 2 โต้ วาทีเรื่อง การพูดโกหกเพือ่ ให้ ผ้ อู ื่นสบายใจเป็ นสิ่งที่ถูกต้ องหรื อไม่ ถูกต้ อง
– กลุ่มที่ 3 พบกับกลุ่มที่ 4 โต้ วาทีเรื่อง “โลกสวย” หรื อ “โลกแคบ” แบบไหนแย่ กว่ ากัน
แล้วนํามาจัดกิจกรรมในการเรียนครั้งต่อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
• นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิม่ เติมเกี่ยวกับแนวทางการปฏิบตั ิในการคิดในแง่บวก โดยขอรับความรู้จาก
ผูป้ กครอง หรื อจากแหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต ห้องสมุดของโรงเรี ยน ฯลฯ เพื่อเสริ มสร้างการ
เรี ยนรู ้และนําไปปรับใช้ในชีวิตประจําวัน

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพเปรี ยบเทียบระหว่างภาพที่ 1 แสดงบุคคลที่กาํ ลังคิดวิตกกังวลในเรื่ องต่าง ๆ ของชีวิตกับภาพที่ 2 แสดง
บุคคลที่กาํ ลังยิม้ อย่างความสุขกับการปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจําวันหรื อนัง่ ใช้ความคิดด้วยสี หน้าที่
ยิม้ แย้ม มีความสุข
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายในหัวข้อที่ 3.2 พฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ในการ
แก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน (ต่อ) ในหัวข้อย่อยที่ 2. การคิดในแง่บวก
3. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ
4. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
5. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
6. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
131

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
132

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 19
การแก้ ไขปัญหาความขัดแย้ ง (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 2: ชีวติ และครอบครัว เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 ชีวติ และครอบครัว
เรื่อง พฤติกรรมทีพ่ งึ ประสงค์ และไม่ พงึ ประสงค์ ในการแก้ ไขปัญหาความขัดแย้ งในครอบครัว
และกลุ่มเพือ่ น (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
การสื่ อสารทางบวกทั้งวาจาและการแสดงออกทางกาย เช่น พูดจาอย่างสุ ภาพอ่อนโยน พูดแต่เรื่ องที่ดี รู ้จกั
กล่าวคําขอโทษ และการยึดหลักศีลธรรมและคุณธรรมประจําใจ พอใจในสิ่ งที่ตนมี สิ่ งเหล่านี้ถือเป็ นอีกวิธีหนึ่งที่
จะช่วยลดความขัดแย้งได้เป็ นอย่างดี

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
• ระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์และพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและ
กลุ่มเพื่อน (พ 2.1 ป. 5/3)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายลักษณะพฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและ
กลุ่มเพื่อนอย่างถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของการมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและ
กลุ่มเพื่อน (A)
3. แสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในการแก้ไขปั ญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อนได้ (P)
133

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับพฤติกรรมที่ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง แผนที่ความคิด*
ในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน ใน
ประเด็นเกี่ยวกับการสื่ อสาร
ทางบวกทั้งวาจาและการแสดงออก
ทางกาย และการยึดหลักศีลธรรม
และคุณธรรมประจําใจ
• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ขึ้นอยูก่ บั ดุลยพินิจของครู
ปฏิบตั ิกิจกรรม ฝึ กทักษะการ ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
สื่ อสาร เพื่อนผสานความสัมพันธ์ พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ป. 5*
• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ปฏิบตั ิกิจกรรม แยกแยะสิ่ งดี ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
เพื่อหลีกหนีความขัดแย้ ง พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ป. 5*
• ตรวจสอบความถูกต้องของการ • แบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการ • ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ทดสอบประจําหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 2 เรี ยนรู้ที่ 2 ชีวิตและครอบครัว**
ชีวิตและครอบครัว
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
**ดูรายละเอียดในสื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
134

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง (ต่อ)
3.2 พฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน (ต่อ)
3. การสื่ อสารทางบวกทั้งวาจาและการแสดงออกทางกาย
4. การยึดหลักศีลธรรมและคุณธรรมประจําใจ

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ ภาษาอังกฤษหรือภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
เกี่ยวกับการสื่ อสารทางบวกทั้งวาจาและการแสดงออกทางกาย และการยึดหลัก
ศีลธรรมและคุณธรรมประจําใจ
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนสรุ ปเกี่ยวกับการสื่ อสาร
ทางบวกทั้งวาจาและการแสดงออกทางกาย และการยึดหลักศีลธรรมและ
คุณธรรมประจําใจ
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิด ออกแบบและตกแต่งสมุดภาพ แผ่นพับ
ใบความรู ้ เกี่ ย วกับ แนวทางการสื่ อ สารทางบวกทั้งวาจาและการแสดงออก
ทางกาย และการยึดหลักศีลธรรมและคุณธรรมประจําใจ
ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพการ์ตูนจําลองสถานการณ์ตวั อย่างในการสื่ อสารทางบวก
ทั้งวาจาและการแสดงออกทางกาย และการยึดหลักศี ลธรรมและคุ ณ ธรรม
ประจําใจ
วิทยาศาสตร์  ศึกษา สังเกต และวิเคราะห์เกี่ยวกับผลดีของการสื่ อสารทางบวกทั้งวาจาและ
การแสดงออกทางกาย และการยึดหลักศีลธรรมและคุณธรรมประจําใจ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
135

2. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมารายงานผลการศึกษาค้ นคว้ าในเรื่อง การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ ง


ในหัวข้ อที่ 3.2 พฤติกรรมที่พงึ ประสงค์ และไม่พงึ ประสงค์ ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัว
และกลุ่มเพือ่ น (ต่ อ) ในหัวข้ อย่ อยที่ 3. การสื่ อสารทางบวกทั้งวาจา และหัวข้ อย่ อยที่ 4. การแสดงออกทาง
กาย และการยึดหลักศีลธรรมและคุณธรรมประจําใจ ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดย
ครูแสดงความคิดเห็นต่ อการรายงานผลของนักเรียน และให้ ความรู้ที่ถูกต้ องเพิม่ เติม
3. ให้ นักเรียนอาสาสมัครของแต่ละกลุ่มทั้ง 4 กลุ่ม ออกมารายงานผลการวางแผนจัดเตรียมกิจกรรมการ
โต้ วาที ตามที่ได้ รับมอบหมายให้ ในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการรายงานผล
ของนักเรียน และให้ คาํ แนะนําเพิม่ เติม
4. ให้นกั เรี ยนดูภาพเปรี ยบเทียบระหว่างภาพที่ 1 บทสนทนาของบุคคลที่แสดงการสื่ อสารทางบวก และภาพ
ที่ 2 บทสนทนาของบุคคลที่แสดงการสื่ อสารทางลบ ที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู ้ใน
เรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู้ของนักเรี ยน และตอบคําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– นักเรี ยนรู ้สึกอย่างไรกับบทสนทนาของบุคคลในภาพที่ 1 และภาพที่ 2 (ภาพที่ 1 รู้ สึกว่ าเป็ นการสื่ อสาร
ที่ดี ทําให้ อีกฝ่ ายหนึ่งพอใจ ไม่ ก่อให้ เกิดความขัดแย้ ง ส่ วนภาพที่ 2 รู้ สึกว่ าเป็ นการสื่ อสารโดยใช้ คาํ พูด
ที่ไม่ เหมาะสม อาจทําให้ อีกฝ่ ายหนึ่งไม่ พอใจ เสี ยใจ หรื อก่ อให้ เกิดความขัดแย้ งได้ )
– นักเรี ยนจะเลือกสนทนากับเพื่อนตามลักษณะของบทสนทนาในภาพที่ 1 หรื อภาพที่ 2 เพราะเหตุใด
(ภาพที่ 1 เพราะเป็ นการสื่ อสารทางบวก ใช้ วาจาที่ สุภาพ ทําให้ เกิดความรู้ สึกที่ ดีต่อกัน ไม่ ก่อให้ เกิด
ความบาดหมางหรื อขัดแย้ งกันได้ )
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 3.2 พฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ใน
การแก้ไขปั ญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน (ต่อ) ในหัวข้อย่อยที่ 3. การสื่ อสารทางบวก
ทั้งวาจา และหัวข้อย่อยที่ 4. การแสดงออกทางกาย และการยึดหลักศีลธรรมและคุณธรรมประจําใจ
เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู้เรื่ อง การแก้ไขปั ญหาความขัดแย้ง ในหัวข้อที่ 3.2 พฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์
ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน (ต่อ) ในหัวข้อย่อยที่ 3. การสื่ อสารทางบวก
ทั้งวาจาและการแสดงออกทางกาย และหัวข้อย่อยที่ 4. การยึดหลักศีลธรรมและคุณธรรมประจําใจ โดย
ใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
2. ครูให้ ความรู้ เสริมอาเซียนเกีย่ วกับคําพูดลงท้ ายอย่างสุ ภาพของชายและหญิงในภาษาของประเทศเพือ่ น
บ้ านในกลุ่มสมาชิกอาเซียน ซึ่งคนไทยจะใช้ คาํ ว่า “ครับ/ค่ ะ” ส่ วนภาษาของประเทศเพือ่ นบ้ านจะใช้
คําพูด เช่ น คนกัมพูชาใช้ คาํ ว่ า “บาท/จ๋ า” คนเมียนมาใช้ คาํ ว่า “คัมย่า/ฉิ่น” และคนลาวใช้ คาํ ว่ า “เจ้ า” หรือ
“โดย” โดยไม่ มีการแบ่ งแยกชายหรือหญิง
3. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
136

ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกไปปฏิบตั ิกิจกรรมการโต้วาทีตามที่ได้วางแผนการจัดกิจกรรมใน
การเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาหน้าชั้นเรี ยน โดยกลุ่มที่ 1 พบกับกลุ่มที่ 2 และกลุ่มที่ 3 พบกับกลุ่มที่ 4 โดยใช้เวลา
ตามที่ครู กาํ หนด
2. เพื่อน ๆ ในกลุ่มที่ยงั ไม่ได้ออกไปปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยนตั้งใจฟังการโต้วาทีของเพื่อน แล้วจด
ใจความสําคัญที่เป็ นประโยชน์ลงในสมุดบันทึก
3. ครู แสดงความคิดเห็นต่อการปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรี ยน แล้วสรุ ปผลการปฏิบตั ิกิจกรรม พร้อมทั้งให้
ความรู้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรม ฝึ กทักษะการสื่ อสาร เพื่อผสานความสัมพันธ์ และกิจกรรม แยกแยะสิ่ งดี เพื่อ
หลีกหนี ความขัดแย้ ง ดังรายละเอียดในใบกิจกรรมที่ครู แจกให้หรื อในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน
สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
2. สุ่ มนักเรี ยนประมาณ 2–3 คนออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยนโดยครู คอยเสนอแนะและ
ให้ความรู ้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
3. ครู เฉลยคําตอบที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนทราบและให้นกั เรี ยนร่ วมกันตรวจสอบแก้ไขคําตอบให้ถูกต้อง
4. ครู แจกแบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 2 ชีวิตและครอบครัว ให้นกั เรี ยนทําเพื่อตรวจสอบ
ความรู้ความเข้าใจหลังการเรี ยนรู ้ โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
5. ครู เฉลยคําตอบที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนทราบและให้ความรู ้เพิ่มเติมเพื่อเสริ มสร้างการเรี ยนรู้ให้กบั นักเรี ยน
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
2. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาทบทวนความรู้จากที่ได้ ศึกษาในหน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 และหน่ วยการเรียนรู้ที่ 2
ที่ผ่านมา เพือ่ เตรียมตัวเข้ ารับการทดสอบกลางปี รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษา ป. 5 ในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
• นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับแนวทางการปฏิบตั ิในการสื่ อสารทางบวกทั้งวาจาและการแสดงออก
ทางบวก ตลอดจนการยึดหลักศีลธรรมและคุณธรรมประจําใจ โดยขอรับความรู้จากผูป้ กครอง หรื อจากแหล่ง
การเรี ยนรู้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต ห้องสมุดของโรงเรี ยน ฯลฯ เพื่อเสริ มสร้างการเรี ยนรู ้และนําไปปรับใช้ใน
ชีวิตประจําวัน
137

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. เปรี ยบเทียบระหว่างภาพที่ 1 บทสนทนาของบุคคลที่แสดงการสื่ อสารทางบวก และภาพที่ 2 บทสนทนาของ
บุคคลที่แสดงการสื่ อสารทางลบ
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายในหัวข้อที่ 3.2 พฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ในการ
แก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน (ต่อ) ในหัวข้อย่อยที่ 3. การสื่ อสารทางบวกทั้งวาจาและ
การแสดงออกทางกาย และหัวข้อย่อยที่ 4. การยึดหลักศีลธรรมและคุณธรรมประจําใจ
3. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ
4. แบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 2 ชีวติ และครอบครัว
5. ใบกิจกรรม เรื่ อง ฝึ กทักษะการสื่ อสาร เพื่อผสานความสัมพันธ์
6. ใบกิจกรรม เรื่ อง แยกแยะสิ่ งดี เพื่อหลีกหนี ความขัดแย้ ง
7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
138

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 20
การทดสอบกลางปี รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษา ป. 5
สาระการเรียนรู้ ที่ 2: ชีวติ และครอบครัว เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 ชีวติ และครอบครัว
เรื่อง การทดสอบกลางปี รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษา ป. 5

1. สาระสํ าคัญ
การทดสอบกลางปี เป็ นกระบวนการวัดและประเมินผลเพื่อสรุ ปผลการเรี ยนรู้ (Summative Assessment )
ที่นกั เรี ยนได้รับจากองค์ความรู ้ที่กาํ หนดไว้ในขอบข่ายของตัวชี้วดั ในโครงสร้างของหลักสูตร และการสอบกลางปี
ยังเป็ นการนําข้อมูลของค่าคะแนนที่ได้นาํ มาใช้เป็ นส่วนสําคัญในการวัดและประเมินผลเพื่อตัดสิ นผลการเรี ยนหรื อ
ให้ระดับผลการเรี ยน ตลอดจนให้การรับรองความรู้ความสามารถของผูเ้ รี ยนว่าผ่านรายวิชาหรื อไม่ ควรได้รับการ
เลื่อนชั้นหรื อไม่ หรื อสามารถจบหลักสูตรหรื อไม่
การศึกษารายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษา เป็ นอีกหนึ่งรายวิชาที่นาํ กระบวนการวัดและประเมินผลมาใช้เพื่อ
สรุ ปผลการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน โดยใช้แบบทดสอบทั้งในข้อคําถามที่เน้นกระบวนการการคิดวิเคราะห์เพื่อตัดสิ นข้อ
คําตอบ ในรู ปแบบอัตนัยและรู ปแบบปรนัย ครอบคลุมองค์ความรู้และตัวชี้วดั ชั้นปี ในหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 1 และ2

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. อธิ บายความสําคัญของระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายที่มีผลต่อสุขภาพการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการ (พ
1.1 ป. 5/1)
2. อธิ บายวิธีดูแลระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายให้ทาํ งานตามปกติ (พ 1.1 ป. 5/2)
3. อธิบายการเปลี่ยนแปลงทางเพศและปฏิบตั ิตนได้เหมาะสม (พ 2.1 ป. 5/1)
4. อธิบายความสําคัญของการมีครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย (พ 2.1 ป. 5/2)
5. ระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน
(พ 2.1 ป. 5/3)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายเกี่ยวกับระเบียบและข้อตกลงในการทดสอบกลางปี รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษา ป. 5 ได้อย่างถูกต้อง
(K)
2. ระบุวธิ ี การทําแบบทดสอบกลางปี รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษา ป. 5 ได้ (P)
3. เข้าร่ วมกิจกรรมการเรี ยนรู ้กบั ผูอ้ ื่นด้วยความเต็มใจและกระตือรื อร้น (A)
139

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับความเข้าใจใน • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
เนื้อหาในหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 1 ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
และหน่วยการเรี ยนรู้ที่ 2 แผนที่ความคิด*
• ตรวจสอบความถูกต้องของ • แบบทดสอบกลางปี รายวิชา • ร้อยละ 80 ขึ้นไป
การทดสอบกลางปี รายวิชาพื้นฐาน พื้นฐาน สุ ขศึกษา ป. 5**
สุ ขศึกษา ป. 5
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
**ดูรายละเอียดในสื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้

6. แนวทางบูรณาการ

140

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
• ให้นักเรี ยนอาสาสมัคร 2–3 คน รายงานผลการศึกษาทบทวนความรู ้ในหน่วยการเรี ยนรู้ที่ 1 และหน่วยการ
เรี ยนรู้ที่ 2 เพื่อเตรี ยมตัวทดสอบกลางปี รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษา ป. 5 ที่ ได้มอบหมายในการเรี ยนครั้งที่
ผ่านมา
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู อธิ บายระเบียบและข้อตกลงในการทดสอบกลางปี รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษา ป. 5 ให้นกั เรี ยนได้เข้าใจ
และซักถามข้อสงสัย
2. ให้นกั เรี ยนทุกคนทําแบบทดสอบกลางปี รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษา ป. 5 ตามเวลาที่กาํ หนดให้
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• หลังจากที่นกั เรี ยนทําแบบทดสอบเสร็ จแล้ว ครู ให้นกั เรี ยนช่วยกันเฉลยคําตอบของแบบทดสอบกลางปี
รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษา ป. 5 ทีละข้อร่ วมกัน โดยครู อธิบายและชี้แนะคําตอบที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนทราบ
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• นักเรี ยนจดบันทึกความรู ้ที่ได้จากการเฉลยคําตอบของแบบทดสอบกลางปี ลงในสมุดบันทึก
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. ครูถามคําถามเชื่อมโยงสู่ บทเรียนต่ อไป เพือ่ ให้ นักเรียนไปค้ นหาคําตอบจากบทเรียนมาล่วงหน้ า ดังนี้
– นักเรียนคิดว่ าการเคลือ่ นไหวร่ างกายขณะปฏิบัตกิ จิ กรรมกีฬามีลกั ษณะแตกต่ างจากการเคลือ่ นไหว
ร่ างกายขณะปฏิบัตกิ จิ กรรมในชีวติ ประจําวันหรือไม่ อย่างไร
2. ครูมอบหมายให้ นักเรียนไปศึกษาเนือ้ หาในหน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง การ
เคลือ่ นไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์ การกีฬา ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษา
และพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ หรือ
ขอรับความรู้จากผู้ปกครอง มาล่วงหน้ า แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรทบทวนความรู้ความเข้าใจที่ได้ศึกษาผ่านมาอย่างสมํ่าเสมอ เพื่อเสริ มสร้างความรู้ความเข้าใจใน
เรื่ องดังกล่าวให้ดียงิ่ ขึ้น

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. แบบทดสอบกลางปี รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษา ป. 5
2. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
3. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
141

4. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด


5. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
142

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลื่อนไหว เวลา 40 ชั่วโมง


ผังมโนทัศน์ เป้าหมายการเรียนรู้และขอบข่ายภาระงาน
ความรู้
1. การเคลื่อนไหวร่ างกายตามหลัก
วิทยาศาสตร์การกีฬา
2. เกมนําไปสู่ กีฬาและกิจกรรม
ทักษะ/กระบวนการ แบบผลัด คุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม
1. การสื่ อสารเพื่ออธิบายลักษณะและตัวอย่าง 3. กีฬา และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ของการเคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง 4. กิจกรรมนันทนาการ 1. มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ในการร่ วมปฏิบตั ิกิจกรรมการ
การใช้แรง และการรักษาความสมดุล เรี ยนรู ้ในเรื่ อง การเคลื่อนไหวร่ างกายตามหลัก
ตลอดจนทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรม วิทยาศาสตร์การกีฬา การเล่นเกมนําไปสู่กีฬา
ทางกายและการเล่นกีฬาตามหลัก และกิจกรรมแบบผลัด กีฬา และกิจกรรม
วิทยาศาสตร์การกีฬา นันทนาการกับผูอ้ ื่น
2. การสื่ อสารเพื่ออธิบายความหมาย เพิม่ พูนทักษะ 2. มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู ้เกี่ยวกับการปฏิบตั ิกิจกรรมการ
ความสําคัญ และตัวอย่างของการเล่นเกม การเคลือ่ นไหว เคลื่อนไหวร่ างกาย การใช้ทกั ษะกลไกในการ
นําไปสู่ กีฬา กิจกรรมแบบผลัด กีฬาไทย กีฬา ปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและการเล่นกีฬา การ
สากล และกิจกรรมนันทนาการ เล่นเกมนําไปสู่ กีฬาและกิจกรรมแบบผลัด การ
3. สามารถใช้ทกั ษะกระบวนการปฏิบตั ิ เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากล และการปฏิบตั ิ
กิจกรรมทางกายอย่างมีรูปแบบหรื อเล่นเกมที่ กิจกรรมนันทนาการเพิม่ เติมด้วยความสมัคร
ใช้ทกั ษะของการเคลื่อนไหวร่ างกายโดยการ ใจและสมํ่าเสมอ
รับแรง การใช้แรง และการรักษาความสมดุล 3. เล่นกีฬาที่ชื่นชอบอย่างสมํ่าเสมอและมีน้ าํ ใจ
ตามหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา นักกีฬา
4. สามารถใช้ทกั ษะกระบวนการในการปฏิบตั ิ 4. มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ในการปฏิบตั ิตามกฎกติกาการ
กิจกรรมทางกายและการออกกําลังกายด้วย เล่นเกมนําไปสู่ กีฬาและกิจกรรมแบบผลัด
การเล่นเกมนําไปสู่ กีฬา กิจกรรมแบบผลัด กีฬาไทย และกีฬาสากล ตามชนิดกีฬาที่เล่น
กีฬาไทย กีฬาสากล และกิจกรรมนันทนาการ 5. ใส่ ใจส่ วนรวมในการเข้าร่ วมปฏิบตั ิกิจกรรม
5. การนําความรู ้และรู ปแบบการฝึ กปฏิบตั ิการ การเคลื่อนไหวร่ างกาย เกมนําไปสู่กีฬาและ
เคลื่อนไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์การ กิจกรรมแบบผลัด กีฬาไทย กีฬาสากล และ
กีฬา การเล่นเกมนําไปสู่กีฬาและกิจกรรม กิจกรรมนันทนาการ
แบบผลัด และการปฏิบตั ิกิจกรรมนันทนาการ 6. ตระหนักถึงคุณค่าและความสําคัญในการ
มาใช้สร้างเสริ มทักษะการเคลื่อนไหวใน ปฏิบตั ิกิจกรรมการเคลื่อนไหวร่ างกาย การเล่น
ชีวิตประจําวัน เกมนําไปสู่ กีฬาและกิจกรรมแบบผลัด กีฬา
6. การใช้เทคโนโลยีในการศึกษาค้นคว้า ไทย กีฬาสากล และกิจกรรมนันทนาการ
143

ภาระงาน/ชิ้นงาน
1. ศึกษาลักษณะและตัวอย่างการเคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และการรักษาความสมดุล ตามหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา และ
ทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและการเล่นกีฬา
2. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ วิทยาศาสตร์ การเคลื่อนไหว ดูซิไหนใช้ แรง รั บแรง และรั กษาความสมดุล
3. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ประสบการณ์ การเคลื่อนไหว สร้ างความประทับใจออกมาเป็ นภาพ
4. ศึกษาความหมาย ประโยชน์ และตัวอย่างของเกมนําไปสู่ กีฬาและกิจกรรมแบบผลัด
5. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ฝึ กทักษะเกมนําไปสู่กีฬา และค้ นหาทีมไหนเก่ งที่สุด
6. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ เล็งเห็นคุณค่ า เฮฮาไปกับเกม
7. ศึกษาความหมายและการแบ่งประเภทของกรี ฑาและกรี ฑาประเภทลู่ ลักษณะการวิ่งระยะสั้น และทักษะการวิ่งระยะสั้น
8. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ขั้นตอนการวิ่ง หากรู้ จริ งเรี ยงลําดับมา
9. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ วิธีการเข้ าเส้ นชัย ทําอย่างไรช่ วยบอกที
10. ศึกษาลักษณะการเล่นฟุตบอล ทักษะในการเล่น สนามที่ใช้เล่น ตําแหน่งผูเ้ ล่น และหน้าที่ในการเล่นกีฬาฟุตบอล
11. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ตําแหน่ งการยืนของผู้เล่ นฟุตบอล ครู เคยสอนลองมาวาดภาพกัน
12. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ แข่ งฟุตบอลกันดีไหม ปรั บนิสัยให้ รักสามัคคี
13. ศึกษาลักษณะกีฬามวยไทย ขั้นตอนการฝึ กการไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทย การฝึ กทักษะพื้นฐาน และกติกาการแข่งขันกีฬามวยไทย
14. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ข้ อไหนถูก ข้ อไหนผิด ช่ วยกันคิ ดให้ ถ้วนถี่
15. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ฝึ กฝนท่ าไหว้ ครู และเรี ยนรู้ รํามวยไทย
16. ศึกษาลักษณะการเล่นตะกร้อวง การฝึ กทักษะพื้นฐาน และกติกาการแข่งขันตะกร้อวง
17. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ ทักษะตะกร้ อวงที่ฉันชื่ นชอบ ลองเขียนตอบพร้ อมบอกวิธีฝึก
18. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ วาดภาพระบายสี ตาํ แหน่ งตะกร้ อวง ใครไม่ งงลองวาดดูที
19. ศึกษาความหมายและความสําคัญของกิจกรรมนันทนาการ หลักการเลือกกิจกรรมนันทนาการ และประเภทและตัวอย่างของกิจกรรม
นันทนาการ
20. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ พิจารณาภาพเหล่ านี ้ กิจกรรมไหนที่ เป็ นกิจกรรมนันทนาการ
21. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ระดมสมองเขียนแผนที่ ความคิ ด ลักษณะเด่ นของกิจกรรมนันทนาการ
22. โครงงานการสํารวจเรื่ อง ความชื่นชอบในการเล่นกีฬาของนักเรี ยนในชั้นเรี ยน (ชั้นเรี ยนของนักเรี ยน)
23. โครงงานการสํารวจข้อมูลเรื่ อง ประเภทของกิจรรมนันทนาการที่นกั เรี ยนในชั้นเรี ยนเลือกปฏิบตั ิ (ชั้นเรี ยนของนักเรี ยน)
24. โครงงานการค้นคว้าข้อมูลเรื่ อง การเพิ่มประสิ ทธิภาพในการเล่นกีฬาโดยใช้หลักวิทยาศาสตร์การกีฬา
25. โครงงานการค้นคว้าข้อมูลเรื่ อง กีฬาพื้นบ้านของไทย
144

กรอบแนวคิดผังการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพือ่ เน้ นสู่ ผลลัพธ์ ปลายทาง


(Backward Design Template)
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว

ขั้นตอนที่ 1 ผลลัพธ์ ปลายทางที่ต้องการให้ เกิดขึน้ กับนักเรียน (Design Results)


ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. จัดรู ปแบบการเคลื่อนไหวแบบผสมผสานและควบคุมตนเองเมื่อใช้ทกั ษะการเคลื่อนไหวตามแบบที่กาํ หนด
(พ 3.1 ป. 5/1)
2. เล่มเกมนําไปสู่กีฬาที่เลือกและกิจกรรมการเคลื่อนไหวแบบผลัด (พ 3.1 ป. 5/2)
3. ควบคุมการเคลื่อนไหวในเรื่ องการรับแรง การใช้แรง และความสมดุล (พ 3.1ป. 5/3)
4. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
5. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
6. อธิ บายหลักการและเข้าร่ วมกิจกรรมนันทนาการอย่างน้อย 1 กิจกรรม (พ 3.1 ป. 5/6)
7. ออกกําลังกายอย่างมีรูปแบบ เล่นเกมที่ใช้ทกั ษะการคิดและตัดสิ นใจ (พ 3.2 ป. 5/1)
8. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในวิธีปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
9. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นเกมกีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
10. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิ ผอู้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)
ความเข้ าใจที่คงทนของนักเรียน คําถามสํ าคัญที่กระตุ้นให้ นักเรียนเกิดความเข้ าใจที่
 เมื่อศึกษาจบหน่วยการเรี ยนรู ้น้ ีนกั เรี ยนจะเข้ าใจ ว่า… คงทน
1. การเคลื่อนไหวร่ างกายของคนเรานอกจากจะต้อง – การเคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง
อาศัยการทํางานร่ วมกันของระบบ ต่าง ๆ ในร่ างกาย และการรักษาความสมดุลตามหลักวิทยาศาสตร์
แล้ว การนําหลักการทางวิทยาศาสตร์การกีฬาใน การกีฬามีลกั ษณะและความสําคัญอย่างไร
เรื่ อง หลักการรับแรง การใช้แรง และการรักษาความ – มีกิจกรรมใดบ้างที่ใช้การเคลื่อนไหวร่ างกายโดย
สมดุลมาประยุกต์ใช้ร่วมด้วย จะเป็ นการช่วยเพิ่ม การรับแรง การใช้แรง และการรักษาความสมดุล
ประสิ ทธิภาพในการเคลื่อนไหวและก่อให้เกิดความ – การเล่นเกมนําไปสู่กีฬามีความสําคัญต่อทักษะ
ปลอดภัยขณะปฏิบตั ิกิจกรรม และพัฒนาการทางการกีฬาของผูเ้ ล่นหรื อไม่
2. ทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่น อย่างไร
กีฬาที่สาํ คัญ ได้แก่ ความคล่องแคล่วว่องไว การทรง – กิจกรรมแบบผลัดมีความหมายและความสําคัญ
ตัว การประสานสัมพันธ์ พลังกล้ามเนื้อ เวลา อย่างไร
ปฏิกิริยาตอบสนอง และความเร็ ว ซึ่งทักษะกลไก – กรี ฑามีกี่ประเภทอะไรบ้าง
เหล่านี้เราสามารถฝึ กฝนและพัฒนาให้ดีข้ ึนได้ – การวิ่งระยะสั้นจัดเป็ นกีฬากรี ฑาประเภทใด
145

เพื่อให้สามารถนําไปใช้ในการปฏิบตั ิกิจกรรมทาง – การเล่นกีฬาฟุตบอลมีประโยชน์อย่างไรต่อตัวผู ้


กายได้อย่างถูกต้องและมีประสิ ทธิภาพ โดยมี เล่น
ตัวอย่างแบบฝึ กทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรม – มวยไทยเป็ นกีฬาที่ให้ผลดีหรื อผลเสี ยต่อตัวผูเ้ ล่น
ทางกายและเล่นกีฬา ได้แก่ การวิ่งซิกแซ็ก การวิง่ อย่างไร
เปลี่ยนตําแหน่ง การตีลูก เทเบิลเทนนิส – ตะกร้อวงแตกต่างจากการเล่นตะกร้อชนิดอื่น
กระทบผนัง การกระโดดข้ามช่องสี่ เหลี่ยมขาเดียว อย่างไร
การเคลื่อนที่ตามทิศทางของบอล และการวิง่ เร็ ว 50 – กิจกรรมนันทนาการมีความสําคัญหรื อไม่
เมตร อย่างไร
3. เกม เป็ นกิจกรรมทางพลศึกษา มุ่งส่งเสริ มพัฒนา – นักเรี ยนจะมีหลักในเลือกปฏิบตั ิกิจกรรม
ทักษะการเคลื่อนไหวและทักษะเบื้องต้นไปสู่กีฬา นันทนาการได้อย่างไร
ส่งเสริ มให้รู้จกั การเล่นหรื อทํางานเป็ นหมู่คณะ และ
มีความเคารพกติกาและกฎเกณฑ์ที่ต้ งั ไว้
4. เกมนําไปสู่กีฬา หมายถึง กิจกรรมการเล่นเป็ นกลุ่ม
หรื อบุคคลที่ตอ้ งใช้ทกั ษะต่างๆสูงขึ้น เพื่อเป็ นการ
นําทักษะดังกล่าวไปสู่การเล่นกีฬาดัดแปลงกิจกรรม
การเล่น ให้มีกฎกติกาข้อบังคับให้นอ้ ยลงสามารถ
เล่นได้ง่ายและเหมาะสมกับวัย
5. กิจกรรมแบบผลัด เป็ นกิจกรรมที่เล่นตั้งแต่ 2 กลุ่ม
ขึ้นไป โดยแต่ละกลุ่มจะมีผเู ้ ล่นไม่นอ้ ยกว่า 2 คน ฝึ ก
ให้รู้จกั การเล่นเป็ นหมู่คณะ มีความสมัครสมาน
สามัคคี การรับผิดชอบต่อตนเองและผูอ้ ื่น รู ้จกั การ
แก้ปัญหาร่ วมกัน ตลอดจนฝึ กการคาดคะเนและการ
ตัดสิ นใจ นอกจากนั้นยังฝึ กให้เป็ นผูท้ ี่มีระเบียบวินยั
ในตนเอง เคารพกติกาและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ
6. กิจกรรมกีฬา เป็ นการละเล่นเพื่อความสนุกสนาน
เพลิดเพลิน เพื่อความแข็งแรงของร่ างกาย และช่วย
ผ่อนคลายความเครี ยดจากการทํางานหรื อการเรี ยน
7. กรี ฑา เป็ นกีฬาประเภทหนึ่ง ที่มีความเกี่ยวข้องกับ
การดํารงชีวิตประจําวันของเราเพราะการเคลื่อนไหว
ในอิริยาบถต่าง ๆ เป็ นทักษะพื้นฐานของกรี ฑา
ทั้งสิ้น
8. ฟุตบอล เป็ นกีฬายอดนิยมเป็ นที่รู้จกั และเล่นกันอย่าง
แพร่ หลายทัว่ โลก เป็ นกีฬาที่สนุกสนาน ช่วยฝึ กฝน
ให้ผเู ้ ล่นมีไหวพริ บสร้างเสริ มสมรรถภาพทาง
146

ร่ างกายให้แข็งแรงและสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ
9. มวยไทย เป็ นกีฬาไทยที่ใช้อวัยวะทุกส่วนของ
ร่ างกายเข้าต่อสูป้ ้ องกันตัวในระยะประชิด ซึ่งต้อง
ใช้ฝีมือในการชกเข้าประชันกัน ใช้สติปัญญาในการ
แก้ปัญหาเฉพาะหน้า และต้องมีการตัดสิ นใจในการ
เลือกใช้กลวิธีแก้หรื อแม่ไม้ที่เหมาะสม
10. ตะกร้ อวง เป็ นกีฬาไทยที่สร้างความสนุกสนาน
เพลิดเพลินให้กบั ผูเ้ ล่น โดยการที่ผเู ้ ล่นยืนเป็ น
วงกลม ช่วยกันเตะลูกตะกร้อเลี้ยงรับส่งประคอง
ไม่ให้ลกู ตะกร้อตกพื้น
10. กิจกรรมนันทนาการ เป็ นกิจกรรมยามว่างที่บุคคล
เลือกทําด้วยความสมัครใจ ที่นาํ มาซึ่งความพึงพอใจ
ไม่เป็ นอาชีพ แต่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและ
สังคมไม่ขดั ต่อศีลธรรมประเพณี กฎหมาย ไม่สร้าง
ความแตกแยกในสังคม ไม่ก่อความเสี ยหายหรื อ
สร้างความเดือดร้อนแก่ส่วนรวม เป็ นที่ยอมรับของ
สังคม
147

ความรู้ของนักเรียนที่จะนําไปสู่ ความเข้ าใจที่ ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่จะนําไปสู่ ความ


คงทน เข้ าใจที่คงทน
 เมื่อศึกษาจบหน่วยการเรี ยนรู ้น้ ีนกั เรี ยนจะรู้  เมื่อศึกษาจบหน่วยการเรี ยนรู้นกั เรี ยนควรมีทักษะ
ว่า… และสามารถที่จะ…
1. คําที่ควรรู้ ได้แก่ คําว่า ความสมดุล ทักษะ 1. วิเคราะห์และอธิ บายความหมาย ลักษณะ
กลไก ทักษะขั้นพื้นฐาน กรี ฑา ตะคริ ว ความสําคัญ และยกตัวอย่างรู ปแบบของการ
2. ความสมดุล คือ ความสามารถในการ เคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง
ควบคุมร่ างกายหรื อสามารถทรงตัวใน และการรักษาความสมดุลตามหลักวิทยาศาสตร์
สภาวะอยูน่ ิ่งและเคลื่อนที่ การกีฬา การฝึ กทักษะกลไกในการปฏิบตั ิ
3. ทักษะกลไก คือ ความสามารถในการ กิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา การเล่นเกม
เคลื่อนไหวร่ างกายในรู ปแบบต่าง ๆ อย่าง นําไปสู่กีฬา กิจกรรมแบบผลัด กีฬาไทย กีฬา
มีประสิ ทธิภาพของบุคคล สากล และกิจกรรมนันทนาการ
4. ทักษะขัน้ พืน้ ฐาน คือ ความชํานาญในลําดับ 2. เข้าร่ วมฝึ กและแสดงทักษะการควบคุมการ
พื้นฐาน เคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง
5. กรี ฑา คือ กรี ฑาประเภทหนึ่ง แบ่งเป็ น และการรักษาความสมดุลตามหลักวิทยาศาสตร์
ประเภทลู่และประเภทลาน กรี ฑาประเภท การกีฬา การฝึ กทักษะกลไกในการปฏิบตั ิ
ลู่ ได้แก่ การวิ่งระยะสั้น การวิ่งระยะกลาง กิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา การเล่นเกม
การวิ่งระยะไกล กีฬาประเภทลาน ได้แก่ นําไปสู่กีฬาและกิจกรรมแบบผลัด การเล่นกีฬา
การขว้างจักร การพุง่ แหลน การทุ่มนํ้าหนัก ไทยและกีฬาสากล และการปฏิบตั ิกิจกรรม
การกระโดดสูง การกระโดดไกล ฯลฯ นันทนาการได้อย่างถูกต้อง สง่างาม และมีความ
6. ตะคริ ว คือ การหดตัวของกล้ามเนื้อและค้าง ปลอดภัย
อยู่ ทําให้เกิดอาการเจ็บปวด 3. ร่ วมฝึ ก/หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมโดยตนเองและเป็ น
หมู่คณะประกอบการเรี ยนรู ้ในเรื่ อง การ
เคลื่อนไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์การ
กีฬา การเล่นเกมนําไปสู่กีฬาและกิจกรรมแบบ
ผลัด กีฬา และกิจกรรมนันทนาการด้วย
พฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม
4. ปฏิบตั ิกิจกรรมกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา
โดยใช้ทกั ษะกลไกในการเคลื่อนไหวร่ างกายได้
อย่างถูกต้องและมีประสิ ทธิภาพ
5. ปฏิบตั ิกิจกรรมการออกกําลังกายอย่างมีรูปแบบ
เล่นเกมที่ใช้ทกั ษะการคิดและตัดสิ นใจ
6. ปฏิบตั ิตามกฎกติกาการเล่นเกม กีฬาไทย และ
กีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น
148

7. ปฏิบตั ิตามสิ ทธิของตนเองไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น


และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลใน
การเล่นเกมกีฬาไทยและกีฬาสากล
ขั้นที่ 2 หลักฐานในการประเมินเพือ่ แสดงว่ านักเรียนมีผลการเรียนรู้ตามที่กาํ หนด
(Assessment Evidence)
1. ภาระงานที่นักเรียนปฏิบัติ
– ศึ กษาลักษณะและตัวอย่างการเคลื่ อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และการรั กษาความ
สมดุล ตามหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา และทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและการเล่นกีฬา
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ วิทยาศาสตร์ การเคลื่อนไหว ดูซิไหนใช้ แรง รั บแรง และรั กษาความสมดุล
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ ประสบการณ์ การเคลื่อนไหว สร้ างความประทับใจออกมาเป็ นภาพ
– ศึกษาความหมาย ประโยชน์ และตัวอย่างของเกมนําไปสู่กีฬาและกิจกรรมแบบผลัด
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ ฝึ กทักษะเกมนําไปสู่กีฬา และค้ นหาที มไหนเก่ งที่สุด
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ เล็งเห็นคุณค่ า เฮฮาไปกับเกม
– ศึกษาความหมายและการแบ่งประเภทของกรี ฑาและกรี ฑาประเภทลู่ ลักษณะการวิ่งระยะสั้น และ
ทักษะการวิง่ ระยะสั้น
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ ขัน้ ตอนการวิ่ง หากรู้ จริ งเรี ยงลําดับมา
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ วิธีการเข้ าเส้ นชัย ทําอย่ างไรช่ วยบอกที
– ศึกษาลักษณะการเล่นฟุตบอล ทักษะในการเล่น สนามที่ใช้เล่น ตําแหน่งผูเ้ ล่น และหน้าที่ในการเล่น
กีฬาฟุตบอล
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ ตําแหน่ งการยืนของผู้เล่ นฟุตบอล ครู เคยสอนลองมาวาดภาพกัน
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ แข่ งฟุตบอลกันดีไหม ปรั บนิสัยให้ รักสามัคคี
– ศึกษาลักษณะกีฬามวยไทย ขั้นตอนการฝึ กการไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทย การฝึ กทักษะพื้นฐาน และ
กติกาการแข่งขันกีฬามวยไทย
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ ข้ อไหนถูก ข้ อไหนผิด ช่ วยกันคิดให้ ถ้วนถี่
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ ฝึ กฝนท่ าไหว้ ครู และเรี ยนรู้ รํามวยไทย
– ศึกษาลักษณะการเล่นตะกร้อวง การฝึ กทักษะพื้นฐาน และกติกาการแข่งขันตะกร้อวง
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ ทักษะตะกร้ อวงที่ฉันชื่ นชอบ ลองเขียนตอบพร้ อมบอกวิธีฝึก
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ วาดภาพระบายสี ตาํ แหน่ งตะกร้ อวง ใครไม่ งงลองวาดดูที
– ศึกษาความหมายและความสําคัญของกิจกรรมนันทนาการ หลักการเลือกกิจกรรมนันทนาการ และ
ประเภทและตัวอย่างของกิจกรรมนันทนาการ
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ พิจารณาภาพเหล่ านี ้ กิจกรรมไหนที่เป็ นกิจกรรมนันทนาการ
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ ระดมสมองเขียนแผนที่ความคิด ลักษณะเด่ นของกิจกรรมนันทนาการ
– โครงงานการสํารวจเรื่ อ ง ความชื่ น ชอบในการเล่ น กี ฬ าของนัก เรี ย นในชั้น เรี ย น (ชั้น เรี ย นของ
นักเรี ยน)
149

– โครงงานการสํารวจข้อมูลเรื่ อง ประเภทของกิจรรมนันทนาการที่นกั เรี ยนในชั้นเรี ยนเลือกปฏิบตั ิ (ชั้น


เรี ยนของนักเรี ยน)
– โครงงานการค้นคว้าข้อมูลเรื่ อง การเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการเล่นกี ฬาโดยใช้หลักวิทยาศาสตร์ การ
กีฬา
– โครงงานการค้นคว้าข้อมูลเรื่ อง กีฬาพื้นบ้านของไทย
2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
• วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ • เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
– การสนทนาซักถามโดยครู – แบบบันทึกการสนทนา
– การวัดและประเมินผลด้านความรู ้ – แบบทดสอบก่อนเรี ยน
– แบบทดสอบหลังเรี ยน
– แบบทดสอบประจําหน่วย
– การวัดและประเมินผลด้านคุณธรรมจริ ยธรรม – การวัดและประเมินผลด้านคุณธรรม จริ ยธรรม
ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
3. สิ่ งที่มุ่งประเมิน
– ความสามารถในการอธิ บาย ชี้แจง การแปลความและตีความ การประยุกต์ ดัดแปลง และนําไปใช้
การมีมุมมองที่หลากหลาย การให้ความใส่ใจในความรู้สึกของผูอ้ ื่น และการรู ้จกั ตนเอง
– ความสามารถในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่ให้ความสําคัญทั้งทางด้านร่ างกาย จิตใจ สังคม และ
จิตวิญญาณ
– ความสามารถในการวางแผนการปฏิบตั ิ แสดงความคิดเห็นวิเคราะห์ เพื่อพัฒนาความรู ้ ความเข้าใจ
ทัศนคติ และทักษะที่ช่วยส่งเสริ มการปฏิบตั ิเกี่ยวกับสุ ขภาพ
ขั้นที่ 3 การวางแผนการจัดการเรียนรู้
• หน่วยการเรี ยนรู้ที่ 3 เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว จํานวน 40 ชัว่ โมง
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 21: ปฐมนิเทศและข้อตกลงในการเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน พลศึกษา ป. 5
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 22: การเคลื่อนไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 23: การเคลื่อนไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 24: การเคลื่อนไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 25: การเคลื่อนไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 26: เกมนําไปสู่กีฬาและกิจกรรมแบบผลัด
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 27: กีฬา: กรี ฑาประเภทลู่
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 28: กีฬา: กรี ฑาประเภทลู่ (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 29: กีฬา: กรี ฑาประเภทลู่ (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 30: กีฬา: ฟุตบอล
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 31: กีฬา: ฟุตบอล (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 32: กีฬา: ฟุตบอล (ต่อ)
150

– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 33: กีฬา: ฟุตบอล (ต่อ)


– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 34: กีฬา: ฟุตบอล (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 35: กีฬา: ฟุตบอล (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 36: กีฬา: ฟุตบอล (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 37: กีฬา: ฟุตบอล (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 38: กีฬา: ฟุตบอล (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 39: กีฬา: ฟุตบอล (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 40: การทดสอบกลางปี รายวิชาพื้นฐาน พลศึกษา ป. 5
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 41: กีฬา: มวยไทย
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 42: กีฬา: มวยไทย (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 43: กีฬา: มวยไทย (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 44: กีฬา: มวยไทย (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 45: กีฬา: มวยไทย (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 46: กีฬา: มวยไทย (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 47: กีฬา: มวยไทย (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 48: กีฬา: มวยไทย (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 49: กีฬา: มวยไทย (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 50: กีฬา: ตะกร้อวง
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 51: กีฬา: ตะกร้อวง (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 52: กีฬา: ตะกร้อวง (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 53: กีฬา: ตะกร้อวง (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 54: กีฬา: ตะกร้อวง (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 55: กีฬา: ตะกร้อวง (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 56: กีฬา: ตะกร้อวง (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 57: กีฬา: ตะกร้อวง (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 58: กิจกรรมนันทนาการ
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 59: กิจกรรมนันทนาการ (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 60: การทดสอบปลายปี รายวิชาพื้นฐาน พลศึกษา ป. 5
151

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 21
ปฐมนิเทศและข้ อตกลงในการเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน พลศึกษา ป. 5
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว
เรื่อง ปฐมนิเทศและข้ อตกลงในการเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน พลศึกษา ป. 5

1. สาระสํ าคัญ
การจัดการเรี ยนรู ้ตามแนวทางการปฏิ รูปการศึ กษาของไทย ปั จจุบนั ยึดแนวคิดของการพัฒนาที่ มุ่งเน้น
ผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ ดังนั้นการสร้างความเข้าใจในขอบข่ายของเรื่ องที่นกั เรี ยนจะได้เรี ยนรู ้ รายละเอียดในการเรี ยนรู้
เป้ าหมายของการเรี ยนรู้ วิธีการเรี ยนรู ้ ตลอดจนการวัดและประเมินผลเพื่อตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ ของการเรี ยนรู้
ดังกล่าวให้นกั เรี ยนได้รับรู ้ นอกจากจะช่วยให้นกั เรี ยนมีความเข้าใจพื้นฐานในแนวทางและขอบข่ายองค์ความรู้ที่
ได้ศึกษาแล้ว ยังจะช่วยให้การจัดการจัดการเรี ยนรู ้ตามแนวทางในการปฏิรูปการศึกษาของไทยบรรลุเป้ าหมายตาม
แนวทางที่กาํ หนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่ได้วางไว้
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษาและพลศึกษา
ในระดับประถมศึกษาได้กาํ หนดตัวชี้วดั การเรี ยนรู ้เป็ นตัวชี้วดั ชั้นปี โดยแบ่งสาระการเรี ยนรู้ออกเป็ น 5 สาระและ 6
มาตรฐานการเรี ยนรู ้ ซึ่ งรายวิชาพื้นฐาน พลศึกษา ได้กาํ หนดองค์ความรู ้ไว้ในสาระและมาตรฐานการเรี ยนรู้ที่สาระ
ที่ 3 มาตรฐาน พ 3.1 และมาตรฐาน 3.2 หากนักเรี ยนมีความรู้และความเข้าใจในเรื่ องดังกล่าวอย่างชัดเจนจะช่วยให้
การเรี ยนรู ้และการเข้าร่ วมกิจกรรมของนักเรี ยนมีการพัฒนาและบรรลุไปสู่เป้ าหมาย

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายเกี่ยวกับข้อตกลงและแนวทางในการศึกษาวิชาพลศึกษาอย่างถูกต้องได้ (K)
2. ระบุวธิ ี และแหล่งความรู้ที่สนับสนุนการเรี ยนรู ้ในวิชาพลศึกษาอย่างถูกต้องได้ (P)
3. อธิ บายและระบุเกณฑ์การตัดสิ นผลการเรี ยนในวิชาพลศึกษาอย่างถูกต้องได้ (K, P)
4. เข้าร่ วมกิจกรรมการเรี ยนรู ้กบั ผูอ้ ื่นด้วยความเต็มใจและกระตือรื อร้น (A)
152

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามความรู้และแนวคิดเกี่ยวกับ • แบบประเมินผลการนําเสนข้อมูล/ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
– ขอบข่ายเนื้อหาในสาระการ การอภิปราย/การเขียนแผนที่ 2 ขึ้นไป
เรี ยนรู ้วชิ าพลศึกษา ความคิด*
– เจตคติที่มีต่อการศึกษาในสาระ
การเรี ยนรู ้วชิ าพลศึกษา
– ข้อตกลงในการเข้าร่ วม
กิจกรรมการเรี ยนรู ้และการ
ปฏิบตั ิกิจกรรม
– แนวทางการสื บค้นความรู ้ที่
เกี่ยวข้องกับวิชาพลศึกษา
• ตรวจสอบความถูกต้องของการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ปฏิบตั ิกิจกรรม ใบงานเรื่ อง หน่วยการเรี ยนรู ้
– ใบงานเรื่ อง หน่วยการเรี ยนรู ้ กลุ่มสาระการเรี ยนรู้สุขศึกษาและ
กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษา พลศึกษา*/**
และพลศึกษา
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
*/**ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู หรื อในสื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์
วัฒนาพานิช จํากัด

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
153

5. สาระการเรียนรู้
 การปฐมนิเทศและข้อตกลงในการเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน พลศึกษา ป. 5
– ข้อตกลงในการเรี ยน
– สาระและมาตรฐานการเรี ยนรู้ รายวิชาพื้นฐาน พลศึ กษา ในกลุ่มสาระการเรี ยนรู้สุขศึ กษาและพลศึ กษา
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
– การจัดแบ่งหน่ วยการเรี ยนรู ้การวัดและประเมิ นผล ตลอดจนเกณฑ์การตัดสิ นผลการเรี ยนในกลุ่มสาระ
การเรี ยนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชาพื้นฐาน พลศึกษา

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาต่างประเทศ  ฟัง อ่าน และเขียนคําศัพท์ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับวิชาพลศึกษา
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็นและเขียนสรุ ปความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทาง
ในการศึกษาในรายวิชาพลศึกษา
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนผังหรื อโปสเตอร์ภาพเรื่ อง สาระและมาตรฐานการ
เรี ยนรู้ รายวิชาพื้นฐาน พลศึกษา ในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษาและพลศึกษา
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นเตรียมก่อนนําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาทําความรู ้จกั กัน โดยครู แนะนําตัว แล้วให้นกั เรี ยนแต่ละคนแนะนําตัว โดยครู ใช้วิธี
เรี ยกชื่อเรี ยงตามกลุ่มตัวอักษร
2. ครูให้ นักเรียนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นในประเด็นคําถามที่กาํ หนด เพือ่ ตรวจสอบเจตคติและประสบการณ์
การเรียนรู้ของนักเรียนในวิชาพลศึกษาที่ผ่านมา เช่ น
– การเรียนวิชาพลศึกษามีผลดีต่อนักเรียนอย่างไร
– นักเรียนเคยศึกษาความรู้ในเรื่องใดบ้ างที่เกีย่ วข้ องกับวิชาพลศึกษา
– วิชาพลศึกษาระดับชั้นนีน้ ักเรียนจะเรียนรู้ในเรื่องใดบ้ าง
(ครูอาจใช้ คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้ )
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
• ให้นกั เรี ยนช่วยกันคิดประเด็นคําถามที่ เกี่ยวข้องกับการจัดการเรี ยนการสอนในวิชาพลศึกษาตามที่สนใจ
ตัวอย่างเช่น
– ข้อตกลงในการเรี ยน
– มารยาทในการปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ร่วมกับเพื่อน
– วิธีเรี ยนให้ประสบผลสําเร็ จ
154

– การวัดและประเมินผลตลอดจนเกณฑ์การตัดสิ นผลการเรี ยนมีแนวปฏิบตั ิอย่างไร


ฯลฯ
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู แจกใบความรู ้เรื่ อง สาระและมาตรฐานการเรี ยนรู ้ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษาและพลศึกษา
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และใบความรู ้เรื่ อง การจัดแบ่งหน่วยการ
เรี ยนรู ้ การวัดและประเมินผล ตลอดจนเกณฑ์การตัดสิ นผลการเรี ยนในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษาและ
พลศึกษาให้กบั นักเรี ยน โดยครู อธิบายและให้ความรู้เพิ่มเติม
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ โดยครู แนะนําแนวทางในการเขียนจดบันทึกลงสมุดบันทึกให้กบั
นักเรี ยน
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• ครู แจกใบงานเรื่ อง หน่วยการเรี ยนรู ้ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษาและพลศึกษา ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่ม
ร่ วมกันปฏิบตั ิกิจกรรมตามคําชี้แจงในใบงาน โดยใช้เวลาตามที่กาํ หนด
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• ครู ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมานําเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้เกี่ยวกับขอบข่ายเนื้อหาสาระที่จะได้ศึกษาในชั้นนี้และข้อตกลงและระเบียบ
ในการเข้าร่ วมกิจกรรมการเรี ยนรู ้ในวิชาพลศึกษา และความรู้ที่ได้รับจากการปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้
แล้วบันทึกความรู ้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
2. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาเนือ้ หาการเรียนรู้ในหน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว ใน
เรื่อง การเคลือ่ นไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์ การกีฬา ในหัวข้ อที่ 1.1 การเคลือ่ นไหวร่ างกายโดยการ
รับแรง การใช้ แรง และการรักษาความสมดุล ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษา
และพลศึกษา ป. 5 มาล่วงหน้ า เพือ่ กระตุ้นความสนใจในการเรียนรู้และเตรียมความพร้ อมในการเรียน
ครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรศึกษาและปฏิบตั ิกิจกรรมที่ได้รับมอบหมายมาล่วงหน้า เพื่อประกอบการศึกษาในการเรี ยนครั้ง
ต่อไป

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ใบความรู ้ที่ 1 เรื่ อง สาระและมาตรฐานการเรี ยนรู้ กลุ่มสาระการเรี ยนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
2. ใบงานเรื่ อง หน่วยการเรี ยนรู้ กลุ่มสาระการเรี ยนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
155

3. ใบความรู ้ที่ 2 เรื่ อง การจัดแบ่งหน่วยการเรี ยนรู ้และการวัดประเมินผล ตลอดจนเกณฑ์การตัดสิ นผลการเรี ยน


ในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษาและพลศึกษา
4. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
5. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
6. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
156

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 22
การเคลือ่ นไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์ การกีฬา
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว
เรื่อง การเคลือ่ นไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้ แรง และการรักษาความสมดุล

1. สาระสํ าคัญ
การเคลื่อนไหวร่ างกายของเราต้องอาศัยการทํางานร่ วมกันของระบบในร่ างกายที่สาํ คัญ 3 ระบบ ประกอบด้วย
ระบบประสาท ระบบกระดูก และระบบกล้ามเนื้อ การเคลื่อนไหวร่ างกายในการปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ นอกจาก
อาศัยการทํางานของระบบของร่ างกายทั้ง 3 ระบบ ตามธรรมชาติแล้วหากผูเ้ คลื่อนไหวมีความรู้ความเข้าใจในเรื่ อง
หลักการรับแรง การใช้แรง และการรักษาความสมดุลในขณะเคลื่อนไหว แล้วจะช่วยให้การเคลื่อนไหวมี
ประสิ ทธิภาพมากยิง่ ขึ้น

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. จัดรู ปแบบการเคลื่อนไหวแบบผสมผสานและควบคุมตนเองเมื่อใช้ทกั ษะการเคลื่อนไหวตามแบบที่กาํ หนด
(พ 3.1 ป. 5/1)
2. ควบคุมการเคลื่อนไหวในเรื่ องการรับแรง การใช้แรง และความสมดุล (พ 3.1 ป. 5/3)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายความหมายและรู ปแบบของการเคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และการรักษาความ
สมดุลอย่างถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของการเคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และการรักษาความสมดุล (A)
3. แสดงทักษะการปฏิบตั ิในการเคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และการรักษาความสมดุลอย่าง
ถูกต้องได้ (P)
157

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ทดสอบความรู้พ้นื ฐานในหน่วย • แบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการ –
การเรี ยนรู้ที่ 3 เพิ่มพูนทักษะการ เรี ยนรู้ที่ 3 เพิ่มพูนทักษะการ
เคลื่อนไหว เคลื่อนไหว*/**
• ซักถามเกี่ยวกับ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
– การเคลื่อนไหวร่ างกายตามหลัก ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
วิทยาศาสตร์การกีฬา แผนที่ความคิด*
– การเคลื่อนไหวร่ างกาย โดยการ
รับแรง การใช้แรงและความ
สมดุล
• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ปฏิบตั ิกิจกรรม วิทยาศาสตร์ การ ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
เคลื่อนไหว ดูซิภาพไหนใช้ แรง พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
รั บแรง และรั กษาความสมดุล ป. 5
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
158

5. สาระการเรียนรู้
1. การเคลื่อนไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา
1.1 การเคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และการรักษาความสมดุล

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ ภาษาอังกฤษหรือภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
เกี่ ย วกั บ การเคลื่ อ นไหวร่ า งกายโดยการรั บ แรง การใช้ แรง และการรั ก ษา
ความสมดุล
คณิ ตศาสตร์  บวก–ลบจํานวนสมาชิกและอุปกรณ์ที่นาํ มาประกอบการปฏิบตั ิกิจกรรมการ
เคลื่อนไหวร่ างกายในรู ปแบบต่าง ๆ
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนสรุ ปความเข้าใจในเรื่ อง การ
เคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และการรักษาความสมดุล
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิดหรื อสมุดภาพรวบรวมรู ปแบบการ
เคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และการรักษาความสมดุล
ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพกิจกรรมการเคลื่ อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้
แรง และการรักษาความสมดุล เพื่อประกอบการจัดทําสมุดภาพ
วิทยาศาสตร์  ศึกษา สื บค้น และบันทึกข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ในเรื่ อง วิทยาศาสตร์
การกีฬา เกี่ ยวกับการเคลื่ อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และการ
รักษาความสมดุล

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นเตรียมก่อนนําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนทําความรู้จกั และสร้างความคุน้ เคยระหว่างกัน
2. ครู แนะนําเกี่ยวกับระเบียบและมารยาทในการปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ร่วมกับผูอ้ ื่นให้นกั เรี ยนทราบ
3. ครู แจกแบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 3 เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว ให้นกั เรี ยนเพื่อ
ตรวจสอบความรู ้ความเข้าใจพื้นฐาน โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
4. ครู เฉลยคําตอบที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนทราบและระบุเชื่อมโยงไปสู่เนื้อหาที่นกั เรี ยนจะได้เรี ยนรู้ในหน่วย
การเรี ยนรู้ที่ 3 เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู นาํ นักเรี ยนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) เพื่อเตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม ด้วยการปฏิบตั ิท่า
ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกาย โดยใช้เวลา 5–10 นาที ตัวอย่างเช่น
– ประสานมือ เหยียดแขนตึงเหนือศีรษะ เขย่งปลายเท้า ค้างไว้ นับ 1–10 ปฏิบตั ิ 10 ครั้ง
– บิดลําตัวซ้ายและขวา 10 ครั้ง
159

– ยืนกางเท้า เข่าตึง ก้มเอามือแตะปลายเท้า สลับซ้ายและขวา 10 ครั้ง


– วิ่งเหยาะ ๆ ระยะทาง 500 เมตร
– กระโดดตบเหนือศีรษะ 10 ครั้ง
– หมุนเหวี่ยงแขนซ้าย–ขวาสลับหน้าหลัง 10 ครั้ง
(ครู อาจใช้กิจกรรมทางกายหรื อท่ากายบริ หารอื่น ๆ ได้ตามความเหมาะสม)
2. ให้นกั เรี ยนร่ วมกันตอบคําถามในประเด็นต่อไปนี้
– เพราะเหตุใดก่อนออกกําลังกายหรื อเล่นกีฬาทุกครั้งเราจึงต้องทําการอบอุ่นร่ างกาย (เพื่อเตรี ยมให้
ระบบและอวัยวะส่ วนต่ าง ๆ ของร่ างกายพร้ อมที่จะปฏิบัติกิจกรรม นําไปสู่การมีสุขภาพที่สมบูรณ์
แข็งแรง ลดการบาดเจ็บที่อาจเกิดขึน้ )
– เพราะเหตุใดเราจึงต้องปฏิบตั ิท่าคลายกล้ามเนื้อหลังการออกกําลังกายหรื อเล่นกีฬา (เพื่อให้ กล้ ามเนือ้ มี
การยืดเหยียด ช่ วยให้ มีการฟื ้ นตัวสู่สภาพปกติได้ รวดเร็ วขึน้ )
3. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
4. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในเรื่อง การเคลือ่ นไหว
ร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์ การกีฬา ในหัวข้ อที่ 1.1 การเคลือ่ นไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้ แรง
และการรักษาความสมดุล มาล่วงหน้ า ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความ
คิดเห็นต่ อการปฏิบัตกิ จิ กรรมดังกล่าวของนักเรียน
5. สุ่ มนักเรียน 2–3 คนออกมาตอบคําถามเชื่อมโยงที่ให้ นักเรียนไปค้ นหาคําตอบจากการเรียนครั้งที่ผ่านมา
ในคําถามที่ว่า “นักเรียนคิดว่ าการเคลือ่ นไหวร่ างกายขณะปฏิบัตกิ จิ กรรมกีฬามีลกั ษณะแตกต่ างจากการ
เคลือ่ นไหวร่ างกายขณะปฏิบตั กิ จิ กรรมในชีวติ ประจําวันหรือไม่ อย่ างไร” (แตกต่ าง โดยกิจกรรมใน
ชีวิตประจําวันจะใช้ ทักษะการเคลื่อนไหวร่ างกายพืน้ ฐานทั่วไป เช่ น ยืน เดิน นั่ง นอน กระโดด หมุน เป็ น
ต้ น ในขณะที่กจิ กรรมกีฬานอกจากใช้ ทักษะการเคลื่อนไหวร่ างกายพืน้ ฐานแล้ ว ยังต้ องอาศัยทักษะเฉพาะ
ของชนิดกีฬานั้น ๆ และหลักการทางวิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ ใช้ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการเคลือ่ นไหว
และก่อให้ เกิดความปลอดภัยขณะปฏิบัติกจิ กรรม ส่ งเสริ มให้ เรามีสุขภาพพลานามัยที่ดีและสามารถ
เคลื่อนไหวร่ างกายหรื อเล่ นกีฬาได้ อย่ างมีความสุ ข) โดยครู ให้ ความรู้ที่ถูกต้องเพิม่ เติม
6. ให้นกั เรี ยนดูภาพแสดงลักษณะการเคลื่อนไหวร่ างกายของคนเราในลักษณะต่าง ๆ ที่ครู เตรี ยมมา แล้ว
สนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน และตอบคําถาม
ร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– ภาพที่นกั เรี ยนเห็นสื่ อถึงเรื่ องใด (ขึน้ อยู่กับรู ปภาพ)
– การเคลื่อนไหวร่ างกายของคนเรามีประโยชน์อย่างไร (ตัวอย่ างแนวคําตอบ: ช่ วยผ่ อนแรง)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
7. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 1.1 การเคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้
แรง และการรักษาความสมดุล เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของ
นักเรี ยน
160

ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง การเคลื่อนไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา ในหัวข้อที่ 1.1 การเคลื่อนไหว
ร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และการรักษาความสมดุล โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้อง
ให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
2. ครูแสดงบัตรคําที่เกีย่ วข้ องกับการเคลือ่ นไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้ แรง และการรักษาความสมดุล
ในภาษาอังกฤษให้ นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่านสะกดคําและอ่านออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่านตาม ตัวอย่างเช่ น คําว่ า
– วิทยาศาสตร์ การกีฬา ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Sport Science อ่านออกเสี ยงว่ า ซโพท ไซ-เอ็นซ
– การเคลือ่ นไหวร่ างกาย ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่า Body Movement อ่านออกเสี ยงว่ า บอด-อิ มูฝ-เม็นท
– แรง ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Force อ่านออกเสี ยงว่ า โฟซ
– ความสมดุล ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่า Balance อ่านออกเสี ยงว่ า แบล-แอ็นซ
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศสมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
3. ให้นกั เรี ยนร่ วมกันยกตัวอย่างการเคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และการรักษาสมดุลที่
นักเรี ยนเคยปฏิบตั ิมาในชีวิตประจําวัน เช่น การกลิ้งตัวม้วนหน้าเมื่อหกล้มในขณะออกกําลังกายหรื อเล่น
กีฬา เพื่อป้ องกันและลดการบาดเจ็บ
4. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. ครู นาํ บัตรคําแสดงข้อความเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวร่ างกายในลักษณะต่าง ๆ ให้นกั เรี ยนดู แล้วให้ร่วมกัน
ระบุวา่ การเคลื่อนไหวร่ างกายดังกล่าวเป็ นการเคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การเคลื่อนไหวร่ างกาย
โดยการใช้แรง การเคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรักษาความสมดุล หรื อการเคลื่อนไหวร่ างกายแบบ
ผสมผสาน แล้วเขียนลงในสมุดบันทึก โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด ตัวอย่างบัตรคําแสดงข้อความ
เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวร่ างกายในลักษณะต่าง ๆ เช่น

เตะบอลส่งให้เพื่อนร่ วมทีม การเลี้ยงลูกบอลด้วยมือ

เดินบนคานทรงตัว รับลูกหยอดในการเล่นแบดมินตัน

ทุ่มลูกบอลเข้าเล่นฟุตบอล เสิ ร์ฟลูกวอลเลย์บอล

ม้วนหน้าขางอ กระโดดยิงประตูบาสเกตบอล

2. ครู สุ่มนักเรี ยน 2–3 คนออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน โดยครู คอยเสนอแนะและให้


ความรู้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
3. ครู เฉลยผลการปฏิบตั ิกิจกรรมและให้ความรู ้ที่เป็ นประโยชน์เพิ่มเติม
161

ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรม วิทยาศาสตร์ การเคลื่อนไหว ดูซิภาพไหนใช้ แรง รั บแรง และรั กษาความสมดุล
ดังรายละเอียดในใบกิจกรรมที่ครู แจกให้หรื อในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ป. 5 โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
2. ครู สุ่มนักเรี ยนประมาณ 2–3 คนออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยนโดยครู คอยเสนอแนะ
และให้ความรู้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
3. ครู เฉลยคําตอบที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนทราบและให้นกั เรี ยนร่ วมกันตรวจสอบแก้ไขคําตอบให้ถูกต้อง
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้ าในเรื่อง การเคลือ่ นไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์ การกีฬา ใน
หัวข้ อที่ 1.2 ตัวอย่ างการเคลือ่ นไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้ แรง และการรักษาความสมดุล ในหัวข้ อ
ย่ อยที่ 1. การรับและส่ งลูกบอลด้ วยมือ และหัวข้ อย่ อยที่ 2. การเลีย้ งลูกบอลด้ วยมือ ดังรายละเอียดใน
หนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ ต่าง ๆ เช่ น
อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า และจดบันทึกข้อคําถามที่สงสั ยหรือสนใจอย่ าง
น้ อย 2 ถึง 3 ประเด็นลงในสมุด เพือ่ ใช้ เป็ นร่ องรอยและหลักฐานในการศึกษา แล้ วนํามาสนทนาร่ วมกันใน
การเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมในเรื่ อง การเคลื่อนไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา ในหัวข้อที่ 1.2
ตัวอย่างการเคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และการรักษาความสมดุล จากแหล่งการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ
เช่น อินเทอร์เน็ต หรื อห้องสมุดของโรงเรี ยน เพื่อเสริ มสร้างการเรี ยนรู้และสามารถนําความรู ้ดงั กล่าวไปปรับ
ใช้ในชีวิตประจําวันได้

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. แบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลื่อนไหว
2. ภาพแสดงลักษณะการเคลื่อนไหวร่ างกายของคนเราในลักษณะต่าง ๆ
3. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายเรื่ อง การเคลื่อนไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา ในหัวข้อ
ที่ 1.1 การเคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และการรักษาความสมดุล
4. บัตรคําที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และการรักษาความสมดุล ในภาษาอังกฤษ
5. บัตรคําแสดงข้อความเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวร่ างกายในลักษณะต่าง ๆ
162

6. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
7. ใบกิจกรรม เรื่ อง วิทยาศาสตร์ การเคลื่อนไหว ดูซิภาพไหนใช้ แรง รั บแรง และรั กษาความสมดุล
8. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
11. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
163

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 23
การเคลือ่ นไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์ การกีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว
เรื่อง ตัวอย่ างกิจกรรมทีเ่ คลือ่ นไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้ แรง และการรักษาความสมดุล

1. สาระสํ าคัญ
การเคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และการรักษาความสมดุลมีตวั อย่างรู ปแบบกิจกรรมที่
นักเรี ยนควรได้เรี ยนรู้และฝึ กปฏิบตั ิ ตัวอย่างเช่น การรับและส่ งลูกบอล การเลี้ยงลูกบอลด้วยมือ การกระโดดยิง
ประตู และกิจกรรมยืดหยุน่ ขั้นพื้นฐาน ซึ่งในที่น้ ีจะกล่าวถึงการรับและส่งลูกบอล และการเลี้ยงลูกบอลด้วยมือ
การรับและส่งลูกบอลเป็ นกิจกรรมการเคลื่อนไหวร่ างกายแบบผสมผสานระหว่างการวิ่ง การโยน การ
บังคับสิ่ งของขณะเคลื่อนที่ไปข้างหน้า และเป็ นการใช้ทกั ษะการรับแรง การใช้แรง และการรักษาความสมดุลของ
ร่ างกายในการรับ การส่ง และการเคลื่อนไหวไปข้างหน้า
การเลี้ยงลูกบอลด้วยมือเป็ นการเคลื่อนไหวร่ างกายแบบผสมผสานระหว่างการวิ่ง การบังคับสิ่ งของขณะ
เคลื่อนที่ไปข้างหน้า และเป็ นการใช้ทกั ษะการรับแรง การใช้แรง และการรักษาความสมดุลของร่ างกายเพื่อควบคุม
แรงในการบังคับทิศทางของลูกบอล และการเคลื่อนไหวไปยังทิศทางต่าง ๆ

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. จัดรู ปแบบการเคลื่อนไหวแบบผสมผสาน และควบคุมตนเอง เมื่อใช้ทกั ษะการเคลื่อนไหวตามแบบที่กาํ หนด
(พ 3.1 ป. 5/1)
2. ควบคุมการเคลื่อนไหวในเรื่ องการรับแรง การใช้แรง และความสมดุล (พ 3.1 ป. 5/3)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายตัวอย่างกิจกรรมที่เคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และการรักษาความสมดุลอย่าง
ถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของการเคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และการรักษาความสมดุล (A)
3. แสดงทักษะการปฏิบตั ิในการเคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และการรักษาความสมดุลอย่าง
ถูกต้องได้ (P)
164

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
– ตัวอย่างกิจกรรมกิจกรรมที่ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
เคลื่อนไหวร่ างกาย โดยการ แผนที่ความคิด*
รับแรง การใช้แรง และการรักษา
ความสมดุล
– กิจกรรมการรับและส่งลูกบอล
ด้วยมือและการเลี้ยงลูกบอลด้วย
มือ
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
1. การเคลื่อนไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา (ต่อ)
1.2 ตัวอย่างกิจกรรมที่เคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และความสมดุล
1. การรับและส่งลูกบอลด้วยมือ
2. การเลี้ยงลูกบอลด้วยมือ
165

6. แนวทางบูรณาการ
คณิ ตศาสตร์  นับจํานวนครั้งและบันทึกสถิติในการรับและส่งลูกบอลด้วยมือและในการ
เลี้ยงลูกบอลด้วยมือ
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็นหรื ออธิ บายขั้นตอนการปฏิบตั ิกิจกรรมในแบบฝึ ก
ปฏิบตั ิการรับและส่งลูกบอลด้วยมือและการเลี้ยงลูกบอลด้วยมือแก่ผอู้ ื่น
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิดสรุ ปหรื อสมุดภาพแสดงตัวอย่างกิจกรรม
ที่เคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และการรักษาความสมดุล
วิทยาศาสตร์  ทดลองปฏิบตั ิกิจกรรมการเคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และ
การรักษาความสมดุล ในการรับและส่ งลูกบอลด้วยมือและการเลี้ ยงลูกบอล
ด้วยมื อ พร้ อมทั้งสังเกตการทํางานของระบบต่ าง ๆ ในร่ างกายขณะปฏิ บ ตั ิ
และจดบันทึก

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอประเด็นคําถามเกีย่ วกับตัวอย่างกิจกรรมที่เคลือ่ นไหว
ร่ างกายโดยการรับแรง การใช้ แรง และการรักษาความสมดุล ในการรับและส่ งลูกบอลด้ วยมือ และการ
เลีย้ งลูกบอลด้ วยมือที่สงสั ยหรือสนใจ ตามที่ได้ รับมอบหมายให้ ศึกษาค้ นคว้ ามาล่วงหน้ าในการเรียนครั้ง
ที่ผ่านมา แล้วให้ เพือ่ น ๆ ช่ วยกันตอบคําถามดังกล่าวร่ วมกัน โดยครูคอยให้ ความรู้ที่ถูกต้องเพิม่ เติม
4. ให้นกั เรี ยนดูภาพการปฏิบตั ิกิจกรรมรับและส่งลูกบอลด้วยมือที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับ
ความรู้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู้ของนักเรี ยน และตอบคําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– นักเรี ยนจะปฏิบตั ิอย่างไรให้การรับลูกบอลเกิดความแม่นยํามากขึ้น (มีสมาธิ สายตาจดจ้ องอยู่ที่ลกู บอล
เตรี ยมพร้ อมเคลื่อนไหวมือและเท้ าเพื่อเข้ ารั บลูก หมัน่ ฝึ กฝนทักษะการรั บ–ส่ งลูกบอลอย่ างสมํา่ เสมอ
จนเกิดความชํานาญในการเคลื่อนที่และเกิดประสบการณ์ ในการตัดสิ นใจที่ แน่ นอนมากยิ่งขัน้ รวมถึง
หมัน่ สร้ างเสริ มสมรรถภาพทางด้ านความคล่ องแคล่ วว่ องไว และด้ านเวลาปฏิกิริยาตามสนองอยู่เสมอ)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 1.2 ตัวอย่างกิจกรรมที่เคลื่อนไหวร่ างกายโดยการ
รับแรง การใช้แรง และความสมดุล ในหัวข้อย่อยที่ 1. การรับและส่งลูกบอลด้วยมือ และหัวข้อย่อยที่ 2.
การเลี้ยงลูกบอลด้วยมือ เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
166

ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง การเคลื่อนไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา ในหัวข้อที่ 1.2 ตัวอย่างกิจกรรมที่
เคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และความสมดุล ในหัวข้อย่อยที่ 1. การรับและส่งลูกบอล
ด้วยมือ และหัวข้อย่อยที่ 2. การเลี้ยงลูกบอลด้วยมือ โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยน
ดูประกอบการอธิบาย
2. ให้นกั เรี ยนจับคู่กบั เพื่อน โดยยืนหันหน้าเข้าหากันเพื่อเตรี ยมปฏิบตั ิกิจกรรม
3. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมาสาธิตวิธีการรับและส่งลูกบอลด้วยมือ และการเลี้ยงลูกบอลด้วยมือร่ วมกับ
ครู แล้วให้นกั เรี ยนแต่ละคู่ฝึกปฏิบตั ิตาม
4. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนจับคู่กบั เพื่อน ร่ วมกันปฏิบตั ิกิจกรรมการรับและส่ งลูกบอลด้วยมือ ปฏิบตั ิซ้ าํ จนเกิดความชํานาญ
โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด โดยครู คอยดูแลการปฏิบตั ิอย่างใกล้ชิด พร้อมทั้งให้คาํ แนะนําเพิม่ เติมเพื่อให้
นักเรี ยนเกิดความมัน่ ใจในการปฏิบตั ิและสามารถปฏิบตั ิกิจกรรมได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
2. นักเรี ยนแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม ร่ วมกันฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมการเลี้ยงลูกบอลด้วยมือ โดยให้แต่ละกลุ่มเข้าแถว
ตอนเรี ยงหนึ่ง ยืนหันหน้าเข้าหากัน จากนั้นให้ฝ่ายใดฝ่ ายหนึ่งที่อยูห่ วั แถวเลี้ยงลูกบอลไปส่งให้คนที่อยู่
หัวแถวของอีกฝ่ ายหนึ่ง แล้วไปต่อแถวฝั่งตรงข้าม ปฏิบตั ิผลัดเปลี่ยนกันไปเรื่ อย ๆ โดยใช้เวลาตามที่ครู
กําหนด โดยครู คอยดูแลการปฏิบตั ิอย่างใกล้ชิด พร้อมทั้งให้คาํ แนะนําเพิ่มเติมเพื่อให้นกั เรี ยนเกิดความ
มัน่ ใจในการปฏิบตั ิและสามารถปฏิบตั ิกิจกรรมได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
3. ครู แสดงความคิดเห็นต่อการปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรี ยนและให้คาํ แนะนําเพิ่มเติม
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม สมาชิกในแต่ละกลุ่มจับคู่กนั ยืนแถวตอนเรี ยงเป็ นคู่ จากนั้นทั้งสองกลุ่ม
ร่ วมกันแข่งขันการรับและส่งลูกบอล โดยผูป้ ฏิบตั ิแต่ละคู่จะต้องรับและส่ งลูกบอลสลับกันไปมาพร้อม
ทั้งวิง่ ไปยังเส้นชัยที่ครู กาํ หนด โดยลูกบอลต้องไม่หล่นตกพื้น หากผูป้ ฏิบตั ิทาํ ลูกบอลตกพื้นต้องไป
จุดเริ่ มต้นแล้วรับและส่งลูกบอลใหม่ กลุ่มใดปฏิบตั ิจนครบทุกคู่ก่อนเป็ นฝ่ ายชนะ ให้เพื่อน ๆ ปรบมือ
แสดงความยินดี
2. ครู สุ่มนักเรี ยน 2–3 คนออกมาแสดงความรู้สึกต่อการปฏิบตั ิกิจกรรม แล้วครู ให้ความรู้ที่เป็ นประโยชน์แก่
นักเรี ยนเพิ่มเติม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
167

3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้ าในเรื่อง การเคลือ่ นไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์ การกีฬา ใน


หัวข้ อที่ 1.2 ตัวอย่ างกิจกรรมที่เคลือ่ นไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้ แรง และการรักษาความสมดุล
(ต่ อ) ในหัวข้ อย่อยที่ 3. การกระโดดยิงประตู และหัวข้ อย่อยที่ 4. กิจกรรมยืดหยุ่นขั้นพืน้ ฐาน ดัง
รายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ ต่าง ๆ
เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่ วงหน้ า และจดบันทึกข้ อคําถามที่สงสั ยหรือสนใจ
อย่ างน้ อย 2 ถึง 3 ประเด็นลงในสมุด เพือ่ ใช้ เป็ นร่ องรอยและหลักฐานในการศึกษา แล้วนํามาสนทนา
ร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมการรับและส่งลูกบอลด้วยมือ และการเลี้ยงลูกบอลด้วยมือ เพิ่มเติมนอกเวลา
เรี ยน หรื อใช้เวลาในกิจกรรมการลดเวลาเรี ยนเพิ่มเวลารู้ตามที่สถานศึกษากําหนด โดยปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง หรื อ
ปฏิบตั ิร่วมกับเพื่อน หรื อปฏิบตั ิร่วมกับสมาชิกในครอบครัว เพื่อส่งเสริ มให้เกิดความชํานาญในการปฏิบตั ิและ
เป็ นการออกกําลังกายเพื่อสร้างเสริ มสุ ขภาพร่ างกายให้มีพฒั นาการและการเจริ ญเติบโตที่สมบูรณ์แข็งแรง

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพแสดงการปฏิบตั ิกิจกรรมรับและส่งลูกบอลด้วยมือ
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายเรื่ อง การเคลื่อนไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา ในหัวข้อ
ที่ 1.2 ตัวอย่างกิจกรรมที่เคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และความสมดุล ในหัวข้อย่อยที่ 1. การ
รับและส่งลูกบอลด้วยมือ และหัวข้อย่อยที่ 2. การเลี้ยงลูกบอลด้วยมือ
3. ลูกบอล
4. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
5. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
6. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
168

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
169

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 24
การเคลือ่ นไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์ การกีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว
เรื่อง ตัวอย่ างกิจกรรมทีเ่ คลือ่ นไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้ แรง และการรักษาความสมดุล
(ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
การเคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และการรักษาความสมดุลมีตวั อย่างรู ปแบบกิจกรรมที่
นักเรี ยนควรได้เรี ยนรู้และฝึ กปฏิบตั ิ ตัวอย่างเช่น การรับและส่ งลูกบอล การเลี้ยงลูกบอลด้วยมือ การกระโดดยิง
ประตู และกิจกรรมยืดหยุน่ ขั้นพื้นฐาน ซึ่งในที่น้ ีจะกล่าวถึงการกระโดดยิงประตูและกิจกรรมยืดหยุน่ ขั้นพื้นฐาน
การกระโดดยิงประตูเป็ นการเคลื่อนไหวที่ตอ้ งใช้ทกั ษะการใช้แรงและการรักษาความสมดุลของร่ างกาย
ในการกระโดดยิงประตู หากเสี ยความสมดุลของร่ างกายในขณะกระโดดยิงประตูจะส่งผลให้ความแรง และทิศทาง
ของลูกบอลไม่เป็ นไปตามที่ได้กาํ หนดไว้
กิจกรรมยืดหยุน่ ขั้นพื้นฐานเป็ นกิจกรรมการเคลื่อนไหวร่ างกายแบบผสมผสานระหว่างการเคลื่อนไหว
โดยการรับแรง การใช้แรง และการรักษาความสมดุลของร่ างกาย ซึ่งประกอบไปด้วยทักษะเบื้องต้นเกี่ยวกับการ
ม้วนตัว การหมุนตัว การบิดตัว การทรงตัว การหยุน่ ตัว (การพับตัว) การพลิกตัว และการเหวี่ยงตัว ซึ่งกิจกรรม
เหล่านี้จะช่วยสร้างเสริ มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ ของร่ างกาย ทําให้ร่างกายเคลื่อนไหวด้วยความสง่า
งาม ปราดเปรี ยว และมีบุคลิกภาพที่ดี ระบบการทํางานในร่ างกายทํางานประสานกันได้ดี

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. จัดรู ปแบบการเคลื่อนไหวแบบผสมผสาน และควบคุมตนเอง เมื่อใช้ทกั ษะการเคลื่อนไหวตามแบบที่กาํ หนด
(พ 3.1 ป. 5/1)
2. ควบคุมการเคลื่อนไหวในเรื่ องการรับแรง การใช้แรง และความสมดุล (พ 3.1 ป. 5/3)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายตัวอย่างกิจกรรมที่เคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และการรักษาความสมดุลอย่าง
ถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของการเคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และการรักษาความสมดุล (A)
3. แสดงทักษะการปฏิบตั ิในการเคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และการรักษาความสมดุลอย่าง
ถูกต้องได้ (P)
170

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับตัวอย่างกิจกรรม • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
การกระโดดยิงประตูและกิจกรรม ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ยืดหยุน่ ขั้นพื้นฐาน แผนที่ความคิด*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
1. การเคลื่อนไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา (ต่อ)
1.2 ตัวอย่างกิจกรรมที่เคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และความสมดุล (ต่อ)
3. การกระโดดยิงประตู
4. กิจกรรมยืดหยุน่ ขั้นพื้นฐาน

6. แนวทางบูรณาการ
คณิ ตศาสตร์  นับจํานวนก้าว และคาดคะเนระยะและทิศทางการเหวีย่ งแขนในการปฏิบตั ิ
กิจกรรมกระโดดยิงประตู และนับจังหวะในการปฏิบตั ิกิจกรรมยืดหยุน่
ขั้นพื้นฐาน
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็นหรื ออธิ บายขั้นตอนการปฏิบตั ิกิจกรรมในแบบฝึ ก
ปฏิบตั ิการกระโดดยิงประตูและกิจกรรมยืดหยุน่ ขั้นพื้นฐานแก่ผอู ้ ื่น
171

วิทยาศาสตร์  ทดลองปฏิบตั ิกิจกรรมการเคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และ


การรักษาความสมดุล ในการกระโดดยิงประตูและกิจกรรมยืดหยุน่ ขั้นพื้นฐาน
พร้อมทั้งสังเกตการทํางานของระบบต่าง ๆ ในร่ างกายขณะปฏิบตั ิ และจด
บันทึก

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอประเด็นคําถามเกีย่ วกับตัวอย่างกิจกรรมที่เคลือ่ นไหว
ร่ างกายโดยการรับแรง การใช้ แรง และการรักษาความสมดุล ในการกระโดดยิงประตูและกิจกรรมยืดหยุ่น
ขั้นพืน้ ฐานที่สงสั ยหรือสนใจ ตามที่ได้ รับมอบหมายให้ ศึกษาค้ นคว้ ามาล่วงหน้ าในการเรียนครั้งที่ผ่านมา
แล้วให้ เพือ่ น ๆ ช่ วยกันตอบคําถามดังกล่ าวร่ วมกัน โดยครูคอยให้ ความรู้ที่ถูกต้ องเพิม่ เติม
4. ให้นกั เรี ยนดูภาพการปฏิบตั ิกิจกรรมการกระโดดยิงประตูในกีฬาบาสเกตบอลที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนา
ร่ วมกันเกี่ยวกับความรู้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน และตอบคําถามร่ วมกัน
ตัวอย่างเช่น
– จากภาพ เป็ นการปฏิบตั ิกิจกรรมที่เคลื่อนไหวโดยการรับแรง การใช้แรง หรื อการรักษาความสมดุล
(จากภาพเป็ นการกระโดดยิงประตูในกีฬาบาสเกตบอลซึ่ งเป็ นการเคลื่อนไหวร่ างกายที่ ต้องใช้ ทักษะ
การใช้ แรงและการรั กษาความสมดุลของร่ างกายในการกระโดดยิงประตู หากเสี ยความสมดุลของ
ร่ างกายในขณะกระโดดยิงประตูจะส่ งผลให้ ความแรง และทิ ศทางของลูกบอลไม่ เป็ นไปตามที่ ได้
กําหนดไว้ )
– นักเรี ยนเคยยิงประตูบาสเกตบอลแล้วไม่ลงห่วงหรื อไม่ ถ้าเคยนักเรี ยนคิดว่าเกิดจากข้อผิดพลาดใด
(ตอบได้ โดยอิสระ เช่ น เคย ซึ่ งคิดว่ าเกิดจากการที่ตนเองยังไม่ สามารถควบคุมทิ ศทางการเคลื่อนไหว
ของร่ างกายและทิศทางของลูกบาสเกตบอลได้ ทําให้ พลาดเป้ าหมายดังกล่ าว)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 1.2 ตัวอย่างกิจกรรมที่เคลื่อนไหวร่ างกายโดยการ
รับแรง การใช้แรง และความสมดุล (ต่อ) ในหัวข้อย่อยที่ 3. การกระโดดยิงประตู และหัวข้อย่อยที่ 4.
กิจกรรมยืดหยุน่ ขั้นพื้นฐาน เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
172

ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง การเคลื่อนไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา ในหัวข้อที่ 1.2 ตัวอย่างกิจกรรมที่
เคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และความสมดุล (ต่อ) ในหัวข้อย่อยที่ 3. การกระโดดยิง
ประตู และหัวข้อย่อยที่ 4.กิจกรรมยืดหยุน่ ขั้นพื้นฐาน ใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดู
ประกอบการอธิบาย
2. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมาสาธิตวิธีการกระโดดยิงประตูและกิจกรรมยืดหยุน่ ขั้นพื้นฐานร่ วมกับครู
ตามลําดับ แล้วให้นกั เรี ยนฝึ กปฏิบตั ิตาม
3. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนร่ วมกันฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมการกระโดดยิงประตูและกิจกรรมยืดหยุน่ ขั้นพื้นฐาน โดยครู คอยดูแล
การปฏิบตั ิอย่างใกล้ชิด พร้อมทั้งให้คาํ แนะนําเพิ่มเติมเพื่อให้นกั เรี ยนเกิดความมัน่ ใจในการปฏิบตั ิและ
สามารถปฏิบตั ิกิจกรรมได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
2. ครู แสดงความคิดเห็นต่อการปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรี ยนและให้คาํ แนะนําเพิ่มเติม
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม แต่ละกลุ่มร่ วมกันศึกษาและวิเคราะห์ลกั ษณะการเคลื่อนไหวร่ างกายในการ
ปฏิบตั ิกิจกรรมการกระโดดยิงประตูและกิจกรรมยืดหยุน่ ขั้นพื้นฐานตามหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา โดย
ใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
2. ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมานําเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน โดยครู ให้ความรู ้
ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
3. สุ่มนักเรี ยน 2–3 คนออกมากล่าวความรู ้สึกต่อการปฏิบตั ิกิจกรรมการเคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง
การใช้แรง และการรักษาความสมดุลที่ผา่ นมา พร้อมทั้งระบุวา่ ชอบกิจกรรมใดมากที่สุด และเพราะเหตุใด
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียนปฏิบัติกจิ กรรม ประสบการณ์ การเคลื่อนไหว สร้ างความประทับใจออกมาเป็ นภาพ
ดังรายละเอียดในใบกิจกรรมที่ครูแจกให้ หรือในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป.
5 แล้ วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่อไป
173

4. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าในเรื่อง การเคลือ่ นไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์ การกีฬา ใน


หัวข้ อที่ 1.3 ทักษะกลไกในการปฏิบัตกิ จิ กรรมทางกายและการเล่ นกีฬา ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน
รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุด
ของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า และจดบันทึกข้ อคําถามที่สงสั ยหรือสนใจอย่างน้ อย 2 ถึง 3 ประเด็นลงใน
สมุด เพือ่ ใช้ เป็ นร่ องรอยและหลักฐานในการศึกษา แล้ วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. นักเรี ยนควรฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมการกระโดดยิงประตูและกิจกรรมยืดหยุน่ ขั้นพื้นฐานเพิ่มเติมนอกเวลาเรี ยน หรื อ
ใช้เวลาในกิจกรรมการลดเวลาเรี ยนเพิ่มเวลารู้ตามที่สถานศึกษากําหนด โดยปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง หรื อปฏิบตั ิ
ร่ วมกับเพื่อน หรื อปฏิบตั ิร่วมกับสมาชิกในครอบครัว เพื่อส่งเสริ มให้เกิดความชํานาญในการปฏิบตั ิและเป็ น
การออกกําลังกายเพื่อสร้างเสริ มสุ ขภาพร่ างกายให้มีพฒั นาการและการเจริ ญเติบโตที่สมบูรณ์แข็งแรง
2. นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าและฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมที่เคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และการรักษา
ความสมดุลในแบบฝึ กอื่น ๆ เพิ่มเติม เพื่อเป็ นการสร้างเสริ มทักษะการเคลื่อนไหวร่ างกายขั้นพื้นฐานจนความ
ชํานาญ และนําไปสู่ทกั ษะการเคลื่อนไหวร่ างกายในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและการเล่นกีฬาในระดับที่
สูงขึ้นต่อไป

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพการปฏิบตั ิกิจกรรมการกระโดดยิงประตูในกีฬาบาสเกตบอล
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายเรื่ อง การเคลื่อนไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา ในหัวข้อ
ที่ 1.2 ตัวอย่างกิจกรรมที่เคลื่อนไหวร่ างกายโดยการรับแรง การใช้แรง และการรักษาความสมดุล ในหัวข้อ
ย่อยที่ 3. การกระโดดยิงประตู และหัวข้อย่อยที่ 4.กิจกรรมยืดหยุน่ ขั้นพื้นฐาน
3. ลูกบาสเกตบอล
4. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
5. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
6. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
174

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
175

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 25
การเคลือ่ นไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์ การกีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว
เรื่อง ทักษะกลไกในการปฏิบัติกจิ กรรมทางกายและการเล่ นกีฬา

1. สาระสํ าคัญ
ทักษะกลไก หมายถึง ความสามารถในการเคลื่อนไหวร่ างกายในรู ปแบบต่าง ๆ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพของ
บุคคล ซึ่ งทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและการเล่นกีฬาที่สาํ คัญ ได้แก่ ความคล่องแคล่วว่องไว การ
ทรงตัว การประสานสัมพันธ์ พลังกล้ามเนื้อ เวลาปฏิกิริยาตอบสนอง และความเร็ ว
ตัวอย่างแบบฝึ กทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา เช่น วิ่งซิกแซก วิ่งเปลี่ยนตําแหน่ง
ตีลูกเทนนิสกระทบผนัง กระโดดข้ามช่องสี่ เหลี่ยมขาเดียว เคลื่อนที่ตามทิศทางของบอล และวิ่งเร็ ว 50 เมตร

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. จัดรู ปแบบการเคลื่อนไหวแบบผสมผสาน และควบคุมตนเอง เมื่อใช้ทกั ษะการเคลื่อนไหวตามแบบที่กาํ หนด
(พ 3.1 ป. 5/1)
2. ควบคุมการเคลื่อนไหวในเรื่ องการรับแรง การใช้แรง และความสมดุล (พ 3.1 ป. 5/3)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายความหมาย องค์ประกอบ และตัวอย่างแบบฝึ กทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา
อย่างถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (A)
3. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬาอย่างถูกต้องและมีประสิ ทธิภาพได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับตัวอย่างทักษะ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
กลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรม ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ทางกายและเล่นกีฬา แผนที่ความคิด*
176

วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล


• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ขึ้นอยูก่ บั ดุลยพินิจของครู
ปฏิบตั ิกิจกรรม ประสบการณ์ การ ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
เคลื่อนไหว สร้ างความประทับใจ พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ออกมาเป็ นภาพ ป. 5
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
1. การเคลื่อนไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา (ต่อ)
1.3 ทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ ภาษาอังกฤษหรือภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
เกีย่ วกับทักษะกลไกในการปฏิบัตกิ จิ กรรมทางกายและเล่นกีฬา
คณิ ตศาสตร์  นับจํานวนอุปกรณ์ในการฝึ กทักษะกลไกการเคลื่อนไหว วัดระยะห่างหรื อ
ขนาดของพื้นที่ที่ใช้ในการฝึ กปฏิบตั ิ จับเวลาในการฝึ กปฏิบตั ิแต่ละครั้ง และ
นับจํานวนครั้งหรื อจํานวนรอบในการฝึ กปฏิบตั ิ
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็นหรื ออธิ บายขั้นตอนการปฏิบตั ิกิจกรรมในแบบฝึ ก
ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว
177

วิทยาศาสตร์  สังเกตและวิเคราะห์ลกั ษณะการเคลื่อนไหวร่ างกายในการใช้ทกั ษะกลไกขณะ


ปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬาตามหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. สุ่ มนั กเรี ยน 2–3 คนออกมารายงานผลการปฏิ บั ติกิจกรรม ประสบการณ์ การเคลื่อนไหว สร้ างความ
ประทับใจออกมาเป็ นภาพ ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครู แสดงความคิดเห็นต่ อ
การปฏิบัตกิ จิ กรรมของนักเรียนและให้ ความรู้ที่ถูกต้องเพิม่ เติม
4. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอประเด็นคําถามเกีย่ วกับทักษะกลไกในการปฏิบัตกิ จิ กรรม
ทางกายและการเล่ นกีฬาที่สงสั ยหรือสนใจ ตามที่ได้ รับมอบหมายให้ ศึกษาค้ นคว้ ามาล่ วงหน้ าในการเรียน
ครั้งที่ผ่านมา แล้วให้ เพือ่ น ๆ ช่ วยกันตอบคําถามดังกล่าวร่ วมกัน โดยครูคอยให้ ความรู้ที่ถูกต้ องเพิม่ เติม
5. ให้นกั เรี ยนดูภาพแสดงบุคคลกําลังเล่นกีฬาที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู ้ในเรื่ อง
ดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู้ของนักเรี ยน และตอบคําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– การเล่นกีฬานอกจากจะต้องใช้ทกั ษะการเคลื่อนไหวร่ างกายตามลักษณะของกีฬาชนิดนั้น ๆ แล้ว
นักเรี ยนคิดว่าต้องมีทกั ษะใดอีกบ้างที่ทาํ ให้การเล่นกีฬามีประสิ ทธิภาพ (ทักษะกลไกในการเคลื่อนไหว
ร่ างกาย ซึ่ งมีทักษะที่สาํ คัญประกอบด้ วย ความคล่ องแคล่ วว่ องไว การทรงตัว การประสานสัมพันธ์
พลังกล้ ามเนือ้ เวลาปฏิกิริยาตอบสนอง และความเร็ ว)
– นักเรี ยนคิดว่าการเคลื่อนไหวร่ างกายอย่างมีประสิ ทธิ ภาพเกี่ยวข้องกับการเล่นกีฬาเก่งหรื อไม่ อย่างไร
(เกี่ยวข้ อง เพราะหากผู้เล่ นกีฬาสามารถเคลื่อนไหวร่ างกายในรู ปแบบต่ าง ๆ ได้ ดี เหมาะสมกับชนิด
กีฬาที่ เล่ น มีความคล่ องแคล่ วว่ องไว รวดเร็ ว ย่ อมส่ งผลทําให้ สามารถเล่ นกีฬานั้น ๆ ได้ อย่ างเต็ม
ความสามารถ นําไปสู่การทําคะแนนหรื อชนะการแข่ งขันได้ หรื อมีแนวโน้มในการเป็ นนักกีฬาที่เก่งได้
นัน่ เอง)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
6. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 1.3 ทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและ
เล่นกีฬา เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
178

ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง การเคลื่อนไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา ในหัวข้อที่ 1.3 ทักษะกลไกใน
การปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา ในประเด็นเกี่ยวกับความหมายและทักษะกลไกในการปฏิบตั ิ
กิจกรรมทางกายและเล่นกีฬาที่สาํ คัญ โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดู
ประกอบการอธิบาย
2. ครูแสดงบัตรคําที่เกีย่ วข้ องกับทักษะกลไกในการปฏิบัตกิ จิ กรรมทางกายและเล่ นกีฬาในภาษาอังกฤษให้
นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่านสะกดคําและอ่านออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่ านตาม เพือ่ สร้ างเสริมทักษะทางด้ าน
ภาษา ตัวอย่ างเช่ น คําว่า
– ทักษะกลไก ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Motor skull อ่านออกเสี ยงว่ า โม-เทอะ ซคิล
– ความคล่องแคล่วว่องไว ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Agility อ่านออกเสี ยงว่ า อะจีล-อิทิ
– การทรงตัว ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Balance อ่านออกเสี ยงว่ า แบล-แอ็นซ
– การประสานสั มพันธ์ ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Coordination อ่านออกเสี ยงว่ า โคะออดิเน-ฌัน
– พลังกล้ามเนือ้ ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Muscle power อ่านออกเสี ยงว่ า มัซ-,ล เพา-เออะ
– เวลาปฏิกริ ิยาตอบสนอง ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Reaction Time อ่านออกเสี ยงว่ า ริแอค-ฌัน ไทม
– ความเร็ว ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Speed อ่านออกเสี ยงว่ า ซพีด
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศสมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
3. ครู ให้ความรู ้ในประเด็นเกี่ยวกับตัวอย่างแบบฝึ กทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา
โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย พร้อมทั้งสาธิตวิธีการปฏิบตั ิ
แล้วให้นกั เรี ยนฝึ กปฏิบตั ิตาม
4. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่ม แต่ละกลุ่มหมุนเวียนกันฝึ กปฏิบตั ิตามฐานศึกษาแบบฝึ กทักษะกลไกในการ
ปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬาที่กาํ หนดให้ โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด โดยครู คอยดูแลการปฏิบตั ิ
อย่างใกล้ชิด พร้อมทั้งให้คาํ แนะนําเพิ่มเติมเพื่อให้นกั เรี ยนเกิดความมัน่ ใจในการปฏิบตั ิและสามารถ
ปฏิบตั ิกิจกรรมได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย ซึ่งมีฐานศึกษาที่กาํ หนดให้ ได้แก่
– ฐานศึกษาที่ 1 วิง่ ซิกแซ็ก
– ฐานศึกษาที่ 2 วิง่ เปลี่ยนตําแหน่ง
– ฐานศึกษาที่ 3 ตีลูกเทเบิลเทนนิสกระทบผนัง
– ฐานศึกษาที่ 4 กระโดดข้ามช่องสี่ เหลี่ยมขาเดียว
– ฐานศึกษาที่ 5 เคลื่อนที่ตามทิศทางของบอล
– ฐานศึกษาที่ 6 วิง่ เร็ ว 50 เมตร
2. ครู แสดงความคิดเห็นต่อการปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรี ยนและให้คาํ แนะนําเพิ่มเติม
179

ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนร่ วมกันเขียนแสดงความรู ้สึกที่ได้จากการปฏิบตั ิกิจกรรมตามฐานศึกษาที่ผา่ นมา พร้อมทั้งเขียน
แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมในประเด็นที่วา่ “นักเรี ยนจะนําความรู้เรื่ องหลักวิทยาศาสตร์การกีฬาไป
ประยุกต์ใช้ในการเคลื่อนไหวร่ างกายหรื อเล่นกีฬาอย่างไร” (แสดงความคิดเห็นได้ โดยอิสระ เช่ น
นําไปใช้ ในการเคลื่อนไหวร่ างกายและเล่ นกีฬาให้ เกิดการทรงตัวที่ ดีขึน้ เช่ น ขณะกระโดดลงสู่พืน้ จะ
กางขาและย่ อเข่ าลง เพื่อความสมดุลของร่ างกายไม่ ให้ หกล้ มโดยง่ าย) ลงในสมุดบันทึก โดยใช้เวลาที่ครู
กําหนด
2. ครู สุ่มนักเรี ยน 2–3 คนออกมานําเสนอผลการเขียนแสดงความรู ้สึกและแสดงความคิดเห็นหน้าชั้นเรี ยน
โดยครู ให้คาํ แนะนําเพิ่มเติม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรี ยนศึ กษาค้ นคว้ าในเรื่ อง เกมนํ าไปสู่ กีฬ าและกิจกรรมแบบผลัด ดังรายละเอียดใน
หนั ง สื อ เรี ย น รายวิ ช าพื้ น ฐาน สุ ขศึ ก ษาและพลศึ ก ษา ป. 5 หรื อ จากแหล่ ง การเรี ย นรู้ ต่ า ง ๆ เช่ น
อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป
4. มอบหมายให้ นักเรียนแบ่ งกลุ่ม 5 กลุ่ม แต่ ละกลุ่มระดมสมองร่ วมกันศึกษาวิธีการเล่นเกมนําไปสู่ กฬ ี าและ
กิจกรรมแบบผลัดตามหัวข้ อเกมหรือกิจกรรมที่กลุ่มตนเองได้ รับ มาล่วงหน้ านอกเวลาเรียน ดัง
รายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 พร้ อมทั้งร่ วมกันวิเคราะห์ ถึง
ประโยชน์ ที่ได้ จากการเล่นเกมหรือปฏิบัตกิ จิ กรรมดังกล่าว แล้วมานําเสนอในการเรียนครั้งต่ อไป ซึ่งแต่
ละกลุ่มจะได้ เลือกเกมหรือกิจกรรม กลุ่มละ 1 ชนิด ดังต่ อไปนี้
– กลุ่มที่ 1 เกมโบว์ ลงิ บอลด้ วยเท้ า
– กลุ่มที่ 2 เกมเชลยบอล
– กลุ่มที่ 3 การรับลูกบอลส่ งมุม
– กลุ่มที่ 4 การส่ งลูกบอลสลับ
– กลุ่มที่ 5 การขว้างลูกบอลผลัด

8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา จากแหล่ง
การเรี ยนรู ้ต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการเล่นกีฬา หรื อพลศึกษา
สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ เพื่อ
เสริ มสร้างการเรี ยนรู ้และทําให้เข้าใจในเรื่ องดังกล่าวมากยิง่ ขึ้น
180

2. นักเรี ยนควรฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะกลไกในการเคลื่อนไหวร่ างกายเพิ่มเติมนอกเวลาเรี ยน หรื อใช้เวลาในกิจกรรมการ


ลดเวลาเรี ยนเพิ่มเวลารู ้ตามที่สถานศึกษากําหนดอย่างสมํ่าเสมอ เพื่อให้สามารถนําไปใช้ในการปฏิบตั ิกิจกรรม
ทางกายและการเล่นกีฬาได้อย่างถูกต้องและมีประสิ ทธิ ภาพ

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพแสดงบุคคลกําลังเล่นกีฬา
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายเรื่ อง การเคลื่อนไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา ในหัวข้อ
ที่ 1.3 ทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา
3. บัตรคําที่เกี่ยวข้องกับทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬาในภาษาอังกฤษ
4. อุปกรณ์ประกอบการปฏิบตั ิตามแบบฝึ กทักษะกลไกการเคลื่อนไหว เช่น ลูกและไม้เทเบิลเทนนิส ลูกบอล
5. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
6. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
7. ใบกิจกรรม เรื่ อง ประสบการณ์ การเคลื่อนไหว สร้ างความประทับใจออกมาเป็ นภาพ
8. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
11. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
181

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 26
เกมนําไปสู่ กฬ
ี าและกิจกรรมแบบผลัด
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว
เรื่อง เกมนําไปสู่ กฬ
ี าและกิจกรรมแบบผลัด

1. สาระสํ าคัญ
เกมนําไปสู่กีฬาเป็ นกิจกรรมการเล่นเป็ นกลุ่มหรื อบุคคลที่ตอ้ งใช้ทกั ษะต่าง ๆ สูงขึ้น เพื่อเป็ นการนําทักษะ
ดังกล่าวไปสู่การเล่นกีฬา ดัดแปลงกิจกรรมการเล่นให้มีกฎ กติกา ข้อบังคับให้นอ้ ยลง สามารถเล่นได้ง่ายและ
เหมาะสมกับวัย ซึ่งประโยชน์ของเกมนําไปสู่กีฬา คือ เป็ นการฝึ กทักษะเบื้องต้นในทักษะการยืน การทรงตัว การจับ
การรับ การส่งของด้วยมือและเท้า เพื่อนําไปสู่ทกั ษะการเล่นกีฬาต่าง ๆ อีกทั้งยังรู ้จกั รับผิดชอบหน้าที่ของตนเอง
และทําให้เกิดความสามัคคีในกลุ่มด้วย ตัวอย่างของเกมนําไปสู่กีฬา เช่น เกมโบว์ลิงบอลด้วยเท้า เกมเชลยบอล
เกมรับลูกบอลส่งมุม
กิจกรรมแบบผลัดเป็ นกิจกรรมที่เล่นตั้งแต่ 2 กลุ่มขึ้นไป โดยแต่ละกลุ่มจะมีผเู้ ล่นไม่นอ้ ยกว่า 2 คน ซึ่ง
ประโยชน์ของเกมนําไปสู่กีฬา คือ ทําให้ได้รับความสนุกสนาน ร่ าเริ ง ผ่อนคลายอารมณ์ที่ตึงเครี ยด ทําให้ทุกคน
ได้ร่วมกิจกรรมทางกายเพื่อส่งเสริ มทักษะขั้นพื้นฐาน ตัวอย่างของกิจกรรมแบบผลัด เช่น ส่งลูกบอลสลับ ขว้าง
ลูกบอลผลัด

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. เล่นเกมนําไปสู่กีฬาที่เลือกและกิจกรรมการเคลื่อนไหวแบบผลัด (พ 3.1 ป. 5/2)
2. ออกกําลังกายอย่างมีรูปแบบ เล่นเกมที่ใช้ทกั ษะการคิดและตัดสิ นใจ (พ 3.2 ป. 5/1)
3. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกาการเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
4. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายความหมาย ประโยชน์ และตัวอย่างของเกมนําไปสู่กีฬาและกิจกรรมแบบผลัดอย่างถูกต้องได้ (K)
2. เข้าร่ วมปฏิบตั ิกิจกรรมการเล่นเกมนําไปสู่กีฬาและกิจกรรมแบบผลัดด้วยความสนใจและกระตือรื อร้น (A)
3. แสดงทักษะในการเล่นเกมนําไปสู่กีฬาและกิจกรรมแบบผลัดอย่างถูกต้องและปลอดภัยได้ (P)
182

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับความหมาย • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ประโยชน์ และตัวอย่างของเกม ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
นําไปสู่กีฬาและกิจกรรมแบบผลัด แผนที่ความคิด*
• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ปฏิบตั ิกิจกรรม ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
– ฝึ กทักษะเกมนําไปสู่กีฬา และ พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ค้ นหาทีมไหนเก่ งที่ สุด ป. 5
– เล็งเห็นคุณค่ า เฮฮาไปกับเกม
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
2. เกมนําไปสู่กีฬาและกิจกรรมแบบผลัด
2.1 เกมนําไปสู่กีฬา
2.2 กิจกรรมแบบผลัด
183

6. แนวทางบูรณาการ
สังคมศึกษาฯ  ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเกมนําไปสู่กีฬาและกิจกรรมแบบผลัดของประเทศอื่น ๆ
โดยเฉพาะประเทศในกลุ่มสมาชิกอาเซียน
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ ภาษาอังกฤษหรือภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
เกีย่ วกับเกมนําไปสู่ กฬ
ี าและกิจกรรมแบบผลัด
คณิ ตศาสตร์  นับจํานวนอุปกรณ์การเล่น ผูเ้ ล่น และนับคะแนนในการเล่นเกมนําไปสู่กีฬา
และกิจกรรมแบบผลัด
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็นและเขียนสรุ ปความรู ้เกี่ยวกับความหมาย ประโยชน์
และตัวอย่างของเกมนําไปสู่กีฬาและกิจกรรมแบบผลัด รวมถึงอธิบายวิธีการ
เล่นเกมนําไปสู่กีฬาและกิจกรรมแบบผลัดที่กาํ หนดให้
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิด แผนผังสรุ ป หรื อแผ่นภาพความรู้เกี่ยวกับ
วิธีการเล่นเกมนําไปสู่กีฬาและกิจกรรมแบบผลัด

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในเรื่อง เกมนําไปสู่ กฬ ี า
และกิจกรรมแบบผลัด ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการ
ปฏิบัตกิ จิ กรรมดังกล่าวของนักเรียน
4. ให้นกั เรี ยนดูภาพการเล่นเกมนําไปสู่กีฬาและกิจกรรมแบบผลัด เช่น เกมลิงชิงบอล การส่งลูกบอลสลับ ที่
ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู ้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
และตอบคําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– นักเรี ยนรู ้จกั หรื อเคยเล่นเกมหรื อกิจกรรมดังกล่าวหรื อไม่ อย่างไร (ขึน้ อยู่กบั ภาพการเล่ นเกมหรื อกิจกรรม
ที่ครู เตรี ยมมา เช่ น รู้ จักและเคยเล่ นเกมดังกล่ าวร่ วมกับเพื่อน ๆ ซึ่ งเป็ นเกมที่มีชื่อเรี ยกว่ า เกมลิงชิ งบอล)
– นักเรี ยนรู ้หรื อไม่วา่ การเล่นเกมหรื อกิจกรรมดังกล่าวมีประโยชน์อย่างไร (ขึน้ อยู่กบั ภาพการเล่ นเกม
หรื อกิจกรรมที่ครู เตรี ยมมา เช่ น ทําให้ ได้ รับความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ได้ ปฏิบัติกิจกรรมร่ วมกับ
ผู้อื่น ฝึ กทักษะการเคลื่อนไหวร่ างกาย ส่ งเสริ มสมรรถภาพทางกาย และนําไปสู่ทักษะการเล่ นกีฬา
ต่ าง ๆ ได้ ด้วย เช่ น กีฬาบาสเกตบอล)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
184

6. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ ในเรื่ อง เกมนําไปสู่กีฬาและกิจกรรมแบบผลัด เพื่อเป็ นการ


กระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง เกมนําไปสู่กีฬาและกิจกรรมแบบผลัด ในประเด็นเกี่ยวกับความหมายและประโยชน์
ของเกมนําไปสู่กีฬาและกิจกรรมแบบผลัด โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดู
ประกอบการอธิบาย
2. ให้ นักเรียนแต่ ละกลุ่มผลัดเปลีย่ นกันออกมาอธิบายวิธีการเล่น พร้ อมทั้งประโยชน์ ของเกมนําไปสู่ กีฬา
และกิจกรรมแบบผลัดในหัวข้อเกมหรือกิจกรรมที่กลุ่มตนเองได้ รับจากการเรียนครั้งที่ผ่านมา แล้วนํา
เพือ่ น ๆ ในชั้นเรียนร่ วมกันเล่นเกมดังกล่าวโดยใช้ เวลาตามที่ครูกาํ หนด โดยครูร่วมเป็ นกรรมการ
ตรวจสอบความถูกต้องของการเล่นเกมหรื อการปฏิบตั ิกิจกรรมและดูแลการปฏิบตั ิอย่างใกล้ชิด
3. ครู แสดงความคิดเห็นต่อการปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรี ยน แล้วให้ความรู้และคําแนะนําเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนร่ วมกันปฏิบตั ิกิจกรรม ฝึ กทักษะเกมนําไปสู่กีฬา และค้ นทีมไหนเก่ งที่สุด ดังรายละเอียดในใบ
กิจกรรมที่ครู แจกให้หรื อในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 โดยใช้เวลาตามที่
ครู กาํ หนด
2. แต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน โดยครู เสนอแนะและให้
ความรู้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
3. ครู สรุ ปผลการปฏิบตั ิกิจกรรม แล้วให้เพื่อนๆ ปรบมือให้ทีมที่ชนะการแข่งขัน
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนร่ วมกันปฏิบตั ิกิจกรรม เล็งเห็นคุณค่ า เฮฮาไปกับเกม ดังรายละเอียดในใบกิจกรรมที่ครู แจกให้
หรื อในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
2. นักเรี ยนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรม พร้อมทั้งกล่าวแสดงความรู ้สึกที่ได้รับ
จากการเรี ยนรู้และปฏิบตั ิกิจกรรมเล่นเกมนําไปสู่กีฬาและกิจกรรมแบบผลัดในการเรี ยนครั้งนี้
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าในเรื่อง กีฬา ในหัวข้ อที่ 3.1 กรีฑาประเภทลู่ ในหัวข้ อย่อยที่ 1.
ลักษณะการวิง่ ระยะสั้ น ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือ
จากแหล่งการเรียนรู้ ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า แล้วนํามาสนทนา
ร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป
185

8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. นักเรี ยนควรเข้าร่ วมเล่นเกมนําไปสู่กีฬาหรื อกิจกรรมแบบผลัดกับเพื่อน ๆ ในเวลาว่าง หรื อใช้เวลาในกิจกรรม
การลดเวลาเรี ยนเพิม่ เวลารู้ตามที่สถานศึกษากําหนด เพื่อฝึ กฝนทักษะการเคลื่อนไหว นําไปสู่การสร้างเสริ ม
และพัฒนาทักษะในการเล่นกีฬาต่อไปได้
2. นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับเกมนําไปสู่กีฬาหรื อกิจกรรมแบบผลัดอื่น ๆ จากแหล่งการเรี ยนรู ้
ต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการเล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ อ
อินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ เพื่อ
เสริ มสร้างการเรี ยนรู ้ ตลอดจนนําไปปฏิบตั ิเพื่อสร้างเสริ มสุ ขภาพและนําไปสู่การพัฒนาทักษะการเคลื่อนไหว
และทักษะการเล่นกีฬาต่าง ๆ ต่อไป

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพการเล่นเกมนําไปสู่กีฬาหรื อกิจกรรมแบบผลัด
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายเรื่ อง เกมนําไปสู่กีฬาและกิจกรรมแบบผลัด
3. อุปกรณ์ประกอบปฏิบตั ิกิจกรรมการเล่นเกมนําไปสู่กีฬาและกิจกรรมแบบผลัด เช่น ลูกบอล เก้าอี้
4. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
5. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
6. ใบกิจกรรม เรื่ อง ฝึ กทักษะเกมนําไปสู่กีฬา และค้ นทีมไหนเก่ งที่สุด
7. ใบกิจกรรม เรื่ อง เล็งเห็นคุณค่ า เฮฮาไปกับเกม
8. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
11. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
186

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
187

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 27
กีฬา
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง กรีฑาประเภทลู่

1. สาระสํ าคัญ
กรี ฑาประเภทลู่ เป็ นกรี ฑาที่เล่นหรื อแข่งขันอยูบ่ นลู่วิ่งหรื อทางวิ่ง ได้แก่ การวิ่งระยะสั้น การวิ่งระยะกลาง
การวิ่งระยะไกล การวิ่งผลัด และการวิ่งข้ามรั้ว
การวิ่งระยะสั้น เป็ นการวิ่งในระยะทางไม่เกิน 200 เมตร โดยลักษณะการวิ่งระยะสั้นมีหลักการปฏิบตั ิ คือ
ขณะวิ่งผูว้ ิ่งจะต้องให้ลาํ ตัวโน้มไปข้างหน้าเล็กน้อย การก้าวเท้าต้องยกเข่าสูง ขาท่อนบนเกือบขนานกับพื้น วิง่ ด้วย
ปลายเท้าเป็ นเส้นตรงขนานไปข้างหน้า และไม่เปิ ดเข่าออกด้านข้างลําตัว ยกแขนเป็ นมุมฉาก มือกําหลวม ๆ แกว่ง
แขนขึ้นลงเฉี ยดด้านข้างลําตัว ขณะแกว่งแขนขึ้นมือสูงไม่เกินระดับไหล่และตํ่าสุดระดับสะโพก ศีรษะไม่ส่าย ก้ม
หน้าเล็กน้อย ตามองทางวิง่ ที่ตรงไปข้างหน้าขณะก้าวขาต้องกระตุกเข่าไปข้างหน้าและไม่เหวี่ยงส้นเท้าขึ้นด้านหลัง

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
3. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
4. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
5. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายลักษณะการวิง่ ระยะสั้นซึ่งจัดเป็ นกรี ฑาประเภทลู่ชนิดหนึ่งอย่างถูกต้องได้ (K)
2. เข้าร่ วมศึกษาและฝึ กปฏิบตั ิเกี่ยวกับลักษณะการวิ่งระยะสั้นด้วยความสนใจและกระตือรื อร้น (A)
3. แสดงทักษะตามลักษณะของการวิ่งระยะสั้นอย่างถูกต้องได้ (P)
188

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
– ความรู้ความเข้าใจในเรื่ อง กรี ฑา ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
โดยเฉพาะกรี ฑาประเภทลู่ แผนที่ความคิด*
– ลักษณะการวิ่งระยะสั้น
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. กีฬา
3.1 กรี ฑาประเภทลู่
1. ลักษณะการวิ่งระยะสั้น

6. แนวทางบูรณาการ
สังคมศึกษาฯ  ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประวัติความเป็ นมาของกีฬากรี ฑา โดยเฉพาะกรี ฑา
ประเภทลู่ในการวิ่งระยะสั้น ทั้งจุดเริ่ มต้นในต่างประเทศและเมื่ อเริ่ มนําเข้ามา
เล่นในประเทศไทย
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ ภาษาอังกฤษหรือภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
เกีย่ วกับกรีฑาประเภทลู่และการวิง่ ระยะสั้ น
189

คณิ ตศาสตร์  วัดระยะทางในการวิ่งระยะสั้น นับจํานวนอุปกรณ์ประกอบการวิง่ ระยะสั้น


จัดท่าทางตามมุมที่เหมาะสมกับการเคลื่อนไหวร่ างกายในการวิ่งระยะสั้น และ
จับเวลาและบันทึกสถิติในการวิ่ง
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น อภิปราย และเขียนสรุ ปความรู ้เกี่ยวกับประโยชน์
และลักษณะการวิ่งระยะสั้น
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิด แผนผังสรุ ป หรื อแผ่นภาพความรู้เกี่ยวกับ
ลักษณะการวิ่งระยะสั้น
ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพการจัดท่าทางในการวิ่งระยะสั้นประกอบการจัดทําแผ่น
ภาพ หรื อสมุดภาพ หรื อรายงานความรู้เรื่ อง ลักษณะการวิ่งระยะสั้น
วิทยาศาสตร์  ศึกษา สื บค้น และบันทึกข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับลักษณะการวิ่งระยะสั้นตามหลัก
วิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวหรื อวิทยาศาสตร์การกีฬา

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในเรื่อง กีฬา ในหัวข้ อ
3.1 กรีฑาประเภทลู่ ในหัวข้ อย่อยที่ 1. ลักษณะการวิง่ ระยะสั้ น ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่
ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบตั กิ จิ กรรมดังกล่าวของนักเรียน
4. ให้นกั เรี ยนดูแผ่นภาพแสดงการเปรี ยบเทียบ โดยแผ่นภาพที่ 1 ประกอบด้วยภาพการเล่นกรี ฑาประเภทลู่
เช่น การวิ่งระยะสั้น การวิ่งระยะกลาง การวิ่งระยะไกล การวิ่งผลัด การวิง่ ข้ามรั้ว ส่วนแผ่นภาพที่ 2
ประกอบด้วยการเล่นกรี ฑาประเภทลาน เช่น ขว้างจักร พุง่ แหลน กระโดดสูง กระโดดไกล ที่ครู เตรี ยมมา
แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู ้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู้ของนักเรี ยน และตอบ
คําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– นักเรี ยนรู ้ไหมว่าภาพที่อยูใ่ นแผ่นภาพที่ 1 และแผ่นภาพที่ 2 มีความแตกต่างกันในประเด็นใด (แตกต่ างกัน
ในประเด็นเกี่ยวกับประเภทของกรี ฑา โดยแผ่ นภาพที่ 1 แสดงภาพการเล่ นกรี ฑาประเภทลู่ ส่ วนแผ่ นภาพ
ที่ 2 แสดงภาพการเล่ นกรี ฑาประเภทลาน)
190

– กรี ฑาประเภทลู่และกรี ฑาประเภทลานต่างกันอย่างไร (ต่ างกัน โดยกรี ฑาประเภทลู่เป็ นกรี ฑาที่เล่ นหรื อ
แข่ งขันอยู่บนลู่วิ่งหรื อทางวิ่งตลอดระยะทาง ตัดสิ นกันด้ วยเวลา เช่ นการวิ่งระยะสั้น การวิ่งผลัด เป็ นต้ น
ส่ วนกรี ฑาประเภทลานเป็ นกรี ฑาที่เล่ นหรื อแข่ งขันอยู่บนลานสนาม เช่ น การขว้ างจักร การกระโดดสูง
เป็ นต้ น)
– การวิ่งระยะสั้นจัดเป็ นกรี ฑาประเภทใด (กรี ฑาประเภทลู่ เพราะแข่ งขันในลู่วิ่ง)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 3.1 กรี ฑาประเภทลู่ ในหัวข้อย่อยที่ 1. ลักษณะการ
วิ่งระยะสั้น เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้เพิม่ เติมในประเด็นเกี่ยวกับความหมายและการจัดแบ่งประเภทของกรี ฑา โดยใช้แผนภูมิ
แสดงการแบ่งประเภทของกรี ฑาประกอบการอธิ บาย
2. ครูแสดงบัตรคําที่เกีย่ วข้ องกับกรีฑา โดยเฉพาะกรีฑาประเภทลู่และการวิง่ ระยะสั้ น ในภาษาอังกฤษให้
นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่านสะกดคําและอ่านออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่ านตาม เพือ่ สร้ างเสริมทักษะทางด้ าน
ภาษา ตัวอย่ างเช่ น คําว่า
– กรีฑา ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Athletics อ่านออกเสี ยงว่ า แอ็ธเลท-ลิคซ
– กรีฑาประเภทลู่ ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Track Events อ่านออกเสี ยงว่ า ทแรค อิเฝนท
– กรีฑาประเภทลาน ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Field Events อ่านออกเสี ยงว่า ฟี ลด อิเฝนท
– การวิง่ ระยะสั้ น ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า The Sprints อ่านออกเสี ยงว่ า เฑอะ ซพรินท
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศสมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
3. ครู ให้ความรู ้ในหัวข้อที่ 3.1 กรี ฑาประเภทลู่ ในหัวข้อย่อยที่ 1. ลักษณะการวิง่ ระยะสั้น โดยใช้ภาพหรื อ
เปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิบาย
4. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมาสาธิตลักษณะการวิ่งระยะสั้นร่ วมกับครู หน้าชั้นเรี ยน แล้วให้เพื่อน ๆ
ร่ วมกันปฏิบตั ิตาม โดยครู ตรวจสอบความถูกต้องในการปฏิบตั ิของนักเรี ยน
5. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนจับคู่กบั เพื่อน ร่ วมกันฝึ กปฏิบตั ิท่าทางตามลักษณะการวิ่งระยะสั้นที่ถูกต้อง โดยใช้เวลาตามที่ครู
กําหนด โดยครู คอยดูแลการปฏิบตั ิอย่างใกล้ชิดและให้คาํ แนะนําที่ถูกต้องเพิ่มเติม
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายในประเด็นที่วา่ “เหตุใดการวิ่งระยะสั้น ผูว้ ิ่งจึงต้องโน้มลําตัวไปข้างหน้า” โดยใช้
ความรู้ความเข้าใจจากการศึกษาและฝึ กปฏิบตั ิที่ผา่ นมาและความรู ้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหว
หรื อวิทยาศาสตร์การกีฬาเพื่อวิเคราะห์ความรู ้ในประเด็นดังกล่าว
2. ครู เฉลยคําตอบที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนทราบ (แนวคําตอบ: ในการวิ่งระยะสั้น ผู้วิ่งจะต้ องโน้ มลําตัวไป
ข้ างหน้ า เพราะเป็ นมุมที่เหมาะสมที่ สุด ซึ่ งจะช่ วยลดแรงต้ านทานของอากาศ ทําให้ วิ่งได้ เร็ วขึน้ )
191

ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้


1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้ าในหัวข้ อที่ 3.1 กรีฑาประเภทลู่ ในหัวข้ อย่ อยที่ 2. ทักษะการวิ่งระยะ
สั้ น ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่ งการเรียนรู้
ต่ าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่ วงหน้ า แล้ วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียน
ครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรฝึ กปฏิบตั ิท่าทางตามลักษณะการวิง่ ระยะสั้นที่ถูกต้องนอกเวลาเรี ยนเพิ่มเติม หรื อใช้เวลาใน
กิจกรรมการลดเวลาเรี ยนเพิ่มเวลารู้ตามที่สถานศึกษากําหนด เพื่อให้เกิดความชํานาญและเป็ นทักษะพื้นฐาน
นําไปสู่การฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะการวิ่งระยะสั้นในการเรี ยนครั้งต่อไป

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. แผ่นภาพแสดงการเปรี ยบเทียบกรี ฑาประเภทลู่และกรี ฑาประเภทลาน
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายเรื่ อง กีฬา ในหัวข้อที่ 3.1 กรี ฑาประเภทลู่ ในหัวข้อย่อยที่ 1. ลักษณะ
การวิ่งระยะสั้น
3. บัตรคําที่เกี่ยวข้องกับกรี ฑา โดยเฉพาะกรี ฑาประเภทลู่และการวิ่งระยะสั้น ในภาษาอังกฤษ
4. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
5. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
6. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
192

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
193

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 28
กีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง กรีฑาประเภทลู่ (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
ทักษะการวิง่ ระยะสั้นที่สาํ คัญ ได้แก่ การออกวิ่ง การเข้าเส้นชัย และการวิ่งทางโค้ง
การออกวิ่ง ผูว้ ิ่งจะต้องนัง่ ลงบนส้นเท้าห่ างจากเส้นเริ่ ม 1 ก้าว เข่าข้างหนึ่ งยกขึ้น วางมือทั้ง 2 ข้างลงพื้น
ห่ างกัน 1 ช่วงไหล่ นิ้ วหัวแม่มือและนิ้ วชี้อยู่หลังเส้นเริ่ มเกือบชิดเส้น แขนเหยียดตึง เมื่อได้ยินสัญญาณออกวิ่งให้
ถีบเท้าพร้อมกับดึงเข่าของขาหลังก้าวไปด้านหน้า ลําตัวพุง่ ไปข้างหน้าอย่างรวดเร็ ว
การเข้ าเส้ นชัย มี 3 วิธี คือ วิ่งเข้าเส้นชัยธรรมดา ใช้หน้าอกแตะแถบเส้นชัย และใช้ไหล่เอียงข้างแตะแถบชัย
การวิ่งทางโค้ ง ผูว้ ิ่งจะวิ่งเวียนซ้าย เอนตัวไปทางซ้ายเล็กน้อย แขนซ้ายแกว่งเป็ นวงแคบแขนขวาแกว่งเป็ น
วงกว้าง ขณะเหวี่ยงแขนขึ้นข้างหน้าให้แกว่งแขนตัดเฉี ยงลําตัวเล็กน้อย ปลายเท้าทั้งสองพยายามจดพื้นให้เบน
ขนานไปตามทิศทางที่วิ่ง

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
3. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
4. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
5. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายทักษะการวิง่ ระยะสั้น ในการออกวิ่ง การเข้าเส้นชัย และการวิ่งทางโค้งอย่างถูกต้องได้ (K)
2. เข้าร่ วมศึกษาและฝึ กปฏิบตั ิเกี่ยวกับทักษะการวิ่งระยะสั้นด้วยความสนใจ กระตือรื อร้น และมีระเบียบวินยั
(A)
3. แสดงทักษะการวิ่งระยะสั้น ในการออกวิ่ง การเข้าเส้นชัย และการวิ่งทางโค้งอย่างถูกต้องได้ (P)
194

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับทักษะการวิ่งระยะ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
สั้น ในการออกวิ่ง การเข้าเส้นชัย ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
และการวิง่ ทางโค้ง แผนที่ความคิด*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. กีฬา (ต่อ)
3.1 กรี ฑาประเภทลู่ (ต่อ)
2. ทักษะการวิ่งระยะสั้น

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ ภาษาอังกฤษหรือภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
เกีย่ วกับทักษะการวิง่ ระยะสั้ น ในการออกวิง่ การเข้ าเส้ นชัย และการวิง่ ทางโค้ ง
คณิ ตศาสตร์  วัดระยะทางในการวิ่งระยะสั้น วัดระยะในการจัดตําแหน่งของร่ างกายขณะ
ปฏิบตั ิทกั ษะการออกวิง่ จัดท่าทางตามมุมที่เหมาะสมกับการเคลื่อนไหว
ร่ างกายในการวิง่ ระยะสั้น รวมถึงจับเวลาและบันทึกสถิติในการวิ่ง
195

ภาษาไทย  อธิ บายแนวทางการปฏิบตั ิทกั ษะการวิ่งระยะสั้น ในการออกวิ่ง การเข้าเส้นชัย


และการวิ่งทางโค้ง
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิด แผนผังสรุ ป หรื อแผ่นภาพความรู้เกี่ยวกับ
ทักษะการวิง่ ระยะสั้น
ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพแสดงวิธีการปฏิ บ ตั ิ ที่ ถูกต้องในทักษะการวิ่งระยะสั้น
ประกอบการจัดทําแผ่นภาพ หรื อสมุดภาพ หรื อรายงานความรู ้เรื่ อง ทักษะ
การวิ่งระยะสั้น
วิทยาศาสตร์  ศึกษา สื บค้น และบันทึกข้อมูลที่ เกี่ยวข้องกับทักษะการวิ่งระยะสั้นตามหลัก
วิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวหรื อวิทยาศาสตร์การกีฬา

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในหัวข้ อ 3.1 กรีฑา
ประเภทลู่ ในหัวข้ อย่ อยที่ 2. ทักษะการวิง่ ระยะสั้ น ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดย
ครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัตกิ จิ กรรมดังกล่ าวของนักเรียน
4. ให้นกั เรี ยนดูแผ่นภาพแสดงการออกวิง่ การเข้าเส้นชัย และการวิง่ ทางโค้งของนักกีฬาวิง่ ระยะสั้น ที่ครู
เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู ้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
และตอบคําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– นักวิ่ง เมื่อได้รับสัญญาณเตือนใดจึงค่อยออกตัววิ่ง (สัญญาณนกหวีด หรื อการยิงปื นขึน้ ฟ้ า หรื อ
สัญญาณอื่น ๆ ที่ สามารถส่ งเสี ยงให้ ได้ ยินอย่ างชัดเจน)
– การวิ่งจะสิ้ นสุดลงเมื่อปฏิบตั ิตามภาพใดจนสําเร็ จ (ชี ท้ ี่ ภาพการเข้ าเส้ นชัย)
– การเข้าเส้นชัยมีกี่วิธี อะไรบ้าง (การเข้ าเส้ นชัยที่ได้ รับความนิยมมี 3 วิธี คือ การวิ่งเข้ าเส้ นชัยธรรมดา
การใช้ หน้ าอกแตะแถบเส้ นชัย และการใช้ ไหล่ เอียงข้ างแตะแถบเส้ นชัย)
– การเข้าเส้นชัยวิธีใดดีที่สุด และเพราะเหตุใด (ขึน้ อยู่กับสถานการณ์ ในขณะวิ่ง โดยการวิ่งเข้ าเส้ นชัย
ธรรมดาเหมาะที่จะใช้ ในกรณี ที่ผ้ วู ิ่งนําหน้ าคู่แข่ งขันมาก ๆ ส่ วนการใช้ หน้ าอกแตะแถบเส้ นชัยและการ
ใช้ ไหล่ เอียงข้ างแตะแถบเส้ นชัยเหมาะที่จะใช้ ในกรณี ที่ผ้ วู ิ่งกับคู่แข่ งขันวิ่งในระยะทางที่สูสีหรื อ
ใกล้ เคียงกัน)
196

– การวิ่งทางโค้งปฏิบตั ิแตกต่างจากการวิ่งทางตรงหรื อไม่ อย่างไร (แตกต่ างกัน โดยการวิ่งทางโค้ งจะวิ่ง


เวียนซ้ าย เอนตัวไปทางซ้ ายเล็กน้ อย แขนซ้ ายแกว่ งเป็ นวงแคบแขนขวาแกว่ งเป็ นวงกว้ าง ขณะเหวี่ยง
แขนขึน้ ข้ างหน้ าให้ แกว่ งแขนตัดเฉี ยงลําตัวเล็กน้ อย ปลายเท้ าทั้งสองพยายามจดพืน้ ให้ เบนขนานไป
ตามทิศทางที่วิ่ง)
– นักเรี ยนคิดว่าทักษะการวิ่งระยะสั้นทักษะใดที่สาํ คัญที่สุด และมีผลต่อการประสบชัยชนะในการวิ่ง
ระยะสั้นมากที่สุด (ทุกทักษะล้ วนมีความสําคัญและมีผลต่ อการประสบชัยชนะในการวิ่งระยะสั้นเท่ า ๆ
กัน หากทักษะด้ านใดด้ านหนึ่งบกพร่ องย่ อมส่ งผลกระทบให้ การวิ่งขาดประสิ ทธิ ภาพ ผู้วิ่งจึงควรให้
ความสําคัญและฝึ กปฏิบัติทั้ง 3 ทักษะจนเกิดความชํานาญ)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 3.1 กรี ฑาประเภทลู่ ในหัวข้อย่อยที่ 2. ทักษะการวิง่
ระยะสั้น เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้ในหัวข้อที่ 3.1 กรี ฑาประเภทลู่ ในหัวข้อย่อยที่ 2. ทักษะการวิ่งระยะสั้น โดยใช้ภาพหรื อเปิ ด
สื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิบาย
2. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมาสาธิตทักษะการวิ่งระยะสั้นร่ วมกับครู หน้าชั้นเรี ยนในแต่ละทักษะ
ตามลําดับ แล้วให้เพื่อน ๆ ร่ วมกันปฏิบตั ิตาม โดยครู ตรวจสอบความถูกต้องในการปฏิบตั ิของนักเรี ยน
เป็ นรายบุคคล
3. ครูแสดงบัตรคําที่เกีย่ วข้ องกับทักษะการออกวิง่ ในภาษาอังกฤษให้ นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่านสะกดคําและ
อ่านออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่ านตาม เพือ่ สร้ างเสริมทักษะทางด้ านภาษา ตัวอย่ างเช่ น คําว่า
– เข้ าที่ ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า On your mark อ่านออกเสี ยงว่ า อ็อน ยุร มาค
– ระวัง ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Set อ่านออกเสี ยงว่ า เซ็ท
– ไป ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Go อ่านออกเสี ยงว่า โก
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศสมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
4. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนจับคู่กบั เพื่อน ร่ วมกันฝึ กปฏิ บตั ิทกั ษะการวิ่งระยะสั้น โดยใช้เวลาตามที่ ครู กาํ หนด โดยครู คอย
ดูแลการปฏิบตั ิอย่างใกล้ชิดและให้คาํ แนะนําที่ถูกต้องเพิ่มเติม
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนเข้ารับทดสอบการวิ่งระยะสั้น 200 เมตร เป็ นรายบุคคล พร้อมจับเวลาแล้วจดบันทึกสถิติ
2. ครู แสดงความคิดเห็นต่อการทดสอบการวิ่งระยะสั้นของนักเรี ยนและให้คาํ แนะนําที่ถูกต้องเพิ่มเติม
197

ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้


1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ขั้นตอนทักษะการวิ่ง หากรู้จริ งเรี ยงลําดับมา และกิจกรรม วิธีการ
เข้ าเส้ นชั ย ทําอย่ างไรช่ วยบอกที ดังรายละเอียดในใบกิจกรรมที่ครู แจกให้ หรือในแบบฝึ กทักษะ รายวิชา
พืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป
4. มอบหมายให้ นักเรียนฝึ กปฏิบัตทิ ักษะการวิง่ ระยะสั้ นเพิม่ เติมนอกเวลาเรียน หรือใช้ เวลาในกิจกรรมการ
ลดเวลาเรียนเพิม่ เวลารู้ ตามที่สถานศึกษากําหนด เพือ่ เตรียมเข้ ารับการทดสอบในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรชักชวนเพื่อนหรื อสมาชิกในครอบครัวร่ วมฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะการวิง่ ระยะสั้นนอกเวลาเรี ยนเพิ่มเติม
อย่างสมํ่าเสมอ หรื อใช้เวลาในกิจกรรมการลดเวลาเรี ยนเพิ่มเวลารู ้ตามที่สถานศึกษากําหนด เพื่อสร้างเสริ ม
สุ ขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. แผ่นภาพแสดงการออกวิง่ การเข้าเส้นชัย และการวิง่ ทางโค้งของนักกีฬาวิง่ ระยะสั้น
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิบายในหัวข้อที่ 3.1 กรี ฑาประเภทลู่ ในหัวข้อย่อยที่ 2. ทักษะการวิ่งระยะสั้น
3. บัตรคําที่เกี่ยวข้องกับทักษะการออกวิ่งในภาษาอังกฤษ
4. อุปกรณ์ประกอบการวิ่งระยะสั้น เช่น นาฬิกาจับเวลา เส้นชัยหรื อแถบชัย นกหวีดสําหรับให้สญ ั ญาณออกวิง่
5. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
6. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
198

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
199

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 29
กีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง กรีฑาประเภทลู่ (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
การทดสอบปฏิบตั ิทกั ษะการวิ่งระยะสั้น ประกอบด้วย ทักษะการออกวิ่ง ทักษะการเข้าเส้นชัย ทักษะการ
วิ่งทางโค้ง ซึ่งการทดสอบดังกล่าวจะทําให้ทราบถึงระดับความสามารถและทักษะการวิ่งระยะสั้นของนักเรี ยน ซึ่ ง
จะช่วยให้นาํ ข้อมูลที่ได้มาใช้พฒั นาทักษะดังกล่าวให้ดีข้ ึนได้

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
3. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
4. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
5. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายทักษะการวิง่ ระยะสั้น ในการออกวิ่ง การเข้าเส้นชัย และการวิ่งทางโค้งอย่างถูกต้องได้ (K)
2. เข้าร่ วมการทดสอบปฏิบตั ิทกั ษะการวิ่งระยะสั้นด้วยความกระตือรื อร้นและมีระเบียบวินยั (A)
3. แสดงทักษะการวิ่งระยะสั้น ในการออกวิ่ง การเข้าเส้นชัย และการวิ่งทางโค้งอย่างถูกต้องได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับการฝึ กทักษะการ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
วิ่งระยะสั้น ในการออกวิ่ง การเข้า ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
เส้นชัย และการวิ่งทางโค้ง แผนที่ความคิด*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
200

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินผลการปฏิบตั ิทกั ษะ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน การวิ่งระยะสั้น* 3 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. กีฬา (ต่อ)
3.1 กรี ฑาประเภทลู่ (ต่อ)
– การทดสอบปฏิบตั ิทกั ษะการวิ่งระยะสั้น

6. แนวทางบูรณาการ
คณิ ตศาสตร์  วัดระยะทางในการทดสอบวิง่ ระยะสั้น วัดระยะในการจัดตําแหน่งของร่ างกาย
ขณะปฏิบตั ิทกั ษะการออกวิ่ง จัดท่าทางตามมุมที่เหมาะสมกับการเคลื่อนไหว
ร่ างกายในการวิง่ ระยะสั้น รวมถึงจับเวลาและบันทึกสถิติในการวิ่ง
ภาษาไทย  อธิ บายแนวทางการปฏิบตั ิทกั ษะการวิ่งระยะสั้น ในการออกวิ่ง การเข้าเส้นชัย
และการวิ่งทางโค้ง
วิทยาศาสตร์  วิเคราะห์ลกั ษณะการเคลื่ อนไหวร่ างกายในการปฏิบตั ิทกั ษะการวิ่งระยะสั้น
ตามหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
201

2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ


ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอผลการปฏิบัตกิ จิ กรรม ขั้นตอนทักษะการวิ่ง หากรู้จริ ง
เรี ยงลําดับมา และกิจกรรม วิธีการเข้ าเส้ นชัย ทําอย่างไรช่ วยบอกที ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียน
ครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัตกิ จิ กรรมของนักเรียนและให้ คาํ แนะนําเพิม่ เติม
4. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมารายงานผลการฝึ กปฏิบัตทิ ักษะการวิง่ ระยะสั้ นเพิม่ เติมนอกเวลาเรียน เพือ่
เตรียมเข้ ารับการทดสอบ ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อ
การรายงานผลของนักเรียนและให้ คาํ แนะนําเพิม่ เติม
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ทบทวนความรู้เกี่ยวกับทักษะการวิง่ ระยะสั้น ในการออกวิง่ การเข้าเส้นชัย และการวิง่ ทางโค้ง โดยใช้
ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิบาย
2. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนเข้ารับการทดสอบปฏิบตั ิทกั ษะการวิ่งระยะสั้น (ในที่น้ ีเป็ นการวิ่งระยะสั้น 200 เมตร) ซึ่ง
ประกอบด้วยทักษะการออกวิ่ง การเข้าเส้นชัย และการวิ่งทางโค้ง โดยทําการทดสอบเป็ นรายบุคคล
เรี ยงตามลําดับชื่อ จนครบทุกคน ซึ่งครู จะจับเวลาแล้วจดบันทึกสถิติที่นกั เรี ยนปฏิบตั ิได้และคอยดูแลการ
ปฏิบตั ิอย่างใกล้ชิด
2. ครู สรุ ปผลการทดสอบให้นกั เรี ยนทราบ โดยบอกสถิติที่นกั เรี ยนทําได้ในครั้งนี้แล้วนําไปเปรี ยบเทียบกับ
การวิ่งระยะสั้น 200 เมตรในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมา เพื่อตรวจสอบทักษะการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน พร้อมทั้ง
แสดงความคิดเห็นต่อการทดสอบและให้คาํ แนะนําเพิ่มเติม
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• นักเรี ยนนําความรู ้ในประเด็นเกี่ยวกับทักษะการวิ่งระยะสั้นไปถ่ายทอดให้ผปู ้ กครอง โดยให้ผปู ้ กครอง
แสดงความคิดเห็นและตอบรับผลการปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรี ยนกลับมาที่ครู
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
202

3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าในหัวข้ อที่ 3.2 ฟุตบอล ในหัวข้ อย่ อยที่ 1. ลักษณะการเล่นฟุตบอล
หัวข้ อย่ อยที่ 3. สนามที่ใช้ เล่ นฟุตบอล และหัวข้ อย่ อยที่ 4. ตําแหน่ งผู้เล่นและหน้ าที่ในการเล่น ดัง
รายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ ต่าง ๆ
เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่ วงหน้ า และจดบันทึกข้ อคําถามที่สงสั ยหรือสนใจ
อย่ างน้ อย 2 ถึง 3 ประเด็นลงในสมุด เพือ่ ใช้ เป็ นร่ องรอยและหลักฐานในการศึกษา แล้วนํามาสนทนา
ร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรชักชวนเพื่อนหรื อสมาชิกในครอบครัวร่ วมฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะการวิง่ ระยะสั้นนอกเวลาเรี ยนอย่าง
สมํ่าเสมอ หรื อใช้เวลาในกิจกรรมการลดเวลาเรี ยนเพิ่มเวลารู ้ตามที่สถานศึกษากําหนด ตลอดจนศึกษาและฝึ ก
ปฏิบตั ิทกั ษะกรี ฑาประเภทอื่น ๆ เพิ่มเติม เพื่อสร้างเสริ มสุ ขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์เกี่ยวกับทักษะการวิ่งระยะสั้น
2. อุปกรณ์ประกอบการวิ่งระยะสั้น เช่น นาฬิกาจับเวลา เส้นชัยหรื อแถบชัย
3. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
4. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
5. ใบกิจกรรม เรื่ อง ขัน้ ตอนทักษะการวิ่ง หากรู้ จริ งเรี ยงลําดับมา
6. ใบกิจกรรม เรื่ อง วิธีการเข้ าเส้ นชัย ทําอย่ างไรช่ วยบอกที
7. แบบประเมินผลการปฏิบตั ิทกั ษะการวิ่งระยะสั้น
8. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
11. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
203

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
204

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 30
กีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง ฟุตบอล

1. สาระสํ าคัญ
ฟุตบอล เป็ นกีฬาประเภททีมที่ได้รับความนิ ยม โดยลักษณะการเล่นฟุตบอลจะมีผเู ้ ล่น 2 ทีม แต่ละทีมมีผู้
เล่นจํานวน 11 คน แบ่งเป็ นผูร้ ักษาประตู 1 คน ผูเ้ ล่น 10 คน ผูเ้ ล่นแต่ละทีมต้องส่งลูกบอลด้วยเท้าหรื อศีรษะให้กบั
ผูเ้ ล่นในทีมเดียวกันเพื่อยิงประตูฝ่ายตรงข้ามให้ได้มากกว่าฝ่ ายตรงข้าม เวลาการเล่นแบ่งเป็ น 2 ครึ่ ง ครึ่ งละ 45 นาที
พักครึ่ งไม่เกิน 15 นาที เมื่อจบเวลาการแข่งขันทีมที่ได้ประตูมากกว่าเป็ นฝ่ ายชนะ หากได้ประตูเท่ากันถือว่าเสมอ
สนามที่ ใช้เล่นฟุตบอลเป็ นรู ปสี่ เหลี่ ยมผืนผ้า ประกอบด้วยเขตประตู เขตโทษ เส้นแบ่งแดนกลางสนาม
และวงกลมจุดเริ่ มเล่นกลางสนาม จุดเตะโทษ 2 จุด และเขตเตะจากมุมสนามทั้ง 4 ด้าน
ตําแหน่งผูเ้ ล่นในกีฬาฟุตบอล ประกอบด้วย ผูร้ ักษาประตูมีหน้าที่หยุดหรื อป้ องกันไม่ให้ลูกบอลเข้าประตู
กองหลัง ประกอบด้วยแบ็กขวาและแบ็กซ้าย เป็ นผูช้ ่วยผูร้ ักษาประตูในการป้ องกันไม่ให้ฝ่ายตรงข้ามได้ยิงประตู
กองกลาง ประกอบด้วย ฮาฟขวา (right half) เซนเตอร์ ฮาฟ (center half) และฮาฟซ้าย (left half) จะเป็ นทั้งผูเ้ ล่นใน
การรุ กและการรับ โดยจะช่วยสนับสนุนผูเ้ ล่นกองหน้าในการทําประตูและช่วยเหลือกองหลังในการป้ องกันประตู
และกองหน้าประกอบด้วย ปี กขวา ในขวา ศูนย์หน้า ในซ้าย และปี กซ้าย มี หน้าที่ ในการทําประตูให้กบั ที มของ
ตนเอง

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
3. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
4. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
5. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)
205

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายลักษณะการเล่นฟุตบอล สนามที่ใช้เล่นฟุตบอล ตําแหน่งผูเ้ ล่นและหน้าที่ในการเล่นฟุตบอลอย่าง
ถูกต้องได้ (K)
2. เข้าร่ วมศึกษาและฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้เกี่ยวกับลักษณะการเล่นฟุตบอล สนามที่ใช้เล่นฟุตบอล
ตําแหน่งผูเ้ ล่น และหน้าที่ในการเล่นฟุตบอลด้วยความสนใจและกระตือรื อร้น (A)
3. แสดงทักษะในการสื่ อสารเกี่ยวกับลักษณะการเล่นฟุตบอล สนามที่ใช้เล่นฟุตบอล ตําแหน่งผูเ้ ล่นและหน้าที่
ในการเล่นฟุตบอลให้ผอู้ ื่นเข้าใจได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
– ประสบการณ์และความรู้ความ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
เข้าใจในเรื่ อง กีฬาฟุตบอล แผนที่ความคิด*
– ลักษณะการเล่นฟุตบอล สนามที่
ใช้เล่นฟุตบอล ตําแหน่งผูเ้ ล่น
และหน้าที่ในการเล่นฟุตบอล
• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ปฏิบตั ิกิจกรรม ตําแหน่ งการยืน ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
ของผู้เล่ นฟุตบอล ครู เคยสอนลอง พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
มาวาดภาพกัน ป. 5
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
206

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. กีฬา (ต่อ)
3.2 ฟุตบอล
1. ลักษณะการเล่นฟุตบอล
3. สนามที่ใช้เล่นฟุตบอล
4. ตําแหน่งผูเ้ ล่นและหน้าที่ในการเล่น

6. แนวทางบูรณาการ
สังคมศึกษาฯ  ศึ กษาค้นคว้าเกี่ ยวกับประวัติความเป็ นมาของกี ฬาฟุตบอลทั้งในต่างประเทศ
และในประเทศไทย ตลอดจนสํารวจความนิยมของกีฬาฟุตบอลในแต่ละ
ท้องถิ่นในประเทศไทย
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ ภาษาอังกฤษหรือภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
เกีย่ วกับกีฬาฟุตบอล
คณิ ตศาสตร์  นับจํานวนสมาชิกหรื อผูเ้ ล่นฟุตบอลในทีม วัดขนาดของสนามที่ใช้เล่น
ฟุตบอล
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น อภิปราย และเขียนสรุ ปความรู ้เกี่ยวกับประโยชน์
ของการเล่นฟุตบอล ลักษณะการเล่นฟุตบอล สนามที่ใช้เล่นฟุตบอล ตําแหน่ง
ผูเ้ ล่นและหน้าที่ในการเล่นฟุตบอล
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิดหรื อแผนผังแสดงตําแหน่งผูเ้ ล่นและ
หน้าที่ในการเล่นฟุตบอล
ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพสมาชิกหรื อผูเ้ ล่นฟุตบอลในแต่ละทีมประกอบการจัดทํา
แผนที่ความคิดหรื อแผนผังแสดงตําแหน่งผูเ้ ล่นและหน้าที่ในการเล่นฟุตบอล
207

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอประเด็นคําถามเกีย่ วกับลักษณะการเล่ นฟุตบอล สนามที่ใช้
เล่ นฟุตบอล และตําแหน่ งผู้เล่ นและหน้ าที่ในการเล่ นที่สงสั ยหรือสนใจ ตามที่ได้ รับมอบหมายให้ ศึกษา
ค้ นคว้ ามาล่วงหน้ าในการเรียนครั้งที่ผ่านมา แล้ วให้ เพือ่ น ๆ ช่ วยกันตอบคําถามดังกล่าวร่ วมกัน โดยครู
คอยให้ ความรู้ที่ถูกต้องเพิม่ เติม
4. ให้นกั เรี ยนดูภาพแสดงการเล่นหรื อการแข่งขันกีฬาฟุตบอลที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับ
ความรู้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู้ของนักเรี ยน และตอบคําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– จากภาพคือกีฬาชนิดใด (กีฬาฟุตบอล)
– นักเรี ยนเคยเล่นหรื อเคยดูการแข่งขันกีฬาดังกล่าวหรื อไม่ (ตอบได้ โดยอิสระ เช่ น ไม่ เคยเล่ น แต่ เคยดูการ
แข่ งขันจากโทรทัศน์ )
– นักเรี ยนคิดว่าเพราะเหตุใดกีฬาฟุตบอลจึงได้รับความนิยม (เพราะกีฬาฟุตบอลเป็ นกีฬาที่ได้ รับการยอมรั บ
ในระดับสากล มีวิธีการเล่ นที่สะดวก เข้ าใจง่ าย ใช้ อุปกรณ์ การเล่ นไม่ มาก รวมถึงหาสนามที่ จะใช้ เล่ นได้
ง่ าย เป็ นกีฬาที่นอกจากจะสร้ างความสนุกสนานเพลิดเพลินให้ กับทั้งผู้เล่ นและผู้ชมกีฬาแล้ ว ยังช่ วยสร้ าง
เสริ มสมรรถภาพทางกายให้ แข็งแรง ส่ งผลดีต่อสุขภาพทั้งทางร่ างกายและจิตใจ รวมถึงสร้ างเสริ มความ
สามัคคีในหมู่คณะ และยังถือเป็ นกีฬาที่ ช่วยเชื่ อมสัมพันธไมตรี ระหว่ างบุคคล รวมถึงประเทศชาติได้ ดีอีก
ด้ วย)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 3.2 ฟุตบอล ในหัวข้อย่อยที่ 1. ลักษณะการเล่น
ฟุตบอล หัวข้อย่อยที่ 3. สนามที่ใช้เล่นฟุตบอล และหัวข้อย่อยที่ 4. ตําแหน่งผูเ้ ล่นและหน้าที่ในการเล่น
เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้ในประเด็นเกี่ยวกับความสําคัญและประโยชน์ของการเล่นกีฬาฟุตบอล โดยใช้ภาพหรื อเปิ ด
สื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิบาย
2. ครู ให้ความรู ้ในหัวข้อที่ 3.2 ฟุตบอล ในหัวข้อย่อยที่ 1. ลักษณะการเล่นฟุตบอล หัวข้อย่อยที่ 3. สนามที่ใช้
เล่นฟุตบอล และหัวข้อย่อยที่ 4. ตําแหน่งผูเ้ ล่นและหน้าที่ในการเล่น โดยใช้ภาพแผนผังแสดงขนาดของ
สนามและตําแหน่งการยืนของผูเ้ ล่นในการเล่นกีฬาฟุตบอล หรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดู
ประกอบการอธิบาย
208

3. ครูแสดงบัตรคําที่เกีย่ วข้ องกับลักษณะการเล่ นฟุตบอล สนามที่ใช้ เล่นฟุตบอล และตําแหน่ งผู้เล่นและ


หน้ าที่ในการเล่น ในภาษาอังกฤษให้ นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่ านสะกดคําและอ่ านออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่าน
ตาม เพือ่ สร้ างเสริมทักษะทางด้ านภาษา ตัวอย่ างเช่ น คําว่า
– ฟุตบอล ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Football อ่านออกเสี ยงว่ า ฟุทบอล
– ลูกบอล ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Ball อ่านออกเสี ยงว่ า บอล
– หัวหน้ าทีม ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Captain อ่านออกเสี ยงว่ า แคพ-ทิน
– ผู้รักษาประตู ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Goalkeeper อ่านออกเสี ยงว่า โกล คีพ-เออะ
– การทําประตู ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Score อ่านออกเสี ยงว่า ซโค
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศสมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
4. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนแบ่งทีม ทีมละ 11 คน แต่ละทีมร่ วมกันวางแผนกําหนดตําแหน่งในการเล่นฟุตบอลแก่สมาชิกใน
ทีมและยืนตามตําแหน่งดังกล่าวให้ถูกต้อง โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
2. ครู ซกั ถามแต่ละตําแหน่งในทีม และให้นกั เรี ยนที่อยูใ่ นตําแหน่งนั้น ๆ บอกหน้าที่ของตนเองในทีม โดย
ครู ให้ความรู้ที่ถูกต้องเพิม่ เติม
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรม ตําแหน่ งการยืนของผู้เล่ นฟุตบอล ครู เคยสอนลองมาวาดภาพกัน ดังรายละเอียด
ในใบกิจกรรมที่ครู แจกให้หรื อในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 โดยใช้เวลา
ตามที่ครู กาํ หนด
2. สุ่ มนักเรี ยนประมาณ 2–3 คนออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยนโดยครู คอยเสนอแนะและ
ให้ความรู ้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
3. ครู เฉลยคําตอบที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนทราบและให้นกั เรี ยนร่ วมกันตรวจสอบแก้ไขคําตอบให้ถูกต้อง
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าในหัวข้ อที่ 3.2 ฟุตบอล ในหัวข้ อย่ อยที่ 2. ทักษะในการเล่นฟุตบอล ใน
ข้ อที่ 1) การเตะลูกข้ างเท้ าด้ านใน (ลูกแป) และข้ อที่ 2) การเตะลูกข้ างเท้ าด้ านนอก ดังรายละเอียดใน
หนั ง สื อ เรี ย น รายวิ ช าพื้ น ฐาน สุ ขศึ ก ษาและพลศึ ก ษา ป. 5 หรื อ จากแหล่ ง การเรี ย นรู้ ต่ า ง ๆ เช่ น
อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป
209

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับลักษณะการเล่นฟุตบอล สนามที่ใช้เล่นฟุตบอล และตําแหน่งผูเ้ ล่น
และหน้าที่ในการเล่น หรื อกฎกติกาการแข่งขันฟุตบอล จากแหล่งการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการ
สร้างเสริ มสุขภาพ การออกกําลังกาย และการเล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ใน
ชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ เพื่อเสริ มสร้างการเรี ยนรู ้และทําให้เกิดความ
เข้าใจในกีฬาฟุตบอล สามารถนําไปใช้เล่นหรื อแข่งขันได้ในชีวิตประจําวัน

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพแสดงการเล่นหรื อการแข่งขันกีฬาฟุตบอล
2. ภาพแผนผังแสดงขนาดของสนามและตําแหน่งการยืนของผูเ้ ล่นในการเล่นกีฬาฟุตบอล หรื อสื่ อวีดิทศั น์ที่
เกี่ยวข้อง
3. บัตรคําที่เกี่ยวข้องกับลักษณะการเล่นฟุตบอล สนามที่ใช้เล่นฟุตบอล และตําแหน่งผูเ้ ล่นและหน้าที่ในการเล่น
4. ลูกฟุตบอล
5. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
6. ใบกิจกรรม เรื่ อง ตําแหน่ งการยืนของผู้เล่ นฟุตบอล ครู เคยสอนลองมาวาดภาพกัน
7. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
8. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
11. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
210

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
211

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 31
กีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง ฟุตบอล (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
ทักษะพื้นฐานในการเล่นกีฬาฟุตบอลที่นกั เรี ยนควรศึกษาประกอบด้วยการเตะลูกข้างเท้าด้านใน (ลูกแป)
การเตะลูกข้างเท้าด้านนอก การเตะลูกด้วยหลังเท้า การโหม่งลูกบอล การหยุดลูกบอล การเลี้ยงลูกบอล การทุ่มลูก
บอลเข้าเล่น การเข้าสกัดกั้นหรื อแย่งลูกบอล และการรักษาประตู หากนักเรี ยนได้ปฏิบตั ิดว้ ยความชํานาญจะช่วยให้
สามารถเล่นกีฬาฟุตบอลได้เป็ นอย่างดี ซึ่งในการเรี ยนครั้งนี้นกั เรี ยนจะได้เรี ยนรู้และฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะการเล่นกีฬา
ฟุตบอลในการเตะลูกข้างเท้าด้านใน (ลูกแป) และการเตะลูกข้างเท้าด้านนอก โดย
การเตะลูกข้ างเท้ าด้ านใน (ลูกแป) ผูเ้ ล่นวางเท้าข้างที่ไม่ได้เตะให้อยูร่ ะดับเดียวกับลูกบอล ปลายเท้าชี้ไป
ในทิศทางที่ตอ้ งการ ส่งลูกบอลไป ตามองที่ลูกบอล เปิ ดปลายเท้าข้างที่จะเตะให้ปลายเท้าหันออกนอกลําตัวเป็ นมุม
ฉาก เหวี่ยงเท้าเตะโดยใช้แรงเหวี่ยงจากสะโพกให้เท้าถูกลูกบอลบริ เวณระหว่างโคนหัวแม่เท้ากับกระดูกข้อเท้า
การเตะลูกข้ างเท้ าด้ านนอก ให้ผเู ้ ล่นวางเท้าที่ไม่ได้เตะด้านข้างลูกบอลค่อนไปข้างหลัง ยกเท้าข้างที่เตะขึ้น
เตะลูกบอลด้วยข้างเท้าด้านนอก หักข้อเท้าลงจนส่วนข้างเท้าด้านนอกขนานผ่านตัดลูกบอลไปตามแนวทิศทางที่จะ
ส่งลูกบอล ขณะเท้าเตะลูกบอลให้เกร็ งขาและข้อเท้า โดยให้ขา้ งเท้าด้านนอกถูกลูกบอล แล้วเหยียดเท้าตามลูกบอลไป

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
3. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
4. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
5. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)
212

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายทักษะการเล่นกีฬาฟุตบอลในการเตะลูกข้างเท้าด้านใน (ลูกแป) และการเตะลูกด้วยข้างเท้าด้านนอก
อย่างถูกต้องได้ (K)
2. เข้าร่ วมศึกษาและฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้เกี่ยวกับการฝึ กทักษะในการเล่นกีฬาฟุตบอลขั้นพื้นฐานด้วย
ความสนใจ กระตือรื อร้น และมีระเบียบวินยั (A)
3. แสดงทักษะการเล่นกีฬาฟุตบอลในการเตะลูกข้างเท้าด้านใน (ลูกแป) และการเตะลูกด้วยข้างเท้าด้านนอก
อย่างถูกต้องได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับทักษะการเล่นกีฬา • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ฟุตบอลในการเตะลูกข้างเท้าด้าน ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ใน (ลูกแป) และการเตะลูกด้วย แผนที่ความคิด*
ข้างเท้าด้านนอก
• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ปฏิบตั ิกิจกรรม ตําแหน่ งการยืน ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
ของผู้เล่ นฟุตบอล ครู เคยสอนลอง พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
มาวาดภาพกัน ป. 5
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
213

5. สาระการเรียนรู้
3. กีฬา (ต่อ)
3.2 ฟุตบอล (ต่อ)
2. ทักษะในการเล่นกีฬาฟุตบอล
1) การเตะลูกข้างเท้าด้านใน (ลูกแป)
2) การเตะลูกด้วยข้างเท้าด้านนอก

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ ภาษาอังกฤษหรือภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
เกีย่ วกับทักษะการเตะลูกบอลในกีฬาฟุตบอล
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น อภิปราย และเขียนสรุ ปความรู ้เกี่ยวกับทักษะการ
เล่นกีฬาฟุตบอลในการเตะลูกข้างเท้าด้านใน (ลูกแป) และการเตะลูกด้วยข้าง
เท้าด้านนอก
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนภาพแสดงวิธีปฏิบตั ิทกั ษะการเล่นกีฬา ฟุ ต บ อ ล ใ น
การเตะลูกข้างเท้าด้านใน (ลูกแป) และการเตะลูกด้วยข้างเท้าด้านนอก
วิทยาศาสตร์  สังเกต ศึกษา สื บค้น วิเคราะห์ บันทึ กข้อมูล ทดลองปฏิบตั ิ ประเมินผล และ
สรุ ปผลเกี่ ยวกับลักษณะการเคลื่ อนไหวร่ างกายในการปฏิ บตั ิ ทกั ษะการเล่น
กีฬาฟุตบอลในการเตะลูกข้างเท้าด้านใน (ลูกแป) และการเตะลูกด้วยข้างเท้า
ด้านนอกตามหลักวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวหรื อหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในหัวข้ อที่ 3.2 ฟุตบอล
ในหัวข้ อย่อยที่ 2. ทักษะในการเล่ นฟุตบอล ในข้ อที่ 1) การเตะลูกข้ างเท้ าด้ านใน (ลูกแป) และข้ อที่ 2) มา
ล่วงหน้ า ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัติ
กิจกรรมดังกล่าวของนักเรียน
214

4. ให้นกั เรี ยนดูภาพแสดงทักษะการเตะฟุตบอลของนักกีฬาฟุตบอลในหลากหลายท่าที่ครู เตรี ยมมา แล้ว


สนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน และตอบคําถาม
ร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– การเตะฟุตบอลมีกี่รูปแบบ อะไรบ้าง (3 รู ปแบบ ได้ แก่ การเตะลูกข้ างเท้ าด้ านใน (ลูกแป) การเตะลูก
ข้ างเท้ าด้ านนอก และการเตะลูกด้ วยหลังเท้ า)
– การเตะลูกที่ดีมีผลต่อการเล่นฟุตบอลอย่างไร (ทําให้ ส่งบอลต่ อไปยังเพื่อนร่ วมทีมได้ อย่ างราบรื่ น
ประสบผลสําเร็ จ และนําไปสู่การทําประตูหรื อชนะการแข่ งขันได้ ด้วยนั่นเอง)
– ทําอย่างไรนักเรี ยนจึงจะเตะลูกได้อย่างแม่นยํา (หมัน่ ฝึ กฝนอย่ างสมํา่ เสมอจนเกิดความชํานาญ)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 3.2 ฟุตบอล ในหัวข้อย่อยที่ 2. ทักษะในการเล่น
ฟุตบอล ในข้อที่ 1) การเตะลูกข้างเท้าด้านใน (ลูกแป) และข้อที่ 2) เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและ
ความสนใจในการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้ในหัวข้อที่ 3.2 ฟุตบอล ในหัวข้อย่อยที่ 2. ทักษะในการเล่นฟุตบอล ในข้อที่ 1) การเตะลูก
ข้างเท้าด้านใน (ลูกแป) และข้อที่ 2) การเตะลูกข้างเท้าด้านนอก ตามลําดับ โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิ
ทัศน์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
2. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมาสาธิตทักษะการเตะลูกข้างเท้าด้านใน (ลูกแป) และการเตะลูกข้างเท้าด้าน
นอกร่ วมกับครู หน้าชั้นเรี ยนในแต่ละทักษะตามลําดับ แล้วให้เพื่อน ๆ ร่ วมกันปฏิบตั ิตาม โดยครู
ตรวจสอบความถูกต้องในการปฏิบตั ิของนักเรี ยนเป็ นรายบุคคล
3. ครูแสดงบัตรคําที่เกีย่ วข้ องกับทักษะการเตะลูกบอลในกีฬาฟุตบอลในภาษาอังกฤษให้ นักเรียนดู พร้ อมทั้ง
อ่านสะกดคําและอ่านออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่ านตาม เพือ่ สร้ างเสริมทักษะทางด้ านภาษา ตัวอย่ างเช่ น คําว่า
– เตะ ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Kick อ่านออกเสี ยงว่ า คิค
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศสมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
4. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนจับคู่กบั เพื่อน ร่ วมกันฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะการเตะลูกข้างเท้าด้านใน (ลูกแป) และการเตะลูกข้างเท้า
ด้านนอก โดยเตะลูกรับและส่ งทั้งแบบอยูก่ บั ที่และเคลื่อนที่ โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด โดยครู คอยดูแล
การปฏิบตั ิอย่างใกล้ชิดและให้คาํ แนะนําที่ถูกต้องเพิ่มเติม
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• นักเรี ยนแต่ละคู่ผลัดเปลี่ยนกันออกมาแสดงทักษะการเตะลูกข้างเท้าด้านใน (ลูกแป) และการเตะลูกข้างเท้า
ด้านนอกให้ครู และเพื่อนดู โดยครู คอยให้คาํ แนะนําแก้ไขให้ถูกต้องเพิ่มเติม
215

ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้


1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าในหัวข้ อที่ 3.2 ฟุตบอล ในหัวข้ อย่ อยที่ 2. ทักษะในการเล่นฟุตบอล
(ต่ อ) ในข้ อที่ 3) การเตะลูกด้ วยหลังเท้ า และข้ อที่ 4) การโหม่ งลูกบอล ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน
รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุด
ของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า แล้ วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะการเตะลูกข้างเท้าด้านใน (ลูกแป) และการเตะลูกข้างเท้าด้านนอกเพิ่มเติมนอก
เวลาเรี ยน หรื อใช้เวลาในกิจกรรมการลดเวลาเรี ยนเพิ่มเวลารู้ตามที่สถานศึกษากําหนด อย่างสมํ่าเสมอจนเกิด
ความชํานาญ เพื่อเป็ นทักษะพื้นฐานในการเล่นกีฬาฟุตบอล และเสริ มสร้างสุ ขภาพร่ างกายให้สมบูรณ์แข็งแรง

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพแสดงทักษะการเตะฟุตบอลของนักกีฬาฟุตบอล
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายในหัวข้อที่ 3.2 ฟุตบอล ในหัวข้อย่อยที่ 2. ทักษะในการเล่นฟุตบอล
ในข้อที่ 1) การเตะลูกข้างเท้าด้านใน (ลูกแป) และข้อที่ 2) การเตะลูกข้างเท้าด้านนอก
3. บัตรคําที่เกี่ยวข้องกับทักษะการเตะลูกในกีฬาฟุตบอลในภาษาอังกฤษ
4. ลูกฟุตบอล
5. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
6. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
216

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
217

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 32
กีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง ฟุตบอล (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
ในการเรี ยนครั้งนี้นกั เรี ยนจะได้เรี ยนรู้และฝึ กปฏิบตั ิเกี่ยวกับทักษะการเล่นกีฬาฟุตบอลในการเตะลูกด้วย
หลังเท้าและการโหม่งลูกบอล โดย
การเตะลูกด้ วยหลังเท้ า ให้ยืนหันหน้าเข้าหาลูกบอล วางเท้าที่ไม่ได้เตะในระดับเดียวกับลูกบอลด้านข้าง
ห่างจากลูกบอลประมาณ 1 คืบ ใช้แรงเหวี่ยงเท้าที่ใช้เตะจากสะโพก งุม้ ปลายเท้าลงพร้อมกับเกร็ งข้อเท้า ใช้บริ เวณ
หลังเท้าสัมผัสลูกบอลตรงกึ่งกลางลูก หากต้องการให้ลูกบอลเรี ยดก็โน้มตัวไปข้างหน้าเหนือลูกบอล หากต้องการ
ให้ลูกโด่งก็แอ่นตัวไปด้านหลัง
การโหม่ งลูกบอล สายตาจะต้องจ้องมองที่ลูกบอล เก็บคางและเกร็ งคอ แล้วเอนตัวไปข้างหลัง เมื่อลูกบอล
มาสู่ระยะที่สามารถโหม่งได้แล้วให้ชะโงกหน้าไปข้างหน้า ใช้บริ เวณหน้าผากโขกลูกบอล

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
3. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
4. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
5. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายทักษะการเล่นกีฬาฟุตบอลในการเตะลูกด้วยหลังเท้าและการโหม่งลูกบอลอย่างถูกต้องได้ (K)
2. เข้าร่ วมศึกษาและฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้เกี่ยวกับการฝึ กทักษะในการเล่นกีฬาฟุตบอลขั้นพื้นฐานด้วย
ความสนใจ กระตือรื อร้น และมีระเบียบวินยั (A)
3. แสดงทักษะการเล่นกีฬาฟุตบอลในการเตะลูกด้วยหลังเท้าและการโหม่งลูกบอลอย่างถูกต้องได้ (P)
218

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับทักษะการเล่นกีฬา • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ฟุตบอลในการเตะลูกด้วยหลังเท้า ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
และการโหม่งลูกบอล แผนที่ความคิด*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. กีฬา (ต่อ)
3.2 ฟุตบอล (ต่อ)
2. ทักษะในการเล่นกีฬาฟุตบอล (ต่อ)
3) การเตะลูกด้วยหลังเท้า
4) การโหม่งลูกบอล

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ภาษาอังกฤษหรื อภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
เกี่ยวกับทักษะการเตะลูกด้วยหลังเท้าและการโหม่งลูกบอลในกีฬาฟุตบอล
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น อภิปราย และเขียนสรุ ปความรู ้เกี่ยวกับทักษะการ
เล่นกีฬาฟุตบอลในการเตะลูกด้วยหลังเท้าและการโหม่งลูกบอล
219

การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนภาพแสดงวิธีปฏิบตั ิทกั ษะการเล่นกีฬา ฟุตบอลใน


การเตะลูกด้วยหลังเท้าและการโหม่งลูกบอล
วิทยาศาสตร์  สังเกต ศึกษา สื บค้น วิเคราะห์ บันทึกข้อมูล ทดลองปฏิบตั ิ ประเมินผล และ
สรุ ปผลเกี่ยวกับลักษณะการเคลื่อนไหวร่ างกายในการปฏิบตั ิทกั ษะการเล่น
กีฬาฟุตบอลในการเตะลูกด้วยหลังเท้าและการโหม่งลูกบอลตามหลัก
วิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวหรื อหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในหัวข้ อที่ 3.2 ฟุตบอล
ในหัวข้ อย่อยที่ 2. ทักษะในการเล่ นฟุตบอล (ต่ อ) ในข้ อที่ 3) การเตะลูกด้ วยหลังเท้ า และข้ อที่ 4) การโหม่ ง
ลูกบอล) มาล่ วงหน้ า ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการ
ปฏิบัตกิ จิ กรรมดังกล่าวของนักเรียน
4. ให้นกั เรี ยนดูภาพแสดงทักษะการเตะลูกด้วยหลังเท้าและการโหม่งลูกบอลของนักกีฬาฟุตบอลที่ครู เตรี ยม
มา แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู ้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู้ของนักเรี ยน และตอบ
คําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– จากภาพ ผูเ้ ล่นจะใช้บริ เวณใดของเท้าในการเตะลูก (หลังเท้ า)
– การเตะลูกด้วยหลังเท้ามักใช้ในกรณี ใด (การเตะลูกด้ วยหลังเท้ ามักใช้ ในกรณี ที่ต้องการยิงประตู การ
ผ่ านลูกระยะยาว หรื อการเตะลูกระยะไกล เพราะเป็ นการเตะที่ มีความรุ นแรง มีแรงส่ งลูกมากกว่ าการ
เตะลูกในลักษณะอื่น ๆ)
– การโหม่งลูกบอลใช้ในกรณี ใด (หมัน่ ฝึ กฝนอย่ างสมํา่ เสมอจนเกิดความชํานาญ)
– ส่วนใดของร่ างกายเป็ นตัวบังคับทิศทางของลูกบอลที่ลอยอยูใ่ นอากาศในขณะที่เรากระโดดขึ้นโหม่ง
ลูกบอล (หมัน่ ฝึ กฝนอย่ างสมํา่ เสมอจนเกิดความชํานาญ)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 3.2 ฟุตบอล ในหัวข้อย่อยที่ 2. ทักษะในการเล่น
ฟุตบอล (ต่อ) ในข้อที่ 3) การเตะลูกด้วยหลังเท้า และข้อที่ 4) การโหม่งลูกบอล) เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมี
ส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
220

ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้ในหัวข้อที่ 3.2 ฟุตบอล ในหัวข้อย่อยที่ 2. ทักษะในการเล่นฟุตบอล (ต่อ) ในข้อที่ 3) การเตะ
ลูกด้วยหลังเท้า และข้อที่ 4) การโหม่งลูกบอล ตามลําดับ โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้
นักเรี ยนดูประกอบการอธิบาย
2. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมาสาธิตทักษะการเตะลูกด้วยหลังเท้าและการโหม่งลูกบอลร่ วมกับครู หน้าชั้น
เรี ยนในแต่ละทักษะตามลําดับ แล้วให้เพือ่ น ๆ ร่ วมกันปฏิบตั ิตาม โดยครู ตรวจสอบความถูกต้องในการ
ปฏิบตั ิของนักเรี ยนเป็ นรายบุคคล
3. ครูแสดงบัตรคําที่เกีย่ วข้ องกับทักษะการเตะลูกด้ วยหลังเท้ าและการโหม่ งลูกบอลในกีฬาฟุตบอล ใน
ภาษาอังกฤษให้ นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่านสะกดคําและอ่านออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่ านตาม เพือ่ สร้ างเสริม
ทักษะทางด้ านภาษา ตัวอย่ างเช่ น คําว่ า
– เตะลูกด้ วยหลังเท้ า ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Instep kick อ่านออกเสี ยงว่ า อีน-ซเท็พ คิค
– โหม่ งลูกบอล ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Heading อ่านออกเสี ยงว่ า เฮ็ดดิง
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศสมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
4. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนจับคู่กบั เพื่อน ร่ วมกันฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะการเตะลูกด้วยหลังเท้าและการโหม่งลูกบอล โดยเตะลูกและ
โหม่งลูกรับและส่งทั้งแบบอยูก่ บั ที่และเคลื่อนที่ โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด โดยครู คอยดูแลการปฏิบตั ิ
อย่างใกล้ชิดและให้คาํ แนะนําที่ถูกต้องเพิ่มเติม
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• นักเรี ยนแต่ละคู่ผลัดเปลี่ยนกันออกมาแสดงทักษะการเตะลูกด้วยหลังเท้าและการโหม่งลูกบอลให้ครู และ
เพื่อนดู โดยครู คอยให้คาํ แนะนําแก้ไขให้ถูกต้องเพิ่มเติม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าในหัวข้ อที่ 3.2 ฟุตบอล ในหัวข้ อย่ อยที่ 2. ทักษะในการเล่นฟุตบอล
(ต่ อ) ในข้ อที่ 5) การหยุดลูกบอล ข้ อที่ 6) การเลีย้ งลูกบอล และข้ อที่ 7) การทุ่มลูกบอลเข้ าเล่น ดัง
รายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ ต่าง ๆ
เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่ วงหน้ า แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้ง
ต่ อไป
221

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะการเตะลูกด้วยหลังเท้าและการโหม่งลูกบอลเพิ่มเติมนอกเวลาเรี ยน หรื อใช้เวลา
ในกิจกรรมการลดเวลาเรี ยนเพิ่มเวลารู้ตามที่สถานศึกษากําหนดอย่างสมํ่าเสมอจนเกิดความชํานาญ เพื่อเป็ น
ทักษะพื้นฐานในการเล่นกีฬาฟุตบอล และเสริ มสร้างสุ ขภาพร่ างกายให้สมบูรณ์แข็งแรง

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพแสดงทักษะการเตะลูกด้วยหลังเท้าและการโหม่งลูกบอลของนักกีฬาฟุตบอล
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายในหัวข้อที่ 3.2 ฟุตบอล ในหัวข้อย่อยที่ 2. ทักษะในการเล่นฟุตบอล
(ต่อ) ในข้อที่ 3) การเตะลูกด้วยหลังเท้า และข้อที่ 4) การโหม่งลูกบอล
3. บัตรคําที่เกี่ยวข้องกับทักษะการเตะลูกด้วยหลังเท้าและการโหม่งลูกบอลในกีฬาฟุตบอลในภาษาอังกฤษ
4. ลูกฟุตบอล
5. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
6. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
222

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 33
กีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง ฟุตบอล (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
ในการเรี ยนครั้งนี้นกั เรี ยนจะได้เรี ยนรู้และฝึ กปฏิบตั ิเกี่ยวกับทักษะการเล่นกีฬาฟุตบอลในการหยุดลูกบอล
การเลี้ยงลูกบอล และการทุ่มลูกบอลเข้าเล่น โดย
การหยุดลูกบอล ต้องอาศัยการผ่อนแรงเพื่อให้ลูกบอลอยูใ่ นการครอบครอง ซึ่งการหยุดลูกบอลมีหลายวิธี
ได้แก่ การหยุดลูกบอลด้วยหน้าอก ด้วยฝ่ าเท้า ด้วยข้างเท้าด้านใน และด้วยหน้าท้อง
การเลีย้ งลูกบอล เป็ นการพาลูกบอลไปด้วยการใช้เท้าทั้ง 2 ข้างสลับกัน เพื่อเคลื่อนที่ไปในทิศทางที่
ต้องการ โดยมีการฝึ กเลี้ยงลูกบอล ได้แก่ การเลี้ยงลูกบอลด้วยข้างเท้าด้านในทั้ง 2 ข้าง และการเลี้ยงลูกบอลอ้อมเสา
การทุ่มลูกบอลเข้ าเล่ น ให้ผทู ้ ุ่มจับลูกบอลด้วยฝ่ ามือทั้ง 2 ข้าง ค่อนไปข้างหลัง นิ้วหัวแม่มือห่างกันพอประมาณ
ยืนอยูน่ อกเส้นที่กาํ หนด เท้าข้างหนึ่งอยูห่ น้าเท้าอีกข้างหนึ่งอยูห่ ลัง หรื อยืนแยกเท้าห่างกันพอประมาณ ยกหัวไหล่เอน
ตัวไปข้างหลัง ข้อศอกเหยียดตรง การทุ่มต้องใช้แรงจากแขนและนิ้วมือเพื่อส่งลูกบอลออกไป ขณะทุ่มลูกบอลเท้าใด
เท้าหนึ่งจะยกพ้นจากพื้นไม่ได้

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
2. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายทักษะการเล่นกีฬาฟุตบอลในการหยุดลูกบอล การเลี้ยงลูกบอล และการทุ่มลูกบอลเข้าเล่นอย่าง
ถูกต้องได้ (K)
2. เข้าร่ วมศึกษาและฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้เกี่ยวกับการฝึ กทักษะในการเล่นกีฬาฟุตบอลขั้นพื้นฐานด้วย
ความสนใจ กระตือรื อร้น และมีระเบียบวินยั (A)
3. แสดงทักษะการเล่นกีฬาฟุตบอลในการหยุดลูกบอล การเลี้ยงลูกบอล และการทุ่มลูกบอลเข้าเล่นอย่างถูกต้อง
ได้ (P)
223

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับทักษะการเล่นกีฬา • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ฟุตบอลในการหยุดลูกบอล การ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
เลี้ยงลูกบอล และการทุ่มลูกบอล แผนที่ความคิด*
เข้าเล่น
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. กีฬา (ต่อ)
3.2 ฟุตบอล (ต่อ)
2. ทักษะในการเล่นกีฬาฟุตบอล (ต่อ)
5) การหยุดลูกบอล
6) การเลี้ยงลูกบอล
7) การทุ่มลูกบอลเข้าเล่น
224

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ ภาษาอังกฤษ ภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนเกีย่ วกับ
ทักษะการหยุดลูกบอล การเลีย้ งลูกบอล และการทุ่มลูกบอลเข้ าเล่น
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น อภิปราย และเขียนสรุ ปความรู ้เกี่ยวกับทักษะการ
เล่นกีฬาฟุตบอลในการหยุดลูกบอล การเลี้ยงลูกบอล และการทุ่มลูกบอล
เข้าเล่น
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนภาพแสดงวิธีปฏิบตั ิทกั ษะการเล่นกีฬา ฟุตบอลใน
การหยุดลูกบอล การเลี้ยงลูกบอล และการทุ่มลูกบอลเข้าเล่น
วิทยาศาสตร์  สังเกต ศึกษา สื บค้น วิเคราะห์ บันทึกข้อมูล ทดลองปฏิบตั ิ ประเมินผล และ
สรุ ปผลเกี่ยวกับลักษณะการเคลื่อนไหวร่ างกายในการปฏิบตั ิทกั ษะการเล่น
กีฬาฟุตบอลในการหยุดลูกบอล การเลี้ยงลูกบอล และการทุ่มลูกบอลเข้าเล่น
ตามหลัก วิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวหรื อหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในหัวข้ อที่ 3.2 ฟุตบอล
ในหัวข้ อย่อยที่ 2. ทักษะในการเล่ นฟุตบอล (ต่ อ) ในข้ อที่ 5) การหยุดลูกบอล ข้ อที่ 6) การเลีย้ งลูกบอล
และข้ อที่ 7) การทุ่มลูกบอลเข้ าเล่น มาล่วงหน้ า ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครู
แสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัติกจิ กรรมดังกล่ าวของนักเรียน
4. ให้นกั เรี ยนดูภาพแสดงทักษะการหยุดลูกบอล การเลี้ยงลูกบอล และการทุ่มลูกบอลเข้าเล่นของนักกีฬา
ฟุตบอลที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู ้
ของนักเรี ยน และตอบคําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– การหยุดลูกบอลจะต้องใช้ส่วนใดของร่ างกายในการบังคับลูก (ใช้ อวัยวะในร่ างกายได้ หลายส่ วน เช่ น
หน้ าอก ฝ่ าเท้ า ข้ างเท้ าด้ านใน และหน้ าท้ อง)
– การเลี้ยงลูกบอลต้องใช้เท้าข้างใด (เท้ าทั้ง 2 ข้ างสลับกัน)
– การทุ่มลูกบอลเข้าเล่นจะเกิดขึ้นเมื่อใด (การทุ่มลูกบอลเข้ าเล่ นจะเกิดขึน้ เมื่อลูกบอลออกไปนอกสนาม
ทางเส้ นข้ าง)
225

– การทุ่มลูกบอลเข้าเล่นต้องอาศัยแรงจากส่วนใดของร่ างกายเพื่อส่งลูกบอล (หมัน่ ฝึ กฝนอย่ างสมํา่ เสมอ


จนเกิดความชํานาญ (ต้ องอาศัยแรงจากแขนและนิว้ มือเพื่อส่ งลูกบอลออกไปและสามารถบังคับให้ ลกู
บอลไปยังทิศทางที่ต้องการได้ )
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 3.2 ฟุตบอล ในหัวข้อย่อยที่ 2. ทักษะในการเล่น
ฟุตบอล (ต่อ) ในข้อที่ 5) การหยุดลูกบอล ข้อที่ 6) การเลี้ยงลูกบอล และข้อที่ 7) การทุ่มลูกบอลเข้าเล่น
เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้ในหัวข้อที่ 3.2 ฟุตบอล ในหัวข้อย่อยที่ 2. ทักษะในการเล่นฟุตบอล (ต่อ) ในข้อที่ 5) การ
หยุดลูกบอล ข้อที่ 6) การเลี้ยงลูกบอล และข้อที่ 7) การทุ่มลูกบอลเข้าเล่น ตามลําดับ โดยใช้ภาพหรื อเปิ ด
สื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิบาย
2. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมาสาธิตทักษะการหยุดลูกบอล การเลี้ยงลูกบอล และการทุ่มลูกบอลเข้าเล่น
ร่ วมกับครู หน้าชั้นเรี ยนในแต่ละทักษะตามลําดับ แล้วให้เพื่อน ๆ ร่ วมกันปฏิบตั ิตาม โดยครู ตรวจสอบ
ความถูกต้องในการปฏิบตั ิของนักเรี ยนเป็ นรายบุคคล
3. ครูแสดงบัตรคําที่เกีย่ วข้ องกับทักษะการหยุดลูกบอล การเลีย้ งลูกบอล และการทุ่มลูกบอลเข้ าเล่นในกีฬา
ฟุตบอล ในภาษาอังกฤษให้ นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่านสะกดคําและอ่านออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่ านตาม เพือ่
สร้ างเสริมทักษะทางด้ านภาษา ตัวอย่างเช่ น คําว่ า
– การหยุดลูกบอล ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Trapping ออกเสี ยงว่ า ทแรพ-พิง
– การเลีย้ งลูกบอล ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Dribble the ball ออกเสี ยงว่ า ดรีบ-บ,ล เฑอะ บอล
– การทุ่มลูกบอลเข้ าเล่น ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Throw in ออกเสี ยงว่ า ธโร อิน
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศสมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
4. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิม่ เติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนจับคู่กบั เพื่อน ร่ วมกันฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะการหยุดลูกบอล การเลี้ยงลูกบอล และการทุ่มลูกบอลเข้าเล่น
โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด โดยครู คอยดูแลการปฏิบตั ิอย่างใกล้ชิดและให้คาํ แนะนําที่ถูกต้องเพิ่มเติม
ตัวอย่างแบบฝึ กปฏิบตั ิ เช่น
– สลับกันส่งลูกบอล แล้วรับและหยุดลูกบอลด้วยหน้าอก
– สลับกันส่งลูกบอล แล้วรับและหยุดลูกบอลด้วยฝ่ าเท้า
– สลับกันส่งลูกบอล แล้วรับและหยุดลูกบอลด้วยข้างเท้าด้านใน
– สลับกันส่งลูกบอล แล้วรับและหยุดลูกบอลด้วยหน้าท้อง
– ผลัดกันเลี้ยงลูกบอลด้วยข้างเท้าด้านในทั้ง 2 ข้าง
226

– ผลัดกันเลี้ยงลูกบอลอ้อมเสา
– ผลัดกันทุ่มลูกบอลเข้าเล่น
ฯลฯ
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• นักเรี ยนแต่ละคู่ผลัดเปลี่ยนกันออกมาแสดงทักษะการหยุดลูกบอล การเลี้ยงลูกบอล และการทุ่มลูกบอลเข้า
เล่นให้ครู และเพื่อนดู โดยครู คอยให้คาํ แนะนําแก้ไขให้ถูกต้องเพิม่ เติม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าในหัวข้ อที่ 3.2 ฟุตบอล ในหัวข้ อย่ อยที่ 2. ทักษะในการเล่นฟุตบอล
(ต่ อ) ในข้ อที่ 8) การเข้ าสกัดกั้นหรือแย่ งลูกบอล และข้ อที่ 9) การรักษาประตู ดังรายละเอียดในหนังสื อ
เรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต
ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า แล้ วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะการหยุดลูกบอล การเลี้ยงลูกบอล และการทุ่มลูกบอลเข้าเล่นเพิ่มเติมนอกเวลา
เรี ยนหรื อใช้เวลาในกิจกรรมการลดเวลาเรี ยนเพิ่มเวลารู้ตามที่สถานศึกษากําหนดอย่างสมํ่าเสมอจนเกิดความ
ชํานาญ เพื่อเป็ นทักษะพื้นฐานในการเล่นกีฬาฟุตบอล และเสริ มสร้างสุขภาพร่ างกายให้สมบูรณ์แข็งแรง

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพแสดงทักษะการหยุดลูกบอล การเลี้ยงลูกบอล และการทุ่มลูกบอลเข้าเล่นของนักกีฬาฟุตบอล
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายในหัวข้อที่ 3.2 ฟุตบอล ในหัวข้อย่อยที่ 2. ทักษะในการเล่นฟุตบอล
(ต่อ) ในข้อที่ 5) การหยุดลูกบอล ข้อที่ 6) การเลี้ยงลูกบอล และข้อที่ 7) การทุ่มลูกบอลเข้าเล่น
3. บัตรคําที่เกี่ยวข้องกับทักษะการหยุดลูกบอล การเลี้ยงลูกบอล และการทุ่มลูกบอลเข้าเล่นในกีฬาฟุตบอล
ในภาษาอังกฤษ
4. ลูกฟุตบอล
5. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
6. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
227

7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด


8. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
228

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 34
กีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง ฟุตบอล (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
ในการเรี ยนครั้งนี้นกั เรี ยนจะได้เรี ยนรู้และฝึ กปฏิบตั ิเกี่ยวกับทักษะการเล่นกีฬาฟุตบอลในการเข้าสกัดกั้น
หรื อแย่งลูกบอลและการรักษาประตู โดย
การเข้ าสกัดกั้นหรื อแย่ งลูกบอล เป็ นวิธีเข้าปะทะเพื่อแย่งลูกบอลจากฝ่ ายตรงข้าม แต่จะต้องไม่เจตนาเตะ
ฝ่ ายตรงข้ามหรื อกระโดดเข้าหาฝ่ ายตรงข้าม
การรั กษาประตู ผูร้ ักษาประตูตอ้ งทําหน้าที่ป้องกันการยิงประตูจากฝ่ ายตรงข้าม โดยการฝึ กทักษะการรับ
ลูกบอลประกอบด้วย ท่าเตรี ยมพร้อมของผูร้ ักษาประตู การรับลูกบอลระดับตํ่า การรับลูกบอลระดับเอว และการรับ
ลูกบอลระดับสูง ซึ่งผูร้ ักษาประตูตอ้ งเลือกปฏิบตั ิให้เหมาะสมกับทิศทางการเคลื่อนที่ของลูกบอล

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
3. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
4. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
5. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายทักษะการเล่นกีฬาฟุตบอลในการเข้าสกัดกั้นหรื อแย่งลูกบอลและการรักษาประตูอย่างถูกต้องได้ (K)
2. เข้าร่ วมศึกษาและฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้เกี่ยวกับการฝึ กทักษะในการเล่นกีฬาฟุตบอลขั้นพื้นฐานด้วย
ความสนใจ กระตือรื อร้น และมีระเบียบวินยั (A)
3. แสดงทักษะการเล่นกีฬาฟุตบอลในการเข้าสกัดกั้นหรื อแย่งลูกบอลและการรักษาประตูอย่างถูกต้องได้ (P)
229

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับทักษะการเข้าสกัด • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
กั้นหรื อแย่งลูกบอลและการรักษา ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ประตู แผนที่ความคิด*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. กีฬา (ต่อ)
3.2 ฟุตบอล (ต่อ)
2. ทักษะในการเล่นกีฬาฟุตบอล (ต่อ)
8) การเข้าสกัดกั้นหรื อแย่งลูกบอล
9) การรักษาประตู

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ ภาษาอังกฤษหรือภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
เกีย่ วกับทักษะการเข้ าสกัดกั้นหรือแย่งลูกบอลและการรักษาประตู
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น อภิปราย และเขียนสรุ ปความรู ้เกี่ยวกับทักษะการ
เล่นกีฬาฟุตบอลในการเข้าสกัดกั้นหรื อแย่งลูกบอลและการรักษาประตู
230

การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนภาพแสดงวิธีปฏิบตั ิทกั ษะการเล่นกีฬา ฟุตบอลใน


การเข้าสกัดกั้นหรื อแย่งลูกบอลและการรักษาประตู
วิทยาศาสตร์  สังเกต ศึกษา สื บค้น วิเคราะห์ บันทึกข้อมูล ทดลองปฏิบตั ิ ประเมินผล และ
สรุ ปผลเกี่ยวกับลักษณะการเคลื่อนไหวร่ างกายในการปฏิบตั ิทกั ษะการเล่น
กีฬาฟุตบอลในการเข้าสกัดกั้นหรื อแย่งลูกบอลและการรักษาประตูตามหลัก
วิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวหรื อหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในหัวข้ อที่ 3.2 ฟุตบอล
ในหัวข้ อย่อยที่ 2. ทักษะในการเล่ นฟุตบอล (ต่ อ) ในข้ อที่ 8) การเข้ าสกัดกั้นหรือแย่ งลูกบอล และข้ อที่ 9)
การรักษาประตู มาล่วงหน้ า ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อ
การปฏิบัตกิ จิ กรรมดังกล่าวของนักเรียน
4. ให้นกั เรี ยนดูภาพแสดงทักษะการเข้าสกัดกั้นหรื อแย่งลูกบอลและการรักษาประตูของนักกีฬาฟุตบอลที่ครู
เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู ้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
และตอบคําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– การเข้าสกัดกั้นหรื อแย่งลูกบอลในกีฬาฟุตบอลมีจุดประสงค์ในการเล่นอย่างไร (มีจุดประสงค์ ในการ
เล่ นเพื่อแย่ งลูกบอลจากฝ่ ายตรงข้ ามมาครอบครอง)
– ผูเ้ ล่นที่เข้าสกัดกั้นลูกบอลหรื อแย่งลูกบอลสามารถใช้มือในการแย่งบอลได้หรื อไม่ อย่างไร (ไม่ ได้
เพราะเป็ นการกระทําผิดกติกา อาจถูกปรั บโทษได้ )
– ผูเ้ ล่นในตําแหน่งใดต้องทําหน้าที่รักษาประตูรักษาประตู (ผู้รักษาประตู)
– ผูร้ ักษาประตูตอ้ งยืนประจําในบริ เวณใดของสนาม (เขตประตู)
– ผูร้ ักษาประตูเมื่อรับลูกบอลมากระทบมือแล้ว ควรปฏิบตั ิต่อลูกบอลอย่างไรต่อไป (ดึงบอลมากอดไว้ ที่
หน้ าอก พร้ อมที่จะส่ งต่ อให้ ผ้ เู ล่ นฝ่ ายตนเองในสนามต่ อไป)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 3.2 ฟุตบอล ในหัวข้อย่อยที่ 2. ทักษะในการเล่น
ฟุตบอล (ต่อ) ในข้อที่ 8) การเข้าสกัดกั้นหรื อแย่งลูกบอล และข้อที่ 9) การรักษาประตู เพื่อเป็ นการกระตุน้
การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
231

ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้ในหัวข้อที่ 3.2 ฟุตบอล ในหัวข้อย่อยที่ 2. ทักษะในการเล่นฟุตบอล (ต่อ) ในข้อที่ 8) การเข้า
สกัดกั้นหรื อแย่งลูกบอล และข้อที่ 9) การรักษาประตู ตามลําดับ โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้อง
ให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
2. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมาสาธิตทักษะการเข้าสกัดกั้นหรื อแย่งลูกบอลและการรักษาประตูร่วมกับครู
หน้าชั้นเรี ยนในแต่ละทักษะตามลําดับ แล้วให้เพื่อน ๆ ร่ วมกันปฏิบตั ิตาม โดยครู ตรวจสอบความถูกต้อง
ในการปฏิบตั ิของนักเรี ยนเป็ นรายบุคคล
3. ครูแสดงบัตรคําที่เกีย่ วข้ องกับทักษะการเข้ าสกัดกั้นหรือแย่งลูกบอลและการรักษาประตูในกีฬาฟุตบอล ใน
ภาษาอังกฤษให้ นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่านสะกดคําและอ่านออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่ านตาม เพือ่ สร้ างเสริม
ทักษะทางด้ านภาษา ตัวอย่ างเช่ น คําว่ า
– การกีดกันหรือขัดขวางการเล่นฝ่ ายตรงข้ าม ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Blocking อ่านออกเสี ยงว่ า
บล็อก-กิง
– การเตะลูกโทษ ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Free Kick อ่านออกเสี ยงว่ า ฟรี คิค
– การป้องกันประตู ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Save อ่านออกเสี ยงว่า เซฝ
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศสมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
4. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนจับคู่กบั เพื่อน ร่ วมกันฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะการเข้าสกัดกั้นหรื อแย่งลูกบอลและการรักษาประตูโดยใช้
เวลาตามที่ครู กาํ หนด โดยครู คอยดูแลการปฏิบตั ิอย่างใกล้ชิดและให้คาํ แนะนําที่ถูกต้องเพิ่มเติม ตัวอย่าง
แบบฝึ กปฏิบตั ิ เช่น
– สลับกันเข้าสกัดกั้นหรื อแย่งลูกบอลแบบอยูก่ บั ที่
– สลับกันเข้าสกัดกั้นหรื อแย่งลูกบอลแบบเคลื่อนที่
– สลับกันเป็ นผูร้ ักษาประตูและผูย้ งิ ประตู
ฯลฯ
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• นักเรี ยนแต่ละคู่ผลัดเปลี่ยนกันออกมาแสดงทักษะการเข้าสกัดกั้นหรื อแย่งลูกบอลและการรักษาประตูให้ครู
และเพื่อนดู โดยครู คอยให้คาํ แนะนําแก้ไขให้ถูกต้องเพิ่มเติม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
232

3. มอบหมายให้ นักเรียนฝึ กปฏิบัตทิ บทวนทักษะการเล่นกีฬาฟุตบอล ในการเตะลูกข้ างเท้ าด้ านใน (ลูกแป)


การเตะลูกข้ างเท้ าด้ านนอก การเตะลูกด้ วยหลังเท้ า การโหม่ งลูกบอล และการหยุดลูกบอล เพิม่ เติมนอก
เวลาเรียน หรือใช้ เวลาในกิจกรรมการลดเวลาเรียนเพิม่ เวลารู้ตามที่สถานศึกษากําหนด เพือ่ เตรียมเข้ ารับ
การทดสอบในการเรียนครั้งต่อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะการเข้าสกัดกั้นหรื อแย่งลูกบอลและการรักษาประตูเพิ่มเติมนอกเวลาเรี ยน หรื อใช้
เวลาในกิจกรรมการลดเวลาเรี ยนเพิ่มเวลารู ้ตามที่สถานศึกษากําหนดอย่างสมํ่าเสมอจนเกิดความชํานาญ เพื่อ
เป็ นทักษะพื้นฐานในการเล่นกีฬาฟุตบอล และเสริ มสร้างสุ ขภาพร่ างกายให้สมบูรณ์แข็งแรง

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพแสดงทักษะการเข้าสกัดกั้นหรื อแย่งลูกบอลและการรักษาประตูของนักกีฬาฟุตบอล
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายในหัวข้อที่ 3.2 ฟุตบอล ในหัวข้อย่อยที่ 2. ทักษะในการเล่นฟุตบอล
(ต่อ) ในข้อที่ 8) การเข้าสกัดกั้นหรื อแย่งลูกบอล และข้อที่ 9) การรักษาประตู
3. บัตรคําที่เกี่ยวข้องกับทักษะการเข้าสกัดกั้นหรื อแย่งลูกบอลและการรักษาประตูในกีฬาฟุตบอล ในภาษาอังกฤษ
4. ลูกฟุตบอล
5. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
6. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
233

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
234

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 35
กีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง ฟุตบอล (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
การทดสอบปฏิบตั ิทกั ษะในการเล่นกีฬาฟุตบอล ครั้งที่ 1 ประกอบด้วย การเตะลูกข้างเท้าด้านใน (ลูกแป)
การเตะลูกข้างเท้าด้านนอก การเตะลูกด้วยหลังเท้า การโหม่งลูกบอล และการหยุดลูกบอล ซึ่งการทดสอบดังกล่าว
จะทําให้ทราบถึงระดับความสามารถและทักษะในการเล่นกีฬาฟุตบอลของนักเรี ยน ซึ่งจะช่วยให้นาํ ข้อมูลที่ได้มา
ใช้พฒั นาทักษะดังกล่าวให้ดีข้ ึนได้

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
3. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
4. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
5. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายทักษะในการเล่นกีฬาฟุตบอลขั้นพื้นฐานอย่างถูกต้องได้ (K)
2. เข้าร่ วมการทดสอบปฏิบตั ิทกั ษะในการเล่นกีฬาฟุตบอลขั้นพื้นฐานด้วยความสนใจ กระตือรื อร้น และมี
ระเบียบวินยั (A)
3. แสดงทักษะในการเล่นกีฬาฟุตบอลตามข้อกําหนดในการทดสอบทักษะในการเล่นกีฬาตามที่กาํ หนดได้ (P)
235

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามทบทวนความรู้และการฝึ ก • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ปฏิบตั ิเกี่ยวกับทักษะการเตะลูก ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ข้างเท้าด้านใน (ลูกแป) การเตะลูก แผนที่ความคิด*
ข้างเท้าด้านนอก การเตะลูกด้วย
หลังเท้า การโหม่งลูกบอล และการ
หยุดลูกบอล
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินผลการปฏิบตั ิทกั ษะ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน กีฬาฟุตบอล* 3 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. กีฬา (ต่อ)
3.2 ฟุตบอล (ต่อ)
– การทดสอบปฏิบตั ิทกั ษะในการเล่นกีฬาฟุตบอล ครั้งที่ 1 (การเตะลูกข้างเท้าด้านใน (ลูกแป) การเตะลูก
ข้างเท้าด้านนอก การเตะลูกด้วยหลังเท้า การโหม่งลูกบอล และการหยุดลูกบอล)
236

6. แนวทางบูรณาการ
คณิ ตศาสตร์  นับจํานวนครั้งที่ปฏิบตั ิทกั ษะการเตะลูกข้างเท้าด้านใน (ลูกแป) การเตะลูก
ข้างเท้าด้านนอก การเตะลูกด้วยหลังเท้า การโหม่งลูกบอล และการหยุดลูกบอล
ได้ภายในเวลาที่กาํ หนด
ภาษาไทย  อธิ บายแนวทางการปฏิบตั ิทกั ษะการเตะลูกข้างเท้าด้านใน (ลูกแป) การเตะลูก
ข้างเท้าด้านนอก การเตะลูกด้วยหลังเท้า การโหม่งลูกบอล และการหยุดลูกบอล

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมารายงานผลการฝึ กปฏิบัตทิ ักษะในการเล่นกีฬาฟุตบอล ในการเตะลูกข้ าง
เท้ าด้ านใน (ลูกแป) การเตะลูกข้ างเท้ าด้ านนอก การเตะลูกด้ วยหลังเท้ า การโหม่งลูกบอล และการหยุดลูก
บอล นอกเวลาเรียน เพือ่ เตรียมเข้ ารับการทดสอบ ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครู
แสดงความคิดเห็นต่ อการรายงานผลของนักเรียนและให้ คําแนะนําเพิม่ เติม
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ทบทวนความรู ้เกี่ยวกับทักษะในการเล่นกีฬาฟุตบอล ในการเตะลูกข้างเท้าด้านใน (ลูกแป) การเตะลูกข้าง
เท้าด้านนอก การเตะลูกด้วยหลังเท้า การโหม่งลูกบอล และการหยุดลูกบอล โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิ
ทัศน์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
2. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนเข้ารับการทดสอบปฏิบตั ิทกั ษะในการเล่นกีฬาฟุตบอล ครั้งที่ 1 ซึ่ งประกอบด้วยทักษะการเตะลูก
ข้างเท้าด้านใน (ลูกแป) การเตะลูกข้างเท้าด้านนอก การเตะลูกด้วยหลังเท้า การโหม่งลูกบอล และการ
หยุดลูกบอล โดยทําการทดสอบเป็ นรายบุคคล เรี ยงตามลําดับชื่อ จนครบทุกคน โดยครู คอยดูแลการ
ปฏิบตั ิอย่างใกล้ชิด
2. ครู สรุ ปผลการทดสอบปฏิบตั ิให้นกั เรี ยนทราบ พร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นต่อการทดสอบการปฏิบตั ิของ
นักเรี ยนและให้คาํ แนะนําเพิ่มเติม
237

ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• นักเรี ยนนําผลการทดสอบทักษะในการเล่นกีฬาฟุตบอลในการเตะลูกข้างเท้าด้านใน (ลูกแป) การเตะลูก
ข้างเท้าด้านนอก การเตะลูกด้วยหลังเท้า การโหม่งลูกบอล และการหยุดลูกบอลที่ตนเองได้รับ บันทึก
ความรู้สึกและผลการทดสอบลงในสมุดบันทึก
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียนฝึ กปฏิบัตทิ บทวนทักษะการเล่นกีฬาฟุตบอลในการเลีย้ งลูกบอล การทุ่มลูกบอลเข้ า
เล่ น การสกัดกั้นหรือแย่ งลูกบอล และการรักษาประตู เพิม่ เติมนอกเวลาเรียน หรือใช้ เวลาในกิจกรรมการ
ลดเวลาเรียนเพิม่ เวลารู้ ตามที่สถานศึกษากําหนด เพือ่ เตรียมเข้ ารับการทดสอบในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรนําผลการทดสอบทักษะในการเล่นกีฬาฟุตบอลในท่าเตรี ยมพร้อมและการเตะลูกด้วยข้างเท้าด้าน
ในมาใช้ในการปรับปรุ งทักษะและความสามารถของตนเองให้ดีข้ ึน

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายเกี่ยวกับทักษะในการเล่นฟุตบอล ในการเตะลูกข้างเท้าด้านใน
(ลูกแป) การเตะลูกข้างเท้าด้านนอก การเตะลูกด้วยหลังเท้า การโหม่งลูกบอล และการหยุดลูกบอล
2. ลูกฟุตบอล
3. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
4. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
5. แบบประเมินผลการปฏิบตั ิทกั ษะกีฬาฟุตบอล
6. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
238

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
239

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 36
กีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง ฟุตบอล (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
การทดสอบปฏิบตั ิทกั ษะในการเล่นกีฬาฟุตบอล ครั้งที่ 2 ประกอบด้วย การเลี้ยงลูกบอล การทุ่มลูกบอล
เข้าเล่น การเข้าสกัดกั้นหรื อแย่งลูกบอล และการรักษาประตู ซึ่งการทดสอบดังกล่าวจะทําให้ทราบถึงระดับ
ความสามารถและทักษะในการเล่นกีฬาฟุตบอลของนักเรี ยน ซึ่งจะช่วยให้นาํ ข้อมูลที่ได้มาใช้พฒั นาทักษะดังกล่าว
ให้ดีข้ ึนได้

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
3. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
4. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
5. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายทักษะในการเล่นกีฬาฟุตบอลขั้นพื้นฐานอย่างถูกต้องได้ (K)
2. เข้าร่ วมการทดสอบปฏิบตั ิทกั ษะในการเล่นกีฬาฟุตบอลขั้นพื้นฐานด้วยความสนใจ กระตือรื อร้น และมี
ระเบียบวินยั (A)
3. แสดงทักษะในการเล่นกีฬาฟุตบอลตามข้อกําหนดในการทดสอบทักษะในการเล่นกีฬาตามที่กาํ หนดได้ (P)
240

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามทบทวนความรู้และการฝึ ก • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ปฏิบตั ิเกี่ยวกับทักษะการเลี้ยง ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ลูกบอล การทุ่มลูกบอลเข้าเล่น การ แผนที่ความคิด*
เข้าสกัดกั้นหรื อแย่งลูกบอล และ
การรักษาประตู
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินผลการปฏิบตั ิทกั ษะ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน กีฬาฟุตบอล* 3 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. กีฬา (ต่อ)
3.2 ฟุตบอล (ต่อ)
– การทดสอบปฏิบตั ิทกั ษะในการเล่นกีฬาฟุตบอล ครั้งที่ 2 (การเลี้ยงลูกบอล การทุ่มลูกบอลเข้าเล่น
การเข้าสกัดกั้นหรื อแย่งลูกบอล และการรักษาประตู)

6. แนวทางบูรณาการ
คณิ ตศาสตร์  นับจํานวนครั้งที่ปฏิบตั ิทกั ษะการเลี้ยงลูกบอล การทุ่มลูกบอลเข้าเล่น การเข้า
สกัดกั้นหรื อแย่งลูกบอล และการรักษาประตูได้ภายในเวลาที่กาํ หนด
241

ภาษาไทย  อธิ บายแนวทางการปฏิบตั ิทกั ษะการเลี้ยงลูกบอล การทุ่มลูกบอลเข้าเล่น การ


เข้าสกัดกั้นหรื อแย่งลูกบอล และการรักษาประตู

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมารายงานผลการฝึ กปฏิบัตทิ ักษะการเลีย้ งลูกบอล การทุ่มลูกบอลเข้ าเล่น การ
เข้ าสกัดกั้นหรือแย่งลูกบอล และการรักษาประตู นอกเวลาเรียน เพือ่ เตรียมเข้ ารับการทดสอบ ตามที่ได้ รับ
มอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่อการรายงานผลของนักเรียนและให้
คําแนะนําเพิม่ เติม
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ทบทวนความรู้เกี่ยวกับทักษะการเล่นกีฬาฟุตบอล ในการเลี้ยงลูกบอล การทุ่มลูกบอลเข้าเล่น การเข้า
สกัดกั้นหรื อแย่งลูกบอล และการรักษาประตู โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดู
ประกอบการอธิบาย
2. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนเข้ารับการทดสอบปฏิบตั ิทกั ษะในการเล่นกีฬาฟุตบอล ครั้งที่ 2 ซึ่ งประกอบด้วยทักษะการเลี้ยง
ลูกบอล การทุ่มลูกบอลเข้าเล่น การเข้าสกัดกั้นหรื อแย่งลูกบอล และการรักษาประตู โดยทําการทดสอบ
เป็ นรายบุคคล เรี ยงตามลําดับชื่อ จนครบทุกคน โดยครู คอยดูแลการปฏิบตั ิอย่างใกล้ชิด
2. ครู สรุ ปผลการทดสอบปฏิบตั ิให้นกั เรี ยนทราบ พร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นต่อการทดสอบการปฏิบตั ิของ
นักเรี ยนและให้คาํ แนะนําเพิ่มเติม
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• นักเรี ยนนําผลการทดสอบทักษะในการเล่นกีฬาฟุตบอลในการเลี้ยงลูกบอล การทุ่มลูกบอลเข้าเล่น การเข้า
สกัดกั้นหรื อแย่งลูกบอล และการรักษาประตูที่ตนเองได้รับ บันทึกความรู ้สึกและผลการทดสอบลงใน
สมุดบันทึก
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
242

2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้


โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียนจัดทีมแข่ งขันฟุตบอล โดยจัดการแข่ งขันแบบแบ่ งสายเป็ นสาย A และสาย B สาย
ละ 2 ทีม รวมเป็ น 4 ทีม ทีมละ 11 คน ให้ แต่ละทีมฝึ กซ้ อมแข่ งขันฟุตบอลนอกเวลาเรียน หรือใช้ เวลาใน
กิจกรรมการลดเวลาเรียนเพิม่ เวลารู้ตามที่สถานศึกษากําหนด เพือ่ เตรียมจัดการแข่ งขันฟุตบอลครั้งที่ 1
ในการเรียนครั้งต่ อไป (ในกรณีที่มนี ักเรียนไม่ครบจํานวนสํ าหรับการจัดทีม 11 คน ครูสามารถจัดแบ่ งให้
นักเรียนคนทีเ่ หลือทําหน้ าที่อนื่ ๆ ได้ ตามความเหมาะสม เช่ น เป็ นตัวสํ ารองเพือ่ ผลัดเปลีย่ นกันเล่นในทีม
ของเพือ่ น หรือเป็ นผู้ชมการแข่ งขัน หรือเป็ นผู้ช่วยกรรมการตัดสิ นร่ วมกับครู)

8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. นักเรี ยนควรฝึ กทักษะพื้นฐานในการเล่นกีฬาฟุตบอลอย่างสมํ่าเสมอ ซึ่งนอกจากเป็ นการออกกําลังกายเพื่อการ
มีสุขภาพที่ดีแล้ว ยังนําไปสู่การเล่นหรื อแข่งขันกีฬาฟุตบอลในชีวิตประจําวันทั้งในระดับสมัครเล่นหรื อเป็ น
กีฬาอาชีพได้ในอนาคตต่อไปอีกด้วย
2. นักเรี ยนควรดูวีดิทศั น์แสดงการแข่งขันกีฬาฟุตบอลจากสื่ อการเรี ยนรู้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต เพื่อเป็ นตัวอย่าง
แนวทางการเล่นหรื อแข่งขันฟุตบอลประกอบการเรี ยนในครั้งต่อไป

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายเกี่ยวกับทักษะในการเล่นฟุตบอล ในการเลี้ยงลูกบอล การทุ่มลูกบอล
เข้าเล่น การเข้าสกัดกั้นหรื อแย่งลูกบอล และการรักษาประตู
2. ลูกฟุตบอล
3. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
4. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
5. แบบประเมินผลการปฏิบตั ิทกั ษะกีฬาฟุตบอล
6. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
243

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
244

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 37
กีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง ฟุตบอล (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
การเข้าร่ วมการแข่งขันฟุตบอลจัดเป็ นวิธีการสร้างเสริ มทักษะและประสบการณ์ในการเล่นกีฬา ซึ่ง
นักเรี ยนจะได้นาํ ทักษะจากการเรี ยนรู้และฝึ กปฏิบตั ิมาใช้สร้างเสริ มประสบการณ์โดยตรง โดยในการเรี ยนครั้งนี้
นักเรี ยนจะได้เรี ยนรู้และนําทักษะที่ได้ศึกษามาเข้าร่ วมในสถานการณ์ของการแข่งขัน โดย
การแข่งขันฟุตบอลครั้งที่ 1 เป็ นการจัดการแข่งขันแบบแบ่งสายที่มีการแข่งรอบคัดเลือก โดยสาย A ทีมที่ 1
จะพบกับทีมที่ 2 โดยทีมที่ชนะการแข่งขันจะเข้าไปสู่รอบชิงชนะเลิศเพื่อพบกับผูช้ นะในสาย B ในการจัดการแข่งขัน
ฟุตบอลครั้งที่ 3

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
3. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
4. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
5. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายรู ปแบบ วิธีการแข่งขัน และกติกาการแข่งขันกีฬาฟุตบอลอย่างถูกต้องได้ (K)
2. เข้าร่ วมการแข่งขันกีฬาฟุตบอลด้วยความมีระเบียบวินยั มีความสามัคคี และมีน้ าํ ใจนักกีฬา (A)
3. ปฏิบตั ิกิจกรรมการแข่งขันฟุตบอลตามกฎ กติกาอย่างถูกต้อง ปลอดภัย และสนุกสนานได้ (P)
245

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับรู ปแบบ วิธีการ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
แข่งขัน และกติกาการแข่งขันกีฬา ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ฟุตบอล แผนที่ความคิด*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. กีฬา (ต่อ)
3.2 ฟุตบอล (ต่อ)
– การแข่งขันฟุตบอล ครั้งที่ 1

6. แนวทางบูรณาการ
สั งคมศึกษาฯ  ศึกษาค้ นคว้ าเกี่ยวกับการแข่ งขันกีฬาฟุตบอลในท้ องถิ่นต่ าง ๆ และการแข่ งขัน
ฟุตบอลทั้งในระดับภูมภิ าคอาเซียนและในระดับโลก
คณิ ตศาสตร์  นับจํานวนการทําประตูในการแข่งขันฟุตบอลหรื อคะแนนการแข่งขัน จับเวลา
ในการแข่งขัน จัดตารางการแข่งขันตามผลการแข่งขัน และนับสถิติการยิง
ประตู รวมถึงการทําผิดกติกาการแข่งขันของนักกีฬาแต่ละทีม
246

ภาษาไทย  อธิ บายรู ปแบบ วิธีการแข่งขัน และกติกาการแข่งขันกีฬาฟุตบอล ตลอดจน


เขียนสรุ ปผลการแข่งขัน
วิทยาศาสตร์  เคลื่อนไหวร่ างกายในการแข่งขันฟุตบอลตามหลักวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหว
หรื อหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมารายงานผลการแบ่ งทีมและฝึ กซ้ อมแข่ งขันฟุตบอลนอกเวลาเรียน เพือ่
เตรียมจัดการแข่ งขันฟุตบอลครั้งที่ 1 ที่มอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู อธิ บายแนวทางการแข่งขันฟุตบอลครั้งที่ 1–3 ให้นกั เรี ยนทราบ โดยนําตารางแสดงรายการการแข่งขัน
ฟุตบอลแบบแบ่งสายให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย และเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ตวั อย่างการแข่งขันฟุตบอลให้
นักเรี ยนดูเพิ่มเติมเพื่อพิจารณาเป็ นแนวทางในการจัดการแข่งขัน

ตารางแสดงรายการการแข่ งขันฟุตบอลแบบแบ่ งสาย


การแข่ งขันครั้งที่ รอบการแข่ งขัน ทีมที่ลงแข่ งขัน
1 คัดเลือกสาย A ทีมที่ 1 พบกับ ทีมที่ 2
2 คัดเลือกสาย B ทีมที่ 3 พบกับ ทีมที่ 4
3 ชิงชนะเลิศ ทีมที่ชนะสาย A พบกันทีมที่ชนะสาย B

2. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม


ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนในทีมการแข่งขันฟุตบอล สาย A ได้แก่ ทีมที่ 1 และทีมที่ 2 ออกมาทําการแข่งขันฟุตบอล โดยใช้
เวลาตามที่ครู กาํ หนด โดยให้เพื่อน ๆ ในที มที่ ยงั ไม่ได้ทาํ การแข่งขันเป็ นผูช้ ม และครู ร่วมเป็ นกรรมการ
ตัดสิ น
247

ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปทีมที่ชนะการแข่งขันสาย A โดยครู แสดงความคิดเห็นต่อการแข่งขันฟุตบอล
ของนักเรี ยนและให้คาํ แนะนําเพิ่มเติม
2. นักเรี ยนไปฝึ กซ้อมแข่งขันกีฬาฟุตบอลเพิม่ เติมนอกเวลาเรี ยน โดยให้ผปู้ กครองแสดงความคิดเห็นและ
ตอบรับผลการปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรี ยนกลับมาที่ครู
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปสรุ ปผลการแข่งขันฟุตบอลครั้งที่ 1 และการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยน
บันทึกความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียน โดยเฉพาะนักเรียนในทีมที่ยงั ไม่ได้ ลงแข่ งขันฟุตบอลฝึ กซ้ อมทักษะในการเล่ นกีฬา
ฟุตบอลและทบทวนกติกาการแข่ งขันเพิม่ เติมนอกเวลาเรียน หรือใช้ เวลาในกิจกรรมการลดเวลาเรียนเพิม่
เวลารู้ตามที่สถานศึกษากําหนด เพือ่ เตรียมจัดการแข่ งขันฟุตบอลครั้งที่ 2 ในการเรียนครั้งต่อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรเข้าร่ วมการเล่นหรื อการแข่งขันกีฬาฟุตบอลอย่างสมํ่าเสมอ เพื่อเป็ นการใช้เวลาว่างให้เกิด
ประโยชน์และส่งผลดีต่อการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการทั้งทางด้านร่ างกาย จิตใจและอารมณ์ สังคม และสติ
ปัญหา

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ตารางแสดงรายการการแข่งขันฟุตบอลแบบแบ่งสาย
2. ลูกฟุตบอล
3. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
4. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
5. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
6. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
248

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
249

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 38
กีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง ฟุตบอล (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
การเข้าร่ วมการแข่งขันฟุตบอลจัดเป็ นวิธีการสร้างเสริ มทักษะและประสบการณ์ในการเล่นกีฬา ซึ่ง
นักเรี ยนจะได้นาํ ทักษะจากการเรี ยนรู้และฝึ กปฏิบตั ิมาใช้สร้างเสริ มประสบการณ์โดยตรง โดยในการเรี ยนครั้งนี้
นักเรี ยนจะได้เรี ยนรู้และนําทักษะที่ได้ศึกษามาเข้าร่ วมในสถานการณ์ของการแข่งขัน โดย
การแข่งขันฟุตบอลครั้งที่ 2 เป็ นการจัดการแข่งขันแบบแบ่งสายที่มีการแข่งรอบคัดเลือก โดยสาย B ทีมที่ 3
จะพบกับทีมที่ 4 โดยทีมที่ชนะการแข่งขันจะเข้าไปสู่รอบชิงชนะเลิศเพื่อพบกับผูช้ นะในสาย A ในการจัดการแข่งขัน
ฟุตบอลครั้งที่ 3

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
3. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
4. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
5. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายรู ปแบบ วิธีการแข่งขัน และกติกาการแข่งขันกีฬาฟุตบอลอย่างถูกต้องได้ (K)
2. เข้าร่ วมการแข่งขันกีฬาฟุตบอลด้วยความมีระเบียบวินยั มีความสามัคคี และมีน้ าํ ใจนักกีฬา (A)
3. ปฏิบตั ิกิจกรรมการแข่งขันฟุตบอลตามกฎ กติกาอย่างถูกต้อง ปลอดภัย และสนุกสนานได้ (P)
250

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับรู ปแบบ วิธีการ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
แข่งขัน กติกาการแข่งขันกีฬา ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ฟุตบอล และผลการแข่งขัน แผนที่ความคิด*
ฟุตบอลครั้งที่ 1
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. กีฬา (ต่อ)
3.2 ฟุตบอล (ต่อ)
– การแข่งขันฟุตบอล ครั้งที่ 2

6. แนวทางบูรณาการ
สั งคมศึกษาฯ  ศึกษาค้ นคว้ าเกี่ยวกับการแข่ งขันกีฬาฟุตบอลในท้ องถิ่นต่ าง ๆ และการแข่ งขัน
ฟุตบอลทั้งในระดับภูมภิ าคอาเซียนและในระดับโลก
คณิ ตศาสตร์  นับจํานวนการทําประตูในการแข่งขันฟุตบอลหรื อคะแนนการแข่งขัน จับเวลา
ในการแข่งขัน จัดตารางการแข่งขันตามผลการแข่งขัน และนับสถิติการยิง
ประตู รวมถึงการทําผิดกติกาการแข่งขันของนักกีฬาแต่ละทีม
251

ภาษาไทย  อธิ บายรู ปแบบ วิธีการแข่งขัน และกติกาการแข่งขันกีฬาฟุตบอล ตลอดจน


เขียนสรุ ปผลการแข่งขัน
วิทยาศาสตร์  เคลื่อนไหวร่ างกายในการแข่งขันฟุตบอลตามหลักวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหว
หรื อหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครูและนักเรียนสนทนาเกีย่ วกับผลการแข่ งขันฟุตบอลครั้งที่ 1 และการปฏิบัตกิ จิ กรรมในการเรียนครั้งที่
ผ่านมาร่ วมกัน เพือ่ ทบทวนประสบการณ์ และภาระงานตามที่นักเรียนได้ รับมอบหมาย
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู อธิ บายทบทวนแนวทางการแข่งขันฟุตบอลครั้งที่ 2 ให้นกั เรี ยนทราบ โดยนําตารางแสดงรายการการ
แข่งขันฟุตบอลแบบแบ่งสายให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย พร้อมทั้งทบทวนผลการแข่งขันฟุตบอล
ครั้งที่ 1 หรื อทีมที่ชนะสาย A ให้นกั เรี ยนทราบเพิ่มเติม

ตารางแสดงรายการการแข่ งขันฟุตบอลแบบแบ่ งสาย


การแข่ งขันครั้งที่ รอบการแข่ งขัน ทีมที่ลงแข่ งขัน
1 คัดเลือกสาย A ทีมที่ 1 พบกับ ทีมที่ 2
2 คัดเลือกสาย B ทีมที่ 3 พบกับ ทีมที่ 4
3 ชิงชนะเลิศ ทีมที่ชนะสาย A พบกันทีมที่ชนะสาย B

2. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิม่ เติม


ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนในทีมการแข่งขันฟุตบอล สาย B ได้แก่ ทีมที่ 3 และทีมที่ 4 ออกมาทําการแข่งขันฟุตบอล โดยใช้
เวลาตามที่ครู กาํ หนด โดยให้เพื่อน ๆ ในทีมที่ไม่ได้ทาํ การแข่งขันเป็ นผูช้ ม และครู ร่วมเป็ นกรรมการ
ตัดสิ น
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปทีมที่ชนะการแข่งขันสาย B โดยครู แสดงความคิดเห็นต่อการแข่งขันฟุตบอล
ของนักเรี ยนและให้คาํ แนะนําเพิ่มเติม
252

2. นักเรี ยนไปฝึ กซ้อมแข่งขันกีฬาฟุตบอลเพิ่มเติมนอกเวลาเรี ยน โดยให้ผปู้ กครองแสดงความคิดเห็นและ


ตอบรับผลการปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรี ยนกลับมาที่ครู
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปผลการแข่งขันฟุตบอลครั้งที่ 2 และการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียน โดยเฉพาะนักเรียนในทีมที่ชนะการแข่ งขันฟุตบอลสาย A และสาย B ฝึ กซ้ อม
ทักษะในการเล่นกีฬาฟุตบอลและทบทวนกติกาการแข่ งขันเพิม่ เติมนอกเวลาเรียน หรือใช้ เวลาในกิจกรรม
การลดเวลาเรียนเพิม่ เวลารู้ตามที่สถานศึกษากําหนด เพือ่ เตรียมจัดการแข่ งขันฟุตบอลครั้งที่ 3 หรือรอบ
ชิงชนะเลิศ ในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรเข้าร่ วมการเล่นหรื อการแข่งขันกีฬาฟุตบอลอย่างสมํ่าเสมอ เพื่อเป็ นการใช้เวลาว่างให้เกิด
ประโยชน์และส่งผลดีต่อการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการทั้งทางด้านร่ างกาย จิตใจและอารมณ์ สังคม และสติ
ปัญหา

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ตารางแสดงรายการการแข่งขันฟุตบอลแบบแบ่งสาย
2. ลูกฟุตบอล
3. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
4. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
5. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
6. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
253

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
254

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 39
กีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง ฟุตบอล (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
การเข้าร่ วมการแข่งขันฟุตบอลจัดเป็ นวิธีการสร้างเสริ มทักษะและประสบการณ์ในการเล่นกีฬา ซึ่ง
นักเรี ยนจะได้นาํ ทักษะจากการเรี ยนรู้และฝึ กปฏิบตั ิมาใช้สร้างเสริ มประสบการณ์โดยตรง โดยในการเรี ยนครั้งนี้
นักเรี ยนจะได้เรี ยนรู้และนําทักษะที่ได้ศึกษามาเข้าร่ วมในสถานการณ์ของการแข่งขัน โดย
การแข่งขันฟุตบอลครั้งที่ 3 เป็ นการจัดการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ โดยทีมที่ชนะการแข่งขันสาย A จะทํา
การแข่งขันร่ วมกับทีมที่ชนะการแข่งขันสาย B ซึ่งทีมที่ชนะการแข่งขันในครั้งนี้จะเป็ นทีมที่ชนะเลิศ

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
3. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
4. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
5. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายรู ปแบบ วิธีการแข่งขัน และกติกาการแข่งขันกีฬาฟุตบอลอย่างถูกต้องได้ (K)
2. เข้าร่ วมการแข่งขันกีฬาฟุตบอลด้วยความมีระเบียบวินยั มีความสามัคคี และมีน้ าํ ใจนักกีฬา (A)
3. ปฏิบตั ิกิจกรรมการแข่งขันฟุตบอลตามกฎ กติกาอย่างถูกต้อง ปลอดภัย และสนุกสนานได้ (P)
255

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับรู ปแบบ วิธีการ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
แข่งขัน กติกาการแข่งขันกีฬา ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ฟุตบอล และผลการแข่งขัน แผนที่ความคิด*
ฟุตบอลครั้งที่ 2
• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ขึ้นอยูก่ บั ดุลยพินิจของครู
ปฏิบตั ิกิจกรรม แข่ งขันฟุตบอลกัน ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
ดีไหม ปรั บนิสัยให้ รักสามัคคี พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
(ต่ อ) ป. 5
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. กีฬา (ต่อ)
3.2 ฟุตบอล (ต่อ)
– การแข่งขันฟุตบอล ครั้งที่ 3
256

6. แนวทางบูรณาการ
สั งคมศึกษาฯ  ศึกษาค้ นคว้ าเกี่ยวกับการแข่ งขันกีฬาฟุตบอลในท้ องถิ่นต่ าง ๆ และการแข่ งขัน
ฟุตบอลทั้งในระดับภูมภิ าคอาเซียนและในระดับโลก
คณิ ตศาสตร์  นับจํานวนการทําประตูในการแข่งขันฟุตบอลหรื อคะแนนการแข่งขัน จับเวลา
ในการแข่งขัน จัดตารางการแข่งขันตามผลการแข่งขัน และนับสถิติการยิง
ประตู รวมถึงการทําผิดกติกาการแข่งขันของนักกีฬาแต่ละทีม
ภาษาไทย  อธิ บายรู ปแบบ วิธีการแข่งขัน และกติกาการแข่งขันกีฬาฟุตบอล ตลอดจน
เขียนสรุ ปผลการแข่งขัน
วิทยาศาสตร์  เคลื่อนไหวร่ างกายในการแข่งขันฟุตบอลตามหลักวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหว
หรื อหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครูและนักเรียนสนทนาเกีย่ วกับผลการแข่ งขันฟุตบอลครั้งที่ 2 และการปฏิบัตกิ จิ กรรมในการเรียนครั้งที่
ผ่านมาร่ วมกัน เพือ่ ทบทวนประสบการณ์ และภาระงานตามที่นักเรียนได้ รับมอบหมาย
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู อธิ บายทบทวนแนวทางการแข่งขันฟุตบอลครั้งที่ 3 ให้นกั เรี ยนทราบ โดยนําตารางแสดงรายการการ
แข่งขันฟุตบอลแบบแบ่งสายให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย พร้อมทั้งทบทวนผลการแข่งขันฟุตบอล
ครั้งที่ 1 หรื อทีมที่ชนะสาย A และผลการแข่งขันฟุตบอลครั้งที่ 2 หรื อทีมที่ชนะสาย B ให้นกั เรี ยนทราบ
เพิ่มเติม

ตารางแสดงรายการการแข่ งขันฟุตบอลแบบแบ่ งสาย


การแข่ งขันครั้งที่ รอบการแข่ งขัน ทีมที่ลงแข่ งขัน
1 คัดเลือกสาย A ทีมที่ 1 พบกับ ทีมที่ 2
2 คัดเลือกสาย B ทีมที่ 3 พบกับ ทีมที่ 4
3 ชิงชนะเลิศ ทีมที่ชนะสาย A พบกันทีมที่ชนะสาย B

2. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม


257

ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนในทีมที่ชนะการแข่งขันฟุตบอลสาย A และทีมที่ชนะการแข่งขันสาย B ออกมาทําการแข่งขัน
ร่ วมกันเพื่อหาทีมที่ชนะในรอบชิงชนะเลิศ
2. นักเรี ยนร่ วมกันปฏิบตั ิกิจกรรม แข่ งขันฟุตบอลกันดีไหม ปรั บนิสัยให้ รักสามัคคี (ต่อ) ดังรายละเอียดใน
ใบกิจกรรมที่ครู แจกให้หรื อในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 โดยใช้เวลา
ตามที่ครู กาํ หนด โดยครู คอยให้คาํ แนะนําเพิ่มเติม
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปทีมที่ชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอล โดยครู แสดงความคิดเห็นต่อการแข่งขัน
ฟุตบอลของนักเรี ยนและให้คาํ แนะนําเพิ่มเติม
2. สุ่มนักเรี ยน 2–3 ออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรม แข่ งขันฟุตบอลกันดีไหม ปรั บนิสัยให้ รักสามัคคี
โดยครู ให้ขอ้ เสนอแนะที่เป็ นประโยชน์เพิ่มเติม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปผลการแข่งขันฟุตบอลครั้งที่ 2 และการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาทบทวนความรู้ในเรื่อง การเคลือ่ นไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์ การกีฬา
เกมนําไปสู่ กฬี าและกิจกรรมแบบผลัด และกีฬา ในหัวข้ อที่ 3.1 กรีฑาประเภทลู่ และหัวข้ อที่ 3.2 ฟุตบอล
เพือ่ เตรียมตัวเข้ ารับการทดสอบกลางปี รายวิชาพืน้ ฐาน พลศึกษา ป. 5 ในการเรียนครั้งต่อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรชักชวนเพื่อนหรื อสมาชิกในครอบครัวร่ วมเล่นหรื อการแข่งขันกีฬาฟุตบอลนอกเวลาเรี ยนเพิม่ เติม
อย่างสมํ่าเสมอ เพื่อสร้างเสริ มสุ ขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ตารางแสดงรายการการแข่งขันฟุตบอลแบบแบ่งสาย
2. ลูกฟุตบอล
3. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
4. ใบกิจกรรม เรื่ อง แข่ งขันฟุตบอลกันดีไหม ปรั บนิสัยให้ รักสามัคคี
5. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
258

6. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด


7. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
259

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 40
การทดสอบกลางปี รายวิชาพืน้ ฐาน พลศึกษา ป. 5
สาระการเรียนรู้ ที่ 2: ชีวติ และครอบครัว เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 ชีวติ และครอบครัว
เรื่อง การทดสอบกลางปี รายวิชาพืน้ ฐาน พลศึกษา ป. 5

1. สาระสํ าคัญ
การทดสอบกลางปี เป็ นกระบวนการวัดและประเมินผลเพื่อสรุ ปผลการเรี ยนรู้ (Summative Assessment )
ที่นกั เรี ยนได้รับจากองค์ความรู ้ที่กาํ หนดไว้ในขอบข่ายของตัวชี้วดั ในโครงสร้างของหลักสูตร และการสอบกลางปี
ยังเป็ นการนําข้อมูลของค่าคะแนนที่ได้นาํ มาใช้เป็ นส่วนสําคัญในการวัดและประเมินผลเพื่อตัดสิ นผลการเรี ยนหรื อ
ให้ระดับผลการเรี ยน ตลอดจนให้การรับรองความรู้ความสามารถของผูเ้ รี ยนว่าผ่านรายวิชาหรื อไม่ ควรได้รับการ
เลื่อนชั้นหรื อไม่ หรื อสามารถจบหลักสูตรหรื อไม่
การศึกษารายวิชาพื้นฐาน พลศึกษา เป็ นอีกหนึ่งรายวิชาที่นาํ กระบวนการวัดและประเมินผลมาใช้เพื่อ
สรุ ปผลการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน โดยใช้แบบทดสอบทั้งในข้อคําถามที่เน้นกระบวนการการคิดวิเคราะห์เพื่อตัดสิ นข้อ
คําตอบ ในรู ปแบบอัตนัยและรู ปแบบปรนัย ครอบคลุมองค์ความรู้และตัวชี้วดั ชั้นปี ในหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 3

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. จัดรู ปแบบการเคลื่อนไหวแบบผสมผสาน และควบคุมตนเอง เมื่อใช้ทกั ษะการเคลื่อนไหวตามแบบที่กาํ หนด
(พ 3.1 ป. 5/1)
2. เล่นเกมนําไปสู่กีฬาที่เลือกและกิจกรรมการเคลื่อนไหวแบบผลัด (พ 3.1 ป. 5/2)
3. ควบคุมการเคลื่อนไหวในเรื่ องการรับแรง การใช้แรง และความสมดุล (พ 3.1 ป. 5/3)
4. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
5. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
6. ออกกําลังกายอย่างมีรูปแบบ เล่นเกมที่ใช้ทกั ษะการคิดและตัดสิ นใจ (พ 3.2 ป. 5/1)
7. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
8. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกาการเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
9. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)
260

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายเกี่ยวกับระเบียบและข้อตกลงในการทดสอบกลางปี รายวิชาพื้นฐาน พลศึกษา ป. 5 ได้อย่างถูกต้อง
(K)
2. ระบุวธิ ี การทําแบบทดสอบกลางปี รายวิชาพื้นฐาน พลศึกษา ป. 5 ได้ (P)
3. เข้าร่ วมกิจกรรมการเรี ยนรู ้กบั ผูอ้ ื่นด้วยความเต็มใจและกระตือรื อร้น (A)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับความเข้าใจใน • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
เนื้อหาในหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 3 ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
เรื่ อง แผนที่ความคิด*
– การเคลื่อนไหวร่ างกายตามหลัก
วิทยาศาสตร์การกีฬา
– เกมนําไปสู่กีฬาและกิกรรมแบบ
ผลัด
– กีฬา ในหัวข้อ กรี ฑาประเภทลู่
และฟุตบอล
• ตรวจสอบความถูกต้องของ • แบบทดสอบกลางปี รายวิชา • ร้อยละ 80 ขึ้นไป
การทดสอบกลางปี รายวิชาพื้นฐาน พื้นฐาน สุ ขศึกษา ป. 5**
พลศึกษา ป.5
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
**ดูรายละเอียดในสื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
261

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้

6. แนวทางบูรณาการ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
• ให้ นั กเรี ยนอาสาสมัคร 2–3 คน รายงานผลการศึ กษาทบทวนความรู้ ในหน่ วยการเรี ยนรู้ ที่ 3 เรื่ อง การ
เคลื่อนไหวร่ างกายตามหลักวิทยาศาสตร์ การกีฬา เกมนําไปสู่ กีฬ าและกิจกรรมแบบผลัด และกีฬา ใน
หั วข้ อ กรี ฑ าประเภทลู่และฟุ ตบอล เพื่อเตรี ยมตัวทดสอบกลางปี รายวิชาพื้นฐาน พลศึ กษา ป. 5 ที่ ได้
มอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู อธิ บายระเบียบและข้อตกลงในการทดสอบกลางปี รายวิชาพื้นฐาน พลศึกษา ป. 5 ให้นกั เรี ยนได้เข้าใจ
และซักถามข้อสงสัย
2. ให้นกั เรี ยนทุกคนทําแบบทดสอบกลางปี รายวิชาพื้นฐาน พลศึกษา ป. 5 ตามเวลาที่กาํ หนดให้
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• หลังจากที่นกั เรี ยนทําแบบทดสอบเสร็ จแล้ว ครู ให้นกั เรี ยนช่วยกันเฉลยคําตอบของแบบทดสอบกลางปี
รายวิชาพื้นฐาน พลศึกษา ป. 5 ทีละข้อร่ วมกัน โดยครู อธิ บายและชี้แนะคําตอบที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนทราบ
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• นักเรี ยนจดบันทึกความรู ้ที่ได้จากการเฉลยคําตอบของแบบทดสอบกลางปี ลงในสมุดบันทึก
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. ครูถามคําถามเชื่อมโยงสู่ บทเรียนต่ อไป เพือ่ ให้ นักเรียนไปค้ นหาคําตอบจากบทเรียนมาล่วงหน้ า ดังนี้
– นักเรียนมีความคิดเห็นอย่ างไรต่ อกีฬามวยไทย
262

2. ครู มอบหมายให้ นักเรียนไปศึกษาเนือ้ หาในหน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว เรื่อง กีฬา


ในหั ว ข้ อ มวยไทย ในประเด็น เกี่ยวกับ ลักษณะและความสํ าคัญ ของกีฬ ามวยไทย ดั งรายละเอียดใน
หนั ง สื อ เรี ย น รายวิ ช าพื้ น ฐาน สุ ขศึ ก ษาและพลศึ ก ษา ป. 5 หรื อ จากแหล่ ง การเรี ย นรู้ ต่ า ง ๆ เช่ น
อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ หรือขอรับความรู้จากผู้ปกครอง มาล่ วงหน้ า แล้วนํามาสนทนา
ร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรทบทวนความรู ้ความเข้าใจ ตลอดจนทักษะกีฬาที่ได้ศึกษาผ่านมา เพื่อเสริ มสร้างความรู ้ความ
เข้าใจและทักษะกีฬาในเรื่ องดังกล่าวให้ดียงิ่ ขึ้น

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. แบบทดสอบกลางปี รายวิชาพื้นฐาน พลศึกษา ป. 5
2. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
3. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
4. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
5. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
263

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 41
กีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง มวยไทย

1. สาระสํ าคัญ
มวยไทยเป็ นกี ฬ าไทยที่ ใช้อ วัย วะทุ กส่ วนของร่ างกาย เช่ น ศี รษะ มื อ ศอก เข่ า แข้ง และเท้า เข้าต่ อ สู้
ป้ องกันตัวในระยะประชิด ซึ่งถือเป็ นศิลปะป้ องกันตัวที่ควรรักษาและศึกษาไว้เพื่อใช้ป้องกันตนเองและผูอ้ ื่นในยาม
มี ภยั อันตราย ไม่ใช่ เพื่อนําไปกลัน่ แกล้งหรื อรังแกผูอ้ ื่ น นอกจากนี้ การฝึ กทักษะกี ฬามวยไทยยังช่วยสร้างเสริ ม
สุ ขภาพให้แก่ผฝู้ ึ กได้เป็ นอย่างดีอีกด้วย

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
3. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
4. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
5. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายลักษณะและความสําคัญของกีฬามวยไทยอย่างถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของกีฬามวยไทย ตลอดจนเข้าร่ วมศึกษาเกี่ยวกับลักษณะและความสําคัญของกีฬา
มวยไทยด้วยความสนใจและกระตือรื อร้น (A)
3. แสดงทักษะในการสื่ อสารเกี่ยวกับลักษณะและความสําคัญของกีฬามวยไทยให้ผอู้ ื่นเข้าใจได้ (P)
264

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
– ประสบการณ์และความรู้ความ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
เข้าใจในเรื่ อง กีฬามวยไทย แผนที่ความคิด*
– ลักษณะและความสําคัญของ
กีฬามวยไทย
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. กีฬา (ต่อ)
3.3 มวยไทย
– ลักษณะและความสําคัญของกีฬามวยไทย

6. แนวทางบูรณาการ
สังคมศึกษาฯ  ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประวัติความเป็ นมาของกีฬามวยไทยและรวบรวมนักกีฬา
มวยไทยที่มีชื่อเสี ยง
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ ภาษาอังกฤษหรือภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
เกีย่ วกับกีฬามวยไทย
265

คณิ ตศาสตร์  นับจํานวนสมาชิก/จํานวนผูเ้ ล่นกีฬา/อุปกรณ์ในการเล่นกีฬามวยไทย


ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น อภิปราย และเขียนสรุ ปความรู ้เกี่ยวกับลักษณะและ
ความสําคัญของกีฬามวยไทย
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผ่นภาพความรู้เกี่ยวกับลักษณะและความสําคัญของกีฬา
มวยไทย
ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพแสดงการแต่งกายของนักกีฬามวยไทย

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. สุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในหัวข้ อที่ 3.3 มวยไทย ใน
ประเด็นเกีย่ วกับลักษณะและความสํ าคัญของกีฬามวยไทย มาล่ วงหน้ า ตามที่ได้ รับมอบหมายในการ
เรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัตกิ จิ กรรมดังกล่ าวของนักเรียน
4. ให้นกั เรี ยนดูภาพแสดงการเล่นหรื อการแข่งขันกีฬามวยไทยที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับ
ความรู้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู้ของนักเรี ยน และตอบคําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– จากภาพคือกีฬาชนิดใด (มวยไทย)
– นักเรี ยนเคยเล่นหรื อเคยดูการแข่งขันกีฬาดังกล่าวหรื อไม่ (ตอบได้ โดยอิสระ เช่ น ไม่ เคยเล่ น แต่ เคยดูการ
แข่ งขันจากโทรทัศน์ )
– นักเรี ยนคิดว่าเพราะเหตุใดกีฬามวยไทยจึงได้รับความนิยมเป็ นอย่างมากในปั จจุบนั ทั้งในประเทศไทยและ
ต่างประเทศ (เพราะมวยไทยเป็ นศิลปะการต่ อสู้ป้องกันตัวที่ มีความงดงาม แต่ แฝงไปด้ วยความเข้ มแข็ง มี
กลวิธีในการรั บมือหรื อใช้ ต่อสู้ที่ดีเยี่ยม แสดงถึงการใช้ สติปัญหาที่เฉี ยบแหลม มีความเด็ดขาด ว่ องไว จึง
ทําให้ ในปั จจุบันมวยไทยเป็ นกีฬาที่ได้ รับการยอมรั บในระดับสากล)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 3.3 มวยไทย ในประเด็นเกี่ยวกับลักษณะและ
ความสําคัญของกีฬามวยไทย เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของ
นักเรี ยน
266

ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้ในหัวข้อที่ 3.3 มวยไทย ในประเด็นเกี่ยวกับลักษณะและความสําคัญของกีฬามวยไทย และ
ให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับประวัติความเป็ นมาของกีฬามวยไทย โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้อง
ให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
2. ครู ให้ความรู ้เพิ่มเติมในประเด็นเกี่ยวกับอุปกรณ์การเล่นกีฬามวยไทย ซึ่งมีอุปกรณ์ที่สาํ คัญ เช่น ผ้า
ประเจียด (ผ้าสําหรับพันต้นแขน) ผ้าพันมือ กระจับ สนับฟัน มงคลสวมศีรษะ กางเกงมวยไทย โดยใช้
ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ หรื ออุปกรณ์ของจริ งมาให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
3. ครูแสดงบัตรคําที่เกีย่ วข้ องกับเรื่อง มวยไทย ในประเด็นเกีย่ วกับลักษณะและความสํ าคัญของกีฬามวย
ไทย รวมถึงอุปกรณ์ การเล่นกีฬามวยไทย ในภาษาอังกฤษให้ นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่านสะกดคําและอ่าน
ออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่านตาม เพือ่ สร้ างเสริมทักษะทางด้ านภาษา ตัวอย่ างเช่ น คําว่า
– มวยไทย ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Muaythai อ่านออกเสี ยงว่ า มวยไทย
– มงคลสวมศีรษะ ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Sacred Headband อ่านออกเสี ยงว่า เซ-คเร็ด เฮ็ด-แบ็นด
– ผ้าประเจียด ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Kwrang Wrang อ่านออกเสี ยงว่า เครื่องราง
– ผ้าพันมือ ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Hand Wraps อ่านออกเสี ยงว่ า แฮ็นด แร็พซ
– กระจับ ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Groin Guard อ่านออกเสี ยงว่า กรอยน กาด
– สนับฟัน ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Gum Shield อ่านออกเสี ยงว่า กัม ฌีลด
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศสมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
5. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิม่ เติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5–6 คน แต่ละกลุ่มร่ วมกันศึกษาและสรุ ปความรู้ในประเด็นเกี่ยวกับลักษณะและ
ความสําคัญของกีฬามวยไทย โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน โดยครู ให้ความรู ้ที่
ถูกต้องเพิ่มเติม
2. นักเรี ยนนําความรู ้ที่ได้ไปพูดคุยและถ่ายทอดเรื่ องราวจากการเรี ยนรู้ให้ผปู ้ กครองฟังและให้ผปู ้ กครอง
ตอบรับผลการปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรี ยนกลับมาที่ครู
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
267

3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าในหัวข้ อที่ 3.3 มวยไทย ในประเด็นเกีย่ วกับการไหว้ ครูและร่ ายรํามวยไทย
ท่ าพรหมสี่ หน้ า ขั้นตอนที่ 1–3 ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5
หรือจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า แล้วนํามา
สนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับความนิยมในการเล่นกีฬามวยไทยทั้งในประเทศไทย ประเทศเพื่อน
บ้านหรื อประเทศในกลุ่มสมาชิกอาเซียน หรื อประเทศในภูมิภาคอื่น ๆ เพิ่มเติม จากแหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ เช่น
วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการเล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต ฯลฯ
เพื่อเสริ มสร้างการเรี ยนรู้และตระหนักในความสําคัญของกีฬามวยไทยมากยิง่ ขึ้น

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพแสดงการเล่นหรื อการแข่งขันกีฬามวยไทย
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายในหัวข้อที่ 3.3 มวยไทย ในประเด็นเกี่ยวกับลักษณะและความสําคัญ
ของกีฬามวยไทย
3. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายในประเด็นเกี่ยวกับอุปกรณ์การเล่นกีฬามวยไทย หรื ออุปกรณ์การเล่น
กีฬามวยไทย เช่น ผ้าประเจียด (ผ้าสําหรับพันต้นแขน) ผ้าพันมือ กระจับ สนับฟัน มงคลสวมศีรษะ กางเกง
มวยไทย
4. บัตรคําที่เกี่ยวข้องกับเรื่ อง มวยไทย ในประเด็นเกี่ยวกับลักษณะและความสําคัญของกีฬามวยไทย รวมถึง
อุปกรณ์การเล่นกีฬามวยไทย
5. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
6. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
268

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
269

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 42
กีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง มวยไทย (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
การไหว้ครู เป็ นสิ่ งที่ตอ้ งปฏิบตั ิก่อนการแข่งขันมวยไทยเสมอ ซึ่งเป็ นประเพณี ที่ปฏิบตั ิสืบต่อกันมาจนถึง
ปัจจุบนั เพื่อเป็ นการทําความเคารพต่อครู บาอาจารย์ที่เป็ นผูป้ ระสิ ทธิ์ ประสาทวิชาให้ และเป็ นการแสดงความเคารพ
ต่อประธานในพิธีการแข่งขัน รวมถึงเป็ นการถวายบังคมแด่พระมหากษัตริ ยด์ ว้ ย
ตัวอย่างท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 1–3 มีวิธีการปฏิบตั ิดงั นี้
– ขั้นตอนที่ 1 ปฏิบตั ิโดยนั่งคุกเข่าลงกับพื้นกลางสังเวียน วางฝ่ ามือทั้งสองไว้บนต้นขา นิ้ วชี้ เข้าหากัน
กราบเบญจางคประดิษฐ์ลงบนพื้น 3 ครั้ง
– ขั้นตอนที่ 2 ปฏิบตั ิโดยเหยียดแขนไปด้านหลัง เคลื่อนสันมือไปข้าง ๆ ลําตัว ลากให้สมั ผัสพื้นจนมือทั้ง
สองมาชิดกันอยูด่ า้ นหน้า แล้วดึงมือทั้งสองมาชิดหน้าอก พนมมือ
– ขั้นตอนที่ 3 ปฏิบตั ิโดยถวายบังคมโน้มตัวไปด้านหน้า แขนทั้งสองเหยียดตึงพุ่งไปข้างหน้า แล้วยกมือ
ขึ้นเหนื อศีรษะ ตามองตามมือ ดึ งปลายนิ้วแตะหน้าผาก แล้วดันแขนเหยียดตึงขึ้นเหนื อศีรษะ ตามองตามมือ โน้ม
ตัวไปด้านหน้า พร้อมกับยืน่ มือทั้ง 2 ข้างลงกอบพื้นด้านหน้า ดึงมือเข้าหาหน้าอก พนมมือ (ปฏิบตั ิ 3 ครั้ง)

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
3. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
4. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
5. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)
3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายจุดมุ่งหมายของการปฏิบตั ิและขั้นตอนการปฏิบตั ิท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้าอย่าง
ถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของการไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทย ตลอดจนเข้าร่ วมศึกษาเกี่ยวกับการไหว้ครู และ
ร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้าด้วยความสนใจ กระตือรื อร้น และมีระเบียบวินยั (A)
3. แสดงทักษะในการไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้าอย่างถูกต้องและสวยงาม (P)
270

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
– ความสําคัญและจุดมุ่งหมายของ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
การไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทย แผนที่ความคิด*
– การฝึ กท่าไหว้ครู และร่ ายรํา
มวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า
ขั้นตอนที่ 4–7
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. กีฬา (ต่อ)
3.3 มวยไทย (ต่อ)
– การไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทย (ตัวอย่างท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 1–3)

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ ภาษาอังกฤษหรือภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
เกีย่ วกับการไหว้ ครูและร่ ายรํามวยไทย
คณิ ตศาสตร์  นับจํานวนท่าและขั้นตอนการไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทย และนับจํานวน
สมาชิกในกลุ่มเพื่อฝึ กปฏิบตั ิท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า
ขั้นตอนที่ 1–3
271

ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็นและเขียนอธิ บายลําดับขั้นตอนการปฏิบตั ิท่าไหว้ครู


และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 1–3
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ ความคิด ออกแบบและตกแต่งสมุดภาพเกี่ ยวกับ
ท่าการไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 1–3
ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพแสดงท่าการไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า
ขั้นตอนที่ 1–3 ประกอบการจัดทําแผ่นภาพหรื อสมุดภาพ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. สุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในหัวข้ อที่ 3.3 มวยไทย ใน
ประเด็นเกีย่ วกับการไหว้ ครูและร่ ายรํามวยไทยท่ าพรหมสี่ หน้ า ขั้นตอนที่ 1–3 มาล่วงหน้ า ตามที่ได้ รับ
มอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่อการปฏิบัตกิ จิ กรรมดังกล่ าวของ
นักเรียน
4. ให้นกั เรี ยนดูภาพแสดงท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยของนักมวย ที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกัน
เกี่ยวกับความรู้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู้ของนักเรี ยน และตอบคําถามร่ วมกัน
ตัวอย่างเช่น
– จากภาพ นักเรี ยนทราบไหมว่านักมวยกําลังปฏิบตั ิสิ่งใด (ปฏิบัติท่าไหว้ ครู และร่ ายรํามวยไทย)
– ทําไมก่อนชกมวย นักกีฬามวยไทยจึงต้องปฏิบตั ิท่าไหว้ครู (การไหว้ ครู ต้องปฏิบัติทุกครั้ งก่ อนแข่ งขันมวย
ไทย เพื่อเป็ นการทําความเคารพต่ อครู บาอาจารย์ ที่เป็ นผู้ประสิ ทธิ์ ประสาทวิชาให้ และเป็ นการแสดงความ
เคารพต่ อประธานในพิธีการแข่ งขัน รวมถึงเป็ นการถวายบังคมแด่ พระมหากษัตริ ย์ด้วย)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 3.3 มวยไทย ในประเด็นเกี่ยวกับการไหว้ครู และ
ร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของ
นักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้ในหัวข้อที่ 3.3 มวยไทย ในประเด็นเกี่ยวกับการไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทย โดยอธิบายให้
นักเรี ยนทราบถึงความสําคัญและจุดมุ่งหมายของการไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทย โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อ
วีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
272

2. ครูแสดงบัตรคําที่เกีย่ วข้ องกับการไหว้ ครูและร่ ายรํามวยไทยในภาษาอังกฤษให้ นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่าน


สะกดคําและอ่านออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่านตาม เพือ่ สร้ างเสริมทักษะทางด้ านภาษา ตัวอย่ างเช่ น คําว่า
– การไหว้ ครู ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Ritual of Homage (wai kru) อ่านออกเสี ยงว่ า ริช-อวล อ็อฝ
ฮอม-อิจ (ไหว้ -ครู)
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศสมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
3. ครู ให้ความรู ้ประกอบการสาธิตตัวอย่างท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 1–3 โดย
ใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย และให้นกั เรี ยนฝึ กปฏิบตั ิตาม
4. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม แต่ละกลุ่มร่ วมกันฝึ กปฏิบตั ิท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 1–3
โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด โดยครู คอยตรวจสอบความถูกต้องในการปฏิบตั ิของนักเรี ยน
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• นักเรี ยนแต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมาแสดงท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 1–3
ให้ครู และเพื่อนดู โดยครู คอยให้คาํ แนะนําแก้ไขให้ถูกต้องเพิ่มเติม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้ าหรื อลองฝึ กปฏิบัติในหัวข้ อ มวยไทย ในประเด็นเกี่ยวกับการไหว้ ครู
และร่ ายรํามวยไทย ขั้นตอนที่ 4–7 ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ป. 5 หรือจากแหล่ งการเรียนรู้ ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่ วงหน้ า แล้ วนํามา
สนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรฝึ กปฏิบตั ิท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 1–3 เพิ่มเติมนอกเวลาเรี ยน หรื อ
ใช้เวลาในกิจกรรมการลดเวลาเรี ยนเพิ่มเวลารู้ตามที่สถานศึกษากําหนด จนเกิดความชํานาญ เพื่อนําไปสู่
การศึกษาและฝึ กปฏิบตั ิท่าไหว้ครู และรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 4–7 ในการเรี ยนครั้งต่อไป
273

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพแสดงท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยของนักมวย
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายในหัวข้อที่ 3.3 มวยไทย ในประเด็นเกี่ยวกับการไหว้ครู และร่ ายรํา
มวยไทย
3. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 1–3
4. บัตรคําที่เกี่ยวข้องกับการไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยในภาษาอังกฤษ
5. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
6. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
274

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 43
กีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง มวยไทย (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
ตัวอย่างท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 4–7 มีวิธีการปฏิบตั ิดงั นี้
– ขัน้ ตอนที่ 4 ปฏิบตั ิโดยยกตัวขึ้น เข่าขวาตั้งฉาก ลําตัวตั้งตรง โน้มตัวไปข้างหน้า กระดกเท้าซ้ายขึ้น
พร้อมกับวาดแขนขนานกับพื้นออกไปด้านข้างลําตัวจนถึงด้านหน้า แล้วควงหมัดเป็ นวงกลมจากข้างหน้า 3 รอบ
โน้มตัวกลับด้านหลัง นัง่ ทับส้นเท้าซ้ายพร้อมกับชักศอกขวาไปด้านหลัง ยกแขนซ้ายป้ องหน้าโดยหงายฝ่ ามือ
ออกไปด้านหน้า หันหน้ามองศอกขวาของตนเองแล้วหันกลับ
– ขัน้ ตอนที่ 5 ปฏิบตั ิโดยโน้มตัวไปด้านหน้า ควงหมัดเป็ นวงกลมข้างหน้า 3 รอบ (ไม่ตอ้ งวาดแขนออก
ด้านข้าง) โน้มตัวกลับด้านหลัง นัง่ ทับส้นเท้าซ้ายพร้อมกับชักศอกขวาไปด้านหลัง ยกแขนซ้ายป้ องหน้าโดยหงาย
ฝ่ ามือออกไปด้านหน้า หันหน้ามองศอกขวาของตนเองแล้วหันกลับ โน้มตัวไปด้านหน้า ควงหมัดเป็ นวงกลม
ข้างหน้า 3 รอบ (ไม่ตอ้ งวาดแขนออกด้านข้าง)
– ขัน้ ตอนที่ 6 ปฏิบตั ิโดยพนมมือไว้ที่หน้าอก ลุกขึ้นยืน ลากเท้าซ้ายมาชิดเท้าขวา ขาเหยียดตรง พนมมือที่
หน้าอกแล้วโค้งไหว้ 1 ครั้ง

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
3. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
4. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
5. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายขั้นตอนการปฏิบตั ิท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้าอย่างถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของการไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทย ตลอดจนเข้าร่ วมศึกษาเกี่ยวกับการไหว้ครู และ
ร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้าด้วยความสนใจ กระตือรื อร้น และมีระเบียบวินยั (A)
3. แสดงทักษะในการไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้าอย่างถูกต้องและสวยงาม (P)
275

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับการฝึ กท่าไหว้ครู • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ขั้นตอนที่ 4–7 แผนที่ความคิด*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. กีฬา (ต่อ)
3.3 มวยไทย (ต่อ)
– การไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทย (ตัวอย่างท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 4–7)

6. แนวทางบูรณาการ
คณิ ตศาสตร์  นับจํานวนสมาชิกในกลุ่มเพื่อฝึ กปฏิบตั ิท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหม
สี่ หน้า ขั้นตอนที่ 4–7
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็นและเขียนอธิ บายลําดับขั้นตอนการปฏิบตั ิท่าไหว้ครู
และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 4–7
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ ความคิด ออกแบบและตกแต่งสมุดภาพเกี่ ยวกับ
ท่าการไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 4–7
ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพแสดงท่าการไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า
ขั้นตอนที่ 4–7 ประกอบการจัดทําแผ่นภาพหรื อสมุดภาพ
276

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. สุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าและลองฝึ กปฏิบัตใิ นหัวข้ อ
มวยไทย ในประเด็นเกีย่ วกับการไหว้ ครูและร่ ายรํามวยไทยท่ าพรหมสี่ หน้ า ขั้นตอนที่ 4–7 มาล่วงหน้ า
ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัตกิ จิ กรรมดังกล่าว
ของนักเรียน
4. ครู สอบถามนักเรี ยนในประเด็นต่าง ๆ เกี่ยวกับการไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทย เพื่อตรวจสอบความรู ้ความ
เข้าใจของนักเรี ยน ตัวอย่างเช่น
– นักเรี ยนควรปฏิบตั ิตนอย่างไรขณะไหว้ครู (ตั้งใจและมีสมาธิ ปฏิบัติท่าไหว้ ครู และร่ ายรํามวยไทยตามที่
ครู สอนมา และสํารวมกิริยามารยาทให้ เหมาะสม)
– นักเรี ยนควรฝึ กมวยไทยหรื อไม่ เพราะเหตุใด (ควรฝึ ก เพราะการฝึ กมวยไทยนอกจากจะเป็ นการออก-
กําลังกายและใช้ เวลาว่ างให้ เกิดประโยชน์ แล้ ว ทักษะต่ าง ๆ ของกีฬานํามาใช้ ในการป้ องกันตัวเมื่อเกิด
เหตุร้ายหรื ออันตรายได้ รวมถึงยังเป็ นการอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมไทยให้ คงอยู่สืบไปด้ วย)
– การร่ ายรํามวยไทยถือเป็ นการอบอุ่นร่ างกายได้ หรื อไม่ อย่ างไร (ได้ เพราะมีการเคลื่อนไหวและยืดเหยียด
ส่ วนต่ าง ๆ ของร่ างกาย)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 3.3 มวยไทย ในประเด็นเกี่ยวกับการไหว้ครู และ
ร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 4–7 เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการ
เรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ให้นกั เรี ยนร่ วมกันปฏิบตั ิท่าไหว้ครู และรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 1–3 ที่ได้ศึกษาและฝึ ก
ปฏิบตั ิในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมา เพื่อทบทวนความรู ้และนําไปสู่การปฏิบตั ิในท่าต่อเนื่อง ขั้นตอนที่ 4–7
ในการเรี ยนครั้งนี้
2. ครู ให้ความรู ้ประกอบการสาธิตตัวอย่างท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 4–7 โดย
ใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย และให้นกั เรี ยนฝึ กปฏิบตั ิตาม
3. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
277

ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม แต่ละกลุ่มร่ วมกันฝึ กปฏิบตั ิท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 4–7
โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด โดยครู คอยตรวจสอบความถูกต้องในการปฏิบตั ิของนักเรี ยน
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• นักเรี ยนแต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมาแสดงท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 4–7
ให้ครู และเพื่อนดู โดยครู คอยให้คาํ แนะนําแก้ไขให้ถูกต้องเพิ่มเติม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าหรือลองฝึ กปฏิบัตใิ นหัวข้ อที่ 3.3 มวยไทย ในประเด็นเกีย่ วกับการไหว้
ครู และร่ ายรํามวยไทย ขั้นตอนที่ 8–10 ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพล
ศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่ วงหน้ า แล้ว
นํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรทบทวนและฝึ กปฏิบตั ิท่าไหว้ครู และรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 1–7 เพิ่มเติมนอกเวลา
เรี ยน หรื อใช้เวลาในกิจกรรมการลดเวลาเรี ยนเพิ่มเวลารู้ตามที่สถานศึกษากําหนด จนเกิดความชํานาญ เพื่อ
นําไปสู่การศึกษาและฝึ กปฏิบตั ิท่าไหว้ครู และรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 8–10 ในการเรี ยนครั้ง
ต่อไป

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 4–7
2. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
3. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
4. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
5. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
6. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
278

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
279

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 44
กีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง มวยไทย (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
ตัวอย่างท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 8–10 มีวิธีการปฏิบตั ิดงั นี้
– ขั้นตอนที่ 8 ปฏิบตั ิโดยยกเข่าซ้ายขึ้น ขาท่อนบนขนานพื้น ควงหมัดเป็ นวงกลมข้างหน้า 3 รอบ วางเท้า
ซ้ายลงด้านหน้าประมาณ 1 ก้าว ยกเข่าขวาขึ้น ขาท่อนบนขนานพื้น ควงหมัดเป็ นวงกลมข้างหน้า 3 รอบ วางเท้าขวา
ลงข้างหน้าประมาณ 1 ก้าว ยกเข่าซ้าย มื อซ้ายวางบนเข่าซ้าย มื อขวายกป้ องหน้า หมุ นตัวไปทางซ้าย 2 มุ มฉาก
(กลับหลังหัน)วางเท้าซ้ายชิดเท้าขวา พนมมือไว้ที่หน้าอก โค้งไหว้ 1 ครั้ง
– ขั้นตอนที่ 9 ปฏิบตั ิโดยยกเข่าขวาขึ้น ขาท่อนบนขนานพื้น ควงหมัดเป็ นวงกลมข้างหน้า 3 รอบ วางเท้า
ขวาลงด้านหน้าประมาณ 1 ก้าว ยกเข่าซ้ายขึ้น ขาท่อนบนขนานพื้น ควงหมัดเป็ นวงกลมข้างหน้า 3 รอบ วางเท้าซ้าย
ลงข้างหน้าประมาณ 1 ก้าว ยกเข่าขวา มือขวาวางบนเข่าขวา มือซ้ายยกป้ องหน้า หมุนตัวไปทางขวา 3 มุมฉาก (หัน
หน้าเข้าหามุม) พร้อมกับวางเท้าขวาลงด้านหน้าห่ างจากเท้าซ้ายประมาณ 1 ก้าว โล้ตวั ไปด้านหน้า พนมมื อไว้ที่
ด้านหน้า โค้งไหว้ 1 ครั้ง
– ขั้นตอนที่ 10 ปฏิบตั ิโดยกํามือทั้ง 2 ข้างอย่างหลวม ๆ เสมอหน้าอกในท่าตั้งการ์ด หันหน้ามองกลับหลัง
ไปทางซ้าย (มองคู่ต่อสู้) พยักหน้า 3 ครั้ง หันหน้ามองมุ มตัวเอง ควงหมัดเป็ นวงกลมข้างหน้า 3 รอบ พร้อมกับ
กระทื บเท้าขวาลงด้านหน้า 3 ครั้ง แล้วยกเข่าซ้ายขึ้ น มือ ซ้ายวางบนเข่าซ้าย มื อขวาป้ องหน้า หมุนตัวกลับ หลัง
ทางซ้าย วางเท้าซ้ายชิดเท้าขวา ยืนตรงพนมมือไว้ที่หน้าอก โค้งไหว้ 1 ครั้ง

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
3. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
4. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
5. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)
280

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายขั้นตอนการปฏิบตั ิท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้าอย่างถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของการไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทย ตลอดจนเข้าร่ วมศึกษาเกี่ยวกับการไหว้ครู และ
ร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้าด้วยความสนใจ กระตือรื อร้น และมีระเบียบวินยั (A)
3. แสดงทักษะในการไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้าอย่างถูกต้องและสวยงาม (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับการฝึ กท่าไหว้ครู • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ขั้นตอนที่ 8–10 แผนที่ความคิด*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. กีฬา (ต่อ)
3.3 มวยไทย (ต่อ)
– การไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทย (ตัวอย่างท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 8–10)
281

6. แนวทางบูรณาการ
คณิ ตศาสตร์  นับจํานวนสมาชิกในกลุ่มเพื่อฝึ กปฏิบตั ิท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหม
สี่ หน้า ขั้นตอนที่ 8–10
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็นและเขียนอธิ บายลําดับขั้นตอนการปฏิบตั ิท่าไหว้ครู
และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 8–10
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ ความคิด ออกแบบและตกแต่งสมุดภาพเกี่ ยวกับ
ท่าการไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 8–10
ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพแสดงท่าการไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า
ขั้นตอนที่ 8–10 ประกอบการจัดทําแผ่นภาพหรื อสมุดภาพ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. สุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าและลองฝึ กปฏิบัตใิ นหัวข้ อ
มวยไทย ในประเด็นเกีย่ วกับการไหว้ ครูและร่ ายรํามวยไทยท่ าพรหมสี่ หน้ า ขั้นตอนที่ 8–10 มาล่วงหน้ า
ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัตกิ จิ กรรมดังกล่าว
ของนักเรียน
4. ครู สอบถามนักเรี ยนในประเด็นต่าง ๆ เกี่ยวกับการไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทย เพื่อตรวจสอบความรู ้ความ
เข้าใจของนักเรี ยน ตัวอย่างเช่น
– ทําไมนักมวยจึงต้องสวมมงคลก่อนขึ้นแข่งขัน (เพื่อความเป็ นสิ ริมงคล)
– การโค้งไหว้ขณะไหว้ครู เป็ นการทําความเคารพบุคคลใด (ครู บาอาจารย์ ที่เป็ นผู้ประสิ ทธิ์ ประสาทวิชา
ประธานในพิธีการแข่ งขัน และถวายบังคมแด่ พระมหากษัตริ ย์)
– การควงหมัดเป็ นวงกลมในการไหว้ครู ท่าพรหมสี่ หน้าแต่ละครั้งต้องทําจํานวนกี่รอบ (3 รอบ)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 3.3 มวยไทย ในประเด็นเกี่ยวกับการไหว้ครู และ
ร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 8–10 เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการ
เรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
282

ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ให้นกั เรี ยนร่ วมกันปฏิบตั ิท่าไหว้ครู และรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 1–7 ที่ได้ศึกษาและฝึ ก
ปฏิบตั ิในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมา เพื่อทบทวนความรู ้และนําไปสู่การปฏิบตั ิในท่าต่อเนื่อง ขั้นตอนที่ 8–10
ในการเรี ยนครั้งนี้
2. ครู ให้ความรู ้ประกอบการสาธิตตัวอย่างท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 8–10โดย
ใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย และให้นกั เรี ยนฝึ กปฏิบตั ิตาม
3. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม แต่ละกลุ่มร่ วมกันฝึ กปฏิบตั ิท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 8–10
โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด โดยครู คอยตรวจสอบความถูกต้องในการปฏิบตั ิของนักเรี ยน
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• นักเรี ยนแต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมาแสดงท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 8–10
ให้ครู และเพื่อนดู โดยครู คอยให้คาํ แนะนําแก้ไขให้ถูกต้องเพิ่มเติม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรี ยนแบ่ งกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน แต่ ละกลุ่มร่ วมกันฝึ กทบทวนปฏิบัติท่าไหว้ ครู และร่ ายรํ า
มวยไทยท่ าพรหมสี่ หน้ า ขั้นตอนที่ 1–10 นอกเวลาเรียน เพือ่ เตรียมเข้ ารับการทดสอบปฏิบัติในการเรียน
ครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรทบทวนและฝึ กปฏิบตั ิท่าไหว้ครู และรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 1–10 เพิ่มเติมนอกเวลา
เรี ยน หรื อใช้เวลาในกิจกรรมการลดเวลาเรี ยนเพิ่มเวลารู้ตามที่สถานศึกษากําหนด จนเกิดความชํานาญ เพื่อเป็ น
ทักษะพื้นฐานของการเล่นกีฬามวยไทยและช่วยอนุรักษ์ศิลปะการต่อสูป้ ้ องกันตัวของไทยให้คงอยูส่ ื บไป

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 8–10
2. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
283

3. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
4. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
5. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
6. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
284

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 45
กีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง มวยไทย (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
การทดสอบปฏิบตั ิท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ประกอบด้วยลําดับขั้นตอนการปฏิบตั ิ
ทั้งหมด 10 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1–10 ซึ่งการทดสอบดังกล่าวจะทําให้ทราบถึงระดับความสามารถและทักษะ
การไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยของนักเรี ยน ซึ่ งจะช่วยให้นาํ ข้อมูลที่ได้มาใช้พฒั นาทักษะดังกล่าวให้ดีข้ ึนได้

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
3. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
4. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
5. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายขั้นตอนการปฏิบตั ิท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้าอย่างถูกต้องได้ (K)
2. เข้าร่ วมการทดสอบปฏิบตั ิท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้าด้วยความกระตือรื อร้นและมีระเบียบ
วินยั (A)
3. แสดงทักษะในการไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้าอย่างถูกต้องและสวยงาม (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามทบทวนความรู้และการฝึ ก • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ปฏิบตั ิท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวย ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ แผนที่ความคิด*
1–10
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
285

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินผลการปฏิบตั ิทกั ษะ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน กีฬามวยไทย* 3 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. กีฬา (ต่อ)
3.3 มวยไทย (ต่อ)
– การทดสอบปฏิบตั ิท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า

6. แนวทางบูรณาการ
คณิ ตศาสตร์  นับจํานวนสมาชิกในกลุ่มเพื่อเข้าร่ วมการทดสอบปฏิบตั ิท่าไหว้ครู และร่ ายรํา
มวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า
ภาษาไทย  อธิ บายแนวทางการปฏิบตั ิท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า
ขั้นตอนที่ 1–10

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมารายงานผลการฝึ กทบทวนปฏิบัตทิ ่ าไหว้ ครูและร่ ายรํามวยไทยท่ าพรหมสี่ หน้ า
ขั้นตอนที่ 1–10 นอกเวลาเรี ยน เพื่อเตรี ยมเข้ ารับการทดสอบ ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรี ยนครั้ งที่
ผ่ านมา โดยครู แสดงความคิดเห็นต่ อการรายงานผลของนักเรียนและให้ คาํ แนะนําเพิม่ เติม
286

4. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อ มวยไทย ในประเด็นเกี่ยวกับการไหว้ครู และร่ ายรํา


มวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ทบทวนความรู้ในประเด็นเกี่ยวกับการไหว้ครู และรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อ
วีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
2. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิม่ เติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันเข้ารับการทดสอบปฏิบตั ิท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า
ซึ่งประกอบด้วยลําดับขั้นตอนการปฏิบตั ิ 10 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1–10 ดังรายละเอียดในหนังสื อ
เรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 จนครบทุกกลุ่ม โดยครู คอยดูแลการปฏิบตั ิอย่างใกล้ชิด
2. ครู สรุ ปผลการทดสอบปฏิบตั ิให้นกั เรี ยนทราบ พร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นต่อการทดสอบการปฏิบตั ิของ
นักเรี ยนและให้คาํ แนะนําเพิ่มเติม
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• นักเรี ยนนําความรู ้ในประเด็นเกี่ยวกับการไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยไปถ่ายทอดและปฏิบตั ิให้ผปู้ กครองดู
โดยให้ผปู้ กครองแสดงความคิดเห็นและตอบรับผลการปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรี ยนกลับมาที่ครู
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นั ก เรี ยนปฏิ บั ติกิจกรรม ฝึ กฝนท่ าไหว้ ค รู และเรี ยนรู้ รํ ามวยไทย ดั งรายละเอียดในใบ
กิจกรรมที่ครูแจกให้ หรือในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 แล้วนํามาสนทนา
ร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป
4. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าในหัวข้ อที่ 3.3 มวยไทย ในประเด็นเกีย่ วกับตัวอย่ างการฝึ กทักษะ
พืน้ ฐานมวยไทย ในหัวข้ อย่ อยที่ 1. การฝึ กทักษะท่ าตั้งการ์ ดหรือท่ าเตรียม และหัวข้ อย่ อยที่ 2. การฝึ ก
ทักษะการใช้ หมัด ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจาก
แหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า แล้วนํามาสนทนา
ร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป
287

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าและฝึ กปฏิบตั ิท่าการไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยในท่าอื่น ๆ เพิ่มเติมนอกเหนือจากท่า
พรหมสี่ หน้า เช่น ท่าสาวน้อยประแป้ ง ท่าหนุมานตบยุง จากแหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ เช่น ห้องสมุดของโรงเรี ยน
ห้องสมุดในชุมชน อินเทอร์เน็ต หรื อหนังสื อความรู ้เกี่ยวกับกีฬามวยไทย เพื่อเสริ มสร้างการเรี ยนรู ้เกี่ยวกับ
กีฬามวยไทยและเป็ นการร่ วมอนุรักษ์ศิลปะการต่อสูข้ องไทยให้คงอยูส่ ื บไป

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายทบทวนท่าไหว้ครู และร่ ายรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า ขั้นตอนที่ 1–10
2. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
3. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
4. แบบประเมินผลการปฏิบตั ิทกั ษะกีฬามวยไทย
5. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
6. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
288

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 46
กีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง มวยไทย (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
การฝึ กทักษะพื้นฐานมวยไทย ผูฝ้ ึ กหัดควรเริ่ มฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะท่าตั้งการ์ดหรื อท่าเตรี ยม ทักษะการใช้หมัด
ทักษะการใช้ศอก และทักษะการใช้เข่า โดยในการเรี ยนครั้งนี้ นกั เรี ยนจะได้เรี ยนรู ้และฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะท่าตั้งการ์ ด
หรื อท่าเตรี ยมและทักษะการใช้หมัด โดย
การฝึ กทักษะท่ าตั้งการ์ ดหรื อท่ าเตรี ยม ปฏิบตั ิโดยก้าวเท้าข้างใดข้างหนึ่งไปข้างหน้า ยกมือทั้ง 2 ข้างขึ้นกํา
หลวม ๆ เสมอไหล่
การฝึ กทั กษะการใช้ หมัด ประกอบด้วยหมัดแย็บและหมัดตรง โดยหมัดแย็บเริ่ มจากท่าตั้งการ์ ด เหยียด
แขนข้างเดี ยวกับเท้าที่อยูด่ า้ นหน้าพุ่งตรงไปข้างหน้า มือควํ่าหมัด และหมัดตรงเริ่ มจากท่าตั้งการ์ ด ถ่ายนํ้าหนักตัว
จากไหล่ไปยังมือที่กาํ หมัด พร้อมกับเหยียดแขนข้างเดียวกับเท้าที่อยูด่ า้ นหลังพุง่ ตรงไปข้างหน้า มือควํ่าหมัด

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
3. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
4. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
5. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายตัวอย่างการฝึ กทักษะพื้นฐานมวยไทยในทักษะท่าตั้งการ์ดหรื อท่าเตรี ยมและทักษะการใช้หมัดอย่าง
ถูกต้องได้ (K)
2. เข้าร่ วมศึกษาและฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานมวยไทยในทักษะท่าตั้งการ์ดหรื อท่าเตรี ยมและทักษะการใช้หมัด
ด้วยความสนใจและกระตือรื อร้น (A)
3. แสดงทักษะพื้นฐานมวยไทยในทักษะท่าตั้งการ์ดหรื อท่าเตรี ยมและทักษะการใช้หมัดอย่างถูกต้องได้ (P)
289

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับตัวอย่างการฝึ ก • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ทักษะพื้นฐานมวยไทยในทักษะ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ท่าตั้งการ์ดหรื อท่าเตรี ยมและ แผนที่ความคิด*
ทักษะการใช้หมัด
• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ขึ้นอยูก่ บั ดุลยพินิจของครู
ปฏิบตั ิกิจกรรม ฝึ กฝนท่ าไหว้ ครู ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
และเรี ยนรู้ รํามวยไทย พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ป. 5
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. กีฬา (ต่อ)
3.3 มวยไทย (ต่อ)
– ตัวอย่างการฝึ กทักษะพื้นฐานมวยไทย
1. การฝึ กทักษะท่าตั้งการ์ดหรื อท่าเตรี ยม
2. การฝึ กทักษะการใช้หมัด
290

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ ภาษาอังกฤษหรือภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
เกีย่ วกับทักษะพืน้ ฐานมวยไทยในทักษะท่ าตั้งการ์ ดหรือท่ าเตรียมและทักษะการ
ใช้ หมัด
คณิ ตศาสตร์  นับจํานวนสมาชิกหรื อจํานวนผูฝ้ ึ กและอุปกรณ์ในการฝึ กทักษะพื้นฐาน
มวยไทย นับจํานวนครั้งหรื อนับจังหวะในการฝึ กทักษะการใช้หมัด
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น อภิปราย และเขียนสรุ ปความรู ้เกี่ยวกับวิธีการฝึ ก
ทักษะพื้นฐานมวยไทย ในทักษะท่าตั้งการ์ดหรื อท่าเตรี ยมและทักษะการใช้หมัด
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนภาพแสดงวิธีปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานมวยไทย ในทักษะ
ท่าตั้งการ์ดหรื อท่าเตรี ยมและทักษะการใช้หมัด
ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพแสดงการปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานมวยไทย ในทักษะท่า
ตั้งการ์ดหรื อท่าเตรี ยมและทักษะการใช้หมัด

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. สุ่ มนักเรียน 2–3 คนออกมานําเสนอผลการปฏิบัตกิ จิ กรรม ฝึ กฝนท่ าไหว้ ครู และเรี ยนรู้รํามวยไทย ตามที่
ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัตกิ จิ กรรมของนักเรียน
และให้ คาํ แนะนําเพิม่ เติม
4. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในหัวข้ อที่ 3.3
มวยไทย ในประเด็นเกีย่ วกับตัวอย่ างการฝึ กทักษะพืน้ ฐานมวยไทย ในหัวข้ อย่อยที่ 1. การฝึ กทักษะท่ าตั้ง
การ์ ดหรือท่ าเตรียม และหัวข้ อย่ อยที่ 2. การฝึ กทักษะการใช้ หมัด มาล่วงหน้ า ตามที่ได้ รับมอบหมายใน
การเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครู แสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัตกิ จิ กรรมดังกล่ าวของนักเรียน
5. ให้นกั เรี ยนดูภาพแสดงการต่อสูใ้ นกีฬามวยไทยที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู ้ในเรื่ อง
ดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู้ของนักเรี ยน และตอบคําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– กีฬามวยไทยใช้อวัยวะส่วนใดของร่ างกายได้บา้ ง (ใช้ อวัยวะทุกส่ วนของร่ างกายได้ เช่ น ศีรษะ มือ ศอก
เข่ า แข้ ง และเท้ า)
291

– ทักษะการใช้หมัดในกีฬามวยไทยมีกี่รูปแบบ อะไรบ้าง (4 รู ปแบบ ได้ แก่ หมัดแย็บ หมัดตรง หมัดฮุค


และหมัดสอยดาว หรื อหมัดเสย หรื อหมัดอัปเปอร์ คัต)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 3.3 มวยไทย ในประเด็นเกี่ยวกับตัวอย่างการฝึ ก
ทักษะพื้นฐานมวยไทย ในหัวข้อย่อยที่ 1. การฝึ กทักษะท่าตั้งการ์ดหรื อท่าเตรี ยม และหัวข้อย่อยที่ 2. การ
ฝึ กทักษะการใช้หมัด เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้ในหัวข้อที่ 3.3 มวยไทย ในประเด็นเกี่ยวกับตัวอย่างการฝึ กทักษะพื้นฐานมวยไทย ในหัวข้อ
ย่อยที่ 1. การฝึ กทักษะท่าตั้งการ์ดหรื อท่าเตรี ยม และหัวข้อย่อยที่ 2. การฝึ กทักษะการใช้หมัด ตามลําดับ
โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
2. ครูแสดงบัตรคําที่เกีย่ วข้ องกับทักษะท่ าตั้งการ์ ดหรือท่ าเตรียมและทักษะการใช้ หมัดซึ่งเป็ นทักษะพืน้ ฐาน
มวยไทย ในภาษาอังกฤษให้ นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่านสะกดคําและอ่านออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่านตาม เพือ่
สร้ างเสริมทักษะทางด้ านภาษา ตัวอย่างเช่ น คําว่ า
– ท่ าตั้งการ์ ดหรือท่ าเตรียม ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Guard อ่านออกเสียงว่ า กาด
– หมัดแย็บ ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Jab อ่านออกเสี ยงว่ า แจ็บ
– หมัดตรง ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Cross/Straight Punch อ่านออกเสี ยงว่ า คร็อซ/ซเทรท พันช
– หมัดฮุค ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Hook อ่านออกเสี ยงว่า ฮุค
– หมัดสอยดาว หรือหมัดเสย หรือหมัดอัปเปอร์ คตั ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Uppercut
อ่านออกเสี ยงว่ า อัพ-เพอะ คัท
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศสมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
3. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมาสาธิตทักษะพื้นฐานมวยไทย ในทักษะท่าตั้งการ์ดหรื อท่าเตรี ยมและทักษะ
การใช้หมัดร่ วมกับครู หน้าชั้นเรี ยนตามลําดับ แล้วให้เพื่อน ๆ ร่ วมกันปฏิบตั ิตาม โดยครู ตรวจสอบความ
ถูกต้องในการปฏิบตั ิของนักเรี ยนเป็ นรายบุคคล
4. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิม่ เติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนจับคู่กบั เพื่อนร่ วมกันฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานมวยไทย ในทักษะท่าตั้งการ์ดหรื อท่าเตรี ยมและ
ทักษะการใช้หมัด โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด โดยครู คอยดูแลการปฏิบตั ิอย่างใกล้ชิดและให้คาํ แนะนําที่
ถูกต้องเพิ่มเติม
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• นักเรี ยนแต่ละคู่ผลัดเปลี่ยนกันออกมาแสดงทักษะพื้นฐานมวยไทย ในทักษะท่าตั้งการ์ดหรื อท่าเตรี ยมและ
ทักษะการใช้หมัดให้ครู และเพื่อนดู โดยครู คอยให้คาํ แนะนําแก้ไขให้ถูกต้องเพิม่ เติม
292

ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้


1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าหรือลองฝึ กปฏิบัตใิ นหัวข้ อที่ 3.3 มวยไทย ในประเด็นเกีย่ วกับตัวอย่ าง
การฝึ กทักษะพืน้ ฐานมวยไทย (ต่ อ) ในหัวข้ อย่ อยที่ 3. การฝึ กทักษะการใช้ ศอก ดังรายละเอียดในหนังสื อ
เรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต
ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า แล้ วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าหรื อดูสื่อวีดิทศั น์แสดงการฝึ กทักษะท่าตั้งการ์ดหรื อท่าเตรี ยมและทักษะการใช้หมัด
เพิ่มเติมนอกเวลาเรี ยน หรื อใช้เวลาในกิจกรรมการลดเวลาเรี ยนเพิ่มเวลารู้ตามที่สถานศึกษากําหนด และฝึ ก
ปฏิบตั ิตามเพื่อให้เกิดความแม่นยําและชํานาญในการปฏิบตั ิมากยิง่ ขึ้น

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพแสดงการต่อสูใ้ นกีฬามวยไทย
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายในหัวข้อที่ 3.3 มวยไทย ในประเด็นเกี่ยวกับทักษะพื้นฐานมวยไทย
ในหัวข้อย่อยที่ 1. การฝึ กทักษะท่าตั้งการ์ดหรื อท่าเตรี ยม และหัวข้อย่อยที่ 2. การฝึ กทักษะการใช้หมัด
3. บัตรคําที่เกี่ยวข้องกับทักษะท่าตั้งการ์ดหรื อท่าเตรี ยมและทักษะการใช้หมัดในภาษาอังกฤษ
4. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
5. ใบกิจกรรม เรื่ อง ฝึ กฝนท่ าไหว้ ครู และเรี ยนรู้ รํามวยไทย
6. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
293

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
294

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 47
กีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง มวยไทย (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
ในการเรี ยนครั้งนี้นกั เรี ยนจะได้เรี ยนรู้และฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานมวยไทยในทักษะการใช้ศอก ซึ่ง
ประกอบด้วย ศอกตี ศอกงัด ศอกสับ และศอกกลับ โดยศอกตีเริ่ มจากท่าตั้งการ์ด งอแขนข้างเดียวกับเท้าที่อยู่
ด้านหน้า เหวี่ยงศอกไปข้างลําตัวแล้วพุง่ กลับมายังเป้ าหมาย ตําแหน่งของมือข้างที่เหวีย่ งศอกอยูร่ ะดับอก ศอกงัด
เริ่ มจากท่าตั้งการ์ด งอแขนข้างเดียวกับเท้าที่อยูด่ า้ นหน้าเหวี่ยงศอกจากด้านล่างของลําตัวพุง่ ไปยังเป้ าหมายด้านบน
ศอกสับเริ่ มจากท่าตั้งการ์ด งอแขนข้างเดียวกับเท้าที่อยูด่ า้ นหลัง เหวี่ยงศอกจากด้านบนของศีรษะพุง่ ไปยังเป้ าหมาย
ด้านล่าง และศอกกลับ เริ่ มจากท่าตั้งการ์ด งอแขน เหวี่ยงศอกไปด้านหลังพร้อมกับหมุนลําตัว 1 รอบ ให้ศอกพุง่ ไป
ยังเป้ าหมายที่อยูด่ า้ นหลัง

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
3. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
4. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
5. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายตัวอย่างการฝึ กทักษะพื้นฐานมวยไทยในทักษะการใช้ศอกอย่างถูกต้องได้ (K)
2. เข้าร่ วมศึกษาและฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานมวยไทยในทักษะการใช้ศอกด้วยความสนใจและกระตือรื อร้น (A)
3. แสดงทักษะพื้นฐานมวยไทยในทักษะการใช้ศอกอย่างถูกต้องได้ (P)
295

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับตัวอย่างการฝึ ก • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ทักษะพื้นฐานมวยไทยในทักษะ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
การใช้ศอก แผนที่ความคิด*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. กีฬา (ต่อ)
3.3 มวยไทย (ต่อ)
– ตัวอย่างการฝึ กทักษะพื้นฐานมวยไทย (ต่อ)
3. การฝึ กทักษะการใช้ศอก

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ภาษาอังกฤษหรื อภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
เกี่ยวกับทักษะพื้นฐานมวยไทยในทักษะการใช้ศอก
คณิ ตศาสตร์  นับจํานวนสมาชิกหรื อจํานวนผูฝ้ ึ กและอุปกรณ์ในการฝึ กทักษะพื้นฐานมวย
ไทย นับจํานวนครั้งหรื อนับจังหวะในการฝึ กทักษะการใช้ศอก
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น อภิปราย และเขียนสรุ ปความรู ้เกี่ยวกับวิธีการฝึ ก
ทักษะพื้นฐานมวยไทย ในทักษะการใช้ศอก
296

การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนภาพแสดงวิธีปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานมวยไทย ในทักษะ


การใช้ศอก
ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพแสดงการปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานมวยไทย ในทักษะการใช้
ศอก

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. สุ่ มนักเรียน 2–3 คนออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในหัวข้ อที่ 3.3 มวยไทย ใน
ประเด็นเกีย่ วกับตัวอย่ างการฝึ กทักษะพืน้ ฐานมวยไทย (ต่ อ) ในหัวข้ อย่ อยที่ 3. การฝึ กทักษะการใช้ ศอก
มาล่ วงหน้ า ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัติ
กิจกรรมดังกล่าวของนักเรียน
4. ให้นกั เรี ยนดูภาพแสดงการใช้ศอกเข้าต่อสูใ้ นกีฬามวยไทยที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับ
ความรู้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู้ของนักเรี ยน และตอบคําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– จากภาพ นักมวยใช้ทกั ษะใดในการต่อสู้ (ทักษะการใช้ ศอก)
– ทักษะการใช้ศอกในกีฬามวยไทยมีกี่รูปแบบ อะไรบ้าง (4 รู ปแบบ ได้ แก่ ศอกตี ศอกงัด ศอกสับ และ
ศอกกลับ)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 3.3 มวยไทย ในประเด็นเกี่ยวกับตัวอย่างการฝึ ก
ทักษะพื้นฐานมวยไทย (ต่อ) ในหัวข้อย่อยที่ 3. การฝึ กทักษะการใช้ศอก เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วน
ร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัคร 1–2 คนออกมาแสดงทักษะพื้นฐานมวยไทยในทักษะท่าตั้งการ์ดหรื อท่าเตรี ยมและ
ทักษะการใช้หมัดให้เพื่อนและครู ดูหน้าชั้นเรี ยน เพื่อเป็ นการทบทวนการเรี ยนรู ้และการฝึ กปฏิบตั ิในการ
เรี ยนครั้งที่ผา่ นมา โดยครู แสดงความคิดเห็นต่อการปฏิบตั ิของนักเรี ยน พร้อมทั้งให้คาํ แนะนําเพิม่ เติม
2. ครู ให้ความรู ้ในหัวข้อที่ 3.3 มวยไทย ในประเด็นเกี่ยวกับตัวอย่างการฝึ กทักษะพื้นฐานมวยไทย (ต่อ) ใน
หัวข้อย่อยที่ 3. การฝึ กทักษะการใช้ศอก โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดู
ประกอบการอธิบาย
297

3. ครูแสดงบัตรคําที่เกีย่ วข้ องกับทักษะการใช้ ศอกซึ่งเป็ นทักษะพืน้ ฐานมวยไทย ในภาษาอังกฤษให้ นักเรียน


ดู พร้ อมทั้งอ่านสะกดคําและอ่ านออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่านตาม เพือ่ สร้ างเสริมทักษะทางด้ านภาษา
ตัวอย่างเช่ น คําว่ า
– ศอก ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Elbow อ่านออกเสี ยงว่ า เอล-โบ
– ศอกตี ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Elbow Slash อ่านออกเสี ยงว่ า เอล-โบ ซแล็ฌ
– ศอกงัด ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Uppercut Elbow อ่านออกเสี ยงว่า อัพ-เพอะ คัท เอล-โบ
– ศอกสั บ ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่า Elbow Chop อ่านออกเสี ยงว่ า เอล-โบ ช็อพ
– ศอกกลับ ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Spinning Elbow อ่านออกเสี ยงว่า เอล-โบ ซพีน-นิง
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศสมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
4. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมาสาธิตทักษะพื้นฐานมวยไทย ในทักษะการใช้ศอกร่ วมกับครู หน้าชั้นเรี ยน
ตามลําดับ แล้วให้เพื่อน ๆ ร่ วมกันปฏิบตั ิตาม โดยครู ตรวจสอบความถูกต้องในการปฏิบตั ิของนักเรี ยน
เป็ นรายบุคคล
5. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนจับคู่กบั เพื่อนร่ วมกันฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานมวยไทย ในทักษะการใช้ศอก โดยใช้เวลาตามที่ครู
กําหนด โดยครู คอยดูแลการปฏิบตั ิอย่างใกล้ชิดและให้คาํ แนะนําที่ถูกต้องเพิ่มเติม
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• นักเรี ยนแต่ละคู่ผลัดเปลี่ยนกันออกมาแสดงทักษะพื้นฐานมวยไทยในทักษะการใช้ศอกให้ครู และเพื่อนดู
โดยครู คอยให้คาํ แนะนําแก้ไขให้ถูกต้องเพิ่มเติม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าหรือลองฝึ กปฏิบัตใิ นหัวข้ อที่ 3.3 มวยไทย ในประเด็นเกีย่ วกับตัวอย่ าง
การฝึ กทักษะพืน้ ฐานมวยไทย ในหัวข้ อย่ อยที่ 4. การฝึ กทักษะการใช้ เข่ า และศึกษาค้ นคว้าในประเด็น
เกี่ยวกับกติกาการแข่ งขันกีฬามวยไทย ดังรายละเอียดในหนังสื อเรี ยน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและ
พลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่ งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่ วงหน้ า
แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป
298

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าหรื อดูสื่อวีดิทศั น์แสดงการฝึ กทักษะการใช้ศอกเพิ่มเติมนอกเวลาเรี ยน หรื อใช้เวลาใน
กิจกรรมการลดเวลาเรี ยนเพิ่มเวลารู้ตามที่สถานศึกษากําหนด และฝึ กปฏิบตั ิตามเพื่อให้เกิดความแม่นยําและ
ชํานาญในการปฏิบตั ิมากยิง่ ขึ้น

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพแสดงการใช้ศอกเข้าต่อสูใ้ นกีฬามวยไทย
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายในหัวข้อที่ 3.3 มวยไทย ในประเด็นเกี่ยวกับทักษะพื้นฐานมวยไทย
(ต่อ) ในหัวข้อย่อยที่ 3. การฝึ กทักษะการใช้ศอก
3. บัตรคําที่เกี่ยวข้องกับทักษะการใช้ศอกในภาษาอังกฤษ
4. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
5. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
6. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
299

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 48
กีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง มวยไทย (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
ในการเรี ยนครั้งนี้นกั เรี ยนจะได้เรี ยนรู้และฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานมวยไทยในทักษะการใช้เข่า ซึ่ง
ประกอบด้วย เข่าตรง เข่าโค้ง โดยเข่ าตรงเริ่ มจากท่าตั้งการ์ด มือทั้ง 2 ข้างจับคอคู่ต่อสูโ้ น้มลงมา งอเข่าพร้อมกับส่ง
แรงจากสะโพกพุง่ ไปยังเป้ าหมายตรง ๆ ความสูงเหนือเอว และเข่ าโค้ งเริ่ มจากท่าตั้งการ์ด มือทั้ง 2 ข้างจับคอคู่ต่อสู้
โน้มลงมา งอเข่าพร้อมกับส่งแรงจากสะโพกเหวี่ยงเข่าไปทางด้านข้างลําตัว บิดสะโพก กดหัวเข่าพุง่ ไปยังเป้ าหมาย
กติกาการแข่งขันกีฬามวยไทย การแข่งขันจะมีท้ งั หมด 5 ยก ยกละ 3 นาที พักระหว่างยก 2 นาที และไม่มี
การเพิ่มยก โดยผูต้ ดั สิ นต้องให้คะแนนแก่ผแู ้ ข่งขันตามจํานวนของการชกที่ถูกต้องตามแบบของมวยไทย ซึ่งทําให้คู่
ต่อสูไ้ ม่สามารถป้ องกันและทําให้เป็ นฝ่ ายเสี ยเปรี ยบถือว่า ได้คะแนน และมีขอ้ ห้ามในการแข่งขันที่สาํ คัญ เช่น ห้าม
ใช้ศีรษะกระแทกหรื อโขกคู่ต่อสู้ ห้ามกัด ควัก หรื อกดลูกตา จิกผม ถ่มนํ้าลายใส่คู่ต่อสู้ เป็ นต้น

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
3. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
4. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
5. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายตัวอย่างการฝึ กทักษะพื้นฐานมวยไทยในทักษะการใช้เข่า และกติกาการแข่งขันกีฬามวยไทยอย่าง
ถูกต้องได้ (K)
2. เข้าร่ วมศึกษาและฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานมวยไทยในทักษะการใช้เข่า และกติกาการแข่งขันกีฬามวยไทยด้วย
ความสนใจและกระตือรื อร้น (A)
3. แสดงทักษะพื้นฐานมวยไทยในทักษะการใช้เข่าอย่างถูกต้อง และสามารถสื่ อสารเกี่ยวกับกติกาการแข่งขัน
กีฬามวยไทยให้ผอู ้ ื่นเข้าใจได้ (P)
300

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
– ตัวอย่างการฝึ กทักษะพื้นฐาน ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
มวยไทย ในทักษะการใช้เข่า แผนที่ความคิด*
– กติกาการแข่งขันกีฬามวยไทย
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. กีฬา (ต่อ)
3.3 มวยไทย (ต่อ)
– ตัวอย่างการฝึ กทักษะพื้นฐานมวยไทย (ต่อ)
4. การฝึ กทักษะการใช้เข่า
– กติกาการแข่งขันกีฬามวยไทย

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ ภาษาอังกฤษหรือภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
เกี่ยวกับทักษะพืน้ ฐานมวยไทยในทักษะการใช้ เข่ าและกติกาการแข่ งขันกีฬา
มวยไทย
301

คณิ ตศาสตร์  นับจํานวนสมาชิกหรื อจํานวนผูฝ้ ึ กและอุปกรณ์ในการฝึ กทักษะพื้นฐานมวย


ไทย นับจํานวนครั้งหรื อนับจังหวะในการฝึ กทักษะการใช้ศอก จับเวลาแต่ละ
ยกการแข่งขันและนับจํานวนยก จับเวลาพักระหว่างยก นับคะแนนที่ชกได้
และคํานวณผลคะแนนรวมในการแข่งขัน
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น อภิปราย และเขียนสรุ ปความรู ้เกี่ยวกับวิธีการฝึ ก
ทักษะพื้นฐานมวยไทยในทักษะการใช้ศอก และกติกาการแข่งขันกีฬามวยไทย
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนภาพแสดงวิธีปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานมวยไทย ในทักษะ
การใช้ศอก หรื อแผนที่ความคิด แผนผังสรุ ปกติกาการแข่งขันกีฬามวยไทย
ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพแสดงการปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานมวยไทย ในทักษะการใช้
ศอก
วิทยาศาสตร์  สังเกต ศึกษา สื บค้น วิเคราะห์ และบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะการ
เคลื่อนไหวร่ างกายในการปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานมวยไทยตามหลักวิทยาศาสตร์
การเคลื่อนไหวหรื อหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. สุ่ มนักเรียน 2–3 คนออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในหัวข้ อที่ 3.3 มวยไทย ใน
ประเด็นเกีย่ วกับตัวอย่ างการฝึ กทักษะพืน้ ฐานมวยไทย (ต่ อ) ในหัวข้ อย่ อยที่ 4. การฝึ กทักษะการใช้ เข่ า
และประเด็นเกีย่ วกับกติกาการแข่ งขันกีฬามวยไทย มาล่วงหน้ า ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่
ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบตั กิ จิ กรรมดังกล่าวของนักเรียน
4. ให้นกั เรี ยนดูภาพแสดงการใช้เข่าเข้าต่อสูใ้ นกีฬามวยไทยและการแข่งขันกีฬามวยไทย ที่ครู เตรี ยมมา แล้ว
สนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน และตอบคําถาม
ร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– จากภาพ นักมวยใช้ทกั ษะใดในการต่อสู้ (ทักษะการใช้ เข่ า)
– ทักษะการใช้เข่าในกีฬามวยไทยมีกี่รูปแบบ อะไรบ้าง (2 รู ปแบบ ได้ แก่ เข่ าตรง เข่ าโค้ ง)
– การที่นกั กีฬามวยไทยใช้เข่าในการต่อสูก้ บั คู่แข่งขันถือว่าเป็ นการกระทําที่ผดิ กติกาหรื อไม่ (ไม่ ผิด
กติกา เพราะการใช้ เข่ าเป็ นอีกทักษะหนึ่งของกีฬามวยไทย)
302

– การที่นกั กีฬามวยไทยใช้เข่าในการต่อสูก้ บั คู่แข่งขันถือว่าเป็ นการกระทําที่ผดิ กติกาหรื อไม่ (ไม่ ผิด


กติกา เพราะการใช้ เข่ าเป็ นอีกทักษะหนึ่งของกีฬามวยไทย)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 3.3 มวยไทย ในประเด็นเกี่ยวกับตัวอย่างการฝึ ก
ทักษะพื้นฐานมวยไทย (ต่อ) ในหัวข้อย่อยที่ 4. การฝึ กทักษะการใช้เข่า และประเด็นเกี่ยวกับกติกาการ
แข่งขันกีฬามวยไทย เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัคร 1–2 คนออกมาแสดงทักษะพื้นฐานมวยไทยในทักษะการใช้ศอกให้เพื่อนและครู ดู
หน้าชั้นเรี ยน เพื่อเป็ นการทบทวนการเรี ยนรู ้และการฝึ กปฏิบตั ิในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมา โดยครู แสดง
ความคิดเห็นต่อการปฏิบตั ิของนักเรี ยน พร้อมทั้งให้คาํ แนะนําเพิม่ เติม
2. ครู ให้ความรู ้ในหัวข้อที่ 3.3 มวยไทย ในประเด็นเกี่ยวกับตัวอย่างการฝึ กทักษะพื้นฐานมวยไทย (ต่อ) ใน
หัวข้อย่อยที่ 4. การฝึ กทักษะการใช้เข่า และประเด็นเกี่ยวกับกติกาการแข่งขันกีฬามวยไทย โดยใช้ภาพ
หรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิบาย
3. ครูแสดงบัตรคําที่เกีย่ วข้ องกับทักษะการใช้ เข่ าซึ่งเป็ นทักษะพืน้ ฐานมวยไทย และกติกาการแข่ งขันกีฬา
มวยไทย ในภาษาอังกฤษให้ นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่านสะกดคําและอ่านออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่านตาม เพือ่
สร้ างเสริมทักษะทางด้ านภาษา ตัวอย่างเช่ น คําว่ า
– เข่ า ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Knee อ่านออกเสี ยงว่ า นี
– เข่ าตรง ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Straight Knee Strike อ่านออกเสี ยงว่ า ซเทรท นี ซทไรค
– เข่ าโค้ ง ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Curving Knee Strike อ่านออกเสี ยงว่า เคิฝ-อิง นี ซทไรค
– ยกหรือรอบการแข่ งขัน ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่า Rounds อ่านออกเสี ยงว่ า เรานด
– สั งเวียนหรือสนามแข่ งขัน ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Ring อ่านออกเสี ยงว่า ริง
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศสมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
4. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมาสาธิตทักษะพื้นฐานมวยไทย ในทักษะการใช้เข่าร่ วมกับครู หน้าชั้นเรี ยน
ตามลําดับ แล้วให้เพื่อน ๆ ร่ วมกันปฏิบตั ิตาม โดยครู ตรวจสอบความถูกต้องในการปฏิบตั ิของนักเรี ยน
เป็ นรายบุคคล
5. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนจับคู่กบั เพื่อนร่ วมกันฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานมวยไทย ในทักษะการใช้ศอก โดยใช้เวลาตามที่ครู
กําหนด โดยครู คอยดูแลการปฏิบตั ิอย่างใกล้ชิดและให้คาํ แนะนําที่ถูกต้องเพิ่มเติม
2. นักเรี ยนแต่ละคู่ผลัดเปลี่ยนกันออกมาแสดงทักษะพื้นฐานมวยไทยในทักษะการใช้ศอกให้ครู และเพื่อนดู
โดยครู คอยให้คาํ แนะนําแก้ไขให้ถูกต้องเพิม่ เติม
303

3. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5–6 คน แต่ละกลุ่มร่ วมกันระดมสมองสรุ ปความรู้เกี่ยวกับกติกาการแข่งขันกีฬา


มวยไทยในรู ปแบบของการแสดงบทบาทสมมติการแข่งขันกีฬามวยไทยประกอบการอธิบาย โดยใช้เวลา
ตามที่ครู กาํ หนด
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• นักเรี ยนแต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมานําเสนอผลการปฏิ บตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน โดยครู ให้ความรู้
ถูกต้องเพิ่มเติม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียนฝึ กทบทวนทักษะพืน้ ฐานมวยไทยนอกเวลาเรียนหรือใช้ เวลาในกิจกรรมการลดเวลา
เรียนเพิม่ เวลารู้ตามที่สถานศึกษากําหนด เพือ่ เตรียมเข้ ารับการทดสอบปฏิบัตเิ ป็ นรายบุคคลในการเรียน
ครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้ากติกาการแข่งขันกีฬามวยไทยหรื อดูสื่อวีดิทศั น์แสดงการฝึ กทักษะการใช้เข่าและการ
แข่งขันกีฬามวยไทยเพิ่มเติมนอกเวลาเรี ยน หรื อใช้เวลาในกิจกรรมการลดเวลาเรี ยนเพิ่มเวลารู้ตามที่
สถานศึกษากําหนด และฝึ กปฏิบตั ิตามเพื่อให้เกิดความแม่นยําและชํานาญในการปฏิบตั ิมากยิง่ ขึ้น

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพแสดงการใช้เข่าเข้าต่อสูใ้ นกีฬามวยไทยและการแข่งขันกีฬามวยไทย
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายในหัวข้อที่ 3.3 มวยไทย ในประเด็นเกี่ยวกับทักษะพื้นฐานมวยไทย
(ต่อ) ในหัวข้อย่อยที่ 4. การฝึ กทักษะการใช้เข่า และประเด็นเกี่ยวกับกติกาการแข่งขันกีฬามวยไทย
3. บัตรคําที่เกี่ยวข้องกับทักษะการใช้เข่าซึ่งเป็ นทักษะพื้นฐานมวยไทย และกติกาการแข่งขันกีฬามวยไทย ใน
ภาษาอังกฤษ
4. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
5. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
6. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
304

8. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด


9. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
305

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 49
กีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง มวยไทย (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
การทดสอบปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานมวยไทย ประกอบด้วย ทักษะท่าตั้งการ์ดหรื อท่าเตรี ยม ทักษะการใช้หมัด
ทักษะการใช้ศอก และทักษะการใช้เข่า ซึ่งการทดสอบดังกล่าวจะทําให้ทราบถึงระดับความสามารถและทักษะ
พื้นฐานมวยไทยของนักเรี ยน ซึ่งจะช่วยให้นาํ ข้อมูลที่ได้มาใช้พฒั นาทักษะดังกล่าวให้ดีข้ ึนได้

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
3. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
4. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
5. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายตัวอย่างการฝึ กทักษะพื้นฐานมวยไทยอย่างถูกต้องได้ (K)
2. เข้าร่ วมการทดสอบปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานมวยไทยด้วยความสนใจ กระตือรื อร้น และมีระเบียบวินยั (A)
3. แสดงทักษะพื้นฐานมวยไทยอย่างถูกต้องได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามทบทวนความรู้และการ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ฝึ กปฏิบตั ิเกี่ยวกับทักษะพื้นฐาน ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
มวยไทย แผนที่ความคิด*
306

วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล


• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ปฏิบตั ิกิจกรรม ข้ อไหนถูก ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
ข้ อไหนผิด ช่ วยกันคิดให้ ถ้วนถี่ พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ป. 5
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินผลการปฏิบตั ิทกั ษะ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน กีฬามวยไทย* 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. กีฬา (ต่อ)
3.3 มวยไทย (ต่อ)
– การทดสอบปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานมวยไทย

6. แนวทางบูรณาการ
คณิ ตศาสตร์  นับจํานวนสมาชิกหรื อจํานวนผูเ้ ข้าร่ วมทดสอบทักษะพื้นฐานมวยไทย
นับจํานวนครั้งหรื อนับจังหวะในการฝึ กทักษะพื้นฐานมวยไทย
ภาษาไทย  อธิ บายแนวทางการปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานมวยไทยในทักษะท่าตั้งการ์ดหรื อ
ท่าเตรี ยม ทักษะการใช้หมัด ทักษะการใช้ศอก และทักษะการใช้เข่า
307

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมารายงานผลการฝึ กปฏิบัตทิ ักษะพืน้ ฐานมวยไทย นอกเวลาเรียน เพือ่ เตรียม
เข้ ารับการทดสอบ ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการ
รายงานผลของนักเรียนและให้ คาํ แนะนําเพิม่ เติม
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ทบทวนความรู้ในประเด็นเกี่ยวกับตัวอย่างการฝึ กทักษะพื้นฐานมวยไทย โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์
ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
2. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนเข้ารับการทดสอบปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานมวยไทย ซึ่งประกอบด้วยทักษะท่าตั้งการ์ดหรื อท่าเตรี ยม
ทักษะการใช้หมัด ทักษะการใช้ศอก และทักษะการใช้เข่าโดยทําการทดสอบเป็ นรายบุคคล เรี ยงตามลําดับชื่อ
จนครบทุกคน โดยครู คอยดูแลการปฏิบตั ิอย่างใกล้ชิด
2. ครู สรุ ปผลการทดสอบปฏิบตั ิให้นกั เรี ยนทราบ พร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นต่อการทดสอบการปฏิบตั ิของ
นักเรี ยนและให้คาํ แนะนําเพิ่มเติม
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรม ข้ อไหนถูก ข้ อไหนผิด ช่ วยกันคิดให้ ถ้วนถี่ ดังรายละเอียดในใบกิจกรรมที่ครู แจก
ให้หรื อในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
2. สุ่ มนักเรี ยนประมาณ 2–3 คนออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยนโดยครู คอยเสนอแนะและ
ให้ความรู ้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
3. ครู เฉลยคําตอบที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนทราบและให้นกั เรี ยนร่ วมกันตรวจสอบแก้ไขคําตอบให้ถูกต้อง
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
308

3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าในหัวข้ อที่ 3.4 ตะกร้ อวง ในประเด็นเกีย่ วกับลักษณะและความสํ าคัญ
ของการเล่นตะกร้ อวง ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือ
จากแหล่งการเรียนรู้ ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า แล้วนํามาสนทนา
ร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. นักเรี ยนควรชักชวนเพื่อนหรื อสมาชิกในครอบครัวร่ วมฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานมวยไทยหรื อเล่นกีฬามวยไทย
เพิ่มเติมนอกเวลาเรี ยน เพื่อเป็ นการออกกําลังกายสร้างเสริ มสุ ขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง นอกจากนี้ยงั สามารถ
นําไปใช้ในชีวิตประจําวันสําหรับป้ องกันตัวหากเกิดภัยอันตราย รวมถึงเป็ นการอนุรักษ์ศิลปะการต่อสู้
ป้ องกันตัวของไทยให้คงอยูส่ ื บไปด้วย
2. นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับแม่ไม้มวยไทย จากแหล่งการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ เช่น ห้องสมุดของโรงเรี ยน
สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
เสริ มสร้างการเรี ยนรู ้และนําไปปรับใช้ในชีวิตประจําวัน

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายในหัวข้อที่ 3.3 มวยไทย ในประเด็นเกี่ยวกับทักษะพื้นฐานมวยไทย
2. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
3. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
4. ใบกิจกรรม เรื่ อง ข้ อไหนถูก ข้ อไหนผิด ช่ วยกันคิดให้ ถ้วนถี่
5. แบบประเมินผลการปฏิบตั ิทกั ษะกีฬามวยไทย
6. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
309

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
310

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 50
กีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง ตะกร้ อวง

1. สาระสํ าคัญ
ตะกร้อวงเป็ นการละเล่นที่สร้างความสนุ กสนานและสร้างเสริ มสุ ขภาพให้กบั ผูเ้ ล่น ซึ่ งมีลกั ษณะการเล่น
โดยผูเ้ ล่นยืนเป็ นวงกลม ทีมละ 5 คน ช่วยกันเตะลูกตะกร้อ เลี้ยงรับ–ส่ งประคองไม่ให้ลูกตะกร้อตกพื้น โดยใช้เท้า
เข่า และศีรษะในการเล่นลูก

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
3. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
4. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
5. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายลักษณะและความสําคัญของการเล่นตะกร้อวงอย่างถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของการเล่นตะกร้อวง ตลอดจนเข้าร่ วมศึกษาเกี่ยวกับลักษณะและความสําคัญของ
การเล่นตะกร้อวงด้วยความสนใจและกระตือรื อร้น (A)
3. แสดงทักษะในการสื่ อสารเกี่ยวกับลักษณะและความสําคัญของการเล่นตะกร้อวงให้ผอู้ ื่นเข้าใจได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับประสบการณ์ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
และความรู ้ความเข้าใจในเรื่ อง ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ตะกร้อวง แผนที่ความคิด*
311

วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล


• ซักถามเกี่ยวกับลักษณะและ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ความสําคัญของตะกร้อวง ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
แผนที่ความคิด*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. กีฬา (ต่อ)
3.4 ตะกร้อวง
– ลักษณะและความสําคัญของการเล่นตะกร้อวง

6. แนวทางบูรณาการ
สังคมศึกษาฯ  ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประวัติความเป็ นมาของกีฬาตะกร้อวงในประเทศไทย
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ ภาษาอังกฤษหรือภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
เกีย่ วกับตะกร้ อวง
คณิ ตศาสตร์  นับจํานวนสมาชิก/จํานวนผูเ้ ล่น/อุปกรณ์ในการเล่นตะกร้อวง
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น อภิปราย และเขียนสรุ ปความรู ้เกี่ยวกับลักษณะและ
ความสําคัญของการเล่นตะกร้อวง
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผ่น ภาพความรู ้ เกี่ ยวกับ ลักษณะและความสําคัญ ของ
การเล่นตะกร้อวง
312

ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพแสดงการเล่นตะกร้อวงเพื่อประกอบการจัดทําแผ่นภาพ


ความรู ้

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. สุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในหัวข้ อที่ 3.4 ตะกร้ อวง ใน
ประเด็นเกีย่ วกับลักษณะและความสํ าคัญของการเล่นตะกร้ อวง มาล่วงหน้ า ตามที่ได้ รับมอบหมายในการ
เรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัตกิ จิ กรรมดังกล่ าวของนักเรียน
4. ให้นกั เรี ยนดูภาพแสดงการเล่นตะกร้อวงที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู้ในเรื่ อง
ดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู้ของนักเรี ยน และตอบคําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– จากภาพคือกีฬาชนิดใด (ตะกร้ อวง)
– นักเรี ยนเคยเล่นกีฬาหรื อการละเล่นดังกล่าวหรื อไม่ (ตอบได้ โดยอิสระ เช่ น ไม่ เคยเล่ น แต่ เคยพบเห็น
การละเล่ นดังกล่ าวในชุมชน)
– นักเรี ยนคิดว่าตะกร้อวงกับเซปักตะกร้อต่างกันหรื อไม่ อย่างไร (ต่ างกัน โดยตะกร้ อวง ผู้เล่ นจะยืนเป็ น
วงกลม ทีมละ 5 คน ช่ วยกันเตะลูกตะกร้ อเลีย้ งรั บ–ส่ งไม่ ให้ ลกู ตะกร้ อตกลงพืน้ แต่ เซปั กตะกร้ อจะแบ่ ง
ผู้เล่ นเป็ น 2 ที ม ทีมละ 3 คน เล่ นโดยโต้ ตะกร้ อข้ ามตาข่ ายเพื่อให้ ลงในแดนของคู่ต่อสู้)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัคร 2–3 คน มาเล่าประสบการณ์ในการเข้าร่ วมกิจกรรมการเล่นตะกร้อวงทั้งในฐานะผู ้
เล่นหรื อผูด้ ู ออกมาเล่าประสบการณ์ที่มีให้เพื่อน ๆ ฟังหน้าชั้นเรี ยน
6. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 3.4 ตะกร้อวง ในประเด็นเกี่ยวกับลักษณะและ
ความสําคัญของการเล่นเซปักตะกร้อ เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู ้ของ
นักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้ในหัวข้อที่ 3.4 ตะกร้อวง ในประเด็นเกี่ยวกับลักษณะและความสําคัญของการเล่นตะกร้อวง
และให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับประวัติความเป็ นมาของตะกร้อวง โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่
เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย พร้อมทั้งนําลูกตะกร้อของจริ งที่ใช้เล่นมาให้นกั เรี ยนดู
ประกอบด้วย
313

2. ครู ให้ความรู ้เพิ่มเติมในประเด็นเกี่ยวกับประเภทของกีฬาตะกร้อในประเทศไทย เพื่อเสริ มสร้างการเรี ยนรู้


และทําให้เข้าใจในเรื่ องดังกล่าวมากยิง่ ขึ้น โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดู
ประกอบการอธิบาย
3. ครูแสดงบัตรคําที่เกีย่ วข้ องกับกีฬาตะกร้ อวงในภาษาอังกฤษให้ นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่านสะกดคําและอ่าน
ออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่านตาม เพือ่ สร้ างเสริมทักษะทางด้ านภาษา ตัวอย่ างเช่ น คําว่า
– ตะกร้ อ ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Takraw อ่านออกเสี ยงว่ า ตะ-กร้ อ
– ตะกร้ อวง ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Takraw Circle อ่านออกเสี ยงว่ า ตะ-กร้ อ เซอ-ค,ล
– ลูกตะกร้ อ ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า The Takraw Ball อ่านออกเสี ยงว่ า เฑอะ ตะ-กร้ อ บอล
– ผู้เล่ น ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Players อ่านออกเสี ยงว่า พเล-เยอะซ
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศสมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
4. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5–6 คน แต่ละกลุ่มร่ วมกันศึกษาและสรุ ปความรู้ในประเด็นเกี่ยวกับลักษณะและ
ความสําคัญของการเล่นตะกร้อวง โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน โดยครู ให้ความรู ้ที่
ถูกต้องเพิ่มเติม
2. นักเรี ยนนําความรู ้ที่ได้ไปพูดคุยและถ่ายทอดเรื่ องราวจากการเรี ยนรู้ให้ผปู ้ กครองฟังและให้ผปู ้ กครอง
ตอบรับผลการปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรี ยนกลับมาที่ครู
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าในหัวข้ อที่ 3.4 ตะกร้ อวง ในประเด็นเกีย่ วกับการฝึ กทักษะพืน้ ฐาน
ตะกร้ อวง ในหัวข้ อย่ อยที่ 1. ท่ าเตรียมพร้ อม และหัวข้ อย่ อยที่ 2. การเตะลูกด้ วยข้ างเท้ าด้ านใน ดัง
รายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ ต่าง ๆ
เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่ วงหน้ า แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้ง
ต่ อไป
314

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรียนควรศึกษาค้ นคว้าเพิม่ เติมเกีย่ วกับลักษณะการเล่นและชื่อเรียกกีฬาตะกร้ อในประเทศกลุ่มสมาชิก
อาเซียน เช่ น เมียนมา เรียกกีฬาตะกร้ อว่ า ชินลง (Ching long) ลาว เรียกกีฬาตะกร้ อว่ า กะต้อ (Kator) เป็ น
ต้ น จากแหล่ งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น ห้ องสมุดของโรงเรียน สื่ ออินเตอร์ เน็ต ฯลฯ เพือ่ เสริมสร้ างการเรียนรู้และ
ความสามารถในด้ านทักษะทางภาษา

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพแสดงการเล่นตะกร้อวง
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายในหัวข้อที่ 3.4 ตะกร้อวง ในประเด็นเกี่ยวกับลักษณะและความสําคัญ
ของการเล่นตะกร้อวง รวมถึงประวัติความเป็ นมาของตะกร้อวง
3. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายเพิ่มเติมในประเด็นเกี่ยวกับประเภทของกีฬาตะกร้อในประเทศไทย
4. บัตรคําที่เกี่ยวข้องกับกีฬาตะกร้อวงในภาษาอังกฤษ
5. ลูกตะกร้อ
6. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
7. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
8. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
11. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
315

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
316

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 51
กีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง ตะกร้ อวง (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
การฝึ กทักษะพื้นฐานตะกร้อวง ประกอบด้วยการฝึ กท่าเตรี ยมพร้อม การเตะลูกด้วยข้างเท้าด้านใน การเตะ
ลูกด้วยหลังเท้า การเล่นลูกด้วยเข่า และการเล่นลูกด้วยศี รษะ ซึ่ งในการเรี ยนครั้งนี้ นักเรี ยนจะได้เรี ยนรู้ และฝึ ก
ปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานตะกร้อวงในท่าเตรี ยมพร้อมและการเตะลูกด้วยข้างเท้าด้านใน ดังนี้
ท่ าเตรี ยมพร้ อม เริ่ มจากการยืนแยกเท้าระยะห่างระหว่างเท้าทั้ง 2 ข้าง ประมาณ 1 ช่วงไหล่ ย่อเข่าทั้ง 2 ข้าง
ลงเล็กน้อย งอศอกยกแขนขึ้นไว้ดา้ นข้างลําตัว
การเตะลูกด้ วยข้ างเท้ าด้ านใน เริ่ มจากท่าเตรี ยมพร้อม ยกข้างเท้าด้านในของเท้าข้างที่ ถนัดเตะลูกตะกร้อ
โดยให้ปลายเท้าและส้นเท้าขนานกับพื้น

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
3. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
4. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
5. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)
3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายวิธีการฝึ กทักษะพื้นฐานตะกร้อวงในท่าเตรี ยมพร้อมและการเตะลูกด้วยข้างเท้าด้านในอย่างถูกต้องได้
(K)
2. เข้าร่ วมศึกษาและฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานตะกร้อวงในท่าเตรี ยมพร้อมและการเตะลูกด้วยข้างเท้าด้านในด้วย
ความสนใจ กระตือรื อร้น และมีระเบียบวินยั (A)
3. แสดงทักษะพื้นฐานตะกร้อวงในท่าเตรี ยมพร้อมและการเตะลูกด้วยข้างเท้าด้านในอย่างถูกต้องได้ (P)
317

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับทักษะพื้นฐาน • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ตะกร้อวงในท่าเตรี ยมพร้อมและ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
การเตะลูกด้วยข้างเท้าด้านใน แผนที่ความคิด*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. กีฬา (ต่อ)
3.4 ตะกร้อวง (ต่อ)
– การฝึ กทักษะพื้นฐานตะกร้อวง
1. ท่าเตรี ยมพร้อม
2. การเตะลูกด้วยข้างเท้าด้านใน

6. แนวทางบูรณาการ
คณิ ตศาสตร์  คาดคะเนระยะห่างของเท้าในการฝึ กท่าเตรี ยมพร้อมในการเล่นตะกร้อวงและ
นับจํานวนครั้งในการเล่นลูกด้วยข้างเท้าด้านใน
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็นและเขียนอธิ บายวิธีการปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานตะกร้อ
วงในท่าเตรี ยมพร้อมและการเตะลูกด้วยข้างเท้าด้านใน
318

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. สุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในหัวข้ อที่ 3.4 ตะกร้ อวง ใน
ประเด็นเกีย่ วกับการฝึ กทักษะพืน้ ฐานตะกร้ อวง ในหัวข้ อย่ อยที่ 1. ท่ าเตรียมพร้ อม และหัวข้ อย่ อยที่ 2.
การเตะลูกด้ วยข้ างเท้ าด้ านใน มาล่วงหน้ า ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดง
ความคิดเห็นต่ อการปฏิบัตกิ จิ กรรมดังกล่าวของนักเรียน
4. ให้นกั เรี ยนดูภาพแสดงการเล่นตะกร้อวงในรู ปแบบต่าง ๆ เช่น เล่นด้วยเท้า เล่นด้วยศีรษะ เล่นด้วยเข่า ที่
ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู ้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
และตอบคําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– การเล่นตะกร้อวงใช้อวัยวะส่วนใดในร่ างกายเล่นลูกได้บา้ ง (การเล่ นตะกร้ อวงสามารถใช้ ได้ ทั้งเท้ า เข่ า
และศีรษะในการเล่ นลูก)
– ตะกร้อวงมีลกั ษณะการเล่นอย่างไร (ผู้เล่ นยืนเป็ นวงกลม ที มละ 5 คน ช่ วยกันเตะลูกตะกร้ อ เลีย้ งรั บ–
ส่ งประคองไม่ ให้ ลกู ตะกร้ อตกพืน้ โดยใช้ เท้ า เข่ า และศีรษะในการเล่ นลูก)
– ท่าเตรี ยมพร้อมในการเล่นตะกร้อวง แขนทั้งสองข้างของผูเ้ ล่นควรอยูใ่ นลักษณะใด (งอศอกยกแขนขึน้
ไว้ ด้านข้ างลําตัว)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 3.4 ตะกร้อวง ในประเด็นเกี่ยวกับการฝึ กทักษะ
พื้นฐานตะกร้อวง ในหัวข้อย่อยที่ 1. ท่าเตรี ยมพร้อม และหัวข้อย่อยที่ 2. การเตะลูกด้วยข้างเท้าด้านใน
เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้ประกอบการสาธิตการฝึ กทักษะพื้นฐานตะกร้อวงในท่าเตรี ยมพร้อมและการเตะลูกด้วยข้าง
เท้าด้านใน โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย และให้นกั เรี ยน
ฝึ กปฏิบตั ิตาม
2. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิม่ เติม
319

ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม แต่ละกลุ่มร่ วมกันฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานตะกร้อวงในท่าเตรี ยมพร้อมและการเตะลูก
ด้วยข้างเท้าด้านใน โดยใช้เวลาตามที่ ครู กาํ หนด โดยครู คอยตรวจสอบความถูกต้องในการปฏิบตั ิ ของ
นักเรี ยน
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมาแสดงทักษะพื้นฐานตะกร้อวง ในทักษะท่าเตรี ยมพร้อมและการ
เตะลูกด้วยข้างเท้าด้านในให้ครู และเพื่อนดู โดยครู คอยให้คาํ แนะนําแก้ไขให้ถูกต้องเพิ่มเติม
2. แต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันแข่งขันการเล่นลูกในอากาศด้วยทักษะการเตะลูกด้วยข้างเท้าด้านใน กลุ่มใด
สามารถเล่นลูกด้วยทักษะดังกล่าวได้นานที่สุดหรื อได้มากครั้งที่สุด โดยลูกตะกร้อไม่ตกพื้น เป็ นกลุ่มที่
ชนะ ให้เพื่อน ๆ ปรบมือให้
3. ครู แสดงความคิดเห็นต่อการปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรี ยน และให้ความรู ้และคําแนะนําเพิ่มเติม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียนฝึ กปฏิบัตทิ บทวนทักษะพืน้ ฐานตะกร้ อวงในท่ าเตรียมพร้ อมและการเตะลูกด้ วยข้ าง
เท้ าด้ านใน เพิ่มเติมนอกเวลาเรียน เพื่อเตรียมเข้ ารั บการทดสอบพืน้ ฐานตะกร้ อวง ครั้งที่ 1 ในการเรียน
ครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานตะกร้อวงในท่าเตรี ยมพร้อมและการเตะลูกด้วยข้างเท้าด้านในเพิ่มเติม
นอกเวลาเรี ยนจนเกิดความชํานาญ เพื่อนําไปสู่การเรี ยนรู ้และฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานตะกร้อวงอื่น ๆ ในการ
เรี ยนครั้งต่อไป

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพแสดงการเล่นตะกร้อวงในรู ปแบบต่าง ๆ เช่น เล่นด้วยเท้า เล่นด้วยศีรษะ เล่นด้วยเข่า
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายในหัวข้อที่ 3.4 ตะกร้อวง ในประเด็นเกี่ยวกับการฝึ กทักษะพื้นฐาน
ตะกร้อวง ในหัวข้อย่อยที่ 1. ท่าเตรี ยมพร้อม และหัวข้อย่อยที่ 2. การเตะลูกด้วยข้างเท้าด้านใน
3. ลูกตะกร้อ
4. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
320

5. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
6. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
321

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 52
กีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง ตะกร้ อวง (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
การทดสอบปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานตะกร้อวง ครั้งที่ 1 ประกอบด้วย ท่าเตรี ยมพร้อมและการเตะลูกด้วยข้าง
เท้าด้านใน ซึ่งการทดสอบดังกล่าวจะทําให้ทราบถึงระดับความสามารถและทักษะพื้นฐานตะกร้อวงของนักเรี ยน
ซึ่งจะช่วยให้นาํ ข้อมูลที่ได้มาใช้พฒั นาทักษะดังกล่าวให้ดีข้ ึนได้

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
3. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
4. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
5. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายวิธีการฝึ กทักษะพื้นฐานตะกร้อวงในท่าเตรี ยมพร้อมและการเตะลูกด้วยข้างเท้าด้านในอย่างถูกต้องได้
(K)
2. เข้าร่ วมรับการทดสอบปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานตะกร้อวงในท่าเตรี ยมพร้อมและการเตะลูกด้วยข้างเท้าด้านใน
ตามที่กาํ หนดด้วยความสนใจ กระตือรื อร้น และมีระเบียบวินยั (A)
3. แสดงทักษะพื้นฐานตะกร้อวงตามข้อกําหนดในการทดสอบทักษะในการเล่นกีฬาตามที่กาํ หนดได้ (P)
322

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามทบทวนความรู้และการฝึ ก • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ปฏิบตั ิเกี่ยวกับทักษะพื้นฐาน ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ตะกร้อวงในท่าเตรี ยมพร้อมและ แผนที่ความคิด*
การเตะลูกด้วยข้างเท้าด้านใน
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินผลการปฏิบตั ิทกั ษะ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน พื้นฐานตะกร้อวง 3 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. กีฬา (ต่อ)
3.4 ตะกร้อวง (ต่อ)
– การทดสอบปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานตะกร้อวง ครั้งที่ 1 (ท่าเตรี ยมพร้อมและการเตะลูกด้วยข้างเท้าด้านใน)

6. แนวทางบูรณาการ
คณิ ตศาสตร์  วางตําแหน่งของเท้าและจัดตําแหน่งของร่ างกายในการทดสอบทักษะพื้นฐาน
ตะกร้อวงในท่าเตรี ยมพร้อม และนับจํานวนครั้งที่ได้ในการเตะลูกด้วยข้างเท้า
ด้านในภายในเวลาที่กาํ หนด
ภาษาไทย  อธิ บายวิธีการปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานตะกร้อวงในท่าเตรี ยมพร้อมและการเตะลูก
ด้วยข้างเท้าด้านใน
323

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมารายงานผลการฝึ กปฏิบัตทิ ักษะพืน้ ฐานตะกร้ อวงในท่ าเตรียมพร้ อมและ
การเตะลูกด้ วยข้ างเท้ าด้ านในนอกเวลาเรียน เพือ่ เตรียมเข้ ารับการทดสอบ ตามที่ได้ รับมอบหมายในการ
เรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการรายงานผลของนักเรียนและให้ คาํ แนะนําเพิม่ เติม
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ทบทวนความรู้ในประเด็นเกี่ยวกับทักษะพื้นฐานตะกร้อวงในท่าเตรี ยมพร้อมและการเตะลูกด้วยข้าง
เท้าด้านใน โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
2. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนเข้ารับการทดสอบปฏิบตั ิพ้ืนฐานตะกร้อวง ครั้งที่ 1 ซึ่งประกอบด้วยทักษะในท่าเตรี ยมพร้อมและ
การเตะลูกด้วยข้างเท้าด้านใน โดยทําการทดสอบเป็ นรายบุคคล เรี ยงตามลําดับชื่อ จนครบทุกคน โดยครู
คอยดูแลการปฏิบตั ิอย่างใกล้ชิด
2. ครู สรุ ปผลการทดสอบปฏิบตั ิให้นกั เรี ยนทราบ พร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นต่อการทดสอบการปฏิบตั ิของ
นักเรี ยนและให้คาํ แนะนําเพิ่มเติม
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• นักเรี ยนนําผลการทดสอบทักษะพื้นฐานตะกร้อวงในท่าเตรี ยมพร้อมและการเตะลูกด้วยข้างเท้าด้านในที่
ตนเองได้รับ บันทึกความรู้สึกและผลการทดสอบลงในสมุดบันทึก
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
324

3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าหรือลองฝึ กปฏิบัตใิ นหัวข้ อที่ 3.4 ตะกร้ อวง ในประเด็นเกีย่ วกับการฝึ ก
ทักษะพืน้ ฐานตะกร้ อวง (ต่อ) ในหัวข้ อย่อยที่ 3. การเตะลูกด้ วยหลังเท้ า หัวข้ อย่ อยที่ 4. การเล่นลูกด้ วย
เข่ า และหัวข้ อย่อยที่ 5. การเล่ นลูกด้ วยศีรษะ ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษา
และพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มา
ล่วงหน้ า แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรนําผลการทดสอบทักษะตะกร้อวง ในท่าเตรี ยมพร้อมและการเตะลูกด้วยข้างเท้าด้านในมาใช้ใน
การปรับปรุ งทักษะและความสามารถของตนเองให้ดีข้ ึน

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายในหัวข้อที่ 3.4 ตะกร้อวง ในประเด็นเกี่ยวกับการฝึ กทักษะพื้นฐาน
ตะกร้อวง ในหัวข้อย่อยที่ 1. ท่าเตรี ยมพร้อม และหัวข้อย่อยที่ 2. การเตะลูกด้วยข้างเท้าด้านใน
2. ลูกตะกร้อ
3. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
4. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
5. แบบประเมินผลการปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานตะกร้อวง
6. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
325

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
326

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 53
กีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง ตะกร้ อวง (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
ในการเรี ยนครั้งนี้นกั เรี ยนจะได้เรี ยนรู้และฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานตะกร้อวงในการเตะลูกด้วยหลังเท้า
การเล่นลูกด้วยเข่า และการเล่นลูกด้วยศีรษะ โดย
การเตะลูกด้ วยหลังเท้ า เริ่ มจากท่าเตรี ยมพร้อม ยกหลังเท้าข้างที่ถนัดเตะลูกตะกร้อ โดยให้ลูกตะกร้อถูก
หลังเท้าบริ เวณโคนนิ้วเท้า กระดกปลายเท้าขึ้น
การเล่ นลูกด้ วยเข่ า เริ่ มจากท่าเตรี ยมพร้อม ก้าวเท้าข้างไม่ถนัดเข้าหาลูก ยกเข่าข้างที่ถนัดรับลูกโดยตั้งเข่า
ทํามุมกับพื้น 90 องศา ปลายเท้าชี้ลงพื้น ตําแหน่งที่ลูกตะกร้อสัมผัสเข่าบริ เวณหน้าขาเหนือสะบ้า
การเล่ นลูกด้ วยศีรษะ เริ่ มจากท่าเตรี ยมพร้อม ย่อเข่าเอนตัวไปด้านหลัง ตามองลูกตะกร้อ สปริ งข้อเท้า
เหยียดลําตัวและเท้าทั้ง 2 ข้าง พร้อมกับโยกตัวไปข้างหน้าโหม่งลูกตะกร้อ ตําแหน่งที่ลูกตะกร้อสัมผัสศีรษะบริ เวณ
หน้าผากด้านบนหรื อแง่ศีรษะ

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
3. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
4. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
5. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายวิธีการฝึ กทักษะพื้นฐานตะกร้อวงในการเตะลูกด้วยหลังเท้า การเล่นลูกด้วยเข่า และการเล่นลูกด้วย
ศีรษะอย่างถูกต้องได้ (K)
2. เข้าร่ วมศึกษาและฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานตะกร้อวงในการเตะลูกด้วยหลังเท้า การเล่นลูกด้วยเข่า และการเล่น
ลูกด้วยศีรษะด้วยความสนใจ กระตือรื อร้น และมีระเบียบวินยั (A)
3. แสดงทักษะพื้นฐานตะกร้อวงในการเตะลูกด้วยหลังเท้า การเล่นลูกด้วยเข่า และการเล่นลูกด้วยศีรษะอย่าง
ถูกต้องได้ (P)
327

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับทักษะพื้นฐาน • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ตะกร้อวงในการเตะลูกด้วย ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
หลังเท้า การเล่นลูกด้วยเข่า และ แผนที่ความคิด*
การเล่นลูกด้วยศีรษะ
• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ขึ้นอยูก่ บั ดุลยพินิจของครู
ปฏิบตั ิกิจกรรม ทักษะตะกร้ อวง ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
ที่ฉันชื่ นชอบ ลองเขียนตอบ พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
พร้ อมบอกวิธีฝึก ป. 5
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
 กีฬา (ต่อ)
3.4 ตะกร้อวง (ต่อ)
– ทักษะพื้นฐานตะกร้อวง (ต่อ)
3. การเตะลูกด้วยหลังเท้า
4. การเล่นลูกด้วยเข่า
5. การเล่นลูกด้วยศีรษะ
328

6. แนวทางบูรณาการ
คณิ ตศาสตร์  นับจํานวนครั้งในการเตะลูกด้วยหลังเท้า การเล่นลูกด้วยเข่า และการเล่นลูก
ด้วยศีรษะ คาดคะเนการตั้งเข่าทํามุมกับพื้นในการเล่นลูกด้วยเข่า
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็นและเขียนอธิ บายวิธีการปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานตะกร้อ
วงในการเตะลูกด้วยหลังเท้า การเล่นลูกด้วยเข่า และการเล่นลูกด้วยศีรษะ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. สุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าและลองฝึ กปฏิบัตใิ นหัวข้ อ
ที่ 3.4 ตะกร้ อวง ในประเด็นเกีย่ วกับการฝึ กทักษะพืน้ ฐานตะกร้ อวง (ต่ อ) ในหัวข้ อย่ อยที่ 3. การเตะลูก
ด้ วยหลังเท้ า หัวข้ อย่อยที่ 4. การเล่นลูกด้ วยเข่ า และหัวข้ อย่อยที่ 5. การเล่นลูกด้ วยศีรษะ มาล่วงหน้ า
ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัตกิ จิ กรรมดังกล่าว
ของนักเรียน
4. ให้นกั เรี ยนดูภาพแสดงการเตะลูกตะกร้อด้วยหลังเท้า การเล่นลูกด้วยเข่า และการเล่นลูกด้วยศีรษะ ที่ครู
เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู ้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
และตอบคําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– ถ้านักเรี ยนจะโหม่งลูกตะกร้อควรให้ลูกตะกร้อสัมผัสบริ เวณใด (สัมผัสศีรษะบริ เวณหน้ าผากด้ านบน
หรื อแง่ ศีรษะ)
– การเล่นลูกด้วยเข่า ผูเ้ ล่นควรยกเข่าทํามุมกับพื้นเท่าใด จึงจะเป็ นมุมที่เหมาะสมมากที่สุด (ทํามุมกับพืน้
90 องศา)
– ถ้าลูกตะกร้อลอยมาตรงบริ เวณด้านหน้านักเรี ยน แต่มีระยะไกลจากตัว นักเรี ยนคิดว่าควรจะเล่นลูกด้วย
ข้างเท้าด้านในหรื อหลังเท้าจึงจะเหมาะสม (ควรเล่ นลูกด้ วยหลังเท้ า เพราะเป็ นระยะที่เท้ าสามารถยื่น
ออกไปรั บลูกได้ ทันและมีมมุ ที่ พอดีกันเนื่องจากหลังเท้ าหั นออกทางด้ านหน้ า ซึ่ งพอดีกับทิศทางของ
ลูกที่ ลอยมาด้ านหน้ าด้ วยนั่นเอง)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 3.4 ตะกร้อวง ในประเด็นเกี่ยวกับการฝึ กทักษะ
พื้นฐานตะกร้อวง (ต่อ) ในหัวข้อย่อยที่ 3. การเตะลูกด้วยหลังเท้า หัวข้อย่อยที่ 4. การเล่นลูกด้วยเข่า และ
329

หัวข้อย่อยที่ 5. การเล่นลูกด้วยศีรษะ เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของ


นักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้ประกอบการสาธิตการฝึ กทักษะพื้นฐานตะกร้อวงในการเตะลูกด้วยหลังเท้า การเล่นลูกด้วย
เข่า และการเล่นลูกด้วยศีรษะ โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
และให้นกั เรี ยนฝึ กปฏิบตั ิตาม
2. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม แต่ละกลุ่มร่ วมกันฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานตะกร้อวงในการเตะลูกด้วยหลังเท้า การเล่น
ลูกด้วยเข่า และการเล่นลูกด้วยศีรษะ โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด โดยครู คอยตรวจสอบความถูกต้องใน
การปฏิบตั ิของนักเรี ยน
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมาแสดงทักษะพื้นฐานตะกร้อวงในการเตะลูกด้วยหลังเท้า การเล่น
ลูกด้วยเข่า และการเล่นลูกด้วยศีรษะให้ครู และเพื่อนดู โดยครู คอยให้คาํ แนะนําแก้ไขให้ถกู ต้องเพิ่มเติม
2. นักเรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรม ทักษะตะกร้ อวงที่ฉันชื่ นชอบ ลองเขียนตอบพร้ อมบอกวิธีฝึก ดังรายละเอียดใน
ใบกิจกรรมที่ครู แจกให้หรื อในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 โดยใช้เวลา
ตามที่ครู กาํ หนด
3. สุ่มนักเรี ยนประมาณ 2–3 คนออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยนโดยครู คอยเสนอแนะและ
ให้ความรู้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียนฝึ กปฏิบัตทิ บทวนทักษะพืน้ ฐานตะกร้ อวงในการเตะลูกด้ วยหลังเท้ า การเล่ นลูกด้ วยเข่ า
และการเล่ นลูกด้ วยศีรษะ เพิ่มเติมนอกเวลาเรียนหรือในช่ วงเวลาการจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
ตามที่สถานศึกษากําหนด เพือ่ เตรียมเข้ ารับการทดสอบพืน้ ฐานตะกร้ อวง ครั้งที่ 2 ในการเรียนครั้งต่ อไป
330

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานตะกร้อวงในการเตะลูกด้วยหลังเท้า การเล่นลูกด้วยเข่า และการเล่นลูก
ด้วยศีรษะเพิ่มเติมนอกเวลาเรี ยนหรื อในช่วงเวลาการจัดกิจกรรมลดเวลาเรี ยนเพิม่ เวลารู ้ตามที่สถานศึกษา
กําหนดอย่างสมํ่าเสมอจนเกิดความชํานาญ เพื่อเป็ นทักษะพื้นฐานในการเล่นกีฬาตะกร้อวง และเสริ มสร้าง
สุ ขภาพร่ างกายให้สมบูรณ์แข็งแรง

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพแสดงการเตะลูกตะกร้อด้วยหลังเท้า การเล่นลูกด้วยเข่า และการเล่นลูกด้วยศีรษะ
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายในหัวข้อที่ 3.4 ตะกร้อวง ในประเด็นเกี่ยวกับการฝึ กทักษะพื้นฐาน
ตะกร้อวง (ต่อ) ในหัวข้อย่อยที่ 3. การเตะลูกด้วยหลังเท้า หัวข้อย่อยที่ 4. การเล่นลูกด้วยเข่า และหัวข้อย่อยที่
5. การเล่นลูกด้วยศีรษะ
3. ลูกตะกร้อ
4. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
5. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
6. ใบกิจกรรม เรื่ อง ทักษะตะกร้ อวงที่ฉันชื่ นชอบ ลองเขียนตอบพร้ อมบอกวิธีฝึก
7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
331

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 54
กีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง ตะกร้ อวง (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
การทดสอบปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานตะกร้อวง ครั้งที่ 2 ประกอบด้วย การเตะลูกด้วยหลังเท้า การเล่นลูกด้วย
เข่า และการเล่นลูกด้วยศีรษะ ซึ่งการทดสอบดังกล่าวจะทําให้ทราบถึงระดับความสามารถและทักษะพื้นฐาน
ตะกร้อวงของนักเรี ยน ซึ่งจะช่วยให้นาํ ข้อมูลที่ได้มาใช้พฒั นาทักษะดังกล่าวให้ดีข้ ึนได้

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
3. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
4. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
5. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายวิธีการฝึ กทักษะพื้นฐานตะกร้อวงในการเตะลูกด้วยหลังเท้า การเล่นลูกด้วยเข่า และการเล่นลูกด้วย
ศีรษะอย่างถูกต้องได้ (K)
2. เข้าร่ วมรับการทดสอบปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานตะกร้อวงในการเตะลูกด้วยหลังเท้า การเล่นลูกด้วยเข่า และการ
เล่นลูกด้วยศีรษะตามที่กาํ หนดด้วยความสนใจ กระตือรื อร้น และมีระเบียบวินยั (A)
3. แสดงทักษะพื้นฐานตะกร้อวงตามข้อกําหนดในการทดสอบทักษะในการเล่นกีฬาตามที่กาํ หนดได้ (P)
332

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามทบทวนความรู้และการฝึ ก • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ปฏิบตั ิเกี่ยวกับทักษะพื้นฐาน ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ตะกร้อวงในการเตะลูกด้วย แผนที่ความคิด*
หลังเท้า การเล่นลูกด้วยเข่า และ
การเล่นลูกด้วยศีรษะ
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินผลการปฏิบตั ิทกั ษะ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน พื้นฐานตะกร้อวง 3 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. กีฬา (ต่อ)
3.4 ตะกร้อวง (ต่อ)
– การทดสอบปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานตะกร้อวง ครั้งที่ 2 (การเตะลูกด้วยหลังเท้า การเล่นลูกด้วยเข่า และ
การเล่นลูกด้วยศีรษะ)
333

6. แนวทางบูรณาการ
คณิ ตศาสตร์  นับจํานวนครั้งที่ได้ในการเตะลูกตะกร้อด้วยหลังเท้า การเล่นลูกด้วยเข่า และ
การเล่นลูกด้วยศีรษะภายในเวลาที่กาํ หนด
ภาษาไทย  อธิ บายวิธีการปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานตะกร้อวงในการเตะลูกด้วยหลังเท้า การ
เล่นลูกด้วยเข่า และการเล่นลูกด้วยศีรษะ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมารายงานผลการฝึ กปฏิบัตทิ ักษะพืน้ ฐานตะกร้ อวงในการเตะลูกด้ วยหลังเท้ า
การเล่ นลูกด้ วยเข่ า และการเล่นลูกด้ วยศีรษะนอกเวลาเรียน เพือ่ เตรียมเข้ ารับการทดสอบ ตามที่ได้ รับ
มอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่อการรายงานผลของนักเรียนและให้
คําแนะนําเพิม่ เติม
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ทบทวนความรู้ในประเด็นเกี่ยวกับทักษะพื้นฐานตะกร้อวงในการเตะลูกด้วยหลังเท้า การเล่นลูกด้วย
เข่า และการเล่นลูกด้วยศีรษะ โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
2. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิม่ เติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนเข้ารับการทดสอบปฏิบตั ิพ้ืนฐานตะกร้อวง ครั้งที่ 2 ซึ่งประกอบด้วยทักษะการเตะลูกด้วยหลังเท้า
การเล่นลูกด้วยเข่า และการเล่นลูกด้วยศีรษะ โดยทําการทดสอบเป็ นรายบุคคล เรี ยงตามลําดับชื่อ จนครบ
ทุกคน โดยครู คอยดูแลการปฏิบตั ิอย่างใกล้ชิด
2. ครู สรุ ปผลการทดสอบปฏิบตั ิให้นกั เรี ยนทราบ พร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นต่อการทดสอบการปฏิบตั ิของ
นักเรี ยนและให้คาํ แนะนําเพิ่มเติม
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• นักเรี ยนนําผลการทดสอบทักษะพื้นฐานตะกร้อวงในการเตะลูกด้วยหลังเท้า การเล่นลูกด้วยเข่า และการ
เล่นลูกด้วยศีรษะที่ตนเองได้รับ บันทึกความรู้สึกและผลการทดสอบลงในสมุดบันทึก
334

ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้


1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าในหัวข้ อที่ 3.4 ตะกร้ อวง ในประเด็นเกีย่ วกับกติกาการแข่ งขันตะกร้ อวง
ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้
ต่ าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า และจดบันทึกข้ อคําถามที่สงสั ยหรือ
สนใจอย่ างน้ อย 2 ถึง 3 ประเด็นลงในสมุด เพือ่ ใช้ เป็ นร่ องรอยและหลักฐานในการศึกษา แล้วนํามา
สนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรนําผลการทดสอบทักษะตะกร้อวงในการเตะลูกด้วยหลังเท้า การเล่นลูกด้วยเข่า และการเล่นลูก
ด้วยศีรษะมาใช้ในการปรับปรุ งทักษะและความสามารถของตนเองให้ดีข้ ึน

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายในหัวข้อที่ 3.4 ตะกร้อวง ในประเด็นเกี่ยวกับการฝึ กทักษะพื้นฐาน
ตะกร้อวง (ต่อ) ในหัวข้อย่อยที่ 3. การเตะลูกด้วยหลังเท้า หัวข้อย่อยที่ 4. การเล่นลูกด้วยเข่า และหัวข้อย่อยที่
5. การเล่นลูกด้วยศีรษะ
2. ลูกตะกร้อ
3. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
4. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
5. แบบประเมินผลการปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานตะกร้อวง
6. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
335

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
336

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 55
กีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง ตะกร้ อวง (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
กติกาการแข่งขันตะกร้อวงในประเด็นที่สาํ คัญซึ่งนักเรี ยนควรได้เรี ยนรู ้ มีดงั นี้
– สนามที่ ใช้ แข่ งขัน พื้นสนามมีวงกลมอยู่ตรงกลาง 2 วง ทั้ง 2 วงมีจุดศูนย์กลางร่ วมกัน วงกลมในมีเส้น
ผ่านศูนย์กลาง 4 เมตร วงกลมนอกมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 7 เมตร
– ลูกตะกร้ อ ทําด้วยหวายหรื อใยสังเคราะห์ช้ นั เดียว มี 12 รู กับ 20 จุดตัดไขว้
– จํานวนผู้เล่ น ทีมละ 6 คน ผูล้ งเล่นในสนาม 5 คน สํารอง 1คน)
– ตําแหน่ งการเล่ น ผูเ้ ล่นทุกคนยืนหันหน้าเข้าหาวงกลมในยืนเรี ยงตามตําแหน่ งหมายเลขที่ 1, 3, 5, 2, 4
ตามเข็มนาฬิกาหรื อทวนเข็มนาฬิกาก็ได้ ส่งลูกวนตามลําดับเลขไปเรื่ อย ๆ
– การเล่ นลูกเล่นแต่ละคนสามารถเล่นลูกได้ไม่เกิน 3 ครั้งติดต่อกัน และในขณะที่ส่งลูก เท้าของผูเ้ ล่นต้อง
ยืนอยูใ่ นพื้นที่แข่งขันจึงจะได้คะแนน
– เวลาที่ ใช้ ในการแข่ งขัน ผูแ้ ต่ละทีมจะเล่น 3 เซต เซตละ 10 นาที พักระหว่างเซต 2 นาที
– เกณฑ์ การให้ คะแนน จะมีความยาก 2 ระดับ โดยระดับที่ 1 ได้ 1 คะแนน คือ ท่าที่ใช้ศีรษะ หน้าเท้า หน้า
แข้ง ลูกเข่า ลูกไหล่ หลังเท้า ข้างเท้า และระดับที่ 2 ได้ 3 คะแนน คือ ท่าลูกกระโดดไขว้เท้าเตะ และลูกเตะจาก
ด้านหลังด้วยส้นเท้า

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
3. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
4. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
5. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)
337

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายกติกาการแข่งขันตะกร้อวงอย่างถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของการปฏิบตั ิตามกติกาการแข่งขันกีฬา และเข้าร่ วมศึกษาและฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมการ
เรี ยนรู ้เกี่ยวกับกติกาการแข่งขันตะกร้อวงด้วยความสนใจและกระตือรื อร้น (A)
3. แสดงทักษะในการสื่ อสารเกี่ยวกับกติกาการแข่งขันตะกร้อวงให้ผอู ้ ื่นเข้าใจได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับกติกาการแข่งขัน • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ตะกร้อวง ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
แผนที่ความคิด*
• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ขึ้นอยูก่ บั ดุลยพินิจของครู
ปฏิบตั ิกิจกรรม วาดภาพระบายสี ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
ตําแหน่ งตะกร้ อวง ใครไม่ งง พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ลองวาดดูที ป. 5
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
338

5. สาระการเรียนรู้
3. กีฬา (ต่อ)
3.4 ตะกร้อวง (ต่อ)
– กติกาการแข่งขันตะกร้อวง

6. แนวทางบูรณาการ
สังคมศึกษาฯ  ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการแข่งขันตะกร้อวงที่จดั ขึ้นในภูมิภาคต่าง ๆ
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ ภาษาอังกฤษหรือภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
เกีย่ วกับกติกาการแข่ งขันตะกร้ อวง
คณิ ตศาสตร์  วัดขนาดพื้นที่สนามที่ใช้แข่งขัน นับจํานวนรู และจุดตัดไขว้ของลูกตะกร้อ วัด
เส้นรอบวงและชัง่ นํ้าหนักลูกตะกร้อ นับจํานวนผูเ้ ล่นหรื อสมาชิกในทีม ระบุ
เวลาในการแข่งขัน วิธีการให้คะแนนและนับคะแนนในการแข่งขันตะกร้อวง
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น อภิปราย และเขียนสรุ ปความรู ้เกี่ยวกับกติกาการ
แข่งขันตะกร้อวง
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิด ออกแบบและตกแต่งสมุดภาพ แผ่นพับ
ใบความรู้เกี่ยวกับกติกาการแข่งขันตะกร้อวง
ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพสนามที่ใช้แข่งขันตะกร้อวง ลูกตะกร้อ และตําแหน่งการ
เล่นของผูเ้ ล่นในสนาม เพื่อประกอบการจัดทําแผนที่ ความคิด หรื อสมุดภาพ
หรื อแผ่นพับใบความรู ้
วิทยาศาสตร์  ศึกษา สื บค้น และบันทึกข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกติกาการแข่งขันตะกร้อวง

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอประเด็นคําถามเกีย่ วกับกติกาการแข่ งขันตะกร้ อวงที่สงสั ย
หรือสนใจ ตามที่ได้ รับมอบหมายให้ ศึกษาค้ นคว้ ามาล่วงหน้ าในการเรียนครั้งที่ผ่านมา แล้ วให้ เพือ่ น ๆ
ช่ วยกันตอบคําถามดังกล่าวร่ วมกัน โดยครูคอยให้ ความรู้ที่ถูกต้ องเพิม่ เติม
339

4. ให้นกั เรี ยนดูภาพแสดงการเล่นหรื อการแข่งขันตะกร้อวงที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับ


ความรู้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู้ของนักเรี ยน และตอบคําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– สนามแข่งขันตะกร้อวงต้องอยูใ่ นรมหรื อกลางแจ้ง (สนามแข่ งขันตะกร้ อวงต้ องเป็ นที่โล่ ง แต่ จะอยู่ใน
ร่ มหรื อกลางแจ้ งก็ได้ )
– การแข่งขันตะกร้อวง ต้องมีผเู้ ล่นทีมละกี่คน (ทีมละ 6 คน โดยมีผ้ ลู งเล่ นในสนาม 5 คน)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 3.4 ตะกร้อวง ในประเด็นเกี่ยวกับกติกาการแข่งขัน
ตะกร้อวง เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้ในหัวข้อที่ 3.4 ตะกร้อวง ในประเด็นเกี่ยวกับกติกาการแข่งขันตะกร้อวง โดยใช้แผนผังแสดง
ขนาดของสนามและตําแหน่งการยืนของผูเ้ ล่นในการเล่นตะกร้อวงให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิบาย
2. ให้นกั เรี ยนดูวีดิทศั น์ดูการแข่งขันกีฬาตะกร้อวงโดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
3. ให้นกั เรี ยนร่ วมพูดคุยเกี่ยวกับการแข่งขันในตะกร้อวงจากการดูวิดีทศั น์
4. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนแบ่งทีม ทีมละ 5 คน แต่ละทีมร่ วมกันวางแผนกําหนดตําแหน่งในการเล่นตะกร้อวงแก่สมาชิกใน
ทีมและยืนตามตําแหน่งดังกล่าว พร้อมทั้งฝึ กส่งลูกตามลําดับการยืนให้ถูกต้อง โดยใช้เวลาตามที่ครู
กําหนด
2. นักเรี ยนแต่ละทีมผลัดเปลี่ยนกันปฏิบตั ิทกั ษะการส่งลูกตามตําแหน่งการยืนในการเล่นตะกร้อวงให้เพื่อน
และครู ดู โดยครู ตรวจสอบความถูกต้องในการปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรี ยนและให้ความรู้เพิ่มเติม
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรม วาดภาพระบายสี ตาํ แหน่ งตะกร้ อวง ใครไม่ งงลองวาดดูที ดังรายละเอียดในใบ
กิจกรรมที่ครู แจกให้หรื อในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 โดยใช้เวลาตามที่
ครู กาํ หนด
2. สุ่มนักเรี ยนประมาณ 2–3 คนออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยนโดยครู คอยเสนอแนะและ
ให้ความรู้ที่ถูกต้องเพิม่ เติม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
340

3. มอบหมายให้ นักเรียนจัดทีมแข่ งขันตะกร้ อวง โดยแบ่ งออกเป็ นทีม ทีมละ 5 คน ให้ แต่ ละกลุ่มฝึ กซ้ อม
แข่ งขันตะกร้ อวงนอกเวลาเรียนหรือในช่ วงเวลาการจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิม่ เวลารู้ เพือ่ เตรียมจัดการ
แข่ งขันตะกร้ อวงครั้งที่ 1 ในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับกติกาแข่งขันตะกร้อวง จากแหล่งการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ เช่น วารสาร
เกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการเล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่ง
การเรี ยนรู้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ เพื่อเสริ มสร้างการเรี ยนรู ้และ
ทําให้เกิดความเข้าใจในกีฬาตะกร้อวง สามารถนําไปใช้เล่นหรื อแข่งขันได้ในชีวิตประจําวัน
2. นักเรี ยนควรดูวีดิทศั น์แสดงการแข่งขันตะกร้อวง จากสื่ อการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต เพื่อเป็ นตัวอย่าง
แนวทางการแข่งขันตะกร้อวงประกอบการเรี ยนในครั้งต่อไป

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพแสดงการเล่นหรื อการแข่งขันตะกร้อวง
2. แผนผังแสดงขนาดของสนามและตําแหน่งการยืนของผูเ้ ล่นในการเล่นตะกร้อวง
3. วีดิทศั น์แสดงการแข่งขันกีฬาตะกร้อวง
4. ลูกตะกร้อ
5. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
6. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
7. ใบกิจกรรม เรื่ อง วาดภาพระบายสี ตาํ แหน่ งตะกร้ อวง ใครไม่ งงลองวาดดูที
8. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
11. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
341

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
342

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 56
กีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง ตะกร้ อวง (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
การเข้าร่ วมการแข่งขันตะกร้อวงจัดเป็ นวิธีการสร้างเสริ มทักษะและประสบการณ์ในการเล่นกีฬา ซึ่ง
นักเรี ยนจะได้นาํ ทักษะจากการเรี ยนรู้และฝึ กปฏิบตั ิมาใช้สร้างเสริ มประสบการณ์โดยตรง โดยในการเรี ยนครั้งนี้
นักเรี ยนจะได้เรี ยนรู้และนําทักษะที่ได้ศึกษามาเข้าร่ วมในสถานการณ์ของการแข่งขัน โดย
การแข่งขันตะกร้อวง ครั้งที่ 1 เป็ นการจัดการแข่งขันโดยแบ่งผูเ้ ล่นเป็ นทีม ทีมละ 5 คน แต่ละทีม
ผลัดเปลี่ยนกันออกมาทําการแข่งขันภายในเวลาที่กาํ หนด

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
3. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
4. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
5. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายรู ปแบบ วิธีการแข่งขัน และกติกาการแข่งขันตะกร้อวงอย่างถูกต้องได้ (K)
2. เข้าร่ วมการแข่งขันตะกร้อวงด้วยความมีระเบียบวินยั มีความสามัคคี และมีน้ าํ ใจนักกีฬา (A)
3. ปฏิบตั ิกิจกรรมการแข่งขันตะกร้อวงตามกฎ กติกาอย่างถูกต้อง ปลอดภัย และสนุกสนานได้ (P)
343

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับรู ปแบบ วิธีการ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
แข่งขัน และกติกาการแข่งขัน ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ตะกร้อวง แผนที่ความคิด*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. กีฬา (ต่อ)
3.4 ตะกร้อวง (ต่อ)
– การแข่งขันตะกร้อวง ครั้งที่ 1

6. แนวทางบูรณาการ
คณิ ตศาสตร์  นับจํานวนผูเ้ ล่นหรื อสมาชิกในทีมที่เข้าร่ วมการแข่งขันตะกร้อวง นับคะแนน
จากการเล่นลูกในการแข่งขัน จดจําและนับลําดับการส่งลูกตามตําแหน่งการ
ยืนในสนามของสมาชิกในทีม และจับเวลาในการแข่งขัน
ภาษาไทย  อธิ บายรู ปแบบ วิธีการแข่งขัน และกติกาการแข่งขันตะกร้อวง ตลอดจน
เขียนสรุ ปผลการแข่งขัน
344

วิทยาศาสตร์  เคลื่อนไหวร่ างกายในการแข่งขันตะกร้อวงตามหลักวิทยาศาสตร์การ


เคลื่อนไหวหรื อหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมารายงานผลการแบ่ งทีมและฝึ กซ้ อมแข่ งขันตะกร้ อวงนอกเวลาเรียน เพือ่
เตรียมจัดการแข่ งขันตะกร้ อวงครั้งที่ 1 ที่มอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู อธิ บายแนวทางการแข่งขันตะกร้อวงครั้งที่ 1–2 ให้นกั เรี ยนทราบ และเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ตวั อย่างการ
แข่งขันตะกร้อวงให้นกั เรี ยนดูเพิ่มเติมเพื่อพิจารณาเป็ นแนวทางในการจัดการแข่งขัน
2. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนแต่ละทีมผลัดเปลี่ยนกันออกมาทําการแข่งขันตะกร้อวง โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด และให้เพื่อน ๆ
ในทีมที่ยงั ไม่ได้ทาํ การแข่งขันเป็ นผูช้ มและครู ร่วมเป็ นกรรมการตัดสิ น (ทีมที่ยงั ไม่ได้ทาํ การแข่งขันใน
การเรี ยนครั้งนี้ให้ทาํ การแข่งขันในการเรี ยนครั้งต่อไป)
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปผลการแข่งขันตะกร้อวงของทีมที่ได้ทาํ การแข่งขันไปแล้วในการเรี ยนครั้งนี้
โดยครู แสดงความคิดเห็นต่อการแข่งขันตะกร้อวงของนักเรี ยนและให้คาํ แนะนําเพิม่ เติม
2. นักเรี ยนไปฝึ กซ้อมแข่งขันกีฬาตะกร้อวงเพิ่มเติมนอกเวลาเรี ยน โดยให้ผปู ้ กครองแสดงความคิดเห็นและ
ตอบรับผลการปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรี ยนกลับมาที่ครู
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
345

3. มอบหมายให้ นักเรียน โดยเฉพาะนักเรียนในทีมที่ยงั ไม่ได้ ลงแข่ งขันตะกร้ อวงฝึ กซ้ อมทักษะในการเล่น


ตะกร้ อวงและทบทวนกติกาการแข่ งขันเพิม่ เติมนอกเวลาเรียน หรือใช้ เวลาในกิจกรรมการลดเวลาเรียน
เพิม่ เวลารู้ตามที่สถานศึกษากําหนด เพือ่ เตรียมจัดการแข่ งขันตะกร้ อวงครั้งที่ 2 ในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรหมัน่ ฝึ กทักษะพื้นฐานตะกร้อวงอย่างสมํ่าเสมอ ซึ่งนอกจากเป็ นการออกกําลังกายเพื่อการมี
สุ ขภาพที่ดีแล้ว ยังนําไปสู่การเล่นหรื อแข่งขันกีฬาตะกร้อวงในชีวติ ประจําวันได้อีกด้วย

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. วีดิทศั น์ตวั อย่างการแข่งขันตะกร้อวง
2. ลูกตะกร้อ
3. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
4. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
5. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
6. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
346

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 57
กีฬา (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว เรื่อง ตะกร้ อวง (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
การเข้าร่ วมการแข่งขันตะกร้อวงจัดเป็ นวิธีการสร้างเสริ มทักษะและประสบการณ์ในการเล่นกีฬา ซึ่ง
นักเรี ยนจะได้นาํ ทักษะจากการเรี ยนรู้และฝึ กปฏิบตั ิมาใช้สร้างเสริ มประสบการณ์โดยตรง โดยในการเรี ยนครั้งนี้
นักเรี ยนจะได้เรี ยนรู้และนําทักษะที่ได้ศึกษามาเข้าร่ วมในสถานการณ์ของการแข่งขัน โดย
การแข่งขันตะกร้อวง ครั้งที่ 2 เป็ นการจัดการแข่งขันตะกร้อวงต่อเนื่องจากการแข่งขันในการเรี ยนครั้งที่
ผ่านมา โดยให้ทีมที่ยงั ไม่ได้ทาํ การแข่งขันผลัดเปลี่ยนกันออกมาทําการแข่งขันภายในเวลาที่กาํ หนด

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
2. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
3. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
4. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)
5. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายรู ปแบบ วิธีการแข่งขัน และกติกาการแข่งขันตะกร้อวงอย่างถูกต้องได้ (K)
2. เข้าร่ วมการแข่งขันตะกร้อวงด้วยความมีระเบียบวินยั มีความสามัคคี และมีน้ าํ ใจนักกีฬา (A)
3. ปฏิบตั ิกิจกรรมการแข่งขันตะกร้อวงตามกฎ กติกาอย่างถูกต้อง ปลอดภัย และสนุกสนานได้ (P)
347

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับรู ปแบบ วิธีการ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
แข่งขัน กติกาการแข่งขันตะกร้อ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
วง และผลการแข่งขันตะกร้อวง แผนที่ความคิด*
ครั้งที่ 1
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. กีฬา (ต่อ)
3.4 ตะกร้อวง (ต่อ)
– การแข่งขันตะกร้อวง ครั้งที่ 2

6. แนวทางบูรณาการ
คณิ ตศาสตร์  นับจํานวนผูเ้ ล่นหรื อสมาชิกในทีมที่เข้าร่ วมการแข่งขันตะกร้อวง นับคะแนน
จากการเล่นลูกในการแข่งขัน จดจําและนับลําดับการส่งลูกตามตําแหน่งการ
ยืนในสนามของสมาชิกในทีม และจับเวลาในการแข่งขัน
ภาษาไทย  อธิ บายรู ปแบบ วิธีการแข่งขัน และกติกาการแข่งขันตะกร้อวง ตลอดจน
เขียนสรุ ปผลการแข่งขัน
348

วิทยาศาสตร์  เคลื่อนไหวร่ างกายในการแข่งขันตะกร้อวงตามหลักวิทยาศาสตร์การ


เคลื่อนไหวหรื อหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครูและนักเรียนสนทนาเกีย่ วกับผลการแข่ งขันตะกร้ อวงครั้งที่ 1 และการปฏิบัตกิ จิ กรรมในการเรียนครั้งที่
ผ่านมาร่ วมกัน เพือ่ ทบทวนประสบการณ์ และภาระงานตามที่นักเรียนได้ รับมอบหมาย
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
• ครู อธิบายทบทวนแนวทางการแข่งขันตะกร้อวงให้นกั เรี ยนทราบ และเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามใน
ประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนในทีมที่ยงั ไม่ได้ทาํ การแข่งขันตะกร้อวงผลัดเปลี่ยนกันออกมาทําการแข่งขัน โดยใช้เวลาตามที่ครู
กําหนด และให้เพื่อน ๆ ในทีมที่ไม่ได้ทาํ การแข่งขันเป็ นผูช้ มและครู ร่วมเป็ นกรรมการตัดสิ น
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปผลการแข่งขันตะกร้อวง โดยครู บอกคะแนนรวมในการแข่งขันของแต่ละทีม
ซึ่งทีมที่ได้คะแนนมากที่สุด จะเป็ นทีมที่ชนะการแข่งขัน ให้เพื่อน ๆ ปรบมือให้
2. ครู แสดงความคิดเห็นต่อการแข่งขันตะกร้อวงของนักเรี ยนและให้คาํ แนะนําเพิ่มเติม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าในเรื่อง กิจกรรมนันทนาการ ในหัวข้ อที่ 4.1 ความหมายและ
ความสํ าคัญของกิจกรรมนันทนาการ และ 4.2 หลักการเลือกกิจกรรมนันทนาการ ดังรายละเอียดใน
หนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ ต่าง ๆ เช่ น
อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป
349

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรเข้าร่ วมการเล่นหรื อการแข่งขันกีฬาตะกร้อวงอย่างสมํ่าเสมอ เพื่อเป็ นการใช้เวลาว่างให้เกิด
ประโยชน์และส่งผลดีต่อการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการทั้งทางด้านร่ างกาย จิตใจและอารมณ์ สังคม และ
สติปัญญา

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. วีดิทศั น์ตวั อย่างการแข่งขันตะกร้อวง
2. ลูกตะกร้อ
3. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
4. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
5. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
6. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
350

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 58
กิจกรรมนันทนาการ
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว
เรื่อง ความหมายและความสําคัญของกิจกรรมนันทนาการ และหลักการเลือกกิจกรรมนันทนาการ

1. สาระสํ าคัญ
กิจกรรมนันทนาการ หมายถึง กิจกรรมที่บุคคลหรื อกลุ่มบุคคลเลือกทําด้วยความสมัครใจ ทําในเวลาว่างที่
สามารถให้ประสบการณ์ ความพึงพอใจ ความสนุกสนาน มีประโยชน์ มีคุณค่า และเป็ นที่ยอมรับของสังคม
กิ จกรรมนัน ทนาการมี ป ระโยชน์ต่ อ ผูป้ ฏิ บ ัติ โดยช่ วยให้เกิ ด การเจริ ญ เติ บ โตของร่ างกาย ผ่อ นคลาย
ความเครี ยด ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ตลอดจนช่วยป้ องกันและลดปั ญหาในการปรับตัวเข้าสังคม โดยการเลือก
กิจกรรมนันทนาการมีหลักการที่ควรคํานึงก่อนเลือกปฏิบตั ิ คือ เลือกตามความสนใจ เลือกตามความถนัด เลือกให้
เหมาะสมกับสุขภาพ และเลือกกิจกรรมที่ปลอดภัย

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
 อธิ บายหลักการเข้าร่ วมกิจกรรมนันทนาการอย่างน้อย 1 กิจกรรม (พ 3.1 ป. 5/6)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายความหมายและความสําคัญของกิจกรรมนันทนาการ และหลักการเลือกกิจกรรมนันทนาการอย่าง
ถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญในการเข้าร่ วมกิจกรรมนันทนาการ (A)
3. แสดงทักษะในการสื่ อสารเกี่ยวกับความหมายและความสําคัญจากกิจกรรมนันทนาการ และหลักการเลือก
กิจกรรมนันทนาการให้ผอู้ ื่นเข้าใจได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับความหมายและ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ความสําคัญของกิจกรรม ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
นันทนาการ และหลักการเลือก แผนที่ความคิด*
กิจกรรมนันทนาการ
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
351

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
4. กิจกรรมนันทนาการ
4.1 ความหมายและความสําคัญของกิจกรรมนันทนาการ
4.2 หลักการเลือกกิจกรรมนันทนาการ

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ ภาษาอังกฤษหรือภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
เกีย่ วกับกิจกรรมนันทนาการ
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนเรี ยงความ หรื อเขียนสรุ ป
ความเข้าใจในเรื่ อง ความหมายและความสําคัญของกิจกรรมนันทนาการ และ
หลักการเลือกกิจกรรมนันทนาการ
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิด หรื อแผนผังสรุ ปความรู้ในเรื่ อง
ความหมายและความสําคัญของกิจกรรมนันทนาการ และหลักการเลือก
กิจกรรมนันทนาการ
วิทยาศาสตร์  ศึกษา สื บค้น และบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมนันทนาการ
352

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในเรื่อง กิจกรรม
นันทนาการ ในหัวข้ อที่ 4.1 ความหมายและความสํ าคัญของกิจกรรมนันทนาการ และหัวข้ อที่ 4.2
หลักการเลือกกิจกรรมนันทนาการ มาล่วงหน้ า ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครู
แสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัติกจิ กรรมดังกล่ าวของนักเรียน
4. ให้นกั เรี ยนดูภาพแสดงการปฏิบตั ิกิจกรรมนันทนาการของบุคคลหรื อกลุ่มบุคคลในรู ปแบบต่าง ๆ ที่ครู
เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู ้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
และตอบคําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– ภาพที่นกั เรี ยนเห็นสื่ อถึงเรื่ องใด (ขึน้ อยู่กับรู ปภาพ)
– กิจกรรมนันทนาการหมายถึงอะไร (กิจกรรมที่บุคคลหรื อกลุ่มบุคคลเลือกทําด้ วยความสมัครใจ ทําใน
เวลาว่ างที่ สามารถให้ ประสบการณ์ ความพึงพอใจ ความสนุกสนาน มีประโยชน์ มีคุณค่ า และเป็ นที่
ยอมรั บของสังคม)
– นักเรี ยนเคยปฏิบตั ิกิจกรรมนันทนาการหรื อไม่ อะไรบ้าง (ตอบได้ โดยอิสระ เช่ น เคยปฏิบัติกิจกรรม
นันทนาการ ได้ แก่ เล่ นการละเล่ นพืน้ เมือง ว่ ายนํา้ เล่ นฟุตบอล ฟั งเพลง ดูภาพยนตร์ และวาดภาพ)
– นักเรี ยนชื่นชอบการปฏิบตั ิกิจกรรมนันทนาการหรื อไม่ เพราะเหตุใด (ชื่ นชอบการปฏิบัติกิจกรรม
นันทนาการเป็ นอย่ างมาก เพราะเป็ นกิจกรรมที่ ทาํ ให้ มีความสุข คลายเครี ยด และได้ ใช้ เวลาว่ างให้ เกิด
ประโยชน์ ด้วย)
– ระหว่างกิจกรรมนันทนาการที่นกั เรี ยนมีความถนัดกับกิจกรรมนันทนาการที่นิยมปฏิบตั ิให้กลุ่มเพื่อน
ส่วนใหญ่ นักเรี ยนจะเลือกปฏิบตั ิกิจกรรมใด เพราะอะไร (เลือกปฏิบัติในกิจกรรมนันทนาการที่ ตนเอง
ถนัด เพราะกิจกรรมนันทนาการต้ องเป็ นกิจกรรมที่เราเลือกปฏิบัติอย่ างสมัครใจ มีความชื่ นชอบ ปฏิบัติ
แล้ วเกิดความเพลิดเพลิน)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 4.1 ความหมายและความสําคัญของกิจกรรม
นันทนาการ และหัวข้อที่ 4.2 หลักการเลือกกิจกรรมนันทนาการ เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและ
ความสนใจในการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
353

ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้นกั เรี ยนร่ วมกันบอกความหมายและความสําคัญของกิจกรรมนันทนาการจากประสบการณ์ในการ
เรี ยนรู ้ระดับชั้นที่ผา่ นมา
2. ครู ให้ความรู ้ในเรื่ อง กิจกรรมนันทนาการ ในหัวข้อที่ 4.1 ความหมายและความสําคัญของกิจกรรม
นันทนาการ และหัวข้อที่ 4.2 หลักการเลือกกิจกรรมนันทนาการ โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่
เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
3. ครูแสดงบัตรคําที่เกีย่ วข้ องกับกิจกรรมนันทนาการในภาษาอังกฤษให้ นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่านสะกดคํา
และอ่านออกเสียงให้ นักเรียนอ่ านตาม เพือ่ สร้ างเสริมทักษะทางด้ านภาษา ตัวอย่ างเช่ น คําว่า
– กิจกรรมนันทนาการ ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Recreation อ่านออกเสี ยงว่ า เรคริเอฌัน
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศสมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
4. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน แต่ละกลุ่มร่ วมกันระดมสมองสรุ ปความหมายและความสําคัญของ
กิจกรรมนันทนาการ และหลักการเลือกกิจกรรมนันทนาการ โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• นักเรี ยนแต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน โดยครู คอยเสนอแนะ
และให้ความรู้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าในเรื่อง กิจกรรมนันทนาการ ในหัวข้ อที่ 4.3 ประเภทและตัวอย่ างของ
กิจกรรมนันทนาการ ดังรายละเอียดในหนังสือเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือ
จากแหล่งการเรียนรู้ ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า แล้วให้ แต่ ละคน
เขียนกิจกรรมนันทนาการที่ตนเองสนใจจะปฏิบัตมิ ากที่สุด 3 อันดับแรก พร้ อมแสดงเหตุผลประกอบ
บันทึกลงในสมุด เพือ่ ใช้ เป็ นร่ องรอยและหลักฐานในการศึกษา แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียน
ครั้งต่ อไป
4. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าเกีย่ วกับกิจกรรมนันทนาการที่เยาวชนในประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียน
นิยมปฏิบัติ คนละ 1 กิจกรรม จดบันทึกลงในสมุด แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป
354

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับหลักการเลือกกิจกรรมนันทนาการจากแหล่งการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ เช่น
อินเทอร์เน็ต หรื อห้องสมุดของโรงเรี ยน เพื่อเสริ มสร้างการเรี ยนรู้และสามารถนําความรู ้ดงั กล่าวไปปรับใช้ใน
ชีวิตประจําวันได้

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพแสดงการปฏิบตั ิกิจกรรมนันทนาการของบุคคลหรื อกลุ่มบุคคลในรู ปแบบต่าง ๆ
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายเรื่ อง กิจกรรมนันทนาการ ในหัวข้อที่ 4.1 ความหมายและความสําคัญ
ของกิจกรรมนันทนาการ และหัวข้อที่ 4.2 หลักการเลือกกิจกรรมนันทนาการ
3. บัตรคําที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมนันทนาการในภาษาอังกฤษ
4. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
5. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
6. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
355

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 59
กิจกรรมนันทนาการ (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว
เรื่อง ประเภทและตัวอย่ างของกิจกรรมนันทนาการ

1. สาระสํ าคัญ
กิจกรรมนันทนาการมีอยูม่ ากมายหลายชนิดเราสามารถเลือกปฏิบตั ิได้ตามความเหมาะสมและให้เกิด
ประโยชน์ต่อตนเองหรื อต่อสังคม โดยกิจกรรมนันทนาการแบ่งเป็ นประเภทต่าง ๆ ได้แก่ กีฬาและการละเล่น
ศิลปหัตถกรรม ดนตรี นาฏศิลป์ การแสดง และกิจกรรมบันเทิง งานอดิเรก กิจกรรมทางภาษา กิจกรรมนอกสถานที่
กิจกรรมทางสังคม กิจกรรมอาสาสมัครและบําเพ็ญประโยชน์ และกิจกรรมทางวัฒนธรรมและประเพณี

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
 อธิ บายหลักการเข้าร่ วมกิจกรรมนันทนาการอย่างน้อย 1 กิจกรรม (พ 3.1 ป. 5/6)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายประเภทและตัวอย่างของกิจกรรมนันทนาการอย่างถูกต้องได้ (K)
2. เข้าร่ วมกิจกรรมนันทนาการด้วยความสนใจและกระตือรื อร้น (A)
3. แสดงทักษะในการสื่ อสารเกี่ยวกับประเภทและตัวอย่างของกิจกรรมนันทนาการให้ผอู ้ ื่นเข้าใจได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัด เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การ
และ วัดและ
ประเมินผล ประเมินผ

356

วิธีการวัด เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การ


และ วัดและ
ประเมินผล ประเมินผ

• ซักถาม • แบบประเมินผลการนําเสนอข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน แผนที่ความคิด* • ผ่าน
เกี่ยวกับ เกณฑ์
ประเภท เฉลี่ย
และ ระดับ
ตัวอย่าง คุณภาพ
ของ 2 ขึ้นไป
กิจกรรม
นันทนากา

• ตรวจสอบ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุในใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน สุ ข • ผ่าน
ความถูก ศึกษาและพลศึกษา ป. 5* เกณฑ์
ต้องในการ เฉลี่ย
ปฏิบตั ิ ระดับ
กิจกรรม คุณภาพ
– พิจารณา 2 ขึ้นไป
ภาพ
เหล่ านี ้
กิจกรรม
ไหนที่
เป็ น
กิจกรรม
นันทนาก
าร
– ระดม
สมอง
เขียนแผน
ที่
ความคิ ด
ลักษณะ
เด่ นของ
357

วิธีการวัด เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การ


และ วัดและ
ประเมินผล ประเมินผ

กิจกรรม
กรรม
นันทนาก
าร
• ตรวจสอบ • แบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 3 เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว** • ผ่าน
ความถูก เกณฑ์
ต้องของการ เฉลี่ย
ทดสอบ ระดับ
ประจํา คุณภาพ
หน่วยการ 2 ขึ้นไป
เรี ยนรู ้ที่ 3
เพิ่มพูน
ทักษะการ
เคลื่อนไหว
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
**ดูรายละเอียดในสื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
358

5. สาระการเรียนรู้
4. กิจกรรมนันทนาการ (ต่อ)
4.3 ประเภทและตัวอย่างของกิจกรรมนันทนาการ

6. แนวทางบูรณาการ
สั งคมศึกษาฯ  ศึกษาค้ นคว้าและเปรียบเทียบเกีย่ วกับตัวอย่างของกิจกรรมนันทนาการใน
สั งคมเมืองและสั งคมชนบทของไทย และศึกษาค้ นคว้ ากิจกรรมนันทนาการที่
เยาวชนในกลุ่มประเทศอาเซียนนิยมปฏิบัติ
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ ภาษาอังกฤษหรือภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
เกีย่ วกับประเภทและตัวอย่ างของกิจกรรมนันทนาการ
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนสรุ ปความเข้าใจในเรื่ อง
ประเภทและตัวอย่างของกิจกรรมนันทนาการ
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิด หรื อแผนผังสรุ ปความรู้ หรื อแผนภาพ
แสดงประเภทและตัวอย่างของกิจกรรมนันทนาการ
ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพแสดงตัวอย่างของกิจกรรมนันทนาการ
วิทยาศาสตร์  ศึกษา สื บค้น และบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับประเภทและตัวอย่างของกิจกรรม
นันทนาการ โดยเฉพาะกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู ้ทางด้านวิทยาศาสตร์

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอกิจกรรมนันทนาการที่ตนเองสนใจจะปฏิบตั ิมากที่สุด 3
อันดับแรก พร้ อมเหตุผลประกอบ ตามที่ได้ รับมอบหมายให้ ศึกษาค้ นคว้ามาล่ วงหน้ าในการเรียนครั้งที่
ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการรายงานผลของนักเรียน และให้ ความรู้ที่ถูกต้ องเพิม่ เติม
359

4. สุ่ มนักเรียน 2–3 คนออกมานําเสนอตัวอย่ างกิจกรรมนันทนาการ 1 กิจกรรมที่เยาวชนในประเทศกลุ่ม


สมาชิกอาเซียนนิยมปฏิบัติ ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อ
การรายงานผลของนักเรียน และให้ ความรู้ที่ถูกต้ องเพิม่ เติม
5. ให้นกั เรี ยนดูภาพแสดงตัวอย่างกิจกรรมนันทนาการในหลากหลายประเภทที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนา
ร่ วมกันเกี่ยวกับความรู้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน และตอบคําถามร่ วมกัน
ตัวอย่างเช่น
– กิจกรรมตามภาพที่ปรากฏจัดอยูใ่ นกิจกรรมนันทนาการประเภทใด (ขึน้ อยู่กับรู ปภาพ)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
6. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 4.3 ประเภทและตัวอย่างของกิจกรรมนันทนาการ
เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้ในเรื่ อง กิจกรรมนันทนาการ ในหัวข้อที่ 4.3 ประเภทและตัวอย่างของกิจกรรมนันทนาการ
โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
2. ครูแสดงบัตรคําที่เกีย่ วข้ องกับประเภทและตัวอย่ างของกิจกรรมนันทนาการในภาษาอังกฤษให้ นักเรียนดู
พร้ อมทั้งอ่านสะกดคําและอ่านออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่ านตาม เพือ่ สร้ างเสริมทักษะทางด้ านภาษา
ตัวอย่างเช่ น คําว่ า
– ดนตรี ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Music อ่านออกเสี ยงว่า มยู-สิ ค
– เต้ นรํา ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Dance อ่านออกเสี ยงว่า ดานซ
– ร้ องเพลง ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Sing อ่านออกเสี ยงว่ า ซิง
– งานอดิเรก ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Hobby อ่านออกเสี ยงว่ า ฮอบ-บิท
– อาสาสมัคร ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Volunteer อ่านออกเสี ยงว่ า ฝอลันเทีย
– ศิลปะ ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Recreation อ่านออกเสี ยงว่ า เรคริเอฌัน
– หัตถกรรม ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่า Handicraft อ่านออกเสี ยงว่ า แฮน-ดิ ครัฟท
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศสมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
3. นักเรี ยนร่ วมกันระบุรายชื่อของกิจกรรมของเกมที่นกั เรี ยนทราบหรื อเคยเข้าร่ วมกิจกรรม
4. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิม่ เติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนแบ่งออกเป็ น 3 กลุ่ม แต่ละกลุ่มร่ วมกันศึกษาวิธีการและกติกาการเล่นการละเล่นพื้นเมือง ไอ้เข้
ไอ้โขง ดังรายละเอียดในหนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 โดยใช้เวลาตามที่ครู
กําหนด
2. ครู อธิ บายสรุ ปวิธีการและกติกาการเล่นการละเล่นพื้นเมือง ไอ้เข้ไอ้โขง และเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยน
สอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
3. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมเล่นการละเล่นพื้นเมือง ไอ้เข้ไอ้โขง โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
360

4. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมาแสดงความรู ้สึกและประโยชน์ที่ได้รับจากการเล่นการละเล่น


พื้นเมือง ไอ้เข้ไอ้โขง หน้าชั้นเรี ยน โดยครู ให้ขอ้ เสนอแนะที่เป็ นประโยชน์เพิ่มเติม
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรม พิจารณาภาพเหล่ านี ้ กิจกรรมไหนที่เป็ นกิจกรรมนันทนาการ และกิจกรรม ระดม
สมองเขียนแผนที่ ความคิ ด ลักษณะเด่ นของกิจกรรมกรรมนันทนาการ ดังรายละเอียดในใบกิจกรรมที่ครู
แจกให้หรื อในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
2. สุ่มนักเรี ยนประมาณ 2–3 คนออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยนโดยครู ให้ความรู้ที่ถูกต้อง
เพิ่มเติม
3. ครู เฉลยคําตอบที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนทราบและให้นกั เรี ยนร่ วมกันตรวจสอบแก้ไขคําตอบให้ถูกต้อง
4. ครู แจกแบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 3 เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว ให้นกั เรี ยนทําเพื่อ
ตรวจสอบความรู ้ความเข้าใจหลังการเรี ยนรู้ โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
5. ครู เฉลยคําตอบที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนทราบและให้ความรู ้เพิ่มเติมเพื่อเสริ มสร้างการเรี ยนรู้ให้กบั นักเรี ยน
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้
โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาทบทวนความรู้ในเรื่อง กีฬา ในหัวข้ อที่ 3.3 มวยไทย และหัวข้ อ 3.4 ตะกร้ อวง
และเรื่อง กิจกรรมนันทนาการ เพือ่ เตรียมตัวเข้ ารับการทดสอบปลายปี รายวิชาพืน้ ฐาน พลศึกษา ป. 5 ใน
การเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรเข้าร่ วมปฏิบตั ิกิจกรรมนันทนาการที่สร้างสรรค์ตามช่วงเวลาที่เหมาะสม เช่น หลังเลิกเรี ยนหรื อ
วันหยุดต่าง ๆ ทั้งนี้เพื่อเป็ นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ท้ งั ต่อตนเองและผูอ้ ื่น

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพแสดงตัวอย่างกิจกรรมนันทนาการในหลากหลายประเภท
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายเรื่ อง กิจกรรมนันทนาการ ในหัวข้อที่ 4.3 ประเภทและตัวอย่างของ
กิจกรรมนันทนาการ
3. บัตรคําที่เกี่ยวข้องกับประเภทและตัวอย่างของกิจกรรมนันทนาการในภาษาอังกฤษ
4. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
361

5. แบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 3 เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว


6. ใบกิจกรรม เรื่ อง พิจารณาภาพเหล่ านี ้ กิจกรรมไหนที่เป็ นกิจกรรมนันทนาการ
7. ใบกิจกรรม เรื่ อง ระดมสมองเขียนแผนที่ความคิด ลักษณะเด่ นของกิจกรรมกรรมนันทนาการ
8. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
11. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
362

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 60
การทดสอบปลายปี รายวิชาพืน้ ฐาน พลศึกษา ป. 5
สาระการเรียนรู้ ที่ 2: ชีวติ และครอบครัว เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 ชีวติ และครอบครัว
เรื่อง การทดสอบปลายปี รายวิชาพืน้ ฐาน พลศึกษา ป. 5

1. สาระสํ าคัญ
การทดสอบปลายปี เป็ นกระบวนการวัดและประเมินผลเพื่อสรุ ปผลการเรี ยนรู้ (Summative Assessment )
ที่นกั เรี ยนได้รับจากองค์ความรู ้ที่กาํ หนดไว้ในขอบข่ายของตัวชี้วดั ในโครงสร้างของหลักสูตร และการสอบปลายปี
ยังเป็ นการนําข้อมูลของค่าคะแนนที่ได้นาํ มาใช้เป็ นส่วนสําคัญในการวัดและประเมินผลเพื่อตัดสิ นผลการเรี ยนหรื อ
ให้ระดับผลการเรี ยน ตลอดจนให้การรับรองความรู้ความสามารถของผูเ้ รี ยนว่าผ่านรายวิชาหรื อไม่ ควรได้รับการ
เลื่อนชั้นหรื อไม่ หรื อสามารถจบหลักสูตรหรื อไม่
การศึกษารายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษา เป็ นอีกหนึ่งรายวิชาที่นาํ กระบวนการวัดและประเมินผลมาใช้เพื่อ
สรุ ปผลการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน โดยใช้แบบทดสอบทั้งในข้อคําถามที่เน้นกระบวนการการคิดวิเคราะห์เพื่อตัดสิ นข้อ
คําตอบ ในรู ปแบบอัตนัยและรู ปแบบปรนัย ครอบคลุมองค์ความรู้และตัวชี้วดั ชั้นปี ในหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 3

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. จัดรู ปแบบการเคลื่อนไหวแบบผสมผสาน และควบคุมตนเอง เมื่อใช้ทกั ษะการเคลื่อนไหวตามแบบที่กาํ หนด
(พ 3.1 ป. 5/1)
2. เล่นเกมนําไปสู่กีฬาที่เลือกและกิจกรรมการเคลื่อนไหวแบบผลัด (พ 3.1 ป. 5/2)
3. ควบคุมการเคลื่อนไหวในเรื่ องการรับแรง การใช้แรง และความสมดุล (พ 3.1 ป. 5/3)
4. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา (พ 3.1 ป. 5/4)
5. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ 1 ชนิด (พ 3.1 ป. 5/5)
6. ออกกําลังกายอย่างมีรูปแบบ เล่นเกมที่ใช้ทกั ษะการคิดและตัดสิ นใจ (พ 3.2 ป. 5/1)
7. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกในการปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลายและมีน้ าํ ใจ
นักกีฬา (พ 3.2 ป. 5/2)
363

8. ปฏิบตั ิตามกฎ กติกาการเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น (พ 3.2 ป. 5/3)


9. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิผอู ้ ื่น และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม
และกีฬาไทย กีฬาสากล (พ 3.2 ป. 5/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายเกี่ยวกับระเบียบและข้อตกลงในการทดสอบปลายปี รายวิชาพื้นฐาน พลศึกษา ป. 5 ได้อย่างถูกต้อง
(K)
2. ระบุวธิ ี การทําแบบทดสอบปลายปี รายวิชาพื้นฐาน พลศึกษา ป. 5 ได้ (P)
3. เข้าร่ วมกิจกรรมการเรี ยนรู ้กบั ผูอ้ ื่นด้วยความเต็มใจและกระตือรื อร้น (A)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับความเข้าใจใน • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
เนื้อหาในหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 3 ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
เรื่ อง แผนที่ความคิด*
– กีฬา ในหัวข้อ มวยไทยและ
ตะกร้อวง
– กิจกรรมนันทนาการ
• ตรวจสอบความถูกต้องของการ • แบบทดสอบปลายปี รายวิชา • ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ทดสอบปลายปี รายวิชาพื้นฐาน พื้นฐาน สุ ขศึกษา ป. 5**
พลศึกษา ป.5
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
**ดูรายละเอียดในสื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
364

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
5. สาระการเรียนรู้

6. แนวทางบูรณาการ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
• ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คน รายงานผลการศึกษาทบทวนความรู้ในหน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง กีฬา ใน
หัวข้ อที่ 3.3 มวยไทย และหัวข้ อ 3.4 ตะกร้ อวง และเรื่อง กิจกรรมนันทนาการ เพือ่ เตรียมตัวทดสอบ
ปลายปี รายวิชาพืน้ ฐาน พลศึกษา ป. 5 ที่ได้ มอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู อธิ บายระเบียบและข้อตกลงในการทดสอบปลายปี รายวิชาพื้นฐาน พลศึกษา ป. 5 ให้นกั เรี ยนได้เข้าใจ
และซักถามข้อสงสัย
2. ให้นกั เรี ยนทุกคนทําแบบทดสอบปลายปี รายวิชาพื้นฐาน พลศึกษา ป. 5 ตามเวลาที่กาํ หนดให้
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• หลังจากที่นกั เรี ยนทําแบบทดสอบเสร็ จแล้ว ครู ให้นกั เรี ยนช่วยกันเฉลยคําตอบของแบบทดสอบปลายปี
รายวิชาพื้นฐาน พลศึกษา ป. 5 ทีละข้อร่ วมกัน โดยครู อธิ บายและชี้แนะคําตอบที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนทราบ
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• นักเรี ยนจดบันทึกความรู ้ที่ได้จากการเฉลยคําตอบของแบบทดสอบปลายปี ลงในสมุดบันทึก
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. ครูถามคําถามเชื่อมโยงสู่ บทเรียนต่ อไป เพือ่ ให้ นักเรียนไปค้ นหาคําตอบจากบทเรียนมาล่วงหน้ า ดังนี้
– สุ ขบัญญัตแิ ห่ งชาติคอื อะไร และมีความสํ าคัญกับเราหรือไม่
2. ครูมอบหมายให้ นักเรียนไปศึกษาเนือ้ หาในหน่ วยการเรียนรู้ที่ 4 ใส่ ใจสุ ขภาพ เรื่อง การปฏิบัตติ นตาม
สุ ขบัญญัตแิ ห่ งชาติ ในประเด็นเกีย่ วกับความหมายและความสํ าคัญของสุ ขบัญญัตแิ ห่ งชาติ และแนวทาง
365

การปฏิบัตติ นตามสุ ขบัญญัตแิ ห่ งชาติ ประการที่ 1 ถึง 5 ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน
สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ
หรือขอรับความรู้จากผู้ปกครอง มาล่ วงหน้ า แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรทบทวนความรู ้ความเข้าใจ ตลอดจนทักษะกีฬาที่ได้ศึกษาผ่านมา เพื่อเสริ มสร้างความรู ้ความ
เข้าใจและทักษะกีฬาในเรื่ องดังกล่าวให้ดียงิ่ ขึ้น

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. แบบทดสอบปลายปี รายวิชาพื้นฐาน พลศึกษา ป. 5
2. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
3. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
4. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
5. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
366
365

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 ใส่ ใจสุ ขภาพ เวลา 11 ชั่วโมง

ผังมโนทัศน์ เป้าหมายการเรียนรู้และขอบข่ายภาระงาน
ความรู้
1. การปฏิบตั ิตนตามสุ ขบัญญัติแห่ งชาติ
2. ข้อมูลข่าวสารสุ ขภาพ
3. สื่ อโฆษณากับอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
4. การดูแลรักษาตนเองเบื้องต้นเมื่อเจ็บป่ วย
5. การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ

ทักษะ/กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม


1. การสื่ อสารเพื่ออธิบายความสําคัญและการปฏิบตั ิ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ตนตามสุ ขบัญญัติแห่งชาติ 1. มีวนิ ยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ในการร่ วมศึกษาและปฏิบตั ิ
2. การสื่ อสารเพื่ออธิบายแหล่งและวิธีคน้ หาข้อมูล กิจกรรมการเรี ยนรู ้ในเรื่ องการปฏิบตั ิตนตามสุ ข
ข่าวสารสุ ขภาพและแนวทางการใช้ขอ้ มูลข่าวสาร บัญญัติแห่งชาติกบั ผูอ้ ื่น
ในการสร้างเสริ มสุ ขภาพ 2. มีวนิ ยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ในการร่ วมศึกษาและปฏิบตั ิ
3. การสื่ อสารเพื่ออธิบายอิทธิพลของสื่ อโฆษณาต่อ กิจกรรมการเรี ยนรู ้ในเรื่ องแหล่งและวิธีคน้ หา
การเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพและ ใส่ ใจสุ ขภาพ ข้อมูลข่าวสารสุ ขภาพและการใช้ขอ้ มูลข่าวสารใน
แนวทางการตรวจสอบข้อเท็จจริ งของสื่ อโฆษณา การสร้างเสริ มสุ ขภาพผูอ้ ื่น
4. การสื่ อสารเพื่ออธิบายแนวทางการดูแลรักษา 3. มีวนิ ยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ในการร่ วมศึกษาและปฏิบตั ิ
ตนเองเบื้องต้นเมื่อเจ็บป่ วยจากโรคไข้หวัดโรค กิจกรรมการเรี ยนรู ้ในเรื่ องอิทธิพลของสื่ อโฆษณา
ไข้เลือดออกโรคกลากโรคเกลื้อนโรคฟันผุและ ต่อการเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพและ
โรคปริ ทนั ต์ การตรวจสอบข้อเท็จจริ งของสื่ อโฆษณากับผูอ้ ื่น
5. การสื่ อสารเพื่ออธิบายวิธีการทดสอบสมรรถภาพ 4. มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ในการร่ วมศึกษาและปฏิบตั ิ
ทางกายและแนวทางการสร้างเสริ มและปรับปรุ ง กิจกรรมการเรี ยนรู ้ในเรื่ องการดูแลรักษาตนเอง
สมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ เบื้องต้นเมื่อเจ็บป่ วยกับผูอ้ ื่น
6. การใช้เทคโนโลยีในการศึกษาค้นคว้า 5. มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ในการร่ วมศึกษาและปฏิบตั ิ
กิจกรรมการเรี ยนรู ้ในเรื่ องการทดสอบสร้างเสริ ม
และปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพกับ
ผูอ้ ื่น
366

ภาระงาน/ชิ้นงาน
1. ศึกษาเกี่ยวกับความหมายและความสําคัญของสุ ขบัญญัติแห่งชาติ และแนวทางการปฏิบตั ิตนตามสุ ขบัญญัติแห่งชาติ
2. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ แนวทางสุ ขบัญญัติแห่ งชาติซ่อนอยู่ตรงไหน ใครสงสั ยลองช่ วยกันหา
3. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ เรี ยนรู้สุขบัญญัติแห่ งชาติ อย่ าให้ ขาดแนวทางปฏิ บัติ
4. ศึกษาเกี่ยวกับวิธีคน้ หาและตัวอย่างแหล่งข้อมูลข่าวสารสุ ขภาพ และการใช้ขอ้ มูลข่าวสารในการสร้างเสริ มสุ ขภาพ
5. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ หาข้อมูลข่าวสารในการบริ โภค เพื่อไม่ ให้ เศร้ าโศกหลังตัดสิ นใจ
6. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ช่ วยกันหาข่าวสารควบคุมโรค ที่ คนทั่วโลกร่ วมกันป้ องกัน
7. ศึกษาเกี่ยวกับสื่ อโฆษณากับการเลือกซื้ ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
8. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ อาหารและผลิตภัณฑ์ สุขภาพซื ้ออย่ างไร พ่ อแม่ ไขช่ วยเราได้
9. ศึกษาเกี่ยวกับการตรวจสอบข้อเท็จจริ งของสื่ อโฆษณา
10. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ สื่ อโฆษณาเป็ นจริ งหรื อไม่ ควรใส่ ใจถึงรายละเอียด
11. ศึกษาเกี่ยวกับการดูแลรักษาตนเองเบื้องต้นเมื่อเจ็บป่ วยด้วยโรคไข้หวัด
12. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ลองเขียนเล่ าประสบการณ์ ที่เคยผ่ านเกี่ยวกับไข้หวัด
13. ศึกษาเกี่ยวกับการดูแลรักษาตนเองเบื้องต้นเมื่อเจ็บป่ วยด้วยโรคไข้เลือดออก
14. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ การป้ องกันโรคไข้เลือดออก สิ่ งแวดล้ อมภายนอกควรทําอย่ างไร
15. ศึกษาเกี่ยวกับการดูแลรักษาตนเองเบื้องต้นเมื่อเจ็บป่ วยด้วยโรคกลากและโรคเกลื้อน
16. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ เขียนวิธีการรั กษาร่ างกาย เพื่อกันโรคร้ ายทําได้ ไหมหนา
17. ศึกษาเกี่ยวกับการดูแลรักษาตนเองเบื้องต้นเมื่อเจ็บป่ วยด้วยโรคฟันผุและโรคปริ ทนั ต์
18. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ แจกแจงสิ่ งที่ทาํ ให้ ฟันผุ พร้ อมทั้งระบุออกมาเป็ นภาพ
19. ศึกษาเกี่ยวกับการทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ
20. ปฏิบตั ิกิจกรรมการการเรี ยนรู ้ ควรอ้ วนหรื อผอม เราจะยอมให้ เป็ นอย่ างไร
21. ปฏิบตั ิกิจกรรมการการเรี ยนรู ้ วิธีการใดหนา ที่ช่วยพัฒนาสมรรถภาพ
22. โครงงานการสํารวจเรื่ อง การปฏิบตั ิตนตามสุ ขบัญญัติแห่งชาติของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ในสถานศึกษา
23. โครงงานการสํารวจเรื่ อง โรคที่พบบ่อยของเด็กนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ในสถานศึกษา
24. โครงงานการสํารวจเรื่ อง พฤติกรรมการสร้างเสริ มสมรรถภาพทางกายของบุคคลในชุมชนของตนเอง
367

กรอบแนวคิดผังการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพือ่ เน้ นสู่ ผลลัพธ์ ปลายทาง


(Backward Design Template)
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 ใส่ ใจสุ ขภาพ
ขั้นตอนที่ 1 ผลลัพธ์ ปลายทางที่ต้องการให้ เกิดขึน้ กับนักเรียน (Design Results)
ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงพฤติกรรมที่เห็นความสําคัญของการปฏิบตั ิตนตามสุ ขบัญญัติแห่งชาติ (พ 4.1 ป. 5/1)
2. ค้นหาข้อมูลข่าวสารเพื่อใช้สร้างเสริ มสุ ขภาพ (พ 4.1 ป. 5/2)
3. วิเคราะห์สื่อโฆษณาในการตัดสิ นใจเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างมีเหตุผล (พ 4.1 ป. 5/3)
4. ปฏิบตั ิตนในการป้ องกันโรคที่พบบ่อยในชีวิตประจําวัน (พ 4.1 ป. 5/4)
5. ทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย (พ 4.1 ป. 5/5)
ความเข้ าใจที่คงทนของนักเรียน คําถามสํ าคัญที่กระตุ้นให้ นักเรียนเกิดความเข้ าใจที่
 เมื่อศึกษาจบหน่วยการเรี ยนรู ้น้ ีนกั เรี ยนจะเข้ าใจ คงทน
ว่า… – นักเรี ยนคิดว่าปฏิบตั ิตนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ
1. สุ ขบัญญัติแห่งชาติ คือ ข้อกําหนด 10 มีความสําคัญต่อเราอย่างไร
ประการที่เด็กและเยาวชน ตลอดจน – แหล่งข้อมูลข่าวสารสุ ขภาพที่สาํ คัญในปั จจุบนั
ประชาชนทัว่ ไปพึงปฏิบตั ิอย่างสมํ่าเสมอ มีอะไรบ้าง
จนเป็ นสุ ขนิสยั เพื่อให้มีสุขภาพดีท้ งั ร่ างกาย – นักเรี ยนมีวิธีในการค้นหาข้อมูลข่าวสารสุ ขภาพ
จิตใจ และสังคม และทําให้ไม่เจ็บป่ วยง่าย อย่างไร
2. ข่ าวสารสุขภาพ หมายถึง ข่าวหรื อข้อความ – นักเรี ยนคิดว่าสื่ อโฆษณามีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อ
เกี่ยวกับสุขภาพที่ผสู ้ ่งต้องการประชาสัมพันธ์ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพหรื อไม่ อย่างไร
หรื อถ่ายทอดความรู ้ให้กบั บุคคลที่เกี่ยวข้อง – หากนักเรี ยนจะเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์
หรื อบุคคลอื่น ๆ ที่สนใจ สุ ขภาพ จะใช้หลักการและแนวทางปฏิบตั ิ
3. การสร้ างเสริ มสุขภาพ หมายถึง กระบวนการ อย่างไร
ที่ทาํ ให้คนหรื อชุมชนมีความรู ้ความสามารถ – นักเรี ยนจะปฏิบตั ิตนเพื่อป้ องกันโรคหรื อการ
ในการดูแลสุ ขภาพของตนเองให้สมบูรณ์ เจ็บป่ วยที่อาจเกิดขึ้นในชีวิตประจําวันของ
แข็งแรงอยูเ่ สมอ นักเรี ยนได้อย่างไร
4. การจะมีสุขภาพดีได้น้ นั จะต้องเอาใจใส่ดูแล – การทดสอบสมรรถภาพทางกายสําคัญต่อเรา
ร่ างกายและจิตใจให้แข็งแรงสมบูรณ์อยูเ่ สมอ อย่างไร
โดยควรศึกษาหาความรู ้เกี่ยวกับข่าวสาร – นักเรี ยนคิดว่าการทดสอบสมรรถภาพทางกายมี
สุ ขภาพจากแหล่งที่ให้บริ การเพิ่มเติม เพื่อให้ ผลเกี่ยวโยงกับการสร้างเสริ มและปรับปรุ ง
สามารถนําไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบตั ิ สมรรถภาพทางกายหรื อไม่ อย่างไร
กิจกรรมต่าง ๆ – นักเรี ยนมีวิธีฝึกเพื่อสร้างเสริ มและปรับปรุ ง
สมรรถภาพทางกายของตนเองอย่างไร
368

5. การที่เราจะสร้างเสริ มสุขภาพได้อย่างถูกต้อง
และเกิดผลดีต่อสุขภาพของตนเองนั้น จะต้อง
มีขอ้ มูลความรู้ทางด้านสุขภาพที่ได้รับจาก
แหล่งที่น่าเชื่อถือถูกต้องและเป็ นปั จจุบนั
6. โฆษณา หมายถึง การเผยแพร่ ข่าวสารไปสู่
ประชาชน เพื่อให้ได้รับเรื่ องราวอย่าง
กว้างขวาง
7. การโฆษณามีความสําคัญต่อผูผ้ ลิตในการ
นําเสนอข้อมูลผลิตภัณฑ์และบริ การสุขภาพ
ของตนให้ผบู ้ ริ โภครู ้วา่ มีขอ้ ดีอย่างไร ผูผ้ ลิต
และผูใ้ ห้บริ การแต่ละรายจึงแข่งขันกันทํา
โฆษณาผ่านสื่ อต่าง ๆ โดยบางครั้งมีการ
โฆษณาสรรพคุณของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่เกิน
ความจริ ง ทําให้เราหลงเชื่อซื้อมาใช้ ซึ่งอาจ
เป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพได้ เราจึงควรมีการ
ตรวจสอบข้อเท็จจริ งของสื่ อโฆษณาก่อนซื้อ
ผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริ การสุขภาพทุกครั้ง
8. การเรี ยนรู ้และทําความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ
อาการ การป้ องกัน และการดูแลรักษาตนเอง
เบื้องตนเมื่อเจ็บป่ วยจะช่วยลดความเสี่ ยงและ
อันตรายจากการเจ็บป่ วยนั้น ๆ ได้
9. สมรรถภาพทางกาย หมายถึง ความสามารถ
ของร่ างกายในการทํากิจกรรมอย่างใด
อย่างหนึ่งได้เป็ นระยะเวลายาวนานติดต่อกัน
โดยไม่เกิดความเหนื่อยล้าหรื ออ่อนเพลีย
จนเกินไป และสามารถกลับคืนสู่สภาพปกติ
ได้ในเวลาอันรวดเร็ ว
10. การทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็ นการ
ปฏิบตั ิการเคลื่อนไหวของร่ างกายในลักษณะ
ต่าง ๆ ที่จะตรวจสอบร่ างกาย ทั้งความ
แข็งแรงของกล้ามเนื้อ ความอ่อนตัว ความ
อดทนของกล้ามเนื้อและระบบไหลเวียน
โลหิ ต และความเร็ ว ว่ามีสมรรถภาพทางกาย
อยูใ่ นระดับใด
369

ความรู้ของนักเรียนที่จะนําไปสู่ ความเข้ าใจที่ ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่จะนําไปสู่ ความ


คงทน เข้ าใจที่คงทน
 เมื่อศึกษาจบหน่วยการเรี ยนรู ้น้ ีนกั เรี ยนจะรู้  เมื่อศึกษาจบหน่วยการเรี ยนรู้นกั เรี ยนควรมีทักษะ
ว่า… และสามารถที่จะ…
1. ศัพท์ที่ควรรู้ ได้แก่ คําว่า สุขบัญญัติ 1. อธิ บายความหมายและความสําคัญของสุข
แห่งชาติ ข่าวสารสุ ขภาพ ภูมิตา้ นทาน บัญญัติแห่งชาติ และแนวทางการปฏิบตั ิตนตาม
โรคปริ ทนั ต์ สุ ขบัญญัติแห่งชาติ
2. สุขบัญญัติแห่ งชาติ หมายถึง ข้อกําหนด 10 2. อธิ บายวิธีคน้ หาและตัวอย่างแหล่งข้อมูลข่าวสาร
ประการ ที่เด็กและเยาวชน ตลอดจน สุ ขภาพ และการใช้ขอ้ มูลข่าวสารในการสร้าง
ประชาชนทัว่ ไปพึงปฏิบตั ิอย่างสมํ่าเสมอ เสริ มสุขภาพ
จนเป็ นสุ ขนิสยั เพื่อให้มีสุขภาพดีท้ งั 3. อธิ บายถึงอิทธิพลของสื่ อโฆษณาต่อการเลือกซื้อ
ร่ างกายจิตใจและสังคม อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพและแนวทางการ
3. ข่ าวสารสุขภาพ หมายถึง ข่าวหรื อข้อความ ตรวจสอบข้อเท็จจริ งของสื่ อโฆษณา
เกี่ยวกับสุขภาพที่ผสู ้ ่งต้องการประชา- 4. อธิ บายแนวทางการดูแลรักษาตนเองเบื้องต้น
สัมพันธ์หรื อถ่ายทอดความรู ้ให้กบั บุคคล เมื่อเจ็บป่ วยด้วยโรคไข้หวัด โรคไข้เลือดออก
ที่เกี่ยวข้องหรื อบุคคลอื่น ๆ ที่สนใจ โรคกลากโรคเกลื้อน โรคฟันผุและโรคปริ ทนั ต์
4. ภูมิต้านทาน หมายถึง สภาพที่ร่างกายมีแรง 5. อธิ บายวิธีการทดสอบสมรรถภาพทางกายและ
ต่อต้านเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกาย แนวทางการสร้างเสริ มและปรับปรุ งสมรรถภาพ
5. โรคปริ ทันต์ หมายถึง เป็ นโรคที่มีการ ทางกายเพื่อสุ ขภาพ
อักเสบของอวัยวะปริ ทนั ต์ ซึ่งอวัยวะ 6. ร่ วมฝึ ก/หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมโดยตนเองและเป็ น
ปริ ทนั ต์ประกอบไปด้วยเหงือก เอ็นยึด หมู่คณะเกี่ยวกับการเรี ยนรู ้ในเรื่ อง การปฏิบตั ิ
ปริ ทนั ต์ เคลือบรากฟัน และกระดูกเบ้าฟัน ตนตามสุ ขบัญญัติแห่งชาติ ข้อมูลข่าวสาร
สุ ขภาพ สื่ อโฆษณากับอาหารและผลิตภัณฑ์
สุ ขภาพ การดูแลรักษาตนเองเบื้องต้นเมื่อ
เจ็บป่ วย และการทดสอบและปรับปรุ ง
สมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ ด้วยพฤติกรรม
ที่ถูกต้องเหมาะสม
ขั้นที่ 2 หลักฐานในการประเมินเพือ่ แสดงว่ านักเรียนมีผลการเรียนรู้ตามที่กาํ หนด
(Assessment Evidence)
1. ภาระงานที่นักเรียนปฏิบัติ
– ศึกษาเกี่ยวกับความหมายและความสําคัญของสุ ขบัญญัติแห่งชาติ และแนวทางการปฏิบตั ิตนตามสุข
บัญญัติแห่งชาติ
370

– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ แนวทางสุขบัญญัติแห่ งชาติซ่อนอยู่ตรงไหน ใครสงสัยลองช่ วยกันหา


– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ เรี ยนรู้ สุขบัญญัติแห่ งชาติ อย่ าให้ ขาดแนวทางปฏิบัติ
– ศึกษาเกี่ยวกับวิธีคน้ หาและตัวอย่างแหล่งข้อมูลข่าวสารสุ ขภาพ และการใช้ขอ้ มูลข่าวสารในการสร้าง
เสริ มสุขภาพ
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ หาข้ อมูลข่ าวสารในการบริ โภค เพื่อไม่ ให้ เศร้ าโศกหลังตัดสิ นใจ
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ ช่ วยกันหาข่ าวสารควบคุมโรค ที่คนทั่วโลกร่ วมกันป้ องกัน
– ศึกษาเกี่ยวกับสื่ อโฆษณากับการเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ อาหารและผลิตภัณฑ์ สุขภาพซื อ้ อย่ างไร พ่ อแม่ ไขช่ วยเราได้
– ศึกษาเกี่ยวกับการตรวจสอบข้อเท็จจริ งของสื่ อโฆษณา
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ สื่ อโฆษณาเป็ นจริ งหรื อไม่ ควรใส่ ใจถึงรายละเอียด
– ศึกษาเกี่ยวกับการดูแลรักษาตนเองเบื้องต้นเมื่อเจ็บป่ วยด้วยโรคไข้หวัด
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ ลองเขียนเล่ าประสบการณ์ ที่ เคยผ่ านเกี่ยวกับไข้ หวัด
– ศึกษาเกี่ยวกับการดูแลรักษาตนเองเบื้องต้นเมื่อเจ็บป่ วยด้วยโรคไข้เลือดออก
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ การป้ องกันโรคไข้ เลือดออก สิ่ งแวดล้ อมภายนอกควรทําอย่ างไร
– ศึกษาเกี่ยวกับการดูแลรักษาตนเองเบื้องต้นเมื่อเจ็บป่ วยด้วยโรคกลากและโรคเกลื้อน
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ เขียนวิธีการรั กษาร่ างกาย เพื่อกันโรคร้ ายทําได้ ไหมหนา
– ศึกษาเกี่ยวกับการดูแลรักษาตนเองเบื้องต้นเมื่อเจ็บป่ วยด้วยโรคฟันผุและโรคปริ ทนั ต์
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ แจกแจงสิ่ งที่ทาํ ให้ ฟันผุ พร้ อมทั้งระบุออกมาเป็ นภาพ
– ศึกษาเกี่ยวกับการทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการการเรี ยนรู้ ควรอ้ วนหรื อผอม เราจะยอมให้ เป็ นอย่ างไร
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการการเรี ยนรู้ วิธีการใดหนา ที่ ช่วยพัฒนาสมรรถภาพ
– โครงงานการสํารวจเรื่ อง การปฏิบตั ิตนตามสุ ขบัญญัติแห่งชาติของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ใน
สถานศึกษา
– โครงงานการสํารวจเรื่ อง โรคที่พบบ่อยของเด็กนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ในสถานศึกษา
– โครงงานการสํารวจเรื่ อง พฤติกรรมการสร้างเสริ มสมรรถภาพทางกายของบุคคลในชุมชนของตนเอง

2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
• วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ • เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
– การสนทนาซักถามโดยครู – แบบบันทึกการสนทนา
– การวัดและประเมินผลด้านความรู ้ – แบบทดสอบก่อนเรี ยน
– แบบทดสอบหลังเรี ยน
– แบบทดสอบประจําหน่วย
– การวัดและประเมินผลด้านคุณธรรมจริ ยธรรม – การวัดและประเมินผลด้านคุณธรรม จริ ยธรรม
ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
371

3. สิ่ งที่มุ่งประเมิน
– ความสามารถในการอธิ บาย ชี้แจง การแปลความและตีความ การประยุกต์ ดัดแปลง และนําไปใช้
การมีมุมมองที่หลากหลาย การให้ความใส่ใจในความรู้สึกของผูอ้ ื่น และการรู ้จกั ตนเอง
– ความสามารถในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่ให้ความสําคัญทั้งทางด้านร่ างกาย จิตใจ สังคม และ
จิตวิญญาณ
– ความสามารถในการวางแผนการปฏิบตั ิ แสดงความคิดเห็นวิเคราะห์ เพื่อพัฒนาความรู ้ ความเข้าใจ
ทัศนคติ และทักษะที่ช่วยส่งเสริ มการปฏิบตั ิเกี่ยวกับสุ ขภาพ
ขั้นที่ 3 การวางแผนการจัดการเรียนรู้
• หน่วยการเรี ยนรู้ที่ 4 ใส่ใจสุ ขภาพ จํานวน 14 ชัว่ โมง
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 61: การปฏิบตั ิตนตามสุ ขบัญญัติแห่งชาติ
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 62: การปฏิบตั ิตนตามสุ ขบัญญัติแห่งชาติ (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 63: ข้อมูลข่าวสารสุ ขภาพ
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 64: ข้อมูลข่าวสารสุ ขภาพ (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 65: สื่ อโฆษณากับอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 66: สื่ อโฆษณากับอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 67: การดูแลรักษาตนเองเบื้องต้นเมื่อเจ็บป่ วย
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 68: การดูแลรักษาตนเองเบื้องต้นเมื่อเจ็บป่ วย (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 69: การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 70: การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 71: การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 72: การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 73: การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 74: การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ (ต่อ)
372

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 61
การปฏิบัติตนตามสุ ขบัญญัติแห่ งชาติ
สาระการเรียนรู้ ที่ 4: การสร้ างเสริมสุ ขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 ใส่ ใจสุ ขภาพ เรื่อง การปฏิบัติตนตามสุ ขบัญญัติแห่ งชาติ

1. สาระสํ าคัญ
สุ ขบัญญัติแห่งชาติ คือ ข้อกําหนด 10 ประการที่เด็กและเยาวชน ตลอดจนประชาชนทัว่ ไปพึงปฏิบตั ิอย่าง
สมํ่าเสมอจนเป็ นสุ ขนิสยั เพื่อให้มีสุขภาพดีท้ งั ร่ างกาย จิตใจ และสังคม ซึ่งในการเรี ยนครั้งนี้นกั เรี ยนจะได้เรี ยนรู ้
แนวทางปฏิบตั ิข้นั พื้นฐานของสุขบัญญัติแห่งชาติประการที่ 1 ถึง 5 โดย
– สุ ขบัญญัติแห่งชาติประการที่ 1 คือ ดูแลรักษาร่ างกายและของใช้ให้สะอาด
– สุ ขบัญญัติแห่งชาติประการที่ 2 คือ รักษาฟันให้แข็งแรง และแปรงฟันทุกวันอย่างถูกต้อง
– สุ ขบัญญัติแห่งชาติประการที่ 3 คือ ล้างมือให้สะอาดก่อนกินอาหารและหลังการขับถ่าย
– สุ ขบัญญัติแห่งชาติประการที่ 4 คือ กินอาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตราย และหลีกเลี่ยงอาหารรสจัด
สี ฉูดฉาด
–สุ ขบัญญัติแห่งชาติประการที่ 5 คือ งดบุหรี่ สุรา สารเสพติด การพนัน และการสําส่อนทางเพศ

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
• แสดงพฤติกรรมที่เห็นความสําคัญของการปฏิบตั ิตนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ (พ 4.1 ป. 5/1)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายความหมายและความสําคัญของสุขบัญญัติแห่งชาติ และแนวทางการปฏิบตั ิข้ นั พื้นฐานของสุขบัญญัติ
แห่งชาติ ประการที่ 1 ถึง 5 อย่างถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของการปฏิบตั ิตนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ (A)
3. แสดงทักษะในการปฏิบตั ิตนตามแนวทางปฏิบตั ิข้ นั พื้นฐานของสุขบัญญัติแห่งชาติ ประการที่ 1 ถึง 5 อย่าง
ถูกต้องได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ทดสอบความรู้พ้นื ฐานในหน่วย • แบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการ –
การเรี ยนรู้ที่ 4 ใส่ใจสุขภาพ เรี ยนรู้ที่ 4 ใส่ใจสุ ขภาพ*/**
373

วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล


• ซักถามเกี่ยวกับความหมายและ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ความสําคัญของสุขบัญญัติ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
แห่งชาติ และแนวทางการปฏิบตั ิ แผนที่ความคิด*
ตนตามสุ ขบัญญัติแห่งชาติ
ประการที่ 1 ถึง 5
• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ปฏิบตั ิกิจกรรม แนวทางสุขบัญญัติ ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
แห่ งชาติซ่อนอยู่ตรงไหน ใคร พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
สงสัยลองช่ วยหา ป. 5*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
*/**ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู หรื อในสื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์
วัฒนาพานิช จํากัด

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
1. การปฏิบตั ิตนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ
– ความหมายและความสําคัญของสุ ขบัญญัติแห่งชาติ
– แนวทางปฏิบตั ิข้ นั พื้นฐานของสุขบัญญัติแห่งชาติ ประการที่ 1 ถึง 5
374

6. แนวทางบูรณาการ
สังคมศึกษาฯ  พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับค่านิยมในการปฏิบตั ิตนตามแนวทางสุ ขบัญญัติ
แห่งชาติในสังคมไทยในแต่ละภูมิภาค
ภาษาต่างประเทศ  ฟั งและอ่ านคําศั พท์ ภาษาอังกฤษหรื อภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิ กอาเซี ยนที่
เกีย่ วกับแนวทางปฏิบัตขิ ้นั พืน้ ฐานของสุ ขบัญญัตแิ ห่ งชาติ ประการที่ 1 ถึง 5
คณิ ตศาสตร์  จัดจําแนกพฤติกรรมการปฏิบตั ิตนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ ประการที่ 1 ถึง 5
ของนักเรี ยน และนับจํานวนนักเรี ยนที่ปฏิบตั ิตนตามแนวทางสุขบัญญัติ
แห่งชาติ ประการที่ 1 ถึง 5
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนสรุ ปเกี่ยวกับความหมายและ
ความสําคัญของสุขบัญญัติแห่งชาติ และแนวทางปฏิบตั ิข้ นั พื้นฐานของสุขบัญญัติ
แห่งชาติ ประการที่ 1 ถึง 5
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิด ออกแบบและตกแต่งตารางหรื อบันทึก
ประจําวันในการปฏิบตั ิตนตามแนวทางสุ ขบัญญัติแห่งชาติ ประการที่ 1 ถึง 5

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
2. ครู แจกแบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 4 ใส่ใจสุขภาพ ให้นกั เรี ยนเพื่อตรวจสอบความรู้ความ
เข้าใจพื้นฐาน โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
3. ครู เฉลยคําตอบที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนทราบและระบุเชื่อมโยงไปสู่เนื้อหาที่นกั เรี ยนจะได้เรี ยนรู้ในหน่วย
การเรี ยนรู้ที่ 4 ใส่ใจสุ ขภาพ
4. ครูและนักเรียนสนทนาร่ วมกันเกีย่ วกับเนือ้ หาการเรียนรู้ในหน่ วยการเรียนรู้ที่ 4 ใส่ ใจสุ ขภาพ เรื่อง การ
ปฏิบัตติ นตามสุ ขบัญญัตแิ ห่ งชาติ ในประเด็นเกีย่ วกับความหมายและความสํ าคัญของสุ ขบัญญัตแิ ห่ งชาติ
และแนวทางการปฏิบัตติ นตามสุ ขบัญญัตแิ ห่ งชาติ ประการที่ 1 ถึง 5 ที่มอบหมายให้ นักเรียนอ่ านมา
ล่วงหน้ าในการเรียนครั้งที่ผ่านมา
5. สุ่ มนักเรียน 2–3 คนออกมาตอบคําถามเชื่อมโยงที่ให้ นักเรียนไปค้ นหาคําตอบจากการเรียนครั้งที่ผ่านมา
ในคําถามที่ว่า “สุ ขบัญญัตแิ ห่ งชาติคอื อะไร และมีความสํ าคัญกับเราหรือไม่ ” (สุ ขบัญญัติแห่ งชาติ คือ
ข้ อกําหนด 10 ประการ ที่เด็กและเยาวชน ตลอดจนประชาชนทั่วไปพึงปฏิบัติอย่ างสมํา่ เสมอจนเป็ นสุ ข
นิสัย เพือ่ ให้ มีสุขภาพดีทั้งร่ างกาย จิตใจ และสังคม ซึ่งสุ ขบัญญัติแห่ งชาติมีความสําคัญกับเราเป็ นอย่ าง
ยิง่ เพราะหากเราปฏิบัติตนตามข้ อกําหนด 10 ประการก็จะทําให้ เรามีสุขภาพร่ างกายที่แข็งแรง) โดยครูให้
ความรู้ที่ถูกต้ องเพิม่ เติม
375

6. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครประมาณ 3–5 คน บอกวิธีการปฏิบตั ิตนในชีวิตประจําวัน ตั้งแต่ตื่นนอนในตอนเช้า


จนกระทัง่ เข้านอนในตอนกลางคืนให้เพื่อนในชั้นเรี ยนฟัง แล้วให้ร่วมกันระดมความคิดเห็นในเรื่ อง
ดังกล่าวเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตนตามสุ ขบัญญัติแห่งชาติ โดยครู คอยให้คาํ แนะนําที่ถูกต้องเพิ่มเติม
7. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในประเด็นเกี่ยวกับความหมายและความสําคัญของสุ ขบัญญัติ
แห่งชาติ และแนวทางการปฏิบตั ิตนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ ประการที่ 1 ถึง 5 เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมี
ส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง การปฏิบตั ิตนตามสุ ขบัญญัติแห่งชาติ ในประเด็นเกี่ยวกับความหมายและความสําคัญ
ของสุขบัญญัติแห่งชาติ และแนวทางการปฏิบตั ิตนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ ประการที่ 1 ถึง 5 โดยใช้ภาพ
หรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิบาย
2. ครูแสดงบัตรคําที่เกีย่ วข้ องกับแนวทางการปฏิบัตติ นตามสุ ขบัญญัตแิ ห่ งชาติ ประการที่ 1 ถึง 5 ใน
ภาษาอังกฤษให้ นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่านสะกดคําและอ่านออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่ านตาม เพือ่ สร้ างเสริม
ทักษะทางด้ านภาษา ตัวอย่ างเช่ น คําว่ า
– การอาบนํา้ ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่า Take A Shower อ่านออกเสี ยงว่า เทค อะ เฌา-เออะ
– การสระผม ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Hair Washing อ่ านออกเสี ยงว่า แฮ ว็อฌ-อิง
– การตัดเล็บ ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Cut Nails อ่านออกเสี ยงว่า คัท เนลซ
– การขับถ่ าย (อุจจาระ) ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Excrement อ่านออกเสี ยงว่า เอกซ-คริเม็นท
– การแปรงฟัน ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Brushing Teeth อ่านออกเสี ยงว่า บรัฌ-อิง ทีธ
– การล้างมือ ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Hand Washing อ่านออกเสี ยงว่ า แฮ็นด ว็อฌ-อิง
– อาหาร 5 หมู่ ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า The Five Food Groups อ่านออกเสี ยงว่ า เฑอะ ไฟฝ ฟูด กรูพซ
– การรักเดียวใจเดียว ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Monogamy อ่านออกเสี ยงว่า โมะนอก-อะมิ
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศสมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
3. ครูให้ ความรู้ เสริมอาเซียนเกีย่ วกับการรับประทานอาหาร โดยอธิบายว่ าคนไทยจะรับประทานข้ าวเป็ น
อาหารหลัก ส่ วนคนในประเทศบรูไนดารุสซาลามจะรับประทาน “อัมบูยตั ”(ambuyat) ซึ่งเป็ นอาหารที่
รับประทานแทนข้ าว มีลกั ษณะคล้ายกับข้ าวต้ มหรือโจ๊ ก โดยใช้ แป้งสาคูเป็ นส่ วนผสมหลัก ส่ วนอาหาร
ยอดนิยมของชาวกัมพูชาคือ “อาม็อก” (amok) จะมีลกั ษณะคล้ายกับห่ อหมกของไทย มีส่วนผสมของ
ปลานํา้ พริก เครื่องแกง และกะทิ ส่ วนชาวมาเลเซียจะนิยมรับประทานอาหารที่มสี ่ วนประกอบของ
สมุนไพร เครื่องเทศ ผงกะหรี่ และพริกมีรสเผ็ดมาปรุ งอาหาร
4. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนแบ่งออกเป็ น 5 กลุ่ม แต่ละกลุ่มศึกษาแนวทางปฏิบตั ิข้ นั พื้นฐานของสุ ขบัญญัติแห่งชาติ ประการ
ที่ 1 ถึง 5 กลุ่มละ 1 หัวข้อ โดย
– กลุ่มที่ 1 เรื่ อง การดูแลรักษาร่ างกายและของใช้ให้สะอาด
376

– กลุ่มที่ 2 เรื่ อง การรักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันทุกวันอย่างถูกต้อง


– กลุ่มที่ 3 เรื่ อง การล้างมือให้สะอาดก่อนกินอาหารและหลังการขับถ่าย
– กลุ่มที่ 4 เรื่ อง การกินอาหารสุ ก สะอาด ปราศจากสารอันตราย และหลีกเลี่ยงอาหารรสจัดสี ฉูดฉาด
– กลุ่มที่ 5 เรื่ อง การงดบุหรี่ สุ รา สารเสพติด การพนัน และการสําส่อนทางเพศ
2. แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนผลัดเปลี่ยนกันออกมาสรุ ปแนวทางปฏิบตั ิข้ นั พื้นฐานของสุขบัญญัติแห่งชาติตาม
หัวข้อที่กลุ่มตนได้เองได้รับให้เพื่อนกลุ่มอื่น ๆ ฟัง โดยครู ให้ความรู้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรม แนวทางสุขบัญญัติแห่ งชาติซ่อนอยู่ตรงไหน ใครสงสัยลองช่ วยกันหา ดัง
รายละเอียดในใบกิจกรรมที่ครู แจกให้หรื อในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5
โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
2. สุ่ มนักเรี ยนประมาณ 2–3 คนออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยนโดยครู คอยเสนอแนะและ
ให้ความรู ้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
3. ครู เฉลยคําตอบที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนทราบและให้นกั เรี ยนร่ วมกันตรวจสอบแก้ไขคําตอบให้ถูกต้อง
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
2. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าเรื่อง การปฏิบัตติ นตามสุ ขบัญญัตแิ ห่ งชาติ ในประเด็นเกีย่ วกับแนว
ทางการปฏิบัตติ นตามสุ ขบัญญัตแิ ห่ งชาติ ประการที่ 6 ถึง 10 ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชา
พืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของ
โรงเรียน ฯลฯ มาล่ วงหน้ า และจดบันทึกข้ อคําถามที่สงสั ยหรือสนใจอย่ างน้ อย 2 ถึง 3 ประเด็นลงในสมุด
เพือ่ ใช้ เป็ นร่ องรอยและหลักฐานในการศึกษา แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป
8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมในประเด็นเกี่ยวกับแนวทางการปฏิบตั ิตนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ ประการที่
1 ถึง 5 จากแหล่งการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต หรื อห้องสมุดของโรงเรี ยน เพื่อเสริ มสร้างการเรี ยนรู ้และ
สามารถนําความรู้ดงั กล่าวไปปรับใช้ในชีวิตประจําวันได้
2. นักเรี ยนควรนําความรู้เกี่ยวกับการปฏิบตั ิตนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ ประการที่ 1 ถึง 5 ไปปฏิบตั ิในชีวิต
ประจําวันจนเป็ นสุขนิสยั ตลอดจนแนะนําให้สมาชิกในครอบครัวปฏิบตั ิตามเพื่อการมีสุขภาพที่ดี
377

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. แบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 4 ใส่ใจสุขภาพ
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายเรื่ อง การปฏิบตั ิตนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ ในประเด็นเกี่ยวกับ
ความหมายและความสําคัญของสุ ขบัญญัติแห่งชาติ และแนวทางการปฏิบตั ิตนตามสุ ขบัญญัติแห่งชาติ
ประการที่ 1 ถึง 5
3. บัตรคําที่เกี่ยวข้องกับแนวทางการปฏิบตั ิตนตามสุ ขบัญญัติแห่งชาติ ประการที่ 1 ถึง 5 ในภาษาอังกฤษ
4. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเทอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ
5. ใบกิจกรรม เรื่ อง แนวทางสุขบัญญัติแห่ งชาติซ่อนอยู่ตรงไหน ใครสงสัยลองช่ วยหา
6. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
378

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 62
การปฏิบัติตนตามสุ ขบัญญัติแห่ งชาติ (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 4: การสร้ างเสริมสุ ขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 ใส่ ใจสุ ขภาพ เรื่อง การปฏิบัติตนตามสุ ขบัญญัติแห่ งชาติ (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
ในการเรี ยนครั้งนี้นกั เรี ยนจะได้เรี ยนรู้แนวทางปฏิบตั ิข้ นั พื้นฐานของสุขบัญญัติแห่งชาติประการที่ 6 ถึง 10
โดย
– สุ ขบัญญัติแห่งชาติประการที่ 6 คือ สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัวให้อบอุ่น
– สุ ขบัญญัติแห่งชาติประการที่ 7 คือ ป้ องกันอุบตั ิเหตุดว้ ยการไม่ประมาท
– สุ ขบัญญัติแห่งชาติประการที่ 8 คือ ออกกําลังกายสมํ่าเสมอ และตรวจสุ ขภาพประจําปี
– สุ ขบัญญัติแห่งชาติประการที่ 9 คือ ทําจิตใจให้ร่าเริ งแจ่มใสอยูเ่ สมอ
– สุ ขบัญญัติแห่งชาติประการที่ 10 คือ มีสาํ นึกต่อส่วนรวม ร่ วมสร้างสรรค์สงั คม

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
• แสดงพฤติกรรมที่เห็นความสําคัญของการปฏิบตั ิตนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ (พ 4.1 ป. 5/1)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายแนวทางการปฏิบตั ิข้ นั พื้นฐานของสุ ขบัญญัติแห่งชาติ ประการที่ 6 ถึง 10 อย่างถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของการปฏิบตั ิตนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ (A)
3. แสดงทักษะในการปฏิบตั ิตนตามแนวทางปฏิบตั ิข้ นั พื้นฐานของสุขบัญญัติแห่งชาติ ประการที่ 6 ถึง 10 อย่าง
ถูกต้องได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับแนวทางการปฏิบตั ิ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ตนตามสุ ขบัญญัติแห่งชาติ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ประการที่ 6 ถึง 10 แผนที่ความคิด*
379

วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล


• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ปฏิบตั ิกิจกรรม เรี ยนรู้ สุขบัญญัติ ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
แห่ งชาติ อย่ าให้ ขาดแนวทาง พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ปฏิบัติ ป. 5*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
1. การปฏิบตั ิตนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ (ต่อ)
– แนวทางปฏิบตั ิข้ นั พื้นฐานของสุขบัญญัติแห่งชาติ ประการที่ 6 ถึง 10

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาต่างประเทศ  ฟั งและอ่ านคําศั พท์ ภาษาอังกฤษหรื อภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิ กอาเซี ยนที่
เกีย่ วกับแนวทางปฏิบัตขิ ้นั พืน้ ฐานของสุ ขบัญญัตแิ ห่ งชาติ ประการที่ 6 ถึง 10
คณิ ตศาสตร์  จัดจําแนกพฤติกรรมการปฏิบตั ิตนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ ประการที่ 1 ถึง 5
ของนักเรี ยน และนับจํานวนนักเรี ยนที่ปฏิบตั ิตนตามแนวทางสุขบัญญัติ
แห่งชาติ ประการที่ 6 ถึง 10
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนสรุ ปเกี่ยวกับความหมายและ
ความสําคัญของสุขบัญญัติแห่งชาติ และแนวทางปฏิบตั ิข้ นั พื้นฐานของสุขบัญญัติ
แห่งชาติ ประการที่ 6 ถึง 10
380

การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิด ออกแบบและตกแต่งตารางหรื อบันทึก


ประจําวันในการปฏิบตั ิตนตามแนวทางสุ ขบัญญัติแห่งชาติ ประการที่ 6 ถึง 10

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
2. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอประเด็นคําถามเกีย่ วกับแนวทางปฏิบัตขิ ้นั พืน้ ฐานของสุ ข
บัญญัตแิ ห่ งชาติ ประการที่ 6 ถึง 10 ที่สงสั ยหรือสนใจ ตามที่ได้ รับมอบหมายให้ ศึกษาค้นคว้ามาล่วงหน้ า
ในการเรียนครั้งที่ผ่านมา แล้วให้ เพือ่ น ๆ ช่ วยกันตอบคําถามดังกล่ าวร่ วมกัน โดยครูคอยให้ ความรู้ที่
ถูกต้ องเพิม่ เติม
3. นักเรี ยนดูภาพแสดงตัวอย่างการปฏิบตั ิตนตามสุขบัญญัติแห่งชาติที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกัน
เกี่ยวกับความรู้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู้ของนักเรี ยนและตอบคําถามร่ วมกัน
ตัวอย่างเช่น
– นักเรี ยนคิดว่าการปฏิบตั ิตนตามหลักสุ ขบัญญัติแห่งชาติจะส่งผลดีต่อเราอย่างไรบ้าง (ส่ งผลดีทาํ ให้ เรามี
สุขภาพแข็งแรง ไม่ เจ็บป่ วยบ่ อย เช่ น สุขบัญญัติข้อ 3 ล้ างมือให้ สะอาดก่ อนกินอาหารและหลังการ
ขับถ่ าย เมื่อปฏิบัติเป็ นประจําจะช่ วยลดการเจ็บป่ วยจากโรคติดต่ อต่ าง ๆ ได้ )
– นักเรี ยนคิดว่าถ้าเราปฏิบตั ิตนตามสุ ขบัญญัติแห่งชาติอยูเ่ สมอ สุ ขภาพของเราจะเป็ นอย่างไร (มีสุขภาพ
ดี แข็งแรง ร่ างกายเจริ ญเติบโตสมวัย ไม่ เจ็บป่ วยง่ าย)
– นักเรี ยนจะนําสุขบัญญัติแห่งชาติที่ได้เรี ยนรู้ไปใช้ในชีวิตประจําวันหรื อไม่ อย่างไร (จะนําสุขบัญญัติ
แห่ งชาติทั้ง 10 ประการไปปฏิบัติให้ เป็ นสุขนิสัย โดยจะดูแลรั กษาร่ างกายและของใช้ ให้ สะอาด รั กษา
ฟั นให้ แข็งแรงและแปรงฟั นทุกวัน ล้ างมือให้ สะอาดก่ อนกินอาหารและหลังการขับถ่ าย กินอาหารสุก
สะอาด ปราศจากสารอันตราย หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด สี ฉูดฉาด งดบุหรี่ สุรา สารเสพติด การพนัน และ
การสําส่ อนทางเพศ สร้ างความสัมพันธ์ ในครอบครั วให้ อบอุ่น ป้ องกันอุบัติเหตุด้วยการไม่ ประมาท
ออกกําลังกายสมํา่ เสมอ ตรวจสุขภาพประจําปี ทําจิตใจให้ ร่าเริ งแจ่ มใสอยู่เสมอ และมีสาํ นึกต่ อ
ส่ วนรวม ร่ วมสร้ างสรรค์ สังคม)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
4. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในประเด็นเกี่ยวกับแนวทางการปฏิบตั ิตนตามสุ ขบัญญัติ
แห่งชาติ ประการที่ 6 ถึง 10 เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง การปฏิบตั ิตนตามสุ ขบัญญัติแห่งชาติ (ต่อ) ในประเด็นเกี่ยวกับแนวทางการปฏิบตั ิตน
ตามสุขบัญญัติแห่งชาติ ประการที่ 6 ถึง 10 โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดู
ประกอบการอธิบาย
381

2. ครูแสดงบัตรคําที่เกีย่ วข้ องกับแนวทางการปฏิบัตติ นตามสุ ขบัญญัตแิ ห่ งชาติ ประการที่ 6 ถึง 10 ใน


ภาษาอังกฤษให้ นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่านสะกดคําและอ่านออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่ านตาม เพือ่ สร้ างเสริม
ทักษะทางด้ านภาษา ตัวอย่ างเช่ น คําว่ า
– ครอบครัวอบอุ่น ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Warm Family อ่านออกเสียงว่ า วอม แฟม-อิลิ
– ระมัดระวัง ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่า Precaution อ่านออกเสี ยงว่า พริคอ-ฌัน
– ออกกําลังกาย ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Exercise อ่านออกเสี ยงว่า เอค-เซอะไซส
– ตรวจสุ ขภาพประจําปี ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Annual Health Check up อ่านออกเสี ยงว่า
แอน-ยวล เฮ็ลธ เช็ค อัพ
– ประหยัด ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่า Economical อ่านออกเสี ยงว่ า อีโคะนอม-อิแค็ล
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศสมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
3. ครูให้ ความรู้ เสริมอาเซียนเกี่ยวกับการดําเนินการแก้ไขทางด้ านปัญหาสุ ขภาพให้ กบั ประชาชนในกลุ่ม
ประเทศสมาชิกอาเซียน โดยอธิบายว่ าประเทศสมาชิกอาเซียนได้ เร่ งดําเนินการแก้ไขทางด้ านปัญหา
สุ ขภาพให้ กบั ประชาชนโดยกระตุ้นให้ ประชาชนเห็นความสํ าคัญในการลด ละ เลิก การสู บบุหรี่ การดื่ม
สุ รา และกระตุ้นให้ ประชาชนหันมาออกกําลังกายมากขึน้
4. ครูให้ ความรู้ บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงเกีย่ วกับการนําหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ ใช้ โดยให้
นักเรียนค้ นคว้าเกีย่ วกับวิธีการอนุรักษ์ นํา้ โดยการใช้ นํา้ ให้ เกิดประโยชน์ สูงสุ ด เช่ น นํา้ ที่เหลือจากการซัก
ผ้านํา้ สุ ดท้ ายควรเอาไปเช็ดบ้ านหรือรดนํา้ ต้ นไม้
4. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนแบ่งออกเป็ น 5 กลุ่ม แต่ละกลุ่มศึกษาแนวทางปฏิบตั ิข้ นั พื้นฐานของสุขบัญญัติแห่งชาติ ประการ
ที่ 6 ถึง 10 กลุ่มละ 1 หัวข้อ โดย
– กลุ่มที่ 1 เรื่ อง การสร้างความสัมพันธ์ในครอบครัวให้อบอุ่น
– กลุ่มที่ 2 เรื่ อง การป้ องกันอุบตั ิเหตุดว้ ยการไม่ประมาท
– กลุ่มที่ 3 เรื่ อง การออกกําลังกายสมํ่าเสมอ และตรวจสุ ขภาพประจําปี
– กลุ่มที่ 4 เรื่ อง การทําจิตใจให้ร่าเริ งแจ่มใสอยูเ่ สมอ
– กลุ่มที่ 5 เรื่ อง การมีสาํ นึกต่อส่วนรวม ร่ วมสร้างสรรค์สงั คม
2. แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนผลัดเปลี่ยนกันออกมาสรุ ปแนวทางปฏิบตั ิข้ นั พื้นฐานของสุขบัญญัติแห่งชาติตาม
หัวข้อที่กลุ่มตนได้เองได้รับให้เพื่อนกลุ่มอื่น ๆ ฟัง โดยครู ให้ความรู้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรม เรี ยนรู้ สุขบัญญัติแห่ งชาติ อย่ าให้ ขาดแนวทางปฏิบัติ ดังรายละเอียดในใบ
กิจกรรมที่ครู แจกให้หรื อในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 โดยใช้เวลาตามที่
ครู กาํ หนด
382

2. สุ่ มนักเรี ยนประมาณ 2–3 คนออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยนโดยครู คอยเสนอแนะและ


ให้ความรู ้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
3. ครู เฉลยคําตอบที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนทราบและให้นกั เรี ยนร่ วมกันตรวจสอบแก้ไขคําตอบให้ถูกต้อง
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
2. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าเกีย่ วกับวิธีการอนุรักษ์ นํา้ โดยการนําหลักเศรษฐกิจพอเพียงมา
ประยุกต์ ใช้ ให้ เกิดประโยชน์ สูงสุ ด อย่างน้ อยคนละ 1 วิธี โดยครูยกตัวอย่าง เช่ น นํา้ ที่เหลือจากการซักผ้า
นํา้ สุ ดท้ ายควรเอาไปเช็ดบ้ านหรือรดนํา้ ต้ นไม้ เป็ นต้ น จดบันทึกลงในสมุด แล้วมานําเสนอในการเรียน
ครั้งต่ อไป
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าเรื่อง ข้ อมูลข่ าวสารสุ ขภาพ ในหัวข้ อที่ 2.1 วิธีการค้ นหาและตัวอย่ าง
แหล่งข้ อมูลข่ าวสารสุ ขภาพ มาล่วงหน้ า และให้ ยกตัวอย่ างแหล่งข้ อมูลข่ าวสารสุ ขภาพที่ค้นหาทาง
อินเทอร์ เน็ตทีส่ นใจมาคนละ 1 แห่ ง พร้ อมทั้งบอกรายละเอียดของแหล่งข้ อมูลดังกล่าวมาพอสั งเขป
รวมถึงเหตุผลที่สนใจ จดลงในสมุด เพือ่ ใช้ เป็ นร่ องรอยและหลักฐานในการศึกษา แล้วมานําเสนอในการ
เรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมในประเด็นเกี่ยวกับแนวทางการปฏิบตั ิตนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ ประการที่
6 ถึง 10 จากแหล่งการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต หรื อห้องสมุดของโรงเรี ยน เพื่อเสริ มสร้างการเรี ยนรู ้และ
สามารถนําความรู้ดงั กล่าวไปปรับใช้ในชีวิตประจําวันได้
2. นักเรี ยนควรนําความรู้เกี่ยวกับการปฏิบตั ิตนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ ประการที่ 6 ถึง 10 ไปปฏิบตั ิในชีวิต
ประจําวันจนเป็ นสุขนิสยั ตลอดจนแนะนําให้สมาชิกในครอบครัวปฏิบตั ิตามเพื่อการมีสุขภาพที่ดี

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพแสดงตัวอย่างการปฏิบตั ิตนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิบายเรื่ อง การปฏิบตั ิตนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ ในประเด็นเกี่ยวกับแนวทาง
การปฏิบตั ิตนตามสุ ขบัญญัติแห่งชาติ ประการที่ 6 ถึง 10
3. บัตรคําที่เกี่ยวข้องกับแนวทางการปฏิบตั ิตนตามสุ ขบัญญัติแห่งชาติ ประการที่ 6 ถึง 10 ในภาษาอังกฤษ
4. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเทอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ
5. ใบกิจกรรม เรื่ อง เรี ยนรู้ สุขบัญญัติแห่ งชาติ อย่ าให้ ขาดแนวทางปฏิบัติ
6. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
383

8. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด


9. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
384

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 63
ข้ อมูลข่ าวสารสุ ขภาพ
สาระการเรียนรู้ ที่ 4: การสร้ างเสริมสุ ขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 ใส่ ใจสุ ขภาพ เรื่อง วิธีค้นหาและตัวอย่ างแหล่ งข้ อมูลข่ าวสารสุ ขภาพ

1. สาระสํ าคัญ
ข่าวสารสุ ขภาพ หมายถึง ข่าวหรื อข้อความเกี่ยวกับสุ ขภาพที่ผสู ้ ่งต้องการประชาสัมพันธ์หรื อถ่ายทอด
ความรู ้ให้กบั บุคคลที่เกี่ยวข้องหรื อบุคคลอื่น ๆ ที่สนใจ ซึ่งมีหลายหน่วยงานที่เป็ นแหล่งข้อมูลข่าวสารสุขภาพ ผูท้ ่ี
เกี่ยวข้องหรื อผูท้ ี่สนใจสามารถเข้าไปค้นหาข้อมูลได้หลากหลายแนวทาง เช่น เว็บไซต์ โทรศัพท์ หนังสื อ วารสาร
โทรทัศน์ วิทยุ หรื อที่หน่วยงานโดยตรง
แหล่งข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับด้านสุ ขภาพที่สาํ คัญที่ควรได้เรี ยนรู ้ ได้แก่ สํานักงานคณะกรรมการอาหาร
และยา สํานักงานคณะกรรมการคุ ม้ ครองผูบ้ ริ โภค สายด่วนผูบ้ ริ โภค 1556 สายด่วน 1675 (กิ นดี สุ ขภาพดี กรม
อนามัย) กรมควบคุมโรค กรมอนามัย สํานักงานหลักประกันสุ ขภาพแห่ งชาติ (สปสช.) และสํานักงานกองทุ น
สนับสนุ นการสร้างเสริ มสุ ขภาพ (สสส.) หน่ วยงานเหล่านี้ ถือว่าเป็ นแหล่งข้อมูลข่าวสารที่ เกี่ ยวกับด้านสุ ขภาพ
โดยตรง

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
• ค้นหาข้อมูลข่าวสารเพื่อใช้สร้างเสริ มสุ ขภาพ (พ 4.1 ป. 5/2)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายวิธีคน้ หาและตัวอย่างแหล่งข้อมูลข่าวสารสุขภาพอย่างถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของการได้รับข้อมูลข่าวสารสุ ขภาพ (A)
3. แสดงทักษะการปฏิบตั ิเพื่อเลือกวิธีคน้ หาข้อมูลข่าวสารสุขภาพอย่างถูกต้องได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับความหมายและ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ความสําคัญของข้อมูลข่าวสาร ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
สุ ขภาพ และวิธีคน้ หาและตัวอย่าง แผนที่ความคิด*
แหล่งข้อมูลข่าวสารสุ ขภาพ
385

วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล


• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ขึ้นอยูก่ บั ดุลยพินิจของครู
ปฏิบตั ิกิจกรรม หาข้ อมูลข่ าวสาร ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
ในการบริ โภค เพื่อไม่ ให้ เศร้ าโศก พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
หลังตัดสิ นใจ ป. 5*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
2. ข้อมูลข่าวสารสุ ขภาพ
2.1 วิธีคน้ หาและตัวอย่างแหล่งข้อมูลข่าวสารสุ ขภาพ

6. แนวทางบูรณาการ
สังคมศึกษาฯ  พูดคุยถึงข้อมูลข่าวสารเพื่อสุขภาพและสถานบริ การสุ ขภาพของชุมชน
ภาษาต่างประเทศ  ฟั งและอ่ านคําศั พท์ ภาษาอังกฤษหรื อภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิ กอาเซี ยนที่
เกีย่ วกับข้ อมูลข่ าวสารสุ ขภาพ
คณิ ตศาสตร์  รวบรวม นับจํานวน และจัดจําแนกสถานบริ การสุ ขภาพในชุมชนของตนเอง

ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนสรุ ปเกี่ยวกับความหมายและ


ความสําคัญของข้อมูลข่าวสารสุขภาพ และวิธีคน้ หาและตัวอย่างแหล่งข้อมูล
ข่าวสารสุ ขภาพ
386

การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิด หรื อแผ่นพับความรู้ หรื อป้ ายนิเทศแสดง


ความรู ้เกี่ยวกับวิธีคน้ หาและตัวอย่างแหล่งข้อมูลข่าวสารสุ ขภาพ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
2. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอวิธีการอนุรักษ์ นํา้ โดยการนําหลักเศรษฐกิจพอเพียงมา
ประยุกต์ ใช้ ให้ เกิดประโยชน์ สูงสุ ด ตามที่ได้ รับมอบหมายให้ ศึกษาค้ นคว้ามาล่ วงหน้ าในการเรียนครั้งที่
ผ่านมา โดยครูให้ ความรู้และคําแนะนําที่ถูกต้ องเพิม่ เติม
3. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอตัวอย่ างแหล่งข้ อมูลข่ าวสารสุ ขภาพที่ค้นหาทาง
อินเทอร์ เน็ตทีต่ นเองสนใจคนละ 1 แห่ ง พร้ อมบอกรายละเอียดของแหล่งข้ อมูลดังกล่าวและเหตุผลที่
สนใจ ตามที่ได้ รับมอบหมายให้ ศึกษาค้ นคว้ ามาล่วงหน้ าในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูให้ ความรู้และ
คําแนะนําที่ถูกต้ องเพิม่ เติม
4. นักเรี ยนดูภาพแสดงตัวอย่างแหล่งข้อมูลสุขภาพทางอินเทอร์เน็ตที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกัน
เกี่ยวกับความรู้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู้ของนักเรี ยนและตอบคําถามร่ วมกัน
ตัวอย่างเช่น
– นักเรี ยนเคยมีประสบการณ์ในการค้นหาแหล่งข้อมูลข่าวสารสุ ขภาพหรื อไม่ อย่างไร (เคยค้ นหาชื่ อ
โรงพยาบาลเฉพาะทางที่เชี่ ยวชาญด้ านการรั กษาโรคหั วใจจากสื่ ออินเทอร์ เน็ต เพื่อนํามาใช้ เป็ นข้ อมูล
ประกอบการตัดสิ นเลือกสถานพยาบาลเพื่อช่ วยรั กษาอาการเจ็บป่ วยของคุณยาย)
– แหล่งข้อมูลข่าวสารสุ ขภาพที่นกั เรี ยนคิดว่าเชื่อถือได้มีที่ใดบ้าง และมีวิธีการค้นหาหรื อติดต่ออย่างไร
(สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา โทรศัพท์ หมายเลข 0–2590–7000 หรื อ www.fda.moph.go.th
สํานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริ โภค โทรศัพท์ หมายเลข 0–2629–7037–9 หรื อโทรสายด่ วน
ร้ องทุกข์ 1166 หรื อ www.oic.go.th)
– ถ้านักเรี ยนไม่แน่ใจว่าขนมที่นกั เรี ยนรับประทานมีความปลอดภัยหรื อไม่นกั เรี ยนควรติดต่อสอบถามที่
หน่วยงานไหน (สามารถสอบถามข้ อมูลเกี่ยวกับการเลือกซื ้อ เลือกใช้ ผลิตภัณฑ์ สุขภาพชนิดต่ าง ๆ ได้
ที่สาํ นักงานคณะกรรมการอาหารและยา)
– นักเรี ยนจะเลือกค้นหาข้อมูลข่าวสารสุขภาพด้วยวิธีใด และเพราะเหตุใด (ตอบได้ โดยอิสระ เช่ น เลือก
ค้ นหาจากเว็บไซต์ ของหน่ วยงานต่ าง ๆ ผ่ านทางอินเทอร์ เน็ต เพราะสะดวกรวดเร็ วและข้ อมูลมีความ
ทันสมัย)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
387

5. ครู ให้นกั เรี ยนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมาเล่าถึงประสบการณ์ในการค้นหาข้อมูลข่าวสารสุ ขภาพจาก


ประสบการณ์ของตนเอง โดยให้เพื่อน ๆ ในชั้นเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็น แล้วครู ให้คาํ แนะนํา
เพิ่มเติม
6. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 2.1 วิธีคน้ หาและตัวอย่างแหล่งข้อมูลข่าวสาร
สุ ขภาพ เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้เพิ่มเติมในประเด็นเกี่ยวกับความหมายและความสําคัญของข้อมูลข่าวสารสุขภาพ
2. ครู ให้นกั เรี ยนร่ วมกันยกตัวอย่างข่าวสารทางสุ ขภาพที่นกั เรี ยนเคยพบเห็นในชีวติ ประจําวัน
3. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง ข้อมูลข่าวสารสุ ขภาพ ในหัวข้อที่ 2.1 วิธีคน้ หาและตัวอย่างแหล่งข้อมูลข่าวสารสุขภาพ
โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
4. ครูแสดงบัตรคําที่เกีย่ วข้ องกับวิธีค้นหาและตัวอย่างแหล่ งข้ อมูลข่ าวสารสุ ขภาพในภาษาอังกฤษให้ นักเรียน
ดู พร้ อมทั้งอ่านสะกดคําและอ่านออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่ านตาม เพือ่ สร้ างเสริมทักษะทางด้ านภาษา
ตัวอย่างเช่ น คําว่ า
– ข่ าวสารสุ ขภาพ ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่า Health Information อ่านออกเสี ยงว่ า เฮ็ลธ อินเฟาะเม-ฌัน
– สายด่ วน ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Hot Line อ่านออกเสี ยงว่า ฮ็อท ไลน
– ห้ องสมุด ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Library อ่านออกเสี ยงว่า ไล-บเรริ
– โรงพยาบาล ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Hospital อ่านออกเสี ยงว่า ฮอซ-พิแท็ล
– ผู้บริโภค ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Consumer อ่านออกเสียงว่ า ค็อนซยูม-เออะ
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศสมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
5. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนแบ่งออกเป็ น 8 กลุ่ม แต่ละกลุ่มร่ วมกันศึกษาและสรุ ปรายละเอียดของแหล่งข้อมูล ตลอดจน
วิธีการค้นหาตัวอย่างแหล่งข้อมูลข่าวสารสุ ขภาพที่เชื่อถือได้ 8 แห่ง ตามที่ระบุในหนังสื อเรี ยน รายวิชา
พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 กลุ่มละ 1 แห่ง โดย
– กลุ่มที่ 1 สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
– กลุ่มที่ 2 สํานักงานคณะกรรมการคุม้ ครองผูบ้ ริ โภค
– กลุ่มที่ 3 สายด่วนผูบ้ ริ โภค 1556
– กลุ่มที่ 4 สายด่วน 1675 กินดี สุ ขภาพดี กรมอนามัย
– กลุ่มที่ 5 กรมควบคุมโรค
– กลุ่มที่ 6 กรมอนามัย
– กลุ่มที่ 7 สํานักงานหลักประกันสุ ขภาพแห่งชาติ (สปสช.)
– กลุ่มที่ 8 สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริ มสุ ขภาพ (สสส.)
388

2. แต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมานําเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน โดยครู ให้ความรู้ที่ถูกต้อง


เพิ่มเติม
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. ให้นกั เรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรม หาข้ อมูลข่ าวสารในการบริ โภค เพื่อไม่ เศร้ าโศกหลังตัดสิ นใจ ดังรายละเอียด
ในใบกิจกรรมที่ครู แจกให้หรื อในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 โดยใช้เวลา
ตามที่ครู กาํ หนด
2. สุ่มนักเรี ยนประมาณ 2–3 คนออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยนโดยครู ตรวจสอบความ
ถูกต้องและให้คาํ แนะนําเพิ่มเติม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
2. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าเรื่อง ข้ อมูลข่ าวสารสุ ขภาพ ในหัวข้ อที่ 2.2 การใช้ ข้อมูลข่ าวสาร
สุ ขภาพในการสร้ างเสริมสุ ขภาพ ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า แล้วนํามา
สนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับแหล่งข้อมูลข่าวสารสุ ขภาพในชุมชนของตนเองเพิ่มเติมโดยขอความรู้จาก
สถานบริ การสุ ขภาพของชุมชน ผูป้ กครอง ครู ประจําชั้น หรื อแหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต หรื อ
ห้องสมุดของโรงเรี ยน เพื่อเสริ มสร้างการเรี ยนรู้และสามารถนําความรู ้ดงั กล่าวไปปรับใช้ในชีวิตประจําวันได้
2. นักเรียนควรศึกษาค้ นคว้ าเพิม่ เติมเกีย่ วกับระบบหลักประกันสุ ขภาพของประเทศต่าง ๆ ในกลุ่มประเทศ
สมาชิกอาเซียน เพือ่ เสริมสร้ างการเรียนรู้ในเรื่องดังกล่าวให้ กว้ างขวางมากยิ่งขึน้

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพแสดงตัวอย่างแหล่งข้อมูลสุขภาพทางอินเทอร์เน็ต
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิบายเรื่ อง ข้อมูลข่าวสารสุ ขภาพ ในหัวข้อที่ 2.1 วิธีคน้ หาและตัวอย่าง
แหล่งข้อมูลข่าวสารสุ ขภาพ
3. บัตรคําที่เกี่ยวข้องกับวิธีคน้ หาและตัวอย่างแหล่งข้อมูลข่าวสารสุ ขภาพในภาษาอังกฤษ
4. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเทอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ
5. ใบกิจกรรม เรื่ อง หาข้ อมูลข่ าวสารในการบริ โภค เพื่อไม่ เศร้ าโศกหลังตัดสิ นใจ
6. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
389

7. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด


8. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
390

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 64
ข้ อมูลข่ าวสารสุ ขภาพ (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 4: การสร้ างเสริมสุ ขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 ใส่ ใจสุ ขภาพ เรื่อง การใช้ ข้อมูลข่ าวสารในการสร้ างเสริมสุ ขภาพ

1. สาระสํ าคัญ
การเลือกใช้ขอ้ มูลข่าวสารเป็ นสิ่ งสําคัญที่เราควรจะวิเคราะห์ขอ้ มูลข่าวสารก่อนที่จะนํามาปฏิบตั ิตามเพื่อ
ความปลอดภัยต่อสุ ขภาพ โดยควรพิจารณาและตรวจสอบจากแหล่งที่มาของข้อมูล หน่วยงานหรื อบุคคลอ้างอิงที่
เชื่อถือได้ วันที่ลงข้อมูลมีความเป็ นปัจจุบนั และมีคนเคยใช้และปฏิบตั ิตามมากน้อยเพียงใด

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
• ค้นหาข้อมูลข่าวสารเพื่อใช้สร้างเสริ มสุ ขภาพ (พ 4.1 ป. 5/2)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายวิธีการใช้ขอ้ มูลข่าวสารในการสร้างเสริ มสุขภาพอย่างถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของการใช้ขอ้ มูลข่าวสารในการสร้างเสริ มสุ ขภาพ (A)
3. แสดงทักษะการปฏิบตั ิตนในการเลือกใช้ขอ้ มูลข่าวสารสุ ขภาพอย่างเหมาะสมได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับการใช้ขอ้ มูล • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ข่าวสารในการสร้างเสริ มสุ ขภาพ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
แผนที่ความคิด*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
391

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
2. ข้อมูลข่าวสารสุ ขภาพ (ต่อ)
2.2 การใช้ขอ้ มูลข่าวสารในการสร้างเสริ มสุขภาพ

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาต่างประเทศ  ฟั งและอ่ านคําศั พท์ ภาษาอังกฤษหรื อภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิ กอาเซี ยนที่
เกีย่ วกับข้ อมูลข่ าวสารสุ ขภาพ
คณิ ตศาสตร์  สํารวจสถิ ติและจัดลําดับแหล่งข้อมูลข่าวสารสุ ขภาพที่ มีจาํ นวนผูใ้ ช้บ ริ การ
มากที่สุดเรี ยงตามลําดับ
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนสรุ ปเกี่ยวกับแนวทางการใช้
ข้อมูลข่าวสารในการสร้างเสริ มสุ ขภาพ
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิด หรื อแผ่นพับความรู้ หรื อป้ ายนิเทศแสดง
ความรู ้เกี่ยวกับแนวทางการใช้ขอ้ มูลข่าวสารในการสร้างเสริ มสุขภาพ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
2. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในเรื่อง ข้ อมูลข่ าวสาร
สุ ขภาพ ในหัวข้ อที่ 2.2 การใช้ ข้อมูลข่ าวสารสุ ขภาพในการสร้ างเสริมสุ ขภาพ มาล่ วงหน้ า ตามที่ได้ รับ
มอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่อการปฏิบัตกิ จิ กรรมดังกล่ าวของนักเรียน
3. ครู สอบถามนักเรี ยนเกี่ยวกับประสบการณ์ในการใช้ขอ้ มูลข่าวสารในการสร้างเสริ มสุ ขภาพ ให้นกั เรี ยน
ร่ วมกันตอบ ตัวอย่างเช่น
– นักเรี ยนคิดว่าการใช้ขอ้ มูลข่าวสารสุ ขภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยควรตรวจสอบจากสิ่ งใดจึงจะ
เชื่อถือได้ (ตรวจสอบจากวันที่ลงข้ อมูล สถานที่ ให้ ข้อมูล หากเป็ นข้ อมูลจากหน่ วยงานราชการจัดว่ า
น่ าเชื่ อถือ)
392

– หากนักเรี ยนมีเรื่ องราวที่จะร้องทุกข์ของสํานักงานคณะกรรมการคุม้ ครองผูบ้ ริ โภคจะมีข้ นั ตอนปฏิบตั ิ


อย่างไร (แจ้ งเรื่ องราวร้ องทุกข์ โดยโทรสายด่ วนร้ องทุกข์ 1166 หรื อโทรศัพท์ ที่หมายเลข 0–2629–
7037–9)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
4. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 2.2 การใช้ขอ้ มูลข่าวสารในการสร้างเสริ มสุ ขภาพ
เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง ข้อมูลข่าวสารสุ ขภาพ ในหัวข้อที่ 2.2 การใช้ขอ้ มูลข่าวสารในการสร้างเสริ มสุขภาพ
โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
2. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิม่ เติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5–6 คน แต่ละกลุ่มร่ วมกันศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ
ที่กาํ หนดให้ โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด โดย
– กลุ่มที่ 1 เรื่ อง ยาลดนํ้าหนัก
– กลุ่มที่ 2 เรื่ อง นํ้าประสานทอง
– กลุ่มที่ 3 เรื่ อง โรคอ้วน
– กลุ่มที่ 4 เรื่ อง โรคเท้าช้าง
– กลุ่มที่ 5 เรื่ อง ครี มหน้าขาว
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• แต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมานําเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน โดยครู ให้ความรู้ที่ถูกต้อง
เพิ่มเติม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
2. มอบหมายให้ นักเรียนปฏิบตั กิ จิ กรรม ช่ วยกันหาข่ าวสารควบคุมโรค ที่คนทั่วโลกร่ วมกันป้ องกัน ดัง
รายละเอียดในใบกิจกรรมที่ครูแจกให้ หรือในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5
แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าเรื่อง สื่อโฆษณากับอาหารและผลิตภัณฑ์ สุขภาพ ในหัวข้ อที่ 3.1 สื่ อ
โฆษณากับการเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์ สุขภาพ ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ข
ศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มา
ล่วงหน้ า แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป
393

8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. นักเรี ยนควรนําความรู้เกี่ยวกับวิธีการค้นหาแหล่งข้อมูลข่าวสารสุขภาพและแนวทางการเลือกใช้ขอ้ มูล
ข่าวสารสุ ขภาพไปปรับใช้ในชีวิตประจําวันด้วยตนเองและถ่ายทอดให้แก่ผอู ้ ื่นเพื่อเป็ นประโยชน์ในการดูแล
และสร้างเสริ มสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชน
2. นักเรี ยนควรหมัน่ ติดตามข้อมูลข่าวสารสุขภาพจากแหล่งที่ให้ความรู้ทางด้านสุขภาพทั้งในประเทศไทยและ
ต่างประเทศอย่างสมํ่าเสมอ เพื่อเสริ มสร้างการเรี ยนรู้ให้กว้างขวางและทันสมัยอยูเ่ สมอและสามารถนําความรู ้
ได้ที่ได้รับไปปรับใช้ในชีวติ ประจําวันได้

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิบายเรื่ อง ข้อมูลข่าวสารสุ ขภาพ ในหัวข้อที่ 2.2 การใช้ขอ้ มูลข่าวสารในการ
สร้างเสริ มสุขภาพ
2. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเทอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ
3. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
4. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
5. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
6. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
394

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 65
สื่ อโฆษณากับอาหารและผลิตภัณฑ์ สุขภาพ
สาระการเรียนรู้ ที่ 4: การสร้ างเสริมสุ ขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 ใส่ ใจสุ ขภาพ
เรื่อง สื่ อโฆษณากับการเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์ สุขภาพ

1. สาระสํ าคัญ
โฆษณาในปัจจุบนั มีอิทธิ พลต่อการเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพมากขึ้น ซึ่งมีท้ งั โฆษณาตาม
ความเป็ นจริ งและโฆษณาที่เกินจริ ง ดังนั้นเพื่อสุขภาพที่ดีเราจึงต้องพิจารณาให้รอบคอบก่อนตัดสิ นใจเลือกซื้อ
อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ โดยควรเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่มีฉลากและเครื่ องหมายรับรองคุณภาพ ภาชนะที่บรรจุ
ต้องสะอาดเรี ยบร้อย และได้รับใบอนุญาตให้ประกอบการจากกระทรวงสาธารณสุข

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
• วิเคราะห์สื่อโฆษณาในการตัดสิ นใจเลือกซื้ ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างมีเหตุผล (พ 4.1 ป. 5/3)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายความหมายและความสําคัญของสื่ อโฆษณา และอิทธิพลของสื่ อโฆษณาต่อการเลือกซื้ออาหารและ
ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้องได้ (K)
2. อธิ บายหลักการเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้องได้ (K)
3. ตระหนักถึงความสําคัญของอิทธิพลของสื่ อโฆษณาต่อการเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ (A)
4. แสดงทักษะสื่ อสารเกี่ยวกับความหมาย ความสําคัญ และอิทธิ พลของสื่ อโฆษณาต่อการเลือกซื้ออาหารและ
ผลิตภัณฑ์สุขภาพให้ผอู ้ ื่นเข้าใจได้ (P)
395

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
– ความหมายและความสําคัญของ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
สื่ อโฆษณา แผนที่ความคิด*
– อิทธิ พลของสื่ อโฆษณาต่อการ
เลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์
สุ ขภาพ
– หลักการเลือกซื้ออาหารและ
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ขึ้นอยูก่ บั ดุลยพินิจของครู
ปฏิบตั ิกิจกรรม ช่ วงวัยรุ่ นที่ผันผ่ าน ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
หาผู้เล่ าขานประสบการณ์ ที่นานมา พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ป. 5*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. สื่ อโฆษณากับอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
3.1 สื่ อโฆษณากับการเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
396

6. แนวทางบูรณาการ
สังคมศึกษาฯ  ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับผลกระทบของการเลือกซื้ ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ตามสื่ อโฆษณาที่เกิดขึ้นกับผูค้ นในสังคมปั จจุบนั
ภาษาต่างประเทศ  ฟั งและอ่ านคําศั พท์ ภาษาอังกฤษหรื อภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิ กอาเซี ยนที่
เกีย่ วกับสื่ อโฆษณากับอาหารและผลิตภัณฑ์ สุขภาพ
คณิ ตศาสตร์  จัดแบ่งประเภทของผลิตภัณฑ์สุขภาพในชีวิตประจําวัน
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนสรุ ปเกี่ยวกับความหมายและ
ความสําคัญของสื่ อโฆษณา อิทธิพลของสื่ อโฆษณาต่อการเลือกซื้ออาหาร
และผลิตภัณฑ์สุขภาพ และหลักการเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิด แผนผังสรุ ป หรื อแผ่นพับความรู ้เกี่ยวกับ
หลักการเลือกซื้ ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
2. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอผลการปฏิบัตกิ จิ กรรม ช่ วยกันหาข่ าวสารควบคุมโรค ที่คน
ทั่วโลกร่ วมกันป้ องกัน ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการ
ปฏิบัตกิ จิ กรรมของนักเรียนและให้ คาํ แนะนําเพิม่ เติม
3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในเรื่อง สื่ อโฆษณากับ
อาหารและผลิตภัณฑ์ สุขภาพ ในหัวข้ อที่ 3.1 สื่ อโฆษณากับการเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์ สุขภาพ มา
ล่วงหน้ า ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัติ
กิจกรรมดังกล่าวของนักเรียน
4. ครู สอบถามนักเรี ยนเกี่ยวกับสื่ อโฆษณากับการเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ จากประสบการณ์
การเรี ยนรู้ของนักเรี ยน ให้นกั เรี ยนร่ วมกันตอบ ตัวอย่างเช่น
– นักเรี ยนเคยพบเจอขนมหรื อสิ นค้าบริ โภคอื่น ๆ ที่ไม่มีฉลากหรื อไม่ (ตอบตามประสบการณ์ ของ
นักเรี ยน)
– นักเรี ยนเคยซื้อสิ นค้าที่มีของแถมหรื อไม่อะไรบ้าง (ตอบตามประสบการณ์ ของนักเรี ยน)
– นักเรี ยนเคยเลือกซื้ออาหารหรื อผลิตภัณฑ์สุขภาพเพราะเกิดความสนใจหลังจากได้ดูโฆษณาสิ นค้า
หรื อไม่ อย่างไร (ตอบได้ โดยอิสระ เช่ น เคยซื อ้ โยเกิร์ตรสผลไม้ ในร้ านสะดวกซื อ้ เพราะได้ ดูโฆษณา
สิ นค้ าดังกล่ าวผ่ านโทรทัศน์ แล้ วเกิดความสนใจ รู้ สึ กว่ าสิ นค้ าชนิดนีม้ ีหน้ าตาน่ ารั บประทาน)
397

– “การซื อ้ สิ นค้ าที่ ลดราคาจะช่ วยประหยัดค่ าใช้ จ่ายในครอบครั วได้ ”นักเรี ยนเห็นด้วยกับคํากล่าวนี้
หรื อไม่ อย่างไร (ไม่ เห็นด้ วย เพราะสิ นค้ าที่ ลดราคาบางชนิดก็อาจเป็ นสิ นค้ าที่คุณภาพตํา่ เสื่ อม
ประสิ ทธิ ภาพ หากเราซื อ้ มาอุปโภคบริ โภคย่ อมก่ อให้ เกิดอันตรายต่ อสุขภาพได้ ดังนั้นจึงควรพิจารณา
ที่คุณภาพของสิ นค้ ามากกว่ าการลดราคาดังกล่ าว
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 3.1 สื่ อโฆษณากับการเลือกซื้ออาหารและ
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง สื่ อโฆษณากับอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในหัวข้อที่ 3.1 สื่ อโฆษณากับการเลือกซื้อ
อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิบาย
2. ครูแสดงบัตรคําที่เกีย่ วข้ องกับสื่ อโฆษณากับอาหารและผลิตภัณฑ์ สุขภาพในภาษาอังกฤษให้ นักเรียนดู
พร้ อมทั้งอ่านสะกดคําและอ่านออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่ านตาม เพือ่ สร้ างเสริมทักษะทางด้ านภาษา
ตัวอย่างเช่ น คําว่ า
– โฆษณา ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Advertisement อ่านออกเสี ยงว่ า แอ็ดเฝอ-ไทสเม็นท
– ผลิตภัณฑ์ สุขภาพ ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่า Health Product อ่านออกเสี ยงว่า เฮ็ลธ พรอด-อัคท
– เครื่องสํ าอาง ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Cosmetics อ่านออกเสี ยงว่า ค็อสเมท-อิค
– ยา ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Drug อ่านออกเสี ยงว่า ดรัก
– ซื้อ ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Buy อ่านออกเสี ยงว่า ไบ
– ขาย ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Sell อ่านออกเสี ยงว่า เซ็ล
– ลดราคา ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่า Discount อ่านออกเสี ยงว่ า ดีซ-เคานท
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศสมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
3. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม 3 กลุ่ม แต่ละกลุ่มร่ วมกันยกตัวอย่างสิ นค้าที่เคยพบเห็นตามหัวข้อที่กาํ หนดให้ กลุ่มละ 1
หัวข้อ แล้วร่ วมกันวิเคราะห์ถึงราคา หรื อของแถม หรื อของชิงโชค และคุณภาพของสิ นค้า ว่ามีความ
เหมาะสมกันหรื อไม่ อย่างไร โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด โดยมีหวั ข้อ ได้แก่
– กลุ่มที่ 1 สิ นค้าที่มีของแถม
– กลุ่มที่ 2 สิ นค้าที่มีการชิงโชค
– กลุ่มที่ 3 สิ นค้าที่มีการลดราคา
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• แต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมานําเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน โดยครู ให้ความรู้ที่ถูกต้อง
เพิ่มเติม
398

ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้


1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
2. มอบหมายให้ นักเรียนปฏิบตั กิ จิ กรรม อาหารและผลิตภัณฑ์ สุขภาพซื้ออย่างไร พ่อแม่ ไขช่ วยเราได้ ดัง
รายละเอียดในใบกิจกรรมที่ครูแจกให้ หรือในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5
แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าเรื่อง สื่อโฆษณากับอาหารและผลิตภัณฑ์ สุขภาพ ในหัวข้ อที่ 3.2 การ
ตรวจสอบข้ อเท็จจริงของสื่ อโฆษณา ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพล
ศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า แล้ว
นํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับหลักการเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตลอดจนสิ ทธิ
ผูบ้ ริ โภคในด้านต่าง ๆ โดยขอความรู ้จากผูป้ กครองและค้นหาจากแหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต
ห้องสมุดของโรงเรี ยน ฯลฯ เพื่อเสริ มสร้างการเรี ยนรู้และทําให้เกิดความเข้าใจในเรื่ องดังกล่าวมากยิง่ ขึ้น
และสามารถนําไปปรับใช้ในชีวิตประจําวันได้

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิบายเรื่ อง เรื่ อง สื่ อโฆษณากับอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในหัวข้อที่ 3.1
สื่ อโฆษณากับการเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
2. บัตรคําที่เกี่ยวข้องกับสื่ อโฆษณากับอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพในภาษาอังกฤษ
3. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเทอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ
4. ใบกิจกรรม เรื่ อง ช่ วยกันหาข่ าวสารควบคุมโรค ที่คนทั่วโลกร่ วมกันป้ องกัน
5. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
6. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
399

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
400

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 66
สื่ อโฆษณากับอาหารและผลิตภัณฑ์ สุขภาพ (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 4: การสร้ างเสริมสุ ขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 ใส่ ใจสุ ขภาพ เรื่อง การตรวจสอบข้ อเท็จจริงของสื่ อโฆษณา

1. สาระสํ าคัญ
การตรวจสอบข้อเท็จจริ งของสื่ อโฆษณาควรพิจารณาโดยซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีฉลาก มี
เครื่ องหมายรับรองคุณภาพจากหน่วยงานราชการ นอกจากนี้ควรสอบถามข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับคุณภาพของผลิตภัณฑ์
จากผูข้ าย หรื อผูท้ ี่เคยซื้อหรื อใช้มาแล้ว และอย่าหลงเชื่อคําโฆษณา ต้องศึกษาเงื่อนไขรายละเอียดอื่น ๆ ของตัว
สิ นค้าหรื อบริ การที่อาจไม่ได้ระบุไว้ในการโฆษณาด้วย

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
• วิเคราะห์สื่อโฆษณาในการตัดสิ นใจเลือกซื้ ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างมีเหตุผล (พ 4.1 ป. 5/3)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายวิธีการตรวจสอบข้อเท็จจริ งของสื่ อโฆษณาอย่างถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของการข้อเท็จจริ งของสื่ อโฆษณาก่อนเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ (A)
3. แสดงทักษะในการตรวจสอบข้อเท็จจริ งของสื่ อโฆษณาก่อนเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม
ได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับวิธีการตรวจสอบ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ข้อเท็จจริ งของสื่ อโฆษณา ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
แผนที่ความคิด*
• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ขึ้นอยูก่ บั ดุลยพินิจของครู
ปฏิบตั ิกิจกรรม อาหารและ ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
ผลิตภัณฑ์ สุขภาพซื อ้ อย่ างไร พ่ อ พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
แม่ ไขช่ วยเราได้ ป. 5*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
401

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
3. สื่ อโฆษณากับอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ต่อ)
3.2 การตรวจสอบข้อเท็จจริ งของสื่ อโฆษณา

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนสรุ ปเกี่ยวกับวิธีการ
ตรวจสอบข้อเท็จจริ งของสื่ อโฆษณา
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิด แผนผังสรุ ป หรื อแผ่นพับความรู ้เกี่ยวกับ
วิธีการตรวจสอบข้อเท็จจริ งของสื่ อโฆษณา

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
2. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอผลการปฏิบัตกิ จิ กรรม อาหารและผลิตภัณฑ์ สุขภาพซื้อ
อย่ างไร พ่อแม่ ไขช่ วยเราได้ ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อ
การปฏิบัตกิ จิ กรรมของนักเรียนและให้ คาํ แนะนําเพิม่ เติม
402

3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในเรื่อง สื่ อโฆษณากับ


อาหารและผลิตภัณฑ์ สุขภาพ ในหัวข้ อที่ 3.2 การตรวจสอบข้ อเท็จจริงของสื่ อโฆษณา มาล่วงหน้ า ตามที่
ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัตกิ จิ กรรมดังกล่ าวของ
นักเรียน
4. นักเรี ยนดูภาพแสดงตัวอย่างอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพต่าง ๆ ในชั้นวางสิ นค้า ที่ครู เตรี ยมมา แล้ว
สนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนและตอบคําถาม
ร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– ก่อนเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ นักเรี ยนสังเกตฉลากก่อนซื้อหรื อไม่ อย่างไร (ตอบได้อิสระขึ้นอยูก่ บั
ประสบการณ์เดิมของนักเรี ยน)
– ฉลากสิ นค้าจะบอกรายละเอียดใดบ้าง (ชื่ อผลิตภัณฑ์ วันเดือนปี ที่ หมดอายุ วิธีการใช้ ส่ วนประกอบ
เครื่ องหมายมาตรฐาน ราคา)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 3.2 การตรวจสอบข้อเท็จจริ งของสื่ อโฆษณา เพื่อ
เป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง สื่ อโฆษณากับอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในหัวข้อที่ 3.2 การตรวจสอบข้อเท็จจริ ง
ของสื่ อโฆษณา โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
2. ครู แสดงบัตรคําที่มีขอ้ ความเกี่ยวกับคุณสมบัติของสิ นค้า 12 รายการ ให้นกั เรี ยนดู แล้วให้นกั เรี ยนร่ วมกัน
เลือกเกณฑ์ในการพิจารณาเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพของตนเองจากบัตรคําดังกล่าว โดยเลือก
ได้มากกว่า 1 ข้อขึ้นไป

มีดาราดังเป็ นผูแ้ สดงโฆษณา ปรุ งสดใหม่ สะอาด มีใบรับรองอาหารปลอดภัย

ไม่ใส่สารกันบูด มีกลิ่นหอม มีปริ มาณเยอะ

ราคาถูก บรรจุในภาชนะมิดชิด มีของแถม

สี สนั ฉูดฉาด คนเคยใช้บอกว่าดี กําลังได้รับความนิยม

3. ครู เฉลยผลการปฏิบตั ิกิจกรรมและให้ความรู ้ที่เป็ นประโยชน์เพิ่มเติม


403

4. ครูให้ ความรู้ เสริมบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงเกีย่ วกับการเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์ สุขภาพ โดย


อธิบายว่ า การเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์ สุขภาพนอกจากจะต้ องตรวจสอบข้ อเท็จจริงของสื่ อโฆษณา
แล้ว นักเรียนควรเลือกซื้อเลือกใช้ ตามความจําเป็ น ไม่ ฟุ่มเฟื อย เพือ่ ช่ วยคุณพ่อคุณแม่ ประหยัดค่ าใช้ จ่าย
ภายในครอบครัวด้ วย ซึ่งถือเป็ นการดําเนินชีวติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราช
ดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวอีกวิธีหนึ่งนั่นเอง ตามความจําเป็ นตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
5. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน แต่ละกลุ่มร่ วมกันระดมความคิดเห็นเพื่อตอบคําถามในประเด็นต่อไปนี้
– เราจะรู้ได้อย่างไรว่าผลิตภัณฑ์สุขภาพที่เราจะซื้อเป็ นผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดีและปลอดภัย (เราต้ อง
ตรวจสอบฉลากผลิตภัณฑ์ และเครื่ องหมายรั บรองคุณภาพจากหน่ วยงานที่เกี่ยวข้ อง รวมทั้งต้ องอ่ าน
รายละเอียดในฉลากให้ ครบถ้ วน เช่ น วันหมดอายุ ส่ วนผสม เป็ นต้ น)
– หากขนมที่นกั เรี ยนชอบซื้อมารับประทานเสมอ ๆ เมื่อพิจารณาดูแล้วพบว่า ไม่มีเครื่ องหมายรับรอง
ความปลอดภัย นักเรี ยนจะซื้ออาหารนั้นมารับประทานอีกหรื อไม่ และเพราะเหตุใด (ไม่ ซือ้ มา
รั บประทานอีกแล้ ว เพราะอาจเป็ นอันตรายต่ อสุขภาพได้ )
– ถ้านักเรี ยนไม่แน่ใจว่าขนมที่นกั เรี ยนรับประทานมีความปลอดภัยหรื อไม่นกั เรี ยนควรติดต่อสอบถามที่
หน่วยงานไหน (สามารถสอบถามข้ อมูลเกี่ยวกับการเลือกซื อ้ เลือกใช้ ผลิตภัณฑ์ สุขภาพชนิดต่ าง ๆ ได้ ที่
สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา)
– นักเรี ยนไม่ปฏิบตั ิตามหลักการเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง นักเรี ยนคิดว่าจะส่งผลต่อ
เราอย่างไร (ส่ งผลทําให้ ได้ รับอาหารและผลิตภัณฑ์ สุขภาพที่ไม่ มีคุณภาพหรื อไม่ ได้ ตามมาตรฐานที่
กําหนดไว้ ซึ่ งอาจก่ อให้ เกิดอันตรายสุขภาพได้ )
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. แต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมานําเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน
2. ครู เฉลยคําตอบที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนทราบและให้นกั เรี ยนร่ วมกันตรวจสอบแก้ไขคําตอบให้ถูกต้อง
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
2. มอบหมายให้ นักเรียนสั งเกตวิธีการเลือกซื้อสิ นค้ าของบุคคลในครอบครัวของตนเองและวิเคราะห์ ว่า วิธี
ดังกล่ าวมีความเหมาะสมหรือไม่ อย่างไร พร้ อมทั้งเสนอแนะแนวทางปฏิบัตทิ ี่ถูกต้ อง จดบันทึก แล้ว
นํามาเสนอในการเรียนครั้งต่ อไป
404

3. มอบหมายให้ นักเรียนปฏิบตั กิ จิ กรรม สื่อโฆษณาเป็ นจริ งหรื อไม่ ควรใส่ ใจถึงรายละเอียด ดังรายละเอียด
ในใบกิจกรรมที่ครูแจกให้ หรือในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 แล้ วนํามา
สนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป
4. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าเรื่อง การดูแลรักษาตนเองเบือ้ งต้ นเมือ่ เจ็บป่ วย ในหัวข้ อที่ 4.1 โรค
ไข้ หวัด และหัวข้ อที่ 4.2 โรคไข้ เลือดออก ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและ
พลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า
แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับแนวทางการตรวจสอบข้อเท็จจริ งของสื่ อโฆษณาอยูเ่ สมอ เพื่อสร้าง
เสริ มการเรี ยนรู้และให้รู้เท่าทันสถานการณ์ปัจจุบนั ที่มีผลต่อการเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ซึ่ง
สามารถนําไปปรับใช้ในชีวิตประจําวันให้เกิดผลดีต่อสุ ขภาพได้

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพแสดงตัวอย่างอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพต่าง ๆ ในชั้นวางสิ นค้า
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิบายเรื่ อง สื่ อโฆษณากับอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในหัวข้อที่ 3.2 การ
ตรวจสอบข้อเท็จจริ งของสื่ อโฆษณา
3. บัตรคําที่มีขอ้ ความเกี่ยวกับคุณสมบัติของสิ นค้า 12 รายการ
4. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเทอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ
5. ใบกิจกรรม เรื่ อง อาหารและผลิตภัณฑ์ สุขภาพซื อ้ อย่ างไร พ่ อแม่ ไขช่ วยเราได้
6. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
405

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
406

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 67
การดูแลรักษาตนเองเบือ้ งต้ นเมื่อเจ็บป่ วย
สาระการเรียนรู้ ที่ 4: การสร้ างเสริมสุ ขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 ใส่ ใจสุ ขภาพ เรื่อง โรคไข้ หวัดและโรคไข้ เลือดออก

1. สาระสํ าคัญ
การเจ็บป่ วยหรื อการเป็ นโรคสามารถเกิดขึ้นได้กบั บุคคลทุกเพศ ทุกวัย แต่หากผูป้ ่ วยดูแลรักษาตนเอง
เบื้องต้นอย่างถูกวิธีจะสามารถป้ องกันการลุกลามหรื อแพร่ กระจายของเชื้อโรคได้ทนั ท่วงที ซึ่งในการเรี ยนครั้งนี้
นักเรี ยนจะได้เรี ยนรู้เกี่ยวกับโรคที่พบบ่อยในชีวิตประจําวัน ได้แก่ โรคไข้หวัดและโรคไข้เลือดออก โดย
โรคไข้ หวัด เป็ นโรคติดต่อที่เป็ นกันมากในช่วงที่อากาศมีการเปลี่ยนแปลงบ่อย ๆ เกิดจากเชื้อไวรัส ซึ่งการ
รักษาและการป้ องกันโรคทําได้โดยถ้ามีไข้ควรกินยาลดไข้ นอนหลับพักผ่อนมาก ๆ รักษาร่ างกายให้อบอุ่นอยูเ่ สมอ
และรับประทานผักผลไม้ที่มีวติ ามินซี
โรคไข้ เลือดออก เป็ นโรคติดต่อที่มียุงลายเป็ นพาหะนําโรค ซึ่ งการรักษาและการป้ องกันโรคทําได้โดยถ้า
สงสัยว่าเป็ นโรคไข้เลือดออกห้ามรับประทานยาลดไข้แอสไพริ น ควรไปพบแพทย์ทนั ที อย่าให้ยงุ กัด ให้นอนในมุง้
และกําจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยงุ

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
• ปฏิบตั ิตนในการป้ องกันโรคที่พบบ่อยในชีวิตประจําวัน (พ 4.1 ป. 5/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายลักษณะ สาเหตุ อาการ และการรักษาและการป้ องกันโรคไข้หวัดและโรคไข้เลือดออกอย่างถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของการปฏิบตั ิตนในการป้ องกันโรคไข้หวัดและโรคไข้เลือดออก (A)
3. แสดงทักษะในการดูแลรักษาตนเองเบื้องต้นเมื่อเจ็บป่ วยด้วยโรคไข้หวัดและโรคไข้เลือดออกอย่างถูกต้องได้
(P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับลักษณะ สาเหตุ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
อาการ และการรักษาและการ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ป้ องกันโรคไข้หวัดและโรค แผนที่ความคิด*
ไข้เลือดออก
407

วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล


• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ขึ้นอยูก่ บั ดุลยพินิจของครู
ปฏิบตั ิกิจกรรม ลองเขียนเล่ า ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
ประสบการณ์ ที่เคยผ่ านเกี่ยวกับ พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
โรคไข้ หวัด ป. 5*
• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ปฏิบตั ิกิจกรรม การป้ องกันโรค ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
ไข้ เลือดออก สิ่ งแวดล้ อมภายนอก พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ควรทําอย่ างไร ป. 5*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
4. การดูแลรักษาตนเองเบื้องต้นเมื่อเจ็บป่ วย
4.1 โรคไข้หวัด
4.2 โรคไข้เลือดออก

6. แนวทางบูรณาการ
สังคมศึกษาฯ  ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสถานการณ์การเจ็บป่ วยด้วยโรคไข้หวัดและโรค
ไข้เลือดออกของประชากรไทยในภูมิภาคต่าง ๆ และความเชื่อผิด ๆ เกี่ยวกับ
การดูแลรักษาโรคดังกล่าว
408

ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ ภาษาอังกฤษหรือภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนที่


เกีย่ วกับโรคไข้ หวัดและโรคไข้ เลือดออก
คณิ ตศาสตร์  สํารวจสถิติการเกิดโรคไข้หวัดและโรคไข้เลือดออกของประชากรไทย จัดลําดับ
การเจ็บป่ วยด้วยโรคไข้หวัดและโรคไข้เลือดออกตามเพศและช่วงวัยของผูป้ ่ วย
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนสรุ ปเกี่ยวกับลักษณะ สาเหตุ
อาการ และการรักษาและการป้ องกันโรคไข้หวัดและโรคไข้เลือดออก
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิด แผนผังสรุ ป หรื อแผ่นพับความรู ้เกี่ยวกับ
แนวทางการรักษาและการป้ องกันโรคไข้หวัดและโรคไข้เลือดออก
วิทยาศาสตร์  ศึกษา สื บค้น วิเคราะห์ และบันทึกข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคไข้หวัดและ
โรคไข้เลือดออกตามหลักวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
2. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมารายงานผลการสั งเกตและวิเคราะห์ วธิ ีการเลือกซื้อสิ นค้ าของบุคคล
ในครอบครัวของตนเอง และรายงานผลการปฏิบัตกิ ิจกรรม สื่อโฆษณาเป็ นจริงหรื อไม่ ควรใส่ ใจถึง
รายละเอียด ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัติ
กิจกรรมของนักเรียนและให้ คาํ แนะนําเพิม่ เติม
3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในเรื่อง การดูแลรักษา
ตนเองเบือ้ งต้ นเมือ่ เจ็บป่ วย ในหัวข้ อที่ 4.1 โรคไข้ หวัด และหัวข้ อที่ 4.2 โรคไข้ เลือดออก มาล่ วงหน้ า
ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัตกิ จิ กรรมดังกล่าว
ของนักเรียน
4. นักเรี ยนดูภาพผูท้ ี่ป่วยเป็ นโรคไข้หวัดหรื อโรคไข้เลือดออก ที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับ
ความรู้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู้ของนักเรี ยนและตอบคําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– นักเรี ยนเคยป่ วยเป็ นโรคไข้หวัดหรื อไม่ แล้วขณะที่ป่วยนักเรี ยนปฏิบตั ิตนอย่างไร (ตอบได้อิสระขึ้นอยู่
กับประสบการณ์เดิมของนักเรี ยน เช่น เคยป่ วยเป็ นโรคไข้หวัด ซึ่งขณะป่ วยคุณแม่เช็ดตัวให้ไข้ลดลง
แล้วพาไปพบแพทย์ หลังจากนั้นก็กินยาลดไข้และลดนํ้ามูกตามแพทย์สงั่ )
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 4.1 โรคไข้หวัด และหัวข้อที่ 4.2 โรคไข้เลือดออก
เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
409

ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง การดูแลรักษาตนเองเบื้องต้นเมื่อเจ็บป่ วย ในหัวข้อที่ 4.1 โรคไข้หวัด และหัวข้อที่ 4.2
โรคไข้เลือดออก โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
2. ครูแสดงบัตรคําที่เกีย่ วข้ องกับโรคไข้ หวัดและโรคไข้ เลือดออกในภาษาอังกฤษให้ นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่าน
สะกดคําและอ่านออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่ านตาม เพือ่ สร้ างเสริมทักษะทางด้ านภาษา ตัวอย่ างเช่ น คําว่า
– โรคไข้ หวัด ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Common Cold อ่านออกเสี ยงว่ า คอม-มัน โคลด
– โรคไข้ เลือดออก ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่า Dengue Fever อ่านออกเสี ยงว่า เดง-เก ฟี -เฝอะ
– ยุงลาย ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Common House Mosquito อ่านออกเสี ยงว่า คอม-มัน เฮาซ มัซคี-โท
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศสมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
3. ให้นกั เรี ยนผลัดกันเล่าถึงการเจ็บป่ วยด้วยโรคไข้หวัดและโรคไข้เลือดออก แล้วเปรี ยบเทียบความเหมือน
หรื อแตกต่างกันของโรคไข้หวัดและโรคไข้เลือดออก
4. ครู เชิญแพทย์ พยาบาล หรื อเจ้าหน้าที่สาธารณสุ ขมาให้ความรู ้เกี่ยวกับการรักษาและการป้ องกันโรค
ไข้หวัดและโรคไข้เลือดออก หรื อเรื่ องอื่น ๆ ตามความสนใจ
5. ครูให้ ความรู้ เสริมอาเซียนเกี่ยวกับโรคไข้ เลือดออก โดยอธิบายว่ า ประเทศสมาชิกอาเซียนกําหนดให้ วนั ที่
15 มิถุนายนของทุกปี เป็ นวันไข้ เลือดออกอาเซียน (Asean Dengue Day) เพือ่ รณรงค์ ให้ ความรู้และ
ป้องกันโรค โดยมุ่งหวังให้ ประชากรของประเทศต่ าง ๆ ในประชาคมอาเซียนมีอตั ราการเจ็บป่ วยและ
เสี ยชีวติ จากโรคไข้ เลือดออกน้ อยลง
6. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิม่ เติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ5–6 คน แต่ละกลุ่มร่ วมกันศึกษาและสรุ ปความรู้เรื่ อง โรคไข้หวัดและโรค
ไข้เลือดออก แล้วส่งตัวแทนออกมานําเสนอผลการศึกษาและสรุ ปความรู ้หน้าชั้นเรี ยน
2. แต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมานําเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน โดยครู คอยเสนอแนะและ
ให้ความรู้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
3. ครู ต้ งั ประเด็นคําถาม ให้นกั เรี ยนร่ วมกันตอบ เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของนักเรี ยน ตัวอย่างเช่น
– นักเรี ยนทราบหรื อไม่วา่ โรคไข้เลือดออกมีสตั ว์ใดเป็ นตัวพาหะนําโรค (ยุงลาย)
– โรคไข้เลือดออกเกิดจากเชื้อโรคใด (เชื อ้ ไวรั ส)
– โรคไข้เลือดออกติดต่อกันได้อย่างไร (ยุงลายไปกัดผู้ที่ป่วยแล้ วมากัดคนปกติกจ็ ะถ่ ายเชื อ้ โรคเข้ าสู่
ร่ างกายคนปกติ ทําให้ ป่วยเป็ นไข้ เลือดออก)
– ผูท้ ี่ป่วยเป็ นโรคไข้เลือดออกจะแสดงอาการอย่างไร (ไข้ สูง ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้ อง มี
เลือดออกใต้ ผิวหนัง)
410

ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรม ลองเขียนเล่ าประสบการณ์ ที่เคยผ่ านเกี่ยวกับโรคไข้ หวัด และกิจกรรม การ
ป้ องกันโรคไข้ เลือดออก สิ่ งแวดล้ อมภายนอกควรทําอย่ างไร ดังรายละเอียดในใบกิจกรรมที่ครู แจกให้
หรื อในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
2. นักเรี ยนอาสาสมัคร 2–3 คนผลัดเปลี่ยนกันออกมานําเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน
3. ครู แสดงความคิดเห็นต่อการปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรี ยน พร้อมทั้งเฉลยคําตอบที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนทราบ
และให้นกั เรี ยนร่ วมกันตรวจสอบแก้ไขคําตอบให้ถกู ต้อง
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
2. มอบหมายให้ นักเรียนแบ่ งกลุ่ม จัดทําป้ายนิเทศเรื่อง การป้องกันและการดูแลตนเองเบือ้ งต้ นเมือ่ เป็ นโรค
ไข้ หวัดและโรคไข้ เลือดออก แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าเรื่อง การดูแลรั กษาตนเองเบื้องต้ นเมื่อเจ็บป่ วย (ต่ อ) ในหัวข้ อที่ 4.3
โรคกลากและโรคเกลือ้ น และหัวข้ อที่ 4.4 โรคฟันผุและโรคปริทันต์ ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน
รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุด
ของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า แล้ วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมและหมัน่ ติดตามข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโรคไข้หวัดและโรคไข้เลือดออกจาก
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องอยูเ่ สมอ เช่น กรมควบคุมโรค กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุ ข ฯลฯ เพื่อเสริ มสร้าง
ความรู ้ความเข้าใจ ตลอดจนรู้เท่าทันสถานการณ์การเกิดโรค และสามารถนําความรู ้มาใช้ในชีวิตประจําวันเพื่อ
ป้ องกันโรคให้กบั ตนเองและบุคคลในครอบครัวได้

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพผูท้ ี่ป่วยเป็ นโรคไข้หวัดหรื อโรคไข้เลือดออก
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิบายเรื่ อง การดูแลรักษาตนเองเบื้องต้นเมื่อเจ็บป่ วย ในหัวข้อที่ 4.1 โรค
ไข้หวัด และหัวข้อที่ 4.2 โรคไข้เลือดออก
3. บัตรคําที่เกี่ยวข้องกับโรคไข้หวัดและโรคไข้เลือดออกในภาษาอังกฤษ
4. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเทอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ
5. ใบกิจกรรม เรื่ อง ลองเขียนเล่ าประสบการณ์ ที่เคยผ่ านเกี่ยวกับโรคไข้ หวัด
6. ใบกิจกรรม เรื่ อง การป้ องกันโรคไข้ เลือดออก สิ่ งแวดล้ อมภายนอกควรทําอย่ างไร
7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
411

8. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด


9. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
412

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 68
การดูแลรักษาตนเองเบือ้ งต้ นเมื่อเจ็บป่ วย (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 4: การสร้ างเสริมสุ ขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 ใส่ ใจสุ ขภาพ
เรื่อง โรคกลากและโรคเกลือ้ น โรคฟันผุและโรคปริทนั ต์

1. สาระสํ าคัญ
นอกจากโรคไข้หวัดและโรคไข้เลือดออกที่ได้เรี ยนรู้ไปแล้วในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมา ในการเรี ยนครั้งนี้
นักเรี ยนจะได้เรี ยนรู้เกี่ยวกับโรคที่พบบ่อยในชีวิตประจําวัน ได้แก่ โรคกลากและโรคเกลื้อน โรคฟันผุและโรคปริ ทนั ต์
โดย
โรคกลาก เป็ นเชื้อราชนิดหนึ่งติดต่อได้จากการใช้เสื้ อผ้าร่ วมกับคนที่เป็ นกลาก เมื่อเป็ นจะมีผนื่ แดงวงกลม
มีขอบเขตชัดเจนและเป็ นขุย ส่วนโรคเกลือ้ น เกิดจากติดเชื้อราที่ผวิ หนัง บริ เวณที่เป็ นเกลื้อนจะมีผื่นและมีขยุ อยู่
รอบรู ขมุ ขน ซึ่งการรักษาและป้ องกันโรคกลากและโรคเกลื้อนทําได้โดยใช้ยาทาบริ เวณที่มีอาการของโรค หากไม่
หายให้ไปพบแพทย์ อาบนํ้า ฟอกสบู่ให้สะอาดอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง ไม่สวมเสื้ อผ้าร่ วมกับผูอ้ ื่น
โรคฟั นผุ เป็ นโรคที่เกิ ดขึ้นในช่องปากที่ทาํ ให้เกิ ดโพรงฟั นผุข้ ึน การรักษาและป้ องกันโรคทําได้โดยให้
ทันตแพทย์ทาํ การรักษาฟันผุ แปรงฟันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง และพบทันตแพทย์เพื่อตรวจดูทุก ๆ 6 เดือน ส่วนโรค
ปริ ทันต์ เป็ นโรคที่มีการอักเสบของเหงือก เอ็นยึดปริ ทนั ต์ เคลือบรากฟัน และกระดูกเบ้าฟัน การรักษาและป้ องกัน
โรคปริ ทนั ต์ทาํ ได้โดยให้ทนั ตแพทย์ทาํ การรักษาโรค แปรงฟันและซอกฟันอย่างถูกวิธี พร้อมทั้งใช้ไหมขัดฟันร่ วม
ด้วย อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง พบทันตแพทย์ทุก ๆ 6 เดือน

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
• ปฏิบตั ิตนในการป้ องกันโรคที่พบบ่อยในชีวิตประจําวัน (พ 4.1 ป. 5/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายลักษณะ สาเหตุ อาการ และการรักษาและการป้ องกันโรคกลากและโรคเกลื้อน โรคฟันผุและโรคปริ ทนั ต์
อย่างถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของการปฏิบตั ิตนในการป้ องกันโรคกลากและโรคเกลื้อน โรคฟันผุและโรคปริ ทนั ต์
(A)
3. แสดงทักษะในการดูแลรักษาตนเองเบื้องต้นเมื่อเจ็บป่ วยด้วยโรคกลากและโรคเกลื้อน โรคฟันผุและโรคปริ ทนั ต์
อย่างถูกต้องได้ (P)
413

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับลักษณะ สาเหตุ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
อาการ และการรักษาและการ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ป้ องกันโรคกลากและโรคเกลื้อน แผนที่ความคิด*
โรคฟันผุและโรคปริ ทนั ต์
• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ขึ้นอยูก่ บั ดุลยพินิจของครู
ปฏิบตั ิกิจกรรม เขียนวิธีการรั กษา ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
ร่ างกาย เพื่อป้ องกันโรคร้ ายทําได้ พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ไหมหนา ป. 5*
• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ขึ้นอยูก่ บั ดุลยพินิจของครู
ปฏิบตั ิกิจกรรม แจกแจงสิ่ งที่ทาํ ให้ ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
ฟั นผุ พร้ อมทั้งระบุออกมาเป็ นภาพ พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ป. 5*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
414

5. สาระการเรียนรู้
4. การดูแลรักษาตนเองเบื้องต้นเมื่อเจ็บป่ วย (ต่อ)
4.3 โรคกลากและโรคเกลื้อน
4.4 โรคฟันผุและโรคปริ ทนั ต์

6. แนวทางบูรณาการ
สังคมศึกษาฯ  ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสถานการณ์การเจ็บป่ วยด้วยโรคกลากและโรคเกลื้อน
ของประชากรไทยในภูมิภาคต่าง ๆ และพูดคุยเกี่ยวกับโรคฟันผุของเด็กไทย
ในปัจจุบนั
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ ภาษาอังกฤษหรือภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนที่
เกีย่ วกับโรคกลากและโรคเกลือ้ น โรคฟันผุและโรคปริทันต์
คณิ ตศาสตร์  สํารวจสถิติการเกิดโรคกลากและโรคเกลื้อน โรคฟันผุและโรคปริ ทนั ต์
จัดลําดับการเจ็บป่ วยด้วยโรคกลากและโรคเกลื้อน โรคฟันผุและโรคปริ ทนั ต์
ตามเพศและช่วงวัยของผูป้ ่ วย
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนสรุ ปเกี่ยวกับลักษณะ สาเหตุ
อาการ และการรักษาและการป้ องกันโรคกลากและโรคเกลื้อน โรคฟันผุและ
โรคปริ ทนั ต์
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิด แผนผังสรุ ป หรื อแผ่นพับความรู ้เกี่ยวกับ
แนวทางการรักษาและการป้ องกันโรคกลากและโรคเกลื้อน โรคฟันผุและโรค
ปริ ทนั ต์ โดยเฉพาะการดูแลรักษาฟันและการแปรงฟันที่ถูกวิธี
วิทยาศาสตร์  ศึกษา สื บค้น วิเคราะห์ และบันทึกข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคกลากและ
โรคเกลื้อน โรคฟันผุและโรคปริ ทนั ต์ ตามหลักวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
2. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอผลการจัดป้ายนิเทศเรื่อง การป้องกันและการดูแลตนเอง
เบือ้ งต้ นเมือ่ เป็ นโรคไข้ หวัดและโรคไข้ เลือดออก ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครู
แสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัติกจิ กรรมของนักเรียนและให้ คาํ แนะนําเพิม่ เติม
415

3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในเรื่อง การดูแลรักษา


ตนเองเบือ้ งต้ นเมือ่ เจ็บป่ วย (ต่ อ) ในหัวข้ อที่ 4.3 โรคกลากและโรคเกลือ้ น และหัวข้ อที่ 4.4 โรคฟันผุและ
โรคปริทันต์ มาล่วงหน้ า ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อ
การปฏิบัตกิ จิ กรรมดังกล่าวของนักเรียน
4. นักเรี ยนดูภาพผูท้ ี่ป่วยเป็ นโรคกลากและโรคเกลื้อน โรคฟันผุและโรคปริ ทนั ต์ ที่ครู เตรี ยมมาตามลําดับ แล้ว
สนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนและตอบคําถาม
ร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– นักเรี ยนรู ้จกั โรคกลากและโรคเกลื้อนหรื อไม่ (ตอบได้ โดยอิสระ)
– นักเรี ยนทราบหรื อไม่วา่ โรคกลากและโรคเกลื้อนเป็ นโรคติดต่อหรื อไม่ และติดต่ออย่างไร (เป็ น
โรคติดต่ อและติดต่ อได้ จากการใช้ เสื อ้ ผ้ ารองเท้ าและถุงเท้ าร่ วมกับคนที่ เป็ นกลาก
– นักเรี ยนเคยป่ วยเป็ นโรคกลากและโรคเกลื้อน โรคฟันผุและโรคปริ ทนั ต์หรื อไม่ แล้วขณะที่ป่วยนักเรี ยน
ปฏิบตั ิตนอย่างไร (ตอบได้ อิสระขึน้ อยู่กับประสบการณ์ เดิมของนักเรี ยน เช่ น เคยเป็ นโรคฟั นผุ โดยจะ
มีอาการปวดฟั น จึงบอกให้ ผ้ ปู กครองทราบ จากนั้นผู้ปกครองจึงได้ พาไปพบทันตแพทย์ และได้ รับการ
ถอนฟั น ซึ่ งทันตแพทย์ บอกว่ าสาเหตุที่เกิดฟั นผุเนื่องจากการรั บประทานลูกอมบ่ อยและไม่ ค่อยแปรง
ฟั นก่ อนนอน)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 4.3 โรคกลากและโรคเกลื้อน และหัวข้อที่ 4.4 โรค
ฟันผุและโรคปริ ทนั ต์ เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู เล่าสถานการณ์ดงั นี้และตั้งคําถามให้นกั เรี ยนตอบในประเด็นคําถามต่อไปนี้

ส้มโอ ชอบรับประทานลูกอมเป็ นประจําทุก ชมพู่ ร้องไห้เพราะปวดฟัน โดยมีสาเหตุมา


วัน แต่กไ็ ม่ลืมแปรงฟันวันละ 2 ครั้ง คือ จากการรับประทานลูกอมเป็ นประจําทุกวัน
ตอนเช้าหลังตื่นนอนและก่อนนอน และชมพูไ่ ม่ชอบแปรงฟัน

– ส้มโอและชมพูต่ ่างก็ชอบรับประทานลูกอมเป็ นประจําทุกวัน เพราะเหตุใดส้มโอจึงไม่ปวดฟัน (เพราะ


ส้ มโอแปรงฟั นตอนเช้ าหลังตื่นนอนและก่ อนนอน)
– นักเรี ยนคิดว่าชมพูเ่ ป็ นโรคอะไร (โรคฟั นผุ)
– นักเรี ยนคิดว่าน้องชมพูค่ วรปฏิบตั ิตนเองอย่างไรไม่ให้เป็ นโรคฟันผุ (แปรงฟั นอย่ างน้ อยวันละ 2 ครั้ ง
รั บประทานขนมหรื ออาหารที่มีส่วนผสมของนํา้ ตาลให้ น้อยลง และพบทันตแพทย์ ทุก ๆ 6 เดือน)
2. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง การดูแลรักษาตนเองเบื้องต้นเมื่อเจ็บป่ วย ในหัวข้อที่ 4.3 โรคกลากและโรคเกลื้อน และ
หัวข้อที่ 4.4 โรคฟันผุและโรคปริ ทนั ต์ โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดู
ประกอบการอธิบาย
416

3. ครูแสดงบัตรคําที่เกีย่ วข้ องกับโรคกลากและโรคเกลือ้ น โรคฟันผุและโรคปริทันต์ ในภาษาอังกฤษให้


นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่านสะกดคําและอ่านออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่ านตาม เพือ่ สร้ างเสริมทักษะทางด้ าน
ภาษา ตัวอย่ างเช่ น คําว่า
– โรคกลาก ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Ringworm/Tinea อ่านออกเสี ยงว่า ริงเวิม/ทิน’เนีย
– โรคเกลือ้ น ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่า Pityriasis Versicolor หรือ Tinea Versicolor อ่านออกเสี ยงว่า
ไพทีริอาซีซ เฝอซิคลั -เออะ
– โรคฟันผุ ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Dental Caries อ่านออกเสี ยงว่า เดน-แท็ล เค-รีส
– โรคปริทันต์ ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Periodontal Disease อ่านออกเสี ยงว่า เพีย-เรียดด็อนแท็ล ดิสีส
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศสมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
4. ครู เชิญแพทย์ พยาบาล หรื อเจ้าหน้าที่สาธารณสุ ขมาให้ความรู ้เกี่ยวกับการรักษาและการป้ องกันโรคกลาก
และโรคเกลื้อน โรคฟันผุและโรคปริ ทนั ต์ หรื อเรื่ องอื่น ๆ ตามความสนใจ
5. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ5–6 คน แต่ละกลุ่มร่ วมกันศึกษาและสรุ ปความรู้เรื่ อง โรคกลากและโรคเกลื้อน
โรคฟันผุและโรคปริ ทนั ต์ แล้วส่งตัวแทนออกมานําเสนอผลการศึกษาและสรุ ปความรู้หน้าชั้นเรี ยน
2. แต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมานําเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน โดยครู คอยเสนอแนะและ
ให้ความรู้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
3. ครู ให้นกั เรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรมผลัดกันตั้งคําถามและตอบคําถามเกี่ยวกับลักษณะ สาเหตุ อาการของโรค
กลากและโรคเกลื้อน โรคฟันผุและโรคปริ ทนั ต์
4. ครู ต้ งั ประเด็นคําถาม ให้นกั เรี ยนร่ วมกันตอบ เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของนักเรี ยน ตัวอย่างเช่น
– แนวทางในการรักษาและป้ องกันโรคกลากและโรคเกลื้อนปฏิบตั ิอย่างไร (ใช้ ยารั กษาโรคกลากและโรค
เกลือ้ นทาบริ เวณผิวหนังที่มีอาการและรั กษาความสะอาดของเสื ้อผ้ า)
– อาการของโรคฟันผุและโรคปริ ทนั ต์เป็ นอย่างไร (โรคฟั นผุ บริ เวณที่ฟันผุจะมีรูหรื อโพรงฟั นผุขึน้ จะ
รู้ สึกเสี ยวฟั น หรื อปวดฟั นและศีรษะ ส่ วนโรคปริ ทันต์ จะมีเลือดออกตามไรฟั น เหงือกบวมแดง มีกลิ่น
ปาก เหงือกร่ น)
– โรคกลากหรื อขี้กลากมีวธิ ี การป้ องกันได้อย่างไร (อาบนํา้ ฟอกสบู่ให้ สะอาดอย่ างน้ อยวันละ 2 ครั้ ง ไม่
สวมเสื อ้ ผ้ าร่ วมกับผู้อื่น และรั กษาความสะอาดเสื ้อผ้ าก่ อนนํามาสวมใส่ )
– นักเรี ยนคิดว่าอะไรเป็ นปัจจัยสําคัญที่ส่งผลให้คนเราเกิดการเจ็บป่ วยขึ้นได้ (การไม่ ดูแลสุขภาพส่ วน
บุคคล เช่ น การไม่ รักษาความสะอาดร่ างกาย ส่ งผลให้ เกิดโรคผิวหนังได้ การขาดการออกกําลังกาย
นอนหลับพักผ่ อนไม่ เพียงพอ หรื อรั บประทานอาหารไม่ มีประโยชน์ ส่ งผลทําให้ ร่างกายขาดภูมิ
ต้ านทานโรค จนอาจทําให้ เจ็บป่ วยเป็ นโรคไข้ หวัด)
417

ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรม เขียนวิธีการรั กษาร่ างกาย เพื่อป้ องกันโรคร้ ายทําได้ ไหมหนา และกิจกรรม แจก
แจงสิ่ งที่ ทาํ ให้ ฟันผุ พร้ อมทั้งระบุออกมาเป็ นภาพ ดังรายละเอียดในใบกิจกรรมที่ครู แจกให้หรื อในแบบ
ฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
2. นักเรี ยนอาสาสมัคร 2–3 คนผลัดเปลี่ยนกันออกมานําเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน
3. ครู แสดงความคิดเห็นต่อการปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรี ยน พร้อมทั้งให้ความรู ้ที่ถูกต้องและคําแนะนํา
เพิ่มเติม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
2. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าเรื่อง การทดสอบและปรับปรุงสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ ใน
ประเด็นเกีย่ วกับความหมายและความสํ าคัญของสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ และในหัวข้ อที่ 5.1 การ
ทดสอบสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ ในประเด็นเกีย่ วกับวิธีการทดสอบสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ
และการแปลผล ในหัวข้ อย่อยที่ 1. การดันพืน้ 30 วินาที และหัวข้ อย่ อยที่ 2. การลุกนั่ง 60 วินาที ดัง
รายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ ต่าง ๆ
เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่ วงหน้ า แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้ง
ต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมและหมัน่ ติดตามข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโรคกลากและโรคเกลื้อน โรคฟันผุและ
โรคปริ ทนั ต์ จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอยูเ่ สมอ เช่น กรมควบคุมโรค กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุ ข ฯลฯ
เพื่อเสริ มสร้างความรู ้ความเข้าใจ ตลอดจนรู้เท่าทันสถานการณ์การเกิดโรค และสามารถนําความรู ้มาใช้ใน
ชีวิตประจําวันเพื่อป้ องกันโรคให้กบั ตนเองและบุคคลในครอบครัวได้
2. นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับโรคติดต่อที่พบบ่อยในชีวิตประจําวันจากแหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ เช่น
ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเทอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ เพื่อสร้างเสริ มความรู้ความเข้าใจและ
นําไปปรับใช้ในชีวิตประจําวัน

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพผูท้ ี่ป่วยเป็ นโรคกลากและโรคเกลื้อน โรคฟันผุและโรคปริ ทนั ต์
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิบายเรื่ อง การดูแลรักษาตนเองเบื้องต้นเมื่อเจ็บป่ วย ในหัวข้อที่ 4.3 โรค
กลากและโรคเกลื้อน และหัวข้อที่ 4.4 โรคฟันผุและโรคปริ ทนั ต์
3. บัตรคําที่เกี่ยวข้องกับโรคกลากและโรคเกลื้อน โรคฟันผุและโรคปริ ทนั ต์ในภาษาอังกฤษ
418

4. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเทอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ
5. ใบกิจกรรม เรื่ อง เขียนวิธีการรั กษาร่ างกาย เพื่อป้ องกันโรคร้ ายทําได้ ไหมหนา
6. ใบกิจกรรม เรื่ อง แจกแจงสิ่ งที่ ทาํ ให้ ฟันผุ พร้ อมทั้งระบุออกมาเป็ นภาพ
7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
419

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 69
การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ
สาระการเรียนรู้ ที่ 4: การสร้ างเสริมสุ ขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 ใส่ ใจสุ ขภาพ เรื่อง การทดสอบสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ

1. สาระสํ าคัญ
สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ หมายถึง ความสามารถของร่ างกายในการปฏิบตั ิกิจกรรมหรื อทํางานอย่าง
ใดอย่างหนึ่งได้เป็ นระยะเวลายาวนานติดต่อกันโดยไม่เกิดความเหนื่อยล้าหรื ออ่อนเพลียจนเกินไป และสามารถ
กลับคืนสู่สภาพปกติได้ในเวลาอันรวดเร็ ว ซึ่งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพประกอบด้วย ความแข็งแรงของ
กล้ามเนื้อ ความอดทนของกล้ามเนื้อ ความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิ ตและระบบหายใจ ความอ่อนตัวหรื อ
ความยืดหยุน่ และความเหมาะสมของส่วนสูงและนํ้าหนักของร่ างกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพจะทําให้รู้ระดับความสามารถของสมรรถภาพทางกายของ
ตนเอง ซึ่งในการเรี ยนครั้งนี้นกั เรี ยนจะได้เรี ยนรู ้และฝึ กปฏิบตั ิวิธีการทดสอบ 2 รายการ ได้แก่ การดันพืน้ 30 วินาที
เป็ นการวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อแขนและกล้ามเนื้อส่วนบนของร่ างกาย และการนั่ง 60
วินาที เป็ นการวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อท้อง

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
• ทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย (พ 4.1 ป. 5/5)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายความหมาย ความสําคัญ และองค์ประกอบของสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพอย่างถูกต้องได้ (K)
2. อธิบายวิธีการทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพและการแปลผลในการดันพื้น 30 วินาทีและการลุกนัง่
60 วินาที อย่างถูกต้องได้ (K)
3. ตระหนักถึงความสําคัญของการมีสมรรถภาพทางกายที่ดี และเข้าร่ วมศึกษาและฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมการ
ทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพด้วยความสนใจและกระตือรื อร้น (A)
4. แสดงทักษะในการทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพในการดันพื้น 30 วินาทีและการลุกนัง่ 60 วินาที
อย่างถูกวิธีได้ (P)
420

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
– ความหมายและความสําคัญของ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
สมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ แผนที่ความคิด*
– วิธีการทดสอบสมรรถภาพทาง
กายเพื่อสุขภาพและการแปลผล
ในการดันพื้น 30 วินาทีและการ
ลุกนัง่ 60 วินาที
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
5. การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ
• ความหมายและความสําคัญของสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ
5.1 การทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ
– วิธีการทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพและการแปลผลในการดันพื้น 30 วินาทีและการลุกนัง่
60 วินาที
421

6. แนวทางบูรณาการ
สังคมศึกษาฯ  เปรี ยบเทียบระดับสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพของบุคคลวัยต่าง ๆ ใน
ชุมชน
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ ภาษาอังกฤษหรือภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนที่
เกีย่ วกับสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ
คณิ ตศาสตร์  จับเวลาในการทดสอบและแปลผลการทดสอบการดันพื้น 30 วินาทีและการ
ลุกนัง่ 60 วินาที โดยนับจํานวนครั้งที่ทาํ ได้ และนําไปเปรี ยบเทียบกับตาราง
เกณฑ์มาตรฐาน
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนสรุ ปเกี่ยวกับความหมาย
และความสําคัญของสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ และวิธีการทดสอบ
สมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพและการแปลผลในการดันพื้น 30 วินาทีและ
การลุกนัง่ 60 วินาที
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิด แผนผังสรุ ปองค์ประกอบของ
สมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ
วิทยาศาสตร์  สังเกตและวิเคราะห์ลกั ษณะการเคลื่อนไหวร่ างกายในการทดสอบสมรรถภาพ
ทางกายเพื่อสุ ขภาพ ในการดันพื้น 30 วินาทีและการลุกนัง่ 60 วินาที ตามหลัก
วิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวหรื อวิทยาศาสตร์การกีฬา

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในเรื่อง การทดสอบและ
ปรับปรุงสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ ในประเด็นเกีย่ วกับความหมายและความสํ าคัญของสมรรถภาพ
ทางกายเพือ่ สุ ขภาพ และในหัวข้ อที่ 5.1 การทดสอบสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ ในประเด็นเกีย่ วกับ
วิธีการทดสอบสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพและการแปลผล ในหัวข้ อย่อยที่ 1. การดันพืน้ 30 วินาที
และหัวข้ อย่อยที่ 2. การลุกนั่ง 60 วินาที มาล่วงหน้ า ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา
โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัตกิ จิ กรรมดังกล่าวของนักเรียน
422

4. ให้นกั เรี ยนดูบตั รคําแสดงคําว่า สมรรถภาพางกายเพื่อสุขภาพ แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู้ในเรื่ อง


ดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู้ของนักเรี ยนและตอบคําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– สมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพคืออะไร (สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ คือ ความสามารถของร่ างกาย
ในการปฏิบัติกิจกรรมหรื อทํางานอย่ างใดอย่ างหนึ่งได้ เป็ นระยะเวลายาวนานติดต่ อกันโดยไม่ เกิดความ
เหนื่อยล้ าหรื ออ่ อนเพลียจนเกินไป และสามารถกลับคืนสู่สภาพปกติได้ ในเวลาอันรวดเร็ ว)
– นักเรี ยนจะทราบได้อย่างไรว่าตนเองมีสมรรถภาพทางกายดีหรื อไม่ (ทดสอบสมรรถภาพทางกายและ
แปลผลโดยเปรี ยบเทียบกับตารางเกณฑ์ มาตรฐาน)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู้ในประเด็นเกี่ยวกับความหมายและความสําคัญของสมรรถภาพ
ทางกายเพื่อสุ ขภาพ และในหัวข้อที่ 5.1 การทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ในประเด็นเกี่ยวกับ
วิธีการทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพและการแปลผล ในหัวข้อย่อยที่ 1. การดันพื้น 30 วินาที
และหัวข้อย่อยที่ 2. การลุกนัง่ 60 วินาที เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู ้
ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ ในประเด็นเกี่ยวกับ
ความหมายและความสําคัญของสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ และในหัวข้อที่ 5.1 การทดสอบ
สมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ ในประเด็นเกี่ยวกับองค์ประกอบของการทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อ
สุ ขภาพ โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
2. ครูแสดงบัตรคําที่เกีย่ วข้ องกับการทดสอบสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพในการดันพืน้ 30 วินาที และ
การลุกนั่ง 60 วินาที ในภาษาอังกฤษให้ นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่ านสะกดคําและอ่านออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่ าน
ตาม เพือ่ สร้ างเสริมทักษะทางด้ านภาษา ตัวอย่ างเช่ น คําว่า
– สมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Health-Related Physical Fitness อ่าน
ออกเสี ยงว่ า เฮ็ลธ-ริเลทด ฟี ส-อิแค็ล ฟี ท-เน็ซ
– ความแข็งแรงของกล้ามเนือ้ ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่า Muscular Strength อ่านออกเสี ยงว่ า มัซ-
คิวเลอะ ซทเร็งธ
– ความอดทนของกล้ามเนือ้ ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่า Muscular Endurance อ่านออกเสี ยงว่ า มัซ-
คิวเลอะ เอ็นดยู-แร็นซ
– ความอดทนของระบบไหลเสวียนโลหิตและระบบหายใจ ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่า Cardiorespiratory
Endurance อ่านออกเสี ยงว่ า คา-ดิโอ เรซ-พิระโทริ เอ็นดยู-แร็นซ
– ความอ่อนตัวหรือความความยืดหยุ่น ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า flexibility อ่านออกเสี ยงว่า เฟลค-ซิ
บิล-อิทิ
– ดันพืน้ 30 วินาที ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Thirty Second Push-Ups อ่านออกเสี ยงว่ า เธอ-ทิ เซค-
อันด พุฌ-อัพซ
423

– ลุกนั่ง 60 วินาที ภาษาอังกฤษตรงกับคําว่า Sixty Second Sit-Ups อ่านออกเสี ยงว่ า ซิคซ-ทิ เซค-อันด
ซิท-อัพซ
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศสมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
3. ครู ให้ความรู้ในประเด็นเกี่ยวกับวิธีการทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพและการแปลผล ในหัวข้อย่อย
ที่ 1. การดันพื้น 30 วินาที และหัวข้อย่อยที่ 2. การลุกนัง่ 60 วินาที โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่
เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
4. ครู ต้ งั ประเด็นคําถาม ให้นกั เรี ยนร่ วมกันตอบ เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของนักเรี ยน ตัวอย่างเช่น
– หากนักเรี ยนเป็ นเพศหญิง อายุ 11 ปี สามารถปฏิบตั ิท่าดันพื้น 30 วินาที ได้จาํ นวน 18 ครั้ง แปลว่า
นักเรี ยนจะมีความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อแขนและกล้ามเนื้อส่วนบนของร่ างกายอยูใ่ น
เกณฑ์ใด (อยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง)
– หากนักเรี ยนเป็ นเพศชาย อายุ 10 ปี สามารถปฏิบตั ิท่าลุกนัง่ 60 วินาที ได้จาํ นวน 17 ครั้ง แปลว่า
นักเรี ยนจะมีความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อท้องอยูใ่ นเกณฑ์ใด (อยู่ในเกณฑ์ ตาํ่ )
– หากทดสอบลุกนัง่ 60 วินาทีแล้วพบว่า ตนเองอยูใ่ นเกณฑ์ต่าํ นักเรี ยนจะต้องปรับปรุ งสมรรถภาพทาง
กายในด้านใด (ต้ องปรั บปรุ งสรรถภาพทางกายด้ านความแข็งแรงและความอดทนของกล้ ามเนือ้ )
5. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัคร 1 คนออกมาร่ วมสาธิ ตวิธีการดันพื้น 30 วินาที และการลุกนัง่ 60 วินาที เพื่อเป็ น
ตัวอย่างให้กบั นักเรี ยนคนอื่น ๆ ในชั้นเรี ยนได้สงั เกตและปฏิบตั ิตาม โดยครู ให้คาํ แนะนําขั้นตอนวิธีการ
ปฏิบตั ิที่ถูกต้องให้กบั นักเรี ยน
6. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนจับคู่ร่วมกันฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมการดันพื้น 30 วินาที และการลุกนัง่ 60 วินาที โดยใช้เวลาตามที่ครู
กําหนด โดยครู คอยดูแลการปฏิบตั ิอย่างใกล้ชิด พร้อมทั้งให้คาํ แนะนําเพิ่มเติมเพื่อให้นกั เรี ยนเกิดความ
มัน่ ใจในการปฏิบตั ิและสามารถปฏิบตั ิกิจกรรมได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
2. ครู ให้นกั เรี ยนจับคู่ผลัดเปลี่ยนกันปฏิบตั ิกิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพในการดันพื้น 30
วินาที และการลุกนัง่ 60 วินาที แล้วจดบันทึกผลการปฏิบตั ิ
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนนําจํานวนครั้งที่ทาํ ได้ในการปฏิบตั ิกิจกรรมการทดสอบการดันพื้น 30 วินาทีและการลุกนัง่ 60
วินาที มาเปรี ยบเทียบกับตารางเกณฑ์มาตรฐาน และจดบันทึกว่าตนเองมีสมรรถภาพทางกายในด้าน
ดังกล่าวอยูใ่ นระดับใด แล้วอภิปรายร่ วมกับเพื่อน ๆ ในชั้นเรี ยน
2. นักเรี ยนอาสาสมัคร 2–3 คนผลัดเปลี่ยนกันออกมานําเสนอผลการแปลผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
เพื่อสุขภาพในการดันพื้น 30 วินาที และการลุกนัง่ 60 วินาที ของตนเอง หน้าชั้นเรี ยน โดยครู แสดงความ
คิดเห็นต่อการปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรี ยน พร้อมทั้งให้ความรู้ที่ถูกต้องและคําแนะนําเพิ่มเติม
424

ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้


1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าเรื่อง การทดสอบและปรั บปรุงสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ ใน
หัวข้ อที่ 5.1 การทดสอบสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ (ต่ อ) ในประเด็นเกี่ยวกับวิธีการทดสอบ
สมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพและการแปผล ในหัวข้ อย่ อยที่ 3. การวิง่ ระยะไกล หัวข้ อย่อยที่ 4. การนั่ง
งอตัวไปข้ างหน้ า และหัวข้ อย่อยที่ 5. การหาค่ าดัชนีมวลกาย ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชา
พืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของ
โรงเรียน ฯลฯ มาล่ วงหน้ า แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรนําผลการทดสอบการดันพื้น 30 วินาที และการลุกนัง่ 60 วินาที มาใช้ในการปรับปรุ งสมรรถภาพ
ทางกายเพื่อสุ ขภาพให้ดีข้ ึน

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. บัตรคําแสดงคําว่า สมรรถภาพางกายเพื่อสุ ขภาพ
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิบายเรื่ อง การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ใน
ประเด็นเกี่ยวกับความหมายและความสําคัญของสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ และในหัวข้อที่ 5.1 การ
ทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ในประเด็นเกี่ยวกับวิธีการทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพและ
การแปลผล ในหัวข้อย่อยที่ 1. การดันพื้น 30 วินาที และหัวข้อย่อยที่ 2. การลุกนัง่ 60 วินาที
3. บัตรคําที่เกี่ยวข้องกับการทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพในการดันพื้น 30 วินาที และการลุกนัง่ 60
วินาที ในภาษาอังกฤษ
4. อุปกรณ์ประกอบการทดสอบการดันพื้น 30 วินาที และการลุกนัง่ 60 วินาที เช่น เบาะรอง นาฬิกาจับเวลา
5. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
6. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
425

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
426

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 70
การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 4: การสร้ างเสริมสุ ขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 ใส่ ใจสุ ขภาพ เรื่อง การทดสอบสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
ในการเรี ยนครั้งนี้นกั เรี ยนจะได้เรี ยนรู้และฝึ กปฏิบตั ิวิธีการทดสอบ 3 รายการ ได้แก่ การวิ่งระยะไกล เป็ น
การวัดความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิ ตและระบบหายใจ การนั่งตัวงอไปข้ างหน้ า เป็ นการวัดความอ่อนตัว
ของกล้ามเนื้อหลังและต้นขาด้านหลัง และการหาค่ าดัชนีมวลกาย เป็ นการคํานวณค่าขององค์ประกอบของร่ างกาย
เพื่อประเมินความเหมาะสมของสัดส่วนของร่ างกาย ซึ่งหมายถึง ส่วนสูงและนํ้าหนักของร่ างกาย

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
• ทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย (พ 4.1 ป. 5/5)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายวิธีการทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพและการแปลผลในการวิ่งระยะไกล การนัง่ ตัวงอไป
ข้างหน้า และการหาค่าดัชนีมวลกายอย่างถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของการมีสมรรถภาพทางกายที่ดี และเข้าร่ วมศึกษาและฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมการ
ทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพด้วยความสนใจและกระตือรื อร้น (A)
3. แสดงทักษะในการทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพในการวิ่งระยะไกล การนัง่ ตัวงอไปข้างหน้า และ
การหาค่าดัชนีมวลกายอย่างถูกวิธีได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับวิธีการทดสอบ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
สมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
และการแปลผลในการวิง่ ระยะไกล แผนที่ความคิด*
การนัง่ ตัวงอไปข้างหน้า และการ
หาค่าดัชนีมวลกาย
427

วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล


• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ปฏิบตั ิกิจกรรม ควรอ้ วนหรื อผอม ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
เราจะยอมให้ เป็ นอย่ างไร พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ป. 5*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
5. การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ (ต่อ)
5.1 การทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ (ต่อ)
– วิธีการทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพและการแปลผลในการวิ่งระยะไกล การนัง่ ตัวงอไป
ข้างหน้า และการหาค่าดัชนีมวลกาย

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาต่างประเทศ  ฟังและอ่านคําศัพท์ ภาษาอังกฤษหรือภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนที่
เกีย่ วกับสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ
คณิ ตศาสตร์  จับเวลาในการทดสอบวิ่งระยะไกล วัดระยะทางในการวิ่งระยะไกล วัด
ระยะทางที่ทาํ ได้ในการนัง่ งอตัวไปข้างหน้า คํานวณค่าดัชนีมวลกาย และแปลผล
การทดสอบการวิ่งระยะไกล การนัง่ งอตัวไปข้างหน้า และการหาค่าดัชนีมวลกาย
โดยนําเวลาที่ทาํ ได้ หรื อระยะทางที่ทาํ ได้ หรื อค่าดัชนีมวลกายที่คาํ นวณได้ไป
เปรี ยบเทียบกับตารางเกณฑ์มาตรฐาน
428

ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนสรุ ปเกี่ยวกับวิธีการทดสอบ


สมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพและการแปลผลในการวิ่งระยะไกล การนัง่ งอตัว
ไปข้างหน้า และการหาค่าดัชนีมวลกาย
วิทยาศาสตร์  สังเกตและวิเคราะห์ลกั ษณะการเคลื่อนไหวร่ างกายในการทดสอบสมรรถภาพ
ทางกายเพื่อสุ ขภาพ ในการวิ่งระยะไกล การนัง่ งอตัวไปข้างหน้า และการหาค่า
ดัชนีมวลกาย ตามหลักวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวหรื อวิทยาศาสตร์การกีฬา

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในเรื่อง การทดสอบและ
ปรับปรุงสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ ในหัวข้ อที่ 5.1 การทดสอบสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ (ต่ อ)
ในประเด็นเกีย่ วกับวิธีการทดสอบสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพและการแปลผล ในหัวข้ อย่อยที่ 3. การ
วิ่งระยะไกล หัวข้ อย่อยที่ 4. การนั่งงอตัวไปข้ างหน้ า และหัวข้ อย่อยที่ 5. การหาค่ าดัชนีมวลกาย มา
ล่วงหน้ า ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัติ
กิจกรรมดังกล่าวของนักเรียน
4. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู้ในหัวข้อที่ 5.1 การทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ (ต่อ)
ในประเด็นเกี่ยวกับวิธีการทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพและการแปลผล ในหัวข้อย่อยที่ 3. การ
วิ่งระยะไกล หัวข้อย่อยที่ 4. การนัง่ งอตัวไปข้างหน้า และหัวข้อย่อยี่ 5. การหาค่าดัชนีมวลกาย เพื่อเป็ น
การกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู้เรื่ อง การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ในหัวข้อที่ 5.1 การทดสอบ
สมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ (ต่อ) ในประเด็นเกี่ยวกับวิธีการทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพและ
การแปลผล ในหัวข้อย่อยที่ 3. การวิ่งระยะไกล หัวข้อย่อยที่ 4. การนัง่ งอตัวไปข้างหน้า และหัวข้อย่อยที่
5. การหาค่าดัชนีมวลกาย โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิบาย
2. ครูแสดงบัตรคําที่เกีย่ วข้ องกับการทดสอบสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพในการวิง่ ระยะไกล การนั่งงอ
ตัวไปข้ างหน้ า และการหาค่ าดัชนีมวลกาย ในภาษาอังกฤษให้ นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่ านสะกดคําและอ่าน
ออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่านตาม เพือ่ สร้ างเสริมทักษะทางด้ านภาษา ตัวอย่ างเช่ น คําว่า
– การวิง่ ระยะไกล ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Distance Run อ่านออกเสี ยงว่ า ดีซ-แท็นซ รัน
429

– การนั่งงอตัวไปข้ างหน้ า ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Trunk Forward Flexion อ่านออกเสี ยงว่ า


ทรังค ฟอ-เวิด ฟเลคซ-อัน
– ดัชนีมวลกาย ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Body Mass Index อ่านออกเสี ยงว่ า บอด-อิ แม็ซ อีน-เด็คซ
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศสมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
3. ครู ต้ งั ประเด็นคําถาม ให้นกั เรี ยนร่ วมกันตอบ เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของนักเรี ยน ตัวอย่างเช่น
– หากนักเรี ยนเป็ นเพศหญิง อายุ 12 ปี สามารถทําเวลาในการวิ่งระยะไกล (ระยะทาง 1,200 เมตร) ได้
7.14 นาที แปลว่านักเรี ยนจะมีความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิ ตและระบบหายใจอยูใ่ นเกณฑ์ใด
(อยู่ในเกณฑ์ ดี)
4. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัคร 1 คนออกมาร่ วมสาธิ ตวิธีการวิ่งระยะไกล การนัง่ งอตัวไปข้างหน้า และการหาค่า
ดัชนีมวลกาย เพื่อเป็ นตัวอย่างให้กบั นักเรี ยนคนอื่น ๆ ในชั้นเรี ยนได้สงั เกตและปฏิบตั ิตาม โดยครู ให้
คําแนะนําขั้นตอนวิธีการปฏิบตั ิที่ถูกต้องให้กบั นักเรี ยน
5. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนจับคู่ร่วมกันฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมการวิ่งระยะไกล การนัง่ งอตัวไปข้างหน้า และการหาค่าดัชนีมวลกาย
โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด โดยครู คอยดูแลการปฏิบตั ิอย่างใกล้ชิด พร้อมทั้งให้คาํ แนะนําเพิ่มเติมเพื่อให้
นักเรี ยนเกิดความมัน่ ใจในการปฏิบตั ิและสามารถปฏิบตั ิกิจกรรมได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
2. ครู ให้นกั เรี ยนจับคู่ผลัดเปลี่ยนกันปฏิบตั ิกิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพในการวิ่ง
ระยะไกล (ระยะทาง 600 เมตร) การนัง่ งอตัวไปข้างหน้า และการหาค่าดัชนีมวลกาย แล้วจดบันทึกผลการ
ปฏิบตั ิ
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนนําเวลาที่ทาํ ได้ในการทดสอบการวิ่งระยะไกล รวมถึงนําระยะทางที่วดั ได้ในการทดสอบการนัง่
งอตัวไปข้างหน้า และนําค่าดัชนีมวลกายที่คาํ นวณได้ในการทดสอบการหาค่าดัชนีมวลกาย มาเปรี ยบเทียบ
กับตารางเกณฑ์มาตรฐาน และจดบันทึกว่าตนเองมีสมรรถภาพทางกายในด้านดังกล่าวอยูใ่ นระดับใด
แล้วอภิปรายร่ วมกับเพื่อน ๆ ในชั้นเรี ยน
2. นักเรี ยนอาสาสมัคร 2–3 คนผลัดเปลี่ยนกันออกมานําเสนอผลการแปลผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
เพื่อสุขภาพในการวิ่งระยะไกล การนัง่ งอตัวไปข้างหน้า และการหาค่าดัชนีมวลกายของตนเอง หน้าชั้น
เรี ยน โดยครู แสดงความคิดเห็นต่อการปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรี ยน พร้อมทั้งให้ความรู้ที่ถูกต้องและ
คําแนะนําเพิ่มเติม
3. นักเรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรม ควรอ้ วนหรื อผอม เราจะยอมให้ เป็ นอย่ างไร ดังรายละเอียดในใบกิจกรรมที่ครู
แจกให้หรื อในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
4. สุ่มนักเรี ยนประมาณ 1–2 คนออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยนโดยครู เสนอแนะและให้
ความรู้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
430

ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้


1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าเรื่อง การทดสอบและปรั บปรุงสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ ใน
หัวข้ อที่ 5.2 การปรับปรุงสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ ในประเด็นเกีย่ วกับการสร้ างเสริมความ
แข็งแรง ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการ
เรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการ
เรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรนําผลการทดสอบการวิ่งระยะไกล การนัง่ งอตัวไปข้างหน้า และการหาค่าดัชนีมวลกาย มาใช้ในการ
ปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพให้ดีข้ ึน

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิบายเรื่ อง การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ใน
หัวข้อที่ 5.1 การทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ (ต่อ) ในประเด็นเกี่ยวกับวิธีการทดสอบสมรรถภาพ
ทางกายเพื่อสุ ขภาพและการแปลผล ในหัวข้อย่อยที่ 3. การวิง่ ระยะไกล หัวข้อย่อยที่ 4. การนัง่ งอตัวไป
ข้างหน้า และหัวข้อย่อยี่ 5. การหาค่าดัชนีมวลกาย
2. บัตรคําที่เกี่ยวข้องกับการทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพในการวิ่งระยะไกล การนัง่ งอตัวไปข้างหน้า
และการหาค่าดัชนีมวลกาย ในภาษาอังกฤษ
3. อุปกรณ์ประกอบการทดสอบการวิ่งระยะไกล การนัง่ งอตัวไปข้างหน้า และการหาค่าดัชนีมวลกาย เช่น
นาฬิกาจับเวลา กล่องเครื่ องมือวัดความอ่อนตัวที่มีสเกล เครื่ องชัง่ นํ้าหนัก เครื่ องวัดส่วนสูง
4. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
5. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
6. ใบกิจกรรม เรื่ อง ควรอ้ วนหรื อผอม เราจะยอมให้ เป็ นอย่ างไร
7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
431

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
432

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 71
การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 4: การสร้ างเสริมสุ ขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 ใส่ ใจสุ ขภาพ เรื่อง การปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ

1. สาระสํ าคัญ
การที่ร่างกายของคนใดคนหนึ่งจะมีสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพที่ดีได้น้ นั จะต้องฝึ กการสร้างเสริ ม
สมรรถภาพทางกายแบบต่าง ๆ อย่างสมํ่าเสมอ โดยสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพที่นิยมสร้างเสริ มประกอบด้วย
ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ความอ่อนตัว ความอดทนของกล้ามเนื้อและระบบไหลเวียนโลหิ ต และความเร็ ว ซึ่งใน
การเรี ยนครั้งนักเรี ยนจะได้เรี ยนรู ้และฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมสร้างเสริ มความแข็งแรง โดยมีรูปแบบการปฏิบตั ิ
ตัวอย่างเช่น ท่ายกเข่าแตะข้อศอก ท่ายกขาตั้งฉาก ท่ายกขาแยกชิด ท่าไถนา และท่างอขาถีบ

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
• ทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย (พ 4.1 ป. 5/5)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายวิธีการปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพในการสร้างเสริ มความแข็งแรงอย่างถูกต้องได้ (K)
2. เข้าร่ วมศึกษาและฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมการปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพในการสร้างเสริ มความ
แข็งแรงด้วยความสนใจและกระตือรื อร้น (A)
3. แสดงทักษะในการปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพในการสร้างเสริ มความแข็งแรงอย่างถูกวิธีได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับรู ปแบบการปฏิบตั ิ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
กิจกรรมการปรับปรุ งสมรรถภาพ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ทางกายเพื่อสุ ขภาพในการสร้าง แผนที่ความคิด*
เสริ มความแข็งแรง
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
433

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
5. การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ (ต่อ)
5.2 การปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ
– การสร้างเสริ มความแข็งแรง

6. แนวทางบูรณาการ
คณิ ตศาสตร์  นับจํานวนครั้งในการปฏิบตั ิกิจกรรมการสร้างเสริ มความแข็งแรง
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนสรุ ปเกี่ยวกับวิธีการปรับปรุ ง
สมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพในการสร้างเสริ มความแข็งแรง
วิทยาศาสตร์  สังเกตและวิเคราะห์ลกั ษณะการเคลื่อนไหวร่ างกายในการปฏิบตั ิกิจกรรมการ
สร้างเสริ มความแข็งแรงตามหลักวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวหรื อวิทยาศาสตร์
การกีฬา

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
434

3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในเรื่อง การทดสอบและ


ปรับปรุงสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ ในหัวข้ อที่ 5.2 การปรับปรุงสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ ใน
ประเด็นเกีย่ วกับการสร้ างเสริมความแข็งแรง มาล่ วงหน้ า ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา
โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัตกิ จิ กรรมดังกล่าวของนักเรียน
4. ให้นกั เรี ยนร่ วมกันตอบคําถามในประเด็นต่อไปนี้ เพื่อเป็ นการกระตุน้ ความสนใจในการเรี ยนรู้ของ
นักเรี ยน ตัวอย่างคําถาม เช่น
– นักเรี ยนมีสมรรถภาพทางกายด้านความแข็งแรงของกล้ามเนื้ออยูใ่ นเกณฑ์ใด แล้วคิดว่าจะปฏิบตั ิ
อย่างไรต่อไปหลังจากนี้ (ตอบจากประสบการณ์ ในเรี ยนครั้ งที่ ผ่านมา เช่ น มีสมรรถภาพทางกายด้ าน
ความแข็งแรงของกล้ ามเนือ้ อยู่ในเกณฑ์ ตาํ่ ซึ่ งหลังจากนีจ้ ะต้ องวางแผนในการออกกําลังกายเพื่อสร้ าง
เสริ มความแข็งแรงของกล้ ามเนือ้ อย่ างสมํา่ เสมอ เช่ น ปฏิบัติท่าลุกนั่ง ดันพืน้ เป็ นต้ น เพื่อให้ มี
สมรรถภาพทางกายด้ านความแข็งแรงของกล้ ามเนือ้ อยู่ในเกณฑ์ มาตรฐาน
– นักเรี ยนรู ้จกั กิจกรรมการสร้างเสริ มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อบ้างหรื อไม่ อะไรบ้าง (ตอบได้ โดย
อิสระ)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู้ในหัวข้อที่ 5.2 การปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ ใน
ประเด็นเกี่ยวกับการสร้างเสริ มความแข็งแรง เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการ
เรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู้เรื่ อง การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ในหัวข้อที่ 5.2 การปรับปรุ ง
สมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ ในประเด็นเกี่ยวกับการสร้างเสริ มความแข็งแรง โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อ
วีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
2. ครู สาธิตวิธีปฏิบตั ิกิจกรรมการสร้างเสริ มความแข็งแรง ท่าที่ 1 ถึง 5 ตามลําดับ โดยให้นกั เรี ยนอาสาสมัคร
เข้าร่ วมการสาธิ ตเพื่อเป็ นตัวอย่าง แล้วให้นกั เรี ยนฝึ กปฏิบตั ิตาม
3. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนจับคู่ร่วมกันฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมการสร้างเสริ มความแข็งแรง ท่าที่ 1 ถึง 5 ตามลําดับ โดยใช้เวลา
ตามที่ครู กาํ หนด จนเกิดความชํานาญ โดยครู คอยดูแลการปฏิบตั ิอย่างใกล้ชิด พร้อมทั้งให้คาํ แนะนํา
เพิ่มเติมเพื่อให้นกั เรี ยนเกิดความมัน่ ใจในการปฏิบตั ิและสามารถปฏิบตั ิกิจกรรมได้อย่างถูกต้องและ
ปลอดภัย
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• สุ่มนักเรี ยน 5 คู่ แต่ละคู่ออกมาแสดงทักษะการปฏิบตั ิกิจกรรมการสร้างเสริ มความแข็งแรง ท่าที่ 1 ถึง 5
โดยปฏิบตั ิคู่ละ 1 ท่า ตามลําดับ ให้เพื่อนและครู ดูหน้าชั้นเรี ยน โดยครู ให้ความรู ้ที่ถูกต้องและให้คาํ แนะนํา
เพิ่มเติม
435

ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้


1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าเรื่อง การทดสอบและปรั บปรุงสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ ใน
หัวข้ อที่ 5.2 การปรับปรุงสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ (ต่ อ) ในประเด็นเกีย่ วกับการสร้ างเสริมความ
อ่อนตัว ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการ
เรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการ
เรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรียนควรฝึ กปฏิบัตกิ จิ กรรมการสร้ างเสริมความแข็งแรง ท่ าที่ 1 ถึง 5 รวมถึงท่ าอืน่ ๆ นอกเหนือจากบทเรียน
เพิม่ เติมนอกเวลาเรียน หรือใช้ เวลาในกิจกรรมการลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ตามที่สถานศึกษากําหนด เพือ่ สร้ าง
เสริมสุ ขภาพร่ างกายให้ แข็งแรง สามารถปฏิบัตกิ จิ กรรมในชีวติ ประจําวันได้ อย่างมีประสิ ทธิภาพ

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิบายเรื่ อง การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ใน
หัวข้อที่ 5.2 การปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ในประเด็นเกี่ยวกับการสร้างเสริ มความแข็งแรง
2. อุปกรณ์ประกอบการปฏิบตั ิกิจกรรมการสร้างเสริ มความแข็งแรง เช่น เบาะรอง
3. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
4. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
5. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
6. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
436

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
437

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 72
การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 4: การสร้ างเสริมสุ ขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 ใส่ ใจสุ ขภาพ เรื่อง การปรับปรุงสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
ในการเรี ยนครั้งนักเรี ยนจะได้เรี ยนรู้และฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมสร้างเสริ มความอ่อนตัว โดยมีรูปแบบการ
ปฏิบตั ิ ตัวอย่างเช่น ท่าเดินตัวหนอน ท่ายีราฟชูคอ ท่าปี กไก่ ท่าเหยียดขาให้กว้างที่สุด และท่านัง่ พับตัว

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
• ทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย (พ 4.1 ป. 5/5)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายวิธีการปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพในการสร้างเสริ มความอ่อนตัวอย่างถูกต้องได้ (K)
2. เข้าร่ วมศึกษาและฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมการปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพในการสร้างเสริ มความอ่อนตัว
ด้วยความสนใจและกระตือรื อร้น (A)
3. แสดงทักษะในการปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพในการสร้างเสริ มความอ่อนตัวอย่างถูกวิธีได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับรู ปแบบการปฏิบตั ิ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
กิจกรรมการปรับปรุ งสมรรถภาพ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ทางกายเพื่อสุ ขภาพในการสร้าง แผนที่ความคิด*
เสริ มความอ่อนตัว
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
438

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
5. การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ (ต่อ)
5.2 การปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ (ต่อ)
– การสร้างเสริ มความอ่อนตัว

6. แนวทางบูรณาการ
คณิ ตศาสตร์  นับจังหวะการปฏิบตั ิในแต่ละท่าค้างไว้ นับจํานวนครั้งในการปฏิบตั ิกิจกรรม
การสร้างเสริ มความอ่อนตัว
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนสรุ ปเกี่ยวกับวิธีการปรับปรุ ง
สมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพในการสร้างเสริ มความอ่อนตัว
วิทยาศาสตร์  สังเกตและวิเคราะห์ลกั ษณะการเคลื่อนไหวร่ างกายในการปฏิบตั ิกิจกรรมการ
สร้างเสริ มความอ่อนตัวตามหลักวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวหรื อวิทยาศาสตร์
การกีฬา

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในเรื่อง การทดสอบและ
ปรับปรุงสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ ในหัวข้ อที่ 5.2 การปรับปรุงสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ
(ต่ อ) ในประเด็นเกีย่ วกับการสร้ างเสริมความอ่อนตัว มาล่วงหน้ า ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้ง
ที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัตกิ ิจกรรมดังกล่ าวของนักเรียน
439

4. ให้นกั เรี ยนร่ วมกันตอบคําถามในประเด็นต่อไปนี้ เพื่อเป็ นการกระตุน้ ความสนใจในการเรี ยนรู้ของ


นักเรี ยน ตัวอย่างคําถาม เช่น
– นักเรี ยนฝึ กกิจกรรมการสร้างเสริ มและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเป็ นประจําทุกวันจะเกิดผลอย่างไร
ต่อร่ างกาย (ร่ างกายแข็งแรงมากขึน้ )
– นักเรี ยนมีสมรรถภาพทางกายด้านความอ่อนตัวของกล้ามเนื้ออยูใ่ นเกณฑ์ใด แล้วคิดว่าจะปฏิบตั ิ
อย่างไรต่อไปหลังจากนี้ (ตอบจากประสบการณ์ ในเรี ยนครั้ งที่ผ่านมา เช่ น มีสมรรถภาพทางกายด้ าน
ความอ่ อนตัวอยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง ซึ่ งหลังจากนีจ้ ะต้ องวางแผนในการออกกําลังกายเพื่อสร้ างเสริ ม
ความอ่ อนตัวอย่ างสมํา่ เสมอ เช่ น นั่งก้ มตัวแตะปลายเท้ า ยืดเหยียดกล้ ามเนือ้ ด้ วยท่ ากายบริ หาร ปฏิบัติ
กิจกรรมยืดหยุ่น เป็ นต้ น เพื่อให้ มีสมรรถภาพทางกายด้ านความอ่ อนตัวอยู่ในเกณฑ์ ดีและพัฒนาให้ ดี
ยิ่งขึน้ ต่ อไป)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู้ในหัวข้อที่ 5.2 การปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ
(ต่อ) ในประเด็นเกี่ยวกับการสร้างเสริ มความอ่อนตัว เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจ
ในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู้เรื่ อง การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ในหัวข้อที่ 5.2 การปรับปรุ ง
สมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ (ต่อ) ในประเด็นเกี่ยวกับการสร้างเสริ มความอ่อนตัว โดยใช้ภาพหรื อเปิ ด
สื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิบาย
2. ครู ต้ งั ประเด็นคําถาม ให้นกั เรี ยนร่ วมกันตอบ เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของนักเรี ยน ตัวอย่างเช่น
– หากนักเรี ยนต้องการฝึ กสมรรถภาพทางกายด้านความอ่อนตัวจะมีวิธีการฝึ กอย่างไร (ฝึ กโดยนั่งขาเหยียด
ตรง แล้ วงอตัวใช้ มือยื่นแตะหรื อจับปลายเท้ า)
– ในการปฏิบตั ิท่าปี กไก่ ถ้าขณะปฏิบตั ิ เราไม่ยืนแยกเท้าทั้งสองออกห่างกันเท่ากับความกว้างของช่วงไหล่
หรื อประมาณ 1 ช่วงไหล่ จะเป็ นเช่นไร (อาจเสี ยการทรงตัวและล้ มลงได้ )
– นักเรี ยนคิดว่าการสร้างเสริ มและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายด้านความอ่อนตัวท่าใดที่ทาํ ง่ายที่สุด
(ตอบได้ โดยอิสระ)
3. ครู สาธิตวิธีปฏิบตั ิกิจกรรมการสร้างเสริ มความอ่อนตัว ท่าที่ 1 ถึง 5 ตามลําดับ โดยให้นกั เรี ยนอาสาสมัคร
เข้าร่ วมการสาธิ ตเพื่อเป็ นตัวอย่าง แล้วให้นกั เรี ยนฝึ กปฏิบตั ิตาม
4. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนจับคู่ร่วมกันฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมการสร้างเสริ มความอ่อนตัว ท่าที่ 1 ถึง 5 ตามลําดับ โดยใช้เวลา
ตามที่ครู กาํ หนด จนเกิดความชํานาญ โดยครู คอยดูแลการปฏิบตั ิอย่างใกล้ชิด พร้อมทั้งให้คาํ แนะนํา
เพิ่มเติมเพื่อให้นกั เรี ยนเกิดความมัน่ ใจในการปฏิบตั ิและสามารถปฏิบตั ิกิจกรรมได้อย่างถูกต้องและ
ปลอดภัย
440

ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• สุ่มนักเรี ยน 5 คู่ แต่ละคู่ออกมาแสดงทักษะการปฏิบตั ิกิจกรรมการสร้างเสริ มความอ่อนตัว ท่าที่ 1 ถึง 5
โดยปฏิบตั ิคู่ละ 1 ท่า ตามลําดับ ให้เพื่อนและครู ดูหน้าชั้นเรี ยน โดยครู ให้ความรู ้ที่ถูกต้องและให้คาํ แนะนํา
เพิ่มเติม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าเรื่อง การทดสอบและปรั บปรุงสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ ใน
หัวข้ อที่ 5.2 การปรับปรุงสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ (ต่ อ) ในประเด็นเกีย่ วกับการสร้ างเสริมความ
อดทน ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการ
เรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการ
เรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรียนควรฝึ กปฏิบัตกิ จิ กรรมการสร้ างเสริมความอ่อนตัว ท่ าที่ 1 ถึง 5 รวมถึงท่ าอืน่ ๆ นอกเหนือจากบทเรียน
เพิม่ เติมนอกเวลาเรียน หรือใช้ เวลาในกิจกรรมการลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ตามที่สถานศึกษากําหนด เพือ่ สร้ าง
เสริมสุ ขภาพร่ างกายให้ แข็งแรง สามารถปฏิบัตกิ จิ กรรมในชีวติ ประจําวันได้ อย่างมีประสิ ทธิภาพ

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิบายเรื่ อง การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ใน
หัวข้อที่ 5.2 การปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ (ต่อ) ในประเด็นเกี่ยวกับการสร้างเสริ มความอ่อนตัว
2. อุปกรณ์ประกอบการปฏิบตั ิกิจกรรมการสร้างเสริ มความอ่อนตัว เช่น เบาะรอง
3. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
4. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
5. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
6. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
441

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
442

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 73
การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 4: การสร้ างเสริมสุ ขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 ใส่ ใจสุ ขภาพ เรื่อง การปรับปรุงสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
ในการเรี ยนครั้งนักเรี ยนจะได้เรี ยนรู้และฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมสร้างเสริ มความอดทน โดยมีรูปแบบการ
ปฏิบตั ิ ตัวอย่างเช่น ท่าเตะแบบปู ท่ากระโดดขาเดียว ท่ายกปลายเท้าแตะกัน และท่าดันพื้น

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
• ทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย (พ 4.1 ป. 5/5)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายวิธีการปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพในการสร้างเสริ มความอดทนอย่างถูกต้องได้ (K)
2. เข้าร่ วมศึกษาและฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมการปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพในการสร้างเสริ มความอดทน
ด้วยความสนใจและกระตือรื อร้น (A)
3. แสดงทักษะในการปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพในการสร้างเสริ มความอดทนอย่างถูกวิธีได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับรู ปแบบการปฏิบตั ิ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
กิจกรรมการปรับปรุ งสมรรถภาพ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ทางกายเพื่อสุ ขภาพในการสร้าง แผนที่ความคิด*
เสริ มความอดทน
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
443

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
5. การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ (ต่อ)
5.2 การปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ (ต่อ)
– การสร้างเสริ มความอดทน

6. แนวทางบูรณาการ
คณิ ตศาสตร์  นับจํานวนครั้งในการปฏิบตั ิกิจกรรมการสร้างเสริ มความอดทน
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนสรุ ปเกี่ยวกับวิธีการปรับปรุ ง
สมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพในการสร้างเสริ มความอดทน
วิทยาศาสตร์  สังเกตและวิเคราะห์ลกั ษณะการเคลื่อนไหวร่ างกายในการปฏิบตั ิกิจกรรมการ
สร้างเสริ มความอดทนตามหลักวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวหรื อวิทยาศาสตร์
การกีฬา

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในเรื่อง การทดสอบและ
ปรับปรุงสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ ในหัวข้ อที่ 5.2 การปรับปรุงสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ
(ต่ อ) ในประเด็นเกีย่ วกับการสร้ างเสริมความอดทน มาล่ วงหน้ า ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่
ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบตั กิ จิ กรรมดังกล่าวของนักเรียน
444

4. ให้นกั เรี ยนร่ วมกันตอบคําถามในประเด็นต่อไปนี้ เพื่อเป็ นการกระตุน้ ความสนใจในการเรี ยนรู้ของ


นักเรี ยน ตัวอย่างคําถาม เช่น
– นักเรี ยนมีสมรรถภาพทางกายด้านความอ่อนตัวของกล้ามเนื้ออยูใ่ นเกณฑ์ใด แล้วคิดว่าจะปฏิบตั ิ
อย่างไรต่อไปหลังจากนี้ (ตอบจากประสบการณ์ ในเรี ยนครั้ งที่ ผ่านมา เช่ น มีสมรรถภาพทางกายด้ าน
ความอดทนอยู่ในเกณฑ์ ดี ซึ่ งหลังจากนีจ้ ะต้ องวางแผนในการออกกําลังกายเพื่อสร้ างเสริ มความอดทน
อย่ างสมํา่ เสมอ เช่ น กระโดดขาเดียว วิ่งกระโดดไกล ดันพืน้ เป็ นต้ น เพื่อพัฒนาสมรรถภาพทางกายด้ าน
ความอดทนให้ คงอยู่และดียิ่ง ๆ ขึน้ ไป)
– นักเรี ยนรู ้จกั หรื อเคยปฏิบตั ิกิจกรรมการสร้างเสริ มสมรรถภาพทางกายด้านความอดทนของกล้ามเนื้อ
หรื อไม่ อย่างไร (ตอบได้ โดยอิสระ)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู้ในหัวข้อที่ 5.2 การปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ
(ต่อ) ในประเด็นเกี่ยวกับการสร้างเสริ มความอดทน เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจใน
การเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู้เรื่ อง การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ในหัวข้อที่ 5.2 การปรับปรุ ง
สมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ (ต่อ) ในประเด็นเกี่ยวกับการสร้างเสริ มความอดทน โดยใช้ภาพหรื อเปิ ด
สื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิบาย
2. ครู ต้ งั ประเด็นคําถาม ให้นกั เรี ยนร่ วมกันตอบ เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของนักเรี ยน ตัวอย่างเช่น
– นักเรี ยนชื่นชอบกิจกรรมการสร้างเสริ มความอดทนท่าใดมากที่สุด เพราะเหตุใด (ตอบได้ โดยอิสระ)
– นักเรี ยนจะปฏิบตั ิกิจกรรมการสร้างเสริ มความอดทนของกล้ามเนื้อด้วยวิธีที่นอกเหนือจากบทเรี ยนได้
หรื อไม่ อย่างไร (ปฏิบัติได้ โดยหมัน่ ฝึ กการวิ่งกระโดดไกล การดึงข้ อ และการออกกําลังกายที่ เน้ นการ
ออกแรงของกล้ ามเนือ้ เป็ นเวลานาน เช่ น ยกดัมเบลหรื อยกนํา้ หนัก วิ่งระยะไกล ว่ ายนํา้ ถีบจักรยาน
เป็ นต้ น)
3. ครู สาธิตวิธีปฏิบตั ิกิจกรรมการสร้างเสริ มความอดทน ท่าที่ 1 ถึง 4 ตามลําดับ โดยให้นกั เรี ยนอาสาสมัคร
เข้าร่ วมการสาธิ ตเพื่อเป็ นตัวอย่าง แล้วให้นกั เรี ยนฝึ กปฏิบตั ิตาม
4. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนจับคู่ร่วมกันฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมการสร้างเสริ มความอดทน ท่าที่ 1 ถึง 4 ตามลําดับ โดยใช้เวลาตามที่
ครู กาํ หนด จนเกิดความชํานาญ โดยครู คอยดูแลการปฏิบตั ิอย่างใกล้ชิด พร้อมทั้งให้คาํ แนะนําเพิ่มเติม
เพื่อให้นกั เรี ยนเกิดความมัน่ ใจในการปฏิบตั ิและสามารถปฏิบตั ิกิจกรรมได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
445

ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• สุ่มนักเรี ยน 4 คู่ แต่ละคู่ออกมาแสดงทักษะการปฏิบตั ิกิจกรรมการสร้างเสริ มความอดทน ท่าที่ 1 ถึง 4 โดย
ปฏิบตั ิคู่ละ 1 ท่า ตามลําดับ ให้เพื่อนและครู ดูหน้าชั้นเรี ยน โดยครู ให้ความรู ้ที่ถูกต้องและให้คาํ แนะนํา
เพิ่มเติม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าเรื่อง การทดสอบและปรั บปรุงสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ ใน
หัวข้ อที่ 5.2 การปรับปรุงสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ (ต่ อ) ในประเด็นเกีย่ วกับการสร้ างเสริม
ความเร็ว ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการ
เรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการ
เรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรียนควรฝึ กปฏิบัตกิ จิ กรรมการสร้ างเสริมความอดทน ท่ าที่ 1 ถึง 4 รวมถึงท่ าอืน่ ๆ นอกเหนือจากบทเรียน
เพิม่ เติมนอกเวลาเรียน หรือใช้ เวลาในกิจกรรมการลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ตามที่สถานศึกษากําหนด เพือ่ สร้ าง
เสริมสุ ขภาพร่ างกายให้ แข็งแรง สามารถปฏิบัตกิ จิ กรรมในชีวติ ประจําวันได้ อย่างมีประสิ ทธิภาพ

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิบายเรื่ อง การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ใน
หัวข้อที่ 5.2 การปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ (ต่อ) ในประเด็นเกี่ยวกับการสร้างเสริ มความอดทน
2. อุปกรณ์ประกอบการปฏิบตั ิกิจกรรมการสร้างเสริ มความอดทน เช่น เบาะรอง
3. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
4. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
5. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
6. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
446

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
447

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 74
การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 4: การสร้ างเสริมสุ ขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 ใส่ ใจสุ ขภาพ เรื่อง การปรับปรุงสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ (ต่ อ)

1. สาระสํ าคัญ
ในการเรี ยนครั้งนักเรี ยนจะได้เรี ยนรู้และฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมสร้างเสริ มความเร็ ว โดยมีรูปแบบการปฏิบตั ิ
ตัวอย่างเช่น การวิ่งแตะเส้น การวิ่ง 50 เมตร การวิ่งอยูก่ บั ที่ และการวิ่งสลับเดิน

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
• ทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย (พ 4.1 ป. 5/5)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายวิธีการปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพในการสร้างเสริ มความเร็ วอย่างถูกต้องได้ (K)
2. เข้าร่ วมศึกษาและฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมการปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพในการสร้างเสริ มความเร็ วด้วย
ความสนใจและกระตือรื อร้น (A)
3. แสดงทักษะในการปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพในการสร้างเสริ มความเร็ วอย่างถูกวิธีได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับรู ปแบบการปฏิบตั ิ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
กิจกรรมการปรับปรุ งสมรรถภาพ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ทางกายเพื่อสุ ขภาพในการสร้าง แผนที่ความคิด*
เสริ มความเร็ ว

• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ขึ้นอยูก่ บั ดุลยพินิจของครู


ปฏิบตั ิกิจกรรม วิธีการใดหนา ที่ ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
ช่ วยพัฒนาสมรรถภาพ พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ป. 5*
448

วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล


• ตรวจสอบความถูกต้องของ • แบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการ • ร้อยละ 80 ขึ้นไป
การทดสอบประจําหน่วย เรี ยนรู้ที่ 4 ใส่ใจสุขภาพ**
การเรี ยนรู้ที่ 4 ใส่ใจสุ ขภาพ
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
*/**ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู หรื อในสื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์
วัฒนาพานิช จํากัด

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
5. การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ (ต่อ)
5.2 การปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ (ต่อ)
– การสร้างเสริ มความเร็ ว

6. แนวทางบูรณาการ
คณิ ตศาสตร์  วัดระยะทางในการวิ่ง จับเวลาในการวิ่ง และนับจํานวนครั้งในการปฏิบตั ิ
กิจกรรมการสร้างเสริ มความเร็ ว
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนสรุ ปเกี่ยวกับวิธีการปรับปรุ ง
สมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพในการสร้างเสริ มความเร็ ว
วิทยาศาสตร์  สังเกตและวิเคราะห์ลกั ษณะการเคลื่อนไหวร่ างกายในการปฏิบตั ิกิจกรรมการ
สร้างเสริ มความเร็ วตามหลักวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวหรื อวิทยาศาสตร์
การกีฬา
449

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ให้นกั เรี ยนอาสาสมัครออกมานําเพื่อนอบอุ่นร่ างกาย (warm–up) ด้วยการปฏิบตั ิท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ
หรื อท่ากายบริ หาร หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายตามที่เคยได้ศึกษาผ่านมา โดยใช้เวลา 5–10 นาที เพื่อ
เตรี ยมความพร้อมในการปฏิบตั ิกิจกรรม
2. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในเรื่อง การทดสอบและ
ปรับปรุงสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ ในหัวข้ อที่ 5.2 การปรับปรุงสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุ ขภาพ
(ต่ อ) ในประเด็นเกีย่ วกับการสร้ างเสริมความเร็ว มาล่วงหน้ า ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่
ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบตั กิ จิ กรรมดังกล่าวของนักเรียน
4. ให้นกั เรี ยนร่ วมกันตอบคําถามในประเด็นต่อไปนี้ เพื่อเป็ นการกระตุน้ ความสนใจในการเรี ยนรู้ของ
นักเรี ยน ตัวอย่างคําถาม เช่น
– หากนักเรี ยนต้องการทราบสมรรถภาพทางกายด้านความเร็ วจะมีวิธีการทดสอบอย่างไร (ทดสอบโดย
ปฏิบัติกิจกรรมการวิ่งเร็ ว 50 เมตร เพื่อไปแตะเส้ นชัย แล้ วให้ เพื่อนจับเวลา)
– ถ้านักเรี ยนวิ่งช้าไม่ทนั เพื่อน นักเรี ยนจะปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายด้านความเร็ วของตนเองให้ดีข้ ึนได้
หรื อไม่ อย่างไร (สามารถปรั บปรุ งให้ ดีขึน้ ได้ โดยหมัน่ ฝึ กวิ่งอยู่กับที่ วิ่งเร็ ว วิ่งสลับเดิน ซึ่ งต้ องฝึ กอย่ าง
ต่ อเนื่องและสมํา่ เสมอ จะช่ วยสร้ างเสริ มสมรรถภาพทางกายด้ านความเร็ วให้ ดีขึน้ ได้ ตามลําดับ)
– นักเรี ยนรู ้จกั หรื อเคยปฏิบตั ิกิจกรรมการสร้างเสริ มสมรรถภาพทางกายด้านความเร็ วหรื อไม่ อย่างไร
(ตอบได้ โดยอิสระ)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู้ในหัวข้อที่ 5.2 การปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ
(ต่อ) ในประเด็นเกี่ยวกับการสร้างเสริ มความเร็ ว เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจใน
การเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู้เรื่ อง การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ในหัวข้อที่ 5.2 การปรับปรุ ง
สมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ (ต่อ) ในประเด็นเกี่ยวกับการสร้างเสริ มความเร็ ว โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อ
วีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
2. ครู สาธิตวิธีปฏิบตั ิกิจกรรมการสร้างเสริ มความเร็ ว ท่าที่ 1 ถึง 4 ตามลําดับ โดยให้นกั เรี ยนอาสาสมัครเข้า
ร่ วมการสาธิตเพื่อเป็ นตัวอย่าง แล้วให้นกั เรี ยนฝึ กปฏิบตั ิตาม
3. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
450

ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนจับคู่ร่วมกันฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมการสร้างเสริ มความเร็ ว ท่าที่ 1 ถึง 4 ตามลําดับ โดยใช้เวลาตามที่
ครู กาํ หนด จนเกิดความชํานาญ โดยครู คอยดูแลการปฏิบตั ิอย่างใกล้ชิด พร้อมทั้งให้คาํ แนะนําเพิ่มเติม
เพื่อให้นกั เรี ยนเกิดความมัน่ ใจในการปฏิบตั ิและสามารถปฏิบตั ิกิจกรรมได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
2. สุ่มนักเรี ยน 4 คู่ แต่ละคู่ออกมาแสดงทักษะการปฏิบตั ิกิจกรรมการสร้างเสริ มความเร็ว ท่าที่ 1 ถึง 4 โดย
ปฏิบตั ิคู่ละ 1 ท่า ตามลําดับ ให้เพื่อนและครู ดูหน้าชั้นเรี ยน โดยครู ให้ความรู้ที่ถูกต้องและให้คาํ แนะนํา
เพิ่มเติม
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนร่ วมกันปฏิบตั ิกิจกรรม วิธีการใดหนา ที่ ช่วยพัฒนาสมรรถภาพ ดังรายละเอียดในใบกิจกรรมที่ครู
แจกให้หรื อในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
2. นักเรี ยนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน โดยครู ให้ความรู้และ
คําแนะนําที่ถูกต้องเพิม่ เติม
3. ครู แจกแบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 4 ใส่ใจสุ ขภาพ ให้นกั เรี ยนทําเพื่อตรวจสอบความรู ้
ความเข้าใจหลังการเรี ยนรู้ โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
4. ครู เฉลยคําตอบที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนทราบและให้ความรู ้เพิ่มเติมเพื่อเสริ มสร้างการเรี ยนรู้ให้กบั นักเรี ยน
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. นักเรี ยนอาสาสมัครออกนําเพื่อนคลายกล้ามเนื้อ (cool–down) ในท่ายืด–เหยียดกล้ามเนื้อที่ศึกษาผ่านมา
แล้วทําความสะอาดร่ างกาย
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
3. ครูถามคําถามเชื่อมโยงสู่ บทเรียนต่ อไป เพือ่ ให้ นักเรียนไปค้ นหาคําตอบจากบทเรียนมาล่วงหน้ า ดังนี้
– นักเรียนมีความคิดเห็นอย่ างไรกับการใช้ สารเสพติดของเยาวชนไทยในปัจจุบัน
4. มอบหมายให้ นักเรียนไปศึกษาเนือ้ หาในหน่ วยการเรียนรู้ที่ 5 ชีวติ ปลอดภัย เรื่อง ยาและสารเสพติด ใน
ประเด็นเกีย่ วกับความหมายของยาและสารเสพติด และในหัวข้ อที่ 1.1 ปัจจัยที่มอี ทิ ธิพลต่อการใช้ สารเสพติด
รวมถึงในหัวข้ อที่ 1.2 ผลกระทบของการใช้ ยาและสารเสพติด ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชา
พืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของ
โรงเรียน ฯลฯ หรือขอรับความรู้จากผู้ปกครอง มาล่วงหน้ า แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้ง
ต่ อไป
451

8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. นักเรียนควรฝึ กปฏิบัตกิ จิ กรรมการสร้ างเสริมความอดทน ท่ าที่ 1 ถึง 4 รวมถึงท่ าอืน่ ๆ นอกเหนือจากบทเรียน
เพิม่ เติมนอกเวลาเรียน หรือใช้ เวลาในกิจกรรมการลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ตามที่สถานศึกษากําหนด เพือ่ สร้ าง
เสริมสุ ขภาพร่ างกายให้ แข็งแรง สามารถปฏิบัตกิ จิ กรรมในชีวติ ประจําวันได้ อย่างมีประสิ ทธิภาพ
2. นักเรี ยนควรหมัน่ ฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมสร้างเสริ มสมรรถภาพทางกายในด้านต่าง ๆ อย่างต่อเนื่องและสมํ่าเสมอ
เพื่อการมีสุขภาพร่ างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง และควรนําความรู ้ที่ได้เรี ยนรู ้และฝึ กปฏิบตั ิดงั กล่าวไปถ่ายทอดแก่
สมาชิกในครอบครัวและคนในชุมชนเพื่อช่วยส่งเสริ มการมีสุขภาพดีให้กบั ผูอ้ ื่นด้วย

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิบายเรื่ อง การทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ใน
หัวข้อที่ 5.2 การปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ (ต่อ) ในประเด็นเกี่ยวกับการสร้างเสริ มความเร็ ว
2. อุปกรณ์ประกอบการปฏิบตั ิกิจกรรมการสร้างเสริ มความเร็ ว เช่น นาฬิกาจับเวลา
3. สนามหญ้า ลานอเนกประสงค์ หรื อโรงฝึ กพลศึกษา
4. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย และการ
เล่นกีฬา หรื อพลศึกษา สื่ ออินเตอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู พลศึกษา
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ฯลฯ
5. แบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 4 ใส่ใจสุขภาพ
6. ใบกิจกรรม เรื่ อง วิธีการใดหนา ที่ ช่วยพัฒนาสมรรถภาพ
7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
452

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
453

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ชีวติ ปลอดภัย เวลา 6 ชั่วโมง

ผังมโนทัศน์ เป้าหมายการเรียนรู้และขอบข่ายภาระงาน
ความรู้
1. ยาและสารเสพติด
2. อิทธิ พลของสื่ อที่มีต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ
3. การป้ องกันอันตรายจากการเล่นกีฬา

ทักษะ/กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม


1. การสื่ อสารเพื่ออธิบายปัจจัยที่มีอิทธิ พลต่อ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การใช้สารเสพติด ผลกระทบของการใช้ยา 1. มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ในการร่ วมศึกษาและปฏิบตั ิ
และสารเสพติด การใช้ยาอย่างปลอดภัย และ กิจกรรมการเรี ยนรู ้เกี่ยวกับปั จจัยที่มีอิทธิพล
การหลีกเลี่ยงสารเสพติด ต่อการใช้สารเสพติด ผลกระทบของการใช้ยา
2. การสื่ อสารเพื่อการอธิบายอิทธิพลของสื่ อที่ และสารเสพติด วิธีการใช้ยาอย่างปลอดภัย
ส่ งผลดีต่อพฤติกรรมสุ ขภาพและอิทธิพลของ และการหลีกเลี่ยงสารเสพติดกับผูอ้ ื่น
สื่ อที่ส่งผลเสี ยต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ ชีวติ ปลอดภัย 2. มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ในการร่ วมศึกษาและปฏิบตั ิ
3. การสื่ อสารเพื่อการอธิบายปัจจัยที่ก่อให้เกิด กิจกรรมการเรี ยนรู ้เกี่ยวกับอิทธิพลของสื่ อที่
อันตรายจากการเล่นกีฬาและการป้ องกัน ส่ งผลดีต่อพฤติกรรมสุ ขภาพและอิทธิ พลของ
อันตรายจากการเล่นกีฬาในแต่ละปัจจัย สื่ อที่ส่งผลเสี ยต่อพฤติกรรมสุ ขภาพกับผูอ้ ื่น
4. การแสดงทักษะวิธีการใช้ยา 3. มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ในการร่ วมศึกษาและปฏิบตั ิ
5. การแสดงทักษะในการหลีกเลี่ยงสารเสพติด กิจกรรมการเรี ยนรู ้เกี่ยวกับปั จจัยที่ก่อให้เกิด
6. การแสดงทักษะในการป้ องกันอันตรายจาก อันตรายจากการเล่นกีฬาและการป้ องกัน
การเล่นกีฬา อันตรายจากการเล่นกีฬาในแต่ละปัจจัย
7. การใช้เทคโนโลยีในการศึกษาค้นคว้า กับผูอ้ ื่น

ภาระงาน/ชิ้นงาน
1. ศึกษาเกี่ยวกับความหมายของยาและสารเสพติด และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้สารเสพติด
2. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ สารเสพติดดีหรื อไม่ เรารู้ ไหมช่ วยบอกมา
3. ศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบของการใช้ยาและสารเสพติด
4. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ร่ วมกันอ่ านกรณี ศึกษานี ้ แล้ วช่ วยชี ้ถึงปั ญหา
5. ศึกษาเกี่ยวกับการใช้ยาอย่างปลอดภัย
6. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ในตู้ยามีอะไร ร่ วมกันไปเร่ งค้ นหา
7. ศึกษาเกี่ยวกับการหลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติด
8. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ร่ วมกันระดมความคิด เพื่อพิชิตสารเสพติด
9. ศึกษาเกี่ยวกับความหมายของพฤติกรรมสุ ขภาพและสื่ อ อิทธิพลของสื่ อที่มีผลดีต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ และอิทธิพลของสื่ อที่มีผลเสี ยต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ
10. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ อิทธิ พลของสื่ อ ที่เลื่องลือถึงสุ ขภาพ
11. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้ สื่ อไม่ ดีล้วนมีอิทธิ พล ลองช่ วยบอกผลที่ กระทบต่ อพวกเรา
12. ศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่ก่อให้เกิดอันตรายจากการเล่นกีฬาและการป้ องกันอันตรายจากการเล่นกีฬาในแต่ละปัจจัย
13. ปฏิบตั ิกิจกรรมการการเรี ยนรู ้ อันตรายจากการเล่ นกีฬา เราลองมาหาวิธีป้องกัน
14. ปฏิบตั ิกิจกรรมการการเรี ยนรู ้ ลองดูภาพกีฬาที่มีให้ อาจเกิดอันตรายอย่ างไรช่ วยบอกมา
15. โครงงานการค้นคว้าข้อมูลเรื่ อง อันตรายจากการใช้ยาไม่ถูกต้อง พฤติกรรมในการใช้ยาของสมาชิกในครอบครัว
16. โครงงานการค้นคว้าข้อมูลเรื่ อง โทษของสารเสพติด
17. โครงงานการสํารวจเรื่ อง รายการโทรทัศน์ที่เหมาะกับเด็กและเยาวชน
18. โครงงานการค้นข้อมูลเรื่ อง แนวทางการป้ องกันอันตรายจากการเล่นกีฬาของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5
454

กรอบแนวคิดผังการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพือ่ เน้ นสู่ ผลลัพธ์ ปลายทาง


(Backward Design Template)
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ชีวติ ปลอดภัย
ขั้นตอนที่ 1 ผลลัพธ์ ปลายทางที่ต้องการให้ เกิดขึน้ กับนักเรียน (Design Results)
ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้สารเสพติด (พ 5.1 ป. 5/1)
2. วิเคราะห์ผลกระทบของการใช้ยาและสารเสพติดที่มีผลต่อร่ างกายจิตใจอารมณ์สงั คมและสติปัญญา
(พ 5.1 ป. 5/2)
3. ปฏิบตั ิตนเพื่อความปลอดภัยจากการใช้ยาและหลีกเลี่ยงสารเสพติด (พ 5.1 ป. 5/3)
4. วิเคราะห์อิทธิพลของสื่ อที่มีต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ (พ 5.1 ป. 5/4)
5. ปฏิบตั ิตนเพื่อป้ องกันอันตรายจากการเล่นกีฬา (พ 5.1 ป. 5/5)
ความเข้ าใจที่คงทนของนักเรียน คําถามสํ าคัญที่กระตุ้นให้ นักเรียนเกิดความเข้ าใจที่
 เมื่อศึกษาจบหน่วยการเรี ยนรู ้น้ ีนกั เรี ยนจะเข้ าใจ คงทน
ว่า… – นักเรี ยนตอบได้ไหมว่าอะไรคือปัจจัยสําคัญที่มี
1. การใช้ยาและสารเสพติดมีผลกระทบต่อตัวผู้ อิทธิ พลต่อการใช้สารเสพติด
เสพต่อครอบครัวและสังคม ตลอดจนต่อ – นักเรี ยนคิดว่าการใช้ยาและสารเสพติดจะส่ งผล
ประเทศชาติ กระทบต่อใครบ้าง และส่งผลกระทบอย่างไร
2. วิธีการใช้ยาอย่างปลอดภัยทําได้โดย ควรบอก – หากนักเรี ยนรู้สึกเจ็บป่ วยหรื อต้องการใช้ยาควร
ผูป้ กครองหรื อครู ทุกครั้งเมื่อรู ้สึกเจ็บป่ วย ปฏิบตั ิอย่างไร
หรื อต้องใช้ยาและปฏิบตั ิตามที่ท่านแนะนํา – ถ้านักเรี ยนหยิบยาใช้เองจะเกิดอะไรขึ้นกับตัว
อย่างเคร่ งครัด เมื่อได้รับยาควรอ่านชื่อยาและ นักเรี ยน
วิธีใช้อย่างละเอียด ไม่นาํ ยามาเล่นหรื อใช้พรํ่า – นักเรี ยนจะหลีกเลี่ยงจากการใช้สารเสพติดได้
เพรื่ อ และควรปฏิบตั ิตามหลักในการใช้ยา อย่างไร
อย่างเคร่ งครัด โดยใช้ยาให้ถูกกับโรคหรื อ – สื่ อมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสุ ขภาพของคนเรา
อาการที่เป็ น ใช้ยาให้ถูกวิธีถูกขนาดตามที่ หรื อไม่ อย่างไร
แพทย์สงั่ หรื อตามที่ระบุไว้ที่ฉลากยา ใช้ยาให้ – อันตรายจากการเล่นกีฬาเกิดขึ้นจากสาเหตุใด
ถูกคน ไม่ควรนํายาของผูอ้ ื่นมาใช้ และใช้ยา – นักเรี ยนมีวิธีการป้ องกันอันตรายจากการเล่นกีฬา
ให้ถูกเวลา โดยรู้จกั สังเกตวันหมดอายุของยา อย่างไร
จากฉลากยาหรื อสังเกตการเปลี่ยนแปลง
ภายนอก เช่น การเปลี่ยนสี กลิ่น รู ปร่ าง
3. เพื่อให้ร่างกายได้รับประโยชน์จากการเล่น
กีฬา เราควรมีการป้ องกันอันตรายโดยตรวจ
สุ ขภาพก่อนเล่น ระมัดระวังในการเล่น ควร
455

ยืดเหยียดกล้ามเนื้อก่อนและหลังเล่นทุกครั้ง
เมื่อรู้สึกตัวว่าเหนื่อยให้หยุดเล่น ศึกษาวิธีการ
และกฎกติกาการเล่นอยูเ่ สมอ หมัน่ ฝึ ก
ควบคุมอารมณ์และสติของตนเองในขณะเล่น
ตรวจสอบสภาพสนามและอุปกรณ์กีฬาก่อน
เล่นทุกครั้ง สวมเสื้ อผ้าและรองเท้าที่
เหมาะสมกับชนิดของกีฬาที่จะเล่น และ
สํารวจสภาพอากาศก่อนเล่น หรื อในขณะเล่น
หากมีฝนตกพื้นลื่นไม่ควรลงเล่น เพราะอาจ
ได้รับบาดเจ็บได้
4. สื่ อ หมายถึง การติดต่อถึงกัน ซึ่งในปั จจุบนั
สื่ อมีหลากหลายรู ปแบบและต่างก็มีผลต่อ
พฤติกรรมสุ ขภาพของผูร้ ับสื่ อ ดังนั้นผูร้ ับสื่ อ
จึงต้องรู้จกั คิดวิเคราะห์ถึงผลดีและผลเสี ยของ
สื่ อที่รับมา ซึ่งสามารถส่งผลโดยตรงต่อตัว
ของผูร้ ับสื่ อเอง
5. กีฬา เป็ นกิจกรรมที่สร้างเสริ มให้ร่างกายของ
เราแข็งแรงและส่งผลให้มีสุขภาพที่ดี แต่ถา้
เราไม่ระมัดระวังตนเองในขณะเล่นกีฬาก็อาจ
ก่อให้เกิดอันตรายต่อตนเองและผูอ้ ื่นได้ การ
ป้ องกันอันตรายจากการเล่นกีฬาจึงเป็ น
สิ่ งจําเป็ นสําหรับนักกีฬาหรื อผูเ้ ล่นกีฬาเป็ น
อย่างยิง่ เพื่อป้ องกันไม่ให้ร่างกายเกิดอาการ
บาดเจ็บขึ้นได้
ความรู้ของนักเรียนที่จะนําไปสู่ ความเข้ าใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่จะนําไปสู่ ความ
 เมื่อศึกษาจบหน่วยการเรี ยนรู ้น้ ีนกั เรี ยนจะรู้ ว่า… เข้ าใจที่คงทน
1. คําที่ควรรู้ ได้แก่ คําว่า ยา สารเสพติด  เมื่อศึกษาจบหน่วยการเรี ยนรู้นกั เรี ยนควรมี
2. ยา หมายถึง สารที่ใช้ในการป้ องกันโรคหรื อ ทักษะและสามารถที่จะ…
ความเจ็บป่ วย รวมทั้งใช้บาํ รุ งและสร้างเสริ ม 1. อธิ บายปัจจัยที่มีอิทธิ พลต่อการใช้สารเสพติด
สุ ขภาพร่ างกายและจิตใจ ผลกระทบของการใช้ยาและสารเสพติด การ
3. สารเสพติด หมายถึง สิ่ งที่เสพแล้วเกิดโทษต่อ ใช้ยาอย่างปลอดภัย และการหลีกเลี่ยงสาร
ร่ างกายและจิตใจ ผูเ้ สพจะเกิดความต้องการ เสพติด
เสพอีกโดยไม่สามารถหยุดเสพได้
456

2. อธิ บายอิทธิพลของสื่ อที่ส่งผลดีต่อพฤติกรรม


สุ ขภาพและอิทธิ พลของสื่ อที่ส่งผลเสี ยต่อ
พฤติกรรมสุ ขภาพ
3. อธิ บายปัจจัยที่ก่อให้เกิดอันตรายจากการเล่น
กีฬา และแนวทางการป้ องกันอันตรายจากการ
เล่นกีฬาในแต่ละปัจจัย
4. ร่ วมฝึ ก/หรื อปฏิบตั ิกิจกรรมด้วยตนเองและ
เป็ นหมู่คณะเกี่ยวกับการเรี ยนรู ้ในเรื่ อง ยาและ
สารเสพติด อิทธิพลของสื่ อที่มีต่อพฤติกรรม
สุ ขภาพ และการป้ องกันอันตรายจากการเล่น
กีฬา
ขั้นที่ 2 หลักฐานในการประเมินเพือ่ แสดงว่ านักเรียนมีผลการเรียนรู้ตามที่กาํ หนด
(Assessment Evidence)
1. ภาระงานที่นักเรียนปฏิบัติ
– ศึกษาเกี่ยวกับความหมายของยาและสารเสพติด และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้สารเสพติด
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ สารเสพติดดีหรื อไม่ เรารู้ ไหมช่ วยบอกมา
– ศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบของการใช้ยาและสารเสพติด
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ ร่ วมกันอ่ านกรณี ศึกษานี ้ แล้ วช่ วยชี ถ้ ึงปั ญหา
– ศึกษาเกี่ยวกับการใช้ยาอย่างปลอดภัย
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ ในตู้ยามีอะไร ร่ วมกันไปเร่ งค้ นหา
– ศึกษาเกี่ยวกับการหลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติด
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ ร่ วมกันระดมความคิด เพื่อพิชิตสารเสพติด
– ศึกษาเกี่ยวกับความหมายของพฤติกรรมสุ ขภาพและสื่ อ อิทธิพลของสื่ อที่มีผลดีต่อพฤติกรรมสุขภาพ
และอิทธิพลของสื่ อที่มีผลเสี ยต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ อิทธิ พลของสื่ อ ที่เลื่องลือถึงสุขภาพ
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ สื่ อไม่ ดีล้วนมีอิทธิ พล ลองช่ วยบอกผลที่ กระทบต่ อพวกเรา
– ศึกษาเกี่ยวกับปั จจัยที่ก่อให้เกิดอันตรายจากการเล่นกีฬาและการป้ องกันอันตรายจากการเล่นกีฬาใน
แต่ละปั จจัย
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการการเรี ยนรู้ อันตรายจากการเล่ นกีฬา เราลองมาหาวิธีป้องกัน
– ปฏิบตั ิกิจกรรมการการเรี ยนรู้ ลองดูภาพกีฬาที่มีให้ อาจเกิดอันตรายอย่ างไรช่ วยบอกมา
– โครงงานการค้นคว้าข้อมูลเรื่ อง อันตรายจากการใช้ยาไม่ถูกต้อง พฤติกรรมในการใช้ยาของสมาชิก
ในครอบครัว
– โครงงานการค้นคว้าข้อมูลเรื่ อง โทษของสารเสพติด
– โครงงานการสํารวจเรื่ อง รายการโทรทัศน์ที่เหมาะกับเด็กและเยาวชน
457

– โครงงานการค้นข้อมูลเรื่ อง แนวทางการป้ องกันอันตรายจากการเล่นกีฬาของนักเรี ยนชั้น


ประถมศึกษาปี ที่ 5
2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
• วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ • เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
– การสนทนาซักถามโดยครู – แบบบันทึกการสนทนา
– การวัดและประเมินผลด้านความรู ้ – แบบทดสอบก่อนเรี ยน
– แบบทดสอบหลังเรี ยน
– แบบทดสอบประจําหน่วย
– การวัดและประเมินผลด้านคุณธรรมจริ ยธรรม – การวัดและประเมินผลด้านคุณธรรม จริ ยธรรม
ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
3. สิ่ งที่มุ่งประเมิน
– ความสามารถในการอธิ บาย ชี้แจง การแปลความและตีความ การประยุกต์ ดัดแปลง และนําไปใช้
การมีมุมมองที่หลากหลาย การให้ความใส่ใจในความรู้สึกของผูอ้ ื่น และการรู ้จกั ตนเอง
– ความสามารถในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่ให้ความสําคัญทั้งทางด้านร่ างกาย จิตใจ สังคม และ
จิตวิญญาณ
– ความสามารถในการวางแผนการปฏิบตั ิ แสดงความคิดเห็นวิเคราะห์ เพื่อพัฒนาความรู ้ ความเข้าใจ
ทัศนคติ และทักษะที่ช่วยส่งเสริ มการปฏิบตั ิเกี่ยวกับสุ ขภาพ
ขั้นที่ 3 การวางแผนการจัดการเรียนรู้
• หน่วยการเรี ยนรู้ที่ 5 ชีวิตปลอดภัย จํานวน 6 ชัว่ โมง
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 75: ยาและสารเสพติด
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 76: ยาและสารเสพติด(ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 77: อิทธิ พลของสื่ อที่มีต่อพฤติกรรมสุขภาพ
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 78: อิทธิ พลของสื่ อที่มีต่อพฤติกรรมสุขภาพ (ต่อ)
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 79: การป้ องกันอันตรายจากการเล่นกีฬา
– แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 80: การทดสอบปลายปี รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษา ป. 5
458

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 75
ยาและสารเสพติด
สาระการเรียนรู้ ที่ 4: ความปลอดภัยในชีวติ เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ชีวติ ปลอดภัย
เรื่อง ปัจจัยทีม่ ีอทิ ธิพลต่ อการใช้ สารเสพติด และผลกระทบของการใช้ ยาและสารเสพติด

1. สาระสํ าคัญ
ปัจจัยที่มีอิทธิ พลต่อการใช้สารเสพติด ได้แก่ ครอบครัว เพื่อน สังคม ปัญหาสุ ขภาพ และสื่ อ
ผลกระทบของการใช้ยาไม่ถูกวิธีที่มีต่อร่ างกาย เช่น อาการดื้อยา ต่อจิตใจ เช่น การติดยาหรื ออาการทางจิต
ต่อสังคม เช่น การก่อปัญหาอาชญากรรม และต่อสติปัญญา เช่น การทํางานของสมองลดลง
ส่วนผลกระทบของการใช้สารเสพติดที่มีต่อตนเอง เช่น สุขภาพทรุ ดโทรม ต่อจิตใจ เช่น อารมณ์และจิตใจ
ไม่ปกติ ต่อสังคม เช่น ก่ออาชญากรรมต่าง ๆ และต่อสติปัญญา เช่น ทําให้ระดับผลการเรี ยนตํ่ากว่าคนปกติ

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้สารเสพติด (พ 5.1 ป.5/1)
2. วิเคราะห์ผลกระทบของการใช้ยาและสารเสพติดที่มีผลต่อร่ างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
(พ 5.1 ป. 5/2)
3. ปฏิบตั ิตนเพื่อความปลอดภัยจากการใช้ยาและหลีกเลี่ยงสารเสพติด (พ 5.1 ป. 5/3)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายความหมายของยาและสารเสพติดอย่างถูกต้องได้ (K)
2. อธิ บายปัจจัยที่มีอิทธิ พลต่อการใช้สารเสพติดและผลกระทบของการใช้ยาและสารเสพติดอย่างถูกต้องได้ (K)
3. ตระหนักถึงผลกระทบของการใช้ยาและสารเสพติด (A)
4. แสดงทักษะในการสื่ อสารเพื่ออธิบายปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้สารเสพติดและผลกระทบของการใช้ยาและ
สารเสพติดให้ผอู้ ื่นเข้าใจได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ทดสอบความรู้พ้นื ฐานในหน่วย • แบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการ –
การเรี ยนรู้ที่ 5 ชีวติ ปลอดภัย เรี ยนรู้ที่ 5 ชีวิตปลอดภัย*/**
459

วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล


• ซักถามเกี่ยวกับ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
– ความหมายของยาและสาร ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
เสพติด แผนที่ความคิด*
– ปัจจัยที่มีอิทธิ พลต่อการใช้สาร
เสพติด
– ผลกระทบของการใช้ยาและสาร
เสพติด
• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ปฏิบตั ิกิจกรรม ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
– สารเสพติดดีหรื อไม่ เรารู้ ไหม พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ช่ วยบอกมา ป. 5*
– ร่ วมกันอ่ านกรณี ศึกษานี ้ แล้ ว
ช่ วยชี ถ้ ึงปั ญหา
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
*/**ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู หรื อในสื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์
วัฒนาพานิช จํากัด

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
460

5. สาระการเรียนรู้
1. ยาและสารเสพติด
1.1 ปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้สารเสพติด
1.2 ผลกระทบของการใช้ยาและสารเสพติด

6. แนวทางบูรณาการ
สังคมศึกษาฯ  พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสถานการณ์การแพร่ ระบาดของสารเสพติดใน
เยาวชนไทยในปัจจุบนั และข่าวเกี่ยวกับการใช้ยาที่ไม่ปลอดภัย รวมถึง
ผลกระทบที่เกิดกับผูใ้ ช้ในด้านต่าง ๆ
ภาษาต่างประเทศ  ฟั งและอ่ านคําศั พท์ ภาษาอังกฤษหรื อภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิ กอาเซี ยนที่
เกีย่ วกับยาและสารเสพติด
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนสรุ ปเกี่ยวกับความหมายของ
ยาและสารเสพติด ปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้สารเสพติด ผลกระทบของการ
ใช้ยาและสารเสพติด
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิด แผนภาพ แผ่นพับความรู้ หรื อป้ ายนิเทศ
เผยแพร่ ความรู ้เกี่ยวกับผลกระทบของการใช้ยาและสารเสพติด
ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพแสดงผลกระทบของการใช้ยาและสารเสพติด เพื่อใช้
ประกอบการจัดแผ่นภาพ แผ่นป้ าย หรื อสื่ อรณรงค์ป้องกันสารเสพติดใน
โรงเรี ยนและชุมชน
วิทยาศาสตร์  ศึกษา สื บค้น และบันทึ กข้อมูลที่ เกี่ยวข้องกับกลไกการออกฤทธิ์ ของยาและ
สารเสพติดชนิดต่าง ๆ เพื่อสร้างเสริ มความรู ้

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
2. ครู แจกแบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 5 ชีวติ ปลอดภัย ให้นกั เรี ยนเพื่อตรวจสอบความรู้ความ
เข้าใจพื้นฐาน โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
3. ครู เฉลยคําตอบที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนทราบและระบุเชื่อมโยงไปสู่เนื้อหาที่นกั เรี ยนจะได้เรี ยนรู้ในหน่วย
การเรี ยนรู้ที่ 5 ชีวิตปลอดภัย
461

4. ครูและนักเรียนสนทนาร่ วมกันเกีย่ วกับเนือ้ หาการเรียนรู้ในหน่ วยการเรียนรู้ที่ 5 ชีวติ ปลอดภัย เรื่อง ยา


และสารเสพติด ในประเด็นเกีย่ วกับความหมายของยาและสารเสพติด และในหัวข้ อที่ 1.1 ปัจจัยที่มี
อิทธิพลต่ อการใช้ สารเสพติด รวมถึงในหัวข้ อที่ 1.2 ผลกระทบของการใช้ ยาและสารเสพติด ที่มอบหมาย
ให้ นักเรียนอ่ านมาล่วงหน้ าในการเรียนครั้งที่ผ่านมา
5. สุ่ มนักเรียน 2–3 คนออกมาตอบคําถามเชื่อมโยงที่ให้ นักเรียนไปค้ นหาคําตอบจากการเรียนครั้งที่ผ่านมา
ในคําถามที่ว่า “นักเรียนมีความคิดเห็นอย่ างไรกับการใช้ สารเสพติดของเยาวชนไทยในปัจจุบัน” (ตอบได้
โดยอิสระ เช่ น มีความคิดเห็นต่ อการใช้ สารเสพติดของเยาวชนไทยในปัจจุบันว่ า มีสถานการณ์ ที่น่าเป็ น
ห่ วง เพราะพบว่ าเยาวชนไทยมีการใช้ สารเสพติดกันอย่ างแพร่ หลายมากขึ้น ถึงแม้ จะมีการปราบปราม
อย่ างเข้ มงวด แต่ กย็ งั พบเห็นได้ บ่อยครั้งจากข่ าวในสื่อต่ าง ๆ ซึ่งคิดว่ าบางคนยังมีค่านิยมที่ผิด ๆ ว่ าการใช้
สารเสพติดจะทําให้ ได้ รับการยอมรับจากเพือ่ น แต่ โดยความเป็ นจริ ง การเสพสารเสพติดนอกจากจะเป็ น
การกระทําที่ผิดกฎหมายแล้ ว ยังส่ งผลกระทบทั้งต่ อร่ างกายของผู้เสพ รวมถึงส่ งผลกระทบต่ อครอบครั ว
สังคม และประเทศชาติอีกด้ วย จึงอยากให้ สารเสพติดหมดไปจากประเทศไทยโดยเร็ วที่สุด) โดยครูให้
ความรู้ที่ถูกต้ องเพิม่ เติม
6. ให้นกั เรี ยนดูบตั รคําแสดงคําว่า ยา และคําว่า สารเสพติด ตามลําดับ แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู้ใน
เรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู้ของนักเรี ยนและตอบคําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– นักเรี ยนเคยกินยาหรื อไม่ ถ้าเคยยกตัวอย่างมา 1 ชนิด (ตอบได้ โดยอิสระ เช่ น เคยกินยาแก้ ปวดลดไข้
หรื อยาพาราเซตามอล)
– ถ้านักเรี ยนกินยาผิดวิธีจะเป็ นอย่างไร (เกิดโทษและอันตรายต่ อร่ างกาย)
– นักเรี ยนจะทราบได้อย่างไรว่าสิ่ งใดเป็ นสารเสพติด (ให้ สังเกตว่ า สิ่ งที่เป็ นสารเสพติด คื อ สิ่ งที่ เสพแล้ ว
เป็ นโทษต่ อร่ างกายและจิตใจ ผู้เสพจะเกิดความต้ องการเสพอีกโดยไม่ สามารถหยุดเสพได้ โดยตัวอย่ าง
ของสารเสพติด เช่ น เฮโรอีน ยาบ้ า ฝิ่ น สุรา ตามที่ได้ มีระบุไว้ จากตําราเรี ยนหรื อสื่ อการเรี ยนรู้ ต่าง ๆ)
– นักเรี ยนคิดว่าปั จจัยใดบ้างที่จะทําให้บุคคลติดสารเสพติดได้ (ครอบครั ว เพื่อน สังคม ปั ญหาสุขภาพ
และสื่ อต่ าง ๆ)
– การเสพสารเสพติดส่งผลต่อการเรี ยนของนักเรี ยนหรื อไม่ อย่างไร (การเสพสารเสพติดส่ งผลต่ อการ
เรี ยน เพราะฤทธิ์ ของสารเสพติดจะทําให้ ผ้ เู สพเกิดอาการติดยา มีความกระวนกระวาย ไม่ สนใจการ
เรี ยน สติปัญญาตํา่ ลง และยังส่ งผลทําให้ สมองเสื่ อมด้ วย)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
7. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในประเด็นเกี่ยวกับความหมายของยาและสารเสพติด และใน
หัวข้อที่ 1.1 ปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้สารเสพติด รวมถึงในหัวข้อที่ 1.2 ผลกระทบของการใช้ยาและ
สารเสพติด เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
462

ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ยกตัวอย่างข่าวเกี่ยวกับสารเสพติดและให้นกั เรี ยนร่ วมกันตอบคําถามในประเด็นต่าง ๆ ดังนี้
– นักเรี ยนรู ้สึกอย่างไรกับข่าวนี้ (ตอบได้ โดยอิสระ)
– จากข่าวดังกล่าว นักเรี ยนคิดว่าสารเสพติดเป็ นปัญหาต่อสังคมและประเทศชาติหรื อไม่ อย่างไร
(ตอบได้ โดยอิสระ)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่นๆที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
2. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง ยาและสารเสพติด ในประเด็นเกี่ยวกับความหมายของยาและสารเสพติด และในหัวข้อที่
1.1 ปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้สารเสพติด รวมถึงในหัวข้อที่ 1.2 ผลกระทบของการใช้ยาและสารเสพติด
โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
3. ครูแสดงบัตรคําที่เกีย่ วข้ องกับยาและสารเสพติด ในภาษาอังกฤษให้ นักเรียนดู พร้ อมทั้งอ่านสะกดคําและ
อ่านออกเสี ยงให้ นักเรียนอ่ านตาม เพือ่ สร้ างเสริมทักษะทางด้ านภาษา ตัวอย่ างเช่ น คําว่า
– ยา ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Drug อ่านออกเสี ยงว่า ดรัก
– ตู้ยา ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Medicine Cupboard อ่ านออกเสี ยงว่า เมด-อิซิน คับ-เอิด
– ฉลากยา ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่า Medicine Label อ่านออกเสี ยงว่า เมด-อิซิน เล-เบ็ล
– สารเสพติด ในภาษาอังกฤษตรงกับคําว่ า Narcotic อ่านออกเสี ยงว่า นาคอท-อิค
(ครูอาจเพิม่ คําศัพท์ ที่เป็ นภาษาในประเทศสมาชิกอาเซียนในการเรียนการสอนด้ วยได้ )
4. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน แต่ละกลุ่มร่ วมกันศึกษาและสรุ ปความรู ้เกี่ยวกับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ
การใช้ยาและสารเสพติด และผลกระทบของการใช้ยาและสารเสพติด แล้วส่งตัวแทนออกมานําเสนอผล
การศึกษาและสรุ ปความรู้หน้าชั้นเรี ยน
2. แต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมานําเนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน โดยครู ให้ความรู ้ที่ถูกต้อง
เพิ่มเติม
3. ครู ต้ งั ประเด็นคําถาม ให้นกั เรี ยนร่ วมกันตอบ เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของนักเรี ยน ตัวอย่างเช่น
– นักเรี ยนคิดว่าปั จจัยสําคัญใดบ้างที่ส่งผลให้คนเราเสพสารเสพติดมากที่สุด เพราะอะไร (ปั ญหา
ครอบครั วแตกแยก เนื่องจากลักษณะของครอบครั วดังกล่ าว สมาชิ กในครอบครั วมักไม่ ค่อยเอาใจใส่
ซึ่ งกันและกัน ขาดความรั กความอบอุ่น เมื่อสมาชิ กคนใดคนหนึ่งมีปัญหาก็ไม่ สามารถหาที่ พึ่งพาได้
จึงหั นไปติดสารเสพติดได้ ง่าย)
– ผูเ้ สพสารเสพติดจะมีลกั ษณะอย่างไรบ้าง (อารมณ์ และจิ ตใจไม่ ปกติ ฟุ้ งซ่ าน ความคิดเลื่อนลอย
หวาดระแวง อาจคลุ้มคลั่ง อาละวาด ทําร้ ายผู้อื่น)
463

– เมื่อใช้สารเสพติดจะส่งผลกระทบอย่างไร ต่อใครบ้าง (ส่ งผลกระทบต่ อตนเอง ทําให้ เสี ยอนาคต


ทางการเรี ยนและสุขภาพทรุ ดโทรม ส่ งผลกระทบต่ อครอบครั ว ทําให้ เสื่ อมเสี ยชื่ อเสี ยงครอบครั ว และ
ส่ งผลกระทบต่ อสังคม ทําให้ สังคม ขาดกําลังที่จะพัฒนาประเทศชาติ
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่นๆที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรม สารเสพติดดีหรื อไม่ เรารู้ ไหมช่ วยบอกมา และกิจกรรม ร่ วมกันอ่ านกรณี ศึกษานี ้
แล้ วช่ วยชี ้ถึงปั ญหา ดังรายละเอียดในใบกิ จกรรมที่ครู แจกให้หรื อในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน
สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
2. สุ่มนักเรี ยนประมาณ 2–3 คนออกมารายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยนโดยครู ให้ความรู้ที่ถูกต้อง
เพิม่ เติม
3. ครู เฉลยคําตอบที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนทราบและให้นกั เรี ยนร่ วมกันตรวจสอบแก้ไขคําตอบให้ถูกต้อง
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
2. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าเรื่อง ยาและสารเสพติด ในหัวข้ อที่ 1.3 การใช้ ยาอย่างปลอดภัย และ
หัวข้ อที่ 1.4 การหลีกเลีย่ งการใช้ สารเสพติด ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและ
พลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า
และจดบันทึกข้ อคําถามที่สงสั ยหรือสนใจอย่ างน้ อย 2 ถึง 3 ประเด็นลงในสมุด เพือ่ ใช้ เป็ นร่ องรอยและ
หลักฐานในการศึกษา แล้ วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมในประเด็นเกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสารเสพติดในประเทศไทยและ
ปัญหาสารเสพติดของประเทศอื่น ๆ ในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน จากแหล่งการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ เช่น
อินเทอร์เน็ต หรื อห้องสมุดของโรงเรี ยน เพื่อเสริ มสร้างการเรี ยนรู้ให้กว้างขวางมากยิง่ ขึ้นและสามารถนํา
ความรู้ดงั กล่าวไปปรับใช้ในชีวติ ประจําวันได้

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. แบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 5 ชีวิตปลอดภัย
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายเรื่ อง ยาและสารเสพติด ในประเด็นเกี่ยวกับความหมายของยาและ
สารเสพติด และในหัวข้อที่ 1.1 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้สารเสพติด รวมถึงในหัวข้อที่ 1.2 ผลกระทบของ
การใช้ยาและสารเสพติด
3. ข่าวเกี่ยวกับสารเสพติด
464

4. บัตรคําแสดงคําว่า ยา และคําว่า สารเสพติด


5. บัตรคําที่เกี่ยวข้องกับยาและสารเสพติดในภาษาอังกฤษ
6. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเทอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ
7. ใบกิจกรรม เรื่ อง สารเสพติดดีหรื อไม่ เรารู้ ไหมช่ วยบอกมา
8. ใบกิจกรรม เรื่ อง ร่ วมกันอ่ านกรณี ศึกษานี ้ แล้ วช่ วยชี ้ถึงปั ญหา
9. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
11. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
12. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
465

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 76
ยาและสารเสพติด (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 4: ความปลอดภัยในชีวติ เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ชีวติ ปลอดภัย
เรื่อง การใช้ ยาอย่ างปลอดภัยและการหลีกเลีย่ งการใช้ สารเสพติด

1. สาระสํ าคัญ
ยาช่วยรักษาและบรรเทาให้เราหายจากอาการเจ็บป่ วยได้ แต่กส็ ามารถก่อให้เกิดอันตรายได้ ถ้าเราใช้ยาไม่
ถูกวิธีและไม่มีความรู ้เพียงพอ ซึ่งการใช้ยาอย่างปลอดภัยปฏิบตั ิได้โดย ควรบอกผูป้ กครองหรื อครู ทุกครั้งเมื่อรู ้สึก
เจ็บป่ วยหรื อต้องใช้ยาโดยให้ท่านหยิบยาให้ และปฏิบตั ิตามที่ท่านแนะนําอย่างเคร่ งครัด เมื่อได้รับยาควรอ่านฉลาก
ยาโดยดูชื่อยา วันหมดอายุ และวิธีใช้อย่างละเอียดอีกครั้งหนึ่ง และไม่ควรนํายามาเล่นหรื อใช้อย่างพรํ่าเพรื่ อ
ส่วนปัญหาสารเสพติดจะหมดไปได้ถา้ ทุก ๆ คนร่ วมมือมีส่วนร่ วมในการต่อต้านสารเสพติด โดยอาจเริ่ ม
จากการหลีกเลี่ยงตนเองให้พน้ จากสารเสพติด ซึ่งปฏิบตั ิได้โดย เมื่อมีปัญหาควรปรึ กษาพ่อแม่ ผูป้ กครอง หรื อครู
ศึกษาทําความเข้าใจเกี่ยวกับโทษและอันตรายของสารเสพติด ก่อนใช้ยาทุกครั้งควรอ่านฉลากให้ละเอียด ไม่รับ
ขนมหรื ออาหารจากคนแปลกหน้า ไม่ทดลองสารเสพติดทุกชนิด ไม่ใช้ยาอย่างพรํ่าเพรื่ อ และไม่ใช้ยาทุกชนิดโดย
ไม่ได้รับคําแนะนําจากแพทย์หรื อเภสัชกร ทําจิตใจให้ร่าเริ งแจ่มใส และควรหาเวลาออกกําลังกาย หากรู ้สึกว่าตัวเองถูก
หลอกหรื อถูกบังคับให้เสพสารเสพติด ควรรี บบอกให้พอ่ แม่ ผูป้ กครอง หรื อครู ให้ทราบโดยเร็ ว

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้สารเสพติด (พ 5.1 ป.5/1)
2. วิเคราะห์ผลกระทบของการใช้ยาและสารเสพติดที่มีผลต่อร่ างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
(พ 5.1 ป. 5/2)
3. ปฏิบตั ิตนเพื่อความปลอดภัยจากการใช้ยาและหลีกเลี่ยงสารเสพติด (พ 5.1 ป. 5/3)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายแนวทางการปฏิบตั ิตนเพื่อความปลอดภัยจากการใช้ยาและวิธีการหลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติดอย่าง
ถูกต้องได้ (K)
3. ตระหนักถึงความสําคัญของการใช้ยาอย่างปลอดภัยและการหลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติด (A)
4. แสดงทักษะในการปฏิบตั ิตนเพื่อความปลอดภัยจากการใช้ยาและหลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติดได้ (P)
466

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับการใช้ยาอย่าง • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ปลอดภัยและการหลีกเลี่ยงการใช้ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
สารเสพติด แผนที่ความคิด*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
1. ยาและสารเสพติด (ต่อ)
1.3 การใช้ยาอย่างปลอดภัย
1.4 การหลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติด

6. แนวทางบูรณาการ
สังคมศึกษาฯ  พูดคุยเกี่ยวกับความร่ วมมือในการแก้ไขปัญหาสารเสพติดของกลุ่มประเทศ
อาเซียน
คณิ ตศาสตร์  ระบุจาํ นวนผูเ้ ข้าร่ วมโครงการป้ องกันสารเสพติดในโรงเรี ยนและชุมชน
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนสรุ ปเกี่ยวกับการใช้ยาอย่าง
ปลอดภัยและการหลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติด
467

การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิด แผนภาพ แผ่นพับความรู้ หรื อป้ ายนิเทศ


เผยแพร่ ความรู ้เกี่ยวกับการใช้ยาอย่างปลอดภัยและการหลีกเลี่ยงการใช้
สารเสพติด
ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพแสดงตัวอย่างวิธีปฏิบตั ิตนในการใช้ยาอย่างปลอดภัย
และการหลีกเลี่ยงสารเสพติด เพื่อใช้ประกอบการจัดแผ่นภาพ แผ่นป้ าย หรื อ
สื่ อรณรงค์ป้องกันสารเสพติดในโรงเรี ยนและชุมชน

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
2. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอประเด็นคําถามเกีย่ วกับการใช้ ยาอย่ างปลอดภัยและการ
หลีกเลีย่ งการใช้ สารเสพติด ที่สงสั ยหรือสนใจ ตามที่ได้ รับมอบหมายให้ ศึกษาค้ นคว้ ามาล่ วงหน้ าในการ
เรียนครั้งที่ผ่านมา แล้วให้ เพือ่ น ๆ ช่ วยกันตอบคําถามดังกล่าวร่ วมกัน โดยครูคอยให้ ความรู้ที่ถูกต้ อง
เพิม่ เติม
3. ให้นกั เรี ยนร่ วมกันตอบคําถามในประเด็นต่อไปนี้ เพื่อเป็ นการกระตุน้ ความสนใจในการเรี ยนรู้ของ
นักเรี ยน ตัวอย่างคําถาม เช่น
– นักเรี ยนรู ้จกั ยารักษาโรคอะไรบ้าง (ตอบโดยอิสระ)
– นักเรี ยนปฏิบตั ิอย่างไรบ้างเมื่อรู้สึกเจ็บป่ วยแล้วต้องรับประทานยา (บอกผู้ปกครองให้ หยิบยาและอ่ าน
ฉลากยาให้ ละเอี ยดก่ อนรั บประทาน)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
4. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 1.3 การใช้ยาอย่างปลอดภัย และหัวข้อที่ 1.4 การ
หลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติด เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง ยาและสารเสพติด ในหัวข้อที่ 1.3 การใช้ยาอย่างปลอดภัย โดยแจกแผ่นพับหรื อเอกสาร
ที่เกี่ยวกับข้อควรคํานึงก่อนการใช้ยาที่ครู เตรี ยมมาให้นกั เรี ยนหมุนเวียนกันดู หรื อใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิ
ทัศน์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
2. ให้นกั เรี ยนดูภาพเด็กวัยรุ่ นกลุ่มหนึ่งกําลังมัว่ สุ มเสพสารเสพติด ที่ครู เตรี ยมมา แล้วร่ วมกันตอบคําถาม
เพื่อกระตุน้ ความสนใจการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน ตัวอย่างเช่น
– ถ้านักเรี ยนพบเห็นเหตุการณ์ดงั ที่ปรากฏภาพ นักเรี ยนจะปฏิบตั ิอย่างไร (รี บเดินหนีจากบริ เวณดังกล่ าว
แล้ วไปแจ้ งเจ้ าหน้ าที่ ตาํ รวจหรื อรี บกลับบ้ าน)
468

– ถ้ากลุ่มบุคคลในภาพดังกล่าวเป็ นเพื่อนของนักเรี ยน นักเรี ยนจะปฏิบตั ิอย่างไร (เข้ าไปตักเตือนให้ เพื่อน


เลิกเสพสารเสพติดโดยบอกเหตุผลเกี่ยวกับโทษและอันตรายของสารเสพติด ถ้ าเพื่อนไม่ หยุดเสพควร
ไปแจ้ งคุณครู ให้ ทราบเพื่อให้ รีบดําเนินการแก้ ไข)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
3. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง ยาและสารเสพติด ในหัวข้อที่ 1.4 การหลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติด โดยใช้ภาพหรื อเปิ ด
สื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิบาย
4. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน แต่ละกลุ่มร่ วมกันวางแผนแสดงบทบาทสมมุติการหลีกเลี่ยงการใช้สาร
เสพติดเมื่อต้องเผชิญกับเหตุการณ์ในกรณี ต่าง ๆ ที่เสี่ ยงต่อการเสพสารเสพติด และผลัดเปลี่ยนกันออกมา
แสดงให้เพื่อนและครู ดูหน้าชั้นเรี ยน
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• แต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมานําเนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน โดยครู ให้ความรู ้และคําแนะนํา
ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
2. มอบหมายให้ นักเรียนปฏิบตั กิ จิ กรรม ในตู้ยามีอะไร ร่ วมกันไปเร่ งค้ นหา และกิจกรรม ร่ วมระดมความคิด
เพือ่ พิชิตสารเสพติด ดังรายละเอียดในใบกิจกรรมที่ครูแจกให้ หรือในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพืน้ ฐาน
สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าเรื่อง อิทธิพลของสื่ อทีม่ ตี ่ อพฤติกรรมสุ ขภาพ ในประเด็นเกีย่ วกับ
ความหมายของพฤติกรรมสุ ขภาพและสื่ อ และตัวอย่ างการวิเคราะห์ ผลดีและผลเสี ยของสื่ อต่ าง ๆ และใน
หัวข้ อที่ 2.1 อิทธิพลของสื่ อที่ส่งผลดีต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชา
พืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของ
โรงเรียน ฯลฯ มาล่ วงหน้ า แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. นักเรียนควรร่ วมกันจัดป้ายนิเทศหรือจัดทําแผ่นพับความรู้เกีย่ วกับการใช้ ยาอย่างปลอดภัยและการหลีกเลีย่ ง
การใช้ สารเสพติด เพือ่ ช่ วยรณรงค์ และเผยแพร่ ความรู้ในเรื่องดังกล่าวภายในโรงเรียนและในชุ มชน โดยร่ วมกัน
จัดทํานอกเวลาเรียน หรือใช้ เวลาในกิจกรรมการลดเวลาเรียนเพิม่ เวลารู้ตามที่สถานศึกษากําหนด
469

2. นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมและหมัน่ ติดตามข้อมูลข่าวสารสุขภาพเกี่ยวกับยาและสารเสพติดจากการ


เผยแพร่ ความรู้ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ศูนย์ขอ้ มูลยาและวัตถุ
เสพติด กระทรวงสาธารณสุข เพื่อสร้างเสริ มการเรี ยนรู้และสามารถนําไปปรับใช้ในชีวิตประจําวันได้อย่างมี
ประสิ ทธิภาพ
3. นักเรี ยนควรนําความรู ้เกี่ยวกับการใช้ยาอย่างปลอดภัยและการหลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติดไปปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง
ในชีวติ ประจําวัน และถ่ายทอดแก่สมาชิกในครอบครัวและชุมชน เพื่อเป็ นสร้างเสริ มการมีคุณภาพชีวิตที่ดีของ
บุคคล ซึ่งก่อให้เกิดประโยชน์ท้ งั แก่ตนเองและส่วนรวม

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. แผ่นพับหรื อเอกสารที่เกี่ยวกับข้อควรคํานึงก่อนการใช้ยา
2. ภาพเด็กวัยรุ่ นกลุ่มหนึ่งกําลังมัว่ สุ มเสพสารเสพติด
3. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายเรื่ อง ยาและสารเสพติด ในหัวข้อที่ 1.3 การใช้ยาอย่างปลอดภัย และ
หัวข้อที่ 1.4 การหลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติด
4. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเทอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ
5. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
6. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
470

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 77
อิทธิพลของสื่ อทีม่ ีต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ
สาระการเรียนรู้ ที่ 4: ความปลอดภัยในชีวติ เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ชีวติ ปลอดภัย เรื่อง อิทธิพลของสื่ อที่ส่งผลดีต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ

1. สาระสํ าคัญ
พฤติกรรมสุขภาพ หมายถึง การกระทําที่เราแสดงออกซึ่งมีผลต่อสุขภาพทั้งในด้านที่เป็ นผลดีและผลเสี ย
สื่ อ หมายถึง ตัวกลางหรื อสื่ อกลางที่ทาํ หน้าที่ส่งผ่านข้อมูลจากผูส้ ่งไปยังผูร้ ับ
อิทธิ พลของสื่ อที่ส่งผลดีต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ คือ ก่อให้เกิดแนวทางการสร้างเสริ มสุ ขภาพ สร้างความรู ้
ความเข้าใจ และได้รับข้อเท็จจริ งทางด้านสุขภาพที่ถูกต้องและตรงกับความต้องการ สร้างเจตคติที่ดีต่อการ มี
พฤติกรรมสุ ขภาพที่ดี กระตุน้ ให้เราเกิดความสนใจดูแลสุขภาพของตนเองมากขึ้น และสร้างความร่ วมมือในการ
ดูแลสุขภาพในครอบครัว ชุมชนและสังคมโดยรวม

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
• วิเคราะห์อิทธิพลของสื่ อที่มีต่อพฤติกรรมสุขภาพ (พ 5.1 ป. 5/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายความหมายของพฤติกรรมสุขภาพและสื่ อ และความสําคัญของสื่ อที่มีต่อพฤติกรรมสุขภาพอย่าง
ถูกต้องได้ (K)
2. อธิ บายลักษณะอิทธิพลของสื่ อที่ส่งผลดีต่อพฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้องได้ (K)
3. ตระหนักถึงความสําคัญของสื่ อที่มีต่อพฤติกรรมสุขภาพ (A)
4. แสดงทักษะในการวิเคราะห์อิทธิ พลของสื่ อที่ส่งผลดีต่อพฤติกรรมสุ ขภาพอย่างถูกต้องได้ (P)
5. สามารถใช้สื่ออย่างถูกต้องและปลอดภัยได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
– ความหมายของพฤติกรรม ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
สุ ขภาพและสื่ อ และความสําคัญ แผนที่ความคิด*
ของสื่ อที่มีตอ่ พฤติกรรมสุขภาพ
– อิทธิ พลของสื่ อที่ส่งผลดีต่อ
พฤติกรรมสุ ขภาพ
471

วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล


• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ขึ้นอยูก่ บั ดุลยพินิจของครู
ปฏิบตั ิกิจกรรม ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
– ในตู้ยามีอะไร ร่ วมกันไปเร่ ง พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ค้ นหา ป. 5*
– ร่ วมระดมความคิด เพื่อพิชิตสาร
เสพติด
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
2. อิทธิพลของสื่ อที่มีต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ
2.1 อิทธิพลของสื่ อที่ส่งผลดีต่อพฤติกรรมสุขภาพ

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนสรุ ปเกี่ยวกับอิทธิพลของสื่ อ
ที่ส่งผลดีต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งสมุดภาพการ์ตูนแสดงตัวอย่างการใช้สื่อที่ถูกต้องและ
ส่งผลดีต่อสุขภาพ
ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพการ์ตูนแสดงตัวอย่างการใช้สื่อที่ถูกต้องและส่งผลดีต่อ
สุ ขภาพ ประกอบการจัดทําสมุดภาพเผยแพร่ ความรู ้
472

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
2. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอผลการปฏิบัตกิ จิ กรรม ในตู้ยามีอะไร ร่ วมกันไปเร่ งค้ นหา
และกิจกรรม ร่ วมระดมความคิด เพือ่ พิชิตสารเสพติด ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา
โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัตกิ จิ กรรมของนักเรียนและให้ คาํ แนะนําเพิม่ เติม
3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในเรื่อง อิทธิพลของสื่ อที่
มีต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ ในประเด็นเกีย่ วกับความหมายของพฤติกรรมสุ ขภาพและสื่ อ และตัวอย่างการ
วิเคราะห์ ผลดีและผลเสี ยของสื่ อต่ าง ๆ และในหัวข้ อที่ 2.1 อิทธิพลของสื่ อที่ส่งผลดีต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ
มาล่ วงหน้ า ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัติ
กิจกรรมดังกล่าวของนักเรียน
4. ให้นกั เรี ยนดูภาพตัวอย่างการใช้สื่อ เช่น สื่ ออินเทอร์เน็ต ที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับ
ความรู้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู้ของนักเรี ยน และตอบคําถามร่ วมกัน ตัวอย่างเช่น
– จากภาพ เป็ นการใช้สื่อประเภทใด (สื่ ออิ นเทอร์ เน็ต)
– นักเรี ยนใช้สื่ออินเทอร์เน็ตบ่อยหรื อไม่ อย่างไร (ตอบได้ โดยอิสระ)
– นอกจากการใช้สื่ออินเทอร์เน็ตดังในภาพแล้ว นักเรี ยนรู ้จกั สื่ อในรู ปแบบใดอีกบ้าง (สื่ อสิ่ งพิมพ์ สื่ อ
โทรทัศน์ สื่ อวิทยุ)
– ปัจจุบนั นักเรี ยนใช้สื่อในรู ปแบบใดมากที่สุด 3 อันดับแรก (ตอบได้ โดยอิสระ เช่ น 1. สื่ ออินเทอร์ เน็ต 2.
สื่ อโทรทัศน์ และ 3. สื่ อสิ่ งพิมพ์ เช่ น นิตยสารต่ าง ๆ)
– นักเรี ยนคิดว่าสื่ อมีความสําคัญหรื อไม่ (ตอบโดยอิสระ)
– นักเรี ยนยกตัวอย่างสื่ อที่เกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพที่นกั เรี ยนเคยพบเห็น (ตอบโดยอิสระ)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในประเด็นเกี่ยวกับความหมายของพฤติกรรมสุ ขภาพและสื่ อ
และตัวอย่างการวิเคราะห์ผลดีและผลเสี ยของสื่ อต่าง ๆ และในหัวข้อที่ 2.1 อิทธิ พลของสื่ อที่ส่งผลดีต่อ
พฤติกรรมสุ ขภาพ เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง อิทธิ พลของสื่ อที่มีต่อพฤติกรรมสุขภาพ ในประเด็นเกี่ยวกับความหมายของพฤติกรรม
สุ ขภาพและสื่ อ โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
473

2. ให้นกั เรี ยนแบ่งออกเป็ น 3 กลุ่ม แต่ละกลุ่มร่ วมกันศึกษาและสรุ ปความรู ้เรื่ อง อิทธิพลของสื่ อที่มีต่อ
พฤติกรรมสุ ขภาพ ในประเด็นเกี่ยวกับตัวอย่างการวิเคราะห์ผลดีและผลเสี ยของสื่ อต่าง ๆ ดังรายละเอียด
ในหนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 กลุ่มละ 1 หัวข้อ โดยใช้เวลาตามที่ครู
กําหนด โดยมีหวั ข้อดังต่อไปนี้
– กลุ่มที่ 1 เรื่ อง อินเทอร์เน็ต
– กลุ่มที่ 2 เรื่ อง เกมคอมพิวเตอร์
– กลุ่มที่ 3 เรื่ อง โทรทัศน์
3. แต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมานําเสนอผลการศึกษาและสรุ ปความรู ้ตามหัวข้อที่กลุ่มตนเองได้รับหน้า
ชั้นเรี ยน โดยครู แสดงความคิดเห็นต่อการปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรี ยนและให้ความรู้ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
4. ครู ต้ งั ประเด็นคําถาม ให้นกั เรี ยนร่ วมกันตอบ เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของนักเรี ยน ตัวอย่างเช่น
– นักเรี ยนควรเลือกรายการโทรทัศน์ที่มีลกั ษณะอย่างไร เพื่อป้ องกันตนเองไม่ให้มีพฤติกรรมความ
รุ นแรง (เลือกดูรายการโทรทัศน์ ที่แสดงสัญลักษณ์ รายการที่ เหมาะสมกับวัยของตนเองเท่ านั้น เช่ น
สัญลักษณ์ รายการทั่วไปสามารถรั บชมได้ ทุกวัย)
5. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง อิทธิ พลของสื่ อที่มีต่อพฤติกรรมสุขภาพ ในหัวข้อที่ 2.1 อิทธิ พลของสื่ อที่ส่งผลดีต่อ
พฤติกรรมสุ ขภาพ โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
6. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
1. ครู นาํ โปสเตอร์รณรงค์เกี่ยวกับพฤติกรรมสุ ขภาพให้นกั เรี ยนหมุนเวียนกันดู
2. นักเรี ยนร่ วมกันปฏิบตั ิกิจกรรมเขียนสื่ อโฆษณารณรงค์ โดยแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน แต่ละกลุ่มส่ง
ตัวแทนกลุ่มออกมาจับสลากเลือกหัวข้อเรื่ องที่ตอ้ งเขียนสื่ อโฆษณารณรงค์ จากนั้นช่วยกันเขียนสื่ อ
โฆษณารณรงค์ในหัวข้อที่ได้รับ ลงในกระดาษวาดเขียนที่ครู เตรี ยมไว้ โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด ซึ่ง
หัวข้อที่กาํ หนดให้มีดงั ต่อไปนี้
– ออกกําลังกายทุกวันสุ ขภาพแข็งแรง
– รับประทานอาหารครบ 5 หมูร่ ่ างกายแข็งแรง
– หลีกเลี่ยงขนมหวานและใส่สีจดั ๆ
– กําจัดลูกนํ้ายุงลายเพื่อป้ องกันไข้เลือดออก
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• แต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมานําเนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน โดยครู ให้ความรู ้และคําแนะนํา
ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
474

2. มอบหมายให้ นักเรียนปฏิบตั กิ จิ กรรม อิทธิพลจากสื่อ ที่เลือ่ งลือถึงสุ ขภาพ รายละเอียดในใบกิจกรรมที่ครู


แจกให้ หรือในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการ
เรียนครั้งต่ อไป
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าเรื่อง อิทธิพลของสื่ อทีม่ ตี ่ อพฤติกรรมสุ ขภาพ ในหัวข้ อที่ 2.2 อิทธิพล
ของสื่ อที่ส่งผลเสี ยต่ อพฤติกรรมสุ ขภาพ ดังรายละเอียดในหนังสื อเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพล
ศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า แล้ว
นํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับแนวทางการใช้สื่อที่ถูกต้องและปลอดภัย จากแหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ
เช่น ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเทอร์เน็ต และแหล่งการ
เรี ยนรู้ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ และนําความรู้ที่ได้รับไปปรับ
ใช้ในชีวิตประจําวัน

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพตัวอย่างการใช้สื่อ เช่น สื่ ออินเทอร์เน็ต
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายเรื่ อง อิทธิพลของสื่ อที่มีต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ ในประเด็นเกี่ยวกับ
ความหมายของพฤติกรรมสุขภาพและสื่ อ และในหัวข้อที่ 2.1 อิทธิพลของสื่ อที่ส่งผลดีต่อพฤติกรรมสุขภาพ
3. ตัวอย่างโปสเตอร์รณรงค์เกี่ยวกับพฤติกรรมสุ ขภาพที่ดี
4. กระดาษวาดเขียน
5. อุปกรณ์ระบายสี กรรไกร กาว
6. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเทอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ\
7. ใบกิจกรรม เรื่ อง ในตู้ยามีอะไร ร่ วมกันไปเร่ งค้ นหา
8. ใบกิจกรรม เรื่ อง ร่ วมระดมความคิด เพื่อพิชิตสารเสพติด
9. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
11. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
12. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
475

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
476

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 78
อิทธิพลของสื่ อที่มีต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ (ต่ อ)
สาระการเรียนรู้ ที่ 4: ความปลอดภัยในชีวติ เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ชีวติ ปลอดภัย เรื่อง อิทธิพลของสื่ อทีส่ ่ งผลเสี ยต่ อพฤติกรรมสุ ขภาพ

1. สาระสํ าคัญ
อิทธิ พลของสื่ อที่ส่งผลเสี ยต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ คือ การให้ขอ้ มูลความรู้ที่ไม่ถูกต้องหรื อบิดเบือนไปจาก
ความเป็ นจริ งจนเกิดความเข้าใจผิด การสร้างค่านิยมทางสุ ขภาพที่ไม่ถูกต้อง ก่อให้เกิดพฤติกรรมความรุ นแรง
ทางด้านร่ างกาย จิตใจ และสังคม ขาดการสร้างปฏิสมั พันธ์กบั คนในสังคม และขาดความสนใจในตนเอง

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
• วิเคราะห์อิทธิพลของสื่ อที่มีต่อพฤติกรรมสุขภาพ (พ 5.1 ป. 5/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายลักษณะอิทธิพลของสื่ อที่ส่งผลเสี ยต่อพฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของสื่ อที่มีต่อพฤติกรรมสุขภาพ (A)
3. แสดงทักษะในการวิเคราะห์อิทธิ พลของสื่ อที่ส่งผลเสี ยต่อพฤติกรรมสุ ขภาพอย่างถูกต้องได้ (P)
4. สามารถใช้สื่ออย่างถูกต้องและปลอดภัยได้ (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับอิทธิพลของสื่ อที่ • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ส่งผลเสี ยต่อพฤติกรรมสุขภาพ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
แผนที่ความคิด*
• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ขึ้นอยูก่ บั ดุลยพินิจของครู
ปฏิบตั ิกิจกรรม อิทธิ พลจากสื่ อ ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
ที่เลื่องลือถึงสุขภาพ พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ป. 5*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
477

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

5. สาระการเรียนรู้
2. อิทธิพลของสื่ อที่มีต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ (ต่อ)
2.2 อิทธิพลของสื่ อที่ส่งผลเสี ยต่อพฤติกรรมสุขภาพ

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนสรุ ปเกี่ยวกับอิทธิพลของสื่ อ
ที่ส่งผลเสี ยต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งสมุดภาพการ์ตูนแสดงตัวอย่างการใช้สื่อที่ไม่ถูกต้องและ
ส่งผลเสี ยต่อสุ ขภาพ
ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพการ์ตูนแสดงตัวอย่างการใช้สื่อที่ไม่ถูกต้องและส่งผลเสี ย
ต่อสุ ขภาพ ประกอบการจัดทําสมุดภาพเผยแพร่ ความรู ้

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
2. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอผลการปฏิบัตกิ จิ กรรม อิทธิพลจากสื่อ ที่เลือ่ งลือถึงสุ ขภาพ
ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัตกิ จิ กรรมของ
นักเรียนและให้ คาํ แนะนําเพิม่ เติม
478

3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในเรื่อง อิทธิพลของสื่ อที่


มีต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ ในหัวข้ อที่ 2.2 อิทธิพลของสื่ อที่ส่งผลเสี ยต่ อพฤติกรรมสุ ขภาพ มาล่วงหน้ า
ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการปฏิบัตกิ จิ กรรมดังกล่าว
ของนักเรียน
4. ให้นกั เรี ยนดูภาพแสดงตัวอย่างการใช้โซเชียลเน็ตเวิร์คของวัยรุ่ นในปัจจุบนั ที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนา
ร่ วมกันเกี่ยวกับความรู้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน และตอบคําถามร่ วมกัน
ตัวอย่างเช่น
– นักเรี ยนเล่นโซเชียลเน็ตเวิร์คหรื อไม่ (ตอบได้ โดยอิสระ)
– นักเรี ยนคิดว่าการเล่นโซเชียลเน็ตเวิร์คมีขอ้ ดีและข้อเสี ยอย่างไร (ตอบได้ โดยอิสระ เช่ น มีข้อดี คือ ทํา
ให้ เราได้ ติดต่ อสื่ อสารกับผู้อื่นอย่ างสะดวกและรวดเร็ ว รวมถึงได้ รับรู้ หรื อติดตามข่ าวสารปั จจุบันอยู่
เสมอ ส่ วนข้ อเสี ย คือ หากเล่ นโดยไม่ ระมัดระวังอาจทําให้ ตกเป็ นเหยื่อของมิจฉาชี พที่แฝงตัวมา
หลอกลวงเรา เช่ น ถูกหลอกให้ โอนเงิน ถูกล่ อลวงไปล่ วงละเมิดทางเพศ เป็ นต้ น)
– การเล่นโซเชียลเน็ตเวิร์คส่งผลเสี ยต่อนักเรี ยนหรื อไม่ อย่างไร (ส่ งผลเสี ยในบางครั้ ง เช่ น ทําให้ เกิดการ
ติดเล่ นโซเชี ยลเน็ตเวิร์คจนขาดสมาธิ ในการเรี ยนหนังสื อและทําให้ ไม่ มีเวลาอ่ านทบทวนหนังสื อ
รวมถึงส่ งผลให้ พักผ่ อนไม่ เพียงพอด้ วย)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในหัวข้อที่ 2.2 อิทธิ พลของสื่ อที่ส่งผลเสี ยต่อพฤติกรรม
สุ ขภาพ เพื่อเป็ นการกระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง อิทธิ พลของสื่ อที่มีต่อพฤติกรรมสุขภาพ ในหัวข้อที่ 2.2 อิทธิ พลของสื่ อที่ส่งผลเสี ยต่อ
พฤติกรรมสุ ขภาพ โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้นกั เรี ยนดูประกอบการอธิ บาย
2. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มระดมสมองร่ วมกันวิเคราะห์อิทธิพลของสื่ อที่ส่งผลเสี ยต่อพฤติกรรม
สุ ขภาพ จากหัวข้อสื่ อที่กาํ หนดให้ กลุ่มละ 1 หัวข้อ โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด ซึ่งมีหวั ข้อสื่ อดังต่อไปนี้
– โซเชียลเน็ตเวิร์ค
– ภาพยนตร์ที่มีเนื้อหาความรุ นแรง
– เกมคอมพิวเตอร์เกี่ยวกับการต่อสู้
– โฆษณาครี มผิวขาว
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• แต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมานําเนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน โดยครู ให้ความรู ้และคําแนะนํา
ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
479

ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้


1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
2. มอบหมายให้ นักเรียนปฏิบตั กิ จิ กรรม สื่อไม่ ดีล้วนมีอิทธิพล ลองช่ วยบอกผลที่กระทบต่ อพวกเรา
รายละเอียดในใบกิจกรรมที่ครูแจกให้ หรือในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5
แล้วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่ อไป
3. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาค้ นคว้าเรื่อง การป้องกันอันตรายจากการเล่ นกีฬา ดังรายละเอียดในหนังสื อ
เรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 หรือจากแหล่งการเรียนรู้ ต่าง ๆ เช่ น อินเทอร์ เน็ต
ห้ องสมุดของโรงเรียน ฯลฯ มาล่วงหน้ า แล้ วนํามาสนทนาร่ วมกันในการเรียนครั้งต่อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรนําความรู ้เกี่ยวกับอิทธิพลของสื่ อที่มีต่อพฤติกรรมสุ ขภาพไปปรับใช้ในการวิเคราะห์สื่อต่าง ๆ ใน
ชีวิตประจําวัน เพื่อเป็ นผลดีต่อพฤติกรรมสุขภาพของตนเองและครอบครัว

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพแสดงตัวอย่างการใช้โซเชียลเน็ตเวิร์คของวัยรุ่ นในปัจจุบนั
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายเรื่ อง อิทธิพลของสื่ อที่มีต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ 2.2 อิทธิพลของสื่ อที่
ส่งผลเสี ยต่อพฤติกรรมสุขภาพ
3. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเทอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ\
4. ใบกิจกรรม เรื่ อง อิทธิ พลจากสื่ อ ที่เลื่องลือถึงสุขภาพ
5. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
6. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
480

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
481

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 79
การป้องกันอันตรายจากการเล่ นกีฬา
สาระการเรียนรู้ ที่ 4: ความปลอดภัยในชีวติ เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ชีวติ ปลอดภัย
เรื่อง ปัจจัยทีก่ ่ อให้ เกิดอันตรายจากการเล่ นกีฬาและการป้องกันอันตรายจากการเล่ นกีฬา
ในแต่ ละปัจจัย

1. สาระสํ าคัญ
กีฬาเป็ นกิจกรรมที่สร้างเสริ มให้ร่างกายของเราแข็งแรงและส่ งผลให้มีสุขภาพที่ดี แต่ถา้ เราไม่ระมัดระวัง
ตนเองในขณะเล่นกีฬา ก็อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อตนเองและผูอ้ ื่นได้ โดยปัจจัยที่ก่อให้เกิดอันตรายจากการเล่น
กีฬาแบ่งออกเป็ น 2 ปัจจัย คือ ปั จจัยภายใน ได้แก่ สภาพร่ างกายไม่พร้อมที่จะเล่น ขาดการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ ที่
เหมาะสมและเพียงพอก่อนและหลังเล่นกีฬา ฝึ กฝนมากจนเกินกําลังของตนเอง ขาดความรู้เรื่ องวิธีการเล่นและกฎ
กติกาที่ถูกต้อง และขาดการควบคุมอารมณ์ที่ดี ปั จจัยภายนอก ได้แก่ สนามกีฬาที่ไม่ได้มาตรฐานหรื อไม่ได้รับการ
ซ่อมแซม อุปกรณ์ในการเล่นกีฬาไม่เหมาะสมหรื อไม่ได้มาตรฐาน สภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม เป็ นกีฬาที่มีการ
ปะทะ และการถูกคู่แข่งขันทําลายสมาธิ ก่อให้เกิดการปะทะ
การป้ องกันอันตรายจากการเล่ นกีฬาที่เกิดจากปั จจัยภายใน ปฏิบตั ิได้โดยตรวจสุ ขภาพก่อนเล่นกีฬา เพิ่ม
ความระมัดระวังในการเล่น ยืดเหยียดกล้ามเนื้อก่อนและหลังการเล่น เมื่อรู้สึกตัวว่าเหนื่อยให้หยุดเล่น ศึกษาวิธีการ
เล่นและกฎกติกาก่อนการเล่น และฝึ กควบคุมอารมณ์ ส่วนการป้ องกันอันตรายจากการเล่ นกีฬาที่เกิดจากปั จจัย
ภายนอก ปฏิบตั ิได้โดยตรวจสอบสภาพสนามกีฬาและอุปกรณ์กีฬาก่อนการเล่นกีฬาทุกครั้ง สวมเสื้ อผ้า รองเท้าที่
ถูกต้องกับกีฬาชนิดนั้น ๆ และสํารวจสภาพอากาศก่อนการเล่นหรื อในขณะเล่น

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
• ปฏิบตั ิตนเพื่อป้ องกันอันตรายจากการเล่นกีฬา (พ 5.1 ป. 5/5)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายปัจจัยที่ก่อให้เกิดอันตรายจากการเล่นกีฬา และวิธีการป้ องกันอันตรายจากการเล่นกีฬาในแต่ละปั จจัย
อย่างถูกต้องได้ (K)
2. ตระหนักถึงความสําคัญของการป้ องกันอันตรายจากการเล่นกีฬา (A)
3. แสดงทักษะในการปฏิบตั ิตนเพื่อป้ องกันอันตรายจากการเล่นกีฬาในแต่ละปั จจัยอย่างถูกต้องได้ (P)
482

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับปั จจัยที่ก่อให้เกิด • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
อันตรายจากการเล่นกีฬา และการ ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
ป้ องกันอันตรายจากการเล่นกีฬา แผนที่ความคิด*
ในแต่ละปัจจัย
• ตรวจสอบความถูกต้องในการ • รู ปแบบของกิจกรรมตามที่ระบุใน • ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ปฏิบตั ิกิจกรรม ใบกิจกรรม/แบบฝึ กทักษะ รายวิชา
– สื่ อไม่ ดีล้วนมีอิทธิ พล ลองช่ วย พื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา
บอกผลที่กระทบต่ อพวกเรา ป. 5*
– อันตรายจากการเล่ นกีฬา เราลอง
มาหาวิธีป้องกัน
– ลองดูภาพกีฬาที่มีให้ อาจเกิด
อันตรายอย่ างไรช่ วยบอกมา
• ตรวจสอบความถูกต้องของ • แบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการ • ร้อยละ 80 ขึ้นไป
การทดสอบประจําหน่วย เรี ยนรู้ที่ 5 ชีวิตปลอดภัย**
การเรี ยนรู้ที่ 5 ชีวิตปลอดภัย
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
*/**ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู หรื อในสื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์
วัฒนาพานิช จํากัด

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
483

5. สาระการเรียนรู้
3. การป้ องกันอันตรายจากการเล่นกีฬา
3.1 ปั จจัยที่ก่อให้เกิดอันตรายจากการเล่นกีฬา
3.2 การป้ องกันอันตรายจากการเล่นกีฬาในแต่ละปั จจัย

6. แนวทางบูรณาการ
สังคมศึกษาฯ  ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับอันตรายจากการเล่นกีฬาที่มกั เกิดขึ้นกับนักกีฬาประเภท
ต่าง ๆ ในประเทศไทย
ภาษาต่างประเทศ  ฟั งและอ่านคําศัพท์ภาษาอังกฤษ ภาษาในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซี ยนเกี่ยวกับ
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดอันตรายจากการเล่นกีฬา
คณิ ตศาสตร์  ศึ กษาและรวบรวมสถิ ติอ นั ตรายจากการเล่น กี ฬาที่ มกั เกิ ดขึ้ นกับ นักกี ฬ าใน
โรงเรี ยน แล้วจําแนกออกเป็ นกลุ่มตามลักษณะปั จจัยที่ก่อให้เกิดอันตรายจาก
การเล่นกีฬา
ภาษาไทย  พูดคุยแสดงความคิดเห็น หรื ออภิปราย หรื อเขียนสรุ ปเกี่ยวกับปัจจัยที่
ก่อให้เกิดอันตรายจากการเล่นกีฬา และการป้ องกันอันตรายจากการเล่นกีฬา
ในแต่ละปัจจัย
การงานอาชีพฯ  ออกแบบและตกแต่งแผนที่ความคิดภาพประกอบเกี่ยวกับปัจจัยที่ก่อให้เกิด
อันตรายจากการเล่นกีฬา และการป้ องกันอันตรายจากการเล่นกีฬาในแต่ละ
ปัจจัย
ศิลปะ  วาดภาพ/ระบายสี ภาพแสดงลักษณะของปั จจัยที่ก่อให้เกิดอันตรายจากการ
เล่นกีฬา และการป้ องกันอันตรายจากการเล่นกีฬาในแต่ละปัจจัย ประกอบการ
จัดทําแผนที่ความคิด

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรี ยนครั้งที่ผา่ นมาร่ วมกัน เพื่อ
ทบทวนประสบการณ์และภาระงานตามที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
2. ให้ นักเรียนอาสาสมัคร 2–3 คนออกมานําเสนอผลการปฏิบัตกิ จิ กรรม สื่อไม่ ดีล้วนมีอิทธิพล ลองช่ วยบอก
ผลที่กระทบต่ อพวกเรา ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความคิดเห็นต่ อการ
ปฏิบัตกิ จิ กรรมของนักเรียนและให้ คาํ แนะนําเพิม่ เติม
3. ครูสุ่ มนักเรียน 2–3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ และความรู้จากการศึกษาค้ นคว้ าในเรื่อง การป้องกัน
อันตรายจากการเล่ นกีฬา มาล่วงหน้ า ตามที่ได้ รับมอบหมายในการเรียนครั้งที่ผ่านมา โดยครูแสดงความ
คิดเห็นต่ อการปฏิบัตกิ จิ กรรมดังกล่าวของนักเรียน
484

4. ให้นกั เรี ยนดูภาพแสดงตัวอย่างนักกีฬาที่ได้รับบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา ที่ครู เตรี ยมมา แล้วสนทนาร่ วมกัน


เกี่ยวกับความรู้ในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์การเรี ยนรู้ของนักเรี ยน และตอบคําถามร่ วมกัน
ตัวอย่างเช่น
– นักเรี ยนคิดว่านักกีฬาคนดังกล่าวได้รับบาดเจ็บมาจากสาเหตุใดได้บา้ ง (ขึน้ อยู่กับภาพที่ ครู เตรี ยมมา)
– นักเรี ยนเคยบาดเจ็บจากการเล่นกีฬาหรื อไม่ ถ้าเคยมีสาเหตุเกิดจากอะไร (เคยได้ รับบาดเจ็บจากการเล่ น
กีฬาฟุตบอลร่ วมกับเพื่อน ๆ เนื่องมาจากขณะเล่ นเกิดลื่นล้ ม หั วเข่ ากระแทกพืน้ สนามหญ้ า จนเป็ นแผล
ถลอกและมีอาการปวดเล็กน้ อย ซึ่ งมีสาเหตุเกิดจากสนามลื่น มีนา้ํ ขังหลังจากมีเหตุการณ์ ฝนตกก่ อนที่
จะเล่ น)
(ครู อาจใช้คาํ ถามอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพในการจัดการเรี ยนการสอนได้)
5. ครู สนทนากับนักเรี ยนเพื่อเชื่อมโยงความรู ้ในเรื่ อง การป้ องกันอันตรายจากการเล่นกีฬา เพื่อเป็ นการ
กระตุน้ การมีส่วนร่ วมและความสนใจในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู ให้นกั เรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปั จจัยที่ก่อให้เกิดอันตรายจากการเล่นกีฬาจาก
ประสบการณ์ของนักเรี ยน
2. ครู ให้ความรู ้เรื่ อง การป้ องกันอันตรายจากการเล่นกีฬา โดยใช้ภาพหรื อเปิ ดสื่ อวีดิทศั น์ที่เกี่ยวข้องให้
นักเรี ยนดูประกอบการอธิบาย
3. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถามในประเด็นที่สงสัยหรื อสนใจเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน แต่ละกลุ่มร่ วมกันปฏิบตั ิกิจกรรม อันตรายจากการเล่ นกีฬา เราลองมา
หาวิธีป้องกัน และกิจกรรม ลองดูภาพกีฬาที่มีให้ อาจเกิดอันตรายอย่ างไรช่ วยบอกมา ดังรายละเอียดในใบ
กิจกรรมที่ครู แจกให้หรื อในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 โดยใช้เวลาตามที่
ครู กาํ หนด
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
1. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันออกมานําเนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน โดยครู ให้ความรู ้และ
คําแนะนําที่ถูกต้องเพิ่มเติม
2. ครู แจกแบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 5 ชีวิตปลอดภัย ให้นกั เรี ยนทําเพื่อตรวจสอบความรู ้
ความเข้าใจหลังการเรี ยนรู้ โดยใช้เวลาตามที่ครู กาํ หนด
3. ครู เฉลยคําตอบที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนทราบและให้ความรู ้เพิ่มเติมเพื่อเสริ มสร้างการเรี ยนรู้ให้กบั นักเรี ยน
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้ที่ได้จากการศึกษาและการปฏิบตั ิกิจกรรมโดยให้นกั เรี ยนบันทึก
ความรู้โดยสังเขปลงในสมุดบันทึก
485

2. มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาทบทวนความรู้จากที่ได้ ศึกษาในหน่ วยการเรียนรู้ที่ 4 และหน่ วยการเรียนรู้ที่ 5


ที่ผ่านมา เพือ่ เตรียมตัวเข้ ารับการทดสอบปลายปี รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษา ป. 5 ในการเรียนครั้งต่ อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. นักเรียนควรศึกษาค้ นคว้ าและวิเคราะห์ เปรียบเทียบเกีย่ วกับลักษณะรู ปร่ างของนักกีฬาไทยและ
นักกีฬาของประเทศอืน่ ๆ ในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งมีความเกีย่ วข้ องกับปัจจัยทีก่ ่ อให้ เกิด
อันตรายจากการเล่ นกีฬา เพื่อสร้ างเสริมการเรียนรู้ให้ กว้างขวางมากยิง่ ขึน้
2. นักเรี ยนควรนําความรู ้เกี่ยวกับการป้ องกันอันตรายจากการเล่นกีฬาไปปรับใช้ในการเล่นกีฬา การออกกําลังกาย
การเล่นเกม หรื อการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายในชีวิตประจําวัน เพื่อป้ องกันการบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้นได้

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพแสดงตัวอย่างนักกีฬาที่ได้รับบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา
2. ภาพหรื อสื่ อวีดิทศั น์ประกอบการอธิ บายเรื่ อง การป้ องกันอันตรายจากการเล่นกีฬา
3. ห้องสมุดของโรงเรี ยนหรื อสื่ อต่าง ๆ เช่น วารสารการแพทย์หรื อสุขภาพ สื่ ออินเทอร์เน็ต และแหล่งการเรี ยนรู ้
ในชุมชน เช่น ผูป้ กครอง ครู แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ฯลฯ\
4. แบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 5 ชีวติ ปลอดภัย
5. ใบกิจกรรม เรื่ อง สื่ อไม่ ดีล้วนมีอิทธิ พล ลองช่ วยบอกผลที่กระทบต่ อพวกเรา
6. ใบกิจกรรม เรื่ อง อันตรายจากการเล่ นกีฬา เราลองมาหาวิธีป้องกัน
7. ใบกิจกรรม เรื่ อง ลองดูภาพกีฬาที่ มีให้ อาจเกิดอันตรายอย่ างไรช่ วยบอกมา
8. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
11. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
486

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
487

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 80
การทดสอบปลายปี รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษา ป. 5
สาระการเรียนรู้ ที่ 2: ชีวติ และครอบครัว เวลา 1 ชั่วโมง
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 ชีวติ และครอบครัว
เรื่อง การทดสอบปลายปี รายวิชาพืน้ ฐาน สุ ขศึกษา ป. 5

1. สาระสํ าคัญ
การทดสอบปลายปี เป็ นกระบวนการวัดและประเมินผลเพื่อสรุ ปผลการเรี ยนรู้ (Summative Assessment )
ที่นกั เรี ยนได้รับจากองค์ความรู้ที่กาํ หนดไว้ในขอบข่ายของตัวชี้วดั ในโครงสร้างของหลักสูตร และการสอบปลายปี
ยังเป็ นการนําข้อมูลของค่าคะแนนที่ได้นาํ มาใช้เป็ นส่วนสําคัญในการวัดและประเมินผลเพื่อตัดสิ นผลการเรี ยนหรื อ
ให้ระดับผลการเรี ยน ตลอดจนให้การรับรองความรู้ความสามารถของผูเ้ รี ยนว่าผ่านรายวิชาหรื อไม่ ควรได้รับการ
เลื่อนชั้นหรื อไม่ หรื อสามารถจบหลักสูตรหรื อไม่
การศึกษารายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษา เป็ นอีกหนึ่งรายวิชาที่นาํ กระบวนการวัดและประเมินผลมาใช้เพื่อ
สรุ ปผลการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน โดยใช้แบบทดสอบทั้งในข้อคําถามที่เน้นกระบวนการการคิดวิเคราะห์เพื่อตัดสิ น
ข้อคําตอบ ในรู ปแบบอัตนัยและรู ปแบบปรนัย ครอบคลุมองค์ความรู้และตัวชี้วดั ชั้นปี ในหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 4 และ5

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. แสดงพฤติกรรมที่เห็นความสําคัญของการปฏิบตั ิตนตามสุ ขบัญญัติแห่งชาติ (พ 4.1 ป. 5/1)
2. ค้นหาข้อมูลข่าวสารเพื่อใช้สร้างเสริ มสุ ขภาพ (พ 4.1 ป. 5/2)
3. วิเคราะห์สื่อโฆษณาในการตัดสิ นใจเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างมีเหตุผล (พ 4.1 ป. 5/3)
4. ปฏิบตั ิตนในการป้ องกันโรคที่พบบ่อยในชีวิตประจําวัน (พ 4.1 ป. 5/4)
5. ทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย (พ 4.1 ป. 5/5)
6. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้สารเสพติด (พ 5.1 ป. 5/1)
7. วิเคราะห์ผลกระทบของการใช้ยาและสารเสพติดที่มีผลต่อร่ างกายจิตใจอารมณ์สงั คมและสติปัญญา
(พ 5.1 ป. 5/2)
8. ปฏิบตั ิตนเพื่อความปลอดภัยจากการใช้ยาและหลีกเลี่ยงสารเสพติด (พ 5.1 ป. 5/3)
9. วิเคราะห์อิทธิพลของสื่ อที่มีต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ (พ 5.1 ป. 5/4)
10. ปฏิบตั ิตนเพื่อป้ องกันอันตรายจากการเล่นกีฬา (พ 5.1 ป. 5/5)
488

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายเกี่ยวกับระเบียบและข้อตกลงในการทดสอบปลายปี รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษา ป. 5 ได้อย่างถูกต้อง
(K)
2. ระบุวธิ ี การทําแบบทดสอบปลายปี รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษา ป. 5 ได้ (P)
3. เข้าร่ วมกิจกรรมการเรี ยนรู ้กบั ผูอ้ ื่นด้วยความเต็มใจและกระตือรื อร้น (A)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 ด้ านความรู้ (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• ซักถามเกี่ยวกับความเข้าใจใน • แบบประเมินผลการนําเสนอ • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
เนื้อหาในหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 4 ข้อมูล/การอภิปราย/การเขียน 2 ขึ้นไป
และหน่วยการเรี ยนรู้ที่ 5 แผนที่ความคิด*
• ตรวจสอบความถูกต้องของการ • แบบทดสอบปลายปี รายวิชา • ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ทดสอบปลายปี รายวิชาพื้นฐาน พื้นฐาน สุ ขศึกษา ป. 5**
สุ ขศึกษา ป. 5
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
**ดูรายละเอียดในสื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง- 2 ขึ้นไป
ประสงค์*
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู

 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์ การวัดและประเมินผล
• สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก • แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ* • ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยระดับคุณภาพ
ของนักเรี ยน 2 ขึ้นไป
*ดูรายละเอียดในเอกสาร/ความรู ้เสริ มสําหรับครู
489

5. สาระการเรียนรู้

6. แนวทางบูรณาการ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
• ให้นักเรี ยนอาสาสมัคร 2–3 คน รายงานผลการศึกษาทบทวนความรู ้ในหน่วยการเรี ยนรู้ที่ 4 และหน่วยการ
เรี ยนรู้ที่ 5 เพื่อเตรี ยมตัวทดสอบกลางปี รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษา ป. 5 ที่ ได้มอบหมายในการเรี ยนครั้งที่
ผ่านมา
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู อธิ บายระเบียบและข้อตกลงในการทดสอบปลายปี รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษา ป. 5 ให้นกั เรี ยนได้เข้าใจ
และซักถามข้อสงสัย
2. ให้นกั เรี ยนทุกคนทําแบบทดสอบปลายปี รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษา ป. 5 ตามเวลาที่กาํ หนดให้
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนทักษะและประสบการณ์
• หลังจากที่นกั เรี ยนทําแบบทดสอบเสร็ จแล้ว ครู ให้นกั เรี ยนช่วยกันเฉลยคําตอบของแบบทดสอบปลายปี
รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษา ป. 5 ทีละข้อร่ วมกัน โดยครู อธิบายและชี้แนะคําตอบที่ถูกต้องให้นกั เรี ยนทราบ
ขั้นที่ 4 การนําไปใช้
• นักเรี ยนจดบันทึกความรู ้ที่ได้จากการเฉลยคําตอบของแบบทดสอบปลายปี ลงในสมุดบันทึก
ขั้นที่ 5 สรุ ปความรู้
• ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปสิ่ งที่ได้รับจากการเรี ยนรู ้ในรายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษา ป. 5 เพื่อเป็ นพื้นฐานใน
การเรี ยนรู้ในระดับชั้นที่สูงขึ้นต่อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
 นักเรี ยนควรทบทวนความรู ้ความเข้าใจที่ได้ศึกษาผ่านมาอย่างสมํ่าเสมอ เพื่อเสริ มสร้างความรู้ความเข้าใจใน
เรื่ องดังกล่าวให้ดียงิ่ ขึ้น
490

9. สื่ อ/ แหล่ งการเรียนรู้


1. แบบทดสอบปลายปี รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษา ป. 5
2. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
3. แบบฝึ กทักษะ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
4. คู่มือการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
5. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู ้


แนวทางในการพัฒนา
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู ้
แนวทางในการแก้ไข
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้

ลงชื่อ (ผู้สอน)
491

ตอนที่ 3
เอกสาร/ความรู้ เสริมสํ าหรับครู
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา
492

ตอนที่ 3
เอกสาร/ความรู้ เสริมสําหรับครู
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา
เอกสาร/ความรู้เสริ มสําหรับครู กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษาและพลศึกษาชุดนี้ ประกอบไปด้วยเอกสาร
และความรู ้เสริ มสําหรับครู ที่ครู นาํ มาใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน และการวัดและประเมินผล
สําหรับนักเรี ยน
1. ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานการเรี ยนรู ้ ตัวชี้วดั และสาระการเรี ยนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรี ยนรู้
สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
2. ความรู้เกี่ยวกับความสําคัญของการจัดการเรี ยนรู ้ในกลุ่มสาระการเรี ยนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
3. ความรู้เกี่ยวกับแฟ้ มสะสมผลงาน (Portfolio)
4. เอกสารแบบทดสอบก่อนเรี ยน สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5
– แบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู้ที่ 1 เรี ยนรู้ตวั เรา
– แบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู้ที่ 2 ชีวิตและครอบครัว
– แบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู้ที่ 3 ใส่ใจสุ ขภาพ
– แบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู้ที่ 4 ชีวิตปลอดภัย
– แบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู้ที่ 5 เพิม่ พูนทักษะการเคลื่อนไหว
(หมายเหตุ: แบบทดสอบหลังเรี ยนในแต่ละหน่วยสามารถนํามาใช้ได้จากสื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint
สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด)
5. เอกสารใบกิจกรรมการเรี ยนรู ้ สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5
6. เอกสารแบบประเมินและเกณฑ์การประเมินผล
– แบบประเมินและเกณฑ์การประเมินผลการเรี ยนรู้ดา้ นทักษะ/กระบวนการ
– แบบประเมินและเกณฑ์การประเมินผลการเรี ยนรู้ดา้ นคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
– แบบประเมินและเกณฑ์การประเมินผลการนําเสนอข้อมูล
– แบบประเมินและเกณฑ์การประเมินผลการอภิปราย
– แบบประเมินและเกณฑ์การประเมินผลการสร้างแผนที่ความคิด
7. ตัวอย่างแบบบันทึกสรุ ปผลการประเมินผล
– ตัวอย่างแบบบันทึกผลการประเมินการนําเสนอข้อมูล/การอภิปราย/การสร้างแผนที่ความคิดเป็ น
รายบุคคล
– ตัวอย่างแบบบันทึกสรุ ปการประเมินผลการเรี ยนรู้ของนักเรี ยนหน่วยการเรี ยนรู้ที่ 1–5
8. เอกสารแบบประเมินผลการปฏิบตั ิทกั ษะการวิ่งระยะสั้น
9. เอกสารแบบประเมินผลการปฏิบตั ิทกั ษะกีฬาฟุตบอล
10. เอกสารแบบประเมินผลการปฏิบตั ิทกั ษะกีฬามวยไทย
493

11. เอกสารแบบประเมินผลการปฏิบตั ิทกั ษะกีฬาตะกร้อวง


12. ความรู ้เกี่ยวกับการจัดทําโครงงานสุขศึกษาและพลศึกษา แผนที่ความคิด (Mind Mapping) และผัง
แสดงเหตุและผล
494

ใบความรู้ ที่ 1

เรื่อง สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

หลักสู ต รแกนกลางการศึ กษาขั้น พื้ น ฐาน พุ ท ธศัก ราช 2551 เป็ นหลัก สู ต รที่ มุ่ งเน้น พัฒ นา
นักเรี ยนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาํ หนด เพื่อช่วยให้นกั เรี ยนเกิดสมรรถนะสําคัญและคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ที่มีเป้ าหมายเพื่อการดํารงสุ ขภาพ การสร้างเสริ มสุขภาพและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
บุคคล ครอบครัว และชุมชนให้ยงั่ ยืน โดยผ่านมาตรฐานการเรี ยนรู้เป็ นข้อกําหนดคุณภาพของนักเรี ยน
ทั้งด้านความรู ้ ด้านทักษะ/กระบวนการ ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม โดยผ่านองค์ความรู ้หลัก 5
สาระ และมีการกําหนดมาตรฐานการเรี ยนรู ้ที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นหลังจากการเรี ยนรู้แต่ละสาระ รวม 6 ข้อ
ประกอบด้วย สาระที่ 1 การเจริ ญ เติ บ โตและพั ฒ นาการของมนุษ ย์ ประกอบด้วยมาตรฐานข้อ พ 1.1
เข้า ใจธรรมชาติ ข องการเจริ ญเติ บ โตและพัฒ นาการของมนุ ษ ย์ สาระที่ 2 ชี วิ ต และครอบครั ว
ประกอบด้วยมาตรฐานข้อ พ 2.1 เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทกั ษะในการ
ดํา เนิ น ชี วิ ต สาระที่ 3 การเคลื่ อ นไหว การออกกํา ลั ง กาย การเล่ น เกม กี ฬ าไทย และกี ฬ าสากล
ประกอบด้วยมาตรฐานข้อ พ 3.1 เข้าใจ มีทกั ษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และ
กี ฬ า และมาตรฐานข้อ พ 3.2 รั กการออกกําลังกาย การเล่น เกม และการเล่ น กี ฬ า ปฏิ บ ตั ิ เป็ นประจํา
อย่างสมํ่าเสมอ มี วินัย เคารพสิ ท ธิ กฎ กติ กา มี น้ าํ ใจนักกี ฬ า มี จิตวิญ ญาณในการแข่งขัน และชื่ น ชม
ในสุ น ทรี ย ภาพของการกี ฬ า สาระที่ 4 การสร้ างเสริ มสุ ข ภาพ สมรรถภาพ และการป้ องกั น โรค
ประกอบด้วยมาตรฐานข้อ พ 4.1 เห็ นคุณ ค่าและ มี ทกั ษะในการสร้างเสริ ม สุ ขภาพ การดํารงสุ ขภาพ
การป้ องกัน โรค และการสร้ างเสริ ม สมรรถภาพเพื่ อ สุ ข ภาพ และสาระที่ 5 ความปลอดภั ย ในชี วิ ต
ประกอบด้วยมาตรฐานข้อ พ 5.1 ป้ องกันและหลีกเลี่ยงปั จจัยเสี่ ยง พฤติกรรมเสี่ ยงต่อสุ ขภาพ อุบตั ิเหตุ
การใช้ยา สารเสพติด และความรุ นแรง
495

ใบงานที่ 1

เรื่อง หน่ วยการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา


คําชี้แจง: 1. ให้นกั เรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5–6 คน เลือกประธานและเลขานุการกลุ่ม
2. ร่ วมกันวิเคราะห์และอภิปรายเพื่อสรุ ปประเด็นคําถามต่าง ๆ ที่กาํ หนดไว้ในตารางใบงานที่ 1
3. บันทึกสรุ ปผลการวิเคราะห์และอภิปรายผลลงในตารางใบงานที่ 1
4. นําเสนอผลการวิเคราะห์และอภิปรายหน้าชั้นเรี ยน
ประเด็นคําถาม สรุปความคิดเห็นของสมาชิกกลุ่ม

1. กลุ่มสาระการเรี ยนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา (ตัวอย่ างแนวคําตอบ: ประกอบด้ วยองค์ ความรู้ หลัก


__________________________________________________
5 สาระ ได้ แก่
__________________________________________________
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สาระที่ 1 การเจริ ญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
__________________________________________________
พุทธศักราช 2551 ประกอบด้วยองค์ความรู้
สาระที่ 2 ชี วิตและครอบครั ว
__________________________________________________
กี่สาระ อะไรบ้าง
สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย การเล่ นเกม
__________________________________________________
กีฬาไทย และกีฬาสากล
__________________________________________________
สาระที่ 4 การสร้ างเสริ มสุขภาพ สมรรถภาพ และการ
__________________________________________________
ป้ องกันโรค
__________________________________________________
สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชี วิต)
__________________________________________________
496

2. นักเรี ยนควรเกิดมาตรฐานการเรี ยนรู้อย่างไรบ้าง (ตัวอย่ างแนวคําตอบ:


__________________________________________________
หลังการเรี ยนรู ้ในกลุ่มสาระที่เป็ นองค์ความรู ้ __________________________________________________
หลังการเรี ยนรู้ สาระที่ 1 ควรมีความเข้ าใจธรรมชาติของ
การเจริ ญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
__________________________________________________
หลักของกลุ่มสาระการเรี ยนรู้สุขศึกษาและ
หลังการเรี ยนรู้ สาระที่ 2 ควรมีความเข้ าใจและเห็นคุณค่ า
__________________________________________________
พลศึกษา
ของตนเอง ครอบครั ว เพศศึกษา และมีทักษะในการดําเนินชี วิต
__________________________________________________
หลังการเรี ยนรู้ สาระที่ 3
__________________________________________________
1. ควรเข้ าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย
__________________________________________________
การเล่ นเกม และกีฬา และ
__________________________________________________
2. รั กการออกกําลังกาย การเล่ นเกม และการเล่ นกีฬา
__________________________________________________
ปฏิบัติเป็ นประจําอย่ างสมํา่ เสมอ มีวินัย เคารพสิ ทธิ กฎ กติกา
__________________________________________________
มีนา้ํ ใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่ งขัน และชื่ นชอบใน
__________________________________________________
สุนทรี ยภาพของการกีฬา
__________________________________________________
หลังการเรี ยนรู้ สาระที่ 4 ควรเห็นคุณค่ าและมีทักษะใน
__________________________________________________
การสร้ างเสริ มสุขภาพ การดํารงสุขภาพ การป้ องกันโรค และ
__________________________________________________
การสร้ างเสริ มสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ
__________________________________________________
หลังการเรี ยนรู้ สาระที่ 5 ควรรู้ จักป้ องกันและหลีกเลี่ยง
__________________________________________________
ปั จจัยเสี่ ยง พฤติกรรมเสี่ ยงต่ อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ ยา สาร
__________________________________________________
เสพติด และความรุ นแรง)
__________________________________________________

ประเด็นคําถาม สรุปความคิดเห็นของสมาชิกกลุ่ม

3. การศึกษาในองค์ความรู ้หลักของกลุ่มสาระ (พิจารณาจากคําตอบที่ ใช้ หลักเหตุและผลประกอบในการ


__________________________________________________
ตอบคําถามของนักเรี ยน)
__________________________________________________
การเรี ยนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาที่กาํ หนดไว้ ใน
__________________________________________________
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
__________________________________________________
พุทธศักราช 2551 จะประสบผลสําเร็ จอย่างดี
__________________________________________________
นักเรี ยนต้องมีแนวทางปฏิบตั ิอย่างไรบ้าง
__________________________________________________

4. แหล่งความรู ้ใดบ้างที่จะช่วยสนับสนุนการเรี ยนรู ้ (พิจารณาจากคําตอบของนักเรี ยน ตัวอย่ างเช่ น ตํารา


__________________________________________________
เอกสาร บทความ นิตยสาร แหล่ งความรู้ ในท้ องถิ่น ปราชญ์ ใน
__________________________________________________
ในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษาและพลศึกษา ให้
ท้ องถิ่น และการค้ นคว้ าโดยอาศัยการสื บค้ นจากระบบ เครื อข่ าย
__________________________________________________
ประสบความสําเร็ จได้มากที่สุด
อินเทอร์ เน็ต)
__________________________________________________
__________________________________________________
__________________________________________________
__________________________________________________
497

กลุ่มที่ ________
1. _____________________________ เลขที่ _____ ประธานกลุ่ม
2. _____________________________ เลขที่ _____ สมาชิก
3. _____________________________ เลขที่ _____ สมาชิก
4. _____________________________ เลขที่ _____ สมาชิก
5. _____________________________ เลขที่ _____ สมาชิก
6. _____________________________ เลขที่ _____ เลขานุการกลุ่ม

วันที่ ___________ / ____________ / _________


498

ใบความรู้ ที่ 2

เรื่อง การจัดแบ่ งหน่ วยการเรียนรู้และการวัดประเมินผล ตลอดจนเกณฑ์ การตัดสิ นผลการเรียนในกลุ่มสาระการ


เรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
คําชี้แจง ให้นกั เรี ยนร่ วมกันศึกษาและอภิปรายเกี่ยวกับการจัดแบ่งหน่วยการเรี ยนรู ้ และการวัดประเมินผลการเรี ยน
ในกลุ่มสาระการเรี ยนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
1. การแบ่ งหน่ วยการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5

หน่ วยการเรียนรู้ ชื่อหน่ วยการเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง) หมายเหตุ


1 เรี ยนรู ้ตวั เรา 9 แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 1–9 (รวม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่ 1 ปฐมนิเทศ
และข้ อตกลงในการเรี ยน รายวิชา
พืน้ ฐาน สุขศึกษา ป. 5)
2 ชีวิตและครอบครัว 11 แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 11–20
(รวมแผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่ 20
การทดสอบกลางปี รายวิชาพืน้ ฐาน
สุขศึกษา ป. 5)
3 เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว 40 แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 21–60
(รวม
– แผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่ 21
ปฐมนิเทศและข้ อตกลงในการ
เรี ยน รายวิชาพืน้ ฐาน สุขศึกษา
ป. 5
– แผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่ 40 การ
ทดสอบกลางปี รายวิชาพืน้ ฐาน
พลศึกษา ป. 5
– แผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่ 60 การ
ทดสอบปลายปี รายวิชาพืน้ ฐาน
พลศึกษา ป. 5)
4 ใส่ใจสุ ขภาพ 14 แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 61–74
5 ชีวิตปลอดภัย 6 แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 75–80
(รวมแผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่ 80
การทดสอบปลายปี รายวิชาพืน้ ฐาน
สุขศึกษา ป. 5)
499

2. การจัดหน่ วยการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาในแต่ละภาคการศึกษา


ขึ้นอยูก่ บั ความเหมาะสมและสภาพการจัดการเรี ยนการสอนของสถานศึกษา
3. เกณฑ์ การตัดสิ นผลการเรียนรู้สุขศึกษา
3.1 คะแนนคิดเป็ นสัดส่วน 70:30 แบ่งเป็ น
คะแนนสอบกลางภาค 20 คะแนน
คะแนนคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 10 คะแนน
คะแนนงานภาคปฏิบตั ิ 10 คะแนน 70 คะแนน
คะแนนจากโครงงาน 20 คะแนน
คะแนนสอบย่อย 10 คะแนน
คะแนนสอบปลายภาค 30 คะแนน
คะแนนสอบกลางภาค หมายถึง คะแนนที่ได้จากการวัดความรู้จากการศึกษาด้านความรู้
คะแนนคุณธรรม จริ ยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ หมายถึง คะแนนที่ได้จากการวัดจาก
แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรี ยน โดยจัดเก็บทุกครั้งในกิจกรรมการเรี ยนการสอน ทั้งเป็ นรายบุคคล และราย
กลุ่ม รวมทั้งการเก็บข้อมูลด้านความสมํ่าเสมอของการเข้าเรี ยน
คะแนนภาคปฏิบัติ หมายถึง คะแนนของการจัดทํางานส่งครู อย่างสมํ่าเสมอและถูกต้อง
คะแนนจากโครงงาน หมายถึง คะแนนที่ได้จากการทําโครงงานที่นกั เรี ยนได้รับมอบหมายหรื อชิ้นงานที่
ได้รับคัดเลือกเก็บในแฟ้ มสะสมผลงาน
คะแนนสอบย่ อย หมายถึง คะแนนที่ได้จากการวัดความรู้ในรายชัว่ โมง
คะแนนสอบปลายภาค หมายถึง คะแนนที่ได้จากการทดสอบความรู ้หลังจากที่นกั เรี ยนได้ศึกษาหน่วยการ
เรี ยนรู ้หน่วยสุ ดท้ายจบลง
3.2 การคิดอัตราเวลาเรี ยนกับการเข้ารับการประเมินผล
– นักเรี ยนที่มีสิทธิในการเข้ารับการประเมินผลปลายภาคเรี ยนต้องมีเวลาเรี ยนตั้งแต่ 80% ขึ้นไป โดยคิด
จาก
1) เวลาเรี ยน ภาคเรี ยนที่ 1 ใช้เวลาประมาณ 20 ชัว่ โมง/ภาค
ร้อยละ 80 ของเวลา =~ 16 ชัว่ โมง/ภาคเรี ยน
2) เวลาเรี ยน ภาคเรี ยนที่ 2 ใช้เวลาประมาณ 20 ชัว่ โมง/ภาค
ร้อยละ 80 ของเวลา =~ 16 ชัว่ โมง/ภาคเรี ยน
500

4. เกณฑ์ การตัดสิ นผลการเรียนรู้ พลศึกษา


4.1 คะแนนคิดเป็ นสัดส่วน 70:30 แบ่งเป็ น

รายการที่เก็บคะแนน คะแนนระหว่ างภาค คะแนนปลายภาค รวม


1. ความรู ้ 10 5 15
2. คุณธรรมและจริ ยธรรม 10 10 20
3. ทักษะ (ปฏิบตั ิ) 20 5 25
4. สมรรถภาพทางกาย 20 5 25
5. ค่านิยมและคุณลักษณะ 10 5 15
อันพึงประสงค์
รวม 70 30 100

คะแนนสมรรถภาพทางกาย หมายถึง คะแนนที่ได้จากการใช้แบบทดสอบในการวัดสมรรถภาพทางกาย


คะแนนค่ านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ หมายถึง คะแนนที่ได้จากการประเมินผลด้านค่านิยม และ
คุณลักษณะต่าง ๆ ที่สถานศึกษาหรื อผูส้ อนได้ต้ งั ไว้

4.2 การคิดอัตราเวลาเรี ยนกับการมีสิทธิ เข้ารับการประเมิน


– นักเรี ยนที่มีสิทธิในการเข้ารับการประเมินผลปลายภาคเรี ยนต้องมีเวลาเรี ยนตั้งแต่ 80% ขึ้นไป โดยคิด
จาก
1) ภาคเรี ยนที่ 1 ใช้เวลาประมาณ 20 ชัว่ โมง/ภาคเรี ยน
ร้อยละ 80 ของเวลา =~ 16 ชัว่ โมง/ภาคเรี ยน
2) ภาคเรี ยนที่ 2 ใช้เวลาประมาณ 20 ชัว่ โมง/ภาคเรี ยน
ร้อยละ 80 ของเวลา =~ 16 ชัว่ โมง/ภาคเรี ยน

5. การตัดสิ นผลการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
5.1 นําคะแนนดิบที่เป็ นคะแนนรวมของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษาและพลศึกษามารวมกัน
เป็ นคะแนนดิบวิชาละเท่ากัน เช่น 100 + 100 ÷ 2
501

5.2 นําคะแนนที่ได้มาเทียบกับเกณฑ์การตัดสิ นระดับผลการเรี ยน ดังนี้

ระดับผลการเรียน ความหมาย ช่ วงคะแนนคิดเป็ นร้ อยละ

4 ผลการเรี ยนดีมาก 80–100


3 ผลการเรี ยนดี 70–79
2 ผลการเรี ยนปานกลาง 60–69
1 ผลการเรี ยนผ่านเกณฑ์ข้ นั ตํ่า 50–59
0 ผลการเรี ยนตํ่ากว่าเกณฑ์ 0–49
502

6. แบบประเมินพฤติกรรมของผู้เรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม

การแบ่ งหน้ าที่ การฟังความ การแสดงความ บรรยากาศ


หมายเหตุ
พฤติกรรม ทํางาน คิดเห็น คิดเห็น ในการทํางาน
ยังต้ อง ยังต้ อง ยังต้ อง ใช้ ยังต้ อง
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ใช้ ได้ ใช้ ได้ ใช้ ได้
ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง ได้ ปรับปรุง

เกณฑ์ การวัด ใช้ ได้ หมายถึง ร่ วมปฏิบตั ิงาน


ยังต้ องปรั บปรุ ง หมายถึง ร่ วมบ้างแต่ไม่อยูใ่ นเกณฑ์
503

แบบสั งเกตพฤติกรรมรายบุคคล

การแสดงความ การยอมรับฟัง ทํางานตามที่ได้รับ


ลําดับที่/ ความสนใจ การตอบคําถาม
คิดเห็น คนอืน่ มอบหมาย
ชื่อ–สกุล
4 3 2 1 0 4 3 2 1 0 4 3 2 1 0 4 3 2 1 0 4 3 2 1 0

เกณฑ์ การวัด ให้คะแนนระดับคุณภาพของแต่ละพฤติกรรมดังนี้

ระดับคุณภาพ เยีย่ ม ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง


คะแนน 4 3 2 1 0

หมายเหตุ: สํ าหรับครูผ้สู อนหรือสถานศึกษาอาจมีการปรับปรุงหรือปรับเกณฑ์ ที่ให้


ไว้เบือ้ งต้ นได้ ตามความเหมาะสมกับสภาพการจัดการเรียนการสอนของ
สถานศึกษา
504

ตอนที่ 3.1
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรู้ แกนกลาง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5
ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551

สาระที่ 1: การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
มาตรฐาน พ 1.1: เข้าใจธรรมชาติของการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการมนุษย์

ตัวชี้วดั ชั้นปี /ข้ อ สาระการเรียนรู้แกนกลาง


1. อธิ บายความสําคัญของระบบย่อยอาหารและระบบ • ความสําคัญของระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายที่มี
ขับถ่ายที่มีผลต่อสุขภาพการเจริ ญเติบโตและ ผลต่อสุขภาพการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการ
พัฒนาการ
2. อธิ บายวิธีดูแลระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายให้ • ความสําคัญของระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายที่มี
ทํางานตามปกติ ผลต่อสุขภาพการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการ

สาระที่ 2: ชีวติ และครอบครัว


มาตรฐาน พ 2.1: เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทกั ษะในการดําเนิ นชีวิต

ตัวชี้วดั ชั้นปี /ข้ อ สาระการเรียนรู้แกนกลาง


1. อธิ บายการเปลี่ยนแปลงทางเพศและปฏิบตั ิตนได้ • การเปลี่ยนแปลงทางเพศการดูแลตนเอง
เหมาะสม • การวางตัวที่เหมาะสมกับเพศตามวัฒนธรรมไทย
2. อธิ บายความสําคัญของการมีครอบครัวที่อบอุ่นตาม • ลักษณะของครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย (ครอบครัวขยายการนับถือญาติ)
3. ระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ใน • พฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ในการ
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่ม แก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัว
เพื่อน
505

สาระที่ 3: การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล


มาตรฐาน พ 3.1: เข้าใจ มีทกั ษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา
ตัวชี้วดั ชั้นปี /ข้ อ สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1. จัดรู ปแบบการเคลื่อนไหวแบบผสมผสานและ • การจัดรู ปแบบการเคลื่อนไหวร่ างกายแบบผสมผสาน
ควบคุมตนเองเมื่อใช้ทกั ษะการเคลื่อนไหวตามแบบ และการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกาย ทั้งแบบอยูก่ บั ที่
ที่กาํ หนด เคลื่อนที่ และใช้อุปกรณ์ประกอบตามแบบที่กาํ หนด
เช่น การฝึ กกายบริ หาร ยืดหยุน่ ขั้นพื้นฐาน เป็ นต้น
2. เล่นเกมนําไปสู่กีฬาที่เลือกและกิจกรรมการ • เกมนําไปสู่กีฬาและกิจกรรมแบบผลัดที่มีการตี เขี่ย
เคลื่อนไหวแบบผลัด รับ–ส่งสิ่ งของ ขว้างและวิ่ง
3. ควบคุมการเคลื่อนไหวในเรื่ องการรับแรง การใช้ • การเคลื่อนไหวในเรื่ องการรับแรง การใช้แรง และ
แรง และความสมดุล ความสมดุล
4. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและ • ทักษะกลไกที่ส่งผลต่อการปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและ
เล่นกีฬา เล่นกีฬา
5. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและ • การเล่นกีฬาไทย เช่น ตะกร้อวง วิ่งชักธง และกีฬา
ประเภททีมอย่างละ 1 ชนิด สากล เช่น กรี ฑาประเภทลู่ แบดมินตัน เปตอง ฟุตบอล
เทเบิลเทนนิส ว่ายนํ้า
6. อธิ บายหลักการและเข้าร่ วมกิจกรรมนันทนาการ • หลักและกิจกรรมนันทนาการ
อย่างน้อย 1 กิจกรรม

มาตรฐาน พ 3.2: รักการออกกําลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบตั ิเป็ นประจําอย่างสมํ่าเสมอ มีวินยั เคารพ
สิ ทธิ กฎ กติกา มีน้ าํ ใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน และชื่นชมในสุ นทรี ยภาพของการกีฬา
ตัวชี้วดั ชั้นปี /ข้ อ สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1. ออกกําลังกายอย่างมีรูปแบบ เล่นเกมที่ใช้ทกั ษะการ • หลักการและรู ปแบบของการออกกําลังกาย
คิดและตัดสิ นใจ • การออกกําลังกายและการเล่นเกม เช่น เกมเบ็ดเตล็ด
เกมเลียนแบบเกมนําและการละเล่นพื้นเมือง
2. เล่นกีฬาที่ตนเองชื่นชอบอย่างสมํ่าเสมอ โดยสร้าง • การเล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและทีมที่
ทางเลือกในวิธีปฏิบตั ิของตนเองอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับวัยอย่างสมํ่าเสมอ
และมีน้ าํ ใจนักกีฬา • การสร้างทางเลือกในวิธีปฏิบตั ิในการเล่นกีฬาอย่าง
หลากหลายและมีน้ าํ ใจนักกีฬา
506

ตัวชี้วดั ชั้นปี /ข้ อ สาระการเรียนรู้แกนกลาง


3. ปฏิบตั ิตามกฎกติกาการเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬา • กฎกติกาในการเล่นเกมกีฬาไทยและกีฬาสากลตาม
สากลตามชนิดกีฬาที่เล่น ชนิดกีฬาที่เล่น
• วิธีการรุ กและวิธีป้องกันในการเล่นกีฬาไทยและกีฬา
สากลที่เล่น
4. ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ ของตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิ ผอู้ ื่น • สิ ทธิ ของตนเองและผูอ้ ื่นในการเล่นเกมและกีฬา
และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลในการ • ความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกมและกีฬา
เล่นเกม และกีฬาไทย กีฬาสากล

สาระที่ 4: การสร้ างเสริมสุ ขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค


มาตรฐาน พ 4.1: เห็นคุณค่าและมีทกั ษะในการสร้างเสริ มสุขภาพ การดํารงสุขภาพ การป้ องกันโรค และการสร้างเสริ ม
สมรรถภาพเพื่อสุ ขภาพ
ตัวชี้วดั ชั้นปี /ข้ อ สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1. แสดงพฤติกรรมที่เห็นความสําคัญของการปฏิบตั ิตน • ความสําคัญของการปฏิบตั ิตนตามสุ ขบัญญัติแห่งชาติ
ตามสุขบัญญัติแห่งชาติ
2. ค้นหาข้อมูลข่าวสารเพื่อใช้สร้างเสริ มสุ ขภาพ • แหล่งและวิธีคน้ หาข้อมูลข่าวสารทางสุ ขภาพ
• การใช้ขอ้ มูลข่าวสารในการสร้างเสริ มสุ ขภาพ
3. วิเคราะห์สื่อโฆษณาในการตัดสิ นใจเลือกซื้ออาหาร • การตัดสิ นใจเลือกซื้ ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ (อาหาร
และผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างมีเหตุผล เครื่ องสําอาง ผลิตภัณฑ์ดูแลสุขภาพในช่องปาก ฯลฯ)
4. ปฏิบตั ิตนในการป้ องกันโรคที่พบบ่อยใน • การปฏิบตั ิตนในการป้ องกันโรคที่พบบ่อยใน
ชีวิตประจําวัน ชีวิตประจําวัน
– ไข้หวัด
– ไข้เลือดออก
– โรคผิวหนัง
– ฟันผุและโรคปริ ทนั ต์ ฯลฯ
5. ทดสอบและปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายตามผล • การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย • การปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบ
สมรรถภาพทางกาย
507

สาระที่ 5: ความปลอดภัยในชีวติ
มาตรฐาน พ 5.1: ป้ องกันและหลีกเลี่ยงปั จจัยเสี่ ยง พฤติกรรมเสี่ ยงต่อสุขภาพ อุบตั ิเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และ
ความรุ นแรง
ตัวชี้วดั ชั้นปี /ข้ อ สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้สารเสพติด• ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้สารเสพติด (สุ รา บุหรี่ ยาบ้า
สารระเหย ฯลฯ)
– ครอบครัวสังคมเพื่อน
– ค่านิยมความเชื่อ
– ปัญหาสุ ขภาพ
– สื่ อ ฯลฯ
2. วิเคราะห์ผลกระทบของการใช้ยาและสารเสพติดที่มี • ผลกระทบของการใช้ยาและสารเสพติดที่มีต่อร่ างกาย
ผลต่อร่ างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา

3. การปฏิบตั ิตนเพื่อความปลอดภัยจากการใช้ยาและ • การปฏิบตั ิตนเพื่อความปลอดภัยจากการใช้ยา


หลีกเลี่ยงสารเสพติด • การหลีกเลี่ยงสารเสพติด
4. วิเคราะห์อิทธิพลของสื่ อที่มีต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ • อิทธิพลของสื่ อที่มีต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ (อินเทอร์เน็ต
เกม ฯลฯ)
5. ปฏิบตั ิตนเพื่อป้ องกันอันตรายจากการเล่นกีฬา • การปฏิบตั ิตนเพื่อป้ องกันอันตรายจากการเล่นกีฬา
508

ตอนที่ 3.2
ความสําคัญของการจัดการเรียนรู้ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา
• ทําไมต้ องเรียนสุ ขศึกษาและพลศึกษา
สุ ข ภาพ ห รื อ สุ ข ภาวะ หมายถึง ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ท้ งั ทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางปั ญญา
หรื อจิตวิญญาณ สุขภาพหรื อสุขภาวะจึงเป็ นเรื่ องสําคัญ เพราะเกี่ยวโยงกับทุกมิติของชีวิต ซึ่งทุกคนควรจะได้เรี ยนรู ้
เรื่ องสุ ขภาพ เพื่อจะได้มีความรู ้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง มีเจตคติ คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม รวมทั้งมีทกั ษะ
ปฏิบตั ิดา้ นสุขภาพเป็ นกิจนิสยั อันจะส่งผลให้สงั คมโดยรวมมีคุณภาพ
• เรียนรู้ อะไรในสุ ขศึกษาและพลศึกษา
สุ ขศึกษาและพลศึกษาเป็ นการศึกษาด้านสุ ขภาพที่มีเป้ าหมายเพื่อการดํารงสุ ขภาพ การสร้างเสริ มสุ ขภาพ
และการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของบุคคล ครอบครัว และชุมชนให้ยงั่ ยืน
สุ ขศึกษา มุ่งเน้นให้นกั เรี ยนพัฒนาพฤติกรรมด้านความรู้ เจตคติ คุณธรรม ค่านิยม และการปฏิบตั ิเกี่ยวกับ
สุ ขภาพควบคู่ไปด้วยกัน
พลศึกษา มุ่งเน้นให้นกั เรี ยนใช้กิจกรรมการเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย การเล่นเกมและกีฬา เป็ น
เครื่ องมือในการพัฒนาโดยรวมทั้งด้านร่ างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา รวมทั้งสมรรถภาพเพื่อสุ ขภาพและ
กีฬา
สาระที่เป็ นกรอบเนื้อหาหรื อขอบข่ายองค์ความรู้ของกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ประกอบด้วย
• การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ นักเรี ยนได้เรี ยนรู ้เรื่ อง ธรรมชาติของการเจริ ญเติบโตและ
พัฒนาการของมนุษย์ ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริ ญเติบโต ความสัมพันธ์เชื่อมโยงในการทํางานของระบบต่าง ๆ ของ
ร่ างกาย รวมถึงวิธีปฏิบตั ิตนเพื่อให้เจริ ญเติบโตและมีพฒั นาการที่สมวัย
• ชีวติ และครอบครัว นักเรี ยนจะได้เรี ยนรู ้เรื่ อง คุณค่าของตนเองและครอบครัว การปรับตัวต่อการ
เปลี่ยนแปลงทางร่ างกาย จิตใจ อารมณ์ ความรู ้สึกทางเพศ การสร้างและรักษาสัมพันธภาพกับผูอ้ ื่น สุ ขปฏิบตั ิทาง
เพศ และทักษะในการดําเนินชีวิต
• การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเล่นกีฬาไทย และกีฬาสากล นักเรี ยนได้เรี ยนรู ้เรื่ องการเคลื่อนไหว
ร่ างกายในรู ปแบบต่าง ๆ การเข้าร่ วมกิจกรรมทางกายและกีฬา ทั้งประเภทบุคคลและประเภททีมอย่างหลากหลาย
ทั้งไทยและสากล การปฏิบตั ิตามกฎ กติกา ระเบียบ และข้อตกลงในการเข้าร่ วมกิจกรรมทางกายและกีฬา และความ
มีน้ าํ ใจนักกีฬา
509

ตอนที่ 3.3
แฟ้ มสะสมผลงาน (Portfolio)
แฟ้ มสะสมผลงาน หมายถึง แหล่งรวบรวมเอกสาร ผลงาน หรื อหลักฐาน เพื่อใช้สะท้อนถึงผลสัมฤทธิ์
ความสามารถ ทักษะ และพัฒนาการของนักเรี ยน มีการจัดเรี ยบเรี ยงผลงานไว้อย่างมีระบบ โดยนําความรู ้ ความคิด
และการนําเสนอมาผสมผสานกัน ซึ่งนักเรี ยนเป็ นผูค้ ดั เลือกผลงานและมีส่วนร่ วมในการประเมิน แฟ้ มสะสม
ผลงานจึงเป็ นหลักฐานสําคัญที่จะทําให้นกั เรี ยนสามารถมองเห็นพัฒนาการของตนเองได้ตามสภาพจริ ง รวมทั้งเห็น
ข้อบกพร่ องและแนวทางในการปรับปรุ งแก้ไขให้ดีข้ ึนต่อไป
ลักษณะสํ าคัญของการประเมินผลโดยใช้ แฟ้มสะสมผลงาน
1. ครู สามารถใช้เป็ นเครื่ องมือในการติดตามความก้าวหน้าของนักเรี ยนเป็ นรายบุคคลได้เป็ นอย่างดี
เนื่องจากมีผลงานสะสมไว้ ครู จะทราบจุดเด่น จุดด้อยของนักเรี ยนแต่ละคนจากแฟ้ มสะสมผลงาน และสามารถ
ติดตามพัฒนาการได้อย่างต่อเนื่อง
2. มุ่งวัดศักยภาพของนักเรี ยนในการผลิตหรื อสร้างผลงานมากกว่าการวัดความจําจากการทําแบบทดสอบ
3. วัดและประเมินโดยเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลาง คือ นักเรี ยนเป็ นผูว้ างแผน ลงมือปฏิบตั ิงาน รวมทั้ง
ประเมินและปรับปรุ งตนเอง ซึ่งมีครู เป็ นผูช้ ้ ีแนะ เน้นการประเมินผลย่อยมากกว่าการประเมินผลรวม
4. ฝึ กให้นกั เรี ยนรู ้จกั การประเมินตนเองและหาแนวทางปรับปรุ งพัฒนาตนเอง
5. นักเรี ยนเกิดความมัน่ ใจและภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง รู้วา่ ตนเองมีจุดเด่นในเรื่ องใด
6. ช่วยในการสื่ อความหมายเกี่ยวกับความรู้ ความสามารถ ตลอดจนพัฒนาการของนักเรี ยนให้ผทู ้ ี่เกี่ยวข้อง
ทราบ เช่น ผูป้ กครอง ฝ่ ายแนะแนว ตลอดจนผูบ้ ริ หารของโรงเรี ยน
ขั้นตอนการประเมินผลโดยใช้ แฟ้มสะสมผลงาน
การจัดทําแฟ้ มสะสมผลงานมี 10 ขั้นตอน ซึ่งแต่ละขั้นตอนมีรายละเอียด ดังนี้
1. การวางแผนจัดทําแฟ้มสะสมผลงาน การจัดทําแฟ้ มสะสมผลงานต้องมีส่วนร่ วมระหว่างครู นักเรี ยน
และผูป้ กครอง
ครู การเตรี ยมตัวของครู ตอ้ งเริ่ มจากการศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตร คู่มือครู คําอธิบายรายวิชา วิธีการ
วัดและประเมินผลในหลักสูตร รวมทั้งครู ตอ้ งมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินโดยใช้แฟ้ มสะสมผลงาน จึง
จะสามารถวางแผนกําหนดชิ้นงานได้
นักเรียน ต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การเรี ยนรู้ เนื้อหาสาระ การประเมินผลโดยใช้แฟ้ ม
สะสมผลงาน การมีส่วนร่ วมในกิจกรรมการเรี ยนรู้ การกําหนดชิ้นงาน และบทบาทในการทํางานกลุ่ม โดยครู ตอ้ ง
แจ้งให้นกั เรี ยนทราบล่วงหน้า
ผู้ปกครอง ต้องเข้ามามีส่วนร่ วมในการคัดเลือกผลงาน การแสดงความคิดเห็น และรับรู้พฒั นาการของ
นักเรี ยนอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นก่อนทําแฟ้ มสะสมผลงาน ครู ตอ้ งแจ้งให้ผปู ้ กครองทราบหรื อขอความร่ วมมือ รวมทั้ง
ให้ความรู้ในเรื่ อง การประเมินผล โดยใช้แฟ้ มสะสมผลงานแก่ผปู้ กครองเมื่อมีโอกาส
510

2. การรวบรวมผลงานและจัดระบบแฟ้ม ในการรวบรวมผลงานต้องออกแบบการจัดเก็บหรื อแยก


หมวดหมู่ของผลงานให้ดี เพื่อสะดวกและง่ายต่อการนําข้อมูลออกมาใช้ แนวทางการจัดหมวดหมู่ของผลงาน เช่น
– จัดแยกตามลําดับ วัน เวลาที่สร้างผลงานขึ้นมา
– จัดแยกตามความซับซ้อนของผลงาน เป็ นการแสดงถึงทักษะหรื อพัฒนาการของนักเรี ยนที่มากขึ้น
– จัดแยกตามวัตถุประสงค์ เนื้อหา หรื อประเภทของผลงาน
ผลงานที่อยูใ่ นแฟ้ มสะสมผลงานอาจมีหลายเรื่ อง หลายวิชา ดังนั้นนักเรี ยนจะต้องทําเครื่ องมือในการ
ช่วยค้นหา เช่น สารบัญ ดัชนีเรื่ อง จุดสี แถบสี ติดไว้ที่ผลงานโดยมีรหัสที่แตกต่างกัน เป็ นต้น
3. การคัดเลือกผลงาน ในการคัดเลือกผลงานนั้นควรให้สอดคล้องกับเกณฑ์หรื อมาตรฐานที่โรงเรี ยน ครู
หรื อนักเรี ยนร่ วมกันกําหนดขึ้นมา และผูค้ ดั เลือกผลงานควรเป็ นนักเรี ยนเจ้าของแฟ้ มสะสมผลงาน หรื อมีส่วน
ร่ วมกับครู เพื่อน และผูป้ กครอง
ผลงานที่เลือกเข้าแฟ้ มสะสมผลงาน ควรมีลกั ษณะดังนี้
– สอดคล้องกับเนื้อหาและวัตถุประสงค์ของการเรี ยนรู้
– เป็ นผลงานชิ้นที่ดีที่สุด มีความหมายต่อนักเรี ยนมากที่สุด
– สะท้อนให้เห็นถึงพัฒนาการของนักเรี ยนในทุกด้าน
– เป็ นสื่ อที่จะช่วยให้นกั เรี ยนมีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับครู ผูป้ กครอง และเพื่อน ๆ
ส่วนจํานวนชิ้นงานนั้นให้กาํ หนดตามความเหมาะสม ไม่ควรมีมากเกินไป เพราะอาจจะทําให้ผลงาน
บางชิ้นไม่มีความหมาย แต่ถา้ มีนอ้ ยเกินไปจะทําให้การประเมินไม่มีประสิ ทธิ ภาพ
4. สร้ างสรรค์ แฟ้มสะสมผลงานให้ มเี อกลักษณ์ ของตนเอง โครงสร้างหลักของแฟ้ มสะสมผลงานอาจ
เหมือนกัน แต่นกั เรี ยนสามารถตกแต่งรายละเอียดย่อยให้แตกต่างกันตามความคิดสร้างสรรค์ของแต่ละบุคคล โดย
อาจใช้ภาพ สี สติกเกอร์ ตกแต่งให้สวยงาม เน้นเอกลักษณ์ของเจ้าของแฟ้ มสะสมผลงาน
5. การแสดงความคิดเห็นหรือความรู้สึกต่ อผลงาน ในขั้นตอนนี้นกั เรี ยนจะได้รู้จกั การวิพากษ์วิจารณ์หรื อ
สะท้อนความคิดเกี่ยวกับผลงานของตนเอง ตัวอย่างข้อความที่ใช้แสดงความรู้สึกต่อผลงาน เช่น
– ได้แนวคิดจากการทําผลงานชิ้นนี้มาจากไหน
– เหตุผลที่เลือกผลงานชิ้นนี้คืออะไร
– จุดเด่น จุดด้อยของผลงานชิ้นนี้คืออะไร
– รู ้สึกพอใจกับผลงานชิ้นนี้มากน้อยเพียงใด
– ได้ขอ้ คิดอะไรจากการทําผลงานชิ้นนี้
6. ตรวจสอบความสามารถของตนเอง เป็ นการเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้ประเมินความสามารถของตนเอง
โดยพิจารณาตามเกณฑ์ยอ่ ย ๆ ที่ครู และนักเรี ยนช่วยกันกําหนดขึ้น เช่น นิสยั การทํางาน ทักษะทางสังคม การทํางาน
เสร็ จตามระยะเวลาที่กาํ หนด การขอความช่วยเหลือเมื่อมีความจําเป็ น เป็ นต้น นอกจากนี้ยงั มีการตรวจสอบ
ความสามารถของตนเองอีกวิธีหนึ่ง คือ การให้นกั เรี ยนเขียนวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อยของตนเอง และสิ่ งที่ตอ้ ง
ปรับปรุ งแก้ไข
511

7. การประเมินผลงาน เป็ นขั้นตอนที่สาํ คัญเนื่องจากเป็ นการสรุ ปคุณภาพของงานและความสามารถหรื อ


พัฒนาการของนักเรี ยน การประเมินแบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะ คือ การประเมินโดยไม่ให้ระดับคะแนน และการ
ประเมินโดยให้ระดับคะแนน
การประเมินโดยไม่ ให้ ระดับคะแนน ครู กลุ่มนี้มีความเชื่อว่า แฟ้ มสะสมผลงานมีไว้เพื่อศึกษา
กระบวนการทํางาน ศึกษาความคิดเห็น ความรู้สึกของนักเรี ยนที่มีต่อผลงานของตนเอง ตลอดจนดูพฒั นาการหรื อ
ความก้าวหน้าของนักเรี ยนอย่างไม่เป็ นทางการ ครู ผูป้ กครอง และเพื่อนสามารถให้คาํ ชี้แนะแก่นกั เรี ยนได้ ซึ่ง
วิธีการนี้จะทําให้นกั เรี ยนได้เรี ยนรู ้และปฏิบตั ิงานอย่างเต็มที่ โดยไม่ตอ้ งกังวลว่าจะได้คะแนนมากน้อยเท่าไร
การประเมินโดยให้ ระดับคะแนน มีท้ งั การประเมินตามจุดประสงค์การเรี ยนรู้ การประเมินระหว่างภาค
เรี ยน และการประเมินปลายภาคเรี ยน ซึ่งจะช่วยในวัตถุประสงค์ดา้ นการปฏิบตั ิเป็ นหลัก การประเมินแฟ้ มสะสม
ผลงานต้องกําหนดมิติการให้คะแนน (Scoring Rubrics) ตามเกณฑ์ที่ครู และนักเรี ยนร่ วมกันกําหนดขึ้น การให้ระดับ
คะแนนมีท้ งั การให้คะแนนเป็ นรายชิ้นก่อนเก็บเข้าแฟ้ มสะสมผลงาน และการให้คะแนนแฟ้ มสะสมผลงานทั้งแฟ้ ม
ซึ่งมาตรฐานคะแนนนั้นต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การจัดทําแฟ้ มสะสมผลงาน และมุ่งเน้นพัฒนาการของ
นักเรี ยนแต่ละคนมากกว่าการนําไปเปรี ยบเทียบกับบุคคลอื่น
8. การแลกเปลีย่ นประสบการณ์ กบั ผู้อนื่ มีวตั ถุประสงค์เพื่อเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้รับฟังความคิดเห็น
จากผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ เพื่อน ครู และผูป้ กครอง อาจทําได้หลายรู ปแบบ เช่น การจัดประชุมในโรงเรี ยน โดย
เชิญผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้องมาร่ วมกันพิจารณาผลงาน การสนทนาแลกเปลี่ยนระหว่างนักเรี ยนกับเพื่อน การส่งแฟ้ ม
สะสมผลงานไปให้ผทู้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้องช่วยให้ขอ้ เสนอแนะหรื อคําแนะนํา
ในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์น้ นั นักเรี ยนจะต้องเตรี ยมคําถามเพื่อถามผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้อง ซึ่งจะเป็ น
ประโยชน์ในการปรับปรุ งงานของตนเอง ตัวอย่างคําถาม เช่น
– ท่านคิดอย่างไรกับผลงานชิ้นนี้
– ท่านคิดว่าควรปรับปรุ งแก้ไขส่วนใดอีกบ้าง
– ผลงานชิ้นใดที่ท่านชอบมากที่สุด เพราะอะไร
– ฯลฯ
9. การปรับเปลีย่ นผลงาน หลังจากที่นกั เรี ยนได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและได้รับคําแนะนําจากผูท้ ี่มีส่วน
เกี่ยวข้องแล้ว จะนํามาปรับปรุ งผลงานให้ดีข้ ึน นักเรี ยนสามารถนําผลงานที่ดีกว่าเก็บเข้าแฟ้ มสะสมผลงานแทน
ผลงานเดิม ทําให้แฟ้ มสะสมผลงานมีผลงานที่ดี ทันสมัย และตรงตามจุดประสงค์ในการประเมิน
10. การประชาสั มพันธ์ ผลงานของนักเรียน เป็ นการแสดงนิทรรศการผลงานของนักเรี ยน โดยนําแฟ้ ม
สะสมผลงานของนักเรี ยนทุกคนมาจัดแสดงร่ วมกัน และเปิ ดโอกาสให้ผปู ้ กครอง ครู และนักเรี ยนทัว่ ไปได้เข้าชม
ผลงาน ทําให้นกั เรี ยนเกิดความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง
ผูท้ ี่เริ่ มต้นทําแฟ้ มสะสมผลงานอาจไม่ตอ้ งดําเนินการทั้ง 10 ขั้นตอนนี้ อาจใช้ข้ นั ตอนหลัก ๆ คือ การ
รวบรวมผลงานและการจัดระบบแฟ้ ม การคัดเลือกผลงาน และการแสดงความคิดเห็นหรื อความรู ้สึกต่อผลงาน
512

องค์ ประกอบสํ าคัญของแฟ้มสะสมผลงาน

1. ส่ วนนํา ประกอบด้วย
– ปก
– คํานํา
– สารบัญ
– ประวัติส่วนตัว
– จุดมุ่งหมายของการทําแฟ้ มสะสมผลงาน

2. ส่ วนเนือ้ หาแฟ้ม ประกอบด้วย


– ผลงาน
– ความคิดเห็นที่มีต่อผลงาน
– Rubrics ประเมินผลงาน

3. ส่ วนข้ อมูลเพิม่ เติม ประกอบด้วย


– ผลการประเมินการเรี ยนรู้
– การรายงานความก้าวหน้าโดยครู
– ความคิดเห็นของผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้อง
เช่น เพื่อน ผูป้ กครอง
513

กรอบแนวคิดผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้เพือ่ เน้ นสู่ ผลลัพธ์ ปลายทาง (Backward Design Template)


หน่ วยการเรียนรู้ที่...........................................
ขั้นตอนที่ 1 ผลลัพธ์ ปลายทางที่ต้องการให้ เกิดขึน้ กับนักเรียน (Design Results)
ตัวชี้วดั ชั้นปี
.......................................................................................................................................................................................
ความเข้ าใจทีค่ งทนของนักเรียน คําถามสํ าคัญทีก่ ระตุ้นให้ นักเรียนเกิดความเข้ าใจทีค่ งทน
 เมื่อศึกษาจบหน่วยการเรี ยนรู ้น้ ี นักเรี ยนจะเข้ าใจ
ว่า…
1. ............................................................................... – ............................................................................................
2. ............................................................................... – ............................................................................................

ความรู้ของนักเรียนที่จะนําไปสู่ ความเข้ าใจทีค่ งทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนทีจ่ ะนําไปสู่ ความเข้ าใจที่


 เมื่อศึกษาจบหน่วยการเรี ยนรู ้น้ ี นักเรี ยนจะรู้ ว่า… คงทน
 เมื่อศึกษาจบหน่วยการเรี ยนรู ้ นักเรี ยนควรมีทักษะและ
สามารถที่จะ…
1. ............................................................................... 1. ..........................................................................................
2. ............................................................................... 2. ..........................................................................................
3. ............................................................................... 3. ............................................................................................
ขั้นที่ 2 หลักฐานในการประเมินเพือ่ แสดงว่ านักเรียนมีผลการเรียนรู้ตามที่กาํ หนด (Assessment Evidence)
1. ภาระงานทีน่ ักเรียนปฏิบัติ
– ...............................................................................................................................................................................
– ...............................................................................................................................................................................
2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
• วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ • เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
– การสนทนาซักถามโดยครู – แบบบันทึกการสนทนา
– การวัดและประเมินผลด้านความรู ้ – แบบทดสอบความรู ้ก่อนเรี ยน
– แบบทดสอบความรู ้หลังเรี ยน
– แบบทดสอบประจําหน่วย
– การวัดและประเมินผลด้านคุณธรรม จริ ยธรรม – การวัดและประเมินผลด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม
ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
3. สิ่ งทีม่ ่ ุงประเมิน
– ...............................................................................................................................................................................
ขั้นที่ 3 การวางแผนการจัดการเรียนรู้
– ....................................................................................................................................................................................
– ....................................................................................................................................................................................
514

รูปแบบแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมงจากการออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของ Backward
Design
Backward Design เขียนโดยใช้รูปแบบของแผนการจัดการเรี ยนรู ้แบบเรี ยงหัวข้อ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
• ชื่อแผน... (ระบุชื่อและลําดับที่ของแผนการจัดการเรี ยนรู ้)
• สาระที่... (ระบุสาระที่ใช้จดั การเรี ยนรู้)
• ชั้น... (ระบุช้ นั ที่จดั การเรี ยนรู ้)
• หน่วยการเรี ยนรู้ที่... (ระบุชื่อและลําดับที่ของหน่วยการเรี ยนรู ้)
• เวลา... (ระบุระยะเวลาที่ใช้ในการจัดการเรี ยนรู้ต่อ 1 แผน)
• สาระสําคัญ... (เขียนความคิดรวบยอดหรื อมโนทัศน์ของหัวเรื่ องที่จะจัดการเรี ยนรู ้)
• ตัวชี้วดั ช่วงชั้น... (ระบุตวั ชี้วดั ช่วงชั้นที่ใช้เป็ นเป้ าหมายของแผนการจัดการเรี ยนรู ้)
• จุดประสงค์การเรี ยนรู้... (กําหนดให้สอดคล้องกับสมรรถนะสําคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ
นักเรี ยนหลังจากสําเร็ จการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งประกอบด้วย
– ด้านความรู้ความคิด (Knowledge: K)
– ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Affective: A)
– ด้านทักษะ/กระบวนการ (Performance: P))
• การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้... (ระบุวธิ ี การและเครื่ องมือวัดและประเมินผลที่สอดคล้อง
กับจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ท้ งั 3 ด้าน)
• สาระการเรี ยนรู้... (ระบุสาระและเนื้อหาที่ใช้จดั การเรี ยนรู้ อาจเขียนเฉพาะหัวเรื่ องก็ได้)
• กระบวนการจัดการเรี ยนรู ้... (กําหนดให้สอดคล้องกับธรรมชาติของกลุ่มสาระและการ
บูรณาการข้ามสาระ)
• กิจกรรมเสนอแนะ... (ระบุรายละเอียดของกิจกรรมที่นกั เรี ยนควรปฏิบตั ิเพิ่มเติม)
• แนวทางบูรณาการ... (เสนอแนะและระบุกิจกรรมของกลุ่มสาระอื่นที่บูรณาการร่ วมกัน)
• สื่ อ/แหล่งการเรี ยนรู้... (ระบุสื่อ อุปกรณ์ และแหล่งการเรี ยนรู้ที่ใช้ในการจัดการเรี ยนรู ้)
• บันทึกผลหลังการจัดการเรี ยนรู ้... (ระบุรายละเอียดของผลการจัดการเรี ยนรู ้ตามแผนที่กาํ หนดไว้ อาจ
นําเสนอข้อเด่นและข้อด้อยให้เป็ นข้อมูลที่สามารถใช้เป็ นส่วนหนึ่งของการทําวิจยั ในชั้นเรี ยนได้)
ในส่วนของการเขียนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้น้ นั ให้ครู ที่เขียนแผนฯ นําขั้นตอนหลักของเทคนิค วิธีการ
ของการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ เช่น การเรี ยนแบบแก้ปัญหา การศึกษาเป็ นรายบุคคล การอภิปรายกลุ่ม
ย่อย/กลุ่มใหญ่ การฝึ กปฏิบตั ิการ การสื บค้นข้อมูล ฯลฯ มาเขียนในขั้นสอน โดยให้คาํ นึงถึงธรรมชาติของกลุ่มสาระ
การเรี ยนรู ้
515

ตอนที่ 3.4
แบบทดสอบก่ อนเรียน
สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5
แบบทดสอบก่อนเรียน หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 เรียนรู้ตวั เรา
คําชี แ้ จง: เขียนเครื่ องหมาย ล้อมรอบหน้าคําตอบที่ถูกต้อง

1. อวัยวะใดในระบบย่ อยอาหารที่ไม่ มีการย่ อยอาหาร 5. กระเพาะอาหารมีรูปร่ างเหมือนตัวอักษรใด


เกิดขึน้ กD
ก ปาก ขJ
ข ลําไส้เล็ก คT
ค หลอดอาหาร งU
ง กระเพาะอาหาร 6. การกําจัดของเสี ยของร่ างกายไม่ ได้ กาํ จัดออกทาง
ใด
2. เหตุใดกล้ ามเนือ้ ภายในหลอดอาหารจึงมีการหด ก ทางไต
และคลายตัว ข ทางปอด
ก เพื่อย่อยอาหาร ค ทางผิวหนัง
ข เพื่อสร้างเอนไซม์ ง ทางลําไส้เล็ก
ค เพื่อดูดซึมสารอาหาร 7. ไตมีหน้ าที่ใด
ง เพื่อให้อาหารเคลื่อนผ่านไปยังกระเพาะอาหาร ก ย่อยอาหาร
ข ขับถ่ายนํ้าปัสสาวะ
3. การย่ อยและการดูดซึมสารอาหารจะเกิดขึน้ ส่ วน ค กําจัดของเสี ยออกทางลําไส้ใหญ่
ใหญ่ ที่อวัยวะส่ วนใดของร่ างกาย ง ผลิตเอนไซม์ช่วยในการย่อยอาหาร
ก ลําไส้เล็ก 8. ข้ อใดคือวิธีการดูแลรักษาระบบขับถ่ าย
ข ลําไส้ใหญ่ ก ออกกําลังกาย
ค หลอดอาหาร ข ขับถ่ายเป็ นเวลา
ง กระเพาะอาหาร ค รับประทานผัก
ง ถูกทุกข้อ
4. ข้ อใดไม่ ใช่ วธิ ีการดูแลรักษาระบบย่อยอาหาร 9. พฤติกรรมใดทําให้ มอี าการท้ องผูกได้
ก ดื่มนํ้ามาก
ก เคี้ยวอาหารให้ละเอียด
ข กลั้นปั สสาวะ
ข ออกกําลังกายสมํ่าเสมอ
ค เคร่ งเครี ยดเสมอ
ค รับประทานอาหารรสจัด
ง ออกกําลังกายทุกวัน
ง รับประทานผักและผลไม้
516

10. การเคีย้ วอาหารให้ ละเอียดก่อนกลืนมีความสํ าคัญอย่ างไร


ก ช่วยในระบบขับถ่าย
ข ช่วยในระบบการย่อยอาหาร
ค ช่วยให้อาหารแตกตัวและย่อยได้ง่ายขึ้น
ง ถูกทุกข้อ

คะแนนที่ได้ รับจากการทดสอบความรู้
คะแนนที่ได้ ร้ อยละของคะแนน

_____________ ครู ผสู้ อน

หมายเหตุ: แบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 1 ครู /ผูส้ อนสามารถคัดสําเนาแบบทดสอบได้จากสื่ อการ


เรี ยนรู ้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
517

แบบทดสอบก่ อนเรียน หน่ วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวติ และครอบครัว


คําชี แ้ จง: เขียนเครื่ องหมาย ล้อมรอบหน้าคําตอบที่ถูกต้อง

1. การเจริญเติบโตด้ านส่ วนสู งและนํา้ หนักจะเกิดขึน้ 6. ข้ อใดเป็ นวิธีการทิง้ ผ้าอนามัยที่ถูกวิธี


อย่ างรวดเร็วในช่ วงวัยใด ก ทิ้งลงในถังขยะ
ก วัยรุ่ น ข ทิ้งลงในโถส้วมหรื อชักโครก
ข วัยผูใ้ หญ่ ค ห่อผ้าอนามัยแล้วทิ้งลงในถังขยะที่มีฝาปิ ด
ค วัยเด็กตอนต้น มิดชิด
ง วัยเด็กตอนปลาย ง ถูกทุกข้อ
2. เพศหญิงเมือ่ เข้ าสู่ ช่วงวัยรุ่นจะมีการเปลีย่ นแปลง 7. ข้ อใดคือลักษณะของครอบครัวเดี่ยว
ทางด้ านร่ างกายอย่ างไร ก ครอบครัวขนาดเล็ก
ก มีหนวดเครา ข คนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปมาเกี่ยวพันกันทาง
ข มีขนหน้าแข้ง สายเลือด
ค มีประจําเดือน ค ครอบครัวที่ประกอบไปด้วย พ่อ แม่ ลูก ลุง ป้ า
ง เสี ยงแตกห้าว น้า อา
3. ข้ อใดไม่ ใช่ การเปลีย่ นแปลงทางด้ านจิตใจของ ง ถูกทั้งข้อ ก และ ข
วัยรุ่น 8. ในฐานะที่นักเรียนเป็ นสมาชิกคนหนึ่งใน
ก สม มีจิตใจโอบอ้อมอารี ครอบครัวนักเรียนควรปฏิบัตติ นอย่างไร
ข เปิ้ ล มีนิสยั ร่ าเริ งสนุกสนาน ก เป้ ล้อเลียนน้องที่ถูกทําโทษ
ค ชมพู่ มีนิสยั อยากรู้อยากเห็น ข ก้อย ชอบฟ้ องแม่เวลาน้องทําผิด
ง แตงโม มีความเชื่อมัน่ ในตนเอง ค บอย ให้ความเคารพและเชื่อฟังผูใ้ หญ่
4. เมือ่ มีสิ่งผิดปกติเกิดขึน้ กับร่ างกายเราควรปรึกษา ง แมน เป็ นน้องคนเล็กจึงเอาแต่ใจตัวเองเสมอ
บุคคลใด 9. ข้ อใดไม่ จัดเป็ นพฤติกรรมที่พงึ ประสงค์ ในการ
ก เพื่อน แก้ปัญหาความขัดแย้ ง
ข พ่อแม่ ก เป็ นผูฟ้ ังที่ดี
ค เพื่อนต่างเพศ ข พูดจาเพื่อเอาชนะผูอ้ ื่น
ง ถูกทุกข้อ ค ไม่พดู จากระทบกระเทียบผูอ้ ื่น
ง ถูกทุกข้อ
5. ข้ อใดเป็ นวิธีการควบคุมอารมณ์ ของวัยรุ่น 10. ข้ อใดกล่าวได้ ถูกต้ อง
ก แข่งรถ ก ควรตั้งสติระงับอารมณ์โกรธ
ข เล่นกีฬา ข กล่าวคําขอโทษเมื่อกระทําความผิด
ค ไปเที่ยวกลางคืน ค ไม่พดู ขัดจังหวะในขณะที่ผอู้ ื่นกําลังพูด
ง เล่นพนันบอลกับเพื่อน ง ถูกทุกข้อ
518

คะแนนที่ได้ รับจากการทดสอบความรู้
คะแนนที่ได้ ร้ อยละของคะแนน

_____________ ครู ผสู้ อน

หมายเหตุ: แบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 2 ครู /ผูส้ อนสามารถคัดสําเนาแบบทดสอบได้จากสื่ อการ


เรี ยนรู ้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
519

แบบทดสอบก่อนเรียน หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว


คําชี แ้ จง: เขียนเครื่ องหมาย ล้อมรอบหน้าคําตอบที่ถูกต้อง

1. กิจกรรมการม้ วนหน้ าเป็ นกิจกรรมการเคลือ่ นไหว 6. ลูกแปเป็ นการเตะลูกในลักษณะใด


ร่ างกายแบบใด ก การเตะลูกด้วยหลังเท้า
ก การรับแรง ข การเตะลูกข้างเท้าด้านใน
ข การใช้แรง ค การเตะลูกข้างเท้าด้านนอก
ค ความสมดุล ง ข้อ ก และ ข ถูก
ง ถูกทุกข้อ 7. “เริ่ มจากท่ าตั้งการ์ ดงอแขนข้ างเดียวกับเท้ าที่ อยู่
2. การขว้ างบอลเป็ นกิจกรรมการเคลือ่ นไหวร่ างกาย ด้ านหน้ า เหวี่ยงศอกจากด้ านล่ างของลําตัว
แบบใด กระแทกไปสู่เป้ าหมายด้ านบน”เป็ นการใช้ ศอก
ก การรับแรง แบบใด
ข การใช้แรง ก ศอกตี
ค ความสมดุล ข ศอกงัด
ง ถูกทุกข้อ ค ศอกสับ
3. นํา้ หวานลืน่ ล้ มในห้ องนํา้ แสดงว่ านํา้ หวาน ง ศอกกลับ
ขาดทักษะในด้ านใด
ก การรับแรง 8. ในการเล่ นตะกร้ อวงผู้เล่นจะต้ องทําสิ่ งใด
ข การใช้แรง ก เตะลูกตะกร้อเลี้ยงรับ–ส่ง ประคองไม่ให้ลูก
ค ความสมดุล ตะกร้อตกลงพื้น
ง ถูกทุกข้อ ข เตะลูกตะกร้อข้ามตาข่ายรับ–ส่งลูกตะกร้อไปมา
4. เกมยิงประตูเป็ นเกมที่ใช้ ทักษะนําไปสู่ กฬ ี าใด ประคองไม่ให้ลูกตะกรอตกลงพื้น
ได้ บ้าง ค เตะลูกตะกรอเลี้ยงรับ–ส่งระหว่างผูเ้ ล่น 2 คน
ก แชร์บอล โดยประคองไม่ให้ลูกตะกรอตกลงพื้น
ข แฮนด์บอล ง ถูกทุกข้อ
ค บาสเกตบอล
ง ถูกทุกข้อ 9. ข้ อใดหมายถึงกิจกรรมนันทนาการ
ก กิจกรรมที่ทาํ ในเวลาว่าง
5. ข้ อใดคือประโยชน์ ของกีฬากรีฑา ข กิจกรรมที่บุคคลหรื อกลุ่มบุคคลเลือกทําด้วย
ก สร้างเสริ มระเบียบวินยั ความสมัครใจ
ข สร้างเสริ มทักษะการทํางานกลุ่ม ค กิจกรรมที่มีประโยชน์มีคุณค่าและเป็ นที่ยอมรับ
ค สร้างเสริ มความแข็งแรงของร่ างกาย ของสังคม
ง ถูกทุกข้อ ง ถูกทุกข้อ
520

10. ข้ อใดไม่ จัดเป็ นกิจกรรมนันทนาการ


ก ร้องเพลง
ข เล่นการละเล่นพื้นเมือง
ค อ่านหนังสื อให้ตาบอดฟัง
ง รวบรวมกลุ่มคนเพื่อก่อม็อบประท้วง

คะแนนที่ได้ รับจากการทดสอบความรู้
คะแนนที่ได้ ร้ อยละของคะแนน

_____________ ครู ผสู้ อน

หมายเหตุ: แบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 3 ครู /ผูส้ อนสามารถคัดสําเนาแบบทดสอบได้จากสื่ อการ


เรี ยนรู ้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
521

แบบทดสอบก่อนเรียน หน่ วยการเรียนรู้ที่ 4 ใส่ ใจสุ ขภาพ


คําชี แ้ จง: เขียนเครื่ องหมาย ล้อมรอบหน้าคําตอบที่ถูกต้อง

1. ข้ อใดกล่าวถึง “สุขบัญญัติ” ได้ ถูกต้องที่สุด ก ดื่มนํ้ามาก ๆ


ก สิ่ งที่นกั เรี ยนควรปฏิบตั ิ ข ออกกําลังกายให้หนัก
ข ข้อกําหนด 10 ประการ ค รักษาร่ างกายให้อบอุ่น
ค ข้อกําหนด 10 ประการที่เด็กและเยาวชนควร ง พักผ่อนนอนหลับให้เพียงพอ
ปฏิบตั ิ 7. สั ตว์ในข้ อใดเป็ นพาหะนําโรคโรคไข้ เลือดออก
ง สิ่ งที่ตอ้ งปฏิบตั ิเพื่อให้สุขภาพดีท้ งั ร่ างกายและ ก หนู
จิตใจ ข ยุงลาย
2. ข้ อใดกล่าวไม่ ถกู ต้ อง ค แมลงวัน
ก รับประทานอาหารเป็ นเวลา ง ยุงก้นปล่อง
ข รับประทานอาหารครบ 5 หมู่ 8. ข้ อใดคือวิธีการป้องกันการเจ็บป่ วยจากโรคกลาก
ค รับประทานอาหารที่ปรุ งสุกใหม่ ๆ ก สวมเสื้ อผ้าที่สะอาด
ง รับประทานอาหารที่มีแมลงวันตอม ข ไม่ใช้เสื้ อผ้ารวมกับผูอ้ ื่น
3. ถ้ านักเรียนต้องการสอบถามข้ อมูลเกีย่ วกับเรื่อง ค เปลี่ยนเสื้ อผ้าเวลาที่มีเหงื่อออกมาก ๆ
ผลิตภัณฑ์ สุขภาพควรสอบถามจากหน่ วยงานใด ง ถูกทุกข้อ
ก สายด่วนผูบ้ ริ โภค 9. ข้ อใดคือความหมายของสมรรถภาพทางกาย
ข สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ก ความสามารถของร่ างกายในการทํากิจกรรม
ค สํานักงานหลักประกันสุ ขภาพ (สป.สช.) ข การทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งแล้วไม่เกิดความ
ง ถูกทั้งข้อ ก และ ข เหนื่อยลา
4. ข้ อใดกล่าวได้ ถูกต้ อง ค ความสามารถของร่ างกายในการทํากิจกรรม
ก นิด ซื้อสิ นค้าตามเพื่อน ยาวนานโดยไม่เกิดความเหนื่อยล้าและกลับคืน
ข น้อย ชอบซื้อสิ นค้าที่ลดราคา สู่สภาพปกติอย่างรวดเร็ ว
ค หน่อย ซื้อสิ นค้าเพราะอยากได้ของแถม ง ถูกทุกข้อ
ง หน่อง ซื้อสิ นค้าที่มีฉลากครบถ้วนเท่านั้น 10. ข้ อใดคือท่ าการสร้ างเสริมสมรรถภาพทางกายด้ าน
5. ข้ อใดคือหลักในการเลือกซื้ออาหารที่ปลอดภัย ความอ่อนตัว
ต่ อสุ ขภาพ ก ท่าไถนา
ก เลือกซื้ออาหารที่ใหม่สดสะอาด ข ท่าปี กไก่
ข เลือกซื้ออาหารที่ปราศจากสารอันตราย ค ท่าเตะแบบปู
ค เลือกซื้ออาหารที่มีภาชนะบรรจุสะอาดปลอดภัย ง ท่ายกปลายเท้าแตะกัน
ง ถูกทุกข้อ
6. ข้ อใดคือไม่ ใช่ วธิ ีการรักษาโรคไข้ หวัด
522

คะแนนที่ได้ รับจากการทดสอบความรู้
คะแนนที่ได้ ร้ อยละของคะแนน

_____________ ครู ผสู้ อน

หมายเหตุ: แบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 4 ครู /ผูส้ อนสามารถคัดสําเนาแบบทดสอบได้จากสื่ อการ


เรี ยนรู ้ PowerPoint สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
523

แบบทดสอบก่ อนเรียน หน่ วยการเรียนรู้ที่ 5 ชีวติ ปลอดภัย


คําชี แ้ จง: เขียนเครื่ องหมาย ล้อมรอบหน้าคําตอบที่ถูกต้อง

1. นักเรียนคิดว่าบุคคลใดเสี่ ยงต่ อการติดสารเสพติด 6. การใช้ ยาให้ ถูกขนาดหมายถึงข้ อใด


มากที่สุด ก การใช้ยาตามคําสัง่ ของผูป้ กครอง
ก โบ อาศัยอยูใ่ นชุมชนแออัด ข การใช้ยาให้ถูกขนาดตามแพทย์สงั่
ข ปอ รับขนมจากคนแปลกหน้า ค การใช้ยาตามที่ระบุไว้ขา้ งขวดหรื อฉลาก
ค นิด คบเพื่อนที่ติดสารเสพติด ง ถูกทั้งข้อ ข และ ค
ง อุม้ ชอบทําตัวเป็ นจุดเด่นในกลุ่ม 7. ข้ อใดกล่าวได้ ถูกต้ อง
ก ยาภายในเป็ นยาที่ใช้สาํ หรับทาและกิน
2. ปัจจัยใดที่เป็ นสาเหตุให้ คนเราทําให้ ตดิ สารเสพติด ข ยาที่เปลี่ยนสี ไม่สามารถนํามารับประทานได้
ก การถูกชักชวน ค ยาที่ระบุวา่ สําหรับเด็กผูใ้ หญ่กส็ ามารถ
ข ความคึกคะนอง รับประทานได้
ค ความอยากรู ้ อยากลอง ง หากลืมกินยาสามารถกินยาชดเชยได้โดยกินยา
ง ถูกทุกข้อ เพิ่มเป็ นสองเท่าในครั้งต่อไป
8. ข้ อใดคือปัจจัยภายในที่ก่อให้ เกิดอันตรายจากการ
3. บุคคลที่ตดิ สารเสพติดจะมีลกั ษณะอย่ างไร เล่ นกีฬา
ก ความคิดเลื่อนลอย ก การเจ็บป่ วย
ข ร่ างกายซูบผอม นํ้าหนักลด ข อุปกรณ์การเล่นชํารุ ด
ค อารมณ์และจิตใจไม่เป็ นปกติ ฟุ้ งซ่าน ค ถูกคู่ต่อสูท้ าํ ลายสมาธิ
ง ถูกทุกข้อ ง มีสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม
9. บุคคลใดมีการป้องกันอันตรายจากการเล่นกีฬา
4. ข้ อใดคือยาภายใน ก ตี๋ เล่นกีฬาอย่างหักโหม
ก ยาแดง ข กิ๊บ ใช้อุปกรณ์กีฬาที่มีราคาแพง
ข ยาหยอดตา ค นิด ไม่เล่นกีฬาเพราะกลัวบาดเจ็บ
ค ยาแก้ไอนํ้าดํา ง ก้อย เล่นกีฬาด้วยความระมัดระวัง
ง ขี้ผ้ งึ แก้ปวดบวม 10. ข้ อใดคือการป้องกันอันตรายจากการเล่นกีฬาที่เกิด
จากปัจจัยภายนอก
5. ข้ อใดคือยาภายนอก ก ศึกษากฎกติกาก่อนเล่นกีฬา
ก ยาแก้ทอ้ งเดิน ข ยืดเหยียดกล้ามเนื้อก่อน–หลังเล่นกีฬาทุกครั้ง
ข ยาแก้จุกเสี ยด ค สวมเสื้ อผ้าและรองเท้าที่ถูกต้องกับชนิดของ
ค ยาสูดดมแก้เป็ นลม กีฬาที่จะเล่น
ง ไม่มีขอ้ ใดถูกต้อง ง ถูกทุกข้อ
524

คะแนนที่ได้ รับจากการทดสอบความรู้
คะแนนที่ได้ ร้ อยละของคะแนน

_____________ ครู ผสู ้ อน

หมายเหตุ: แบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู้ที่ 5 ครู /ผูส้ อนสามารถคัดสําเนาแบบทดสอบได้จากสื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint
สุ ขศึกษาและพลศึกษา ป. 5 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
525

ตอนที่ 3.5
กิจกรรมการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ป. 5
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 เรียนรู้ ตวั เรา

ใบกิจกรรมที่ 1 ระบบย่อยอาหาร ลองมาบอกขานหน้ าที่


 ทบทวนและศึกษาเรื่ องระบบย่อยอาหารอีกครั้ง แล้วเขียนอธิบายลักษณะและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของระบบย่อย
อาหารในช่องว่าง

ปากและฟันมีหน้ าที่ หลอดอาหารและ


ภายในปากจะมีฟัน ลิน้ และ กระเพาะอาหารมีหน้ าที่
ต่ อมนํา้ ลาย ในนํา้ ลายจะมี หลอดอาหารทําหน้ าที่ ลาํ เลียง
เอนไซม์ ในการย่ อยอาหาร อาหารให้ เคลื่อนผ่ านกระเพาะ
อาหาร กระเพาะอาหารทําหน้ าที่
รวมอาหารและย่ อยอาหาร

ลําไส้ เล็กมีหน้ าที่ ลําไส้ ใหญ่ มหี น้ าที่


มีลกั ษณะเป็ นท่ อที่ขดม้ วน มีขนาดใหญ่ กว่ าลําไส้ เล็ก แต่
การย่ อยอาหารและการดูดซึ ม สั้นกว่ ามาก ลําไส้ ใหญ่ ทาํ หน้ าที่
สารอาหารส่ วนใหญ่ เกิดขึน้ ใน ดูดนํา้ ที่เหลือจากกากอาหาร
ลําไส้ เล็ก เก็บกลับเข้ าสู่ ร่างกาย
526

ใบกิจกรรมที่ 2 วิธีดูแลรักษาระบบย่อยอาหาร ที่เรียนวันวานนั้นเป็ นเช่ นไร


1. วาดภาพและระบายสี อวัยวะที่อยูใ่ นระบบย่อยอาหาร 1 ชนิดที่นกั เรี ยนสนใจ

2. เขียนวิธีการดูแลรักษาระบบย่อยอาหารลงในช่องว่างที่กาํ หนด

ระบบย่อยอาหาร วิธีการดูแลรักษา
1. รั บประทานผักและผลไม้
2. เคีย้ วอาหารให้ ละเอี ยด
3. ไม่ รับประทานอาหารที่ มีรสจัด
4. ออกกําลังกายอย่ างสมํา่ เสมอ
5. พักผ่ อนให้ เพียงพอ
527

ใบกิจกรรมที่ 3 ลากเส้ นจับคู่ ลองหาดูว่าคูไหนเป็ นคู่กนั


 ลากเส้นจับคู่ของเสี ยที่ถูกกําจัดออกจากรางกายทั้ง 4 ทางให้ถูกต้อง
528

ใบกิจกรรมที่ 4 สนใจระบบขับถ่ าย ยังไม่ สายที่จะดูแล


 โยงเส้นจับคู่วิธีการดูแลรักษาระบบขับถ่ายให้ถูกต้อง
529

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 ชีวติ และครอบครัว

ใบกิจกรรมที่ 5 สิ่ งใดที่ควรทํา และเป็ นพฤติกรรมที่สร้ างสรรค์ คนดี


1. พิจารณาภาพและตอบคําถามด้านล่าง

1 2

3 4

1) ภาพใดเป็ นการกระทําที่วยั รุ่ นควรปฏิบตั ิ และภาพใดเป็ นการกระทําที่วยั รุ่ นไม่ควรปฏิบตั ิ เพราะเหตุใด


ภาพที่ 2 และภาพที่ 4 เป็ นการกระทําที่วัยรุ่ นควรปฏิบัติ เพราะเป็ นสิ่ งที่ช่วยพัฒนาตนเองและสังคม
และเป็ นบทบาทหน้ าที่ของเด็กดี
ภาพที่ 1 และภาพที่ 3 เป็ นการกระทําที่ไม่ ควรปฏิบัติ เพราะเป็ นสิ่ งที่ทาํ ลายสุขภาพของตนเองและ
คนรอบข้ าง

2) นอกเหนือจากภาพเหล่านี้นกั เรี ยนคิดว่าวัยรุ่ นควรกระทําสิ่ งใดที่เป็ นประโยชน์


แนวคําตอบ
ควรออกกําลังกาย ช่ วยพ่ อแม่ ปลูกต้ นไม้ ช่ วยสอนการบ้ านให้ น้อง

2. รายงานผลหน้าชั้นเรี ยน
530

ใบกิจกรรมที่ 6 ช่ วงวัยรุ่นที่ผนั ผ่าน หาผู้เล่ าขานประสบการณ์ ที่นานมา


1. แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน ร่ วมกันระดมสมองวางแผนกําหนดคําถามที่จะสัมภาษณ์ผทู้ ี่ผา่ นช่วงเวลาของวัยรุ่ นแล้ว
เช่น พ่อ แม่ หรื อรุ่ นพี่ (เรื่ องที่สมั ภาษณ์จะต้องเกี่ยวกับวัยรุ่ น)
2. ดําเนินการสัมภาษณ์และบันทึกผลการสัมภาษณ์
3. แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนรายงานผลการสัมภาษณ์และอภิปรายร่ วมกัน
531

ใบกิจกรรมที่ 7 ครอบครัวเดีย่ วหรือขยาย วาดระบายให้ สวยงาม


 วาดภาพและระบายสี แสดงลักษณะของครอบครัวเดี่ยวและครอบครัวขยาย

ครอบครัวเดีย่ ว

ครอบครัวขยาย
532

ใบกิจกรรมที่ 8 ครอบครัวของฉัน วาดฝันไว้ เช่ นไร


1. วาดภาพระบายสี ในหัวข้อ “ครอบครัวของฉัน”

2. ตอบคําถามในเรื่ องที่เกี่ยวข้อง
1) ครอบครัวของนักเรี ยนมีลกั ษณะอย่างไร
แนวคําตอบ
เป็ นครอบครั วขยาย ซึ่ งเป็ นครอบครั วใหญ่ /เป็ นครอบครั วเดี่ยวหรื อครอบครั วขนาดเล็ก

2) สมาชิกในครอบครัวของนักเรี ยนประกอบด้วยใครบ้าง
แนวคําตอบ
พ่ อ แม่ ลูก ปู่ ย่ า ตา ยาย และญาติพี่น้องอื่ น ๆ
533

ใบกิจกรรมที่ 9 ครอบครัวอบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย เป็ นเช่ นไรไหนลองบอก


 เขียนวิธีการปฏิบตั ิตนเพื่อให้ครอบครัวอบอุ่นตามวัฒนธรรมไทยลงในช่องว่างพอสังเขป
534

ใบกิจกรรมที่ 10 ปัญหาครอบครัวไทย เป็ นเช่ นไรช่ วยกันศึกษา


1. แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน แต่ละกลุ่มร่ วมกันวิเคราะห์สาเหตุที่ครอบครัวไทยขาดความอบอุ่น โดยใช้ผงั ก้างปลา

2. ตอบคําถามตามประเด็นที่กาํ หนด
1) นักเรี ยนคิดว่าตอนนี้ครอบครัวของนักเรี ยนมีความอบอุ่นหรื อยัง ถ้ายังควรทําอย่างไรเพื่อให้ครอบครัวอบอุ่น
(พิจารณาจากคําตอบนักเรี ยน)

2) นักเรี ยนคิดว่าตนเองได้สิ่งใดจากการปฏิบตั ิกิจกรรมน


(พิจารณาจากคําตอบนักเรี ยน)
535

ใบกิจกรรมที่ 11 สิ่ งใดทําให้ ขดั แย้ ง ช่ วยแสดงเครื่องหมายเพือ่ แยกออกไป

1. เขียนเครื่ องหมาย  ในช่องว่างภาพที่นกั เรี ยนคิดว่าเป็ นสาเหตุของการทําให้เกิดความขัดแย้ง

 
การถกเถียงกันในเรื่ องใครผิดใครถูก การจับกลุ่มนินทาเพื่อนคนอื่น

การชื่นชมเพื่อนที่เล่นกีฬาเก่งกว่า การพูดล้อเลียนในส่วนด้อยของเพื่อน

 

การนําความลับของเพื่อนมาเล่าให้คนอื่นฟัง การอยากได้สิ่งของผูอ้ ื่น


536

2. ลองคิดทบทวนถึงเหตุการณ์ที่ผา่ นมาในอดีตของตนเองว่ามีเหตุการณ์ใดบ้างที่ทาํ ให้เกิดความขัดแย้งหรื อทะเลาะกับผูอ้ ื่น


ยกตัวอย่างมา 2 เหตุการณ์ อธิบายสาเหตุที่เกิดขึ้นและวิธีการแก้ไข
537

ใบกิจกรรมที่ 12 ฝึ กทักษะการสื่ อสาร เพือ่ ผสานความสั มพันธ์ เพือ่ แยกออกไป

1. จับคู่แสดงบทบาทการพูดสื่ อสารทางบวกหน้าชั้นเรี ยน
2. ช่วยกันสรุ ปวิธีการสื่ อสารทางบวกเพื่อลดปั ญหาความขัดแย้งลงในแบบบันทึกและรายงานผลหน้าชั้นเรี ยน

(พิจารณาจากคําตอบนักเรี ยน)

3. ตอบคําถามตามประเด็นที่กาํ หนด
1) การสื่ อสารทางบวกให้ประโยชน์อย่างไร
ช่ วยลดความขัดแย้ ง

2) นักเรี ยนยกตัวอย่างการนําวิธีการสื่ อสารทางบวกไปใช้ในชีวิตประจําวันมา 1 กรณี


แนวคําตอบ
การให้ กาํ ลังใจเพื่อนที่สอบไม่ ผ่าน โดยพูดว่ า “ไม่ เป็ นไรเธอทําเต็มความสามารถแล้ ว เรามาตั้งใจ
อ่ านหนังสื อกันใหม่ จะได้ แก้ ตัวใหม่ ”
538

ใบกิจกรรมที่ 13 แยกแยะสิ่ งที่ดี เพือ่ หลีกหนีความขัดแย้ ง


เขียนเครื่ องหมาย  ลงใน ในท้ายข้อความข้อที่นกั เรี ยนคิดว่าเป็ นสิ่ งที่ควรปฏิบตั ิเมื่อเกิดความขัดแย้งกับ
เพื่อน

1. ฉันพยายามคิดคําพูดที่ไม่รุนแรงก่อนที่จะพูด 

2. ฉันจะพูดไปตรง ๆ ตามความรู ้สึกของฉัน ถึงแม้วา่ จะมี ใครต้องเสี ยใจก็ตาม

3. ฉันใช้คาํ พูดเพื่อข่มขู่ผอู ้ ื่น

4. ฉันชอบนําชื่อหรื อปมด้อยของผูอ้ ื่นมาล้อเลียน

5. ฉันไม่โต้เถียงกับใคร 

6. เมื่อฉันชกต่อยใครมักจะทําให้ฉนั รู้สึกมีความสุ ข

7. ฉันมักจะคิดถึงความรู้สึกของผูอ้ ื่นเสมอ 

8. ฉันมักตั้งใจฟังในสิ่ งที่ผอู้ ื่นกําลังพูด 

9. ฉันมักฟังผูอ้ ื่นแสดงความคิดเห็นเสมอ 

10. ฉันชอบตะโกนเพื่อให้ผอู้ ื่นตกใจ


539

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เพิม่ พูนทักษะการเคลือ่ นไหว

ใบกิจกรรมที่ 14 วิทยาศาสตร์ การเคลือ่ นไหวดูซิภาพไหนใช้ แรง รับแรง และรักษาความสมดุล


 วิเคราะห์วา่ ภาพใดเป็ นการเคลื่อนไหวแบบรับแรงใช้แรงหรื อรักษาความสมดุลโดยนําตัวเลขใต้ภาพมาตอบคําถาม
ให้ถูกต้อง

1 2 3

4 5 6

1. การเคลื่อนไหวโดยการรับแรง ได้แก่ 2 5
2. การเคลื่อนไหวโดยการใช้แรง ได้แก่ 1 3
3. การเคลื่อนไหวโดยใช้การรักษาความสมดุล ได้แก่ 4 6
540

ใบกิจกรรมที่ 15 ประสบการณ์ การเคลือ่ นไหว สร้ างความประทับใจออกมาเป็ นภาพ

1. วาดภาพและระบายสี กิจกรรมการเคลื่อนไหวร่ างกายที่นกั เรี ยนชื่นชอบ

2. เขียนอธิบายลักษณะการเคลื่อนไหวร่ างกายของภาพที่วาดว่าใช้การผสมผสานของการเคลื่อนไหวรู ปแบบใดบ้าง


แนวคําตอบ
การเคลื่อนไหวร่ างกายแบบอยู่กับที่ เคลื่อนที่ และประกอบอุปกรณ์
541

ใบกิจกรรมที่ 16 ฝึ กทักษะเกมนําไปสู่ กฬ
ี า และค้ นหาทีมไหนเก่ งที่สุด
1. แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 8–10 คน โดยแต่ละกลุ่มร่ วมกันระดมสมองวางแผนแข่งขันเล่นเกมยิงประตูจากวิธีการเล่นที่
กําหนด
2. แต่ละกลุ่มอบอุ่นร่ างกายและแข่งขันเล่นเกมยิงประตูระหว่างกลุ่ม

เกมยิงประตู

อุปกรณ์ ลูกบาสเกตบอล
วิธีการเล่ น ผูเ้ ล่น 2 ทีม คือ ทีม ก และทีม ข
1. ผูเ้ ล่นทีม ก ยืนอยูท่ ี่รอบนอกเส้นเขตยิงโทษของสนาม
บาสเกตบอล
2. ผูเ้ ล่นทีม ข ยืนอยูใ่ นเขตยิงโทษของสนามบาสเกตบอล
3. ผูเ้ ล่นทีม ก ชูตลูกบอลไปที่หวง
1) ถ้าลูกบอลเข้าห่วงได้ 1 คะแนน มีสิทธิ์ชูตลูกบอลได้อีก
1 ครั้ง
2) ถ้าลูกบอลไม่เข้า ผูเ้ ล่นทีม ข จะชูตลูกบอลได้ทนั ทีก่อนที่
ลูกบอลจะตกลงสู่พ้นื เมื่อลูกบอลเข้าทีม ข จะได้ 2 คะแนน
และมีสิทธิ์ เป็ นผูช้ ูตลูกบอลแทนทีม ก ทันที ถ้าลูกบอลไม่
เข้าผูเ้ ล่นทีม ก คนต่อไปชูตลูกบอลตรงเส้นโทษ

หมายเหตุ ถ้าผูเ้ ล่นทีมที่ชูตลูกบอล ชูตลูกบอลไม่โดนแป้ นหรื อห่วง ทีมนั้นจะเสี ย


สิ ทธิ์เป็ นผูช้ ูตลูกบอลทันที
การตัดสิ น ทีมใดได้คะแนนถึง 11 คะแนนก่อนเป็ นทีมที่ชนะ
542

3. บันทึกผลการแข่งขันและรายงานผลการแข่งขันหน้าชั้นเรี ยน

แบบบันทึกผลการแข่ งขัน

 ชื่อกลุ่ม
 สมาชิกในกลุ่ม
1. 6.
2. 7.
3. 8.
4. 9.
5. 10.
 แผนการแข่ งขันเล่นเกมของกลุ่ม
1.
2.
3.
4.
5.
 ผลการแข่ งขัน

 ปัญหาที่เกิดขึน้ ขณะแข่ งขันและวิธีการแก้ไข


543

4. ตอบคําถามตามประเด็นที่กาํ หนด
1) เกมยิงประตูใช้ทกั ษะอะไรบ้าง
แนวคําตอบ
1. ทักษะการรั บ–ส่ งลูกบอล
2. ทักษะการชูตลูกบอล

2) เกมยิงประตูเป็ นเกมที่ใช้ทกั ษะนําไปสู่กีฬาอะไรได้บา้ ง


แนวคําตอบ
1. บาสเกตบอล
2. แฮนด์ บอล
3. แชร์ บอล

3) ข้อควรระวังในการเล่นเกมยิงประตูมีอะไรบ้าง
แนวคําตอบ
การปะทะกันของผู้เล่ นอาจทําให้ เกิดการบาดเจ็บ

4) นักเรี ยนรู ้สึกอย่างไรบ้างหลังจากเล่นเกมยิงประตู


(พิจารณาจากคําตอบนักเรี ยน)
544

ใบกิจกรรมที่ 17 เล็งเห็นคุณค่ า เฮฮาไปกับเกม


1. ร่ วมกันระดมสมองเขียนแผนที่ความคิดเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบตั ิกิจกรรมแบบผลัด

ความสนุกสนาน ผ่ อนคลายความเครี ยด

ความสามัคคี ความรั บผิดชอบ

รู้ จักนิสัยเพื่อน รู้ จักการทํางานร่ วมกันเป็ นหมู่คณะ

2. ตอบคําถามตามประเด็นที่กาํ หนด
1) นักเรี ยนชอบกิจกรรมแบบผลัดชนิดใดเลือกมา 1 ชนิด แล้ววิเคราะห์วา่ ตนองใช้ทกั ษะอะไรบ้างในการ
ปฏิบตั ิกิจกรรมแบบผลัดนั้น
(พิจารณาจากคําตอบนักเรี ยน)

2) นักเรี ยนเคยปฏิบตั ิกิจกรรมแบบผลัดอื่นอีกหรื อไม่นอกเหนือจากเนื้อหาที่ศึกษาให้ยกตัวอย่างประกอบ


(พิจารณาจากคําตอบนักเรี ยน)

3) นักเรี ยนรู ้สึกอย่างไรบ้างหลังจากปฏิบตั ิกิจกรรมแบบผลัด


(พิจารณาจากคําตอบนักเรี ยน)
545

ใบกิจกรรมที่ 18 ขั้นตอนทักษะการวิง่ หากรู้ จริงเรียงลําดับมา


1. พิจารณาภาพแล้วเขียนตัวเลขแสดงลําดับขั้นตอนการวิ่งให้ถูกต้อง

3 5

2 1
546

2. ตอบคําถามตามประเด็นที่กาํ หนด
1) นักเรี ยนคิดว่ากีฬากรี ฑามีประโยชน์อย่างไร
แนวคําตอบ
1. สร้ างเสริ มความแข็งแรงของร่ างกาย
2. สร้ างเสริ มทักษะการทํางานกลุ่ม
3. พัฒนาทักษะการเคลื่อนไหว
4. สร้ างเสริ มความมีระเบียบวินัยและความมีนา้ํ ใจนักกีฬา

2) นักเรี ยนสนุกกับกิจกรรมกรี ฑาหรื อไม่


(พิจารณาจากคําตอบนักเรี ยน)

3) นักเรี ยนสามารถทํากิจกรรมนี้ได้ดีหรื อไม่ เพราะอะไร


(พิจารณาจากคําตอบนักเรี ยน)
547

ใบกิจกรรมที่ 19 วิธีการเข้ าเส้ นชัย ทําอย่ างไรช่ วยบอกที


 เขียนอธิบายวิธีการเข้าเส้นชัยแต่ละวิธีลงในกรอบที่กาํ หนดให้ถูกต้อง

วิธีการเข้ าเส้ นชัยวิธีที่ 1 วิธีการเข้ าเส้ นชัยวิธีที่ 2


วิ่งเข้ าเส้ นชัยธรรมดาวิ่งด้ วย ใช้ หน้ าอกแตะแถบชัย วิ่งด้ วย
ความเร็ วสู งสุดผ่ านเส้ นชัยไปเลย ความเร็ วสูงสุดก่ อนถึงเส้ นชัย
การเข้าเส้ นชัยแบบนีใ้ ช้ ในกรณี ที่ เล็กน้ อย ให้ กดตัวลงตํา่ พุ่ง หน้ าอก
นําหน้ าคู่แข่ งขันมาก ๆ แตะแถบชัย พร้ อมเหวี่ยงแขนทั้ง
สองไปด้ านหลัง แล้ ววิ่งไปตาม
แรงส่ ง เพื่อไม่ ให้ เสี ยการทรงตัว

วิธีการเข้ าเส้ นชัยวิธีที่ 3


ใช้ ไหล่ เอียงข้ างแตะแถบชัย
วิ่งด้ วยความเร็ วสูงสุด ก่ อนถึงเส้ น
ชัยบิดลําตัวเล็กน้ อย ให้ ไหล่ ข้าง
ใดข้ างหนึ่งพุ่งกดลงแตะแถบชัย
แล้ ววิ่งเลยไปตามแรงส่ ง เพื่อ
ไม่ ให้ เสี ยการทรงตัว
548

ใบกิจกรรมที่ 20 ตําแหน่ งการยืนของผู้เล่ นฟุตบอล ครู เคยสอนลองมาวาดภาพกัน


1. วาดภาพแสดงตําแหน่งการยืนของผูเ้ ล่นในการเล่นฟุตบอลทั้ง 2 ฝ่ าย ลงในพื้นที่ที่กาํ หนดให้
549

2. นักเรี ยนอธิ บายหน้าที่ของแต่ละตําแหน่ง


ตําแหน่งที่ 1 หมายถึง ผู้รักษาประตู มีหน้าที่
หยุดหรื อป้ องกันไม่ ให้ ลกู บอลเข้ าประตู

ตําแหน่งที่ 2 หมายถึง แบ็คขวา มีหน้าที่


เป็ นผู้ช่วยผู้รักษาประตูในการป้ องกันไม่ ให้ ฝ่ายตรงข้ ามยิงประตูง่าย ๆ โดยการเข้ าสกัด
กั้นหรื อแย่ งลูกบอล

ตําแหน่งที่ 3 หมายถึง แบ็คซ้ าย มีหน้าที่


เป็ นผู้ช่วยผู้รักษาประตูในการป้ องกันไม่ ให้ ฝ่ายตรงข้ ามยิงประตูง่าย ๆ โดยการเข้ า
สกัดกั้นหรื อแย่ งลูกบอล

ตําแหน่งที่ 4 หมายถึง ฮาฟขวา มีหน้าที่


หน้ าที่ช่วยสนับสนุนผู้เล่ นกองหน้ าในการทําประตูและช่ วยเหลือกองหลังในการ
ป้ องกันประตู

ตําแหน่งที่ 5 หมายถึง เซนเตอร์ ฮาฟ มีหน้าที่


ช่ วยสนับสนุนผู้เล่ นกองหน้ าในการทําประตูและช่ วยเหลือกองหลังในการป้ องกัน
ประตู

ตําแหน่งที่ 6 หมายถึง ฮาฟซ้ าย มีหน้าที่


ช่ วยสนับสนุนผู้เล่ นกองหน้ าในการทําประตูและช่ วยเหลือกองหลังในการป้ องกัน
ประตู

ตําแหน่งที่ 7 หมายถึง ปี กขวา มีหน้าที่


ทําประตูให้ กับที มของตนเอง ซึ่ งต้ องใช้ ทักษะต่ าง ๆ ในการเล่ นที่แน่ นอน และคอย
หาโอกาสในการยิงประตู

ตําแหน่งที่ 8 หมายถึง ในขวา มีหน้าที่


ทําประตูให้ กับที มของตนเอง ซึ่ งต้ องใช้ ทักษะต่ าง ๆ ในการเล่ นที่แน่ นอน และคอย
หาโอกาสในการยิงประตู

ศูนย์ หน้ า
550

ตําแหน่งที่ 9 หมายถึง มีหน้าที่


ทําประตูให้ กับที มของตนเอง ซึ่ งต้ องใช้ ทักษะต่ าง ๆ ในการเล่ นที่แน่ นอน และคอย
หาโอกาสในการยิงประตู

ตําแหน่งที่ 10 หมายถึง ในซ้ าย มีหน้าที่


ทําประตูให้ กับที มของตนเอง ซึ่ งต้ องใช้ ทักษะต่ าง ๆ ในการเล่ นที่แน่ นอน และคอย
หาโอกาสในการยิงประตู

ตําแหน่งที่ 11 หมายถึง ปี กซ้ าย มีหน้าที่


ทําประตูให้ กับที มของตนเอง ซึ่ งต้ องใช้ ทักษะต่ าง ๆ ในการเล่ นที่แน่ นอน และคอย
หาโอกาสในการยิงประตู
551

ใบกิจกรรมที่ 21 แข่ งขันฟุตบอลกันดีไหม ปรับนิสัยให้ รักสามัคคี


1. แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 12–15 คน แต่ละกลุ่มร่ วมกันระดมสมองวางแผนการแข่งขัน
2. แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนลงแข่งขัน และทําการบันทึกผลการแข่งขัน

ตารางผลการแข่ งขันฟุตบอล

กลุ่มที่ ผลการแข่ งขัน คะแนน


1
2
3
4

ระดับคะแนนการแข่ งขัน
ได้อนั ดับที่ 1 คะแนน 4 คะแนน
ได้อนั ดับที่ 2 คะแนน 3 คะแนน
ได้อนั ดับที่ 3 คะแนน 2 คะแนน
ได้อนั ดับที่ 4 คะแนน 1 คะแนน

ชื่อกลุ่ม
ชื่อกิจกรรม
สมาชิกในกลุ่ม
552

แบบบันทึกผลการปฏิบัติกจิ กรรม

แผนการปฏิบัตกิ จิ กรรม

ผลการปฏิบัตกิ จิ กรรม

ข้ อบกพร่ องทีพ่ บ

วิธีการแก้ไข

ใบกิจกรรมที่ 22 ข้ อ ไหนถูก ข้ อไหนผิด ช่ วยกันคิดให้ ถ้วนถี่


553

1. เขียนเครื่ องหมาย  ลงในช่องว่างในข้อที่เป็ นกติกามวยไทยที่ถูกต้อง

1) การแข่งขันมวยไทยมีการแข่งขันทั้งหมด 3 ยก

2) ผูต้ ดั สิ นต้องให้คะแนนแก่ผแู้ ข่งขันตามจํานวนของการชก



ที่ถูกต้องตามแบบของมวยไทย

3) การชกถูกแขนคู่ ต่อสูถ้ ือว่าได้คะแนน

4) การแข่งขันไม่สามารถใช้ศีรษะกระแทกได้ แต่สามารถจิกผมได้

5) เวลาพักระหว่างยกใช้เวลา 2 นาที 

6) ใน 1 ยกใช้เวลาแข่งขัน 3 นาที 

7) การชกถูกใบหน้าหรื อลําตัวของคู่ต่อสูถ้ ือว่าได้คะแนน 

8) นักกีฬาสามารถจับเชือกหรื อโหนเชือกแล้วชกได้ไม่ผิดกติกา

9) การแสดงวาจาไม่สุภาพถือว่าเป็ นข้อห้ามในการแข่งขัน 

10) การชก หมายถึง การใช้หมัดในการต่อสูเ้ พียงอย่างเดียว

2. เขียนแสดงความคิดเห็นถึงความแตกต่างของมวยไทยและมวยสากล

(พิจารณาจากคําตอบนักเรี ยน)

ใบกิจกรรมที่ 23 ฝึ กฝนท่ าไหว้ ครู และเรียนรู้ รํามวยไทย


554

1. แบงกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน ร่ วมกันค้นหาแหล่งข้อมูล เช่น เว็บไซต์ หนังสื อเกี่ยวกับท่าทางการไหว้ครู อย่างน้อย


2 แหล่ง แล้วเขียนชื่อแหล่งข้อมูลลงในพื้นที่ที่กาํ หนดให้

2. แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน ร่ วมกันฝึ กฝนท่าไหว้ครู และรํามวยไทยจากที่ได้เรี ยนรู ้ในชั้นเรี ยน

ชื่อกลุ่ม
ชื่อกิจกรรม
สมาชิกในกลุ่ม
555

3. บันทึกผลการปฏิบตั ิกิจกรรม และรายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน

แบบบันทึกผลการปฏิบัติกจิ กรรม

แผนการปฏิบัตกิ จิ กรรม

ผลการปฏิบัตกิ จิ กรรม

ข้ อบกพร่ องทีพ่ บ

วิธีการแก้ไข
556

ใบกิจกรรมที่ 24 ทักษะตะกร้ อวงที่ฉันชื่นชอบ ลองเขียนตอบพร้ อมบอกวิธีฝึก

ยกตัวอย่างทักษะการฝึ กตะกร้อวงที่นกั เรี ยนชื่นชอบมา 2 ทักษะ พรอมทั้งอธิบายวิธีการฝึ กมาพอสังเขป

ทักษะที่ชื่นชอบ วิธีการฝึ กทักษะ

วิธีการฝึ ก

วิธีการฝึ ก
557

ใบกิจกรรมที่ 25 วาดภาพระบายสีตําแหน่ งตะกร้ อวง ใครไม่ งงลองวาดดูที


 วาดภาพและระบายสีแสดงตําแหน่งการยืนของผูเ้ ล่นตะกร้อวง
558

ใบกิจกรรมที่ 23 พิจารณาภาพเหล่านี้ กิจกรรมไหนที่เป็ นนันทนาการ


1. พิจารณาภาพเหล่านี้แล้วเลือกภาพที่คิดว่าเป็ นกิจกรรมนันทนาการ โดยเขียนเครื่ องหมาย ลงใน ที่
เป็ นภาพกิจกรรมนันทนาการ

 

2. ตอบคําถามตามประเด็นที่กาํ หนด
1) กิจกรรมนันทนาการที่นกั เรี ยนชื่นชอบคือ (พิจารณาจากคําตอบนักเรี ยน)
2) เพราะเหตุใดนักเรี ยนจึงชื่นชอบกิจกรรมนันทนาการชนิดนี้
(พิจารณาจากคําตอบนักเรี ยน)
559

ใบกิจกรรมที่ 27 ระดมสมองเขียนแผนทีค่ วามคิด ลักษณะเด่ นของกิจกรรมนันทนาการ

 แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน ร่ วมกันระดมสมองเขียนแผนที่ความคิดเกี่ยวกับลักษณะเด่นของกิจกรรม


นันทนาการ พร้อมทั้งยกตัวอย่างกิจกรรมนันทนาการอาสาสมัครและบําเพ็ญประโยชน์

กิจกรรมที่นาํ มาซึ่ งความพึง


เป็ นกิจกรรมยามว่ างที่ทาํ ด้ วย พอใจและความเพลิดเพลิน
เป็ นกิจกรรมยามว่ างที่ทาํ ด้ วย
ความสมัครใจ
ความสมัครใจ

ไม่ สร้ างความเดือดร้ อนและ ลักษณะเด่ นของ ไม่ ขดั ต่ อศีลธรรม


รบกวนผู้อื่น กิจกรรมนันทนาการ ขนบธรรมเนียมประเพณี
และกฎหมาย

ไม่ ก่อความเสี ยหายต่ อทรั พยากร ไม่ สร้ างความแตกแยก


สิ่ งแวดล้ อมและสาธารณสมบัติ ระหว่ างหมู่คณะหรื อสังคม

ตัวอย่างกิจกรรมนันทนาการอาสาสมัครและบําเพ็ญประโยชน์

แนวคําตอบ
อ่ านหนังสื อให้ คนชราหรื อเด็กตาบอดฟั ง เพื่อช่ วยสร้ างเสริ มความรู้ ให้ กับพวก
เขา และช่ วยให้ เกิดความเพลิดเพลิน ไม่ คิดน้ อยใจตนเอง
560

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 ใส่ ใจสุ ขภาพ

ใบกิจกรรมที่ 28 แนวทางสุ ขบัญญัตแิ ห่ งชาติ ซ่ อนอยู่ตรงไหน ใครสงสั ยลองช่ วยกันหา


1. ค้นหาข้อความที่แสดงถึงกิจกรรมที่ช่วยสร้างเสริ มสุ ขภาพตามแนวทางปฏิบตั ิข้ นั พื้นฐานของสุ ขบัญญัติ
แห่งชาติแล้ววงกลมล้อมรอบข้อความนั้น

ดูโทรทัศน์ รับประทานอาหารตรงเวลา เล่นเกมออนไลน์

ว่ายนํ้าทุกเย็น ทิ้งขยะบนโต๊ะอาหาร ปลูกต้นไม้รอบ ๆ บ้าน

แปรงฟันอย่างถูกวิธี ล้างห้องนํ้าให้สะอาด วางของเล่นไว้บนบันได

เข้านอนเวลา 22.00 น. ไม่แปรงฟันก่อนเข้านอน ดื่มนมทุกวัน

ล้างจานเมื่อรับประทานอาหารเสร็ จ ออกกําลังกายสมํ่าเสมอ ทําจิตใจให้ร่าเริ ง

2. ข้อความที่นกั เรี ยนวงกลมล้อมรอบมีส่วนช่วยในการสร้างเสริ มสุขภาพได้อย่างไร


แนวคําตอบ
ช่ วยสร้ างเสริ มโดยช่ วยให้ ร่างกายแข็งแรง จิตใจสดใสร่ าเริ ง ปราศจากโรคภัย
จึงทําให้ มีสุขภาพที่ดี
561

ใบกิจกรรมที่ 29 เรียนรู้สุขบัญญัตแิ ห่ งชาติ อย่ าให้ ขาดแนวทางปฏิบัติ

 เขียนวิธีการปฏิบตั ิตนตามแนวทางปฏิบตั ิข้ นั พื้นฐานของสุขบัญญัติแห่งชาติมาอย่างน้อยข้อละ 2 วิธี


ลงในช่องวางในตาราง

สุ ขบัญญัติแห่ งชาติ วิธีการปฏิบตั ิตน


1. ดูแลรักษาร่ างกายและของใช้ให้ แนวคําตอบ
สะอาด 1. อาบนํา้ ให้ สะอาดทุกวันอย่ างน้ อย วันละ 1 ครั้ ง
2. ใส่ เสื อ้ ผ้ าที่ สะอาดไม่ อับชื น้ และให้ ความอบอุ่นเพียงพอ

2. รักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟัน แนวคําตอบ
ทุกวันอย่างถูกต้อง 1. แปรงฟั นหรื อบ้ วนปากหลังรั บประทานอาหาร
2. หลีกเลี่ยงการรั บประทานลูกอมลูกกวาดทอฟฟี่

3. ล้างมือให้สะอาดก่อนรับประทาน แนวคําตอบ
อาหารและหลังการขับถ่าย 1. ล้ างมือให้ สะอาดก่ อนรั บประทานอาหาร
2. ล้ างมือให้ สะอาดหลังการขับถ่ ายทุกครั้ ง

4. รับประทานอาหารสุก สะอาด แนวคําตอบ


ปราศจากสารอันตราย และ 1. รั บประทานอาหารที่ปรุ งสุกใหม่ ๆ
หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด สี ฉูดฉาด 2. รั บประทานอาหารให้ ครบ 5 หมู่
562

สุ ขบัญญัติแห่ งชาติ วิธีการปฏิบตั ิตน


5. งดบุหรี่ สุ รา สารเสพติด การพนัน แนวคําตอบ
และการสําส่อนทางเพศ 1. งดบุหรี่ สุราสารเสพติดและการพนัน
2. สร้ างเสริ มค่ านิยมรั กเดียวใจเดียวรั กนวลสงวนตัว

6. สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว แนวคําตอบ
ให้อบอุ่น 1. มีกิจกรรมรื่ นเริ งสังสรรค์ และพักผ่ อนภายในครอบครั ว
2. มีส่วนร่ วมแสดงความคิดเห็นในครอบครั ว

7. ป้ องกันอุบตั ิเหตุดว้ ยการไม่ แนวคําตอบ


ประมาท 1. ปิ ดหั วเตาแก๊ สทุกครั้ งหลังทําอาหาร
2. เดินข้ ามสะพานลอยแทนการข้ ามถนน

8. ออกกําลังกายสมํ่าเสมอและตรวจ แนวคําตอบ
สุ ขภาพประจําปี 1. ออกกําลังกายหลังเลิกเรี ยน
2. ตรวจสุขภาพเป็ นประจําทุกปี

9. ทําจิตใจให้ร่าเริ งแจ่มใสอยูเ่ สมอ แนวคําตอบ


1. นอนให้ ครบ 8–10 ชั่วโมง
2. ผ่ อนคลายความเครี ยดด้ วยการฟั งเพลง

10. มีสาํ นึกต่อส่วนรวมร่ วม แนวคําตอบ


สร้างสรรค์สงั คม 1. ทิ ง้ ขยะในถังขยะ
2. ไม่ เด็ดดอกไม้ ใบไม้ ริมทาง
563

ใบกิจกรรมที่ 30 หาข้ อมูลข่ าวสารในการบริโภค เพือ่ ไม่ เศร้ าโศกหลังตัดสิ นใจ


1. หาข้อมูลของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่นกั เรี ยนสนใจมา 1 ชนิด เช่น เครื่ องสําอาง ยารักษาโรค อาหาร จาก
แหล่งข้อมูลข่าวสารเพื่อการบริ โภคต่าง ๆ (สายด่วนผูบ้ ริ โภค 1556 สายด่วน 1675 กินดีสุขภาพดีหรื อเว็บไซต์ของ
สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา)
2. นําเสนอข้อมูลหน้าชั้นเรี ยนและร่ วมกันอภิปราย

บันทึกผลการปฏิบัติกจิ กรรม
564

ใบกิจกรรมที่ 30 ช่ วยกันค้ นหาข่ าวสารควบคุมโรค ที่คนทั่วโลกร่ วมกันป้องกัน


1. หาข้อมูลข่าวสารจากกรมควบคุมโรคเกี่ยวกับการป้ องกันและควบคุมโรคภัยที่คุกคามสุ ขภาพมา 1 เรื่ อง
บันทึกลงในกรอบที่กาํ หนดให้

การป้องกันและควบคุมโรคภัยที่คุกคามสุ ขภาพ

2. ตอบคําถามตามประเด็นที่กาํ หนด
1) เพราะเหตุใดจึงเลือกข้อมูลข่าวสารนี้
(พิจารณาจากคําตอบนักเรี ยน)

2) ข้อมูลข่าวสารนี้มีความสําคัญต่อตนเองและคนรอบข้างอย่างไร
(พิจารณาจากคําตอบนักเรี ยน)
565

ใบกิจกรรมที่ 32 อาหารและผลิตภัณฑ์ สุขภาพซื้ออย่ างไร พ่อแม่ไขช่ วยเราได้

1. สนทนากับพ่อแม่โดยขอความรู ้เกี่ยวกับแนวทางการเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง
แล้วบันทึกผลการสนทนาลงในแบบบันทึก
2. รายงานผลหน้าชั้นเรี ยน และร่ วมกันอภิปราย

บันทึกผลการสนทนา

ผูบ้ นั ทึก
วันที่ / /
566

3. ตอบคําถามตามประเด็นที่กาํ หนด
1) หลักการเลือกซื้ออาหารที่ปลอดภัยต่อสุ ขภาพมีอะไรบ้าง
แนวคําตอบ
อาหารที่สด สะอาด ปราศจากสารอันตราย ภาชนะที่บรรจุต้องสะอาด

2) นักเรี ยนคิดวาตนเองมีความสามารถในการเลือกซื้ออาหารได้อย่างปลอดภัยต่อสุขภาพหรื อไม่


เพราะอะไร
แนวคําตอบ
(พิจารณาจากคําตอบนักเรี ยน)
567

ใบกิจกรรมที่ 33 สื่ อโฆษณาเป็ นจริงหรือไม่ ควรใส่ ใจถึงรายละเอียด


1. หาฉลากของผลิตภัณฑ์อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพมาอย่างละ 1 ชิ้น ติดลงในกรอบที่กาํ หนดให้และทํา
เครื่ องหมายชี้ระบุจุดที่นกั เรี ยนต้องสังเกตก่อนเลือกซื้อหรื อเลือกใช้ผลิตภัณฑ์น้ นั ๆ
2. อภิปรายร่ วมกับเพื่อนเกี่ยวกับข้อเท็จจริ งของผลิตภัณฑ์อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพนั้น ๆ หน้าชั้นเรี ยน

ภาพผลิตภัณฑ์ อาหาร

ภาพผลิตภัณฑ์ สุขภาพ
568

3. ตอบคําถามตามประเด็นที่กาํ หนด
1) ผลิตภัณฑ์อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพภายในบ้านของนักเรี ยนมีอะไรบ้าง
แนวคําตอบ
นํา้ ปลา, นํา้ ตาล, ซาลาเปา, บะหมี่กึ่งสําเร็ จรู ป, ยาแก้ ปวดท้ อง ฯลฯ

2) ผลิตภัณฑ์อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพภายในบ้านของนักเรี ยนมีคุณภาพและปลอดภัยทุกชิ้น
หรื อไม่พิจารณาจากสิ่ งใดยกตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย มา 1 ชิ้น
(พิจารณาจากคําตอบนักเรี ยน)

3) ถ้านักเรี ยนพบว่าผลิตภัณฑ์อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ซ้ือมาใช้ในบ้านไม่มีคุณภาพหรื อไม่


ปลอดภัย จะทําอย่างไร
ไม่ ซือ้ ผลิตภัณฑ์ ยี่ห่อนั้นมารั บประทานหรื อใช้ อีก

4) ฉลากผลิตภัณฑ์อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัยควรมีคุณลักษณะอย่างไรบ้าง
บอกวันเดือนปี ที่ผลิต มีเครื่ องหมายรั บรองคุณภาพ บอกวิธีการใช้ บอกส่ วนประกอบ
บอกราคา
569

ใบกิจกรรมที่ 34 ลองเขียนเล่ าประสบการณ์ ที่เคยผ่านเกีย่ วกับไข้ หวัด


 เขียนเล่าประสบการณ์การเป็ นโรคไข้หวัดที่เกิดขึ้นกับตนเองหรื อที่เคยพบเห็น พร้อมกับวิธีการรักษา
แล้วอภิปรายหน้าชั้นเรี ยน

ประสบการณ์ โรคไข้ หวัดทีเ่ คยพบ


570

ใบกิจกรรมที่ 35 การป้องกันโรคไขเลือดออก สิ่ งแวดล้อมภายนอกควรทําอย่ างไร


1. ดูภาพแล้วเขียนเครื่ องหมาย  แสดงบริ เวณที่ยงุ ลายสามารถวางไข่ได้

2. ตอบคําถามตามประเด็นที่กาํ หนด
1) ทําไมบริ เวณที่นกั เรี ยนเลือกจึงเป็ นแหล่งเพาะพันธุ์ยงุ ลายได้
แนวคําตอบ
เพราะมีนา้ํ ท่ วมขัง ยุงลายจึงสามารถวางไข่ ได้

2) นักเรี ยนคิดว่าควรทําอย่างไร เพื่อไม่ให้ยงุ ลายแพร่ พนั ธุ์


แนวคําตอบ
ทําลายแหล่ งนํา้ ท่ วมขัง
571

ใบกิจกรรมที่ 36 เขียนวิธีการรักษาร่ างกาย เพือ่ กันโรคร้ ายทําได้ ไหมหนา


 เขียนระบุวิธีการดูแลรักษาความสะอาดร่ างกายของตนเองอย่างย่อใน 1 สัปดาห์ที่ผา่ นมา ลงในกรอบที่
กําหนดในแต่ละวัน
572

ใบกิจกรรมที่ 37 แจกแจงสิ่ งที่ทําให้ ฟันผุ พร้ อมทั้งระบุออกมาเป็ นภาพ


1. วิเคราะห์พฤติกรรมหรื อสิ่ งที่ทาํ ให้เกิดฟันผุและพฤติกรรมหรื อสิ่ งที่ทาํ ให้ฟันแข็งแรง เขียนแยกใส่ใน
กรอบที่กาํ หนด

พฤติกรรมหรือสิ่ งทีท่ ําให้ ฟันแข็งแรง พฤติกรรมหรือสิ่ งทีท่ ําให้ เกิดฟันผุ


1. แปรงฟั นอย่ างน้ อยวันละ 2 ครั้ ง 1. รั บประทานลูกอม ทอฟฟี่
2. แปรงฟั นหรื อบ้ วนปากทุกครั้ ง 2. ไม่ แปรงฟั นก่ อนนอน
หลังรั บประทานอาหาร 3. รั บประทานขนมกรุ บกรอบ
3. รั บประทานผักผลไม้
4. พบทันตแพทย์ ทุก ๆ 6 เดือน

2. วาดภาพและระบายสี แสดงลักษณะฟันที่แข็งแรงและฟันที่ผุ

ใบกิจกรรมที่ 38 ควรอ้วนหรือผอม เราจะยอมให้ เป็ นอย่ างไร


573

1. วัดส่วนสูงและชัง่ นํ้าหนักของตนเอง แล้วบันทึกผลลงในช่องว่าง


ส่วนสูงที่วดั ได้ เมตร
นํ้าหนักที่ชงั่ ได้ กิโลกรัม
2. คํานวณหาค่าดัชนีมวลกายของตนเองโดยใช้สูตรคํานวณ ดังนี้
นํ้าหนักตัว (กิโลกรัม) = ค่าดัชนีมวลกาย
ความสูง (เมตร) × ความสูง (เมตร)
หลังจากคํานวณแล้ว ค่าดัชนีมวลกายของตนเองคือ =

ค่าดัชนีมวลกาย
สามารถบ่งบอกถึงสภาวะอ้วนหรื อ
ผอมของร่ างกายของคนเราได้

3. นําค่าดัชนีมวลกายที่คาํ นวณไปเปรี ยบเทียบกับค่าดัชนีมวลกายในตาราง

ค่าดัชนีมวลกาย นํา้ หนัก/ลักษณะรู ปร่ าง


ตํ่ากว่า 18 ผอมเกินไป
ระหว่าง 18–25 นํ้าหนักตัวพอดี สมส่วน
ระหว่าง 26–30 นํ้าหนักตัวมากเกินไป
มากกว่า 30 เป็ นโรคอ้วน

เมื่อเปรี ยบเทียบค่าดัชนีมวลกายในตารางแล้ว สรุ ปได้วา่ นักเรี ยนเป็ นผูท้ ี่มีน้ าํ หนักและลักษณะรู ปร่ าง

4. ตอบคําถามตามประเด็นที่กาํ หนด
574

1) จากกิจกรรมที่ปฏิบตั ินกั เรี ยนควรต้องควบคุมในเรื่ องการรับประทานอาหารหรื อไม่ เพราะเหตุใด


พิจารณาจากคําตอบของนักเรี ยน

2) ถ้าต้องควบคุมการรับประทานอาหาร นักเรี ยนจะมีวิธีการปฏิบตั ิอย่างไร


พิจารณาจากคําตอบของนักเรี ยน
575

ใบกิจกรรมที่ 39 วิธีการใดหนา ที่ช่วยพัฒนาสมรรถภาพ


 พิจารณาภาพรอบกรอบกิจกรรมประกอบการเลือกวิธีการออกกําลังกาย เพื่อการสร้างเสริ ม
สมรรถภาพในองค์ประกอบต่าง ๆ พร้อมทั้งอธิบายเหตุผลของการเลือกกิจกรรมนั้น ๆ

องค์ ประกอบ กิจกรรม ทําไมนักเรียนถึงเลือก


สมรรถภาพทางกาย การออกกําลังกาย กิจกรรมชนิดนี้

กิจกรรมเพือ่ พัฒนา
ระบบไหลเวียนโลหิต

กิจกรรมเพือ่
สร้ างเสริมความแข็งแรง (พิจารณาจากคําตอบนักเรี ยน)
ของกล้ามเนือ้

กิจกรรมที่พฒ
ั นา
ความอ่อนตัว

กิจกรรมที่ช่วย
ควบคุมนํา้ หนัก
576

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ชีวติ ปลอดภัย

ใบกิจกรรมที่ 40 สารเสพติดดีหรือไม่ เรารู้ ไหมช่ วยบอกมา


1. เขียนเครื่ องหมาย  ลงในช่องคําตอบ ตามความคิดเห็น

รายการ ใช่ ไม่ใช่


1. การติดหรื อจําหน่ายสารเสพติดส่งผลเสี ยต่อตัวเราเท่านั้น 
ไม่เกี่ยวข้องกับครอบครัวหรื อประเทศชาติ
2. สารเสพติดส่งผลเสี ยต่อการทํางานของสมอง 
3. สารเสพติดทําให้ร่างกายทรุ ดโทรม 
4. หากต้องการให้พอ่ แม่สนใจควรเสพสารเสพติด 
5. ความอยากรู้อยากลองเป็ นสิ่ งที่ดีทาํ ให้เราได้รู้รสชาติของ 
สารเสพติด
6. หากเราไม่ยงุ่ เกี่ยวกับสารเสพติดจะทําให้พอ่ แม่สบายใจ 

2. ตอบคําถามตามประเด็นที่กาํ หนด
1) นักเรี ยนคิดว่าปัจจัยใดที่มีอิทธิพลต่อการติดสารเสพติดมากที่สุด เพราะเหตุใด
พิจารณาจากคําตอบของนักเรี ยน

2) นักเรี ยนควรจะยุง่ เกี่ยวกับสารเสพติดหรื อไม่ เพราะเหตุใด


แนวคําตอบ
ไม่ ควร เพราะทําให้ เกิดผลเสี ยต่ อตัวเอง ครอบครั ว และประเทศชาติ
577

ใบกิจกรรมที่ 41 รวมกันอ่ านกรณีศึกษานี้ แล้วช่ วยชี้ถึงปัญหา


1. แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน แต่ละกลุ่มร่ วมกันอ่านกรณี ศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้น พร้อมทั้ง
แนวทางป้ องกัน
2. ส่งตัวแทนกลุ่มรายงานผลการวิเคราะห์หน้าชั้นเรี ยน

กรณีศึกษาเรื่องเดินทางผิด
นายตุย้ เคยเป็ นคนดี มีความสามารถ แต่วนั นี้ ตกงาน ไม่มีงานทํา
เขากลุม้ ใจมากจึงลองเสพยาบ้า โดยคิดว่าจะช่วยทําให้หายกลุม้ เวลาผ่านไป
เขากลับติ ดยาบ้าจนเลิกไม่ได้ จากคนพูดจาสุ ภาพเรี ยบร้อยกลายเป็ นพูดจา
หยาบคาย ข่ ม ขู่แ ม่ แ ละน้ อ งเพื่ อ เอาเงิ น ไปซื้ อ ยาบ้าและมัก ทําร้ ายคนใน
ครอบครัวบ่อยครั้ง วันหนึ่งด้วยฤทธิ์ ของยาบ้าเขาใช้มีดจี้จบั เด็กนักเรี ยนเป็ น
ตัว ประกัน เพราะคิ ด ว่ามี คนมาทําร้ ายตน ทําให้เด็ก นักเรี ยนคนนั้น ได้รั บ
บาดเจ็บสาหัส

3. ตอบคําถามตามประเด็นที่กาํ หนด
1) ใครได้รับผลกระทบจากเรื่ องนี้บา้ ง
แนวคําตอบ
นายตุ้ยได้ รับผลกระทบโดยตรงจากฤทธิ์ ยาบ้ า ทําให้ สุขภาพร่ างกายทรุ ดโทรม
และมีพฤติกรรมรุ นแรง
แม่ และน้ องถูกข่ มขู่และทําร้ ายร่ างกาย
เด็กนักเรี ยนที่ถกู นายตุ้ยจับเป็ นตัวประกัน
2) ครอบครัวของตุย้ ได้รับผลกระทบอย่างไรบ้าง
แนวคําตอบ
ครอบครั วไม่ มีความสุข เพราะถูกนายตุ้ยข่ มขู่และทําร้ ายร่ างกาย และต้ องสูญเสี ย
เงินเพื่อซื อ้ ยาบ้ า

3) ถ้านักเรี ยนเป็ นตุย้ นักเรี ยนจะแก้ปัญหาอย่างไร


แนวคําตอบ
ไม่ พึ่งสารเสพติด พยายามเริ่ มต้ นชี วิตใหม่ ด้วยการหางานใหม่ ที่สุจริ ตทํา
578

ใบกิจกรรมที่ 42 ในตู้ยามีอะไร ร่ วมกันไปเร่ งค้ นหา


1. แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน แต่ละกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันไปศึกษาตูย้ าที่หอ้ งพยาบาลของโรงเรี ยนว่ามียา
อะไรบ้าง โดยมีครู เป็ นผูแ้ นะนํา
2. นําข้อมูลกลับมาเติมลงในช่องว่างของภาพ ตูย้ าที่กาํ หนด และอภิปรายร่ วมกัน

แนวคําตอบ
ยาแดง พาราเซตามอล

แอลกอฮอล์ ยาธาตุนา้ํ แดง

แอมโมเนีย ยาแก้ แพ้

3. ตอบคําถามตามประเด็นที่กาํ หนด
1) นักเรี ยนเคยใช้ยาอะไรบ้าง
(พิจารณาจากคําตอบนักเรี ยน)

2) ข้อควรคํานึงก่อนใช้ยาคืออะไร
แนวคําตอบ
1. ควรบอกผู้ปกครองหรื อครู ทุกครั้ งเมื่อรู้ สึกเจ็บป่ วยหรื อต้ องใช้ ยา โดยให้ ท่าน
หยิบยาให้ และปฏิบัติตามที่ท่านแนะนําอย่ างเคร่ งครั ด
2. เมื่อได้ รับยาควรอ่ านชื่ อยาและวิธีใช้ อย่ างละเอียดอีกครั้ งหนึ่ง
3. ไม่ ควรนํายามาเล่ นหรื อใช้ อย่ างพรํ่าเพรื่ อ
579

ใบกิจกรรมที่ 43 ร่ วมกันระดมความคิด เพือ่ พิชิตสารเสพ ติด


1. แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 10 คน แต่ละกลุ่มตั้งชื่อกลุ่ม แล้วเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้ากลุ่ม และเลขาฯ กลุ่ม
2. ร่ วมกันคิดกิจกรรมเพื่อพิชิตสารเสพติดในโรงเรี ยน เช่น จัดป้ ายนิเทศหรื อแต่งคําขวัญโดยเขียนขั้นตอน
การดําเนินกิจกรรมลงในกรอบที่กาํ หนด

กิจกรรมระดมความคิดพิชิตสารเสพติด
580

ใบกิจกรรมที่ 44 อิทธิพลจากสื่ อ ที่เลือ่ งลือถึงสุ ขภาพ


 หาภาพตัวอย่างจากสื่ อที่นกั เรี ยนคิดว่ามีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสุ ขภาพของตนเอง มาติดลงในพื้นที่วา่ ง
ที่ให้ไว้ พร้อมทั้งอธิบายว่า ภาพสื่ อดังกล่าวมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสุขภาพในด้านที่ส่งผลดีหรื อส่งผลเสี ย เพราะ
เหตุใด

ติดภาพ

(พิจารณาจากคําตอบนักเรี ยน)
581

ใบกิจกรรมที่ 45 สื่ อไม่ ดีล้วนมีอทิ ธิพล ลองช่ วยบอกผลทีก่ ระทบต่ อพวกเรา


1. แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน ช่วยกันระดมสมองสร้างแผนที่ความคิดเกี่ยวกับอิทธิพลของสื่ อที่ส่งผลเสี ย
ต่อพฤติกรรมสุ ขภาพของนักเรี ยน

ให้ ข้อมูลความรู้ ที่ไม่ ถกู ต้ องหรื อ


บิดเบือนไปจากความเป็ นจริ ง สร้ างค่ านิยมทางสุขภาพ
จนเกิดความเข้ าใจผิด ที่ไม่ ถกู ต้ อง

อิทธิพลของสื่ อที่ส่งผลเสี ย
ต่ อพฤติกรรมสุ ขภาพ

ขาดความสนใจในตนเอง ก่ อให้ เกิดพฤติกรรมความรุ นแรง


ขาดการสร้ างปฏิสัมพันธ์ ทางด้ านร่ างกาย จิตใจ และสังคม
กับคนในสังคม

2. ร่ วมกันวิเคราะห์แนวทางที่ถูกต้องในการใช้สื่อเพื่อก่อให้เกิดพฤติกรรมสุ ขภาพที่ดี
แนวคําตอบ
1. แบ่ งเวลาในการใช้ สื่อและกิจวัตรประจําวันอย่ างเหมาะสม
2. เชื่ อฟั งคําแนะนําของผู้ปกครองมากกว่ าสื่ อ
3. รู จักคิดวิเคราะห์ เมื่อได้ รับทราบข้ อมูลจากสื่ อต่ าง ๆ ก่ อนที่จะหลงเชื่ อ
4. ไม่ ลอกเลียนแบบพฤติกรรมจากสื่ อที่เป็ นพฤติกรรมที่ ผิดศีลธรรมและทําให้ ผ้ อู ื่น
เดือดร้ อน
582

ใบกิจกรรมที่ 46 อันตรายจากการเล่นกีฬาเราลองมาหาวิธีป้องกัน
 แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน รวมกันวิเคราะห์ผลกระทบและวิธีการป้ องกันอันตรายที่เกิดจากกีฬา
มวยไทยและกีฬาฟุตบอล แล้วบันทึกลงในกรอบ

กีฬามวยไทย

ผลกระทบที่เกิดขึน้ วิธีการป้องกัน
หากนักเรียนไม่ ระมัดระวัง แนวคําตอบ แนวคําตอบ
หรือป้องกันอันตราย 1. ฟั นหั ก 1. ใส่ อุปกรณ์ ป้องกัน
ก่อนที่จะเล่น 2. สมองเสื่ อม 2. เรี ยนรู้ ทักษะที่ถูกต้ อง
3. เสี ยชี วิต

กีฬาฟุตบอล

ผลกระทบที่เกิดขึน้ วิธีการป้องกัน
หากนักเรียนไม่ ระมัดระวัง แนวคําตอบ แนวคําตอบ
หรือป้องกันอันตราย 1. กล้ ามเนือ้ อักเสบ 1. สํารวจสนามก่ อนเล่ น
ก่อนที่จะเล่น 2. ลื่นหกล้ มเป็ นแผลถลอก 2. เพิ่มความระมัดระวัง
3. กระดูกหั กหรื อกระดูก 3. ยืดเหยียดกล้ ามเนือ้
เคลื่อน ก่ อนเล่ น
583

ใบกิจกรรมที่ 47 ลองดูภาพกีฬาทีม่ ใี ห้ อาจเกิดอันตรายอย่ างไรช่ วยบอกมา


 พิจารณาจากภาพแล้ววิเคราะห์ถึงลักษณะของอันตรายที่อาจเกิดจากกีฬาชนิดนี้ พร้อมทั้งแนวทางในการ
ป้ องกัน

ตะคริ ว ไข้ หวัด มะเร็ งผิวหนัง

ยืดเหยียดกล้ ามเนือ้ 1. ไม่ อยู่ในนํา้ นาน 1. ทาครี มกันแดด


เกินไป 2. หลีกเลี่ยง
2. รี บทําร่ างกาย ช่ วงเวลาที่ มี
ให้ อบอุ่น แสงแดดจัด
584

ตอนที่ 3.6
แบบประเมินและเกณฑ์ การประเมินผล

แบบประเมินและเกณฑ์ การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะ/กระบวนการ
สั งเกตพฤติกรรมของนักเรียนเป็ นรายบุคคลในขณะทํางานตามกิจกรรม หรือตามที่กําหนดให้ ในใบกิจกรรมประกอบการพิจารณา

ระดับการปฏิบัติ
รายการประเมิน พฤติกรรมการแสดงออก 3 2 1

1. ทักษะการเรียนรู้ 1. รักการอ่าน การเขียน การฟัง และรู ้จกั ตั้งคําถามเพือ่ หาเหตุผล


2. รู ้จกั แสวงหาความรู ้จากแหล่งต่าง ๆ รอบตัว การใช้หอ้ งสมุด และการสื บค้น
แหล่งความรู ้จากสื่ อต่าง ๆ ได้ท้ งั ในและนอกสถานที่
3. มีวิธีการเรี ยนรู ้ของตนเอง เรี ยนรู ้ร่วมกับผูอ้ ื่นได้ดี สนุกกับการเรี ยนรู ้
2. ทักษะกระบวนการคิด 1. สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุ ปเป็ นความคิดรวบยอด
2. มีการคิดอย่างเป็ นระบบ และคิดแบบองค์รวม
3. มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ มองโลกในแง่ดี และมีจินตนาการ
3. ทักษะการตัดสิ นใจ การ 1. มีความสามารถในการคาดการณ์ กําหนดเป้ าหมาย และแนวทางการตัดสิ นใจ
ปฏิเสธ และการแก้ ไข 2. สามารถประเมินและเลือกแนวทางการตัดสิ นใจ และแก้ปัญหาอย่างมีสติ
ปัญหา 3. รู ้จกั ปฏิเสธสถานการณ์เสี่ ยงที่ส่งผลเสี ยต่อสุ ขภาพ
4. ทักษะการจัดการและสร้ าง 1. มีสุขนิสยั ในการดูแลสุ ขภาพ และออกกําลังกายอย่างสมํ่าเสมอ
เสริมสุ ขภาพ 2. มีน้ าํ หนัก ส่ วนสู ง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์
3. ชื่นชมและร่ วมกิจกรรมในกิจกรรมกีฬาและนันทนาการ
5. ทักษะกระบวนการกลุ่ม 1. มีทกั ษะในการจัดการ และการทํางานให้สาํ เร็จ
และการปฏิบตั ิกิจกรรม 2. แสดงออกถึงการทํางานอย่างมีความสุ ข พัฒนางาน และภูมิใจในผลงานของ
ร่ วมกันเป็ นทีม ตนเอง
3. ทํางานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้ดี
คะแนนที่ได้
คะแนนรวม
คะแนนเฉลี่ย

หมายเหตุ การคิดคะแนนเฉลี่ยคิดได้จากการนําคะแนนรวมในแต่ละช่องรายการปฏิบตั ิมารวมกันแล้วหารด้วยจํานวนข้อ จากนั้นนําคะแนน


เฉลี่ยที่ได้มาเทียบกับเกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพและสรุ ปผลการประเมิน
585

เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ

ช่ วงคะแนนเฉลี่ย 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66


ระดับคุณภาพ 3 2 1
ดีเยีย่ ม ดี ควรปรับปรุ ง

สรุ ประดับคุณภาพด้ านทักษะ/กระบวนการ (เขียนเครื่องหมายลงใน )


 ดีเยี่ยม  ดี  ควรปรับปรุ ง
586

แบบประเมินและเกณฑ์ การประเมินผลการเรียนรู้
ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

สํ าหรับครู สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนเป็ นรายบุคคลในขณะทํางานตามกิจกรรม หรือตามกําหนดให้ ในใบงานประกอบการพิจารณา

ระดับการ
รายการประเมิน พฤติกรรมการแสดงออก ปฏิบัติ
3 2 1
1. แสดงออกถึงการหมัน่ ฝึ กปฏิบตั ิ และตรวจสอบภาวะสุ ขภาพและสมรรถภาพทางกายของตนเองเป็ น
1. ความอดทนและมี ประจํา
ระเบียบวินัย 2. ปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยความรับผิดชอบ
3. มีความอดทนต่อการทํากิจกรรมที่เหน็ดเหนื่อยและมีอุปสรรคจนบรรลุผลสําเร็ จ
1. มีความสนใจในการติดตามข่าวสารและความรู ้เกี่ยวกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย การ
เล่นกีฬา และสมรรถภาพทางกายอย่างสมํ่าเสมอ
2. เข้าร่ วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การออกกําลังกาย การเล่นกีฬา นันทนาการ
2. ความใฝ่ รู้ ใฝ่ เรียน
และสมรรถภาพทางกายอย่างสมํ่าเสมอ
3. หมัน่ แสวงหาความรู ้และเลือกใช้ขอ้ มูลสารสนเทศ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุ ขภาพใน
แนวทางที่ดี
1. มีการนําเสนอข้อมูลทางด้านสุ ขภาพของตนเองตามความเป็ นจริ ง
3. ความซื่อสัตย์ สุจริต
2. เคารพกฎ กติกา และข้อตกลงในการปฏิบตั ิกิจกรรม
4. ความเป็ นอยู่อย่าง 1. แสดงออกถึงความเข้าใจในตนเองและดําเนินชีวติ ตามแนวทางการปฏิบตั ิดา้ นสุ ขภาพที่ดี
พอเพียง 2. แสดงออกถึงความประหยัดและการใช้ทรัพยากรอย่างคุม้ ค่า
1. แสดงถึงความภาคภูมิใจที่ได้ปฏิบตั ิตามระเบียบวินยั กฎ กติกา ในการเข้าร่ วมกิจกรรมสุ ขภาพ
2. แสดงออกถึงความพึงพอใจในประสบการณ์ที่ได้รับจากกิจกรรมสุ ขภาพ และให้ความร่ วมมืออย่าง
5. ความภาคภูมิใจ/ สันติ
รักความเป็ นไทย 3. แสดงออกถึงความชื่นชมในความงามของสุ นทรี ยภาพของการเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย การ
เล่นกีฬา และกิจกรรมนันทนาการ ทั้งในฐานะผูป้ ฏิบตั ิและผูช้ มที่แสดงออกถึงมารยาทที่ดีตาม
วัฒนธรรมไทย
1. กล้าแสดงออกในการปฏิเสธเรื่ องที่ไม่เหมาะสมอย่างมีเหตุผล
6. ความมีวุฒภิ าวะ 2. ควบคุมอารมณ์และแสดงพฤติกรรมได้อย่างเหมาะสม
3. ยอมรับคําวิจารณ์ ข้อโต้แย้ง หรื อข้อคิดเห็นที่มีเหตุผลของผูอ้ ื่น
1. แสดงถึงความเอื้ออาทร เสี ยสละ ให้ความช่วยเหลือผูอ้ ื่น และเข้าร่ วมกิจกรรมเพื่อสังคมอย่าง
7. การมีจติ สาธารณะ/ สมํ่าเสมอ
ใส่ ใจส่ วนรวม 2. แสดงออกถึงการเป็ นผูน้ าํ และแบบอย่างที่ดีในการดําเนินชีวิต
3. ปฏิบตั ิหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจากกลุ่มด้วยความเต็มใจและให้ความร่ วมมือจนบรรลุผลสําเร็ จ
คะแนนที่ได้
คะแนนรวม
คะแนนเฉลีย่

หมายเหตุ การคิดคะแนนเฉลี่ ยคิ ดได้จากการนําคะแนนรวมในแต่ ละช่ องรายการปฏิ บตั ิ มารวมกัน แล้วหารด้วยจํานวนข้อ จากนั้นนํา
เกณฑ์ การตัคะแนนเฉลี ่ยที่ได้มาเทียบกับเกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพและสรุ ปผลการประเมิน
ดสิ นคุณภาพ
587

ช่ วงคะแนนเฉลี่ย 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66


ระดับคุณภาพ 3 2 1
ดีเยีย่ ม ดี ควรปรับปรุ ง

สรุ ประดับคุณภาพด้ านคุณธรรม จริยธรรม ค่ านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (เขียนเครื่องหมายลงใน )


 ดีเยี่ยม  ดี  ควรปรับปรุ ง
588

แบบประเมินและเกณฑ์ การประเมินผลการนําเสนอข้ อมูล

ระดับคุณภาพ
รายการประเมิน
3 2 1
1. ความถูกต้องของข้อมูลที่นาํ เสนอ

2. ได้ใจความสําคัญและตรงกับวัตถุประสงค์

3. การจัดเรี ยงลําดับข้อมูลได้ถูกต้องและมีความสอดคล้องกัน

4. ความถูกต้องของการใช้ภาษาและการสื่ อความหมายในการนําเสนอข้อมูล

5. ความสมบูรณ์ครบถ้วนของประเด็นในการนําเสนอข้อมูล

6. การสรุ ปความสําคัญของการนําเสนอข้อมูล

คะแนนที่ได้

คะแนนรวม

คะแนนเฉลีย่

หมายเหตุ การคิดคะแนนเฉลี่ยคิดได้จากการนําคะแนนรวมในแต่ละช่องรายการปฏิบตั ิมารวมกันแล้วหารด้วยจํานวนข้อ จากนั้นนําคะแนน


เฉลี่ยที่ได้มาเทียบกับเกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพและสรุ ปผลการประเมิน

เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ


ช่ วงคะแนนเฉลี่ย 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66
ระดับคุณภาพ 3 2 1
ดีเยีย่ ม ดี ควรปรับปรุ ง

สรุ ประดับคุณภาพการนําเสนอข้ อมูล (เขียนเครื่องหมายลงใน )


 ดีเยี่ยม  ดี  ควรปรับปรุ ง
589

แบบประเมินและเกณฑ์ การประเมินผลการอภิปราย

ระดับคุณภาพ
รายการประเมิน
3 2 1
1. ความมัน่ ใจในการแสดงความคิดเห็น

2. การแสดงเหตุผลต่อการแสดงความคิดเห็นของตนเองและความคิดเห็นของผูอ้ ื่น

3. ความถูกต้องของการใช้ภาษาในการสื่ อสาร

4. การประยุกต์ใช้ความรู ้เพื่อเชื่อมโยงสู่ การนําเสนอผลการอภิปราย

5. ความถูกต้องสมบูรณ์ของการสรุ ปผลการอภิปราย

คะแนนที่ได้

คะแนนรวม

คะแนนเฉลีย่

หมายเหตุ การคิ ดคะแนนเฉลี่ ยคิ ดได้จากการนําคะแนนรวมในแต่ ละช่ องรายการปฏิ บตั ิ มารวมกันแล้วหารด้วยจํานวนข้อ จากนั้นนํา
คะแนนเฉลี่ยที่ได้มาเทียบกับเกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพและสรุ ปผลการประเมิน

เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ


ช่ วงคะแนนเฉลี่ย 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66
ระดับคุณภาพ 3 2 1
ดีเยีย่ ม ดี ควรปรับปรุ ง

สรุ ประดับคุณภาพการอภิปราย (เขียนเครื่องหมายลงใน )


 ดีเยี่ยม  ดี  ควรปรับปรุ ง
590

แบบประเมินและเกณฑ์ การประเมินผลการสร้ างแผนที่ความคิด

ระดับคุณภาพ
รายการประเมิน
3 2 1
1. ความถูกต้องของข้อมูลที่นาํ เสนอ

2. ความครอบคลุมรายละเอียดสําคัญ

3. การใช้ภาษาที่ถูกต้องตามหลักภาษาไทย

4. การจัดเรี ยงลําดับความเชื่อมโยงของข้อมูล

5. จํานวนของข้อมูลที่นาํ เสนอ

คะแนนที่ได้

คะแนนรวม

คะแนนเฉลีย่

หมายเหตุ การคิดคะแนนเฉลี่ยคิดได้จากการนําคะแนนรวมในแต่ละช่องรายการปฏิบตั ิมารวมกันแล้วหารด้วยจํานวนข้อ จากนั้นนํา


คะแนนเฉลี่ยที่ได้มาเทียบกับเกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพและสรุ ปผลการประเมิน

เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ


ช่ วงคะแนนเฉลี่ย 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66
ระดับคุณภาพ 3 2 1
ดีเยีย่ ม ดี ควรปรับปรุ ง

สรุ ประดับคุณภาพการสร้ างแผนที่ความคิด (เขียนเครื่องหมายลงใน  )


 ดีเยี่ยม  ดี  ควรปรับปรุ ง
591

ตอนที่ 3.7
ตัวอย่ างแบบบันทึกสรุ ปการประเมินผล

ตัวอย่างแบบบันทึกผลการประเมินการนําเสนอข้ อมูล/การอภิปราย/การสร้ างแผนที่ความคิดเป็ นรายบุคคล

ตรวจสอบการบันทึกผลการปฏิบัติกจิ กรรมของนักเรียนเป็ นรายบุคคล เพือ่ ประเมินระดับคุณภาพการเรียนรู้


สําหรับครู
โดยใช้ เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพที่กําหนด

เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ


1 หมายถึง นําเสนอข้อมูลไม่ชดั เจนและไม่ครอบคลุมรายละเอียดสําคัญ
2 หมายถึง นําเสนอข้อมูลได้ชดั เจน แต่ไม่ครอบคลุมรายละเอียดสําคัญ
3 หมายถึง นําเสนอข้อมูลได้ชดั เจนและครอบคลุมรายละเอียดสําคัญ
รายชื่อนักเรียน ระดับคุณภาพ
1 2 3
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13.
14.
15.
16.
17.
18.
19.
20.
21.
22.
592

ตัวอย่างแบบบันทึกสรุปการประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนหน่ วยการเรียนรู้ที่ 1–5

ระดับคุณภาพ
ด้ านคุณธรรม
สรุ ปผลการประเมิน
รายชื่อนักเรียน ด้ านทักษะ/ จริยธรรม ค่ านิยม
ผลการเรียนรู้ หน่ วยที่ ด้ านความรู้
กระบวนการ และคุณลักษณะอัน
พึงประสงค์
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13.
14.
15.
16.
17.
18.
19.
20.
593

ตอนที่ 3.8
แบบประเมินผลการปฏิบัตทิ ักษะการวิ่งระสั้ น

การ มีความ แสดงท่ าทาง ความตั้งใจ


ลําดับท่ า
เคลื่อนไหว ต่ อเนื่อง เป็ น ในการ
รายการประเมิน ถูกต้อง
สง่ างาม ของท่ า ธรรมชาติ ปฏิบตั ิ
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
1. ทักษะการออกวิ่ง
2. ทักษะการเข้าเส้นชัย
3. ทักษะการวิ่งทางโค้ง

เกณฑ์ การวัด ให้คะแนนระดับคุณภาพของแต่ละพฤติกรรมดังนี้

ระดับคุณภาพ ดีมาก ดี ควรปรับปรุง


คะแนน 3 2 1

หมายเหตุ: สํ าหรับครูผ้สู อนหรือสถานศึกษาอาจมีการปรับปรุงหรือปรับเกณฑ์ ที่ให้ ไว้ เบือ้ งต้ นได้


ตามความเหมาะสมกับสภาพการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา
594

ตอนที่ 3.9
แบบประเมินผลการปฏิบัตทิ ักษะกีฬาฟุตบอล

การ มีความ แสดงท่ าทาง ความตั้งใจ


ลําดับท่ า
เคลื่อนไหว ต่ อเนื่อง เป็ น ในการ
รายการประเมิน ถูกต้อง
สง่ างาม ของท่ า ธรรมชาติ ปฏิบตั ิ
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
1. การเตะลูกข้างเท้าด้านใน (ลูกแป)
2. การเตะลูกข้างเท้าด้านนอก
3. การเตะลูกด้วยหลังเท้า
4. การโหม่งลูกบอล
5. การหยุดลูกบอล
6. การเลี้ยงลูกบอล
7. การทุ่มลูกบอลเข้าเล่น
8. การเข้าสกัดกั้นหรื อแย่งลูกบอล
9. การรักษาประตู

เกณฑ์ การวัด ให้คะแนนระดับคุณภาพของแต่ละพฤติกรรมดังนี้

ระดับคุณภาพ ดีมาก ดี ควรปรับปรุง


คะแนน 3 2 1

หมายเหตุ: สํ าหรับครูผ้สู อนหรือสถานศึกษาอาจมีการปรับปรุงหรือปรับเกณฑ์ ที่ให้ ไว้ เบือ้ งต้ นได้


ตามความเหมาะสมกับสภาพการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา
595

ตอนที่ 3.10
แบบประเมินผลการปฏิบัตทิ ักษะกีฬามวยไทย

การ มีความ แสดงท่ าทาง ความตั้งใจ


ลําดับท่ า
เคลื่อนไหว ต่ อเนื่อง เป็ น ในการ
รายการประเมิน ถูกต้อง
สง่ างาม ของท่ า ธรรมชาติ ปฏิบตั ิ
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
1. การไหว้ครู และรํามวยไทยท่าพรหมสี่ หน้า
2. ทักษะท่าตั้งการ์ดหรื อท่าเตรี ยม
3. ทักษะการใช้หมัด
4. ทักษะการใช้ศอก
5. ทักษะการใช้เข่า

เกณฑ์ การวัด ให้คะแนนระดับคุณภาพของแต่ละพฤติกรรมดังนี้

ระดับคุณภาพ ดีมาก ดี ควรปรับปรุง


คะแนน 3 2 1

หมายเหตุ: สํ าหรับครูผ้สู อนหรือสถานศึกษาอาจมีการปรับปรุงหรือปรับเกณฑ์ ที่ให้ ไว้ เบือ้ งต้ นได้


ตามความเหมาะสมกับสภาพการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา
596

ตอนที่ 3.11
แบบประเมินผลการปฏิบัตทิ ักษะกีฬาตะกร้ อวง

การ มีความ แสดงท่ าทาง ความตั้งใจ


ลําดับท่ า
เคลื่อนไหว ต่ อเนื่อง เป็ น ในการ
รายการประเมิน ถูกต้อง
สง่ างาม ของท่ า ธรรมชาติ ปฏิบตั ิ
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
1. ท่าเตรี ยมพร้อม
2. การเตะลูกด้วยข้างเท้าด้านใน
3. การเตะลูกด้วยหลังเท้า
4. การเล่นลูกด้วยเข่า
5. การเล่นลูกด้วยศีรษะ

เกณฑ์ การวัด ให้คะแนนระดับคุณภาพของแต่ละพฤติกรรมดังนี้

ระดับคุณภาพ ดีมาก ดี ควรปรับปรุง


คะแนน 3 2 1

หมายเหตุ: สํ าหรับครูผ้สู อนหรือสถานศึกษาอาจมีการปรับปรุงหรือปรับเกณฑ์ ที่ให้ ไว้ เบือ้ งต้ นได้


ตามความเหมาะสมกับสภาพการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา
597

ตอนที่ 3.12
โครงงาน แผนทีค่ วามคิด ผังแสดงเหตุและผล

การจัดทําโครงงานสุ ขศึกษาและพลศึกษา
โครงงานเป็ นการเรียนรู้อย่างหนึ่ง ที่ตอ้ งการให้นกั เรี ยนได้เรี ยนรู ้โดยการปฏิบตั ิกิจกรรมการศึกษาค้นคว้า
และลงมือปฏิบตั ิดว้ ยตนเองตามความสนใจ ถ้านักเรี ยนได้เรี ยนรู้ดว้ ยการทําโครงงานตลอดเวลา จะทําให้นกั เรี ยน
ั นาการคิด โครงงานจะต้องเกิดขึ้นจากนักเรี ยน เช่น ขณะที่เรี ยนนักเรี ยนมีข้อสงสั ย หรื อมีความต้ องการ หรื อ
ได้พฒ
มีความสนใจ ต้องการคําตอบ จะเป็ นจุดเริ่ มต้นของโครงงานของนักเรี ยน
วัตถุประสงค์ของการทําโครงงานเพื่อให้นกั เรี ยนได้ประยุกต์ ใช้ ทักษะในกลุ่มวิชาต่ าง ๆ มีทักษะในการ
แสวงหาความรู้ มีทักษะทางสั งคม ทักษะการนําเสนอ เห็นคุณค่ าในวิชาที่เรียน เน้ นถึงพลังความอยากรู้อยากเห็น
ของนักเรียน และส่ งเสริมการตัดสิ นใจ การจะคิด จะทําของนักเรียน
โครงงานแบ่งเป็ น 4 ประเภท ได้แก่ โครงงานการสํ ารวจ โครงงานการทดลอง โครงงาน การสร้ างทฤษฎี/
การอธิบาย และโครงงานการประดิษฐ์ /สร้ างชิ้นงาน
ขั้นตอนการทําโครงงาน มีดงั นี้
ขั้นตอนที่ 1 การวางแผน
– สร้างแผนที่ความคิดและใช้เทคนิค 5WH ให้ครอบคลุมสาระของโครงงาน
ใครทําอะไร ทําไมต้ องทํา ทําที่ไหน ทําเมือ่ ไร ทําอะไร และทําอย่ างไร
– ถ้านําประเภทของโครงงานเป็ นเกณฑ์การพิจารณา จะใช้กระบวนการต่อไปนี้ได้กบั โครงงานในทุกกลุ่ม
สาระการเรี ยนรู ้
1. ถ้าเป็ นโครงงานการทดลอง การสร้ างทฤษฎี/การอธิบาย จะใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (การพัฒนา
สมองด้านซ้าย) กล่าวคือโครงงานการทดลองหรื อการสร้ างทฤษฎี/การอธิบาย มีข้ นั ตอนการทํา ดังนี้
1) ปั ญหา/ข้อสงสัย
2) การตั้งสมมุติฐาน/การคาดคะเนคําตอบ
3) การทดลอง
4) การรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์
5) การสรุ ปผล
2. ถ้าเป็ นโครงงานการสํ ารวจ จะใช้ ข้นั ตอนเหมือนข้ อ 1 เพียงแต่ไม่ต้องตั้งสมมุตฐิ าน/การคาดคะเน
คําตอบ
1) ปั ญหา/ข้อสงสัย
2) การสํารวจ
3) การรวบรวมข้อมูล/วิเคราะห์
4) การสรุ ปผล
598

3. ถ้าเป็ นโครงงานการประดิษฐ์ /สร้ างชิ้นงาน จะใช้กระบวนการเทคโนโลยี (การพัฒนาสมองด้านขวา)


มีข้ นั ตอนการทํา ดังนี้
1) ปั ญหาความต้องการ
2) แสวงหาวิธีแก้ปัญหา
3) เลือกวิธีการแก้ปัญหา
4) ออกแบบและปฏิบตั ิ
5) ประเมิน
6) ปรับปรุ ง/พัฒนา
เนื่องจากนักเรี ยนที่เรี ยนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน จะต้องเรี ยนกลุ่มสาระการเรี ยนรู้หลาย ๆ กลุ่ม
ไปพร้อมกัน ดังนั้นนักเรี ยนสามารถจะนําวิธีการหรื อกระบวนการของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้หลาย ๆ กลุ่มมา
ประยุกต์ใช้ในการทําโครงงานของนักเรี ยน ในกลุ่มสาระการเรี ยนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาได้
ในการเสนอหัวข้อการทําโครงงานของนักเรี ยน ถ้าครู ได้ร้ ูความต้ องการของนักเรียนจะช่ วยให้ ร้ ูว่า
โครงงานของนักเรียนเป็ นโครงงานประเภทใด ครู สามารถจะแนะนํานักเรี ยนได้วา่ การทําโครงงานของนักเรี ยน จะมี
ขั้นตอนอย่างไร และขั้นตอนดังกล่าวนี้ จะช่วยให้นกั เรี ยนทําโครงงานได้ทุก ๆ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้และทุก
ระดับชั้น
ขั้นตอนที่ 2 การปฏิบัติ เป็ นการทําโครงงานตามขั้นตอนที่วางแผนไว้
ขั้นตอนที่ 3 การเขียนรายงาน สําหรับนักเรี ยนในช่วงชั้นที่ 1 (ป. 1–ป. 3) ช่วงชั้นที่ 2 (ป. 4–ป. 6) การเขียน
รายงานอาจจะไม่ตอ้ งละเอียดมากนัก รายงานควรประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้
1. ชื่อโครงงาน
2. ชื่อผูท้ าํ โครงงาน
3. ชื่อที่ปรึ กษาโครงงาน
4. ที่มา
5. จุดมุ่งหมายการศึกษา
6. วิธีดาํ เนินการ นําขั้นตอนของโครงงานที่ทาํ มาเขียน เช่น ถ้าเป็ นโครงงานการประดิษฐ์/สร้างชิ้นงาน จะ
ใช้ข้ นั ตอนกระบวนการของกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยีมาใช้ในการดําเนินการ หรื อถ้าเป็ นโครงงาน
การทดลองจะใช้ข้ นั ตอนวิธีการหรื อกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ประกอบการดําเนินการ
7. ผลการศึกษาค้นคว้า
สําหรับการสรุ ปและข้อเสนอแนะ และเอกสารอ้างอิง ถ้าเห็นว่ายังไม่จาํ เป็ นก็อาจจะไม่มีกไ็ ด้ เพราะ
จุดมุ่งหมายของการทําโครงงานที่แท้ จริงคือการพัฒนานักเรียนแบบองค์ รวม (พัฒนาสมองด้านซ้ายและด้านขวา
หรื อพัฒนาพหุปัญญา)

ขั้นตอนที่ 4 การนําเสนอ เป็ นการเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้เสนอผลงานและได้รับฟังข้อเสนอแนะจาก


เพื่อน
599

แผนทีค่ วามคิด (Mind Mapping)

ในการพัฒนาทักษะการคิดพื้นฐานและทักษะการคิดขั้นสูง (การคิดสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ)


ให้กบั นักเรี ยน มีเทคนิควิธีการหลายวิธี แผนที่ความคิดเป็ นวิธีการหนึ่งที่โทนี่ บูซาน ได้พฒั นาขึ้นโดยบูรณาการ
การทํางานของสมองด้านซ้ายและด้านขวา นักเรี ยนที่จะสร้างแผนที่ความคิดได้จะต้องใช้สมองด้านซ้ายในการ
วิเคราะห์และใช้สมองด้านขวาในการสังเคราะห์ แผนที่ความคิดใช้ได้ต้ งั แต่อายุ 5 ขวบขึ้นไป การฝึ กให้นกั เรี ยนใช้
แผนที่ความคิดอย่างสมํ่าเสมอจะช่วยพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงของนักเรี ยน และการพัฒนาการคิดเชิงระบบ (การ
คิดเชิงองค์รวมหรื อภาพรวม) และถ้าฝึ กให้นกั เรี ยนใช้การระดมสมองควบคู่กบั การสร้างแผนที่ความคิด ยิง่ จะทําให้
นักเรี ยนได้พฒั นาทักษะการคิด
นักเรี ยนที่เรี ยนในชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 นั้น แผนที่ความคิดที่สร้างอาจจะใช้ภาพแทนคําหรื อข้อความ ครู
ควรจะฝึ กให้นกั เรี ยนใช้แผนที่ความคิดเป็ นเครื่ องมือการเรี ยนรู้และเครื่ องมือในการทํากิจกรรมต่าง ๆ เช่น การ
วางแผน การสรุ ป การบันทึก การจํา การนําเสนอผลงานการอภิปราย

ผังแสดงเหตุและผล

ผังแสดงเหตุและผล คือ ผังที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปั ญหาที่เกิดขึ้นจากสาเหตุต่าง ๆ


ผังแสดงเหตุและผล มีชื่อเรี ยกอีกหลายชื่อ เช่น ผังก้ างปลา ผังอิชิกาวา ผังต้ นไม้ หรื อผังลํานํ้า สร้าง
ขึ้นโดย ดร.อิชิกาวา แห่งมหาวิทยาลัยโตเกียว
ในการจัดการเรี ยนรู ้ตามบทเรี ยน ถ้าครู ตอ้ งการให้นกั เรี ยนค้ นหาสาเหตุ หรื อวิเคราะห์ สาเหตุทที่ าํ ให้
เกิดปัญหา ให้นกั เรี ยนวิเคราะห์โดยใช้ ผงั ก้ างปลา เช่น หาสาเหตุที่ทาํ ให้นกั เรี ยนเจ็บป่ วย หาสาเหตุที่เกิด
อุบตั ิเหตุขณะเดินทางมาโรงเรี ยน

สาเหตุ สาเหตุ

ปั ญหาที่
เกิดขึ้น
วิธีการสร้ างผังแสดงเหตุและผล
1. เขียนปั ญสาเหตุ
หาหรื อผลที่เกิดสาเหตุ
ขึ้นทางด้านซ้ายมือสาเหตุ
2. เขียนสาเหตุหลัก ๆ เติมลงบนเส้นกระดูกสันหลังทั้งบนและล่าง
600

3. ในก้างปลาใหญ่ที่เป็ นสาเหตุหลักของปัญหาให้ใส่ กา้ งรองลงไป แต่ละปลายก้างรองให้


ใส่ ขอ้ ความที่เป็ นสาเหตุรองของแต่ละสาเหตุหลัก
4. ในแต่ละก้างรองที่เป็ นสาเหตุรอง ถ้าต้องการหาสาเหตุยอ่ ย ให้เขียนก้างย่อยที่จะเป็ น
สาเหตุยอ่ ย ๆ ของสาเหตุรองนั้น
ผังก้างปลาสามารถใช้ควบคู่กบั แผนที่ความคิด เช่น เมื่อวิเคราะห์หาสาเหตุได้แล้ว และมีความ
ประสงค์ตอ้ งการหาทางแก้ปัญหาในแต่ละสาเหตุ ใช้แผนที่ความคิดหาภาพรวมวิธีแก้ปัญหา แล้วจึงเลือก
วิธีการแก้ปัญหาที่ดีที่สุดมาดําเนินการแก้ปัญหา

สาเหตุ สาเหตุ

ปั ญหาที่
เกิดขึ้น
สาเหตุ
สาเหตุ สาเหตุ

You might also like