You are on page 1of 192

คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม.

3 ๑

คู่มอื ครู แผนการจัดการเรียนรู้


กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ภูมศิ าสตร์ ม. 3
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551
ออกแบบการเรี ยนรู้โดยใช้ มาตรฐานการเรี ยนรู้ และตัวชี้วดั ชั้นปี เป็ นเป้ าหมาย
ออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ โดยเน้ นผู้เรี ยนเป็ นศูนย์ กลาง
ใช้ แนวคิด Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรี ยนรู้ ต่าง ๆ
อย่ างหลากหลาย
ออกแบบการเรี ยนรู้เพือ่ พัฒนาสมรรถนะสําคัญของนักเรี ยนในการสื่อสาร การคิด
การแก้ ปัญหา การใช้ ทกั ษะชีวิต และการใช้ เทคโนโลยี
แบ่ งแผนการจัดการเรี ยนรู้เป็ นรายชั่วโมง สะดวกในการใช้
มีองค์ ประกอบครบถ้วนตามแนวทางการจัดทําแผนการจัดการเรี ยนรู้ของสถานศึกษา
นําไปพัฒนาเป็ นผลงานทางวิชาการเพือ่ เลือ่ นวิทยฐานะได้
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 ๒

คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


ภูมศิ าสตร์ ม. 3
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
สงวนลิขสิ ทธิ์ตามกฎหมาย
ห้ ามละเมิด ทําซํา้ ดัดแปลง และเผยแพร่
ส่ วนใดส่ วนหนึ่ง เว้ นแต่ จะได้ รับอนุญาต
ผู้เรียบเรียง
สุเทพ จิตรชื่น กศ.บ., กศ.ม.
ชะอ้อน ศรี ทอง ศษ.บ.
จุลพงษ์ อุดมพรพิบูล วท.บ., วท.ม.
บรรณาธิการ
สุระ ดามาพงษ์ กศ.บ., กศ.ม.
ISBN 978–974–18–6388–4
ั นาพานิช จํากัด นายเริ งชัย จงพิพฒั นสุ ข กรรมการผูจ้ ดั การ
พิมพ์ ที่ บริษทั โรงพิมพ์ วฒ
สื่ อการเรียนรู้ระดับ ม. ต้ น–ม. ปลาย กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551
 หนังสื อเรียน (ศธ. อนุญาต)  แบบฝึ กทักษะ  คู่มือการสอน  แผนฯ (CD)
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้ น
หนังสื อเรี ยน  แบบฝึ กทักษะ  แผนฯ (CD) พระพุทธศาสนา ม. 1–3 ………………………………………….... … รศ. ดร.จรัส พยัคฆราชศักดิ์ และคณะ
หนังสื อเรี ยน  แบบฝึ กทักษะ  แผนฯ (CD) หน้ าที่พลเมืองฯ ม. 1–3 ………………………………….……….………….…. รศ.ธวัช ทันโตภาส และคณะ
หนังสื อเรี ยน  แบบฝึ กทักษะ  แผนฯ (CD) เศรษฐศาสตร์ ม. 1–3 …………………………………….…………………..… ดร.ขวัญนภา สุขคร และคณะ
หนังสื อเรี ยน  แบบฝึ กทักษะ  แผนฯ (CD) ประวัติศาสตร์ ม. 1–3 …..………………....................................................… รศ. ดร.ไพฑูรย์ มีกศุ ล และคณะ
หนังสื อเรี ยน  แบบฝึ กทักษะ  แผนฯ (CD) ภูมศิ าสตร์ ม. 1–3 …..………..…………………………….………………. ..… ผศ.สมมต สมบูรณ์ และคณะ
หนังสื อเรี ยน สั งคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ม. 1–3 …..……….……………………………………..………….…….. ..…รศ.ธวัช ทันโตภาส และคณะ
หนังสื อเรี ยน รายวิชาเพิ่มเติม  แผนฯ (CD) กฎหมายน่ ารู้ ม. 1–3 …..………..…………………………………….…….. ..…ปรางค์สุวรรณ ศักดิ์โสภณกุล
หนังสื อเรี ยน รายวิชาเพิ่มเติม  แผนฯ (CD) เศรษฐกิจพอเพียง ม. 1–3 …..………..…………………….………..……….…….. ..…ดร.พิษณุ และกุสุมาวดี
หนังสื อเรี ยน รายวิชาเพิ่มเติม  แผนฯ (CD) โลกศึกษา ม. 1–3 …..………..…………………………….……….…….. ..…รศ. ดร.ไพฑูรย์ มีกศุ ล และคณะ
หนังสื อเรี ยน รายวิชาเพิ่มเติม  แบบฝึ กทักษะ  แผนฯ (CD) อาเซียนศึกษา ม. 1–3 …………………….…………..…… ดร.พิษณุ เพชรพัชรกุล และคณะ
หนังสื อเรี ยน รายวิชาเพิ่มเติม  แผนฯ (CD) หน้ าที่พลเมือง 1–6 ม. 1–3 …………………….…………………………..…… รศ.ธวัช ทันโตภาส และคณะ
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หนังสื อเรี ยน  แบบฝึ กทักษะ  แผนฯ (CD) พระพุทธศาสนา 1 ม. 4–6 ……….......................................................... รศ. ดร.จรัส พยัคฆราชศักดิ์ และคณะ
หนังสื อเรี ยน  แบบฝึ กทักษะ  แผนฯ (CD) พระพุทธศาสนา 2 ม. 4–6 …………...................................................... รศ. ดร.จรัส พยัคฆราชศักดิ์ และคณะ
หนังสื อเรี ยน  แบบฝึ กทักษะ  แผนฯ (CD) พระพุทธศาสนา 3 ม. 4–6 …………....................................................... รศ. ดร.จรัส พยัคฆราชศักดิ์ และคณะ
หนังสื อเรี ยน พระพุทธศาสนา ม. 4–6 …………............................................................................................................ ผศ. ดร.ธี ระพงษ์ มีไธสง และคณะ
หนังสื อเรี ยน  แบบฝึ กทักษะ  แผนฯ (CD) หน้ าที่พลเมืองฯ ม. 4–6 เล่ม 1 .…………………………………………...….…. รศ.ธวัช ทันโตภาส และคณะ
หนังสื อเรี ยน  แบบฝึ กทักษะ  แผนฯ (CD) หน้ าที่พลเมืองฯ ม. 4–6 เล่ม 2 ………………………………….…………… … รศ.ธวัช ทันโตภาส และคณะ
หนังสื อเรี ยน หน้ าที่พลเมืองฯ ม. 4–6 …………………………………………….......………………………….……………… รศ.ธวัช ทันโตภาส และคณะ
หนังสื อเรี ยน  แบบฝึ กทักษะ  แผนฯ (CD) เศรษฐศาสตร์ ม. 4–6 …………………………………………….….………… ดร.ขวัญนภา สุขคร และคณะ
หนังสื อเรี ยน  แบบฝึ กทักษะ  แผนฯ (CD) ประวัติศาสตร์ ไทย ม. 4–6 ………………………………………….……...… รศ. ดร.ไพฑูรย์ มีกศุ ล และคณะ
หนังสื อเรี ยน  แบบฝึ กทักษะ  แผนฯ (CD) ประวัติศาสตร์ สากล ม. 4–6 ………….……………………………….……..… รศ. ดร.ไพฑูรย์ มีกศุ ล และคณะ
หนังสื อเรี ยน  แบบฝึ กทักษะ  แผนฯ (CD) ภูมศิ าสตร์ ม. 4–6 ……………………………………………………...……..… ผศ.สมมต สมบูรณ์ และคณะ
หนังสื อเรี ยน รายวิชาเพิ่มเติม  แผนฯ (CD) กฎหมายที่ประชาชนควรรู้ ม. 4–6 …..………..………..……………..…….. ..…ปรางค์สุวรรณ ศักดิ์โสภณกุล
หนังสื อเรี ยน รายวิชาเพิ่มเติม  แผนฯ (CD) เศรษฐกิจพอเพียง ม. 4–6 …..………..……………………………..….…….…….. ..…ดร.พิษณุ และกุสุมาวดี
หนังสื อเรี ยน รายวิชาเพิ่มเติม  แผนฯ (CD) โลกศึกษา ม. 4–6 …..………..…………………………………….……... ..…รศ. ดร.ไพฑูรย์ มีกศุ ล และคณะ
หนังสื อเรี ยน รายวิชาเพิ่มเติม  แบบฝึ กทักษะ  แผนฯ (CD) อาเซียนศึกษา ม. 4–6 …..………..………...……………… ดร.พิษณุ เพชรพัชรกุล และคณะ
หนังสื อเรี ยน รายวิชาเพิ่มเติม  แผนฯ (CD) หน้ าที่พลเมือง 1–4 ม. 4–6 …………………….…………………………..…… รศ.ธวัช ทันโตภาส และคณะ
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 ๓

คํานํา
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ ภูมศิ าสตร์ ม. 3 เล่มนี้เป็ นสื่ อการเรี ยนรู ้ที่จดั ทําขึ้นเพื่อใช้เป็ น
แนวทางในการจัดการเรี ยนรู้โดยยึดหลักการออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Backward Design ที่
เน้ นผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง (Child-centered) ตามหลักการเน้ นผู้เรียนเป็ นสํ าคัญ ให้นกั เรี ยนมีส่วนร่ วมใน
กิจกรรมและกระบวนการเรี ยนรู้ สามารถสร้างองค์ความรู้ได้ดว้ ยตนเอง ทั้งเป็ นรายบุคคลและรายกลุ่ม
บทบาทของครู มีหน้าที่เอื้ออํานวยความสะดวกให้นกั เรี ยนประสบผลสําเร็ จ โดยสร้างสถานการณ์การ
เรี ยนรู้ท้ งั ในห้องเรี ยนและนอกห้องเรี ยน ทําให้นกั เรี ยนสามารถเชื่อมโยงความรู ้ในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
อื่น ๆ ได้ในเชิงบูรณาการด้วยวิธีการที่หลากหลาย เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุ ป
ความรู ้ดว้ ยตนเอง ทําให้นกั เรี ยนได้รับการพัฒนาทั้งด้านความรู ้ ด้านทักษะ/กระบวนการ และด้าน
คุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมที่ดี นําไปสู่การอยูร่ ่ วมกันในสังคมอย่างสันติสุข
การจัดทําคู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 เล่มนี้ได้จดั ทําตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งครอบคลุมทุกสาระภูมิศาสตร์ ภายในเล่มได้นาํ เสนอแผนการ
จัดการเรี ยนรู ้เป็ นรายชัว่ โมงตามหน่วยการเรี ยนรู้ เพื่อให้ครู นาํ ไปใช้ในการจัดการเรี ยนรู ้ได้สะดวกยิง่ ขึ้น
นอกจากนี้แต่ละหน่วยการเรี ยนรู ้ยงั มีการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ท้ งั 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้ ด้าน
คุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม และด้านทักษะ/กระบวนการ ทําให้ทราบผลการเรี ยนรู้แต่ละหน่วยการ
เรี ยนรู้ของนักเรี ยนได้ทนั ที
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้นาํ เสนอเนื้อหาแบ่งเป็ น 3 ตอน คือ
ตอนที่ 1 คําชี้แจงการจัดแผนการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วยแนวทางการใช้แผนการจัดการ
เรี ยนรู้ สัญลักษณ์ลกั ษณะกิจกรรมการเรี ยนรู ้ การออกแบบการเรี ยนรู้ตามแนวคิด Backward Design
เทคนิคและวิธีการจัดการเรี ยนรู้–การวัดและประเมินผล ภูมิศาสตร์ ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรี ยนรู ้
และตัวชี้วดั ชั้นปี กับสาระการเรี ยนรู ้ในหน่วยการเรี ยนรู้ คําอธิ บายรายวิชาพื้นฐาน โครงสร้างรายวิชา
พื้นฐาน และโครงสร้างเวลาเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3
ตอนที่ 2 แผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง ได้เสนอแนะแนวทางการจัดการเรี ยนรู ้แต่ละหน่วยการ
เรี ยนรู้ในหนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน แบ่งเป็ นแผนย่อยรายชัว่ โมง ซึ่งแผนการจัดการเรี ยนรู ้แต่ละแผนมี
องค์ประกอบครบถ้วนตามแนวทางการจัดทําแผนการจัดการเรี ยนรู ้ของสถานศึกษา
ตอนที่ 3 เอกสาร/ความรู้เสริมสํ าหรับครู ประกอบด้วยแบบทดสอบต่าง ๆ และความรู้เสริ มสําหรับ
ครู ซึ่งบันทึกลงในแผ่นซีดี (CD) เพื่ออํานวยความสะดวกให้ครู ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ ภูมศิ าสตร์ ม. 3 เล่มนี้ได้ออกแบบการเรี ยนรู ้ดว้ ยเทคนิคและวิธีการ
สอนอย่างหลากหลาย หวังว่าจะเป็ นประโยชน์ต่อการนําไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรี ยนรู้ให้เหมาะสม
กับสภาพแวดล้อมของนักเรี ยนต่อไป

คณะผู้จดั ทํา
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 ๔

สารบัญ
ตอนที่ 1 คําชี้แจงการจัดแผนการจัดการเรียนรู้ ...........................................................................................1
1. แนวทางการใช้แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ..........................................................................................2
2. สัญลักษณ์ลกั ษณะกิจกรรมการเรี ยนรู้ ..........................................................................................5
3. การออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ตามแนวคิด Backward Design .....................................................6
4. เทคนิคและวิธีการจัดการเรี ยนรู ้–การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ ...........................................17
5. ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรี ยนรู้และตัวชี้วดั ชั้นปี กับสาระการเรี ยนรู ้ในหน่วยการเรี ยนรู้ ....19
6. คําอธิ บายรายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ..................................................................................20
7. โครงสร้างรายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 .................................................................................21
8. โครงสร้างเวลาเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ................................................................22

ตอนที่ 2 แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่ วยการเรียนรู้ .................................................................................27


แผนปฐมนิเทศ ปฐมนิเทศและข้อตกลงในการเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 1 ....................28
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 เครื่องมือทางภูมศิ าสตร์ ...........................................................................................33
ผังมโนทัศน์เป้ าหมายการเรี ยนรู ้และขอบข่ายภาระงาน/ชิ้นงาน ....................................................33
ผังการออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้ หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 1 แผนที่และเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์.........34
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ ........................................................................37

หน่ วยการเรียนรู้ที่ 2 ทวีปอเมริกาเหนือ ....................................................................................................42


ผังมโนทัศน์เป้ าหมายการเรี ยนรู ้และขอบข่ายภาระงาน/ชิ้นงาน ....................................................42
ผังการออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้ หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 2 ทวีปอเมริ กาเหนือ.....................................43
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาเหนือ .........................................46
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ประชากรของทวีปอเมริ กาเหนือ ..........................................................52
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 ลักษณะเศรษฐกิจของทวีปอเมริ กาเหนือ …..........................................56
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การคมนาคมขนส่งของทวีปอเมริ กาเหนือ ….......................................60
การทดสอบกลางภาค .....................................................................................................................63

หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 ทวีปอเมริกาใต้ ..........................................................................................................64


ผังมโนทัศน์เป้ าหมายการเรี ยนรู ้และขอบข่ายภาระงาน/ชิ้นงาน …................................................64
ผังการออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้ หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 3 ทวีปอเมริ กาใต้..........................................65
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาใต้ ..............................................68
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 ประชากรของทวีปอเมริ กาใต้ ...............................................................74
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 ลักษณะเศรษฐกิจของทวีปอเมริ กาใต้ …...............................................78
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 การคมนาคมขนส่งของทวีปอเมริ กาใต้ …............................................82
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 ๕

หน่ วยการเรียนรู้ที่ 4 สถานการณ์ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือ


และอเมริกาใต้ ..........................................................................................................86
ผังมโนทัศน์เป้ าหมายการเรี ยนรู ้และขอบข่ายภาระงาน/ชิ้นงาน ....................................................86
ผังการออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้ หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 4 สถานการณ์ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือ
และอเมริ กาใต้ ..........................................87
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 ปัญหาสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ .....................92
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 สิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ .........96
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 ผลจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมและแนวทางการอนุรักษ์
สิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ ..............................100
การทดสอบปลายภาค ..................................................................................................................104

ตอนที่ 3 เอกสาร/ความรู้เสริมสํ าหรับครู .................................................................................................105


ตอนที่ 3.1 มาตรฐานการเรี ยนรู ้ ตัวชี้วดั ชั้นปี และสาระการเรี ยนรู ้ ...............................................106
ตอนที่ 3.2 โครงงานและแฟ้ มสะสมงาน ......................................................................................108
ตอนที่ 3.3 ผังการออกแบบการจัดการเรี ยนรู้และรู ปแบบแผนการจัดการเรี ยนรู ้รายชัว่ โมง ........113
ตอนที่ 3.4 แบบทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน ประจําหน่วยการเรี ยนรู ้ ....................................115
ตอนที่ 3.5 แบบทดสอบกลางภาค ................................................................................................131
ตอนที่ 3.6 แบบทดสอบปลายภาค ...............................................................................................141
ตอนที่ 3.7 ใบงาน แบบบันทึก และแบบประเมิน ........................................................................151
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 1

ตอนที่ 1
คําชี้แจงการจัดแผนการจัดการเรียนรู้
สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 2

1. แนวทางการใช้ แผนการจัดการเรียนรู้
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ ภูมศิ าสตร์ ม. 3 เล่มนี้จดั ทําขึ้นเพื่อเป็ นแนวทางให้ครู ใช้
ประกอบการจัดการเรี ยนรู้ภมู ิศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ซึ่งการแบ่งหน่วยการเรี ยนรู้สาํ หรับจัดทําแผนการจัดการเรี ยนรู ้รายชัว่ โมงในคู่มือครู
แผนการจัดการเรี ยนรู ้เล่มนี้แบ่งเนื้อหาเป็ น 4 หน่วย สามารถใช้ควบคู่กบั หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน
ภูมิศาสตร์ ม. 3 และแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ประกอบด้วยหน่วยการเรี ยนรู ้ดงั นี้
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 2 ทวีปอเมริ กาเหนือ
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 ทวีปอเมริ กาใต้
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 4 สถานการณ์ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือ
และอเมริ กาใต้
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้น้ ีได้นาํ เสนอรายละเอียดไว้ครบถ้วนตามแนวทางการจัดทําแผนการ
จัดการเรี ยนรู ้ นอกจากนี้ยงั ได้ออกแบบกิจกรรมการเรี ยนการสอนให้นกั เรี ยนได้พฒั นาองค์ความรู้
สมรรถนะสําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้อย่างครบถ้วนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ครู ควรศึกษาคู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้น้ ีให้ละเอียดเพื่อปรับใช้ให้
สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม สถานการณ์ และสภาพของนักเรี ยน
ในแต่ละหน่วยการเรี ยนรู้จะแบ่งแผนการจัดการเรี ยนรู ้ออกเป็ นรายชัว่ โมง ซึ่งมีจาํ นวนมากน้อย ไม่
เท่ากัน ขึ้นอยูก่ บั ความยาวของเนื้อหาสาระ และในแต่ละหน่วยการเรี ยนรู ้มีองค์ประกอบดังนี้
1. ผังมโนทัศน์ เป้าหมายการเรียนรู้และขอบข่ ายภาระงาน/ชิ้นงาน แสดงขอบข่ายเนื้อหาการจัดการ
เรี ยนรู้ที่ครอบคลุมความรู้ คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม ทักษะ/กระบวนการ และภาระงาน/ชิ้นงาน
2. ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ตามแนวคิด Backward Design (Backward Design Template)
เป็ นกรอบแนวคิดในการจัดการเรี ยนรู ้ของแต่ละหน่วยการเรี ยนรู ้ แบ่งเป็ น 3 ขั้น ได้แก่
ขั้นที่ 1 ผลลัพธ์ปลายทางที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรี ยนรู้ซ่ ึงเป็ นหลักฐานที่แสดงว่านักเรี ยนมีผลการ
เรี ยนรู้ตามที่กาํ หนดไว้อย่างแท้จริ ง
ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรี ยนรู้ จะระบุวา่ ในหน่วยการเรี ยนรู ้น้ ีแบ่งเป็ นแผนการจัดการเรี ยนรู้กี่
แผน และแต่ละแผนใช้เวลาในการจัดกิจกรรมกี่ชวั่ โมง
3. แผนการจัดการเรียนรู้ เป็ นแผนการจัดการเรี ยนรู้ตามกรอบแนวคิดการออกแบบการจัดการ
เรี ยนรู้ตามแนวคิด Backward Design ประกอบด้วย
3.1 ชื่อแผนการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วยลําดับที่ของแผน ชื่อแผน และเวลาเรี ยน เช่น แผน
การจัดการเรี ยนรู ้ที่ 1 เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ เวลา 31 ชัว่ โมง
3.2 สาระสํ าคัญ เป็ นความคิดรวบยอดของเนื้อหาที่นาํ มาจัดการเรี ยนรู ้ในแต่ละแผนการจัดการ
เรี ยนรู้
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 3

3.3 ตัวชี้วดั ชั้นปี เป็ นตัวชี้วดั ที่ใช้ตรวจสอบนักเรี ยนหลังจากเรี ยนจบเนื้อหาที่นาํ เสนอในแต่ละ


แผนการจัดการเรี ยนรู ้น้ นั ๆ ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานการเรี ยนรู ้ของหลักสูตร
3.4 จุดประสงค์ การเรียนรู้ เป็ นส่วนที่บอกจุดมุ่งหมายที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นแก่นกั เรี ยนภาย
หลังจากการเรี ยนจบในแต่ละแผน ทั้งในด้านความรู ้ (K) ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม (A) ด้าน
ทักษะ/กระบวนการ (P) ซึ่งสอดคล้องสัมพันธ์กบั ตัวชี้วดั ชั้นปี และเนื้อหาในแผนการจัดการเรี ยนรู้น้ นั ๆ
3.5 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็ นการตรวจสอบผลการจัดการเรี ยนรู้วา่ หลังจากจัดการ
เรี ยนรู้ในแต่ละแผนการจัดการเรี ยนรู้แล้ว นักเรี ยนมีพฒั นาการ มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน ตามเป้ าหมายที่
คาดหวังไว้หรื อไม่ และมีสิ่งที่จะต้องได้รับการพัฒนาปรับปรุ งส่งเสริ มในด้านใดบ้าง ดังนั้น ในแต่ละ
แผนการจัดการเรี ยนรู ้จึงได้ออกแบบวิธีการและเครื่ องมือในการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ดา้ นต่าง ๆ
ของนักเรี ยนไว้อย่างหลากหลาย เช่น การทําแบบทดสอบ การตอบคําถามสั้น ๆ การตรวจผลงาน การ
ประเมินพฤติกรรมทั้งที่เป็ นรายบุคคลและเป็ นกลุ่ม โดยเน้นการปฏิบตั ิให้สอดคล้องและเหมาะสมกับ
ตัวชี้วดั และมาตรฐานการเรี ยนรู ้
วิธีการและเครื่ องมือในการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้เหล่านี้ครู สามารถนําไปใช้ประเมิน
นักเรี ยนได้ ทั้งในระหว่างการจัดการเรี ยนรู้และการทํากิจกรรมต่าง ๆ ตลอดจนการนําความรู ้ไปใช้ใน
ชีวิตประจําวัน
3.6 สาระการเรียนรู้ เป็ นหัวข้อย่อยที่นาํ มาจัดการเรี ยนรู ้ในแต่ละแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ซึ่ง
สอดคล้องกับสาระการเรี ยนรู ้แกนกลาง
3.7 แนวทางบูรณาการ เป็ นการเสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ในเรื่ องที่เรี ยนรู้
ของแต่ละแผนให้เชื่อมโยงสัมพันธ์กบั กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น ๆ ได้แก่ ภาษาไทย คณิ ตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ สุ ขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษาต่างประเทศ เพื่อให้
การเรี ยนรู้สอดคล้องและครอบคลุมสถานการณ์จริ ง
3.8 กระบวนการจัดการเรียนรู้ เป็ นการเสนอแนวทางการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้เนื้อหาในแต่ละ
เรื่ อง โดยใช้แนวคิดและทฤษฎีการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ตามความเหมาะสม ทั้งนี้เพื่อให้ครู นาํ ไปใช้ประโยชน์ใน
การวางแผนการจัดการเรี ยนรู้ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ ซึ่งกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ประกอบด้วย 5 ขั้น
ได้แก่
ขั้นที่ 1 นําเข้าสู่บทเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรี ยนรู ้
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนผูเ้ รี ยน
ขั้นที่ 4 นําไปใช้
ขั้นที่ 5 สรุ ป
3.9 กิจกรรมเสนอแนะ เป็ นกิจกรรมเสนอแนะสําหรับให้นกั เรี ยนได้พฒั นาเพิ่มเติมในด้าน
ต่าง ๆ นอกเหนือจากที่ได้จดั การเรี ยนรู้มาแล้วในชัว่ โมงเรี ยน กิจกรรมเสนอแนะมี 2 ลักษณะ คือ กิจกรรม
สําหรับผูท้ ี่มีความสามารถพิเศษและต้องการศึกษาค้นคว้าในเนื้อหานั้น ๆ ให้ลึกซึ้งกว้างขวางยิง่ ขึ้น และ
กิจกรรมสําหรับการเรี ยนรู้ให้ครบตามเป้ าหมาย ซึ่งมีลกั ษณะเป็ นการซ่อมเสริ ม
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 4

3.10 สื่ อ/แหล่ งการเรียนรู้ เป็ นรายชื่อสื่ อการเรี ยนรู้ทุกประเภทที่ใช้ในการจัดการเรี ยนรู้ ซึ่งมีท้ งั
สื่ อธรรมชาติ สื่ อสิ่ งพิมพ์ สื่ อเทคโนโลยี และสื่ อบุคคล เช่น หนังสื อ เอกสารความรู ้ รู ปภาพ เครื อข่าย
อินเทอร์เน็ต วีดิทศั น์ ปราชญ์ชาวบ้าน
3.11 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ เป็ นส่วนที่ให้ครู บนั ทึกผลการจัดการเรี ยนรู ้วา่ ประสบ
ความสําเร็ จหรื อไม่ มีปัญหาหรื ออุปสรรคอะไรเกิดขึ้นบ้าง ได้แก้ไขปั ญหาและอุปสรรคนั้นอย่างไร สิ่ งที่
ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผนมีอะไรบ้าง และข้อเสนอแนะสําหรับการปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู ้ครั้งต่อไป
นอกจากนี้ยงั อํานวยความสะดวกให้ครู โดยจัดทําเอกสารและความรู ้เสริ มสําหรับครู บนั ทึกลงใน
แผ่นซีดี (CD) ประกอบด้วย
1. มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วดั ชั้นปี และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สงั คม
ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ (ภูมิศาสตร์ ม. 3)
2. โครงงาน (Project Work) และแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio)
3. ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้และรูปแบบแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง ซึ่งออกแบบตาม
แนวคิด Backward Design
4. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนประจําหน่ วยการเรียนรู้ เป็ นแบบทดสอบเพื่อใช้วดั และ
ประเมินผลนักเรี ยนก่อนการจัดการเรี ยนรู้และหลังการจัดการเรี ยนรู้
5. แบบทดสอบกลางภาค เป็ นแบบทดสอบเพื่อใช้วดั และประเมินผลการเรี ยนรู้กลางภาค 3 ด้าน
ได้แก่
5.1 ด้านความรู้ มีแบบทดสอบทั้งที่เป็ นแบบปรนัยและแบบอัตนัย
5.2 ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม เป็ นตารางการประเมิน
5.3 ด้านทักษะ/กระบวนการ เป็ นตารางการประเมิน
6. แบบทดสอบปลายภาค เป็ นแบบทดสอบเพื่อใช้วดั และประเมินผลการเรี ยนรู ้ปลายภาค 3 ด้าน
ได้แก่
6.1 ด้านความรู้ มีแบบทดสอบทั้งที่เป็ นแบบปรนัยและแบบอัตนัย
6.2 ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม เป็ นตารางการประเมิน
6.3 ด้านทักษะ/กระบวนการ เป็ นตารางการประเมิน
7. ใบความรู้ ใบงาน แบบบันทึก และแบบประเมิน ครู ควรศึกษาแผนการจัดการเรี ยนรู ้เพื่อ
เตรี ยมการสอนอย่างมีประสิ ทธิภาพ จัดกิจกรรมให้นกั เรี ยนได้พฒั นาครบทุกสมรรถนะสําคัญที่กาํ หนดไว้
ในหลักสูตร กล่าวคือ สมรรถนะในการสื่ อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทกั ษะชีวิต และการใช้
เทคโนโลยี รวมถึงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร ได้แก่ รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ ซื่อสัตย์สุจริ ต มี
วินยั ใฝ่ เรี ยนรู้ อยูอ่ ย่างพอเพียงมุ่งมัน่ ในการทํางาน รักความเป็ นไทย และมีจิตสาธารณะ และกิจกรรม
เสนอแนะเพื่อการเรี ยนรู ้เพิ่มเติมให้เต็มตามศักยภาพของนักเรี ยนแต่ละคน ซึ่งได้กาํ หนดไว้ในแผนการ
จัดการเรี ยนรู ้น้ ี แล้ว
นอกจากนี้ ครู สามารถปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู ้ให้สอดคล้องกับสภาพความพร้อมของ
นักเรี ยน และสถานการณ์เฉพาะหน้าได้ ซึ่งจะใช้เป็ นผลงานทางวิชาการเพื่อเลื่อนวิทยฐานะได้ แผนการ
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 5

จัดการเรี ยนรู ้น้ ี ได้อาํ นวยความสะดวกให้ครู โดยได้พิมพ์โครงสร้างแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ออกแบบการ


จัดการเรี ยนรู ้ตามแนวคิด Backward Design ให้ครู เพิ่มเติมเฉพาะส่วนที่ครู ปรับปรุ งเองไว้ดว้ ยแล้ว

2. สั ญลักษณ์ ลกั ษณะกิจกรรมการเรียนรู้


คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ ภูมศิ าสตร์ ม. 3 เล่มนี้สามารถใช้คู่กบั แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน
ภูมิศาสตร์ ม. 3 ซึ่งได้กาํ หนดสัญลักษณ์กาํ กับกิจกรรมการเรี ยนรู้ไว้ทุกกิจกรรมเพื่อช่วยให้ครู และนักเรี ยน
ทราบลักษณะของกิจกรรมนั้น ๆ เพื่อการจัดกิจกรรมให้บรรลุเป้ าหมาย สัญลักษณ์ลกั ษณะกิจกรรมการ
เรี ยนรู้มีดงั นี้

โครงงาน เป็ นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาการคิด การวางแผน และการแก้ปัญหา

การพัฒนากระบวนการคิด เป็ นกิจกรรมให้นกั เรี ยนทําเพื่อพัฒนากระบวนการคิดด้านต่าง ๆ

การประยุกต์ ใช้ ในชีวติ ประจําวัน เป็ นกิจกรรมให้นกั เรี ยนนําความรู ้และทักษะไปประยุกต์ใช้


ในชีวติ ประจําวันให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด

การทําประโยชน์ ให้ สังคม เป็ นกิจกรรมให้นกั เรี ยนปฏิบตั ิในการทําประโยชน์เพื่อสังคม เพื่อ


การอยูร่ ่ วมกันในสังคมอย่างมีความสุข

การปฏิบัตจิ ริง/ฝึ กทักษะ เป็ นกิจกรรมให้นกั เรี ยนได้ปฏิบตั ิจริ งหรื อฝึ กปฏิบตั ิเพื่อเกิดทักษะอัน
จะช่วยให้การเรี ยนรู ้เป็ นไปตามเป้ าหมายอย่างสมบูรณ์และติดตัวคงทน

การศึกษาค้ นคว้า/สื บค้ น เป็ นกิจกรรมให้นกั เรี ยนศึกษาค้นคว้าหรื อสื บค้น เพื่อสร้างองค์
ความรู้ดว้ ยตนเองจนเกิดเป็ นนิสยั

การสํ ารวจ เป็ นกิจกรรมให้นกั เรี ยนสํารวจ รวบรวมข้อมูลเพื่อนํามาศึกษาวิเคราะห์ หาเหตุ หา


ผล ฝึ กความเป็ นผูร้ อบคอบ

การสั งเกต เป็ นกิจกรรมให้นกั เรี ยนรู ้จกั สังเกตสิ่ งที่ตอ้ งการเรี ยนรู ้จนสร้างองค์ความรู้ได้อย่าง
เป็ นระบบและมีเหตุผล

ทักษะการพูด เป็ นกิจกรรมให้นกั เรี ยนได้พฒั นาทักษะการพูดประเภทต่าง ๆ

ทักษะการเขียน เป็ นกิจกรรมให้นกั เรี ยนได้พฒั นาทักษะการเขียนประเภทต่าง ๆ


คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 6

กิจกรรมสํ าหรับกลุ่มพิเศษ เป็ นกิจกรรมสําหรับให้นกั เรี ยนใช้พฒั นาการเรี ยนรู้เพิ่มเติมเพื่อการ


พัฒนาให้เต็มตามศักยภาพ

กิจกรรมสํ าหรับซ่ อมเสริม เป็ นกิจกรรมสําหรับให้นกั เรี ยนใช้เรี ยนซ่อมเสริ มเพื่อให้เกิดการ


เรี ยนรู ้ตามตัวชี้วดั

3. การออกแบบการจัดการเรียนรู้ ตามแนวคิด Backward Design


การจัดการเรี ยนรู ้หรื อการสอนเป็ นงานที่ครู ทุกคนต้องใช้กลวิธีต่าง ๆ มากมายเพื่อให้นกั เรี ยนสนใจ
ที่จะเรี ยนรู ้และเกิดผลตามที่ครู คาดหวัง การจัดการเรี ยนรู้จดั เป็ นศาสตร์ที่ตอ้ งใช้ความรู้ความสามารถ
ตลอดจนประสบการณ์อย่างมาก ครู บางคนอาจจะละเลยเรื่ องของการออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้หรื อการ
ออกแบบการสอน ซึ่งเป็ นงานที่ครู จะต้องทําก่อนการเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ทําอย่ างไร ทําไมจึงต้ องออกแบบการจัดการเรียนรู้
ครู ทุกคนผ่านการศึกษาและได้เรี ยนรู ้เกี่ยวกับการออกแบบการจัดการเรี ยนรู้มาแล้ว ในอดีตการ
ออกแบบการจัดการเรี ยนรู้จะเริ่ มต้นจากการกําหนดจุดประสงค์การเรี ยนรู้ การวางแผนการจัดการเรี ยนรู ้
การดําเนินการจัดการเรี ยนรู้ และการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ ปัจจุบนั การเรี ยนรู ้ได้มีการเปลี่ยนแปลง
ไปตามสภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เข้า
มามีบทบาทต่อการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน ซึ่งนักเรี ยนสามารถเรี ยนรู้ได้จากสื่ อและแหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ ที่มี
อยูร่ อบตัว ดังนั้นการออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้จึงเป็ นกระบวนการสําคัญที่ครู จาํ เป็ นต้องดําเนินการให้
เหมาะสมกับศักยภาพของนักเรี ยนแต่ละบุคคล
แกรนต์ วิกกินส์ (Grant Wiggins) และเจย์ แมกไท (Jay McTighe) นักการศึกษาชาวอเมริ กนั ได้
เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้ ซึ่งเรี ยกว่า Backward Design อันเป็ นการออกแบบ
การจัดการเรี ยนรู ้ที่ครู จะต้องกําหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยนก่อน โดยทั้งสองให้
ชื่อว่า ความเข้าใจที่คงทน (Enduring Understanding) เมื่อกําหนดความเข้าใจที่คงทนได้แล้ว ครู จะต้อง
บอกให้ได้วา่ ความเข้าใจที่คงทนของนักเรี ยนนี้เกิดจากอะไร นักเรี ยนจะต้องมีหรื อแสดงพฤติกรรม
อะไรบ้าง ครู มีหรื อใช้วิธีการวัดอะไรบ้างที่จะบอกว่านักเรี ยนมีหรื อแสดงพฤติกรรมเหล่านั้นแล้ว จากนั้น
ครู จึงนึกถึงวิธีการจัดการเรี ยนรู ้ที่จะทําให้นกั เรี ยนเกิดความเข้าใจที่คงทนต่อไป
แนวคิด Backward Design
Backward Design เป็ นการออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ที่ใช้ผลลัพธ์ปลายทางเป็ นหลัก ซึ่งผลลัพธ์
ปลายทางนี้จะเกิดขึ้นกับนักเรี ยนก็ต่อเมื่อจบหน่วยการเรี ยนรู ้ ทั้งนี้ครู จะต้องออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้
โดยใช้กรอบความคิดที่เป็ นเหตุเป็ นผล มีความสัมพันธ์กนั จากนั้นจึงจะลงมือเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้
ขยายรายละเอียดเพิ่มเติมให้มีคุณภาพและประสิ ทธิ ภาพต่อไป
กรอบความคิดหลักของการออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ตามแนวคิด Backward Design มีข้ นั ตอน
หลักที่สาํ คัญ 3 ขั้นตอน คือ
ขั้นที่ 1 กําหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 7

ขั้นที่ 2 กําหนดภาระงานและการประเมินผลการเรี ยนรู ้ซ่ ึงเป็ นหลักฐานที่แสดงว่านักเรี ยนมีผลการ


เรี ยนรู้ตามที่กาํ หนดไว้อย่างแท้จริ ง
ขั้นที่ 3 วางแผนการจัดการเรี ยนรู้
ขั้นที่ 1 กําหนดผลลัพธ์ ปลายทางที่ต้องการให้ เกิดขึน้ กับนักเรียน
ก่อนที่จะกําหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยนนั้น ครู ควรตอบคําถามสําคัญ
ต่อไปนี้
1. นักเรี ยนควรจะมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถทําสิ่ งใดได้บา้ ง
2. เนื้อหาสาระใดบ้างที่มีความสําคัญต่อการสร้างความเข้าใจของนักเรี ยน และความเข้าใจที่คงทน
(Enduring Understanding) ที่ครู ตอ้ งการจัดการเรี ยนรู ้ให้แก่นกั เรี ยนมีอะไรบ้าง
เมื่อจะตอบคําถามสําคัญดังกล่าวข้างต้น ให้ครู นึกถึงเป้ าหมายของการศึกษา มาตรฐานการเรี ยนรู ้
ด้านเนื้อหาระดับชาติที่ปรากฏอยูใ่ นหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 รวมทั้ง
มาตรฐานการเรี ยนรู ้ระดับเขตพื้นที่การศึกษาหรื อท้องถิ่น การทบทวนความคาดหวังของหลักสูตรแกน
กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เนื่องจากมาตรฐานแต่ละระดับจะมีความสัมพันธ์กบั เนื้อหาสาระต่าง ๆ ซึ่งมี
ความแตกต่างลดหลัน่ กันไป ด้วยเหตุน้ ีข้ นั ที่ 1 ของ Backward Design ครู จึงต้องจัดลําดับความสําคัญและ
เลือกผลลัพธ์ปลายทางของนักเรี ยน ซึ่งเป็ นผลการเรี ยนรู้ที่เกิดจากความเข้าใจที่คงทนต่อไป
ความเข้ าใจที่คงทนของนักเรียน
ความเข้าใจที่คงทนคืออะไร ความเข้าใจที่คงทนเป็ นความรู ้ที่ลึกซึ้ง ได้แก่ ความคิดรวบยอด
ความสัมพันธ์ และหลักการของเนื้อหาและวิชาที่นกั เรี ยนเรี ยนรู้ หรื อกล่าวอีกนัยหนึ่งเป็ นความรู้ที่อิง
เนื้อหา ความรู้น้ ีเกิดจากการสะสมข้อมูลต่าง ๆ ของนักเรี ยนและเป็ นองค์ความรู้ที่นกั เรี ยนสร้างขึ้นด้วย
ตนเอง
การเขียนความเข้ าใจที่คงทนในการออกแบบการจัดการเรียนรู้
ถ้าความเข้าใจที่คงทน หมายถึง สาระสําคัญของสิ่ งที่จะเรี ยนรู ้แล้ว ครู ควรจะรู ้วา่ สาระสําคัญ
หมายถึงอะไร คําว่า สาระสําคัญ มาจากคําว่า Concept ซึ่งนักการศึกษาของไทยแปลเป็ นภาษาไทยว่า
สาระสําคัญ ความคิดรวบยอด มโนทัศน์ มโนมติ และสังกัป ซึ่งการเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้นิยมใช้คาํ
ว่า สาระสําคัญ
สาระสําคัญเป็ นข้อความที่แสดงแก่นหรื อเป้ าหมายเกี่ยวกับเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง เพื่อให้ได้ขอ้ สรุ ปรวม
และข้อแตกต่างเกี่ยวกับเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง โดยอาจครอบคลุมข้อเท็จจริ ง กฎ ทฤษฎี ประเด็น และการสรุ ป
สาระสําคัญและข้อความที่มีลกั ษณะรวบยอดอย่างอื่น
ประเภทของสาระสํ าคัญ
1. ระดับกว้าง (Broad Concept)
2. ระดับการนําไปใช้ (Operative Concept หรื อ Functional Concept)
ตัวอย่ างสาระสําคัญระดับกว้ าง
 การเลือกใช้เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง
ตัวอย่ างสาระสําคัญระดับนําไปใช้
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 8

 การรู ้จกั ใช้แผนที่และเครื่ องมือในการค้นหาข้อมูลข่าวสารทางภูมิศาสตร์ จะทําให้ง่ายและเข้าใจ


วิชาภูมิศาสตร์มากขึ้น
แนวทางการเขียนสาระสํ าคัญ
1. ให้เขียนสาระสําคัญของทุกเรื่ อง โดยแยกเป็ นข้อ ๆ (จํานวนข้อของสาระสําคัญจะเท่ากับจํานวน
เรื่ อง)
2. การเขียนสาระสําคัญที่ดีควรเป็ นสาระสําคัญระดับการนําไปใช้
3. สาระสําคัญต้องครอบคลุมประเด็นสําคัญครบถ้วน เพราะหากขาดส่วนใดไปแล้วจะทําให้
นักเรี ยนรับสาระสําคัญที่ผิดไปทันที
4. การเขียนสาระสําคัญที่จะให้ครอบคลุมประเด็นสําคัญวิธีการหนึ่ง คือ การเขียนแผนผัง
สาระสําคัญ

ตัวอย่ างการเขียนแผนผังสาระสําคัญ
ใช้ศึกษาพื้นที่เพาะปลูก ประเมิน
ด้านป่ าไม้ ความเสี ยหายของพื้นที่เพาะปลูก
จากภัยธรรมชาติ

ประโยชน์ ของ ศึกษาโครงสร้างด้านธรณี วิทยา


ภาพจากดาวเทียม ด้านธรณี วทิ ยา
และธรณี สณ
ั ฐาน

วางแผนการจัดการทรัพยากรนํ้า
ด้านทรัพยากร และประเมินความเสี ยหายจากภัย
ธรรมชาติ

สาระสําคัญประโยชน์ ของแผนที่ : แผนที่มีประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ได้แก่ ด้านการท่องเที่ยว ด้าน


ธุรกิจ และด้านการทหาร
5. การเขียนสาระสําคัญเกี่ยวกับเรื่ องใดควรเขียนลักษณะเด่นที่มองเห็นได้หรื อนึกได้ออกมาเป็ น
ข้อ ๆ แล้วจําแนกลักษณะเหล่านั้นเป็ นลักษณะจําเพาะและลักษณะประกอบ
6. การเขียนข้อความที่เป็ นสาระสําคัญ ควรใช้ภาษาที่มีการขัดเกลาอย่างดี เลี่ยงคําที่มีความหมาย
กํากวมหรื อฟุ่ มเฟื อย
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 9

ตัวอย่ างการเขียนสาระสําคัญ เรื่ อง แมลง

แมลง ลักษณะจําเพาะ ลักษณะประกอบ


มีสี  
มี 6 ขา  
มีพิษ  
ร้องได้  
มีปีก  
ลําตัวเป็ นปล้อง  
มีหนวดคลําทาง 2 เส้น  
เป็ นอาหารได้  
ไม่มีกระดูกสันหลัง  

สาระสําคัญของแมลง: แมลงเป็ นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ลําตัวปล้อง มี 6 ขา มีหนวดคลําทาง 2


เส้น มีปีก ตัวมีสีต่างกัน บางชนิดร้องได้ บางชนิดมีพิษ และบางชนิดเป็ นอาหารได้
ขั้นที่ 2 กําหนดภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ ซึ่งเป็ นหลักฐานที่แสดงว่ านักเรียนมีผลการ
เรียนรู้ตามที่กาํ หนดไว้อย่างแท้ จริง
เมื่อครู กาํ หนดผลลัพธ์ปลายทางที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยนแล้ว ก่อนที่จะดําเนินการขั้นต่อไป
ขอให้ครู ตอบคําถามสําคัญ ต่อไปนี้
 นักเรี ยนมีพฤติกรรมหรื อแสดงออกในลักษณะใด จึงทําให้ครู ทราบว่า นักเรี ยนบรรลุผลลัพธ์
ปลายทางตามที่กาํ หนดไว้แล้ว
 ครู มีหลักฐานหรื อใช้วิธีการใดที่สามารถระบุได้วา่ นักเรี ยนมีพฤติกรรมหรื อแสดงออกตาม
ผลลัพธ์ปลายทางที่กาํ หนดไว้
การออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ตามแนวคิด Backward Design เน้นให้ครู รวบรวมหลักฐานการวัด
และประเมินผลการเรี ยนรู้ที่จาํ เป็ นและมีหลักฐานเพียงพอที่จะกล่าวได้วา่ การจัดการเรี ยนรู ้ทาํ ให้นกั เรี ยน
เกิดผลสัมฤทธิ์แล้วไม่ใช่เรี ยนแค่ให้จบตามหลักสูตรหรื อเรี ยนตามชุดของกิจกรรมการเรี ยนรู ้ท่ีครู กาํ หนด
ไว้เท่านั้น วิธีการของ Backward Design ต้องการกระตุน้ ให้ครู คิดล่วงหน้าว่า ครู ควรจะกําหนดและ
รวบรวมหลักฐานเชิงประจักษ์อะไรบ้างก่อนที่จะออกแบบหน่วยการเรี ยนรู ้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ หลักฐาน
ดังกล่าวควรจะเป็ นหลักฐานที่สามารถใช้เป็ นข้อมูลย้อนกลับ ที่มีประโยชน์สาํ หรับผูเ้ รี ยนและครู ได้เป็ น
อย่างดี นอกจากนี้ครู ควรใช้วิธีการวัดและประเมินแบบต่อเนื่องอย่างไม่เป็ นทางการและเป็ นทางการ
ตลอดระยะเวลาที่ครู จดั กิจกรรมการเรี ยนรู ้ให้แก่นกั เรี ยน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดที่ตอ้ งการให้ครู ทาํ การ
วัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ที่เรี ยกว่า สอนไปวัดผลไป
จึงกล่าวได้วา่ ขั้นนี้ครู ควรนึกถึงพฤติกรรมหรื อการแสดงออกของนักเรี ยน โดยพิจารณาจากผลงาน
หรื อชิ้นงานที่เป็ นหลักฐานเชิงประจักษ์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่านักเรี ยนเกิดผลลัพธ์ปลายทางตามเกณฑ์ที่
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 10

กําหนดไว้แล้ว และเกณฑ์ที่ใช้ประเมินควรเป็ นเกณฑ์คุณภาพในรู ปของมิติคุณภาพ (Rubrics) อย่างไรก็


ตาม ครู อาจจะมีหลักฐานหรื อใช้วิธีการอื่น ๆ เช่น การทดสอบก่อนและหลังเรี ยน การสัมภาษณ์ การศึกษา
ค้นคว้า การฝึ กปฏิบตั ิขณะเรี ยนรู้ประกอบด้วยก็ได้
หลังจากที่ครู ได้กาํ หนดผลลัพธ์ปลายทางที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยนแล้ว ครู ควรกําหนดภาระ
งานและวิธีการประเมินผลการเรี ยนรู้ ซึ่งเป็ นหลักฐานที่แสดงว่านักเรี ยนมีผลการเรี ยนรู้ตามผลลัพธ์
ปลายทางที่กาํ หนดไว้แล้ว
ภาระงาน หมายถึง งานหรื อกิจกรรมที่กาํ หนดให้นกั เรี ยนปฏิบตั ิ เพื่อให้บรรลุตามจุดประสงค์การ
เรี ยนรู้/ตัวชี้วดั ชั้นปี /มาตรฐานการเรี ยนรู้ที่กาํ หนดไว้ ลักษณะสําคัญของงานจะต้องเป็ นงานที่สอดคล้อง
กับชีวิตจริ งในชีวิตประจําวัน เป็ นเหตุการณ์จริ งมากกว่ากิจกรรมที่จาํ ลองขึ้นเพื่อใช้ในการทดสอบ ซึ่ง
เรี ยกว่า งานที่ปฏิบตั ิเป็ นงานที่มีความหมายต่อผูเ้ รี ยน (Meaningful Task) นอกจากนี้งานหรื อกิจกรรม
จะต้องมีขอบเขตที่ชดั เจน สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรี ยนรู้/ตัวชี้วดั ชั้นปี /มาตรฐานการเรี ยนรู ้ที่ตอ้ งการ
ให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยน
ทั้งนี้เมื่อได้ภาระงานครบถ้วนตามที่ตอ้ งการแล้ว ครู จะต้องนึกถึงวิธีการและเครื่ องมือที่จะใช้วดั
และประเมินผลการเรี ยนรู้ของนักเรี ยนซึ่งมีอยูม่ ากมายหลายประเภท ครู จะต้องเลือกให้เหมาะสมกับภาระ
งานที่นกั เรี ยนปฏิบตั ิ
ตัวอย่างภาระงานเรื่ อง เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ รวมทั้งการกําหนดวิธีการวัดและประเมินผลการ
เรี ยนรู้ของนักเรี ยนดังตาราง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 11

ตัวอย่าง ภาระงาน/ชิ้นงาน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เครื่องมือทางภูมศิ าสตร์


สาระที่ 5: ภูมศิ าสตร์
มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่ งซึ่งมีผลต่อกันและกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์
ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุ ป และใช้ขอ้ มูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิ ทธิภาพ

จุดประสงค์ การวัดและประเมินผล
สาระการเรียนรู้ ภาระงาน/ชิ้นงาน กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้
การเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
 ใช้เครื่ องมือ  เครื่ องมือทาง 1. ศึกษาค้นคว้าและ 1. ซักถาม 1. แบบซักถาม 1. เกณฑ์คุณภาพ ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ 1. อุปกรณ์เครื่ องเขียน
ทางภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์ อ่านข้อมูลจากแผน ความรู ้ 4 ระดับ บันทึกผล และ 2. สื่ ออิเล็กทรอนิกส์
และหนังสื อต่าง ๆ
ในการรวบรวม 1. แผนที่ ที่ รู ปถ่ายทาง 2. ตรวจผลงาน 2. แบบตรวจ 2. เกณฑ์คุณภาพ นําเสนอผลงานหน้า
จากห้องสมุด
วิเคราะห์และ 2. การรับรู ้จาก อากาศ และภาพ สอบผลงาน 4 ระดับ ชั้นเรี ยน 3. แบบบันทึกความรู ้
นําเสนอข้อมูล ระยะไกล จากดาวเทียม 3. สังเกตการ 3. แบบสังเกต 3. เกณฑ์คุณภาพ เรื่ อง เครื่ องมือทาง
เกี่ยวกับ 3. ระบบสารสนเทศ 2. ศึกษาค้นคว้า ทํางานกลุ่ม การทํางาน 4 ระดับ ภูมิศาสตร์
ลักษณะทาง ภูมิศาสตร์ เกี่ยวกับระบบ กลุ่ม 4. แบบฝึ กทักษะ
กายภาพและ 4. ระบบกําหนด สารสนเทศ รายวิชาพื้นฐาน
ภูมิศาสตร์ ม. 3
สังคมของทวีป ตําแหน่งบนพื้น ภูมิศาสตร์
5. หนังสื อเรี ยน รายวิชา
อเมริ กาเหนือ โลก 3. ศึกษาค้นคว้า พื้นฐาน ภูมิศาสตร์
และอเมริ กาใต้ เกี่ยวกับระบบ ม. 3
กําหนดตําแหน่ง 6. คู่มือการสอน
บนพื้นโลก ภูมิศาสตร์ ม. 3
7. สื่ อการเรี ยนรู ้
PowerPoint รายวิชา
พื้นฐาน ภูมิศาสตร์
ม. 3
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 12

ความเข้าใจที่คงทนจะเกิดขึ้นได้ นักเรี ยนจะต้องมีความสามารถ 6 ประการ ได้แก่


1. การอธิบาย ชี้แจง เป็ นความสามารถที่นกั เรี ยนแสดงออกโดยการอธิ บายหรื อชี้แจงในสิ่ งที่เรี ยนรู ้
ได้อย่างถูกต้อง สอดคล้อง มีเหตุมีผล และเป็ นระบบ
2. การแปลความและตีความ เป็ นความสามารถที่นกั เรี ยนแสดงออกโดยการแปลความและตีความ
ได้อย่างมีความหมาย ตรงประเด็น กระจ่างชัด และทะลุปรุ โปร่ ง
3. การประยุกต์ ดัดแปลง และนําไปใช้ เป็ นความสามารถที่นกั เรี ยนแสดงออกโดยการนําสิ่ งที่ได้
เรี ยนรู้ไปสู่การปฏิบตั ิได้อย่างมีประสิ ทธิผล มีประสิ ทธิภาพ และคล่องแคล่ว
4. การมีมุมมองที่หลากหลาย เป็ นความสามารถที่นกั เรี ยนแสดงออกโดยการมีมุมมองที่น่าเชื่อถือ
เป็ นไปได้ มีความลึกซึ้ง แจ่มชัด และแปลกใหม่
5. การให้ ความสํ าคัญและใส่ ใจในความรู้สึกของผู้อนื่ เป็ นความสามารถที่นกั เรี ยนแสดงออกโดย
การมีความละเอียดรอบคอบ เปิ ดเผย รับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น ระมัดระวังที่จะไม่ให้เกิดความกระทบ
กระเทือนต่อผูอ้ ื่น
6. การรู้จักตนเอง เป็ นความสามารถที่นกั เรี ยนแสดงออกโดยการมีความตระหนักรู ้ สามารถ
ประมวลผลข้อมูลจากแหล่งที่หลากหลาย ปรับตัวได้ รู ้จกั ใคร่ ครวญ และมีความเฉลียวฉลาด
นอกจากนี้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กาํ หนดสมรรถนะสําคัญ
ของนักเรี ยนหลังจากสําเร็ จการศึกษาตามหลักสูตรไว้ 5 ประการ ดังนี้
1. ความสามารถในการสื่ อสาร เป็ นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวฒั นธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู ้ความเข้าใจ ความรู ้สึก และทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์ อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด
ปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรื อไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจน
การเลือกใช้วิธีการสื่ อสารที่มีประสิ ทธิ ภาพ โดยคํานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
2. ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดอย่างเป็ นระบบ เพื่อนําไปสู่การสร้างองค์ความรู ้หรื อ
สารสนเทศเพื่อการตัดสิ นใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็ นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรม และข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์
และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ้ ประยุกต์ความรู ้มาใช้ในการป้ องกัน
และแก้ไขปัญหา และมีการตัดสิ นใจที่มีประสิ ทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคม
และสิ่ งแวดล้อม
4. ความสามารถในการใช้ ทักษะชีวติ เป็ นความสามารถในการนํากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ
ดําเนินชีวิตประจําวัน การเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง การเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่อง การทํางาน และการอยูร่ ่ วมกันใน
สังคม ด้วยการสร้างเสริ มความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง
เหมาะสม การปรับตัวให้ทนั กับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู ้จกั หลีกเลี่ยง
พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ซ่ ึงจะส่งผลกระทบต่อตนเองและผูอ้ ื่น
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 13

5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี เป็ นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีดา้ นต่าง ๆ มี


ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรี ยนรู ้ การสื่ อสาร การ
ทํางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม
นอกจากสมรรถนะสําคัญของนักเรี ยนหลังจากสําเร็ จการศึกษาตามหลักสูตรที่กล่าวแล้วข้างต้น
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กาํ หนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อให้
สามารถอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นในสังคมได้อย่างมีความสุ ขในฐานะเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
2. ซื่อสัตย์สุจริ ต
3. มีวินยั
4. ใฝ่ เรี ยนรู้
5. อยูอ่ ย่างพอเพียง
6. มุ่งมัน่ ในการทํางาน
7. รักความเป็ นไทย
8. มีจิตสาธารณะ
ดังนั้นการกําหนดภาระงานให้นกั เรี ยนปฏิบตั ิ รวมทั้งการเลือกวิธีการและเครื่ องมือประเมินผลการ
เรี ยนรู้น้ นั ครู ควรคํานึงถึงความสามารถของนักเรี ยน 6 ประการตามแนวคิด Backward Design สมรรถนะ
สําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรี ยนหลังจากสําเร็ จการศึกษาตามหลักสูตรที่ได้กล่าวไว้
ข้างต้น เพื่อให้ภาระงาน วิธีการ และเครื่ องมือวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้มีครอบคลุมสิ่ งที่สะท้อน
ผลลัพธ์ปลายทางที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยนอย่างแท้จริ ง
ทั้งนี้ภาระงาน วิธีการ เครื่ องวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้จะต้องมีความเที่ยงตรง ความเชื่อถือได้ มี
ประสิ ทธิภาพ ตรงกับสภาพจริ ง มีความยืดหยุน่ และให้ความสบายใจแก่นกั เรี ยนเป็ นสําคัญ
ขั้นที่ 3 วางแผนการจัดการเรียนรู้
เมื่อครู มีความรู้ความเข้าใจที่ชดั เจนเกี่ยวกับการกําหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นกับ
นักเรี ยน รวมทั้งกําหนดภาระงานและการประเมินผลการเรี ยนรู ้ซ่ ึงเป็ นหลักฐานที่แสดงว่านักเรี ยนเกิดการ
เรี ยนรู้ตามที่กาํ หนดไว้อย่างแท้จริ งแล้ว ขั้นต่อไปครู ควรนึกถึงกิจกรรมการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ที่จะจัดให้แก่
นักเรี ยน การที่ครู จะนึกถึงกิจกรรมต่าง ๆ ที่จะจัดให้นกั เรี ยนได้น้ นั ครู ควรตอบคําถามสําคัญ ต่อไปนี้
 ถ้าครู ตอ้ งการจะจัดการเรี ยนรู้ให้นกั เรี ยนเกิดความรู ้เกี่ยวกับข้อเท็จจริ ง ความคิดรวบยอด
หลักการ และทักษะกระบวนการต่าง ๆ ที่จาํ เป็ นสําหรับนักเรี ยน ซึ่งจะทําให้นกั เรี ยนเกิดผลลัพธ์ปลายทาง
ตามที่กาํ หนดไว้ รวมทั้งเกิดเป็ นความเข้าใจที่คงทนต่อไปนั้น ครู สามารถจะใช้วิธีการง่าย ๆ อะไรบ้าง
 กิจกรรมการเรี ยนรู้ที่จะช่วยเป็ นสื่ อนําให้นกั เรี ยนเกิดความรู ้และทักษะที่จาํ เป็ นมีอะไรบ้าง
 สื่ อและแหล่งการเรี ยนรู้ที่เหมาะสมและดีที่สุด ซึ่งจะทําให้นกั เรี ยนบรรลุตามมาตรฐานของ
หลักสูตรมีอะไรบ้าง
 กิจกรรมการเรี ยนรู้ต่าง ๆ ที่กาํ หนดไว้ควรจัดกิจกรรมใดก่อนและควรจัดกิจกรรมใดหลัง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 14

 กิจกรรมต่าง ๆ ออกแบบไว้เพื่อตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลของนักเรี ยนหรื อไม่


เพราะเหตุใด
การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้นกั เรี ยนเกิดผลลัพธ์ปลายทางตามแนวคิด Backward
Design นั้น วิกกินส์และแมกไทได้เสนอแนะให้ครู เขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้หลัก WHERETO
(ไปที่ไหน) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
W แทน กิจกรรมการเรี ยนรู้ที่จดั ให้น้ นั จะต้องช่วยให้นกั เรี ยนรู ้วา่ หน่วยการเรี ยนรู้น้ ีจะดําเนินไป
ในทิศทางใด (Where) และสิ่ งที่คาดหวังคืออะไร (What) มีอะไรบ้าง ช่วยให้ครู ทราบว่านักเรี ยนมีความรู ้
พื้นฐานและความสนใจอะไรบ้าง
H แทน กิจกรรมการเรี ยนรู้ควรดึงดูดความสนใจนักเรี ยนทุกคน (Hook) ทําให้นกั เรี ยนเกิดความ
สนใจในสิ่ งที่จะเรี ยนรู้ (Hold) และใช้สิ่งที่นกั เรี ยนสนใจเป็ นแนวทางในการจัดการเรี ยนรู ้
E แทน กิจกรรมการเรี ยนรู้ควรส่งเสริ มและจัดให้ (Equip) นักเรี ยนได้มีประสบการณ์ (Experience)
ในแนวคิดหลัก/ความคิดรวบยอด และสํารวจ รวมทั้งวินิจฉัย (Explore) ในประเด็นต่าง ๆ ที่น่าสนใจ
R แทน กิจกรรมการเรี ยนรู้ควรเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้คิดทบทวน (Rethink) ปรับ (Revise)
ความเข้าใจในความรู ้และงานที่ปฏิบตั ิ
E แทน กิจกรรมการเรี ยนรู้ควรเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้ประเมิน (Evaluate) ผลงานและสิ่ งที่
เกี่ยวข้องกับการเรี ยนรู้
T แทน กิจกรรมการเรี ยนรู้ควรออกแบบ (Tailored) สําหรับนักเรี ยนเป็ นรายบุคคลเพื่อให้
สอดคล้องกับความต้องการ ความสนใจ และความสามารถที่แตกต่างกันของนักเรี ยน
O แทน การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ให้เป็ นระบบ (Organized) ตามลําดับการเรี ยนรู้ของ
นักเรี ยน และกระตุน้ ให้นกั เรี ยนมีส่วนร่ วมในการสร้างองค์ความรู ้ต้ งั แต่เริ่ มแรกและตลอดไป ทั้งนี้เพื่อ
การเรี ยนรู้ที่มีประสิ ทธิผล
อย่างไรก็ตาม มีขอ้ สังเกตว่า การวางแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่มีการกําหนดวิธีการจัดการเรี ยนรู ้ การ
ลําดับบทเรี ยน รวมทั้งสื่ อและแหล่งการเรี ยนรู้ที่เฉพาะเจาะจงนั้นจะประสบผลสําเร็ จได้กต็ ่อเมื่อครู ได้มี
การกําหนดผลลัพธ์ปลายทาง หลักฐานและวิธีการวัดและประเมินผลที่แสดงว่านักเรี ยนมีผลการเรี ยนรู ้
ตามที่กาํ หนดไว้อย่างแท้จริ งแล้ว การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้เป็ นเพียงสื่ อที่จะนําไปสู่เป้ าหมายความสําเร็ จที่
ต้องการเท่านั้น ด้วยเหตุน้ ีถา้ ครู มีเป้ าหมายที่ชดั เจนก็จะช่วยทําให้การวางแผนการจัดการเรี ยนรู ้และการจัด
กิจกรรมการเรี ยนรู ้สามารถทําให้นกั เรี ยนเกิดผลสัมฤทธิ์ตามที่กาํ หนดไว้ได้
โดยสรุ ปจึงกล่าวได้วา่ ขั้นนี้เป็ นการค้นหาสื่ อการเรี ยนรู้ แหล่งการเรี ยนรู้ และกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่
สอดคล้องเหมาะสมกับนักเรี ยน กิจกรรมที่กาํ หนดขึ้นควรเป็ นกิจกรรมที่จะส่งเสริ มให้นกั เรี ยนสามารถ
สร้างและสรุ ปเป็ นความคิดรวบยอดและหลักการที่สาํ คัญของสาระที่เรี ยนรู้ ก่อให้เกิดความเข้าใจที่คงทน
รวมทั้งความรู้สึกและค่านิยมที่ดีไปพร้อม ๆ กับทักษะความชํานาญ
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 15

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Backward Design


หน่ วยการเรียนรู้ที่ _________________________

ขั้นที่ 1 ผลลัพธ์ ปลายทางที่ต้องการให้ เกิดขึน้ กับนักเรียน


ตัวชี้วดั ชั้นปี
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
ความเข้ าใจที่คงทนของนักเรียน คําถามสํ าคัญที่ทําให้ เกิดความเข้ าใจที่คงทน
นักเรียนจะเข้ าใจว่า…
1. ______________________________________ 1. ______________________________________
2. ______________________________________ 2. ______________________________________
ความรู้ของนักเรียนที่นําไปสู่ ความเข้ าใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นําไปสู่ ความ
นักเรียนจะรู้ว่า… เข้ าใจที่คงทน นักเรียนจะสามารถ...
1. ______________________________________ 1. ______________________________________
2._______________________________________ 2._______________________________________
3. ______________________________________ 3. ______________________________________
ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็ นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผลการเรียนรู้
ตามที่กาํ หนดไว้ อย่ างแท้ จริง
1. ภาระงานที่ผ้เู รียนต้ องปฏิบตั ิ
1.1 _____________________________________________________________________________
1.2 _____________________________________________________________________________
2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
2.1 วิธีการประเมินผลการเรี ยนรู้ 2.2 เครื่ องมือประเมินผลการเรี ยนรู ้
1) ________________________________ 1) ________________________________
2) ________________________________ 2) ________________________________
3. สิ่ งที่ม่งุ ประเมิน
3.1 _____________________________________________________________________________
3.2 _____________________________________________________________________________
3.3 _____________________________________________________________________________
ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 16

รู ปแบบแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง
รู ปแบบแผนการจัดการเรี ยนรู ้รายชัว่ โมงจากการออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้ตามแนวคิดBackward
Design เขียนโดยใช้รูปแบบของแผนการจัดการเรี ยนรู ้แบบเรี ยงหัวข้อ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
ชื่อแผน... (ระบุชื่อและลําดับที่ของแผนการจัดการเรี ยนรู ้)
ชื่อเรื่อง... (ระบุชื่อเรื่ องที่จะทําการจัดการเรี ยนรู ้)
สาระที่... (ระบุสาระที่ใช้จดั การเรี ยนรู้)
ชั้น... (ระบุช้ นั ที่จดั การเรี ยนรู ้)
หน่ วยการเรียนรู้ที่... (ระบุลาํ ดับที่และชื่อของหน่วยการเรี ยนรู ้)
เวลา... (ระบุระยะเวลาที่ใช้ในการจัดการเรี ยนรู ้ต่อ 1 แผน)
สาระสํ าคัญ... (เขียนความคิดรวบยอดหรื อมโนทัศน์ของหัวเรื่ องที่จะจัดการเรี ยนรู้)
ตัวชี้วดั ชั้นปี ... (ระบุตวั ชี้วดั ชั้นปี ที่ใช้เป็ นเป้ าหมายของแผนการจัดการเรี ยนรู้)
จุดประสงค์ การเรียนรู้... (กําหนดให้สอดคล้องกับสมรรถนะสําคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ของนักเรี ยนหลังจากสําเร็ จการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่ง
ประกอบด้วยด้านความรู้ (Knowledge: K) ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม (Affective: A) และด้าน
ทักษะ/กระบวนการ (Performance: P))
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้... (ระบุวิธีการและเครื่ องมือวัดและประเมินผลที่สอดคล้องกับ
จุดประสงค์การเรี ยนรู ้ท้ งั 3 ด้าน)
สาระการเรียนรู้... (ระบุสาระและเนื้อหาที่ใช้จดั การเรี ยนรู ้ อาจเขียนเฉพาะหัวเรื่ องก็ได้)
แนวทางบูรณาการ... (เสนอแนะและระบุกิจกรรมของกลุ่มสาระการเรี ยนรู้อื่นที่บูรณาการร่ วมกัน)
กระบวนการจัดการเรียนรู้... (กําหนดให้สอดคล้องกับธรรมชาติของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้และ
การบูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้)
กิจกรรมเสนอแนะ... (ระบุรายละเอียดของกิจกรรมที่นกั เรี ยนควรปฏิบตั ิเพิ่มเติม)
สื่ อ/แหล่ งการเรียนรู้... (ระบุสื่อ อุปกรณ์ และแหล่งเรี ยนรู ้ที่ใช้ในการจัดการเรี ยนรู้)
บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้... (ระบุรายละเอียดของผลการจัดการเรี ยนรู้ตามแผนที่กาํ หนดไว้ อาจ
นําเสนอข้อเด่นและข้อด้อยให้เป็ นข้อมูลที่สามารถใช้เป็ นส่วนหนึ่งของการทําวิจยั ในชั้นเรี ยนได้)
ในส่วนของการเขียนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้น้ นั ให้ครู ที่เขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้นาํ ขั้นตอน
หลักของเทคนิคและวิธีการของการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ เช่น การเรี ยนแบบแก้ปัญหา
การศึกษาเป็ นรายบุคคล การอภิปรายกลุ่มย่อย/กลุ่มใหญ่ การฝึ กปฏิบตั ิการ การสื บค้นข้อมูล ฯลฯ มาเขียน
ในขั้นสอน โดยให้คาํ นึงถึงธรรมชาติของกลุ่มสาระการเรี ยนรู้
การใช้แนวคิดของการออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้ตามแนวคิด Backward Design จะช่วยให้ครู มี
ความมัน่ ใจในการจัดการเรี ยนรู ้และใช้แผนการจัดการเรี ยนรู ้ของ ในการจัดการเรี ยนรู้ได้อย่างมี
ประสิ ทธิภาพต่อไป
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 17

4. เทคนิคและวิธีการจัดการเรียนรู้ –การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 มาตรา 24
(2) และ (3) ได้ระบุแนวทางการจัดการเรี ยนรู ้ โดยเน้นการฝึ กทักษะกระบวนการคิด การฝึ กทักษะการ
แสวงหาความรู ้ดว้ ยตนเองจากแหล่งการเรี ยนรู้ที่หลากหลาย การฝึ กปฏิบตั ิจริ ง และการประยุกต์ใช้ความรู ้
เพื่อการป้ องกันและแก้ปัญหา ดังนั้น เพื่อให้การจัดการเรี ยนรู้สอดคล้องกับนโยบายดังกล่าวนี้ การจัดทํา
แผนการจัดการเรี ยนรู ้ในคู่มอื ครู แผนการจัดการเรียนรู้ ภูมศิ าสตร์ ชุดนี้ จึงยึดแนวทางการจัดการเรี ยนรู้ที่
เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลาง (Child-centered) เน้นการเรี ยนรู้จากการปฏิบตั ิจริ ง และเน้นการเรี ยนรู้แบบบูรณา
การที่ผสมผสานเชื่อมโยงสาระการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ กับหัวข้อเรื่ องหรื อประเด็นที่สอดคล้องกับชีวิตจริ ง
เพื่อให้นกั เรี ยนเกิดการพัฒนาในองค์รวม เป็ นธรรมชาติ สอดคล้องกับสภาพและปัญหาที่เกิดในวิถีชีวิต
ของเรี ยน
แนวทางการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ ได้เปลี่ยนแปลงบทบาทของครู จากการเป็ นผูช้ ้ ีนาํ
หรื อถ่ายทอดความรู ้ ไปเป็ นผูช้ ่วยเหลือ อํานวยความสะดวก และส่งเสริ มสนับสนุนนักเรี ยนโดยใช้วิธีการ
ต่าง ๆ อย่างหลากหลายรู ปแบบ เพื่อให้นกั เรี ยนเกิดการสร้างสรรค์ความรู้และนําความรู้ไปใช้อย่างมี
ประสิ ทธิภาพ คู่มอื ครู แผนการจัดการเรียนรู้ ภูมศิ าสตร์ ชุดนี้จึงได้นาํ เสนอ ทฤษฎี เทคนิค และวิธีการสอน
ต่าง ๆ มาเป็ นแนวทางในการจัดการเรี ยนรู ้ เช่น
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ สมองเป็ นฐาน (Brain-Based Learning – BBL) เป็ นวิธีการจัดการเรี ยนรู ้ที่
อิงผลการวิจยั ทางประสาทวิทยา ซึ่งได้เสนอแนะไว้วา่ ตามธรรมชาติน้ นั สมองเรี ยนรู ้ได้อย่างไร โดยได้
กล่าวถึงโครงสร้างที่แท้จริ งของสมองและการทํางานของสมองมนุษย์ที่มีการแปรเปลี่ยนไปตามขั้นของ
การพัฒนา ซึ่งสามารถนํามาใช้เป็ นกรอบแนวคิดของการสร้างสรรค์การจัดการเรี ยนรู้ได้อย่างมี
ประสิ ทธิภาพ
การจัดการเรียนรู้แบบใช้ ปัญหาเป็ นฐาน (Problem-Based Learning – PBL) เป็ นวิธีการจัดการ
เรี ยนรู้ที่ใช้ปัญหาที่เกิดขึ้นเป็ นจุดเริ่ มต้นและเป็ นตัวกระตุน้ ให้เกิดกระบวนการเรี ยนรู้ โดยให้นกั เรี ยน
ร่ วมกันแก้ปัญหาภายใต้การแนะนําของครู ให้นกั เรี ยนช่วยกันตั้งคําถามและช่วยกันค้นหาคําตอบ โดยอาจ
ใช้ความรู้เดิมมาแก้ปัญหา หรื อศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมสําหรับการแก้ปัญหา นําข้อมูลที่ได้จากการค้นคว้ามา
สรุ ปเป็ นข้อมูลในการแก้ปัญหา แล้วช่วยกันประเมินการแก้ปัญหาเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาครั้งต่อไป
สําหรับขั้นตอนการจัดการเรี ยนรู้
การจัดการเรียนรู้แบบพหุปัญญา (Multiple Intelligences) เป็ นการพัฒนาองค์รวมของนักเรี ยนทั้ง
สมองด้านซ้ายและสมองด้านขวา บนพื้นฐานความสามารถและสติปัญญาที่แตกต่างกันของแต่ละบุคคล
มุ่งหมายจะให้นกั เรี ยนสามารถแก้ปัญหาหรื อสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ ภายใต้ความหลากหลายของวัฒนธรรม
หรื อสภาพแวดล้อม
การจัดการเรียนรู้แบบร่ วมมือ (Cooperative Learning) เป็ นการจัดสถานการณ์และบรรยากาศให้
นักเรี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ร่วมกัน ฝึ กให้นกั เรี ยนที่มีลกั ษณะแตกต่างกันทั้งสติปัญญาและความถนัดร่ วมกัน
ทํางานเป็ นกลุ่ม ร่ วมกันศึกษาค้นคว้า
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 18

การจัดการเรียนรู้แบบใช้ หมวกความคิด 6 ใบ (Six Thinking Hats) เป็ นวิธีการจัดการเรี ยนรู ้ที่ให้


นักเรี ยนฝึ กตั้งคําถามและตอบคําถามที่ใช้ความคิดในลักษณะต่าง ๆ โดยสามารถอธิบายเหตุผลประกอบ
หรื อวิเคราะห์วิจารณ์ได้
การจัดการเรียนรู้สืบสวนสอบสวน (Inquiry Process) เป็ นวิธีการจัดการเรี ยนรู ้ที่ฝึกให้นกั เรี ยน
ค้นหาความรู้ดว้ ยตนเอง เพื่ออธิ บายสิ่ งต่าง ๆ อย่างเป็ นระบบ มีหลักเกณฑ์ โดยนักเรี ยนจะต้องใช้
ความสามารถของตนเองคิดค้น สื บเสาะ แก้ปัญหาหรื อคิดประดิษฐ์สิ่งใหม่ดว้ ยตนเอง
การจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา (Problem Solving) เป็ นวิธีการจัดการเรี ยนรู ้ที่มุ่งฝึ ก
ให้นกั เรี ยนเรี ยนรู ้จากการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น โดยการทําความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา ดําเนินการ
แก้ปัญหา และตรวจสอบหรื อมองย้อนกลับ
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Work) เป็ นวิธีการจัดการเรี ยนรู ้รูปแบบหนึ่งที่ส่งเสริ มให้
นักเรี ยนเรี ยนรู้ดว้ ยตนเองจากการลงมือปฏิบตั ิ โดยใช้กระบวนการแสวงหาความรู ้หรื อค้นคว้าหาคําตอบ
ในสิ่ งที่นกั เรี ยนอยากรู้หรื อสงสัย ด้วยวิธีการต่าง ๆ อย่างหลากหลาย
การจัดการเรียนรู้ที่เน้ นการปฏิบัติ (Active Learning) เป็ นวิธีการจัดการเรี ยนรู้ที่ให้นกั เรี ยนได้
ทดลองทําด้วยตนเอง เพื่อจะได้เรี ยนรู้ข้ นั ตอนของงาน รู้จกั วิธีแก้ปัญหาในการทํางาน
การจัดการเรียนรู้แบบสร้ างผังความคิด (Concept Mapping) เป็ นวิธีการจัดการเรี ยนรู ้ดว้ ยการจัด
กลุ่มความคิดรวบยอด เพื่อให้เห็นความสัมพันธ์กนั ระหว่างความคิดหลักและความคิดรองลงไป โดย
นําเสนอเป็ นภาพหรื อเป็ นผัง
การจัดการเรียนรู้จากประสบการณ์ (Experience Learning) เป็ นการจัดกิจกรรมหรื อจัด
ประสบการณ์ให้นกั เรี ยนเกิดการเรี ยนรู้จากการปฏิบตั ิ แล้วกระตุน้ ให้นกั เรี ยนพัฒนาทักษะใหม่ ๆ เจตคติ
ใหม่ ๆ หรื อวิธีการคิดใหม่ ๆ
การเรียนรู้โดยการแสดงบทบาทสมมุติ (Role Playing) เป็ นวิธีการจัดการเรี ยนรู ้ที่ให้นกั เรี ยนได้
แสดงบทบาทในสถานการณ์ที่สมมุติข้ ึน โดยอาจกําหนดให้แสดงบทบาทสมมุติที่เป็ นพฤติกรรมของ
บุคคลอื่น หรื อแสดงพฤติกรรมในบทบาทของตนเองในสถานการณ์ต่าง ๆ
การเรียนรู้จากเกมจําลองสถานการณ์ (Simulation Gaming) เป็ นวิธีการจัดการเรี ยนรู้ที่คล้ายกับ
การแสดงบทบาทสมมุติ แต่เป็ นการให้เล่นเกมจําลองสถานการณ์ โดยครู นาํ สถานการณ์จริ งมาจําลองไว้
ในห้องเรี ยน โดยการกําหนดกฎ กติกา เงื่อนไขสําหรับเกมนั้น ๆ แล้วให้ผเู้ รี ยนไปเล่นเกมหรื อกิจกรรมใน
สถานการณ์จาํ ลองนั้น
การจัดการเรียนรู้แบบกลับด้ านชั้นเรียน (Flipped Classroom) เป็ นกระบวนการจัดการเรี ยนรู้ตาม
แนวคิดว่า เรี ยนที่บา้ น ทําการบ้านที่โรงเรี ยน เป็ นการกลับมุมมองจากการให้บทบาทและความสําคัญที่ครู
ไปให้ความสําคัญต่อการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน จากเดิมสิ่ งที่ทาํ ในชั้นเรี ยนนําไปทําที่บา้ น และนําสิ่ งที่
มอบหมายให้ทาํ ที่บา้ นมาทําในชั้นเรี ยน โดยครู คอยให้คาํ แนะนํา ช่วยเหลือ และตอบข้อสงสัยในระหว่าง
การทํางาน/กิจกรรมของนักเรี ยน เพื่อให้เกิดการเรี ยนรู ้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
การจัดการเรี ยนรู ้ตอ้ งจัดควบคู่การวัดและการประเมินผลตามภาระ/ชิ้นงานที่สอดคล้องกับตัวชี้วดั
แผนการจัดการเรี ยนรู ้น้ ีได้เสนอการวัดและประเมินผลครบทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านความรู้ ด้านคุณธรรม
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 19

จริ ยธรรม และค่านิยม และด้านทักษะ/กระบวนการ เน้นวิธีการวัดที่หลากหลายตามสถานการณ์จริ ง การดู


ร่ องรอยต่าง ๆ ควบคู่ไปกับการดูกระบวนการทํางาน และผลผลิตของงาน โดยออกแบบการประเมินก่อน
เรี ยน ระหว่างเรี ยน หลังเรี ยน และแบบทดสอบประจําหน่วยการเรี ยนรู ้ พร้อมแบบฟอร์มและเกณฑ์การ
ประเมิน เพื่ออํานวยความสะดวกให้ครู ไว้พร้อม ทั้งนี้ครู อาจเพิ่มเติมโดยการออกแบบการวัดและประเมิน
ด้วยมิติคุณภาพ (Rubrics)

5. ตารางวิเคราะห์ มาตรฐานการเรี ยนรู้ และตัวชี้วดั ชั้นปี กับสาระการเรียนรู้


ในหน่ วยการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั ชั้นปี มฐ. ส 5.1 มฐ. ส 5.2

หน่ วยการเรียนรู้ 1 2 1 2 3 4
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
1. แผนที่ 
2. การรับรู ้จากระยะไกล 
3. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 
4. ระบบกําหนดตําแหน่งบนพื้นโลก 
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 ทวีปอเมริกาเหนือ
1. ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาเหนือ 
2. ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของทวีป
อเมริ กาเหนือ

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 ทวีปอเมริกาใต้
1. ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาใต้ 
2. ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของทวีป
อเมริ กาใต้

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 สถานการณ์ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
1. ปั ญหาสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ 
2. สิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคมในทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้

3. แนวทางการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือ
และอเมริ กาใต้

4. ผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากการเปลี่ยนแปลงของ
สิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้

คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 20

6. คําอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3


คําอธิบายรายวิชา
ส23101 ภูมศิ าสตร์
รายวิชาพืน้ ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 เวลา 25 ชั่วโมง

ศึกษา วิเคราะห์ ใช้เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์ และนําเสนอข้อมูลเกี่ยวกับ


ลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทาง
กายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ การเปลี่ยนแปลงประชากร เศรษฐกิจ สังคม และ
วัฒนธรรมของทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือ
และอเมริ กาใต้ ปัญหาเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ ผลกระทบต่อเนื่อง
ของสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ที่ส่งผลต่อประเทศไทย
โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสื บค้นข้อมูล กระบวนการสร้างความตระหนัก
กระบวนการกลุ่ม เพื่อให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า มีจิตสํานึก มีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์ทรัพยากร
และสิ่ งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยงั่ ยืน รวมทั้งมีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วดั ชั้นปี
ส 5.1 ม. 3/1 ส 5.1 ม. 3/2
ส 5.2 ม. 3/1 ส 5.2 ม. 3/2 ส 5.2 ม. 3/3 ส 5.2 ม. 3/4
รวมทั้งหมด 6 ตัวชี้วดั
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 21

7. โครงสร้ างรายวิชาพืน้ ฐาน ภูมศิ าสตร์ ม. 3


โครงสร้ างรายวิชา
ส23101 ภูมศิ าสตร์
รายวิชาพืน้ ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 เวลา 25 ชั่วโมง

เวลา นํา้ หนัก


หน่ วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
(ชั่วโมง) (คะแนน)
1. เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ ส 5.1 ม. 3/1 3 13
2. ทวีปอเมริ กาเหนือ ส 5.1 ม. 3/2 8 35
3. ทวีปอเมริ กาใต้ ส 5.1 ม. 3/2 8 35
4. สถานการณ์ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติ ส 5.2 ม. 3/1 ส 5.2 ม. 3/2
และสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือ ส 5.2 ม. 3/3 ส 5.2 ม. 3/4 3 17
และอเมริ กาใต้
รวม 22 100

หมายเหตุ ส23101 รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 จัดเวลาเรี ยนให้นกั เรี ยนได้เรี ยนตลอดภาคเรี ยนเท่ากับ
25 ชัว่ โมง การจัดทําโครงสร้างเวลาเรี ยนได้กาํ หนดเวลาเรี ยนไว้ 22 ชัว่ โมง เวลาปฐมนิเทศ 1 ชัว่ โมง และ
เวลาในการทดสอบกลางภาคและปลายภาค 2 ชัว่ โมง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 22

8. โครงสร้ างเวลาเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน ภูมศิ าสตร์ ม. 3


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ชั่วโมงที่ หมายเหตุ
แผนปฐมนิเทศ ชั่วโมงที่ 1 ปฐมนิเทศและข้ อตกลงในการเรียน
หน่ วยที่ 1 เครื่องมือทาง แผนที่ 1 เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ ชัว่ โมงที่ 2 แผนที่
ภูมศิ าสตร์ (3 ชัว่ โมง) 1. แผนที่ (map)
(1 แผน) ชัว่ โมงที่ 3 การรับรู ้จากระยะไกล
2. การรับรู้จากระยะไกล (Remote Sensing–RS)
2.1 รู ปถ่ายทางอากาศ
2.2 ภาพจากดาวเทียม
ชัว่ โมงที่ 4 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และระบบกําหนดตําแหน่งบนพื้นโลก
3. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System–GIS)
3.1 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
3.2 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กบั ระบบอินเทอร์เน็ต
4. ระบบกําหนดตําแหน่งบนพื้นโลก (Global Positioning System–GPS)
หน่ วยที่ 2 ทวีปอเมริกาเหนือ แผนที่ 2 ลักษณะทางกายภาพของ ชัว่ โมงที่ 5 ที่ต้ งั อาณาเขต และขนาด
(4 แผน) ทวีปอเมริ กาเหนือ 1. ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาเหนือ
(4 ชัว่ โมง) 1.1 ที่ต้ งั อาณาเขต และขนาด
1.2 การแบ่งภูมิภาคของทวีปอเมริ กาเหนือ
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 23

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ชั่วโมงที่ หมายเหตุ


ชัว่ โมงที่ 6 ลักษณะภูมิประเทศและแหล่งนํ้าในทวีปอเมริ กาเหนือ
1.3 ลักษณะภูมิประเทศ
1.4 แหล่งนํ้าในทวีปอเมริ กาเหนือ
ชัว่ โมงที่ 7 ภูมิอากาศ
1.5 ภูมิอากาศ
ชัว่ โมงที่ 8 ทรัพยากรธรรมชาติ
1.6 ทรัพยากรธรรมชาติ
แผนที่ 3 ประชากรของทวีป ชัว่ โมงที่ 9 ประชากร เชื้อชาติ และภาษา
อเมริ กาเหนือ 2. ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของทวีปอเมริ กาเหนือ
(2 ชัว่ โมง) 2.1 ประชากร
ชัว่ โมงที่ 10 ศาสนาและการกระจายของประชากร
2.1 ประชากร
แผนที่ 4 ลักษณะทางเศรษฐกิจของ ชัว่ โมงที่ 11 ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริ กาเหนือ
ทวีปอเมริ กาเหนือ 2. ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของทวีปอเมริ กาเหนือ
(1 ชัว่ โมง) 2.2 เศรษฐกิจ
แผนที่ 5 การคมนาคมขนส่งของ ชัว่ โมงที่ 12 การคมนาคมขนส่งของทวีปอเมริ กาเหนือ
ทวีปอเมริ กาเหนือ 2. ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของทวีปอเมริ กาเหนือ
(1 ชัว่ โมง) 2.3 การคมนาคมขนส่ง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 24

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ชั่วโมงที่ หมายเหตุ


ชั่วโมงที่ 13 การทดสอบกลางภาค ปรับเปลี่ยนชัว่ โมงทดสอบ
ตามความเหมาะสม
หน่ วยที่ 3 ทวีปอเมริกาใต้ แผนที่ 6 ลักษณะทางกายภาพของ ชัว่ โมงที่ 14 ที่ต้ งั อาณาเขต และขนาด
(4 แผน) ทวีปอเมริ กาใต้ 1. ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาใต้
(4 ชัว่ โมง) 1.1 ที่ต้ งั อาณาเขต และขนาด
ชัว่ โมงที่ 15 ลักษณะภูมิประเทศและแหล่งนํ้าในทวีปอเมริ กาใต้
1.2 ลักษณะภูมิประเทศ
1.3 แหล่งนํ้าในทวีปอเมริ กาใต้
ชัว่ โมงที่ 16 ภูมิอากาศ
1.4 ภูมิอากาศ
ชัว่ โมงที่ 17 ทรัพยากรธรรมชาติ
1.5 ทรัพยากรธรรมชาติ

แผนที่ 7 ประชากรของทวีป ชัว่ โมงที่ 18 ประชากร เชื้อชาติ และภาษา


อเมริ กาใต้ 2. ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของทวีปอเมริ กาใต้
(2 ชัว่ โมง) 2.1 ประชากร
ชัว่ โมงที่ 19 ศาสนาและการกระจายของประชากร
2.1 ประชากร
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 25

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ชั่วโมงที่ หมายเหตุ


แผนที่ 8 ลักษณะทางเศรษฐกิจของ ชัว่ โมงที่ 20 ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริ กาใต้
ทวีปอเมริ กาใต้ 2. ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของทวีปอเมริ กาใต้
(1 ชัว่ โมง) 2.2 เศรษฐกิจ
แผนที่ 9 การคมนาคมขนส่งของ ชัว่ โมงที่ 21 การคมนาคมขนส่งของทวีปอเมริ กาใต้
ทวีปอเมริ กาใต้ 2. ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของทวีปอเมริ กาใต้
(1 ชัว่ โมง) 2.3 การคมนาคมขนส่ง
หน่ วยที่ 4 สถานการณ์ ด้าน แผนที่ 10 ปั ญหาสิ่ งแวดล้อมใน ชัว่ โมงที่ 22 ปัญหาสิ่ งแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติและ ทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ 1. ปัญหาสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
สิ่ งแวดล้ อมในทวีปอเมริกาเหนือ (1 ชัว่ โมง) 1.1 ปัญหาสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือ
และอเมริกาใต้ 1.2 ปัญหาสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาใต้
(3 แผน) แผนที่ 11 สิ่ งแวดล้อมใหม่ทาง ชัว่ โมงที่ 23 สิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
สังคมในทวีปอเมริ กาเหนือและ 2. สิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคม
อเมริ กาใต้ 2.1 สิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมในทวีปอเมริ กาเหนือ
(1 ชัว่ โมง) 2.2 สิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมในทวีปอเมริ กาใต้
แผนที่ 12 ผลจากการเปลี่ยนแปลง ชัว่ โมงที่ 24 ผลจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมและแนวทางการอนุรักษ์
ของสิ่ งแวดล้อมและแนวทางการ สิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริ กา 3. แนวทางการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
เหนือและอเมริ กาใต้ 3.1 การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือ
(1 ชัว่ โมง) 3.2 การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาใต้
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 26

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ชั่วโมงที่ หมายเหตุ


4. ผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากการเปลี่ยนแปลงสิ่ งแวดล้อมในทวีป
อเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
ชั่วโมงที่ 25 การทดสอบปลายภาค
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 27

ตอนที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้
สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 28

แผนปฐมนิเทศ
ปฐมนิเทศและข้ อตกลงในการเรียนรายวิชาพืน้ ฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3
สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
รายวิชาพืน้ ฐาน ภูมิศาสตร์ เวลา 1 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจในลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่ งซึ่งมีผลต่อ
กันและกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุ ป และ
ใช้ขอ้ มูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสมั พันธ์ระหว่างมนุษย์กบั สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการ
สร้างสรรค์วฒั นธรรม มีจิตสํานึกและมีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่
ยัง่ ยืน

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. ใช้เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์ และนําเสนอข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทาง
กายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ (ส 5.1 ม. 3/1)
2. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ (ส 5.1 ม. 3/2)
3. วิเคราะห์การก่อเกิดสิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคม อันเป็ นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติและ
ทางสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ (ส 5.2 ม. 3/1)
4. ระบุแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กา
ใต้ (ส 5.2 ม. 3/2)
5. สํารวจ อภิปรายประเด็นปัญหาเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
(ส 5.2 ม. 3/3)
6. วิเคราะห์เหตุและผลกระทบต่อเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือ
และอเมริ กาใต้ที่ส่งผลต่อประเทศไทย (ส 5.2 ม. 3/4)

3. สาระสํ าคัญ/ความคิดรวบยอด
การจัดการเรี ยนรู ้รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 เป็ นไปตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ที่ได้ให้สถานศึกษาจัดการเรี ยนรู ้อีกรายวิชาหนึ่งในกลุ่มสาระการเรี ยนรู้
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โดยได้กาํ หนดสาระและมาตรฐานการเรี ยนรู ้ของรายวิชาพื้นฐาน
ภูมิศาสตร์ ม. 3 เป็ น 2 มาตรฐาน และยังได้กาํ หนดตัวชี้วดั ชั้นปี และสาระการเรี ยนรู ้ที่สอดคล้องกับ
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 29

มาตรฐานการเรี ยนรู ้ รวมทั้งยังได้จดั ทําคําอธิบายรายวิชา เพื่อให้สถานศึกษานําไปกําหนดเป็ นหลักสูตร


สถานศึกษาของตนให้เป็ นไปในทิศทางเดียวกัน

4. สาระการเรียนรู้
1. เทคนิคและวิธีการจัดการเรี ยนรู ้ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์
2. แนวทางการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์
3. ตารางวิเคราะห์ มาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชี้วดั ชั้นปี กับสาระในหน่วยการเรี ยนรู ้
4. คําอธิ บายรายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3
5. โครงสร้างรายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3
6. โครงสร้างเวลาเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3

5. สมรรถนะของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่ อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
2. ซื่อสัตย์สุจริ ต
3. มีวินยั
4. ใฝ่ เรี ยนรู้
5. อยูอ่ ย่างพอเพียง
6. มุ่งมัน่ ในการทํางาน
7. รักความเป็ นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

7. ชิ้นงาน/ภาระงาน
ภาระงานรวบยอด
– การตอบคําถามเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู้รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์
– การอภิปรายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู ้รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 30

8. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A)
1. ซักถามความรู ้เรื่ อง ปฐมนิเทศ  ประเมินพฤติกรรมในการ  ประเมินพฤติกรรมในการ
และข้อตกลงในการเรี ยน ทํางานเป็ นรายบุคคลในด้าน ทํางานเป็ นรายบุคคลหรื อ
รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ความมีวินยั ความใฝ่ เรี ยนรู ้ เป็ นกลุ่มในด้านการสื่ อสาร
ม. 3 ฯลฯ การคิด การแก้ปัญหา ฯลฯ
2. ตรวจผลงาน/กิจกรรม
เป็ นรายบุคคลและเป็ นกลุ่ม

9. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
ชั่วโมงที่ 1
1. ครู สร้างบรรยากาศและสิ่ งแวดล้อมในการเรี ยนรู้ที่เหมาะสมเพื่อกระตุน้ ให้นกั เรี ยนอยากเรี ยนรู ้
เช่น จัดนัง่ เรี ยนแบบรู ปตัว U นัง่ เรี ยนเป็ นกลุ่ม นํานักเรี ยนศึกษานอกห้องเรี ยน เช่น ห้องประชุม ห้องโสต
ทัศนศึกษา สนามหญ้าใต้ร่มไม้
2. ครู แนะนําตนเอง แล้วให้นกั เรี ยนแนะนําตนเองตามลําดับตัวอักษร หรื อตามลําดับหมายเลข
ประจําตัว หรื อตามแถวที่นงั่ ตามความเหมาะสม
3. ครู ให้ความรู ้ทวั่ ๆ ไปเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู ้ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ พร้อมซักถาม
นักเรี ยนในประเด็นต่าง ๆ เช่น
1) ทําไมเราจึงต้องเรี ยนสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
2) รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์มีความสําคัญและจําเป็ นต่อเราหรื อไม่ เพราะอะไร
4. ครู สรุ ปความรู้แล้วเชื่อมโยงไปสู่เนื้อหาที่จะเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
5. ครู ระบุสิ่งที่ตอ้ งเรี ยนในรายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 โดยใช้ขอ้ มูลจากหน้าสารบัญในหนังสื อ
เรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด จากนั้นอธิ บายเพื่อทํา
ความเข้าใจกับนักเรี ยนในเรื่ องต่อไปนี้ (โดยใช้ขอ้ มูลจากตอนที่ 1)
1) คําอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3
2) โครงสร้างรายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3
3) โครงสร้างเวลาเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3
6. ครู บอกเทคนิคและวิธีการจัดการเรี ยนรู้รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 โดยสรุ ปว่ามีเทคนิคและ
วิธีการเรี ยนรู้อะไรบ้าง (โดยใช้ขอ้ มูลจากตอนที่ 1)
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 31

7. ครู สนทนาและซักถามนักเรี ยนเพื่อทําความเข้าใจถึงแนวทางการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้


รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 (โดยใช้ขอ้ มูลจากตอนที่ 1) รวมทั้งเกณฑ์ตดั สิ นผลการเรี ยนรู้ ในประเด็น
ต่าง ๆ เช่น
1) รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 มีเวลาเรี ยนเท่าไร
2) รายวิชานี้จะสอบและเก็บคะแนนอย่างไร และเท่าไร
3) รายวิชานี้จะตัดสิ นผลการเรี ยนอย่างไร
8. ครู แนะนําสื่ อการเรี ยนรู้และแหล่งการเรี ยนรู ้ที่จะใช้ประกอบการเรี ยนรู้รายวิชาพื้นฐาน
ภูมิศาสตร์ ม. 3 โดยใช้ขอ้ มูลจากหน้าบรรณานุกรมในหนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ของ
บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิ ช จํากัด นอกจากนี้ครู ควรแนะนําแหล่งสื บค้นความรู้ขอ้ มูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
เรื่ องต่าง ๆ ที่ได้ระบุไว้ในแต่ละหน่วยการเรี ยนรู้ในหนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ของ
บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิ ช จํากัด เพื่อทําความเข้าใจถึงแหล่งสื บค้นความรู้แต่ละอย่าง
9. ครู สนทนากับนักเรี ยนและร่ วมกันทําข้อตกลงในการเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ใน
ประเด็นต่าง ๆ ดังนี้
1) เวลาเรี ยน ต้องเข้าเรี ยนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรี ยนในรายวิชานี้ หรื อไม่ขาดเรี ยน
เกิน ๓ ครั้ง กรณี ป่วยต้องส่งใบลาโดยผูป้ กครองลงชื่อรับรองการลา
2) ควรเข้าห้องเรี ยนตรงเวลาและรักษามารยาทในการเรี ยน
3) เมื่อเริ่ มเรี ยนแต่ละหน่วยการเรี ยนรู้จะมีการทดสอบก่อนเรี ยน และหลังจากเรี ยนจบแต่ละ
หน่วยการเรี ยนรู ้แล้วจะมีการทดสอบหลังเรี ยน
4) ในชัว่ โมงที่มีการฝึ กปฏิบตั ิงาน ควรเตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือให้พร้อม โดยจัดหาไว้
ล่วงหน้า
5) รับผิดชอบการเรี ยน การสร้างชิ้นงาน และการส่งงานตามเวลาที่กาํ หนด
6) รักษาความสะอาดบริ เวณที่ปฏิบตั ิกิจกรรม วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่ องมือที่ใช้ทาํ งานทุกครั้ง
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนผู้เรียน
10. ครู ให้นกั เรี ยนร่ วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแหล่งการเรี ยนรู้และแหล่งสื บค้น
ความรู ้อื่น ๆ ที่จะนํามาใช้ในการจัดการเรี ยนรู ้รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 จากนั้นครู และนักเรี ยน
ร่ วมกันสรุ ปและบันทึกผล
ขั้นที่ 4 นําไปใช้
11. ครู ให้นกั เรี ยนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรี ยนมาและการปฏิบตั ิกิจกรรมมีเรื่ องอะไรบ้างที่ยงั ไม่
เข้าใจหรื อมีขอ้ สงสัย ถ้ามีครู ช่วยอธิ บายเพิ่มเติมให้นกั เรี ยนเข้าใจ
12. นักเรี ยนร่ วมกันประเมินการปฏิบตั ิกิจกรรมว่ามีปัญหาหรื ออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
อย่างไรบ้าง
13. ครู ให้นกั เรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการเรี ยนหัวข้อนี้และ
การปฏิบตั ิกิจกรรม
14. ครู ทดสอบความเข้าใจของนักเรี ยนโดยการให้ตอบคําถาม เช่น
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 32

1) รายวิชานี้มีเกณฑ์ตดั สิ นผลการเรี ยนรู ้อย่างไร


2) ข้อตกลงในการเรี ยนมีอะไรบ้าง
15. ครู ให้นกั เรี ยนนําประโยชน์จากการเรี ยนรู ้เรื่ อง ปฐมนิเทศและข้อตกลงในการเรี ยนรายวิชา
พื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ไปประพฤติปฏิบตั ิให้ถกู ต้องเหมาะสมและสอดคล้องกับการจัดการเรี ยนรู้
ขั้นที่ 5 สรุ ป
16. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้เรื่ อง ปฐมนิเทศและข้อตกลงในการเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน
ภูมิศาสตร์ ม. 1 โดยให้นกั เรี ยนบันทึกข้อสรุ ปลงในแบบบันทึกความรู้ หรื อสรุ ปเป็ นแผนที่ความคิดหรื อผัง
มโนทัศน์ลงในสมุด พร้อมทั้งตกแต่งให้สวยงาม
17. ครู มอบหมายให้นกั เรี ยนอ่านและทบทวนความรู้เกี่ยวกับแผนที่และเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ที่
เคยเรี ยนผ่านมา เป็ นการบ้านเพื่อเตรี ยมจัดการเรี ยนรู ้ในครั้งต่อไป

10. สื่ อการเรียนรู้ และแหล่ งการเรียนรู้


1. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
2. คู่มือการสอน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
3. สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

11. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู้ _______________________________________________________


แนวทางการพัฒนา _________________________________________________________________
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู้ ___________________________________________________
แนวทางแก้ไข ____________________________________________________________________
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน ___________________________________________________________
เหตุผล __________________________________________________________________________
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ____________________________________________________
________________________________________________________________________________
ลงชื่อ ________________________ ผู้สอน
___________ / __________ / __________
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 33

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1


เครื่องมือทางภูมศิ าสตร์

เวลา 3 ชั่วโมง

ผังมโนทัศน์ เป้าหมายการเรียนรู้ และขอบข่ ายภาระงาน/ชิ้นงาน

ความรู้
1. แผนที่
2. การรับรู ้ระยะไกล
3. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
4. ระบบกําหนดตําแหน่งบนพื้นโลก

คุณธรรม จริยธรรม
ทักษะ/กระบวนการ
และค่ านิยม
1. การสื่ อสาร
1. มีวินยั
2. การใช้เทคโนโลยี เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
2. ใฝ่ เรี ยนรู ้
3. การคิด
3. มีจิตสาธารณะ
4. กระบวนการกลุ่ม
4. มีความรับผิดชอบ

ภาระงาน/ชิ้นงาน
1. การทําแบบทดสอบ
2. การศึกษาค้นคว้าและอ่านข้อมูลจากแผนที่ รู ปถ่ายทางอากาศ และภาพจากดาวเทียม
3. การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
4. การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับระบบกําหนดตําแหน่งบนพื้นโลก
5. การนําเสนอผลงาน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 34

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 เครื่องมือทางภูมศิ าสตร์
ขั้นที่ 1 ผลลัพธ์ ปลายทางที่ต้องการให้ เกิดขึน้ กับนักเรียน
ตัวชี้วดั ชั้นปี
 ใช้เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์ และนําเสนอข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทาง
กายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ (ส 5.1 ม. 3/1)
ความเข้ าใจที่คงทนของนักเรียน คําถามสํ าคัญที่ทําให้ เกิดความเข้ าใจที่คงทน
นักเรียนจะเข้ าใจว่า...
เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์เป็ นเครื่ องมือที่ทาํ ให้ 1. เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ประกอบด้วย
เข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่างสภาพพื้นที่กบั การ อะไรบ้างและมีประโยชน์อย่างไร
ดํารงชีวิตของมนุษย์ 2. การรับรู ้จากระยะไกลคืออะไร และ
ประกอบด้วยอะไรบ้าง
3. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์คืออะไร และมี
ประโยชน์ต่อการศึกษาวิชาภูมิศาสตร์อย่างไร
4. ระบบกําหนดตําแหน่งบนพื้นโลกคืออะไร
และเราสามารถใช้ระบบนี้ได้อย่างไร
ความรู้ของนักเรียนที่นําไปสู่ ความเข้ าใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นําไปสู่ ความ
นักเรียนจะรู้ว่า... เข้ าใจที่คงทน นักเรียนจะสามารถ...
1. คําสําคัญ ได้แก่ ดาวเทียม พาณิ ชย์ ค่าพิกดั 1. อธิ บายความหมาย วิธีการใช้ และประโยชน์
UTM ของเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์
2. แผนที่ หมายถึง สื่ อรู ปแบบหนึ่งที่ถ่ายทอด 2. เลือกใช้เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ในการศึกษา
ข้อมูลของโลกในรู ปแบบกราฟิ ก โดยย่อส่วน ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม
ให้เล็กลงด้วยมาตราส่ วนต่าง ๆ และเส้นโครง
แผนที่แบบต่าง ๆ ให้เข้าใจตามวัตถุประสงค์
ด้วยการใช้สญ ั ลักษณ์
3. การรับรู ้จากระยะไกล คือ ระบบการสํารวจ
เก็บข้อมูลพื้นผิวโลกด้วยเครื่ องรับรู ้ที่ติดไป
กับดาวเทียมหรื อเครื่ องบิน เครื่ องรับรู ้จะ
ตรวจจับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่สะท้อนจากวัตถุ
บนพื้นผิวโลก จากนั้นจึงมีการแปลงข้อมูล
เป็ นข้อมูลเชิงเลขทําให้ได้ผลิตภัณฑ์
สารสนเทศ ได้แก่ รู ปถ่ายทางอากาศและ
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 35

ภาพจากดาวเทียม
4. รู ปถ่ายทางอากาศ (aerial photograph) คือ
รู ปภาพของลักษณะภูมิประเทศที่ปรากฏอยู่
บนพื้นผิวโลกในบริ เวณใดบริ เวณหนึ่ง ได้มา
จากการถ่ายด้วยกล้องที่ติดตั้งอยูบ่ นอากาศ
ยาน หรื อนําไปกับอากาศยาน
5. รู ปถ่ายทางอากาศแบ่งออกได้ 2 ชนิด ได้แก่
รู ปถ่ายในแนวตั้ง (vertical photograph) และ
รู ปถ่ายในแนวเฉียง (oblique photograph) ซึ่ง
แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ รู ปถ่ายแบบเฉี ยงตํ่า
และรู ปถ่ายแบบเฉี ยงสูง
6. ภาพจากดาวเทียม (satellite imagery) คือ ภาพ
ที่เกิดจากการบันทึกข้อมูลเชิงเลขจาก
ดาวเทียม ภาพที่ได้อาศัยคุณสมบัติที่วา่ วัตถุ
แต่ละชนิดสะท้อนพลังงานคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้ าที่ส่งมาจากเครื่ องมือถ่ายภาพ
บนดาวเทียมได้ไม่เท่ากัน ภาพจากดาวเทียมมี
ความทันสมัยของข้อมูลมากกว่ารู ปถ่ายทาง
อากาศ มีค่าใช้จ่ายที่ต่าํ กว่า และเป็ นข้อมูล
เชิงเลขที่สามารถใช้กบั ระบบสารสนเทศ
ภูมิศาสตร์ได้โดยตรง
7. ดาวเทียมสํารวจทรัพยากรโลกที่สาํ คัญใน
ปัจจุบนั ได้แก่ ดาวเทียมแลนด์แซต ไอโค-
นอส ควิกเบิร์ด และโนอา โดยดาวเทียม
แลนด์แซตเป็ นดาวเทียมสํารวจทรัพยากรดวง
แรกของโลก
8. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic
Information System–GIS) หมายถึง ระบบที่
ใช้รวบรวมจัดเก็บ วิเคราะห์ ปรับปรุ ง สื บค้น
ข้อมูลพื้นผิวโลก รวมถึงแสดงผลข้อมูลทาง
ภูมิศาสตร์ใช้ในการวางแผนและการจัดการที่
เกี่ยวข้องในทางภูมิศาสตร์ มีองค์ประกอบที่
สําคัญ ได้แก่ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูล
กระบวนการวิเคราะห์ และบุคลากร
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 36

9. ระบบกําหนดตําแหน่งบนพื้นโลก (Global
Positioning System–GPS) เป็ นระบบนําทางที่
ดีที่สุดในปัจจุบนั ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่
ส่วนอวกาศ ส่วนสถานีควบคุม และส่วนผูใ้ ช้
ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็ นหลักฐานที่แสดงว่ านักเรียนมีผลการเรียนรู้
ตามที่กาํ หนดไว้อย่างแท้ จริง
1. ภาระงานที่นักเรียนต้ องปฏิบัติ
1.1 ศึกษาค้นคว้าและอ่านข้อมูลจากแผนที่ รู ปถ่ายทางอากาศ และภาพจากดาวเทียม
1.2 ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
1.3 ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับระบบกําหนดตําแหน่งบนพื้นโลก
2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
2.1 วิธีการประเมินผลการเรี ยนรู้ 2.2 เครื่ องมือประเมินผลการเรี ยนรู้
1) การทดสอบ 1) แบบทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน
2) การประเมินผลงาน/กิจกรรม 2) แบบประเมินผลงาน/กิจกรรม
เป็ นรายบุคคลหรื อเป็ นกลุ่ม เป็ นรายบุคคลหรื อเป็ นกลุ่ม
3) การประเมินด้านคุณธรรม จริ ยธรรม 3) แบบประเมินด้านคุณธรรม จริ ยธรรม
และค่านิยม และค่านิยม
4) การประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ 4) แบบประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ
3. สิ่ งที่ม่ งุ ประเมิน
3.1 ความสามารถ 6 ด้าน ได้แก่ การอธิ บาย ชี้แจง การแปลความและตีความ การประยุกต์ ดัดแปลง
และนําไปใช้ การมีมุมมองที่หลากหลาย การให้ความสําคัญและใส่ใจในความรู้สึกของผูอ้ ื่น
และการรู้จกั ตนเอง
3.2 ทักษะ/กระบวนการ เช่น การสื่ อสาร การใช้เทคโนโลยี การคิด การแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม
3.3 คุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม เช่น มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ อยูอ่ ย่างพอเพียง รักความเป็ นไทย รักชาติ
ศาสน์ กษัตริ ย ์ มีจิตสาธารณะ มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริ ต
ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 1 เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ เวลา 3 ชัว่ โมง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 37

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 1
เครื่องมือทางภูมศิ าสตร์
สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ เวลา 3 ชั่วโมง

1. สาระสํ าคัญ
เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์เป็ นเครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษาข้อมูลทางภูมิศาสตร์ให้มีความเข้าใจมาก
ยิง่ ขึ้น เครื่ องมือที่ดีและมีประสิ ทธิ ภาพสูงจะช่วยทําให้เราศึกษาภูมิศาสตร์ได้อย่างถูกต้องและนําความรู ้ที่
ได้ไปใช้ได้อย่างเหมาะสม เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ที่สาํ คัญ ได้แก่ แผนที่ การรับรู ้จากระยะไกล ระบบ
สารสนเทศภูมิศาสตร์ และระบบกําหนดตําแหน่งบนพื้นโลก

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
 ใช้เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์ และนําเสนอข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทาง
กายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ (ส 5.1 ม. 3/1)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายลักษณะและประโยชน์ของเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ได้ (K)
2. เลือกใช้เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ในการศึกษาข้อมูลทางภูมิศาสตร์ได้ถูกต้อง (K, P)
3. มีความสนใจและมุ่งมัน่ ที่จะใช้เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ (A)
4. ใช้เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม (A, P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A)
1. ทดสอบก่อนเรี ยนและ  ประเมินพฤติกรรมในการ  ประเมินพฤติกรรมในการ
หลังเรี ยน ทํางานเป็ นรายบุคคลในด้าน ทํางานเป็ นรายบุคคลหรื อ
2. ซักถามความรู้เรื่ อง เครื่ องมือ ความมีวินยั ความใฝ่ เรี ยนรู ้ เป็ นกลุ่มในด้านการสื่ อสาร
ทางภูมิศาสตร์ ฯลฯ การคิด การแก้ปัญหา ฯลฯ
3. ตรวจผลงาน/กิจกรรม
เป็ นรายบุคคลและเป็ นกลุ่ม

5. สาระการเรียนรู้
 เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 38

1. แผนที่
2. การรับรู้จากระยะไกล
2.1 รู ปถ่ายทางอากาศ
2.2 ภาพจากดาวเทียม
3. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
3.1 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
3.2 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กบั ระบบอินเทอร์เน็ต
4. ระบบกําหนดตําแหน่งบนพื้นโลก

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย  ฟัง พูด อ่าน และเขียนข้อมูลเกี่ยวกับเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์
การงานอาชีพฯ  ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์จากแหล่งการเรี ยนรู ้
ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต
ภาษาต่างประเทศ  ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์จากสื่ อภาษาอังกฤษ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
ชั่วโมงที่ 2
1. ครู แจ้งตัวชี้วดั ชั้นปี และจุดประสงค์การเรี ยนรู้ให้นกั เรี ยนทราบ
2. ครู ให้นกั เรี ยนทําแบบทดสอบก่อนเรี ยน
3. ครู ตรวจผลงานของนักเรี ยน โดยสุ่มเลือกนักเรี ยน 2–3 คน ให้ออกมาอ่านเรื่ องเกี่ยวกับแผนที่
และเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ที่ได้รับมอบหมายให้อ่านและทบทวนมาให้เพื่อน ๆ ฟังหน้าชั้นเรี ยน โดยครู
คอยแนะนําและเสริ มความรู ้
4. ครู ซกั ถามนักเรี ยนเกี่ยวกับเครื่ องมือต่าง ๆ ในปั จจุบนั ว่ามีอะไรบ้างที่มีความเกี่ยวข้องกับ
ภูมิศาสตร์ เช่น แผนที่ ระบบนําทางในโทรศัพท์เคลื่อนที่ Google Earth ให้นกั เรี ยนตอบคนละ 1 เรื่ อง ครู
บันทึกลงบนกระดาน แล้วเชื่อมโยงเข้าสู่เนื้อหาที่จะเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
5. ครู อธิ บายเกี่ยวกับแผนที่ให้นกั เรี ยนฟัง โดยใช้เนื้อหาจากหนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน
ภูมิศาสตร์ ม. 3 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด จากนั้นครู แบ่งกลุ่มนักเรี ยนออกเป็ น 4 กลุ่ม และ
แบ่งงาน ดังนี้
กลุ่มที่ 1 ศึกษาเรื่ อง แผนที่
กลุ่มที่ 2 ศึกษาเรื่ อง การรับรู ้จากระยะไกล
กลุ่มที่ 3 ศึกษาเรื่ อง ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
กลุ่มที่ 4 ศึกษาเรื่ อง ระบบกําหนดตําแหน่งบนพื้นโลก
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 39

6. ครู ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มสื บค้นข้อมูลจากแหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ นําข้อมูลและภาพที่ได้มา


วิเคราะห์และสรุ ปแล้วเขียนลงบนกระดาษโปสเตอร์เป็ นแผนที่ความคิดหรื อแผนผัง อย่างใดอย่างหนึ่งตาม
ความสนใจของแต่ละกลุ่ม
7. ครู มอบหมายให้นกั เรี ยนค้นหาความหมายของคําว่า “การรับรู ้จากระยะไกล” จากแหล่งการ
เรี ยนรู้ต่าง ๆ เช่น เอกสารในห้องสมุด อินเทอร์เน็ต สรุ ปและบันทึกความรู ้ที่ได้ลงในสมุด เป็ นการบ้าน
เพื่อเตรี ยมจัดการเรี ยนรู ้ในครั้งต่อไป
ชั่วโมงที่ 3
8. ครู ตรวจผลงานของนักเรี ยน โดยสุ่มเลือกนักเรี ยน 2–3 คน ให้ออกมาอ่านความหมายของคําว่า
“การรับรู้จากระยะไกล” ที่ได้รับมอบหมายให้ไปค้นหามาให้เพื่อน ๆ ฟังหน้าชั้นเรี ยน โดยครู คอยแนะนํา
และเสริ มความรู้
9. ครู อธิ บายเกี่ยวกับการรับรู้จากระยะไกลให้นกั เรี ยนฟัง โดยใช้เนื้อหาจากหนังสื อเรี ยน รายวิชา
พื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด จากนั้นให้นกั เรี ยนกลุ่มที่ 1 และ 2
ออกมานําเสนอผลการสื บค้น วิเคราะห์ และสรุ ปข้อมูลเกี่ยวกับแผนที่และการรับรู้จากระยะไกลหน้าชั้น
เรี ยน
10. ครู มอบหมายให้นกั เรี ยนค้นหาความหมายของคําว่า “ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์” และ
“ระบบกําหนดตําแหน่งบนพื้นโลก” จากแหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ เช่น เอกสารในห้องสมุด อินเทอร์เน็ต
สรุ ปและบันทึกความรู้ท่ีได้ลงในสมุด เป็ นการบ้านเพื่อเตรี ยมจัดการเรี ยนรู้ในครั้งต่อไป
ชั่วโมงที่ 4
11. ครู ตรวจผลงานของนักเรี ยน โดยสุ่มเลือกนักเรี ยน 2–3 คน ให้ออกมาอ่านความหมายของคําว่า
“ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์” และ “ระบบกําหนดตําแหน่งบนพื้นโลก” ที่ได้รับมอบหมายให้ไปค้นหามา
ให้เพื่อน ๆ ฟังหน้าชั้นเรี ยน โดยครู คอยแนะนําและเสริ มความรู ้
12. ครู อธิบายเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และระบบกําหนดตําแหน่งบนพื้นโลกให้
นักเรี ยนฟัง โดยใช้เนื้อหาจากหนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นา
พานิช จํากัด จากนั้นให้นกั เรี ยนกลุ่มที่ 3 และ 4 ออกมานําเสนอผลการสื บค้น วิเคราะห์ และสรุ ปข้อมูล
เกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และระบบกําหนดตําแหน่งบนพื้นโลกหน้าชั้นเรี ยน
13. ครู ช่วยสรุ ปและอธิบายเพิ่มเติม แล้วให้นกั เรี ยนบันทึกความรู้ที่ได้ลงในแบบบันทึกความรู้เรื่ อง
เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ ส่งครู
14. ครูนําเครื่องมือทางภูมศิ าสตร์ ที่แสดงข้ อมูลเกีย่ วกับภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มาให้
นักเรียนดู เช่ น แผนที่ รูปถ่ ายทางอากาศ ภาพจากดาวเทียม ให้ นักเรียนช่ วยกันวิเคราะห์ ลกั ษณะทาง
กายภาพและสั งคมและวัฒนธรรมว่ ามีลกั ษณะเป็ นอย่างไร และตอบว่ าเครื่องมือดังกล่าวแสดงข้ อมูลของ
ของประเทศใดในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ครูสรุปและเฉลยคําตอบที่ถูกต้ อง นักเรียนสรุปความรู้ที่
ได้ ลงสมุด
15. ครู มอบหมายให้ นักเรียนจับคู่และสื บค้ นภาพรูปถ่ ายทางอากาศและภาพจากดาวเทียมของทวีป
อเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้ที่มคี วามเกีย่ วข้ องกับการประกอบอาชีพ โดยเฉพาะการทําเกษตรกรรม
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 40

แล้วนํามาช่ วยกันวิเคราะห์ ว่าจากภาพการประกอบอาชีพของชาวยุโรปหรือชาวแอฟริกามีลกั ษณะที่


คล้ายคลึงกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงหรือไม่ อย่ างไร สรุ ปเป็ นความเรียงส่ งครู
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนผู้เรียน
16. ครู ซกั ถามนักเรี ยนในประเด็นต่อไปนี้ ให้นกั เรี ยนช่วยกันตอบคําถาม จากนั้นครู สรุ ปคําตอบ
ของนักเรี ยน
1) นักเรี ยนคิดว่า การรับรู้จากระยะไกลมีข้ นั ตอนการทํางานอย่างไร
2) นักเรี ยนคิดว่า ในชีวิตประจําวันของนักเรี ยนได้รับประโยชน์จากระบบกําหนดตําแหน่งบน
พื้นโลกหรื อไม่ อย่างไร
17. ครู ให้นกั เรี ยนทํากิจกรรมที่เกี่ยวกับเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ ในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน
ภูมิศาสตร์ ม. 3 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด แล้วช่วยกันเฉลยคําตอบที่ถูกต้อง
ขั้นที่ 4 นําไปใช้
18. ครู ให้นกั เรี ยนยกตัวอย่างการนําเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจําวัน
ขั้นที่ 5 สรุ ป
19. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้เรื่ อง เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ ได้แก่ แผนที่ การรับรู ้จาก
ระยะไกล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และระบบกําหนดตําแหน่งบนพื้นโลก ว่ามีวิธีการใช้อย่างไร เป็ น
แผนที่ความคิดและบันทึกลงสมุด
20. ครู ให้นกั เรี ยนทําแบบทดสอบหลังเรี ยนและช่วยกันเฉลยคําตอบที่ถูกต้อง
21. ครู ให้นกั เรี ยนทําแบบทดสอบการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ ประจําหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 1 ใน
แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด เพื่อประเมินผล
การเรี ยนรู้ดา้ นความรู้ ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม และด้านทักษะ/กระบวนการของนักเรี ยน
22. ครู มอบหมายให้นกั เรี ยนศึกษาเนื้อหาในหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 2 ทวีปอเมริ กาเหนือ เรื่ อง ลักษณะ
ทางกายภาพของทวีปอเมริ กาเหนือ เป็ นการบ้านเพื่อเตรี ยมจัดการเรี ยนรู้ในครั้งต่อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
ครู ให้นกั เรี ยนศึกษาเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ที่นกั เรี ยนสนใจ สรุ ปว่าได้อะไรจากเว็บไซต์น้ นั บ้าง แล้วนําเสนอผลงานหน้าชั้นเรี ยน

9. สื่ อ/แหล่ งการเรียนรู้


1. แบบทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน
2. อุปกรณ์เครื่ องเขียน เช่น สี เมจิก สี ไม้
3. สื่ ออิเล็กทรอนิกส์และหนังสื อต่าง ๆ จากห้องสมุด
4. กระดาษโปสเตอร์
5. แบบบันทึกความรู้เรื่ อง เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์
6. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 41

7. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด


8. คู่มือการสอน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู้ _______________________________________________________


แนวทางการพัฒนา _________________________________________________________________
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู้ ___________________________________________________
แนวทางแก้ไข ____________________________________________________________________
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน ___________________________________________________________
เหตุผล __________________________________________________________________________
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ____________________________________________________
________________________________________________________________________________
ลงชื่อ ________________________ ผู้สอน
___________ / __________ / __________
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 42

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2


ทวีปอเมริกาเหนือ

เวลา 8 ชั่วโมง

ผังมโนทัศน์ เป้าหมายการจัดการเรียนรู้ และขอบข่ ายภาระงาน/ชิ้นงาน

ความรู้
1. ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาเหนือ
2. ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ และ วัฒนธรรม
ของทวีปอเมริ กาเหนือ

คุณธรรม จริยธรรม
ทักษะ/กระบวนการ
1. การสื บค้น และค่ านิยม
2. การใช้เทคโนโลยี 1. มีวินยั
ทวีปอเมริกาเหนือ
3. การคิด 2. ใฝ่ เรี ยนรู้
4. กระบวนการกลุ่ม 3. มีจิตสาธารณะ
4. มีความรับผิดชอบ

ภาระชิ้นงาน
1. การบันทึกความรู ้
2. การศึกษาและค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับความเป็ นมาลักษณะทางกายภาพ ตลอดจน
ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของทวีปอเมริ กาเหนือ
3. การวิเคราะห์เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะการดํารงชีวิตของประชากร
ในทวีปอเมริ กาเหนือกับลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาเหนือ
4. การนําเสนอผลงานเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะการดํารงชีวิตของ
ประชากรในทวีปอเมริ กาเหนือกับลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาเหนือ
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 43

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 ทวีปอเมริกาเหนือ
ขั้นที่ 1 ผลลัพธ์ ปลายทางที่ต้องการให้ เกิดขึน้ กับนักเรียน
ตัวชี้วดั ชั้นปี
 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
(ส 5.1 ม. 3/2)
ความเข้ าใจที่คงทนของนักเรียน คําถามสํ าคัญที่ทําให้ เกิดความเข้ าใจที่คงทน
นักเรียนจะเข้ าใจว่า...
 ลักษณะทางกายภาพมีอิทธิพลต่อวิถีการ  ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม
ดํารงชีวิต สังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของ ของทวีปอเมริ กาเหนือได้รับอิทธิพลมาจาก
ประชากรในทวีปอเมริ กาเหนือ ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาเหนือใช่
หรื อไม่ เพราะเหตุใด
ความรู้ของนักเรียนที่นําไปสู่ ความเข้ าใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นําไปสู่ ความ
นักเรียนจะรู้ว่า… เข้ าใจที่คงทน นักเรียนจะสามารถ…
1. คําสําคัญ ได้แก่ ซีกโลกเหนือ เขตหนาว 1. อธิ บายลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กา
คอคอด ธรณี วิทยา ภูเขาไฟ ธารนํ้าแข็ง ทุ่งหญ้า เหนือ รวมไปถึงลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ
ป่ าสน เส้นทรอปิ กออฟแคนเซอร์ ลมประจํา และวัฒนธรรมของทวีปอเมริ กาเหนือ
ภูเขานํ้าแข็ง ทะเลทราย ประชากร 2. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะการ
2. ทวีปอเมริ กาเหนือมีขนาดใหญ่เป็ นอันดับ 3 ดํารงชีวิตของประชากรกับลักษณะทางกายภาพ
ของโลกรองจากทวีปเอเชียและทวีปแอฟริ กา ของทวีปอเมริ กาเหนือ
ตั้งอยูใ่ นซีกโลกเหนือ มีทิศเหนือจดมหาสมุทร
อาร์กติก ทิศตะวันออกจดมหาสมุทร
แอตแลนติก ทิศใต้ติดต่อกับทวีปอเมริ กาใต้
และทิศตะวันตกจดมหาสมุทรแปซิฟิก ทวีป
อเมริ กาเหนือแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ แบ่งตาม
ที่ต้ งั ทางภูมิศาสตร์ ได้แก่ อเมริ กาเหนือ อเมริ กา
กลาง และหมู่เกาะในทะเลแคริ บเบียน
3. ลักษณะภูมิประเทศของทวีปอเมริ กาเหนือ
แบ่งเป็ น 4 เขต ได้แก่ เขตเทือกเขาสูงภาค
ตะวันตก เขตที่ราบภาคกลาง เขตหิ นเก่า
แคนาดา และเขตภูเขาภาคตะวันออก มีแม่น้ าํ
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 44

สําคัญหลายสาย เช่น แม่น้ าํ มิสซิ สซิปปี มิสซูรี


รี โอแกรนด์ โคโลราโด เขตภูมิอากาศแบ่งได้
12 เขต ได้แก่ เขตป่ าฝนเขตร้อน ร้อนชื้นแบบ
ทุ่งหญ้าเมืองร้อน ทะเลทราย ทุ่งหญ้ากึ่ง
ทะเลทราย อบอุ่นชื้น ภาคพื้นสมุทรชายฝั่ง
ตะวันตก เมดิเตอร์เรเนีย0น ชื้นภาคพื้นทวีป กึ่ง
ขั้วโลกหรื อไทกา ทุนดรา ทุ่งนํ้าแข็ง และที่สูง
4. ทวีปอเมริ กาเหนือมีประชากรร้อยละ 13 ของ
โลก แบ่งเชื้อชาติได้ 4 พวก คือ พวกผิวเหลือง
พวกผิวขาว พวกผิวดํา และพวกเลือดผสม มี
ภาษาอยู่ 3 กลุ่ม ได้แก่ ภาษาอังกฤษ สเปน และ
ฝรั่งเศส ประชากรส่ วนใหญ่นบั ถือคริ สต์
ศาสนา มีนิกายที่สาํ คัญ คือ นิกายโปรเตสแตนต์
และโรมันคาทอลิก
5. ทวีปอเมริ กาเหนือไม่สามารถใช้พ้นื ที่ในการ
เพาะปลูกได้ทวั่ ทั้งทวีป เนื่องจากมีลกั ษณะภูมิ-
ประเทศและภูมิอากาศไม่เอื้ออํานวย พืชสําคัญ
ได้แก่ ข้าวโพด ข้าวสาลี ฝ้ าย ถัว่ เหลือง อ้อย
และผักผลไม้ต่าง ๆ การเลี้ยงสัตว์นิยมเลี้ยง
โคเนื้อ โคนม เพื่อเป็ นอาหาร และแกะ เพื่อผลิต
สิ นค้าขนสัตว์ นอกจากนี้ยงั มีการทําประมงใน
เขตนํ้าตื้นใกล้ชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก
การค้าไม้ การทําเหมืองแร่ ถ่านหิ น ปิ โตรเลียม
เหล็ก ทองคํา มีอุตสาหกรรมเครื่ องจักรกล
ยานยนต์ เคมีภณั ฑ์ สิ่ งทอ ไม้ ผลิตภัณฑ์อาหาร
เหล่านี้เป็ นสิ นค้าส่งออกที่ทาํ ให้ทวีปอเมริ กา
เหนือมีการค้าที่เจริ ญก้าวหน้า
6. ทวีปอเมริ กาเหนือมีระบบการคมนาคมขนส่งที่
เจริ ญก้าวหน้ามากที่สุดในทุกด้าน โดยเฉพาะ
ประเทศสหรัฐอเมริ กาและแคนาดา แต่ประเทศ
อื่น ๆ ในแถบทะเลแคริ บเบียนและอเมริ กา
กลางบางประเทศยังล้าหลังอยู่
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 45

ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็ นหลักฐานที่แสดงว่ านักเรียนมีผลการเรียนรู้


ตามที่กาํ หนดไว้อย่างแท้ จริง
1. ภาระงานที่นักเรียนต้ องปฏิบัติ
1.1 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับความเป็ นมาลักษณะทางกายภาพ ตลอดจนลักษณะทางสังคม
เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของทวีปอเมริ กาเหนือ
1.2 วิเคราะห์และนําเสนอผลงานเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะการดํารงชีวิตของประชากร
ในทวีปอเมริ กาเหนือกับลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาเหนือ
2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
2.1 วิธีการประเมินผลการเรี ยนรู้ 2.2 เครื่ องมือประเมินผลการเรี ยนรู ้
1) การทดสอบ 1) แบบทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน
2) การประเมินผลงาน/กิจกรรม 2) แบบประเมินผลงาน/กิจกรรม
เป็ นรายบุคคลหรื อเป็ นกลุ่ม เป็ นรายบุคคลหรื อเป็ นกลุ่ม
3) การประเมินด้านคุณธรรม จริ ยธรรม 3) แบบประเมินด้านคุณธรรม จริ ยธรรม
และค่านิยม และค่านิยม
4) การประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ 4) แบบประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ
3. สิ่ งที่มุ่งประเมิน
3.1 ความสามารถ 6 ด้าน ได้แก่ การอธิบาย ชี้แจง การแปลความและตีความ การประยุกต์ ดัดแปลง
และนําไปใช้ การมีมุมมองที่หลากหลาย การให้ความสําคัญและใส่ใจในความรู้สึกของผูอ้ ื่น
และการรู้จกั ตนเอง
3.2 ทักษะ/กระบวนการ เช่น การสื่ อสาร การใช้เทคโนโลยี การคิด การแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม
3.3 คุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม เช่น มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู้ อยูอ่ ย่างพอเพียง รักความเป็ นไทย รักชาติ
ศาสน์ กษัตริ ย ์ มีจิตสาธารณะ มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริ ต
ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 2 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาเหนือ เวลา 4 ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 3 ประชากรของทวีปอเมริ กาเหนือ เวลา 2 ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 4 ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริ กาเหนือ เวลา 1 ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 5 การคมนาคมขนส่งของทวีปอเมริ กาเหนือ เวลา 1 ชัว่ โมง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 46

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 2
ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือ
สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 ทวีปอเมริกาเหนือ เวลา 4 ชั่วโมง

1. สาระสํ าคัญ
ทวีปอเมริ กาเหนือเป็ นทวีปที่มีขนาดใหญ่ พื้นที่ภายในทวีปมีแนวเทือกเขาสูง ที่ราบขนาดใหญ่ ที่
ราบลุ่มแม่น้ าํ และทางด้านตะวันตกมีแนวเทือกเขาสูง มีภูมิอากาศแทบทุกชนิด ทั้งภูมิอากาศร้อน อบอุ่น
และหนาว โดยเฉพาะทางตอนเหนือมีอากาศหนาวเย็นแบบกึ่งขั้วโลกและทุนดรา มีทรัพยากรธรรมชาติ
อุดมสมบูรณ์ จึงทําให้เป็ นทวีปที่มีความเจริ ญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจมากที่สุดทวีปหนึ่ง

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ (ส 5.1 ม. 3/2)

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิ บายลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาเหนือได้ (K)
2. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะที่ต้ งั ขนาด ลักษณะภูมิประเทศ และภูมิอากาศในทวีป
อเมริ กาเหนือได้ (K, P)
3. มีความมุ่งมัน่ ในการเรี ยนรู้และแสดงให้เห็นถึงความสนใจในการศึกษาข้อมูลเรื่ องทวีปอเมริ กา
เหนือได้ (A)
4. ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาเหนือจากแหล่งต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง
(P)
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 47

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A)
1. ทดสอบก่อนเรี ยน  ประเมินพฤติกรรมในการ  ประเมินพฤติกรรมในการ
2. ซักถามความรู้เรื่ อง ลักษณะ ทํางานเป็ นรายบุคคลในด้าน ทํางานเป็ นรายบุคคลหรื อ
ทางกายภาพของทวีปอเมริ กา ความมีวินยั ความใฝ่ เรี ยนรู้ เป็ นกลุ่มในด้านการสื่ อสาร
เหนือ ฯลฯ การคิด การแก้ปัญหา ฯลฯ
3. ตรวจผลงาน/กิจกรรม
เป็ นรายบุคคลหรื อเป็ นกลุ่ม

5. สาระการเรียนรู้
 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาเหนือ
1. ที่ต้ งั อาณาเขต และขนาด
2. การแบ่งภูมิภาคของทวีปอเมริ กาเหนือ
3. ลักษณะภูมิประเทศ
4. แหล่งนํ้าในทวีปอเมริ กาเหนือ
5. ภูมิอากาศ
5.1 ปัจจัยที่มีอิทธิ พลต่อสภาพภูมิอากาศ
5.2 เขตภูมิอากาศ
6. ทรัพยากรธรรมชาติ

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย  ฟัง พูด อ่าน และเขียนข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของทวีป
อเมริ กาเหนือ
ศิลปะ  วาดภาพและระบายสี แผนที่ภูมิประเทศและภูมิอากาศของทวีป
อเมริ กาเหนือ
การงานอาชีพฯ  ค้นคว้าข้อมูลลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาเหนือจากแหล่ง
การเรี ยนรู้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต
ภาษาต่างประเทศ  อ่านและแปลข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กา
เหนือจากแผนที่และหนังสื อที่พิมพ์เป็ นภาษาอังกฤษ
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 48

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
ชั่วโมงที่ 5
1. ครู แจ้งตัวชี้วดั ชั้นปี และจุดประสงค์การเรี ยนรู้ให้นกั เรี ยนทราบ
2. ครู ให้นกั เรี ยนทําแบบทดสอบก่อนเรี ยน
3. ครู ประเมินความรู ้ของนักเรี ยนว่ามีความรู้ในเรื่ องราวของทวีปอเมริ กาเหนือมากน้อยเพียงใดด้วย
คําถามต่าง ๆ เกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพทวีปอเมริ กาเหนือ ให้นกั เรี ยนลุกขึ้นตอบทีละคน โดยให้
นักเรี ยนใช้ความรู้ที่ได้จากการศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาเหนือที่ได้รับ
มอบหมายให้ไปศึกษามา
4. ครู นาํ แผนที่โลกมาแสดงในชั้นเรี ยน ให้นกั เรี ยนช่วยกันบอกถึงตําแหน่งที่ต้ งั ขนาด และอาณา
เขตของทวีปอเมริ กาเหนือ ครู เฉลยคําตอบที่ถกู ต้องและนําเข้าสู่เนื้อหาที่จะเรี ยน
(ระหว่างที่ครูเฉลยคําตอบ ให้ ครูนําข้ อมูลความรู้เกีย่ วกับอาเซียนมาร่ วมเปรียบเทียบกับข้ อมูลของ
ทวีปอเมริกาเหนือด้ วยก็ได้ เช่ น อาเซียนมีเนือ้ ที่รวมกันเพียงแค่ 4,605,681.2 ตารางกิโลเมตร โดยประเทศ
อินโดนีเซียมีเนือ้ ที่มากที่สุดที่ 2,019,358 ตารางกิโลเมตร และสิ งคโปร์ มเี นือ้ ที่น้อยที่สุดที่ 723.2 ตาราง
กิโลเมตร อย่างไรก็ตาม เมือ่ เปรียบเทียบเนือ้ ที่ของอาเซียนกับเนือ้ ที่ของทวีปอเมริกาเหนือจะพบว่ า
อาเซียนมีเนือ้ ที่น้อยกว่าทวีปอเมริกาเหนือมาก)
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
5. ครู แจกใบงานที่ 1 เรื่ อง แผนที่รัฐกิจของทวีปอเมริ กาเหนือ คนละ 1 แผ่น แล้วให้นกั เรี ยนวาด
ภาพและระบายสี ลงในแผนที่ และใส่ชื่อประเทศ ชื่อเมืองหลวง และระบายสี ประเทศตามขอบเขตของ
ประเทศนั้น ๆ โดยนักเรี ยนสามารถค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ เช่น หนังสื อเรี ยน แผนที่
เล่ม อินเทอร์เน็ต
6. ครู ให้นกั เรี ยนนําแผนที่ที่ทาํ เสร็ จเรี ยบร้อยแล้วมาแลกเปลี่ยนกัน เพื่อสังเกต เพิ่มเติมและแก้ไข
ให้มีความสมบูรณ์มากขึ้น นักเรี ยนจะต้องมีความเคารพและให้เกียรติกบั ชิ้นงานของเพื่อนด้วย หลังจาก
นั้นครู ร่วมเฉลยโดยอาศัยข้อมูลจากแผนที่และหนังสื อเรี ยนที่ได้รับการยอมรับ ครู ควรที่จะมีใบงานเกิน
กว่าจํานวนนักเรี ยนในชั้นเรี ยน เพื่อให้นกั เรี ยนได้มีโอกาสแก้ไขงานของตนเองให้มีความถูกต้องสมบูรณ์
7. ครู อธิ บายเพิ่มเติมเกี่ยวกับที่ต้ งั อาณาเขต และขนาดของทวีปอเมริ กาเหนือให้นกั เรี ยนฟัง โดยใช้
เนื้อหาจากหนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. ครู มอบหมายให้นกั เรี ยนศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับลักษณะภูมิประเทศของทวีปอเมริ กาเหนือ แล้ว
บันทึกความรู้ที่ได้ลงในสมุด เป็ นการบ้านเพื่อเตรี ยมจัดการเรี ยนรู้ในครั้งต่อไป
ชั่วโมงที่ 6
9. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนซักถามข้อสงสัยต่าง ๆ จากเรื่ องลักษณะภูมิประเทศของทวีปอเมริ กา
เหนือที่ได้รับมอบหมายให้ไปศึกษามา โดยครู ตอบข้อสงสัยและอธิบายเพิ่มเติม
10. ครู แจกใบงานที่ 2 เรื่ อง แผนที่ลกั ษณะภูมิประเทศของทวีปอเมริ กาเหนือ คนละ 1 แผ่น แล้วให้
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 49

นักเรี ยนวาดภาพและระบายสี ลงในแผนที่ และใส่แนวเทือกเขา เส้นแม่น้ าํ เขตภูมิประเทศ และใส่ชื่อ


คําอธิบายสัญลักษณ์พร้อมระบายสี ให้ถูกต้อง โดยนักเรี ยนสามารถค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งการเรี ยนรู้
ต่าง ๆ เช่น หนังสื อเรี ยน แผนที่เล่ม อินเทอร์เน็ต
11. ครู ให้นกั เรี ยนนําแผนที่ที่ทาํ เสร็ จเรี ยบร้อยแล้วมาแลกเปลี่ยนกัน เพื่อสังเกต เพิ่มเติมและแก้ไข
ให้มีความสมบูรณ์มากขึ้น นักเรี ยนจะต้องมีความเคารพและให้เกียรติกบั ชิ้นงานของเพื่อนด้วย หลังจาก
นั้นครู ร่วมเฉลยโดยอาศัยข้อมูลจากแผนที่และหนังสื อเรี ยนที่ได้รับการยอมรับ ครู ควรที่จะมีใบงานเกิน
กว่าจํานวนนักเรี ยนในชั้นเรี ยน เพื่อให้นกั เรี ยนได้มีโอกาสแก้ไขงานของตนเองให้มีความถูกต้องสมบูรณ์
12. ครู อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับลักษณะภูมิประเทศและแหล่งนํ้าในทวีปอเมริ กาเหนือให้นกั เรี ยนฟัง
โดยใช้เนื้อหาจากหนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
13. ครู มอบหมายให้นกั เรี ยนศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับภูมิอากาศของทวีปอเมริ กาเหนือ แล้วบันทึก
ความรู ้ที่ได้ลงในสมุด เป็ นการบ้านเพื่อเตรี ยมจัดการเรี ยนรู้ในครั้งต่อไป
ชั่วโมงที่ 7
14. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนซักถามข้อสงสัยต่าง ๆ จากเรื่ องภูมิอากาศของทวีปอเมริ กาเหนือที่
ได้รับมอบหมายให้ไปศึกษามา โดยครู ตอบข้อสงสัยและอธิบายเพิ่มเติม
15. ครู แจกใบงานที่ 3 เรื่ อง แผนที่เขตภูมิอากาศของทวีปอเมริ กาเหนือ แล้วให้นกั เรี ยนวาดภาพ
และระบายสี ลงในแผนที่ และใส่เขตภูมิอากาศพร้อมชื่อเขต คําอธิบายสัญลักษณ์ และระบายสี ให้ถูกต้อง
โดยนักเรี ยนสามารถค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งการเรี ยนรู ้ ต่าง ๆ เช่น หนังสื อเรี ยน แผนที่เล่ม อินเทอร์เน็ต
16. ครู ให้นกั เรี ยนนําแผนที่ที่ทาํ เสร็ จเรี ยบร้อยแล้วมาแลกเปลี่ยนกัน เพื่อสังเกต เพิ่มเติมและแก้ไข
ให้มีความสมบูรณ์มากขึ้น นักเรี ยนจะต้องมีความเคารพและให้เกียรติกบั ชิ้นงานของเพื่อนด้วย หลังจาก
นั้นครู ร่วมเฉลยโดยอาศัยข้อมูลจากแผนที่และหนังสื อเรี ยนที่ได้รับการยอมรับ ครู ควรที่จะมีใบงานเกิน
กว่าจํานวนนักเรี ยนในชั้นเรี ยน เพื่อให้นกั เรี ยนได้มีโอกาสแก้ไขงานของตนเองให้มีความถูกต้องสมบูรณ์
17. ครู อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับภูมิอากาศทวีปอเมริ กาเหนือให้นกั เรี ยนฟัง โดยใช้เนื้อหาจากหนังสื อ
เรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
18. ครู มอบหมายให้นกั เรี ยนสื บค้นข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติของทวีปอเมริ กาเหนือ แล้ว
บันทึกข้อมูลที่ได้ลงในสมุด เป็ นการบ้านเพื่อเตรี ยมจัดการเรี ยนรู ้ในครั้งต่อไป
ชั่วโมงที่ 8
19. ครู สนทนาซักถามความรู ้ของนักเรี ยนเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติในทวีปอเมริ กาเหนือที่ได้รับ
มอบหมายให้ไปสื บค้นข้อมูลมาในประเด็นต่าง ๆ เช่น
– ลักษณะภูมิประเทศของทวีปอเมริ กาเหนือทําให้ทวีปนี้มีทรัพยากรธรรมชาติชนิดใดเด่นชัด
มากที่สุด
– ทรัพยากรธรรมชาติชนิดใดที่มีความสําคัญต่อประเทศต่าง ๆ ในทวีปอเมริ กาเหนือมากที่สุด
เพราะอะไร

20. ครู ให้นกั เรี ยนช่วยกันตอบคําถาม โดยนําแผนที่ลกั ษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศมาช่วยในการ


คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 50

คิดวิเคราะห์ตามหลักเหตุผล ซึ่งสามารถนําความรู ้เรื่ องทวีปยุโรปที่นกั เรี ยนได้เรี ยนในชั้นมัธยมศึกษาปี ที่


2 มาเทียบเคียงได้
21. ครู ให้นกั เรี ยนแบ่งออกเป็ น 4 กลุ่ม แล้วนําความรู ้ที่ได้จากการสื บค้นข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากร
ธรรมชาติในทวีปอเมริ กาเหนือบันทึกลงในแบบบันทึกผลการสื บค้นตามหัวข้อที่ครู กาํ หนดให้ ดังนี้
กลุ่มที่ 1 ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรดิน
กลุ่มที่ 2 ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรป่ าไม้
กลุ่มที่ 3 ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ในธรรมชาติ
กลุ่มที่ 4 ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรทางพลังงาน
22. ครู ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานําผลงานมาเสนอหน้าชั้นเรี ยน โดยเขียนลงบน
กระดาน ครู ช่วยสรุ ปและเพิ่มเติมให้ถูกต้อง จากนั้นให้นกั เรี ยนบันทึกความรู ้ที่ได้ลงในแบบบันทึกผลการ
เรี ยนรู้
23. ครู มอบหมายให้ นักเรียนแบ่ งกลุ่ม กลุ่มละ 4–6 คน ศึกษาลักษณะทางกายภาพของประเทศ
สมาชิกอาเซียนแล้วนํามาเปรียบเทียบกับลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือว่ ามีความเหมือนหรือ
แตกต่ างกันอย่างไร สรุปเป็ นแผนที่ความคิด แผนผัง หรือตาราง ตามความสนใจ แล้วนําไปติดไว้ ที่ป้าย
นิเทศ (ครูควรติดแผนที่ทวีปอเมริกาเหนือและแผนที่ทวีปเอเชียไว้ ที่ป้ายนิเทศด้ วย)
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนผู้เรียน
24. ครู ให้นกั เรี ยนทํากิจกรรมที่เกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาเหนือ ในแบบฝึ ก
ทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด แล้วช่วยกันเฉลยคําตอบ
ที่ถูกต้อง
ขั้นที่ 4 นําไปใช้
25. ครู แนะนําให้นกั เรี ยนนําความรู้เรื่ อง ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาเหนือ ไปประยุกต์ใช้
ในชีวติ ประจําวัน
ขั้นที่ 5 สรุ ป
26. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้เรื่ อง ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาเหนือ แล้วบันทึก
ลงสมุด และเก็บใบงานแผนที่ในแฟ้ มสะสมผลงาน
27. ครู มอบหมายให้นกั เรี ยนศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับประชากรในทวีปอเมริ กาเหนือ แล้วบันทึกความรู้
ที่ได้ลงในสมุด เป็ นการบ้านเพื่อเตรี ยมจัดการเรี ยนรู ้ในครั้งต่อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
ครู ให้นกั เรี ยนวิเคราะห์ลกั ษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาเหนือจากภาพจากดาวเทียม ซึ่ง
สามารถศึกษาได้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ หรื อ Google Earth แล้วสรุ ป จัดทําเป็ นรายงานส่งครู
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 51

9. สื่ อ/แหล่ งการเรียนรู้


1. แบบทดสอบก่อนเรี ยน
2. แผนที่โลก แผนที่ภมู ิประเทศ แผนที่ภมู ิอากาศ และแผนที่รัฐกิจของทวีปอเมริ กาเหนือ
3. แผนที่เล่ม
4. ใบงานที่ 1 เรื่ อง แผนที่รัฐกิจของทวีปอเมริ กาเหนือ
5. ใบงานที่ 2 เรื่ อง แผนที่ลกั ษณะภูมิประเทศของทวีปอเมริ กาเหนือ
6. ใบงานที่ 3 เรื่ อง แผนที่เขตภูมิอากาศของทวีปอเมริ กาเหนือ
7. แบบบันทึกผลการสื บค้น
8. แบบบันทึกผลการเรี ยนรู ้
9. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
11. คู่มือการสอน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
12. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช
จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู้ _______________________________________________________


แนวทางการพัฒนา _________________________________________________________________
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู้ ___________________________________________________
แนวทางแก้ไข ____________________________________________________________________
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน ___________________________________________________________
เหตุผล __________________________________________________________________________
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ____________________________________________________
________________________________________________________________________________
ลงชื่อ ________________________ ผู้สอน
___________ / __________ / __________
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 52

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 3
ประชากรของทวีปอเมริกาเหนือ
สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 ทวีปอเมริกาเหนือ เวลา 2 ชั่วโมง

1. สาระสํ าคัญ
ทวีปอเมริ กาเหนือมีประชากรร้อยละ 8 ของโลก หรื อประมาณ 544 ล้านคน (ค.ศ. 2011) มากเป็ น
อันดับ 3 ของโลก มีความหนาแน่นประมาณ 22 คนต่อตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยกลุ่มชนหลายเชื้อชาติ
ทั้งพวกผิวเหลือง ผิวขาว ผิวดํา และพวกเลือดผสม มีภาษาที่ใช้อยูใ่ นตระกูลอินโด-ยูโรเปี ยน และเป็ นทวีป
ที่มีประชากรส่ วนใหญ่นบั ถือคริ สต์ศาสนา

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ (ส 5.1 ม. 3/2)

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิ บายลักษณะของประชากร ภาษา และศาสนาในทวีปอเมริ กาเหนือได้ (K)
2. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างกระจายตัวและการดํารงชีวิตของประชากรในทวีปอเมริ กาเหนือ
ได้ (K, P)
3. มีความมุ่งมัน่ ในการเรี ยนรู้และแสดงให้เห็นถึงความสนใจในการศึกษาข้อมูลเรื่ องประชากรใน
ทวีปอเมริ กาเหนือได้ (A)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A)
1. ซักถามความรู้เรื่ อง ประชากร  ประเมินพฤติกรรมในการ  ประเมินพฤติกรรมในการ
ของทวีปอเมริ กเหนือ ทํางานเป็ นรายบุคคลในด้าน ทํางานเป็ นรายบุคคลหรื อ
2. ตรวจผลงาน/กิจกรรม ความมีวินยั ความใฝ่ เรี ยนรู้ เป็ นกลุ่มในด้านการสื่ อสาร
เป็ นรายบุคคลหรื อเป็ นกลุ่ม ฯลฯ การคิด การแก้ปัญหา ฯลฯ

5. สาระการเรียนรู้
 ประชากร
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 53

1. จํานวนประชากร
2. เชื้อชาติ
3. ภาษา
4. ศาสนา
5. การกระจายของประชากร

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย  ฟัง พูด อ่าน และเขียนเกี่ยวกับข้อมูลประชากรของทวีปอเมริ กาเหนือ
การงานอาชีพฯ  ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับสถิติประชากรของทวีปอเมริ กาเหนือจากแหล่ง
การเรี ยนรู้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต
ภาษาต่างประเทศ  อ่านและแปลข้อมูลเกี่ยวกับสถิติประชากรของทวีปเมริ กาเหนือที่เป็ น
ภาษาอังกฤษ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
ชั่วโมงที่ 9
1. ครู แจ้งตัวชี้วดั ชั้นปี และจุดประสงค์การเรี ยนรู้ให้นกั เรี ยนทราบ
2. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนซักถามข้อสงสัยต่าง ๆ จากเรื่ องประชากรในทวีปอเมริ กาเหนือที่ได้รับ
มอบหมายให้ไปศึกษามา โดยครู ตอบข้อสงสัยและอธิบายเพิ่มเติม
3. ครู ให้นกั เรี ยนดูภาพประชากรในทวีปอเมริ กาเหนือหลาย ๆ ภาพ ให้นกั เรี ยนสังเกตว่าประชากร
ในภาพมีความแตกต่างกันหรื อไม่ และถ้าจะแบ่งกลุ่มประชากรในทวีปอเมริ กาเหนือ แบ่งได้กี่กลุ่ม
อะไรบ้าง ให้นกั เรี ยนช่วยกันแสดงความคิดเห็น ครู สงั เกตความกระตือรื อร้นในการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
4. ครู ต้ งั คําถามกระตุน้ ความสนใจให้แก่นกั เรี ยนว่า ตามที่นกั เรี ยนได้แบ่งกลุ่มประชากรไว้น้ นั
นักเรี ยนคิดว่ากลุ่มของประชากรในแต่ละกลุ่มนั้นใช้ภาษาเดียวกันหรื อไม่ ถ้าไม่ใช้แล้วจะมีการใช้ภาษา
ใดบ้าง และกลุ่มประชากรแต่ละกลุ่มนั้นนับถือศาสนาเดียวกันหรื อไม่ ถ้าไม่นบั ถือศาสนาเดียวกันแล้วจะ
นับถือศาสนาใดบ้าง
5. ครู ให้นกั เรี ยนแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่มใหญ่ และร่ วมกันอภิปรายในคําถามที่ครู ได้ต้ งั ไว้ รวมไปถึง
กลุ่มประชากรที่นกั เรี ยนได้แบ่งไว้วา่ ถูกต้องหรื อไม่ โดยอภิปรายในเรื่ อง จํานวนประชากร เชื้อชาติ และ
ภาษาก่อน ซึ่งนักเรี ยนต้องช่วยกันสื บค้นข้อมูลดังกล่าวก่อนนํามาอภิปรายร่ วมกันด้วย
6. ครู ให้นกั เรี ยนสรุ ปผลการอภิปรายที่ได้ลงในแบบบันทึกผลการอภิปราย แล้วส่งตัวแทนออกมา
นําเสนอหน้าชั้นเรี ยน โดยครู คอยช่วยสรุ ปและอธิบายเพิ่มเติม
7. ครู มอบหมายให้นกั เรี ยนศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับศาสนาและการกระจายของประชากรในทวีป
อเมริ กาเหนือ แล้วบันทึกข้อมูลที่ได้ลงในสมุด เป็ นการบ้านเพื่อเตรี ยมจัดการเรี ยนรู้ในครั้งต่อไป
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 54

ชั่วโมงที่ 10
8. ครู ให้นกั เรี ยนทั้ง 2 กลุ่มร่ วมกันอภิปรายต่อจากชัว่ โมงที่ผา่ นมา โดยอภิปรายในเรื่ อง ศาสนาและ
การกระจายของประชากร ซึ่งนักเรี ยนสามารถนําข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับศาสนาและการ
กระจายของประชากรในทวีปอเมริ กาเหนือที่ได้รับมอบหมายให้ไปศึกษามาประกอบการอภิปรายได้
9. ครู ให้นกั เรี ยนสรุ ปผลการอภิปรายที่ได้ลงในแบบบันทึกผลการอภิปราย แล้วส่งตัวแทนออกมา
นําเสนอหน้าชั้นเรี ยน โดยครู คอยช่วยสรุ ปและอธิบายเพิ่มเติม
10. ครู มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาลักษณะประชากรของประเทศสมาชิกอาเซียน แล้ วช่ วยกัน
สรุปว่ ามีความเหมือนและแตกต่ างจากลักษณะประชากรของทวีปอเมริกาเหนืออย่างไร ให้ นักเรียนบันทึก
ความรู้ลงสมุด
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนผู้เรียน
11. ครู ให้นกั เรี ยนทํากิจกรรมที่เกี่ยวกับประชากรของทวีปอเมริ กาเหนือ ในแบบฝึ กทักษะ รายวิชา
พื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด แล้วช่วยกันเฉลยคําตอบที่ถูกต้อง
12. ครู ซกั ถามนักเรี ยนว่า ทะเลสาบเกรตเลกส์มีความสําคัญต่อการกระจายของประชากรอย่างไร
ให้นกั เรี ยนช่วยกันตอบคําถาม จากนั้นครู สรุ ปคําตอบของนักเรี ยน
ขั้นที่ 4 นําไปใช้
13. ครู ให้นกั เรี ยนนําความรู ้เกี่ยวกับประชากรของทวีปอเมริ กาเหนือไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจําวัน
ขั้นที่ 5 สรุ ป
14. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้เรื่ อง ประชากรของทวีปอเมริ กาเหนือ โดยให้นกั เรี ยนสรุ ป
เป็ นแผนที่ความคิดบันทึกลงสมุด
15. ครู มอบหมายให้นกั เรี ยนสื บค้นข้อมูลเกี่ยวกับสิ นค้าและสถานที่ท่องเที่ยวที่สาํ คัญในทวีป
อเมริ กาเหนือ แล้วบันทึกข้อมูลที่ได้ลงในสมุด เป็ นการบ้านเพื่อเตรี ยมจัดการเรี ยนรู้ในครั้งต่อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
ครู ให้นกั เรี ยนวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับการกระจายของประชากรใน
ทวีปอเมริ กาเหนือ แล้วร่ วมกันทําเป็ นแผนที่แสดงการกระจายของประชากรในทวีปอเมริ กาเหนือ เป็ น
ความรู ้ร่วมของทั้งชั้นเรี ยน

9. สื่ อ/แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพประชากรของทวีปอเมริ กาเหนือ
2. แผนที่แสดงความหนาแน่นของประชากรในทวีปอเมริ กาเหนือ
3. แบบบันทึกผลการอภิปราย
4. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
5. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 55

6. คู่มือการสอน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด


7. สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู้ _______________________________________________________


แนวทางการพัฒนา _________________________________________________________________
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู้ ___________________________________________________
แนวทางแก้ไข ____________________________________________________________________
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน ___________________________________________________________
เหตุผล __________________________________________________________________________
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ____________________________________________________
________________________________________________________________________________
ลงชื่อ ________________________ ผู้สอน
___________ / __________ / __________
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 56

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 4
ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือ
สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 ทวีปอเมริกาเหนือ เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสํ าคัญ
ทวีปอเมริ กาเหนือมีระบบเศรษฐกิจของประเทศที่ได้รับอิทธิพลจากลักษณะทางกายภาพที่
เอื้ออํานวย โดยเฉพาะการทําเหมืองแร่ เหล็ก ถ่านหิ น การทําประมง ป่ าไม้ อุตสาหกรรมเหล็กกล้า
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว การเพาะปลูกข้าวสาลี องุ่น การเลี้ยงโคนมและแกะ ซึ่งทําให้การค้าของทวีปมี
ความเจริ ญก้าวหน้า

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ (ส 5.1 ม. 3/2)

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิ บายลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริ กาเหนือได้ (K)
2. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริ กา
เหนือได้ (K, P)
3. เห็นความสําคัญในการเรี ยนรู ้เรื่ องลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริ กาเหนือได้ (A)
4. นําเสนอผลงานได้อย่างละเอียด ชัดเจน ครอบคลุมเนื้อหาที่เรี ยนรู ้ได้ (K, P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A)
1. ซักถามความรู้เรื่ อง ลักษณะ  ประเมินพฤติกรรมในการ  ประเมินพฤติกรรมในการ
ทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริ กา ทํางานเป็ นรายบุคคลในด้าน ทํางานเป็ นรายบุคคลหรื อ
เหนือ ความมีวินยั ความใฝ่ เรี ยนรู้ เป็ นกลุ่มในด้านการสื่ อสาร
2. ตรวจผลงาน/กิจกรรม ฯลฯ การคิด การแก้ปัญหา ฯลฯ
เป็ นรายบุคคลหรื อเป็ นกลุ่ม
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 57

5. สาระการเรียนรู้
 เศรษฐกิจ
1. การเกษตร
2. การทําป่ าไม้
3. การทําประมง
4. การทําเหมืองแร่
5. อุตสาหกรรม
6. การค้า

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย  ฟัง พูด อ่าน และเขียนข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีป
อเมริ กาเหนือ
ศิลปะ  ตกแต่งป้ ายนิเทศให้มีความสวยงามตามต้องการ
การงานอาชีพฯ  ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริ กาเหนือ
จากแหล่งการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต และจัดทําป้ ายนิเทศ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
ชั่วโมงที่ 11
1. ครู แจ้งตัวชี้วดั ชั้นปี และจุดประสงค์การเรี ยนรู้ให้นกั เรี ยนทราบ
2. ครู สนทนาซักถามความรู ้ของนักเรี ยนเกี่ยวกับสิ นค้าและสถานที่ท่องเที่ยวในทวีปอเมริ กาเหนือที่
ได้รับมอบหมายให้ไปสื บค้นข้อมูลมาในประเด็นต่าง ๆ เช่น
– นักเรี ยนรู้จกั สิ นค้าจากทวีปอเมริ กาเหนืออะไรบ้างที่มีชื่อเสี ยง
– สถานที่ท่องเที่ยวใดบ้างในอเมริ กาเหนือที่มีชื่อเสี ยง
โดยครู ให้นกั เรี ยนตอบคําถามคนละ 1–2 อย่าง ครู สรุ ปและเชื่อมโยงเข้าสู่เนื้อหาที่จะเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
3. ครู แบ่งนักเรี ยนออกเป็ น 6 กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มเลือกสื บค้นข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางเศรษฐกิจ
ของทวีปอเมริ กาเหนือกลุ่มละ 1 เรื่ อง แล้วบันทึกผลการสื บค้นลงในแบบบันทึกผลการสื บค้น โดยแบ่ง
งานดังนี้
กลุ่มที่ 1 การเกษตร
กลุ่มที่ 2 การทําป่ าไม้
กลุ่มที่ 3 การทําประมง
กลุ่มที่ 4 การทําเหมืองแร่
กลุ่มที่ 5 อุตสาหกรรม
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 58

กลุ่มที่ 6 การค้า
4. นักเรี ยนนําข้อมูลที่ได้มาจัดเป็ นป้ ายนิเทศ และออกมานําเสนอผลงานหน้าชั้นเรี ยนทั้งกลุ่ม โดยที่
นักเรี ยนทุกคนต้องมีส่วนร่ วมในการนําเสนอ ครู ช่วยสรุ ปข้อมูลอีกครั้งหนึ่ง นักเรี ยนที่รับฟังการนําเสนอ
บันทึกความรู้ที่ได้ลงในสมุด
5. ครู ซกั ถามความรู ้เกี่ยวกับลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริ กาเหนือกับนักเรี ยนอีกครั้ง เพื่อ
ทดสอบความเข้าใจ ให้นกั เรี ยนช่วยกันวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางเศรษฐกิจและลักษณะ
ทางกายภาพของทวีปอเมริ กาเหนือโดยอ้างอิงข้อมูลจากป้ ายนิเทศ และร่ วมกันจัดทําเป็ นแผนที่แสดง
ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริ กาเหนือ ครู สรุ ปและเพิ่มเติมให้ถูกต้อง นําแผนที่ไปติดไว้ในชั้นเรี ยน
6. ครูมอบหมายให้ นักเรียนศึกษาลักษณะทางเศรษฐกิจของประเทศสมาชิกอาเซียน แล้วช่ วยกัน
สรุปว่ ามีความเหมือนและแตกต่ างจากลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาเหนืออย่ างไร ให้ นักเรียน
บันทึกความรู้ลงสมุด
7. ครูให้ นักเรียนจับคู่และศึกษาเพิม่ เติมเกีย่ วกับลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือ
โดยเฉพาะเรื่อง ปัญหาทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือในปัจจุบัน แล้วนํามาช่ วยกันวิเคราะห์ ว่าปัญหา
ดังกล่ าวสามารถนํามาแก้ ไขปัญหาด้ วยหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงได้ หรือไม่ อย่ างไร สรุปเป็ นแผนที่
ความคิด หรือแผนผัง หรือความเรียง อย่างใดอย่ างหนึ่งตามความเหมาะสม ส่ งครู
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนผู้เรียน
8. ครู ให้นกั เรี ยนทํากิจกรรมที่เกี่ยวกับลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริ กาเหนือ ในแบบฝึ ก
ทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด แล้วช่วยกันเฉลยคําตอบ
ที่ถูกต้อง
ขั้นที่ 4 นําไปใช้
9. ครู ให้นกั เรี ยนนําความรู ้เรื่ อง ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปยุโรป ไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจําวัน
ขั้นที่ 5 สรุ ป
10. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้เรื่ อง ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริ กาเหนือ แล้ว
บันทึกลงสมุด
11. ครู มอบหมายให้นกั เรี ยนศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับการคมนาคมขนส่งในทวีปอเมริ กาเหนือ แล้ว
บันทึกความรู้ที่ได้ลงในสมุด เป็ นการบ้านเพื่อเตรี ยมจัดการเรี ยนรู้ในครั้งต่อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
ครู ต้ งั คําถามชวนคิดว่า ถ้านักเรี ยนอาศัยอยูใ่ นทวีปอเมริ กาเหนือ นักเรี ยนจะเลือกทําอาชีพอะไร ให้
นักเรี ยนเลือกพื้นที่ในทวีปอเมริ กาเหนือมา 1 แห่ง โดยที่ตอ้ งไม่ซ้ าํ กันกับเพื่อนในชั้นเรี ยน แล้วอธิบาย
อาชีพที่ตอ้ งการทําพร้อมเหตุผลประกอบ ออกมานําเสนอหน้าชั้นเรี ยน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 59

9. สื่ อ/แหล่ งการเรียนรู้


1. แผนที่ทวีปอเมริ กาเหนือ
2. แบบบันทึกผลการสื บค้น
3. อินเทอร์เน็ตและหนังสื อต่าง ๆ จากห้องสมุด
4. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
5. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
6. คู่มือการสอน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู้ _______________________________________________________


แนวทางการพัฒนา _________________________________________________________________
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู้ ___________________________________________________
แนวทางแก้ไข ____________________________________________________________________
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน ___________________________________________________________
เหตุผล __________________________________________________________________________
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ____________________________________________________
________________________________________________________________________________
ลงชื่อ ________________________ ผู้สอน
___________ / __________ / __________
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 60

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 5
การคมนาคมขนส่ งของทวีปอเมริกาเหนือ
สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 ทวีปอเมริกาเหนือ เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสํ าคัญ
ทวีปอเมริ กาเหนือเป็ นดินแดนที่มีระบบคมนาคมขนส่งเจริ ญก้าวหน้า มีเส้นทางคมนาคมหนาแน่น
ที่สุดในโลกทางบก โดยเฉพาะทางรถไฟที่มีความยาวประมาณ 320,000 กิโลเมตร ทางนํ้ามีการพัฒนา
พื้นที่เป็ นเมืองท่าเรื อเดินสมุทรขนาดใหญ่หลายแห่ง เช่น เมืองบอสตัน นิวยอร์ก ฟิ ลาเดลเฟี ย ทางอากาศ มี
ท่าอากาศยานที่มีผโู้ ดยสารจํานวนมากเป็ นอันดับ 1–3 ของโลก และมีระบบการขนส่งทางท่อที่พฒั นา
ทันสมัย

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ (ส 5.1 ม. 3/2)

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิ บายระบบคมนาคมขนส่งของทวีปอเมริ กาเหนือได้ (K)
2. วิเคราะห์อิทธิ พลของลักษณะทางกายภาพที่ส่งผลต่อการสร้างระบบคมนาคมของทวีปอเมริ กา
เหนือได้ (K, P)
3. มีความใฝ่ เรี ยนรู้เรื่ องการคมนาคมขนส่งของทวีปอเมริ กาเหนือ (A)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A)
1. ทดสอบหลังเรี ยน  ประเมินพฤติกรรมในการ  ประเมินพฤติกรรมในการ
2. ซักถามความรู้เรื่ อง ทํางานเป็ นรายบุคคลในด้าน ทํางานเป็ นรายบุคคลหรื อ
การคมนาคมขนส่งของทวีป ความมีวินยั ความใฝ่ เรี ยนรู้ เป็ นกลุ่มในด้านการสื่ อสาร
อเมริ กาเหนือ ฯลฯ การคิด การแก้ปัญหา ฯลฯ
3. ตรวจผลงาน/กิจกรรม
เป็ นรายบุคคลหรื อเป็ นกลุ่ม
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 61

5. สาระการเรียนรู้
 การคมนาคมขนส่ง
1. ทางบก
2. ทางนํ้า
3. ทางอากาศ

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย  ฟัง พูด อ่าน และเขียนข้อมูลเกี่ยวกับการคมนาคมขนส่งของทวีป
อเมริ กาเหนือ
การงานอาชีพฯ  ค้นคว้าข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตและทําแผนที่การคมนาคมขนส่งของ
ทวีปอเมริ กาเหนือ
ศิลปะ  วาดภาพและออกแบบสัญลักษณ์ในแผนที่แสดงระบบการคมนาคม
ขนส่งของทวีปอเมริ กาเหนือ
ภาษาต่างประเทศ  อ่านและแปลความหมายชื่อหรื อคําต่าง ๆ ที่ปรากฏในแผนที่ที่เป็ น
ภาษาอังกฤษ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
ชั่วโมงที่ 12
1. ครู แจ้งตัวชี้วดั ชั้นปี และจุดประสงค์การเรี ยนรู้ให้นกั เรี ยนทราบ
2. ครู ให้นกั เรี ยนชมวีดิทศั น์หรื อบางฉากบางตอนของภาพยนตร์ที่มีภาพรถไฟ เรื อ และเครื่ องบิน
ของทวีปอเมริ กาเหนือ แล้วชวนให้นกั เรี ยนตอบคําถามว่า อะไรทําให้ระบบคมนาคมในทวีปอเมริ กาเหนือ
มีความเจริ ญก้าวหน้าอย่างมาก โดยใช้ขอ้ มูลที่ได้จากการศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับการคมนาคมขนส่งในทวีป
อเมริ กาเหนือและจากการรับชมวีดิทศั น์ ครู ช่วยตอบข้อสงสัยและอธิบายเพิ่มเติม
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
3. ครู แจกใบงานที่ 4 เรื่ อง แผนที่การคมนาคมขนส่งของทวีปอเมริ กาเหนือ ให้นกั เรี ยนใส่ ขอ้ มูล
ระบบคมนาคมขนส่ง ได้แก่ ทางรถไฟ ท่าเรื อ และสายการบินที่สาํ คัญ ลงในแผนที่รวมไปถึงออกแบบ
สัญลักษณ์และอธิบายสัญลักษณ์ โดยให้สงั เกตจากลักษณะภูมิประเทศที่ปรากฏในแผนที่
4. ครู ให้นกั เรี ยนจับคู่ นําแผนที่ที่ทาํ เสร็ จแล้วแลกเปลี่ยนกับของเพื่อน ครู เฉลยข้อมูลที่ถูกต้อง ให้
นักเรี ยนแก้ไขของเพื่อนให้ถูกต้องพร้อมทั้งตกแต่งแผนที่ให้มีความสะอาดและสวยงาม
5. ครู สรุ ปและอธิ บายเพิ่มเติม นักเรี ยนสามารถบันทึกข้อมูลที่ครู เพิ่มเติมให้ลงสมุดหรื อลงในแผน
ที่กไ็ ด้ ระหว่างนี้ครู สามารถเปิ ดวีดิทศั น์ที่นกั เรี ยนได้ชมไปแล้วในขั้นแรกมาประกอบในการสรุ ปและ
อธิ บายได้
6. ครูให้ นักเรียนศึกษาระบบคมนาคมขนส่ งของประเทศสมาชิกอาเซียน แล้วช่ วยกันสรุปว่ ามี
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 62

ความเหมือนและแตกต่างจากระบบคมนาคมขนส่ งของทวีปอเมริกาเหนืออย่ างไร ให้ นักเรียนบันทึก


ความรู้ลงสมุด จากนั้นครูให้ นักเรียนวิเคราะห์ ว่า อาเซียนจะสามารถพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมได้
ทัดเทียมกับทวีปอเมริกาเหนือหรือไม่ อย่ างไร โดยให้ นักเรียนเขียนเป็ นเรียงความความยาว 1
หน้ ากระดาษ ส่ งครู
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนผู้เรียน
7. ครู ให้นกั เรี ยนทํากิจกรรมที่เกี่ยวกับการคมนาคมขนส่งของทวีปอเมริ กาเหนือ ในแบบฝึ กทักษะ
รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด แล้วช่วยกันเฉลยคําตอบที่
ถูกต้อง
ขั้นที่ 4 นําไปใช้
8. ครู ให้นกั เรี ยนนําความรู ้เรื่ อง การคมนาคมขนส่งของทวีปอเมริ กาเหนือ ไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจําวัน
ขั้นที่ 5 สรุ ป
9. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้เรื่ อง การคมนาคมขนส่งของทวีปอเมริ กาเหนือ แล้วบันทึก
ความรู ้ที่ได้ลงสมุด
10. ครู ให้นกั เรี ยนทําแบบทดสอบหลังเรี ยนและช่วยกันเฉลยคําตอบที่ถูกต้อง
11. ครู ให้นกั เรี ยนทําแบบทดสอบการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ ประจําหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 2 ใน
แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด เพื่อประเมินผล
การเรี ยนรู้ดา้ นความรู้ ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม และด้านทักษะ/กระบวนการของนักเรี ยน
12. ครู ให้นกั เรี ยนอ่านเนื้อหาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 1 เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ และหน่วยการเรี ยนรู้ที่ 2
ทวีปอเมริ กาเหนือ เป็ นการบ้านเพื่อเตรี ยมทดสอบกลางภาคในครั้งต่อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
ครู ให้นกั เรี ยนเลือกเทคโนโลยีที่สาํ คัญที่เกี่ยวกับระบบคมนาคมของทวีปอเมริ กาเหนือ เช่น รถไฟ
เครื่ องบินคองคอร์ด มาคนละ 1 ชนิด แล้วเขียนเป็ นรู ปแบบของบทความ นํามารวมกันจัดทําเป็ นวารสาร

9. สื่ อ/แหล่ งการเรียนรู้


1. แบบทดสอบหลังเรี ยน
2. วีดิทศั น์ที่มีภาพรถไฟ เรื อ และเครื่ องบินในทวีปอเมริ กาเหนือ
3. ใบงานที่ 4 เรื่ อง แผนที่การคมนาคมขนส่งของทวีปอเมริ กาเหนือ
4. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
5. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
6. คู่มือการสอน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 63

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู้ _______________________________________________________


แนวทางการพัฒนา _________________________________________________________________
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู้ ___________________________________________________
แนวทางแก้ไข ____________________________________________________________________
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน ___________________________________________________________
เหตุผล __________________________________________________________________________
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ____________________________________________________
________________________________________________________________________________
ลงชื่อ ________________________ ผู้สอน
___________ / __________ / __________

การทดสอบกลางภาค
สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
การทดสอบกลางภาค เวลา 1 ชั่วโมง

ชั่วโมงที่ 13
1. ครู ให้นกั เรี ยนทําแบบทดสอบกลางภาค
2. ครู ซกั ถามนักเรี ยนว่า ถ้ากล่าวถึงป่ าดิบชื้นที่มีพ้นื ที่กว้างขวางมากที่สุด นักเรี ยนจะนึกถึงป่ าดิบ
ชื้นใด ในทวีปใด แล้วมอบหมายให้นกั เรี ยนศึกษาเนื้อหาในหน่วยการเรี ยนรู้ที่ 3 ทวีปอเมริ กาใต้ เรื่ อง
ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาใต้ เป็ นการบ้านเพื่อเตรี ยมจัดการเรี ยนรู้ในครั้งต่อไป
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 64

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3


ทวีปอเมริกาใต้

เวลา 8 ชั่วโมง

ผังมโนทัศน์ เป้าหมายการจัดการเรียนรู้ และขอบข่ ายภาระงาน/ชิ้นงาน

ความรู้
1. ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาใต้
2. ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม
ของทวีปอเมริ กาใต้

คุณธรรม จริยธรรม
ทักษะ/กระบวนการ
และค่ านิยม
1. การสื บค้น
1. มีวินยั
2. การใช้เทคโนโลยี ทวีปอเมริกาใต้
2. ใฝ่ เรี ยนรู ้
3. การคิด
3. มุ่งมัน่ ในการทํางาน
4. กระบวนการกลุ่ม
4. รับผิดชอบ

ภาระชิ้นงาน
1. การทําแบบทดสอบ
2. การศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพ และลักษณะทางสังคม
เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของทวีปอเมริ กาใต้
3. วิเคราะห์เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะการดํารงชีวิตของประชากรในทวีป
อเมริ กาใต้กบั ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาใต้
4. การนําเสนอผลงานเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะการดํารงชีวิตของประชากร
ในทวีปอเมริ กาใต้กบั ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาใต้
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 65

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 ทวีปอเมริกาใต้
ขั้นที่ 1 ผลลัพธ์ ปลายทางที่ต้องการให้ เกิดขึน้ กับนักเรียน
ตัวชี้วดั ชั้นปี
 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
(ส 5.1 ม. 3/2)
ความเข้ าใจที่คงทนของนักเรียน คําถามสํ าคัญที่ทําให้ เกิดความเข้ าใจที่คงทน
นักเรียนจะเข้ าใจว่า…
 ลักษณะทางกายภาพมีอิทธิพลต่อวิถีการดําเนิน  ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม
ชีวิต สังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของ ของทวีปอเมริ กาใต้ได้รับอิทธิพลมาจาก
ประชากรในทวีปอเมริ กาใต้ ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาใต้
ใช่หรื อไม่ เพราะเหตุใด
ความรู้ของนักเรียนที่นําไปสู่ ความเข้ าใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นําไปสู่
นักเรียนจะรู้ว่า... ความเข้ าใจที่คงทน นักเรียนจะสามารถ...
1. คําสําคัญ ได้แก่ เส้นทรอปิ กออฟแคปริ คอร์น 1. อธิ บายลักษณะทางกายภาพ รวมไปถึงลักษณะ
ช่องแคบ เทือกเขา แอ่งระหว่างภูเขา ที่ราบสูง ทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของทวีป
ที่ราบสูงเชิงเขา ทะเลสาบ ลมค้า เซลวาส อเมริ กาใต้
2. ทวีปอเมริ กาใต้มีขนาดใหญ่เป็ นอันดับ 4 ของ 2. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะการ
โลก รองจากทวีปเอเชีย แอฟริ กา และอเมริ กา ดํารงชีวิตของประชากรกับลักษณะทางกายภาพ
เหนือ มีทิศเหนือติดต่อกับทวีปอเมริ กาเหนือ ของทวีปอเมริ กาใต้
ทิศตะวันออกจดมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศใต้
ติดต่อกับช่องแคบเดรก ซึ่งเป็ นน่านนํ้าที่คนั่
ทวีปอเมริ กาใต้กบั ทวีปแอนตาร์กติกา ทิศ
ตะวันตกจดคลองปานามาและมหาสมุทร
แปซิฟิก
3. ลักษณะภูมิประเทศของทวีปอเมริ กาใต้แบ่งเป็ น
3 เขต ได้แก่ เขตเทือกเขาสูงทางด้านตะวันตก
เขตที่ราบลุ่มแม่น้ าํ และเขตที่ราบสูงทางด้าน
ตะวันออก มีแม่น้ าํ ที่สาํ คัญ เช่น แม่น้ าํ แอมะ-
ซอน ปารานา ปารากวัย โอรี โนโก เขต
ภูมิอากาศแบ่งได้ 8 เขต ได้แก่ เขตป่ าฝนเขต
ร้อน ร้อนชื้นแบบทุ่งหญ้าเขตร้อน ทะเลทราย
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 66

ทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทราย อบอุ่นชื้น ภาคพื้นสมุทร


ชายฝั่งตะวันตก เมดิเตอร์เรเนียน และที่สูง
4. ทวีปอเมริ กาใต้มีประชากรร้อยละ 6 ของโลก
แบ่งเชื้อชาติได้ 3 กลุ่ม คือ กลุ่มอินเดียนเป็ น
เผ่าดั้งเดิมของทวีปอเมริ กาใต้ กลุ่มผิวขาว
ได้แก่ ชาวสเปน โปรตุเกส อิตาลี เยอรมัน และ
โปแลนด์ และกลุ่มผิวดํา ประชากรส่วนใหญ่
นับถือคริ สต์ศาสนานิกายโปเตสแตนต์ และ
โรมันคาทอลิกมีผนู้ บั ถือน้อย
5. ทวีปอเมริ กาใต้ประชากรส่ วนใหญ่มีอาชีพ
ทางด้านการเกษตร ได้แก่ การเพาะปลูกและ
เลี้ยงสัตว์ แต่ปัจจุบนั หลายประเทศได้หนั มา
พัฒนาด้านอุตสาหกรรมมากขึ้น ด้านการ
เพาะปลูก พืชที่สาํ คัญ ได้แก่ กาแฟ โกโก้ กล้วย
อ้อย ข้าวสาลี ข้าวโพด และ ฝ้ าย ส่วนการเลี้ยง
สัตว์จะเลี้ยงบริ เวณที่มีทุ่งหญ้าอุดมสมบูรณ์
สัตว์เลี้ยงที่สาํ คัญ ได้แก่ โคเนื้อ แกะ และสุกร
นอกจากนี้ยงั มีการทําประมง โดยเฉพาะในเขต
น่านนํ้ามหาสมุทรแปซิฟิกทางชายฝั่งตะวันตก
ของทวีปอเมริ กาใต้เป็ นแหล่งปลาชุกชุมเขต
หนึ่งของโลก
6. ทวีปอเมริ กาใต้มีระบบการคมนาคมขนส่งที่
พัฒนาน้อยกว่าทวีปอเมริ กาเหนือ และกระจาย
ไม่ทวั่ ถึงในทุกภูมิภาคของทวีป
ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็ นหลักฐานที่แสดงว่ านักเรียนมีผลการเรียนรู้
ตามกําหนดไว้ อย่ างแท้ จริง
1. ภาระงานที่นักเรียนต้ องปฏิบัติ
1.1 ศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพ และลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม
ของทวีปอเมริ กาใต้
1.2 วิเคราะห์และนําเสนอผลงานเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะการดํารงชีวิตของประชากร
ในทวีปอเมริ กาใต้กบั ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาใต้
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 67

2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
2.1 วิธีการประเมินผลการเรี ยนรู้ 2.2 เครื่ องมือประเมินผลการเรี ยนรู้
1) การทดสอบ 1) แบบทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน
2) การประเมินผลงาน/กิจกรรม 2) แบบประเมินผลงาน/กิจกรรม
เป็ นรายบุคคลหรื อเป็ นกลุ่ม เป็ นรายบุคคลหรื อเป็ นกลุ่ม
3) การประเมินด้านคุณธรรม จริ ยธรรม 3) แบบประเมินด้านคุณธรรม จริ ยธรรม
และค่านิยม และค่านิยม
4) การประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ 4) แบบประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ
3. สิ่ งที่มุ่งประเมิน
3.1 ความสามารถ 6 ด้าน ได้แก่ การอธิบาย ชี้แจง การแปลความและตีความ การประยุกต์ ดัดแปลง
และนําไปใช้ การมีมุมมองที่หลากหลาย การให้ความสําคัญและใส่ใจในความรู้สึกของผูอ้ ื่น
และการรู้จกั ตนเอง
3.2 ทักษะ/กระบวนการ เช่น การสื่ อสาร การใช้เทคโนโลยี การคิด การแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม
3.3 คุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม เช่น มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู้ อยูอ่ ย่างพอเพียง รักความเป็ นไทย รักชาติ
ศาสน์ กษัตริ ย ์ มีจิตสาธารณะ มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริ ต
ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 6 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาใต้ เวลา 4 ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 7 ประชากรของทวีปอเมริ กาใต้ เวลา 2 ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 8 ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริ กาใต้ เวลา 1 ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 9 การคมนาคมขนส่งของทวีปอเมริ กาใต้ เวลา 1 ชัว่ โมง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 68

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 6
ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาใต้
สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 ทวีปอเมริกาใต้ เวลา 4 ชั่วโมง

1. สาระสํ าคัญ
ทวีปอเมริ กาใต้มีพ้นื ที่ส่วนใหญ่อยูท่ างซีกโลกใต้ เป็ นดินแดนที่อุดมสมบูรณ์ดว้ ยทรัพยากร
ธรรมชาติหลายชนิด พื้นที่ส่วนใหญ่เป็ นภูเขาและที่ราบสูง มีที่ราบเฉพาะเขตชายฝั่งและลุ่มแม่น้ าํ
ภูมิอากาศมีท้ งั เขตร้อนและเขตอบอุ่น ซึ่งเหมาะแก่การดํารงชีวิต จึงเป็ นทวีปที่มีประชากรอาศัยมากแห่ง
หนึ่งของโลก แต่เนื่องจากความแตกต่างทางด้านสังคม และปัญหาเกี่ยวกับคุณภาพประชากร ทําให้การ
พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ ยังไม่เจริ ญก้าวหน้าเท่าที่ควร ทั้ง ๆ ที่อยูใ่ กล้ชิดกับทวีปอเมริ กาเหนือ
ซึ่งเป็ นทวีปที่พฒั นาและเจริ ญก้าวหน้าในทุก ๆ ด้าน

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ (ส 5.1 ม. 3/2)

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิ บายลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาใต้ได้ (K)
2. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะที่ต้ งั ขนาด ลักษณะภูมิประเทศ และภูมิอากาศในทวีป
อเมริ กาใต้ได้ (K, P)
3. ใฝ่ เรี ยนรู้และสนใจในการเรี ยนรู้เรื่ อง ทวีปอเมริ กาใต้ (A)
4. ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาใต้จากแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ได้อย่าง
ถูกต้อง (P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A)
1. ทดสอบก่อนเรี ยน  ประเมินพฤติกรรมในการ  ประเมินพฤติกรรมในการ
2. ซักถามความรู้เรื่ อง ลักษณะ ทํางานเป็ นรายบุคคลในด้าน ทํางานเป็ นรายบุคคลหรื อ
ทางกายภาพของทวีปอเมริ กา ความมีวินยั ความใฝ่ เรี ยนใฝ่ รู ้ เป็ นกลุ่มในด้านการสื่ อสาร
ใต้ ฯลฯ การคิด การแก้ปัญหา ฯลฯ
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 69

3. ตรวจผลงาน/กิจกรรม
เป็ นรายบุคคลหรื อเป็ นกลุ่ม

5. สาระการเรียนรู้
 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาใต้
1. ที่ต้ งั อาณาเขต และขนาด
2. ลักษณะภูมิประเทศ
3. แหล่งนํ้าในทวีปอเมริ กาใต้
4. ภูมิอากาศ
4.1 ปัจจัยที่มีอิทธิ พลต่อสภาพภูมิอากาศ
4.2 เขตภูมิอากาศ
5. ทรัพยากรธรรมชาติ

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย  ฟัง พูด อ่าน และเขียนข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของทวีป
อเมริ กาใต้
ศิลปะ  วาดภาพและระบายสี แผนที่ภูมิประเทศและภูมิอากาศของทวีป
อเมริ กาใต้
การงานอาชีพฯ  ค้นคว้าข้อมูลลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาใต้จากแหล่งการ
เรี ยนรู้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
ชั่วโมงที่ 14
1. ครู แจ้งตัวชี้วดั ชั้นปี และจุดประสงค์การเรี ยนรู้ให้นกั เรี ยนทราบ
2. ครู ให้นกั เรี ยนทําแบบทดสอบก่อนเรี ยน
3. ครู ประเมินความรู ้ของนักเรี ยนว่ามีความรู้ในเรื่ องราวของทวีปอเมริ กาใต้มากน้อยเพียงใดด้วย
คําถามต่าง ๆ เกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพทวีปอเมริ กาใต้ ให้นกั เรี ยนลุกขึ้นตอบทีละคน โดยให้นกั เรี ยน
ใช้ความรู้ที่ได้จากการศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาใต้ที่ได้รับมอบหมายให้
ไปศึกษามา
4. ครู นาํ แผนที่โลกมาแสดงในชั้นเรี ยน ให้นกั เรี ยนช่วยกันบอกถึงตําแหน่งที่ต้ งั ขนาด และอาณา
เขตของทวีปอเมริ กาใต้ ครู เฉลยคําตอบที่ถูกต้องและนําเข้าสู่เนื้อหาที่จะเรี ยน
(ระหว่างที่ครูเฉลยคําตอบ ให้ ครูนําข้ อมูลความรู้เกีย่ วกับอาเซียนมาร่ วมเปรียบเทียบกับข้ อมูลของ
ทวีปอเมริกาใต้ ด้วยก็ได้ เช่ น อาเซียนมีเนือ้ ที่รวมกันเพียงแค่ 4,605,681.2 ตารางกิโลเมตร โดยประเทศ
อินโดนีเซียมีเนือ้ ที่มากที่สุดที่ 2,019,358 ตารางกิโลเมตร และสิ งคโปร์ มเี นือ้ ที่น้อยที่สุดที่ 723.2 ตาราง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 70

กิโลเมตร เมือ่ เปรียบเทียบเนือ้ ที่ของอาเซียนกับเนือ้ ที่ของทวีปอเมริกาใต้ จะพบว่ าอาเซียนมีเนือ้ ที่น้อยกว่ า


ทวีปอเมริกาใต้ มาก)
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
5. ครู แจกใบงานที่ 1 เรื่ อง แผนที่รัฐกิจของทวีปอเมริ กาใต้ คนละ 1 แผ่น แล้วให้นกั เรี ยนวาดภาพ
และระบายสี ลงในแผนที่ และใส่ชื่อประเทศ ชื่อเมืองหลวง และระบายสี ประเทศตามขอบเขตของประเทศ
นั้น ๆ โดยนักเรี ยนสามารถค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ เช่น หนังสื อเรี ยน แผนที่เล่ม
อินเทอร์เน็ต
6. ครู ให้นกั เรี ยนนําแผนที่ที่ทาํ เสร็ จเรี ยบร้อยแล้วมาแลกเปลี่ยนกัน เพื่อสังเกต เพิ่มเติมและแก้ไข
ให้มีความสมบูรณ์มากขึ้น นักเรี ยนจะต้องมีความเคารพและให้เกียรติกบั ชิ้นงานของเพื่อนด้วย หลังจาก
นั้นครู ร่วมเฉลยโดยอาศัยข้อมูลจากแผนที่และหนังสื อเรี ยนที่ได้รับการยอมรับ ครู ควรที่จะมีใบงานเกิน
กว่าจํานวนนักเรี ยนในชั้นเรี ยน เพื่อให้นกั เรี ยนได้มีโอกาสแก้ไขงานของตนเองให้มีความถูกต้องสมบูรณ์
7. ครู อธิ บายเพิ่มเติมเกี่ยวกับที่ต้ งั อาณาเขต และขนาดของทวีปอเมริ กาใต้ให้นกั เรี ยนฟัง โดยใช้
เนื้อหาจากหนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. ครู มอบหมายให้นกั เรี ยนศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับลักษณะภูมิประเทศของทวีปอเมริ กาใต้ แล้วบันทึก
ความรู ้ที่ได้ลงในสมุด เป็ นการบ้านเพื่อเตรี ยมจัดการเรี ยนรู้ในครั้งต่อไป
ชั่วโมงที่ 15
9. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนซักถามข้อสงสัยต่าง ๆ จากเรื่ องลักษณะภูมิประเทศของทวีปอเมริ กาใต้
ที่ได้รับมอบหมายให้ไปศึกษามา โดยครู ตอบข้อสงสัยและอธิ บายเพิ่มเติม
10. ครู แจกใบงานที่ 2 เรื่ อง แผนที่ลกั ษณะภูมิประเทศของทวีปอเมริ กาใต้ คนละ 1 แผ่น แล้วให้
นักเรี ยนวาดภาพและระบายสี ลงในแผนที่ และใส่แนวเทือกเขา เส้นแม่น้ าํ เขตภูมิประเทศ และใส่ชื่อ
คําอธิบายสัญลักษณ์พร้อมระบายสี ให้ถูกต้อง โดยนักเรี ยนสามารถค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งการเรี ยนรู้
ต่าง ๆ เช่น หนังสื อเรี ยน แผนที่เล่ม อินเทอร์เน็ต
11. ครู ให้นกั เรี ยนนําแผนที่ที่ทาํ เสร็ จเรี ยบร้อยแล้วมาแลกเปลี่ยนกัน เพื่อสังเกต เพิ่มเติมและแก้ไข
ให้มีความสมบูรณ์มากขึ้น นักเรี ยนจะต้องมีความเคารพและให้เกียรติกบั ชิ้นงานของเพื่อนด้วย หลังจาก
นั้นครู ร่วมเฉลยโดยอาศัยข้อมูลจากแผนที่และหนังสื อเรี ยนที่ได้รับการยอมรับ ครู ควรที่จะมีใบงานเกิน
กว่าจํานวนนักเรี ยนในชั้นเรี ยน เพื่อให้นกั เรี ยนได้มีโอกาสแก้ไขงานของตนเองให้มีความถูกต้องสมบูรณ์
12. ครู อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับลักษณะภูมิประเทศและแหล่งนํ้าในทวีปอเมริ กาใต้ให้นกั เรี ยนฟัง
โดยใช้เนื้อหาจากหนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
13. ครู มอบหมายให้นกั เรี ยนศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับภูมิอากาศของทวีปอเมริ กาใต้ แล้วบันทึกความรู ้ที่
ได้ลงในสมุด เป็ นการบ้านเพื่อเตรี ยมจัดการเรี ยนรู้ในครั้งต่อไป
ชั่วโมงที่ 16
14. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนซักถามข้อสงสัยต่าง ๆ จากเรื่ องภูมิอากาศของทวีปอเมริ กาใต้ที่ได้รับ
มอบหมายให้ไปศึกษามา โดยครู ตอบข้อสงสัยและอธิบายเพิ่มเติม
15. ครู แจกใบงานที่ 3 เรื่ อง แผนที่เขตภูมิอากาศของทวีปอเมริ กาใต้ แล้วให้นกั เรี ยนวาดภาพและ
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 71

ระบายสี ลงในแผนที่ และใส่เขตภูมิอากาศพร้อมชื่อเขต คําอธิ บายสัญลักษณ์ และระบายสี ให้ถูกต้อง โดย


นักเรี ยนสามารถค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ เช่น หนังสื อเรี ยน แผนที่เล่ม อินเทอร์เน็ต
16. ครู ให้นกั เรี ยนนําแผนที่ที่ทาํ เสร็ จเรี ยบร้อยแล้วมาแลกเปลี่ยนกัน เพื่อสังเกต เพิ่มเติมและแก้ไข
ให้มีความสมบูรณ์มากขึ้น นักเรี ยนจะต้องมีความเคารพและให้เกียรติกบั ชิ้นงานของเพื่อนด้วย หลังจาก
นั้นครู ร่วมเฉลยโดยอาศัยข้อมูลจากแผนที่และหนังสื อเรี ยนที่ได้รับการยอมรับ ครู ควรที่จะมีใบงานเกิน
กว่าจํานวนนักเรี ยนในชั้นเรี ยน เพื่อให้นกั เรี ยนได้มีโอกาสแก้ไขงานของตนเองให้มีความถูกต้องสมบูรณ์
17. ครู อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับภูมิอากาศทวีปอเมริ กาใต้ให้นกั เรี ยนฟัง โดยใช้เนื้อหาจากหนังสื อ
เรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
18. ครู มอบหมายให้นกั เรี ยนสื บค้นข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติของทวีปอเมริ กาใต้ แล้ว
บันทึกข้อมูลที่ได้ลงในสมุด เป็ นการบ้านเพื่อเตรี ยมจัดการเรี ยนรู ้ในครั้งต่อไป
ชั่วโมงที่ 17
19. ครู สนทนาซักถามความรู ้ของนักเรี ยนเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติในทวีปอเมริ กาใต้ที่ได้รับ
มอบหมายให้ไปสื บค้นข้อมูลมาในประเด็นต่าง ๆ เช่น
– ทรัพยากรธรรมชาติที่เด่นชัดที่สุดในทวีปอเมริ กาใต้คืออะไร
– ทรัพยากรธรรมชาติชนิดใดที่มีความสําคัญต่อประเทศต่าง ๆ ในทวีปอเมริ กาใต้มากที่สุด
เพราะอะไร
20. ครู ให้นกั เรี ยนช่วยกันตอบคําถาม โดยนําแผนที่ลกั ษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศมาช่วยในการ
ตอบคําถามได้
21. ครู ให้นกั เรี ยนแบ่งกลุ่มเป็ น 4 กลุ่ม แล้วนําความรู้ที่ได้จากการสื บค้นข้อมูลเกี่ยวกับ
ทรัพยากรธรรมชาติในทวีปอเมริ กาใต้บนั ทึกลงในแบบบันทึกผลการสื บค้นตามหัวข้อที่ครู กาํ หนดให้
ดังนี้
กลุ่มที่ 1 ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรดิน
กลุ่มที่ 2 ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรป่ าไม้
กลุ่มที่ 3 ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ในธรรมชาติ
กลุ่มที่ 4 ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรทางพลังงานและแร่
22. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มนําข้อมูลที่ได้มาช่วยกันเขียนเป็ นแผนที่ทรัพยากรธรรมชาติของทวีปอเมริ กา
ใต้ตามชนิดของทรัพยากรธรรมชาติที่ได้รับมอบหมาย โดยครู คอยเสนอแนะและตรวจสอบความถูกต้อง
ให้แก่นกั เรี ยนทุกกลุ่ม จากนั้นนําแผนที่ที่ได้ไปติดไว้บนป้ ายนิเทศภายในชั้นเรี ยน แล้วให้นกั เรี ยนบันทึก
ผลการเรี ยนรู้ที่ได้ลงในแบบบันทึกผลการเรี ยนรู ้
23. ครู มอบหมายให้ นักเรียนแบ่ งกลุ่ม กลุ่มละ 4–6 คน ศึกษาลักษณะทางกายภาพของประเทศ
สมาชิกอาเซียนแล้วนํามาเปรียบเทียบกับลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาใต้ ว่ามีความเหมือนหรือ
แตกต่ างกันอย่างไร สรุปเป็ นแผนที่ความคิด แผนผัง หรือตาราง ตามความสนใจ แล้วนําไปติดไว้ ที่ป้าย
นิเทศ (ครูควรติดแผนที่ทวีปอเมริกาใต้ และแผนที่ทวีปเอเชียไว้ที่ป้ายนิเทศด้ วย)
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 72

ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนผู้เรียน
24. ครู ให้นกั เรี ยนทํากิจกรรมที่เกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาใต้ ในแบบฝึ กทักษะ
รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด แล้วช่วยกันเฉลยคําตอบที่
ถูกต้อง
ขั้นที่ 4 นําไปใช้
25. ครู แนะนําให้นกั เรี ยนนําความรู้เรื่ อง ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาใต้ ไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจําวัน
ขั้นที่ 5 สรุ ป
26. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้เรื่ อง ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาใต้ แล้วบันทึกลง
สมุด และเก็บใบงานแผนที่ลงในแฟ้ มสะสมผลงาน
27. ครู มอบหมายให้นกั เรี ยนศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับประชากรในทวีปอเมริ กาใต้ แล้วบันทึกความรู ้ที่
ได้ลงในสมุด เป็ นการบ้านเพื่อเตรี ยมจัดการเรี ยนรู้ในครั้งต่อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
ครู ให้นกั เรี ยนวิเคราะห์ลกั ษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาใต้จากภาพจากดาวเทียม ซึ่งสามารถ
ศึกษาได้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ

9. สื่ อ/แหล่ งการเรียนรู้


1. แบบทดสอบก่อนเรี ยน
2. แผนที่โลก แผนที่ภมู ิประเทศ แผนที่ภมู ิอากาศ และแผนที่รัฐกิจของทวีปอเมริ กาใต้
3. แผนที่เล่ม
4. ใบงานที่ 1 เรื่ อง แผนที่รัฐกิจของทวีปอเมริ กาใต้
5. ใบงานที่ 2 เรื่ อง แผนที่ลกั ษณะภูมิประเทศของทวีปอเมริ กาใต้
6. ใบงานที่ 3 เรื่ อง แผนที่เขตภูมิอากาศของทวีปอเมริ กาใต้
7. แบบบันทึกผลการสื บค้น
8. แบบบันทึกผลการเรี ยนรู ้
9. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
11. คู่มือการสอน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
12. สื่ อการเรี ยนรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช
จํากัด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 73

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู้ _______________________________________________________


แนวทางการพัฒนา _________________________________________________________________
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู้ ___________________________________________________
แนวทางแก้ไข ____________________________________________________________________
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน ___________________________________________________________
เหตุผล __________________________________________________________________________
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ____________________________________________________
________________________________________________________________________________
ลงชื่อ ________________________ ผู้สอน
___________ / __________ / __________
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 74

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 7
ประชากรของทวีปอเมริกาใต้
สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 ทวีปอเมริกาใต้ เวลา 2 ชั่วโมง

1. สาระสํ าคัญ
ประชากรของทวีปอเมริ กาใต้มีจาํ นวนมากเป็ นอันดับ 5 ของโลก ความหนาแน่นประมาณ 22 คน
ต่อตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยประชากร 3 กลุ่ม คือ กลุ่มอินเดียน กลุ่มผิวขาว และกลุ่มผิวดํา ประเทศ
ในทวีปอเมริ กาใต้เกือบทุกประเทศใช้ภาษาสเปนเป็ นภาษาราชการ ประเทศที่ใช้ภาษาอื่นเป็ นภาษาราชการ
ได้แก่ ประเทศบราซิลใช้ภาษาโปรตุเกส ประเทศกายอานาใช้ภาษาอังกฤษ ดินแดนเฟรนช์เกียนาของ
ฝรั่งเศสใช้ภาษาฝรั่งเศส ชาวอเมริ กาใต้ส่วนใหญ่ยงั มีความเชื่อแบบดั้งเดิม

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ (ส 5.2 ม. 3/2)

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิ บายลักษณะของประชากร ภาษา และศาสนาในทวีปอเมริ กาใต้ได้ (K)
2. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการกระจายตัวและการดํารงชีวิตของประชากรในทวีปอเมริ กาใต้
ได้ (K, P)
3. มีความมุ่งมัน่ ในการเรี ยนรู้และแสดงให้เห็นถึงความสนใจในการศึกษาข้อมูลเรื่ องประชากรใน
ทวีปอเมริ กาใต้(A)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A)
1. ซักถามความรู้เรื่ อง ประชากร  ประเมินพฤติกรรมในการ  ประเมินพฤติกรรมในการ
ของทวีปอเมริ กาใต้ ทํางานเป็ นรายบุคคลในด้าน ทํางานเป็ นรายบุคคลหรื อ
2. ตรวจผลงาน/กิจกรรม ความมีวินยั ความใฝ่ เรี ยนใฝ่ รู ้ เป็ นกลุ่มในด้านการสื่ อสาร
เป็ นรายบุคคลหรื อเป็ นกลุ่ม ฯลฯ การคิด การแก้ปัญหา ฯลฯ
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 75

5. สาระการเรียนรู้
 ประชากร
1. จํานวนประชากร
2. เชื้อชาติ
3. ภาษา
4. ศาสนา
5. การกระจายของประชากร

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย  ฟัง พูด อ่าน และเขียนเกี่ยวกับข้อมูลประชากรของทวีปอเมริ กาใต้
การงานอาชีพฯ  ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับสถิติประชากรของทวีปอเมริ กาใต้จากแหล่ง
การเรี ยนรู้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต
ภาษาต่างประเทศ  อ่านและแปลข้อมูลเกี่ยวกับสถิติประชากรของทวีปอเมริ กาใต้ที่เป็ น
ภาษาอังกฤษ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
ชั่วโมงที่ 18
1. ครู แจ้งตัวชี้วดั ชั้นปี และจุดประสงค์การเรี ยนรู้ให้นกั เรี ยนทราบ
2. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนซักถามข้อสงสัยต่าง ๆ จากเรื่ องประชากรในทวีปอเมริ กาใต้ที่ได้รับ
มอบหมายให้ไปศึกษามา โดยครู ตอบข้อสงสัยและอธิบายเพิ่มเติม
3. ครู ให้นกั เรี ยนดูภาพประชากรในทวีปอเมริ กาใต้หลาย ๆ ภาพ แล้วสังเกตว่าประชากรมีความ
แตกต่างกันหรื อไม่ และถ้าจะแบ่งกลุ่มประชากรในทวีปอเมริ กาใต้ แบ่งได้กี่กลุ่ม อะไรบ้าง ให้นกั เรี ยน
ช่วยกันแสดงความคิดเห็น ครู สงั เกตความกระตือรื อร้นในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
4. ครู ต้ งั คําถามกระตุน้ ความสนใจให้แก่นกั เรี ยนว่า ตามที่นกั เรี ยนได้แบ่งกลุ่มประชากรไว้น้ นั
นักเรี ยนคิดว่ากลุ่มของประชากรในแต่ละกลุ่มนั้นใช้ภาษาเดียวกันหรื อไม่ ถ้าไม่ใช้แล้วจะมีการใช้ภาษา
ใดบ้าง และกลุ่มประชากรแต่ละกลุ่มนั้นนับถือศาสนาเดียวกันหรื อไม่ ถ้าไม่นบั ถือศาสนาเดียวกันแล้วจะ
นับถือศาสนาใดบ้าง
5. ครู ให้นกั เรี ยนแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่มใหญ่ และร่ วมกันอภิปรายในคําถามที่ครู ได้ต้ งั ไว้ รวมไปถึง
กลุ่มประชากรที่นกั เรี ยนได้แบ่งไว้วา่ ถูกต้องหรื อไม่ โดยอภิปรายในเรื่ อง จํานวนประชากร เชื้อชาติ และ
ภาษาก่อน ซึ่งนักเรี ยนต้องช่วยกันสื บค้นข้อมูลดังกล่าวก่อนนํามาอภิปรายร่ วมกันด้วย
6. ครู ให้นกั เรี ยนสรุ ปผลการอภิปรายที่ได้ลงในแบบบันทึกผลการอภิปราย แล้วส่งตัวแทนออกมา
นําเสนอหน้าชั้นเรี ยน โดยครู คอยช่วยสรุ ปและอธิบายเพิ่มเติม
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 76

7. ครู มอบหมายให้นกั เรี ยนศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับศาสนาและการกระจายของประชากรในทวีป


อเมริ กาใต้ แล้วบันทึกข้อมูลที่ได้ลงในสมุด เป็ นการบ้านเพื่อเตรี ยมจัดการเรี ยนรู ้ในครั้งต่อไป
ชั่วโมงที่ 19
8. ครู ให้นกั เรี ยนทั้ง 2 กลุ่มร่ วมกันอภิปรายต่อจากชัว่ โมงที่ผา่ นมา โดยอภิปรายในเรื่ อง ศาสนาและ
การกระจายของประชากร ซึ่งนักเรี ยนสามารถนําข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับศาสนาและการ
กระจายของประชากรในทวีปอเมริ กาใต้ที่ได้รับมอบหมายให้ไปศึกษามาประกอบการอภิปรายได้
9. ครู ให้นกั เรี ยนสรุ ปผลการอภิปรายที่ได้ลงในแบบบันทึกผลการอภิปราย แล้วส่งตัวแทนออกมา
นําเสนอหน้าชั้นเรี ยน โดยครู คอยช่วยสรุ ปและอธิบายเพิ่มเติม
10. ครู มอบหมายให้ นักเรียนศึกษาลักษณะประชากรของประเทศสมาชิกอาเซียน แล้ วช่ วยกัน
สรุปว่ ามีความเหมือนและแตกต่ างจากลักษณะประชากรของทวีปอเมริกาใต้ อย่ างไร ให้ นักเรียนบันทึก
ความรู้ลงสมุด
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนผู้เรียน
11. ครู ให้นกั เรี ยนทํากิจกรรมเกี่ยวกับประชากรของทวีปอเมริ กาใต้ ในแบบฝึ กทักษะ รายวิชา
พื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด แล้วช่วยกันเฉลยคําตอบที่ถูกต้อง
12. ครู ซกั ถามนักเรี ยนว่า เพราะเหตุใดทวีปอเมริ กาใต้จึงมีประชากรเบาบางมาก ให้นกั เรี ยนช่วยกัน
ตอบคําถาม จากนั้นครู สรุ ปคําตอบของนักเรี ยน
ขั้นที่ 4 นําไปใช้
13. ครู แนะนําให้นกั เรี ยนนําความรู้เรื่ อง ประชากรของทวีปอเมริ กาใต้ ไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจําวัน
ขั้นที่ 5 สรุ ป
14. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้เรื่ อง ประชากรของทวีปอเมริ กาใต้ โดยให้นกั เรี ยนสรุ ปเป็ น
แผนที่ความคิดบันทึกลงสมุด
15. ครู มอบหมายให้นกั เรี ยนสื บค้นข้อมูลเกี่ยวกับอาชีพของประชากรในทวีปอเมริ กาใต้จากแหล่ง
การเรี ยนรู้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต แล้วบันทึกข้อมูลที่ได้ลงในสมุด เป็ นการบ้านเพื่อเตรี ยมจัดการเรี ยนรู ้
ในครั้งต่อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
ครู ให้นกั เรี ยนวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับการกระจายของประชากรใน
ทวีปอเมริ กาใต้ แล้วร่ วมกันทําเป็ นแผนที่แสดงการกระจายของประชากรในทวีปอเมริ กาใต้

9. สื่ อ/แหล่ งการเรียนรู้


1. ภาพประชากรของทวีปอเมริ กาใต้
2. แผนที่แสดงความหนาแน่นของประชากรในทวีปอเมริ กาใต้
3. แบบบันทึกผลการอภิปราย
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 77

4. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด


5. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
6. คู่มือการสอน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู้ _______________________________________________________


แนวทางการพัฒนา _________________________________________________________________
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู้ ___________________________________________________
แนวทางแก้ไข ____________________________________________________________________
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน ___________________________________________________________
เหตุผล __________________________________________________________________________
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ____________________________________________________
________________________________________________________________________________
ลงชื่อ ________________________ ผู้สอน
___________ / __________ / __________
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 78

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 8
ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้
สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 ทวีปอเมริกาใต้ เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสํ าคัญ
เศรษฐกิจในทวีปอเมริ กาใต้ส่วนใหญ่จะเป็ นการทําการเกษตรโดยเฉพาะในบริ เวณที่ราบลุ่มแม่น้ าํ
โอรี โนโก ที่ราบสูงบราซิล พืชผลที่สาํ คัญคือ กาแฟ โกโก้ กล้วยและอ้อย ข้าวสาลี ข้าวโพด ฝ้ าย มีการเลี้ยง
สัตว์จาํ พวกโค แพะ แกะ ซึ่งประเทศในทวีปอเมริ กาใต้มีการเลี้ยงโคเนื้อกันมาก ได้แก่ อาร์เจนตินา อุรุกวัย
ปารากวัย บราซิล นอกจากนี้ยงั มีการทําเหมืองแร่ ทองแดง เหล็ก ดีบุก และทองคํา อุตสาหกรรมและการค้า
ของชาวอเมริ กาใต้ยงั คงล้าหลังกว่าทวีปอเมริ กาเหนือ

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ (ส 5.2 ม. 3/2)

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิ บายลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริ กาใต้ได้ (K)
2. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริ กาใต้
ได้ (K, P)
3. แสดงให้เห็นถึงความพร้อมในการเรี ยนรู ้เรื่ องลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริ กาใต้ (A)
4. นําเสนอผลงานได้อย่างละเอียด ชัดเจน ครอบคลุมเนื้อหาที่เรี ยนรู ้ (K, P)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A)
1. ซักถามความรู้เรื่ อง ลักษณะ  ประเมินพฤติกรรมในการ  ประเมินพฤติกรรมในการ
ทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริ กา ทํางานเป็ นรายบุคคลในด้าน ทํางานเป็ นรายบุคคลหรื อ
ใต้ ความมีวินยั ความใฝ่ เรี ยนใฝ่ รู ้ เป็ นกลุ่มในด้านการสื่ อสาร
2. ตรวจผลงาน/กิจกรรม ฯลฯ การคิด การแก้ปัญหา ฯลฯ
เป็ นรายบุคคลหรื อเป็ นกลุ่ม
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 79

5. สาระการเรียนรู้
 เศรษฐกิจ
1. การเกษตร
2. การทําป่ าไม้
3. การทําประมง
4. การทําเหมืองแร่
5. อุตสาหกรรม
6. การค้า

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย  ฟัง พูด อ่าน และเขียนข้อมูลเกี่ยวกับทวีปอเมริ กาใต้
ศิลปะ  ตกแต่งป้ ายนิเทศเรื่ องเกี่ยวกับเศรษฐกิจในทวีปอเมริ กาใต้ให้มีความ
สวยงาม
การงานอาชีพฯ  ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริ กาใต้จาก
แหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
ชั่วโมงที่ 20
1. ครู แจ้งตัวชี้วดั ชั้นปี และจุดประสงค์การเรี ยนรู้ให้นกั เรี ยนทราบ
2. ครู สนทนาซักถามความรู ้ของนักเรี ยนเกี่ยวกับอาชีพของประชากรในทวีปอเมริ กาใต้ที่ได้รับ
มอบหมายให้ไปสื บค้นข้อมูลมา รวมถึงสังเกตจากข่าวต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับทวีปอเมริ กาใต้ ในประเด็นต่าง ๆ
เช่น
– ประชากรส่วนใหญ่ในทวีปอเมริ กาใต้ประกอบอาชีพใด
– อาชีพที่ประชากรในทวีปอเมริ กาใต้นิยมทํานั้นส่งผลต่อเศรษฐกิจของทวีปอย่างไร
โดยครู ให้นกั เรี ยนช่วยกันตอบคําถาม ครู สรุ ปและเชื่อมโยงเข้าสู่เนื้อหาที่จะเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
3. ครู แบ่งนักเรี ยนออกเป็ น 6 กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มเลือกอาชีพที่คาดว่าจะทําได้ในทวีปอเมริ กาใต้
กลุ่มละ 1 อาชีพ ไม่ซ้ าํ กัน โดยอาศัยข้อมูลจากลักษณะทางกายภาพและประชากรที่ได้ศึกษาไปแล้ว
4. ครู ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มออกมานําเสนอ โดยนําแผนที่ รู ปภาพ เครื่ องแต่งกาย หรื อแสดงท่าทาง
เพื่อประกอบการนําเสนอได้ แต่ตอ้ งมีความชัดเจนและถูกต้องของข้อมูล ใช้เวลาในการนําเสนอไม่เกิน
กลุ่มละ 10 นาที
5. ครู ช่วยสรุ ปหลังจากการนําเสนอและอธิบายเพิม่ เติม จากนั้นให้นกั เรี ยนสรุ ปความรู ้ที่ได้ลงใน
แบบบันทึกความรู้ แล้วช่วยกันเขียนเป็ นแผนที่แสดงลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริ กาใต้ ให้ทุกคนมี
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 80

ส่วนร่ วมในการทํางาน เมื่อเสร็ จแล้วให้ติดไว้บนป้ ายนิเทศภายในชั้นเรี ยน


6. ครูมอบหมายให้ นักเรียนศึกษาลักษณะทางเศรษฐกิจของประเทศสมาชิกอาเซียน แล้วช่ วยกัน
สรุปว่ ามีความเหมือนและแตกต่ างจากลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้อย่างไร ให้ นักเรียนบันทึก
ความรู้ลงสมุด
7. ครูให้ นักเรียนจับคู่และศึกษาเพิม่ เติมเกีย่ วกับลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้
โดยเฉพาะเรื่อง ปัญหาทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้ ในปัจจุบัน แล้ วนํามาช่ วยกันวิเคราะห์ ว่าปัญหา
ดังกล่ าวสามารถนํามาแก้ ไขปัญหาด้ วยหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงได้ หรือไม่ อย่ างไร สรุปเป็ นแผนที่
ความคิด หรือแผนผัง หรือความเรียง อย่างใดอย่ างหนึ่งตามความเหมาะสม ส่ งครู
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนผู้เรียน
8. ครู ให้นกั เรี ยนทํากิจกรรมที่เกี่ยวกับลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริ กาใต้ ในแบบฝึ กทักษะ
รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด แล้วช่วยกันเฉลยคําตอบที่
ถูกต้อง
ขั้นที่ 4 นําไปใช้
9. ครู ให้นกั เรี ยนนําความรู ้เรื่ อง ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริ กาใต้ ไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจําวัน
ขั้นที่ 5 สรุ ป
10. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้เรื่ อง ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริ กาใต้ แล้วบันทึก
ความรู ้ที่ได้ลงสมุด
11. ครู มอบหมายให้นกั เรี ยนทบทวนเนื้อหาเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาใต้และ
ศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับการคมนาคมขนส่งในทวีปอเมริ กาใต้ แล้วบันทึกความรู้ที่ได้ลงในสมุด เป็ นการบ้าน
เพื่อเตรี ยมจัดการเรี ยนรู ้ในครั้งต่อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
ครู ให้นกั เรี ยนหาข่าวหรื อบทความที่เกี่ยวกับสภาพทางเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ ในทวีปอเมริ กา
ใต้ ซึ่งได้รับผลกระทบจากลักษณะทางกายภาพของทวีป นําเสนอหน้าชั้นเรี ยน พร้อมวิเคราะห์โดยใช้
ความรู ้ความเข้าใจของตนเอง

9. สื่ อ/แหล่ งการเรียนรู้


1. แผนที่ทวีปอเมริ กาใต้
2. แบบบันทึกความรู้
3. อินเทอร์เน็ต และหนังสื อต่าง ๆ จากห้องสมุด
4. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
5. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
6. คู่มือการสอน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 81

7. สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู้ _______________________________________________________


แนวทางการพัฒนา _________________________________________________________________
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู้ ___________________________________________________
แนวทางแก้ไข ____________________________________________________________________
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน ___________________________________________________________
เหตุผล __________________________________________________________________________
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ____________________________________________________
________________________________________________________________________________
ลงชื่อ ________________________ ผู้สอน
___________ / __________ / __________
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 82

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 9
การคมนาคมขนส่ งของทวีปอเมริกาใต้
สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 ทวีปอเมริกาใต้ เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสํ าคัญ
การคมนาคมขนส่งของทวีปอเมริ กาใต้ยงั กระจายไม่ทวั่ ถึงทุกส่วนของทวีป เพราะประเทศส่วน
ใหญ่เป็ นประเทศกําลังพัฒนา ประกอบกับการมีสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่เป็ นอุปสรรคต่อการ
คมนาคมขนส่งอยูท่ ุกภูมิภาค กล่าวคือ มีภเู ขาสูงที่ทุรกันดาร มีภมู ิอากาศแห้งแล้งเป็ นทะเลทราย บริ เวณที่
มีการคมนาคมขนส่งสะดวกจึงกระจายอยูเ่ ป็ นหย่อม ๆ ในเขตที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ (ส 5.2 ม. 3/2)

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิ บายลักษณะการคมนาคมขนส่งของทวีปอเมริ กาใต้ได้ (K)
2. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและการคมนาคมขนส่งของทวีปอเมริ กาใต้
ได้ (K, P)
3. เห็นคุณค่าและความสําคัญของอาชีพต่าง ๆ ที่มีส่วนในการพัฒนาเศรษฐกิจของทวีปอเมริ กาใต้
(A)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A)
1. ทดสอบหลังเรี ยน  ประเมินพฤติกรรมในการ  ประเมินพฤติกรรมในการ
2. ซักถามความรู้เรื่ อง ทํางานเป็ นรายบุคคลในด้าน ทํางานเป็ นรายบุคคลหรื อ
การคมนาคมขนส่งของทวีป ความมีวินยั ความใฝ่ เรี ยนใฝ่ รู ้ เป็ นกลุ่มในด้านการสื่ อสาร
อเมริ กาใต้ ฯลฯ การคิด การแก้ปัญหา ฯลฯ
3. ตรวจผลงาน/กิจกรรม
เป็ นรายบุคคลหรื อเป็ นกลุ่ม
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 83

5. สาระการเรียนรู้
 การคมนาคมขนส่ง
1. ทางบก
2. ทางนํ้า
3. ทางอากาศ

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย  ฟัง พูด อ่าน และเขียนข้อมูลเกี่ยวกับการคมนาคมขนส่งของทวีปอเมริ กาใต้
ศิลปะ  วาดภาพและออกแบบสัญลักษณ์ในแผนที่แสดงระบบการคมนาคม
ขนส่งของทวีปอเมริ กาใต้
การงานอาชีพฯ  ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับการคมนาคมขนส่งของทวีปอเมริ กาใต้จาก
แหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
ชั่วโมงที่ 21
1. ครู แจ้งตัวชี้วดั ชั้นปี และจุดประสงค์การเรี ยนรู้ให้นกั เรี ยนทราบ
2. ครู นาํ แผนที่แสดงเส้นทางคมนาคมในทวีปอเมริ กาใต้มาให้นกั เรี ยนดู ครู ต้ งั คําถามเกี่ยวกับ
เส้นทางคมนาคมที่ได้พบเห็นในแผนที่วา่ ทําไมเส้นทางคมนาคมในทวีปอเมริ กาใต้จึงมีสภาพดังที่ปรากฏ
ในแผนที่ นักเรี ยนช่วยกันแสดงความคิดเห็น โดยใช้ความรู้ที่ได้จากการศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับการคมนาคม
ขนส่งในทวีปอเมริ กาใต้ที่ได้รับมอบหมายให้ไปศึกษามา ครู ช่วยสรุ ปประเด็นต่าง ๆ ที่เป็ นข้อสงสัยเพื่อ
เริ่ มต้นปฏิบตั ิกิจกรรม
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
3. ครู ให้นกั เรี ยนจับคู่หรื อแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน แจกใบงานที่ 4 เรื่ อง แผนที่การคมนาคมขนส่ง
ของทวีปอเมริ กาใต้ให้คู่ละ/กลุ่มละ 1 แผ่น ครู เก็บแผนที่ที่แสดงในตอนแรกออกไป ให้นกั เรี ยนช่วยกัน
เขียนระบบคมนาคมลงในแผนที่โครงสร้าง ได้แก่ ทางรถไฟที่สาํ คัญ ท่าเรื อที่สาํ คัญ และสายการบินที่
สําคัญ ลงในแผนที่รวมไปถึงออกแบบสัญลักษณ์และอธิบายสัญลักษณ์ โดยให้สงั เกตจากลักษณะภูมิ
ประเทศที่ปรากฏในแผนที่
4. ครู นาํ แผนที่เสร็ จแล้วมาวางไว้ตรงกลาง ให้นกั เรี ยนนัง่ เป็ นวงล้อมรอบและสังเกตแผนที่แต่ละ
แผ่นว่ามีลกั ษณะเป็ นอย่างไร และให้ร่วมกันออกเสี ยงว่าคู่ไหนหรื อกลุ่มใดที่น่าจะมีความถูกต้องมากที่สุด
ให้นกั เรี ยนคู่น้ นั หรื อกลุ่มนั้นออกมาอธิบาย หลังจากนั้นครู ช่วยเฉลยและสรุ ปให้ถูกต้องพร้อมอธิ บาย
เพิ่มเติม นักเรี ยนแก้ไขแผนที่ และตกแต่งให้สวยงาม
5. ครู ให้นกั เรี ยนร่ วมกันวิเคราะห์ถึงสภาพระบบการคมนาคมขนส่งของทวีปอเมริ กาใต้วา่ เหตุใดถึง
มีความเจริ ญก้าวหน้าน้อยกว่าทวีปอื่น ๆ ครู สรุ ปและอธิบายเพิ่มเติม นักเรี ยนบันทึกความรู้ที่ได้ลงสมุด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 84

6. ครูให้ นักเรียนศึกษาระบบคมนาคมขนส่ งของประเทศสมาชิกอาเซียน แล้วช่ วยกันสรุปว่ามี


ความเหมือนและแตกต่างจากระบบคมนาคมขนส่ งของทวีปอเมริกาใต้อย่างไร ให้ นักเรียนบันทึกความรู้ลง
ในสมุด จากนั้นครูให้ นักเรียนวิเคราะห์ ว่า อาเซียนจะสามารถพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมได้ ทัดเทียมกับ
หรือดีกว่าทวีปอเมริกาใต้ ได้ หรือไม่ อย่ างไร โดยให้ นักเรียนเขียนเป็ นเรียงความความยาว 1 หน้ ากระดาษ
ส่ งครู
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนผู้เรียน
7. ครู ให้นกั เรี ยนทํากิจกรรมเกี่ยวกับการคมนาคมขนส่งทวีปอเมริ กาใต้ ในแบบฝึ กทักษะ รายวิชา
พื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด แล้วช่วยกันเฉลยคําตอบที่ถูกต้อง
ขั้นที่ 4 นําไปใช้
8. ครู แนะนําให้นกั เรี ยนนําความรู้เรื่ อง การคมนาคมขนส่งทวีปอเมริ กาใต้ ไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจําวัน
ขั้นที่ 5 สรุ ป
9. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้เรื่ อง การคมนาคมของทวีปอเมริ กาใต้ โดยให้นกั เรี ยนสรุ ป
เป็ นแผนที่ความคิดบันทึกลงสมุด
10. ครู ให้นกั เรี ยนทําแบบทดสอบหลังเรี ยนและช่วยกันเฉลยคําตอบ
11. ครู ให้นกั เรี ยนทําแบบทดสอบการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ ประจําหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 3 ใน
แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด เพื่อประเมินผล
การเรี ยนรู้ดา้ นความรู้ ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม และด้านทักษะ/กระบวนการของนักเรี ยน
12. ครู มอบหมายให้นกั เรี ยนศึกษาเนื้อหาในหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 4 สถานการณ์ดา้ นทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ เรื่ อง ปั ญหาสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กา
เหนือและอเมริ กาใต้ เป็ นการบ้านเพื่อเตรี ยมจัดการเรี ยนรู ้ในครั้งต่อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
ครู ให้นกั เรี ยนแบ่งกลุ่ม 4–6 กลุ่ม และช่วยกันวางนโยบายในการสร้างระบบคมนาคมขนส่งให้ทวีป
อเมริ กาใต้ เขียนในรู ปแผนผังหรื อแผนที่ความคิด พร้อมแผนที่ นําเสนอหน้าชั้นเรี ยน

9. สื่ อ/แหล่ งการเรียนรู้


1. แบบทดสอบหลังเรี ยน
2. แผนที่ทวีปทวีปอเมริ กาใต้
3. ใบงานที่ 4 เรื่ อง แผนที่การคมนาคมขนส่งของทวีปอเมริ กาใต้
4. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
5. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
6. คู่มือการสอน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 85

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู้ _______________________________________________________


แนวทางการพัฒนา _________________________________________________________________
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู้ ___________________________________________________
แนวทางแก้ไข ____________________________________________________________________
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน ___________________________________________________________
เหตุผล __________________________________________________________________________
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ____________________________________________________
________________________________________________________________________________
ลงชื่อ ________________________ ผู้สอน
___________ / __________ / __________
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 86

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4


สถานการณ์ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม
ในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้

เวลา 4 ชั่วโมง

ผังมโนทัศน์ เป้าหมายการเรียนรู้ และขอบข่ ายภาระงาน/ชิ้นงาน

ความรู้
1. ปัญหาสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
2. สิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
3. แนวทางการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
4. ผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อม
ในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้

คุณธรรม จริยธรรม
ทักษะ/กระบวนการ
สถานการณ์ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และค่ านิยม
1. การสื่ อสาร
1. มีวินยั
2. การใช้เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้ อม
2. ใฝ่ เรี ยนรู ้
3. การคิด ในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ 3. มีจิตสาธารณะ
4. กระบวนการกลุ่ม
4. มีความรับผิดชอบ

ภาระงาน/ชิ้นงาน
1. การทําแบบทดสอบ
2. ศึกษาค้นคว้าและนําเสนอผลงานเกี่ยวกับปัญหาสิ่ งแวดล้อมและผลกระทบที่เกิดขึ้น
ในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
3. วิเคราะห์และอภิปรายแนวทางการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
4. วิเคราะห์และนําเสนอผลงานเกี่ยวกับผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากการเปลี่ยนแปลงของ
สิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
5. การนําเสนอผลงาน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 87

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 สถานการณ์ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม
ในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
ขั้นที่ 1 ผลลัพธ์ ปลายทางที่ต้องการให้ เกิดขึน้ กับนักเรียน
ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. วิเคราะห์การก่อเกิดสิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคม อันเป็ นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติและ
สังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ (ส 5.2 ม. 3/1)
2. ระบุแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
(ส 5.2 ม. 3/2)
3. สํารวจ อภิปรายประเด็นปั ญหาเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
(ส 5.2 ม. 3/3)
4. วิเคราะห์เหตุและผลกระทบต่อเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ที่ส่งผลต่อประเทศไทย (ส 5.2 ม. 3/4)
ความเข้ าใจที่คงทนของนักเรียน คําถามสํ าคัญที่ทําให้ เกิดความเข้ าใจที่คงทน
นักเรียนจะเข้ าใจว่า...
1. ปัญหาสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปอเมริ กา 1. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมใน
เหนือและอเมริ กาใต้มีสาเหตุมาจากการตัดไม้ ปัจจุบนั ของทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
ทําลายป่ าและการเจริ ญเติบโตของเทคโนโลยี มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
เศรษฐกิจ และสังคมอย่างรวดเร็ ว ซึ่งทําให้ 2. ทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้มีแนวทาง
เกิดปัญหามลพิษทั้งทางนํ้าและอากาศ และ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างไร
ยังมีผลให้เกิดภาวะโลกร้อน 3. ปัญหาสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปอเมริ กา
2. การเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมในทวีป เหนือและอเมริ กาใต้ส่งผลกระทบต่อ
อเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ก่อให้เกิด ประเทศไทยหรื อไม่ อย่างไร
สิ่ งแวดล้อมใหม่ข้ ึน สิ่ งแวดล้อมใหม่ทาง
สังคมบางอย่างถือว่าเป็ นแนวทางการอนุรักษ์
สิ่ งแวดล้อมด้วยอย่างหนึ่ง
3. ปัญหาสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปอเมริ กา
เหนือและอเมริ กาใต้น้ นั ไม่ได้ส่งผลกระทบ
เฉพาะภายในทวีปเท่านั้น ยังส่งผลต่อเนื่องไป
ยังทวีปต่าง ๆ รวมไปถึงประเทศไทยด้วย
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 88

ความรู้ของนักเรียนที่นําไปสู่ ความเข้ าใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นําไปสู่ ความ


นักเรียนจะรู้ว่า... เข้ าใจที่คงทน นักเรียนจะสามารถ...
1. คําสําคัญ ได้แก่ เอเคอร์ พื้นที่ชุ่มนํ้า สาร 1. อธิ บายปัญหาสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีป
อาหารอุดมสมบูรณ์ การแผ้วถางและเผาป่ า อเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
ระบบสาธารณูปโภค เฮกตาร์ เอทานอล 2. วิเคราะห์การเกิดสิ่ งแวดล้อมใหม่ที่เกิดจาก
2. ทวีปอเมริ กาเหนือเป็ นทวีปที่มีปัญหา การเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมในทวีป
สิ่ งแวดล้อมเกิดขึ้นมากที่สุดทวีปหนึ่งของโลก อเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
ทั้งปัญหาการตัดไม้ทาํ ลายป่ า การขยายตัว 3. อธิ บายแนวทางการแก้ไขปัญหาสิ่ งแวดล้อม
ของเขตเมืองและอุตสาหกรรม การทํา ในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
การเกษตรด้วยสารเคมี สัตว์ทะเลลดลง 4. อธิ บายบทบาทในการแก้ไขปัญหาภาวะ
ฝนกรด มลพิษในทะเลสาบเกรตเลกส์ คราบ โลกร้อนในเวทีโลกของประเทศต่าง ๆ
นํ้ามันในทะเลจากการระเบิดของแท่นขุดเจาะ ในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
นํ้ามัน รวมไปถึงปัญหาจากภาวะโลกร้อนที่ 5. วิเคราะห์ผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจาก
ทําให้ประเทศต่าง ๆ ในทวีปอเมริ กาเหนือเกิด การเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมในทวีป
คลื่นความร้อน เกิดภัยแล้งจนกลายเป็ นไฟป่ า อเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
ขนาดใหญ่ ธารนํ้าแข็งบนเทือกเขาต่าง ๆ
ละลาย เกิดโรคระบาด และเกิดพายุ
เฮอร์ริเคนที่มีความรุ นแรงมากขึ้น โดยเฉพาะ
เฮอร์ริเคนแคทรี นา ใน ค.ศ. 2005
3. ทวีปอเมริ กาใต้มีการแผ้วถางและเผาป่ าเพื่อ
ขยายพื้นที่ทางการเกษตรและขยายเขตเมือง
ทําให้พ้นื ที่ป่าแอมะซอนลดลงอย่างรวดเร็ ว
ขณะที่การขยายของชุมชนเมืองก่อให้เกิด
ปัญหาชุมชนแออัดที่เรี ยกว่า ฟาเบลา และยัง
ก่อให้เกิดมลพิษทั้งทางนํ้าและอากาศ การตัด
ไม้ทาํ ลายป่ ายังเป็ นสาเหตุหลักที่ทาํ ให้เกิด
ภาวะโลกร้อน ซึ่งทําให้เกิดภัยแล้งในพื้นที่ป่า
แอมะซอน นํ้าท่วมหนัก โรคระบาดในหลาย
พื้นที่ และยังส่งผลให้พืชและสัตว์หลายชนิด
อยูใ่ นภาวะเสี่ ยงต่อการสูญพันธุ์
4. ในทวีปอเมริ กาเหนือมีการสร้างอาคารเขียว
มีการทําการเกษตรอินทรี ย ์ ซึ่งนอกจากจะเป็ น
การปรับสิ่ งแวดล้อมทางสังคมให้เข้ากับ
สิ่ งแวดล้อมทางธรรมชาติที่เปลี่ยนไป แล้วยัง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 89

เป็ นแนวทางการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอีกทาง
หนึ่ง นอกจากนี้ความเจริ ญเติบโตทางด้าน
สังคมและเศรษฐกิจของทวีปอเมริ กาเหนือ
โดยเฉพาะประเทศสหรัฐอเมริ กายังทําให้มี
ชาวต่างชาติเข้ามาอยูอ่ าศัยมากขึ้นขณะที่การ
เปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมทําให้ชาว
อเมริ กนั ในปั จจุบนั มีสาํ นึกต่อสิ่ งแวดล้อมมาก
ขึ้น ส่วนในทวีปอเมริ กาใต้มีการเกิดชุมชน
แออัดตามเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของ
ประเทศต่าง ๆ เป็ นการเปลี่ยนแปลงของ
สิ่ งแวดล้อมทางสังคมที่ทาํ ให้เกิดปัญหาด้าน
อื่น ๆ ทั้งปัญหาอาชญากรรมที่เพิ่มมากขึ้น
และระบบสาธารณูปโภคที่ขาดแคลน
5. แนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อมที่สาํ คัญในทวีปอเมริ กาเหนือ
ได้แก่ การร่ วมมือกันของประเทศสหรัฐ-
อเมริ กาและแคนาดาเพื่อลดระดับฝนกรด
และมลพิษในทะเลสาบเกรตเลกส์ การเชื่อม
อุทยานแห่งชาติเข้าด้วยกัน การใช้พลังงาน
ทดแทนในการผลิตกระแสไฟฟ้ า การออกร่ าง
กฎหมายสิ่ งแวดล้อมของรัฐบาลสหรัฐอเมริ กา
เพื่อแก้ไขปัญหาและลดภาวะโลกร้อน ขณะที่
ในทวีปอเมริ กาใต้ โดยเฉพาะในประเทศ
บราซิล มีการผลิตพลังงานเอทานอลใช้เป็ น
พลังงานเชื้อเพลิงแทนนํ้ามัน นอกจากนี้ยงั มี
การจัดตั้งอุทยานนิเวศวิทยาในเขตเมืองเพื่อ
แก้ไขปัญหาการลดลงของพื้นที่ป่าไม้ และการ
สูญพันธุ์ของความหลากหลายทางชีวภาพ
การสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงนิเวศใน
ประเทศอุรุกวัย รวมไปถึงการจัดทําโครงการ
ต่าง ๆ เพื่อแก้ไขปัญหาภาวะโลกร้อน
6. นอกจากภาวะโลกร้อนที่ส่งผลกระทบต่อ
ประเทศไทยแล้ว ปรากฏการณ์เอลนีโญที่เกิด
ตามแนวชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกของทวีป
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 90

อเมริ กาใต้กท็ าํ ให้เกิดภัยแล้งในประเทศไทย


ด้วยเช่นกัน ขณะเดียวกันแนวทางการ อนุรักษ์
สิ่ งแวดล้อมบางอย่าง เช่น การออกร่ าง
กฎหมายสิ่ งแวดล้อมของประเทศ
สหรัฐอเมริ กาก็ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของ
ประเทศไทย เพราะจะมีการกีดกันการส่ง
สิ นค้าออกจากประเทศที่ไม่มีการกําหนดอัตรา
การปล่อยก๊าซเรื อนกระจก แต่ประเทศไทยก็
ได้รับผลดีจากการผลิตเอทานอลของประเทศ
บราซิล
ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็ นหลักฐานที่แสดงว่ านักเรียนมีผลการเรียนรู้
ตามที่กาํ หนดไว้อย่างแท้ จริง
1. ภาระงานที่นักเรียนต้ องปฏิบัติ
1.1 ศึกษาค้นคว้าและนําเสนอผลงานเกี่ยวกับปัญหาสิ่ งแวดล้อมและผลกระทบที่เกิดขึ้นในทวีป
อเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
1.2 วิเคราะห์และอภิปรายแนวทางการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
1.3 วิเคราะห์และนําเสนอผลงานเกี่ยวกับผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากการเปลี่ยนแปลงของ
สิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
2.1 วิธีการประเมินผลการเรี ยนรู้ 2.2 เครื่ องมือประเมินผลการเรี ยนรู้
1) การทดสอบ 1) แบบทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน
2) การประเมินผลงาน/กิจกรรม 2) แบบประเมินผลงาน/กิจกรรม
เป็ นรายบุคคลหรื อเป็ นกลุ่ม เป็ นรายบุคคลหรื อเป็ นกลุ่ม
3) การประเมินด้านคุณธรรม จริ ยธรรม 3) แบบประเมินด้านคุณธรรม
และค่านิยม จริ ยธรรม และค่านิยม
4) การประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ 4) แบบประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ
3. สิ่ งที่ม่ งุ ประเมิน
3.1 ความสามารถ 6 ด้าน ได้แก่ การอธิ บาย ชี้แจง การแปลความและตีความ การประยุกต์
ดัดแปลง และนําไปใช้ การมีมุมมองที่หลากหลาย การให้ความสําคัญและใส่ใจในความรู้สึก
ของผูอ้ ื่น และการรู้จกั ตนเอง
3.2 ทักษะ/กระบวนการ เช่น การสื่ อสาร การใช้เทคโนโลยี การคิด การแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม
3.3 คุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม เช่น มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ อยูอ่ ย่างพอเพียง รักความเป็ นไทย รักชาติ
ศาสน์ กษัตริ ย ์ มีจิตสาธารณะ มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริ ต
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 91

ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 10 ปัญหาสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ เวลา 1 ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 11 สิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมในทวีปอเมริ กาเหนือ เวลา 1 ชัว่ โมง
และอเมริ กาใต้
แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 12 ผลจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมและ เวลา 1 ชัว่ โมง
แนวทางการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือ
และอเมริ กาใต้
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 92

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 10
ปัญหาสิ่ งแวดล้ อมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 สถานการณ์ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ เวลา 1 ชั่วโมง
สิ่ งแวดล้ อมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้

1. สาระสํ าคัญ
ความเจริ ญทางด้านเศรษฐกิจและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือ ทําให้มีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
อย่างมากมายมหาศาล จนเกิดปัญหาทรัพยากรธรรมชาติลดลง เกิดมลพิษในดิน นํ้า และอากาศ ขณะที่การ
เร่ งการเจริ ญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจและสังคมของทวีปอเมริ กาใต้ทาํ ให้เกิดการทําลายพื้นที่ป่าฝนเขต
ร้อนอย่างรุ นแรง และเป็ นจุดเริ่ มต้นของปั ญหาสิ่ งแวดล้อมอื่น ๆ

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
 สํารวจ อภิปรายประเด็นปัญหาเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
(ส 5.2 ม. 3/3)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายปัญหาสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ได้ (K)
2. วิเคราะห์สาเหตุที่ทาํ ให้เกิดปัญหาสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ (K, P)
3. รับรู้และตระหนักถึงปัญหาสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นและมีความพร้อมที่จะแก้ไขปัญหา (A)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A)
1. ทดสอบก่อนเรี ยน  ประเมินพฤติกรรมในการ  ประเมินพฤติกรรมในการ
2. ซักถามเรื่ อง ปัญหา ทํางานเป็ นรายบุคคลในด้าน ทํางานเป็ นรายบุคคลหรื อ
สิ่ งแวดล้อม ความมีวินยั ความใฝ่ เรี ยนรู ้ เป็ นกลุ่มในด้านการสื่ อสาร
3. ตรวจผลงาน/กิจกรรม ฯลฯ การคิด การแก้ปัญหา ฯลฯ
เป็ นรายบุคคลและเป็ นกลุ่ม

5. สาระการเรียนรู้
 ปัญหาสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
1. ปั ญหาสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือ
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 93

1.1 ปั ญหาการใช้ที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติที่เกินขอบเขต
1.2 ปั ญหามลพิษทางอากาศ
1.3 ปั ญหามลพิษทางนํ้า
1.4 ปั ญหาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
1.5 ปั ญหาคราบนํ้ามันในอ่าวเม็กซิโก
2. ปั ญหาสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาใต้

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย  ฟัง พูด อ่าน และเขียนข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาสิ่ งแวดล้อมในทวีป
อเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
การงานอาชีพฯ  ค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวกับปั ญหาสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้จากแหล่งการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต
ภาษาต่างประเทศ  อ่านและศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือ
และอเมริ กาใต้จากสื่ อภาษาอังกฤษ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
ชั่วโมงที่ 22
1. ครู แจ้งตัวชี้วดั ชั้นปี และจุดประสงค์การเรี ยนรู้ให้นกั เรี ยนทราบ
2. ครู ให้นกั เรี ยนทําแบบทดสอบก่อนเรี ยน
3. ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนซักถามข้อสงสัยต่าง ๆ เกี่ยวกับปั ญหาสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือ
และอเมริ กาใต้ที่ได้รับมอบหมายให้ไปศึกษามา โดยครู ตอบข้อสงสัยและอธิบายเพิ่มเติม
4. ครู สนทนาซักถามนักเรี ยนเกี่ยวกับข่าวสิ่ งแวดล้อมจากสื่ อต่าง ๆ ว่านักเรี ยนได้รับรู ้อะไรบ้าง
และมีข่าวอะไรที่เกี่ยวข้องกับทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้บา้ ง แล้วเชื่อมโยงเข้าสู่เนื้อหาที่จะเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
5. ครู แบ่งนักเรี ยนออกเป็ น 2 กลุ่ม ดังนี้
กลุ่มที่ 1 ศึกษาเรื่ อง ปัญหาสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือ
กลุ่มที่ 2 ศึกษาเรื่ อง ปัญหาสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาใต้
6. ครู ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันสื บค้นข้อมูลจากแหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ นํามาวิเคราะห์และสรุ ป
เขียนลงบนกระดาษโปสเตอร์ 1 แผ่น แล้วให้ตวั แทนกลุ่ม 1–2 คนออกมาอภิปรายหน้าชั้นเรี ยน
7. ครู สรุ ปและอธิบายเพิม่ เติม นักเรี ยนสรุ ปด้วยตนเองและจดบันทึกความรู้ที่ได้ลงในแบบบันทึก
ความรู ้ที่ได้จากการอภิปราย เรื่ อง ปัญหาสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 94

8. ครู ให้นกั เรี ยนนํากระดาษโปสเตอร์ที่ใช้ในการอภิปรายมาติดหน้าชั้นเรี ยน แล้วกระตุน้ ให้


นักเรี ยนคิดหาสาเหตุที่ทาํ ให้เกิดปัญหาสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ และให้นกั เรี ยน
ออกมาเขียนลงบนกระดานดําทีละคน คนละ 1 สาเหตุ จนกว่าครู จะเห็นว่าครบถ้วนแล้ว
9. ครู สรุ ปและอธิบายเพิ่มเติม นักเรี ยนบันทึกความรู้ลงในแบบบันทึกความรู้
10. ครูให้ นักเรียนศึกษาปัญหาสิ่ งแวดล้ อมของประเทศสมาชิกอาเซียนจากแหล่งข้ อมูลต่ าง ๆ นํามา
วิเคราะห์ ว่ามีความเหมือนหรือแตกต่ างจากปัญหาสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึน้ ในทวีปอเมริกาเหนือและทวีป
อเมริกาใต้ อย่ างไร นักเรียนช่ วยกันสรุปเป็ นแผนผังหรือตารางลงในกระดาษ ครูช่วยสรุปเพิม่ เติมให้
ครบถ้ วน จากนั้นให้ นักเรียนบันทึกลงสมุด
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนผู้เรียน
11. ครู ให้นกั เรี ยนทํากิจกรรมที่เกี่ยวกับปัญหาสิ่ งแวดล้อม ในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน
ภูมิศาสตร์ ม. 3 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด แล้วช่วยกันเฉลยคําตอบที่ถูกต้อง
12. ครู ซกั ถามนักเรี ยนว่า พายุเฮอร์ริเคนคืออะไร และมีกระบวนการเกิดพายุอย่างไร ให้นกั เรี ยน
ช่วยกันตอบคําถาม จากนั้นครู สรุ ปคําตอบของนักเรี ยน
ขั้นที่ 4 นําไปใช้
13. ครู ให้นกั เรี ยนสังเกตปัญหาสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นรอบตัวว่า มีปัญหาใดที่เหมือนหรื อคล้ายกับที่
ได้เรี ยนรู้ไป เพื่อจะได้เล็งเห็นและตระหนักถึงปัญหาสิ่ งแวดล้อม
ขั้นที่ 5 สรุ ป
14. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้เรื่ อง ปั ญหาสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
แล้วบันทึกความรู้ที่ได้ลงสมุด
15. ครู มอบหมายให้นกั เรี ยนค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมในทวีปอเมริ กาเหนือ
และอเมริ กาใต้ แล้วบันทึกความรู้ที่ได้ลงในสมุด เป็ นการบ้านเพื่อเตรี ยมจัดการเรี ยนรู้ในครั้งต่อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
1. ครู ให้นกั เรี ยนศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับปั ญหาสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
เฉพาะเรื่ องที่นกั เรี ยนสนใจจากข้อมูลภาษาอังกฤษ สรุ ปและจัดทําเป็ นรายงานส่งครู
2. ครู ให้นกั เรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา (STEM Education) จาก
สถานการณ์เรื่ อง เรี ยนรู้ปัญหาสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนืออย่างง่าย จากคู่มือการสอน ภูมิศาสตร์ ม. 3
ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

9. สื่ อ/แหล่ งการเรียนรู้


1. แบบทดสอบก่อนเรี ยน
2. สื่ ออิเล็กทรอนิกส์ และหนังสื อต่าง ๆ จากห้องสมุด
3. กระดาษโปสเตอร์
4. แบบบันทึกความรู้เรื่ อง ปั ญหาสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 95

5. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด


6. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
7. คู่มือการสอน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู้ _______________________________________________________


แนวทางการพัฒนา _________________________________________________________________
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู้ ___________________________________________________
แนวทางแก้ไข ____________________________________________________________________
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน ___________________________________________________________
เหตุผล __________________________________________________________________________
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ____________________________________________________
________________________________________________________________________________
ลงชื่อ ________________________ ผู้สอน
___________ / __________ / __________
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 96

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 11
สิ่ งแวดล้ อมใหม่ ทางสั งคมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 สถานการณ์ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ เวลา 1 ชั่วโมง
สิ่ งแวดล้ อมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้

1. สาระสํ าคัญ
การเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ทาํ ให้เกิดสิ่ งแวดล้อมใหม่ทาง
สังคมขึ้น เพื่อปรับสภาพสังคมเมืองให้เข้ากับธรรมชาติและรับมือกับปั ญหาทรัพยากรธรรมชาติที่เสื่ อม
โทรม เช่น การสร้างอาคารเขียว แต่กม็ ีการเปลี่ยนแปลงที่เป็ นผลเสี ยเพิม่ ขึ้น เช่น การเกิดชุมชนแออัด
นอกจากนี้ การเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมของทวีปทั้งสองก็ยงั ส่งผลต่อประเทศไทยอีกด้วย

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. วิเคราะห์การก่อเกิดสิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคม อันเป็ นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติและ
สังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ (ส 5.2 ม. 3/1)
2. วิเคราะห์เหตุและผลกระทบต่อเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือ
และอเมริ กาใต้ที่ส่งผลต่อประเทศไทย (ส 5.2 ม. 3/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายสิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ได้ (K)
2. วิเคราะห์ถึงสาเหตุที่ทาํ ให้เกิดสิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมขึ้นได้ (K, P)
3. วิเคราะห์ผลกระทบต่อประเทศไทยที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กา
เหนือและอเมริ กาใต้ได้ (K, P)
4. สนใจในการเรี ยนรู ้รูปแบบของสิ่ งแวดล้อมทางสังคมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ และ
ตระหนักถึงผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย (A)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A)
1. ซักถามเรื่ อง ผลจากการ  ประเมินพฤติกรรมในการ  ประเมินพฤติกรรมในการ
เปลี่ยนแปลงสิ่ งแวดล้อม ทํางานเป็ นรายบุคคลในด้าน ทํางานเป็ นรายบุคคลหรื อ
2. ตรวจผลงาน/กิจกรรม ความมีวินยั ความใฝ่ เรี ยนรู ้ เป็ นกลุ่มในด้านการสื่ อสาร
เป็ นรายบุคคลและเป็ นกลุ่ม ฯลฯ การคิด การแก้ปัญหา ฯลฯ
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 97

5. สาระการเรียนรู้
1. สิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
1.1 สิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมในทวีปอเมริ กาเหนือ
1.2 สิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมในทวีปอเมริ กาใต้

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย  ฟัง พูด อ่าน และเขียนข้อมูลเกี่ยวกับผลจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่ ง-
แวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
ภาษาต่างประเทศ  อ่านและศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมในทวีป
อเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้จากสื่ อภาษาอังกฤษ
การงานอาชีพฯ  ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมในทวีปอเมริ กาเหนือ
และอเมริ กาใต้จากแหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต
และจัดป้ ายนิเทศ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
ชั่วโมงที่ 23
1. ครู แจ้งตัวชี้วดั ชั้นปี และจุดประสงค์การเรี ยนรู้ให้นกั เรี ยนทราบ
2. ครู ซกั ถามนักเรี ยนว่า สิ่ งแวดล้อมทางสังคมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ในปัจจุบนั มี
อะไรบ้าง และนักเรี ยนคิดว่าอะไรเป็ นสิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมของทั้งสองทวีป ให้นกั เรี ยนร่ วมกันแสดง
ความคิดเห็น โดยใช้ความรู้ที่ได้จากการค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมในทวีปอเมริ กา
เหนือและอเมริ กาใต้ที่ได้รับมอบหมายให้ไปค้นคว้ามา ครู บนั ทึกความคิดเห็นทั้งหมดลงบนกระดานดํา
จากนั้นสรุ ปเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่เนื้อหาที่จะเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
3. ครู ให้นกั เรี ยนทั้งชั้นเรี ยนช่วยกันจัดป้ ายนิเทศเรื่ อง สิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมในทวีปอเมริ กา
เหนือและอเมริ กาใต้ โดยใช้ความรู้ที่ได้จากการค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมในทวีป
อเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้มาใช้ในการจัดป้ ายนิเทศ
4. ครู คอยสังเกตพฤติกรรมนักเรี ยนในระหว่างการทํางานและควบคุมการทํางานให้อยูใ่ นระเบียบ
5. ครู สรุ ปและอธิบายเพิ่มเติม นักเรี ยนสรุ ปการทํางานของตนเองลงในแบบบันทึกการปฏิบตั ิงาน
ส่งครู และทําใบงานที่ 1 เรื่ อง สิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
6. ครูให้ นักเรียนศึกษาการเปลีย่ นแปลงของสิ่ งแวดล้อมทางสั งคมของประเทศสมาชิกอาเซียนจาก
แหล่งข้ อมูลต่ าง ๆ นํามาวิเคราะห์ ว่ามีความเหมือนหรือแตกต่ างจากการเปลีย่ นแปลงของสิ่ งแวดล้ อมทาง
สั งคมที่เกิดขึน้ ในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้อย่างไร นักเรียนช่ วยกันสรุปเป็ นแผนผังหรือ
ตารางลงในกระดาษ ครูช่วยสรุปเพิม่ เติมให้ ครบถ้ วน จากนั้นให้ นักเรียนบันทึกลงสมุด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 98

7. ครูให้ นักเรียนช่ วยกันแสดงความคิดเห็นว่า ผลกระทบที่ประเทศไทยได้ รับจากการเปลีย่ นแปลง


สิ่ งแวดล้ อมในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้ ส่งผลดีและผลเสี ยต่ อประเทศสมาชิกอาเซียนอืน่ ๆ
อย่ างไร ครูบันทึกความคิดเห็นลงบนกระดาน จากนั้นให้ นักเรียนศึกษาเรื่องดังกล่าวจากแหล่งข้ อมูลต่ าง ๆ
นําข้ อมูลที่ได้ มาวิเคราะห์ และสรุปร่ วมกับความคิดเห็นของตนเอง แล้วเขียนเป็ นเรียงความส่ งครู ครู
คัดเลือกเรียงความที่ดีที่สุด 5 เรื่อง ให้ เจ้ าของผลงานออกมาอ่านเรียงความหน้ าชั้นเรียนในชั่วโมงถัดไป
เสร็จแล้วครูนําเรียงความที่ได้ รับคัดเลือกติดไว้ ที่ป้ายนิเทศ
ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนผู้เรียน
8. ครู ให้นกั เรี ยนทํากิจกรรมที่เกี่ยวกับผลจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือ
และอเมริ กาใต้ ในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
แล้วช่วยกันเฉลยคําตอบที่ถูกต้อง
9. ครู ซกั ถามนักเรี ยนว่า พืชดัดแปลงพันธุกรรมคืออะไร และนักเรี ยนคิดว่ามีผลดีและผลเสี ยต่อการ
เพาะปลูกอย่างไร ให้นกั เรี ยนช่วยกันตอบคําถาม จากนั้นครู สรุ ปคําตอบของนักเรี ยน
ขั้นที่ 4 นําไปใช้
10. ครู ให้นกั เรี ยนนําข้อดีจากสิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมที่เกิดขึ้นในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กา
ใต้มาใช้ในการดําเนินชีวิตประจําวัน
ขั้นที่ 5 สรุ ป
11. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้เรื่ อง สิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมในทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ และบันทึกความรู ้ที่ได้ลงสมุด
12. ครู มอบหมายให้นกั เรี ยนค้นหาข่าวเกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของประเทศต่าง ๆ ในทวีป
อเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้คนละ 1 ข่าว และนักเรี ยนทบทวนเนื้อหาเกี่ยวกับปัญหาสิ่ งแวดล้อมและ
สิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ สรุ ปและบันทึกความรู้ที่ได้ลงในสมุด เป็ น
การบ้านเพื่อเตรี ยมจัดการเรี ยนรู้ในครั้งต่อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
ครู ให้นกั เรี ยนเลือกศึกษาเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับสิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมในทวีปอเมริ กา
เหนือและอเมริ กาใต้ สรุ ปและวิเคราะห์ดว้ ยตนเอง แล้วนําเสนอหน้าชั้นเรี ยน

9. สื่ อ/แหล่ งการเรียนรู้


1. อุปกรณ์สาํ หรับจัดป้ ายนิเทศ เช่น กระดาษสี กรรไกร มีดหรื อคัตเตอร์ เทปกาว กาวนํ้า
2. อุปกรณ์เครื่ องเขียนต่าง ๆ เช่น ดินสอ ปากกาเมจิก สี ไม้
3. กระดาษปรู๊ ฟ
4. แบบบันทึกการปฏิบตั ิงาน เรื่ อง สิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
5. ใบงานที่ 1 เรื่ อง สิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
6. สื่ ออิเล็กทรอนิกส์ และหนังสื อต่าง ๆ จากห้องสมุด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 99

7. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด


8. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
9. คู่มือการสอน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
10. สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช
จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู้ _______________________________________________________


แนวทางการพัฒนา _________________________________________________________________
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู้ ___________________________________________________
แนวทางแก้ไข ____________________________________________________________________
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน ___________________________________________________________
เหตุผล __________________________________________________________________________
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ____________________________________________________
________________________________________________________________________________
ลงชื่อ ________________________ ผู้สอน
___________ / __________ / __________
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 100

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 12
ผลจากการเปลีย่ นแปลงของสิ่ งแวดล้อมและ
แนวทางการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 สถานการณ์ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ เวลา 1 ชั่วโมง
สิ่ งแวดล้ อมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้

1. สาระสํ าคัญ
ในทวีปอเมริ กาเหนือมีการร่ วมมือกันของรัฐบาลประเทศต่าง ๆ เพื่อแก้ไขปัญหามลพิษทางนํ้าและ
อากาศ มีการใช้พลังงานลมในการผลิตกระแสไฟฟ้ าแทนนํ้ามัน เช่นเดียวกับในประเทศบราซิลของทวีป
อเมริ กาใต้ที่มีการผลิตเอทานอลเพื่อใช้แทนนํ้ามันในรถยนต์ นอกจากนี้ ประเทศสหรัฐอเมริ กายังมีการ
ออกร่ างกฎหมายเพื่อลดภาวะโลกร้อนซึ่งส่งผลกระทบต่อประเทศไทยเป็ นอย่างมาก

2. ตัวชี้วดั ชั้นปี
1. ระบุแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กา
ใต้ (ส 5.2 ม. 3/2)
2. วิเคราะห์เหตุและผลกระทบต่อเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือ
และอเมริ กาใต้ที่ส่งผลต่อประเทศไทย (ส 5.2 ม. 3/4)

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายแนวทางการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ได้ (K)
2. วิเคราะห์หาแนวทางการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่ถูกต้องและเหมาะสมได้ (P)
3. มีความสนใจในการนําแนวทางการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้มาใช้
ในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่อยูใ่ กล้ตวั ได้ (A)
4. วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กา
ใต้ที่มีต่อประเทศไทยได้ (K, P)
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 101

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
ด้ านความรู้ (K) ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่ านิยม (A)
1. ทดสอบหลังเรี ยน  ประเมินพฤติกรรมในการ  ประเมินพฤติกรรมในการ
2. ซักถามเรื่ อง แนวทางการ ทํางานเป็ นรายบุคคลในด้าน ทํางานเป็ นรายบุคคลหรื อ
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและ ความมีวินยั ความใฝ่ เรี ยนรู ้ เป็ นกลุ่มในด้านการสื่ อสาร
ผลกระทบที่เกิดจากการ ฯลฯ การคิด การแก้ปัญหา ฯลฯ
เปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อม
3. ตรวจผลงาน/กิจกรรม
เป็ นรายบุคคลและเป็ นกลุ่ม

5. สาระการเรียนรู้
1. แนวทางการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
1.1 การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือ
1.2 การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาใต้
2. ผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย  ฟัง พูด อ่าน และเขียนข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้และผลกระทบที่ประเทศไทย
ได้รับจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้
การงานอาชีพฯ  ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริ กา
เหนือและอเมริ กาใต้และผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากการ
เปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้จาก
แหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต
วิทยาศาสตร์  สื บค้นความรู้เกี่ยวกับพลังงานทดแทน
ภาษาต่างประเทศ  อ่านข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในทวีป
อเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ และบทบาทของทั้งสองทวีปในการลด
ภาวะโลกร้อนบนเวทีโลกจากสื่ อภาษาอังกฤษ
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 102

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นําเข้ าสู่ บทเรียน
ชั่วโมงที่ 24
1. ครู แจ้งตัวชี้วดั ชั้นปี และจุดประสงค์การเรี ยนรู้ให้นกั เรี ยนทราบ
2. ครู สุ่มเลือกนักเรี ยน 2–3 คน ให้แต่ละคนนําข่าวเกี่ยวกับวิธีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของประเทศ
ต่าง ๆ ที่อยูใ่ นทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ที่ได้รับมอบหมายให้ไปค้นหามาคนละ 1 ข่าว ออกมาเล่า
หน้าชั้นเรี ยน แล้วครู เชื่อมโยงเข้าสู่เนื้อหาที่จะเรี ยน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
3. ครู ให้นกั เรี ยนนําข่าวที่ได้นาํ มาเล่าให้เพื่อนฟังแล้วมาติดไว้บนกระดานดํา นักเรี ยนทุกคนช่วยกัน
สรุ ปและออกมาเขียนเป็ นแผนที่ความคิดบนกระดานดํา โดยครู ช่วยแนะนําและเพิม่ เติมความรู ้ให้ถูกต้อง
แล้วให้นกั เรี ยนเขียนแผนที่ความคิดที่ได้ลงในใบงานที่ 2 เรื่ อง แนวทางการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในทวีป
อเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
4. ครู สรุ ปความรู้เกี่ยวกับแนวทางการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ โดย
ใช้เนื้อหาจากหนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
จากนั้นครู สนทนาซักถามความรู ้ของนักเรี ยนเกี่ยวกับปัญหาสิ่ งแวดล้อมและสิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคม
ของทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ที่ได้รับมอบหมายให้ไปทบทวนความรู ้มาในประเด็นต่าง ๆ เช่น
– ปัญหาสิ่ งแวดล้อมที่สาํ คัญที่สุดของทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้คืออะไร เพราะอะไร
– สิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมที่สาํ คัญของทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ได้แก่อะไรบ้าง
5. ครู ต้ งั ประเด็นคําถามว่า จากการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมและแนวทางการอนุรักษ์
สิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ นักเรี ยนคิดว่า ส่งผลกระทบต่อประเทศไทย
หรื อไม่ อย่างไร แล้วให้นกั เรี ยนนัง่ เป็ นวงกลม ช่วยกันแสดงความคิดเห็นและเขียนแผนที่ความคิดเรื่ อง
ผลกระทบต่อประเทศไทยที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
6. ครู ช่วยเพิม่ เติมและแก้ไขให้ถกู ต้อง แล้วให้นกั เรี ยนนําแผนที่ความคิดที่ได้ไปติดไว้บนป้ ายนิเทศ
ภายในชั้นเรี ยน และบันทึกแผนที่ความคิดที่ได้ลงในสมุดส่งครู
7. ครูให้ นักเรียนวิเคราะห์ ว่า แนวทางการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมของทวีปอเมริกาเหนือและทวีป
อเมริกาใต้ แนวทางใดที่มคี วามคล้ ายคลึงกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง อย่างไร หรือเป็ นแนวทางที่
สามารถนําหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเข้ ามาประยุกต์ ใช้ ได้ และใช้ ได้ อย่ างไร เขียนสรุปเป็ นความเรียง
ส่ งครู ครูสุ่ มเลือกนักเรียน 3–5 คนให้ ออกมานําเสนอผลงานของตนเองหน้ าชั้นเรียน
8. ครูให้ นักเรียนแบ่ งกลุ่มนําข้ อมูลปัญหาสิ่ งแวดล้อมและการเปลีย่ นแปลงของสิ่ งแวดล้อมทาง
สั งคมของประเทศสมาชิกอาเซียนมาช่ วยกันวิเคราะห์ หาหลักการและแนวทางการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม
ให้ แก่ ภูมภิ าคอาเซียน แล้วส่ งตัวแทนออกมานําเสนอหน้ าชั้นเรียน จากนั้นครู มอบหมายให้ นักเรียนทุกกลุ่ม
สื บค้ นข้ อมูลเกีย่ วกับการนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อมของประเทศสมาชิกอาเซียนจากแหล่งข้ อมูลต่าง ๆ สรุปร่ วมกับ
แนวทางที่กลุ่มของตนเองได้ คดิ เอาไว้และจัดทําเป็ นรายงานส่ งครู
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 103

ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนผู้เรียน
9. ครู ซกั ถามนักเรี ยนในประเด็นต่อไปนี้ ให้นกั เรี ยนช่วยกันตอบคําถาม จากนั้นครู สรุ ปคําตอบของ
นักเรี ยน
1) การแก้ไขปัญหาภาวะโลกร้อนของทวีปอมริ กาใต้แตกต่างจากทวีปอเมริ กาเหนือหรื อไม่
อย่างไร
2) แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8–10 มีลกั ษณะเป็ นอย่างไร ที่ทาํ ให้สิ่งแวดล้อมของประเทศไทยได้รับ
การฟื้ นฟูและดูแลรักษามากขึ้น
10. ครู ให้นกั เรี ยนทํากิจกรรมที่เกี่ยวกับแนวทางการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ ในแบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
แล้วช่วยกันเฉลยคําตอบที่ถูกต้อง
ขั้นที่ 4 นําไปใช้
11. ครู ให้นกั เรี ยนนําแนวทางการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ที่สามารถ
ทําได้ไปใช้ในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่อยูร่ อบตัวนักเรี ยน
ขั้นที่ 5 สรุ ป
12. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู้เรื่ อง แนวทางการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือ
และอเมริ กาใต้ แล้วบันทึกความรู้ที่ได้ลงสมุด
13. ครู ให้นกั เรี ยนทําแบบทดสอบหลังเรี ยนและช่วยกันเฉลยคําตอบที่ถูกต้อง
14. ครู ให้นกั เรี ยนทําแบบทดสอบการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ ประจําหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 4 ใน
แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 ของบริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด เพื่อประเมินผล
การเรี ยนรู้ดา้ นความรู้ ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม และด้านทักษะ/กระบวนการของนักเรี ยน
15. ครู ให้นกั เรี ยนอ่านเนื้อหาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 3 ทวีปอเมริ กาใต้ และหน่วยการเรี ยนรู้ที่ 4
สถานการณ์ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ เป็ นการบ้านเพื่อ
เตรี ยมทดสอบปลายภาคในครั้งต่อไป

8. กิจกรรมเสนอแนะ
ครู พานักเรี ยนไปศึกษาหาความรู ้เพิม่ เติมเรื่ องพลังงานทดแทนจากแหล่งความรู ้ต่าง ๆ แล้วนํา
ความรู ้ที่ได้มานําเสนอหรื อจัดเป็ นนิทรรศการให้แก่เพื่อนนักเรี ยนชั้นอื่น ๆ

9. สื่ อ/แหล่ งการเรียนรู้


1. แบบทดสอบหลังเรี ยน
2. ข่าวที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมจากสื่ อต่าง ๆ
3. ใบงานที่ 2 เรื่ อง แนวทางการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
4. อุปกรณ์เครื่ องเขียนต่าง ๆ เช่น ดินสอ ปากกาเมจิก สี ไม้
5. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 104

6. แบบฝึ กทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด


7. คู่มือการสอน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด
8. สื่ อการเรี ยนรู ้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 3 บริ ษทั สํานักพิมพ์วฒั นาพานิช จํากัด

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

1. ความสําเร็ จในการจัดการเรี ยนรู้ _______________________________________________________


แนวทางการพัฒนา _________________________________________________________________
2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรี ยนรู้ ___________________________________________________
แนวทางแก้ไข ____________________________________________________________________
3. สิ่ งที่ไม่ได้ปฏิบตั ิตามแผน ___________________________________________________________
เหตุผล __________________________________________________________________________
4. การปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ____________________________________________________
________________________________________________________________________________
ลงชื่อ ________________________ ผู้สอน
___________ / __________ / __________

การทดสอบปลายภาค
สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
การทดสอบปลายภาค เวลา 1 ชั่วโมง
ชั่วโมงที่ 25
• ครู ให้นกั เรี ยนทําแบบทดสอบปลายภาค
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 105

ตอนที่ 3
เอกสาร/ความรู้ เสริมสํ าหรับครู
สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 106

ตอนที่ 3.1
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วดั ชั้นปี และสาระการเรียนรู้
สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่ งซึ่งมีผลต่อกันและ
กันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์
สรุ ป และใช้ขอ้ มูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิ ทธิภาพ
ตัวชี้วดั ชั้นปี สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1. ใช้เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม  เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ที่แสดงลักษณะทาง
วิเคราะห์ และนําเสนอข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะ กายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและ
ทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือ อเมริ กาใต้
และอเมริ กาใต้
2. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทาง  ลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีป
กายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและ อเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
อเมริ กาใต้
มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสมั พันธ์ระหว่างมนุษย์กบั สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้าง
สรรค์วฒั นธรรม มีจิตสํานึกและมีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อมเพื่อ
การพัฒนาที่ยงั่ ยืน
ตัวชี้วดั ชั้นปี สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1. วิเคราะห์การก่อเกิดสิ่ งแวดล้อมใหม่ทาง  การเปลี่ยนแปลงประชากร เศรษฐกิจ สังคม
สังคม อันเป็ นผลจากการเปลี่ยนแปลงทาง และวัฒนธรรมของทวีปอเมริ กาเหนือและ
ธรรมชาติ และทางสังคมของทวีปอเมริ กา อเมริ กาใต้
เหนือและอเมริ กาใต้

2. ระบุแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ  การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวด-


และสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและ ล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
อเมริ กาใต้

3. สํารวจ อภิปรายประเด็นปั ญหาเกี่ยวกับ  ปัญหาเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีป


สิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปอเมริ กาเหนือและ อเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
อเมริ กาใต้
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 107

ตัวชี้วดั ชั้นปี สาระการเรียนรู้แกนกลาง


4. วิเคราะห์เหตุผลและผลกระทบต่อเนื่องจาก  ผลกระทบต่อเนื่องของสิ่ งแวดล้อมในทวีป
การเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมในทวีป อเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ที่ส่งผลต่อประเทศ
อเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ที่ส่งผลต่อ ไทย
ประเทศไทย
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 108

ตอนที่ 3.2
โครงงานและแฟ้ มสะสมผลงาน
1. โครงงาน (Project Work)
โครงงานเป็ นการจัดการเรี ยนรู้ที่ส่งเสริ มให้นกั เรี ยนได้ลงมือปฏิบตั ิและศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
ตามแผนการดําเนินงานที่นกั เรี ยนได้จดั ขึ้น โดยครู ช่วยให้คาํ แนะนําปรึ กษา กระตุน้ ให้คิด และติดตามการ
ปฏิบตั ิงานจนบรรลุเป้ าหมาย โครงงานแบ่งออกเป็ น 4 ประเภท คือ
1. โครงงานประเภทสํารวจ รวบรวมข้อมูล
2. โครงงานประเภททดลอง ค้นคว้า
3. โครงงานที่เป็ นการศึกษาความรู ้ ทฤษฎี หลักการ หรื อแนวคิดใหม่
4. โครงงานประเภทสิ่ งประดิษฐ์
การเรี ยนรู้ดว้ ยโครงงานมีข้ นั ตอนดังนี้
1. กําหนดหัวข้ อที่จะศึกษา นักเรี ยนคิดหัวข้อโครงงาน ซึ่งอาจได้มาจากความอยากรู ้อยากเห็นของ
นักเรี ยนเองหรื อได้จากการอ่านหนังสื อ บทความ การไปทัศนศึกษาดูงาน เป็ นต้น โดยนักเรี ยนต้องตั้ง
คําถามว่า “จะศึกษาอะไร” “ทําไมต้องศึกษาเรื่ องดังกล่าว”
2. ศึกษาเอกสารที่เกีย่ วข้ อง นักเรี ยนศึกษาทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง และปรึ กษาครู หรื อผูท้ ี่มี
ความรู ้ความเชี่ยวชาญในสาขานั้น ๆ
3. เขียนเค้ าโครงของโครงงานหรือสร้ างแผนผังความคิด โดยทัว่ ไปเค้าโครงของโครงงานจะ
ประกอบด้วยหัวข้อต่าง ๆ ดังนี้
1) ชื่อโครงงาน
2) ชื่อผูท้ าํ โครงงาน
3) ชื่อที่ปรึ กษาโครงงาน
4) ระยะเวลาดําเนินการ
5) หลักการและเหตุผล
6) วัตถุประสงค์
7) สมมุติฐานของการศึกษา (ในกรณี ที่เป็ นโครงงานทดลอง)
8) ขั้นตอนการดําเนินงาน
9) ปฏิบตั ิโครงงาน
10) ผลที่คาดว่าจะได้รับ
11) เอกสารอ้างอิง/บรรณานุกรม
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 109

4. การปฏิบัตโิ ครงงาน ลงมือปฏิบตั ิงานตามแผนงานที่กาํ หนดไว้ ในระหว่างปฏิบตั ิงานควรมีการ


จดบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ไว้อย่างละเอียดว่าทําอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาหรื ออุปสรรคอะไรและมีแนว
ทางแก้ไขอย่างไร
5. การเขียนรายงาน เป็ นการรายงานสรุ ปผลการดําเนินงาน เพื่อให้ผอู้ ื่นได้ทราบแนวคิด วิธีดาํ เนิน-
งาน ผลที่ได้รับ และข้อเสนอแนะต่าง ๆ เกี่ยวกับโครงงาน ซึ่งการเขียนรายงานนี้ควรใช้ภาษาที่กระชับ
เข้าใจง่าย ชัดเจน และครอบคลุมประเด็นที่ศึกษา
6. การแสดงผลงาน เป็ นการนําผลของการดําเนินงานมาเสนอ อาจจัดได้หลายรู ปแบบ เช่น การจัด
นิทรรศการ การทําเป็ นสื่ อสิ่ งพิมพ์ สื่ อมัลติมีเดีย หรื ออาจนําเสนอในรู ปของการแสดงผลงาน การนําเสนอ
ด้วยวาจา บรรยาย อภิปรายกลุ่ม สาธิต

2. แฟ้ มสะสมผลงาน (Portfolio)


แฟ้ มสะสมผลงาน หมายถึง แหล่งรวบรวมเอกสาร ผลงาน หรื อหลักฐาน เพื่อใช้สะท้อนถึง
ผลสัมฤทธิ์ ความสามารถ ทักษะ และพัฒนาการของนักเรี ยน มีการจัดเรี ยบเรี ยงผลงานไว้อย่างมีระบบ
โดยนําความรู ้ ความคิด และการนําเสนอมาผสมผสานกัน ซึ่งนักเรี ยนเป็ นผูค้ ดั เลือกผลงานและมีส่วนร่ วม
ในการประเมิน แฟ้ มสะสมผลงานจึงเป็ นหลักฐานสําคัญที่จะทําให้นกั เรี ยนสามารถมองเห็นพัฒนาการ
ของตนเองได้ตามสภาพจริ ง รวมทั้งเห็นข้อบกพร่ อง และแนวทางในการปรับปรุ งแก้ไขให้ดีข้ ึนต่อไป
ลักษณะสํ าคัญของการประเมินผลโดยใช้ แฟ้มสะสมผลงาน
1. ครู สามารถใช้เป็ นเครื่ องมือในการติดตามความก้าวหน้าของนักเรี ยนเป็ นรายบุคคลได้เป็ นอย่างดี
เนื่องจากมีผลงานสะสมไว้ ครู จะทราบจุดเด่น จุดด้อยของนักเรี ยนแต่ละคนจากแฟ้ มสะสมผลงาน และ
สามารถติดตามพัฒนาการได้อย่างต่อเนื่อง
2. มุ่งวัดศักยภาพของนักเรี ยนในการผลิตหรื อสร้างผลงาน มากกว่าการวัดความจําจากการทํา
แบบทดสอบ
3. วัดและประเมินโดยเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลาง คือ นักเรี ยนเป็ นผูว้ างแผน ลงมือปฏิบตั ิงาน รวมทั้ง
ประเมินและปรับปรุ งตนเอง ซึ่งมีครู เป็ นผูช้ ้ ีแนะ เน้นการประเมินผลย่อยมากกว่าการประเมินผลรวม
4. ฝึ กให้นกั เรี ยนรู ้จกั การประเมินตนเอง และหาแนวทางปรับปรุ งพัฒนาตนเอง
5. นักเรี ยนเกิดความมัน่ ใจและภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง รู ้วา่ ตนเองมีจุดเด่นในเรื่ องใด
6. ช่วยในการสื่ อความหมายเกี่ยวกับความรู ้ ความสามารถ ตลอดจนพัฒนาการของนักเรี ยนให้ผทู ้ ี่
เกี่ยวข้องทราบ เช่น ผูป้ กครอง ฝ่ ายแนะแนว ตลอดจนผูบ้ ริ หารของโรงเรี ยน
ขั้นตอนการประเมินผลโดยใช้ แฟ้ มสะสมผลงาน
การจัดทําแฟ้ มสะสมผลงาน มี 10 ขั้นตอน ซึ่งแต่ละขั้นตอนมีรายละเอียด ดังนี้
1. การวางแผนจัดทําแฟ้ มสะสมผลงาน การจัดทําแฟ้ มสะสมผลงานต้องมีส่วนร่ วมระหว่างครู
นักเรี ยน และผูป้ กครอง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 110

ครู การเตรี ยมตัวของครู ตอ้ งเริ่ มจากการศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตร คู่มือครู คําอธิบายรายวิชา


วิธีการวัดและประเมินผลในหลักสูตร รวมทั้งครู ตอ้ งมีความรู ้และเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินโดยใช้แฟ้ ม
สะสมผลงาน จึงสามารถวางแผนกําหนดชิ้นงานได้
นักเรียน ต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การเรี ยนรู้ เนื้อหาสาระ การประเมินผลโดยใช้
แฟ้ มสะสมผลงาน การมีส่วนร่ วมในกิจกรรมการเรี ยนรู้ การกําหนดชิ้นงาน และบทบาทในการทํางาน
กลุ่ม โดยครู ตอ้ งแจ้งให้นกั เรี ยนทราบล่วงหน้า
ผู้ปกครอง ต้องเข้ามามีส่วนร่ วมในการคัดเลือกผลงาน การแสดงความคิดเห็น และรับรู้
พัฒนาการของนักเรี ยนอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นก่อนทําแฟ้ มสะสมผลงาน ครู ตอ้ งแจ้งให้ผปู้ กครองทราบหรื อ
ขอความร่ วมมือ รวมทั้งให้ความรู ้ในเรื่ องการประเมินผลโดยใช้แฟ้ มสะสมผลงานแก่ผปู ้ กครองเมื่อมี
โอกาส
2. การรวบรวมผลงานและจัดระบบแฟ้ม ในการรวบรวมผลงานต้องออกแบบการจัดเก็บหรื อแยก
หมวดหมู่ของผลงานให้ดี เพื่อสะดวกและง่ายต่อการนําข้อมูลออกมาใช้ แนวทางการจัดหมวดหมู่ของ
ผลงาน เช่น
1) จัดแยกตามลําดับวันและเวลาที่สร้างผลงานขึ้นมา
2) จัดแยกตามความซับซ้อนของผลงาน เป็ นการแสดงถึงทักษะหรื อพัฒนาการของนักเรี ยนที่
มากขึ้น
3) จัดแยกตามวัตถุประสงค์ เนื้อหา หรื อประเภทของผลงาน
ผลงานที่อยูใ่ นแฟ้ มสะสมผลงานอาจมีหลายเรื่ อง หลายวิชา ดังนั้น นักเรี ยนจะต้องทําเครื่ องมือใน
การช่วยค้นหา เช่น สารบัญ ดัชนีเรื่ อง จุดสี แถบสี ติดไว้ที่ผลงานโดยมีรหัสที่แตกต่างกัน
3. การคัดเลือกผลงาน ในการคัดเลือกผลงานนั้นควรให้สอดคล้องกับเกณฑ์หรื อมาตรฐานที่
โรงเรี ยน ครู หรื อนักเรี ยนร่ วมกันกําหนดขึ้นมา และผูค้ ดั เลือกผลงานควรเป็ นนักเรี ยนเจ้าของแฟ้ มสะสม
ผลงาน หรื อมีส่วนร่ วมกับครู เพื่อน และผูป้ กครอง
ผลงานที่เลือกเข้าแฟ้ มสะสมผลงาน ควรมีลกั ษณะดังนี้
1) สอดคล้องกับเนื้อหาและวัตถุประสงค์ของการเรี ยนรู้
2) เป็ นผลงานชิ้นที่ดีที่สุด มีความหมายต่อนักเรี ยนมากที่สุด
3) สะท้อนให้เห็นถึงพัฒนาการของนักเรี ยนในทุกด้าน
4) เป็ นสื่ อที่จะช่วยให้นกั เรี ยนมีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับครู ผูป้ กครอง และเพื่อน ๆ
ส่วนจํานวนชิ้นงานนั้นให้กาํ หนดตามความเหมาะสม ไม่ควรมีมากเกินไป เพราะอาจจะทําให้
ผลงานบางชิ้นไม่มีความหมาย แต่ถา้ มีนอ้ ยเกินไปจะทําให้การประเมินไม่มีประสิ ทธิภาพ
4. การสร้ างสรรค์ แฟ้มสะสมผลงานให้ มเี อกลักษณ์ ของตนเอง โครงสร้างหลักของแฟ้ มสะสม
ผลงานอาจเหมือนกัน แต่นกั เรี ยนสามารถตกแต่งรายละเอียดย่อยให้แตกต่างกัน ตามความคิดสร้างสรรค์
ของแต่ละบุคคล โดยอาจใช้ภาพ สี สติกเกอร์ ตกแต่งให้สวยงาม เน้นเอกลักษณ์ของเจ้าของแฟ้ มสะสม
ผลงาน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 111

5. การแสดงความคิดเห็นหรือความรู้สึกต่ อผลงาน ในขั้นตอนนี้นกั เรี ยนจะได้รู้จกั การวิพากษ์


วิจารณ์ หรื อสะท้อนความคิดเกี่ยวกับผลงานของตนเอง ตัวอย่างข้อความที่ใช้แสดงความรู ้สึกต่อผลงาน
เช่น
1) ได้แนวคิดจากการทําผลงานชิ้นนี้มาจากไหน
2) เหตุผลที่เลือกผลงานชิ้นนี้คืออะไร
3) จุดเด่น จุดด้อยของผลงานชิ้นนี้คืออะไร
4) รู ้สึกพอใจกับผลงานชิ้นนี้มากน้อยเพียงใด
5) ได้ขอ้ คิดอะไรจากการทําผลงานชิ้นนี้
6. การตรวจสอบความสามารถของตนเอง เป็ นการเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้ประเมินความสามารถ
ของตนเอง โดยพิจารณาตามเกณฑ์ยอ่ ย ๆ ที่ครู และนักเรี ยนช่วยกันกําหนดขึ้น เช่น นิสยั การทํางาน ทักษะ
ทางสังคม การทํางานเสร็ จตามระยะเวลาที่กาํ หนด การขอความช่วยเหลือเมื่อมีความจําเป็ น นอกจากนี้การ
ตรวจสอบความสามารถตนเองอีกวิธีหนึ่ง คือ การให้นกั เรี ยนเขียนวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อยของตนเอง และ
สิ่ งที่ตอ้ งปรับปรุ งแก้ไข
7. การประเมินผลงาน เป็ นขั้นตอนที่สาํ คัญเนื่องจากเป็ นการสรุ ปคุณภาพของงานและความ
สามารถหรื อพัฒนาการของนักเรี ยน การประเมินแบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะ คือ การประเมินโดยไม่ให้ระดับ
คะแนน และการประเมินโดยให้ระดับคะแนน
1) การประเมินโดยไม่ ให้ ระดับคะแนน ครู กลุ่มนี้มีความเชื่อว่า แฟ้ มสะสมผลงานมีไว้เพื่อศึกษา
กระบวนการทํางาน ศึกษาความคิดเห็น ความรู ้สึกของนักเรี ยนที่มีต่อผลงานของตนเอง ตลอดจนดู
พัฒนาการหรื อความก้าวหน้าของนักเรี ยนอย่างไม่เป็ นทางการ ครู ผูป้ กครอง และเพื่อนสามารถให้คาํ
ชี้แนะแก่นกั เรี ยนได้ ซึ่งวิธีการนี้จะทําให้นกั เรี ยนได้เรี ยนรู ้และปฏิบตั ิงานอย่างเต็มที่ โดยไม่ตอ้ งกังวลว่า
จะได้คะแนนมากน้อยเท่าไร
2) การประเมินโดยให้ ระดับคะแนน มีท้ งั การประเมินตามจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ การประเมิน
ระหว่างภาคเรี ยน และการประเมินปลายภาค ซึ่งจะช่วยในวัตถุประสงค์ดา้ นการปฏิบตั ิเป็ นหลัก การ
ประเมินแฟ้ มสะสมผลงานต้องกําหนดมิติการให้คะแนน (scoring rubrics) ตามเกณฑ์ที่ครู และนักเรี ยน
ร่ วมกันกําหนดขึ้น การให้ระดับคะแนนมีท้ งั การให้คะแนนเป็ นรายชิ้นก่อนเก็บเข้าแฟ้ มสะสมผลงาน และ
การให้คะแนนแฟ้ มสะสมผลงานทั้งแฟ้ ม ซึ่งมาตรฐานคะแนนนั้นต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การ
จัดทําแฟ้ มสะสมผลงาน และมุ่งเน้นพัฒนาการของนักเรี ยนแต่ละคนมากกว่าการนําไปเปรี ยบเทียบกับ
บุคคลอื่น
8. การแลกเปลีย่ นประสบการณ์ กบั ผู้อนื่ มีวตั ถุประสงค์เพื่อเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้รับฟังความ
คิดเห็นจากผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ เพื่อน ครู และผูป้ กครอง อาจทําได้หลายรู ปแบบ เช่น การจัดประชุม
ในโรงเรี ยนโดยเชิญผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้องมาร่ วมกันพิจารณาผลงาน การสนทนาแลกเปลี่ยนระหว่างนักเรี ยน
กับเพื่อน การส่ งแฟ้ มสะสมผลงานไปให้ผทู ้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้องช่วยให้ขอ้ เสนอแนะหรื อคําแนะนํา
ในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์น้ นั นักเรี ยนจะต้องเตรี ยมคําถามเพื่อถามผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้อง ซึ่งจะ
เป็ นประโยชน์ในการปรับปรุ งงานของตนเอง ตัวอย่างคําถาม เช่น
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 112

1) ท่านคิดอย่างไรกับผลงานชิ้นนี้
2) ท่านคิดว่าควรปรับปรุ งแก้ไขส่วนใดอีกบ้าง
3) ผลงานชิ้นใดที่ท่านชอบมากที่สุด เพราะอะไร
9. การปรับเปลีย่ นผลงาน หลังจากที่นกั เรี ยนได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และได้รับคําแนะนําจากผู ้
ที่มีส่วนเกี่ยวข้องแล้ว จะนํามาปรับปรุ งผลงานให้ดีข้ ึน นักเรี ยนสามารนําผลงานที่ดีกว่าเก็บเข้าแฟ้ มสะสม
ผลงานแทนผลงานเดิม ทําให้แฟ้ มสะสมผลงานมีผลงานที่ดี ทันสมัย และตรงตามจุดประสงค์ในการ
ประเมิน
10. การประชาสั มพันธ์ ผลงานของนักเรียน เป็ นการแสดงนิทรรศการผลงานของนักเรี ยน โดยนํา
แฟ้ มสะสมผลงานของนักเรี ยนทุกคนมาจัดแสดงร่ วมกัน และเปิ ดโอกาสให้ผปู้ กครอง ครู และนักเรี ยน
ทัว่ ไปได้เข้าชมผลงาน ทําให้นกั เรี ยนเกิดความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง ผูท้ ี่เริ่ มต้นทําแฟ้ มสะสม
ผลงานอาจไม่ตอ้ งดําเนินการทั้ง 10 ขั้นตอนนี้ อาจใช้ข้ นั ตอนหลัก ๆ คือ การรวบรวมผลงานและการ
จัดระบบแฟ้ ม การคัดเลือกผลงาน และการแสดงความคิดเห็นหรื อความรู ้สึกต่อผลงาน
องค์ ประกอบสํ าคัญของแฟ้มสะสมผลงาน มีดงั นี้

1. ส่ วนนํา ประกอบด้วย
– ปก
– คํานํา
– สารบัญ
– ประวัติส่วนตัว
– จุดมุ่งหมายของการทํา
แฟ้ มสะสมผลงาน
2. ส่ วนเนือ้ หาแฟ้ม ประกอบด้วย
– ผลงาน
– ความคิดเห็นที่มีต่อผลงาน
– Rubrics ประเมินผลงาน
3. ส่ วนข้ อมูลเพิม่ เติม ประกอบด้วย
– ผลการประเมินการเรี ยนรู ้
– การรายงานความก้าวหน้าโดยครู
– ความคิดเห็นของผูท้ ี่มีส่วน
เกี่ยวข้อง เช่น เพื่อน ผูป้ กครอง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 113

ตอนที่ 3.3
ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้
และรู ปแบบแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง
1. ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้ Backward Design
ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้
หน่ วยการเรียนรู้ที่ ________________________

ขั้นที่ 1 ผลลัพธ์ ปลายทางที่ต้องการให้ เกิดขึน้ กับนักเรียน


ตัวชี้วดั ชั้นปี
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
ความเข้ าใจที่คงทนของนักเรียน คําถามสํ าคัญที่ทําให้ เกิดความเข้ าใจที่คงทน
นักเรียนจะเข้ าใจว่า…
1. ______________________________________ 1. ______________________________________
2. ______________________________________ 2. ______________________________________
ความรู้ของนักเรียนที่นําไปสู่ ความเข้ าใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นําไปสู่
นักเรียนจะรู้ว่า… ความเข้ าใจที่คงทน นักเรียนจะสามารถ...
1. ______________________________________ 1. ______________________________________
2. ______________________________________ 2. ______________________________________
ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็ นหลักฐานที่แสดงว่ านักเรียนมีผลการเรียนรู้
ตามที่กาํ หนดไว้อย่างแท้ จริง
1. ภาระงานที่นักเรียนต้ องปฏิบัติ
1.1 _____________________________________________________________________________
1.2 _____________________________________________________________________________
1.3 _____________________________________________________________________________
2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
2.1 วิธีการประเมินผลการเรี ยนรู้ 2.2 เครื่ องมือประเมินผลการเรี ยนรู ้
1) _________________________________ 1) _________________________________
2) _________________________________ 2) _________________________________
3) _________________________________ 3) _________________________________
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 114

3. สิ่ งที่มุ่งประเมิน
3.1 _____________________________________________________________________________
3.2 _____________________________________________________________________________
3.3 _____________________________________________________________________________
ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________

2. รู ปแบบแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง
เมื่อครู ออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้ตามแนวคิด Backward Design แล้ว ครู สามารถเขียนแผนการ
จัดการเรี ยนรู ้รายชัว่ โมงโดยใช้รูปแบบของแผนการจัดการเรี ยนรู ้แบบเรี ยงหัวข้อ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
ชื่อแผน... (ระบุชื่อและลําดับที่ของแผนการจัดการเรี ยนรู ้)
ชื่อเรื่อง... (ระบุชื่อเรื่ องที่จะทําการจัดการเรี ยนรู ้)
สาระที่... (ระบุสาระที่ใช้จดั การเรี ยนรู้)
ชั้น... (ระบุช้ นั ที่จดั การเรี ยนรู ้)
หน่ วยการเรียนรู้ที่... (ระบุลาํ ดับที่และชื่อของหน่วยการเรี ยนรู ้)
เวลา... (ระบุระยะเวลาที่ใช้ในการจัดการเรี ยนรู ้ต่อ 1 แผน)
สาระสํ าคัญ... (เขียนความคิดรวบยอดหรื อมโนทัศน์ของหัวเรื่ องที่จะจัดการเรี ยนรู้)
ตัวชี้วดั ชั้นปี ... (ระบุตวั ชี้วดั ชั้นปี ที่ใช้เป็ นเป้ าหมายของแผนการจัดการเรี ยนรู้)
จุดประสงค์ การเรียนรู้... (กําหนดให้สอดคล้องกับสมรรถนะสําคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ของนักเรี ยนหลังจากสําเร็ จการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่ง
ประกอบด้วยด้านความรู้ (Knowledge–K) ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม (Affective–A) และด้าน
ทักษะ/กระบวนการ (Performance–P))
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้... (ระบุวิธีการและเครื่ องวัดและประเมินผลที่สอดคล้องกับ
จุดประสงค์การเรี ยนรู ้ท้ งั 3 ด้าน)
สาระการเรียนรู้... (ระบุสาระและเนื้อหาที่ใช้จดั การเรี ยนรู ้ อาจเขียนเฉพาะหัวเรื่ องก็ได้)
แนวทางบูรณาการ... (เสนอแนะและระบุกิจกรรมของกลุ่มสาระการเรี ยนรู้อื่นที่บูรณาการร่ วมกัน)
กระบวนการจัดการเรียนรู้... (กําหนดให้สอดคล้องกับธรรมชาติของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้และ
การบูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้)
กิจกรรมเสนอแนะ... (ระบุรายละเอียดของกิจกรรมที่นกั เรี ยนควรปฏิบตั ิเพิ่มเติม)
สื่ อ/แหล่งการเรียนรู้... (ระบุสื่อ อุปกรณ์ และแหล่งการเรี ยนรู้ที่ใช้ในการจัดการเรี ยนรู้)
บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้... (ระบุรายละเอียดของผลการจัดการเรี ยนรู้ตามแผนที่กาํ หนดไว้ อาจ
นําเสนอข้อเด่นและข้อด้อยให้เป็ นข้อมูลที่สามารถใช้เป็ นส่วนหนึ่งของการทําวิจยั ในชั้นเรี ยนได้)
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 115

ตอนที่ 3.4
แบบทดสอบก่ อนเรียนและหลังเรียน ประจําหน่ วยการเรียนรู้
แบบทดสอบก่ อนเรียน
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
คําชี้แจง เลือกคําตอบที่ถูกต้ องทีส่ ุ ดเพียงคําตอบเดียว

1. แผนที่ประเภทใดที่สามารถนํามาใช้ ศึกษาลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือได้
ก แผนที่รัฐกิจ
ข แผนที่ท่องเที่ยว
ค แผนที่แสดงปริ มาณฝน
ง แผนที่แสดงเส้นทางคมนาคม
2. ข้ อใดไม่ ใช่ ผลิตภัณฑ์ สารสนเทศที่ได้ จากการรับรู้จากระยะไกล
ก ดาวเทียม
ข ภาพจากดาวเทียม
ค รู ปถ่ายทางอากาศ
ง ไม่มีขอ้ ถูก
3. รูปถ่ ายทางอากาศแบบเฉียงสู งมีลกั ษณะอย่ างไร
ก ครอบคลุมพื้นที่แคบ
ข มองไม่เห็นแนวขอบฟ้ า
ค นํามาใช้ทาํ แผนที่การบินได้
ง มีแกนของกล้องทํามุมเอียง 30 องศา
4. ภาพจากดาวเทียมอาศัยคุณสมบัตใิ นการสะท้ อนคลืน่ ชนิดใดของวัตถุ
ก คลื่นวิทยุ
ข คลื่นความร้อน
ค คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า
ง ข้อ ก และ ข ถูก
5. ดาวเทียมสํ ารวจทรัพยากรดวงแรกของโลกมีชื่อว่ าอะไร
ก โนอา
ข ควิกเบิร์ด
ค ไอโคนอส
ง แลนด์แซต
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 116

6. ภาพจากดาวเทียมมีความเป็ นปัจจุบนั มากกว่ ารูปถ่ ายทางอากาศเพราะอะไร


ก เพราะดาวเทียมมีหลายดวง
ข เพราะดาวเทียมมีการบินโคจรซํ้าที่เดิม
ค เพราะดาวเทียมถ่ายภาพได้หลายภาพต่อ 1 ครั้ง
ง เพราะการใช้ดาวเทียมถ่ายภาพมีราคาถูกกว่าใช้เครื่ องบิน
7. ชุ ดคําสั่ งหมายถึงองค์ ประกอบใดของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ก ข้อมูล
ข ฮาร์ดแวร์
ค ซอฟต์แวร์
ง กระบวนการวิเคราะห์
8. ข้ อมูลเวกเตอร์ มลี กั ษณะเป็ นอย่างไร
ก เป็ นจุดภาพ
ข ข้อมูลมีขนาดเล็ก
ค อยูใ่ นรู ปของตัวเลขและอักษร
ง มีความละเอียดน้อยกว่าแรสเตอร์
9. เว็บไซต์ www.usgs.gov นําเสนอข้ อมูลทางด้ านใดของประเทศสหรัฐอเมริกา
ก ประชากร
ข ธรณี วิทยา
ค ปฐพีวิทยา
ง สมุทรศาสตร์
10. ระบบกําหนดตําแหน่ งบนพืน้ โลกมีดาวเทียมรับสั ญญาณข้ อมูลทั้งหมดกีด่ วง
ก 4 ดวง
ข 8 ดวง
ค 12 ดวง
ง 24 ดวง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 117

แบบทดสอบหลังเรียน
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
คําชี้แจง เลือกคําตอบที่ถูกต้ องทีส่ ุ ดเพียงคําตอบเดียว

1. แผนที่ประเภทใดใช้ ศึกษาลักษณะทางสั งคมของทวีปอเมริกาเหนือได้ ดีที่สุด


ก แผนที่รัฐกิจประเทศแคนาดา
ข แผนที่ภมู ิประเทศประเทศเม็กซิโก
ค แผนที่ท่องเที่ยวประเทศสหรัฐอเมริ กา
ง แผนที่แสดงปริ มาณฝนทวีปอเมริ กาเหนือ
2. ถ้ าเกาะกรีนแลนด์ มคี วามสู งมากกว่า 1,000 เมตรขึน้ ไป แล้วในแผนที่ภูมปิ ระเทศทวีปอเมริกาเหนือ
เกาะกรีนแลนด์ ควรจะมีสีอะไรเป็ นส่ วนใหญ่
ก สี ฟ้า
ข สี เขียว
ค สี น้ าํ เงิน
ง สี น้ าํ ตาล
3. ข้ อใดเป็ นข้ อดีของรูปถ่ ายทางอากาศแบบเฉียงสู งที่ดีกว่ ารูปถ่ ายทางอากาศแบบเฉียงตํา่
ก สามารถใช้แทนแผนที่ได้
ข มีมาตราส่วนของภาพที่แน่นอน
ค มีความละเอียดของภาพมากกว่า
ง มองเห็นแนวขอบฟ้ าได้ในบางครั้ง
4. รูปถ่ ายทางอากาศนีใ้ ช้ ในการศึกษาเรื่องใดจึงจะเหมาะสมมากที่สุด

ก เส้นทางคมนาคมในทวีปอเมริ กาเหนือ
ข มลพิษสิ่ งแวดล้อมในประเทศสหรัฐอเมริ กา
ค การขยายตัวของเขตเมืองในประเทศเม็กซิโก
ง การประกอบอาชีพของประชากรในทวีปอเมริ กาใต้
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 118

5. ดาวเทียมดวงใดมีหน้ าที่สํารวจอุณหภูมผิ วิ นํา้ และทะเลและพืชพรรณธรรมชาติรายวัน


ก โนอา
ข ควิกเบิร์ด
ค ไอโคนอส
ง แลนด์แซต
6. ข้ อใดไม่ ใช่ ผลิตภัณฑ์ สารสนเทศที่ได้ จากการรับรู้จากระยะไกล
ก แผนที่
ข แผนภาพ
ค รู ปถ่ายทางอากาศ
ง ภาพจากดาวเทียม
7. ข้ อมูลแรสเตอร์ มขี ้ อดีกว่ าข้ อมูลเวกเตอร์ ในเรื่องใด
ก ขนาดของข้อมูล
ข การเรี ยกใช้ขอ้ มูล
ค โครงสร้างของข้อมูล
ง ความละเอียดของข้อมูล
8. เพราะเหตุใดภาพจากดาวเทียมจึงสามารถใช้ งานกับระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ ได้ โดยตรง
ก เพราะเป็ นรู ปภาพ
ข เพราะมีขอ้ มูลที่ทนั สมัย
ค เพราะเป็ นข้อมูลเชิงเลข
ง เพราะให้รายละเอียดได้ชดั เจน
9. ข้ อใดกล่าวถึงลักษณะของข้ อมูลเวกเตอร์ ได้ ถูกต้ อง
ก เป็ นจุดภาพ
ข เป็ นจุด เส้น พื้นที่
ค มีขนาดไฟล์ที่ใหญ่มาก
ง มีโครงสร้างของข้อมูลไม่ซบั ซ้อน
10. ส่ วนผู้ใช้ ใช้ ประโยชน์ จากระบบกําหนดตําแหน่ งบนพืน้ โลกอย่ างไรในการทําแผนที่
ก ใช้อา้ งอิงเวลาโลก
ข ใช้สาํ รวจและทํารังวัดพื้นที่
ค ใช้ควบคุมเครื่ องมือทําแผนที่
ง ใช้ติดตามการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 119

แบบทดสอบก่ อนเรียน
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 ทวีปอเมริกาเหนือ
คําชี้แจง เลือกคําตอบทีถ่ ูกต้ องทีส่ ุ ดเพียงคําตอบเดียว

1. การแบ่ งทวีปอเมริกาเหนือออกเป็ นอเมริกาเหนือและอเมริกากลางยึดอะไรเป็ นแนวแบ่ ง


ก แม่น้ าํ ยูคอน
ข แม่น้ าํ โคโลราโด
ค แม่น้ าํ มิสซิสซิปปี
ง แม่น้ าํ รี โอแกรนด์
2. ลาตินอเมริกาได้ รับอิทธิพลทางด้ านวัฒนธรรมมาจากประเทศใด
ก อังกฤษ–ชิลี
ข อิตาลี–ฝรั่งเศส
ค สเปน–โปรตุเกส
ง แคนาดา–โปรตุเกส
3. เขตเทือกเขาสู งที่ปรากฏเป็ นแนวต่ อเนื่องพบในภาคใดของทวีปอเมริกาเหนือ
ก ภาคใต้
ข ภาคเหนือ
ค ภาคตะวันตก
ง ภาคตะวันออก
4. ภูมอิ ากาศแบบที่สูงส่ วนใหญ่ พบบริเวณใดของทวีปอเมริกาเหนือ
ก เขตเทือกเขาสูงภาคตะวันตก
ข พื้นที่ทางภาคใต้รัฐอะแลสกา
ค เขตเทือกเขาสูงภาคตะวันออก
ง บริ เวณตอนกลางของเกาะกรี นแลนด์
5. รัฐใดของประเทศสหรัฐอเมริกาที่มภี ูมอิ ากาศส่ วนใหญ่ เป็ นแบบทะเลทราย
ก รัฐแคนซัส
ข รัฐแอริ โซนา
ค รัฐมินนิโซตา
ง รัฐอินดีแอนา
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 120

6. พืชพรรณธรรมชาติแบบป่ าแคระปรากฏในเขตภูมอิ ากาศแบบใด


ก ภูมิอากาศแบบไทกา
ข ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้น
ค ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน
ง ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นภาคพื้นทวีป
7. แหล่งผลิตถ่ านหินที่สําคัญของทวีปอเมริกาเหนืออยู่ในเทือกเขาใด
ก เทือกเขาโคสต์
ข เทือกเขาแคสเคด
ค เทือกเขาอะแลสกา
ง เทือกเขาแอปพาเลเชียน
8. ปัจจุบันประชากรส่ วนใหญ่ ของกลุ่มประเทศลาตินอเมริกาคือพวกใด
ก เอสกิโม
ข เมสติโซ
ค มูแลตโต
ง อินเดียน
9. ชาวเอสกิโมส่ วนใหญ่ อาศัยอยู่ในประเทศอะไร
ก เม็กซิโก
ข แคนาดา
ค นิการากัว
ง กัวเตมาลา
10. ประเทศใดในทวีปอเมริกาเหนือที่ใช้ ภาษาอังกฤษและฝรั่งเศสเป็ นภาษาราชการ
ก เม็กซิโก
ข แคนาดา
ค นิการากัว
ง กัวเตมาลา
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 121

แบบทดสอบหลังเรียน
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 ทวีปอเมริกาเหนือ
คําชี้แจง เลือกคําตอบทีถ่ ูกต้ องทีส่ ุ ดเพียงคําตอบเดียว

1. ทิศตะวันตกของทวีปอเมริกาเหนือจดมหาสมุทรอะไร
ก อินเดีย
ข แปซิฟิก
ค อาร์กติก
ง แอตแลนติก
2. ดินแดนใดอยู่ทางตอนเหนือสุ ดของทวีปอเมริกาเหนือ
ก เกาะแบฟฟิ น
ข แหลมมอร์ริสเจซัป
ค เกาะนิวฟันด์แลนด์
ง แหลมพริ นซ์ออฟเวลส์
3. ลักษณะภูมิประเทศในเขตใดของทวีปอเมริกาเหนือที่เป็ นเขตหินเก่าเช่ นเดียวกับบอลติกชีลด์ ในทวีป
ยุโรป
ก เขตหิ นเก่าแคนาดา
ข เขตที่ราบภาคกลาง
ค เขตภูเขาภาคตะวันออก
ง เขตเทือกเขาสูงภาคตะวันตก
4. ยอดเขาเมานต์ แมกคินลีย์อยู่ในแนวทิวเขาหรือเทือกเขาอะไร
ก ร็ อกกี
ข แคสเคด
ค อะแลสกา
ง เซียร์ราเนวาดา
5. ตามแนวชายฝั่งตะวันตกของภูมภิ าคอเมริกากลางและทางตอนใต้ ของคาบสมุทรฟลอริดามี
ภูมอิ ากาศแบบใด
ก อบอุ่นชื้น
ข ป่ าฝนเขตร้อน
ค เมดิเตอร์เรเนียน
ง ร้อนชื้นแบบทุ่งหญ้าเมืองร้อน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 122

6. น่ านนํา้ ในเกาะนิวฟันด์ แลนด์ เป็ นบริเวณที่มปี ลาชุ กชุ มเนื่องจากอิทธิพลของอะไร


ก ที่ต้ งั
ข กระแสนํ้า
ค ทิศทางลมประจํา
ง ลักษณะภูมิประเทศ
7. แหล่งผลิตถ่ านหินที่สําคัญของทวีปอเมริกาเหนืออยู่ในเทือกเขาใด
ก เทือกเขาโคสต์
ข ทิวเขาแคสเคด
ค เทือกเขาอะแลสกา
ง เทือกเขาแอปพาเลเชียน
8. ปัจจุบันประชากรส่ วนใหญ่ ของกลุ่มประเทศในภูมภิ าคอเมริกากลางคือพวกใด
ก เอสกิโม
ข เมสติโซ
ค มูแลตโต
ง อินเดียน
9. ภาคใดของทวีปอเมริกาเหนือที่มปี ระชากรหนาแน่ นที่สุด
ก ภาคใต้
ข ภาคเหนือ
ค ภาคตะวันตก
ง ภาคตะวันออก
10. เพราะเหตุใดเขตอุตสาหกรรมที่สําคัญของทวีปอเมริกาเหนือจึงอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ
ประเทศสหรัฐอเมริกาไปจนถึงภาคตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศแคนาดา
ก การคมนาคมเจริ ญกว่าที่อื่น
ข อุดมสมบูรณ์ดว้ ยแร่ ที่เป็ นพื้นฐานของอุตสาหกรรม
ค ชาวอินเดียนเคยตั้งถิ่นฐานและสร้างความเจริ ญมาก่อน
ง ประชากรเบาบางจึงทําให้มีพ้นื ที่สาํ หรับการตั้งโรงงานอุตสาหกรรม
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 123

แบบทดสอบก่ อนเรียน
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 ทวีปอเมริกาใต้
คําชี้แจง เลือกคําตอบทีถ่ ูกต้ องทีส่ ุ ดเพียงคําตอบเดียว

1. ชาวตะวันตกกลุ่มแรกที่ค้นพบทวีปอเมริกาใต้ เป็ นชนชาติใด


ก สเปน
ข อิตาลี
ค อังกฤษ
ง โปรตุเกส
2. หมู่เกาะสํ าคัญทางตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้คอื หมู่เกาะอะไร
ก โตเบโก
ข ตริ นิแดด
ค บาร์เบโดส
ง กาลาปาโกส
3. นํา้ ตกเอนเจลอยู่ในที่ราบสู งใดในทวีปอเมริกาใต้
ก ที่ราบสูงกีอานา
ข ที่ราบสูงบราซิล
ค ที่ราบสูงมาตูโกรสซู
ง ที่ราบสูงอัลติปลาโน
4. เพราะเหตุใดประชากรของทวีปอเมริกาใต้ ที่อยู่ในเขตละติจูดตํา่ และอยู่ตอนในของภาคพืน้ ทวีปต้ อง
อาศัยอยู่บนที่สูง
ก เพราะที่สูงมีอากาศไม่ร้อน
ข เพราะจะได้หลีกหนีจากเขตเงาฝน
ค เพราะในที่ต่าํ มีฝนตกชุกมากเกินไป
ง เพราะมีแนวเทือกเขาสูงอยูต่ ลอดทั้งพื้นที่
5. บริเวณใดของทวีปอเมริกาใต้มีภูมอิ ากาศเหมือนภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
ก เมืองอีกีเก ประเทศชิลี
ข ป่ าเซลวาส ประเทศบราซิล
ค เขตทุ่งหญ้ากัมโป ประเทศบราซิล
ง เขตทุ่งหญ้าปัมปา ประเทศอาร์เจนตินา
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 124

6. บริเวณชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกของทวีปอเมริกาใต้ ในประเทศเปรูและประเทศชิลมี พี ชื พรรณ


ธรรมชาติเป็ นแบบใด
ก ทุ่งหญ้ายาว
ข ไม้พมุ่ มีหนาม
ค ทุ่งหญ้าและป่ าโปร่ ง
ง ไม้สนและไม้ผลัดใบ
7. ชนกลุ่มใดเป็ นประชากรดั้งเดิมของทวีปอเมริกาใต้
ก มายา
ข อินคา
ค อัซเต็ก
ง แอบอริ จินี
8. คริสต์ ศาสนานิกายโรมันคาทอลิกที่นับถือกันมากที่สุดในทวีปอเมริกาใต้ เผยแผ่มาจากประเทศใด
ก ญี่ปุ่น
ข อินเดีย
ค อังกฤษ
ง โปรตุเกส
9. บริเวณใดเป็ นแหล่งประมงที่สําคัญของทวีปอเมริกาใต้
ก ลุ่มนํ้าปารากวัย
ข ลุ่มนํ้าแอมะซอน
ค ชายฝั่งด้านมหาสมุทรแปซิฟิก
ง ชายฝั่งด้านมหาสมุทรแอตแลนติก
10. ทางหลวงสายแพนอเมริกนั ที่ผ่านทวีปอเมริกาใต้ ไปสิ้นสุ ดที่ประเทศใด
ก ชิลี
ข บราซิล
ค โบลิเวีย
ง ปารากวัย
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 125

แบบทดสอบหลังเรียน
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 ทวีปอเมริกาใต้
คําชี้แจง เลือกคําตอบทีถ่ ูกต้ องทีส่ ุ ดเพียงคําตอบเดียว

1. ข้ อใดกล่าวถึงอาณาเขตของทวีปอเมริกาใต้ ได้ ถูกต้อง


ก ทางทิศใต้ติดต่อกับช่องแคบมาเจลลัน
ข ดินแดนเหนือสุ ดของทวีปคือ แหลมโกเกย์รูส
ค ด้านทิศตะวันออกของทวีปจดมหาสมุทรแปซิฟิก
ง คลองปานามากั้นระหว่างทวีปอเมริ กาใต้กบั แอนตาร์กติกา
2. กําแพงธรรมชาติที่ทําให้ เกิดเขตทะเลทรายในประเทศชิลคี อื อะไร
ก ที่ราบสูงกีอานา
ข เทือกเขาแอนดีส
ค ที่ราบสูงปาตาโกเนีย
ง ไม่มีขอ้ ใดถูก
3. แม่นํา้ สายใดบ้ างที่ไหลมาบรรจบกันแล้วไหลลงสู่ อ่าวรีโอเดลาปลาตา
ก ปารานา ปารากวัย อุรุกวัย
ข ปารากวัย อุรุกวัย แอมะซอน
ค ปารานา ปารากวัย แอมะซอน
ง ปารากวัย แอมะซอน มักดาเลนา
4. แม่นํา้ แอมะซอนมีต้นกําเนิดในเขตภูมปิ ระเทศใดของทวีปอเมริกาใต้
ก หมู่เกาะทางตอนใต้
ข เทือกเขาทางด้านตะวันตก
ค ที่ราบสูงทางด้านตะวันออก
ง ที่ราบลุ่มแม่น้ าํ ทางด้านตะวันออก
5. ข้ อใดกล่าวถึงลักษณะภูมอิ ากาศในบริเวณที่ราบสู งปาตาโกเนียได้ ถูกต้ อง
ก บางครั้งมีฝนทิ้งช่วงนานกว่า 10 ปี
ข มีฝนตกในฤดูร้อน ฤดูหนาวอบอุ่นสบาย
ค มีปริ มาณฝนมากกว่าในแถบลุ่มนํ้าแอมะซอน
ง มีปริ มาณฝนเฉลี่ยประมาณ 500 มิลลิเมตรต่อปี
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 126

6. เซลวาสคือชื่อเรียกของอะไร และอยู่ในเขตภูมอิ ากาศใดในทวีปอเมริกาใต้


ก ทะเลทราย อยูใ่ นเขตทะเลทราย
ข ทุ่งหญ้าแพรรี อยูใ่ นเขตอบอุ่นชื้น
ค ป่ าดิบชื้น อยูใ่ นเขตป่ าฝนเขตร้อน
ง ไม่มีขอ้ ใดถูก
7. ประเทศใดในทวีปอเมริกาใต้ ที่ไม่ ใช้ ภาษาสเปนเป็ นภาษาราชการ
ก เปรู
ข บราซิล
ค โบลิเวีย
ง โคลอมเบีย
8. พืชชนิดใดที่ทวีปอเมริกาใต้ ผลิตได้ มากที่สุดในโลกและผลิตในประเทศใด
ก โกโก้ ประเทศเปรู
ข กาแฟ ประเทศบราซิล
ค อ้อย ประเทศอาร์เจนตินา
ง กล้วย ประเทศเอกวาดอร์
9. สิ นค้ าเข้ าที่สําคัญของทวีปอเมริกาใต้คอื อะไร
ก ไวน์
ข นํ้ามัน
ค สิ นแร่ เหล็ก
ง เคมีภณั ฑ์และสิ่ งทอ
10. เพราะเหตุใดเส้ นทางรถยนต์ ในทวีปอเมริกาใต้ จึงไม่ ได้ รับการพัฒนา
ก เพราะประชาชนนิยมเดินทางด้วยเครื่ องบิน
ข เพราะมีทางรถไฟที่ได้มาตรฐานเป็ นอย่างดีแล้ว
ค เพราะมีสภาพพื้นที่ที่เป็ นอุปสรรคต่อการสร้างถนน
ง เพราะไม่ได้รับการช่วยเหลือจากประเทศสหรัฐอเมริ กา
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 127

แบบทดสอบก่ อนเรียน
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 สถานการณ์ ด้านทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม
ในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
คําชี้แจง เลือกคําตอบทีถ่ ูกต้ องทีส่ ุ ดเพียงคําตอบเดียว

1. รัฐใดในประเทศแคนาดาที่มปี ัญหาการตัดไม้ ทําลายป่ ามากที่สุด


ก ควิเบก
ข ซัสแคตเชวัน
ค โนวาสโกเชีย
ง บริ ติชโคลัมเบีย
2. ข้ อใดไม่ ใช่ สาเหตุที่ทําให้ เกิดมลพิษในกลุ่มทะเลสาบเกรตเลกส์
ก การทิ้งขยะของนักท่องเที่ยว
ข การใช้สารเคมีในพื้นที่เพาะปลูก
ค การเติบโตของโรงงานอุตสาหกรรม
ง การเพิ่มขึ้นของจํานวนรถยนต์บนถนน
3. พายุใดสร้ างความเสี ยหายให้ แก่ประเทศสหรัฐอเมริกามากที่สุดใน ค.ศ. 2005
ก จีนน์
ข ไอแวน
ค แคทรี นา
ง ฟรานเซส
4. เมืองใดมีปัญหามลพิษทางนํา้ มากที่สุดในทวีปอเมริกาใต้
ก โบโกตา
ข ซันติอาโก
ค รี อูดีจาเนรู
ง บัวโนสไอเรส
5. LEED หมายถึงอะไร
ก อาคารเขียว
ข ชื่ออาคารเขียวแห่งหนึ่ง
ค องค์กรที่ดูแลอาคารเขียว
ง เกณฑ์มาตรฐานของอาคารเขียว
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 128

6. ฟาเบลาคือชื่อเรียกของอะไรในทวีปอเมริกาใต้
ก อาคารเขียว
ข ชุมชนแออัด
ค พื้นที่เพาะปลูก
ง พืชดัดแปลงพันธุกรรม
7. โครงการเส้ นทางเสื อดําเป็ นโครงการที่เชื่อมอะไรเข้ าด้ วยกัน
ก พื้นที่ป่าไม้ด้ งั เดิม
ข เขตห้ามล่าสัตว์ป่า
ค เขตอุทยานแห่งชาติ
ง พื้นที่ล่าสัตว์ถูกกฎหมาย
8. สหรัฐอเมริกาผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนชนิดใดมากที่สุด
ก นํ้า
ข ลม
ค เอทานอล
ง แสงอาทิตย์
9. รัฐบาลเอกวาดอร์ แก้ไขปัญหาการบุกรุกพืน้ ทีป่ ่ าของชนพืน้ เมืองด้ วยวิธีการใด
ก การจัดตั้งอุทยานนิเวศวิทยา
ข การสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
ค การกําหนดเขตอุทยานแห่งชาติเพิ่มขึ้น
ง การบังคับใช้กฎหมายต่อชนพื้นเมืองขั้นรุ นแรง
10. ภัยแล้งที่เกิดขึน้ ในประเทศไทยเมือ่ พ.ศ. 2553 มีสาเหตุมาจากปรากฏการณ์ ใดที่เกิดขึน้ ในทวีป
อเมริกาใต้
ก สึ นามิ
ข ลานีญา
ค เอลนีโญ
ง พายุเฮอร์ริเคน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 129

แบบทดสอบหลังเรียน
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 สถานการณ์ ด้านทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม
ในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
คําชี้แจง เลือกคําตอบทีถ่ ูกต้ องทีส่ ุ ดเพียงคําตอบเดียว

1. ฝนกรดในทวีปอเมริกาเหนือเกิดจากสาเหตุใดมากที่สุด
ก รถยนต์
ข เขตเมืองขยายตัว
ค โรงงานอุตสาหกรรม
ง เทคโนโลยีทางการเกษตร
2. ข้ อใดเป็ นภัยทางธรรมชาติในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ ที่ไม่ ได้ มีสาเหตุมาจากภาวะโลกร้ อน
ก พายุเฮอร์ริเคนแคทรี นา
ข แม่น้ าํ แอมะซอนเหื อดแห้ง
ค แผ่นดินไหวในประเทศชิลี
ง คลื่นความร้อนในเมืองลอสแอนเจลิส
3. ข้ อใดเป็ นสาเหตุสําคัญที่ทําให้ ดินในทวีปอเมริกาใต้ เสื่ อมโทรมจนไม่ สามารถนํามาใช้ ในการเพาะปลูก
ได้
ก การขยายตัวของเขตเมือง
ข การขยายพื้นที่ไร่ ถวั่ เหลือง
ค การทําการเกษตรแบบชีวภาพ
ง การสร้างเส้นทางคมนาคมทางบก
4. กลุ่มกรีนพีซมีบทบาทอย่างไรในการแก้ ไขปัญหาสิ่ งแวดล้อม
ก ผูส้ ร้างเขตไชน่าทาวน์
ข รณรงค์ให้รักษาสิ่ งแวดล้อม
ค กลุ่มผูน้ าํ ในการผลิตเอทานอล
ง ต้นกําเนิดแนวคิดเรื่ องอาคารเขียว
5. ข้ อใดเป็ นสาเหตุสําคัญที่ทําให้ เกิดฟาเบลาในทวีปอเมริกาใต้
ก การลดลงของพื้นที่ป่าแอมะซอน
ข การขยายเส้นทางคมนาคมทางบก
ค การเพิ่มขึ้นของโรงงานอุตสาหกรรม
ง การอพยพเข้าเมืองของประชากรจากเขตชนบท
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 130

6. โครงการเส้ นทางเสื อดําเป็ นโครงการที่เชื่อมโยงเขตอุทยานแห่ งชาติต้งั แต่ ประเทศใดไปจนถึง


ประเทศใด
ก เม็กซิโกถึงปานามา
ข เม็กซิโกถึงเอกวาดอร์
ค สหรัฐอเมริ กาถึงเม็กซิโก
ง สหรัฐอเมริ กาถึงปานามา
7. เพราะเหตุใดประเทศสหรัฐอเมริกาจึงไม่ รับพิธีสารเกียวโต
ก เพราะไม่ตอ้ งการปฏิบตั ิตามสหภาพยุโรป
ข เพราะไม่เชื่อว่าจะช่วยลดภาวะโลกร้อนได้
ค เพราะจะทําให้ไม่ได้สิทธิซ้ือขายคาร์บอนเครดิต
ง เพราะเห็นว่าไม่ให้ความยุติธรรมแก่ประเทศของตน
8. ประเทศบราซิลนําพืชชนิดใดมาผลิตเป็ นเชื้อเพลิงเอทานอล
ก อ้อย
ข ข้าวโพด
ค ถัว่ เหลือง
ง ปาล์มนํ้ามัน
9. ร่ างกฎหมาย America Clean Energy and Security Act ส่ งผลต่ อประเทศไทยมากที่สุดในเรื่องใด
ก การซื้อขายคาร์บอนเครดิต
ข การลดอัตราการปล่อยก๊าซเรื อนกระจก
ค การเพิ่มภาษีสินค้าที่ทาํ ให้เกิดภาวะโลกร้อน
ง การไม่ให้เงินทุนสนับสนุนในการแก้ปัญหาภาวะโลกร้อน
10. ประเทศไทยได้ รับผลอย่างไรจากการผลิตเอทานอลของประเทศบราซิล
ก ทําให้ส่งออกเชื้อเพลิงได้นอ้ ยลง
ข ทําให้ได้เปรี ยบดุลการค้าต่อบราซิล
ค ทําให้ส่งออกรถยนต์ไปบราซิลได้นอ้ ยลง
ง ทําให้มีความพยายามผลิตเอทานอลมากขึ้น
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 131

ตอนที่ 3.5
แบบทดสอบกลางภาค
ด้ านความรู้
ตอนที่ 1 เลือกคําตอบทีถ่ ูกต้ องที่สุดเพียงคําตอบเดียว
1. ข้ อใดคือสื่ อที่ถ่ายทอดข้ อมูลของโลกในรูปของกราฟิ ก โดยย่ อส่ วนให้ เล็กลงด้ วยมาตราส่ วนต่ าง ๆ
และใช้ สัญลักษณ์ ในการแสดงข้ อมูลเหล่ านั้น
ก แผนที่
ข ภาพจากดาวเทียม
ค การรับรู ้จากระยะไกล
ง ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
2. “ระบบการสํ ารวจข้ อมูลด้ วยเครื่องรับรู้” หมายถึงระบบใด
ก การรับรู ้ระยะไกล
ข การสํารวจและรังวัด
ค ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ง ระบบกําหนดตําแหน่งบนพื้นโลก
3. ข้ อใดไม่ ใช่ ผลิตภัณฑ์ สารสนเทศที่ได้ จากการวิเคราะห์ ข้อมูลของการรับรู้จากระยะไกล
ก แผนที่
ข เครื่ องจีพีเอส
ค ภาพจากดาวเทียม
ง รู ปถ่ายทางอากาศ
4. แนวแกนของกล้องของรูปถ่ ายทางอากาศแบบเฉียงสู งมีแกนของกล้องเอียงทํามุมเท่ าไรจาก
แนวตั้งฉาก
ก 15 องศา
ข 30 องศา
ค 45 องศา
ง 60 องศา
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 132

5. รูปถ่ ายทางอากาศในแนวตั้งมีข้อดีอย่างไร
ก สามารถใช้แทนแผนที่ได้
ข นํามาใช้ทาํ แผนที่การบินได้
ค มองเห็นแนวขอบฟ้ าได้ชดั เจน
ง มองเห็นความต่างระดับของพื้นที่ได้
6. รูปถ่ ายทางอากาศแบบเฉียงตํา่ มีลกั ษณะเป็ นอย่ างไร
ก มองไม่เห็นแนวขอบฟ้ า
ข มองเห็นความต่างระดับได้ชดั เจน
ค แกนของกล้องเอียงทํามุม 45 องศา
ง มีทิศทางและมาตราส่วนของภาพที่แน่นอน
7. ข้ อมูลใดของรูปถ่ ายทางอากาศเป็ นข้ อมูลที่ไม่ แน่ นอนเหมือนกับในแผนที่
ก มาตราส่วน
ข ตําแหน่งที่ต้ งั
ค ความละเอียด
ง ข้อ ก และ ข ถูก
8. ข้ อใดไม่ ใช่ ข้ อดีของภาพจากดาวเทียมที่ดีกว่ารูปถ่ ายทางอากาศ
ก มีราคาถูก
ข เป็ นข้อมูลเชิงเลข
ค มีขอ้ มูลที่เป็ นปัจจุบนั
ง เป็ นข้อมูลที่เป็ นจุดภาพ
9. ภาพจากดาวเทียมอาศัยคุณสมบัตใิ ดในการถ่ ายภาพ
ก การเคลื่อนที่ของวัตถุ
ข การแปรสภาพของวัตถุ
ค การสะท้อนพลังงานของวัตถุ
ง การแผ่รังสี ความร้อนของวัตถุ
10. ดาวเทียมใดเป็ นดาวเทียมที่ใช้ สํารวจทางด้ านสมุทรศาสตร์
ก โนอา
ข ควิกเบิร์ด
ค ไอโคนอส
ง แลนด์แซต
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 133

11. ดาวเทียมสํ ารวจทรัพยากรดวงใดใช้ สํารวจและติดตามข้ อมูลทางด้ านสมุทรศาสตร์ โดยเฉพาะ


ก โนอา
ข ควิกเบิร์ด
ค ไอโคนอส
ง แลนด์แซต
12. องค์ ประกอบใดของระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ ที่มหี น้ าที่เชื่อมต่ อข้ อมูลให้ เข้ ากับระบบ
ก บุคลากร
ข ฮาร์ดแวร์
ค ซอฟต์แวร์
ง กระบวนการ
13. ชุ ดคําสั่ งของระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ มลี กั ษณะเป็ นอย่างไร
ก ใช้งานได้ง่าย ไม่ยงุ่ ยาก
ข มีชุดคําสัง่ เยอะมากและหลายแบบ
ค รู ปแบบของชุดคําสัง่ มีสีสนั สวยงาม
ง สามารถใช้งานในโทรศัพท์เคลื่อนที่ได้
14. ข้ อมูลแรสเตอร์ มขี ้ อดีกว่ าข้ อมูลเวกเตอร์ อย่างไร
ก มีความแม่นยําสูง
ข มีโครงสร้างที่ไม่ซบั ซ้อน
ค แก้ไขข้อมูลได้ตลอดเวลา
ง มีขนาดของข้อมูลที่เล็กกว่า
15. กระบวนการวิเคราะห์ ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ส่วนใหญ่ จะอยู่ในรูปของอะไร
ก คําถาม
ข คําตอบ
ค ความหมาย
ง คําจํากัดความ
16. บุคลากรในระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ ควรมีคุณสมบัตอิ ย่างไร
ก เป็ นโปรแกรมเมอร์ชื่อดัง
ข เป็ นนักวิทยาศาสตร์ดา้ นกายภาพ
ค เป็ นผูท้ ี่มีความรู้ทางด้านภูมิศาสตร์
ง เป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญในการใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 134

17. ข้ อใดไม่ ใช่ ขั้นตอนในกระบวนการวิเคราะห์ ของระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์


ก นําเข้าข้อมูล
ข สํารวจข้อมูล
ค จัดการข้อมูล
ง แสดงผลข้อมูล
18. เครื่องจีพเี อสจะค้ นหาตําแหน่ งของเครื่องได้ จะต้ องได้ รับสั ญญาณจากดาวเทียมกีด่ วง
ก 2 ดวง
ข 4 ดวง
ค 16 ดวง
ง 24 ดวง
19. เครื่องรับจีพเี อสอยู่ในองค์ ประกอบใดของระบบกําหนดตําแหน่ งบนพืน้ โลก
ก ส่วนผูใ้ ช้
ข ส่วนผูผ้ ลิต
ค ส่วนอวกาศ
ง ส่วนสถานีควบคุม
20. ระบบจีพเี อสสามารถใช้ ตดิ ตามการเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดล้อมได้ หรือไม่ เพราะอะไร
ก ได้ เพราะมีการพัฒนาแล้ว
ข ไม่ได้ เพราะระบบไม่มีการพัฒนาทางด้านนี้
ค ได้ เพราะนําตําแหน่งเดิมของพื้นที่มาเปรี ยบเทียบได้
ง ไม่ได้ เพราะข้อมูลของระบบจะถูกลบทิ้งอยูต่ ลอดเวลา
21. สหรัฐอเมริกาเคยเป็ นอาณานิคมของชาติใด
ก อิตาลี
ข อังกฤษ
ค แคนาดา
ง โปรตุเกส
22. ทิศตะวันออกของทวีปอเมริกาเหนือจดมหาสมุทรอะไร
ก อินเดีย
ข แปซิฟิก
ค อาร์กติก
ง แอตแลนติก
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 135

23. ข้ อใดกล่าวถึงลักษณะภูมปิ ระเทศของทวีปอเมริกาเหนือไม่ ถกู ต้ อง


ก พื้นที่บริ เวณภายในทวีปมีลกั ษณะราบเรี ยบ
ข พื้นที่ชายฝั่งมหาสมุทรอาร์กติกมีลกั ษณะเว้าแหว่ง
ค พื้นที่ชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกมีลกั ษณะราบเรี ยบ
ง พื้นที่ชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกมีลกั ษณะเป็ นเทือกเขาสูงสลับซับซ้อน
24. ข้ อใดกล่าวถึงช่ องแคบเบริงไม่ ถกู ต้ อง
ก ช่วงที่แคบที่สุดกว้าง 85 กิโลเมตร
ข เชื่อมมหาสมุทรอาร์กติกกับทะเลเบริ ง
ค กั้นระหว่างทวีปเอเชียกับอเมริ กาเหนือ
ง กั้นระหว่างทวีปอเมริ กาเหนือกับอเมริ กาใต้
25. บริเวณใดของทวีปอเมริกาเหนือที่เกิดภูเขาไฟปะทุและแผ่ นดินไหวอยู่บ่อยครั้ง
ก เขตหิ นเก่าแคนาดา
ข เขตที่ราบภาคกลาง
ค เขตภูเขาภาคตะวันออก
ง เขตเทือกเขาสูงภาคตะวันตก
26. น่ านนํา้ ใดอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก
ก ทะเลเหนือ
ข อ่าวเม็กซิโก
ค อ่าวอะแลสกา
ง ทะเลแคริ บเบียน
27. ภูเขาเมานต์ แมกคินลีย์อยู่ในแนวทิวเขาหรือเทือกเขาอะไร
ก ร็ อกกี
ข แคสเคด
ค อะแลสกา
ง แมกเคนซี
28. เทือกเขาใดไม่ ได้ อยู่ในภูมภิ าคอเมริกาเหนือ
ก เทือกเขาโคสต์
ข เทือกเขาแอนดีส
ค เทือกเขาเซียร์ราเนวาดา
ง เทือกเขาแอปพาเลเชียน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 136

29. แม่นํา้ โคโลราโดไหลผ่านบริเวณที่มลี กั ษณะภูมปิ ระเทศแบบใด


ก ที่ราบ
ข ที่ราบสูง
ค ที่ราบลุ่ม
ง ที่ราบลูกคลื่น
30. อิทธิพลของสิ่ งใดที่ทําให้ ทวีปอเมริกาเหนือมีสภาพอากาศทั้งเขตหนาว อบอุ่น และร้ อน
ก ที่ต้ งั
ข กระแสนํ้า
ค ทิศทางลมประจํา
ง ลักษณะภูมิประเทศ
31. พืชพรรณธรรมชาติแบบสะวันนาปรากฏในภูมอิ ากาศแบบใด
ก แบบอบอุ่นชื้น
ข แบบป่ าฝนเขตร้อน
ค แบบทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทราย
ง ร้อนชื้นแบบทุ่งหญ้าเมืองร้อน
32. ทางตอนใต้ สุดของคาบสมุทรฟลอริดามีปริมาณฝนเป็ นอย่างไร
ก มีปริ มาณฝนน้อยมาก แห้งแล้ง
ข มีปริ มาณฝนมาก ส่วนใหญ่ตกในฤดูหนาว
ค มีปริ มาณฝนมาก ฝนตกสมํ่าเสมอตลอดทั้งปี
ง มีปริ มาณฝนปานกลาง ส่วนใหญ่ตกในฤดูร้อน
33. บริเวณใดของทวีปอเมริกาเหนือมีภูมอิ ากาศแบบป่ าฝนเขตร้ อน
ก รัฐอะแลสกา
ข ที่ราบใหญ่ตอนกลาง
ค ชายฝั่งตะวันออกของอเมริ กากลาง
ง ทางตอนใต้สุดของคาบสมุทรฟลอริ ดา
34. พวกผิวเหลืองในทวีปอเมริกาเหนืออพยพมาจากทวีปอะไร
ก ยุโรป
ข เอเชีย
ค แอฟริ กา
ง อเมริ กาใต้
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 137

35. ประเทศเม็กซิโกใช้ ภาษาอะไรเป็ นภาษาราชการ


ก สเปน
ข อังกฤษ
ค ฝรั่งเศส
ง โปรตุเกส
36. พืชเศรษฐกิจอันดับ 1 ของประเทศสหรัฐอเมริกาคืออะไร
ก ข้าวเจ้า
ข ข้าวฟ่ าง
ค ข้าวสาลี
ง ข้าวโพด
37. น่ านนํา้ ใดที่ภูมภิ าคอเมริกาเหนือใช้ เป็ นเส้ นทางคมนาคมขนส่ งทางนํา้ ที่สําคัญที่สุด
ก อ่าวฮัดสัน
ข ทะเลแคริ บเบียน
ค มหาสมุทรแปซิ ฟิก
ง มหาสมุทรแอตแลนติก
38. เผ่าพันธุ์ใดเป็ นชนพืน้ เมืองดั้งเดิมในทวีปอเมริกาเหนือ
ก นิโกร–อินเดียน
ข อินเดียน–เอสกิโม
ค เมสติโซ–มูแลตโต
ง อินเดียน–แอฟริ กนั
39. คริสต์ ศาสนานิกายใดนับถือกันมากในประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา
ก แองกลิคนั
ข ออร์ทอดอกซ์
ค โปรเตสแตนต์
ง โรมันคาทอลิก
40. คลองปานามาส่ งผลดีต่อการคมนาคมขนส่ งของทวีปอเมริกาเหนืออย่างไร
ก ทําให้ระบบท่อส่งก๊าซได้รับความนิยมมากขึ้น
ข ส่งเสริ มความเจริ ญก้าวหน้าของอุตสาหกรรมการบิน
ค สนับสนุนให้ทวีปยุโรปติดต่อค้าขายกับทวีปอเมริ กาได้มากขึ้น
ง ช่วยลดระยะทางในการเดินเรื อจากมหาสมุทรแปซิฟิกมายังมหาสมุทรแอตแลนติก
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 138

ตอนที่ 2 ตอบคําถาม
1. ระบบการรับรู ้ระยะไกล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ระบบกําหนดตําแหน่งบนพื้นโลก และแผนที่มี
ความสัมพันธ์กนั อย่างไร
แนวคําตอบ
ระบบการรั บรู้ ระยะไกล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และระบบกําหนดตําแหน่ งบนพืน้ โลก จะ
สามารถนํามาใช้ ในการทําแผนที่ได้ อย่ างถูกต้ องและเป็ นปั จจุบันมากขึน้ กล่ าวคือ ผลิตภัณฑ์
สารสนเทศของการรั บรู้ ระยะไกล ทั้งภาพจากดาวเที ยมและรู ปถ่ ายทางอากาศเป็ นข้ อมูลที่ทันสมัย
และเป็ นข้ อมูลแรสเตอร์ ที่สามารถนําเข้ าสู่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อจัดการข้ อมูลได้ ง่าย ภาพ
จากดาวเทียมยังเป็ นข้ อมูลเชิ งเลข ซึ่ งสามารถนํามาแปลงค่ าเป็ นข้ อมูลเวกเตอร์ ได้ ทันที ขณะที่ ระบบ
กําหนดตําแหน่ งบนพืน้ โลก ก็จะให้ ตาํ แหน่ งของสถานที่ต่าง ๆ หรื อข้ อมูลขอบเขตต่ าง ๆ ของพืน้ ที่
ได้ ถูกต้ องมากขึน้ ข้ อมูลที่ได้ มาจากทั้งสองระบบข้ างต้ นนี ้ เมื่อนําเข้ าสู่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ระบบก็จะมีการจัดเก็บ วิเคราะห์ และจัดทําออกมาเป็ นแผนที่

2. เพราะเหตุใดทวีปอเมริ กาเหนือจึงมีภมู ิอากาศแทบทุกชนิด


แนวคําตอบ
เพราะตําแหน่ งที่ ตั้งของทวีปอเมริ กาเหนื ออยู่ระหว่ างละติจูด 7 องศาเหนือถึง 83 องศาเหนื อ ซึ่ งหาก
พิจารณาเฉพาะที่ตั้งตามละติจูดแล้ วทวีปนีจ้ ะมีภูมิอากาศทั้งเขตร้ อน อบอุ่น และหนาว นอกจากนีค้ วามกว้ าง
ใหญ่ ของทวีป และการวางตัวของเทื อกเขาในแนวเหนื อ–ใต้ ซึ่ งขวางกั้นทิ ศทางลม ส่ งผลให้ พืน้ ที่ ภายในของ
ทวีปเป็ นด้ านปลายลมที่ มีปริ มาณฝนตกน้ อย จึ งกลายเป็ นทะเลทรายและทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทราย

คะแนน
สรุปผลการประเมิน
เต็ม ได้
ตอนที่ 1
ตอนที่ 2
รวม
ลงชื่อ __________________ ผู้ประเมิน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 139

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม และค่ านิยม สํ าหรับครูประเมินนักเรียน

คําชี้แจง สังเกตพฤติกรรมของนักเรี ยนแล้วใส่คะแนนลงในช่องให้ตรงกับความเป็ นจริ ง


คะแนน
รายการประเมิน พฤติกรรมทีแ่ สดงออก หมายเหตุ
3 2 1
1. มีวนิ ัย 1. มีการวางแผนการทํางานและจัดระบบการทํางาน 3 หมายถึง
2. ทํางานตามขั้นตอนต่าง ๆ ที่ได้วางแผนไว้ นักเรี ยนแสดง
พฤติกรรมนั้น
3. ตรวจสอบความถูกต้อง ความเรี ยบร้อย หรื อคุณภาพของงาน
อย่างสมํ่าเสมอ
2. ใฝ่ เรียนรู้ 4. มีความกระตือรื อร้นและสนใจที่จะแสวงหาความรู ้ 2 หมายถึง
5. ชอบสนทนา ซักถาม ฟัง หรื ออ่านเพื่อให้ได้ความรู ้เพิ่มขึ้น นักเรี ยนแสดง
6. มีความสุ ขที่ได้เรี ยนรู ้ในสิ่ งที่ตนเองต้องการเรี ยนรู ้ พฤติกรรมนั้น
7. ใช้จ่ายทรัพย์สินของตนเอง เช่น เงิน เสื้ อผ้า สิ่งของ อย่างประหยัด เป็ นครั้งคราว
3. อยู่อย่างพอเพียง
1 หมายถึง
8. ใช้น้ าํ ไฟฟ้ า และทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ อย่างประหยัดและคุม้ ค่า
นักเรี ยนแสดง
9. มีส่วนร่ วมในการดูแลและรักษาทรัพย์สินของส่ วนรวม พฤติกรรมนั้น
4. รักความเป็ นไทย 10. ใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง น้อยครั้ง
11. รู ้จกั อ่อนน้อมถ่อมตนและมีสมั มาคารวะ
12. ร่ วมกิจกรรมที่สาํ คัญเกี่ยวกับชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ย์
5. รักชาติ ศาสน์ 13. มีส่วนร่ วมในการเผยแพร่ และอนุรักษ์วฒั นธรรมและขนบธรรมเนียม
กษัตริย์ ประเพณี ไทย
6. มีจติ สาธารณะ 14. เสี ยสละ มีน้ าํ ใจ รู ้จกั เอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่ต่อผูอ้ ื่น
15. เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
7. มีความรับผิดชอบ 16. ยอมรับผลการกระทําของตนเองทั้งที่เป็ นผลดีและผลเสี ย
17. ทํางานที่ได้รับมอบหมายให้สมบูรณ์ตามกําหนดและตรงต่อเวลา
8. ซื่อสั ตย์สุจริต 18. บันทึกข้อมูลตามความเป็ นจริ งและไม่ใช้ความคิดเห็นของตนเอง
ไปเกี่ยวข้อง
19. ไม่แอบอ้างผลงานของผูอ้ ื่นว่าเป็ นของตน
20. เคารพหรื อปฏิบตั ิตามข้อตกลง กฎ กติกา หรื อระเบียบของกลุ่ม
ที่กาํ หนดไว้
คะแนนรวม
คะแนนเฉลีย่

เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ


ช่ วงคะแนนเฉลีย่ 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66
หมายเหตุ การหาคะแนนเฉลี่ยหาได้จากการนําเอาคะแนนรวม
ในแต่ละช่องมาบวกกัน แล้วหารด้วยจํานวนข้อ จากนั้นนําคะแนน
ระดับคุณภาพ 3 = ดีมาก, ดี 2 = พอใช้ 1 = ควรปรับปรุ ง
เฉลี่ยที่ได้มาเทียบกับเกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพและสรุ ปผลการประเมิน
สรุปผลการประเมิน (เขียนเครื่องหมาย  ลงใน )
ระดับคุณภาพที่ได้
3 2 1
  
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 140

ด้ านทักษะ/กระบวนการ สํ าหรับครูประเมินนักเรียน

คําชี้แจง สังเกตพฤติกรรมของนักเรี ยนแล้วใส่คะแนนลงในช่องให้ตรงกับความเป็ นจริ ง


คะแนน
รายการประเมิน พฤติกรรมทีแ่ สดงออก หมายเหตุ
3 2 1
1. การสื่ อสาร 1. ใช้วิธีการสื่ อสารในการนําเสนอข้อมูลความรู ้ได้อย่างเหมาะสม 3 หมายถึง
2. เลือกรับข้อมูลความรู ้ดว้ ยหลักเหตุผลและความถูกต้อง นักเรี ยนแสดง
พฤติกรรมนั้น
2. การใช้ เทคโนโลยี 3. ศึกษาค้นคว้าข้อมูลความรู ้จากสื่ อและแหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ ได้
อย่างสมํ่าเสมอ
ด้วยตนเอง
2 หมายถึง
4. เลือกใช้เทคโนโลยีในการศึกษาค้นคว้าข้อมูลความรู ้ได้อย่างถูกต้อง
นักเรี ยนแสดง
เหมาะสมและมีคุณธรรม
พฤติกรรมนั้น
3. การคิด 5. สรุ ปความคิดรวบยอดหรื อสาระสําคัญของเรื่ องที่ศึกษา
เป็ นครั้งคราว
6. แปลความ ตีความ หรื อขยายความของคํา ข้อความ ภาพ และ 1 หมายถึง
สัญลักษณ์ในเรื่ องที่ศึกษา นักเรี ยนแสดง
7. วิเคราะห์หลักการและนําหลักการไปใช้ได้อย่างสมเหตุสมผล พฤติกรรมนั้น
4. การแก้ ปัญหา 8. ตั้งคําถามหรื อตั้งสมมุติฐานต่อเรื่ องที่ศึกษาอย่างมีระบบ น้อยครั้ง
9. รวบรวมข้อมูลความรู ้ที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องที่ศึกษาจากสื่ อและ
แหล่งการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ
10. ตรวจสอบและประเมินความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลความรู ้ที่ได้
จากการเก็บรวบรวม
11. นําข้อมูลความรู ้ที่ได้จากการตรวจสอบและประเมินมาวิเคราะห์หรื อ
แยกแยะเพื่อความสะดวกในการทดสอบสมมุติฐาน
12. ทดสอบสมมุติฐานและสรุ ปเป็ นหลักการด้วยภาษาของตนเองที่เข้าใจ
ง่าย
13. นําข้อมูลความรู ้ที่ได้ไปใช้แก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน
5. กระบวนการกลุ่ม 14. มีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้ าหมายการทํางานของกลุ่ม
15. ร่ วมกันวางแผนและแบ่งหน้าที่การทํางานกับสมาชิกในกลุ่ม
16. เป็ นทั้งผูน้ าํ และผูต้ ามในการทํางานกลุ่ม
17. ปฏิบตั ิหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายด้วยความรับผิดชอบ
18. ช่วยลดข้อขัดแย้งและแก้ปัญหาของกลุ่มได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
19. สร้างสรรค์ผลงานเสร็ จทันเวลาและมีคุณภาพ
20. ภูมิใจและพึงพอใจในผลงานและการทํางานกลุ่ม
คะแนนรวม
คะแนนเฉลีย่
เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ
ช่ วงคะแนนเฉลีย่ 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66
หมายเหตุ การหาคะแนนเฉลี่ยหาได้จากการนําเอาคะแนนรวม
ระดับคุณภาพ 3 = ดีมาก, ดี 2 = พอใช้ 1 = ควรปรับปรุ ง ในแต่ละช่องมาบวกกัน แล้วหารด้วยจํานวนข้อ จากนั้นนําคะแนน
เฉลี่ยที่ได้มาเทียบกับเกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพและสรุ ปผลการประเมิน
สรุปผลการประเมิน (เขียนเครื่องหมาย  ลงใน )
ระดับคุณภาพที่ได้
3 2 1
  
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 141

ตอนที่ 3.6
แบบทดสอบปลายภาค
ด้ านความรู้
ตอนที่ 1 เลือกคําตอบทีถ่ ูกต้ องทีส่ ุ ดเพียงคําตอบเดียว

1. ดินแดนใดในทวีปอเมริกาใต้ที่ยงั ไม่ ได้ รับเอกราชในปัจจุบนั


ก ซูรินาเม
ข กายอานา
ค เกาะฟอล์กแลนด์
ง หมู่เกาะเตียร์ราเดลฟวยโก
2. เกาะใดอยู่ทิศใต้สุดของทวีปอเมริกาใต้
ก เกาะบาร์เบโดส
ข เกาะฟอล์กแลนด์
ค เกาะกาลาปาโกส
ง เกาะเตียร์ราเดลฟวยโก
3. ยอดเขาอากอนกากวาที่สูงที่สุดในทวีปอเมริกาใต้ อยู่ในประเทศใด
ก เปรู
ข เอกวาดอร์
ค โคลอมเบีย
ง อาร์เจนตินา
4. สถานที่ใดไม่ ได้ มีความเกีย่ วข้ องกับเขตเทือกเขาสู งทางตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้
ก แม่น้ าํ แอมะซอน
ข ทะเลสาบตีตีกากา
ค อ่าวรี โอเดลาปลาตา
ง ยอดเขาอากอนกากวา
5. แม่นํา้ สายใดบ้ างไหลมาบรรจบกันแล้ วไหลลงสู่ อ่าวรีโอเดลาปลาตา
ก ปารานา ปารากวัย อุรุกวัย
ข ปารากวัย อุรุกวัย แอมะซอน
ค ปารานา ปารากวัย แอมะซอน
ง ปารากวัย แอมะซอน มักดาเลนา
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 142

6. พืน้ ที่ประมาณ 1 ใน 4 ของประเทศอาร์ เจนตินามีลกั ษณะอย่างไร


ก เป็ นที่ราบสูง
ข เป็ นเขตเทือกเขาสูง
ค เป็ นเขตที่ราบลุ่มแม่น้ าํ
ง เป็ นแนวภูเขาไฟที่มีพลัง
7. ประเทศใดในทวีปอเมริกาใต้ ไม่ มีพนื้ ที่ต้งั อยู่บนเขตละติจูดกลาง
ก ชิลี
ข บราซิล
ค อุรุกวัย
ง อาร์เจนตินา
8. มหาสมุทรใดอยู่ระหว่ างทวีปอเมริกาใต้ กบั ทวีปแอฟริกา
ก อินเดีย
ข แปซิฟิก
ค อาร์กติก
ง แอตแลนติก
9. บริเวณใดที่มสี ภาพภูมอิ ากาศคล้ายคลึงกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
ก ลุ่มนํ้าโอรี โนโก
ข ลุ่มนํ้าแอมะซอน
ค เขตทุ่งหญ้าปัมปา
ง เขตเทือกเขาแอนดีส
10. กรุงกีโต เมืองหลวงของประเทศเอกวาดอร์ มสี ภาพภูมอิ ากาศเป็ นแบบใด เพราะอะไร
ก แบบทะเลทราย เพราะอยูใ่ นเขตลมสงบ
ข แบบป่ าฝนเขตร้อน เพราะมีฝนตกชุกตลอดทั้งปี
ค แบบเมดิเตอร์เรเนียน เพราะได้รับอิทธิ พลจากลมตะวันตก
ง แบบที่สูง เพราะตั้งอยูส่ ูงจากระดับทะเลปานกลางมากกว่า 2,000 เมตร
11. ทวีปอเมริกาใต้ มพี นื้ ที่ป่าชนิดใดมากที่สุดในโลก
ก ป่ าสน
ข ป่ าดิบชื้น
ค ป่ าชายเลน
ง ป่ าไม้ผลัดใบ
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 143

12. เพราะเหตุใดดินในประเทศโคลอมเบียจึงเพาะปลูกกาแฟได้ ดี
ก เพราะเป็ นดินภูเขาไฟ
ข เพราะเป็ นดินตะกอนนํ้าพา
ค เพราะเป็ นดินที่มีน้ าํ ขังอยูต่ ลอดเวลา
ง เพราะเป็ นดินที่มีแร่ เหล็กผสมอยูม่ าก
13. ประเทศใดในทวีปอเมริกาใต้ ใช้ ภาษาอังกฤษเป็ นภาษาราชการ
ก บราซิล
ข ซูรินาเม
ค กายอานา
ง เฟรนช์เกียนา
14. ประชากรในทวีปอเมริกาใต้ ปัจจุบันส่ วนใหญ่ เป็ นพวกใด
ก ดยัก
ข นิโกร
ค เมสติโซ
ง มูแลตโต
15. เทศกาลการ์ นีวลั ในทวีปอเมริกาใต้ แสดงให้ เห็นถึงอะไร
ก ความยึดมัน่ ในศาสนา
ข ความเจริ ญทางด้านเทคโนโลยี
ค ความสุ ขของประชากรในทวีป
ง ความมัน่ คงทางสังคมและเศรษฐกิจ
16. แร่ ชนิดใดที่ทวีปอเมริกาใต้ ผลิตได้ เป็ นอันดับ 1 ของโลก
ก ทองคํา
ข สังกะสี
ค ทองแดง
ง บ็อกไซต์
17. ข้ อใดกล่าวถึงการเลีย้ งสั ตว์ ในทวีปอเมริกาใต้ ได้ ถูกต้ อง
ก สัตว์ที่เลี้ยงกันมากที่สุดคือโคนม
ข มีการเลี้ยงสุกรกันมากเฉพาะในประเทศบราซิล
ค แพะเป็ นสัตว์ที่เลี้ยงกันมากในเขตทุ่งหญ้ากัมโป
ง ประเทศอุรุกวัยเลี้ยงแกะมากเป็ นอันดับ 2 ของโลก
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 144

18. สิ นค้ าเข้ าที่สําคัญของทวีปอเมริกาใต้คอื อะไร


ก ฝ้ าย
ข ข้าวโพด
ค ทองแดง
ง ยานยนต์
19. การคมนาคมในเส้ นทางใดมีความสํ าคัญต่อการคมนาคมขนส่ งในทวีปอเมริกาใต้ มากที่สุด
ก ทางทะเล
ข ทางรถไฟ
ค ทางแม่น้ าํ
ง ทางอากาศ
20. ถนนสายหลักในทวีปอเมริกาใต้ มลี กั ษณะเป็ นอย่ างไร
ก เชื่อมต่อมาจากทวีปอเมริ กาเหนือ
ข มีจุดศูนย์กลางอยูใ่ นประเทศบราซิล
ค มีเส้นทางเฉพาะทางด้านตะวันออกของทวีปเท่านั้น
ง เชื่อมต่อเฉพาะในประเทศบราซิลและอาร์เจนตินาเท่านั้น
21. พืน้ ที่ใดในประเทศสหรัฐอเมริกามีอตั ราการตัดไม้ทําลายป่ ามากที่สุด
ก ที่ราบสูงโคโลราโด
ข กลุ่มทะเลสาบเกรตเลกส์
ค ที่ราบลุ่มแม่น้ าํ มิสซิสซิปปี
ง แนวชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก
22. ก๊าซชนิดใดก่อให้ เกิดฝนกรดในทวีปอเมริกาเหนือมากที่สุด
ก ฮาโลคาร์บอน
ข ไนโตรเจนออกไซด์
ค ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
ง คาร์บอนไดออกไซด์
23. ระดับธาตุอาหารในนํา้ ที่มากขึน้ ส่ งผลอย่ างไรต่อนํา้ ในทะเลสาบเกรตเลกส์
ก มีออกซิเจนในนํ้ามากขึ้น
ข มลพิษในทะเลสาบลดลง
ค สัตว์น้ าํ เพิ่มจํานวนมากขึ้น
ง สาหร่ ายบางชนิดเจริ ญเติบโตได้ดี
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 145

24. ข้ อใดไม่ ใช่ ผลกระทบที่เกิดจากภาวะโลกร้ อนในทวีปอเมริกาเหนือ


ก ไฟป่ าในเยลโลว์สโตน
ข ภัยแล้งในบริ ติชโคลัมเบีย
ค หมอกพิษในลอสแอนเจลิส
ง พายุเฮอร์ริเคนในนิวออร์ลีนส์
25. การขยายพืน้ ที่เพาะปลูกพืชชนิดใดในทวีปอเมริกาใต้ ที่ส่งผลให้ พนื้ ที่ป่าแอมะซอนลดลง
ก อ้อย
ข กาแฟ
ค ข้าวโพด
ง ถัว่ เหลือง
26. ข้ อใดไม่ ใช่ ผลกระทบที่เกิดจากการขยายตัวของเขตเมืองในทวีปอเมริกาใต้
ก เกิดชุมชนแออัด
ข เส้นทางถนนเพิ่มขึ้น
ค หน้าดินเกิดการพังทลาย
ง ระบบสาธารณูปโภคขาดแคลน
27. โรคใดเกิดการระบาดในทวีปอเมริกาใต้ เนื่องจากอุณหภูมขิ องโลกสู งขึน้
ก โรคไข้เหลือง
ข โรคไข้หวัดใหญ่
ค โรคไข้เลือดออก
ง โรคเยือ่ หุม้ สมองอักเสบ
28. อาคารเขียวไม่ จาํ เป็ น ต้องมีลกั ษณะเป็ นอย่างไร
ก มีจาํ นวนชั้นมาก
ข มีการใช้พลังงานน้อย
ค ลดผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม
ง ทําให้ผอู ้ าศัยเหมือนได้อยูก่ บั ธรรมชาติ
29. ฉลาก Energy Star แสดงให้ เห็นถึงสิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสั งคมของทวีปอเมริกาเหนือในเรื่องใด
ก ความใส่ใจต่อสิ่ งแวดล้อม
ข สังคมและวัฒนธรรมรู ปแบบใหม่
ค การเข้าร่ วมการเรี ยกร้องกับกลุ่มกรี นพีซ
ง การยอมรับสิ นค้าเกษตรอินทรี ยข์ องคนอเมริ กนั
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 146

30. ประเทศใดในทวีปอเมริกาเหนือมีพนื้ ที่ทําการเกษตรแบบชีวภาพมากที่สุดและมีพนื้ ที่เท่ าไร


ก แคนาดา 1.6 ล้านเฮกตาร์
ข แคนาดา 2.5 ล้านเฮกตาร์
ค สหรัฐอเมริ กา 1.6 ล้านเฮกตาร์
ง สหรัฐอเมริ กา 2.5 ล้านเฮกตาร์
31. ข้ อใดไม่ ใช่ ปัญหาที่จะตามมาหลังเกิดฟาเบลาขึน้
ก โรคระบาด
ข แผ่นดินถล่ม
ค ภาวะนํ้าท่วม
ง อาชญากรรม
32. เพราะเหตุใดประเทศต่ าง ๆ ในทวีปอเมริกาใต้ จึงหันมาทําการเกษตรอินทรีย์
ก เพราะได้รับความนิยมจากตลาดมากขึ้น
ข เพราะเกิดมลพิษในดินและหน้าดินพังทลาย
ค เพราะได้รับการรับรองจากรัฐบาลสหรัฐอเมริ กา
ง เพราะเป็ นที่ตอ้ งการของประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรป
33. แหล่งนํา้ ใดที่รัฐบาลสหรัฐอเมริกาและแคนาดาร่ วมมือกันแก้ไขปัญหามลพิษจนกลายเป็ น
บรรทัดฐานในการจัดการแหล่งนํา้ อืน่ ๆ
ก อ่าวเม็กซิโก
ข แม่น้ าํ โคโลราโด
ค แม่น้ าํ มิสซิสซิปปี
ง ทะเลสาบเกรตเลกส์
34. พลังงานเอทานอลที่ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกาส่ วนใหญ่ ผลิตจากพืชชนิดใด
ก อ้อย
ข ข้าวสาลี
ค ข้าวโพด
ง ถัว่ เหลือง
35. ข้ อใดกล่าวถึงสาระสํ าคัญของร่ างกฎหมาย America Clean Energy and Security Act ได้ ถูกต้ อง
ก กําหนดเป้ าหมายให้ลดการปล่อยก๊าซเรื อนกระจกเป็ นร้อยละ 4
ข กําหนดให้ใช้น้ าํ มันในการวิ่งของรถยนต์ที่ 30 ไมล์ต่อแกลลอน
ค กําหนดมาตรการ border adjustment ตั้งแต่ ค.ศ. 2010 เป็ นต้นไป
ง กําหนดให้นาํ เงินจากการขายคาร์บอนเครดิตมาใช้พฒั นาพลังงานทดแทน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 147

36. รัฐบาลเม็กซิโกแก้ ไขปัญหามลพิษทางอากาศในเมืองเม็กซิโกซิตดี ้ วยวิธีการใด


ก เพิ่มรถสาธารณะให้มากขึ้น
ข ลดเส้นทางการจราจรให้นอ้ ยลง
ค ผลิตรถยนต์ที่ใช้เชื้อเพลิงเอทานอล
ง สนับสนุนการใช้จกั รยานแทนรถยนต์
37. เพราะเหตุใดประเทศบราซิลจึงเริ่มมีการผลิตเชื้อเพลิงเอทานอลใช้ ในรถยนต์
ก เพราะได้รับการสนับสนุนจากสหประชาชาติ
ข เพราะได้รับการเรี ยกร้องจากประชาชนของตนเอง
ค เพราะต้องการแก้ไขปั ญหาวิกฤตการณ์ดา้ นพลังงาน
ง เพราะไม่มีแหล่งนํ้ามันดิบที่เพียงพอต่อความต้องการ
38. ประเทศบราซิลยืนยันในที่ประชุ มเรื่องโลกร้ อนเมือ่ ค.ศ. 2009 ว่าจะลดอัตราการปล่อยก๊าซเรือน
กระจกให้ ได้ เท่ าไร
ก ร้อยละ 17
ข ร้อยละ 37
ค ร้อยละ 19
ง ร้อยละ 39
39. การผลิตเอทานอลของประเทศบราซิลส่ งผลดีหรือไม่ ต่อประเทศไทย อย่างไร
ก ดี เพราะทําให้คนไทยมีเอทานอลใช้
ข ดี เพราะทําให้คนไทยสนใจการใช้พลังงานทดแทน
ค ไม่ดี เพราะทําให้น้ าํ มันดิบจากไทยส่งออกได้ลดน้อยลง
ง ไม่ดี เพราะทําให้ไทยเสี ยเปรี ยบดุลการค้าต่อบราซิลมากขึ้น
40. การออกร่ างกฎหมายสิ่ งแวดล้อมของสหรัฐอเมริกาส่ งผลต่ อประเทศไทยหรือไม่ อย่ างไร
ก ส่งผล เพราะทําให้ไทยเสี ยรายได้จากการส่งออกสิ นค้า
ข ส่งผล เพราะทําให้ไทยมีปัญหามลพิษสิ่ งแวดล้อมมากขึ้น
ค ไม่ส่งผล เพราะร่ างกฎหมายดังกล่าวใช้ภายในสหรัฐอเมริ กาเท่านั้น
ง ไม่ส่งผล เพราะกฎหมายของไทยมีความเข้มแข็งมากกว่าสหรัฐอเมริ กา
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 148

ตอนที่ 2 ตอบคําถาม
1. เพราะเหตุใดประเทศอาร์เจนตินาและบราซิลจึงมีความเจริ ญทางอุตสาหกรรมมากกว่าประเทศอื่น ๆ
ในทวีปเดียวกัน
แนวคําตอบ
ประเทศอาร์ เจนตินาและบราซิ ลมีความเจริ ญทางอุตสาหกรรม เพราะมีปัจจัยส่ งเสริ มหลาย
ประการดังนี ้
1) ทั้ง 2 ประเทศสามรถผลิตสิ นค้ าทางการเกษตรที่สาํ คัญของโลก เช่ น กาแฟ โกโก้ ป่ าไม้ ข้ าว
สาลี ข้ าวโพด โคเนือ้ เพียงพอสําหรั บบริ โภคภายในประเทศและแปรรู ปเป็ นอุตสาหกรรมการเกษตร
ได้ ดี
2) ประเทศบราซิ ลสามารถผลิตแร่ เหล็กได้ มากเป็ นอันดับ 2 ของโลก ดังนั้น การพัฒนา
อุตสาหกรรมจึงทําได้ ง่าย เพราะมีวัตถุดิบพร้ อมอยู่แล้ ว
3) ประชากรของทั้ง 2 ประเทศ ล้ วนเป็ นประชากรที่ มีคุณภาพ และส่ วนใหญ่ เป็ นพวกผิวขาวหรื อ
พวกเลือดผสมที่มีบรรพบุรุษอพยพมาจากทวีปยุโรป

2. นักเรี ยนคิดว่าปัญหาสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ปัญหาใดที่เป็ นปั ญหาที่สาํ คัญ


ที่สุด เพราะอะไร
แนวคําตอบ
ปั ญหาสิ่ งแวดล้ อมที่สาํ คัญที่สุดในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ คือ การตัดไม้ ทาํ ลายป่ า ใน
ทวีปอเมริ กาเหนือนั้นมีการทําป่ าไม้ กันมาก จนทําให้ พืน้ ที่ ป่าไม้ ลดลง ซึ่ งเป็ นผลให้ สัตว์ ป่าและพืช
หลายชนิดอยู่ในภาวะเสี่ ยงที่จะสูญพันธุ์ การตัดไม้ ทาํ ลายป่ ายังเป็ นสาเหตุที่ทาํ ให้ อากาศเป็ นพิษและ
เกิดภาวะโลกร้ อน ซึ่ งทําให้ เกิดผลกระทบหลายอย่ างต่ อทวีปอเมริ กาเหนือ เช่ น คลื่นความร้ อน
ภัยแล้ ง โรคระบาด ส่ วนในทวีปอเมริ กาใต้ นั้นมีการตัดไม้ ทาํ ลายป่ า โดยเฉพาะในพืน้ ที่เขตป่ าฝน
แอมะซอน การทําลายพืน้ ที่ป่าฝนทําให้ สัตว์ และพันธุ์พืชหลายชนิดเสี่ ยงต่ อการสูญพันธุ์และยังทําให้
เกิดภาวะโลกร้ อนอีกด้ วย เนื่องจากการตัดไม้ ทาํ ลายป่ าในทวีปอเมริ กาใต้ ส่วนใหญ่ จะใช้ วิธีการ
แผ้ วถางและเผา ซึ่ งจะก่ อให้ เกิดก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ ปริ มาณมหาศาลลอยขึน้ สู่ชั้นบรรยากาศ

คะแนน
สรุปผลการประเมิน
เต็ม ได้
ตอนที่ 1
ตอนที่ 2
รวม
ลงชื่อ __________________ ผู้ประเมิน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 149

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม และค่ านิยม สํ าหรับครูประเมินนักเรียน

คําชี้แจง สังเกตพฤติกรรมของนักเรี ยนแล้วใส่คะแนนลงในช่องให้ตรงกับความเป็ นจริ ง


คะแนน
รายการประเมิน พฤติกรรมทีแ่ สดงออก หมายเหตุ
3 2 1
1. มีวนิ ัย 1. มีการวางแผนการทํางานและจัดระบบการทํางาน 3 หมายถึง
2. ทํางานตามขั้นตอนต่าง ๆ ที่ได้วางแผนไว้ นักเรี ยนแสดง
พฤติกรรมนั้น
3. ตรวจสอบความถูกต้อง ความเรี ยบร้อย หรื อคุณภาพของงาน
อย่างสมํ่าเสมอ
2. ใฝ่ เรียนรู้ 4. มีความกระตือรื อร้นและสนใจที่จะแสวงหาความรู ้ 2 หมายถึง
5. ชอบสนทนา ซักถาม ฟัง หรื ออ่านเพื่อให้ได้ความรู ้เพิ่มขึ้น นักเรี ยนแสดง
6. มีความสุ ขที่ได้เรี ยนรู ้ในสิ่ งที่ตนเองต้องการเรี ยนรู ้ พฤติกรรมนั้น
7. ใช้จ่ายทรัพย์สินของตนเอง เช่น เงิน เสื้ อผ้า สิ่งของ อย่างประหยัด เป็ นครั้งคราว
3. อยู่อย่างพอเพียง
1 หมายถึง
8. ใช้น้ าํ ไฟฟ้ า และทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ อย่างประหยัดและคุม้ ค่า
นักเรี ยนแสดง
9. มีส่วนร่ วมในการดูแลและรักษาทรัพย์สินของส่ วนรวม พฤติกรรมนั้น
4. รักความเป็ นไทย 10. ใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง น้อยครั้ง
11. รู ้จกั อ่อนน้อมถ่อมตนและมีสมั มาคารวะ
12. ร่ วมกิจกรรมที่สาํ คัญเกี่ยวกับชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ย์
5. รักชาติ ศาสน์ 13. มีส่วนร่ วมในการเผยแพร่ และอนุรักษ์วฒั นธรรมและขนบธรรมเนียม
กษัตริย์ ประเพณี ไทย
6. มีจติ สาธารณะ 14. เสี ยสละ มีน้ าํ ใจ รู ้จกั เอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่ต่อผูอ้ ื่น
15. เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
7. มีความรับผิดชอบ 16. ยอมรับผลการกระทําของตนเองทั้งที่เป็ นผลดีและผลเสี ย
17. ทํางานที่ได้รับมอบหมายให้สมบูรณ์ตามกําหนดและตรงต่อเวลา
8. ซื่อสั ตย์สุจริต 18. บันทึกข้อมูลตามความเป็ นจริ งและไม่ใช้ความคิดเห็นของตนเอง
ไปเกี่ยวข้อง
19. ไม่แอบอ้างผลงานของผูอ้ ื่นว่าเป็ นของตน
20. เคารพหรื อปฏิบตั ิตามข้อตกลง กฎ กติกา หรื อระเบียบของกลุ่ม
ที่กาํ หนดไว้
คะแนนรวม
คะแนนเฉลีย่

เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ


ช่ วงคะแนนเฉลีย่ 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66
หมายเหตุ การหาคะแนนเฉลี่ยหาได้จากการนําเอาคะแนนรวม
ในแต่ละช่องมาบวกกัน แล้วหารด้วยจํานวนข้อ จากนั้นนําคะแนน
ระดับคุณภาพ 3 = ดีมาก, ดี 2 = พอใช้ 1 = ควรปรับปรุ ง
เฉลี่ยที่ได้มาเทียบกับเกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพและสรุ ปผลการประเมิน
สรุปผลการประเมิน (เขียนเครื่องหมาย  ลงใน )
ระดับคุณภาพที่ได้
3 2 1
  
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 150

ด้ านทักษะ/กระบวนการ สํ าหรับครูประเมินนักเรียน

คําชี้แจง สังเกตพฤติกรรมของนักเรี ยนแล้วใส่คะแนนลงในช่องให้ตรงกับความเป็ นจริ ง


คะแนน
รายการประเมิน พฤติกรรมทีแ่ สดงออก หมายเหตุ
3 2 1
1. การสื่ อสาร 1. ใช้วิธีการสื่ อสารในการนําเสนอข้อมูลความรู ้ได้อย่างเหมาะสม 3 หมายถึง
2. เลือกรับข้อมูลความรู ้ดว้ ยหลักเหตุผลและความถูกต้อง นักเรี ยนแสดง
พฤติกรรมนั้น
2. การใช้ เทคโนโลยี 3. ศึกษาค้นคว้าข้อมูลความรู ้จากสื่ อและแหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ ได้
อย่างสมํ่าเสมอ
ด้วยตนเอง
2 หมายถึง
4. เลือกใช้เทคโนโลยีในการศึกษาค้นคว้าข้อมูลความรู ้ได้อย่างถูกต้อง
นักเรี ยนแสดง
เหมาะสมและมีคุณธรรม
พฤติกรรมนั้น
3. การคิด 5. สรุ ปความคิดรวบยอดหรื อสาระสําคัญของเรื่ องที่ศึกษา
เป็ นครั้งคราว
6. แปลความ ตีความ หรื อขยายความของคํา ข้อความ ภาพ และ 1 หมายถึง
สัญลักษณ์ในเรื่ องที่ศึกษา นักเรี ยนแสดง
7. วิเคราะห์หลักการและนําหลักการไปใช้ได้อย่างสมเหตุสมผล พฤติกรรมนั้น
4. การแก้ ปัญหา 8. ตั้งคําถามหรื อตั้งสมมุติฐานต่อเรื่ องที่ศึกษาอย่างมีระบบ น้อยครั้ง
9. รวบรวมข้อมูลความรู ้ที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องที่ศึกษาจากสื่ อและ
แหล่งการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ
10. ตรวจสอบและประเมินความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลความรู ้ที่ได้
จากการเก็บรวบรวม
11. นําข้อมูลความรู ้ที่ได้จากการตรวจสอบและประเมินมาวิเคราะห์หรื อ
แยกแยะเพื่อความสะดวกในการทดสอบสมมุติฐาน
12. ทดสอบสมมุติฐานและสรุ ปเป็ นหลักการด้วยภาษาของตนเองที่เข้าใจ
ง่าย
13. นําข้อมูลความรู ้ที่ได้ไปใช้แก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน
5. กระบวนการกลุ่ม 14. มีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้ าหมายการทํางานของกลุ่ม
15. ร่ วมกันวางแผนและแบ่งหน้าที่การทํางานกับสมาชิกในกลุ่ม
16. เป็ นทั้งผูน้ าํ และผูต้ ามในการทํางานกลุ่ม
17. ปฏิบตั ิหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายด้วยความรับผิดชอบ
18. ช่วยลดข้อขัดแย้งและแก้ปัญหาของกลุ่มได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
19. สร้างสรรค์ผลงานเสร็ จทันเวลาและมีคุณภาพ
20. ภูมิใจและพึงพอใจในผลงานและการทํางานกลุ่ม
คะแนนรวม
คะแนนเฉลีย่
เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ
ช่ วงคะแนนเฉลีย่ 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66
หมายเหตุ การหาคะแนนเฉลี่ยหาได้จากการนําเอาคะแนนรวม
ระดับคุณภาพ 3 = ดีมาก, ดี 2 = พอใช้ 1 = ควรปรับปรุ ง ในแต่ละช่องมาบวกกัน แล้วหารด้วยจํานวนข้อ จากนั้นนําคะแนน
เฉลี่ยที่ได้มาเทียบกับเกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพและสรุ ปผลการประเมิน
สรุปผลการประเมิน (เขียนเครื่องหมาย  ลงใน )
ระดับคุณภาพที่ได้
3 2 1
  
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 151

ตอนที่ 3.7
ใบงาน แบบบันทึก และแบบประเมิน
แบบบันทึกความรู้
เรื่อง เครื่องมือทางภูมศิ าสตร์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์
ตัวชี้วดั ชั้นปี ใช้เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์ และนําเสนอข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะ
ทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ (ส 5.2 ม. 3/1)
คําชี้แจง บันทึกความรู ้ที่ได้ลงในช่องว่าง

คื อ สื่ อรู ปแบบหนึ่งที่ ถ่ายทอดข้ อมูลของโลกในรู ปของกราฟิ ก โดยย่ อส่ วนให้ เล็กลงด้ วยมาตรา
1. แผนที่ ...........................................................................................................................................
ส่ วนต่ าง ๆ และเส้ นโครงแผนที่ แบบต่ าง ๆ ให้ เข้ าใจตามวัตถุประสงค์ ด้วยการใช้ สัญลักษณ์
.....................................................................................................................................................
แผนที่เป็ นเครื่ องมือที่สาํ คัญในการศึกษาวิชาภูมิศาสตร์ เพราะช่ วยให้ ทราบสถิติ ข้ อมูล และ
.....................................................................................................................................................
ความสัมพันธ์ ของพืน้ ที่ ทั้งทางด้ านกายภาพและสังคม
.....................................................................................................................................................
คือ ระบบการสํารวจเก็บข้ อมูลเกี่ยวกับพืน้ ผิวโลกด้ วยเครื่ องรั บรู้ (sensor) ซึ่ ง
2. การรับรู้จากระยะไกล ....................................................................................................................
ติดไปกับดาวเทียมหรื อเครื่ องบิน เครื่ องรั บรู้ จะตรวจจับคลื่นแม่ เหล็กไฟฟ้ าที่ สะท้ อนจากวัตถุบน
.....................................................................................................................................................
พืน้ ผิวโลก จากนั้นจึ งแปลงเป็ นข้ อมูลเชิ งเลข ซึ่ งนําไปแสดงเป็ นภาพและทําแผนที่
.....................................................................................................................................................
ผลิตภัณฑ์ สารสนเทศที่ ได้ จากระบบการรั บรู้ จากระยะไกลที่สาํ คัญมี 2 ชนิด ได้ แก่ รู ปถ่ ายทาง
.....................................................................................................................................................
อากาศและภาพจากดาวเทียม
.....................................................................................................................................................
คื อ ระบบสารสนเทศที่ ออกแบบขึน้ เพื่อใช้ รวบรวม จัดเก็บ วิเคราะห์
3. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ...........................................................................................................
ปรั บปรุง และสื บค้ นข้ อมูลของพืน้ ผิวโลก รวมทั้งแสดงผลข้ อมูลทางภูมิศาสตร์ มีลกั ษณะคล้ ายกับการ
.....................................................................................................................................................
นําข้ อมูลที่เป็ นแผ่ นหลาย ๆ แผ่ นมาวางซ้ อนทับกัน วัตถุประสงค์ เพื่อใช้ เป็ นเครื่ องมือในการสนับสนุน
.....................................................................................................................................................
การตัดสิ นใจในด้ านต่ าง ๆ มีองค์ ประกอบ 5 องค์ ประกอบ ได้ แก่ ฮาร์ ดแวร์ ซอฟต์ แวร์ ข้ อมูล
.....................................................................................................................................................
กระบวนการวิเคราะห์ และบุคลากร
.....................................................................................................................................................
คือ เทคโนโลยีที่ใช้ ในการค้ นหาตําแหน่ งของสิ่ งต่ าง ๆ บน
4. ระบบกําหนดตําแหน่งบนพื้นโลก ..................................................................................................
พืน้ ผิวโลกด้ วยโครงข่ ายดาวเที ยมระบุตาํ แหน่ งจํานวนอย่ างน้ อย 24 ดวง ซึ่ งโคจรอยู่เหนือพืน้ โลก
.....................................................................................................................................................
ประมาณ 20,200 กิโลเมตร ประกอบด้ วยองค์ ประกอบหลัก 3 ส่ วน ได้ แก่ ส่ วนอวกาศ ส่ วยสถานี
.....................................................................................................................................................
ควบคุม และส่ วนผู้ใช้ โดยส่ วนผู้ใช้ จะเกี่ยวข้องกับเครื่ องรั บสั ญญาณ หรื อเครื่ องจี พีเอส ซึ่ งมีหลาย
.....................................................................................................................................................
ขนาด สามารถพกพาติดตัวไปได้ ในทุกพืน้ ที่
.....................................................................................................................................................
ชื่อ ________________ นามสกุล _______________________ เลขที่ __________ ชั้น ____________
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 152

ใบงานที่ 1
เรื่อง แผนทีร่ ัฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาเหนือ
ตัวชี้วดั ชั้นปี วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ (ส 5.1 ม. 3/2)
คําชี้แจง เขียนชื่อประเทศต่าง ๆ ในทวีปอเมริ กาเหนือ พร้อมทั้งระบายสี พิจารณาจากผลงานของนักเรี ยน

ชื่อ ________________ นามสกุล _______________________ เลขที่ __________ ชั้น ____________


คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 153

ใบงานที่ 2
เรื่อง แผนทีล่ กั ษณะภูมิประเทศของทวีปอเมริกาเหนือ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาเหนือ
ตัวชี้วดั ชั้นปี วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ (ส 5.1 ม. 3/2)
คําชี้แจง เขียนเขตภูมิประเทศและแนวเทือกเขาของทวีปอเมริ กาเหนือลงในแผนที่ โดยกําหนดสี เขตละ 1
สี และแนวเทือกเขา 1 สี แล้วเขียนคําอธิบายสัญลักษณ์ให้ตรงตามที่ได้กาํ หนดไว้
พิจารณาจากผลงานของนักเรี ยน

ชื่อ ________________ นามสกุล _______________________ เลขที่ __________ ชั้น ____________


คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 154

ใบงานที่ 3
เรื่อง แผนทีเ่ ขตภูมอิ ากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาเหนือ
ตัวชี้วดั ชั้นปี วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ (ส 5.1 ม. 3/2)
คําชี้แจง เขียนเขตภูมิอากาศของทวีปอเมริ กาเหนือลงในแผนที่ กําหนดสี เขตละ 1 สี และเขียนคําอธิบาย
สัญลักษณ์ให้ตรงตามที่ได้กาํ หนดไว้ พิจารณาจากผลงานของนักเรี ยน

ชื่อ ________________ นามสกุล _______________________ เลขที่ __________ ชั้น ____________


คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 155

ใบงานที่ 4
เรื่อง แผนทีก่ ารคมนาคมขนส่ งของทวีปอเมริกาเหนือ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การคมนาคมขนส่งของทวีปอเมริ กาเหนือ
ตัวชี้วดั ชั้นปี วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ (ส 5.1 ม. 3/2)
คําชี้แจง จากแผนที่การคมนาคมขนส่งของทวีปอเมริ กาเหนือ นักเรี ยนลองใส่เส้นทางการคมนาคมขนส่ง
ของทวีปอเมริ กาเหนือ ได้แก่ ทางรถไฟ ท่าเรื อ สนามบิน ลงในแผนที่ โดยออกแบบ
สัญลักษณ์ พร้อมเขียนคําอธิบายสัญลักษณ์และตกแต่งให้สวยงาม พิจารณาจากผลงานของนักเรี ยน

ชื่อ ________________ นามสกุล _______________________ เลขที่ __________ ชั้น ____________


คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 156

แบบบันทึกผลการสืบค้ น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาเหนือ
ตัวชี้วดั ชั้นปี วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ (ส 5.1 ม. 3/2)
คําชี้แจง บันทึกข้อมูลที่ได้จากการสื บค้นโดยสังเขป และบอกแหล่งที่มาของข้อมูลอย่างชัดเจน

กลุ่มที่ ______ สื บค้ นข้ อมูลทรัพยากร _________________ ของทวีปอเมริกาเหนือ


_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
แหล่งที่มา: _______________________________________________

กลุ่มที่ _________________
สมาชิก 1. __________________________________ 2. _________________________________
3. __________________________________ 4. _________________________________
5. __________________________________ 6. _________________________________
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 157

แบบบันทึกผลการสืบค้ น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริ กาเหนือ
ตัวชี้วดั ชั้นปี วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ (ส 5.1 ม. 3/2)
คําชี้แจง บันทึกข้อมูลที่ได้จากการสื บค้นโดยสังเขป และบอกแหล่งที่มาของข้อมูลอย่างชัดเจน

กลุ่มที่ ______ สื บค้ นข้ อมูลเรื่อง __________________________________________________


_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
แหล่งที่มา: _______________________________________________

กลุ่มที่ _________________
สมาชิก 1. __________________________________ 2. _________________________________
3. __________________________________ 4. _________________________________
5. __________________________________ 6. _________________________________
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 158

แบบบันทึกผลการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาเหนือ
ตัวชี้วดั ชั้นปี วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ (ส 5.1 ม. 3/2)
คําชี้แจง บันทึกผลการเรี ยนรู้เรื่ องทรัพยากรธรรมชาติในทวีปอเมริ กาเหนืออย่างถูกต้องและชัดเจน

1. ทรัพยากรดิน
ดินในทวีปอเมริ กาเหนื อมีความอุดมสมบูรณ์ ในหลายพืน้ ที่ เช่ น ทางตอนกลางของประเทศ
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
สหรั ฐอเมริ กา เขตลุ่มนํา้ ในประเทศแคนาดา ขณะที่ในเขตทะเลทรายและทุ่งหญ้ ากึ่งทะเลทรายก็สามารถใช้
___________________________________________________________________________________
เพาะปลูกพืชได้ เนื่องจากมีระบบชลประทานที่ ดี
2. ทรัพยากรป่ าไม้
ป่ าไม้ ที่สาํ คัญของทวีปอเมริ กาเหนือ ได้ แก่ ป่ าสนในประเทศแคนาดาและสหรั ฐอเมริ กา และป่ าไม้
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
เมืองร้ อนในประเทศต่ าง ๆ ในเขตอเมริ กากลาง
___________________________________________________________________________________
3. ทรัพยากรสัตว์ในธรรมชาติ
___________________________________________________________________________________
สัตว์ ป่าในทวีปอเมริ กาเหนือมีจาํ นวนลดลงในปั จจุบัน เนื่ องจากการบุกรุกพืน้ ที่ ป่าที่มีมากขึน้ สัตว์ ป่า
___________________________________________________________________________________
ที่สาํ คัญ เช่ น หมี แกะเขาใหญ่ แพะภูเขาไบซัน กวางแคริ บู กวางมูส เสื ้อจากัวร์
___________________________________________________________________________________
4. ทรัพยากรทางพลังงาน
___________________________________________________________________________________
พลังงานที่ สาํ คัญของทวีปอเมริ กาเหนือ ได้ แก่ ถ่ านหิ น นํา้ มันและก๊ าซธรรมชาติ และนํา้ ส่ วนแร่ มีอยู่
___________________________________________________________________________________
หลายชนิด เช่ น เหล็ก โคบอลต์ โมลิบดีนัม นิกเกิล ทังสเตน วาเนเดียม ยูเรเนียม เพชร ทองแดง
___________________________________________________________________________________
สรุป
ทวีปอเมริ กาเหนือมีทรั พยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ มาก ทั้งดิน ป่ าไม้ พลังงาน และแร่ ชนิดต่ าง ๆ
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
แต่ กม็ ีจาํ นวนสัตว์ ป่าที่ลดลงมากในปั จจุบัน เนื่องจากการบุกรุ กพืน้ ที่ป่าของประชากรภายในทวีปที่ มีมากขึน้
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________

ชื่อ ________________ นามสกุล _______________________ เลขที่ __________ ชั้น ____________


คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 159

แบบบันทึกผลการอภิปราย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ประชากรของทวีปอเมริ กาเหนือ
ตัวชี้วดั ชั้นปี วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ (ส 5.1 ม. 3/2)
คําชี้แจง บันทึกผลจากการสังเกตก่อนการอภิปรายและความรู ้ที่ได้หลังจากการอภิปราย พร้อมสรุ ปผล

ก่อนการอภิปราย หลังการอภิปราย
1. จํานวนประชากรและการกระจายประชากร 1. จํานวนประชากรและการกระจายประชากร
_________________________________________ _________________________________________
_________________________________________ _________________________________________
_________________________________________ _________________________________________
2. เชื้อชาติ 2. เชื้อชาติ
_________________________________________ _________________________________________
_________________________________________ _________________________________________
_________________________________________ _________________________________________
3. ภาษา 3. ภาษา
_________________________________________ _________________________________________
_________________________________________ _________________________________________
_________________________________________ _________________________________________
4. ศาสนา 4. ศาสนา
_________________________________________ _________________________________________
_________________________________________ _________________________________________
_________________________________________ _________________________________________
สรุปผลการอภิปราย
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________

ชื่อ ________________ นามสกุล _______________________ เลขที่ __________ ชั้น ____________


คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 160

ใบงานที่ 1
เรื่อง แผนทีร่ ัฐกิจของทวีปอเมริกาใต้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาใต้
ตัวชี้วดั ชั้นปี วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ (ส 5.1 ม. 3/2)
คําชี้แจง เขียนชื่อประเทศต่าง ๆ ในทวีปอเมริ กาใต้ พร้อมทั้งระบายสี พิจารณาจากผลงานของนักเรี ยน

ชื่อ ________________ นามสกุล _______________________ เลขที่ __________ ชั้น ____________


คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 161

ใบงานที่ 2
เรื่อง แผนทีล่ กั ษณะภูมิประเทศของทวีปอเมริกาใต้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาใต้
ตัวชี้วดั ชั้นปี วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ (ส 5.1 ม. 3/2)
คําชี้แจง เขียนเขตภูมิประเทศและแนวเทือกเขาของทวีปอเมริ กาใต้ลงในแผนที่ โดยกําหนดสี เขตละ 1 สี
และแนวเทือกเขา 1 สี แล้วเขียนคําอธิบายสัญลักษณ์ให้ตรงตามที่ได้กาํ หนดไว้
พิจารณาจากผลงานของนักเรี ยน

ชื่อ ________________ นามสกุล _______________________ เลขที่ __________ ชั้น ____________


คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 162

ใบงานที่ 3
เรื่อง แผนทีเ่ ขตภูมอิ ากาศของทวีปอเมริกาใต้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาใต้
ตัวชี้วดั ชั้นปี วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ (ส 5.1 ม. 3/2)
คําชี้แจง เขียนเขตภูมิอากาศของทวีปอเมริ กาใต้ลงในแผนที่ กําหนดสี เขตละ 1 สี และเขียนคําอธิ บาย
สัญลักษณ์ให้ตรงตามที่ได้กาํ หนดไว้ พิจารณาจากผลงานของนักเรี ยน

ชื่อ ________________ นามสกุล _______________________ เลขที่ __________ ชั้น ____________


คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 163

ใบงานที่ 4
เรื่อง แผนทีก่ ารคมนาคมขนส่ งของทวีปอเมริกาใต้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 การคมนาคมขนส่งของทวีปอเมริ กาใต้
ตัวชี้วดั ชั้นปี วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ (ส 5.1 ม. 3/2)
คําชี้แจง จากแผนที่การคมนาคมขนส่งของทวีปอเมริ กาใต้ นักเรี ยนลองใส่เส้นทางการคมนาคมขนส่ง
ของทวีปอเมริ กาใต้ ได้แก่ ทางรถไฟ ท่าเรื อ สนามบิน ลงในแผนที่ โดยออกแบบ
สัญลักษณ์ พร้อมเขียนคําอธิบายสัญลักษณ์และตกแต่งให้สวยงาม พิจารณาจากผลงานของนักเรี ยน

ชื่อ ________________ นามสกุล _______________________ เลขที่ __________ ชั้น ____________


คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 164

แบบบันทึกผลการสืบค้ น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาใต้
ตัวชี้วดั ชั้นปี วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ (ส 5.1 ม. 3/2)
คําชี้แจง บันทึกข้อมูลที่ได้จากการสื บค้นโดยสังเขป และบอกแหล่งที่มาของข้อมูลอย่างชัดเจน

กลุ่มที่ ______ สื บค้ นข้ อมูลทรัพยากร ___________________ ของทวีปอเมริกาใต้


_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
แหล่งที่มา: _______________________________________________

กลุ่มที่ _________________
สมาชิก 1. __________________________________ 2. _________________________________
3. __________________________________ 4. _________________________________
5. __________________________________ 6. _________________________________
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 165

แบบบันทึกผลการสืบค้ น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริ กาใต้
ตัวชี้วดั ชั้นปี วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ (ส 5.1 ม. 3/2)
คําชี้แจง บันทึกข้อมูลที่ได้จากการสื บค้นโดยสังเขป และบอกแหล่งที่มาของข้อมูลอย่างชัดเจน

กลุ่มที่ ______ สื บค้ นข้ อมูลเรื่อง __________________________________________________


_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
แหล่งที่มา: _______________________________________________

กลุ่มที่ _________________
สมาชิก 1. __________________________________ 2. _________________________________
3. __________________________________ 4. _________________________________
5. __________________________________ 6. _________________________________
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 166

แบบบันทึกผลการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริ กาใต้
ตัวชี้วดั ชั้นปี วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ (ส 5.1 ม. 3/2)
คําชี้แจง บันทึกผลการเรี ยนรู้เรื่ องทรัพยากรธรรมชาติในทวีปอเมริ กาใต้อย่างถูกต้องและชัดเจน

1. ทรัพยากรดิน
___________________________________________________________________________________
ดินในทวีปอเมริ กาใต้ ที่มีความอุดมสมบูรณ์ มากที่ สุดมีอยู่ 2 ชนิด ได้ แก่ ดินภูเขาไฟในประเทศ
___________________________________________________________________________________
โคลอมเบียและที่ ราบสูงบราซิ ล และดินในเขตทุ่งหญ้ าปั มปา ดินส่ วนใหญ่ ของทวีปนีจ้ ะมีความแตกต่ างกัน
___________________________________________________________________________________
ไปตามลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ
2. ทรัพยากรป่ าไม้
ทวีปอเมริ กาใต้ มีพืน้ ที่ ป่าดิบชื ้นมากที่ สุดในโลก โดยเฉพาะป่ าดิบชื ้นในเขตลุ่มนํา้ แอมะซอน ที่ราบ
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
เชิ งเขาแอนดีส และบริ เวณชายฝั่ งของประเทศบราซิ ล ถือเป็ นแหล่ งไม้ เนือ้ แข็งที่ สาํ คัญแห่ งหนึ่งของโลก
___________________________________________________________________________________
3. ทรัพยากรสัตว์ในธรรมชาติ
ทวีปอเมริ กาใต้ มีสัตว์ ประจําถิ่นอยู่หลากหลายชนิ ด เช่ น ลิงหอน สโลท นกมาคอร์ งูอนาคอนดา
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
ปลาปิ รั นยา บางชนิดมีการนํามาเลีย้ งเป็ นสัตว์ เลีย้ งด้ วย เช่ น ยามา วิคูนา อัลปากา
___________________________________________________________________________________
4. ทรัพยากรทางพลังงาน
ทวีปอเมริ กาใต้ มีแหล่ งพลังงานที่ สาํ คัญ ได้ แก่ ปิ โตรเลียม ถ่ านหิ น และนํา้ และยังมีแร่ หลายชนิด ซึ่ ง
___________________________________________________________________________________
ส่ งผลดีต่อเศรษฐกิจของประเทศต่ าง ๆ ในทวีป เช่ น ทองคํา เงิน ทองแดง บ็อกไซต์ เหล็ก
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
สรุป
ทวีปอเมริ กาใต้ มีทรั พยากรป่ าไม้ ที่อุดมสมบูรณ์ มากที่ สุด โดยเฉพาะป่ าดิบชื ้นในเขตลุ่มนํา้ แอมะซอน
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
แต่ มีดินที่อุดมสมบูรณ์ ไม่ มากนัก มีสัตว์ ป่าหลากหลายชนิด ซึ่ งเป็ นสัตว์ ประจําถิ่นที่ มีเฉพาะในทวีปนีเ้ ท่ านั้น
___________________________________________________________________________________
และมีแหล่ งพลังงานและแร่ ที่สาํ คัญที่ส่งผลดีต่อเศรษฐกิจของประเทศต่ าง ๆ ภายในทวีป
___________________________________________________________________________________

ชื่อ ________________ นามสกุล _______________________ เลขที่ __________ ชั้น ____________


คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 167

แบบบันทึกผลการอภิปราย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 ประชากรของทวีปอเมริ กาใต้
ตัวชี้วดั ชั้นปี วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ (ส 5.1 ม. 3/2)
คําชี้แจง บันทึกผลจากการสังเกตก่อนการอภิปรายและความรู ้ที่ได้หลังจากการอภิปราย พร้อมสรุ ปผล

ก่อนการอภิปราย หลังการอภิปราย
1. จํานวนประชากรและการกระจายประชากร 1. จํานวนประชากรและการกระจายประชากร
_________________________________________ _________________________________________
_________________________________________ _________________________________________
_________________________________________ _________________________________________
2. เชื้อชาติ 2. เชื้อชาติ
_________________________________________ _________________________________________
_________________________________________ _________________________________________
_________________________________________ _________________________________________
3. ภาษา 3. ภาษา
_________________________________________ _________________________________________
_________________________________________ _________________________________________
_________________________________________ _________________________________________
4. ศาสนา 4. ศาสนา
_________________________________________ _________________________________________
_________________________________________ _________________________________________
_________________________________________ _________________________________________
สรุปผลการอภิปราย
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________

ชื่อ ________________ นามสกุล _______________________ เลขที่ __________ ชั้น ____________


คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 168

ใบงานที่ 1
เรื่อง สิ่ งแวดล้ อมใหม่ ทางสั งคมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 สิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
ตัวชี้วดั ชั้นปี วิเคราะห์การก่อเกิดสิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคม อันเป็ นผลจากการเปลี่ยนแปลงทาง
ธรรมชาติและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ (ส 5.2 ม. 3/1)
คําชี้แจง ตอบคําถามต่อไปนี้

1. สิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือมีอะไรบ้าง และมีลกั ษณะเป็ นอย่างไร


สิ่ งแวดล้ อมใหม่ ทางสั งคมในทวี ปอเมริ กาเหนื อ ได้ แก่ อาคารเขี ยว สํานึ กสิ่ งแวดล้ อม กลุ่มเชื ้อชาติ ใหม่
.............................................................................................................................................................
และการเกษตรแบบอินทรี ย์ สิ่ งแวดล้ อมใหม่ ทางสังคมในทวีปนีส้ ่ วนใหญ่ จะเป็ นลักษณะของการปรั บสภาพของ
.............................................................................................................................................................
สั งคมเมื องให้ เข้ ากับสภาพแวดล้ อมทางธรรมชาติให้ มากขึน้ และเป็ นแนวทางการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อมแนวทาง
.............................................................................................................................................................
หนึ่งของประเทศต่ าง ๆ ในทวีปอเมริ กาเหนือ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

2. สิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมของทวีปอเมริ กาใต้มีอะไรบ้าง และมีลกั ษณะเป็ นอย่างไร


สิ่ งแวดล้ อ มใหม่ ท างสั ง คมในทวี ป อเมริ กาใต้ ส่ วนใหญ่ จ ะมี ลั ก ษณะเป็ นสิ่ งแวดล้ อ มทางสั ง คมที่
.............................................................................................................................................................
เปลี่ ยนแปลงไปเพราะปั ญหาทรั พยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้ อมของทวี ปนี ้ ซึ่ งทําให้ เกิ ดปั ญหาเพิ่ มมากขึ ้น
.............................................................................................................................................................
ได้ แก่ การเกิดชุมชนแออัด ซึ่ งเกิดมาจากการขยายตัวของเขตเมือง ทําให้ เกิดปั ญหาทางสั งคมต่ าง ๆ เพิ่มขึน้ การ
.............................................................................................................................................................
ขยายเส้ นทางคมนาคมทางบกในพื น้ ที่ ป่าแอมะซอน เกิ ดจากการขยายตัวของไร่ ถั่วเหลือง ทําให้ พืน้ ที่ ป่าไม้ ถูก
.............................................................................................................................................................
ทําลายมากขึน้ และการทําเกษตรอินทรี ย์ เกิดจากความเสื่ อมโทรมของดินในพืน้ ที่ เพาะปลูก
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

3. สิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้เหมือนหรื อแตกต่างกันหรื อไม่


อย่างไร
มีความแตกต่ างกัน เพราะสิ่ งแวดล้ อมใหม่ ทางสั งคมในทวีปอเมริ กาเหนื อส่ วนใหญ่ เกิดจากความพยายาม
.............................................................................................................................................................
ในการอนุ รั ก ษ์ แ ละแก้ ไ ขปั ญหามลพิ ษ สิ่ งแวดล้ อ ม ส่ วนในทวี ป อเมริ กาใต้ นั้ น ส่ วนใหญ่ เกิ ด จากปั ญหา
.............................................................................................................................................................
สิ่ งแวดล้ อม และเป็ นการรองรั บการขยายตัวที่ ทาํ ให้ เกิดปั ญหาสิ่ งแวดล้ อมและปั ญหาอื่น ๆ ตามมามากขึน้
.............................................................................................................................................................

ชื่อ ________________ นามสกุล _______________________ เลขที่ __________ ชั้น ____________


คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 169

ใบงานที่ 2
เรื่อง แนวทางการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 ผลจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมและแนวทางการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
ตัวชี้วดั ชั้นปี ระบุแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ (ส 5.2 ม. 3/2)
คําชี้แจง เขียนแผนที่ความคิดลงในกรอบที่กาํ หนดให้

พิจารณาจากผลงานของนักเรี ยน

ชื่อ ________________ นามสกุล _______________________ เลขที่ __________ ชั้น ____________


คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 170

แบบบันทึกความรู้
เรื่อง ปัญหาสิ่ งแวดล้ อมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 ปัญหาสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
ตัวชี้วดั ชั้นปี สํารวจ อภิปรายประเด็นปั ญหาเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปอเมริ กาเหนือและ
อเมริ กาใต้ (ส 5.2 ม. 3/3)
คําชี้แจง บันทึกความรู ้ท่ีได้หลังการอภิปรายลงในช่องว่าง พิจารณาจากผลงานของนักเรี ยน

ปัญหาสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือ ปัญหาสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริกาใต้

............................................................................ ............................................................................
............................................................................ ............................................................................
............................................................................ ............................................................................
............................................................................ ............................................................................
............................................................................ ............................................................................
............................................................................ ............................................................................
............................................................................ ............................................................................
............................................................................ ............................................................................
............................................................................ ............................................................................
............................................................................ ............................................................................
............................................................................ ............................................................................
............................................................................ ............................................................................

สาเหตุที่ทําให้ เกิดปัญหาสิ่ งแวดล้ อม

.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

ชื่อ ________________ นามสกุล _______________________ เลขที่ __________ ชั้น ____________


คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 171

แบบบันทึกการปฏิบัติงาน
เรื่อง สิ่ งแวดล้ อมใหม่ ทางสั งคมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 สิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้
ตัวชี้วดั ชั้นปี วิเคราะห์การก่อเกิดสิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคม อันเป็ นผลจากการเปลี่ยนแปลงทาง
ธรรมชาติและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ (ส 5.2 ม. 3/1)
คําชี้แจง บันทึกการปฏิบตั ิงานการจัดป้ ายนิ เทศของตนเองลงในช่องว่าง พิจารณาจากผลงานของนักเรี ยน

1. หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย คือ ...........................................................................................................


2. ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน ...................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
3. ผลที่คาดหวังว่าจะได้รับ .................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
4. สิ่ งที่สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย คือ ............................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
5. สิ่ งที่ไม่สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย คือ .......................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
6. วิธีการแก้ไขและปรับปรุ งการปฏิบตั ิงานของตนเองในครั้งต่อไป คือ ................................................
......................................................................................................................................................
7. เพื่อนที่ตอ้ งการชื่นชม คือ ...............................................................................................................
เพราะ ............................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

ชื่อ ________________ นามสกุล _______________________ เลขที่ __________ ชั้น ____________


คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 172

ตัวอย่ างแบบประเมินทักษะการเขียนเรียงความ
เรื่อง _______________________________________________________________________________
แผนการจัดการเรียนรู้ _____________ หน่ วยการเรียนรู้ที่ _____________________________________
ชั้น ______________ วันที่ ________________ เดือน __________________________ พ.ศ. _________

รายการประเมิน สรุปผล

ที่สาํ คัญต่อย่อหน้า (5 คะแนน)

สรุ ปอย่างมีเหตุผล (6 คะแนน)


คําสะกดผิดพลาดไม่เกิน 5 คํา
ประโยคหลักให้แนวคิดหลัก
การเน้นประโยค (5 คะแนน)

ลายมืออ่านง่าย (4 คะแนน)

รวมคะแนน (30 คะแนน)


เขียนประโยคที่สมบูรณ์
เลขที่ ชื่อ–สกุล ไม่
ผ่าน
ผ่าน

(5 คะแนน)

(5 คะแนน)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
เกณฑ์ การประเมิน
ได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไปถือว่าผ่าน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 173

ตัวอย่ างแบบประเมินทักษะการพูด
เรื่อง _______________________________________________________________________________
แผนการจัดการเรียนรู้ _____________ หน่ วยการเรียนรู้ที่ _____________________________________
ชั้น ______________ วันที่ ________________ เดือน __________________________ พ.ศ. _________

รายการประเมิน สรุปผล

การออกเสี ยงและจังหวะ (4 คะแนน)

การใช้ถอ้ ยคําเหมาะสม (3 คะแนน)

ความสนใจของผูฟ้ ัง (2 คะแนน)

การสรุ ปที่เหมาะสม (3 คะแนน)


คุณค่าของเรื่ องที่พดุ (3 คะแนน)
การลําดับเนื้อหา (5 คะแนน)
การปรากฏตัว (3 คะแนน)

รวมคะแนน (30 คะแนน)


บุคลิกท่าทาง (2 คะแนน)
เลขที่ ชื่อ–สกุล ไม่
การเริ่ มเรื่ อง (3 คะแนน)

ความเร้าใจ (2 คะแนน)
ผ่าน
ผ่าน

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
เกณฑ์ การประเมิน
ได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไปถือว่าผ่าน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 174

ตัวอย่ างแบบประเมินผลงาน/กิจกรรมเป็ นรายบุคคล


ผลงาน/กิจกรรมที่ __________________ เรื่อง _____________________________________________
แผนการจัดการเรียนรู้ _____________ หน่ วยการเรียนรู้ที่ _____________________________________
ชั้น ______________ วันที่ ________________ เดือน __________________________ พ.ศ. _________

รายการประเมิน ระดับคุณภาพ

การนําไปใช้ประโยชน์ (3 คะแนน)
ความถูกต้องของผลงาน/กิจกรรม

จุดเด่นของผลงาน/กิจกรรม

รู ปแบบการนําเสนอผลงาน

รวมคะแนน (20 คะแนน)


ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
เลขที่ ชื่อ–สกุล (6 คะแนน) 4 3 2 1

(4 คะแนน)

(4 คะแนน)

(3 คะแนน)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เกณฑ์ การประเมิน
การสรุ ปผลการประเมินให้เป็ นระดับคุณภาพ 4, 3, 2, 1 กําหนดเกณฑ์ได้ตามความเหมาะสมหรื อ
อาจใช้เกณฑ์ดงั นี้
18–20 คะแนน = 4 (ดีมาก)
14–17 คะแนน = 3 (ดี)
10–13 คะแนน = 2 (พอใช้)
0–9 คะแนน = 1 (ควรปรับปรุ ง)
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 175

ตัวอย่ างแบบประเมินผลงาน/กิจกรรมเป็ นกลุ่ม


ผลงาน/กิจกรรมที่ __________________ เรื่อง _____________________________________________
แผนการจัดการเรียนรู้ _____________ หน่ วยการเรียนรู้ที่ _____________________________________
ชั้น ______________ วันที่ ________________ เดือน __________________________ พ.ศ. _________
กลุ่มที่ ______________________________________________________________________________

รายการประเมิน ระดับคุณภาพ

การนําไปใช้ประโยชน์ (3 คะแนน)
ความถูกต้องของผลงาน/กิจกรรม

จุดเด่นของผลงาน/กิจกรรม

รู ปแบบการนําเสนอผลงาน

รวมคะแนน (20 คะแนน)


ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
เลขที่ ชื่อ–สกุล
4 3 2 1
(6 คะแนน)

(4 คะแนน)

(4 คะแนน)

(3 คะแนน)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เกณฑ์ การประเมิน
การสรุ ปผลการประเมินให้เป็ นระดับคุณภาพ 4, 3, 2, 1 กําหนดเกณฑ์ได้ตามความเหมาะสมหรื อ
อาจใช้เกณฑ์ดงั นี้
18–20 คะแนน = 4 (ดีมาก)
14–17 คะแนน = 3 (ดี)
10–13 คะแนน = 2 (พอใช้)
0–9 คะแนน = 1 (ควรปรับปรุ ง)
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 176

ตัวอย่ างแบบประเมินพฤติกรรมในการทํางานเป็ นรายบุคคล


ผลงาน/กิจกรรมที่ __________________ เรื่อง _____________________________________________
แผนการจัดการเรียนรู้ _____________ หน่ วยการเรียนรู้ที่ _____________________________________
ชั้น ______________ วันที่ ________________ เดือน __________________________ พ.ศ. _________
คําชี้แจง สังเกตพฤติกรรมในการทํางานของนักเรี ยน แล้วเขียนเครื่ องหมาย  ลงในช่องรายการ
ประเมินพฤติกรรมที่นกั เรี ยนปฏิบตั ิ

รายการประเมิน ระดับคุณภาพ

ประเมินและปรับปรุ งด้วยความเต็มใจ
ไม่เอาเปรี ยบเพื่อนในการทํางาน

ทําตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
พอใจกับความสําเร็จของงาน
รับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น
เลขที่ ชื่อ–สกุล

เคารพข้อตกลงของกลุ่ม
ให้ความช่วยเหลือผูอ้ ื่น
มุ่งมัน่ ทํางานให้สาํ เร็จ
4 3 2 1
สนใจในการทํางาน

เสนอความคิดเห็น

รวมคะแนน
1
2
3
4
5
6
7
8

เกณฑ์ การประเมิน
1. การให้คะแนน  ให้ 1 คะแนน
2. การสรุ ปผลการประเมินให้เป็ นระดับคุณภาพ 4, 3, 2, 1 กําหนดเกณฑ์ได้ตามความเหมาะสมหรื ออาจ
ใช้เกณฑ์ดงั นี้
9–10 คะแนน = 4 (ดีมาก)
7–8 คะแนน = 3 (ดี)
5–6 คะแนน = 2 (พอใช้)
0–4 คะแนน = 1 (ควรปรับปรุ ง)
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 177

ตัวอย่ างแบบประเมินพฤติกรรมในการทํางานเป็ นรายกลุ่ม


ผลงาน/กิจกรรมที่ __________________ เรื่อง _____________________________________________
แผนการจัดการเรียนรู้ _____________ หน่ วยการเรียนรู้ที่ _____________________________________
ชั้น ______________ วันที่ ________________ เดือน __________________________ พ.ศ. _________
คําชี้แจง สังเกตพฤติกรรมในการทํางานของนักเรี ยน แล้วเขียนเครื่ องหมาย  ลงในช่องรายการ
ประเมินพฤติกรรมที่นกั เรี ยนปฏิบตั ิ
กลุ่มที่ ______________________________________________________________________________

รายการประเมิน ระดับคุณภาพ

ร่ วมกันปรับปรุ งผลงานด้วยความเต็มใจ
รับฟังความคิดเห็นของสมาชิกกลุ่ม
นํามติ/ข้อตกลงของกลุ่มไปปฏิบตั ิ
มีกระบวนการทํางานเป็ นขั้นตอน
ทําตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย

พอใจกับความสําเร็จของงาน
ร่ วมกันแสดงความคิดเห็น

เลขที่ ชื่อ–สกุล

บรรยากาศในการทํางาน
4 3 2 1
แบ่งงานกันรับผิดชอบ

มุ่งมัน่ ทํางานให้สาํ เร็จ

รวมคะแนน
1
2
3
4
5

เกณฑ์ การประเมิน
1. การให้คะแนน  ให้ 1 คะแนน
2. การสรุ ปผลการประเมินให้เป็ นระดับคุณภาพ 4, 3, 2, 1 กําหนดเกณฑ์ได้ตามความเหมาะสมหรื ออาจ
ใช้เกณฑ์ดงั นี้
9–10 คะแนน = 4 (ดีมาก)
7–8 คะแนน = 3 (ดี)
5–6 คะแนน = 2 (พอใช้)
0–4 คะแนน = 1 (ควรปรับปรุ ง)
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 178

แบบประเมินรายงานการศึกษาค้ นคว้ า
เรื่อง ____________________________________________________________ กลุ่มที่ _____________
ภาคเรียนที่ ___________ ชั้น ____________________

รายการประเมิน สรุปผล

เนื้อหาสาระครบถ้วนตรงตามประเด็น

รวมจํานวนรายการที่ผ่านเกณฑ์ ข้นั ตํา่


ประเมิน ปรับปรุ ง และแสดงความ
ความถูกต้องของเนื้อหาสาระ

รู ปแบบการนําเสนอน่าสนใจ
ค้นคว้าจากแหล่งการเรี ยนรู ้
เลขที่ ชื่อ–สกุล

ภาษาถูกต้องเหมาะสม
ผ่าน ไม่ผ่าน

ร้สึกต่อชิ้นงาน
ที่หลากหลาย
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 179

เกณฑ์ การประเมิน แยกตามองค์ประกอบย่อย 6 ด้าน

รายการที่ 1 เนือ้ หาสาระครบถ้ วนตรงตามประเด็น


4 หมายถึง มีเนื้อหาสาระครบถ้วนตามประเด็นที่กาํ หนดทั้งหมด
3 หมายถึง มีเนื้อหาสาระค่อนข้างครบถ้วนตามประเด็นที่กาํ หนดทั้งหมด
2 หมายถึง มีเนื้อหาสาระไม่ครบถ้วนตามประเด็นแต่ภาพรวมของสาระทั้งหมดอยูใ่ นเกณฑ์พอใช้
1 หมายถึง มีเนื้อหาสาระไม่ครบถ้วน ภาพรวมของสาระทั้งหมดอยูใ่ นเกณฑ์ตอ้ งปรับปรุ ง

รายการที่ 2 ความถูกต้องของเนือ้ หาสาระ


4 หมายถึง เนื้อหาสาระทั้งหมดถูกต้องตามข้อเท็จจริ งและหลักวิชา
3 หมายถึง เนื้อหาสาระเกือบทั้งหมดถูกต้องตามข้อเท็จจริ งและหลักวิชา
2 หมายถึง เนื้อหาสาระบางส่วนถูกต้องตามข้อเท็จจริ ง และหลักวิชาต้องแก้ไขบางส่วน
1 หมายถึง เนื้อหาสาระส่วนใหญ่ไม่ถูกต้องตามข้อเท็จจริ ง และหลักวิชาต้องแก้ไขเป็ นส่วนใหญ่

รายการที่ 3 ภาษาถูกต้ องเหมาะสม


4 หมายถึง สะกดการันต์ถูกต้อง ถ้อยคําสํานวนเหมาะสมดีมาก ลําดับความได้ชดั เจน เข้าใจง่าย
3 หมายถึง สะกดการันต์ถูกต้องเป็ นส่วนใหญ่ ถ้อยคําสํานวนเหมาะสมดี ลําดับความได้ดีพอใช้
2 หมายถึง สะกดการันต์ผิดอยูบ่ า้ ง ถ้อยคําสํานวนเหมาะสมพอใช้ ลําดับความพอเข้าใจ
1 หมายถึง สะกดการันต์ผิดมาก ถ้อยคําสํานวนไม่เหมาะสม ลําดับความได้ไม่ชดั เจน

รายการที่ 4 ค้ นคว้ าจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย


4 หมายถึง ค้นคว้าจากแหล่งการเรี ยนรู ้ที่หลากหลายตั้งแต่ 4 แหล่งขึ้นไป
3 หมายถึง ค้นคว้าจากแหล่งการเรี ยนรู ้ที่หลากหลายตั้งแต่ 3 แหล่งขึ้นไป
2 หมายถึง ค้นคว้าจากแหล่งการเรี ยนรู ้ 2 แหล่ง
1 หมายถึง ใช้ความรู ้เพียงแหล่งการเรี ยนรู ้เดียว

รายการที่ 5 รูปแบบการนําเสนอน่ าสนใจ


4 หมายถึง รู ปแบบการนําเสนองานแปลกใหม่ น่าสนใจดี ลําดับเรื่ องราวได้ดีมาก
3 หมายถึง รู ปแบบการนําเสนองานน่าสนใจ ลําดับเรื่ องราวได้ดี
2 หมายถึง รู ปแบบการนําเสนองานน่าสนใจพอใช้ ลําดับเรื่ องราวได้พอใช้
1 หมายถึง รู ปแบบการนําเสนอผลงานไม่น่าสนใจ ลําดับเรื่ องราวได้ไม่ดี
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 180

รายการที่ 6 ประเมิน ปรับปรุง และแสดงความรู้สึกต่ อชิ้นงาน


4 หมายถึง วิเคราะห์ขอ้ เด่น ข้อด้อยของงานได้ชดั เจน ปรับปรุ งพัฒนางานได้เหมาะสม และแสดง
ความรู้สึกต่องานทั้งกระบวนการทํางานและผลงานได้อย่างชัดเจน
3 หมายถึง วิเคราะห์ขอ้ เด่น ข้อด้อยของงานได้บางส่วน ปรับปรุ งพัฒนางานได้บา้ ง และแสดง
ความรู้สึกต่องานได้แต่ไม่ครบถ้วน
2 หมายถึง วิเคราะห์ขอ้ เด่น ข้อด้อยของงานได้เล็กน้อย ปรับปรุ งพัฒนางานด้วยตนเองไม่ได้ตอ้ ง
ได้รับคําแนะนําจากผูอ้ ื่น และแสดงความรู้สึกต่องานได้แต่ไม่ครบถ้วน
1 หมายถึง วิเคราะห์ขอ้ เด่น ข้อด้อยของงานไม่ได้ ไม่ปรับปรุ งพัฒนางาน และแสดงความรู้สึกต่อ
งานได้เล็กน้อยหรื อไม่แสดงความรู ้สึกต่องาน

เกณฑ์ การตัดสิ นผลการเรียน


นักเรี ยนต้องมีพฤติกรรมในแต่ละรายการอย่างน้อยระดับ 3 ขึ้นไป จํานวน 4 ใน 6 รายการ ถือว่า
ผ่าน

มิติคุณภาพของการบันทึกผลงาน
กําหนดเกณฑ์การประเมินผลการบันทึกผลงานโดยใช้มาตราส่วนประเมินค่า 4 ระดับ ดังนี้

รายการประเมิน ระดับคุณภาพ
– บันทึกผลงานได้ถูกต้องตามจุดประสงค์ เขียนบันทึกได้ชดั เจน แนวคิดหลัก
ถูกต้อง มีประเด็นสําคัญครบถ้วน 4
– ใช้ภาษาได้อย่างเหมาะสม คําศัพท์ถูกต้อง
– บันทึกผลงานได้ตรงตามจุดประสงค์ เขียนบันทึกบางส่วนยังไม่ชดั เจนแนวคิด
หลักถูกต้อง ส่วนที่เป็ นประเด็นสําคัญมีไม่ครบถ้วน 3
– ใช้ภาษา คําศัพท์ไม่ถูกต้องในบางส่วน
– บันทึกผลงานยึดตามจุดประสงค์ เขียนบันทึกไม่ชดั เจน แนวคิดหลักบางส่วน
ไม่ถูกต้อง 2
– ใช้ภาษา คําศัพท์ไม่ถูกต้องในบางส่วน
– บันทึกผลงานไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์ เขียนบันทึกไม่ชดั เจน และแนวคิด
หลักส่วนใหญ่ไม่ถูกต้อง 1
– ใช้ภาษา คําศัพท์ไม่ถูกต้อง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 181

แบบประเมินโครงงาน
ชื่อโครงงาน ____________________________________________________ กลุ่มที่ _______________
ภาคเรียนที่ ___________ ชั้น ____________________

รายการประเมิน สรุปผล

รวมจํานวนรายการที่ผ่านเกณฑ์ ข้นั ตํา่


ความสําคัญของการจัดทําโครงงาน
เลขที่ ชื่อ–สกุล
ผ่าน ไม่ผ่าน

การนําเสนอโครงงาน
เนื้อหาของโครงงาน

1 กระบวนการทํางาน
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เกณฑ์ การประเมิน แยกตามองค์ประกอบย่อย 4 ด้าน


รายการที่ 1 ความสํ าคัญของการจัดทําโครงงาน
4 หมายถึง มีการทํางานเป็ นกระบวนการกลุ่ม มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ สอดคล้องกับเนื้อหา
และมีประโยชน์ในชีวิตจริ ง
3 หมายถึง มีการทํางานเป็ นกระบวนการกลุ่ม มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ บางส่วนไม่สอดคล้อง
กับเนื้อหา แต่มีประโยชน์ในชีวิตจริ ง
2 หมายถึง มีการทํางานเป็ นกระบวนการกลุ่ม มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ ไม่สอดคล้องกับเนื้อหา
และไม่มีประโยชน์ในชีวติ จริ ง
1 หมายถึง มีการทํางานเป็ นกระบวนการกลุ่ม แต่ขาดความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ ไม่สอดคล้องกับ
เนื้อหา และไม่มีประโยชน์ในชีวิตจริ ง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 182

รายการที่ 2 เนือ้ หาของโครงงาน


4 หมายถึง เนื้อหาถูกต้องครบถ้วน ใช้แนวคิดและข้อมูลข่าวสารที่เหมาะสม และมีการสรุ ปได้ดี
3 หมายถึง เนื้อหาเกือบทั้งหมดถูกต้อง ใช้แนวคิดที่เหมาะสม มีขอ้ มูลข่าวสารบางเรื่ องไม่เหมาะสม
และการสรุ ปต้องแก้ไข
2 หมายถึง เนื้อหาบางส่วนถูกต้อง แนวคิดและข้อมูลข่าวสารบางส่วนต้องแก้ไข และการสรุ ปต้อง
แก้ไข
1 หมายถึง เนื้อหาส่วนใหญ่ไม่ถูกต้อง แนวคิดและข้อมูลข่าวสารส่วนใหญ่ตอ้ งแก้ไข และการสรุ ปต้อง
แก้ไขทั้งหมด

รายการที่ 3 กระบวนการทํางาน
4 หมายถึง มีการวางแผนอย่างเป็ นระบบ มีการดําเนินงานตามแผน ลงมือปฏิบตั ิจนประสบความ
สําเร็ จ และมีการประเมินและปรับปรุ งการดําเนินงาน
3 หมายถึง มีการวางแผนอย่างเป็ นระบบ มีการดําเนินงานตามแผน ลงมือปฏิบตั ิจนประสบความ
สําเร็ จ แต่ขาดการประเมินและปรับปรุ งการดําเนินงาน
2 หมายถึง มีการวางแผนอย่างเป็ นระบบ แต่ไม่ได้ดาํ เนินงานตามแผน แม้จะปฏิบตั ิจนประสบ
ความสําเร็ จ และมีการประเมินและปรับปรุ งการดําเนินงานก็ตาม
1 หมายถึง มีการวางแผนไม่เป็ นระบบ การดําเนินงานไม่ประสบความสําเร็ จ

รายการที่ 4 การนําเสนอโครงงาน
4 หมายถึง สื่ อความหมายได้ชดั เจน ข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์ ใช้รูปแบบที่เหมาะสม และข้อสรุ ป
ของโครงงานบรรลุวตั ถุประสงค์ที่ต้ งั ไว้
3 หมายถึง สื่ อความหมายได้ชดั เจน ข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์ ใช้รูปแบบที่ไม่ค่อยเหมาะสม แต่
ข้อสรุ ปของโครงงานบรรลุวตั ถุประสงค์ที่ต้ งั ไว้
2 หมายถึง สื่ อความหมายไม่ค่อยชัดเจน ข้อมูลบางส่วนขาดความสมบูรณ์ ใช้รูปแบบที่ไม่เหมาะ
สม ข้อสรุ ปของโครงงานไม่บรรลุวตั ถุประสงค์ที่ต้ งั ไว้
1 หมายถึง สื่ อความหมายไม่ชดั เจน ข้อมูลส่วนใหญ่ไม่สมบูรณ์ ใช้รูปแบบที่ไม่เหมาะสม และ
ข้อสรุ ปของโครงงานไม่บรรลุวตั ถุประสงค์ที่ต้ งั ไว้ท้ งั หมด

เกณฑ์ การตัดสิ นผลการเรียน


นักเรี ยนต้องมีพฤติกรรมในแต่ละรายการอย่างน้อยระดับ 3 ขึ้นไป จํานวน 3 ใน 4 รายการ ถือว่า
ผ่าน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 183

ตัวอย่ างแบบประเมินโครงงาน (ทั่วไป)


ชื่อโครงงาน ____________________________________________________ กลุ่มที่ _______________
ภาคเรียนที่ ___________ ชั้น ____________________

รายการประเมิน สรุปผล

วางแผนกําหนดขั้นตอนการแก้ปัญหา

รวมจํานวนรายการที่ผ่านเกณฑ์ ข้นั ตํา่


สามารถนําไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต
กําหนดประเด็นปัญหาชัดเจน
เลขที่ ชื่อ–สกุล
ผ่าน ไม่ผ่าน

เขียนรายงานนําเสนอ
ลงมือปฏิบตั ิตามแผน
ได้เหมาะสม

ประจําวัน
1
2
3
4
5

เกณฑ์ การประเมิน แยกตามองค์ประกอบย่อย 5 ด้าน


รายการที่ 1 กําหนดประเด็นปัญหาชัดเจน
4 หมายถึง กําหนดประเด็นปัญหาได้ดว้ ยตนเอง ปั ญหาที่กาํ หนดมีความเฉพาะเจาะจงชัดเจนดี
มาก
3 หมายถึง กําหนดประเด็นปัญหาได้ดว้ ยตนเอง ปั ญหาที่กาํ หนดมีความเฉพาะเจาะจงชัดเจนดี
2 หมายถึง กําหนดประเด็นปัญหาได้ดว้ ยตนเองเป็ นบางส่วน ปั ญหาที่กาํ หนดมีความเฉพาะเจาะ
จงชัดเจนพอใช้
1 หมายถึง กําหนดประเด็นปัญหาด้วยตนเองไม่ได้

รายการที่ 2 วางแผนกําหนดขั้นตอนการแก้ปัญหาได้ เหมาะสม


4 หมายถึง ออกแบบวิธีการ ขั้นตอนการแก้ปัญหา ระบุควบคุมตัวแปรได้ถูกต้องเหมาะสม
3 หมายถึง ออกแบบวิธีการ ขั้นตอนการแก้ปัญหา ระบุควบคุมตัวแปรได้ค่อนข้างเหมาะสม
2 หมายถึง ออกแบบวิธีการ ขั้นตอนการแก้ปัญหา ระบุควบคุมตัวแปรได้เหมาะสมพอใช้
1 หมายถึง ออกแบบวิธีการ ขั้นตอนการแก้ปัญหา ระบุควบคุมตัวแปรได้ไม่เหมาะสม
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 184

รายการที่ 3 ลงมือปฏิบัตติ ามแผน


4 หมายถึง ลงมือแก้ปัญหาตามขั้นตอนที่กาํ หนดไว้อย่างครบถ้วนจริ งจัง สามารถค้นพบความรู ้
ข้อคิด แนวทางการปฏิบตั ิตามประเด็นปัญหาที่ต้ งั ไว้ดว้ ยตนเองทั้งหมด
3 หมายถึง ลงมือแก้ปัญหาตามขั้นตอนที่กาํ หนดไว้อย่างครบถ้วนจริ งจัง สามารถค้นพบความรู้
ข้อคิด แนวทางการปฏิบตั ิตามประเด็นปัญหาที่ต้ งั ไว้ดว้ ยตนเองเป็ นส่วนใหญ่
2 หมายถึง ลงมือปฏิบตั ิตามขั้นตอนที่กาํ หนดบ้าง แต่ไม่ครบถ้วน สามารถค้นพบความรู้ ข้อคิด
แนวทางการปฏิบตั ิตามประเด็นปัญหาที่ต้ งั ไว้ดว้ ยตนเองเป็ นบางส่วน
1 หมายถึง ลงมือปฏิบตั ิตามขั้นตอนที่กาํ หนดได้นอ้ ยมาก ไม่สามารถค้นพบความรู้ ข้อคิด แนว
ทางการปฏิบตั ิตามประเด็นปั ญหาที่ต้ งั ไว้

รายการที่ 4 สามารถนําไปใช้ แก้ปัญหาในชีวติ ประจําวัน


4 หมายถึง นําข้อค้นพบ วิธีปฏิบตั ิไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจําวันได้ครบถ้วน ถูกต้อง และต่อ
เนื่อง
3 หมายถึง นําข้อค้นพบ วิธีปฏิบตั ิไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจําวันได้ครบถ้วน ถูกต้อง แต่ขาด
ความต่อเนื่อง
2 หมายถึง นําข้อค้นพบ วิธีปฏิบตั ิไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจําวันได้เป็ นบางส่วน และต้อง
กระตุน้ เตือนให้ปฏิบตั ิอย่างต่อเนื่อง
1 หมายถึง นําข้อค้นพบ วิธีปฏิบตั ิไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจําวันได้นอ้ ย หรื อไม่นาํ ไปใช้เลย

รายการที่ 5 เขียนรายงานนําเสนอ
4 หมายถึง บันทึกผลการศึกษาค้นคว้าและนําเสนอข้อมูลได้ถูกต้องชัดเจน แสดงให้เห็นถึงขั้น
ตอนการวางแผน การลงมือแก้ปัญหาและข้อค้นพบที่ได้ครบถ้วน
3 หมายถึง บันทึกผลการศึกษาค้นคว้าและนําเสนอข้อมูลได้ถูกต้องชัดเจน แสดงให้เห็นถึงขั้น
ตอนการวางแผน การลงมือแก้ปัญหา และข้อค้นพบที่ได้ค่อนข้างครบถ้วน
2 หมายถึง บันทึกผลการศึกษาค้นคว้าและนําเสนอข้อมูลได้บา้ ง แสดงให้เห็นถึงขั้นตอนการวาง
แผน การลงมือแก้ปัญหา และข้อค้นพบที่ได้เพียงบางส่วน
1 หมายถึง บันทึกผลการศึกษาค้นคว้าและนําเสนอข้อมูลได้นอ้ ยมาก เห็นขั้นตอนการวางแผน
การลงมือแก้ปัญหา และข้อค้นพบที่ได้ไม่ชดั เจน

เกณฑ์ การตัดสิ นผลการเรียน


นักเรี ยนต้องมีพฤติกรรมในแต่ละรายการอย่างน้อยระดับ 3 ขึ้นไป จํานวน 3 ใน 5 รายการ ถือว่า
ผ่าน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 185

แฟ้ มสะสมผลงาน (Portfolio) เป็ นแหล่งรวบรวมผลงานของนักเรี ยนอย่างเป็ นระบบที่นาํ มาใช้


ประเมินสมรรถภาพของนักเรี ยน เพื่อช่วยให้นกั เรี ยน ครู ผูป้ กครอง หรื อผูท้ ี่เกี่ยวข้องเกิดความเข้าใจและ
มองเห็นอย่างเป็ นรู ปธรรมได้วา่ การปฏิบตั ิงานและผลงานของนักเรี ยนมีคุณภาพมาตรฐานอยูใ่ นระดับใด
แฟ้ มสะสมผลงานเป็ นเครื่ องมือประเมินผลตามสภาพจริ งที่ให้โอกาสนักเรี ยนได้ใช้ผลงานจากที่ได้
ปฏิบตั ิจริ งสื่ อสารให้ผอู ้ ื่นเข้าใจถึงความสามารถที่แท้จริ งของตน ซึ่งผลงานที่เก็บสะสมในแฟ้ มสะสม
ผลงานมีหลายลักษณะ เช่น การเขียนรายงาน บทความ การศึกษาค้นคว้า สิ่ งประดิษฐ์ การทําโครงงาน
บันทึกการบรรยาย บันทึกการทดลอง บันทึกการอภิปราย บันทึกประจําวัน แบบทดสอบ

แบบบันทึกความคิดเห็นเกีย่ วกับการประเมินชิ้นงานในแฟ้มสะสมผลงาน

ชื่อผลงาน _____________________ วันที่ _________ เดือน _________________ พ.ศ. _____________


หน่ วยการเรียนรู้ที่ ________________ เรื่อง _______________________________________________

รายการประเมิน บันทึกความคิดเห็นของนักเรียน
1. เหตุผลที่เลือกผลงานชิ้นนี้ไว้ในแฟ้ มสะสม ______________________________________
ผลงาน ______________________________________

2. จุดเด่นและจุดด้อยของผลงานชิ้นนี้มีอะไรบ้าง ______________________________________
______________________________________

3. ถ้าจะปรับปรุ งผลงานชิ้นนี้ให้ดีข้ ึนควร ______________________________________


ปรับปรุ งอย่างไร ______________________________________

4. งานชิ้นนี้ควรได้คะแนนเท่าใด เพราะเหตุใด ______________________________________


(ถ้ากําหนดให้คะแนนเต็ม 10 คะแนน) ______________________________________

ความเห็นของเพือ่ น ความเห็นของผู้ปกครอง
________________________ ________________________
________________________ ________________________

ผลการประเมินของครูหรือที่ปรึกษา
______________________________________
______________________________________
______________________________________
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 186

ตัวอย่ าง แบบประเมินแฟ้มสะสมผลงาน
เรื่อง ________________________________________________________ กลุ่มที่ _________________
ภาคเรียนที่ _______________________ ชั้น _______________________________________________

ระดับคุณภาพ
รายการประเมิน
1 2 3 4
1. โครงสร้างและองค์ประกอบ
2. แนวความคิดหลัก
3. การประเมินผล
4. การนําเสนอ

เกณฑ์ การประเมิน แยกตามองค์ประกอบย่อย 4 ด้าน

ระดับคุณภาพ รายการประเมิน
1. โครงสร้ างและองค์ ประกอบ
4 ผลงานมีองค์ประกอบที่สาํ คัญครบถ้วนและจัดเก็บได้อย่างเป็ นระบบ
3 ผลงานมีองค์ประกอบที่สาํ คัญเกือบครบถ้วนและส่วนใหญ่จดั เก็บอย่างเป็ นระบบ
2 ผลงานมีองค์ประกอบที่สาํ คัญเป็ นส่วนน้อย แต่บางชิ้นงานมีการจัดเก็บที่เป็ นระบบ
1 ผลงานขาดองค์ประกอบที่สาํ คัญและการจัดเก็บไม่เป็ นระบบ
2. แนวความคิดหลัก
4 ผลงานสะท้อนแนวความคิดหลักของนักเรี ยนที่ได้ความรู ้ทางภูมิศาสตร์ มีหลักฐาน
แสดงว่ามีการนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์ได้มาก
3 ผลงานสะท้อนแนวความคิดหลักของนักเรี ยนที่ได้ความรู ้ทางภูมิศาสตร์ มีหลักฐาน
แสดงว่าสามารถนําความรู ้ไปใช้ในสถานการณ์ตวั อย่างได้
2 ผลงานสะท้อนแนวความคิดหลักของนักเรี ยนว่าได้ความรู้ทางภูมิศาสตร์บา้ ง มีหลัก
ฐานแสดงถึงความพยายามที่จะนําไปใช้ประโยชน์
1 ผลงานจัดไม่เป็ นระบบ มีหลักฐานแสดงว่ามีความรู้ทางภูมิศาสตร์นอ้ ยมาก
3. การประเมินผล
4 มีการประเมินความสามารถและประสิ ทธิภาพการปฏิบตั ิงานและผลงาน รวมทั้งมี
การเสนอแนะโครงการที่เป็ นไปได้ที่จะจัดทําต่อไปไว้อย่างชัดเจนหลายโครงการ
3 มีการประเมินความสามารถและประสิ ทธิภาพการปฏิบตั ิงานและผลงาน รวมทั้งการ
เสนอแนะโครงการที่ควรจัดทําต่อไป
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ภูมิศาสตร์ ม. 3 187

ระดับคุณภาพ รายการประเมิน
2 มีการประเมินความสามารถและประสิ ทธิภาพการปฏิบตั ิงานและผลงานบ้าง รวมทั้ง
มีการเสนอแนะโครงการที่จะทําต่อไปแต่ไม่ชดั เจน
1 มีการประเมินประสิ ทธิ ภาพการปฏิบตั ิงานและผลงานน้อยมาก และไม่มีขอ้ เสนอ
แนะใด ๆ
4. การนําเสนอ
4 เขียนบทสรุ ปและรายงานที่มีระบบดี มีข้ นั ตอน มีขอ้ มูลครบถ้วน มีการประเมินผล
ครบถ้วน แสดงออกถึงความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
3 เขียนบทสรุ ปและรายงานแสดงให้เห็นว่ามีข้ นั ตอนการจัดเก็บผลงาน มีการประเมิน
ผลเป็ นส่วนมาก
2 เขียนบทสรุ ปและรายงานแสดงให้เห็นว่ามีข้ นั ตอนการจัดเก็บผลงาน มีการประเมิน
ผลเป็ นบางส่วน
1 เขียนบทสรุ ปและรายงานแสดงให้เห็นว่ามีข้ นั ตอนการจัดเก็บผลงาน แต่ไม่มีการ
ประเมินผล

เกณฑ์ การประเมินโดยภาพรวม

ระดับคุณภาพ รายการประเมิน
ผลงานมีรายละเอียดมากเพียงพอ ไม่มีขอ้ ผิดพลาดหรื อแสดงถึงความไม่เข้าใจ
4 มีความเข้าใจในเรื่ องที่ศึกษาโดยมีการบูรณาการหรื อเชื่อมโยงแนวความคิดหลัก
ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน
ผลงานมีรายละเอียดมากเพียงพอและไม่มีขอ้ ผิดพลาดหรื อแสดงถึงความไม่เข้าใจ
3 แต่ขอ้ มูลต่าง ๆ เป็ นลักษณะของการนําเสนอที่ไม่ได้บูรณาการระหว่างข้อมูลกับ
แนวความคิดหลักของเรื่ องที่ศึกษา
ผลงานมีรายละเอียดที่บนั ทึกไว้ แต่พบว่าบางส่วนมีความผิดพลาดหรื อไม่ชดั เจน
2
หรื อแสดงถึงความไม่เข้าใจเรื่ องที่ศึกษา
1 ผลงานมีขอ้ มูลน้อย ไม่มีรายละเอียดบันทึกไว้

You might also like