You are on page 1of 77

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับครูผูสอน)

กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
ภาคเรียนที่ 1 รายวิชาคณิตศาสตร
หนวยที่ 6 กลองสองการกระจาย

สํานักงานโครงการสวนพระองคสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา
กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน)
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ภาคเรียนที่ 1 รายวิชาคณิตศาสตร์
หน่วยที่ 6 กล่องส่องการกระจาย

สำ�นักงานโครงการส่วนพระองค์สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า
กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คำนำ
ตามที่ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรั ตนราชสุ ดา ฯ สยามบรมราชกุม ารี
ทรงมี พ ระราชด าริ เมื่ อ วั น ที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ให้ จั ด ท าสื่ อ การเรี ย นเป็ น ชุ ด การเรี ย นรู้ ส มบู ร ณ์ แ บบ
(Comprehensive Learning Package) สาหรับโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สังกัดกองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน โรงเรียนพระปริยัติธรรม สังกัดสานักงานพระพุทธศาสนาแห่ งชาติ
และโรงเรียนเอกชน สังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒ นา
คุณภาพของนั กเรี ย นระดั บ มั ธ ยมศึก ษาตอนต้น โดยเน้ น การใช้บริ บ ทชีวิตจริ ง ของผู้ เ รี ยนและชุมชนเป็ น ฐาน
ในการเรี ย น ท าการบู ร ณาการสาระตามหลั ก สู ต รให้ เ ชื่ อ มโยงกั บ การด ารงชี วิ ต ทั้ ง ปั จ จุ บั น และอนาคต
ตามแนวพระราชด าริ ที่ ท รงแนะน าให้ ใ ช้ โ ครงการศึ ก ษาทั ศ น์ ข องพระบาทสมเด็ จ พระบรมชนกาธิ เ บศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการพัฒนาสื่อการเรียน
ส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ นพื้ น ฐาน จึ ง ได้ จั ด ท าชุ ด การเรี ยนรู้ (ส าหรั บ ครู ผู้ ส อน)
ให้ ส อดคล้ อ งกั บ หลั ก สู ต รที่ อิ ง มาตรฐานและเชื่ อ มโยงไปสู่ ส มรรถนะ เน้ น การออกแบบกิ จ กรรมการเรี ย นรู้
ที่ส่งเสริมความรู้ ทักษะ และพฤติกรรมผู้เรียนรอบด้าน ทั้งยังส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถค้นคว้าต่อเนื่องในลักษณะ
การเรียนรู้ตามความสนใจได้ และเพื่อให้สะดวกต่อการนาไปใช้ จึง จัดแยกเป็นระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓
และแยกเป็นภาคเรียนที่ ๑ และภาคเรียนที่ ๒ ทั้ง ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย
- ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ ภาคเรียนที่ ๑ และภาคเรียนที่ ๒
- ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ ภาคเรียนที่ ๑ และภาคเรียนที่ ๒
- ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ ภาคเรียนที่ ๑ และภาคเรียนที่ ๒
- ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ ภาคเรียนที่ ๑ และภาคเรียนที่ ๒
- ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ ภาคเรียนที่ ๑ และภาคเรียนที่ ๒
การนาชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ไปใช้ ครูผู้สอนต้องศึกษาเอกสาร คู่มือการใช้ชุดการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ และศึกษาคาชี้แจงในเอกสารชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) เพื่อให้ทราบถึงแนวคิด
การจั ดกระบวนการเรี ยนรู้ การเตรี ยมตัว ของครู สื่อการจัดการเรียนรู้ ลักษณะชุดการจัด กิจกรรมการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินผลของแต่ละหน่วยการเรียนรู้
หวั ง ว่ า ชุ ด การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ (ส าหรั บ ครู ผู้ ส อน) และชุ ด การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้
(สาหรับนักเรียน) นี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอน อันจะส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นต่อไป
ขอขอบคุ ณ ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ผู้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษา ศึ ก ษานิ เ ทศก์ ครู อาจารย์ นั ก วิ ช าการ
และทุกท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดทาเอกสารมา ณ โอกาสนี้
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คาชี้แจง

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) เล่มที่ ๖ กล่องส่องการกระจาย เล่มนี้ เป็น ๑ ใน ๓๔


เล่ ม ของชุ ด สื่ อ การเรี ย นรู้ ส มบู ร ณ์ แ บบ กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ค ณิ ต ศาสตร์ ใช้ กั บ นั ก เรี ย นช่ ว งชั้ น ที่ ๓
(ชั้ น มั ธ ยมศึก ษาปี ที่ ๑–๓) ส าหรั บ โรงเรี ย นขนาดเล็ ก ที่ มี ค รู ค รบชั้ น และครู ไ ม่ ค รบชั้ น และโรงเรี ยนในถิ่น
ทุร กันดาร ซึ่งผ่า นการวิเคราะห์ ม าตรฐานการเรี ยนรู้ แ ละตั ว ชี้ วัด กลุ่ม สาระการเรี ยนรู้ ค ณิต ศาสตร์ (ฉบั บ
ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เมื่อสอนครบทั้ง ๓๔ เล่ม
นักเรียนจะได้เรียนรู้ครบถ้วนครอบคลุมทุกตัวชี้วัดของหลักสูตร

ชุ ด การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ (ส าหรั บ ครู ผู้ ส อน) เล่ ม ที่ ๖ กล่ อ งส่ อ งการกระจาย เล่ ม นี้
เป็ น เอกสารที่ น าเสนอแนวทางการจั ด การเรี ย นรู้ ค ณิ ต ศาสตร์ เ รื่ อ ง แผนภาพกล่ อ ง ให้ กั บ นั ก เรี ย น
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ ซึ่งก่อนการสอนเรื่อง กล่องส่องการกระจาย ครูผู้สอนควรศึกษาแผนการ
จัดการเรียนรู้จากเอกสารเล่มนี้อย่างละเอียด จะทาให้ทราบว่าต้องสอนเนื้อหาอย่างไร และต้องเตรียมสื่อ/
อุปกรณ์ประกอบการสอนอะไร อย่างไร ซึ่งจะทาให้การจัดการเรียนรู้ของครูมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้นักเรียน
มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาที่สอน

คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) เล่มที่ ๖ กล่องส่อง


การกระจาย เล่ม นี้ จะเป็ น ประโยชน์ ต่อครู ผู้ส อน ในการน าไปใช้จัดการเรียนรู้เรื่อง แผนภาพกล่อง ให้กับ
นั ก เรี ย นในโรงเรี ย นขนาดเล็ ก ที่ มี ค รู ค รบชั้ น และครู ไ ม่ ค รบชั้ น และโรงเรี ย นในถิ่ น ทุ ร กั น ดาร เพื่ อ เพิ่ ม
ประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอนของครู และเสริมสร้างการเรียนรู้ของนักเรียนให้เต็มศักยภาพต่อไป

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
สารบัญ

เนื้อหา หน้า

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย 1
ผังมโนทัศน์ 2
เส้นทางการจัดการเรียนรู้ 3
โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ 4
ภาพรวมหน่วยการเรียนรู้ 5

เรื่องที่ 6.1 ภารกิจ พิชิตกล่อง


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 8

เรื่องที่ 6.2 ไม่ประมาท การ์ดอย่าตก


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 26

แบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้และเฉลย 41
เฉลยแบบฝึกหัดและใบกิจกรรม 46
บัตรภาพ บัตรคา และสื่อต่าง ๆ 62
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 : กล่องส่องการกระจาย

สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น

มาตรฐาน ค 3.1
เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา

ตัวชี้วัด ค 3.1 ม.3/1


เข้ า ใจและใช้ ค วามรู้ ท างสถิ ติ ใ นการน าเสนอและวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล จากแผนภาพกล่ อ ง และแปล
ความหมายผลลัพธ์ รวมทั้งนาสถิติไปใช้ในชีวิตจริงโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม

สาระการเรียนรู้
สถิติ
 ข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล
o แผนภาพกล่อง
 การแปลความหมายผลลัพธ์
 การนาสถิติไปใช้ในชีวิตจริง

ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
1. การสื่อสารและสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
2. การเชื่อมโยง

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ทางคณิตศาสตร์
1. ใฝ่เรียนรู้ และกระตือรือร้น
2. มุ่งมั่น และรอบคอบ
3. รู้เท่าทันข้อมูลข่าวสาร
4. เห็นคุณค่าของคณิตศาสตร์

สมรรถนะ
1. การจัดการตนเอง
2. การสื่อสาร
3. การรวมพลังทางานเป็นทีม

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 1

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 > 1


ผังมโนทัศน์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 : กล่องส่องการกระจาย

แผนภาพกล่อง

การอ่านและแปลความหมาย
แผนภาพกล่อง
จากแผนภาพกล่อง

ความหมายและวิธีการหาควอร์ไทล์ แผนภาพกล่องกับการกระจายของข้อมูล

ลักษณะและการสร้างแผนภาพกล่อง

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 2

2 < ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6


เส้นทางการจัดการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 : กล่องส่องการกระจาย

แนะนาควอร์ไทล์ โดยทากิจกรรมเพื่อให้เข้าใจความหมายของควอร์ไทล์
รวมถึงแนะนาขั้นตอนการหาควอร์ไทล์

แนะนาองค์ประกอบของแผนภาพกล่อง
ขั้นตอนและวิธีการสร้างแผนภาพกล่อง รวมทั้งฝึกสร้างแผนภาพกล่อง

ยกตัวอย่างประกอบการอธิบายเกี่ยวกับการอ่านและแปลความหมายของข้อมูลที่นาเสนอ
ในรูปแผนภาพกล่อง รวมทั้งทากิจกรรมเพื่อฝึกการอ่านและแปลความหมาย

ฝึกวิเคราะห์การกระจายของข้อมูลจากข้อมูลที่นาเสนอด้วยแผนภาพกล่อง

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 3

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 > 3


โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 : กล่องส่องการกระจาย

6.1 ภารกิจ พิชิตกล่อง

แผนที่ 1 จานวน 3 ชั่วโมง

หน่วยที่ 6 รู้ทัน ป้องกันโคโรนา 2019

(2 แผน รวม 6 ชั่วโมง)

6.2 ไม่ประมาท การ์ดอย่าตก

แผนที่ 2 จานวน 3 ชั่วโมง

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 4

4 < ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6


หน่วยการเรียนรู้
หน่วยที่ 6 กล่องส่องการกระจาย รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 6 ชั่วโมง

ชั่วโมง สาระสาคัญ/ สถานการณ์ พฤติกรรมบ่งชี้เพือ



ตัวชี้วัด สมรรถนะ ชิ้นงาน/ภาระงาน
ที่ ความคิดรวบยอด เพื่อการจัดการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล
เรื่องที่ 6.1 ภารกิจ พิชิตกล่อง (3 ชั่วโมง)
1–3 ค 3.1 1. การจัดการ แ ผ น ภ า พ ก ล่ อ ง เ ป็ น 1. อภิปรายเกี่ยวกับกิจกรรม 1. ใบกิจกรรม 1 : 1. การจัดการตนเอง
ม.3/1 ตนเอง เครื่ อ งมื อ หนึ่ ง ทางสถิ ติ ที่ใช้ ทานอะไรดี ที่ไม่ ใช่อะไร ท า น อ ะ ไ ร ดี  นั ก เรี ย นสามารถควบคุ ม และก ากั บ
2. การสื่อสาร ใ น ก า ร น า เ ส น อ ข้ อ มู ล ก็ ไ ด้ เพื่ อ น าไปสู่ ค วาม ที่ไม่ใช่อะไรก็ได้ ต น เ อ ง ใ น ก า ร ใ ช้ ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ
3. การรวมพลัง โ ด ย ใ ช้ ก า ร แ บ่ ง ข้ อ มู ล เ ข้ า ใ จ แ ล ะ เ ห็ น ภ า พ 2. แบบฝึกหัด 1 : ค ว อ ร์ ไ ท ล์ ม า ส ร้ า ง แ ผ น ภ า พ ก ล่ อ ง
ทางาน ออกเป็น 4 ส่วน ซึ่งแต่ละส่วน ต าแหน่ ง ของควอร์ ไ ทล์ หาควอร์ไทล์ ได้สาเร็จตามที่กาหนด
เป็นทีม จะมีจานวนข้อมูลเท่า ๆ กัน ทั้งสาม 3. ใบกิจกรรม 2 : 2. การสื่อสาร
ก า ร ส ร้ า ง แ ผ น ภ า พ 2. ต่อยอดสถานการณ์จ าก ส ม มุ ติ ว่ า ฉั น  นั กเรี ยนสามารถอธิบาย ผ่า นการเขียน
กล่ อ งเพื่ อ น าเสนอข้ อ มู ล กิ จ กรรมทานอะไรดี ที่ หรือพูด เพื่อแสดงแนวคิดด้วยภาษาของ
เป็นครู
ต้องอาศัยค่าสาคัญ 5 ค่า คือ ไ ม่ ใ ช่ อ ะ ไ ร ก็ ไ ด้ เ พื่ อ ตนเอง โดยใช้ค วามรู้ เกี่ยวกับแผนภาพ
4. แบบฝึกหัด 2 :
ค่าต่าสุดของข้อมูล ค่าสูงสุด น า ไ ป สู่ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ กล่ อ งและการสร้ า งแผนภาพกล่ อ งได้
สร้ า งแผนภาพ
ของข้อมูล ควอร์ไทล์ที่ 1 (Q1) เกี่ยวกับควอร์ไทล์ อย่างถูกต้องและสมเหตุสมผล
กล่อง
ค วอร์ ไท ล์ ที่ 2 ( Q2) แ ละ  นั ก เรี ย นสามารถน าเสนอข้ อ มู ล ด้ ว ย
5. ใบกิจกรรม 3 :
ควอร์ไทล์ที่ 3 (Q3) แผนภาพกล่องได้อย่างถูกต้อง
ถ า ม ม า ส ร้ า ง
กล่อง

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 >


5
ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 5
6
ชั่วโมง สาระสาคัญ/ สถานการณ์ พฤติกรรมบ่งชี้เพือ

ตัวชี้วัด สมรรถนะ ชิ้นงาน/ภาระงาน
ที่ ความคิดรวบยอด เพื่อการจัดการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล
3. การรวมพลังทางานเป็นทีม
 นั ก เรี ย นร่ ว มกั น วางแผนการท างาน
แบ่ ง หน้ า ที่ ใ นการท ากิ จ กรรม ร่ ว มกั น
วิเคราะห์ข้อมูล และนาเสนอข้อมู ล ด้ วย
แผนภาพกล่ อ งตามภารกิ จ ในการท า
กิจ กรรมถามมาสร้ า งกล่องที่กาหนดได้
สาเร็จ
เรื่องที่ 6.2 ไม่ประมาท การ์ดอย่าตก (3 ชั่วโมง)
4–6 ค 3.1 1. การจัดการ ก า ร อ่ า น แ ล ะ แ ป ล 1. ท า กิ จ ก ร ร ม ห ว า น 1. แบบฝึกหัด 3 : 1. การจัดการตนเอง
ม.3/1 ตนเอง ความหมายข้ อมู ลที่นาเสนอ แค่ ไ ห น ถา ม ใจ เธอดู ก า ร อ่ า น แ ล ะ  นั ก เรี ย นสามารถควบคุ ม และก ากั บ
2. การสื่อสาร ด้ ว ยแผนภาพกล่ อ ง ท าให้ เพื่ อนาไปสู่ค วามเข้ า ใจ แปลความหมาย ต น เ อ ง ใ น ก า ร ใ ช้ ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ
3. การรวมพลัง เห็ น ภาพการกระจายของ เกี่ ย วกั บ การกระจา ย แผนภาพกล่อง แผนภาพกล่องมาวิเคราะห์การกระจาย
ทางาน ข้อมูลทั้งชุด และการกระจาย ของข้ อมู ล จากแผนภาพ 2. ใบกิจกรรม 4 : ของข้อมูลได้สาเร็จตามที่กาหนด

< ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6


เป็นทีม ข อ ง ข้ อ มู ล ใ น แ ต่ ล ะ ช่ ว ง กล่อง ไ ม่ ป ร ะ ม า ท 2. การสื่อสาร
ซึ่ ง จะช่ ว ยในการคาดคะเน 2. ใช้ ส ถานการณ์ จ านวน การ์ดอย่าตก  นั ก เรี ย นสามารถน าเสนอข้ อ มู ล ด้ ว ย
สร้างข้อสรุป และนาข้อสรุป ผู้ ติ ด เชื้ อ ไวรั ส โคโรนา แผนภาพกล่องได้อย่างถูกต้อง
มาใช้ประกอบการตัดสินใจใน 2019 ที่ น าเสนอข้ อ มู ล  นักเรี ยนสามารถอธิบาย ผ่า นการเขียน
สถานการณ์ต่าง ๆ ด้ ว ย แ ผ น ภ า พ ก ล่ อ ง ห รื อ พู ด ด้ ว ย ด้ ว ย ภ า ษ า ข อ ง ต น เ อ ง
เ พื่ อ ต ร ว จ ส อ บ ค ว า ม เพื่ อ วิ เ คราะห์ ก ารกระจายของข้ อ มู ล ที่
เข้ า ใจเกี่ ยวกั บการอ่ า น น าเสนอด้ ว ยแผนภาพกล่ อ งได้ อ ย่ า ง
และแป ลค วา มห ม า ย ถูกต้องและสมเหตุสมผล

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 6


ชั่วโมง สาระสาคัญ/ สถานการณ์ พฤติกรรมบ่งชี้เพือ

ตัวชี้วัด สมรรถนะ ชิ้นงาน/ภาระงาน
ที่ ความคิดรวบยอด เพื่อการจัดการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล
ข้ อ มู ล จ า ก แ ผ น ภ า พ 3. การรวมพลังทางานเป็นทีม
กล่อง  นั ก เรี ย นร่ ว มกั น วางแผนการท างาน
3. ท ากิ จกรรมไม่ ประมาท แบ่ ง หน้ า ที่ ใ นการเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล
ก า ร์ ด อ ย่ า ต ก ร่ ว มกั น วิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล และน าเสนอ
เ พื่ อ บู ร ณ า ก า ร แ ล ะ ข้ อ มู ล ด้ ว ยแผนภาพกล่ อ งตามภารกิ จ
เชื่อมโยงความรู้ ทางสถิติ ที่ ก า ห น ด ใ น กิ จ ก ร ร ม ไ ม่ ป ร ะ ม า ท
ร ะ ดั บ ชั้ น มั ธยมศึ ก ษา การ์ดอย่าตก ได้สาเร็จ
ตอนต้ น ใ น ก า ร ต อ บ
ค าถามทางสถิ ติ และ
น า เ ส น อ ข้ อ มู ล ด้ ว ย
แผนภาพกล่อง

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 >


7
ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 7
8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.1 ภารกิจ พิชิตกล่อง เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งเรียนรู้
1. ควอร์ ไ ทล์ ไ ด้ ม าจากการแบ่ ง ข้ อ มู ล ชั่วโมงที่ 1 ชั่วโมงที่ 1
ออกเป็ น 4 ส่ วนเท่ า ๆ กั น โดยประมาณ ขั้นนา 1. อุปกรณ์กิจกรรมทานอะไรดี
ซึ่ ง เมื่ อ เรี ย งข้ อ มู ล จากน้ อ ยไปมาก 1. ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับการหามัธยฐาน โดยเขียนข้อมูลคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ ที่ไม่ใช่อะไรก็ได้
ค่า ณ ตาแหน่งที่แบ่งข้อมูลแต่ละส่วน ของนักเรียนห้อง ม.3/1 และห้อง ม.3/2 บนกระดาน ดังนี้  ใ บ กิ จ ก ร ร ม 1 :
จ ะ เ รี ย ก ว่ า ค ว อ ร์ ไ ท ล์ ที่ 1 ( Q1) ทานอะไรดี ที่ ไ ม่ ใ ช่
ห้อง ม.3/1 : 26 35 34 27 30 39 32
ควอร์ ไ ทล์ ที่ 2 (Q2) และควอร์ ไ ทล์ อะไรก็ได้
ห้อง ม.3/2 : 41 10 16 33 36 39 26 34
ที่ 3 (Q3)  แถบกระดาษ 7 ช่อง
2. การหาควอร์ ไ ทล์ โดยใช้ ค วามรู้ เรื่ อง (กว้างช่องละเท่า ๆ กัน)
จากนั้น ครู ใช้การถามตอบประกอบการอธิบาย พร้ อมทั้งเขี ยนคาตอบ
มัธยฐาน ทาได้โดย  กาว
ของนักเรียนบนกระดาน เพื่อช่วยให้นักเรียนหามัธยฐานได้สะดวกยิ่งขึ้น ดังนี้
 เรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก ชั่วโมงที่ 2
 ในการหามัธยฐานของข้อมูล จะเริ่มต้นจากการเรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก หรือ
 หามั ธ ยฐานของข้ อ มู ล ทั้ ง หมด 1. แบบฝึกหัด 1 :
มากไปน้อยก็ได้ ในที่นี้ เราจะเรียงคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรี ยน

< ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6


จะได้ควอร์ไทล์ที่ 2 หาควอร์ไทล์
ห้อง ม. 3/1 จากน้อยไปมากได้เป็นอย่างไร [26 27 30 32 34 35 39]
 ห า มั ธยฐา น ข องข้ อมู ล เฉพ า ะ 2. ใบกิจกรรม 2 :
 มัธยฐาน คือ ค่าค่าหนึ่งของซึ่งเมื่อเรียงข้อมูลจากน้อยไปมากหรือจากมากไปน้อย
ข้ อ มู ล ที่ อ ยู่ ใ น ล า ดั บ ที่ ต่ า ก ว่ า สมมุติว่าฉันเป็นครู
แล้ ว จ านวนข้ อ มู ล ที่ น้ อ ยกว่ า หรื อ เท่ า กั บ ค่ า นั้ น และจ านวนของข้ อ มู ล
ควอร์ ไ ทล์ ที่ 2 จะได้ มั ธ ยฐา น
ที่มากกว่าหรือเท่ากับค่านั้น จะมีปริมาณเท่า ๆ กัน ในที่นี้ มัธยฐานของคะแนนสอบ
ดังกล่าวเป็นควอร์ไทล์ที่ 1
วิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้อง ม.3/1 เป็นเท่าไร [32 คะแนน]
 เรี ยงคะแนนสอบวิชาคณิต ศาสตร์ ข องนักเรี ยนห้อง ม.3/2 จากน้อยไปมาก
ได้เป็นอย่างไร [10 16 26 33 34 36 39 41]

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 8


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.1 ภารกิจ พิชิตกล่อง เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
 ห า มั ธยฐา น ข องข้ อมู ล เฉพ า ะ  ข้ อ มู ล ชุ ด นี้ สามารถบอกมั ธ ยฐานได้ ทั น ที เหมื อนข้ อ มู ล ชุ ด แรกหรื อ ไม่ ชั่วโมงที่ 3
ข้ อ มู ล ที่ อ ยู่ ใ น ล า ดั บ ที่ สู ง ก ว่ า เพราะอะไร [ไม่สามารถบอกได้ทันที เพราะไม่มีข้อมูลที่อยู่ตาแหน่งกึ่งกลางพอดี] 1. แบบฝึกหัด 2 :
ควอร์ ไ ทล์ ที่ 2 จะได้ มั ธ ยฐา น  ถ้าเราจะหามัธยฐานของข้ อมู ลชุดนี้ จะทาได้อย่างไร [หาค่าเฉลี่ยของข้ อ มู ล สร้างแผนภาพกล่อง
ดังกล่าวเป็นควอร์ไทล์ที่ 3 สองตัวที่อยู่ตรงกลาง โดยนาข้อมูลทั้งสองตัวนั้นมารวมกัน แล้วหารด้วย 2] 2. อุปกรณ์กิจกรรม
3. แผนภาพกล่อง (box plot) เป็นการ  มัธยฐานของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้อง ม.3/2 เป็นเท่าไร ถามมาสร้างกล่อง
น าเสนอข้ อ มู ล ทางสถิ ติ รู ป แบบหนึ่ ง [33.5 คะแนน]  ใบกิจกรรม 3 :
ที่ ช่ ว ยให้ เ ห็ น ภาพและเข้ า ใจข้ อ มู ล ถามมาสร้างกล่อง
เชิ ง ปริ ม าณได้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น โดยเฉพาะ ขั้นสอน  สายวัดตัว
การกระจายของข้อมูล 2. จากการหามัธยฐานของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้อง ม.3/2 ในขั้นนา  นาฬิกาสาหรับ
4. การสร้ า งแผนภาพกล่ อ ง ต้ อ งอาศั ย ครูถามคาถามนักเรียนเพิ่มเติม ประกอบกับการเขียนอธิบายบนกระดาน เพื่อนาไปสู่
จับเวลา
ค่ า ส าคั ญ 5 ค่ า คื อ ค่ า ต่ า สุ ด ของ ความเข้าใจเกี่ยวกับควอร์ไทล์ ดังนี้
ข้ อมู ล ค่า สูงสุดของข้ อมู ล ควอร์ ไทล์  เมื่ อ เรี ย งข้ อ มู ล จากน้ อ ยไปมากแล้ ว จ านวนข้ อ มู ล ที่ อ ยู่ ใ นล าดั บ ที่ ต่ า กว่ า
ชิ้นงาน/ภาระงาน
ที่ 1 (Q1) ควอร์ ไทล์ที่ 2 (Q2) และ มัธยฐานของนักเรียนห้อง ม.3/2 มีกี่จานวน [4 จานวน]
1. ใบกิจกรรม 1 : ทานอะไรดี
ควอร์ไทล์ที่ 3 (Q3)
ห้อง ม.3/2 : 41 10 16 33 36 39 26 34 ที่ไม่ใช่อะไรก็ได้
5. วิธีการสร้างแผนภาพกล่อง ทาได้โดย 2. แบบฝึกหัด 1 :
ข้อมูลที่เรียงลาดับแล้ว
 เรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก
10 16 26 33 34 36 39 41 หาควอร์ไทล์
 หาค่า ต่า สุดของข้ อมู ล ค่า สูงสุด
3. ใบกิจกรรม 2 :
ของข้ อ มู ล ควอร์ ไ ทล์ ที่ 1 (Q1) มัธยฐาน = 33.5
สมมุติว่าฉันเป็นครู
ควอร์ไทล์ที่ 2 (Q2) และควอร์ไทล์  ถ้า หามั ธยฐานใหม่ อีกครั้ งหนึ่ง จากข้ อมู ลที่อยู่ในลาดับที่ต่ากว่ามัธยฐานของ

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 >


ที่ 3 (Q3) ข้อมูลทั้งหมด มัธยฐานใหม่นี้จะอยู่ระหว่างข้อมูลใด [ระหว่าง 16 กับ 26]

9
ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 9
10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.1 ภารกิจ พิชิตกล่อง เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
 น าค่ า ส าคั ญ ทั้ ง ห้ า ค่ า มาลงจุ ด 4. แบบฝึกหัด 2 :
ห้อง ม.3/2 : 41 10 16 33 36 39 26 34
เหนือเส้นในแนวนอนที่มีสเกล สร้างแผนภาพกล่อง
ข้อมูลที่เรียงลาดับแล้ว
 สร้ า งกล่ อ งรู ป สี่ เ หลี่ ย มมุ ม ฉาก 5. ใบกิจกรรม 3 :
10 16 26 33 34 36 39 41
โดยให้ขอบด้านซ้ายและด้านขวา ถามมาสร้างกล่อง
ของกล่ อ งตรงกั บ ต าแหน่ ง ที่เป็ น มัธยฐาน = 33.5
Q1 และ Q3 ตามลาดับ มัธยฐานของข้อมูลในลาดับที่ต่ากว่า การวัดและประเมินผล
 ลากเส้ น ภายในกล่ อ งที่ ต รงกั บ มัธยฐานของข้อมูลทั้งหมด
1. ต ร ว จ ใ บ กิ จ ก ร ร ม 1
ตาแหน่งที่เป็น Q2
โ ด ย เ รี ย ง ล า ดั บ ข้ อ มู ล
 สร้างวิสเกอร์ โดยลากเส้นจากจุด  มัธยฐานใหม่นี้ จะแบ่งข้อมูลที่อยู่ในลาดับที่ต่ากว่ามัธยฐานของข้อมูลทั้งหมด
ในตอนที่ 1 และเขี ยน
ที่ต รงกับ Q1 ไปยังจุดที่ต รงกั บ ออกเป็น 2 ส่วนเท่า ๆ กัน คือส่วนละกี่จานวน [2 จานวน]
บอกค วอร์ ไท ล์ ทั้ ง ส า ม
ค่า ต่า สุดของข้ อมูล และลากเส้น  มั ธ ยฐานของข้ อ มู ล ที่ อ ยู่ ใ นล า ดั บ ที่ สู ง กว่ า มั ธยฐาน ของข้ อ มู ลทั้ งห ม ด
ในตอนที่ 2 ได้ถูกต้อง
จากจุ ด ที่ ต รงกั บ Q3 ไปยั ง จุดที่ จะอยู่ระหว่างข้อมูลใด [ระหว่าง 36 กับ 3]
2. ต ร ว จ แ บ บ ฝึ ก หั ด 1

< ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6


ตรงกับค่าสูงสุดของข้อมูล ห้อง ม.3/2 : 41 10 16 33 36 39 26 34
โดยตอบได้ ถู กต้ อง 2 ข้ อ
ข้อมูลที่เรียงลาดับแล้ว
จาก 3 ข้อ
10 16 26 33 34 36 39 41
3. ต ร ว จ ใ บ กิ จ ก ร ร ม 2
โดยตอบคาถามและ
มัธยฐาน = 33.5
เ รี ย ง ล า ดั บ ขั้ น ต อ น
มัธยฐานของข้อมูลในลาดับที่ต่ากว่า มัธยฐานของข้อมูลในลาดับที่สูงกว่า
การสร้างได้ถูกต้องทั้งหมด
มัธยฐานของข้อมูลทั้งหมด มัธยฐานของข้อมูลทั้งหมด

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 10


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.1 ภารกิจ พิชิตกล่อง เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
จุดประสงค์การเรียนรู้  มัธยฐานใหม่นี้ จะแบ่งข้อมูลที่อยู่ในลาดับที่สูงกว่ามัธยฐานของข้อมูลทั้งหมด 4. ต ร ว จ แ บ บ ฝึ ก หั ด 2
ด้านความรู้ ออกเป็น 2 ส่วนเท่า ๆ กัน คือส่วนละกี่จานวน [2 จานวน] โดยตอบคาถามและสร้าง
นักเรียนสามารถ  ในขณะนี้ ข้อมูลถูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วนเท่า ๆ กัน ข้อมูลในแต่ละส่วนคิดเป็น แผนภาพกล่องได้ถูกต้อง
1. อธิบายความหมายของควอร์ไทล์ กี่เปอร์เซ็นต์ของข้อมูลทั้งหมด [25%] 5. ต ร ว จ ใ บ กิ จ ก ร ร ม 3
2. หาควอร์ไทล์ของข้อมูลที่กาหนดให้ 3. ครู แนะนาให้นักเรี ยนรู้ จักควอร์ ไ ทล์ ซึ่งแบ่งข้ อมู ลออกเป็ น 4 ส่วนเท่า ๆ กัน จากนั้น โดยตอบคาถามและสร้าง
3. เขี ย น หรื อ อธิ บ ายวิ ธี ก ารน าเสนอ ครูอธิบายความหมายของควอร์ ไทล์ โดยเขี ยนภาพประกอบการอธิบายทีละควอร์ ไทล์ แผนภาพกล่องได้ถูกต้อง
ด้วยแผนภาพกล่อง บนกระดาน ดังนี้
 ควอร์ ไ ทล์ ที่ 1 หรื อ Q1 เป็ น ค่ า ณ ต าแหน่ ง ที่ แ บ่ ง ข้ อ มู ล แล้ ว ท าให้ ข้ อ มู ล
ด้านทักษะและกระบวนการ ที่มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับค่านี้ มีอยู่ประมาณ 25% ของจานวนข้อมูลทั้งหมด
นักเรียนสามารถ  ควอร์ ไ ทล์ ที่ 2 หรื อ Q2 เป็ น ค่ า ณ ต าแหน่ ง ที่ แ บ่ ง ข้ อ มู ล แล้ ว ท าให้ ข้ อ มู ล
1. เชื่อมโยงความรู้เรื่องมัธยฐาน มาใช้ ที่มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับค่านี้ มีอยู่ประมาณ 50% ของจานวนข้อมูลทั้งหมด
ในการหาควอร์ไทล์  ควอร์ ไ ทล์ ที่ 3 หรื อ Q3 เป็ น ค่ า ณ ต าแหน่ ง ที่ แ บ่ ง ข้ อ มู ล แล้ ว ท าให้ ข้ อ มู ล
2. น าเสนอข้ อ มู ล ที่ ก าหนดให้ ในรู ป ที่มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับค่านี้ มีอยู่ประมาณ 75% ของจานวนข้อมูลทั้งหมด
แผนภาพกล่อง

ด้านคุณลักษณะ
1. นั ก เรี ย นมี ค วามใฝ่ เ รี ย นรู้ และ
กระตือรือร้น ในการแสวงหาความรู้
2. นักเรียนมีความมุ่งมั่น และไม่ย่อท้อ

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 >


ในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

11
ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 11
12
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.1 ภารกิจ พิชิตกล่อง เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
สมรรถนะที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน 4. ครูให้นักเรียนทากิจกรรมทานอะไรดี ที่ไม่ใช่อะไรก็ได้ เพื่อให้นักเรียนเข้าใจความหมาย
1. การจัดการตนเอง โดยการควบคุม ของควอร์ไทล์มากยิ่งขึ้น โดยมีขั้นตอนการทากิจกรรมดังนี้
และก ากั บ ตนเองในการใช้ ค วามรู้ 1) ครู ให้นักเรียนศึกษาข้อมูลพลังงานที่ร่างกายจะได้รับ เมื่ อรั บประทานอาหาร
เรื่ องควอร์ ไทล์ เพื่ อสร้ างแผนภาพ แต่ละชนิด จากใบกิจกรรม 1 : ทานอะไรดี ที่ไม่ใช่อะไรก็ได้ แล้วเลือกรายการ
กล่อง อาหารที่ตนเองชื่นชอบ 7 ชนิด และเรียงลาดับพลังงานที่ได้รับ เมื่อรับประทาน
2. การสื่ อ สาร โดยอธิ บ าย ผ่ า นการ อาหารที่เลือกนั้น โดยบันทึกข้อมูลลงในใบกิจกรรม 1 ตอนที่ 1
เขี ย นหรื อ พู ด ในการสื่ อ ความเพื่ อ 2) ครู แจกแถบกระดาษ 7 ช่อง ให้นั กเรี ยนคนละ 1 ชิ้น แล้วให้นักเรี ยนบันทึก
แ ส ด ง ถึ ง ค ว า ม เ ข้ า ใ จ เ กี่ ย ว กั บ ข้อมูลพลังงานที่ได้รับ เมื่อรับประทานอาหารที่เลือก ตามลาดับจากน้อยไปมาก
ควอร์ ไ ทล์ รวมถึ ง การน าเสนอ ลงในแถบกระดาษ 7 ช่อง โดยบันทึกช่องละ 1 ข้อมูล
ข้อมูลด้วยแผนภาพกล่อง 3) ครู ใ ห้ นั ก เรี ย นพั บ ครึ่ ง แถบกระดาษสองทบ แล้ ว คลี่ แ ถบกระดาษออกมา
3. ก า ร ร ว ม พ ลั ง ท า ง า น เ ป็ น ที ม และชี้ให้นักเรียนสังเกตว่า แถบกระดาษจะปรากฏรอยพับ 3 รอย ซึ่งแคลอรี
โดยร่วมกันทากิจกรรมถามมาสร้าง ของอาหารที่ อ ยู่ ต รงกั บ รอยพั บ นั้ น จะเป็ น ค่ า ของควอร์ ไ ทล์ แ ต่ล ะต าแหน่ง

< ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6


ก ล่ อ ง โ ด ย ร่ ว ม กั น ว า ง แ ผ น เพราะรอยพับ 3 รอยนั้น แบ่งข้อมูลออกเป็น 4 ส่วนเท่า ๆ กัน
การทางาน แบ่งหน้า ที่ในการเก็บ 4) ครูให้นักเรียนติดแถบกระดาษ 7 ช่อง ลงในใบกิจกรรม 1 ตอนที่ 2 พร้อมทั้ง
รวบรวมข้ อ มู ล ร่ ว มกั น วิ เ คราะห์ เขียนลูกศรเพื่อชี้บอกตาแหน่งของ Q1 , Q2 และ Q3
ข้ อ มู ล และน าเสนอข้ อ มู ล ด้ ว ย ทั้งนี้ ในระหว่างที่นักเรียนทากิจกรรม ครูควรหมั่นสังเกตนักเรียนว่าต้องการ
แผนภาพกล่องตามภารกิจที่กาหนด ค ว า ม ช่ ว ย เ ห ลื อ เ รื่ อ ง ใ ด ร ว ม ถึ ง ค อ ย ใ ห้ ค า แ น ะ น า เ มื่ อ เ ห็ น ว่ า นั ก เ รี ยน
เริ่มมีความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 12


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.1 ภารกิจ พิชิตกล่อง เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
5. ค รู เ ลื อ ก นั ก เ รี ย น 1 ค น ใ ห้ บ อ ก ข้ อ มู ล พ ลั ง ง า น จ า ก อ า ห า ร 7 ช นิ ด ที่ เ ลื อ ก
(ข้ อ มู ล ที่ เ รี ย งล าดั บ จากน้ อ ยไปมากแล้ ว ) แล้ ว ครู บั น ทึ ก ข้ อ มู ล นั้ น บนกระดาน 2 ฝั่ ง
(เขี ยนข้อมูลเดียวกันทั้งสองฝั่ง) จากนั้น ครู เลือกข้ อมู ลมาเพิ่ม อีก 4 ข้ อมู ล โดยเป็น
ข้อมูลที่ทาให้ได้ควอร์ไทล์ไม่เปลี่ยนแปลง แล้วเขียนเติมบนกระดานฝั่งหนึ่ง และเลือก
ข้ อมู ลอีก 4 ข้ อมู ล ซึ่งเป็ นข้ อมู ลที่ทาให้ได้ค่า ของควอร์ ไทล์เปลี่ยนไป แล้วเขี ยนเติม
บนกระดานอี ก ฝั่ ง หนึ่ ง แล้ ว ชี้ ใ ห้ นั ก เรี ย นเห็ น ว่ า การเพิ่ ม ข้ อ มู ล เข้ า ไปในข้ อ มู ล เดิ ม
อาจทาให้ค่าของควอร์ไทล์นั้นคงเดิม หรือเปลี่ยนแปลงไปก็ได้ ขึ้นอยู่กับข้อมูลที่เพิ่มเข้ามา
6. ครูอธิบายการหาควอร์ไทล์ โดยใช้ความรู้ในเรื่องมัธยฐานของข้อมูล ดังนี้
จากที่เราทราบมาแล้วว่า ค่าของควอร์ไทล์ได้มาจากการแบ่งข้อมูลที่เรียงลาดับจาก
น้ อ ยไปมากออกเป็ น 4 ส่ ว นเท่ า ๆ กั น โดยเราจะเรี ย กค่ า ณ ต าแหน่ ง ที่ แ บ่ ง ข้ อมู ล
แต่ละส่วนว่า ควอร์ไทล์ที่ 1 หรือ Q1 ควอร์ไทล์ที่ 2 หรือ Q2 และควอร์ไทล์ที่ 3 หรือ
Q3 ดังนั้น เราจึงสามารถนาความรู้เรื่องมัธยฐานมาใช้ในการหาควอร์ไทล์ได้
7. ครู อธิบายขั้ น ตอนการหาควอร์ ไทล์ โดยเขี ยนภาพประกอบการอธิ บายบนกระดาน
ทีละขั้นตอน ดังนี้
 เรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก
 หามัธยฐานของข้อมูล จะได้ควอร์ไทล์ที่ 2 (Q2)
 หามัธยฐานของข้อมูลเฉพาะข้อมูลที่อยู่ในลาดับที่ต่ากว่าควอร์ไทล์ที่ 2
จะได้มัธยฐานดังกล่าวเป็นควอร์ไทล์ที่ 1 (Q1)
 หามัธยฐานของข้อมูลเฉพาะข้อมูลที่อยู่ในลาดับที่สูงกว่าควอร์ไทล์ที่ 2

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 >


13
ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 13
14
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.1 ภารกิจ พิชิตกล่อง เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
จะได้มัธยฐานดังกล่าวเป็นควอร์ไทล์ที่ 3 (Q3)

ขั้นสรุป
8. ครูและนักเรียนร่วมกันเกี่ยวกับความหมายของควอร์ไทล์ต่าง ๆ ดังนี้
 ควอร์ ไ ทล์ ที่ 1 หรื อ Q1 เป็ น ค่ า ณ ต าแหน่ ง ที่ แ บ่ ง ข้ อ มู ล แล้ ว ท าให้ ข้ อ มู ล
ที่มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับค่านี้ มีอยู่ประมาณ 25% ของจานวนข้อมูลทั้งหมด
 ควอร์ ไ ทล์ ที่ 2 หรื อ Q2 เป็ น ค่ า ณ ต าแหน่ ง ที่ แ บ่ ง ข้ อ มู ล แล้ ว ท าให้ ข้ อ มู ล

< ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6


ที่มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับค่านี้ มีอยู่ประมาณ 50% ของจานวนข้อมูลทั้งหมด
 ควอร์ ไ ทล์ ที่ 3 หรื อ Q3 เป็ น ค่ า ณ ต าแหน่ ง ที่ แ บ่ ง ข้ อ มู ล แล้ ว ท าให้ ข้ อ มู ล
ที่มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับค่านี้ มีอยู่ประมาณ 75% ของจานวนข้อมูลทั้งหมด

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 14


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.1 ภารกิจ พิชิตกล่อง เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ชั่วโมงที่ 2
ขั้นนา
1. ครูทบทวนความหมายของควอร์ไทล์ และขั้นตอนการหาควอร์ไทล์ โดยใช้คาถามต่อไปนี้
 ค่า ณ ตาแหน่งที่แบ่งข้อมูลออกเป็น 4 ส่วน เท่า ๆ กัน เรียกว่าอะไร [ควอร์ไทล์]
 ควอร์ไทล์ที่ 2 แบ่งข้อมูลออกเป็นกี่ส่วนเท่า ๆ กัน และคิดเป็นข้ อมูลส่วนละ
ประมาณกี่ เ ปอร์ เ ซ็ นต์ ข องจ านวนข้ อ มู ล ทั้ งหมด [2 ส่ ว นเท่ า ๆ กั น คิ ด เป็ น
ส่วนละประมาณ 50%]
 เ ร า จ ะ ห า ค ว อ ร์ ไ ทล์ ที่ 2 ไ ด้ อ ย่ า ง ไ ร [ ห า มั ธ ย ฐ า น ข อ ง ข้ อ มู ลทั้ งห ม ด
จะได้ควอร์ไทล์ที่ 2]
 ควอร์ไทล์ที่ 1 เป็นค่า ณ ตาแหน่งที่แบ่งข้อมูล แล้วทาให้ข้อมูลที่มีค่าน้อยกว่า
หรื อ เท่ า กั บ ค่ า นี้ มี อ ยู่ ป ระมาณกี่ เ ปอ ร์ เ ซ็ น ต์ ข องจ านวนข้ อ มู ล ทั้ ง หมด
[ประมาณ 25%]
 เราจะหาควอร์ ไ ทล์ ที่ 1 ได้ อ ย่ า งไร [หามั ธ ยฐานของข้ อ มู ล เฉพาะข้ อ มู ล
ที่อยู่ในลาดับที่ต่ากว่าควอร์ไทล์ที่ 2 จะได้ควอร์ไทล์ที่ 1]
 ควอร์ไทล์ที่ 3 เป็นค่า ณ ตาแหน่งที่แบ่งข้อมูล แล้วทาให้ข้อมูลที่มีค่าน้อยกว่า
หรื อ เท่ า กั บ ค่ า นี้ มี อ ยู่ ป ระมาณกี่ เ ปอร์ เ ซ็ น ต์ ของจ านวนข้ อ มู ล ทั้ ง หมด
[ประมาณ 75%]
 เราจะหาควอร์ ไ ทล์ ที่ 3 ได้ อ ย่ า งไร [หามั ธ ยฐานของข้ อ มู ล เฉพาะข้ อ มู ล
ที่อยู่ในลาดับที่สูงกว่าควอร์ไทล์ที่ 2 จะได้ควอร์ไทล์ที่ 3]

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 >


15
ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 15
16
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.1 ภารกิจ พิชิตกล่อง เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ทั้งนี้ ครูอาจวาดภาพประกอบการทบทวน ดังนี้

ขั้นสอน
2. ครูให้นักเรียนฝึกหาควอร์ไทล์ โดยใช้แบบฝึกหัด 1 : หาควอร์ไทล์ สาหรับแบบฝึกหัด
ข้อที่ 1 ครูให้นักเรียนช่วยกันทาในชั้นเรียน โดยครูใช้คาถามเพื่อชี้แนะดังนี้
 ในการหาควอร์ ไ ทล์ ต้ อ งเริ่ ม จากการท าสิ่ ง ใดกั บ ข้ อ มู ล [เรี ย งล าดั บ ข้ อ มู ล

< ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6


จากน้อยไปมาก]
 ข้อที่ 1 นักเรียนเรียงลาดับข้อมูลจากน้อยไปมากได้เป็นอย่างไร
[2 3 4 5 5 9 12]
 นักเรียนจะหาควอร์ไทล์ที่ 2 ได้จากอะไร [มัธยฐานของข้อมูลทั้งหมด]
 ข้อมูลชุดนี้มีทั้งหมดกี่จานวน [7 จานวน]
 เราบอกควอร์ไทล์ที่ 2 ได้ทันทีหรือไม่ หรือต้องหาค่าเฉลี่ยของข้อมูลที่อยู่ตรงกลาง
เพราะอะไร [บอกได้ทันที เพราะข้อมูลที่อยู่ตรงกลางมีเพียงข้อมูลเดียว]
 ควอร์ไทล์ที่ 2 เท่ากับเท่าไร [5]
ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 16
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.1 ภารกิจ พิชิตกล่อง เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า ในกรณีที่ค่าของควอร์ไทล์ที่ 2 หรือมัธยฐานของข้อมูล
ทั้ ง หมด เป็ น ข้ อ มู ล ที่ อ ยู่ ใ นชุ ด ข้ อ มู ล นี้ เมื่ อ เราจะหาค่ า ของควอร์ ไ ทล์ ที่ 1
และค่าของควอร์ไทล์ที่ 3 เราจะไม่นาค่าของควอร์ไทล์ที่ 2 มาพิจารณาด้วย โดยครู
อาจเขียนบนกระดาน เพื่อให้นักเรียนเห็นภาพมากขึ้น ดังนี้

2 3 4 5 5 9 12

Q2 = 5

Q1 = 3 Q3 = 9

ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 1 : หาควอร์ไทล์ อีกสองข้อที่เหลือ โดยเน้นย้าว่า


ในกรณีที่จานวนข้อมูลเป็นจานวนคู่ จะต้องนาข้อมูลคู่ที่อยู่ตรงกลางมาหาค่าเฉลี่ย
จึ ง จะได้ เ ป็ นมั ธยฐานของข้ อ มู ล ชุ ด นั้น ในขณะที่ นัก เรี ย นท าแบบฝึ ก หัด ครู ค วร
หมั่ น สังเกตนั กเรี ยนว่า ต้องการความช่วยเหลือเรื่ องใด รวมถึงคอยให้ค าแนะนา
เมื่อเห็นว่านักเรียนเริ่มมีความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน
3. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัด 1 โดยครูอาจสุ่มนักเรียนโดยครูอาจสุ่มนักเรียน
เพื่อเฉลยในแต่ละข้อ
4. ครูแนะนาแผนภาพกล่องและส่วนประกอบต่าง ๆ และชวนให้นักเรียนสังเกตลักษณะ

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 >


ของแผนภาพกล่อง โดยเขียนภาพแผนภาพกล่องบนกระดาน แล้วใช้คาถามต่อไปนี้

17
ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 17
18
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.1 ภารกิจ พิชิตกล่อง เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
กล่อง

วิสเกอร์ วิสเกอร์

 แผนภาพกล่องจะมีตัวกล่องที่เป็นลักษณะอย่างไร [รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 2 รูปต่อกัน]


 นอกจากตัว กล่ อ งแล้ ว นั ก เรี ย นสั งเกตเห็น อะไรอี กบ้ า ง [เส้ น ตรงที่ล ากจาก
ตัวกล่องไปยังค่าต่าสุด และค่าสูงสุด เส้นสเกล จุดที่แสดงข้อมูล 5 ข้อมูล]
5. ครูอธิบายองค์ประกอบของแผนภาพกล่องจากภาพที่เขียนไว้บนกระดาน ดังนี้
 ตัวกล่องจะข้ อมู ลที่ อยู่ ร ะหว่า งต าแหน่ ง ของควอร์ ไทล์ที่ 1 กับควอร์ ไทล์ที่ 3

< ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6


ซึ่งมีข้อมูลคิดเป็นประมาณ 50% ของจานวนข้อมูลทั้งหมด
 เส้นที่อยู่ภายในกล่องจะแสดงตาแหน่งของ Q2 ซึ่งหาได้จากมัธยฐานของข้อมูล
ทั้งหมด
 เส้ น ที่ ล ากจาก Q1 ไปยั ง ค่ า ต่ า สุ ด ของข้ อ มู ล และเส้ น ที่ ล ากจาก Q3
ไปยังค่าสูงสุดของข้อมูล แต่ละเส้นเรียกว่า วิสเกอร์ ซึ่งแปลว่าหนวด
 วิ ส เกอร์ แ ต่ ล ะเส้ น จะแสดงการกระจายของข้ อ มู ล ซึ่ ง มี อ ยู่ ป ระมาณ 25%
ของจานวนข้อมูลทั้งหมด

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 18


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.1 ภารกิจ พิชิตกล่อง เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
6. ครูใช้คาถามเพื่อนาเข้าสู่วิธีการสร้างแผนภาพกล่องดังนี้
 ในการสร้ างแผนภาพกล่อง เราจะต้องหาค่าสาคัญห้าค่า ก่อนเสมอ นักเรียน
คิดว่าค่าสาคัญทั้งห้า คือค่าใด [ค่าต่าสุด Q1 Q2 Q3 และค่าสูงสุด]
จากนั้ น ครู อ ธิ บ ายขั้ น ตอนและวิ ธี ก ารสร้ า งแผนภาพกล่ อ ง โดยวาดภาพ
ประกอบการอธิบายบนกระดาน ดังนี้
ขั้นที่ 1 เรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก
ขั้นที่ 2 หาค่าต่าสุดของข้อมูล ค่าสูงสุดของข้อมูล ควอร์ไทล์ที่ 2
ควอร์ไทล์ที่ 1 และควอร์ไทล์ที่ 3
ขั้นที่ 3 นาค่าที่หาได้ในขั้นที่ 2 มาลงจุดเหนือเส้นในแนวนอนที่มสี เกล
ค่าต่าสุด Q1 Q2 Q3 ค่าสูงสุด
    

ขั้นที่ 4 สร้ า งกล่องรู ป สี่เหลี่ยมมุ ม ฉากโดยให้ข อบด้ า นซ้า ยและด้า นขวา


ของกล่องตรงกับตาแหน่งที่เป็น Q1 และ Q3 ตามลาดับ จากนั้น
ลากเส้นภายในกล่องที่ตรงกับตาแหน่งที่เป็น Q2

    

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 >


19
ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 19
20
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.1 ภารกิจ พิชิตกล่อง เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ขั้นที่ 5 สร้างวิสเกอร์ โดยลากเส้นจากจุดที่ตรงกับ Q1 ไปยังจุดที่ตรงกับ
ค่ า ต่ า สุ ด ของข้ อ มู ล และลากเส้ น จากจุ ด ที่ ต รงกั บ Q3 ไปยั ง
จุดที่ตรงกับค่าสูงสุดของข้อมูล

    

7. ครูอธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนสังเกตว่า ช่วงห่างจากค่าต่าสุด ถึง Q1 จาก Q1 ถึง Q2


จาก Q2 ถึง Q3 และจาก Q3 ถึง ค่าสูงสุด ช่วงห่างแต่ละช่วงนั้น ไม่จาเป็นต้องเท่ากัน
8. ครูยกตัวอย่างการสร้างแผนภาพกล่อง โดยเขียนบนกระดานประกอบกับการใช้คาถาม
เพื่ออธิบายตัวอย่าง ดังนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงสร้างแผนภาพกล่องจากข้อมูลต่อไปนี้

< ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6


42 12 24 20 38 6 14 38 28 16
วิธีทา เรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก ได้ดังนี้
6 12 14 16 20 24 28 38 38 42
หาค่าต่าสุด ค่าสูงสุด Q2 Q1 และ Q3
จะได้ ค่าต่าสุด = 6
ค่าสูงสุด = 42
20 + 24
Q2 = = 22
2

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 20


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.1 ภารกิจ พิชิตกล่อง เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
Q1 = 14
Q3 = 38
เขียนแผนภาพกล่องได้ดังนี้

    

2 6 10 14 18 22 26 30 34 38 42 46 50

ครูใช้คาถามเพื่อให้นักเรียนคิดตามในระหว่างที่เขียนแสดงดังนี้
 จากข้อมูลที่กาหนดให้ เรียงข้อมูลจากน้อยไปมากได้เป็นอย่างไร
[6 12 14 16 20 24 28 38 38 42]
 ค่าต่าสุดของข้อมูลชุดนี้เป็นเท่าไร [6]
 ค่าสูงสุดของข้อมูลชุดนี้เป็นเท่าไร [42]
 ควอร์ไทล์ที่ 2 เป็นเท่าไร [22]
 ควอร์ไทล์ที่ 1 เป็นเท่าไร [14]
 ควอร์ไทล์ที่ 3 เป็นเท่าไร [38]
 ในการเขี ย นแผนภาพกล่ อ ง เมื่ อ มี เ ส้ น สเกลแล้ ว ต้ อ งท าอย่ า งไรต่ อ
[ลงจุดเหนือเส้นตามค่าสาคัญห้าค่าที่หาได้]
 เราจะเขียนกล่องให้คลุมค่าสาคัญตั้งแต่ค่าใดถึงค่าใด

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 >


[ควอร์ไทล์ที่ 1 ถึง ควอร์ไทล์ที่ 3 หรือข้อมูลตั้งแต่ 14 ถึง 38]

21
ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 21
22
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.1 ภารกิจ พิชิตกล่อง เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
 ลากเส้นภายในกล่องที่ตาแหน่งใด [ควอร์ไทล์ที่ 2 หรือ 22]
 ลากวิสเกอร์จากข้อมูลใดถึงข้อมูลใดบ้าง
[ลากจาก 6 ถึง 14 และจาก 38 ถึง 42]
9. ครูนักเรียนทาใบกิจกรรม 2 : สมมุติว่าฉันเป็นครู เพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับ
การสร้างแผนภาพกล่อง จากนั้น ครูให้นักเรียนช่วยกันบอกคาตอบที่ได้

ขั้นสรุป
10. ครูนานักเรียนสรุปบทเรียนเกีย่ วกับขั้นตอนการสร้างแผนภาพกล่อง ดังนี้
ขั้นที่ 1 เรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก
ขั้ น ที่ 2 หาค่ า ต่ า สุ ด ของข้ อ มู ล ค่ า สู ง สุ ด ของข้ อ มู ล ควอร์ ไ ทล์ ที่ 2
ควอร์ไทล์ที่ 1 และควอร์ไทล์ที่ 3
ขั้นที่ 3 นาค่าที่หาได้ในขั้นที่ 2 มาลงจุดเหนือเส้นในแนวนอนที่มีสเกล

< ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6


ขั้ น ที่ 4 สร้ า งกล่ อ งรู ป สี่ เ หลี่ ย มมุ ม ฉากโดยให้ ข อบด้ า นซ้ า ยและด้ า นขวา
ของกล่องตรงกับต าแหน่ งที่ เป็ น Q1 และ Q3 ตามลาดับ จากนั้น
ลากเส้นภายในกล่องที่ตรงกับตาแหน่งที่เป็น Q2
ขั้นที่ 5 สร้ า งวิส เกอร์ โดยลากเส้น จากจุดที่ต รงกับ Q1 ไปยังจุดที่ต รงกับ
ค่ า ต่ า สุ ด ของข้ อ มู ล และลากเส้ น จากจุ ด ที่ ต รงกั บ Q3 ไปยั ง
จุดที่ตรงกับค่าสูงสุดของข้อมูล
ทั้งนี้ ครูอาจวาดภาพประกอบการสรุปเพื่อให้นักเรียนนึกภาพตามได้มากยิ่งขึ้น

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 22


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.1 ภารกิจ พิชิตกล่อง เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ชั่วโมงที่ 3
ขั้นนา
1. ครู ทบทวนการสร้า งแผนภาพกล่อง โดยให้นักเรี ยนท าแบบฝึกหัด 2 : สร้ า งแผนภาพ
กล่อง จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัด โดยครูอาจสุ่มนักเรียนเพื่อเฉลย
ในแต่ละขั้นตอน

ขั้นสอน
2. ครู แ บ่งนั กเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่ม ละ 4 – 5 คน แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม ช่วยกัน
ทากิจกรรมถามมาสร้างกล่อง ตามขั้นตอนต่อไปนี้
1) ใ ห้ นั ก เ รี ย น แต่ ล ะ กลุ่ ม เลื อ กภ า ร กิ จ 1 อ ย่ า ง เ พื่ อ เ ก็ บ ร ว บ ร วม ข้ อมู ล
ซึ่งภารกิจต่าง ๆ จะปรากฏอยู่ในใบกิจกรรม 3 : ถามมาสร้างกล่อง
ทั้งนี้ ครูควรแนะนาให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกภารกิจที่แตกต่างกัน เพื่อให้ได้
แผนภาพกล่องที่หลากหลาย
2) ให้ นั ก เรี ย นกลุ่ ม ที่ เ ลื อ กภารกิ จ ที่ 2 และ 3 รั บ นาฬิ ก าส าหรั บ จั บ เวลาและ
นักเรียนกลุ่มที่เลือกภารกิจที่ 4 รับสายวัดตัว
3) ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเก็บรวบรวมข้อมูลตามภารกิจที่เลือกจากเพื่อนในชั้นเรียน
4) ให้ นั ก เรี ย นน าข้ อ มู ล ที่ เ ก็ บ รวบรวมมาได้ น าเสนอด้ ว ยแผนภาพ กล่ อ ง
ตามขั้ น ตอนการสร้ า งแผนภาพกล่ อ ง โดยบั น ทึ ก ข้ อ มู ล ลงในใบกิ จ กรรม 2
ให้สมบูรณ์

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 >


23
ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 23
24
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.1 ภารกิจ พิชิตกล่อง เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ทั้งนี้ ในระหว่างที่นักเรียนแต่ละกลุ่มทากิจกรรม ครูควรหมั่นสังเกตนักเรียน
แต่ละกลุ่มว่าต้องการความช่วยเหลือเรื่องใด รวมถึงคอยให้คาแนะนา เมื่อเห็นว่า
นักเรียนเริ่มมีความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน หรือไม่ทราบว่าจะต้องทากิจกรรมอย่างไร
3. ครูให้ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอข้อมูลในประเด็นต่อไปนี้
 ภารกิจที่เลือก
 ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้
 ค่าสาคัญห้าค่าของแผนภาพกล่อง
 แผนภาพกล่องที่ได้

ขั้นสรุป
4. ครูนานักเรียนสรุป บทเรียนเกี่ยวกับแผนภาพกล่อง โดยอาจสุ่มให้นักเรียนช่วยอธิบาย
สรุปในประเด็นต่าง ๆ ดังนี้

< ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6


แผนภาพกล่อง เป็ นการนาเสนอข้ อมูลทางสถิติ รูป แบบหนึ่ง ที่ช่วยให้ เข้าใจ
ข้อมูลเชิงปริมาณได้ดียิ่งขึ้น โดยการสร้างแผนภาพกล่อง ต้องอาศัยค่าสาคัญ
ห้าค่า คือ ค่าต่าสุดของข้อมูล ค่าสูงสุดของข้อมูล ควอร์ไทล์ที่ 1 ควอร์ไทล์ที่ 2
และควอร์ไทล์ที่ 3 ซึ่งการหาควอร์ไทล์ทั้งสาม สามารถทาได้โดยใช้ความรู้เรื่อง
มัธยฐาน

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 24


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.1 ภารกิจ พิชิตกล่อง เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
 การสร้างแผนภาพกล่อง ทาได้โดย
o เรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก
o หาค่าต่าสุดของข้อมูล ค่าสูงสุดของข้อมูล Q2 Q1 และ Q3
o นาค่าสาคัญทั้งห้าค่า มาลงจุดเหนือเส้นในแนวนอนที่มสี เกล
o สร้ า งกล่ อ งรู ป สี่ เ หลี่ ย มมุ ม ฉาก โดยให้ ข อบด้ า นซ้ า ยและด้ า นขวา
ของกล่องตรงกับตาแหน่งที่เป็น Q1 และ Q3 ตามลาดับ
o ลากเส้นภายในกล่องที่ตรงกับตาแหน่ง Q2
o สร้ า งวิ ส เกอร์ โดยลากเส้ น จากจุ ด ที่ ต รงกั บ Q1 ไปยั ง จุ ด ที่ ต รงกั บ
ค่ า ต่ า สุ ด ของข้ อ มู ล และลากเส้ น จากจุ ด ที่ ต รงกั บ Q3 ไปยั ง
จุดที่ตรงกับค่าสูงสุดของข้อมูล

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 >


25
ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 25
26
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.2 ไม่ประมาท การ์ดอย่าตก เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งเรียนรู้
แผนภาพกล่ อ ง เป็ น แผนภาพที่ แ สดง ชั่วโมงที่ 4 ชั่วโมงที่ 4
การกระจายของข้ อมูล ซึ่งการอ่านแผนภาพ ขั้นนา 1. แบบฝึ ก หั ด 3 : การอ่า น
กล่องทาให้เราทราบค่าต่าสุด ควอร์ไทล์ที่ 1 1. ครู ท บทวนเกี่ ย วกั บ องค์ ป ระกอบของแผนภาพกล่ อ ง และน าเข้ า สู่ เ รื่ อ งการอ่ า น และแปลความหมาย
ควอร์ไทล์ที่ 2 ควอร์ไทล์ที่ 3 รวมถึงค่าสูงสุดได้ และแปลความหมายข้ อมูลจากแผนภาพกล่อง โดยเขี ยนแผนภาพกล่องบนกระดาน แผนภาพกล่อง
และเนื่ องจากควอร์ ไ ทล์ ทั้ ง สามแบ่ ง ข้ อ มู ล แล้วใช้คาถามต่อไปนี้ ชั่วโมงที่ 5
ออกเป็ น 4 ส่ ว นเท่ า ๆ กั น ท าให้ ข้ อ มู ล 1. บัต รภาพแผนภาพกล่ อ ง
กล่อง
ในแต่ ล ะช่ ว งของแผนภาพกล่ อ งคิ ด เป็ น แสดงยอดผู้ติดเชื้อโควิด 19
ประมาณ 25% ของจ านวนข้ อมู ลทั้ ง หมด 2. ใบกิจกรรม 4 : ไม่ประมาท
วิสเกอร์ วิสเกอร์
ดั ง นั้ น หากตั ว กล่ อ งหรื อ วิ ส เกอร์ ที่ สั้ น กว่ า การ์ดอย่าตก
จ ะ แ ป ล ค ว า ม ไ ด้ ว่ า ข้ อ มู ล ใ น ช่ ว ง นั้ น ชั่วโมงที่ 6
มีการกระจายที่น้อยกว่า และในทางกลับกัน 1. ใบกิจกรรม 4 : ไม่ประมาท

< ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6


ตั ว ก ล่ อ ง ห รื อ วิ ส เ ก อ ร์ ที่ ย า ว ก ว่ า ก็ จ ะ การ์ดอย่าตก
แ ป ล ค ว า ม ไ ด้ ว่ า ข้ อ มู ล ใ น ช่ ว ง นั้ น มี  ในการสร้างแผนภาพกล่อง เราจะต้องหาค่าสาคัญห้าค่า ค่าสาคัญดังกล่าวคือ
การกระจายที่น้อยกว่า ค่าใดบ้าง [ค่าต่าสุด ค่าสูงสุด ควอร์ไทล์ที่ 1 ควอร์ไทล์ที่ 2 และควอร์ไทล์ที่ 3] ชิ้นงาน/ภาระงาน
 ควอร์ไทล์ทั้งสาม จะแบ่งข้อมูลทั้งหมดออกเป็นกี่ส่วนเท่า ๆ กัน [4 ส่วน] 1. แบบฝึ ก หั ด 3 : การอ่า น
 แต่ละส่วนจะมีข้อมูลประมาณกี่เปอร์เซ็นต์ของจานวนข้อมูลทั้งหมด และแปลความหมาย
[ประมาณ 25% ของจานวนข้อมูลทั้งหมด] แผนภาพกล่อง

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 26


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.2 ไม่ประมาท การ์ดอย่าตก เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
จุดประสงค์การเรียนรู้  จากรู ป ข้ อ มู ล ในตั ว กล่ อ งตั้ ง แต่ ค วอร์ ไ ทล์ ที่ 1 ถึ ง ควอร์ ไ ทล์ ที่ 2 กั บ ข้ อ มู ล 2. ใบกิจกรรม 4 : ไม่ประมาท
ด้านความรู้ ในตั ว กล่ อ งตั้ ง แต่ ค วอร์ ไ ทล์ ที่ 2 ถึ ง ควอร์ ไ ทล์ ที่ 3 จะมี จ านวนข้ อ มู ล เท่ า กั น การ์ดอย่าตก
1. นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ อ่ า น แ ล ะ หรือไม่ เพราะเหตุใด [น่าจะมีจานวนเท่ากัน เพราะควอร์ไทล์ทั้งสามจะแบ่ง การวัดและประเมินผล
แปลความหมายข้ อ มู ล ที่ น าเสนอ ข้อมูลออกเป็น 4 ส่วนเท่า ๆ กัน ดังนั้น ไม่ว่าจะเป็นส่วนใด ก็ย่อมจะมีจานวน 1. ตรวจแบบฝึ ก หั ด 3 โดย
ด้วยแผนภาพกล่อง ข้อมูลเท่ากัน] ตอบได้ถูกต้อง 4 ข้อ จาก
ทั้งนี้ คาถามสุดท้าย นักเรียนอาจจะยังไม่สามารถตอบได้ เพราะเห็นว่าตัวกล่อง 6 ข้อ (ไม่นับรวมข้อท้าทาย)
ด้านทักษะและกระบวนการ ทั้งสองช่วง มี ค วามยาวไม่ เท่า กัน จึงทาให้จ านวนข้ อมู ลในแต่ละส่วนต่า งกันด้ว ย 2. ตรวจใบกิจกรรม 4 โดย
1. นักเรียนสามารถใช้แผนภาพกล่อง ซึ่งนักเรียนกาลังจะได้ศึกษาในลาดับถัดไป ต อ บ ค า ถ า ม แล ะส ร้ า ง
เพื่อการสื่อสารเกี่ยวกับการกระจาย แผนภาพกล่องได้ถูกต้อง
ของข้อมูล ขั้นสอน
2. ครูและนักเรียนร่วมกัน ทากิจกรรมหวานแค่ไหน ถามใจเธอดู เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษา
ด้านคุณลักษณะ เกี่ยวกับการอ่านและแปลความหมายจากแผนภาพกล่อง โดยใช้แผนภาพจุดมาช่วยใน
1. นั ก เรี ย นมี ค วามใฝ่ เ รี ย นรู้ และ การแปลความหมายของข้อมูล ซึ่งเป็นข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณน้าตาลในเครื่องดื่มชาเขียว
กระตือรือร้น ในการแสวงหาความรู้ ดังนี้
2. นักเรียนมีความมุ่งมั่น และไม่ย่อท้อ จากการตรวจสอบปริมาณน้าตาล (กรัม) ในเครื่องดื่มชาเขียวปริมาณ 500
ในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ มิลลิลิตร จานวน 18 ยี่ห้อ ได้ข้อมูลดังต่อไปนี้
3. นั ก เรี ย นมี ค วามรู้ เ ท่ า ทั น ข้ อ มู ล 28 30 0 15 27 21 40 5 13
ข่ า วสาร สามารถท าความเข้ า ใจ 16 23 38 21 35 31 27 16 0

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 >


27
ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 27
28
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.2 ไม่ประมาท การ์ดอย่าตก เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
สื่ อ สาร และน าเสนอข้ อ มู ล ได้ จากข้ อ มู ล ข้ า งต้ น ครู เ ขี ย นสเกลบนกระดาน แล้ ว ให้ นั ก เรี ย นช่ ว ยกั น ลงจุ ด
อย่างเหมาะสม บนกระดาน เพื่อสร้างแผนภาพจุดจากข้อมูลชุดดังกล่าว ซึ่งจะได้แผนภาพจุดดังนี้
4. นักเรียนเห็นคุณค่าของคณิตศาสตร์
ว่าสามารถนาไปใช้ในชีวิตจริงได้
0 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 22 24 26 28 30 32 34 36 38 40

สมรรถนะที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน
ครูถามคาถามกับนักเรียนเพื่อนาข้อมูลมาเขียนแผนภาพกล่อง ดังนี้
1. การจัดการตนเอง โดยการควบคุม
 เรียงลาดับข้อมูลจากน้อยไปมาก ได้เป็นอย่างไร
และก ากั บ ตนเองในการใช้ ค วามรู้
[0 0 5 13 15 16 16 21 21
เรื่องแผนภาพกล่อง เพื่อวิเคราะห์
23 27 27 28 30 31 35 38 40]
ข้อมูลที่กาหนดให้
 ค่าสาคัญห้าค่า ที่ใช้ในการสร้างแผนภาพกล่อง มีค่าเท่ากับเท่าไรบ้าง
2. ก า ร สื่ อ ส า ร โ ด ย อ ธิ บ า ย ผ่ า น
[ค่าต่าสุด = 0 ค่าสูงสุด = 40 Q2 = 22 Q1 = 15 และ Q3 = 30]
การเขียนหรือพูด เพื่อสื่อความที่ได้
ครู สุ่ ม นั ก เรี ย นออกมาลงจุ ด ของค่ า ส าคั ญ ห้ า ค่ า และสร้ า งแผนภาพกล่ อ ง

< ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6


จากการอ่า นและแปลความหมาย
เหนือแผนภาพจุด บนกระดาน ซึ่งจะได้เป็นดังนี้
ข้ อมู ลที่ น า เส นอด้ ว ย แผนภ าพ
กล่อง

3. ก า ร ร ว ม พ ลั ง ท า ง า น เ ป็ น ที ม
โดยร่วมกันทากิจกรรมไม่ประมาท 0 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 22 24 26 28 30 32 34 36 38 40

กา ร์ ดอย่ า ต ก ร่ วม กั น วา ง แ ผ น

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 28


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.2 ไม่ประมาท การ์ดอย่าตก เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
การท างาน แบ่ ง หน้ า ที่ ใ นกา ร 3. ครูนานักเรียนอ่านแผนภาพกล่องบนกระดาน ดังนี้
เก็บรวบรวมข้อมูล ร่วมกันวิเคราะห์ จากเครื่องดื่มชาเขียว 18 ยี่ห้อ สามารถแบ่งข้อมูลออกเป็น 4 ส่วน ส่วนละประมาณ
ข้ อ มู ล แ ล ะ ร่ ว ม กั น ตั ด สิ น ใ จ 25% ของจานวนยี่ห้อของเครื่องดื่มชาเขียวทั้งหมด โดยแต่ละส่วนมีปริมาณน้าตาลใน
เ พื่ อ ต อ บ ค า ถ า ม ท า ง ส ถิ ติ ชาเขียว ดังนี้
และน าเสนอข้ อ มู ล ด้ ว ยแผนภาพ  ส่วนที่ 1 ชาเขียว 500 มล. มีปริมาณน้าตาลอยู่ในช่วง 0 ถึง 15 กรัม
กล่องตามภารกิจที่ได้รับ  ส่วนที่ 2 ชาเขียว 500 มล. มีปริมาณน้าตาลอยู่ในช่วง 15 ถึง 22 กรัม
จากนั้น ครูใช้คาถามเพื่อฝึกให้นักเรียนอ่านข้อมูลจากแผนภาพกล่อง ดังนี้
 ส่วนที่ 3 ชาเขียว 500 มล. มีปริมาณน้าตาลอยู่ในช่วงใด [22 ถึง 30 กรัม]
 ส่วนที่ 4 ชาเขียว 500 มล. มีปริมาณน้าตาลอยู่ในช่วงใด [30 ถึง 40 กรัม]
 เครื่องดื่มชาเขียวร้อยละ 75 มีปริมาณน้าตาลไม่เกินกี่กรัม [30 กรัม]
4. ครูชวนให้นักเรียนสังเกตแผนภาพกล่องประกอบกับแผนภาพจุด เพื่ออธิบายเกี่ยวกับ
การกระจายของข้อมูลว่า
 ในช่วง 15 ถึง 22 กรัม ข้อมูลมีการกระจายตัวน้อยกว่าช่วงอื่น ๆ
 ในช่วง 0 ถึง 15 กรัม ข้อมูลมีการกระจายตัวมากกว่าช่วง 15
ถึง 22 กรัม
จากนั้น ครูใช้คาถามเพื่อฝึกให้นักเรียนอ่านและแปลความหมายจากแผนภาพกล่อง
เพิ่มเติม ดังนี้
 ช่วงใด ที่ข้อมูลมีการกระจายตัวน้อยกว่าช่วง 30 ถึง 40 กรัม
[ช่วง 15 ถึง 22 กรัม และช่วง 22 ถึง 30 กรัม]

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 >


 ช่วงใด ที่ข้อมูลมีการกระจายตัวมากที่สุด [ช่วง 0 ถึง 15 กรัม]

29
ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 29
30
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.2 ไม่ประมาท การ์ดอย่าตก เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
 นักเรียนคิดว่า ในตัวกล่องแต่ละช่วงหรื อวิสเกอร์ ในช่วงที่มีค วามยาวมากกว่า
ช่วงอื่น จะมีจานวนข้อมูลมากกว่าช่วงอื่นหรือไม่ [ไม่ใช่]
 ตัวกล่องแต่ละช่วงหรื อวิส เกอร์ ในช่วงที่มี ค วามยาวมากกว่า ช่วงอื่น หมายถึง
อย่างไร [ข้อมูลในช่วงนั้น ๆ มีการกระจายตัวมากกว่าช่วงอื่น]
5. ครูอธิบายเกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างแผนภาพจุดกับแผนภาพกล่อง และข้อดีของ
การนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภาพกล่องว่า การนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภาพกล่อง จะช่วย
ให้เห็นการกระจายของข้ อมู ลได้ดีกว่าแผนภาพจุด และแผนภาพกล่องยังช่วยให้ เห็น
การกระจายของข้ อ มู ล เป็ น ช่ ว ง ๆ ช่ ว งละประมาณ 25% ของจ านวนข้ อ มู ล ทั้ งหมด
ซึ่ ง จะเป็ น ประโยชน์ ใ นการวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล เพื่ อ ตอบค าถามหรื อ ช่ ว ยในการตั ด สิ น ใจ
ในบางสถานการณ์
หมายเหตุ ส าหรั บ ครู : ควอร์ ไ ทล์ ทั้ ง สามจะแบ่ ง ข้ อ มู ล ทั้ ง ชุ ด ออกเป็ น 4 ส่ ว น
โดยข้อมูลแต่ละส่วนจะมีประมาณ 25% ของจานวนข้อมูลทั้งหมด ทั้งนี้ ใช้ว่าประมาณ

< ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6


25% เพราะบางชุดข้อมูลที่มีข้อมูลเป็นค่าของควอร์ไทล์พอดี หรือเป็นค่าของควอร์ไทล์
ซ้า กัน หลายตัว จะท าให้ข้อมูลที่ แบ่งได้ในแต่ละส่วนไม่ เป็น 25% พอดี ดังเช่น ข้อมูล
ในกิจกรรมหวานแค่ไหน ถามใจเธอดู
6. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 3 : การอ่านและแปลความหมายแผนภาพกล่อง จากนั้น
ครูให้นักเรียนร่วมกันเฉลยคาตอบ โดยครูอาจสุ่มนักเรียนเพื่อเฉลยคาตอบ

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 30


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.2 ไม่ประมาท การ์ดอย่าตก เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ขั้นสรุป
7. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียนเกี่ยวกับแผนภาพกล่องประกอบการสรุป ดังนี้
 แผนภาพกล่ อ ง เป็ น การน าเสนอข้ อ มู ล ค่ า ต่ า สุ ด ค่ า สู ง สุ ด ควอร์ ไ ทล์ ที่ 1
ควอร์ไทล์ที่ 2 และควอร์ไทล์ที่ 3
 ข้อมูลในแต่ละช่วงของแผนภาพกล่องคิดเป็นประมาณ 25% ของจานวนข้อมูล
ทั้งหมด
 ถ้ า ตั ว กล่ อ งหรื อ วิ ส เกอร์ สั้ น แสดงว่ า ข้ อ มู ล ในช่ ว งนั้ น กระจายตั ว น้ อ ย
และหากตัวกล่องหรือวิสเกอร์ยาว แสดงว่าข้อมูลในช่วงนั้นกระจายตัวมาก

ชั่วโมงที่ 5
ขั้นนา
1. ครูทบทวนการอ่านและแปลความหมายจากแผนภาพกล่อง โดยใช้บัตรภาพแผนภาพ
กล่องแสดงยอดผู้ติดเชื้อโควิด 19 ติดบนกระดาน แล้วใช้คาถามกับนักเรี ยน โดยครู
ตั้งคาถามให้นักเรียนคิดก่อน แล้วจึงสุ่มนักเรียนเพื่อตอบคาถามนั้น ๆ ดังนี้
 แผนภาพกล่องนี้ สร้างจากข้อมูลจานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ ประจาวันที่ 1 ตุลาคม
2563 ของประเทศต่ า ง ๆ ในทวี ป เอเชี ย ที่ แ จ้ ง ข้ อ มู ล ไว้ รวม 47 ประเทศ
จากแผนภาพกล่องนี้ ค่าสาคัญห้าค่ามีอะไรบ้าง และมีค่าเป็นเท่าไร
[ค่าต่าสุด คือ 0 ควอร์ไทล์ที่ 1 คือ 6 ควอร์ไทล์ที่ 2 คือ 199 ควอร์ไทล์ที่ 3
คือ 1,158 และค่าสูงสุด คือ 81,484]

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 >


31
ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 31
32
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.2 ไม่ประมาท การ์ดอย่าตก เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
 ประเทศที่ มี ผู้ติดเชื้อรายใหม่ น้ อยที่สุดในทวีปเอเชีย มีผู้ติดเชื้อรายใหม่กี่ราย
[ไม่มีผู้ติดเชื้อรายใหม่เลย]
 ประเทศที่ มี ผู้ติดเชื้อรายใหม่ ม ากที่ สุดในทวีป เอเชีย มี ผู้ติดเชื้อรายใหม่ กี่ร าย
[81,484 ราย]
 จ านวนผู้ติดเชื้อในช่วงใด ที่ ข้ อมู ลมี การกระจายตัวน้ อยกว่า จ านวนผู้ติดเชื้อ
ในช่วง 6 ถึง 199 คน [ช่วง 0 ถึง 6 คน]
 จานวนผู้ติดเชื้อในช่วงใด ที่ข้อมูลมีการกระจายตัวมากที่สุด
[ช่วง 1,158 ถึง 81,484 คน]

ขั้นสอน
2. ค รู เล่ า ถึ ง ส ถา น กา ร ณ์ ก า ร แพ ร่ ร ะ บา ดข อง ไ วรั ส โค โร นา 2019 เพื่ อน า เข้ า สู่
การทากิจกรรมไม่ประมาท การ์ดอย่าตก ดังนี้

< ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6


สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 หรือโควิด 19 ที่มีผู้ติดเชื้อ
ไปทั่วโลกเป็ นจานวนมาก และยังคร่าชีวิตผู้คนไปมากมาย ซึ่งจากข้อมูลจ านวน
ผู้ติดเชื้อรายใหม่ ประจาวันที่ 1 ตุลาคม 2563 ของประเทศต่าง ๆ ในทวีปเอเชีย
ที่ น าเสนอด้ ว ยแผนภาพกล่ อ งไปเมื่ อ สั ก ครู่ ก็ จ ะเห็ น แล้ ว ว่ า แม้ ส ถานการณ์
การแพร่ ร ะบาดในประเทศไทยนั้ น ยั ง น้ อ ยกว่ า ประเทศอื่ น แต่ ส ถานการณ์
การแพร่ระบาดในโลก โดยเฉพาะในทวีปเอเชีย ซึ่งเป็นทวีปที่ประเทศไทยตั้งอยู่นั้น
กลั บ ยั ง มี ก ารแพร่ ร ะบาดอย่ า งรุ น แรง ดั ง นั้ น เราจึ ง ใช้ ชี วิ ต อย่ า งไม่ ป ระมาท
และต้องพึงระวังเรื่องการเว้นระยะห่างทางสังคมอยู่เสมอ

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 32


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.2 ไม่ประมาท การ์ดอย่าตก เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
จากนั้น ครูตั้งคาถามกับนักเรียนเกี่ยวกับไวรัสโคโรนา 2019 ดังนี้
 ผู้ที่ ติดเชื้อ ไวรั สโคโรนา 2019 จะมี อาการหลัก ๆ อะไรบ้า ง [เป็ น ไข้ ไอแห้ง
หายใจหอบเหนื่อย มีน้ามูก เจ็บคอ ฯ]
 นั ก เรี ย นจะมี วิ ธี ก ารป้ อ งกั น การแพร่ ร ะบาดของเชื้ อ ไวรั ส โคโรนา 2019
ได้อย่างไรบ้าง [สวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้าอยู่เสมอ ล้างมือบ่อย ๆ
ด้วยสบู่ หรือเจลล้างมือที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ รักษาระยะห่างจากผู้อื่น
ไม่สัมผัสตา จมูก ปาก พักผ่อนอยู่กับบ้านเมื่อรู้สึกไม่สบาย ฯ]
3. ครู แ บ่งนักเรี ยนออกเป็ น 3 กลุ่ม หรื อ 6 กลุ่ม (ขึ้ น อยู่กับจ านวนนั กเรี ยนในชั้ น เรี ย น
แนะนาให้แต่ละกลุ่มมีสมาชิก 4 - 6 คน) แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันทากิจกรรม
ไม่ประมาท การ์ดอย่าตก ตามขั้นตอนต่อไปนี้
1) ให้ ตั ว แทนนั ก เรี ย นแต่ ล ะกลุ่ ม จั บ สลากเพื่ อ รั บ ภารกิ จ 1 อย่ า ง ในการ
เก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล ที่ เ กี่ ย วกั บ การแพร่ ร ะบาดของเชื้ อ ไวรั ส โคโรนา 2019
ซึ่งประกอบด้วย 3 ภารกิจ คือ

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 >


33
ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 33
34
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.2 ไม่ประมาท การ์ดอย่าตก เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ภารกิจมือสะอาด

คาถามทางสถิติ : โดยเฉลี่ยแล้ว นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 เพศใด


ที่ ล้ า งมื อ ด้ ว ยสบู่ ห รื อ เจลล้ า งมื อ ที่ มี ส่ ว นผสมของแอลกอฮอล์ ในช่ ว ง
1 สัปดาห์ที่ผ่านมาบ่อยกว่ากัน

กลุ่มบุคคลที่จะเก็บข้อมูล : นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ข้ อ มู ล ที่ ต้ อ งน าเสนอด้ ว ยแผนภาพกล่ อ ง : จ านวนครั้ ง ที่ นั ก เรี ย น


ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 2 ล้ า งมื อ ด้ ว ยสบู่ ห รื อ เจลล้ า งมื อ ที่ มี ส่ ว นผสมของ
แอลกอฮอล์ ในช่วง 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา

ภารกิจสวมหน้ากากเข้าหากัน
คาถามทางสถิติ : ในช่วง 30 วันที่ผ่านมา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

< ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6


ส่วนใหญ่ สวมหน้ ากากอนามัยหรือหน้า กากผ้าทุ กครั้ง เมื่ อออกจากบ้าน
ไม่น้อยกว่า 80% ของจานวนวันทั้งหมด หรือไม่

กลุ่มบุคคลที่จะเก็บข้อมูล : นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ข้ อมู ลที่ ต้ อ งน า เส นอด้ ว ยแ ผนภ า พ ก ล่ อ ง : จ า นวนวั น ที่ นั กเ รี ย น


ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 2 สวมหน้ า กากอนามั ย หรื อ หน้ า กากผ้ า ทุ ก ครั้ ง
เมื่อออกจากบ้าน ในช่วง 30 วันที่ผ่านมา

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 34


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.2 ไม่ประมาท การ์ดอย่าตก เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ภารกิจรักษาอุณหภูมิ

ค าถามทางสถิ ติ : โดยเฉลี่ ย แล้ ว นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 2


มีอุณหภูมิในร่างกายเฉลี่ยกี่องศาเซลเซียส

กลุ่มบุคคลที่จะเก็บข้อมูล : นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ข้ อมู ลที่ ต้องน าเสนอด้วยแผนภาพกล่อ ง : อุณ หภูมิ ในร่ า งกายของ


นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่วัดได้เมื่อมาถึงโรงเรียน

ในกรณี ที่ แ บ่ ง นั ก เรี ย นออกเป็ น 6 กลุ่ ม ให้ เ พิ่ ม ภารกิ จ ในลั ก ษณะเดี ย วกั บ
สามภารกิ จ ข้ า งต้ น โดยเปลี่ ย นให้ ก ลุ่ ม บุ ค คลที่ จ ะเก็ บ ข้ อมู ล เป็ น นั ก เรี ยน
ชั้นมั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 1
2) ให้ นั ก เรี ย นออกแบบเครื่ อ งมื อ ในการเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล เพื่ อ ตอบค าถาม
ทางสถิติและสร้างแผนภาพกล่อง โดยบันทึกลงในใบกิจกรรม 4 : ไม่ประมาท
การ์ดอย่าตก ตอนที่ 1
3) ให้ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่ม นาเสนอเครื่ องมือที่ ใช้ในการเก็บรวบรวมข้ อ มู ล
โดยครู แ ละนั ก เรี ย นกลุ่ ม อื่ น ๆ อาจช่ ว ยกั น ให้ ข้ อ เสนอแนะในการปรั บ ปรุ ง
เค รื่ องมื อที่ ใ ช้ ใ นการ เก็ บ รวบร วมข้ อมู ลเพิ่ มเติ ม ทั้ งนี้ เค รื่ องมื อที่ ใ ช้
ในการเก็บรวบรวมข้อมูลต้องครอบคลุมประเด็นต่อไปนี้

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 >


35
ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 35
36
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.2 ไม่ประมาท การ์ดอย่าตก เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
 ภารกิจมือสะอาด ได้แก่ ระดับชั้น เพศ และจานวนครั้งที่ล้างมือด้วยสบู่
หรือเจลล้างมือที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ ในช่วง 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา
 ภารกิจสวมหน้ากากเข้าหากัน ได้แก่ ระดับชั้น และจานวนวันที่สวม
หน้ า กากอนามั ย หรื อ หน้ า กากผ้ า ทุ ก ครั้ ง เมื่ อ ออกจากบ้ า นในช่ ว ง
30 วันที่ผ่านมา
 ภารกิ จ รั ก ษาอุ ณ หภู มิ ได้ แ ก่ ระดั บ ชั้ น และอุ ณ หภู มิ ข องร่ า งกาย
ที่วัดได้เมื่อมาถึงโรงเรียน
สาหรับการเก็บรวบรวมข้อมูล อาจให้นักเรียนเก็บรวบรวมข้อมูลในชั่วโมงเรียน
หรือนอกชั่วโมงเรียนก็ได้

ขั้นสรุป
4. ครู ส รุ ป กิ จ กรรมไม่ ป ระมาท การ์ ด อย่ า ตก ว่ า ในชั่ ว โมงเรี ย นนี้ นั ก เรี ย นแต่ ล ะกลุ่ ม

< ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6


ได้รั บภารกิจ เพื่ อไปเก็บรวบรวมข้ อมู ล ซึ่งในชั่วโมงถัดไป ครู จ ะให้นั กเรี ยนน าข้ อมู ล
ที่ เ ก็ บ รวบรวมได้ มาวิ เ คราะห์ เ พื่ อ ตอบค าถามทางสถิ ติ และสร้ า งแผนภาพกล่ อ ง
แล้วเราจะร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับแผนภาพกล่องที่สร้างได้ต่อไป
ทั้งนี้ ครูเน้นย้าให้นักเรียนเก็บข้อมูลมาให้เรียบร้อยก่อนถึงชั่วโมงเรียนถัดไป

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 36


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.2 ไม่ประมาท การ์ดอย่าตก เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ชั่วโมงที่ 6
ขั้นนา
1. ครูทบทวนกิจกรรมไม่ประมาท การ์ดอย่าตก ในชั่วโมงที่ผ่านมา ว่านักเรียนแต่ละกลุ่ม
ได้รับภารกิจจากการจับสลาก ออกแบบเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล รวมทั้ง
ได้เก็บรวบรวมข้อมูลมาแล้ว สาหรับในชั่วโมงนี้ จะให้นักเรียนนาข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้
มาวิเคราะห์และตอบคาถามทางสถิติจากภารกิจที่ได้รับ

ขั้นสอน
2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม วิเคราะห์ข้ อมู ลและตอบคาถามทางสถิติลงในใบกิจ กรรม 4 :
ไม่ประมาท การ์ดอย่าตก ตอนที่ 2 สาหรับคาถามทางสถิติจากแต่ละภารกิจ มีแนวทาง
ในการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้
 ภารกิจมือสะอาด เมื่อนักเรียนเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับจานวนครั้งที่นักเรียน
ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 2 ล้ า งมื อ ด้ ว ยสบู่ ห รื อ เจลล้ า งมื อ ที่ มี ส่ ว นผสม ของ
แอลกอฮอล์ ในช่วง 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา และจาแนกข้อมูลตามเพศเรียบร้อยแล้ว
ให้ น าข้ อ มู ล ดั ง กล่ า วมาหาค่ า เฉลี่ ย ของจ านวนครั้ ง ที่ นั ก เรี ย นหญิ ง ล้ า งมื อ
แล้วเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยของจานวนครั้งที่นักเรียนชายล้างมือ
 ภารกิจสวมหน้ากากเข้าหากัน เมื่อนักเรียนเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับจานวน
วันที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้าทุกครั้ง
เมื่ อออกจากบ้า น ในช่วง 30 วัน ที่ ผ่า นมา ให้ห าว่า มี นั กเรี ยนที่ ส วมหน้ ากาก

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 >


อนามัยหรือหน้ากากผ้าทุกครั้ง เมื่อออกจากบ้าน ตั้งแต่ 80% ขึ้นไป ซึ่งคิดเป็น

37
ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 37
38
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.2 ไม่ประมาท การ์ดอย่าตก เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
24 วั น ขึ้ น ไป มี เ กิ น กว่ า ครึ่ ง หนึ่ ง ของจ านวนนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 2
ทั้งหมดหรือไม่
 ภารกิ จ รั ก ษาอุ ณ หภู มิ เมื่ อ นั ก เรี ย นเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ อุ ณ หภู มิ
ในร่ า งกายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ วัดได้แ ล้ว ให้ห าค่าเฉลี่ยของ
อุณหภูมิในร่างกายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
3. ครู ให้นักเรี ยนสร้ า งแผนภาพกล่ อง จากข้ อมู ลที่ เก็บรวบรวมมาได้ โดยนาเสนอข้ อมู ล
ตามที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจากภารกิ จ ด้ ว ยแผนภาพกล่ อ ง ลงในใบกิ จ กรรม 4 ตอนที่ 3
แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านและแปลความหมายข้อมูลจากแผนภาพกล่องในประเด็น
ต่อไปนี้
 ภารกิจมือสะอาด
o นั กเรี ยนประมาณ 75% ที่ล้า งมื อบ่อย ๆ ล้า งมื ออย่า งน้ อยกี่ค รั้ งใน
1 สัปดาห์ที่ผ่านมา

< ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6


o หากการล้างมืออย่างน้อยวันละ 3 ครั้ง จะช่วยลดความเสี่ยงในการแพร่
ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 อยากทราบว่า ใน 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ทุกคน ป้องกันตนเองเพื่อลดความเสี่ยง
ใ น ก า ร แ พ ร่ ร ะ บ า ด ข อ ง ไ ว รั ส โ ค โ ร น า 2019 ด้ ว ย ก า ร ล้ า ง มื อ
ได้อย่างเพียงพอหรือไม่

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 38


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.2 ไม่ประมาท การ์ดอย่าตก เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
 ภารกิจสวมหน้ากากเข้าหากัน
o นักเรียนประมาณ 75% ที่สวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้าทุกครั้ง
เมื่ อออกนอกบ้า น จะสวมหน้า กากอนามัยหรื อหน้ากากผ้า ประมาณ
กี่วัน ในเวลา 1 เดือนที่ผ่านมา
o นักเรียนกลุ่มที่มีความเสี่ยง เนื่องจากละเลยการสวมหน้ากากอนามัย
หรือหน้ากากผ้าทุกครั้ง เมื่อออกนอกบ้าน อยู่เป็นประจา หรือน้อยกว่า
50% ของจ านวนวั น ตลอดทั้ ง เดื อ น มี ม ากหรื อ น้ อ ยกว่ า นั ก เรี ย น
กลุ่มที่เหลือ
 ภารกิจรักษาอุณหภูมิ
o นั กเรี ยนประมาณ 75% ของนั กเรี ยนทั้ งหมดที่ มี อุณ หภูมิ ในร่ า งกาย
ต่า มีอุณหภูมิในร่างกายอยู่ในช่วงกี่องศาเซลเซียส
o ผู้ที่ มี อุณ หภูมิ ในร่า งกายตั้งแต่ 37.5 องศาเซลเซียสขึ้น ไป นั บว่า มีไข้
ซึ่งเป็ น อาการหนึ่งของผู้ที่ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จากแผนภาพ
กล่ อ งที่ ส ร้ า งขึ้ น มี นั ก เรี ย นที่ มี อุ ณ หภู มิ ใ นร่ า งกายสู ง สุ ด 25% ของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เข้าข่ายต้องเฝ้าระวัง และควรพักรักษาตัว
ที่บ้านหรือไม่
4. ครู ใ ห้ นั ก เรี ย นแต่ ล ะกลุ่ ม น าเสนอผลการท ากิ จ กรรม ตั้ ง แต่ ก ารเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล
วิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ค าตอบของค าถามทางสถิ ติ รวมถึ ง น าเสนอแผนภาพกล่ อ ง
และบอกเล่า ถึงผลการอ่า นและแปลความหมายข้ อมู ลจากแผนภาพกล่องในประเด็น

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 >


ที่ได้รับมอบหมาย

39
ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 39
40
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กล่องส่องการกระจาย เรื่องที่ 6.2 ไม่ประมาท การ์ดอย่าตก เวลา 3 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ขั้นสรุป
5. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียนเกี่ยวกับแผนภาพกล่อง ดังนี้
 แผนภาพกล่ อ ง เป็ น เครื่ อ งมื อ หนึ่ ง ทางสถิ ติ ที่ ใ ช้ ใ นการน าเสนอ ข้ อ มู ล
โดยใช้การแบ่งข้อมูลออกเป็น 4 ส่วน ซึ่งแต่ละส่วนจะมีจานวนข้อมูลเท่า ๆ กัน
 การสร้ า งแผนภาพกล่ อ งเพื่ อ น าเสนอข้ อ มู ล ต้ อ งอาศั ย ค่ า ส าคั ญ 5 ค่ า คื อ
ค่ า ต่ า สุ ด ของข้ อ มู ล ค่ า สู ง สุ ด ของข้ อ มู ล ควอร์ ไ ทล์ ที่ 1 ควอร์ ไ ทล์ ที่ 2
และควอร์ไทล์ที่ 3
 เนื่องจากข้อมูลในแต่ละส่วนของแผนภาพกล่องคิดเป็น 25% ของจานวนข้อมูล
ทั้งหมด ดังนั้น ถ้ากล่องหรือวิสเกอร์สั้น แสดงว่าข้อมูลในช่วงนั้นกระจายตัวน้ อย
และหากกล่อง หรือวิสเกอร์ยาว แสดงว่าข้อมูลในช่วงนั้นกระจายตัวมาก
 แผนภาพกล่ อ ง จะแสดงการกระจายของข้ อ มู ล ซึ่ ง จะช่ ว ยให้ ค าดคะเน
สร้างข้อสรุป และนาข้อสรุปมาใช้ประกอบการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้

< ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6


ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 40
แบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 : กล่องส่องการกระจาย
เวลาสอบ 40 นาที คะแนนเต็ม 20 คะแนน
ชื่อ – สกุล ชั้น ม. ห้อง เลขที่ .

คาชี้แจง แบบทดสอบฉบับนี้ มีทั้งหมด 20 ข้อ แบ่งเป็น 2 ตอน

ตอนที่ 1 ข้อสอบแบบเลือกตอบ มี 7 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน


ให้นักเรียนเขียน  ล้อมรอบตัวเลือกที่ถูกต้อง
1. จากข้อมูลต่อไปนี้ 3, 3, 4, 5, 6, 6, 7, 8, 10 มัธยฐานของข้อมูล คือข้อใด
ก. 4 ข. 5 ค. 6 ง. 7

ให้นักเรียนใช้ข้อมูลต่อไปนี้ ตอบคาถามข้อ 2 – 3
12 6 14 2 8 18 4 10 16
2. ควอร์ไทล์ที่ 1 (Q1) เท่ากับข้อใด
ก. 5 ข. 10 ค. 15 ง. 16
3. Q3 – Q2 เท่ากับข้อใด
ก. 5 ข. 10 ค. 15 ง. 16
4. จากข้อมูลต่อไปนี้ 17, 11, 18, 14, 13, 17, 13, 17 ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. Q1 = 13 ข. Q2 = 15 ค. Q3 = 17 ง. พิสัย = 7
5. ข้อมูลชุดหนึ่งประกอบด้วย 15, 3, 9, 7, 1, 11, 20, 5, 18, 14 นามาเขียนเป็นแผนภาพกล่อง
ได้ตรงกับข้อใด
ก.

0 5 10 15 20

ข.

0 5 10 15 20

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 41

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 > 41


ค.

0 5 10 15 20

ง.

0 5 10 15 20

6. จากแผนภาพกล่องต่อไปนี้ แสดงคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้น ม.3/1

60 70 80 90 100

คะแนน

ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. พิสัยของข้อมูลชุดนี้ คือ 34 คะแนน
ข. มัธยฐานของข้อมูลชุดนี้ คือ 85 คะแนน
ค. Q1 เท่ากับ 75 คะแนน
ง. Q3 เท่ากับ 91 คะแนน
7. แผนภาพกล่องต่อไปนี้ แสดงคะแนนสอบของนักเรียน 200 คน ดังนี้

5 10 15 20 25

คะแนน

ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. จานวนนักเรียนที่ได้ 10 ถึง 18 คะแนน มีเท่ากับจานวนนักเรียนที่ทาได้ 18 ถึง 24 คะแนน
ข. จานวนนักเรียนที่ได้ 10 ถึง 12 คะแนน มีเท่ากับจานวนนักเรียนที่ทาได้ 18 ถึง 20 คะแนน
ค. จานวนนักเรียนที่ได้ 12 ถึง 20 คะแนน มีเท่ากับจานวนนักเรียนที่ทาได้ 18 ถึง 24 คะแนน
ง. จานวนนักเรียนที่ได้ 12 ถึง 20 คะแนน มีเท่ากับจานวนนักเรียนที่ทาได้ 20 ถึง 24 คะแนน

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 42

42 < ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6


ตอนที่ 2 ข้อสอบแบบเติมคาตอบ มี 13 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน
ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่าง

ผลสารวจเวลา (วินาที) ในการวิ่งระยะทาง 100 เมตร ของนักเรียนห้องหนึ่ง


จานวน 12 คน เป็นดังนี้
11 13 13 10 17 18
9 11 18 17 16 15

จากข้อมูลข้างต้น จงเติมคาตอบลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
1. ค่าต่าสุด =
2. ค่าสูงสุด =
3. Q2 =
4. Q1 =
5. Q3 =
6. เขียนแผนภาพกล่องได้ดังนี้

7. ข้อมูลในช่วง มีการกระจายตัวน้อยที่สุด
8. ข้อมูลในช่วง มีการกระจายตัวเท่า ๆ กัน
9. นักเรียนที่วิ่งเร็วที่สุดกับนักเรียนที่วิ่งช้าที่สุด ใช้เวลาวิ่งต่างกัน วินาที
10. นักเรียน 1 ใน 4 ของห้องที่วิ่งเร็วที่สุด ใช้เวลาวิ่งในช่วง วินาที
11. นักเรียนที่วิ่งช้ากว่าเพื่อนประมาณครึ่งห้อง ใช้เวลาวิ่งในช่วง วินาที
12. นักเรียนที่วิ่งด้วยความเร็วปานกลางประมาณครึ่งห้อง ใช้เวลาวิ่งในช่วง วินาที
13. หากสถิติการแข่งขันวิ่ง 100 เมตร ในการแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียนปีที่ผ่านมา ผู้ที่วิ่งเข้าเส้นชัยเป็น
อันดับที่ 3 ใช้เวลา 12 วินาที นักเรียนห้องนี้ที่วิ่งได้เร็วกว่าสถิติดังกล่าว มีอย่างน้อย %
ของจานวนนักเรียนทั้งห้อง

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 43

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 > 43


เฉลยแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 : กล่องส่องการกระจาย

ตอนที่ 1
1. ข้อ ค
แนวคิด จ านวนข้ อ มู ล มี 9 จ านวน เมื่ อ เรี ย งข้ อ มู ล จากน้ อ ยไปมากแล้ ว มั ธ ยฐานคื อ ข้ อ มู ล
ที่อยู่ตาแหน่งตรงกลาง นั่นคือตาแหน่งที่ 5 ดังนั้น มัธยฐานเท่ากับ 6

2. ข้อ ก
แนวคิด จากข้อมูลจะได้ มัธยฐานคือ 10 ควอร์ไทล์ที่ 1 สามารถหาได้จากการหามัธยฐานของ
4+6
ข้อมูลที่อยู่ในลาดับที่ต่ากว่าควอร์ไทล์ที่ 2 ดังนั้น Q1 = =5
2

3. ข้อ ก
แนวคิ ด จากข้ อ มู ล จะได้ มั ธ ยฐานคื อ 10 นั่ น คื อ Q2 = 10 ควอร์ ไ ทล์ ที่ 3 สามารถหาได้ จ าก
14 + 16
มัธยฐานของข้อมูลที่อยู่ในลาดับที่สูงกว่าควอร์ไทล์ที่ 2 ดังนั้น Q3 = 2
=15
จะได้ว่า Q3 – Q2 = 15 – 10 = 5

4. ข้อ ข
14 + 17
แนวคิด Q2 = 2
= 15.5

5. ข้อ ข
แนวคิด ค่าต่าสุด = 1
ค่าสูงสุด = 20
9 + 11
Q2 = 2
= 10
Q1 = 5
Q3 = 15

6. ข้อ ค
แนวคิด

60 70 80 90 100

คะแนน

Q1 = 77

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 44

44 < ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6


7. ข้อ ง
แนวคิด ข้อ ก. ถูกต้อง เนื่องจากจานวนนักเรียนที่ทาได้ 10 ถึง 18 คะแนน และ 18 ถึง 24
คะแนน มีจานวนเท่ากัน คือ ประมาณ 50% ของจานวนข้อมูลทั้งหมด
ข้อ ข. ถูกต้อง เนื่องจากจานวนนักเรียนที่ทาได้ 10 ถึง 12 คะแนน และ 18 ถึง 20
คะแนน มีจานวนเท่ากัน คือ ประมาณ 25% ของจานวนข้อมูลทั้งหมด
ข้อ ค. ถูกต้อง เนื่องจากจานวนนักเรียนที่ทาได้ 12 ถึง 20 คะแนน และ 18 ถึง 24
คะแนน มีจานวนเท่ากัน คือ ประมาณ 50% ของจานวนข้อมูลทั้งหมด
ข้อ ง. ไม่ถูกต้อง เนื่องจากจานวนนักเรียนที่ทาได้ 12 ถึง 20 คะแนน มีจานวนประมาณ
50% ของจานวนข้อมูลทั้งหมด แต่จานวนนักเรียนที่ทาได้ 20 ถึง 24
คะแนน มีจานวนประมาณ 25% ของจานวนข้อมูลทั้งหมด

ตอนที่ 2
1. ค่าต่าสุด = 9
2. ค่าสูงสุด = 18
3. Q2 = 14
4. Q1 = 11
5. Q3 = 17
6. เขียนแผนภาพกล่องได้ดังนี้

5 10 15 20

7. ข้อมูลในช่วง 17 – 18 มีการกระจายตัวน้อยที่สุด
8. ข้อมูลในช่วง 11 – 14 และ 14 – 17 มีการกระจายตัวเท่า ๆ กัน
9. นักเรียนที่วิ่งเร็วที่สุดกับนักเรียนที่วิ่งช้าที่สุด ใช้เวลาวิ่งต่างกัน 9 วินาที
10. นักเรียน 1 ใน 4 ของห้องที่วิ่งเร็วที่สุด ใช้เวลาวิ่งในช่วง 9 – 11 วินาที
11. นักเรียนที่วิ่งช้ากว่าเพื่อนประมาณครึ่งห้อง ใช้เวลาวิ่งในช่วง 14 – 18 วินาที
12. นักเรียนที่วิ่งด้วยความเร็วปานกลางประมาณครึ่งห้อง ใช้เวลาวิ่งในช่วง 11 – 17 วินาที
13. หากสถิติการแข่งขันวิ่ง 100 เมตร ในการแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียนปีที่ผ่านมา ผู้ที่วิ่งเข้าเส้นชัย
เป็นอันดับที่ 3 ใช้เวลา 12 วินาที นักเรียนห้องนี้ที่วิ่งได้เร็วกว่าสถิติดังกล่าว มีอย่างน้อย 25 %
ของจานวนนักเรียนทั้งห้อง

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 45

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 > 45


เฉลยแบบฝึกหัดและใบกิจกรรม

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 46

46 < ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6


เฉลยใบกิจกรรม 1 : ทานอะไรดี ที่ไม่ใช่อะไรก็ได้

คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาสถานการณ์ที่กาหนดให้ แล้วทากิจกรรมแต่ละตอนต่อไปนี้

สถานการณ์
ร้านทานอะไรดี ที่ไม่ใช่อะไรก็ได้ จัดทารายการอาหารเพื่อคนรักสุขภาพ ให้ลูกค้าเลือกสั่งอาหาร
ที่ชื่นชอบ โดยทราบพลังงานที่ร่างกายจะได้รับ เมื่อรับประทานอาหารแต่ละชนิดไว้ ดังตารางต่อไปนี้

ปริมาณ พลังงาน ปริมาณ พลังงาน


รายการอาหาร รายการอาหาร
ที่บริโภค (แคลอรี) ที่บริโภค (แคลอรี)

ข้าวผัดไก่ 1 จาน 545 ข้าวต้มไก่ 1 ถ้วย 388

ข้าวผัดปู 1 จาน 554 ข้าวต้มปลา 1 ถ้วย 376

ข้าวผัดกุ้ง 1 จาน 560 ข้าวต้มกุ้ง 1 ถ้วย 363

ข้าวผัดปลาเค็ม 1 จาน 552 ข้าวซอยไก่ 1 ชาม 394

ข้าวมันไก่ 1 จาน 598 เย็นตาโฟ 1 ชาม 350

ข้าวหมกไก่ 1 จาน 592 ก๋วยเตี๋ยวต้มยา 1 ชาม 360

ผัดไทยโบราณ 1 จาน 591 บะหมี่เกี๊ยวกุ้ง 1 ชาม 453

ผัดซีอิ๊วทะเล 1 จาน 520 หมี่ซั่วไก่ตุ๋น 1 ชาม 334

ราดหน้าทะเล 1 จาน 690 โจ๊กไก่ 1 ถ้วย 220

ยากิโซบะ 1 จาน 400 โจ๊กกุ้ง 1 ถ้วย 230

ก๋วยเตี๋ยวคั่วไก่ 1 จาน 398 กระเพาะปลา 1 ถ้วย 318

โกยซีหมี่ 1 จาน 520 สุกี้แห้ง 1 จาน 333

ขนมจีนน้าเงี้ยว 1 จาน 352 สุกี้น้า 1 ชาม 310

มักกะโรนีผัดกุ้ง 1 จาน 420 หมี่กะทิ 1 จาน 405

เส้นจันท์ผัดปู 1 จาน 575 ก๋วยจั๊บญวณ 1 ถ้วย 235

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 47

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 > 47


- คาตอบมีได้หลากหลายตามข้อมูลที่นักเรียนแต่ละคนเลือก เฉลยนี้เป็นเพียงตัวอย่างคาตอบเท่านั้น -

ตอนที่ 1

1. ให้นักเรียนเลือกอาหารที่ชื่นชอบ 7 ชนิด พร้อมทั้งระบุแคลอรีที่ร่างกายจะได้รับจากการบริโภค


อาหารชนิดนั้น ๆ

อาหารที่เลือก พลังงาน (แคลอรี)

ข้าวผัดปู 554

ขนมจีนน้าเงี้ยว 352

สุกี้แห้ง 333

ผัดไทยโบราณ 591

โจ๊กไก่ 220

ข้าวซอยไก่ 394

ยากิโซบะ 400

2. นาข้อมูลแคลอรีที่ร่างกายจะได้รับจากการบริโภคอาหารที่เลือกในข้อ 1 มาเรียงลาดับจากน้อยไปมาก

220 333 352 394

400 554 591

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 48

48 < ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6


ตอนที่ 2

591
554

Q3
400
394

Q2
352
333

Q1
220

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 49

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 > 49


เฉลยแบบฝึกหัด 1 : หาควอร์ไทล์

คาชี้แจง จากข้อมูลที่กาหนดให้ในแต่ละข้อต่อไปนี้ จงหา Q1 , Q2 และ Q3

1. 3 5 9 12 5 4 2

เรียงข้อมูลจากน้อยไปมากได้เป็น 2 3 4 5 5 9 12

Q2 = 5

Q1 = 3

Q3 = 9

2. 10 13 16 7 26 18 4 28 20 15

เรียงข้อมูลจากน้อยไปมากได้เป็น 4 7 10 13 15 16 18 20 26 28

15 + 16
Q2 = = 15.5
2

Q1 = 10

Q3 = 20

3. 18 4 26 13 9 15 17 22 13

เรียงข้อมูลจากน้อยไปมากได้เป็น 4 9 13 13 15 17 18 22 26

Q2 = 15

9 + 13
Q1 = = 11
2
18 + 22
Q3 = = 20
2

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 50

50 < ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6


เฉลยใบกิจกรรม 2 : สมมุติว่าฉันเป็นครู

คาชี้แจง การสร้ า งแผนภาพกล่องด้า นล่า ง เป็ น การเขี ยนขั้ น ตอนการสร้ า งแผนภาพกล่องของนั กเรี ย น
คนหนึ่งจากชุดข้อมูลที่กาหนดให้ ซึ่งมีลาดับขั้นตอนการสร้างไม่ถูกต้อง ให้นักเรียนเรียงลาดับขั้นตอนการสร้าง
แผนภาพกล่องที่ ถูกต้อง โดยเติม ข้ อมู ลลงในช่ องว่า งหน้ า แต่ล ะขั้ น ตอนให้ส มบูร ณ์ พร้ อมทั้ งตรวจสอบว่ า
นักเรียนคนนี้แสดงวิธีทาในแต่ละขั้นตอนถูกต้องหรือไม่ หากไม่ถูกต้อง ให้นักเรียนเขียนแก้ไขให้กับนักเรียนคนนี้

100 28 55 45 84
10 30 90 99 32

หาค่าสาคัญห้าค่า จะได้
ขั้นที่
ค่าต่าสุด =
2 ค่าสูงสุด =

Q2 =
Q1 =  ทาถูกต้อง

Q3 =  ทาไม่ถูกต้อง

เขียนแผนภาพกล่องได้ดังนี้  ทาถูกต้อง

ขั้นที่
 ทาไม่ถูกต้อง
3

    

เรียงลาดับข้อมูลจากน้อยไปมาก
ขั้นที่  ทาถูกต้อง

1  ทาไม่ถูกต้อง

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 51

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 > 51


เฉลยแบบฝึกหัด 2 : สร้างแผนภาพกล่อง

คาชี้แจง ให้นักเรียนสร้างแผนภาพกล่องจากข้อมูลที่กาหนดให้ต่อไปนี้

24 26 10 67 46 39 18 79
18 42 91 72 81 50 72 55

1. เรียงลาดับข้อมูลจากน้อยไปมาก

10 18 18 24 26 39 42 46

50 55 67 72 72 79 81 91

2. หาค่าสาคัญห้าค่า จะได้

ค่าต่าสุด = 10

ค่าสูงสุด = 91

46 + 50
Q2 = = 48
2
24 + 26
Q1 = = 25
2
72 + 72
Q3 = = 72
2

3. เขียนแผนภาพกล่องได้ดังนี้

0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 65 70 75 80 85 90 95 100

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 52


52 < ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
เฉลยใบกิจกรรม 3 : ถามมาสร้างกล่อง

- คาตอบของนักเรียนแต่ละกลุ่ม แตกต่างกันตามภารกิจที่นักเรียนเลือก
และข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ -

คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกภารกิจ 1 อย่าง จากภารกิจที่กาหนดให้ต่อไปนี้ แล้วเก็บรวบรวมข้อมูลจาก


เพื่อน ๆ ในชั้นเรียน จากนั้น นาข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ นาเสนอในรูปแบบของแผนภาพกล่อง

ภารกิจที่ 1 ภารกิจที่ 2
อายุปัจจุบัน หน่วยเป็นเดือน อัตราการเต้นของหัวใจ ในเวลา 1 นาที

ภารกิจที่ 3 ภารกิจที่ 4
จานวนครั้งที่ปรบมือได้ ในเวลา 1 นาที ความสูง หน่วยเป็นเซนติเมตร

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน)ชุด:การจั
วิชาคณิ
ดกิจตกรรมการเรี
ศาสตร์ หน่ยนรูว้ ยการเรี
(สำ�หรับยครูนรูผู้ส้ทอน)
ี่ 6 : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 > 53 53
1. ภารกิจที่เลือก คือ

2. ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้

3. เรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก

4. ค่าสาคัญห้าค่า เพื่อการสร้างแผนภาพกล่อง

ค่าต่าสุด Q1 Q2 Q3 ค่าสูงสุด

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 54

54 < ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6


4. แผนภาพกล่อง

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 55

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 > 55


เฉลยแบบฝึกหัด 3 : การอ่านและแปลความหมายจากแผนภาพกล่อง

คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านและแปลความหมายของแผนภาพกล่อง จากสถานการณ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้

สถานการณ์ที่ 1
ค่าคะแนนเฉลี่ยของผลการทดสอบ O-NET วิชาภาษาไทย ปีการศึกษา 2562 ของ
นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนแห่งหนึ่ง เขียนแสดงด้วยแผนภาพกล่องได้ดังนี้

23.4 26.36 30.34


21.2 57.53
    

20 30 40 50 60

จากแผนภาพกล่องในสถานการณ์ที่ 1 จงตอบคาถามต่อไปนี้

1. นักเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยของผลการทดสอบ O-NET วิชาภาษาไทย อยู่ในกลุ่ม 50% ลงมา


มีคะแนนต่าสุดและคะแนนสูงสุดเป็นเท่าใด

คะแนนต่าสุดเท่ากับ 21.2 คะแนน

และคะแนนสูงสุดเท่ากับ 26.36 คะแนน

2. จานวนนักเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยของผลการทดสอบ O-NET วิชาภาษาไทยไม่เกิน 30.34 คะแนน


คิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของจานวนนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน

75%

3. คะแนนเฉลี่ยของผลการทดสอบ O-NET วิชาภาษาไทย ในช่วงคะแนนใดมีการกระจายตัว


ของข้อมูลน้อยที่สุด และช่วงใดมีการกระจายตัวของข้อมูลมากที่สุด

ในช่วง 21.2 – 23.4 คะแนน มีการกระจายตัวของข้อมูลน้อยที่สุด

และในช่วง 30.34 – 57.53 คะแนน มีการกระจายตัวของข้อมูลมากที่สุด

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 56

56 < ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6


สถานการณ์ที่ 2
ผลการสารวจค่าใช้จ่ายของพนักงานบริษัทแห่งหนึ่ง ในเดือนธันวาคม 2563 รวม 200 คน
เขียนแสดงด้วยแผนภาพกล่องได้ดังนี้

14,600 15,700 18,200


11,800 21,000
    

บาท
10,000 12,000 14,000 16,000 18,000 20,000 22,000

จากแผนภาพกล่องในสถานการณ์ที่ 2 จงตอบคาถามต่อไปนี้

1. ค่าใช้จ่ายของพนักงานที่อยู่ในกลุ่ม 50% ขึ้นไป มีค่าต่าสุดและค่าสูงสุดเท่ากับเท่าใด


ค่าต่าสุดเท่ากับ 15,700 บาท

และค่าสูงสุดเท่ากับ 21,000 บาท

2. ค่าใช้จ่ายของพนักงานที่อยู่ระหว่าง Q1 และ Q3 เท่ากับเท่าใด

14,600 ถึง 18,200 บาท

3. ค่าใช้จ่ายของพนักงานที่มากกว่าหรือเท่ากับ 14,600 บาท คิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของจานวนข้อมูล


ทั้งหมด

75%

ท้าให้ลอง

4. ค่าใช้จ่ายของพนักงานที่น้อยกว่าหรือเท่ากับ Q3 มีกี่คน

ี ่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ยต่อคนต่อเดือนที่น้อยกว่าหรือเท่ากับ Q3 มีประมาณ 75%


เนื่องจากคนที่มค

ดังนั้น คนที่มีคา่ ใช้จ่ายโดยเฉลี่ยต่อคนต่อเดือนที่น้อยกว่าหรือเท่ากับ Q3 มีประมาณ

75
200 × = 150 คน
100

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 57

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 > 57


เฉลยใบกิจกรรม 4 : ไม่ประมาท การ์ดอย่าตก

- คาตอบของนักเรียนแต่ละกลุ่ม แตกต่างกันตามภารกิจที่ได้รับ
และข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ -

คาชี้แจง เมื่อนักเรียนได้รับภารกิจแล้ว ให้นักเรียนร่วมกันออกแบบเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล


เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตอบคาถามทางสถิติ และนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภาพกล่อง

ตอนที่ 1 ออกแบบเครื่องมือ

1. ภารกิจที่ได้รับ คือ

2. ประเภทของเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล

 แบบสังเกต  แบบสอบถาม

 แบบสารวจ  อื่น ๆ ระบุ

3. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล

58 ชุด<การจั ดกิจดกรรมการเรี
ชุดการจั ยนรู
กิจกรรมการเรี ้ (ส้ (สำ
ยนรู าหรั
�หรับบครู
ครูผผู้สู้สอน)
อน) :: วิวิชชาคณิ
าคณิตศาสตร์
ตศาสตร์หน่หน่ วยการเรี
วยการเรี ยนรู้ทยี่นรู
6 ้ที่ 6 58
ตอนที่ 2 ตอบคาถามทางสถิติ

1. ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้

2. วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตอบคาถามทางสถิติ

3. คาตอบของคาถามทางสถิติ

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 59

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 > 59


ตอนที่ 3 สร้างแผนภาพกล่อง

1. เรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก

2. ค่าสาคัญห้าค่า เพื่อการสร้างแผนภาพกล่อง

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 60

60 < ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6


ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 61

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 > 61


บัตรภาพ บัตรคา และสื่อต่าง ๆ

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 62

62 < ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6


แถบกระดาษ 7 ช่อง
สาหรับแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ชั่วโมงที่ 1

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 63

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 > 63


64
บัตรภาพแผนภาพกล่องแสดงยอดผู้ติดเชื้อโควิด 19
สาหรับแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ชั่วโมงที่ 5

แผนภาพกล่องแสดงยอดผู้ติดเชื้อโควิด 19
ประจาวันที่ 1 ตุลาคม 2563

ของประเทศในทวีปเอเชียทีม
่ ีข้อมูล จานวน 47 ประเทศ

6 199 1,158

< ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6


0 81,484

0 200 400 600 800 1,000 1,200 80,000

ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สาหรับครูผู้สอน) : วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 64


คณะผู้จัดทำ
ที่ปรึกษำสำนักงำนโครงกำรส่วนพระองค์สมเด็จพระกนิษฐำธิรำชเจ้ำ กรมสมเด็จพระเทพ
รัตนรำชสุดำ ฯ สยำมบรมรำชกุมำรี
คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา ที่ปรึกษาโครงการส่วนพระองค์สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า
กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
นายสมเกียรติ ชอบผล ประจาสานักพระราชวังพิเศษ ระดับ ๑๐
นางมัณฑนา ศังขะกฤษณ์ ข้าราชการบานาญ

ที่ปรึกษำ
นายอัมพร พินะสา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
นายกวินทร์เกียรติ นนธ์พละ รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
นายสุชาติ วงศ์สุวรรณ ข้าราชการบานาญ
นายชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ สานักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
รองศาสตราจารย์ทิศนา แขมมณี ราชบัณฑิต
นางเบญจลักษณ์ น้าฟ้า ที่ปรึกษาพิเศษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
นางวัฒนาพร ระงับทุกข์ ที่ปรึกษาพิเศษ ศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ
ศาตราจารย์ชูกิจ ลิมปิจานงค์ ผู้อานวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางศรินธร วิทยะสิรินันท์ ผู้อานวยการโรงเรียนนานาชาติ เซนต์ แอนดรูว์ส กรุงเทพ
นางสาวรัตนา แสงบัวเผื่อน ผู้อานวยการสานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา

ที่ปรึกษำกลุ่มสำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์
นางสาวสุพัตรา ผาติวิสันติ์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวสุพรรณี ชาญประเสริฐ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นายศรเทพ วรรณรัตน์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวอลงกรณ์ ตั้งสงวนธรรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะผู้จัดทำกลุม่ สำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์
๑. นายถนอมเกียรติ งานสกุล ข้าราชการบานาญ
๒. นางชนิสรา เมธภัทรหิรัญ อาจารย์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
๓. นางสาววัฒนิตา นาแสงวานิช อาจารย์ โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม
๔. นายรัฐพล กัลพล อาจารย์ โรงเรียนสาธิต “พิบูลบาเพ็ญ”
มหาวิทยาลัยบูรพา
๕. นายจักรพงษ์ ผิวนวล อาจารย์ โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา
๖. นางสาวดนิตา ชื่นอารมณ์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๗. นางสาววรนารถ อยู่สุข สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๘. นายอลงกต ใหม่ด้วง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๙. นางสาวจันทร์นภา อุตตะมะ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๑๐. นางสาวศศิวรรณ เมลืองนนท์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๑๑. นางสาวสิริวรรณ จันทร์กูล สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๑๒. นายจิระเมศร์ รุจิกรหิรัณย์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๑๓. นางสาวเสาวลักษณ์ สุวรรณชัยรบ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๑๔. นางสาวใบอ้อ สามะกิจ ครู โรงเรียนดาราสมุทร ศรีราชา
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
๑๕. นางสาวสุวรัตน์ ทองพันชั่ง ครู โรงเรียนปัญญาวรคุณ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑
๑๖. นางสาวอภิรดา ทั่นเส้ง ครู โรงเรียนวิสุทธรังษี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี
๑๗. นางอรทัย ย่อมสระน้อย ครู โรงเรียนร่องคา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาฬสินธุ์
๑๘. นางสาวแพรไหม สามารถ ครู โรงเรียนอนุกูลนารี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาฬสินธุ์
๑๙. นายนาคิน สัจจะเขตต์ ครู โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น
๒๐. นายพจนวัฒน์ จารย์พรมมา ครู โรงเรียนชลบุรี “สุขบท”
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง
๒๑. นางปาจรีย์ ชัยเพชร ครู โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ตรัง
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาตรัง กระบี่
๒๒. นางเสาวรัตน์ รามแก้ว ครู โรงเรียนทุ่งสง
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช
๒๓. นางสาวรมิดา จันฟุ่น ครู โรงเรียนทุ่งช้าง
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาน่าน
๒๔. นางจริยา จันทร์เรือง ครู โรงเรียนประจวบวิทยาลัย
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาประจวบคีรีขันธ์
๒๕. นางสาวเกศินี เพ็ชรรุ่ง ครู โรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร”
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาปราจีนบุรี นครนายก
๒๖. นายภานุวัฒน์ เกียรตินฤมล ครู โรงเรียนบรบือ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษามหาสารคาม
๒๗. นางสาวอัจฉรา วันฤกษ์ ครู โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย มุกดาหาร
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษามุกดาหาร
๒๘. นายศราวุฒิ คล่องดี ครู โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย มุกดาหาร
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษามุกดาหาร
๒๙. นางสาวพรปวีณ์ ตาลจรุง ครู โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย มุกดาหาร
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษามุกดาหาร
๓๐. นายวีรยุทธ สร้อยเพชร ครู โรงเรียนมัธยมวัดศรีจันทร์ประดิษฐ์ ในพระบรมราชานุเคราะห์
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการ
๓๑. นายสุทธิรักษ์ สุขศิริสวัสดิกุล ครู โรงเรียนวัดทรงธรรม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการ
๓๒. นางสาวยศศิกา อ่อนจร ครู โรงเรียนวัดทรงธรรม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการ
๓๓. นางมานิตา เจริญองอาจ ครู โรงเรียนสตรีสมุทรปราการ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการ
๓๔. นางสาวธิดารัตน์ นิ่มนุช ครู โรงเรียนศรีประจันต์ “เมธีประมุข”
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุพรรณบุรี
๓๕. นางสาวขวัญหทัย พิกุลทอง ครู โรงเรียนสวนแตงวิทยา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุพรรณบุรี
๓๖. นายภานุพงษ์ วิยะบุญ ครู โรงเรียนกุมภวาปี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี
๓๗. นายธนกร ขันตรีสกุล ครู โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี

คณะบรรณาธิการ
๑. รองศาสตราจารย์สิริพร ทิพย์คง ข้าราชการบานาญ
๒. ผู้ช่วยศาตราจารย์ลัดดาวัลย์ เพ็ญสุภา ข้าราชการบานาญ
๓. ผู้ช่วยศาสตราจารย์มาลินท์ อิทธิรส ข้าราชการบานาญ
๔. นางสุวรรณา คล้ายกระแส ข้าราชการบานาญ
๕. นายถนอมเกียรติ งานสกุล ข้าราชการบานาญ
๖. นางสาวจาเริญ เจียวหวาน ข้าราชการบานาญ
๗. นายดนัย ยังคง นักวิชาการอิสระ
๘. นายสมนึก บุญพาไสว นักวิชาการอิสระ
๙. ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิณดิษฐ์ ละออปักษิณ อาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
๑๐. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ไพโรจน์ น่วมนุ่ม อาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
๑๑. ศาสตราจารย์วิเชียร เลาหโกศล อาจารย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
๑๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชนิศวรา เลิศอมรพงษ์ อาจารย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
๑๓. ผู้ช่วยศาสตราจารย์วันดี เกษมสุขพิพัฒน์ อาจารย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
๑๔. รองศาสตราจารย์เวชฤทธิ์ อังกนะภัทรขจร อาจารย์ มหาวิทยาลัยบูรพา
๑๕. นางนงนุช ผลทวี ครู โรงเรียนทับปุดวิทยา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพังงา ภูเก็ต ระนอง
๑๖. นางสาวสุพัตรา ผาติวิสันติ์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๑๗. นางสาวอลงกรณ์ ตั้งสงวนธรรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๑๘. ว่าที่ร้อยเอกภณัฐ ก้วยเจริญพานิชก์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๑๙. นางสาววรนารถ อยู่สุข สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้รับผิดชอบโครงกำร
นางผาณิต ทวีศักดิ์ รองผู้อานวยการสานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
นางสาวพรทิพย์ ดินดี ข้าราชการบานาญ
นางสาวภัทรา ด่านวิวัฒน์ นักวิชาการศึกษา
สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
นางสาวอธิฐาน คงช่วยสถิตย์ นักวิชาการศึกษา
สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
นายอภิศักดิ์ สิทธิเวช นักวิชาการศึกษา
สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
นางสาวอัจฉราพร เทียงภักดิ์ นักวิชาการศึกษา
สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
นางสาวปรมาพร เรืองเจริญ พนักงานธุรการ
สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
นางสาววศินี เขียวเขิน นักวิชาการศึกษา
สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา

You might also like