You are on page 1of 23

โครงงานเรื่ อง

จัดทำโดย
นางสาว กิตติวรา สร้ างอารมณ์ เลขที่ 4

นางสาว กนกวรรณ ช่างจ่าย เลขที่ 6

นางสาว ชรินรัตน์ โจมรัมย์ เลขที่ 9

นางสาว เมธาวี กักจัตรุ ัส เลขที่ 11

นางสาว อนัญญา ครองตาเนิน เลขที่ 15

นางสาว สุธาสินี เดือนสว่าง เลขที่ 17


รายงานโครงงานนี ้เป็ นส่วนหนึง่ ของรายวิชาโครงงานคณิตศาสตร์

้ ธยมศึกษาปี ที่ 5/1


นักเรี ยนชันมั
กลุม่ สาระการเรี ยนรู้คณิตศาสตร์
โรงเรี ยนเนินสง่าวิทยา

ปี การศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน โครงงาน

ชื่อผู้ทำโครงงาน นางสาว กิตติวรา สร้ างอารมณ์ ชัน้ ม.5/1 เลขที่ 4

นางสาว กนกวรรณ ช่างจ่าย ชัน้ ม.5/1 เลขที่ 6

นางสาว ชรินรัตน์ โจมรัมย์ ชัน้ ม.5/1 เลขที่ 9

นางสาว เมธาวี กักจัตรุ ัส ชัน้ ม.5/1 เลขที่ 11


นางสาว อนัญญา ครองตาเนิน ชัน้
ม.5/1 เลขที่ 15

นางสาว สุธาสินี เดือนสว่าง ชัน้ ม.5/1 เลข


ที่ 17
ครูที่ปรึกษาโครงงาน
นาง มนัสนันท์ ประสานพันธ์
อนุมตั ิให้ โครงงานนี ้เป็ นส่วนหนึง่ ของรายวิชาโครงงานคณิตศาสตร์
กลุม่ สาระการเรี ยนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรี ยนเนินสง่าวิทยา

………………..
……………………ครูที่ปรึกษาโครงงาน
(นาง มนัสนันท์ ประสานพันธ์)

บทคัดย่อ

ชื่อโครงงาน ฟั งก์ชนั ตรี โกณมิติกบั ชีวิต


ความเป็ นมา
จากการศึกษาฟั งก์ชนั ตรี โกณมิติกบั ชีวิต ทำให้ เกิดความสนใจเป็ นอย่างมาก และ
ได้ เกิดข้ อสงสัยต่างๆ มากมายเกี่ยวกับการวัดระยะหาพื ้นที่ต่างๆ ที่นำมาปฏิบตั ิการทาง
คณิตศาสตร์ แล้ วทำให้ ลกั ษณะของระยะและพื ้นที่ตา่ งๆในแบบต่างๆ มีความแปลก มีลกั ษณะ
เฉพาะตัว คณะทำงานจึงได้ ร่วมมือกันศึกษาค้ นคว้ าเรื่ อง “ ฟั งก์ชนั ตรี โกณมิติกบั ชีวิต ” จาก
แหล่งการเรี ยนรู้ ตา่ งๆ เมื่อมีความเข้ าใจดีแล้ วคณะทำงานจึงอยากที่จะเผยแพร่ความรู้นี ้ให้ กบั ผู้
ที่สนใจ จึงได้ จดั ทำโครงงานนี ้ขึ ้น ทังนี
้ ้นอกจากจะเป็ นการเผยแพร่ความรู้ ความชำนาญ ให้ แก่
ผู้ที่สนใจแล้ ว ยังเป็ นการสร้ างสื่อในการเรี ยนการสอนได้ อีก คณะทำงานจึงตัดสินใจนำเสนอ
โครงงานชุดนี ้
กิตติกรรมประกาศ

โครงงานฟั งก์ชนั ตรี โกณมิติกบั ชีวิตประจำวัน คณะผู้จดั ทำได้ รับความช่วยเหลือจากผู้มี


พระคุณหลายท่านโดยเฉพาะ คณะคุณครู รองผู้อำนวยการและผู้อำนวยการโรงเรี ยนเนินสง่า
วิทยา ที่ให้ ความรู้ เกี่ยวกับการจัดทำโครงงาน วิธีการศึกษาและค้ นคว้ าต่างๆ อย่างละเอียด
รวมถึงแนวคิดและคำแนะนำในการดำเนินงาน ตลอดจนการแก้ ไขปั ญหาต่างๆ อันเป็ น
ประโยชน์ตอ่ โครงงานนี ้
ขอขอบพระคุณคุณครูกลุม่ สาระการเรี ยนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรี ยนเนินสง่าวิ ทยา ที่ให้ การ
สนับสนุนการจัดทำโครงงานนี ้จนสำเร็จ รวมไปถึงผู้ปกครองของนักเรี ยนในกลุ่มทุกท่าน ที่
ให้ การสนับสนุนการจัดทำโครงงานนี ้ให้ ลลุ ว่ งตามเป้าหมายและเจตนารมณ์ของคณะผู้จดั ทำ
โครงงาน
คณะผู้จดั ทำโครงงานรู้สกึ ซาบซึ ้งเป็ นอย่างยิ่ง จึงขอขอบพระคุณผู้เกี่ยวข้ องทุกท่าน
อย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี ้
คณะผู้จดั ทำโครงงาน

สารบัญ
เรื่ อง หน้ า
บทคัดย่อ ค
กิตติกรรมประกาศ ง
สารบัญตาราง ฉ
สารบัญรูปภาพ ช

บทที่ 1 บทนำ 1

1.1 ที่มาและความสำคัญของโครงงาน 1

1.2 วัตถุประสงค์ 1

1.3 ขอบเขตของโครงงาน 2

1.4 ผลที่คาดว่าจะได้ รับ 2

1.5 ขันตอนและระยะเวลาดำเนิ
้ นงาน 2

บทที่ 2 ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวข้ อง 3
2.1 ทฤษฎี หลักการและเทคนิค 3

2.2 โปรแกรมที่ใช้ ในการพัฒนา 4

บทที่ 3 การวิเคราะห์และออกแบบ 23
3.1 การวิเคราะห์เนื ้อหา 13
3.2 การเขียนบทดำเนินเรื่ อง 15

3.3 การพัฒนาโปรแกรม 16
3.4 ระบบเครื่ องและอุปกรณ์ที่ใช้ ในการพัฒนา 16
3.5 โปรแกรมทังหมดที
้ ่ใช้ ในการพัฒนา 16

บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน 44

4.1 ผลการดำเนินโครงงาน 44

บทที่ 5 สรุปผลและข้ อเสนอแนะโครงงาน 47

5.1 สรุปผลการดำเนินโครงงาน 47

5.2 ปั ญหาและอุปสรรค 47

5.3 ข้ อเสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา 47

บรรณานุกรม 48
ภาคผนวก


สารบัญรูปภาพ

รูปที่ หน้ า

1-1 ระบุชื่อรูปภาพ 22

1-2 ระบุชื่อรูปภาพ 24
หมายเหตุ 1-1 หมายถึง รูปภาพที่อยูใ่ นบทที่ 1 ลำดับที่ 1

บทที่ 1
บทนำ

1.1 ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ทักษะในการเรี ยนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีข้อคิดหลัก ที่จะพัฒนาในโลกมีความทัน
สมัยใช้ เทคโนโลยีให้ เกิดประโยชน์ โดยเฉพาะการจัดการเรี ยนการสอนล้ วนมุ่งเน้ นให้
เยาวชนมีการปลูกจิตสำนึกให้ กบั ยุคที่ทนั สมัยแต่เป็ นที่ร้ ูจกั กันดีว่าในยุคนี ้โลกโซเชียล
ได้ เข้ ามามีบทบาทและมีอิทธิพลต่อมนุษย์เป็ นอย่างมาก ดังนันการนำเสนอการเรี
้ ยนรู้
จะจัดทำและเผยแพร่ความรู้ ให้ มีความโดดเด่นและเกิดแรงดึงดูดความสนใจ
ผู้จดั ทำจึงต้ องศึกษาเกี่ยวกับการจัด ทำเพื่อที่จะนำเสนอความรู้ ทางคณิตศาสตร์ ใน
ทางที่เกิดประโยชน์ โดยมีการผสมผสานความทันสมัยทางเทคโนโลยีซงึ่ เป็ นอีกจุด ที่
สำคัญต่อเยาวชนที่จะหันมาศึกษาการใช้ โลกโซเชียลให้ ถกู ทางและเกิดประโยชน์สงู สุด
และยังนำเสนอข้ อมูลจากแหล่งอ้ างอิงที่น่าเชื่อถือจากหลากหลายแหล่ง โดยนำไปใช้ ใน
การเรี ยนการสอนหรื อค้ นคว้ าอีกด้ วย
1.2 วัตถุประสงค์
1.2.1 เพื่อศึกษาค้ นคว้ าข้ อมูลทางคณิตศาสตร์ เรื่ องฟั งก์ชนั ตรี โกณมิติ
1.2.2 เพื่อพัฒนาทักษะการเรี ยนรู้ในศตวรรษที่ 21
1.2.3 เพื่อสร้ างบล็อกการเรี ยนรู้ ทางคณิตศาสตร์ บูรณาการเกี่ยวกับการใช้ ฟังก์ชนั
ตรี โกณมิติในชีวิตประจำวัน
1.3 ขอบเขตของโครงงาน
1.3.1 จัดทำโครงงานระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2563 ถึงวันที่ 9 กุมภาพันธ์
2563
1.4 ผลที่คาดว่ าจะได้ รับ
1.4.1 สามารถนำความรู้ ทางคณิตศาสตร์ เรื่ องฟั งก์ชนั ตรี โกณมิติมาประยุกต์ใช้ ในชีวิต
ประจำวัน
1.4.2 ได้ ร้ ูถงึ แนวคิดในการสร้ างสิ่งประดิษฐ์ ทางด้ านวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์
1.4.3 ได้ นำความรู้ ทางคณิตศาสตร์ มาประยุกต์ใช้ ให้ เกิดประโยชน์

1.5 ขัน้ ตอนและระยะเวลาดำเนินงาน


รายการ ผู้รับผิดชอบ
วัน/เดือน/ปี
1 มกราคม 2563 ประชุมเพื่อเสนอชื่อของ คณะทำงาน
โครงงาน
ประชุมเพื่อเสนอบทคัดย่อ
คณะทำงาน
5 มกราคม 2563
เก็บรวบรวมข้ อมูลจากห้ อง
สมุด สื่อ สิ่งพิมพ์ น.ส สุธาสินี เดือนสว่าง
11 มกราคม 2563 อินเตอร์ เน็ต น.ส เมธาวี กักจัตรุ ัส
ประชุมเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล
และผลการศึกษา
จัดพิมพ์โครงร่างนำเสนอ คณะทำงาน
18 มกราคม 2563 ครู
1.การนำความรู้ ทาง
น.ส อนัญญา ครองตาเนิน
ฟั งก์ชนั ไปสร้ างพีระมิด
25 มกราคม 2563
2.การใช้ ฟังก์ชนั หาระยะ
ทาง น.ส กิตติวรา สร้ างอารมณ์
1 กุมภาพันธ์ 2563 จัดทำรูปเล่มเอกสารส่งครู น.ส กนกวรรณ ช่างจ่าย
น.ส ชริ นรัตน์ โจมรัมย์

คณะผู้จดั ทำ

9 กุมภาพันธ์ 2563
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้ อง
2.1 เอกสารที่เกี่ยวข้ อง
ฟั งก์ชนั คือ ความสัมพันธ์ จากเซตหนึง่ ที่เรี ยกว่าโดเมน ไปยังอีกเซตหนึง่ ที่เรี ยกว่าโค
โดเมน (บางครัง้ คำว่าเรนจ์อาจถูกใช้ แทน แต่เรนจ์นนมี
ั ้ ความหมายอื่นด้ วย "โคโดเมน"
จึงเป็ นที่นิยมมากกว่า เพราะไม่กำกวม) โดยที่สมาชิกตัวหน้ าไม่ซ้ำกัน ความคิดรวบ
ยอดของฟั งก์ชนั นี ้เป็ นพื ้นฐานของทุกสาขาของคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ เชิง
ปริ มาณ
ความสัมพันธ์และฟั งก์ชนั

คูอ่ นั ดับ (Order Pair) เป็ นการจับคูส่ ิ่งของโดยถือลำดับเป็ นสำคัญ เช่น คูอ่ นั ดับ
a, b จะเขียนแทนด้ วย (a, b) เรี ยก a ว่าเป็ นสมาชิกตัวหน้ า และเรี ยก b ว่าเป็ น
สมาชิกตัวหลัง
(การเท่ากับของคูอ่ นั ดับ) (a, b) = (c, d) ก็ตอ่ เมื่อ a = c และ b = d
ผลคูณคาร์ ทีเชียน (Cartesian Product) ผลคูณคาร์ ทีเซียนของเซต A และ
เซต B คือ เซตของคูอ่ นั ดับ (a, b) ทังหมด
้ โดยที่ a เป็ นสมาชิกของเซต A และ b
เป็ นสมาชิกของเซต B
สัญลักษณ์ ผลคูณคาร์ ทีเซียนของเซต A และเซต B เขียนแทนด้ วย A x B
หรื อ เขียนในรูปเซตแบบบอกเงื่อนไขจะได้ วา่
ความสัมพันธ์ (Relation)
r เป็ นความสัมพันธ์จาก A ไป B ก็ตอ่ เมื่อ r เป็ นสับเซตของ A x B

โดเมน (Domain) และ เรนจ์ (พิสัย) (Range)


1. โดเมน (Domain) ของความสัมพันธ์  r คือ เซตที่มีสมาชิกตัวหน้ าของทุกคูอ่ นั ดับ
ในความสัมพันธ์  r ใช้ สญ
ั ลักษณ์แทนด้ วย Dr ดังนัน  
้ Dr = {x | (x, y) ε r}
2.  เรนจ์ (Range) ของความสัมพันธ์  r คือ เซตที่มีสมาชิกตัวหลังของทุกคูอ่ นั ดับใน
ความสัมพันธ์  r ใช้ สญ
ั ลักษณ์แทนด้ วย R r ดังนัน  
้ Rr = {y | (x, y) ε r}
ลักษณะของความ วิธีหาโดเมน วิธีหาเรนจ์
สัมพันธ์
เซตแบบแจกแจง พิจารณาสมาชิกตัวหน้ าของทุกคู่ พิจารณาสมาชิกตัวหลัง
สมาชิก อันดับในความสัมพันธ์ r ของทุกคูอ่ นั ดับในความ
สัมพันธ์ r
เซตแบบบอกเงื่อนไข  เปลี่ยนเป็ นเซตแบบแจกแจง
สมาชิกแล้ วพิจารณาสมาชิก
ตัวหน้ าของทุกคูอ่ นั ดับใน
ความสัมพันธ์  r
 พิจารณารูปแบบของเงื่อนไข
แล้ วจัด y ให้ อยูใ่ นรูป x แล้ ว
หาค่า x ที่ทำให้  y เป็ นจริ ง
ตามเงื่อนไข
 เปลี่ยนเป็ นเซตแบบแจกแจง
สมาชิกแล้ วพิจารณาสมาชิก
ตัวหลังของทุกคูอ่ นั ดับใน
ความสัมพันธ์  r
 พิจารณารู ปแบบของเงื่อนไข
แล้ วจัด x ให้ อยูใ่ นรูป y แล้ ว
หาค่า y ที่ทำให้  x เป็ นจริ ง
ตามเงื่อนไข

กราฟ พิจารณาค่าของ x ทังหมดบนแกน


้ พิจารณาค่าของ y
X ที่ใช้ ในการเขียนกราฟ ทังหมดบนแกน
้ Y ที่ใช้
ในการเขียนกราฟ

ฟั งก์ชนั จากเซตหนึ่งไปยังอีกเซตหนึง่

กำหนดให้ A และ B เป็ นเซต


f จะเป็ นฟั งก์ชนั จาก A ไป B (function from A to B) ก็ตอ่ เมื่อ
1) f เป็ นฟั งก์ชนั
2) Df = A
3) Rf ε B
สัญลักษณ์ f เป็ นฟั งก์ชนั จาก A ไป B จะเขียนแทนด้ วย f : A → B อ่าน
ว่า f เป็ นฟั งก์ชนั จาก A ไป B
ฟั งก์ชนั จาก A ไปทัว่ ถึง B
f จะเป็ นฟั งก์ชนั จาก A ไปทัว่ ถึง B (function from A onto B) ก็เต่อ
เมื่อ
1) f เป็ นฟั งก์ชนั
2) Df = A
3) Rf = B
สัญลักษณ์ f เป็ นฟั งก์ชนั จาก A ไป B จะเขียนแทนด้ วย f : AB หรื อ
f : AB อ่านว่า f เป็ นฟั งก์ชนั จาก A ไปทัว่ ถึง B

ฟั งก์ชนั เชิงเส้ น
ฟั งก์ชนั เชิงเส้ น คือ ฟั งก์ชนั ที่อยูใ่ นรูป y = ax+b เมื่อ a ,b เป็ นจำนวนจริ ง
และ กราฟของฟั งก์ชนั เชิงเส้ นจะเป็ นเส้ นตรง
ตัวอย่างของฟั งก์ชนั เชิงเส้ น เช่น
1) y = x
ฟั งก์ชนั y = ax + b เมื่อ a = 0 จะได้ ฟังก์ชนั ที่อยูใ่ นรูป y = b ซึง่
มีชื่อเรี ยกว่า ฟั งก์ชนั คงตัว (constant function) กราฟของฟั งก์ชนั คงตัวจะเป็ น
เส้ นตรงที่ขนานกับแกน X ตัวอย่างของฟั งก์ชนั คงตัว เช่น

y1 = 5

y2 = -5

ฟั งก์ชนั ขันบั
้ นได

ฟั งก์ชนั ขันบั
้ นได หมายถึง ฟั งก์ชนั ที่มีโดเมนเป็ นสับเซตของเซตของจำนวนจริ ง และมีคา่ ของ
ฟั งก์ชนั เป็ นค่าคงตัวเป็ นช่วงๆ มากกว่าสองช่วง กราฟจะมีลกั ษณะคล้ ายขันบั
้ นได
ตัวอย่างของฟั งก์ชนั ขันบั
้ นไดที่พบเห็นในชีวิตประจำวันได้ แก่อตั ราค่าบริ การต่างๆ เช่น อัตราค่า
บริ การไปรษณีย์
ฟั งก์ชนั เอกซ์โพเนนเชียล (Exponential Function)
ข้ อสังเกต
x
1. ไม่วา่ x จะเป็ นจำนวนจริ งใด ๆ ก็ตาม 1  ก็ยงั คงเท่ากับ 1 เสมอ ดังนันจึ
้ งไม่น่า
สนใจ  เนื่องจาก  เราทราบว่ามันเป็ นอะไรแน่ ๆ อยูแ่ ล้ ว

2. เรายังไม่ทราบนะว่า เลขยกกำลังที่มีฐานเป็ นจำนวนจริ งบวกยกเว้ น 1  และ


เลขชี ้กำลังเป็ นจำนวนจริ งใด ๆ แสดงว่าเราจะต้ องสนใจศึกษาเลขยกกำลังลักษณะนี ้
เป็ นพิเศษ  ซึง่ จะกล่าวถึงใน  เรื่ องฟั งก์ชนั เอกซ์โพเนนเชียลดังนี ้

ข้ อกำหนด  (ฟั งก์ชนั เอกซ์โพเนนเชียล)


+ x
ฟั งก์ชนั เอกซ์โพเนนเชียล คือ f = { (x, y) Î R ´ R  / y = a  , a > 0, a ¹ 1
}

 
ข้ อตกลง  ในหนังสือคณิตศาสตร์ บางเล่มให้ ข้อกำหนดของฟั งก์ชนั เอกซ์โพเนนเชียล  เป็ น
x
ฟั งก์ชนั ที่อยูใ่ นรูป f(x) = ka   เมื่อ k เป็ นค่าคงตัวที่ไม่ใช่ 0 และ a เป็ นจำนวนจริ งบวก
ที่ไม่เป็ น 1 แต่ในหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายนี ้ จะถือว่าฟั งก์ชนั เอกซ์โพเนนเชียลจะอยูใ่ น
x
รูป f(x) = a   เมื่อ a เป็ น จำนวนจริ งบวกที่ไม่เป็ น 1 เท่านัน้
ข้ อสังเกต  จากข้ อกำหนดฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียล
x x
1. f(x) = 1  เป็ นฟั งก์ชนั คงตัวเนื่องจาก 1  = 1 ดังนันในข้
้ อกำหนดฟั งก์ชนั เอกซ์
โพเนนเชียล  จึงไม่ สนใจ  ฐาน (a) ที่เป็ น 1
x x
2. f(x) = 1  ไม่เป็ นฟั งก์ชนั เอ็กซ์โพเนนเชียล  เนื่องจาก  f(x) = 1  เป็ นฟั งก์ชนั
คงตัว
x
3. จากเงื่อนไขที่วา่ y = a , a > 0, a ¹ 1  ทำให้ เราทราบได้ เลยว่าฐาน (a) มี
อยู่ 2 ลักษณะ คือ  0 < a < 1 กับ a > 1

4. ฟั งก์ชนั เอกซ์โพเนนเชียลจะมีอยู่ 2 ชนิด โดยขึ ้นอยูก่ บั ลักษณะของฐาน (a)  ดังนี ้


x
ชนิดที่ 1     y = a , 0 < a < 1
x
ชนิดที่ 2     y = a , a > 1

กราฟของฟั งก์ ชัน  y = ax, 0 < a < 1

บทที่ 3
วิธีการดำเนินงาน
คณะผู้จดั ทำโครงงานคณิตศาสตร์ ประเภทสำรวจ
เรื่ องศูนย์กีฬากับความพึงพอใจใช้ สถานที่และระยะเวลาและวิธีการดำเนินงานและมีเครื่ องมือ
ในการดำเนินการ ดังต่อไปนี ้
สถานที่ในการจัดทำโครงงาน
- โรงเรี ยนเนินสง่าวิทยา
ระยะเวลาในการจัดทำโครงงาน

- วันที่ 1 มกราคม 2563 – วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2563


วิธีการนำเสนอผลงาน

- นำเสนอในรูปแบบของเอกสารโครงงาน จำนวน ๓ เล่ม

- นำเสนอโดยการจัดบอร์ ด
วิธีการดำเนินงาน

1. สมาชิกร่วมกันเพื่อปรึกษาและร่วมกันวางแผนทำโครงงาน สำรวจความคิดเห็นเสนอ
เค้ าโครงของโครงงานต่อครู ที่ปรึกษา

2. กำหนดประชากรกลุม่ ตัวอย่างที่จะศึกษา เก็บข้ อมูลโดยการใช้ แบบสอบถามกับนักเรี ยนชัน้


มัธยมศึกษาปี ที่ 5 และจัดทำตารางดำเนินงาน

3. การสร้ างเครื่ องมือเก็บรวบรวมข้ อมูล เป็ นแบบสอบถาม

4. กำหนดวิธีการออกเก็บข้ อมูลและแบ่งหน้ าที่กนั เก็บข้ อมูลโดยการใช้ แบบสอบถาม

5. การนำข้ อมูลที่ได้ มามาวิเคราะห์ตามหลักวิชาการ โดยให้ ครู ที่ปรึกษาคอยให้ คำแนะนำให้


ข้ อเสนอแนะในสวนที่ยงั ไม่สมบูรณ์หรื อขาดหาย

6. สรุปผลการทำโครงงาน นำเสนอผลงานต่อหน้ าที่ประชุมนักเรี ยนและครู ที่ปรึกษาเพื่อตรวจ


สอบความน่าเชื่อถือความสมบูรณ์ของข้ อมูลแล้ วจัดรูปเล่มโครงงาน 3 เล่มส่งครู ที่ปรึกษา
ประจำวิชาคณิตศาสตร์
ปฏิทินการปฏิบตั ิงาน
รายการ ผู้รับผิดชอบ
วัน/เดือน/ปี
1 มกราคม 2563 ประชุมเพื่อเสนอชื่อของ คณะทำงาน
โครงงาน
ประชุมเพื่อเสนอบทคัดย่อ
คณะทำงาน
5 มกราคม 2563
เก็บรวบรวมข้ อมูลจากห้ อง
สมุด สื่อ สิ่งพิมพ์ น.ส สุธาสินี เดือนสว่าง
11 มกราคม 2563 อินเตอร์ เน็ต น.ส เมธาวี กักจัตรุ ัส
ประชุมเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล
และผลการศึกษา
จัดพิมพ์โครงร่างนำเสนอ คณะทำงาน
18 มกราคม 2563 ครู
1.การนำความรู้ ทาง
น.ส อนัญญา ครองตาเนิน
ฟั งก์ชนั ไปสร้ างพีระมิด
25 มกราคม 2563
2.การใช้ ฟังก์ชนั หาระยะ
ทาง น.ส กิตติวรา สร้ างอารมณ์
1 กุมภาพันธ์ 2563 จัดทำรูปเล่มเอกสารส่งครู น.ส กนกวรรณ ช่างจ่าย
น.ส ชริ นรัตน์ โจมรัมย์

คณะผู้จดั ทำ

9 กุมภาพันธ์ 2563

อุปกรณ์ที่ใช้ในการสำรวจข้อมูล

- สมุดจดบันทึก

- ปากกา และอุปกรณ์เครื่องเขียน

- คอมพิวเตอร์
- แบบสำรวจ

- เครื่องคิดเลข

- กล้องถ่ายรูปออกสำรวจข้อมูล

- โดยแยกเป็ นระดับชัน
้ ม. 5 ระดับชัน
้ ละ ประมาณ 5 ชุด

แบบสอบถามข้อมูลในการสำรวจ

แบบสอบถามความคิดเห็นและความพึงพอใจของการทำการเรียนการ
สอน เรื่อง ฟั งก์ชัน

1 เพศ

O ชาย

O หญิง

2.ห้อง

O ม.5/1 O ม.5/2 O ม.5/3

3.กรุณาทำเครื่องหมาย/ ลงในช่องว่างตามความเข้าใจ

ลำดับที่ รายการ ใช่ ไม่ใช่


ฟั งก์ชนั ขันบั
้ นไดที่พบเห็นมักจะพบในอัตตราค่าบริ การ
1 ต่างๆ
2 ความสัมพันธ์และฟั งก์ชนั มักพบตามสิ่งสองสิ่งที่
เกี่ยวข้ องกัน
3 ฟั งก์ชนั เอกซ์โพเเนนเชียลคือฟั งก์ชนั เลขชีกำ
้ ลัง

4 ฟั งก์ชนั เชิงเส้ นอยูใ่ นรูป


f(x)=ax^2+bx+c
5 กราฟของฟั งก์ชนั กำลังสองจะเป็ นเส้ นตง

6 การที่กราฟพาราโบลาคว่ำจะมีจดุ ยอดสูงสุด

7 ฟั งก์ชนั เชิงเส้ นกราฟจะเป็ นพาลาโบลา

8 การที่กราฟพาราโบลาหงายมีจดุ ยอดต่ำสุด

9 ฟั งก์ชนั คือเซตของคูอ่ นั ดับที่มีโดเมนจับคูก่ บั เร


จน์เพียงตัวเดียว
10 นักเรี ยนมีความเข้ าใจเรื่ องฟั งก์ชนั
บทที่ 4
ผลการดำเนินงาน
โครงงานคณิตศาสตร์ ประเภทสำรวจ เรื่ อง ฟั งก์ชนั กับชีวิตประจำวัน
ดำเนินการสำรวจและรวบรวมข้ อมูลในเรื่ องความพึงพอใจในการเรี ยนการสอนเกี่ยวกับฟั งก์ชนั
โดยแยกตามห้ อง ม.5/1 ม.5/2 ม.5/3 และแบบสอบถามห้ องละ 5 ชุด รวม จำนวน
15 ชุด
และได้ นำความรู้ในวิชาคณิตศาสตร์ ในเรื่ องการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตร้ อยละในชีวิตประจำวัน
และการนำเสนอข้ อมูลด้ วยการจัดบอร์ ดมาใช้ ในการทำโครงงานนี ้ดังรายระเอียดต่อไปนี ้

You might also like