You are on page 1of 13

สรุปความรู้จากการศึกษาวิทยานิพนธ์

จัดทาโดย
นายพิทวัส ช่างจัด
รหัสนักศึกษา 600231011 เลขที่ 7

ผู้สอน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัชชา กมล
กระบวนวิชา 065724

1|Page
ชื่อเรื่องวิทยานิพนธ์ : การใช้โครงงานคณิตศาสตร์เพื่อส่งเสริมการคิดเชิงสถิติของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
โรงเรียนบ้านแม่คา(ประชานุเคราะห์) อาเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย
ผู้วิจัย : นางสาวนริศรา โกเสนตอ
ปีที่พิมพ์ : กันยายน 2553
มหาวิทยาลัยที่สังกัด : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขา คณิตศาสตร์ศึกษา)
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ : อ.ดร. อัญชลี ตนานนท์

1.) วัตถุประสงค์ของการวิจัย :
1. เพื่อศึกษาการคิดเชิงสถิติในการเรียนเรื่อง สถิติ ที่ใช้ในโครงงานคณิตศาสตร์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ส าหรั บ นนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 โรงเรี ย นบ้ า นแม่ ค า (ประชานุ เ คราะห์ ) อ าเภอแม่ จั น
จังหวัดเชียงราย
2. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง สถิติ ที่ใช้ในโครงงานคณิตศาสตร์ในการจัดกิจกรรมการเรียน รู้
สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านแม่คา (ประชานุเคราะห์) อาเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย

2.) นิยามศัพท์เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการคิด
1. การคิดเชิงสถิติ คือ ความสามารถในการเข้าใจและการใช้บริบทของปัญหาเพื่อสร้างวิธีการสืบเสาะหา
คาตอบและข้อสรุป รวมทั้งเห็นคุณค่าและเข้าใจในกระบวนการทางสถิติ ตั้งแต่การกาหนดประเด็นปัญหา
การเก็บข้อมูล การนาเสนอข้อมูล การวิเคราะห์และแปลความหมายของข้อมูล รวมทั้งการนาข้อมูลไปใช้
เพื่อตัดสินใจในสถานการณ์ปัญหานั้น ๆ

3.) เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อการคิด
▪ ความหมายของการคิดเชิงสถิติ คือ ความสามารถในการเข้าใจและการใช้บริบทของปัญหาเพื่อสร้างวิธีการ
สืบเสาะหาคาตอบและข้อสรุป รวมทั้งเห็นคุณค่าและเข้าใจในกระบวนการทางสถิติ ตั้งแต่การกาหนด
ประเด็นปัญหา การเก็บข้อมูล การนาเสนอข้อมูล การวิเคราะห์และแปลความหมายของข้อมูล รวมทั้งการ
นาข้อมูลไปใช้เพื่อตัดสินใจในสถานการณ์ปัญหานั้น ๆ

2|Page
▪ ความสาคัญของการคิดเชิงสถิติ จะมุ่งเน้นในการสร้างวิธีการสืบเสาะหาคาตอบและข้อสรุป รวมทั้งเห็น
คุ ณ ค่ า และเข้ า ใจในกระบวนการทางสถิ ติ นั้น สอดคล้ อ งกั บ กรอบการคิ ด เชิ ง สถิ ติ (Middle School
Student’ Statistical Thinking : M3ST) ซึ่งพัฒนาโดย Langrall and Mooney (2002) ได้กาหนดผ่าน
ลักษณะของกระบวนการทางสถิติของนักเรียนใน 4 กระบวนการ ในแต่ละกระบวนการ มีระดับการคิด 4
ระดับ โดยกระบวนการทางสถิตมิ ีรายละเอียด ดังนี้
1. การบรรยายลักษณะของข้อมูล (Describing data) เป็นความสามารถในการอ่านข้อมูลในรูป
ของการน าเสนอข้ อ มู ล ซึ่ ง เที ย บได้ กั ล ป์ ก ารแปลความหมายของข้ อ มู ล เบื้ อ งต้ นนั่ นเอง
(Wainer อ้างใน Mooney, 2002)
2. การจั ด การและการลดรู ป ข้ อ มู ล (Organizing and Reducing data) เกี่ ย วข้ อ งกั บ การ
จัดเรียง จัดกลุ่ม หรือการรวมกันในรูปของการสรุป
3. การแสดงแทนของข้อมูล (Representing data) เกี่ยวกับการเปลี่ยนรูปข้อมูลจากข้อมูลดิบ
แสดงในรู ป ของกราฟ ประกอบกั บ การพิ จ ารณาว่ าอะไรที่ เ ข้ ามาเกี่ ยวข้ อ งกั บ การสร้าง
การนาเสนอ มีความสาคัญยิ่งขึ้นเมื่อต้องสร้างแผนภูมิที่เหมาะสมกับสถานการณ์ที่กาหนดให้
เนื่องจากแผนภูมิที่ต่างออกไปสามารถสื่อถึงความคิดที่ต่างออกไปได้ (Mooney, 2002)
4. การวิ เ คราะห์ แ ละการแปลความหมายข้ อ มู ล (Analyzing and Interpreting data)
ประกอบด้วย การระบุแนวโน้ม และการอนุมานหรือการทานายเกี่ยวกับข้อมูล
ระดับการคิดมีทั้งหมด 4 ระดับ ได้แก่
1. การติดยึด (Idiosyncratics) เป็นการให้เหตุผลซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับข้อมูลที่ให้และมักจะมุ่งเน้น
ไปที่ความคิดของตนเอง
2. การเปลี่ ย นผ่ า น (Transitional) เป็ น การแสดงการคิ ด ออกมาโดยเริ่ ม ที่ จ ะตระหนั ก ถึ ง
ความสาคัญและให้เหตุผลในเชิงปริมาณ เมื่อมีการสารวจข้อมูล การคิดในระดับนี้จะเป็นการ
คิดอย่างตรง ๆ ไม่ยืดหยุ่น จะพยายามที่จะหาปริมาณของข้อมูลแล้วนาเสนอ
3. เชิงปริมาณ (Quantitative) ให้เหตุผลที่ยืดหยุ่นและกว้างขึ้นในการสารวจข้อมูล รู้สึกถึง
โครงสร้างที่ผสมผสานกันได้ ซึ่งจะมุ่งเน้นความสัมพันธ์ทางสถิติที่มีมากกว่า 1 คู่ แต่ไม่นามา
บูรณาการกับความคิดของตนเอง

3|Page
4. การวิเคราะห์ (Analytical) เมื่อมีการแจกจ่า ยข้ อมู ล นักเรียนจะมองข้ อมู ล ในมุ ม มองที่
หลากหลายและเริ่มเชื่อมโยงระหว่างมุมมองที่แตกต่างกัน ผู้เรียนจะบูรณาการความสัมพันธ์
ในมุมมองที่หลากหลายเข้าด้วยกันจนได้โครงสร้างที่มีความหมายสาหรับผู้เรียน
จากกระบวนการทางสถิติและระดับการคิดเชิงสถิติดังกล่าว สามารถแสดงความสัมพันธ์รายละเอียดของ
กรอบการคิดเชิงสถิติ ผ่านกระบวนการทางสถิติทั้ง 4 กระบวนการ ดังนี้
➢ การบรรยายลักษณะของข้อมูล ประกอบด้วยกระบวนการย่อย 2 กระบวนการ ได้แก่
- D.1 การแสดงความตระหนักสาหรับการนาเสนอข้อมูล
- D.2 การระบุหน่วยค่าของข้อมูล
ตาราง 1 แสดงลักษณะของการตอบสนองในแต่ล ะระดับของกระบวนการบรรยาย
ลักษณะข้อมูล
ระดับ 1 – การติดยึด ระดับ 2 – การเปลี่ยนผ่าน
D.1.1 แสดงความตระหนักเพียงเล็กน้อย D.1.2 แสดงความตระหนักบ้างเกี่ยวกับ
เกี่ยวกับลักษณะของการนาเสนอแทนใน ลั ก ษณะของการน าเสนอแทนในรู ป
รูปตาราง แผนภูมิและกราฟ ตาราง แผนภูมิและกราฟ
D.2.1 ตีความผิ ด หรือไม่ระบุห น่ว ยของ D.2.2 ร ะ บุ ห น่ ว ย ข อ ง ค่ า ข้ อ มู ล ไ ม่
ค่าข้อมูล สมบูรณ์
ระดับ 3 – เชิงปริมาณ ระดับ 4 – การวิเคราะห์
D.1.3 แสดงความตระหนั ก เกี่ ย ว กั บ D.1.4 แสดงความตระหนั ก เกี่ ย วกั บ
ลักษณะของการนาเสนอแทนในรูปตาราง ลั ก ษณะของการน าเสนอแทนในรู ป
แผนภูมิและกราฟอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ตาราง แผนภูมิและกราฟอย่างครบถ้วย
D.2.3 ร ะ บุ ห น่ ว ย ข อ ง ค่ า ข้ อ มู ล ที่ สมบูรณ์ รวมถึงลักษณะที่ไม่ส อดคล้ อ ง
เฉพาะเจาะจง หรือส่งเสริมเติมแต่ง
D.2.4 ร ะ บุ ห น่ ว ย ข อ ง ค่ า ข้ อ มู ล ใ น
รูปทั่ว ๆ ไป

4|Page
➢ การจัดการและการลดรูปข้อมูล ประกอบด้วยกระบวนการย่อย 3 กระบวนการ ได้แก่
- O.1 การจัดกลุ่มข้อมูล
- O.2 การอธิบายข้อมูลโดยใช้การวัดเข้าสู่ส่วนกลาง
- O.3 การอธิบายการกระจายของข้อมูล
ตาราง 2 แสดงลักษณะของการตอบสนองในแต่ละระดับของกระบวนการจัดการและ
การลดรูปข้อมูล
ระดับ 1 – การติดยึด ระดับ 2 – การเปลี่ยนผ่าน
O.1.1 ไม่มีความพยายามในการจัดกลุ่ม O.1.2 จัดกลุ่มข้อมูล แต่ไม่อยู่ในรูปการ
ข้อมูล สรุปรวม
O.2.1 ไม่ ส ามารถบรรยายข้ อ มู ล ใน O.2.2 บรรยายข้อมูลที่มีลักษณะเฉพาะ
รูปแบบตัวแทนหรือลักษณะเฉพาะ โดยใช้การวัดที่คิดขึ้นมาใหม่ซึ่งใช้ได้เพียง
O.3.1 ไม่ส ามารถบรรยายการกระจาย บางส่วน
ของข้อมูล ในรูปแบบของตัวแทนของการ O.3.2 บรรยายลักษณะของการกระจาย
กระจาย ของข้ อ มู ล โดยใช้ ก ารวั ด ที่ ส ร้ า งขึ้ น ซึ่ ง
ใช้ได้เพียงบางส่วน
ระดับ 3 – เชิงปริมาณ ระดับ 4 – การวิเคราะห์
O.1.3 จัดกลุ่มข้อมูลในรูปการณ์สรุปรวม O.1.4 จัดกลุ่ มข้อมูล ในรูปการสรุปรวม
หรือสร้างประเภทหรือกลุ่มใหม่ โดยสร้างประเภทหรือกลุ่มใหม่
O.2.3 บรรยายข้อมูลที่มีลักษณะเฉพาะ O.2.4 บรรยายข้อมูลโดยใช้การวัดเข้าสู่
โ ดยใช้ ก ารวั ด เ ข้ าสู่ ส่ ว น กล า ง จ า ก ส่วนกลางอย่างถูกต้องและน่าเชื่อถือ
กระบวนการที่ ผิ ด พลาดหรื อ การวั ด ที่ O.3.4 บรรยายลักษณะของการกระจาย
สร้างขึ้นใหม่ซึ่งถูกต้องและน่าเชื่อถือ ของข้อมูลโดยใช้การวัดอย่างถูกต้องและ
O.3.3 บรรยายลักษณะของการกระจาย น่าเชื่อถือ
ของข้อมูลโดยใช้การวัดจากกระบวนการ
ที่ผิดพลาดหรือการวัดที่ส ร้างขึ้นใหม่ ซึ่ง
ถูกต้องและน่าเชื่อถือ

5|Page
➢ การแสดงแทนของข้อมูล ประกอบด้วยกระบวนการย่อย 2 กระบวนการ ได้แก่
- R.1 การสร้างการนาเสนอข้อมูล
- R.2 การประเมินประสิทธิภาพของการนาเสนอข้อมูล
ตาราง 3 แสดงลักษณะของการตอบสนองในแต่ละระดับของกระบวนการแสดงแทน
ของข้อมูล
ระดับ 1 – การติดยึด ระดับ 2 – การเปลี่ยนผ่าน
R.1.1 ไม่สามารถสร้างการนาเสนอหรือ R.1.2 สร้างการนาเสนอที่มีความสมบูรณ์
สร้างการนาเสนอได้แต่ไม่สมบูรณ์ และความเป็ น ตั ว แทนของข้ อ มู ล เพี ย ง
R.2.1 ประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพของการ บางส่ ว นหรื อ มี ค วามสมบูร ณ์ แ ต่ไ ม่ เป็น
น าเสนอข้ อ มู ล บนพื้ น ฐานที่ ไ ม่ ต รงกั บ ตัวแทนของข้อมูล
ลักษณะหรือเหตุผล R.2.2 ประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพของการ
น าเสนอข้ อ มู ล บนพื้ น ฐานที่ ต รงตาม
ลักษณะของการนาเสนอ
ระดับ 3 – เชิงปริมาณ ระดับ 4 – การวิเคราะห์
R.1.3 สร้ า งการน าเสนอที่ ส มบู ร ณ์ แ ละ R.1.4 สร้างการนาเสนอที่ส มบูรณ์ เป็น
เ ป็ น ตั ว แ ท น โ ด ย ก า ร น า เ ส น อ มี ตัวแทนและเหมาะสม
ข้อบกพร่องบ้าง R.2.4 ประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพของการ
R.2.3 ประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพของการ น าเสนอข้ อ มู ล บนพื้ น ฐานที่ ต รงตาม
น าเสนอข้ อ มู ล บนพื้ น ฐานที่ ต รงตาม ลั ก ษณะของการน าเสนอ และตรงกั บ
ลั ก ษณะของการน าเสนอ โดยมี ก าร บริบทของข้อมูลที่นาเสนอ
อ้างอิงถึงบริบทของข้อมูลที่นาเสนอ

➢ การวิเคราะห์และการแปลความหมายข้อมูล ประกอบด้วยกระบวนการย่อย 4 กระบวนการ


ได้แก่
- A.1 ทาการเปรียบเทียบในชุดข้อมูลหรือการนาเสนอข้อมูล
- A.2 ทาการเปรียบเทียบระหว่างชุดข้อมูลหรือการนาเสนอข้อมูล
- A.3 ทาการอนุมานจากชุดข้อมูลหรือการนาเสนอข้อมูลที่มีให้
- A.4 ใช้การให้เหตุผลที่สัมพัทธ์
6|Page
ตาราง 4 แสดงลักษณะของการตอบสนองในแต่ละระดับของกระบวนการวิเคราะห์และ
การแปลความหมายข้อมูล
ระดับ 1 – การติดยึด ระดับ 2 – การเปลี่ยนผ่าน
A.1.1 ไ ม่ ท า ก า ร เ ป รี ย บ เ ที ย บ ห รื อ A.1.2 ท าการเปรี ย บเที ย บภายในและ
เปรียบเทียบที่ผิด ภายในข้อมูลที่นาเสนอ ระหว่ า งข้ อ มู ล ที่ น าเสนอหรื อ ชุ ด ข้ อ มู ล
หรือชุดข้อมูล ถูกต้องเพียง 1 ครั้ง หรือการเปรียบเทียบ
A.2.1 ไ ม่ ท า ก า ร เ ป รี ย บ เ ที ย บ ห รื อ ที่ถูกต้องเพียงบางส่วน
เปรี ย บเที ย บที่ ผิ ด ระหว่ า งข้ อ มู ล ที่ A.2.2 ทาการเปรียบเทียบระหว่างข้อมูล
นาเสนอ หรือชุดข้อมูล ที่นาเสนอหรือชุดข้อมูล ถู กต้ องเพีย ง 1
A.3.1 ทาการอ้างอิงโดยไม่ใช้ข้อมูลเป็น ครั้งหรือชุดของการเปรียบเทียบที่ถูกต้อง
พื้ น ฐาน หรื อ ท าการอ้ า งอิ ง บนพื้ น ฐาน เพียงบางส่วน
ของประเด็นปัญหาที่ไม่เกี่ยวข้อง A.3.2 ทาการอ้างอิงซึ่งอยู่บนพื้นฐานของ
A.4.1 ไม่ได้ใช้การคิดสัมพันธ์ ข้อมูล เพียงบางส่ ว น การอ้างอิงมีความ
สมเหตุสมผลเพียงบางส่วน
A.4.2 ใช้การคิดสัมพัทธ์ในเชิงคุณภาพ
ระดับ 3 – เชิงปริมาณ ระดับ 4 – การวิเคราะห์
A.1.3 ท าการเปรี ย บเที ย บทั้ ง ในระดั บ A.1.4 ท าการเปรี ย บเที ย บภายในชุ ด
เฉพาะหรื อ ระดั บ ทั่ ว ไปภายในข้ อ มู ล ที่ ข้อมูลหรือการนาเสนอข้อมูลทั้งในระดับ
นาเสนอหรือชุดข้อมูล เฉพาะและระดับทั่วไป
A.2.3 ท าการเปรี ย บเที ย บทั้ ง ในระดั บ A.2.4 ท าการเปรี ย บเที ย บระหว่ า งชุ ด
เฉพาะหรื อระดับทั่ว ไประหว่างข้อมู ล ที่ ข้อมูลหรือการนาเสนอข้อมูลทั้งในระดับ
นาเสนอหรือชุดข้อมูล เฉพาะและระดับทั่วไป
A.3.3 ทาการอ้างอิงโดยอาศัยข้อมูลเป็น A.3.4 ทาการอ้างอิง อย่างสมเหตุสมผล
ฐานการอ้างอิงมีความสมเหตุสมผลเป็น โดยอาศั ย ข้ อ มู ล และบริ บ ทเป็ น ฐาน
บางส่วน A.4.4 ใช้ ก ารคิ ด สั ม พั ท ธ์ ใ นเชิ ง ปริ ม าณ
A.4.3 ใช้ ก ารคิ ด สั ม พั ท ธ์ ใ นเชิ ง ปริ ม าณ ในลักษณะที่สมเหตุสมผล
แต่ไม่ใช่ลักษณะที่สมเหตุสมผล

7|Page
สรุ ป ได้ว่า การคิดในเชิงสถิตินั้ น จะทาการประเมินผ่านกระบวนการทางสถิติ ทั้ง 4 กระบวนการ ใน
กระบวนการบรรยายลักษณะของข้อมูล การจัดการและการลดรูปข้อมูล และการแสดงแทนของข้อมูล ใช้เกณฑ์
การประเมินระดับการคิดเชิงสถิติที่กล่าวในตารางข้างต้น

4.) การดาเนินการวิจัย
การดาเนินการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยที่ใช้โครงงานคณิตศาสตร์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ซึ่งคานึงถึง
ความเกี่ยวข้องกับบริบทของผู้เรีย น โดยกาหนดเนื้อหาตามสาระการเรียนรู้แกนกลางและตัวชี้วัดในหลั กสู ตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่องสถิติ มีขั้นตอนต่อไปนี้
1. วิเคราะห์หลักสูตร และเนื้อหาสถิติของชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
2. วิเคราะห์กรอบการคิดเชิงสถิติ เพื่อพิจารณาความสอดคล้องของเนื้อหาและบริบทในหลักสูตรของ
โรงเรียนบ้านแม่คา(ประชานุเคราะห์) และสาระการเรียนรู้แกนกลางและตัวชี้วัดในหลักสูตร
3. สร้างเครื่องมือในการวิจัย
4. ดาเนินการเก็บข้อมูล
5. วิเคราะห์ข้อมูล
6. สรุปผลการวิจัย

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ
1. แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องสถิติ โดยใช้โครงงานในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีขั้นตอนการสร้างดังนี้
1.1) ศึกษาบริบทและแหล่งเรียนรู้ของโรงเรียนและชุมชน เพื่อพิจารณาความสอดคล้องระหว่าง
เนื้อหาและกรอบการคิดเชิงสถิติ
1.2) สร้างหน่วยการเรียนรู้ที่สอดคล้องกันระหว่างเนื้อหาและกรอบการคิดเชิงสถิติ
1.3) เขียนแผนการเรียนรู้ เรื่อง สถิติโดยใช้โครงงานคณิตศาสตร์ในการจัดกิจกรรมโดยสอดคล้อง
กับเนื้อหาและบริบท ซึ่งผู้วิจัยได้เขียนแสดงหน่วยการเรียนรู้ วัตถุประสงค์รายหน่วย สาระ
การเรียนรู้ ลักษณะกิจกรรม กระบวนการย่อยในการประเมินระดับการคิดเชิงสถิติ และเวลา
ในการจัดกิจกรรมในแต่ละแผนการเรียนรู้ ดังนี้

8|Page
หน่วย วัตถุประสงค์ เรื่อง ลักษณะกิจกรรม กระบวน จานวน
รายหน่วย การย่อย คาบ
1 เพื่อให้ผู้เรียนมี สถิติกับชีวิตประจาวัน (งานกลุ่ม) D.1, D.2 3
ความตระหนักถึง * สถิติในชีวิตประจาวัน - ครูนาเสนอแผนภูมิ 1
ความสาคัญเห็น - ความสาคัญของสถิติ รูปแบบต่าง ๆ โดยใช้
คุณค่าและรู้ - ความหมายของสถิติ ข้อมูลเกี่ยวข้องกับ
ความหมายของ นักเรียน
สถิติและข้อมูล
* ข้อมูลทางสถิติ - ครูนาเสนอข้อมูลการ D.1 2
- ความสาคัญของข้อมูลเลือกใช้โปรโมชั่นมือถือ
- ความหมายของข้อมูล ในเครือข่ายต่าง ๆ โดย
- ชนิดและแหล่งข้อมูลให้นักเรียนนาเสนอ
ข้อมูลที่ได้รับมา
ประกอบการตัดสินใจ
- นักเรียนค้นคว้าข้อมูล
มานาเสนอในห้อง
รวมทั้งข้อมูลที่ครู
เตรียมไว้
2 เพื่อให้ผู้เรียน การแก้ปัญหาโดยใช้สถิติ (งานกลุ่ม) 3
ตระหนักถึงความ * การกาหนดประเด็น - นักเรียนกาหนด - 1
จาเป็นของการเก็บ และเขียนข้อคาถาม ประเด็นปัญหา
ข้อมูลและเรียนรู้ * วิธีการหาคาตอบของ - ครูนาเสนอตัวอย่าง - 2
วิธีการเก็บรวบรวม ปัญหา โครงงานคณิตศาสตร์
ข้อมูล - การทาโครงงาน - นักเรียนกาหนดวิธี
- การกาหนดวิธี การศึกษาและการเก็บ
การศึกษาและการเก็บ รวบรวมข้อมูล
รวบรวมข้อมูล - นักเรียนเก็บข้อมูล

9|Page
3 เพื่อให้ผู้เรียนมี การจัดกระทาข้อมูล (งานกลุ่ม) 5
ความรู้ความเข้าใจ * ข้อมูลและการจัดการ - นักเรียนจัดการกับ O.1 1
เกี่ยวกับการจัดการ - การจัดกลุ่มข้อมูล ข้อมูลที่ได้จากการเก็บ
ข้อมูลและค่ากลาง รวบรวมมา
ของข้อมูล สามารถ
นาความรู้ไปใช้ใน * การวิเคราะห์ข้อมูล
การจัดการข้อมูล - ค่ากลางของข้อมูลและ - นักเรียนหาค่ากลาง O.2 2
การนาเสนอข้อมูล การนาไปใช้ ของข้อมูลจากข้อมูลที่
การวิเคราะห์ข้อมูล ได้จากการเก็บรวบรวม
และการแปล - ข้อมูลกับการแสดงแทน - นักเรียนสร้างการ R.1, R.2 1
ความหมายของ (การนาเสนอข้อมูล) นาเสนอข้อมูลจาก
ข้อมูลได้อย่าง ข้อมูลที่ได้จากการเก็บ
สมเหตุสมผล รวบรวมมา
* การแปลความหมาย - ความหมายข้อมูลจาก A.1, 2
ข้อมูล การนาเสนอข้อมูลที่ A.2, A.4
สร้างขึ้น
4 เพื่อให้ผู้เรียนใช้ สถิติกับการนาไปใช้ 6
ความรู้ในเรื่องสถิติ * ความคลาดเคลื่อนใน - ครูกาหนด R.1, R.2 2
มาช่วยในการ การใช้สถิติ สถานการณ์ให้นักเรียน
ตัดสินใจใน - ความคลาดเคลื่อน วิเคราะห์ความ
สถานการณ์ปัญหา - การบิดเบือนข้อมูล คลาดเคลื่อนในการใช้
ของผู้เรียนและ สถิติ (งานรายบุคคล)
นาเสนอวิธีการ - นักเรียนสร้างการ
แก้ปัญหารวมทั้ง นาเสนอข้อมูล (งาน
การใช้ประโยชน์ รายบุคคล)
จากการบิดเบือน * สถิติกับการตัดสินใจ - กาหนดสถานการณ์ D.1 1
และความ ปัญหาที่นอกเหนือจาก
คลาดเคลื่อนในการ บริบทของนักเรียน
นาเสนอข้อมูล แล้วให้นักเรียนใช้
ความรู้ทางสถิติช่วยใน

10 | P a g e
การตัดสินใจ (งาน
รายบุคคล)
* สถิติกับการแก้ปัญหา - นักเรียนนาเสนอ - 1
โครงงานต่อเพื่อนใน
ห้องเรียน
* การนาเสนอโครงงาน - นักเรียนจัดทารูปเล่ม - 2
- การนาเสนอในรูปเล่ม รายงานของโครงงาน
รายงาน และแผงโครงงานแล้ว
- การจัดนิทรรศการแสดง จัดนิทรรศการแสดง
โครงงาน โครงงาน

1.4) นาแผนการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาความเหมาะสม
1.5) แก้ไขแผนการจัดการเรียนรู้ตามข้อเสนอแนะออกเป็นประเด็นต่าง ๆ ดังนี้
(1) ประเด็นเกี่ยวกับรูปแบบหรือโครงสร้าง ซึ่งเกี่ยวข้องกับความสอดคล้องกันภายในหน่วย
การเรียนรู้และภาพรวมของแผนทั้งหมด ความสมบูรณ์ของแผนการจัดการเรียนรู้ การ
กาหนดกิจกรรมในแต่ละขั้นตอนของแผนและภาษาที่ใช้ในการเขียนแผนการสอน
(2) ประเด็นเกี่ยวกับการดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่งเกี่ยวกับความสอดคล้องของ
ลักษณะกิจกรรมและจุดประสงค์ ความหลากหลายของกิจกรรมและสื่อที่ใช้ ลักษณะ
ของกิจกรรมที่ส่ งเสริมกระบวนการคิด ความรู้เดิมของผู้เรียนในการดาเนินกิจกรรม
นั้น ๆ และการได้ลงมือปฏิบัติจริงของนักเรียน
(3) ประเด็ น เกี่ ย วกั บ การประเมิ น ซึ่ ง เกี่ ย วข้ อ งกั บ ความสอดคล้ อ งในการประเมิ น กั บ
วัตถุประสงค์และความสอดคล้องในการประเมินการคิดเชิงสถิติกับประเด็นคาถาม

11 | P a g e
5.) ผลการวิจัย
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการคิดเชิงสถิติ และศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สถิติ ของ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านแม่คา(ประชานุเคราะห์) อาเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย โดยใช้
โครงงานคณิตศาสตร์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในที่นี้จะกาหนดหมายเลขแทนระดับการคิดเชิงสถิติไว้ดังนี้
หมายเลข 1 แทนระดับ การยึดติด
หมายเลข 2 แทนระดับ การเปลี่ยนผ่าน
หมายเลข 3 แทนระดับ เชิงปริมาณ
หมายเลข 4 แทนระดับ การวิเคราะห์
ซึ่งผู้วิจัยได้นาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยแบ่งเป็น 2 ตอนดังนี้
ตอนที่ 1 ระดับการคิดเชิงสถิติของนักเรียน : ผู้วิจัยได้ทาการประเมินระดับการคิดเชิงสถิติของนักเรียน
โดยประเมินในแต่ละกระบวนการทั้ง 4 กระบวนการ ซึ่งระดับการคิดในแต่ละกระบวนการได้จากการหาค่าเฉลี่ยใน
ระดับกระบวนการย่อยแต่ละกระบวนการ จะพบว่า ระดับการคิดต่าสุดที่นักเรียนมีคือ ระดับ 1 และระดับการคิด
สูงสุดทีน่ ักเรียนมี คือ ระดับ 3
▪ กระบวนการบรรยายลักษณะข้อมูล นักเรียนทุกคนมีระดับการคิดเชิงสถิติในระดับ 1
▪ กระบวนการจัดการและการลดรูปข้อมูล นักเรียนร้อยละ 54.29 มีระดับการคิดเชิงสถิติใน
ระดับ 2 นักเรียนร้อยละ 25.71 มีระดับการคิดอยู่ในระดับ 3 และนักเรียนร้อยละ 20.00 มีระดับ
การคิดอยู่ในระดับที่ 1
▪ กระบวนการการแสดงแทนของข้อมูล นักเรียนร้อยละ 60.00 มีระดับการคิดเชิงสถิติในระดับ 1
และนักเรียนร้อยละ 40.00 มีระดับการคิดอยู่ในระดับที่ 2
▪ กระบวนการการวิเคราะห์และการแปลความหมายข้อมูล นักเรียนร้อยละ 97.14 มีระดับการ
คิดเชิงสถิติอยู่ในระดับที่ 2 และนักเรียนร้อยละ 2.86 มีระดับการคิดอยู่ในระดับที่ 1

12 | P a g e
ตอนที่ 2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สถิติ : ผู้วิจัยสังเกตได้ชัดว่า เมื่อผ่านกระบวนการเรียนรู้ในตาม
แผนการจัดการเรียนรู้ทั้งหมดแล้วพบว่า นักเรียนสามารถบรรลุผลการเรียนรู้ทางสถิติที่สอดคล้องกับตัวชี้วัดใน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 ที่ระบุไว้ว่า นักเรียนสามารถกาหนดประเด็นและเขียนข้อ
คาถามเกี่ยวกับปัญหาหรือสถานการณ์ต่าง ๆ รวมทั้งกาหนดวิธีการศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลที่เหมาะสมได้
สามารถหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยมของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่และเลือกใช้ได้อย่างเหมาะสม
ทั้งนี้นักเรียนสามารถนาเสนอข้อมูลในรูปแบบที่เหมาะสม รวมทั้งอ่าน แปลความหมาย และวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้
จากการนาเสนอ นอกจากนี้นักเรียนสามารถใช้ความรู้เกี่ยวกับ สถิติประกอบการตัดสินใจสถานการณ์ต่าง ๆ และ
สามารถอภิปราบถึงความคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้นจากการนาเสนอข้อมูลทางสถิติได้ และจากการเรียนโดยใช้
โครงงานคณิตศาสตร์เป็นแกนกลางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้นั้น พบว่า โครงงานคณิตศาสตร์เป็นการเรียนรู้
ผ่านการปฏิบัติที่ทาให้เข้าใจกระบวนการทางสถิติได้

13 | P a g e

You might also like