You are on page 1of 42

บทที่2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

์ างการเรียนวิชา
ในการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิท
คณิตศาสตร์ เรื่องสถิติ ของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ที่ได้รับการ
จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฏี และ
งานวิจัยในเรื่องต่างๆไว้ดังนี ้

1.หลัก สูต รแกนกลางการศึก ษาขัน


้ พื้น ฐาน (ฉบับ ปรับ ปรุง
พ.ศ. 2560) พุทธศักราช 2551

1.1 วิสัยทัศน์

1.2 ทำไมต้องเรียนคณิตศาสตร์

1.3 เรียนรู้อะไรในคณิตศาสตร์

1.4 ความสำคัญของคณิตศาสตร์

1.5 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

1.6 สถิติ

1.7 การจัดการเรียนรู้

1.8 การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้

2. เอกสารเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน

2.1 ประวัติความเป็ นมาของกาจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ น


ฐาน

2.2 ความหมายของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน


2.3 ขัน
้ ตอนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน

์ างการเรียน
3. เอกสารเกี่ยวกับผลสัมฤทธิท

์ างการเรียน
3.1 ความหมายของผลสัมฤทธิท

์ างการเรียน
3.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท

4. เอกสารเกี่ยวกับความพึงพอใจ

5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

5.1 งานวิจัยในประเทศ

4.2 งานวิจัยต่างประเทศ

6.กรอบแนวคิดในการวิจัย

7.สมมติฐานการวิจัย

1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

1.1 วิสัยทัศน์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่ง
เป็ นกำลังของชาติให้เป็ นมนุษย์ที่มีความสมดุลทัง้ ด้านร่างกาย ความรู้
คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในการ
ปกครองตามระบอบประชาธิบไตยอันมีพระมหากษัตริยืทรงเป็ นประมุข
มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทัง้ เจตคติที่จำเป็ นต้อการศึกษาต่อ การ
ประกอบอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผูเ้ รียนเป็ นสำคัญบน
พื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็ม
ศักยภาพ (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน กระทรวง
ศึกษาธิการ.2551:4)

จากที่กล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่า หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน



พื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ให้มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทัง้
เจตคติที่จำเป็ นต้อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ

1.2 ทำไมต้องเรียนคณิตศาสตร์

คณิตศาสตร์มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อความสำเร็จในการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ 21 เนื่องจากคณิตศาสตร์ช่วยให้มนุษยม์มีความคิดริเริ่ม
สร้างสรรค์คิดอย่างมีเหตุผลเป็ นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์
ปั ญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างรอบคอบและถี่ถ้วน ช่วยให้คาดการณ์
วางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และสามารถนำไป
ใช้ในชีวิตจริงได้อย่างมี ประสิทธิภาพ นอกจากนีค
้ ณิตศาสตร์ยังเป็ น
เครื่องมือในการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและ ศาสตร์อ่ น
ื ๆ อัน
เป็ นรากฐานในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของชาติให้มีคณ
ุ ภาพและ
พัฒนา เศรษฐกิจของประเทศให้ทัดเทียมกับนานาชาติ การศึกษา
คณิตศาสตร์จึงจำเป็ นต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ทันสมัยและ
สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยีที่เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วในยุคโลกาภิวัตน์ ตัวชีว้ ัดและ
สาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรังปรุง
พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศกัราช
2551 ฉบับนีจ
้ ัดทำขึน
้ โดย คำนึงถึงการส่งเสริมให้ผู้รียนมีทักษะที่จำเป็ น
สำหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็ นสำคัญ นั่นคือ การเตรียมผู้เรียน
ให้มีทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การแก้ปัญหา
การคิด สร้างสรรค์ การใช้เทคโนโลยี การสื่อสารและการร่วมมือ ซึ่งจะส่ง
ผลให้ผู้เรียนรู้เท่าทันการ เปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ สังคม
วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อม สามารถแข่งขันและอยู่ ร่วมกับประชาคม
โลกได้ ทัง้ นี ้ การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่ประสบความสำเร็จนัน
้ จะ
ต้องเตรียม ผู้เรียนให้มีความพร้อมที่จะเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ พร้อมที่จะ
ประกอบอาชีพเมื่อจบการศึกษา หรือสามารถศึกษาต่อในระดับ ที่สูงขึน

ดังนัน
้ สถานศึกษาควรจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมตามศักยภาพของผู้เรียน
(สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน กระทรวง
ศึกษาธิการ.2560:1)

จากที่กล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่า มีการปรับเนื้อหาการจัดการเรียน


การสอนคณิตศาสตร์ให้มีเนื้อหาที่เหมาะสมกับนักเรียน และเท่าทันยุค
สมัยเพิ่มขึน
้ และยังให้นักเรียนมรการใช้ทีกษะการคิด วิเคราะห์ แก้
ปั ญหา และคิดสร้างสรรค์

1.3 เรียนรู้อะไรในคณิตศาสตร์

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์จัดเป็ น 3 สาระ ได้แก่จำนวนและ


พีชคณิต การวัดและเรขาคณิต และสถิติและความน่าจะเป็ น จำนวนและ
พีชคณิต

เรียนรู้เกี่ยวกับระบบจำนวนจริง สมบัติเกี่ยวกับจำนวนจริง
อัตราส่วน ร้อยละ การประมาณค่า การแก้ปัญหาเกี่ยวกับจำนวน การใช้
จำนวนในชีวิตจริง แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟั งก์ชัน เซต ตรรกศาสตร์
นิพจน์ เอกนาม พหุนาม สมการ ระบบสมการ อสมการ กราฟ ดอกเบีย

และมูลค่า ของเงิน ลำดับและอนุกรม และการนำความรู้เกี่ยวกับจำนวน
และพีชคณิตไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆ

การวัดและเรขาคณิต เรียนรู้เกี่ยวกับความยาวระยะทาง น้ำหนัก


พื้นที่ปริมาตรและความจุ เงินและเวลา หน่วยวัดระบบต่าง ๆ การคาด
คะเนเกี่ยวกับการวัด อัตราส่วนตรีโกณมิติ รูปเรขาคณิตและสมบัติของรูป
เรขาคณิต การนึกภาพ แบบจำลองทางเรขาคณิต ทฤษฎีบททาง
เรขาคณิต การแปลงทางเรขาคณิตในเรื่องการเลื่อนขนาน การสะท้อน
การหมุน และการนำความรู้ เกี่ยวกับการวัดและเรขาคณิตไปใช้ใน
สถานการณ์ต่าง ๆ
สถิติและความน่าจะเป็ น เรียนรู้เกี่ยวกับการตัง้ คำถามทางสถิติการ
เก็บรวบรวม ข้อมูล การคำนวณค่าสถิติ การนำเสนอและการแปลผล
สำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ หลักการนับเบื้องต้น ความน่า
จะเป็ น (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน กระทรวง
ศึกษาธิการ.2560:2)

จากที่กล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่า คณิตศาสตร์เป็ นศาสตร์ที่อยู่ใน


ทุกๆอย่างในชีวิต มีการจัดการเรียนการสอนที่ในทุกเรื่องและเนื้อหาที่
สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน และประยุกต์ใช้กับวิชาอื่นๆได้

1.4 ความสำคัญของคณิตศาสตร์

คณิตศาสตร์มีบทบาทสำคัญในชีวิตประจำวันทุกอย่างล้วนต้อง
อาศัยคณิตศาสตร์ไม่ว่าจะเป็ นทางด้านวิทยาศาสตร์ด้านอุตสาหกรรมด้าน
การเกษตรด้านเทคโนโลยีทุกสิ่งทุกอย่างจะต้องเกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์
ไม่ว่าทางใดก็ทางหนึ่งซึ่งมีนักวิชาการได้กล่าวถึงความสำคัญของ
คณิตศาสตร์ดังนี ้

เวชฤทธิ ์ ยังกนะภัทรขจร (2555) ได้กล่าวว่าคณิตศาสตร์มี


บทบาทสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาความคิดมนุษย์ทำให้มนุษย์มีความคิด
สร้างสรรค์คิดอย่างมีเหตุผลเป็ นระบบมีแบบแผนสามารถวิเคราะห์ปัญหา
หรือสถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วนรอบคอบช่วยให้คาดการณ์วางแผนตัดสิน
ใจแก้ปัญหาและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสมการเรียนรู้
เนื้อหาคณิตศาสตร์เป็ นการเรียนรู้สิ่งที่เป็ นตัวแทนวัตถุจริงในโลก
เนื่องจากวัตถุที่อยู่ในกระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์เป็ นเพียงสัญลักษณ์
ที่ใช้แทนวัตถุจริงดังนัน
้ การคิดทางคณิตศาสตร์จึงถือเป็ นการคิดระดับสูง
เมื่อเทียบกับการคิดในระดับทั่วไปประกอบด้วย

1) การคิดเกี่ยวกับวัตถุจริงที่สามารถรับรู้และเข้าถึงได้

2) การคิดที่เกี่ยวข้องกับวัตถุจริง แต่ไม่สามารถเข้าถึงสิ่งเหล่านัน
้ ได้

3) การคิดที่อยู่ในจิตนาการ แต่สามารถใช้วัตถุจริงอธิบายได้

4) การคิดสิ่งที่เป็ นนามธรรมและไม่มีการเชื่อมโยงโดยตรงกับโลก
แห่งความเป็ นจริง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) เนื้อ


สาระทางคณิตศาสตร์ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็ นนามธรรมที่มีโครงสร้าง
ประกอบด้วยข้อตกลงเบื้องต้นในรูปของคำนิยาม อนิยามและสัจพจน์
การใช้เหตุผลเพื่อสร้างทฤษฎีบทต่างๆที่นำไปใช้ได้อย่างเป็ นระบบ
คณิตศาสตร์จึงมีความถูกต้อง เที่ยงตรงคงเส้นคงวา มีระเบียบแบบแผน
เป็ นเหตุเป็ นผล และมีความสมบูรณ์ในตัวเอง

คณิตศาสตร์เป็ นทัง้ ศาสตร์และศิลป์ ที่ศึกษาเกี่ยวกับแบบรูปและ


ความสัมพันธ์เพื่อให้ได้ข้อสรุปและการนำไปใช้ประโยชน์ เนื้อหาสาระทาง
คณิตศาสตร์มีลักษณะเป็ นภาษาสากลที่สามารถใช้เพื่อการสื่อสาร การสื่อ
ความหมาย และถ่ายทอดความรู้ระหว่างศาสตร์ต่างๆได้

จากที่กล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่าคณิตศาสตร์มีอิทธิพลต่อการดำรง
ชีวิตประจำวันของมนุษย์อย่างกว้างขวางไม่ว่าจะเป็ นในรูปแบบนามธรรม
หรือรูปธรรมล้วนแล้วแต่เชื่อมโยงความคิดของมนุษย์ในระดับพื้นฐานไป
จนถึงความคิดในระดับสูงเพื่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ในยุคที่กำลังพัฒนา

1.5 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ 1 จำนวนและพิชคณิต

มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน


ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึน
้ จากการดำเนิน
การ สมบัติของการดำเนินการและนำไปใช้

มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจ และวิเคราะห์แบบรูปความสัมพันธ์ฟัง


ชานลำดับและอนุกรม และนำไปใช้

มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอาจสมการอธิบายความ


สัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่กำหนดให้

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต

มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัดวัดและคาดคะเน


ขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด และนำไปใช้

มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเลยค่ะคณิตสมบัติของ


รูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฏีบททาง
เรขาคณิตและนำไปใช้

สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็ น

มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติและใช้ความรู้ทาง


สถิติในการแก้ปัญหา
มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนับเบื้องต้นความน่าจะเป็ นและ
นำไปใช้

จากที่กล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่าคณิตศาสตร์มี

1.6 สถิติ

1.6.1 ความหมายของคำต่างๆในหัวข้อสถิติ

1.6.1.1 ข้อมูล (DATA)

คือข้อเท็จจริงในสิ่งที่เราต้องการศึกษา โดยการแบ่งประเภทของ
ข้อมูลมีอยู่ด้วยกันหลายแบบ ขึน
้ อยู่กับว่าเราพิจารณาสิ่งใด

แบ่งตามลักษณะของข้อมูล

ข้อมูลเชิงคุณภาพคือข้อมูลที่บ่งบอกถึงสมบัติหรือลักษณะ ซึ่งไม่
สามารถวัดออกเป็ นตัวเลขได้ เช่น เพศ อาชีพ ความชอบ

ข้อมูลเชิงปริมาณคือข้อมูลที่แสดงถึงปริมาณ โดยสามารถวัดออกมา
เป็ นตัวเลขได้อย่างชัดเจน เช่น อายุ น้ำหนัก ส่วนสูง 

แบ่งตามแหล่งที่มาของข้อมูล

ข้อมูลปฐมภูมิ คือ ข้อมูลที่เกิดจากการลงไปหาข้อมูลด้วยตัวเอง
เช่น ข้อมูลจากการทำแบบทดสอบ หรือ การทดลองด้วยตัวเอง

ข้อมูลทุติยภูมิ คือ ข้อมูลที่นำมาจากแหล่งข้อมูลไม่ได้ลงไปศึกษา


ด้วยตนเอง เช่น งานวิจัย รายงาน เป็ นต้น

1) ประชากร คือ ข้อมูลทัง้ หมดของกลุ่มข้อมูลที่ต้องสนใจ


2) ตัวอย่าง คือ ข้อมูลเพียงบางส่วนของประชากร ที่นำมา
ศึกษา และสรุปผล

3) ตัวแปร คือ สิ่งที่เป็ นลักษณะหรือสมบัติที่เราให้ความ


สำคัญ ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามความต้องการที่จะศึกษา

4) พารามิเตอร์ คือ ตัวเลขที่แสดงลักษณะหรือสมบัติของ


ตัวอย่างที่เราสนใจ

การแจกแจงความถี่ คือ การนำข้อมูลมาแจกแจงเป็ นช่วง (


อันตรภาคชัน
้ ) โดยมีการเรียงจากข้อมูลที่น้อยไปหาข้อมูลที่มาก และนับ
จำนวนความถี่ ของข้อมูลแต่ละกลุ่มข้อมูล เหมาะกับข้อมูลดิบที่มีจำนวน
ไม่มากนัก

ส่วนประกอบของตารางแจกแจงความถี่

อันตรภาคชัน
้ คือ ช่วงของข้อมูลที่แบ่งข้อมูล

ความถี่ (f) คือ จำนวนของข้อมูลที่อยู่ในแต่ละอันตรภาคชัน


ความถี่สะสม (F) คือ ผลรวมของความถี่ในอันตรภาคชัน


้ รวมกับชัน

ทีตำ
่ กว่าทัง้ หมด

จำนวนข้อมูล ( N) คือ จำนวนข้อมูลทัง้ หมด

ขีดจำกัดบน คือ ข้อมูลที่มีค่าสูงสุดในแต่ละอันตรภาคชัน


ขีดจำกัดล่าง คือ ข้อมูลที่มีค่าต้ำสุดในแต่ละอันตรภาคชัน


ขอบบน เป็ นตัวเลขที่บอกถึงค่ากึ่งกลางของขีดจำกัดบนกับขีดจำกัด


ล่างของชัน
้ ที่อยู่สูงกว่า 1 ชัน
้ คำนวณได้จาก
ขอบบน = (ค่ามากที่สุด + ค่าที่น้อยที่สุดของอันตรภาคชัน
้ ที่สูงกว่า 1
ชัน
้ )/2

ขอบล่าง เป็ นตัวเลขที่บอกถึงค่ากึ่งกลางของขีดจำกัดล่างกับขีด


จำกัดบนของชัน
้ ที่อยู่ต่ำกว่า 1 ชัน
้ คำนวณได้จาก

ขอบล่าง = (ค่าน้อยที่สุด + ค่าที่มากที่สุดของอันตรภาคชัน


้ ที่ต่ำกว่า 1
ชัน
้ )/2

ความกว้างของอันตรภาคชัน
้ คือ จำนวนข้อมูลที่อยู่ในอันตรภาคชัน

นัน
้ คำนวณได้จาก

ความกว้างอันตรภาคชัน
้ = ขอบบน – ขอบล่าง

จุดกึ่งกลางชัน
้ คือ ข้อมูลที่เป็ นเหมือนตัวแทนของอันตรภาคชัน
้ นัน

หาได้จาก 2 วิธี คือ

จุดกึ่งกลางชัน
้ = (ขอบบน + ขอบล่าง) /2

จุดกึ่งกลางชัน
้ = (ขีดจำกัดบน + ขีดจำกัดล่าง) /2

พิสัย คือ ค่าความแตกต่างระหว่าง ค่าที่มากที่สุดและน้อยที่สุด


คำนวณได้จาก

พิสัย = ค่าที่มากที่สุด – ค่าที่น้อยที่สุด

ค่ากลางของข้อมูล

1) ค่าเฉลี่ยเลขคณิตหรือตัวกลางเลขคณิต (Arithmetic mean)


2) มัธยฐาน (Median)

3) ฐานนิยม (Mode)

4) ตัวกลางเรขาคณิต (Geometric mean)
5) ตัวกลางฮาโมนิค (Harmonic mean)

6) ตัวกึ่งกลางพิสัย (Mid-Range)

ค่าเฉลี่ยเลขคณิต หรือ ตัวกลางเลขคณิต (ARITHMETIC MEAN)


การหาค่ากลางรูปแบบหนึ่งที่ได้รับความนิยมมาก ซึ่งเรามักจะเรียกว่า “ค่
าเฉลี่ย” หาได้จากสูตร

ค่าเฉลี่ยเลขคณิต  = ∑ x / N = ผลบวกของข้อมูลทัง้ หมด / จำนวน


ข้อมูลทัง้ หมด 

มัธยฐาน (MEDIAN) คือ การหาค่ากลางของข้อมูล โดยเริ่มจากการ


เรียงข้อมูลทัง้ หมดจากน้อยไปหามาก และเลือกจำนวนที่อยู่กึ่งกลางของ
ข้อมูลทัง้ หมด 

ฮิสโตแกรม หรือ แท่งความถี่ การนำข้อมูลมานำเสนอในรูปแบบ


ของกราฟแท่ง เพื่อให้เกิดความเป็ นรูปธรรมของข้อมูลมากยิ่งขึน
้ และง่าย
ต่อการวิเคราะห์

แกนนอน คือ ค่าของกลุ่มข้อมูล โดยที่ความกว้างของแท่ง เปรียบ


เสมือนความกว้างของอันตรภาคชัน

แกนตัง้ คือ ความถี่ของข้อมูล ซึ่งแสดงตามความสูงของแท่ง


(  Tuenong Admin , https://tuenongfree.xyz/%E0 )

จากที่กล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่าสถิติมีเนื้อหาเกี่ยวกับ สถิติ พิสัย


ขอบล่าง ขอบบน ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่ากลางของข้อมูล ใช้สูตรและนำไป
ใช้ ทำให้มีความสามารถด้านการคิด คิดอย่างสร้างสรรค์ คิดอย่าง มี
เหตุผล เป็ นระบบ ระเบียบ และมีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ถึงปั ญหา
และสถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วนรอบคอบ

การจัดการเรียนรู้การจัดการเรียนรู้เป็ นกระบวนการสำคัญในการนำ
หลักสูตรสู่การปฏิบัติหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐานเป็ น
หลักสูตรที่มีมาตรฐานการเรียนรู้สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์เป็ นเป้ าหมายสำคัญสำหรับพัฒนาเด็กและ
เยาวชนผู้สอนต้องพยายามคัดสรรกระบวนการเรียนรู้จัดการเรียนรู้เพื่อ
พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ทงั ้ ๘ กลุ่มสาระเรียนรู้
รวมทัง้ ปลูกฝั งเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์พัฒนาทักษะต่างๆอัน
เป็ นสมรรถนะสำคัญที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียน Q. หลักการจัดการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการ
เรียนรู้สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กำหนดไว้ใน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐานโดยยึดหลักว่าผู้เรียนมีความ
สำคัญที่สุดเชื่อว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ยึด
ประโยชน์ที่เกิดกับผู้เรียนกระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน
สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพคำนึงถึงความแตกต่าง
ระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมองเน้นให้ความสำคัญทัง้ ความรู้และ
คุณธรรม
๒. กระบวนการเรียนรู้การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญผูเ้ รียนจะ
ต้องอาศัยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายเป็ นเครื่องมือที่จะนำพาตนเอง
ไปสูเ่ ป้ าหมายของหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้ที่จำเป็ นสำหรับผู้เรียนอาทิ
กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการกระบวนการสร้างความรู้กระบวนการ
คิดกระบวนการทางสังคมกระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา
กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริงกระบวนการปฏิบัติลงมือทำจริง
กระบวนการจัดการกระบวนการวิจัยกระบวนการเรียนรู้การเรียนรู้ของ
ตนเองกระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัยกระบวนการเหล่านีเ้ ป็ นแนวทาง
ในการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนควรได้รับการฝึ กฝนพัฒนาเพราะจะสามารถ
ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีบรรลุเป้ าหมายของหลักสูตรดังนัน
้ ผู้สอน
จึงจำเป็ นต้องศึกษาทำความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ต่างๆเพื่อให้
สามารถเลือกใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๓.
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้
เข้าใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ชว
ี ้ ัดสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์แล้วจึงพิจารณาออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยเลือกใช้วิธี
สอนและเทคนิคการสอนสื่อ / แหล่งเรียนรู้การวัดและประเมินผลเพื่อให้
ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพและบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ซึ่ง
เป็ นเป้ าหมายที่กำหนด

๔. บทบาทของผู้สอนและผู้เรียนการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพ
ตามเป้ าหมายของหลักสูตรทัง้ ผู้สอนและผู้เรียนควรมีบทบาทดังนี ้ ๔.๑
บทบาทของผู้สอน ๑) ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็ นรายบุคคลแล้วนำข้อมูล
มาใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ที่ท้าทายความสามารถของผู้เรียน
๒) กำหนดเป้ าหมายที่ต้องการให้เกิดขึน
้ กับผู้เรียนด้านความรู้และทักษะ
กระบวนการที่เป็ นความคิดรวบยอดหลักการและความสัมพันธ์รวมทัง้
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๓) ๔) ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่
ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมองเพื่อนำผู้
เรียนไปสู่เป้ าหมายจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้และดูแลช่วยเหลือผู้
เรียนให้เกิดการเรียนรู้ ๕) จัดเตรียมและเลือกใช้ส่ อ
ื ให้เหมาะสมกับ
กิจกรรมนำภูมิปัญญาท้องถิ่นเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการ
จัดการเรียนการสอนประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลาก
หลายเหมาะสมกับธรรมชาติของวิชาและระดับพัฒนาการของผู้เรียน ๖)
๗) วิเคราะห์ผลการประเมินมาใช้ในการซ่อมเสริมและพัฒนาผูเ้ รียนรวม
ทัง้ ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนของตนเอง

๔.๒ บทบาทของผู้เรียน ๑) กำหนดเป้ าหมายวางแผนและรับผิดชอบการ


เรียนรู้ของตนเอง ๒) เสาะแสวงหาความรู้เข้าถึงแหล่งการเรียนรู้วิเคราะห์
สังเคราะห์ข้อความรู้ตงั ้ คำถามคิดหาคำตอบหรือหาแนวทางแก้ปัญหาด้วย
วิธีการต่างๆ ๓) ลงมือปฏิบัติจริงสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเองและนำ
ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่างๆ ๔) มีปฏิสัมพันธ์ทำงานทำ
กิจกรรมร่วมกับกลุ่มและครู ๕) ประเมินและพัฒนากระบวนการเรียนรู้
ของตนเองอย่างต่อเนื่อง
การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ของผู้เรี ยนต้ องอยูบ่ นหลักการพื ้นฐาน
สองประการคือการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรี ยนและเพื่อตัดสินผลการเรี ยนในการพัฒนาคุณภาพการเรี ยนรู้
ของผู้เรี ยนให้ ประสบผลสำเร็จนันผู
้ ้ เรี ยนจะต้ องได้ รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี ้วัดเพื่อให้ บรรลุตาม
มาตรฐานการเรี ยนรู้สะท้ อนสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรี ยนซึง่ เป็ นเป้าหมาย
หลักในการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ในทุกระดับไม่วา่ จะเป็ นระดับชันเรี ้ ยนระดับสถานศึกษาระดับเขต
พื ้นที่การศึกษาและระดับชาติการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้เป็ นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรี ยนโดย
ใช้ ผลการประเมินเป็ นข้ อมูลและสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการความก้ าวหน้ าและความสำเร็ จทางการเรี ยน
ของผู้เรี ยนตลอดจนข้ อมูลที่เป็ นประโยชน์ตอ่ การส่งเสริ มให้ ผ้ เู รี ยนเกิดการพัฒนาและเรี ยนรู้อย่างเต็มตาม
ศักยภาพการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้แบ่งออกเป็ น 4 ระดับ ได้ แก่ ระดับชันเรี
้ ยนระดับสถานศึกษา
ระดับเขตพื ้นที่การศึกษาและระดับชาติมีรายละเอียดดังนี ้
๑. การประเมินระดับชัน
้ เรียนเป็ นการวัดและประเมินผลที่อยู่ใน
กระบวนการจัดการเรียนรู้ผู้สอนดำเนินการเป็ นปกติและสม่ำเสมอใน
การจัดการเรียนการสอนใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลายเช่น
การซักถามการสังเกตการตรวจการบ้านการประเมินโครงงานการ
ประเมินชิน
้ งาน / ภาระงานแฟ้ มสะสมงานการใช้แบบทดสอบ ฯลฯ
โดยผู้สอนเป็ นผู้ประเมินเองหรือเปิ ดโอกาสให้ผู้เรียนประเมินตนเอง
เพื่อนประเมินเพื่อนผู้ปกครองร่วมประเมินการประเมินระดับชัน
้ เรียน
เป็ นการตรวจสอบว่าผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้อัน
เป็ นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่และมากน้อย
เพียงใดมีสิ่งที่จะต้องได้รับการพัฒนาปรับปรุงและส่งเสริมในด้านใด
นอกจากนีย
้ ังเป็ นข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนของตน
ด้วยทัง้ นีโ้ ดยสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว
้ ัด ๒. การ
ประเมินระดับสถานศึกษาเป็ นการตรวจสอบผลการเรียนของผูเ้ รียน
เป็ นรายปี รายภาคผลการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและเป็ นการ
ประเมินเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษาว่าส่งผลต่อการเรียน
รู้ของผู้เรียนตามเป้ าหมายหรือไม่ผู้เรียนมีสิ่งที่ต้องการพัฒนาในด้านใด
รวมทัง้ สามารถนำผลการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบ
กับเกณฑ์ระดับชาติและระดับเขตพื้นที่การศึกษาผลการประเมินระดับ
สถานศึกษาจะเป็ นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการปรับปรุงนโยบาย
หลักสูตรโครงการหรือวิธีการจัดการเรียนการสอนตลอดจนเพื่อการจัด
ทำแผนพัฒนาคุณภาพ

การศึกษาของสถานศึกษาตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา
และการรายงานผลการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขัน

พื้นฐานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการ
ศึกษาขัน
้ พื้นฐานผู้ปกครองและชุมชน ๓. การประเมินระดับเขตพื้นที่
การศึกษาเป็ นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพื้นที่การศึกษา
ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน
เพื่อใช้เป็ นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่
การศึกษาตามภาระความรับผิดชอบสามารถดำเนินการโดยประเมิน
คุณภาพผู้เรียนด้วยวิธีการและเครื่องมือที่เป็ นมาตรฐานที่จัดทำและ
ดำเนินการโดยเขตพื้นที่การศึกษาหรือด้วยความร่วมมือกับหน่วยงาน
ต้นสังกัดและหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องนอกจากนีย
้ ังได้จากการตรวจ
สอบทบทวนข้อมูลจากการประเมินระดับสถานศึกษาในเขตพื้นที่การ
ศึกษา

๔. การประเมินระดับชาติเป็ นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติ
ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน
สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนที่เรียนในชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๓ ชัน

ประถมศึกษาปี ที่ 5 ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่และชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 เข้ารับ
การประเมินผลจากการประเมินใช้เป็ นข้อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพ
การศึกษาในระดับต่างๆเพื่อนำไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพ
การจัดการศึกษาตลอดจนเป็ นข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจในระดับ
นโยบายของประเทศข้อมูลการประเมินในระดับต่างๆข้างต้นเป็ น
ประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวนพัฒนาคุณภาพผู้
เรียนถือเป็ นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะต้องจัดระบบ
ดูแลช่วยเหลือปรับปรุงแก้ไขส่งเสริมสนับสนุนเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนา
เต็มตามศักยภาพบนพื้นฐานความแตกต่างระหว่างบุคคลที่จำแนกตาม
สภาพปั ญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผูเ้ รียนทั่วไปกลุ่มผู้เรียนที่มี
์ างการเรียนกลุ่มผู้เรียน
ความสามารถพิเศษกลุ่มผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิท
ที่มีปัญหาด้านวินัยและพฤติกรรมกลุ่มผู้เรียนที่ปฏิเสธโรงเรียนกลุ่มผู้
เรียนที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมกลุ่มพิการทางร่างกายและสติ
ปั ญญาเป็ นต้นข้อมูลจากการประเมินจึงเป็ นหัวใจของสถานศึกษาใน
การดำเนินการช่วยเหลือผู้เรียนได้ทันท่วงทีเปิ ดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับ
การพัฒนาและประสบความสำเร็จในการเรียนสถานศึกษาในฐานะ
ผู้รับผิดชอบจัดการศึกษาจะต้องจัดทำระเบียบว่าด้วยการวัดและ
ประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องและเป็ นไปตามหลัก
เกณฑ์และแนวปฏิบัติที่เป็ นข้อกำหนดของหลักสูตรแกนกลางการ
ศึกษาขัน
้ พื้นฐานเพื่อให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ ายถือปฏิบัติร่วมกัน
2. การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน (Problem-Based
Learning)

การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของคนในศตวรรษที่ 21 ต่างไปจากอดีต
อย่างมากมาย เมื่อสภาพปั ญหาและสิ่งแวดล้อมเริ่มมีความซับซ้อนมากยิ่ง
ขึน
้ การเรียนการสอนแบบเดิมมาใช้ก็ไม่สามารถใช้ได้อย่างที่เคยเป็ นมา
ซึ่งสิง่ เหล่านีส
้ ะท้อนจากความเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคมและ
ธรรมชาติการเรียนรู้ของผู้เรียน การเรียนที่เน้นท่องสอบตอบลืม การหยิบ
ยืมทฤษฎีวิทยาศาสตร์ มาอธิบายและแก้ปัญหาไม่ใช่สูตรสำเร็จ การเรียน
รู้ที่ให้โอกาสผู้เรียนได้เรียนรู้จากปั ญหาและให้เกียรติผู้สอนในการ
ออกแบบการเรียนรู้ที่เปิ ดกว้างทางความคิดย่อมส่งเสริมการเรียนรู้ตาม
สภาพความเป็ นจริงของชีวิต (วิจารณ์ พานิช. 2555. อ้างใน สุฟิตรี ฮิน
นะ. 2559 : 9) การเรียนรู้ที่นำปั ญหามาเป็ นตัวตัง้ กระตุ้นผู้เรียนให้ใช้
กระบวนการคิดและการทำงานกลุ่ม และส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ทำงานร่วม
กัน แก้ไขปั ญหาร่วมกัน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดย อิงจากสภาพปั ญหาที่
เกิดจากชีวิตจริง สามารถอธิบายสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ การสื่อสารด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีเหมาะสมและมี
ประสิทธิภาพ (ประสาท เนืองเฉลิม. 2557. อ้างใน สุฟิตรี ฮินนะ. 2559 :
9) ปั ญหาจึงเป็ นสิ่งสำคัญที่ผส
ู้ อนต้องคัดสรรและสอดแทรกเข้าสู่ชน
ั ้ เรียน
วิทยาศาสตร์ ซึ่งสภาพบริบท เช่นนีจ
้ ะคล้ายกับการทำงานของนัก
วิทยาศาสตร์ที่ต้องใช้กระบวนการคิด (Mind-on activity) และ การ
ลงมือทำ (Hands-on activity) หล่อหลอมให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะเช่นนัก
วิทยาศาสตร์นำไปสู่การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์โดยใช้นวัตกรรมที่
สามารถแก้ไขปั ญหาได้จริง (Drake and Long, 2009: 1-16. อ้างใน สุ
ฟิ ตรี ฮินนะ. 2559 : 9)

2.1 ประวัติความเป็ นมาของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ น


ฐาน

แนวคิดการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน (Problem-Based


Learning: PBL) มีรากฐานมาจากความคิดของ จอห์น ดิวอี ้ มีการพัฒนา
ขึน
้ เป็ นครัง้ แรกโดยคณะวิทยาศาสตร์ สุขภาพ (Faculty of Health
Sciences) ของมหาวิทยาลัย Mc Master ของประเทศแคนาดา ได้นำมา
ใช้ในกระบวนการเตรียมตัวสอบให้กับนักศึกษาแพทย์ฝึกหัด วิธีการนีไ้ ด้
กลายเป็ นรูปแบบ (Model) ที่มหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกานำไปเป็ น
แบบอย่าง ต่อมามหาวิทยาลัย Mc Master ได้พัฒนาหลักสูตรแพทย์ที่ใช้
PBL ในการสอนเป็ นครัง้ แรกทำให้มหาวิทยาลัยนีเ้ ป็ นที่ยอมรับและรู้จัก
กันทั่วโลกว่าเป็ นผู้นำในการจัดการเรียนรู้แบบ PBL มหาวิทยาลัยชัน
้ นำ
ในสหรัฐอเมริกาได้นำรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐานมาใช้ในการ
สอนหลายๆ แห่ง และเป็ นที่ยอมรับกันมากขึน
้ ได้ขยายออกไปสู่การสอน
ในสาขาอื่น ๆ เช่น วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
ภาษาศาสตร์ สังคมศาสตร์ พฤติกรรมศาสตร์ เป็ นต้น

สำหรับในประเทศไทย การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐานเริ่มใช้ครัง้


แรกในหลักสูตร แพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี พ.ศ. 2531
และประยุกต์ในหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ ทัง้ นีก
้ าร
เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐานเป็ นวิธีการเรียนการสอนรูปแบบหนึ่ง ที่นำมา
ปรับใช้ในหลาย ๆ กลุ่มสาระการเรียนรู้ (สุคนธ์ สินธพานนท์. 2558: 86-
87. อ้างใน สุฟิตรี ฮินนะ. 2559 : 9)

จากที่กล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ น


ฐานเริ่มต้นจากความคิดของ จอห์น ดิวอี ้ ได้มีการพัฒนาโดย
มหาวิทยาลัย Mc Master ของประเทศแคนาดา ซึ่งได้รับการยอมรับ
อย่างกว้างขวาง สำหรับประเทศไทยใช้ครัง้ แรกที่ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย มีการนำมาใช้ในหลายๆกลุ่มสาระการเรียนรู้

2.2 ความหมายของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็ น
ฐาน

Piaget 1962: 120 อ้างใน สุฟิตรี ฮินนะ. 2559 : 10 ได้อธิบายถึง


ความสามารถในการคิดแก้ปัญหาตามทฤษฎี ด้านพัฒนาการ เป็ นความ
สามารถของเด็กที่มีการพัฒนามาตัง้ แต่ขน
ั ้ ที่ 3 คือ เด็กที่มีอายุ 7-10 ปี
จะ เริ่มมีความสามารถในการคิดแก้ปัญหาแบบง่าย ๆ ภายในขอบเขต
จำกัด และเมื่อมีอายุ 11-15 ปี ซึ่งระดับพัฒนาการอยู่ในขัน
้ ที่ 4 เด็กจะมี
ความสามารถในการคิดอย่างมีเหตุผลดีขน
ึ ้ และสามารถคิด แก้ปัญหา
แบบซับซ้อนได้ สามารถเรียนรู้ในสิ่งที่เป็ นนามธรรมชนิดสลับซับซ้อนได้

Gagne 1970: 62 อ้างใน สุฟิตรี ฮินนะ. 2559 : 10 อธิบายว่าการ


คิดแก้ปัญหาเป็ นรูปแบบการเรียนรู้อย่างหนึ่ง ที่ต้องอาศัยการเรียนรู้
ประเภทหลักการที่มีความเกี่ยวข้องกันตัง้ แต่สองประเภทขึน
้ ไป และใช้
หลักการ นัน
้ มาผสมผสานกันจนเป็ นความสามารถชนิดใหม่ที่เรียกว่า
ความสามารถด้านการคิดแก้ปัญหาการเรียนรู้ประเภทนีต
้ ้องอาศัยการ
เรียนรู้ประเภทความคิดรวบยอดเป็ นพื้นฐานของการเรียน เป็ นการเรียนรู้
ประเภทหนึ่งที่ต้องอาศัยความสามารถในการมองลักษณะร่วมของสิ่งเร้า
ทัง้ หมด

Good 1973: 518 อ้างใน สุฟิตรี ฮินนะ. 2559 : 10 อธิบายว่าการ


แก้ปัญหาเป็ นแบบแผนหรือวิธีการซึ่งอยู่ในสภาวะที่มีความยุ่งยากลำบาก
หรืออยู่ในสภาวะที่พยายามตรวจข้อมูลที่ทำมาได้ ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับ
ปั ญหา มีการตัง้ สมมติฐานและการตรวจสอบสมมติฐาน ภายใต้การ
ควบคุมมีการเก็บข้อมูลจากการทดลองเพื่อหาความสัมพันธ์นน
ั ้ ว่าจริง

ทิศนา แขมมณี 2547: 137-138 อ้างใน สุฟิตรี ฮินนะ. 2559 : 9


กล่าวถึงการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ น ฐานว่าเป็ นการจัดสภาพ
การณ์ของการเรียนการสอนที่ใช้ปัญหาเป็ นเครื่องมือในการช่วยให้ผู้เรียน
เกิด การเรียนรู้ตามเป้ าหมาย โดยผู้สอนอาจนำผู้เรียนไปเผชิญ
สถานการณ์ปัญหาจริง หรือผู้สอนอาจจัดสภาพการณ์ให้ผู้เรียนเผชิญ
ปั ญหา และฝึ กกระบวนการวิเคราะห์ปัญหาและแก้ปัญหาร่วมกันเป็ นกลุ่ม
ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในปั ญหานัน
้ อย่างชัดเจน ได้เห็นทาง
เลือกและวิธีการที่หลากหลาย ในปั ญหานัน
้ รวมทัง้ ให้ผู้เรียนเกิดความใฝ่ รู้
เกิดทักษะกระบวนการคิด และกระบวนการแก้ปัญหา

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาแห่งชาติ (2550 : 7-8) ได้นำ


เสนอลักษณะของปั ญหาที่นำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้
ปั ญหาเป็ นฐานดังนี ้
1) ปั ญหาที่เกิดขึน
้ ในชีวิตจริงและเกิดจากประสบการณ์ของผูเ้ รียน

2) ปั ญหาที่ผู้เรียนอาจมีโอกาสเผชิญกับปั ญหานัน

3) ปั ญหานัน
้ พบได้บ่อยและมีความสำคัญ

4) ปั ญหาสามารถค้นหาข้อมูลได้อย่างเพียงพอต่อการค้นคว้า

5) ปั ญหาที่ยังไม่มีคำตอบชัดเจนแล้วตายตัว คลุมเครือ หรือผู้เรียน


ยังมีข้อสงสัย

6) ปั ญหาที่เป็ นประเด็นขัดแย้ง ข้อถกเถียงในสังคมที่ยังไม่มีข้อยุติ

7) ปั ญหาที่อยู่ในความสนใจแต่ยังไม่รู้

8) ปั ญหาที่มีการยอมรับว่าจริงแต่ผู้เรียนไม่เชื่อว่าเป็ นจริง

9) ปั ญหาที่สามารถหาคำตอบได้หลายแนวทาง

10) ปั ญหานัน
้ เหมาะสมกับพื้นฐานของผู้เรียน

11) ปั ญหาที่ไม่สามารถหาคำตอบได้ทันที ต้องอาศัยการสำรวจ


ค้นหาและ ค้นคว้าหาข้อมูล

12) ปั ญหาส่งเสริมความรู้ด้านเนื้อหาและทักษะที่สอดคล้องกับ
หลักสูตรการศึกษา

การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็ นฐาน เป็ นกระบวนการจัดการ


เรียนรู้โดยเริ่มต้นจากปั ญหาที่เกิดขึน
้ ซึ่งต้องเป็ นปั ญหาที่ใกล้ตัวและพบ
เจอในชีวิตประจำวัน เพราะผู้เรียนจะรับทราบและเข้าถึงผู้เรียนได้ง่าย
และสร้างองค์ความรู้ให้เกิดขึน
้ โดยใช้กระบวนการทำงานแบบกลุ่ม เพื่อให้
เกิดการแก้ปัญหาดังกล่าว ทำให้ตัวของปั ญหานัน
้ คือจุดสำคัญของการ
จัดการเรียนรู้รูปแบบนี ้ โดยลักษณะสำคัญของการจัดการเรียนรู้แบบใช้
ปั ญหาเป็ นฐานนัน
้ ประกอบด้วย

        1) ต้องมีสถานการณ์ที่เป็ นปั ญหาและใช้ปัญหานัน


้ มาเป็ นตัว
กระตุ้นให้เกิดกระบวนการเรียนรู้
        2) ปั ญหาที่นำมาใช้ ต้องมาจากสิง่ ใกล้ตัวผู้เรียน และผูเ้ รียนมี
โอกาสพบเจอ
        3) ผู้เรียนเรียนรู้และเลือกเฟ้ นวิธีการและประเมินผลด้วยตัวเอง
        4) เน้นให้ผู้เรียนเรียนรู้เป็ นกลุ่มย่อย เพื่อประโยชน์ในการค้นหา
ความรู้ และรับส่งข้อมูลร่วมกัน
        5) เป็ นการเรียนรู้แบบบูรณาการความรู้และทักษะกระบวนการ
ต่างๆเข้าด้วยกัน
        6) ความรู้ที่จะเกิดขึน
้ เมื่อจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการเรียนรู้
โดยใช้ปัญหาเป็ นฐานแล้วเท่านัน

        7) ใช้การประเมินผลตามสภาพจริง  โดยพิจารณาความก้าวหน้าใน
การปฏิบัติงานของผู้เรียน

(นรรัชต์ ฝั นเชียร.
https://www.trueplookpanya.com/blog/content/77414/-
teaartamet- )

จากที่กล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ น


ฐาน เป็ นการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งพัฒนาความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
ตามทฤษฎี โดยผู้สอนนำผูเ้ รียนไปเผชิญสถานการณ์ปัญหาจริง หรือผู้
สอนอาจจัดสภาพการณ์ให้ผู้เรียนเผชิญปั ญหา และฝึ กกระบวนการ
วิเคราะห์ปัญหาและแก้ปัญหาร่วมกันเป็ นกลุ่ม ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิด
ความเข้าใจในปั ญหานัน
้ อย่างชัดเจน

2.3 ขัน
้ ตอนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน

ขัน
้ ตอนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐานนัน
้ ประกอบด้วย 6
ขัน
้ ตอน อันได้แก่

ขัน
้ ที่ 1 กำหนดปั ญหา ผู้สอนสร้างสถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อ
กระตุ้นผู้เรียน โดยอาจเป็ นการแนะนำแนวทาง ยกตัวอย่างสถานการณ์
หรือถามคำถามที่ให้คิดต่อ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความสนใจและมองเห็น
ปั ญหา มีโอกาสเลือกเฟ้ นและเสนอปั ญหาที่หลากหลาย และสามารถแบ่ง
กลุ่มตามความสนใจ  ซึ่งก่อนที่จะกำหนดปั ญหานัน
้ ครูผู้สอนควรทดสอบ
ความรู้พ้น
ื ฐานของผู้เรียนเสียก่อน เพื่อใช้เป็ นข้อมูลในการกำหนดปั ญหา
ซึ่งต้องเหมาะสมกับความรู้พ้น
ื ฐานที่ผู้เรียนมี

ขัน
้ ที่ 2 ทำความเข้าใจกับปั ญหา ผู้สอนจะกระตุ้นผูเ้ รียนด้วย
คำถามหรือการเสริมแรง เพื่อให้ผู้เรียนทำความเข้าใจกับปั ญหาที่อยากรู้
โดยเน้นให้เกิดการระดมสมอง เพื่อหาแนวทางและวิธีการในการหาคำ
ตอบ โดยมีครูผู้สอนคอยดูแลตรวจสอบเพื่อให้เกิดความถูกต้อง

ขัน
้ ที่ 3 ดำเนินการศึกษาค้นคว้า ผู้เรียนจะต้องดำเนินการ
ศึกษาค้นคว้าอย่างเป็ นระบบร่วมกัน โดยมีการกำหนดกติกา วางเป้ า
หมาย และดำเนินกิจกรรมตามระยะเวลาที่กำหนด โดยมีครูผส
ู้ อนคอยให้
คำชีแ
้ นะและอำนวยความสะดวก
ขัน
้ ที่ 4 สังเคราะห์ความรู้ ผู้เรียนแต่ละคนสังเคราะห์ความรู้ที่
ได้จากการค้นคว้า โดยมีการนำเสนอกันภายในกลุ่ม เพื่อหาข้อสรุป
ทบทวนและตรวจสอบความถูกต้อง โดยมีครูผู้สอนถามคำถามโดยกระตุ้น
ให้ผู้เรียนมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเกิดความคิดรวบยอด

ขัน
้ ที่ 5 สรุปและประเมินค่าของคำตอบ ผู้เรียนแต่ละกลุ่มนำ
ข้อสรุปที่ได้มาสร้างเป็ นองค์ความรู้ใหม่ และเลือกวิธีที่จะนำเสนอสู่
ภายนอก โดยผ่านความเห็นชอบจากครูผู้สอนในการตรวจสอบความถูก
ต้อง และความเหมาะสมในการนำเสนอ

ขัน
้ ที่ 6 นำเสนอและประเมินผลงาน ผู้เรียนแต่ละกลุ่มนำองค์
ความรู้ที่ได้ไปนำเสนอตามวิธีการที่ได้กำหนดไว้ เพื่อเผยแพร่ออกสู่
สาธารณะ โดยครูผู้สอนประเมินผลการเรียนรู้จากการดำเนินงานของผู้
เรียนตามสภาพจริง

(นรรัชต์ ฝั นเชียร.
https://www.trueplookpanya.com/blog/content/77414/-
teaartamet- )

จากที่กล่าวมาข้างต้นสรุปได้ว่า การเรียนรู้ใช้ปัญหาเป็ นฐานเป็ น


กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหามาเป็ นตัวกระตุ้นให้ผู้เรียนได้
ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลด้วยตนเอง เพื่อนำไปสู่การแก้ปัญหาโดยจะแบ่งผู้
เรียนเป็ นกลุ่มย่อยเพื่อช่วยกันศึกษาอภิปรายปั ญหา โดยนำเอา ข้อมูล
และประสบการณ์ที่ผู้เรียนมีอยู่มาวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ เพื่อที่จะ
ให้ผู้เรียนได้จดจำความรู้ใหม่ไว้ได้นาน และรู้จักนำไปประยุกต์ใช้กับ
สถานการณ์ต่างๆ ให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะ การแก้ปัญหาเพื่อให้เกิดความ
เข้าใจในปั ญหานัน
้ ได้อย่างชัดเจนและถูกต้องจนสามารถแก้ไขปั ญหาทีพ
่ บ
ได้ในที่สุด

์ างการเรียน
3. ผลสัมฤทธิท

์ างการเรียน
3.1 ความหมายของผลสัมฤทธิท

์ างการเรียนเป็ นความสามารถของนักเรียนในด้านต่าง ๆ
ผลสัมฤทธิท
ซึ่งเกิดจากนักเรียนได้รับประสบการณ์จากกระบวนการเรียนการสอนของ
ครู โดยครูต้องศึกษาแนวทางในการวัดและประเมินผล การสร้างเครื่อง
มือวัดให้มีคุณภาพนัน

์ างการ
ไพโรจน์ คะเชนทร์ (2556) ให้คำจำกัดความผลสัมฤทธิท
เรียนว่า คือคุณลักษณะ รวมถึงความรู้ ความสามารถของบุคคลอันเป็ นผล
มาจากการเรียนการสอน หรือ มวลประสบการณ์ทงั ้ ปวงที่บุคคลได้รับ
จากการเรียนการสอน ทำให้บุคคลเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในด้าน
ต่างๆ ของสมรรถภาพทางสมอง ซึ่งมีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็ นการตรวจสอบ
ระดับความสามารถสมองของบุคคลว่าเรียนแล้วรู้อะไรบ้าง และมีความ
สามารถด้านใดมากน้อยเท่าไร  ตลอดจนผลที่เกิดขึน
้ จากการเรียนการ
ฝึ กฝนหรือประสบการณ์ต่างๆ ทัง้ ในโรงเรียน ที่บ้าน และสิง่ แวดล้อมอื่นๆ
รวมทัง้ ความรู้สึก ค่านิยม จริยธรรมต่างๆ ก็เป็ นผลมาจากการฝึ กฝนด้วย

์ างการเรียนเป็ นความสามารถทางสมองด้านต่าง ๆ ที่


ผลสัมฤทธิท
นักเรียนได้รับประสบการณ์ทงั ้ ทางตรงและทางอ้อมจากการจัดการเรียนรู้
์ างการ
และมีนักการศึกษาหลายท่านได้ให้ ความหมายของผลสัมฤทธิท
เรียนดังนี ้

์ างการเรียนคือ พฤติกรรมที่แสดงออกถึงความสามารถ
ผลสัมฤทธิท
ในการกระทำสิ่งหนึ่งสิง่ ใดจากที่ไม่เคยกระทำหรือกระทำได้น้อยก่อนที่จะ
มีการเรียนรู้ซึ่งเป็ นพฤติกรรมที่สามารถวัดได้ (ภพ เลาหไพบูลย์. 2542:
295. อ้างใน สุฟิตรี ฮินนะ. 2559 : 28)

์ างการเรียน เป็ นดัชนีชว


ผลสัมฤทธิท ี ้ ัดประสิทธิภาพ และคุณภาพ
ของการจัดการศึกษาหลังกิจกรรมการเรียนการสอน เป็ นความสามารถ
ของบุคคล เกิดจากการเรียนการสอนเป็ นผลของการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมและประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกิดจากการอบรมหรือการสั่ง
สอน (นภดล เจนอักษร. 2544: 143. . อ้างใน สุฟิตรี ฮินนะ. 2559 : 28)

์ างการเรียน เป็ นความสามารถของบุคคลที่ได้รับการ


ผลสัมฤทธิท
์ างการเรียนเป็ นการวัดระดับความ
ฝึ กฝนอบรมแล้ว การวัดผลสัมฤทธิท
สามารถในการเรียนรู้ของบุคคลที่ได้รับการฝึ กฝนแล้ว (ศิริพร สุวรรณ
การณ์. 2546 : 41. . อ้างใน สุฟิตรี ฮินนะ. 2559 : 28)

์ างการเรียน หมายถึง
จากที่กล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่า ผลสัมฤทธิท
ผลที่เกิดจากกระบวนการเรียนการสอนที่จะทำให้นักเรียนเกิดการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และสามารถวัดได้โดยการแสดงออกมาทัง้  3 ด้าน
คือ ด้านพุทธิพิสัย ด้านจิตพิสัย และด้านทักษะพิสัย

์ างการเรียน
3.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท
พรพรรณ เสาร์คําเมืองดี.2562:55 อ้างใน ศศิธร แม้นสงวน 2556:
์ างการเรียน โดยมีสา
260-261 ได้กล่าวถึงแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท
ระสําคัญสรุปได้ดังนี ้

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิเ์ ป็ นเครื่องมือสําหรับผูส
้ อนที่จะใช้ในการ
ตรวจสอบผล การเรียนรู้รวมถึงพฤติกรรมต่าง ๆ จากการเรียนหรือการ
จัดการเรียนรู้ของครู เพื่อประเมินว่านักเรียน มีความรู้ความสามารถ มีผล
์ างการเรียนรู้ในระดับใด บรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้มากน้อย
สัมฤทธิท
เพียงใด เป็ นไปตามมาตรฐานตัวชีว้ ัดอย่างไร ซึง่ แบบทดสอบจะต้องมี
ประสิทธิภาพ มีคุณภาพ มีความถูกต้องเที่ยงตรง เชื่อถือได้ มี
กระบวนการหลักการสร้างแบบทดสอบตามหลักวิชาการ

์ างการเรียนมี 2
3.2.1 ประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท
ประเภท ดังนี ้

3.2.1.1 แบบทดสอบที่ครูสร้างขึน
้ มุ่งใช้วัดผลผู้เรียนเฉพาะ
กลุ่มผูส
้ อน มีลักษณะเป็ น

- แบบทดสอบข้อเขียน (Paper test)

- แบบทดสอบอัตนัย (Subject test) แบบทดสอบที่กําหนดปั ญหาแล้วให้


ผู้เรียน

แสดงคําตอบโดยการเขียนแสดงความรู้ ความคิดเจตคติได้อย่างเต็มที่

- แบบทดสอบปรนัย (Objective test) เป็ นแบบทดสอบที่กําหนดให้


เขียนตอบ สัน
้ ๆ เป็ นแบบทดสอบถูก – ผิด แบบทดสอบเติมคําสัน
้ ๆ
แบบจับคู่ แบบเลือกตอบ
3.2.1.2 แบบทดสอบมาตรฐาน หมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งวัดผล
สัมฤทธิข์ องผู้เรียนทั่วไป ซึ่งสร้างโดยผู้เชี่ยวชาญ มีการคิดวิเคราะห์
ปรับปรุงจนมีคุณภาพมาตรฐาน

้ ตอนการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ มีดังนี ้
3.2.2 ขัน

3.2.2.1 วิเคราะห์หลักสูตรและสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร

3.2.2.2 กําหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ เป็ นพฤติกรรมเป็ นผลการ


เรียนรู้ที่ผู้สอนกําหนด

และคาดหวังจะให้เกิดขึน
้ กับผู้เรียน โดยผูส
้ อนจะกําหนดไว้ล่วงหน้าสําห
รับเป็ นแนวทางในการจัด การเรียนรู้และการสร้างข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ ์

3.2.2.3 กําหนดชนิดข้อสอบ

4.3.2.4 เขียนข้อสอบ

3.2.2.5 ตรวจทาน

3.2.2.6 จัดพิมพ์แบบทดสอบ

3.2.2.7 ทดลองสอบเพื่อนําผลมาวิเคราะห์ข้อสอบ

3.2.2.8 แก้ไขปรับปรุงแล้วได้แบบทดสอบฉบับจริง

์ างการ
จากที่กล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท
เรียนเป็ นเครื่องมือสําหรับผู้สอนที่จะใช้ใน การตรวจสอบผลการเรียนรู้
รวมถึงพฤติกรรมต่าง ๆ จากการเรียนการสอน มีลักษณะเป็ นแบบปรนัย
หรืออัตนัยก็ได้ขน
ึ ้ อยู่กับการวัดผลประเมินผลตามจุดประสงค์การเรียนรู้
และมาตรฐานตัวชีว้ ัดของ การเรียนการสอนเรื่องนัน
้ ๆ โดยมี
กระบวนการสร้างแบบทดสอบอย่างเป็ นระบบ ซึ่งผู้วิจัยได้ตัดสินใจ เลือก
์ างการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการ
ใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท
เรียนรู้ เรื่อง สถิติ ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ที่ผู้วิจัยสร้างขึน
้ จํานวน 1
ฉบับ เป็ นแบบทดสอบหลังเรียน เป็ นแบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก
และอัตนัย

ความพึงพอใจ

การเรียนหรือการทํางานใด ๆ ก็ตาม มักจะเกี่ยวข้องกับความพึงพอใจที่


เกิดขึน
้ หลังจาก การปฏิบัติงานเหล่านัน
้ ทุกครัง้ ซึ่งความพอใจจะเกิดมาก
หรือน้อยขึน
้ อยู่กับปั จจัยหลายประการด้วย ประการหนึ่งก็คือ แรงจูงใจ ที่
จะเป็ นผลให้เกิดแรงผลักดันหรือจูงใจให้กระทําหรือตอบสนอง เพื่อ
กระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมที่มีจุดหมาย ฉะนัน
้ ในการเรียนหรือการปฏิบัติ
งานใด ๆ ก็ตาม ย่อมต้อง

ใช้แรงจูงใจเข้ามาเกี่ยวข้อง เพื่อผลักดันให้เกิดผลสําเร็จตามความมุ่ง
หมายไว้ ดังนัน
้ ความพึงพอใจจึง เกี่ยวข้องกับทฤษฎีต่าง ๆ ดังนี ้

ศุภสิริ โสมาเกตุ (2544: 53) กล่าวว่า การดําเนินกิจกรรมการเรียนการ


สอน ความพึง พอใจเป็ นสิ่งสําคัญที่จะกระตุ้นให้ผู้เรียนทํางานที่ได้รับ
มอบหมายหรือต้องการปฏิบัติให้บรรลุตาม วัตถุประสงค์ ครูผส
ู้ อนซึ่งเป็ น
เพียงผู้อํานวยความสะดวกหรือให้คําแนะนํา คําปรึกษา จึงต้องคํานึงถึง

ความพึงพอใจในการเรียนรู้ การทําให้ผู้เรียนเกิดความพึงพอใจในการ
เรียนรู้หรือการปฏิบัติงาน มีแนวคิดพื้นฐานที่ต่างกัน 2 ลักษณะ คือ
1. ความพึงพอใจนําไปสู่การปฏิบัติงาน การตอบสนองความต้องการผู้
ปฏิบัติงาน จนเกิดความพึงพอใจ จะทําให้เกิดแรงจูงใจในการเพิ่มประ
สิทธิภาพการทํางานที่สูงกว่าผู้ไม่ได้รับ การตอบสนอง

2. ผลของการปฏิบัติงานนําไปสูค
่ วามพึงพอใจ ความสัมพันธ์ระหว่าง
ความพึงพอใจ และผลการปฏิบัติงานจะถูกเชื่อมโยงด้วยปั จจัยอื่น ๆ ผล
การปฏิบัติงานที่ดี จะนําไปสู่ผลตอบแทนที่

เหมาะสม ซึ่งในที่สุดจะนําไปสู่การตอบสนองความพึงพอใจ ผลการ


ปฏิบัติงานย่อมได้รับ การตอบสนองในรูปของรางวัล หรือผลตอบแทน ซึ่ง
แบ่งออกเป็ นผลตอบแทนภายใน (Intrinsic Rewards) และผลตอบแทน
ภายนอก (Extrinsic Rewards)

Scott (Scott, 1970: 124, อ้างถึงใน ณรัตน์ ลาภมูล, 2546: 23) ได้
เสนอแนวคิดใน เรื่อง การจูงใจให้เกิดความพึงพอใจต่อการทํางานที่จะให้
ผลเชิงปฏิบัติ มีลักษณะดังนี ้

1. งานควรมีส่วนสัมพันธ์กับความปรารถนาส่วนตัวงานนัน
้ จะมีความ
หมายสําหรับผู้ทํา

2. งานนัน
้ ต้องมีการวางแผนและวัดความสําเร็จได้โดยใช้ระบบการทํางาน
และ การควบคุมที่มีประสิทธิภาพ

3. เพื่อให้ได้ผลในการสร้างสิ่งจูงใจภายในเป้ าหมายของงาน จะต้องมี


ลักษณะ ดังนี ้ 3.1 คนทํางานมีส่วนในการตัง้ เป้ าหมาย

3.2 ผู้ปฏิบัติได้รับทราบผลสําเร็จในการทํางานโดยตรง

3.3 งานนัน
้ สามารถทําให้สําเร็จได้
เมื่อนําแนวคิดนีม
้ าประยุกต์ใช้กับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
นักเรียนมีส่วนใน การเลือกเรียนตามความสนใจและมีโอกาสร่วมกันตัง้ จุด
ประสงค์หรือความมุ่งหมายในการทํากิจกรรม ได้เลือกวิธีแสวงหาความรู้
ด้วยวิธีที่ผู้เรียนถนัดและสามารถค้นหาคําตอบได้

ทฤษฎีความต้องการลําดับขัน
้ ของมาสโลว์ (Maslow’s Hierarchical
Theory of Motivation) (ศุภิสรา โททอง, 2547: 47-49) เขาชีใ้ ห้เห็นว่า
มนุษย์ถูกกระตุ้นจากความปรารถนาที่จะ สนองความต้องการเฉพาะอย่าง
ซึ่งความต้องการนีเ้ ขาได้สมมติฐานเกี่ยวกับความต้องการของมนุษย์ไว้
ดังนี ้

1. บุคคลต้องมีความต้องการอยู่เสมอและไม่มีสน
ิ ้ สุด ขณะที่ความต้องการ
ใดได้รับ การตอบสนองแล้ว ความต้องการอย่างอื่นก็จะเกิดขึน
้ อย่างไม่มี
วันจบสิน

2. ความต้องการที่จะได้รับการตอบสนองแล้ว จะไม่เป็ นสิ่งจูงใจของ


พฤติกรรมอื่น ต่อไป ความต้องการที่ยังไม่ได้รับการตอบสนอง จึงเป็ นสิ่ง
จูงใจในพฤติกรรมของคนนัน

นัน

3. ความต้องการของคนจะเรียงลําดับขัน
้ ตอนความสําคัญ เมื่อความ
ต้องการระดับต่ํา ได้รับการตอบสนองแล้ว บุคคลก็จะให้ความสนในความ
ต้องการระดับสูงต่อไป

ลําดับขัน
้ ความต้องการของมนุษย์มี 5 ระดับขัน
้ ตามลําดับ ได้แก่
1. ความต้องการทางกายภาพ เป็ นความต้องการขัน
้ พื้นฐานที่สุด เพื่อ
ความมีชีวิตอยู่ รอด ได้แก่ความต้องการอาหาร เพศ เครื่องนุ่งห่ม

2. ความต้องการความปลอดภัย เป็ นความต้องการแสวงหาความ


ปลอดภัยจาก สิ่งแวดล้อม และความคุ้มครองจากผู้อ่ น

3. ความต้องการความรัก ความรู้สึกว่าตนมีส่วนร่วมและการเข้าหมู่พวก

4. ความต้องการให้ได้รับการยกย่องนับถือ เป็ นความต้องการให้คนอื่น


ยกย่องให้เกียรติ และให้ความสําคัญกับตน

5. ความต้องการความสําเร็จในชีวิต เป็ นความต้องการสูงสุดในชีวิตของ


คน เป็ น ความต้องการที่เกี่ยวข้องกับงานที่ตนเองชอบ หรือต้องการจะ
เป็ นมากกว่าที่เป็ นในขณะนี ้

จากการศึกษาทฤษฎีความพึงพอใจที่เกี่ยวข้องกับวิจัยในครัง้ นี ้ สรุปได้ว่า
ทฤษฎี ความพึงพอใจ เป็ นทฤษฎีที่ใช้ในการวิเคราะห์หาความพึงพอใจ
ของบุคคลว่า สิ่งเหล่านัน
้ สามารถ ตอบสนองความต้องการของบุคคลได้
หรือไม่ ตลอดจนสามารถสร้างทัศนคติที่ดีต่อสิ่งใดสิ่งหนึง่ ซึ่งเปลี่ยนแปลง
ไปตามความพอใจต่อสิ่งนัน

กนน ทศานนท์ (2553) ไดก้ ล่าววา่ ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึก


หรือทศั นคติ ของบุคคลท่ีมีต่อส่ิงใดส่ิงหน่ึงอนั เกิดจากพ้นื ฐานของการ
รับรู้ค่านิยมประสบการณ์ท่ีแต่ละบุคคล ไดร้ ับและจะเกิดข้ึนก็ต่อเมื่อสิ่ง
ุ คลน้นั ได้ ซ่ึงระดบั ความ
น้นั สามารถตอบสนองความตอ้ งการให้แก่บค
พึงพอใจของแต่ละบุคคลยอ่ มมีความแตกต่างกนั ไป
จากการศึกษา ความหมายของความพึงพอใจตามท่ีกล่าวมาขา้ งตน้ พอ
สรุปไดว้ า่ ความพึงพอใจหมายถึง ความรู้สึกของบุคลท่ีเป็ นความรู้สึกใน

ทางบวก ความรู้สึกที่ดีต่อการปฏิบตั ิ กิจกรรม เม่อไดร้ ับผลสาํ เร็จหรือ
ผลตอบแทนจากการปฏิบตั ิกิจกรรมน้นั ๆ

ทฤษฎีทเี่ กี่ยวข้องกบั ความพงึ พอใจ

นกั วชิ าการไดพ้ ฒั นาทฤษฎีที่อธิบายองคป์ ระกอบของความพึงพอใจ


และอธิบาย ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งความพึงพอใจกบั ปั จจยั อื่น ๆ ไวห้
ลายทฤษฎี

Korman, (1977 อา้ งถึงใน สมศกั ด์ิ คงเที่ยง และอญั ชลีโพธ์ิทอง,


2542) ไดจ้ าํ แนก ทฤษฎีความพึงพอใจในงานออกเป็ น 2 กลุ่มคือ

1. ทฤษฎีการสนองความตอ้ งการ กลุ่มน้ีถือวา่ ความพึงพอใจ ในงานเกิด


จากความ ตอ้ งการส่วนบุคคลท่ีมีความสัมพนั ธ์ต่อผลที่ไดร้ ับจากงาน
กบั การประสบความสาํ เร็จตามเป้ าหมาย

ส่วนบุคคล

2. ทฤษฎีการอา้ งอิงกลุ่ม ความพึงพอใจในงานมีความสัมพนั ธ์ในทาง


บวกกบั

คุณลกั ษณะของงานตามความปรารถนาของกลุ่มซ่ึงสมาชิกใหก้ ลุ่มเป็ น


แนวทางในการประเมินผล การทาํ งาน

สาํ หรับ ทฤษฎีลาํ ดบั ข้นั ความตอ้ งการของมนุษย์ Maslow (1977 อา้
งถึงใน สุรางค์ โคว้ ตระกูล, 2553)
มาสโลว์ เป็ นผวู้ างรากฐานจิตวทิ ยามนุษยนิยมเขาไดพ้ ฒั นาทฤษฎีแรง
จูงใจ มีอิทธิพลต่อระบบการศึกษาของอเมริกนั เป็ นอนั มากทฤษฎีของ
เขามีพ้นื ฐานอยบู่ นความคิดที่วา่ การตอบสนองแรงขบั เป็ นหลกั การ
เพียงอนั เดียวที่มีความสาํ คญั ที่สุดซ่ึงอยู่ เบ้ืองหลงั พฤติกรรมของ
มนุษย์

มาสโลว์ มีหลกั การท่ีสาํ คญั เก่ียวกบั แรงจูงใจ เนน้ ในเรื่องลาํ ดบั ข้นั
ความตอ้ งการ เขามีความเชื่อวา่ มนุษยม์ ีแนวโนม้ ที่จะมีความตอ้ งกา
รอนั ใหม่ที่สูงข้ึนแรงจูงใจของคนเรามาจาก

จากการศึกษา ทฤษฎีท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ความพึงพอใจ ที่กล่าวมาขา้ งตน้


สรุปไดว้ า่ ความพึงพอใจเป็ นความคิดเห็นหรือความรู้สึก ในดา้ นบวก
หรือดา้ นลบ ที่ทาํ ใหไ้ ดร้ ับการ ตอบสนองความตอ้ งการอยา่ งใดอยา่
งหน่ึง หากไดร้ ับความพึงพอใจในดา้ นบวกมากยอ่ มทาํ ใหผ้ นู้ ้นั ม ี ค
ว า ม ส ุ ข ห ร ื อ ถ า้ ห า ก ไ ม ่ ไ ด ร้ ั บ ค ว า ม ต อ้ ง ก า ร ต ร
ง ต า ม ค ว า ม พ ึ ง พ อ ใ จ ย อ่ ม เ ป ็ น ผ ล ล บ แ ล ะ อ า จ ท
าํ ใ ห ้ ส่งผลกระทบบุคคลน้นั ได้เช่นการต่อตา้นการปฏิเสธเป็ นตน

5.3 ลกั ษณะของความพงึ พอใจ

จ ิ ร า พ ร ส ุ จ ร ิ ต ( 2 5 4 3 ) ไ ด ส้ ร ุ ป ถ ึ ง ล กั ษ ณ ะ ข อ ง ค
ว า ม พ ึ ง พ อ ใ จ ว า่ ล กั ษ ณ ะ ข อ ง ค ว า ม พ ึ ง พอใจของ
แต่ละคนมีความแตกต่างกนั เนื่องจากองคป์ ระกอบใหญ่ๆคือความตอ้
งการความถนดั และสภาพแวดลอ้ มต่าง ๆ ใน สังคมท่ีแตกต่างกนั นน่ั
คือ การที่จะใหน้ กั เรียนมีความพงึ พอใจในการ เรียน ผสู้ อนจะตอ้ งทาํ
ใหผ้ เู้ รียนมีสมาธิในการเรียน สามารถติดตามเน้ือหาที่เรียนไดต้ ลอด ซ่ึง
จะ ส่งผลต่อผลสัมฤทธ์ิในการเรียนน้นั ดว้ ย

สุจิตรา เวทยาวงศ์ (2545) ไดส้ รุปถึง ลกั ษณะของความพึงพอใจ วา่


ื ละ บุคคลทุกคนอาจพึงพอใจส่ิงต่างๆแตกต่างกนั ออกไป
เป็ นเร่องของแต่
สิ่งที่บุคคลหน่ึงพึงพอใจอาจไม่เป็ นที่พอใจ ของอีกบุคคลหน่ึงความพึง
พอใจจะเป็ นลกั ษณะที่มีจิตใจจดจ่ออยใู่ นส่ิงหน่ึงส่ิงใดเป็ นเวลานาน แลว้

ทาํ ใหเ้ กิดความต้งั ใจ ลกั ษณะและระดบั ความพึงพอใจเป็ นเร่องของ
แต่ละบุคคลแตกต่างกนั ออกไป ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั ความตอ้ งการ ความ
ถนดั ประสบการณ์ของแต่ละบุคคลที่ไดร้ ับมาซ่ึงมีความ แตกต่างกนั เป็ น
ตน้

เอกปภาดา ปกรณ์พิมุข (2557) ไดส้ รุป ลกั ษณะของความพึงพอใจ วา่


เป็ นลกั ษณะท่ี บุคคลมีความคิดหรือจิตใจจดจ่ออยใู่ นส่ิงหน่ึงสิ่งใดเป็ น
เวลานาน แลว้ ทาํ ใหเ้ กิดความต้งั ใจท่ีจะทาํ ใหส้ ิ่งใดส่ิงหน่ึงน้นั
ประสบความสาํ เร็จ ซ่ึงลกั ษณะและระดบั ความพึงพอใจเป็ นเร่องของ

แต่ละ

บุคคลอาจจะมีไม่เหมือนกนั เพราะแต่ละบุคคลมีพื ้นฐานความแตกต่าง


กนั ท้งั ในความสามารถดา้ น สภาพแวดลอ้ มและดา้ นประสบการณ์

จากท่ีกล่าวมาขา้ งตน้ ผวู้ จิ ยั สรุปไดว้ า่ ลกั ษณะของความพึงพอใจน้นั


เป็ นลกั ษณะของ ความคิดของบุคคลท่ีไดก้ ระทาํ ตามความชอบหรือ
ความถนดั และจดจ่ออยกู่ บั สิ่งใดส่ิงหน่ึงเป็ น ระยะเวลานานซ่ึงลกั ษณะ

และระดบั ความพึงพอใจน้นั เป็ นเร่องของแต่ ละบุคคลอาจจะมีไม่เท่ากนั
ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั ประสบการณ์ซ่ึงจะส่งผลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ
ผูเ้รียนน้นั ดว้ ย

การวดั ความพงึ พอใจ

4.งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

4.1 งานวิจัยในประเทศ

ธนูศักดิ ์ มูลตองคะ อภิชาติ เนียมวงษ์ และ สมคิด อินเทพ (2562 :


บทคัด ย่อ ) การศึก ษาผลการจัด การเรีย นรู้โ ดยใช้ปั ญหาเป็ นฐาน เรื่อ ง
พื้นที่ผิวและปริมาตร ของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ของ โรงเรียนมารี
วิทยา มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ น
ฐาน เรื่องพื้น ที่ผ ิวและปริมาตร ของนัก เรียนชัน
้ มัธยมศึก ษาปี ที่ 3 ของ
์ างการเรีย นของ
โรงเรีย นมารีว ิท ยา 2) เพื่อ เปรีย บเทีย บผลสัม ฤทธิท
นักเรียน หลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐานกับเกณฑ์ ร้อย
ละ 70 และ 3) เพื่อศึก ษาดัช นีป ระสิทธิผ ลของนัก เรีย น หลัง ได้ร ับ การ
จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน โดยกลุ่มเป้ าหมายที่ใช้ในการวิจัยครัง้
นี ้ เป็ นนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนมารีวิทยา จังหวัดปราจีนบุรี
ปี การศึกษา 2561
ภาคเรียนที่ 2 จํานวน 20 คน ที่สมัครใจเข้า ร่วมการทดลอง เก็บ ข้อ มูล
โดยใช้แ ผนการจัดการเรียนรู้ จํา นวน 10 แผน และแบบทดสอบวัด ผล
์ างการเรียน โดย ผลการวิจัย พบว่าผลสัมฤทธิ ท
สัมฤทธิท ์ างการเรียนของ

นักเรียน เท่ากับ 15.95 คะแนน คิด เป็ นร้อยละ 79.75 ซึ่งสูงกว่า เกณฑ์
ร้อยละ 70 ที่กําหนด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

พ ร พ ร ร ณ เ ส า ร ์คำ เ ม ือ ง ด ี (2562 : บ ท ค ัด ย ่อ ) ง า น ว ิจ ัย น ม
ี้ ี
์ างการเรีย นวิช าคณิต ศาสตร์
วัต ถุป ระสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิท
เรื่อ ง บทประยุก ต์ก ่อ นและหลัง การจัด การเรีย นรู้แ บบร่ว มมือ เทคนิค
STAD เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ ์ ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ที่เรียนโดย
การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD เรื่อง บทประยุกต์กับเกณฑ์
ร้อยละ 70 และศึกษาความพึงพอใจ กลุ่มเป้ าหมายที่ใช้ในการวิจัยครัง้ นี ้
ได้แ ก่ นัก เรีย นชัน
้ ประถมศึก ษาปี ที่ 6 โรงเรีย นวัด ไผ่ห ูช ้า ง อ.บางเลน
จ.นครปฐม ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2562 ที่ได้มาโดยการเลือกกลุ่ม
ตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling ) จำนวน 24 คน เครื่องมือ
ที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD
ั ้ ประถมศึก ษาปี ที่ 6 แบบทดสอบวัด ผลสัม ฤทธิ ์
เรื่อ ง บท ประยุก ต์ช น
ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน
สถิต ิท ี่ใ ช้ใ นการวิเ คราะห์ข ้อ มูล คือ ค่า ร้อ ยละ ค่า เฉลี่ย ค่า เบี่ย งเบน
มาตรฐาน การทดสอบค่า ที(Dependent samples t-test) และการ
์ างการ
ทดสอบค่าที(One sample t-test) ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิท
เรียนวิชาคณิตศาสตร์เรื่อง บทประยุกต์ของ นักเรียนชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่
6 ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD หลังเรียนสูง
กว่าก่อนเรียน อย่างมีนัย สำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และสูงกว่าเกณฑ์ที่
กำหนดร้อยละ 70 อย่างมี นัย สำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และความพึง
พอใจที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD เรื่อง บท
ประยุกต์โดยรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด

สุฟิตรี ฮินนะ (2559 : บทคัดย่อ) การวิจัยครัง้ นีม


้ ีวัตถุประสงค์เพื่อ
ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน ร่วมกับการใช้ผังกราฟิ ก
์ างการเรียนชีววิท ยา การคิด วิเ คราะห์ และความพึง
ที่มีต ่อ ผลสัมฤทธิท
พอใจต่อ การจัดการเรียนรู้ของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4 กลุ่มที่ศึกษา
เป็ นนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4/4 โรงเรียนเดชะปั ตตนยานุกูล อ าเภอ
เมืองปั ตตานี จังหวัดปั ตตานี ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2558 จ านวน 1
ห้อ งเรีย น จ านวนนัก เรีย น 40 คน ซึง่ ได้มาจากการเลือ กแบบเจาะจง
(Purposive Sampling) เนื่องจากเป็ นห้อ งเรียนที่ผ ู้วิจัยเห็น ปั ญหาและ
ต้องการพัฒนาให้นักเรียนได้เรียนรู้ใน รูปแบบที่ผเู้ รียนมีความถนัดและ
พัฒนาในส่วนที่ผ ู้เรียนไม่ถนัด และเป็ นห้องเรียนที่มีนักเรียนคละ ความ
สามารถคือมีนักเรียนเก่ง กลาง และอ่อน ใช้เวลาในการจัดการเรียนรู้โดย
ใช้ปัญหาเป็ นฐาน ร่วมกับการใช้ผังกราฟิ ก 12 ชั่วโมง เครื่องมือที่ใช้วิจัย
ประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา เป็ นฐานร่วมกับการใช้
ผังกราฟิ ก เรื่อง เคมีที่เป็ นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์
ทาง เรียนชีววิทยา แบบทดสอบวัดการคิดวิเคราะห์และแบบวัดความพึง
พอใจต่อ การจัดการเรียนรู้ซ ึ่ง ดำเนิน การทดลองเพีย งกลุ่ม เดีย ว (One
group Pretest-Posttest Design) วิเ คราะห์ข ้อ มูล โดยหา ค่า เฉลี่ย ค่า
เบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าทีชนิดกลุ่มตัวอย่างไม่เป็ นอิสระต่อกัน
(t-test dependent group) ผลการวิจ ัย พบว่า นัก เรีย นที่ไ ด้ร ับ การ
จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐานร่วมกับ การใช้ผังกราฟิ กมีผลสัมฤทธิ ์
ทางการเรีย นชีว วิท ยาและการคิด วิเ คราะห์ห ลัง เรีย นสูง กว่า ก่อ นเรีย น
อย่า งมีนัยส าคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 และนักเรียนมีความพึง พอใจต่อ
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา เป็ นฐานร่วมกับการใช้ผังกราฟิ กในระดับ
มาก

4.2 งานวิจัยต่างประเทศ

5. กรอบแนวคิดในการวิจัย

ตัวจัดกระทำ
ตัวแปรตาม

การจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนคณิตศาสตร์

6. สมมติฐาน

์ างการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง สถิติ ของนักเรียนชัน


1. ผลสัมฤทธิท ้
มัธยมศึกษาปี ที่ 3 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน
สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60
2. ความพึงพอใจของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ในการเรียนวิชา
คณิตศาสตร์ เรื่องสถิติ หลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ น
ฐานสูงกว่าระดับดี
 

You might also like