You are on page 1of 371

คู�มือครูรายวิชาพื้นฐาน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
คู่มือครู

ร�ยวิช�พื้นฐ�น

คณิตศ�สตร์
ชั้น

ประถมศึกษ�ปีที่ ๒ เล่ม ๑
ต�มม�ตรฐ�นก�รเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มส�ระก�รเรียนรู้คณิตศ�สตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
ต�มหลักสูตรแกนกล�งก�รศึกษ�ขั้นพื้นฐ�น พุทธศักร�ช ๒๕๕๑

จัดทำ�โดย
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คำ�นำ�

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) มีหน้าที่ในการพัฒนาหลักสูตร


วิธีการเรียนรู้ การประเมินผล การจัดทำาหนังสือเรียน คู่มือครู แบบฝึกหัด กิจกรรม และสื่อการเรียนรู้
เพือ
่ ใช้ประกอบการเรียนรูใ้ นกลุม
่ สาระการเรียนรูว้ ท
ิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ของการศึกษาขัน
้ พืน
้ ฐาน
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ เล่ม ๑ นี้ จัดทำาตามมาตรฐาน
การเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับการวิเคราะห์ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรูร้ ายชัน
้ ปี จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำาคัญ แนวการจัดการเรียนรู้ แนวการจัดกิจกรรม
ตามหนังสือเรียน ตัวอย่างแบบทดสอบประจำาบทพร้อมเฉลย รวมทั้งเฉลยแบบฝึกหัด ซึ่งสอดคล้องกับ
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ เล่ม ๑ ที่ต้องใช้ควบคู่กัน
สสวท. หวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือครูเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้ และเป็นส่วน
สำาคัญในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ขอขอบคุณ
ผู้ทรงคุณวุฒิ บุคลากรทางการศึกษาและหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดทำาไว้ ณ โอกาสนี้

(ศาสตราจารย์ชูกิจ ลิมป�จำานงค์)
ผู้อำานวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
คำ�ชี้แจง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้จด


ั ทำ�ตัวชีว้ ด
ั และสาระการเรียนรู้
แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๑ โดยมี จุ ด เน้ น เพื่ อ ต้ อ งการพั ฒ นาผู้ เ รี ย นให้ มี ค วามรู้
ความสามารถที่ทัดเทียมกับนานาชาติ ได้เรียนรู้คณิตศาสตร์ที่เชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการ ใช้
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และแก้ปญ
ั หาทีห
่ ลากหลาย มีการทำ�กิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบต
ั เิ พือ

ให้ผู้เรียนได้ใช้ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ สสวท. จึงได้
จัดทำ�คู่มือครูประกอบการใช้หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ เล่ม ๑
ที่เป็นไปตามมาตรฐานหลักสูตร เพื่อเป็นแนวทางให้โรงเรียนนำ�ไปจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ เล่ม ๑ นี้ ประกอบด้วยเนื้อหาสาระ
เกี่ยวกับการวิเคราะห์ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้รายชั้นปี จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำ�คัญ แนวการ
จัดการเรียนรู้ แนวการจัดกิจกรรมตามหนังสือเรียน ตัวอย่างแบบทดสอบประจำ�บทพร้อมเฉลย รวมทัง้
เฉลยแบบฝึกหัด ซึ่งครูผู้สอนสามารถนำ�ไปใช้เป็นแนวทางในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ให้บรรลุ
จุดประสงค์ที่ตั้งไว้ โดยสามารถนำ�ไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ตามความเหมาะสมและความพร้อม
ของโรงเรียน ในการจัดทำ�คู่มือครูเล่มนี้ ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดียิ่งจากผู้ทรงคุณวุฒิ คณาจารย์
นักวิชาการอิสระ รวมทั้งครูผู้สอน นักวิชาการ จากสถาบันและสถานศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน
จึงขอขอบคุณมา ณ ที่นี้
สสวท. หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ เล่มนี้
จะเป็นประโยชน์แก่ครูผสู้ อน และผูท
้ เี่ กีย่ วข้องทุกฝ่าย ทีจ่ ะช่วยให้จด
ั การศึกษาด้านคณิตศาสตร์ได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ หากมีข้อเสนอแนะใดที่จะทำ�ให้คู่มือครูเล่มนี้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น โปรดแจ้ง สสวท.
ทราบด้วย จะขอบคุณยิ่ง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
สารบัญ

หน้า
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ (5)
คำ�อธิบายรายวิชาพื้นฐาน (6)
โครงสร้างเวลาเรียน (8)
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ (9)
ตารางวิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้ (16)
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ (22)

แนวการจัดการเรียนรู้
บทที่ 1 จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 1
ตัวอย่างแบบทดสอบประจำ�บท 36
บทที่ 2 การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 39
ตัวอย่างแบบทดสอบประจำ�บท 102
บทที่ 3 การวัดความยาว 105
ตัวอย่างแบบทดสอบประจำ�บท 135
บทที่ 4 การวัดน้ำ�หนัก 139
ตัวอย่างแบบทดสอบประจำ�บท 170
บทที่ 5 การคูณ 173
ตัวอย่างแบบทดสอบประจำ�บท 225
กิจกรรมคณิตศาสตร์เชิงสะเต็ม : ถั่วงอกเพาะสนุก 226

เฉลยแบบฝึกหัด
บทที่ 1 จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 228
บทที่ 2 การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 245
บทที่ 3 การวัดความยาว 274
บทที่ 4 การวัดน้ำ�หนัก 288
บทที่ 5 การคูณ 304

ความรู้เพิ่มเติมสำ�หรับครู 326
คณะผู้จัดทำ� 347
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ ๑ จำ�นวนและพีชคณิต
มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำ�นวน ระบบจำ�นวน การดำ�เนินการของ
จำ�นวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำ�เนินการ สมบัติของการดำ�เนินการ และนำ�ไปใช้
มาตรฐาน ค ๑.๒ เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลำ�ดับและอนุกรม
และนำ�ไปใช้

สาระที่ ๒ การวัดและเรขาคณิต
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
และนำ�ไปใช้
มาตรฐาน ค ๒.๒ เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์
ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำ�ไปใช้

สาระที่ ๓ สถิติและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค ๓.๑ เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)   (5)


คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

คำ�อธิบายรายวิชาพื้นฐาน

รหัสวิชา ค ๑๒๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์


ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง

ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคำ�นวณ และฝึกการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี้

การอ่าน และการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำ�นวนนับไม่เกิน


๑,๐๐๐ และ ๐ การนับทีละ ๒ ทีละ ๕ ทีละ ๑๐ และทีละ ๑๐๐ จำ�นวนคู่ จำ�นวนคี่ หลัก ค่าของเลขโดด
ในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจำ�นวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบและการเรียงลำ�ดับ
จำ�นวน การบวกและการลบจำ�นวน ความหมายของการคูณและการหาร การหาผลคูณ การหาผลหาร
และเศษ ความสัมพันธ์ของการคูณและการหาร การบวก ลบ คูณ หารระคน และโจทย์ปัญหา
แบบรูปของจำ�นวนทีเ่ พิม
่ ขึน
้ หรือลดลงทีละ ๒ ทีละ ๕ และทีละ ๑๐๐ แบบรูปซ้�ำ ของรูปเรขาคณิต
และรูปอื่น ๆ
การวัดและการเปรียบเทียบความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร การคาดคะเนความยาวเป็นเมตร
การวัดและการเปรียบเทียบน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด การวัดและเปรียบเทียบ
ปริมาตรและความจุเป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง ลิตร โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ
เกี่ยวกับความยาว น้ำ�หนัก ปริมาตรและความจุ
การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที (ช่วง ๕ นาที) การบอกระยะเวลาและการเปรียบเทียบ
ระยะเวลาเป็นชั่วโมง เป็นนาที การอ่านปฎิทิน โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา
การจำ�แนกและบอกลักษณะของรูปหลายเหลีย่ ม วงกลม และวงรี การเขียนรูปเรขาคณิตสองมิติ
โดยใช้แบบของรูป
การใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพ เมื่อกำ�หนดรูป ๑ รูป แทน ๒ หน่วย ๕ หน่วย หรือ ๑๐ หน่วย
ในการหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหา
การจัดประสบการณ์หรือการสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าโดยปฎิบัติจริง
ทดลอง สรุป รายงาน เพือ่ พัฒนาทักษะการคิดคำ�นวณ และทักษะการแก้ปญ
ั หา การให้เหตุผล การสือ่ สาร
และการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำ�ประสบการณ์ความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการ
ทีไ่ ด้ไปใช้ในการเรียนรูส
้ ง่ิ ต่าง ๆ และใช้ในชีวต
ิ ประจำ�วันอย่างสร้างสรรค์ รวมทัง้ เห็นคุณค่าและมีเจตคติ
ทีด
่ ต
ี อ
่ คณิตศาสตร์ สามารถทำ�งานอย่างเป็นระบบระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวจิ ารณญาณ
และเชื่อมั่นในตนเอง

(6)   สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)


คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

การวัดและประเมินผล ใช้วิธีการที่หลากหลายตามสภาพความเป็นจริงของเนื้อหาและทักษะที่
ต้องการวัด

รหัสตัวชี้วัด
ค ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ค ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖
ค ๒.๒ ป.๒/๑
ค ๓.๑ ป.๒/๑
รวมทั้งหมด ๑๖ ตัวชี้วัด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)   (7)


คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

โครงสร้างเวลาเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒

ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒

รายวิชา ชั่วโมง รายวิชา ชั่วโมง


รหัสวิชา ค ๑๒๑๐๑ รหัสวิชา ค ๑๒๑๐๑
๑๐๗ ๙๓
ชื่อวิชา คณิตศาสตร์ ชื่อวิชา คณิตศาสตร์

บทที่ ๑ จำ�นวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ๑๗ บทที่ ๖ การหาร ๒๑


บทที่ ๒ การบวกและการลบจำ�นวนนับ ๒๙ บทที่ ๗ เวลา ๑๕
ไม่เกิน ๑,๐๐๐ บทที่ ๘ การวัดปริมาตร ๑๙
บทที่ ๓ การวัดความยาว ๑๖ บทที่ ๙ รูปเรขาคณิต ๙
บทที่ ๔ การวัดน้ำ�หนัก ๑๘ บทที่ ๑๐ การบวก ลบ คูณ หารระคน ๑๓
บทที่ ๕ การคูณ ๒๒ บทที่ ๑๑ แผนภูมิรูปภาพ ๙
กิจกรรมคณิตศาสตร์เชิงสะเต็ม : ๕ กิจกรรมคณิตศาสตร์เชิงสะเต็ม : ๗
ถั่วงอกเพาะสนุก สนุกกับเกมตัวต่อ

หมายเหตุ ๑. ควรสอนวันละ ๑ ชั่วโมงทุกวัน


๒. จำ�นวนชั่วโมงที่ใช้สอนแต่ละบทนั้นได้ รวมเวลาที่ใช้ทดสอบไว้แล้ว
๓. กำ�หนดเวลาทีใ่ ห้ไว้แต่ละบทเป็นเวลาโดยประมาณ ผูส้ อนอาจปรับให้เหมาะสมกับ
ระดับความสามารถของนักเรียน

(8)   สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)


คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓

ตัวชี้วัด
สาระที่ มาตรฐานการเรียนรู้
ป.๑ ป.๒ ป.๓
๑ จำ�นวนและพีชคณิต ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลาย ๑. บอกจำ�นวนของสิง่ ต่าง ๆ ๑. บอกจำ�นวนของสิง่ ต่าง ๆ ๑. อ่านและเขียนตัวเลข
ของการแสดงจำ�นวน ระบบ แสดงสิ่งต่าง ๆ ตาม แสดงสิ่งต่าง ๆ ตาม ฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย
จำ�นวน การดำ�เนินการของ จำ�นวนที่กำ�หนด อ่าน จำ�นวนที่กำ�หนด อ่านและ และตัวหนังสือแสดง
จำ�นวน ผลที่เกิดขึ้นจาก และเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก จำ�นวนนับไม่เกิน
การดำ�เนินการ สมบัติของ ตัวเลขไทยแสดง ตัวเลขไทย ตัวหนังสือ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐
การดำ�เนินการ และนำ�ไปใช้ จำ�นวนนับไม่เกิน ๑๐๐ แสดงจำ�นวนนับไม่เกิน ๒. เปรียบเทียบและเรียง
และ ๐ ๑,๐๐๐ และ ๐ ลำ�ดับจำ�นวนนับไม่เกิน
๒. เปรียบเทียบจำ�นวนนับ ๒. เปรียบเทียบจำ�นวนนับ ๑๐๐,๐๐๐ จาก
ไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ ไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ สถานการณ์ต่าง ๆ
โดยใช้เครื่องหมาย โดยใช้เครื่องหมาย ๓. บอก อ่าน และเขียน
= ≠ > < = ≠ > < เศษส่วนแสดงปริมาณ
๓. เรียงลำ�ดับจำ�นวนนับ ๓. เรียงลำ�ดับจำ�นวนนับ สิ่งต่าง ๆ และแสดง
ไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ ไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ สิ่งต่าง ๆ ตามเศษส่วน
ตั้งแต่ ๓ ถึง ๕ จำ�นวน ตั้งแต่ ๓ ถึง ๕ จำ�นวนจาก ที่กำ�หนด
๔. หาค่าของตัวไม่ทราบค่า สถานการณ์ต่าง ๆ ๔. เปรียบเทียบเศษส่วนที่
ในประโยคสัญลักษณ์ ๔. หาค่าของตัวไม่ทราบค่า ตัวเศษเท่ากัน โดยที่
แสดงการบวกและ ตัวเศษน้อยกว่าหรือ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)   (9)


คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ตัวชี้วัด
สาระที่ มาตรฐานการเรียนรู้
ป.๑ ป.๒ ป.๓
ประโยคสัญลักษณ์แสดง ในประโยคสัญลักษณ์ เท่ากับตัวส่วน
การลบของจำ�นวนนับ แสดงการบวกและ ๕. หาค่าของตัวไม่ทราบค่า
ไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ ประโยคสัญลักษณ์แสดง ในประโยคสัญลักษณ์
๕. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ การลบของจำ�นวนนับ แสดงการบวกและ
โจทย์ปัญหาการบวกและ ไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ประโยคสัญลักษณ์แสดง
โจทย์ปัญหาการลบของ ๕. หาค่าของตัวไม่ทราบค่า การลบของจำ�นวนนับ
จำ�นวนนับไม่เกิน ๑๐๐ ในประโยคสัญลักษณ์ ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐
และ ๐ แสดงการคูณของจำ�นวน ๖. หาค่าของตัวไม่ทราบค่า
๑ หลักกับจำ�นวนไม่เกิน ในประโยคสัญลักษณ์
๒ หลัก แสดงการคูณของจำ�นวน
๖. หาค่าของตัวไม่ทราบค่า ๑ หลักกับจำ�นวนไม่เกิน
ในประโยคสัญลักษณ์ ๔ หลัก และจำ�นวน ๒
แสดงการหารที่ตัวตั้ง หลักกับจำ�นวน ๒ หลัก
ไม่เกิน ๒ หลัก ตัวหาร ๗. หาค่าของตัวไม่ทราบค่า
๑ หลัก โดยที่ผลหาร ในประโยคสัญลักษณ์
มี ๑ หลักทั้งหารลงตัว แสดงการหารทีต ่ วั ตัง้
และหารไม่ลงตัว ไม่เกิน ๔ หลัก ตัวหาร
๗. หาผลลัพธ์การบวก ๑ หลัก
ลบ คูณ หารระคนของ ๘. หาผลลัพธ์การบวก ลบ

(10)   สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)


คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ตัวชี้วัด
สาระที่ มาตรฐานการเรียนรู้
ป.๑ ป.๒ ป.๓
จำ�นวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ คูณ หารระคนของ
และ ๐ จำ�นวนนับไม่เกิน
๘. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐
โจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอน ๙. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ
ของจำ�นวนนับไม่เกิน โจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอน
๑,๐๐๐ และ ๐ ของจำ�นวนนับไม่เกิน
๑๐๐,๐๐๐ และ ๐
๑๐. หาผลบวกของเศษส่วน
ที่มีตัวส่วนเท่ากัน และ
ผลบวกไม่เกิน ๑ และหา
ผลลบของเศษส่วนที่มี
ตัวส่วนเท่ากัน
๑๑. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ
โจทย์ปัญหาการบวก
เศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน
และผลบวกไม่เกิน ๑ และ
โจทย์ปญ ั หาการลบเศษส่วน
ที่มีตัวส่วนเท่ากัน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)   (11)


คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ตัวชี้วัด
สาระที่ มาตรฐานการเรียนรู้
ป.๑ ป.๒ ป.๓
ค ๑.๒ เข้าใจและวิเคราะห์ ๑. ระบุจำ�นวนที่หายไปใน ๑. ระบุจำ�นวนที่หายไปใน
แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน แบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่ม แบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่ม
ลำ�ดับและอนุกรม และนำ�ไปใช้ ขึ้นหรือลดลงทีละ ๑ และ ขึ้นหรือลดลงทีละเท่า ๆ
ทีละ ๑๐ และระบุรูปที่ กัน
หายไปในแบบรูปซ้ำ�ของ
รูปเรขาคณิตและรูปอื่น ๆ
ที่สมาชิกในแต่ละชุดที่ซ้ำ�
มี ๒ รูป

๒ การวัดและเรขาคณิต ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับ ๑. วัดและเปรียบเทียบ ๑. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ ๑. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ


การวัด วัดและคาดคะเนขนาด ความยาวเป็นเซนติเมตร โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
ของสิง่ ทีต
่ อ
้ งการวัด และนำ�ไปใช้ เป็นเมตร ที่มีหน่วยเดี่ยวและเป็น ๒. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ
๒. วัดและเปรียบเทียบ หน่วยเดียวกัน โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา
น้ำ�หนักเป็นกิโลกรัม ๒. วัดและเปรียบเทียบ และระยะเวลา
เป็นขีด ความยาวเป็นเมตรและ ๓. เลือกใช้เครือ่ งวัดความยาว
เซนติเมตร ทีเ่ หมาะสม วัดและบอก
๓. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ ความยาวของสิง่ ต่าง ๆ เป็น
โจทย์ปัญหาการบวก เซนติเมตรและมิลลิเมตร
การลบเกี่ยวกับความยาว เมตรและเซนติเมตร

(12)   สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)


คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ตัวชี้วัด
สาระที่ มาตรฐานการเรียนรู้
ป.๑ ป.๒ ป.๓
ที่มีหน่วยเป็นเมตรและ ๔. คาดคะเนความยาวเป็น
เซนติเมตร เมตรและเป็นเซนติเมตร
๔. วัดและเปรียบเทียบ ๕. เปรียบเทียบความยาว
น้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมและ ระหว่างเซนติเมตรกับ
กรัม กิโลกรัมและขีด มิลลิเมตร เมตรกับ
๕. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ เซนติเมตร กิโลเมตร
โจทย์ปัญหาการบวก กับเมตร จากสถานการณ์
การลบเกี่ยวกับน้ำ�หนัก ต่าง ๆ
ที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัม ๖. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ
และกรัม กิโลกรัมและขีด โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
๖. วัดและเปรียบเทียบ ความยาว ที่มีหน่วยเป็น
ปริมาตรและความจุ เซนติเมตรและมิลลิเมตร
เป็นลิตร เมตรและเซนติเมตร
กิโลเมตรและเมตร
๗. เลือกใช้เครือ่ งชัง่ ทีเ่ หมาะสม
วัดและบอกน้ำ�หนักเป็น
กิโลกรัมและขีด กิโลกรัม
และกรัม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)   (13)


คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ตัวชี้วัด
สาระที่ มาตรฐานการเรียนรู้
ป.๑ ป.๒ ป.๓
๘. คาดคะเนน้ำ�หนักเป็น
กิโลกรัมและเป็นขีด
๙. เปรียบเทียบน้ำ�หนัก
ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม
เมตริกตันกับกิโลกรัม
จากสถานการณ์ต่าง ๆ
๑๐. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
น้ำ�หนักที่มีหน่วยเป็น
กิโลกรัมกับกรัม
เมตริกตันกับกิโลกรัม
๑๑. เลือกใช้เครื่องตวง
ที่เหมาะสม วัดและ
เปรียบเทียบปริมาตร
ความจุเป็นลิตรและ
มิลลิลิตร
๑๒. คาดคะเนปริมาตรและ
ความจุเป็นลิตร

(14)   สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)


คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ตัวชี้วัด
สาระที่ มาตรฐานการเรียนรู้
ป.๑ ป.๒ ป.๓
๑๓. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
ปริมาตรและความจุที่มี
หน่วยเป็นลิตรและ
มิลลิลิตร

ค ๒.๒ เข้าใจและวิเคราะห์ ๑. จำ�แนกรูปสามเหลี่ยม ๑. จำ�แนกและบอกลักษณะ ๑. ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติ


รูปเรขาคณิต สมบัติของ รูปสี่เหลี่ยม วงกลม วงรี ของรูปหลายเหลี่ยมและ ที่มีแกนสมมาตรและ
รูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก วงกลม จำ�นวนแกนสมมาตร
ระหว่างรูปเรขาคณิต และ ทรงกลม ทรงกระบอก
ทฤษฏีบททางเรขาคณิต และ และกรวย
นำ�ไปใช้

๓ สถิตแิ ละความน่าจะเป็น ค ๓.๑ เข้าใจกระบวนการ ๑. ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิ ๑. ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิ ๑. เขียนแผนภูมิรูปภาพ และ


ทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติ รูปภาพในการหาคำ�ตอบ รูปภาพในการหาคำ�ตอบ ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิ
ในการแก้ปัญหา ของโจทย์ปัญหา เมื่อ ของโจทย์ปัญหาเมื่อ รูปภาพในการหาคำ�ตอบ
กำ�หนดรูป ๑ รูปแทน กำ�หนดรูป ๑ รูปแทน ของโจทย์ปัญหา
๑ หน่วย ๒ หน่วย ๕ หน่วย หรือ ๒. เขียนตารางทางเดียวจาก
๑๐ หน่วย ข้อมูลที่เป็นจำ�นวนนับ
และใช้ข้อมูลจากตาราง
ทางเดียวในการหาคำ�ตอบ
ของโจทย์ปัญหา

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)   (15)


คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ตารางวิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

บทที่ เรื่อง จุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้


๑ จำ�นวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ ๑. บอกจํานวนของสิ่งต่าง ๆ และ ๑. บอกจำ�นวนของสิ่งต่าง ๆ แสดง - การนับทีละ ๒ ทีละ ๕ ทีละ ๑๐
และ ๐ แสดงสิ่งต่าง ๆ ตามจํานวน สิ่งต่าง ๆ ตามจำ�นวนที่กำ�หนด และทีละ ๑๐๐
ที่กําหนดไม่เกิน ๑,๐๐๐ อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก - การอ่านและการเขียนตัวเลข
๒. อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย ตัวหนังสือแสดง ฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และ
ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดง จำ�นวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ ตัวหนังสือแสดงจำ�นวน
จำ�นวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ และ ๐ - จำ�นวนคู่ จำ�นวนคี่
๓. เปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับ ๒. เปรียบเทียบจำ�นวนนับไม่เกิน - หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก
จำ�นวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ และ ๐ โดยใช้ และการเขียนตัวเลขแสดงจำ�นวน
และ ๐ เครื่องหมาย = ≠ > < ในรูปกระจาย
๔. บอกจำ�นวนที่หายไปในแบบรูป ๓. เรียงลำ�ดับจำ�นวนนับไม่เกิน - การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับ
ของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นหรือ ๑,๐๐๐ และ ๐ ตั้งแต่ ๓ ถึง ๕ จำ�นวน
ลดลงทีละ ๒ ทีละ ๕ และ จำ�นวนจากสถานการณ์ต่าง ๆ - แบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นหรือ
ทีละ ๑๐๐ ลดลงทีละ ๒ ทีละ ๕ และ
ทีละ ๑๐๐

๒ การบวกและการลบจำ�นวนนับ ๑. หาผลบวกในประโยคสัญลักษณ์ ๑. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าใน - การบวกและการลบ


ไม่เกิน ๑,๐๐๐ แสดงการบวกของจํานวนนับ ประโยคสัญลักษณ์แสดงการ - การแก้โจทย์ปัญหาและการสร้าง
ไม่เกิน ๑,๐๐๐ บวกและประโยคสัญลักษณ์ โจทย์ปัญหา พร้อมทั้งหาคำ�ตอบ

(16)   สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)


คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

บทที่ เรื่อง จุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้


๒. หาผลลบในประโยคสัญลักษณ์ แสดงการลบของจำ�นวนนับ
แสดงการลบของจํานวนนับ ไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐
ไม่เกิน ๑,๐๐๐
๓. หาค่าของตัวไม่ทราบค่า
ในประโยคสัญลักษณ์แสดง
การบวกและประโยคสัญลักษณ์
แสดงการลบของจํานวนนับ
ไม่เกิน ๑,๐๐๐
๔. แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์
ปัญหาการบวก และโจทย์
ปัญหาการลบ
๕. สร้างโจทย์ปัญหาการบวก และ
โจทย์ปัญหาการลบ
๓ การวัดความยาว ๑. วัดและบอกความยาวเป็นเมตร ๑. วัดและเปรียบเทียบความยาว - การวัดความยาวเป็นเมตรและ
และเซนติเมตร เป็นเมตรและเซนติเมตร เซนติเมตร
๒. คาดคะเนความยาวเป็นเมตร ๒. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ - การคาดคะเนความยาวเป็นเมตร
๓. เปรียบเทียบความยาวโดยใช้ ปัญหาการบวก การลบเกี่ยวกับ - การเปรียบเทียบความยาวโดยใช้
ความสัมพันธ์ระหว่างเมตร ความยาวที่มีหน่วยเป็นเมตร ความสัมพันธ์ระหว่างเมตรกับ
และเซนติเมตร และเซนติเมตร เซนติเมตร
๔. แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ - การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
ปัญหาเกี่ยวกับความยาวที่มี ความยาวที่มีหน่วยเป็นเมตร
หน่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร และเซนติเมตร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)   (17)


คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

บทที่ เรื่อง จุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้


๔ การวัดน้ำ�หนัก ๑. วัดและบอกน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัม ๑. วัดและเปรียบเทียบน้ำ�หนัก - การวัดน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัม
และกรัม กิโลกรัมและขีด เป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัม และกรัม กิโลกรัมและขีด
๒. เปรียบเทียบน้ำ�หนักโดยใช้ และขีด - การคาดคะเนน้ำ�หนักเป็น
ความสัมพันธ์ระหว่างกิโลกรัม ๒. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ กิโลกรัม
กับกรัม กิโลกรัมกับขีด ปัญหาการบวก การลบเกี่ยวกับ - การเปรียบเทียบน้ำ�หนักโดยใช้
๓. แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ น้ำ�หนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัม ความสัมพันธ์ระหว่างกิโลกรัม
ปัญหาเกี่ยวกับน้ำ�หนักที่มีหน่วย และกรัม กิโลกรัมและขีด กับกรัม กิโลกรัมกับขีด
เป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัม - การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
และขีด น้ำ�หนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัม
และกรัม กิโลกรัมและขีด

๕ การคูณ ๑. หาผลคูณในประโยคสัญลักษณ์ ๑. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าใน - ความหมายของการคูณ


แสดงการคูณของจํานวน ประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณ ความหมายของการหาร
๑ หลักกับจํานวนไม่เกิน ๒ หลัก ของจำ�นวน ๑ หลักกับจำ�นวน การหาผลคูณ การหาผลหาร
๒. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าใน ไม่เกิน ๒ หลัก และเศษ และความสัมพันธ์
ประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณ ของการคูณและการหาร
ของจํานวน ๑ หลักกับจํานวน - การแก้โจทย์ปัญหาและการสร้าง
ไม่เกิน ๒ หลัก โจทย์ปัญหา พร้อมทั้งหาคำ�ตอบ
๓. แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์
ปัญหาการคูณ
๔. สร้างโจทย์ปัญหาการคูณ

(18)   สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)


คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

บทที่ เรื่อง จุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้


๖ การหาร ๑. หาผลหารและเศษในประโยค ๑. หาค่าของตัวไม่ทราบค่า - ความหมายของการคูณ ความ
สัญลักษณ์แสดงการหารที่ตัวตั้ง ในประโยคสัญลักษณ์แสดง หมายของการหาร การหาผลคูณ
ไม่เกิน ๒ หลัก ตัวหาร ๑ หลัก การหารที่ตัวตั้งไม่เกิน ๒ หลัก การหาผลหารและเศษ และ
โดยที่ผลหารมี ๑ หลัก ตัวหาร ๑ หลักโดยที่ผลหารมี ความสัมพันธ์ของการคูณและ
๒. หาค่าของตัวไม่ทราบค่า ๑ หลักทั้งหารลงตัวและหารไม่ การหาร
ในประโยคสัญลักษณ์แสดง ลงตัว - การแก้โจทย์ปัญหาและการสร้าง
การหารที่ตัวตั้งไม่เกิน ๒ หลัก โจทย์ปัญหา พร้อมทั้งหาคำ�ตอบ
ตัวหาร ๑ หลัก โดยที่ผลหารมี
๑ หลัก
๓. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์
ปัญหาการหาร
๔. สร้างโจทย์ปัญหาการหาร

๗ เวลา ๑. อ่านปฏิทิน ๑. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ - การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและ


๒. บอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที ปัญหาเกี่ยวกับเวลาที่มีหน่วย นาที (ช่วง ๕ นาที)
(ช่วง 5 นาที) เดี่ยวและเป็นหน่วยเดียวกัน - การบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมง
๓. แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลาที่มี เป็นนาที
หน่วยเดี่ยวและเป็นหน่วย - การเปรียบเทียบระยะเวลาเป็น
เดียวกัน ชั่วโมง เป็นนาที
- การอ่านปฏิทิน
- การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)   (19)


คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

บทที่ เรื่อง จุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้


๘ การวัดปริมาตร ๑. วัดและบอกปริมาตรและ ๑. วัดและเปรียบเทียบปริมาตร - การวัดปริมาตรและความจุโดยใช้
ความจุเป็นลิตร และความจุเป็นลิตร หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
๒. เปรียบเทียบปริมาตรและ - การวัดปริมาตรและความจุเป็น
ความจุเป็นลิตร ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง ลิตร
๓. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ - การเปรียบเทียบปริมาตรและ
ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรและ ความจุเป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะ
ความจุ ถ้วยตวง ลิตร
- การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
ปริมาตรและความจุที่มีหน่วย
เป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง
ลิตร

๙ รูปเรขาคณิต ๑. จำ�แนกและบอกลักษณะของ ๑. จำ�แนกและบอกลักษณะของ - ลักษณะของรูปหลายเหลี่ยม


รูปหลายเหลี่ยม วงกลม และ รูปหลายเหลี่ยมและวงกลม วงกลม และวงรี
วงรี - การเขียนรูปเรขาคณิตสองมิติ
๒. เขียนรูปหลายเหลี่ยมโดยใช้ โดยใช้แบบของรูป
แบบของรูป - แบบรูปซ้ำ�
๓. บอกรูปที่หายไปในแบบรูปซ้ำ�
ของรูปเรขาคณิตและรูปอื่น ๆ

(20)   สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)


คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

บทที่ เรื่อง จุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้


๑๐ การบวก ลบ คูณ หารระคน ๑. หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ ๑. หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ - การบวก ลบ คูณ หารระคน
หารระคน หารระคนของจำ�นวนนับไม่เกิน - การแก้โจทย์ปัญหาและการสร้าง
๒. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ ๑,๐๐๐ และ ๐ โจทย์ปัญหา พร้อมทั้งหาคำ�ตอบ
โจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอน ๒. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ
โจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอนของ
จำ�นวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐
และ ๐

๑๑ แผนภูมิรูปภาพ ๑. อ่านข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพ ๑. ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพใน - การอ่านแผนภูมิรูปภาพ


เมื่อกำ�หนดรูป ๑ รูปแทน การหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหา
๒ หน่วย ๕ หน่วย หรือ เมื่อกำ�หนดรูป ๑ รูปแทน
๑๐ หน่วย ๒ หน่วย ๕ หน่วย หรือ
๒. ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพ ๑๐ หน่วย
ในการหาคำ�ตอบของโจทย์
ปัญหา เมื่อกำ�หนดรูป ๑ รูป
แทน ๒ หน่วย ๕ หน่วย หรือ
๑๐ หน่วย

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)   (21)


ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

จำ�นวนและพีชคณิต การวัดและเรขาคณิต สถิติและความน่าจะเป็น

จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 แบบรูป การวัดความยาว


การนับทีละ 2 ทีละ 5 ทีละ 10 แบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นหรือ การวัดความยาวเป็นเมตรและ การนำ�เสนอข้อมูล
และทีละ 100 ลดลงทีละ 2 ทีละ 5 และทีละ 100 เซนติเมตร
การอ่านแผนภูมิรูปภาพ
การอ่านและการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก แบบรูปซ้ำ� การคาดคะเนความยาวเป็นเมตร
ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำ�นวน การวัดปริมาตรและความจุ การเปรียบเทียบความยาวโดยใช้
จำ�นวนคู่ จำ�นวนคี่ ความสัมพันธ์ระหว่างเมตรกับ
การวัดปริมาตรและความจุโดยใช้ เซนติเมตร
หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และ หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
การเขียนตัวเลขแสดงจำ�นวนในรูปกระจาย การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว
การวัดปริมาตรและความจุเป็น ที่มีหน่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร
การเปรียบเทียนและเรียงลำ�ดับจำ�นวน ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง ลิตร เวลา
การบวก การลบ การคูณ การหาร การเปรียบเทียบปริมาตรและ การวัดน้ำ�หนัก การบอกเวลาเป็นนาฬิกา
จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ความจุเป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะ และนาที (ช่วง 5 นาที)
ถ้วยตวง ลิตร การวัดน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมและกรัม
การบวกและการลบ กิโลกรัมและขีด การบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมง
การแก้โจทย์ปญั หาเกีย่ วกับบริมาตร เป็นนาที
ความหมายของการคูณ ความหมายของการหาร และความจุที่มีหน่วยเป็นช้อนชา การคาดคะเนน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัม
การหาผลคูณ การหาผลหารและเศษ การเปรียบเทียบระยะเวลา
ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง ลิตร การเปรียบเทียบน้ำ�หนักโดยใช้
และความสัมพันธ์ของการคูณและ การหาร เป็นชั่วโมง เป็นนาที
รูปเรขาคณิตสองมิติ ความสัมพันธ์ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม
การบวก ลบ คูณ หารระคน กิโลกรัมกับขีด การอ่านปฏิทิน
ลักษณะของรูปสามเหลี่ยม การแก้โจทย์ปัญหา
การแก้โจทย์ปัญหาและการสร้าง การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับน้ำ�หนักที่มี
วงกลม และวงรี เกี่ยวกับเวลา
โจทย์ปัญหา พร้อมทั้งหาคำ�ตอบ หน่วยเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกกรัม
การเขียนรูปเรขาคณิตสองมิติ และขีด
(22)   สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
โดยใช้แบบของรูป
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

บทที่ 1 จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

จุดประสงค์การเรียนรู้และสาระสำ�คัญ

จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำ�คัญ

นักเรียนสามารถ

1. บอกจำ�นวนสิ่งต่าง ๆ และแสดงสิ่งต่าง ๆ • บอกจำ �นวนของสิ่งต่าง ๆ ได้จากการนับ


ตามจำ�นวนที่กำ�หนดไม่เกิน 1,000
(หัวข้อ 1.1 - 1.4 และ 1.10)
• การนั บสิ่งต่าง ๆ อาจนับทีละ 2 (สอง สี่ หก
แปด สิบ สิบสอง ...) หรืออาจนับทีละ 5
(ห้า สิบ สิบห้า ยี่สิบ ยี่สิบห้า ...)
• จำ�นวนที่หลักหน่วยเป็น 0 2 4 6 8
เป็นจำ�นวนคู่

• จำ�นวนที่หลักหน่วยเป็น 1 3 5 7 9
เป็นจำ�นวนคี่

2. อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย
และตัวหนังสือแสดงจำ�นวนนับไม่เกิน
• การเขี ยนแสดงจำ�นวนอาจเขียนเป็นตัวเลข
ฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย หรือตัวหนังสือ
1,000 และ 0
(หัวข้อ 1.3 - 1.5)
• จํานวนสามหลั ก ถ้าเลขโดด 0 1 2 3 4 5 6
7 8 9 อยู่ในหลักหน่วย มีค่าเป็น 0 1 2 3 4
5 6 7 8 9 ถ้าอยู่ในหลักสิบ มีค่าเป็น 0 10
20 30 40 50 60 70 80 90 และเลขโดด
1 2 3 4 5 6 7 8 9 ถ้าอยู่ในหลักร้อย
มีค่าเป็น 100 200 300 400 500 600
700 800 900 ตามลําดับ

• 1,000 เป็นจํานวนสี่หลัก เลขโดด 1


ในหลักพันมีค่า 1,000

• การเขียนแสดงจำ�นวนในรูปกระจาย
เป็นการเขียนในรูปการบวกค่าของ
เลขโดดในหลักต่าง ๆ ของจำ�นวนนั้น

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  1
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำ�คัญ

นักเรียนสามารถ

3. เปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับจำ�นวนนับ
ไม่เกิน 1,000 และ 0
• การเปรี ยบเทียบจำ�นวนสองจำ�นวนจะใช้
คำ�ว่า เท่ากับ มากกว่า น้อยกว่า ซึ่งแทน
(หัวข้อ 1.6 - 1.9) ด้วยเครื่องหมาย = < > ตามลำ�ดับ
โดยพิจารณาดังนี้
−− จำ�นวนที่มีจำ�นวนหลักมากกว่าจะ
มากกว่าจำ�นวนทีม ่ จี �ำ นวนหลักน้อยกว่า
−− จำ�นวนที่มีจำ�นวนหลักเท่ากัน
ถ้าเลขโดดในหลักร้อยมีค่ามากกว่า
จะมากกว่า ถ้าเลขโดดในหลักร้อย
มีค่าเท่ากัน จำ�นวนที่เลขโดด
ในหลักสิบมีค่ามากกว่าจะมากกว่า
ถ้าเลขโดดในหลักร้อย หลักสิบ
มีค่าเท่ากัน จำ�นวนที่เลขโดด
ในหลักหน่วยมีค่ามากกว่าจะมากกว่า

• การเรี ยงลําดับจํานวน อาจทําได้โดยหา


จํานวนที่มากที่สุดและน้อยที่สุดก่อน
จากนั้นนําจํานวนมาเรียงลําดับจาก
มากไปน้อย หรือจากน้อยไปมาก

4. บอกจำ�นวนที่หายไปในแบบรูปของจำ�นวน
ที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละ 2 ทีละ 5 และ
• แบบรู ปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 2
ทีละ 5 หรือทีละ 100 เป็นชุดของจำ�นวน
ทีละ 100 ที่มีความสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่องในลักษณะ
(หัวข้อ 1.11 - 1.13) ของการเพิ่มขึ้นทีละ 2 ทีละ 5 หรือทีละ 100

• แบบรูปของจำ�นวนที่ลดลงทีละ 2 ทีละ 5
หรือทีละ 100 เป็นชุดของจำ�นวนที่มี
ความสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่องในลักษณะ
ของการลดลงทีละ 2 ทีละ 5 หรือทีละ 100

2  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

การวิเคราะห์เนื้อหากับทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

ทักษะและกระบวนการ
เวลา ทางคณิตศาสตร์
หัวข้อ เนื้อหา
(ชั่วโมง)
1 2 3 4 5

เตรียมความพร้อม 1

1.1 การนับทีละ 2 1

1.2 การนับทีละ 5 1

1.3 จำ�นวนนับไม่เกิน 200 1

1.4 จำ�นวนนับ 201 ถึง 1,000 1

หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของ
1.5 1
จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

1.6 การเปรียบเทียบจำ�นวน (1) 1

1.7 การเปรียบเทียบจำ�นวน (2) 1

1.8 การเรียงลำ�ดับจำ�นวน (1) 1

1.9 การเรียงลำ�ดับจำ�นวน (2) 2

1.10 จำ�นวนคู่ จำ�นวนคี่ 1

แบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 2 และ
1.11 1
แบบรูปของจำ�นวนที่ลดลงทีละ 2

แบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 5 และ
1.12 1
แบบรูปของจำ�นวนที่ลดลงทีละ 5

แบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 100 และ


1.13 1
แบบรูปของจำ�นวนที่ลดลงทีละ 100

ร่วมคิดร่วมทำ� 1

1  การแก้ปัญหา 2  การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
3  การเชื่อมโยง 4  การให้เหตุผล 5  การคิดสร้างสรรค์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  3
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

คำ�สำ�คัญ
การนับ จำ�นวนนับ หลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก การเขียนจำ�นวนในรูปกระจาย
การเปรียบเทียบจำ�นวน การเรียงลำ�ดับจำ�นวน จำ�นวนคู่ จำ�นวนคี่ แบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้น
แบบรูปของจำ�นวนที่ลดลง

ความรู้หรือทักษะพื้นฐานของนักเรียน
1. การนับและบอกจำ�นวนนับไม่เกิน 100 และ 0
2. การอ่านและการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำ�นวนนับ
ไม่เกิน 100 และ 0
3. หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลักและการเขียนแสดงจำ�นวนในรูปกระจายของจำ�นวนนับ
ไม่เกิน 100
4. การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับจำ�นวนนับไม่เกิน 100
5. การนับเพิ่มทีละ 1 และการนับลดทีละ 1
6. การนับเพิ่มทีละ 10 และการนับลดทีละ 10

สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียน หน้า 2 - 57
2. แบบฝึกหัด หน้า 2 - 35
3. แบบบันทึกกิจกรรม ใบกิจกรรม บัตรภาพต่าง ๆ และอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ทีใ่ ช้ประกอบกิจกรรม ดังนี้


• บัตรภาพผลไม้ 5 บัตร เช่น บัตรภาพ สาลี่ 32 ผล แอปเปิล 65 ผล ส้ม 100 ผล
มังคุด 46 ผล ชมพู่ 78 ผล

• สิ่งของที่เป็นของจริงมาใช้ในการนับ เช่น ไม้ไอศกรีม หลอดกาแฟ เมล็ดพืช ลูกอม


• บัตรภาพกิ๊บ บัตรภาพแก้วน้ำ� บัตรภาพขนม บัตรภาพผักชนิดต่าง ๆ เช่น บัตรภาพ
ข้าวโพดอ่อน บวบ มะเขือม่วง แคร์รอต มะเขือเทศ พริกหยวก

• แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ แผ่นตารางหน่วย และแถบจำ�นวน

• บัตรตัวเลข 5 บัตร เช่น 5 6 4 8 9

• ใบกิจกรรม แบบบันทึกกิจกรรม
4. สื่อเพิ่มเติม หน้า 4 9 42 และ 57 (Download ได้จาก QR code หน้า 2)
5. สื่อวีดิทัศน์ (QR code)

• ค่าของเลขโดด หน้า 21

เวลาที่ใช้จัดการเรียนรู้ 16 ชั่วโมง

4  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

การจัดการเรียนรู้
การเตรียมความพร้อม

บทที่ 1 จำานวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0


เรียนจบบทนี้แล้ว นักเรียนสามารถ

บอกจำ�นวนของสิง่ ต่�ง ๆ และแสดงสิง่ ต่�ง ๆ ต�มจำ�นวน


ที่กำ�หนดไม่เกิน 1,000

อ่�นและเขียนตัวเลขฮินดูอ�รบิก ตัวเลขไทย
และตัวหนังสือแสดงจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0
เปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000
และ 0
บอกจำ�นวนที่ห�ยไปในแบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นหรือ
สื่อเพิ่มเติม
ลดลงทีละ 2 ทีละ 5 และทีละ 100

ผลไม้แต่ละชนิดมีจำ�นวนเท่�ไร
และผลไม้ชนิดใดมีจำ�นวนม�กที่สุด

1. ใช้ข้อมูลในหนังสือเรียนหน้าเปิดบท เพื่อกระตุ้นความสนใจเกี่ยวกับผลไม้และจำ�นวนผลไม้
ชนิดต่าง ๆ โดยใช้คำ�ถาม เช่น

ในภาพมีผลไม้อะไรบ้าง


ผลไม้แต่ละชนิดมีจำ�นวนเท่าไร


ผลไม้ชนิดใดมีจำ�นวนมากที่สุด


ผลไม้ชนิดใดมีจำ�นวนน้อยที่สุด
และสนทนาเกี่ยวกับการนำ�ความรู้เรื่องการนับไปใช้ในการบอกจำ�นวนของสิ่งต่าง ๆ ที่มี
จำ�นวนมาก เช่นการนับจำ�นวนผลไม้ในหน้าเปิดบท เราควรใช้การนับทีละ 100 ทีละ 10 ทีละ 5
หรือทีละ 2 เพื่อนำ�เข้าสู่บทเรียน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  5
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

2. ใช้หนังสือเรียนหน้าเตรียมความพร้อม หนังสือเรียนร�ยวิช�พื้นฐ�น | คณิตศ�สตร์ ป.2


บทที่ 1 | จำานวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

เพื่อตรวจสอบความรู้พื้นฐานของนักเรียนเรื่องการนับ เตรียมความพร้อม

การเขียนแสดงจำ�นวนด้วยตัวเลข ตัวหนังสือ กิจกรรม สนุกกับจำ�นวน


อุปกรณ์ 1 ชุด ประกอบด้วย

การเปรียบเทียบ และการเรียงลำ�ดับจำ�นวนนับไม่เกิน 100


1. บัตรภ�พผลไม้ 5 บัตร เช่น บัตรภ�พส�ลี่ 32 ผล
แอปเป�ล 65 ผล ส้ม 100 ผล มังคุด 46 ผล ชมพู่ 78 ผล
ตัวอย่างบัตร

โดยทำ�กิจกรรมสนุกกับจำ�นวน เมื่อนักเรียนทำ�กิจกรรม สาลี่

เสร็จแล้ว ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำ�เสนอวิธีการนับ จากนั้น


ครูถามว่า นักเรียนมีวิธีการนับผลไม้อย่างไร จนได้ข้อสรุป
2. แบบบันทึกกิจกรรม
วิธีจัดกิจกรรม

เกี่ยวกับการนับทีละ 10 ทำ�ให้นับได้รวดเร็วขึ้น เมื่อได้


1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม แจกอุปกรณ์กลุ่มละ 1 ชุด
2. ให้สม�ชิกในกลุ่มนับจำ�นวนผลไม้ในบัตรภ�พ แล้วบันทึกผล
ในแบบบันทึกกิจกรรม

ข้อสรุปเกี่ยวกับวิธีการนับแล้ว ครูให้นักเรียนร่วมกัน ตัวอย่างแบบบันทึกกิจกรรม

ตรวจสอบ โดยการถาม - ตอบ เกี่ยวกับการเขียน ชื่อผลไม้ ตัวเลข ตัวเลข ตัวหนังสือ


กลุ่มที่..........

จ�กจำ�นวนผลไม้ในต�ร�ง เติมคำ�ตอบในช่องว่�ง
ฮินดูอ�รบิก ไทย

แสดงจำ�นวน การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับจำ�นวนผลไม้
100
จำ�นวนที่ม�กที่สุดคือ ........................................
สาลี่ 32 ๓๒ สามสิบสอง 32
จำ�นวนที่น้อยที่สุดคือ .......................................
แอปเปิล 65 ๖๕ หกสิบสี่
ส้ม 100 ๑๐๐ หนึ่งร้อย เรียงลำ�ดับจำ�นวนจ�กม�กไปน้อย

ในแบบบันทึกกิจกรรม หากมีนักเรียนที่มีความรู้พื้นฐาน
มังคุด 46 ๔๖ สี่สิบหก 100 78 65 46 32
.........................................................................
ชมพู่ 78 ๗๘ เจ็ดสิบแปด
แบบฝึกหัดเตรียมความพร้อม
4| สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

การนับและการเขียนแสดงจำ�นวนยังไม่เพียงพอ ครูอาจให้ท�ำ
แบบฝึกหัดเตรียมความพร้อมในหนังสือแบบฝึกหัดหน้า 2 หนังสือเรียนร�ยวิช�พื้นฐ�น | คณิตศ�สตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำานวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

1.1 การนับทีละ 2

พัฒนาความรู้

1.1 การนับทีละ 2
จุดประสงค์
นับทีละ 1 ได้ หนึ่ง สอง ส�ม สี่ ห้� หก เจ็ด แปด เก้� สิบ
สิบเอ็ด สิบสอง สิบส�ม สิบสี่ สิบห้� สิบหก สิบเจ็ด สิบแปด
สิบเก้� ยี่สิบ ยี่สิบเอ็ด ยี่สิบสอง ยี่สิบส�ม ยี่สิบสี่ ยี่สิบห้�
ยี่สิบหก ยี่สิบเจ็ด ยี่สิบแปด ยี่สิบเก้� สามสิบ

นับและบอกจำ�นวนของสิ่งต่าง ๆ โดยการนับทีละ 2
มีเหรียญทั้งหมด 30 เหรียญ

นับทีละ 10 ได้ สิบ ยี่สิบ สามสิบ มีเหรียญทั้งหมด 30 เหรียญ

สื่อการเรียนรู้
−− สิ่งของที่ใช้ในการนับ เช่น ไม้ไอศกรีม หลอดกาแฟ
ก�รนับสิ่งต่�ง ๆ นอกจ�กนับทีละ 1 ทีละ 10 แล้ว
อ�จนับทีละ 2

เมล็ดพืช ดินสอ ปากกา


−− ตัวนับ นับทีละ 2 ได้ สอง สี่ หก แปด สิบ สิบสอง สิบสี่ สิบหก
สิบแปด ยี่สิบ ยี่สิบสอง ยี่สิบสี่ ยี่สิบหก ยี่สิบแปด สามสิบ
มีเหรียญทั้งหมด 30 เหรียญ
เร�บอกจำ�นวนได้ด้วยก�รนับ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |5

แนวการจัดการเรียนรู้
การพัฒนาความรู้
1. ทบทวนการนับสิ่งของต่าง ๆ ทีละ 1 และทีละ 10 เป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม โดยใช้
สิ่งของหรือบัตรภาพสิ่งของต่าง ๆ มาใช้ในการนับ โดยเริ่มนับทีละ 1 จาก หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า ...
เก้า สิบ จากนั้นให้นับจำ�นวนสิ่งของหรือบัตรภาพที่เป็นกอง กองละ 10 จาก สิบ ยี่สิบ สามสิบ สี่สิบ
ห้าสิบ ... สิบสิบ หรือ หนึ่งร้อย เมื่อนักเรียนทบทวนการนับทีละ 1 และทีละ 10 แล้ว ครูยกตัวอย่าง
การนับสิง่ ของต่าง ๆ ทีละ 2 เช่นเหรียญบาท 30 เหรียญ ตามหนังสือเรียนหน้า 5 โดยการนับ
ทีละ 2 จาก สอง สี่ หก แปด สิบ สิบสอง ... สามสิบ

6  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 หนังสือเรียนร�ยวิช�พื้นฐ�น | คณิตศ�สตร์ ป.2


บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 บทที่ 1 | จำานวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

ขนมบ้�บิ่น เป็นขนมไทยชนิดหนึ่งที่ทำ�จ�ก
ช่วยกันนับทีละ 2 แป้งข้�วเหนียวผสมกับมะพร้�วทึนทึกขูด
ช่วยกันนับและบอกจำ�นวน
เป็นฝอยและน้ำ�ต�ลทร�ย ผิงไฟด้�นล่�งและ
สอง สี่ หก แปด สิบ สิบสอง สิบสี่ ด้�นบนให้สุก
มีโบ 14 อัน

สิบ ยี่สิบ ส�มสิบ สี่สิบ สี่สิบสอง สี่สิบสี่


สอง สี่ หก แปด สิบ สิบสอง สิบสี่ สิบหก สิบแปด มีขนมบ้�บิ่น 44 ชิ้น
มีกิ๊บ 18 อัน

สิบ ยี่สิบ ส�มสิบ ส�มสิบสอง ส�มสิบสี่ ส�มสิบหก ส�มสิบแปด สามสิบเก้า


มีขนมต�ล 39 ชิ้น

นับและบอกจำานวน
ขนมน้ำ�ดอกไม้ หรือขนมชักหน้� เป็นขนม
ไทยโบร�ณ มีรอยบุ�มอยู่ตรงกล�ง เกิดจ�ก
สอง สี่ หก แปด สิบ สิบสอง สิบสี่ สิบหก สิบแปด ยี่สิบ ยี่สิบสอง ยี่สิบสี่ ก�รนำ�ถ้วยตะไลไปนึ่งให้ร้อนก่อนที่จะเท
มีแก้วน้ำ� 24 ใบ ส่วนผสมลงไป

67

6| สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |7

2. ครูให้นักเรียนดูภาพโบในหนังสือเรียนหน้า 6 แล้วช่วยกันนับทีละ 2 พร้อมกัน จากนั้น


ครูให้นักเรียนฝึกการนับสิ่งของต่าง ๆ ทีละ 2 โดยให้ดูภาพกิ๊บและแก้วน้ำ�ในหนังสือเรียนทีละภาพ
แล้วให้นักเรียนช่วยกันนับทีละ 2 พร้อมกัน หากนักเรียนคนใดยังนับไม่คล่อง ครูอาจให้ฝึกนับทีละ 2
เป็นรายบุคคล โดยใช้สื่อของจริง ครูอาจเริ่มต้นนับ สอง สี่ ให้ แล้วให้นักเรียนนับต่อจนครบ
3. หลังจากนักเรียนฝึกจนครบทุกคนแล้ว ครูให้นักเรียนฝึกนับและบอกจำ�นวนขนมบ้าบิ่น
ในหนังสือเรียนหน้า 7 พร้อมกัน ซึ่งการนับจำ�นวนขนมบ้าบิ่นจะเป็นการนับทีละ 10 ก่อน แล้วนับ
ทีละ 2 แล้วบอกจำ�นวนขนมบ้าบิ่นตามที่นับได้ ทำ�นองเดียวกันครูให้นักเรียนฝึกนับและบอกจำ�นวน
ขนมตาล ซึ่งการนับจำ�นวนขนมตาลจะเป็นการนับทีละ 10 ก่อน ส่วนที่เหลือจะนับทีละ 2 และ
นับทีละ 1 ตามลำ�ดับ พร้อมทั้งบอกจำ�นวนขนมตาลที่นับได้ จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกัน
นับจำ�นวนขนมน้ำ�ดอกไม้แล้วบอกจำ�นวน โดยครูใช้คำ�ถามว่า นักเรียนมีวิธีการนับอย่างไร
ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปว่า การนับขนมน้ำ�ดอกไม้อาจนับทีละ 10 ก่อน ส่วนที่เหลือ
ก็นับทีละ 2 และนับทีละ 1 ตามลำ�ดับ หรือ นับทีละ 10 ก่อน และส่วนที่เหลือก็นบ ั ทีละ 1

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  7
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

การตรวจสอบความเข้าใจ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน โดยให้ ตรวจสอบความเข้าใจ

นักเรียนแต่ละคนนับขนมทองหยอดพร้อมทั้งวงรอบ
วงรอบภาพขนมทองหยอดแสดงการนับทีละ 2 หรือ ทีละ 10
และเขียนตัวเลขแสดงจำานวนขนมทองหยอด

ภาพแสดงการนับทีละ 2 แล้วเขียนตัวเลขแสดงจำ�นวน
ที่นับได้ หรือให้นักเรียนแสดงการนับทีละ 10 ก่อน
แล้วส่วนที่เหลือจึงนับทีละ 2 จากนั้นครูและ
นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
มีขนมทองหยอด 58 เม็ด

สิ่งที่ได้เรียนรู้

สิ่งที่ได้เรียนรู้
การนับสิ่งต่างๆอาจนับทีละ 2 ดังนี้ สอง สี่ หก แปด สิบ ก�รนับสิ่งต่�ง ๆ อ�จนับทีละ 2 ดังนี้ สอง สี่ หก แปด สิบ สิบสอง ...

สิบสอง ...
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 1.1 หน้า 3 - 4
แบบฝึกหัด 1.1

8| สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ถ้าพบว่ามีนักเรียนคนใดนับทีละ 2 หรือนับทีละ 10
ยังไม่คล่องให้นักเรียนนำ�แบบฝึกหัด 1.1 มาฝึกนับ หนังสือเรียนร�ยวิช�พื้นฐ�น | คณิตศ�สตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำานวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

เป็นรายบุคคลกับครู 1.2 การนับทีละ 5

พัฒนาความรู้

1.2 การนับทีละ 5
กิจกรรม สนุกกับก�รนับทีละ 5
อุปกรณ์ ลูกอม

จุดประสงค์
วิธีจัดกิจกรรม
1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม แจกลูกอมกลุ่มละ 100 เม็ด
2. ให้สม�ชิกในกลุ่มช่วยกันจัดลูกอมเป็นกอง กองละ 5 เม็ด

นับและบอกจำ�นวนของสิ่งต่าง ๆ โดยการนับทีละ 5 3. ครูให้นักเรียนนับลูกอมทีละกอง ตอบคำ�ถ�ม และครูเขียนตัวเลขที่ได้


จ�กก�รนับลงในต�ร�ง ดังนี้
- มีอยู่ 5 เพิ่มอีก 5 เป็นเท่�ไร

5 10

สื่อการเรียนรู้ - มีอยู่ 10 เพิ่มอีก 5 เป็นเท่�ไร

ลูกอม บัตรภาพ 5 10 15

จัดกิจกรรมทำ�นองเดียวกันนี้จนนับลูกอมครบทุกกอง

นับทีละ 5 ได้ ห้� สิบ สิบห้� ยี่สิบ ยี่สิบห้� ส�มสิบ

แนวการจัดการเรียนรู้
ส�มสิบห้� สี่สิบ สี่สิบห้� ห้�สิบ ห้�สิบห้� หกสิบ
หกสิบห้� เจ็ดสิบ เจ็ดสิบห้� แปดสิบ แปดสิบห้�
เก้�สิบ เก้�สิบห้� หนึ่งร้อย

การพัฒนาความรู้
มีลูกอมทั้งหมด 100 เม็ด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |9

1. ครูให้นักเรียนทำ�กิจกรรม สนุกกับการนับทีละ 5
ตามรายละเอียดในหนังสือเรียนหน้า 9 เพื่อฝึกการนับทีละ 5 จากลูกอม 100 เม็ด โดยให้นักเรียน
จัดลูกอมเป็นกอง กองละ 5 เม็ด เมื่อจัดเสร็จแล้วให้เริ่มนับจากกองแรก 5 เม็ด ครูใช้คำ�ถามว่า
มีอยู่ 5 เพิ่มอีก 5 เป็นเท่าไร นักเรียนตอบ 10 ครูและนักเรียนเขียน 10 ลงในตาราง
ครูถามต่ออีกว่า มีอยู่ 10 เพิ่มอีก 5 เป็นเท่าไรแล้วเขียนตัวเลขแสดงจำ�นวนลงในตาราง
ต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ จนครบทุกกอง จะได้ ห้า สิบ สิบห้า ยี่สิบ ยี่สิบห้า สามสิบ สามสิบห้า สี่สิบ สี่สิบห้า
ห้าสิบ ห้าสิบห้า หกสิบ หกสิบห้า เจ็ดสิบ เจ็ดสิบห้า แปดสิบ แปดสิบห้า เก้าสิบ เก้าสิบห้า หนึ่งร้อย
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปกิจกรรมการนับสิ่งของทีละ 5

8  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

โดยให้นักเรียนนับพร้อมกันดังนี้ ห้า สิบ สิบห้า ยี่สิบ ยี่สิบห้า สามสิบ สามสิบห้า สี่สิบ สี่สิบห้า ห้าสิบ
ห้าสิบห้า หกสิบ หกสิบห้า เจ็ดสิบ เจ็ดสิบห้า แปดสิบ แปดสิบห้า เก้าสิบ เก้าสิบห้า หนึ่งร้อย

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

ช่วยกันนับทีละ 5 ช่วยกันนับและบอกจำ�นวน

มีแคร์รอต 35 หัว
ห้� สิบ สิบห้� ยี่สิบ มีข้�วโพดอ่อน 20 ฝัก

ห้� สิบ สิบห้� ยี่สิบ ยี่สิบห้� ส�มสิบ ส�มสิบห้� สี่สิบ สี่สิบห้า


มีบวบ 45 ผล มีมะเขือเทศ 85 ผล

ห้� สิบ สิบห้� ยี่สิบ ยี่สิบห้� ส�มสิบ ส�มสิบห้� สี่สิบ สี่สิบห้� ห้าสิบ
มีมะเขือม่วง 50 ผล มีพริกหยวก 72 เม็ด

10 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 11

2. ครูให้นักเรียนดูภาพในหนังสือเรียน หน้า 10 และให้นักเรียนช่วยกันนับข้าวโพดอ่อน


ทีละ 5 พร้อมกัน แล้วบอกจำ�นวนข้าวโพดอ่อน จากนั้นให้นักเรียนช่วยกันนับบวบทีละ 5 พร้อมกัน
แล้วบอกจำ�นวนบวบ และช่วยกันนับมะเขือม่วงทีละ 5 พร้อมกัน แล้วบอกจำ�นวนมะเขือม่วง
3. ครูให้นักเรียนดูภาพในหนังสือเรียน หน้า 11 และให้นักเรียนฝึกนับแคร์รอต มะเขือเทศ
และพริกหยวก ทีละ 5 พร้อมทั้งบอกจำ�นวนเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม ถ้าพบว่านักเรียนคนใด
ยังนับทีละ 5 ไม่คล่อง ให้ฝึกนับโดยใช้สื่อของจริงเป็นรายบุคคลกับครู ครูอาจนับ ห้า สิบ นำ�ก่อน
เพื่อให้นักเรียนเกิดความมั่นใจในการนับ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  9
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

การตรวจสอบความเข้าใจ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน ตรวจสอบความเข้าใจ

โดยให้นักเรียนแต่ละคนนับหอมหัวใหญ่ มะระขี้นก
วงรอบภาพแสดงการนับทีละ 5 และเขียนตัวเลขแสดงจำานวนของสิ่งต่าง ๆ

พริกชี้ฟ้า พร้อมทั้งวงรอบภาพแสดงการนับทีละ 5 มีหอมหัวใหญ่ 17 หัว

แล้วเขียนตัวเลขแสดงจำ�นวนที่นับได้ ครูอาจสุ่มนักเรียน 2

ให้นับหอมหัวใหญ่ มะระขี้นก พริกชี้ฟ้า และบอกจำ�นวน มีมะระขี้นก 25 ผล

เพื่อเป็นการตรวจสอบความถูกต้องจากนั้นครูและนักเรียน
3

ร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
มีพริกชี้ฟ้� 83 เม็ด

สิ่งที่ได้เรียนรู้
สิ่งที่ได้เรียนรู้

• การนั
ก�รนับสิ่งต่�ง ๆ อ�จนับทีละ 5 ดังนี้ ห้� สิบ สิบห้� ยี่สิบ ยี่สิบห้� ...

บสิ่งต่าง ๆ อาจนับทีละ 5 ดังนี้ ห้า สิบ สิบห้า ยี่สิบ


ยิ่สิบห้า ...
แบบฝึกหัด 1.2

12 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

จากนั้นครูให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 1.2 หน้า 5 - 6


ถ้าพบว่ามีนักเรียนคนใดนับทีละ 5 ยังไม่คล่องให้นักเรียนนำ�แบบฝึกหัด 1.2
มาฝึกนับเป็นรายบุคคลกับครู

1.3 จำ�นวนนับไม่เกิน 200


จุดประสงค์
−− นับและบอกจำ�นวนของสิ่งต่าง ๆ ไม่เกิน 200
−− อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและตัวหนังสือแสดงจำ�นวนนับไม่เกิน 200

สื่อการเรียนรู้
หนังสือเรียนร�ยวิช�พื้นฐ�น | คณิตศ�สตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำานวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

1.3 จำานวนนับไม่เกิน 200


แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ แผ่นตารางหน่วย
พัฒนาความรู้

เก็บมะพร้�วได้ทั้งหมดกี่ผล

แนวการจัดการเรียนรู้
การพัฒนาความรู้ เก็บมะพร้�วใส่รถแล้ว 100 ผล หรือ 10 สิบผล

1. ครูให้นักเรียนนับมะพร้าวที่จัดเป็นกอง กองละ ยังมีมะพร้�วกองละ 10 ผล อยู่อีก 10 กอง


ดังนั้นนับต่อจ�ก 10 สิบ

10 พร้อมกัน ตามหนังสือเรียนหน้า 13 โดยเริ่มนับต่อ


11 สิบ 12 สิบ 13 สิบ 14 สิบ 15 สิบ

จาก 100 หรือ 10 สิบ จนครบทุกกอง ดังนี้


11 สิบ 12 สิบ 13 สิบ 14 สิบ 15 สิบ 16 สิบ 17 สิบ
16 สิบ 17 สิบ 18 สิบ 19 สิบ 20 สิบ

นับได้ 20 สิบ 20 สิบ เท่�กับ สองร้อย

18 สิบ 19 สิบ 20 สิบ 20 สิบ เขียนแสดงด้วยตัวเลขฮินดูอ�รบิก 200

ครูแนะนำ�ว่า
เขียนแสดงด้วยตัวเลขไทย ๒๐๐
เขียนแสดงด้วยตัวหนังสือ สองร้อย

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 13

10  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

11 สิบ คือ 10 สิบ กับ 1 สิบ หรือ 100 กับ 10 หรือ 110
12 สิบ คือ 10 สิบ กับ 2 สิบ หรือ 100 กับ 20 หรือ 120
13 สิบ คือ 10 สิบ กับ 3 สิบ หรือ 100 กับ 30 หรือ 130

20 สิบ คือ 10 สิบ กับ 10 สิบ หรือ 100 กับ 100 หรือ 200
20 สิบ หรือ 200 เขียนแสดงด้วยตัวเลขฮินดูอารบิก 200 ตัวเลขไทย ๒๐๐ และตัวหนังสือ
สองร้อย ครูอาจให้นักเรียนทำ�กิจกรรมนับนิ้วมือของนักเรียนแต่ละคนทีละ 10 ไปจนครบ 20 สิบ
หรือสองร้อย

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

ตัวเลข ตัวเลข
ฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย ตัวหนังสือ ฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย ตัวหนังสือ

110 ๑๑๐ หนึ่งร้อยสิบ 170 ๑๗๐ หนึ่งร้อยเจ็ดสิบ

100 กับ 10 100 กับ 70

120 ๑๒๐ หนึ่งร้อยยี่สิบ 180 ๑๘๐ หนึ่งร้อยแปดสิบ

100 กับ 20 100 กับ 80

130 ๑๓๐ หนึ่งร้อยส�มสิบ 190 ๑๙๐ หนึ่งร้อยเก้�สิบ

100 กับ 30 100 กับ 90

140 ๑๔๐ หนึ่งร้อยสี่สิบ 200 ๒๐๐ สองร้อย

100 กับ 40 หรือ

150 ๑๕๐ หนึ่งร้อยห้�สิบ

100 กับ 50 100 กับ 100

เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำานวน


160 ๑๖๐ หนึ่งร้อยหกสิบ 1 2

100 กับ 60
134 ๑๓๔ หนึ่งร้อยสามสิบสี่ 101 ๑๐๑ หนึ่งร้อยหนึ่ง
14 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 15

2. ครูให้นักเรียนดูภาพแผ่นตารางร้อย และแผ่นตารางสิบ ตามหนังสือเรียนหน้า 14 และ 15


ให้นักเรียนนับและออกเสียงนับพร้อมกัน เมื่อครูเห็นว่านักเรียนสามารถนับแผ่นตารางร้อยและ
แผ่นตารางสิบได้คล่องแล้ว ครูอาจให้นักเรียนทำ�กิจกรรมเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน โดยแต่ละกลุ่ม
ให้นักเรียนหนึ่งคนออกมาติดแผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ แล้วให้เพื่อนในกลุ่มอีก 3 คนออกมา
เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ โดยแข่งขันครั้งละ 2 กลุ่ม กลุ่มใดสามารถเขียน
ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือเสร็จก่อนและถูกต้องเป็นผู้ชนะ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  11
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

3. จากนั้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดง


จำ�นวนของแผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย ในข้อ 1 และ 2 ท้ายหน้า 15
ลงในกระดาษที่ครูแจกให้ ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง

การตรวจสอบความเข้าใจ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

ตรวจสอบความเข้าใจ
โดยให้นักเรียนแต่ละคนเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำานวน

ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำ�นวนของ 1 2

แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และแผ่นตาราง


150 ๑๕๐ หนึ่งร้อยห้าสิบ 127 ๑๒๗ หนึ่งร้อยยี่สิบเอ็ด
หน่วยที่กำ�หนดให้ ครูและนักเรียนร่วมกัน
ตรวจสอบความถูกต้อง ถ้าพบว่านักเรียน
3 4

คนใดเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย 162 ๑๖๒ หนึ่งร้อยหกสิบสอง 105 ๑๐๕ หนึ่งร้อยห้า

และตัวหนังสือแสดงจำ�นวนไม่ถูกต้อง ให้แก้ไข
ใหม่ให้ถูกต้อง จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกัน
สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้

สิ่งที่ได้เรียนรู้
สิ่งที่ได้เรียนรู้
• สามารถบอกจำ
ส�ม�รถบอกจำ�นวนของสิ่งต่�ง ๆ ได้จ�กก�รนับ

�นวนของสิ่งต่าง ๆ ส�ม�รถเขียนตัวเลขฮินดูอ�รบิก ตัวเลขไทย


และตัวหนังสือแสดงจำ�นวน

ได้จากการนับ แบบฝึกหัด 1.3

• สามารถเขี
16 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ยนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย
และตัวหนังสือแสดงจำ�นวน
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 1.3 หน้า 7 - 8

1.4 จำ�นวนนับ 201 ถึง 1,000


จุดประสงค์
−− นับและบอกจำ�นวนของสิ่งต่าง ๆ ไม่เกิน 1,000
−− อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

สื่อการเรียนรู้
บัตรภาพ แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ แผ่นตารางหน่วย

12  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

แนวการจัดการเรียนรู้ หนังสือเรียนร�ยวิช�พื้นฐ�น | คณิตศ�สตร์ ป.2


บทที่ 1 | จำานวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

การพัฒนาความรู้ 1.4 จำานวนนับ 201 ถึง 1,000

1. จากภาพต้นกล้าดาวเรืองในหนังสือเรียนหน้า พัฒนาความรู้

17 ครูใช้คำ�ถามว่า มีต้นกล้าดาวเรืองกี่กระบะ กระบะ


มีต้นกล้�ด�วเรือง 10 กระบะ กระบะละ 100 ต้น
มีต้นกล้�ด�วเรืองทั้งหมดกี่ต้น

ละกี่ต้น นักเรียนตอบว่า มี 10 กระบะ กระบะละ 100 ต้น


ม�ช่วยกันนับทีละ 100

จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกันนับจำ�นวนต้นกล้าดาวเรือง
ทีละ 100 ดังนี้ 1 ร้อย 2 ร้อย ... 10 ร้อย 1 ร้อย 2 ร้อย 3 ร้อย 4 ร้อย 5 ร้อย

ดังนั้น มีต้นกล้าดาวเรือง 10 ร้อย ต้น ครูแนะนำ�ว่า 6 ร้อย 7 ร้อย 8 ร้อย 9 ร้อย 10 ร้อย

มีต้นกล้�ด�วเรือง 10 ร้อย หรือหนึ่งพันต้น

10 ร้อย หรือ หนึ่งพัน เขียนแสดงด้วยตัวเลขฮินดูอารบิก 10 ร้อย เขียนแสดงด้วยตัวเลขฮินดูอ�รบิก 1,000

1,000 ตัวเลขไทย ๑,๐๐๐ และตัวหนังสือ หนึ่งพัน และ


เขียนแสดงด้วยตัวเลขไทย ๑,๐๐๐
เขียนแสดงด้วยตัวหนังสือ หนึ่งพัน

การเขียนตัวเลขแสดงจำ�นวนที่มากกว่าสามหลักนิยมใช้ ก�รเขียนตัวเลขแสดงจำ�นวนที่ม�กกว่�ส�มหลัก
นิยมใช้เครื่องหม�ยจุลภ�ค ( , ) คั่น

เครื่องหมายจุลภาค ( , ) คั่น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 17

2. จากภาพแผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และ


แผ่นตารางหน่วยในหนังสือเรียนหน้า 18 และ 19 ให้นักเรียนนับและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก
ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำ�นวน เช่น ภาพแรก นักเรียนนับได้ 200 กับ 1 หน่วย เขียนเป็น
ตัวเลขฮินดูอารบิก 201 ตัวเลขไทย ๒๐๑ และตัวหนังสือ สองร้อยเอ็ด จนครบทุกภาพ ครูควรเน้น
ตรงภาพสุดท้ายนับแผ่นตารางร้อยได้ 10 ร้อย หรือหนึ่งพัน อาจแสดงด้วยภาพ ดังนี้

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

ตัวเลข ตัวเลข
ฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย ตัวหนังสือ ฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย ตัวหนังสือ

201 ๒๐๑ สองร้อยเอ็ด 624 ๖๒๔ หกร้อยยี่สิบสี่

247 ๒๔๗ สองร้อยสี่สิบเจ็ด 705 ๗๐๕ เจ็ดร้อยห้�

300 ๓๐๐ ส�มร้อย 843 ๘๔๓ แปดร้อยสี่สิบส�ม

453 ๔๕๓ สี่ร้อยห้�สิบส�ม 910 ๙๑๐ เก้�ร้อยสิบ

509 ๕๐๙ ห้�ร้อยเก้� 1,000 ๑,๐๐๐ หนึ่งพัน

หรือ

ก�รเขียนตัวเลขแสดงจำ�นวนหนึ่งพัน
590 ๕๙๐ ห้�ร้อยเก้�สิบ อ�จใช้เครื่องหม�ยจุลภ�คคั่น ดังนี้
1,000 หรือ ๑,๐๐๐

18 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 19

3. ถ้าพบว่ามีนักเรียนนับและเขียนแสดงจำ�นวนยังไม่คล่องและไม่ถูกต้อง ครูควรแก้ไขเป็น
รายบุคคลโดยให้นักเรียนออกมานับและเขียนแสดงจำ�นวนบนกระดาน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  13
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

การตรวจสอบความเข้าใจ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน ตรวจสอบความเข้าใจ

โดยให้นักเรียนแต่ละคนนับแผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ
เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำานวน

1 2

และแผ่นตารางหน่วย แล้วเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก
228 ๒๒๘ สองร้อยยี่สิบแปด 360 ๓๖๐ สามร้อยหกสิบ

ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำ�นวน จากนั้นครู 3 4

และนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและ
611 ๖๑๑ หกร้อยสิบเอ็ด 901 ๙๐๑ เก้าร้อยเอ็ด

สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้

สิ่งที่ได้เรียนรู้
• สามารถบอกจำ �นวนของสิ่งต่าง ๆ ได้จากการนับ สิ่งที่ได้เรียนรู้

• สามารถเขี
ส�ม�รถบอกจำ�นวนของสิ่งต่�ง ๆ ได้จ�กก�รนับ

ยนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และ ส�ม�รถเขียนตัวเลขฮินดูอ�รบิก ตัวเลขไทย


และตัวหนังสือแสดงจำ�นวน

ตัวหนังสือแสดงจำ�นวน
แบบฝึกหัด 1.4

20 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 1.4 หน้า 9 - 10

1.5 หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000


จุดประสงค์
บอกหลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลักและเขียนแสดงจำ�นวนในรูปกระจาย

สื่อการเรียนรู้
บัตรภาพ แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ แผ่นตารางหน่วย

แนวการจัดการเรียนรู้
หนังสือเรียนร�ยวิช�พื้นฐ�น | คณิตศ�สตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำานวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

1.5 หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก


การพัฒนาความรู้ ของจำานวนนับไม่เกิน 1,000
พัฒนาความรู้
1. จากภาพปลาในหนังสือเรียนหน้า 21 ครูสนทนา แม่ซื้อลูกปล�นิลม�เลี้ยง 300 ตัว ปล�ทอง 10 ตัว
และปล�กัด 2 ตัว แม่ซื้อปล�ทั้งหมดกี่ตัว

กับนักเรียนเกี่ยวกับภาพ เช่น มีปลานิลถุงละ 100 ตัว กี่ถุง แม่ของขุนซื้อปล�ทั้งหมด


300 กับ 10 กับ 2 เท่�กับ 312 ตัว

มีปลานิลทั้งหมดเท่าไร มีปลาทองถุงละ 10 ตัว กี่ถุง 100 ตัว


100 ตัว 100 ตัว

10 ตัว

มีปลาทองทั้งหมดเท่าไร มีปลากัดขวดละ 1 ตัว กี่ขวด


มีปลากัดทั้งหมดเท่าไร ครูถามนักเรียนว่า แม่ของขุน 312 เป็นจำ�นวนส�มหลัก
หลักร้อยอยู่ถัดไปท�งซ้�ย

ซื้อปลาทั้งหมดกี่ตัว โดยนับจำ�นวนปลาทั้งหมดเป็น 3 ร้อย ของหลักสิบ

312 คือ 3 ร้อย กับ 1 สิบ กับ 2 หน่วย

กับ 1 สิบ กับ 2 เท่ากับ 312 ตัว ครูแนะนำ�ว่า 312 หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย
3 1 2

เป็นจำ�นวนสามหลัก 3 ในหลักร้อย มีค่า 300 3 ใน หลักร้อย มีค่� 300


1 ใน หลักสิบ มีค่� 10

1 ในหลักสิบ มีค่า 10 และ 2 ในหลักหน่วย มีค่า 2 2 ใน หลักหน่วย มีค่� 2


ค่�ของเลขโดด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 21

14  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

2. จากภาพในหนังสือเรียนหน้า 22 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

ให้นักเรียนนับแผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

และแผ่นตารางหน่วย และบอกว่าภาพแต่ละภาพ
มีกี่ร้อย กี่สิบ กี่หน่วย พร้อมทั้งบอกค่า 607 คือ 6 ร้อย กับ 0 สิบ กับ 7 หน่วย

ประจำ�หลักของเลขโดดแต่ละตัว เช่น ในภาพแรก หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย


6
0
ใน หลักร้อย
ใน หลักสิบ
มีค่� 600
มีค่� 0

นับแผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และ 6 0 7


7 ใน หลักหน่วย มีค่� 7

แผ่นตารางหน่วยได้ 6 ร้อย กับ 0 สิบ


กับ 7 หน่วย หรือ 607 1,000 คือ 10 ร้อย กับ 0 สิบ กับ 0 หน่วย

6 ในหลักร้อย มีค่า 600 0 ในหลักสิบ


มีค่า 0 และ 7 ในหลักหน่วย มีค่า 7 จากนั้น 1,000 คือ 1 พัน กับ 0 ร้อย กับ 0 สิบ กับ 0 หน่วย

ครูแนะนำ�จำ�นวนสี่หลักคือ 1,000 หลักพัน หลักพัน หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย

อยู่หลักถัดไปทางซ้ายของหลักร้อย 1 0 0 0

1 ใน หลักพัน มีค่� 1,000


เลขโดด 0 ในหลักร้อย หลักสิบ และหลักหน่วย 0 ใน หลักร้อย มีค่� 0
1,000 เป็นจำ�นวนสี่หลัก หลักพัน
อยู่หลักถัดไปท�งซ้�ยของหลักร้อย

มีค่าเป็น 0 และ 1 ในหลักพัน มีค่า 1,000 0


0
ใน หลักสิบ
ใน หลักหน่วย มีค่� 0
มีค่� 0
0 ในหลักร้อย หลักสิบ และ
หลักหน่วยมีค่�เป็นศูนย์

3. ครูให้นักเรียนบอกค่าของเลขโดด 22 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ในแต่ละหลักของ 423 ดังนี้


4 ในหลักร้อย มีค่า 400 2 ในหลักสิบ
มีค่า 20 และ 3 ในหลักหน่วย มีค่า 3
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

ครูแนะนำ�การเขียน 423 ในรูปกระจาย


การเขียนแสดงจำานวนในรูปกระจาย

4 ใน หลักร้อย มีค่� 400


ได้ 423 = 400 + 20 + 3 ว่าเป็นการเขียน 423 2 ใน หลักสิบ มีค่� 20

ในรูปการบวกค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก 3 ใน หลักหน่วย มีค่� 3


เขียนในรูปกระจ�ย 423 = 400 + 20 + 3

จากนั้นครูให้นักเรียนเขียน 590 และ 705


5 ใน หลักร้อย มีค่� 500
ในรูปกระจาย ตามหนังสือเรียนหน้า 23 และ
590 9 ใน หลักสิบ มีค่� 90

ครูให้สังเกตว่าถ้าเลขโดดในหลักใดเป็น 0 0 ใน หลักหน่วย มีค่� 0

เขียนในรูปกระจ�ย 590 = 500 + 90 + 0 หรือ 590 = 500 + 90


อาจละการเขียนเลขโดดนั้นได้ เช่น
705 = 700 + 5 7 ใน หลักร้อย มีค่� 700

705 0 ใน หลักสิบ มีค่� 0

ครูยกตัวอย่างจำ�นวนอื่น ๆ แล้วให้ 5 ใน หลักหน่วย มีค่� 5


เขียนในรูปกระจ�ย 705 = 700 + 0 + 5 หรือ 705 = 700 + 5
นักเรียนออกมาเขียนในรูปกระจายบนกระดาน
จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกันเขียนแสดงจำ�นวน เขียนแสดงจำานวนในรูปกระจาย

ในรูปกระจายในกรอบท้ายหน้า 23 1 685
685 = 600 + 80 + 5
2 802 802 = 800 + 0 + 2
หรือ 802 = 800 + 2
3
1 966 4 339
966 = 900 + 60 + 6 339 = 300 + 30 + 9

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 23

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  15
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

การตรวจสอบความเข้าใจ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

ตรวจสอบความเข้าใจ
โดยให้นักเรียนเขียนค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก บอกจำานวนใน และเขียนแสดงจำานวนในรูปกระจาย

และเขียนแสดงจำ�นวนในรูปกระจาย จากนั้น 1
401 4 ใน หลักร้อย มีค่� 400

ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง 0 ใน หลักสิบ มีค่� 0


1 ใน หลักหน่วย มีค่� 1
ถ้าพบว่ามีนักเรียนคนใดเขียนค่าของเลขโดด เขียนในรูปกระจ�ย..................................................................................
401 = 400 + 0 + 1 หรือ 401 = 400 + 1

ในแต่ละหลักหรือเขียนแสดงจำ�นวน 2
890 8 ใน หลักร้อย มีค่� 800
9 ใน หลักสิบ มีค่� 90
ในรูปกระจายไม่ถูกต้อง ครูอาจแก้ไข 0 ใน หลักหน่วย มีค่� 0

เป็นรายบุคคลโดยให้ฝก ึ การเขียนค่าของเลขโดด เขียนในรูปกระจ�ย..................................................................................


890 = 800 + 90 + 1 หรือ 890 = 800 + 90

ในแต่ละหลักหรือเขียนแสดงจำ�นวน สิ่งที่ได้เรียนรู้
จำ�นวนส�มหลัก ถ้�เลขโดด 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
ในรูปกระจายกับครู ครูและนักเรียนร่วมกัน อยู่ในหลักหน่วยมีค่�เป็น 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
ถ้�อยู่ในหลักสิบมีค่�เป็น 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90

สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ และเลขโดด 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ถ้�อยู่ในหลักร้อยมีค่�เป็น


100 200 300 400 500 600 700 800 900 ต�มลำ�ดับ
1,000 เป็นจำ�นวนสี่หลัก เลขโดด 0 ในหลักหน่วย หลักสิบ
และหลักร้อย มีค่�เป็น 0 เลขโดด 1 ในหลักพันมีค่� 1,000

สิ่งที่ได้เรียนรู้ ก�รเขียนแสดงจำ�นวนในรูปกระจ�ยเป็นก�รเขียนในรูปก�รบวก

• จำ7�8นวนสามหลั
ค่�ของเลขโดดในหลักต่�ง ๆ ของจำ�นวนนั้น

ก ถ้าเลขโดด 0 1 2 3 4 5 6 24 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แบบฝึกหัด 1.5

9 อยู่ในหลักหน่วยมีค่าเป็น 0 1 2 3 4
5 6 7 8 9 อยู่ในหลักสิบมีค่าเป็น 0 10 20
30 40 50 60 70 80 90 และเลขโดด 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ถ้าอยู่ในหลักร้อยมีค่าเป็น 100 200
300 400 500 600 700 800 900 ตามลำ�ดับ

• 1,000 เป็นจำ�นวนสี่หลัก เลขโดด 0 ในหลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย มีค่าเป็น 0 เลขโดด 1


ในหลักพันมีค่า 1,000

• การเขียนแสดงจำ�นวนในรูปกระจายเป็นการเขียนในรูปการบวกค่าของเลขโดดในหลักต่าง ๆ
ของจำ�นวนนั้น
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 1.5 หน้า 11 - 13

1.6 การเปรียบเทียบจำ�นวน (1)


จุดประสงค์
เปรียบเทียบจำ�นวนสองจำ�นวนทีม
่ จี �ำ นวนหลักไม่เท่ากัน

สื่อการเรียนรู้
บัตรภาพ

16  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

แนวการจัดการเรียนรู้ หนังสือเรียนร�ยวิช�พื้นฐ�น | คณิตศ�สตร์ ป.2

การพัฒนาความรู้
บทที่ 1 | จำานวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

1.6 การเปรียบเทียบจำานวน (1)


1. จากภาพในหนังสือเรียนหน้า 25
พัฒนาความรู้
ครูใช้คำ�ถามว่า ใบบัวมีเงินในกระปุกออมสิน
ใบบัวนับเงินในกระปุกออมสินได้ 257 บ�ท
เท่าไร และแก้วตามีเงินในกระปุกออมสินเท่าไร
แก้วต�นับได้ 89 บ�ท
นักเรียนตอบว่า ใบบัวมีเงินในกระปุกออมสิน
257 บาท แก้วตามีเงินในกระปุกออมสิน ใครมีเงินในกระปุกออมสินม�กกว่�กัน

89 บาท จากนั้นครูถามว่าใครมีเงินในกระปุก
ออมสินมากกว่ากัน ครูแนะนำ�วิธก ี ารเปรียบเทียบ เปรียบเทียบ 257 กับ 89 หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย

จำ�นวนเงินดังนี้ 257 เป็นจำ�นวนสามหลัก 2 5 7


8 9
89 เป็นจำ�นวนสองหลัก ดังนั้น 257 มากกว่า 257 เป็นจำานวนสามหลัก 2 ในหลักร้อย มีค่� 200

89 เพราะจำ�นวนสามหลักมีค่ามากกว่าจำ�นวน 89
ดังนั้น
เป็นจำานวนสองหลักไม่มีเลขโดดในหลักร้อย
257 > 89 หรือ 89 < 257

สองหลัก ดังนั้น ใบบัวมีเงินในกระปุกออมสิน


ใบบัวมีเงินในกระปุกออมสินม�กกว่�แก้วต�
มากกว่าแก้วตา
จำ�นวนส�มหลักม�กกว่�จำ�นวนสองหลัก

2. ครูให้นักเรียนเปรียบเทียบ 624 กับ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 25

1,000 แล้วถามนักเรียนว่า 624 เป็นจำ�นวน


กี่หลัก และ 1,000 เป็นจำ�นวนกี่หลัก นักเรียน
ตอบว่า 624 เป็นจำ�นวนสามหลัก และ 1,000
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

เป็นจำ�นวนสี่หลัก ดังนั้น 624 < 1,000 หรือ เปรียบเทียบ 624 กับ 1,000

1,000 > 624 เพราะจำ�นวนสามหลักมีค่า


หลักพัน หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย
น้อยกว่าจำ�นวนสี่หลัก จากนั้นครูให้นักเรียน 6 2 4

เปรียบเทียบ 90 กับ 319 จะได้ว่า 90 < 319 1 0 0 0

624 เป็นจำานวนสามหลักไม่มีเลขโดดในหลักพัน
หรือ 319 > 90 เพราะจำ�นวนสองหลักมีค่า 1,000 เป็นจำานวนสี่หลัก 1 ในหลักพัน มีค่� 1,000

น้อยกว่าจำ�นวนสามหลัก จากการเปรียบเทียบ
ดังนั้น 624 < 1,000 หรือ 1,000 > 624

จำ�นวนข้างต้น พบว่าจำ�นวนสองหลักมีค่า จำ�นวนสี่หลักม�กกว่�จำ�นวนส�มหลัก

น้อยกว่าจำ�นวนสามหลัก และจำ�นวนสามหลัก จำ�นวนที่มีจำ�นวนหลักม�กกว่� จะม�กกว่�จำ�นวนที่มีจำ�นวนหลักน้อยกว่�

มีค่าน้อยกว่าจำ�นวนสี่หลัก ครูและนักเรียน
ร่วมกันสรุปว่า จำ�นวนที่มีจำ�นวนหลักน้อยกกว่า
จะน้อยกว่าจำ�นวนที่มีจำ�นวนหลักมากกว่า หรือ เปรียบเทียบ 90 กับ 319

จำ�นวนที่มีจำ�นวนหลักมากกว่าจะมากกว่า 90 เป็นจำ�นวนสองหลัก และ 319 เป็นจำ�นวนส�มหลัก

จำ�นวนที่มีจำ�นวนหลักน้อยกว่า
ดังนั้น 90 < 319 หรือ 319 > 90

26 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  17
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

3. ครูให้นักเรียนช่วยกันเปรียบเทียบ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

จำ�นวนโดยเติมเครื่องหมาย > หรือ < ตาม


บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

เติมเครื่องหมาย > หรือ <

หนังสือเรียนหน้า 27 และอธิบายเน้นย้ำ�ใน
1 268 > 42 2 80 < 402
การใส่เครื่องหมายว่า จำ�นวนที่มีจำ�นวนหลัก
มากกว่าจะมีค่ามากกว่าจำ�นวนที่มีหลักน้อยกว่า
3 82 < 102 4 705 > 50
หรือจำ�นวนที่มีจำ�นวนหลักน้อยกว่าจะมีค่าน้อย
กว่าจำ�นวนที่มีจำ�นวนหลักมากกว่า
5 38 < 671 6 74 < 174

การตรวจสอบความเข้าใจ
7 863 > 59 8 34 < 406
4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
โดยให้นักเรียนเติมเครื่องหมาย > หรือ < ตาม
9 1,000 > 525 10 632 > 18
หนังสือเรียนหน้า 28 ครูอาจถามนักเรียนเป็น
รายบุคคลถึงวิธีการเปรียบเทียบจำ�นวนสอง
11 65 < 470 12 999 < 1,000
จำ�นวนที่มีจำ�นวนหลักไม่เท่ากัน โดยให้พิจารณา
จากจำ�นวนหลักว่า ถ้าจำ�นวนใดมีจำ�นวนหลัก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 27

มากกว่าจะมากกว่า หรือจำ�นวนใดมีจำ�นวนหลัก
น้อยกว่าจะน้อยกว่า
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

สิ่งที่ได้เรียนรู้ ตรวจสอบความเข้าใจ


เติมเครื่องหมาย > หรือ <
การเปรียบเทียบจำ�นวนสองจำ�นวนที่มีจำ�นวน
หลักไม่เท่ากัน จำ�นวนที่มีจำ�นวนหลักมากกว่า < >
1 61 703 2 418 19

จะมากกว่าจำ�นวนที่มีจำ�นวนหลักน้อยกว่า
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 1.6 3 900 > 79 4 979 < 1,000

หน้า 14 - 16
5 146 > 54 6 70 < 700

1.7 การเปรียบเทียบจำ�นวน (2)


จุดประสงค์ 7 49 < 310 8 999 > 99

เปรียบเทียบจำ�นวนสองจำ�นวนทีม
่ จี �ำ นวนหลักเท่ากัน
สิ่งที่ได้เรียนรู้
ก�รเปรียบเทียบจำ�นวนสองจำ�นวนที่มีจำ�นวนหลักไม่เท่�กัน

สื่อการเรียนรู้ จำ�นวนที่มีจำ�นวนหลักม�กกว่�จะม�กกว่�จำ�นวนที่มี
จำ�นวนหลักน้อยกว่�

บัตรภาพ แบบฝึกหัด 1.6

28 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

18  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

แนวการจัดการเรียนรู้ หนังสือเรียนร�ยวิช�พื้นฐ�น | คณิตศ�สตร์ ป.2


บทที่ 1 | จำานวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

การพัฒนาความรู้ 1.7 การเปรียบเทียบจำานวน (2)

1. จากภาพในหนังสือเรียนหน้า 29 ครูใช้คำ�ถามว่า
แสตมป� หรือ ตร�ไปรษณีย�กร
พัฒนาความรู้ (Postage stamp หรือ Stamp) เป็นหลักฐ�น
ก�รชำ�ระค่�บริก�รไปรษณีย์ มักเป็นกระด�ษ
รูปสี่เหลี่ยมเพื่อติดบนซองจดหม�ย

ต้นกล้าสะสมแสตมป์ได้กี่ดวง ขุนสะสมแสตมป์ได้กี่ดวง ต้นกล้�สะสมแสตมป�ได้ 368 ดวง

นักเรียนตอบว่า ต้นกล้าสะสมแสตมป์ได้ 368 ดวง


ขุนสะสมแสตมป�ได้ 612 ดวง

ขุนสะสมแสตมป์ได้ 612 ดวง ครูถามต่อว่า ใครสะสม ใครสะสมแสตมป�ได้ม�กกว่�กัน

แสตมป์ได้มากกว่ากัน จากนั้นครูแนะนำ�การหาคำ�ตอบ เปรียบเทียบ 368 กับ 612


หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย

โดยการเปรียบเทียบ 368 กับ 612 พิจารณาจากค่าของ


พิจ�รณ�เลขโดดในหลักร้อย
3 6 8
3 6 8 3 ในหลักร้อย มีค่� 300
6 1 2
6 1 2 6 ในหลักร้อย มีค่� 600

เลขโดดในแต่ละหลัก เริ่มจากหลักทางซ้ายสุดคือหลักร้อย
ในหลักร้อย 3 ร้อย น้อยกว่� 6 ร้อย
300 < 600
ดังนั้น 368 < 612 หรือ 612 > 368

จะได้ 300 น้อยกว่า 600 ดังนั้น 368 < 612 จำ�นวนส�มหลักเท่�กัน ให้เปรียบเทียบค่�ของเลขโดดในหลักร้อย
จำ�นวนที่มีค่�ของเลขโดดในหลักร้อยม�กกว่�จะม�กกว่�

หรือ 612 > 368 นักเรียนตอบคำ�ถามได้ว่า ต้นกล้า เปรียบเทียบจำานวน

1 685 กับ 558 2 237 กับ 379

สะสมแสตมป์ได้น้อยกว่าขุน ครูและนักเรียนร่วมกัน 685 > 558 หรือ 558 < 685 237 > 379 หรือ 379 < 237
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 29

พิจารณาว่าในการเปรียบเทียบจำ�นวนสองจำ�นวน
ให้พิจารณาจำ�นวนที่มีค่าของเลขโดดในหลักซ้ายสุด หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

ถ้าจำ�นวนใดมีค่าของเลขโดดในหลักซ้ายสุดมากกว่า
เปรียบเทียบ 427 กับ 451

จำ�นวนนั้นจะมากกว่า จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกัน พิจ�รณ�เลขโดดในหลักร้อย

เปรียบเทียบ 685 กับ 558 และ 237 กับ 379 4 2 7


4 5 1
4 ในหลักร้อย มีค่� 400 เท่�กัน

โดยใช้ข้อสรุปที่ได้จากข้างต้น พิจ�รณ�เลขโดดในหลักสิบ
4 2 7 2 ในหลักสิบ มีค่� 20

จะได้ 685 > 558 หรือ 558 < 685


4 5 1 5 ในหลักสิบ มีค่� 50
20 < 50

และ 237 < 379 หรือ 379 > 237 ครูและ


ดังนั้น 427 < 451 หรือ 451 > 427

จำ�นวนส�มหลักเท่�กัน และเลขโดดในหลักร้อยมีค�่ เท่�กันให้เปรียบเทียบ

นักเรียนร่วมกันสรุปว่า ในการเปรียบเทียบจำ�นวนสามหลัก
ค่�ของเลขโดดในหลักสิบ จำ�นวนทีม
่ ค
ี �่ ของเลขโดดในหลักสิบม�กกว่�จะม�กกว่�

กับจำ�นวนสามหลัก ให้เปรียบเทียบค่าของเลขโดดใน
หลักร้อยก่อน ถ้าจำ�นวนใดมีค่าของเลขโดดในหลักร้อย
เปรียบเทียบจำานวน

1 532 กับ 574 2 791 กับ 768

มากกว่าจะมากกว่า
532 < 574 หรือ 574 > 532 791 > 768 หรือ 768 < 791
3 609 กับ 624
1 4 953 กับ 915
609 < 624 หรือ 624 > 609 953 > 915 หรือ 915 < 953

2. ครูให้นักเรียนเปรียบเทียบ 427 กับ 451 โดย 30 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ให้นักเรียนเปรียบเทียบค่าของเลขโดดจากหลักทางซ้ายสุด
ก่อน จะได้ว่า 400 เท่ากับ 400 ดังนั้นจึงต้องพิจารณาค่าของเลขโดดในหลักสิบ พบว่า 20 น้อยกว่า
50 จะได้ 427 < 451 หรือ 451 > 427 จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกันเปรียบเทียบจำ�นวน
ในข้อ 1 – 4 ในกรอบท้ายหน้า 30 พร้อมทั้งช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง ครูและนักเรียนร่วมกัน
สรุปว่า ในการเปรียบเทียบจำ�นวนสามหลักกับจำ�นวนสามหลัก ถ้าเลขโดดในหลักร้อยมีค่าเท่ากัน
ให้เปรียบเทียบค่าของเลขโดดในหลักสิบ ถ้าจำ�นวนใดมีค่าของเลขโดดในหลักสิบมากกว่าจะมากกว่า

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  19
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

3. ครูแสดงการเปรียบเทียบ 897 กับ 893 โดย หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

พิจารณาเลขโดดในหลักร้อย หลักสิบ ของทั้งสองจำ�นวน


เปรียบเทียบ 897 กับ 893
ว่ามีค่าเท่ากัน ดังนั้นจึงให้พิจารณาค่าของเลขโดด
พิจ�รณ�เลขโดดในหลักร้อย

ในหลักหน่วยจะได้ 7 มากกว่า 3 ดังนั้น 897 > 893 หรือ 8 9 7 8 ในหลักร้อย มีค่� 800 เท่�กัน
8 9 3

893 < 897 จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกันเปรียบเทียบ พิจ�รณ�เลขโดดในหลักสิบ


8 9 7 9 ในหลักสิบ มีค่� 90 เท่�กัน

จำ�นวนข้อ 1 - 4 ในกรอบท้ายหน้า 31 พร้อมทั้ง 8 9 3


พิจ�รณ�เลขโดดในหลักหน่วย

ตรวจสอบความถูกต้อง ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปว่า 8 9 7
8 9 3
7 > 3

ในการเปรียบเทียบจำ�นวนสามหลักกับจำ�นวนสามหลัก
ดังนั้น 897 > 893 หรือ 893 < 897

ถ้าเลขโดดในหลักร้อยมีค่าเท่ากันและเลขโดดในหลักสิบ
จำ�นวนส�มหลักเท่�กัน เลขโดดในหลักร้อยมีค่�เท่�กัน และเลขโดด
ในหลักสิบมีค่�เท่�กัน ให้เปรียบเทียบค่�ของเลขโดดในหลักหน่วย
จำ�นวนที่มีค่�ของเลขโดดในหลักหน่วยม�กกว่�จะม�กกว่�

มีค่าเท่ากันให้เปรียบเทียบค่าของเลขโดดในหลักหน่วย เปรียบเทียบจำานวน

ถ้าจำ�นวนใดมีค่าของเลขโดดในหลักหน่วยมากกว่า 1 541 กับ 547


541 < 547 หรือ 547 > 541
2 369 กับ 364
369 > 364 หรือ 364 < 369
3 792 กับ 796
1 4 628 กับ 623

จะมากกว่า
792 < 796 หรือ 796 > 792 628 > 623 หรือ 623 < 628
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 31

การตรวจสอบความเข้าใจ
4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน โดยให้นักเรียนเปรียบเทียบจำ�นวนสามหลักสองจำ�นวน
และเติมเครื่องหมาย > หรือ < ตามหนังสือเรียนหน้า 32 ครูอาจถามนักเรียนเป็นรายบุคคลถึงวิธีการ
เปรียบเทียบจำ�นวนสามหลักสองจำ�นวน โดยให้พิจารณาว่า
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

จำ�นวนที่มีค่าของเลขโดดในหลักร้อยมากกว่าจะมากกว่า
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

ตรวจสอบความเข้าใจ

ถ้าเลขโดดในหลักร้อยมีค่าเท่ากัน จำ�นวนที่มีค่าของเลขโดด เติมเครื่องหมาย < หรือ >

ในหลักสิบมากกว่าจะมากกว่า ถ้าเลขโดดในหลักร้อย 1 >


567 < 376 2 715 751

มีค่าเท่ากันและเลขโดดในหลักสิบมีค่าเท่ากัน จำ�นวนที่มีค่า 3 >


647 < 607 4 910 918

ของเลขโดดในหลักหน่วยมากกว่าจะมากกว่า จากนั้น
ครูและนักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง 5 <
499 > 802 6 374 370

และสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ สิ่งที่ได้เรียนรู้
ก�รเปรียบเทียบจำ�นวนส�มหลักสองจำ�นวน
จำ�นวนที่มีค่�ของเลขโดดในหลักร้อยม�กกว่�จะม�กกว่�

สิ่งที่ได้เรียนรู้
ถ้�เลขโดดในหลักร้อยมีค่�เท่�กัน จำ�นวนที่มีค่�ของเลขโดด
ในหลักสิบม�กกว่�จะม�กกว่�
ถ้�เลขโดดในหลักร้อยมีค่�เท่�กัน และเลขโดดในหลักสิบ

การเปรียบเทียบจำ�นวนสามหลักสองจำ�นวน มีค่�เท่�กัน จำ�นวนที่มีค่�ของเลขโดดในหลักหน่วย


ม�กกว่�จะม�กกว่�

จำ�นวนที่มีค่าของเลขโดดในหลักร้อยมากกว่าจะมากกว่า


แบบฝึกหัด 1.7

32 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ถ้าเลขโดดในหลักร้อยมีคา่ เท่ากัน จำ�นวนทีม


่ ค
ี า่ ของ
เลขโดดในหลักสิบมากกว่าจะมากกว่า

• ถ้าเลขโดดในหลักร้อยมีค่าเท่ากันและเลขโดดหลักสิบมีค่าเท่ากัน จำ�นวนที่มีค่าของเลขโดดในหลัก
หน่วยมากกว่าจะมากกว่า
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 1.7 หน้า 17 - 19

20  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

1.8 การเรียงลำ�ดับจำ�นวน (1)


จุดประสงค์
เรียงลำ�ดับจำ�นวนสามจำ�นวนจากน้อยไปมาก หรือจากมากไปน้อย

สื่อการเรียนรู้ หนังสือเรียนร�ยวิช�พื้นฐ�น | คณิตศ�สตร์ ป.2


บทที่ 1 | จำานวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

บัตรตัวเลข 1.8 การเรียงลำาดับจำานวน (1)

พัฒนาความรู้
มีหนังสือส�รคดี 214 เล่ม
ห้องสมุดมีหนังสือประวัติศ�สตร์ 132 เล่ม

แนวการจัดการเรียนรู้
การพัฒนาความรู้
มีหนังสือภูมิศ�สตร์ 315 เล่ม

1. ครูสนทนากับนักเรียนเกีย่ วกับภาพในหนังสือเรียน เรียงลำ�ดับจำ�นวนหนังสือจ�กน้อยไปม�ก

หน้า 33 ว่าเป็นภาพอะไร มีหนังสืออะไรบ้าง หนังสือ


เรียงลำ�ดับ 132 214 315 จ�กน้อยไปม�ก

ประวัติศาสตร์มีกี่เล่ม หนังสือสารคดีมีกี่เล่ม หนังสือ


132 214 315 เป็นจำ�นวนส�มหลัก พิจ�รณ�เลขโดดในหลักร้อยดังนี้

ภูมิศาสตร์มีกี่เล่ม จากนั้นครูติดบัตรจำ�นวน 132 214 1 3 2


2 1 4
เลขโดดในหลักร้อย คือ 1 มีค่� 100
เลขโดดในหลักร้อย คือ 2 มีค่� 200

และ 315 บนกระดาน โดยให้แต่ละหลักตรงกัน แล้วถาม 3 1 5 เลขโดดในหลักร้อย คือ 3 มีค่� 300


จะได้ 132 น้อยที่สุด และ 315 มากที่สุด

นักเรียนว่ามีวิธีเรียงลำ�ดับจำ�นวนจากน้อยไปมากได้อย่างไร เรียงลำ�ดับจำ�นวนจ�กน้อยไปม�กได้ 132 214 315


ดังนัน
้ เรียงลำ�ดับจำ�นวนหนังสือจ�กน้อยไปม�กได้ 132 เล่ม 214 เล่ม 315 เล่ม

ให้นักเรียนพิจารณาเลขโดดในหลักร้อยของทั้งสามจำ�นวน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 33

ว่า จำ�นวนใดมีค่าของเลขโดดในหลักร้อยมากที่สุดและ
จำ�นวนใดมีค่าของเลขโดดในหลักร้อยน้อยที่สุด จะได้ 315 มีค่าของเลขโดดในหลักร้อยมากที่สุด
และ132 มีค่าของเลขโดดในหลักร้อยน้อยที่สุด ดังนั้น 315 มากที่สุด และ 132 น้อยที่สุด
แล้วนำ�มาเรียงลำ�ดับจำ�นวนจากน้อยไปมากได้ดังนี้ 132 214 315 ดังนั้น เรียงลำ�ดับจำ�นวน
หนังสือจากน้อยไปมากได้ 132 เล่ม 214 เล่ม 315 เล่ม
2. ครูอธิบายการเรียงลำ�ดับ 632 414 475
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

จากมากไปน้อย โดยหาจำ�นวนที่มากที่สุดและจำ�นวน เรียงลำ�ดับ 632 414 475 จ�กม�กไปน้อย

ที่น้อยที่สุดก่อน จากการพิจารณาค่าของเลขโดด 632 414 475 เป็นจำ�นวนส�มหลัก พิจ�รณ�เลขโดดในหลักร้อยดังนี้


6 3 2 เลขโดดในหลักร้อย คือ 6 มีค่� 600

ในหลักร้อย หลักสิบ ตามหนังสือเรียนหน้า 34 4 1 4


4 7 5
เลขโดดในหลักร้อย คือ 4 มีค่� 400
เลขโดดในหลักร้อย คือ 4 มีค่� 400

จะได้ 632 มากที่สุด และ 414 น้อยที่สุด


จะได้ 632 มากที่สุด
พิจ�รณ� 414 และ 475

ดังนั้น เรียงลำ�ดับจากมากไปน้อยได้ดังนี้ 632 475 414


4 1 4 เลขโดดในหลักสิบ คือ 1 มีค่� 10
4 7 5 เลขโดดในหลักสิบ คือ 7 มีค่� 70
จะได้ 414 < 475 ดังนั้น 414 น้อยที่สุด

จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกันเรียงลำ�ดับ 763 925 796 ดังนั้น เรียงลำ�ดับจำ�นวนจ�กม�กไปน้อยได้ 632 475 414

จากมากไปน้อย เรียงลำาดับ 763 925 796 จากมากไปน้อย

จำ�นวนที่ม�กที่สุด คือ 925

จำ�นวนที่น้อยที่สุด คือ 763

เรียงลำ�ดับจำ�นวนจ�กมากไปน้อยได้ 925 796 763

34 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  21
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

3. ครูติดบัตรตัวเลข 862 539 865 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

บนกระดาน ให้แต่ละหลักตรงกัน แล้วถาม


บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

นักเรียนว่ามีวิธีเรียงลำ�ดับจำ�นวนจากน้อยไปมาก เรียงลำ�ดับ 862 539 865 จ�กน้อยไปม�ก

อย่างไร ให้นักเรียนพิจารณาค่าของเลขโดด 862 539 865 เป็นจำ�นวนส�มหลัก พิจ�รณ�เลขโดดในหลักร้อยดังนี้

ในหลักร้อย จะได้ 539 น้อยที่สุด จากนั้น


8 6 2 เลขโดดในหลักร้อย คือ 8 มีค่� 800
5 3 9 เลขโดดในหลักร้อย คือ 5 มีค่� 500

พิจารณาเลขโดดในหลักร้อย และเลขโดดใน 8 6 5 เลขโดดในหลักร้อย คือ 8 มีค่� 800


จะได้ 539 น้อยที่สุด
หลักสิบของ 862 และ 865 พบว่าเท่ากัน ดังนั้น พิจ�รณ� 862 และ 865 เลขโดดในหลักร้อยเท่�กันและเลขโดดในหลักสิบ
เท่�กัน จึงพิจ�รณ�เลขโดดในหลักหน่วย
จึงพิจารณาค่าของเลขโดดในหลักหน่วย จะได้ 8 6 2 เลขโดดในหลักหน่วย คือ 2 มีค่� 2

865 มากกว่า 862 จึงได้ว่า 865 มีค่ามากที่สุด


8 6 5 เลขโดดในหลักหน่วย คือ 5 มีค่� 5
จะได้ 862 < 865 ดังนั้น 865 มากที่สุด

ครูให้นักเรียนเรียงลำ�ดับจำ�นวนจากน้อยไปมาก ดังนั้น เรียงลำ�ดับจำ�นวนจ�กน้อยไปมากได้ 539 862 865

ดังนี้ 539 862 865 จากนั้นครูให้นักเรียน


ช่วยกันเรียงลำ�ดับ 239 182 233 จาก เรียงลำาดับ 239 182 233 จากน้อยไปมาก

จำ�นวนที่ม�กที่สุด คือ 239


น้อยไปมาก โดยให้หาจำ�นวนที่มากที่สุดและ
จำ�นวนที่น้อยที่สุด คือ 185
จำ�นวนที่น้อยที่สุดก่อน แล้วจึงนำ�มาเรียงลำ�ดับ เรียงลำ�ดับจำ�นวนจ�กน้อยไปมากได้ 182 233 239

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 35

การตรวจสอบความเข้าใจ
4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
โดยให้นักเรียนเรียงลำ�ดับจำ�นวนที่กำ�หนดให้จาก
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

มากไปน้อย และจากน้อยไปมาก ตามหนังสือเรียน ตรวจสอบความเข้าใจ

หน้า 36 โดยให้หาจำ�นวนที่มากที่สุดและ
1 เรียงลำ�ดับ 231 123 321 จ�กม�กไปน้อย
จำ�นวนที่น้อยที่สุดก่อนแล้วจึงนำ�มาเรียงลำ�ดับ 321 231 123

ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
และร่วมกันสรุปสิง่ ทีไ่ ด้เรียนรู้ ถ้าพบว่า มีนักเรียน
2 เรียงลำ�ดับ 883 487 483 จ�กน้อยไปม�ก
483 487 883

คนใดเรียงลำ�ดับจำ�นวนไม่ถูกต้องให้มาฝึก
เรียงลำ�ดับจำ�นวนกับครูเป็นรายบุคคล
372
320 505

สิ่งที่ได้เรียนรู้
• การเรี ยงลำ�ดับจำ�นวน 3 จำ�นวน อาจทำ�ได้
โดยหาจำ�นวนที่มากที่สุดและน้อยที่สุดก่อน
สิ่งที่ได้เรียนรู้
ก�รเรียงลำ�ดับจำ�นวน 3 จำ�นวน อ�จทำ�ได้โดยห�จำ�นวนที่ม�กที่สุด
และน้อยที่สุดก่อน จ�กนั้นนำ�จำ�นวนม�เรียงลำ�ดับจ�กม�กไปน้อย
หรือจ�กน้อยไปม�ก
จากนั้นนำ�จำ�นวนมาเรียงลำ�ดับจากมากไปน้อย
หรือจากน้อยไปมาก แบบฝึกหัด 1.8

36 |
ครูให้นกั เรียนทำ�แบบฝึกหัด 1.8 หน้า 20 - 21
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

22  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

1.9 การเรียงลำ�ดับจำ�นวน (2) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

จุดประสงค์ 1.9 การเรียงลำาดับจำานวน (2)

เรียงลำ�ดับจำ�นวน 4 จำ�นวน หรือ 5 จำ�นวน จากน้อยไปมาก พัฒนาความรู้

โรงเรียนของเร�มีนักเรียนระดับ ป. 2 จำ�นวน 416 คน


หรือจากมากไปน้อย มีนักเรียนระดับ ป. 3 จำ�นวน 342 คน

มีนักเรียนระดับ ป. 4 จำ�นวน 193 คน

สื่อการเรียนรู้ มีนักเรียนระดับ ป. 5 จำ�นวน 224 คน

เรียงลำ�ดับจำ�นวนนักเรียนจ�กม�กไปน้อย

บัตรตัวเลข
เรียงลำ�ดับ 416 342 193 224 จ�กม�กไปน้อย

416 342 193 224 เป็นจำ�นวนส�มหลัก พิจ�รณ�เลขโดดในหลักร้อยดังนี้

แนวการจัดการเรียนรู้ 4 1 6
3 4 2
เลขโดดในหลักร้อย คือ
เลขโดดในหลักร้อย คือ
4 มีค่� 400
3 มีค่� 300
1 9 3 เลขโดดในหลักร้อย คือ 1 มีค่� 100

การพัฒนาความรู้ 2 2 4 เลขโดดในหลักร้อย คือ


จะได้ 193 น้อยที่สุด และ 416 มากที่สุด
2 มีค่� 200

1. ครูสนทนากับนักเรียนเกีย่ วกับภาพในหนังสือเรียน
พิจ�รณ� 342 และ 224 จะได้ 342 > 224
เรียงลำ�ดับจำ�นวนจ�กม�กไปน้อยได้ 416 342 224 193
ดังนั้น เรียงลำ�ดับจำ�นวนนักเรียนจ�กม�กไปน้อยได้ 416 คน 342 คน 224 คน 193 คน

หน้า 37 ว่าเป็นภาพอะไร นักเรียนระดับป.2 มีกี่คน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 37

นักเรียนระดับป.3 มีกี่คน นักเรียนระดับป.4 มีกี่คน


นักเรียนระดับป.5 มีกี่คน จากนั้นครูติดบัตรจำ�นวน 416 342 193 และ 224 บนกระดาน โดยให้
แต่ละหลักตรงกัน แล้วถามนักเรียนว่ามีวิธีเรียงลำ�ดับจำ�นวนจากมากไปน้อยได้อย่างไร ให้นักเรียน
พิจารณาเลขโดดในหลักร้อยของทั้งสี่จำ�นวนว่า จำ�นวนใด
มีค่าของเลขโดดในหลักร้อยมากที่สุดและจำ�นวนใดมีค่าของเลขโดดในหลักร้อยน้อยที่สุด
จะได้ 416 มีค่าของเลขโดดในหลักร้อยมากที่สุด และ193 มีค่าของเลขโดดในหลักร้อยน้อยที่สุด
ดังนั้น 416 มากที่สุด และ 193 น้อยที่สุด จากนั้นพิจารณาจำ�นวนที่เหลือคือ 342 และ 224
จะได้ 342 มีคา่ ของเลขโดดในหลักร้อยมากกว่า 224 ดังนัน ้ 342 มากกว่า 224 แล้วนำ�มาเรียงลำ�ดับ
จำ�นวนจากมากไปน้อยได้ดงั นี้ 416 342 224 193 ดังนัน ้
เรียงลำ�ดับจำ�นวนนักเรียนจากมากไปน้อยได้ 416 คน 342
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

คน 224 คน 193 คน เรียงลำ�ดับ 621 513 645 786 918 จ�กน้อยไปม�ก

2. ครูติดบัตรตัวเลข 621 513 645 786 918


621 513 645 786 918 เป็นจำ�นวนส�มหลัก พิจ�รณ�เลขโดด
ในหลักร้อย ดังนี้
6 2 1 เลขโดดในหลักร้อย คือ 6 มีค่� 600

บนกระดาน โดยให้แต่ละหลักตรงกัน แล้วถามนักเรียนว่า 5 1 3 เลขโดดในหลักร้อย คือ 5 มีค่� 500


6 4 5 เลขโดดในหลักร้อย คือ 6 มีค่� 600

มีวิธีเรียงลำ�ดับจำ�นวนจากน้อยไปมากอย่างไร ครูแนะนำ� 7 8 6
9 1 8
เลขโดดในหลักร้อย คือ 7 มีค่� 700
เลขโดดในหลักร้อย คือ 9 มีค่� 900

ให้พิจารณาค่าของเลขโดดในหลักร้อยจะได้ 513 น้อยที่สุด จะได้ 513 น้อยที่สุด และ 918 มากที่สุด

ดังนั้น 513 918

และ 918 มากที่สุด จากนั้นพิจารณา 621 645 786 พิจ�รณ� 621 645 786 จะได้ 786 ม�กที่สุด

ดังนั้น 513 786 918


จะได้ 786 มากที่สุด พิจารณาค่าของเลขโดดในหลักสิบ พิจ�รณ� 621 และ 645 จะได้ 621 < 645
ดังนั้น เรียงลำ�ดับจำ�นวนจ�กน้อยไปม�กได้ 513 621 645 786 918
ของ 621 กับ 645 จะได้ 621 มีค่าน้อยกว่า 645
แล้วนำ�มาเรียงลำ�ดับจำ�นวนจากน้อยไปมาก จะได้ 513 เรียงลำาดับ 246 437 189 462 536 จากน้อยไปมาก

621 645 786 918 ครูให้นักเรียนช่วยกันเรียงลำ�ดับ


189 246 437 462 536

38 |

จำ�นวนจากน้อยไปมากในกรอบท้ายหน้า 38
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  23
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

3. ครูติดบัตรตัวเลข 328 963 324 652 970 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

บนกระดาน โดยให้แต่ละหลักตรงกัน ครูถามนักเรียนว่า


มีวิธีเรียงลำ�ดับจำ�นวนจากน้อยไปมากอย่างไร ครูแนะนำ� เรียงลำ�ดับ 328 963 324 652 970 จ�กม�กไปน้อย

ให้พิจารณาค่าของเลขโดดในหลักร้อยจะได้ 963 กับ 970


328 963 324 652 970 เป็นจำ�นวนส�มหลัก พิจ�รณ�เลขโดด
ในหลักร้อย
3 2 8 เลขโดดในหลักร้อย คือ 3 มีค่� 300

มีค่าของเลขโดดในหลักร้อยเท่ากัน จึงพิจารณาค่าของ 9 6 3
3 2 4
เลขโดดในหลักร้อย คือ 9 มีค่� 900
เลขโดดในหลักร้อย คือ 3 มีค่� 300

เลขโดดในหลักสิบจะได้ 970 มากกว่า 963 ดังนั้น 970 6 5 2


9 7 0
เลขโดดในหลักร้อย คือ 6 มีค่� 600
เลขโดดในหลักร้อย คือ 9 มีค่� 900

มีค่ามากที่สุด จากนั้นพิจารณาค่าของเลขโดดในหลักร้อย ค่�ของเลขโดดที่น้อยที่สุดคือ 300 จึงพิจ�รณ� 328 และ 324


จะได้ 324 < 328 ดังนั้น 324 น้อยที่สุด

ที่มีค่าน้อยที่สุด จะได้ 328 กับ 324 มีค่าของเลขโดดใน


ค่�ของเลขโดดที่ม�กที่สุดคือ 900 จึงพิจ�รณ� 963 และ 970
จะได้ 970 > 963 ดังนั้น 970 มากที่สุด

หลักร้อยเท่ากัน ให้พิจารณาค่าของเลขโดดในหลักสิบ
ดังนั้น เรียงลำ�ดับจำ�นวนจ�กม�กไปน้อยได้ 970 963 652 328 324

จะได้ว่าค่าของเลขโดดในหลักสิบเท่ากัน ดังนั้นพิจารณา
เรียงลำาดับ 673 849 518 905 526 จากมากไปน้อย

ค่าของเลขโดดในหลักหน่วย จะได้ 324 น้อยกว่า 328 905 849 673 526 518

จึงได้ว่า 324 มีค่าน้อยที่สุด แล้วนำ�มาเรียงลำ�ดับจำ�นวน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 39

จากมากไปน้อยได้ดังนี้ 970 963 652 328 324


ครูให้นักเรียนช่วยกันเรียงลำ�ดับจำ�นวนจากมากไปน้อย หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

ในกรอบท้ายหน้า 39 ตรวจสอบความเข้าใจ
กำาหนด 785 875 758 587 578

การตรวจสอบความเข้าใจ 1 เรียงลำ�ดับจำ�นวนที่กำ�หนดจ�กม�กไปน้อย

875 785 758 587 578


4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
โดยให้นกั เรียนเรียงลำ�ดับจำ�นวนทีก
่ �ำ หนดให้จากมากไปน้อย 2 เรียงลำ�ดับจำ�นวนที่กำ�หนดจ�กน้อยไปม�ก

และจากน้อยไปมาก ตามหนังสือเรียนหน้า 40 578 587 758 785 875

โดยให้หาจำ�นวนที่มากที่สุดและจำ�นวนที่น้อยที่สุดก่อน
แล้วจึงนำ�มาเรียงลำ�ดับ ครูและนักเรียนร่วมกัน
ตรวจสอบความถูกต้อง และร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ สิ่งที่ได้เรียนรู้
ก�รเรียงลำ�ดับจำ�นวน อ�จทำ�ได้โดยห�จำ�นวนที่ม�กที่สุด

ถ้าพบว่ามีนักเรียนคนใดเรียงลำ�ดับจำ�นวนไม่ถูกต้อง
และน้อยที่สุดก่อน จ�กนั้นนำ�จำ�นวนม�เรียงลำ�ดับ
จ�กม�กไปน้อย หรือจ�กน้อยไปม�ก

แบบฝึกหัด 1.9

ให้มาฝึกเรียงลำ�ดับจำ�นวนกับครูเป็นรายบุคคล 40 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สิ่งที่ได้เรียนรู้
• การเรี ยงลำ�ดับจำ�นวนอาจทำ�ได้โดยหาจำ�นวนที่มากที่สุดและน้อยที่สุดก่อน จากนั้นนำ�จำ�นวน
มาเรียงลำ�ดับจากมากไปน้อย หรือจากน้อยไปมาก
ครูให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 1.9 หน้า 22 - 23

24  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

1.10 จำ�นวนคู่ จำ�นวนคี่ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

จุดประสงค์ 1.10 จำานวนคู่ จำานวนคี่

บอกได้ว่าจำ�นวนที่กำ�หนดให้เป็นจำ�นวนคู่หรือจำ�นวนคี่ พัฒนาความรู้

ไม้ไอศกรีม 2 อัน จับคู่ได้พอดี

ไม้ไอศกรีม 3 อัน จับคู่ได้ไม่พอดี

สื่อการเรียนรู้ จำ�นวนไม้ไอศกรีมที่จับคู่ได้พอดี เป็นจำานวนคู่


จำ�นวนไม้ไอศกรีมที่จับคู่ได้ไม่พอดี เป็นจำานวนคี่

ไม้ไอศกรีม ใบบันทึกกิจกรรม ไม้ไอศกรีม 4 อัน จับคู่ได้พอดี ดังนั้น 4 เป็นจำ�นวนคู่

ไม้ไอศกรีม 5 อัน จับคู่ได้ไม่พอดี ดังนั้น 5 เป็นจำ�นวนคี่

ไม้ไอศกรีม 6 อัน จับคู่ได้พอดี ดังนั้น 6 เป็นจำ�นวนคู่

แนวการจัดการเรียนรู้ ไม้ไอศกรีม 7 อัน จับคู่ได้ไม่พอดี ดังนั้น 7 เป็นจำ�นวนคี่

การพัฒนาความรู้
ไม้ไอศกรีม 8 อัน จับคู่ได้พอดี ดังนั้น 8 เป็นจำ�นวนคู่

ไม้ไอศกรีม 9 อัน จับคู่ได้ไม่พอดี ดังนั้น 9 เป็นจำ�นวนคี่

1. ครูชูไม้ไอศกรีม 2 อัน แล้วแนะนำ�ว่า ไม้ไอศกรีม ไม้ไอศกรีม 10 อัน จับคู่ได้พอดี ดังนั้น 10 เป็นจำ�นวนคู่

2 อัน นำ�มาจับคู่ได้พอดี ครูชูไม้ไอศกรีม 3 อัน แล้ว ไม้ไอศกรีม 1 อัน


จับคู่ไม่ได้หรือจับคู่ได้ไม่พอดี
2 4 6 8 10 เป็นจำ�นวนคู่
ดังนั้น 1 เป็นจำ�นวนคี่
1 3 5 7 9 เป็นจำ�นวนคี่

แนะนำ�ว่า ไม้ไอศกรีม 3 อัน นำ�มาจับคู่ได้ไม่พอดี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 41

ครูแนะนำ�ว่า จำ�นวนไม้ไอศกรีมที่จับคู่ได้พอดีเป็นจำ�นวนคู่
และ จำ�นวนไม้ไอศกรีมที่จับคู่ได้ไม่พอดีเป็นจำ�นวนคี่ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

จากนั้นครูให้นักเรียนออกมาหยิบไม้ไอศกรีม 4 อัน กิจกรรม จำ�นวนคู่หรือจำ�นวนคี่


อุปกรณ์ 1 ชุดประกอบด้วย

แล้วถามว่าจับคู่ได้พอดีหรือไม่ และให้บอกว่า 4 1. ไม้ไอศกรีม 20 อัน


2. แบบบันทึกกิจกรรม

เป็นจำ�นวนคู่หรือจำ�นวนคี่ ครูให้นักเรียนทำ�กิจกรรม วิธีจัดกิจกรรม


1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม แจกอุปกรณ์กลุ่มละ 1 ชุด

เช่นนี้โดยใช้ไม้ไอศกรีม 5 อัน 6 อัน … 10 อัน 2. ให้สม�ชิกในกลุ่มช่วยกันจัดไม้ไอศกรีมเป็นคู่ จ�กจำ�นวนไม้ไอศกรีม


11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 อัน พิจ�รณ�ว่�จับคู่
ได้พอดีหรือไม่ และบันทึกผลในแบบบันทึกกิจกรรม

จากนั้นครูชูไม้ไอศกรีม 1 อัน แล้วถามนักเรียนว่า ตัวอย่างแบบบันทึกกิจกรรม

สามารถจับคู่ไม้ไอศกรีม 1 อันได้หรือไม่ นักเรียนตอบว่า


จำานวน ผลการจับคู่ไม้ไอศกรีม
ไม้ไอศกรีม (อัน) จับคู่ได้พอดี จับคู่ได้ไม่พอดี จำานวนคู่ จำานวนคี่

11

จับคู่ไม่ได้เพราะมีอันเดียว ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปว่า 12
13

2 4 6 8 10 เป็นจำ�นวนคู่ และ 1 3 5 7 9 เป็นจำ�นวนคี่


14
15
16

2. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม ครูแจกอุปกรณ์กลุ่มละ
17
18
19

1 ชุด ให้นักเรียนทำ�กิจกรรมจำ�นวนคู่หรือจำ�นวนคี่ตาม 20

หนังสือเรียนหน้า 42 แล้วให้บันทึกผลการจับคู่ไม้ไอศกรีม 42 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

และบอกว่าจำ�นวนใดเป็นจำ�นวนคู่และจำ�นวนใด
เป็นจำ�นวนคี่ ซึ่งจะได้ว่า 11 13 15 17 19 เป็นจำ�นวนคี่
และ 12 14 16 18 20 เป็นจำ�นวนคู่ ครูอาจใช้สิ่งของอื่นที่สามารถหาได้ง่ายแทนไม้ไอศกรีม เช่น
หลอดกาแฟ ฝาน้ำ�ดื่ม ให้นักเรียนสังเกตว่า จำ�นวนคู่เป็นจำ�นวนที่มีหลักหน่วยเป็น 0 2 4 6 8 และ
จำ�นวนคี่เป็นจำ�นวนที่มีหลักหน่วยเป็น 1 3 5 7 9

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  25
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

3. ครูสนทนากับนักเรียนว่าจำ�นวน 1 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

ถึง 20 มีจำ�นวนใดบ้างเป็นจำ�นวนคู่ จำ�นวนใด


บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

1 ถึง 20 จำ�นวนใดเป็นจำ�นวนคี่

บ้างเป็นจำ�นวนคี่ หรืออาจสนทนาถึงจำ�นวน จำ�นวนใดเป็นจำ�นวนคู่

นักเรียนในห้อง จำ�นวนนักเรียนชาย จำ�นวน 1 3 5 7 9 11 13 15 17 19 เป็นจำ�นวนคี่

นักเรียนหญิง หรือจำ�นวนอื่น ๆ ที่ครูยกตัวอย่าง 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 เป็นจำ�นวนคู่

มาตามความเหมาะสม พิจารณาจากตัวเลขที่อยู่
ในหลักหน่วยของจำ�นวนนั้น ๆ ถ้าหลักหน่วยเป็น สังเกต
จำ�นวนที่มีหลักหน่วยเป็น 0 2 4 6 8 เป็นจำ�นวนคู่
จำ�นวนที่มีหลักหน่วยเป็น 1 3 5 7 9 เป็นจำ�นวนคี่
0 2 4 6 8 เป็นจำ�นวนคู่ ถ้าหลักหน่วยเป็น 1 3
5 7 9 เป็นจำ�นวนคี่ ครูให้นักเรียนช่วยกันบอก 53 เป็นจำ�นวนคี่ หรือจำ�นวนคู่

ว่าจำ�นวนที่กำ�หนดให้ในกรอบท้ายหน้า 43 เป็น 53 เป็นจำ�นวนคี่ เพร�ะมีหลักหน่วยเป็น 3

จำ�นวนคู่หรือจำ�นวนคี่ เพราะเหตุใด จากนั้น 68 เป็นจำ�นวนคี่ หรือจำ�นวนคู่

ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง 68 เป็นจำ�นวนคู่ เพร�ะมีหลักหน่วยเป็น 8

จำานวนใดเป็นจำานวนคู่ จำานวนใดเป็นจำานวนคี่

การตรวจสอบความเข้าใจ 43
464
87
562
106
801
335
1,000

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน จำ�นวนคู่ได้แก่ 106 464 562 1,000


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 43
จำ�นวนคี่ได้แก่ 43 87 335 801
โดยให้นักเรียนเขียนบอกว่าจำ�นวนที่กำ�หนดให้
จำ�นวนใดบ้างเป็นจำ�นวนคู่และจำ�นวนใดบ้าง
เป็นจำ�นวนคี่ โดยครูถามเป็นรายบุคคล และ
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

ให้เพื่อนในห้องร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง ตรวจสอบความเข้าใจ
จำานวนใดเป็นจำานวนคู่ จำานวนใดเป็นจำานวนคี่
ถ้าพบว่ามีนักเรียนคนใดไม่สามารถบอกได้ว่า
จำ�นวนใดเป็นจำ�นวนคู่หรือจำ�นวนคี่ ให้ครูแก้ไข
83 94 791 100
ให้ถูกต้องทันที พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล จากนั้น
เขียนคำ�ตอบลงในสมุด

543 69 405 444

ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ 682 917 111 508

756 320 999 791

สิ่งที่ได้เรียนรู้
• จำเป็�นนวนที ่หลักหน่วยเป็น 0 2 4 6 8
จำ�นวนคู่ และจำ�นวนที่หลักหน่วย
จำ�นวนคู่ได้แก่ 94 100 444 682 508 756 320
จำ�นวนคี่ได้แก่ 83 791 543 69 405 917 111 999 791

เป็น 1 3 5 7 9 เป็นจำ�นวนคี่
สิ่งที่ได้เรียนรู้
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 1.10 จำ�นวนที่หลักหน่วยเป็น 0 2 4 6 8 เป็นจำ�นวนคู่
จำ�นวนที่หลักหน่วยเป็น 1 3 5 7 9 เป็นจำ�นวนคี่
หน้า 24 - 26
แบบฝึกหัด 1.10

44 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

26  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

1.11 แบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 2 และแบบรูปของจำ�นวนที่ลดลงทีละ 2


จุดประสงค์
บอกจำ�นวนที่หายไปในแบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 2 และแบบรูปของจำ�นวนที่ลดลงทีละ 2

สื่อการเรียนรู้ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

บัตรตัวเลข บัตรโจทย์ 1.11 แบบรูปของจำานวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 2


และแบบรูปของจำานวนที่ลดลงทีละ 2

แนวการจัดการเรียนรู้
พัฒนาความรู้
+2 +2 +2 +2

การพัฒนาความรู้ 56 58 60 62 64

1. ครูติดบัตรตัวเลข 56 บนกระดาน 56 58 60 62 และ 64 เป็นจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 2

ครูทบทวนการนับเพิ่มทีละ 2 โดยการถาม-ตอบ 56 58 60 62 64 เป็นแบบรูปของจำานวนทีเ่ พิม ่ ขึน


้ ทีละ 2

ถ้าเริ่มจาก 56 นับเพิ่มทีละ 2 ได้ 58 60 62 +2 +2 +2 +2

64 ... ครูติดบัตรจำ�นวนที่นับได้บนกระดาน 245 247 249 253


251 ...............

แล้วให้นักเรียนสังเกตชุดของจำ�นวน 56 58 245 247 249 251 เป็นแบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 2


ดังนั้น จำ�นวนที่อยู่ถัดจ�ก 251 ไปท�งขว�คือ 253

60 62 64 ว่าเป็นการเรียงจำ�นวน เพร�ะ 251 เพิ่มขึ้น 2 ได้ 253

ในลักษณะอย่างไร นักเรียนตอบว่า 56 58 60 จำานวนที่หายไปในแบบรูปคือจำานวนใด


1
115 117 119 ............. 121 123
62 64 เป็นจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 2 ครูเขียน
2
เส้นโยงด้วยลูกศร + 2 แล้วสรุปว่า 56 58 378 380 382 ............. 384 386

60 62 และ 64 เป็นจำ�นวนนับที่เพิ่มขึ้น | 45
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ทีละ 2 ครูแนะนำ�ความสัมพันธ์ที่ต่อเนื่องกันใน
ลักษณะของการเพิ่มขึ้นทีละ 2 นี้ว่า เป็นแบบรูป
ของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 2 ครูให้นักเรียนหาจำ�นวนที่อยู่ถัดจาก 64 ว่าเป็นจำ�นวนใด โดยใช้การ
นับเพิ่มทีละ 2 นักเรียนตอบว่า 66 จากนั้นครูให้พิจารณาแบบรูปของจำ�นวน 245 247 249
251 แล้วให้หาว่าจำ�นวนถัดไปคือจำ�นวนใด เพราะเหตุใด นักเรียนตอบว่า จำ�นวนถัดไปคือ 253
เพราะ 245 247 249 251 เป็นแบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 2 ดังนั้น เพิ่มขึ้น 2 ได้ 253
ครูอาจยกตัวอย่างเพิ่มเติม เช่น 143 145 147 …… 151 แล้วถามนักเรียนว่าจำ�นวนที่หายไป
คือจำ�นวนใด พร้อมบอกเหตุผล ครูให้นักเรียนช่วยกันหาจำ�นวนที่หายไปในแบบรูปของจำ�นวน
ตามหนังสือเรียนท้ายหน้า 45

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  27
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

2. ครูติดบัตรตัวเลข 30 บนกระดาน ครูทบทวน หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

การนับลดทีละ 2 โดยการถาม-ตอบ ถ้าเริ่มจาก 30 นับลด −2 −2 −2 −2

ทีละ 2 ได้ 28 26 24 22 ... ครูติดบัตรตัวเลข 30 28 26 24 22

30 28 26 24 22 บนกระดาน แล้วถามนักเรียนว่า
30 28 26 24 และ 22 เป็นจำ�นวนที่ลดลงทีละ 2

30 28 26 24 22 เป็นแบบรูปของจำานวนที่ลดลงทีละ 2

เป็นการเรียงจำ�นวนในลักษณะอย่างไร นักเรียนตอบว่า −2 −2 −2 −2

30 28 26 24 และ 22 เป็นจำ�นวนที่ลดลงทีละ 2 452 444 450 448 446 ...............

ครูเขียนเส้นโยงด้วยลูกศร − 2 แล้วสรุปว่า 30 28 26 452 450 448 446 เป็นแบบรูปของจำ�นวนที่ลดลงทีละ 2


ดังนั้นจำ�นวนที่อยู่ถัดจ�ก 446 ไปท�งขว�คือ 444

24 และ 22 เป็นจำ�นวนนับที่ลดลงทีละ 2 ครูแนะนำ� เพร�ะ 446 ลดลง 2 ได้ 444

ความสัมพันธ์ที่ต่อเนื่องกันในลักษณะของการลดลง จำานวนที่หายไปในแบบรูปคือจำานวนใด

ทีละ 2 นี้ว่า เป็นแบบรูปของจำ�นวนที่ลดลงทีละ 2 1 91


99 97 95 93 .........

ครูให้นักเรียนหาจำ�นวนที่อยู่ถัดจาก 22 ว่าเป็นจำ�นวนใด 409 2 411 ......... 407 405 403

โดยใช้การนับลดทีละ 2 นักเรียนตอบว่า 20 46 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

จากนั้นครูให้นักเรียนพิจารณาแบบรูปของจำ�นวน 452
450 448 446 แล้วถามว่า จำ�นวนถัดไปคือจำ�นวนใด หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

เพราะเหตุใด นักเรียนตอบว่าจำ�นวนถัดไปคือ 444 จำานวนที่หายไปในแบบรูปคือจำานวนใด

เพราะ 452 450 448 446 เป็นแบบรูปของจำ�นวน 181 183 185 187 ..........

ที่ลดลงทีละ 2 ดังนั้น 446 ลดลง 2 ได้ 444


ครูอาจยกตัวอย่างเพิม ่ เติม เช่น 128 126 124 …… 120
181 183 185 187 เป็นแบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 2
ดังนั้น จำ�นวนที่ห�ยไปคือ 189

แล้วถามนักเรียนว่าจำ�นวนทีห ่ ายไปคืออะไร และบอกเหตุผล 1 353


361 359 357 355 ............

ครูให้นักเรียนช่วยกันหาจำ�นวนที่หายไปในแบบรูป
462
ของจำ�นวนตามหนังสือเรียนในกรอบท้ายหน้า 46
2 456 458 460 ............ 464

3. ครูตดิ บัตรโจทย์ 181 183 186 187 ....... 279


3 277 ............ 281 283 285

บนกระดานแล้วให้นักเรียนช่วยกันบอกจำ�นวนที่หายไป 594 4 ............ 592 590 588 586

ในแบบรูปคือจำ�นวนใด เพราะเหตุใด เมื่อพิจารณา


5 1,000
992 994 996 998 ............

แบบรูปนี้เป็นแบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 2 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 47

ดังนัน
้ จำ�นวนทีห ่ ายไปคือ 189 ครูให้นก ั เรียนตอบคำ�ถามว่า
จำ�นวนที่หายไปในแบบรูปในแต่ละข้อของหน้า 47
คือจำ�นวนใด โดยครูเน้นย้ำ�ให้นักเรียนพิจารณาจำ�นวนที่อยู่ถัดไปทางขวา ถ้ามีค่ามากขึ้นแสดงว่า
เป็นแบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้น และพิจารณาจำ�นวนที่อยู่ถัดไปทางขวาถ้ามีค่าน้อยลงแสดงว่า
เป็นแบบรูปของจำ�นวนที่ลดลง

28  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

การตรวจสอบความเข้าใจ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

ตรวจสอบความเข้าใจ
โดยให้นักเรียนหาจำ�นวนที่หายไปในแบบรูป จำานวนที่หายไปในแบบรูปคือจำานวนใด

พร้อมบอกว่าเป็นแบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้น
ทีละ 2 หรือเป็นแบบรูปของจำ�นวนที่ลดลง 1 81 83 85 87 89
..........

ทีละ 2 ถ้าพบว่ามีนักเรียนคนใดหาจำ�นวน 2 64
.......... 62 60 58 56

ที่หายไปในแบบรูปของจำ�นวนยังไม่ถูกต้อง 3 802 800 798 796


.......... 794

ให้ครูฝกึ เพิม
่ เติมเป็นรายบุคคล โดยเริม
่ ฝึกจากการ 4 698 700
.......... 702 704 706

นับเพิ่มทีละ 2 และการนับลดทีละ 2 ก่อน


ถ้านักเรียนนับเพิ่มทีละ 2 และนับลดทีละ 2
ได้แล้วจึงให้ฝึกหาจำ�นวนที่หายไปในแบบรูป สิ่งที่ได้เรียนรู้

จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบ แบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 2 เป็นชุดของจำ�นวน


ที่มีคว�มสัมพันธ์กันอย่�งต่อเนื่องในลักษณะของก�รเพิ่มขึ้น

ความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ทีละ 2 เช่น 15 17 19 21 23 25


แบบรูปของจำ�นวนที่ลดลงทีละ 2 เป็นชุดของจำ�นวน
ที่มีคว�มสัมพันธ์กันอย่�งต่อเนื่องในลักษณะของก�รลดลง
ทีละ 2 เช่น 48 46 44 42 40 38

สิ่งที่ได้เรียนรู้
แบบฝึกหัด 1.11

• แบบรู
48 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 2 เป็นชุด
ของจำ�นวนที่มีความสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่อง
ในลักษณะของการเพิ่มขึ้นทีละ 2 เช่น 15 17 19 21 23 25

• แบบรูปของจำ�นวนที่ลดลงทีละ 2 เป็นชุดของจำ�นวนที่มีความสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่อง
ในลักษณะของการลดลงทีละ 2 เช่น 48 46 44 42 40 38
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 1.11 หน้า 27 – 28

1.12 แบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 5 และแบบรูปของจำ�นวนที่ลดลงทีละ 5


จุดประสงค์
บอกจำ�นวนที่หายไปในแบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 5 และแบบรูปของจำ�นวนที่ลดลงทีละ 5

สื่อการเรียนรู้
−− บัตรตัวเลข
−− บัตรโจทย์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  29
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

แนวการจัดการเรียนรู้ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

การพัฒนาความรู้ 1.12 แบบรูปของจำานวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 5


และแบบรูปของจำานวนที่ลดลงทีละ 5
1. ครูติดบัตรตัวเลข 40 บนกระดาน ครูทบทวน พัฒนาความรู้
+5 +5 +5 +5

การนับเพิ่มทีละ 5 โดยการถาม-ตอบ ถ้าเริ่มจาก 40 นับ 40 45 50 55 60

เพิ่มทีละ 5 ได้ 45 50 55 60 ... ครูติดบัตรจำ�นวน 40 45 50 55 และ 60 เป็นจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 5

40 45 50 55 60 เป็นแบบรูปของจำานวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 5

ที่นับได้บนกระดาน แล้วให้นักเรียนสังเกตชุดของจำ�นวน +5 +5 +5 +5

40 45 50 55 60 ว่าเป็นการเรียงจำ�นวนในลักษณะ 137
157
142 147 152 .............

อย่างไร นักเรียนตอบว่า 40 45 50 55 60 เป็น


137 142 147 152 เป็นแบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 5
ดังนั้น จำ�นวนที่อยู่ถัดจ�ก 152 ไปท�งขว�คือ 157
เพร�ะ 152 เพิ่มขึ้น 5 ได้ 157

จำ�นวนนับที่เพิ่มขึ้นทีละ 5 ครูเขียนเส้นโยงด้วยลูกศร + 5 จำานวนที่หายไปในแบบรูปคือจำานวนใด

แล้วสรุปว่า 40 45 50 55 และ 60 เป็นจำ�นวนนับ 1


9373 78 83 88 ............

ที่เพิ่มขึ้นทีละ 5 ครูแนะนำ�ความสัมพันธ์ที่ต่อเนื่องกันใน 2 235 225 230 ............ 240 245

ลักษณะของการเพิ่มขึ้นทีละ 5 นี้ว่า เป็นแบบรูปของ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 49

จำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 5 ครูให้นักเรียนหาจำ�นวนที่อยู่ถัด
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

จาก 60 ว่าเป็นจำ�นวนใด โดยใช้การนับเพิ่มทีละ 5


บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

−5 −5 −5 −5

นักเรียนตอบว่า 65 จากนั้นครูให้นักเรียนพิจารณาแบบ 95 90 85 80 75

รูปของจำ�นวน 137 142 147 152 แล้วให้หาว่าจำ�นวน 95 90 85 80 และ 75 เป็นจำ�นวนที่ลดลงทีละ 5

ถัดไปคือจำ�นวนใด เพราะเหตุใด นักเรียนตอบว่า จำ�นวน 95 90 85 80 75 เป็นแบบรูปของจำานวนที่ลดลงทีละ 5

ถัดไปคือ 157 เพราะ 137 142 147 152 เป็นแบบรูป −5 −5 −5 −5

ของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 5 ดังนั้น 152 เพิ่มขึ้น 5 ได้ 157


1,000 995 990 985 ..............

ครูอาจยกตัวอย่างเพิ่มเติม เช่น 80 85 90 …… 100


1,000 995 990 985 เป็นแบบรูปของจำ�นวนที่ลดลงทีละ 5
ดังนั้น จำ�นวนที่อยู่ถัดจ�ก 985 ไปท�งขว�คือ 980
เพร�ะ 985 ลดลง 5 ได้ 980

แล้วถามนักเรียนว่าจำ�นวนทีห ่ ายไปคืออะไร และบอกเหตุผล จำานวนที่หายไปในแบบรูปคือจำานวนใด

ครูให้นักเรียนช่วยกันหาจำ�นวนที่หายไปในแบบรูป 1 37 32 27 22 ..............

ของจำ�นวนในกรอบท้ายหน้า 49 2
17
.............. 695 690 685 680

2. ครูติดบัตรตัวเลข 95 บนกระดาน และทบทวน 700


50 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

การนับลดทีละ 5 โดยการถาม-ตอบ ถ้าเริ่มจาก 95


นับลดทีละ 5 ได้ 90 85 80 75 ... ครูติดบัตรตัวเลข 95 90 85 80 75 บนกระดาน
แล้วถามนักเรียนว่าเป็นการเรียงจำ�นวนในลักษณะอย่างไร นักเรียนตอบว่า 95 90 85 80
และ 75 เป็นจำ�นวนที่ลดลงทีละ 5 ครูเขียนเส้นโยงลูกศร - 5 แล้วสรุปว่า 95 90 85 80
และ 75 เป็นจำ�นวนนับที่ลดลงทีละ 5 ครูแนะนำ�ความสัมพันธ์ทต ่ี อ
่ เนือ
่ งกันในลักษณะของการลดลง
ทีละ 5 นีว้ า่ เป็นแบบรูปของจำ�นวนทีล่ ดลงทีละ 5 ครูให้นก ั เรียนหาจำ�นวนที่อยู่ถัดจาก 75
ว่าเป็นจำ�นวนอะไร โดยใช้การนับลดทีละ 5 นักเรียนตอบว่า จำ�นวนที่อยู่ถัดไปคือ 70
ครูอาจยกตัวอย่างเพิ่มเติมเช่น 120 115 110 …… 100 แล้วถามนักเรียนว่าจำ�นวนที่หายไป

30  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

คือจำ�นวนใด และบอกเหตุผล ครูให้นักเรียน หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

ช่วยกันหาจำ�นวนที่หายไปในแบบรูป
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

จำานวนที่หายไปในแบบรูปคือจำานวนใด

ในกรอบท้ายหน้า 50
110
3. ครูตด
ิ บัตรโจทย์ 90 95 100 105 ....... 90 95 100 105 ............

บนกระดานแล้วให้นักเรียนช่วยกันบอกจำ�นวน 90 95 100 105 เป็นแบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 5


ดังนั้น จำ�นวนที่ห�ยไปคือ 110

ที่หายไปในแบบรูปคือจำ�นวนใด เพราะเหตุใด
เมื่อพิจารณาแบบรูปนี้เป็นแบบรูปของจำ�นวน
ที่เพิ่มขึ้นทีละ 5 ดังนั้น จำ�นวนที่หายไปคือ 110 1 500 495 490 485 480
............

ครูให้นักเรียนตอบคำ�ถามว่าจำ�นวนที่หายไปใน
2 135 140 145 150
............ 155
แบบรูปในแต่ละข้อของหน้า 51 คือจำ�นวนใด
โดยครูเน้นย้ำ�ให้นักเรียนพิจารณาจำ�นวน 3 272 267
............ 262 257 252

ที่อยู่ถัดไปทางขวาถ้ามีค่ามากขึ้น แสดงว่า 4 666


............ 671 676 681 686

เป็นแบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้น และ
5 805 800 795 790 785
ถ้าจำ�นวนที่อยู่ถัดไปทางขวามีค่าน้อยลง
............

แสดงว่าเป็นแบบรูปของจำ�นวนที่ลดลง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 51

จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกันหาจำ�นวน
ที่หายไปในแบบรูปตามหนังสือเรียนหน้า 51
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

การตรวจสอบความเข้าใจ ตรวจสอบความเข้าใจ
จำานวนที่หายไปในแบบรูปคือจำานวนใด
4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
1 85 90 95 100 105
โดยให้นักเรียนหาจำ�นวนที่หายไปในแบบรูป
...........

พร้อมบอกว่าเป็นแบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้น 2 60 55 50 45 40
...........

ทีละ 5 หรือเป็นแบบรูปของจำ�นวนที่ลดลง
ทีละ 5 ถ้าพบว่ามีนักเรียนคนใดหาจำ�นวนที่ 3 174 169 164 159
........... 154

หายไปในแบบรูปของจำ�นวนยังไม่ถูกต้อง ให้ครู
ฝึกเพิ่มเติมเป็นรายบุคคล โดยเริ่มฝึกจากการนับ 4 412 417 422
........... 427 432

เพิ่มทีละ 5 และการนับลดทีละ 5 ก่อน


สิ่งที่ได้เรียนรู้
ถ้านักเรียนนับเพิ่มทีละ 5 และนับลดทีละ 5 แบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 5 เป็นชุดของจำ�นวน

ได้แล้วจึงให้ฝึกหาจำ�นวนที่หายไปในแบบรูป
ที่มีคว�มสัมพันธ์กันอย่�งต่อเนื่องในลักษณะของก�รเพิ่มขึ้น
ทีละ 5 เช่น 40 45 50 55 60

จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบ แบบรูปของจำ�นวนที่ลดลงทีละ 5 เป็นชุดของจำ�นวน


ที่มีคว�มสัมพันธ์กันอย่�งต่อเนื่องในลักษณะของก�รลดลง

ความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
ทีละ 5 เช่น 35 30 25 20 15
แบบฝึกหัด 1.12

52 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  31
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

สิ่งที่ได้เรียนรู้
• แบบรู ปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 5 เป็นชุดของจำ�นวนที่มีความสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่อง
ในลักษณะของการเพิ่มขึ้นทีละ 5 เช่น 40 45 50 55 60

• แบบรู ปของจำ�นวนที่ลดลงทีละ 5 เป็นชุดของจำ�นวนที่มีความสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่อง


ในลักษณะของการลดลงทีละ 5 เช่น 35 30 25 20 15
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 1.12 หน้า 29 – 30

1.13 แบบรูปของจำ�นวนทีเ่ พิม


่ ขึน
้ ทีละ 100 และแบบรูปของจำ�นวนทีล
่ ดลงทีละ 100
จุดประสงค์
บอกจำ�นวนทีห
่ ายไปในแบบรูปของจำ�นวนทีเ่ พิม
่ ขึน
้ ทีละ 100 และแบบรูปของจำ�นวนทีล่ ดลงทีละ 100

สื่อการเรียนรู้ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

บัตรตัวเลข
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

1.13 แบบรูปของจำานวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 100


และแบบรูปของจำานวนที่ลดลงทีละ 100
แนวการจัดการเรียนรู้ พัฒนาความรู้
+100 +100 +100 +100
การพัฒนาความรู้
100 200 300 400 500
1. ครูติดบัตรตัวเลข 100 บนกระดาน
100 200 300 400 และ 500 เป็นจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 100

ครูทบทวนการนับเพิ่มทีละ 100 โดยการ 100 200 300 400 500 เป็นแบบรูปของจำานวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 100

ถาม-ตอบ ถ้าเริ่มจาก 100 นับเพิ่ม +100 +100 +100 +100

ทีละ 100 ได้ 200 300 400 500 ... 360 460 560 660 ............

ครูติดบัตรจำ�นวนที่นับได้บนกระดาน 360 460 560 660 เป็นแบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้น760 ทีละ 100


ดังนั้น จำ�นวนที่อยู่ถัดจ�ก 660 ไปท�งขว�คือ 760

แล้วให้นักเรียนสังเกตชุดของจำ�นวน 100 200 เพร�ะ 660 เพิ่มขึ้น 100 ได้ 760

300 400 500 ว่าเป็นการเรียงจำ�นวน จำานวนที่หายไปในแบบรูปคือจำานวนใด

1 8 108 208 308


ในลักษณะอย่างไร นักเรียนตอบว่า 100 200
............

408
300 400 500 เป็นจำ�นวนนับที่เพิ่มขึ้นทีละ 2 599 ............ 799 899 999

100 ครูเขียนเส้นโยงด้วยลูกศร + 100 แล้ว 699


| 53
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สรุปว่า 100 200 300 400 และ 500


เป็นจำ�นวนนับที่เพิ่มขึ้นทีละ 100 ครูแนะนำ�
ความสัมพันธ์ที่ตอ่ เนื่องกันในลักษณะของการเพิม ่ ขึน
้ ทีละ 100 นีว้ า ่ เป็นแบบรูปของจำ�นวนทีเ่ พิม ่ ขึน

ทีละ 100 ครูให้นก ั เรียนหาจำ�นวนทีอ
่ ยูถ
่ ด
ั จาก 500 ว่าเป็นจำ�นวนใด โดยใช้การนับเพิ่มทีละ 100
นักเรียนตอบว่า 600 จากนั้นครูให้พิจารณาแบบรูปของจำ�นวน 360 460 560 660
แล้วให้หาว่าจำ�นวนถัดไปคือจำ�นวนใด เพราะเหตุใด นักเรียนตอบว่า จำ�นวนถัดไปคือ 760

32  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

เพราะ 360 460 560 660 เป็นแบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 100 ดังนั้น 660 เพิ่มขึ้น 100
ได้ 760 ครูอาจยกตัวอย่างเพิม
่ เติม เช่น 180 280 380 …… 580 แล้วถามนักเรียนว่าจำ�นวนทีห
่ ายไป
คือจำ�นวนใดพร้อมบอกเหตุผล จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกันหาจำ�นวนที่หายไปในแบบรูปของจำ�นวน
ในกรอบท้ายหน้า 53
2. ครูติดบัตรตัวเลข 900 บนกระดาน ครูทบทวน
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

−100 −100 −100 −100

การนับลดทีละ 100 โดยการถาม-ตอบ ถ้าเริ่มจาก 900


900 800 700 600 500

นับลดทีละ 100 ได้ 800 700 600 500 ... 900 800 700 600 และ 500 เป็นจำ�นวนที่ลดลงทีละ 100

ครูติดบัตรตัวเลข 900 800 700 600 500 900 800 700 600 500 เป็นแบบรูปของจำานวนที่ลดลงทีละ 100

บนกระดาน แล้วถามนักเรียนว่าเป็นการเรียงจำ�นวน −100 −100 −100 −100

ในลักษณะอย่างไร นักเรียนตอบว่า 900 800 700


712 612 512 412 312
...............

600 500 เป็นจำ�นวนที่ลดลงทีละ 100 ครูเขียนเส้นโยง 712 612 512 412 เป็นแบบรูปของจำ�นวนที่ลดลงทีละ 100
ดังนั้น จำ�นวนที่อยู่ถัดจ�ก 412 ไปท�งขว�คือ 312
เพร�ะ 412 ลดลง 100 ได้ 312

ด้วยลูกศร - 100 แล้วสรุปว่า 900 800 700 600


จำานวนที่หายไปในแบบรูปคือจำานวนใด

และ 500 เป็นจำ�นวนนับที่ลดลงทีละ 100 ครูแนะนำ� 1 500 400 300 200 100
.............

ความสัมพันธ์ที่ต่อเนื่องกันในลักษณะของการลดลง
2 905 805 705
............. 605 505

ทีละ 100 นี้ว่า เป็นแบบรูปของจำ�นวนที่ลดลงทีละ 100


ครูให้นักเรียนหาจำ�นวนที่อยู่ถัดจาก 500 ว่าเป็นจำ�นวนใด
54 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โดยใช้การนับลดทีละ 100 นักเรียนตอบว่า จำ�นวน


ที่อยู่ถัดไป คือ 400 ครูอาจยกตัวอย่างเพิ่มเติม เช่น 820
720 620 …… 420 แล้วถามนักเรียนว่าจำ�นวนที่หายไป
คือจำ�นวนใด พร้อมบอกเหตุผล ครูให้นักเรียนช่วยกันหา
จำ�นวนที่หายไปในแบบรูปของจำ�นวนในกรอบท้ายหน้า 54 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

3. ครูติดบัตรโจทย์ 700 600 500 400 ....... จำานวนที่หายไปในแบบรูปคือจำานวนใด

บนกระดานแล้วให้นักเรียนช่วยกันบอกจำ�นวนที่หายไป 700 600 500 400 300


............

ในแบบรูปคือจำ�นวนใด เพราะเหตุใด เมื่อพิจารณา 700 600 500 400 เป็นแบบรูปของจำ�นวนที่ลดลงทีละ 100


ดังนั้น จำ�นวนที่ห�ยไปคือ 300

แบบรูปนี้เป็นแบบรูปของจำ�นวนที่ลดลงทีละ 100
ดังนั้นจำ�นวนที่หายไปคือ 300 ครูให้นักเรียนเติมจำ�นวน 1 465 565 665 765
............ 865

ที่หายไปในแบบรูปตามหนังสือเรียนหน้า 55 โดยครู 2 940 840 740 640 540


............

เน้นย้ำ�ให้นักเรียนพิจารณาจำ�นวนที่อยู่ถัดไปทางขวา
3 504 604 704 804 904

ถ้ามีค่ามากขึ้นแสดงว่าเป็นแบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้น
............

และถ้าจำ�นวนที่อยู่ถัดไปทางขวามีค่าน้อยลงแสดงว่า 4 791
............ 691 591 491 391

เป็นแบบรูปของจำ�นวนที่ลดลง 5 44 144 244


............ 344 444

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 55

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  33
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

การตรวจสอบความเข้าใจ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

ตรวจสอบความเข้าใจ
โดยให้นักเรียนหาจำ�นวนที่หายไปในแบบรูป จำานวนที่หายไปในแบบรูปคือจำานวนใด

พร้อมบอกว่าเป็นแบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้น 1 510 610 710 810


............ 910
ทีละ 100 หรือเป็นแบบรูปของจำ�นวน
ที่ลดลงทีละ 100 ถ้าพบว่ามีนักเรียนคนใด 2 478 378 278 178 78
............

หาจำ�นวนที่หายไปในแบบรูปของจำ�นวน 750
3 850 ............ 650 550 450
ยังไม่ถูกต้องให้ครูฝึกเพิ่มเติมเป็นรายบุคคล
โดยเริ่มฝึกจากการนับเพิ่มทีละ 100 และ 4 21
............ 121 221 321 421

การนับลดทีละ 100 ก่อน ถ้านักเรียนนับเพิ่ม


สิ่งที่ได้เรียนรู้
ทีละ 100 และนับลดทีละ 100 ได้แล้วจึงให้ แบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 100 เป็นชุดของจำ�นวน

ฝึกหาจำ�นวนที่หายไปในแบบรูป จากนั้นครู ที่มีคว�มสัมพันธ์กันอย่�งต่อเนื่องในลักษณะของก�รเพิ่มขึ้น


ทีละ 100 เช่น 400 500 600 700 800

และนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง แบบรูปของจำ�นวนที่ลดลงทีละ 100 เป็นชุดของจำ�นวน


ที่มีคว�มสัมพันธ์กันอย่�งต่อเนื่องในลักษณะของก�รลดลง

และสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
ทีละ100 เช่น 821 721 621 521 421

แบบฝึกหัด 1.13

56 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สิ่งที่ได้เรียนรู้
• แบบรู ปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 100 เป็น
ชุดของจำ�นวนที่มีความสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่อง
ในลักษณะของการเพิ่มขึ้นทีละ 100 เช่น 400 500 600 700 800

• แบบรูปของจำ�นวนที่ลดลงทีละ 100 เป็นชุดของจำ�นวนที่มีความสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่อง


ในลักษณะของการลดลงทีละ 100 เช่น 821 721 621 521 421
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 1.13 หน้า 31 – 33

34  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

ร่วมคิดร่วมทำ� หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

กิจกรรม บัตรตัวเลขของฉัน
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

ร่วมคิดร่วมทำา

กิจกรรม บัตรตัวเลขของฉัน

อุปกรณ์ อุปกรณ์ 1 ชุด ประกอบด้วย


1. บัตรตัวเลข จำ�นวน 5 บัตร เช่น

−− บัตรตัวเลขจำ�นวน 5 บัตร เช่น 5 6 4 8 9 5 6 4 8 9


−− แบบบันทึกกิจกรรมใบที่ 1 และใบที่ 2 2. แบบบันทึกกิจกรรมใบที่ 1 และใบที่ 2
วิธีจัดกิจกรรม
1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม แจกอุปกรณ์กลุ่มละ 1 ชุด แต่ละกลุ่มอ�จได้

การเตรียมสถานที่
ชุดของบัตรตัวเลขที่ไม่เหมือนกัน
2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำ�บัตรตัวเลขม�สร้�งจำ�นวนส�มหลักที่ม�กที่สุด
และจำ�นวนส�มหลักที่น้อยที่สุด แล้วบันทึกในแบบบันทึกกิจกรรม
ห้องโล่ง หรือจัดโต๊ะเรียนเป็นกลุม
่ ตามจำ�นวนสมาชิก
ตัวอย่างแบบบันทึกกิจกรรมใบที่ 1 ตัวอย่างแบบบันทึกกิจกรรมใบที่ 2

986 456
วิธีเล่น
จำ�นวนส�มหลักที่ม�กที่สุด คือ ............ จำ�นวนส�มหลักที่น้อยที่สุด คือ ............
เขียนในรูปกระจ�ย เขียนในรูปกระจ�ย
............................................................ ............................................................

1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม แจกอุปกรณ์
986 = 900 + 80 + 6
............................................................ 456 =400 + 50 + 6
............................................................
............................................................ ............................................................
แบบรูปของจำ�นวนที่ลดลงทีละ 100 แบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 100
กลุ่มละ 1 ชุด แต่ละกลุ่มอาจได้ชุดของบัตรตัวเลข เริ่มจ�กจำ�นวนที่ม�กที่สุด เริ่มจ�กจำ�นวนที่น้อยที่สุด

ที่ไม่เหมือนกัน 986 886 786 686 586


....... ....... ....... ....... ....... ....... ....... ....... ....... ....... 456 556 656 756 856

2. ครูให้นักเรียนแต่ละคนภายในกลุ่ม | 57 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

นำ�บัตรตัวเลขที่กลุ่มของตนเองได้มาสร้างเป็น
จำ�นวนสามหลักที่มีค่ามากที่สุด และมีค่าน้อยที่สุด
แล้วบันทึกในแบบบันทึกกิจกรรมใบที่ 1 และใบที่ 2 จากนั้นเขียนจำ�นวนนั้นในรูปกระจาย
และเขียนแบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 100 หรือลดลงทีละ 100
3. ครูให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมานำ�เสนอ แล้วให้เพื่อนในห้องร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
กลุ่มใดทำ�ถูกต้อง ครูควรกล่าวคำ�ชมเชยหรือให้รางวัล
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกท้าทาย หน้า 34 – 35

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  35
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

ตัวอย่างแบบทดสอบท้ายบท

ตัวอย่างแบบทดสอบนี้ใช้ในการประเมินผลระหว่างเรียนเพื่อพัฒนานักเรียนหากมีนักเรียน
คนใดที่ไม่สามารถทำ�แบบทดสอบนี้ได้ครูควรให้นักเรียนคนนั้นฝึกทักษะมากขึ้นโดยอาจใช้
แบบฝึกเสริมในหนังสือเสริมเพิ่มปัญญาของสสวท. หรือแบบฝึกอื่นตามที่เห็นสมควร ก่อนสอบ
ครูอาจทบทวนความรู้ให้กับนักเรียนก่อน 20 - 30 นาที ซึ่งแบบทดสอบท้ายบทนี้มีจำ�นวน 10 ข้อ
คะแนนเต็ม 10 คะแนน ใช้เวลาในการทำ�แบบทดสอบ 20 นาที และวิเคราะห์เป็นรายจุดประสงค์
ได้ดังนี้

จุดประสงค์ ข้อที่

1. บอกจำ�นวนสิ่งต่าง ๆ และแสดงสิ่งต่าง ๆ ตามจำ�นวนที่กำ�หนด


1 2 7
ไม่เกิน 1,000

2. อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ


3 6 9
แสดงจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

3. เปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 4 5

4. บอกจำ�นวนที่หายไปในแบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละ 2
8 10
ทีละ 5 และทีละ 100

ตัวอย่างแบบทดสอบท้ายบทที่ 1
เขียน ตัวเลือกที่ถูกต้อง
1. ข้อใดเป็นการนับทีละ 2
ก. 20 21 22 23 24 25
ข. 10 9 8 7 6 5
ค. 11 13 15 17 19

2. ข้อใดเป็นการนับทีละ 5
ก. 20 25 30 40 50
ข. 45 50 55 60 65
ค. 30 40 50 60 70

36  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

3. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
จุดประสงค์
ก. 20 สิบ เขียนแสดงด้วยตัวเลขฮินดูอารบิก 20
ข. 10 ร้อย เขียนแสดงด้วยตัวเลขไทย ๑,๐๐๐
ค. 5 สิบ เขียนแสดงด้วยตัวหนังสือ ห้าร้อย

4. ข้อใดถูกต้อง
ก. 109 > 124
ข. 98 > 258
ค. 54 < 421

5. ข้อใดเรียงลำ�ดับจำ�นวนจากมากไปน้อย
ก. 452 440 320 281 240 100
ข. 154 632 685 791 938 990
ค. 326 485 147 329 693 527

6. 139 เลขโดดใดมีค่ามากที่สุด
ก. 1
ข. 3
ค. 9

7. ข้อใดเป็นจำ�นวนคี่ทั้งหมด
ก. 45 83 61 74 59
ข. 10 42 64 88 76
ค. 83 61 45 23 49

8. ข้อใดเป็นแบบรูปของจำ�นวนที่ลดลงทีละ 100
ก. 872 772 672 572 472
ข. 140 150 160 170 180
ค. 125 225 235 245 255

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  37
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

9. 8 อยู่ในหลักร้อย 0 อยูในหลักสิบ 3 อยู่ในหลักหน่วย คือจำ�นวนใด


ก. 83
ข. 803
ค. 830

10. แบบรูปในข้อใดมีจำ�นวนที่หายไปคือ 50
ก. 42 44 46 .......... 50 52
ข. 75 70 65 60 55 ..........
ค. 32 37 42 .......... 52 57

เฉลยแบบทดสอบบทที่ 1
1. ค 2. ข 3. ข 4. ค 5. ก 6. ก 7. ค 8. ก 9. ข 10. ข

38  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

การบวกและการลบ
บทที่ 2
จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

จุดประสงค์การเรียนรู้และสาระสำ�คัญ

จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำ�คัญ

นักเรียนสามารถ

1. หาผลบวกในประโยคสัญลักษณ์
แสดงการบวกของจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000
• กโดยใช้
ารบวกจำ�นวนสองจำ�นวนอาจหาผลบวกได้
เส้นจำ�นวน หรือ แผ่นตารางร้อย
(หัวข้อ 2.1 – 2.7) แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย
• การหาผลบวกโดยการตั้งบวก ต้องเขียน
เลขโดดในหลักเดียวกันให้ตรงกัน แล้วจึงนำ�
จำ�นวนที่อยู่ในหลักเดียวกันมาบวกกัน โดย
เริ่มจากหลักหน่วย หลักสิบ และหลักร้อย
ตามลำ�ดับ ถ้าผลบวกในหลักหน่วยเป็น 1 สิบ
หรือมากกว่า 1 สิบ ต้องทด 1 สิบ ไปรวมกับ
จำ�นวนในหลักสิบ หรือถ้าผลบวกในหลักสิบ
เป็น 1 ร้อยหรือมากกว่า 1 ร้อย ต้องทด
1 ร้อยไปรวมกับจำ�นวนในหลักร้อย

• การบวกจำ�นวนสองจำ�นวนสามารถสลับที่ได้
ผลบวกยังคงเท่าเดิม

• การบวกจำ�นวนสามจำ�นวนจะบวก
สองจำ�นวนใดก่อนก็ได้ แล้วบวกจำ�นวนทีเ่ หลือ
ผลบวกเท่ากัน หาผลบวกโดยการตั้งบวก
ทำ�ได้โดยนำ�จำ�นวนในหลักเดียวกันมาบวกกัน
ถ้าผลบวกในหลักใดเป็นจำ�นวนสองหลัก
ให้ทดจำ�นวนในหลักสิบไปรวมกับจำ�นวน
ในหลักถัดไปทางซ้าย

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  39
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำ�คัญ

นักเรียนสามารถ

2. หาผลลบในประโยคสัญลักษณ์แสดง
การลบของจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000
• กโดยใช้
ารลบจำ�นวนสองจำ�นวนอาจหาผลลบได้
เส้นจำ�นวน หรือ แผ่นตารางร้อย
(หัวข้อ 2.8 – 2.13) แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย

• ผลลบบวกตัวลบเท่ากับตัวตั้ง

• การหาผลลบของจํานวนสองจํานวนโดย
การตั้งลบ ต้องเขียนเลขโดดในหลักเดียวกัน
ให้ตรงกัน แล้วจึงนําจํานวนที่อยู่ในหลัก
เดียวกันมาลบกันโดยเริ่มจากหลักหน่วย
หลักสิบ และหลักร้อย ตามลําดับ
−− ถ้าเลขโดดในหลักหน่วยของตัวตั้ง
มีค่าน้อยกว่าเลขโดดในหลักหน่วย
ของตัวลบ ต้องกระจายจํานวนจาก
หลักสิบไปหลักหน่วย
−− ถ้าเลขโดดในหลักสิบของตัวตั้ง
มีค่าน้อยกว่าเลขโดดในหลักสิบ
ของตัวลบ ต้องกระจายจํานวนจาก
หลักร้อยไปหลักสิบ

• กการตั
ารหาผลลบของจํานวนสามจํานวนโดย
้งลบ ให้นําจํานวนสองจํานวนมาลบ
กันก่อน แล้วนําผลลบไปลบกับจํานวน
ที่เหลือ

3. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์
แสดงการบวก และประโยคสัญลักษณ์แสดง
• คเมืวามสั มพันธ์ของการบวกและการลบ
่อจำ�นวนสองจำ�นวนบวกกัน ผลบวก
การลบของจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ที่ได้ลบด้วยจำ�นวนใดจำ�นวนหนึ่งใน
(หัวข้อ 2.14 – 2.15) สองจำ�นวนนั้น ผลลบคือจำ�นวนอีก
จำ�นวนหนึ่ง

40  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำ�คัญ

นักเรียนสามารถ

• กในประโยคสั
ารหาค่าของตัวไม่ทราบค่า
ญลักษณ์การบวกและ
ประโยคสัญลักษณ์การลบ สามารถ
ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ

4. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหา
การบวก และโจทย์ปัญหาการลบ
• กเข้ารแก้ โจทย์ปัญหาทำ�ได้โดย อ่านทำ�ความ
าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา หาคำ�ตอบ
(หัวข้อ 2.16 – 2.19) และตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำ�ตอบ

5. สร้างโจทย์ปัญหาการบวกและ
โจทย์ปัญหาการลบ
• กโจทย์
ารสร้างโจทย์ปัญหา ต้องมีทั้งส่วนที่
บอกและส่วนที่โจทย์ถาม และ
(หัวข้อ 2.20 – 2.21) โจทย์ปัญหาที่สร้างต้องมีความเป็นไปได้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  41
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

การวิเคราะห์เนื้อหากับทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

ทักษะและกระบวนการ
เวลา ทางคณิตศาสตร์
หัวข้อ เนื้อหา
(ชั่วโมง)
1 2 3 4 5

เตรียมความพร้อม 1

2.1 การหาผลบวกโดยใช้เส้นจำ�นวน 1

การหาผลบวกโดยใช้แผ่นตารางร้อย
2.2 1
แผ่นตารางสิบ แผ่นตารางหน่วย

2.3 การหาผลบวกโดยการตั้งบวกไม่มีการทด 1

2.4 การหาผลบวกโดยการตั้งบวกมีการทด (1) 1

2.5 การหาผลบวกโดยการตั้งบวกมีการทด (2) 1

2.6 การหาผลบวกของจำ�นวนสามจำ�นวน (1) 1

2.7 การหาผลบวกของจำ�นวนสามจำ�นวน (2) 1

2.8 การหาผลลบโดยใช้เส้นจำ�นวน 1

การหาผลลบโดยใช้แผ่นตารางร้อย
2.9 1
แผ่นตารางสิบ แผ่นตารางหน่วย

2.10 การหาผลลบโดยการตั้งลบไม่มีการกระจาย 1

2.11 การหาผลลบโดยการตั้งลบมีการกระจาย (1) 1

2.12 การหาผลลบโดยการตั้งลบมีการกระจาย (2) 1

2.13 การหาผลลบของจำ�นวนสามจำ�นวน 1

2.14 ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ 1

การหาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์
2.15 2
การบวก และประโยคสัญลักษณ์การลบ

2.16 โจทย์ปญ
ั หาการบวกและโจทย์ปญ
ั หาการลบ (1) 2

2.17 โจทย์ปญ
ั หาการบวกและโจทย์ปญ
ั หาการลบ (2) 2

42  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

การวิเคราะห์เนื้อหากับทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

ทักษะและกระบวนการ
เวลา ทางคณิตศาสตร์
หัวข้อ เนื้อหา
(ชั่วโมง)
1 2 3 4 5

2.18 โจทย์ปญ
ั หาการบวกและโจทย์ปญ
ั หาการลบ (3) 2

2.19 โจทย์ปญ
ั หาการบวกและโจทย์ปญ
ั หาการลบ (4) 2

การสร้างโจทย์ปัญหาการบวกและ
2.20 1
โจทย์ปัญหาการลบจากภาพ

การสร้างโจทย์ปัญหาการบวกและ
2.21 1
โจทย์ปัญหาการลบจากประโยคสัญลักษณ์

ร่วมคิดร่วมทำ� 1

1  การแก้ปัญหา 2  การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
3  การเชื่อมโยง 4  การให้เหตุผล 5  การคิดสร้างสรรค์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  43
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

คำ�สำ�คัญ
เส้นจำ�นวน ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ ตัวไม่ทราบค่า

ความรู้หรือทักษะพื้นฐานของนักเรียน
1. การสังเกต การวิเคราะห์
2. การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 100
3. การเขียนตัวเลขแสดงจำ�นวนนับไม่เกิน 100
4. โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบของจำ�นวนนับไม่เกิน 100
5. การเขียนตัวเลขแสดงจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000
6. หลัก และค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียน หน้า 58 – 145
2. แบบฝึกหัด หน้า 36 – 93
3. แบบบันทึกกิจกรรม ใบกิจกรรม บัตรภาพต่าง ๆ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ประกอบกิจกรรม
ดังนี้

• บัตรภาพเส้นจำ�นวน


• บัตรตัวเลข บัตรเครื่องหมายบวก บัตรเครื่องหมายลบ บัตรโจทย์ปัญหา
บัตรประโยคสัญลักษณ์ บัตรคำ�ตอบ

• แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ แผ่นตารางหน่วย


• บัตรภาพต่าง ๆ เช่น ปลาหางนกยูง ปลาทอง ปลาเทวดา ดอกดาวเรือง
ดอกกุหลาบ มะม่วง แก้วมังกร ส้ม ชมพู่

• แถบกระดาษสีที่มีความยาวแตกต่างกัน (Bar Model)

• ใบกิจกรรม แบบบันทึกกิจกรรม
4. สื่อเพิ่มเติม หน้า 61 65 89 93 139 และ 145 (Download ได้จาก QR code หน้า 58)
5. สื่อวีดิทัศน์ (QR code)

• บวกโดยใช้สื่อ หน้า 65

• ลบโดยใช้สื่อ หน้า 93

เวลาที่ใช้จัดการเรียนรู้ 23 ชั่วโมง

44  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

การจัดการเรียนรู้
การเตรียมความพร้อม

การบวกและการลบ
บทที่ 2
จำานวนนับไม่เกิน 1,000 กิโลกรัมละ 270มบาท
กิโลกรั ละ 270 บาท

กิโลกรัมละ 100มบาท
กิโลกรั ละ 100 บาท

เรียนจบบทนี้แล้ว นักเรียนสามารถ

หาผลบวกในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกของจำานวนนับ ถ้าแม่มีเงิน 1,000 บาท จะซื้ออะไรไปฝาก


ไม่เกิน 1,000 คุณยายได้บ้าง แล้วแม่จะยังเหลือเงินเท่าไร

หาผลลบในประโยคสัญลักษณ์แสดงการลบของจำานวนนับ
ไม่เกิน 1,000 กิโลกรัมละ 50 บาท
กิโลกรั มละ 50 บาท
หวีละ ห ีละ
บาท
ลูกละ 25ลูกละ 25
บาท 45 บวาท 45 บาท
หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวก ถุงละ 215
ถุงบาท
ละ 215 บาท
และประโยคสัญลักษณ์แสดงการลบของจำานวนนับไม่เกิน 1,000
แสดงวิธีหาคำาตอบของโจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ
5 กิโลก 5 กโิ ลก
รัม 5 กิรัโมลกรัม5 กิโลกรัม 90 บาท
มละ 90 บาท
สร้างโจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ กิโลกรัมละ
กิโลกรั
สื่อเพิ่มเติม

กิโลกรัมละ
กิโลกรั
120มบาท
ละ 120 บาท

กิโลกร กิโลกร
ัมละ 4 ัมละ 4
0 บาท 0 บาท 90 บาท
กิโลกรัมละ
กิโลกรั มละ 90 บาท
กิโลกรัมละ
กิโลก
25รั0มบา
ละท250 บาท กิโลกร กิโลกร จานละ 20
จานละ 20
ัมละ 2 ัมละ 2 บาท บาท
80 บา 80 บา
ท ท

1. ใช้ข้อมูลในหนังสือเรียนหน้าเปิด เพื่อกระตุ้นความสนใจและสร้างบทสนทนา โดยใช้


คำ�ถาม เช่น


นักเรียนคิดว่าสถานที่ในภาพนี้คือที่ใด


โดยปกติแล้วในตลาดสดจะขายอะไรบ้าง


จากภาพมีอะไรขายบ้าง


สินค้าแต่ละชนิดในภาพราคาเท่าไร


ซื้อปลา 1 กิโลกรัม กับกุ้ง 1 กิโลกรัมต้องจ่ายเงินเท่าไร


ปูราคาแพงกว่ากุ้งกี่บาท


ถ้ามีเงิน 300 บาท ซื้อผลไม้อะไรได้บ้าง อย่างละกี่กิโลกรัม และเหลือเงินกี่บาท


ถ้าแม่มีเงิน 1,000 บาท จะซื้ออะไรไปฝากคุณยายได้บ้าง แล้วแม่จะยังเหลือเงินกี่บาท
โดยที่บางคำ�ถามนักเรียนอาจตอบได้ แต่บางคำ�ถามครูอาจเลือกเพื่อถามนำ�เข้าสู่บทเรียนว่า
จะหาคำ�ตอบได้ต้องใช้ความรู้ที่จะเรียนในบทนี้ จากนั้นครูทำ�กิจกรรมเตรียมความพร้อม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  45
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

2. ใช้หนังสือเรียนหน้า 60 กิจกรรมเตรียมความพร้อม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

เพื่อตรวจสอบความรู้พื้นฐานของนักเรียนเรื่องการบวก เตรียมความพร้อม

การลบ การหาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ ในการจัดงานปีใหม่ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 มีผลไม้ต่าง ๆ ดังนี้

แอปเปิล 25 ผล มะม่วง 13 ผล

การบวกและประโยคสัญลักษณ์การลบ และโจทย์ปัญหา เงาะ 40 ผล


ส้มโอ 6 ผล
ฝรั่ง
ชมพู่
14 ผล
32 ผล

การบวก โจทย์ปัญหาการลบ โดยการสร้าง แตงโม 5 ผล สับปะรด 4 ผล

บทสนทนาเกี่ยวกับจำ�นวนของผลไม้ จากนั้นให้นักเรียน
ช่วยกันแสดงความคิดที่หลากหลายในการแก้โจทย์ปัญหา
เติมตัวเลขแสดงจำานวน

1 จำานวนแอปเปิลและมะม่วงรวมกันได้ 25 + 13 = 38 ผล

ในกรอบท้ายหน้า 60 2 แก้วตาต้องนำาแตงโมมาเพิ่มอีก 9 ผล จึงจะเท่ากับจำานวนฝรั่ง

3 เงาะกับชมพู่มีจำานวนต่างกัน 8 ผล

4 สมชายและเพื่อนกินชมพู่ไป 7 ผล ทำาให้มีชมพู่เหลืออยู่ 25 ผล

5 จำานวนสับปะรด ส้มโอ และ ฝรั่ง รวมกันได้ 24

2.1 การหาผลบวกโดยใช้เส้นจำ�นวน
ผล

จุดประสงค์
แสดงวิธีคิดที่หลากหลาย
ผลไม้สามชนิดใดบ้าง เมื่อนำาจำานวนมารวมกันแล้วมากกว่า 45 ผล
และได้ผลรวมเป็นเท่าไร

หาผลบวกที่ผลบวกไม่เกิน 100 โดยใช้เส้นจำ�นวน 60 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เฉลย

สื่อการเรียนรู้ แอปเปิล มะม่วง เงาะ


แอปเปิล มะม่วง ฝรั่ง
25 + 13 + 40 = 78
25 + 13 + 14 = 52
เงาะ ฝรั่ง ส้มโอ 40 + 14 + 6 = 60
เงาะ ฝรั่ง ชมพู่ 40 + 14 + 32 = 86
แอปเปิล มะม่วง ชมพู่ 25 + 13 + 32 = 70 เงาะ ฝรั่ง แตงโม 40 + 14 + 5 = 59

−− บัตรภาพแสดงเส้นจำ�นวน มะม่วง เงาะ ฝรั่ง


มะม่วง เงาะ ชมพู่
13 + 40 + 14 = 67
13 + 40 + 32 = 85
เงาะ ฝรั่ง สับปะรด 40 + 14 + 4 = 58
ฝรั่ง ส้มโอ ชมพู่ 14 + 6 + 32 = 52
ฝรั่ง ชมพู่ สับปะรด 14 + 32 + 4 = 50 ฝรั่ง ชมพู่ แตงโม 14 + 32 + 5 = 51
−− บัตรโจทย์ * คำ�ตอบมีหลากหลายขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครู

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

แนวการจัดการเรียนรู้
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

2.1 การหาผลบวกโดยใช้เส้นจำานวน

การพัฒนาความรู้ พัฒนาความรู้

1. ครูติดบัตรโจทย์ 33 + 10 = ให้นักเรียน
33 + 10 =

หาคำ�ตอบพร้อมวิธีคิด (อาจจะใช้วิธีนับต่อ นับเพิ่ม 0 5 10 15 20 25 30 33 35 40 43 45 50

เริ่มจาก 0 ไป 33 แล้วต่อไปอีก 10 ได้ 43

ทีละ 10) ครูใช้บัตรภาพแสดงเส้นจำ�นวนที่เริ่มจาก อาจเขียนแสดงการหาผลบวกโดยเริ่มจาก 33 ดังนี้

0 และแสดงขั้นตอนการหาผลบวกดังนี้ 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55

ลากเส้นโค้งเริ่มจาก 0 ไป 33 แล้วต่อไปอีก 10 เริ่มจาก 33 แล้วต่อไปอีก 10 ได้ 43


ดังนั้น 33 + 10 = 43

ได้ 43 ให้นักเรียนสังเกตว่า การลากเส้นโค้งต่อไปอีก 10 33 + 15 =

10
15

5
15 = 10 + 5

เป็นการเพิ่มหลักสิบไป 1 สิบ จากนั้นครูแนะนำ�ว่า


นักเรียนอาจเริ่มลากเส้นโค้งจาก 33 ต่อไปอีก 10 ได้ 43
30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55

เริ่มจาก 33 แล้วต่อไปอีก 10 กับอีก 5 ได้ 48


ดังนั้น 33 + 15 = 48

โดยเส้นจำ�นวนที่นำ�มาแสดงนั้นอาจเริ่มจากจำ�นวนที่
เราบอกจำานวนได้ด้วยการนับ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 61

ไม่ใช่ 0 เช่น เส้นจำ�นวนในภาพที่สองเริ่มจาก 30 ซึ่งเป็น


จำ�นวนที่ใกล้เคียงกับ 33 ครูติดบัตรโจทย์ 33 + 15 = แล้วติดบัตรภาพแสดงเส้นจำ�นวน
ที่เริ่มจาก 30 และให้นักเรียนสังเกตว่า 15 คือ 10 กับ 5 จากนั้นลากเส้นโค้งจาก 33 ต่อไปอีก
10 ได้ 43 แล้วลากเส้นโค้งต่อไปอีก 5 ได้ 48 ครูแนะนำ�ว่าการลากเส้นโค้งจาก 43 ต่อไปอีก 5
อาจลากทีละ 1 หรือลากทีละ 5 ก็ได้

46  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

2. ครูติดบัตรโจทย์ 14 + 36 = และ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

แจกบัตรภาพแสดงเส้นจำ�นวนให้นักเรียน
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ช่วยกันหาคำ�ตอบ ครูแนะนำ�ให้นก ั เรียนสังเกตว่า 14 + 36 =


14

10 4
การหาผลบวกโดยใช้เส้นจำ�นวน “ถ้าเริ่มจาก
จำ�นวนที่มากกว่า จะหาคำ�ตอบได้เร็วกว่า” เริ่มจากจำานวนที่มากกว่า
จะหาคำาตอบได้เร็วกว่า

และ 14 คือ 10 กับ 4 ครูให้นักเรียนเขียนแสดง


การหาคำ�ตอบบนเส้นจำ�นวนที่ได้รับแจก 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55

แล้วนำ�เสนอ ครูอาจสุ่มนักเรียนให้ออกมา เริ่มจาก 36 แล้วต่อไปอีก 10 กับอีก 4 ได้ 50


ดังนั้น 14 + 36 = 50

นำ�เสนอหน้าชั้นเรียน ครูและเพื่อนในห้อง
ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง 27 + 22 = 22 = 10 + 10 + 2

จากนั้นครูติดบัตรโจทย์ 27 + 22 =
และแจกบัตรภาพแสดงเส้นจำ�นวนให้นักเรียน
ช่วยกันหาคำ�ตอบ ครูแนะนำ�ให้นก ั เรียนสังเกตว่า 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50

22 คือ 10 กับ 10 กับ 2 ครูให้นักเรียนเขียน เริ่มจาก 27 แล้วต่อไปอีก 10 กับอีก 10 กับอีก 2 ได้ 49


ดังนั้น 27 + 22 = 49

แสดงการหาคำ�ตอบบนเส้นจำ�นวนที่ได้รับแจก 62 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แล้วนำ�เสนอ ครูอาจสุ่มนักเรียนให้ออกมา
นำ�เสนอหน้าชั้นเรียน ครูและเพื่อนในห้อง
ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

อธิบายการหาผลบวกโดยใช้เส้นจำานวน
3. ให้นักเรียนช่วยกันแสดงการหาผลบวก
1 49 + 15 =
โดยใช้เส้นจำ�นวนทีละข้อตามหนังสือเรียน
หน้า 63 ครูอธิบายวิธีการเขียนเส้นจำ�นวน 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70

10 กับอีก 5 ได้ 64
รวมถึงการหาคำ�ตอบ เช่น 49 + 15 = เริ่มจาก 49 แล้วต่อไปอีก .............................................................................
ดังนั้น 49 + 15 = 64
ครูถามนักเรียนว่าควรเริ่มจากจำ�นวนใด
2 21 + 23 =
นักเรียนตอบว่า 49 และย้ำ�ให้นักเรียนอีกครั้งว่า
“ถ้าเริ่มจากจำ�นวนที่มากกว่า จะหาคำ�ตอบ 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45

10 กับอีก 10 กับอีก 3 ได้ 44


ได้เร็วกว่า” จากนั้นครูถามนักเรียนว่า เริ่มจาก 21 แล้วต่อไปอีก .............................................................................
ดังนั้น 21 + 23 = 44
15 คือ 10 กับจำ�นวนใด นักเรียนตอบว่า 5
แล้วให้นักเรียนเขียนแสดงบนเส้นจำ�นวนโดย
3 50 + 25 =

เริ่มจาก 49 ลากเส้นโค้งต่อไปอีก 10 และลาก 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75

ต่อไปอีก 5 ได้ 64 ส่วนข้ออื่น ๆ ครูแบ่งนักเรียน เริ่มจาก 10 กับอีก 10 กับอีก 5 ได้ 75


50 แล้วต่อไปอีก .............................................................................
ดังนั้น 50 + 25 = 75
เป็นกลุ่มแล้วช่วยกันหาคำ�ตอบ และนำ�เสนอ
| 63
กลุ่มละ 1 ข้อ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  47
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

การตรวจสอบความเข้าใจ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน ตรวจสอบความเข้าใจ

โดยให้นักเรียนแสดงวิธีหาผลบวกโดยใช้เส้นจำ�นวน
แสดงวิธีหาผลบวกโดยใช้เส้นจำานวน

1 25 + 11 =

จากเส้นจำ�นวนที่กำ�หนดให้ตามหนังสือเรียนหน้า 64 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40

โดยครูอาจถามนักเรียนก่อนว่าแต่ละข้อควรเริ่มจาก เริ่มจาก 25 10 กับอีก 1 ได้ 36


แล้วต่อไปอีก .............................................................................

36
จำ�นวนใด เพื่อให้นักเรียนได้เน้นย้ำ�ความเข้าใจว่า
ดังนั้น 25 + 11 =

“ถ้าเริ่มจากจำ�นวนที่มากกว่า จะหาคำ�ตอบได้เร็วกว่า”
2 23 + 40 =

แล้วให้นักเรียนหาผลบวกโดยใช้เส้นจำ�นวนเป็นรายบุคคล
40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65

เริ่มจาก 40 แล้วต่อไปอีก10 กับอีก 10 กับอีก 3 ได้ 63


.............................................................................

จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง ดังนั้น 23 + 40 = 63

และสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ สิ่งที่ได้เรียนรู้
การบวกจำานวนสองจำานวนอาจหาผลบวกได้โดยใช้เส้นจำานวน

สิ่งที่ได้เรียนรู้
แบบฝึกหัด 2.1

• การบวกจำ
64 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

�นวนสองจำ�นวนอาจหาผลบวกได้โดยใช้
เส้นจำ�นวน
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 2.1 หน้า 36 - 38

2.2 การหาผลบวกโดยใช้แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ แผ่นตารางหน่วย


จุดประสงค์
หาผลบวกที่ผลบวกไม่เกิน 1,000 โดยใช้แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย

สื่อการเรียนรู้
แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

2.2 การหาผลบวกโดยใช้แผ่นตารางร้อย
แผ่นตารางสิบ แผ่นตารางหน่วย

แนวการจัดการเรียนรู้
พัฒนาความรู้

กิจกรรม หาผลบวก

การพัฒนาความรู้ อุปกรณ์ แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย


วิธีจัดกิจกรรม

1. ครูจัดกิจกรรม โดยแบ่งกลุ่มนักเรียนเป็นกลุ่ม
1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม และแจกอุปกรณ์
2. ครูสาธิตการหาผลบวกของ 232 กับ 125 โดยใช้แผ่นตารางร้อย
แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย ดังนี้

แล้วแจกแผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย


กลุ่มละ 2 ชุด ชุดละสี ครูสาธิตการหาผลบวกของ
232 กับ 125 300 กับ 50 กับ 7

232 กับ 125 โดยใช้แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ ดังนั้น 232 + 125 = 357


หรือ 357

และแผ่นตารางหน่วย ตามหนังสือเรียนหน้า 65 ดังนี้ 3. ครูกำาหนดจำานวน ครั้งละสองจำานวนให้นักเรียนหาผลบวก (ไม่มีทด)


บวกโดยใช้สื่อ

ใช้แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย


เช่น 314 กับ 272 โดยใช้แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ
และแผ่นตารางหน่วย
4. ครูและนักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง

สีเหลืองแสดงจำ�นวน 232 และใช้แผ่นตารางร้อย


| 65

แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วยสีน้ำ�เงิน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

48  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

แสดงจำ�นวน 125 แล้วนำ�แผ่นตารางร้อย ทั้งสีเหลืองและสีน้ำ�เงินมารวมกัน นับรวมกันได้ 300


นำ�แผ่นตารางสิบ ทั้งสีเหลืองและสีน้ำ�เงินมารวมกัน นับรวมกันได้ 50 และนำ�แผ่นตารางหน่วย
ทั้งสีเหลืองและสีน้ำ�เงินมารวมกัน นับรวมกันได้ 7 จะได้ ผลรวมเป็น 300 กับ 50 กับ 7
หรือ 357 ดังนั้น 232 + 125 = 357 จากนั้น ครูกำ�หนดจำ�นวนสองจำ�นวนให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม
หาผลบวกแบบไม่มีทดโดยใช้แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบและแผ่นตารางหน่วย เช่น 314 กับ 272
แล้วให้นก ั เรียนแต่ละกลุม
่ ส่งตัวแทนออกมานำ�เสนอ ครูและเพือ
่ นในห้องช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง
2. ครูอธิบายการหาผลบวกของ 127 กับ 218
โดยใช้แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

เมื่อครูสาธิตการบวกโดยการนำ�แผ่นตารางหน่วยมารวมกัน หาผลบวก

ครูควรเน้นให้นักเรียนเห็นว่า เมื่อแผ่นตารางหน่วย 127 + 218 = ตารางหน่วย 10 แผ่น เท่ากับ

ที่นำ�มารวมกันได้ครบ 10 แผ่น จะใช้แผ่นตารางสิบ 1 แผ่น


ตารางสิบ 1 แผ่น

แทนแผ่นตารางหน่วย 10 แผ่นนั้น ตามตัวอย่างใน


หนังสือเรียนหน้า 66 จากนั้นครูสาธิตการหาผลบวก
127 กับ 218 300 กับ 40 กับ 5
หรือ 345
ดังนั้น 127 + 218 = 345
ของ 263 กับ 352 ให้ใช้วิธีเดียวกัน โดยครูเน้นย้ำ�ว่า
เมื่อแผ่นตารางสิบที่นำ�มารวมกันได้ครบ 10 แผ่น จะใช้แผ่น
263 + 352 =
ตารางสิบ 10 แผ่น เท่ากับ
ตารางร้อย 1 แผ่น

ตารางร้อย 1 แผ่น แทนแผ่นตารางสิบ 10 แผ่นนั้น


ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่า “แผ่นตารางหน่วย 263 กับ 352 600 กับ 10 กับ 5
หรือ 615

10 แผ่น เท่ากับแผ่นตารางสิบ 1 แผ่น และ ดังนั้น 263 + 352 = 615

แผ่นตารางสิบ 10 แผ่นเท่ากับแผ่นตารางร้อย 1 แผ่น” 66 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันหาผลบวก
โดยใช้แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบและแผ่นตารางหน่วย หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

แล้วเติมคำ�ตอบไปทีละข้อตามหนังสือเรียน หน้า 67
หาผลบวก

1 156 + 172 =

โดยครูให้นักเรียนออกมาแสดงวิธีคิดทีละข้อ และให้นักเรียน
นำ�เสนอวิธีการนำ�แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบและ 156 กับ 172

แผ่นตารางหน่วยมารวมกัน และครูเน้นย้ำ�ว่า 156 + 172 = 328

2 285 + 107 =
“แผ่นตารางหน่วย 10 แผ่น เท่ากับแผ่นตารางสิบ
1 แผ่น และแผ่นตารางสิบ 10 แผ่นเท่ากับ 285 กับ 107

แผ่นตารางร้อย 1 แผ่น” 285 + 107 = 392

3 182 + 257 =

182 กับ 257

182 + 257 = 439

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 67

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  49
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

การตรวจสอบความเข้าใจ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยให้นักเรียน ตรวจสอบความเข้าใจ
หาผลบวก
แสดงการหาผลบวกโดยใช้แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ 1 264 + 223 = 487

และ แผ่นตารางหน่วย ตามหนังสือเรียนหน้า 68 กับ

จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง 2 164 + 171 = 335

และสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ กับ

3 235 + 355 = 590

สิ่งที่ได้เรียนรู้

กับ

การหาผลบวกของจำ�นวนสองจำ�นวนอาจหาผลบวกโดย
สิ่งที่ได้เรียนรู้
ใช้แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย การบวกจำานวนสองจำานวนอาจหาผลบวก
โดยใช้แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย

จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 2.2 หน้า 39 - 41


แบบฝึกหัด 2.2

68 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

2.3 การหาผลบวกโดยการตั้งบวกไม่มีการทด
จุดประสงค์
หาผลบวกโดยการตั้งบวกไม่มีทดที่ผลบวกไม่เกิน 1,000

สื่อการเรียนรู้
บัตรตัวเลข และบัตรคำ�

แนวการจัดการเรียนรู้
การพัฒนาความรู้
1. ครูนำ�เข้าสู่บทเรียนโดยการสนทนากับนักเรียน
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

2.3 การหาผลบวกโดยการตั้งบวกไม่มีการทด
ว่าขุนมีมะนาว 217 ผล เก็บเพิ่มอีก 62 ผล รวมมีมะนาว พัฒนาความรู้

ทั้งหมดกี่ผล ครูถามว่าจะหาคำ�ตอบได้อย่างไร มีมะนาวอยู่ในเข่ง 217 ผล เก็บเพิ่มอีก 62 ผล

นักเรียนตอบว่า นำ� 217 บวกกับ 62 ครูถามว่า


รวมมีมะนาวทั้งหมดกี่ผล เขียนเลขโดดในหลักเดียวกันให้ตรงกัน
แล้วจึงนำาจำานวนในหลักเดียวกันมาบวกกัน
217 + 62 =

จะหาผลบวกได้อย่างไรบ้าง นักเรียนอาจตอบว่า ขั้นที่ 1 บวกในหลักหน่วย


7 หน่วย บวก 2 หน่วย ได้ 9 หน่วย
ขั้นที่ 2 บวกในหลักสิบ
1 สิบ บวก 6 สิบ ได้ 7 สิบ

หาผลบวกโดยใช้แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบและ หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย

2 1 7
หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย

2 1 7
+ +

แผ่นตารางหน่วย ครูถามนักเรียนว่า จะมีวิธีอื่นในการ





6

2
9




6
7
2
9

หาผลบวกได้อีกหรือไม่ นักเรียนอาจตอบว่า หาผลบวก เขียนแสดงวิธีหาผลบวก ดังนี้


ขั้นที่ 3 บวกในหลักร้อย
2 1 7

โดยการตั้งบวก ครูถามนักเรียนว่า การหาผลบวก


+ 2 ร้อย บวก 0 ร้อย ได้ 2 ร้อย
6 2
2 7 9 หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย

โดยการตั้งบวกจะมีวิธีการตั้งบวกอย่างไร นักเรียน ดังนั้น 217 + 62 = 279


2

1
6
7
2
+

ควรตอบได้ว่า เขียนตัวเลขในหลักเดียวกันให้ตรงกัน
มีมะนาวทั้งหมด 279 ผล 2 7 9

| 69

แล้วนำ�จำ�นวนในหลักเดียวกันมาบวกกัน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

50  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

ครูติดบัตรคำ� หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย และบัตรตัวเลข 217 และ 62 บนกระดาน


โดยให้เลขโดดที่อยู่ในหลักเดียวกันตรงกัน ครูสาธิตการบวกโดยการตั้งบวกทีละขั้นตอน ดังตัวอย่าง
ในหนังสือเรียนหน้า 69 จะได้ 217 + 62 = 279 ดังนั้น ขุนมีมะนาวทั้งหมด 279 ผล
3 235 + 355 =

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

แสดงวิธีหาผลบวก
หาผลบวก
1 210 + 504 =
236 + 423 =
เขียนเลขโดดในหลักเดียวกันให้ตรงกัน
วิธีทำา
แล้วจึงนำาจำานวนในหลักเดียวกันมาบวกกัน วิธีทำา
723 + 205 = 2 1 0
2 3 6 +
+ 5 0 4
4 2 3
ขั้นที่ 1 บวกในหลักหน่วย ขั้นที่ 2 บวกในหลักสิบ 7 1 4
6 5 9
3 หน่วย บวก 5 หน่วย ได้ 8 หน่วย 2 สิบ บวก 0 สิบ ได้ 2 สิบ
ตอบ ๖๕๙ ตอบ ๗๑๔
หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย

7 2 3 7 2 3 2 324 + 105 = 3 619 + 110 =


+ +
2 0 5 2 0 5 วิธีทำา วิธีทำา
3 2 4 6 1 9
8 2 8 + +
1 0 5 1 1 0
4 2 9 7 2 9

เขียนแสดงวิธีหาผลบวก ดังนี้ ขั้นที่ 3 บวกในหลักร้อย ตอบ ๔๒๙ ตอบ ๗๒๙


7 2 3 7 ร้อย บวก 2 ร้อย ได้ 9 ร้อย
+
2 0 5 4 541 + 237 = 5 754 + 125 =
หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย
9 2 8 วิธีทำา วิธีทำา
7 2 3
+ 5 4 1 7 5 4
2 0 5 + +
2 3 7 1 2 5
9 2 8
7 7 8 8 7 9

ตอบ ๗๗๘ ตอบ ๘๗๙


ดังนั้น 723 + 205 = 928
70 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 71

2. ครูยกตัวอย่างจำ�นวนสามหลักบวกกับจำ�นวนสามหลักที่ไม่มีทด เช่น 723 + 205 =


ครูสาธิตการหาผลบวกโดยการตั้งบวกทีละขั้นตอนตามหนังสือเรียนหน้า 70 โดยเน้นย้ำ�ว่า ต้องเขียน
เลขโดดที่อยู่ในหลักเดียวกันให้ตรงกันแล้วนำ�จำ�นวนในหลักเดียวกัน
มาบวกกัน โดยเริ่มจากหลักหน่วย หลักสิบ และหลักร้อยตามลำ�ดับ
3. ครูยกตัวอย่าง 236 + 423 = ดังนี้ เขียนเลขโดดในหลักเดียวกันให้ตรงกัน ขัน้ ที่ 1
บวกในหลักหน่วย 6 หน่วยบวก 3 หน่วย ได้ 9 หน่วย ขั้นที่ 2 บวกในหลักสิบ 3 สิบบวก 2 สิบ
ได้ 5 สิบ ขั้นที่ 3 บวกในหลักร้อย 2 ร้อยบวก 4 ร้อยได้ 6 ร้อย ดังนั้น 236 + 423 = 659
จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกันแสดงวิธีการหาผลบวกโดยการตั้งบวกตามหนังสือเรียนหน้า 71
โดยบอกขั้นตอนการหาผลบวกทีละขั้นตอน ให้นักเรียนหาคำ�ตอบในข้อ 1 - 5 ทีละข้อ
แล้วครูแสดงวิธีคิดที่ถูกต้องทีละข้อเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป
ขั้นตอนการหาผลบวกด้วยวิธีตั้งบวก

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  51
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

การตรวจสอบความเข้าใจ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน ตรวจสอบความเข้าใจ

โดยให้นักเรียนแสดงการหาผลบวกโดยการตั้งบวก
แสดงวิธีหาผลบวก

1 52 + 543 = 2 606 + 251 =

เป็นรายบุคคลตามหนังสือเรียนหน้า 72 ถ้าพบว่า วิธีทำา วิธีทำา


5 2 6 0 6
มีนักเรียนยังหาผลบวกไม่ถูกต้อง ครูให้นักเรียน
+ +
5 4 3 2 5 1
5 9 5 8 5 7
มาฝึกเพิ่มเติมกับครูเป็นรายบุคคล จากนั้นครูและ ตอบ ๕๙๕ ตอบ ๘๕๗

นักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและสรุป
สิ่งที่ได้เรียนรู้

สิ่งที่ได้เรียนรู้ สิ่งที่ได้เรียนรู้


การหาผลบวกของจำานวนสองจำานวนโดยการตั้งบวก ต้องเขียนเลขโดด

การหาผลบวกของจำ�นวนสองจำ�นวนโดยการตั้งบวก
ในหลักเดียวกันให้ตรงกัน แล้วจึงนำาจำานวนที่อยู่ในหลักเดียวกัน
มาบวกกัน โดยเริ่มจากหลักหน่วย หลักสิบ และหลักร้อย ตามลำาดับ

ต้องเขียนเลขโดดในหลักเดียวกันให้ตรงกัน แล้วจึงนำ�
แบบฝึกหัด 2.3

72 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

จำ�นวนที่อยู่ในหลักเดียวกันมาบวกกัน โดยเริ่มจาก
หลักหน่วย หลักสิบ และหลักร้อย ตามลำ�ดับ
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 2.3 หน้า 42 - 44

2.4 การหาผลบวกโดยการตั้งบวกมีการทด (1)


จุดประสงค์
หาผลบวกโดยการตั้งบวกมีการทดที่ผลบวกไม่เกิน 1,000 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

2 .4 การหาผลบวกโดยการตั้งบวกมีการทด (1)

สื่อการเรียนรู้ พัฒนาความรู้
มีไข่อยู่แล้ว 215 ฟอง เก็บไข่เพิ่มอีก 19 ฟอง

−− แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ แผ่นตารางหน่วย 215 + 19 =


รวมแล้วมีไข่ไปขายกี่ฟอง

−− บัตรตัวเลข บัตรคำ� ขั้นที่ 1 บวกในหลักหน่วย


5 หน่วย บวก 9 หน่วย ได้ 14 หน่วย
เขียน 4 ในหลักหน่วย และทดไปหลักสิบ 1 สิบ

หรือ 1 สิบ กับ 4 หน่วย


หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย
1

แนวการจัดการเรียนรู้
2 1 5
+
1 9
4

การพัฒนาความรู้ ขั้นที่ 2 บวกในหลักสิบ ขั้นที่ 3 บวกในหลักร้อย

1. ครูสนทนาเกี่ยวกับสถานการณ์ในหนังสือเรียน 1 สิบ บวก 1 สิบ บวกกับทีท


1 สิบ ได้ 3 สิบ
่ ดมาอีก 2 ร้อย บวก 0 ร้อย ได้ 2 ร้อย

หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย


หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย

หน้า 73 เขียนประโยคสัญลักษณ์การบวกได้
1
1 2 1 5
2 1 5 +
+ 1 9
1 9

215 + 19 = ให้นักเรียนหาผลบวกโดยใช้
2 3 4
3 4

ดังนั้น 215 + 19 = 234 มีไข่ไปขาย 234 ฟอง

แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 73

ครูสาธิตการหาผลบวกโดยการตั้งบวกที่มีทด ซึ่งตัวอย่างนี้
เป็นการทดจากหลักหน่วยไปหลักสิบ ครูติดบัตรคำ�หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย และบัตรตัวเลข
215 และ 19 บนกระดาน โดยให้เลขโดดทีอ ่ ยูใ่ นหลักเดียวกันตรงกัน ครูสาธิตการบวกโดยการตัง้ บวก

52  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

ทีละขั้นตอน ขั้นที่ 1 บวกในหลักหน่วย 5 + 9 = 14 หน่วย ให้เทียบกับวิธีการหาผลบวก


โดยใช้แผ่นตาราง “เมื่อแผ่นตารางหน่วยรวมกัน 10 แผ่น จะเท่ากับแผ่นตารางสิบ 1 แผ่น และ
จะถูกนำ�ไปนับรวมกับแผ่นตารางสิบ” ดังนั้นในการบวกหลักหน่วยที่ผลบวกเป็นจำ�นวนสองหลัก
ต้องทดจำ�นวนที่ครบสิบไปหลักสิบ จากนั้นบวกในหลักสิบ ต้องนำ� 1 สิบที่ทดไว้ไปรวมกับผลบวก
ในหลักสิบด้วย ดังตัวอย่างในหนังสือเรียนหน้า 73 จะได้ 215 + 19 = 234
ดังนั้น มีไข่ไปขาย 234 ฟอง

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

แสดงวิธีหาผลบวก
หาผลบวก
เขียน 2 ในหลักสิบ และทด 1 290 + 620 =
1 ร้อยไปหลักร้อย
107 + 128 =
วิธีทำา
576 + 153 = วิธีทำา
1 2 9 0
1 0 7 +
+ 6 2 0
1 2 8
ขั้นที่ 1 บวกในหลักหน่วย ขั้นที่ 2 บวกในหลักสิบ 9 1 0
6 หน่วย บวก 3 หน่วย ได้ 9 หน่วย 7 สิบ บวก 5 สิบ ได้ 12 สิบ 2 3 5

หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย


หรือ 1 ร้อย กับ 2 สิบ ตอบ ๒๓๕ ตอบ ๙๑๐
หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย
5 7 6 1
+ 5 7 6
1 5 3 + 2 470 + 371 = 841 3 249 + 118 = 367
1 5 3
9
2 9

4 506 + 227 = 733 5 354 + 151 = 505

เขียนแสดงวิธีหาผลบวก ดังนี้ ขั้นที่ 3 บวกในหลักร้อย


1
5 7 6 5 ร้อย บวก 1 ร้อย บวกกับที่ทด
+ 6 623 + 319 = 942 7 747 + 182 = 929
1 5 3 มาอีก 1 ร้อย ได้ 7 ร้อย
7 2 9 หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย
1
5 7 6
+ 8 715 + 193 = 908 9 400 + 600 = 1,000
1 5 3
7 2 9

ดังนั้น 576 + 153 = 729

74 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 75

2. ครูยกตัวอย่าง 576 + 153 = ครูสาธิตการหาผลบวกโดยการตัง้ บวกทีม ่ ท


ี ดจากหลักสิบ
ไปหลักร้อย ขัน้ ที่ 1 บวกในหลักหน่วย 6 หน่วย บวกกับ 3 หน่วย ได้ 9 หน่วย ขัน
้ ที่ 2 บวกในหลักสิบ
7 สิบ บวก 5 สิบ ได้ 12 สิบ หรือ 1 ร้อย กับ 2 สิบ ทด 1 ร้อยไปรวมกับหลักร้อย ขั้นที่ 3
บวกในหลักร้อย 5 ร้อย บวก 1 ร้อย รวมกับที่ทดอีก 1 ร้อย ได้ 7 ร้อย ดังนั้น 576 + 153 = 729
3. ครูยกตัวอย่าง 107 + 128 = หาผลบวกโดยการตั้งบวกทีละขั้นตอน ดังนี้
บวกในหลักหน่วย 7 หน่วย บวก 8 หน่วย ได้ 15 หน่วย นำ� 1 สิบ ไปทดไว้ในหลักสิบ บวกในหลักสิบ
0 สิบ บวก 2 สิบ บวกกับที่ทดมาอีก 1 สิบ ได้ 3 สิบ บวกในหลักร้อย 1 ร้อยบวก 1 ร้อย
ได้ 2 ร้อย ดังนั้น 107 + 128 = 235 จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกันแสดงวิธีการหาผลบวก
โดยการตั้งบวกตามหนังสือเรียนหน้า 75 โดยบอกขั้นตอนการหาผลบวกทีละขั้นตอน ให้นักเรียน
หาคำ�ตอบในข้อ 1 – 5 ทีละข้อ แล้วครูแสดงวิธีคิดที่ถูกต้องทีละข้อเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปขั้นตอนการหาผลบวกด้วยวิธีตั้งบวก ครูเน้นย้ำ�ว่า ถ้าผลบวก
ในหลักหน่วยเป็น 1 สิบ หรือมากกว่า 1 สิบ ต้องทด 1 สิบ ไปรวมกับจำ�นวนในหลักสิบ หรือถ้า
ผลบวกในหลักสิบเป็น 1 ร้อยหรือมากกว่า 1 ร้อย ต้องทด 1 ร้อยไปรวมกับจำ�นวนในหลักร้อย

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  53
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

การตรวจสอบความเข้าใจ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยให้นักเรียน ตรวจสอบความเข้าใจ

แสดงการหาผลบวกโดยการตั้งบวกเป็นรายบุคคล
แสดงวิธีหาผลบวก

ตามหนังสือเรียนหน้า 76 ถ้าพบว่ามีนักเรียนยัง
1 64 + 581 = 645 2 265 + 427 = 692

หาผลบวกไม่ถูกต้อง ครูให้นักเรียนมาฝึกเพิ่มเติมกับครู 3 529 + 178 = 707 4 700 + 300 = 1,000

เป็นรายบุคคล จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบ
ความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
สิ่งที่ได้เรียนรู้
การหาผลบวกของจำานวนสองจำานวนโดยการตั้งบวก ต้องเขียนเลขโดด

สิ่งที่ได้เรียนรู้
ในหลักเดียวกันให้ตรงกัน แล้วจึงนำาจำานวนทีอ่ ยูใ่ นหลักเดียวกันมาบวกกัน
โดยเริ่มจากหลักหน่วย หลักสิบ และหลักร้อย ตามลำาดับ

• การหาผลบวกของจำ
ถ้าผลบวกในหลักหน่วยเป็น 1 สิบ หรือมากกว่า 1 สิบ ต้องทด 1 สิบ

�นวนสองจำ�นวนโดยการตั้งบวก ไปรวมกับจำานวนในหลักสิบ
ถ้าผลบวกในหลักสิบเป็น 1 ร้อย หรือมากกว่า 1 ร้อย ต้องทด 1 ร้อย
ไปรวมกับจำานวนในหลักร้อย
ต้องเขียนเลขโดดในหลักเดียวกันให้ตรงกัน แล้วจึงนำ�
จำ�นวนที่อยู่ในหลักเดียวกันมาบวกกัน โดยเริ่มจาก
แบบฝึกหัด 2.4

76 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หลักหน่วย หลักสิบ และหลักร้อย ตามลำ�ดับ


−− ถ้าผลบวกในหลักหน่วยเป็น 1 สิบ หรือมากกว่า 1 สิบ ต้องทด 1 สิบ ไปรวมกับจำ�นวนในหลักสิบ
−− ถ้าผลบวกในหลักสิบเป็น 1 ร้อยหรือมากกว่า 1 ร้อย ต้องทด 1 ร้อยไปรวมกับจำ�นวนในหลักร้อย
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 2.4 หน้า 45 - 47

2.5 การหาผลบวกโดยการตั้งบวกมีการทด (2)


จุดประสงค์
หาผลบวกโดยการตั้งบวกมีการทดที่ผลบวกไม่เกิน 1,000 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

2.5 การหาผลบวกโดยการตั้งบวกมีการทด (2)

สื่อการเรียนรู้ พัฒนาความรู้
ซื้อข้าวสาร 195 บาท อาหารกระป๋อง 279 บาท

บัตรตัวเลขและบัตรคำ� 195 + 279 =


ต้องจ่ายเงินเท่าไร

ขั้นที่ 1 บวกในหลักหน่วย ขั้นที่ 2 บวกในหลักสิบ


5 หน่วย บวก 9 หน่วย ได้ 14 หน่วย 9 สิบ บวก 7 สิบ บวกทีท ่ ดมาอีก 1 สิบ

แนวการจัดการเรียนรู้ หรือ 1 สิบ กับ 4 หน่วย


หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย
ได้ 17 สิบ หรือ 1 ร้อย กับ 7 สิบ
หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย

การพัฒนาความรู้
1 1 1
1 9 5 1 9 5
+ +
2 7 9 2 7 9
4 7 4
1. ครูสนทนาเกีย่ วกับสถานการณ์ในหนังสือเรียนหน้า เขียนแสดงวิธีหาผลบวก ดังนี้

77 เขียนประโยคสัญลักษณ์ 195 + 279 = ให้นักเรียน


1 1
1 9 5 ขั้นที่ 3 บวกในหลักร้อย
+ 1 ร้อย บวก 2 ร้อย บวกกับที่ทดมา
2 7 9
อีก 1 ร้อย ได้ 4 ร้อย
4 7 4

หาผลบวกโดยการตั้งบวก ครูถามนักเรียนว่า การหาผลบวก หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย

1
1 1
9 5
ดังนั้น 195 + 279 = 474 +
โดยการตั้งบวกต้องทำ�อย่างไร นักเรียนตอบว่า เขียนเลขโดด ต้องจ่ายเงิน 474 บาท
2
4
7
7
9
4

ในหลักเดียวกันให้ตรงกัน แล้วนำ�จำ�นวนในหลักเดียวกัน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 77

มาบวกกัน

54  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

ครูถามนักเรียนว่า เริ่มหาผลบวกจากหลักใดก่อน นักเรียนตอบว่า เริ่มบวกจากหลักหน่วย


หลักสิบและหลักร้อยตามลำ�ดับ ครูควรให้นักเรียนเป็นผู้บอกขั้นตอนในการหาผลบวกทีละขั้น
ครูสาธิตการหาผลบวกโดยการตั้งบวกที่มีทดจากหลักหน่วยไปหลักสิบและจากหลักสิบไปหลักร้อย
ครูติดบัตรคำ� หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย และบัตรตัวเลข 195 และ 279 บนกระดาน
โดยให้เลขโดดที่อยู่ในหลักเดียวกันตรงกัน ครูสาธิตการบวกโดยการตั้งบวกทีละขั้นตอน
ขั้นที่ 1 บวกในหลักหน่วย 5 หน่วย บวกกับ 9 หน่วย ได้ 14 หน่วย ผลบวกเป็นจำ�นวนสองหลัก
ต้องทดจำ�นวนที่ครบสิบไปหลักสิบ ดังนั้นต้องทด 1 สิบ ไปหลักสิบ และนำ� 1 สิบที่ทดไว้ไปรวมกับ
ผลบวกในหลักสิบ ขั้นที่ 2 บวกในหลักสิบ 9 สิบ บวก 7 สิบ บวกกับที่ทดมาอีก 1 สิบ ได้ 17 สิบ
ผลบวกเป็นจำ�นวนสองหลักต้องทดจำ�นวนที่ครบสิบไปหลักร้อย ดังนั้น ต้องทด 10 สิบ หรือ 1 ร้อย
ไปหลักร้อย และนำ� 1 ร้อย ที่ทดไว้ไปรวมกับผลบวกในหลักร้อย ขั้นที่ 3 บวกในหลักร้อย 1 ร้อย
บวก 2 ร้อย บวกกับที่ทดมาอีก 1 ร้อย ได้ 4 ร้อย ดังตัวอย่างในหนังสือเรียนหน้า 77
จะได้ 195 + 279 = 474 ดังนั้น ต้องจ่ายเงิน 474 บาท
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

แสดงวิธีหาผลบวก
หาผลบวก เขียน 0 ในหลักสิบ และทด
1 ร้อยไปหลักร้อย
1 455 + 278 =
365 + 476 =
วิธีทำา
วิธีทำา
368 + 632 = 1 1 4 5 5
3 6 5 +
+ 2 7 8
ขั้นที่ 1 บวกในหลักหน่วย ขั้นที่ 2 บวกในหลักสิบ 4 7 6
8 หน่วย บวก 2 หน่วย ได้ 10 หน่วย 6 สิบ บวก 3 สิบ บวกกับที่ทดมาอีก
7 3 3
8 4 1
หรือ 1 สิบ กับ 0 หน่วย 1 สิบ ได้ 10 สิบ หรือ 1 ร้อย กับ 0 สิบ
ตอบ ๘๔๑ ตอบ ๗๓๓
หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย
1 1 1
3 6 8 3 6 8
+ + 2 499 + 207 = 706 3 207 + 499 = 706
6 3 2 6 3 2
0 0 0

4 497 + 123 = 620 5 85 + 458 = 543

เขียนแสดงวิธีหาผลบวก ดังนี้ ขั้นที่ 3 บวกในหลักร้อย


1 1
3 6 8 3 ร้อย บวก 6 ร้อย บวกกับที่ทดมาอีก 1 ร้อย
+ 6 872 + 99 = 971 7 458 + 85 = 543
6 3 2 ได้ 10 ร้อย หรือ 1 พัน กับ 0 ร้อย
1 0 0 0 หลักพัน หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย
1 1
3 6 8
+ 8 756 + 244 = 1,000 9 456 + 366 = 822
6 3 2
1 0 0 0
สังเกต 499 + 207 มีผลบวกเท่ากับ 207 + 499
85 + 458 มีผลบวกเท่ากับ 458 + 85
ดังนั้น 368 + 632 = 1,000 เขียน 1 ที่ผลบวกในหลักพัน
จำานวนสองจำานวนบวกกันเมื่อสลับที่กันผลบวกยังคงเท่าเดิม

78 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 79

2. ครูยกตัวอย่างการหาผลบวกของจำ�นวนสองจำ�นวนที่มีผลบวกเป็น 1,000 เช่น


368 + 632 = ซึ่งในตัวอย่างนี้ต้องมีการทดจำ�นวนที่ครบสิบในหลักร้อย คือ 10 ร้อย
หรือ 1 พัน ไปหลักพัน ตามหนังสือเรียนหน้า 78
3. ครูให้นักเรียนช่วยกันหาผลบวกโดยการตั้งบวกจากตัวอย่าง 365 + 476 =
ในหนังสือเรียนหน้า 79 โดยครูใช้การถาม-ตอบในการหาผลบวกในแต่ละหลัก เช่น
5 หน่วย บวก 6 หน่วย ได้กี่หน่วย แล้วต้องทดไปหลักสิบเท่าไร
6 สิบ บวก 7 สิบ รวมกับที่ทดไว้อีก 1 สิบ ได้เท่าไร แล้วต้องทดไปหลักร้อยเท่าไร
3 ร้อย บวก 4 ร้อย รวมกับที่ทดไว้อีก 1 ร้อย ได้เท่าไร แล้วคำ�ตอบเป็นเท่าไร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  55
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

ให้นักเรียนหาคำ�ตอบในข้อ 1 – 9 ทีละข้อ แล้วครูแสดงวิธีคิดที่ถูกต้องทีละข้อเพื่อตรวจสอบ


ความถูกต้อง ครูควรให้นักเรียนสังเกตการสลับที่ของการบวกในข้อ 2 กับ ข้อ 3 และข้อ 5 กับ
ข้อ 7 และเน้นย้ำ�การบวกที่ทดไปหลักพันในข้อ 8 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปขั้นตอนการหา
ผลบวกด้วยวิธีตั้งบวก ครูเน้นย้ำ�ว่า ถ้าผลบวกในหลักหน่วยเป็น 1 สิบ หรือมากกว่า 1 สิบ
ต้องทด 1 สิบ ไปรวมกับจำ�นวนในหลักสิบ หรือถ้าผลบวกในหลักสิบเป็น 1 ร้อยหรือ
มากกว่า 1 ร้อย ต้องทด 1 ร้อยไปรวมกับจำ�นวนในหลักร้อย หรือถ้าผลบวกในหลักร้อยเป็น
1 พันหรือมากกว่า 1 พัน ต้องทด 1 พันไปอยู่ในหลักพัน

การตรวจสอบความเข้าใจ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน ตรวจสอบความเข้าใจ

โดยให้นักเรียนแสดงการหาผลบวกโดยการ แสดงวิธีหาผลบวก

ตั้งบวกเป็นรายบุคคลตามหนังสือเรียนหน้า 80 1 47 + 289 = 366 2 648 + 352 = 1,000

ถ้าพบว่ามีนักเรียนยังหาผลบวก
ไม่ถกู ต้อง ครูให้นก
ั เรียนมาฝึกเพิม
่ เติมกับครู 3 289 + 47 = 336 4 721 + 189 = 910

เป็นรายบุคคล จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกัน
ตรวจสอบความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
สิ่งที่ได้เรียนรู้

สิ่งที่ได้เรียนรู้ การหาผลบวกของจำานวนสองจำานวนโดยการตั้งบวก ต้องเขียนเลขโดด

• การหาผลบวกของจำ
ในหลักเดียวกันให้ตรงกัน แล้วจึงนำาจำานวนที่อยู่ในหลักเดียวกันมาบวกกัน
โดยเริ่มจากหลักหน่วย หลักสิบ และหลักร้อย ตามลำาดับ
�นวนสองจำ�นวนโดยการ ถ้าผลบวกในหลักหน่วยเป็น 1 สิบ หรือมากกว่า 1 สิบ ต้องทด 1 สิบ

ตั้งบวก ต้องเขียนเลขโดดในหลักเดียวกันให้
ไปรวมกับจำานวนในหลักสิบ หรือถ้าผลบวกในหลักสิบเป็น 1 ร้อย
หรือมากกว่า 1 ร้อย ต้องทด 1 ร้อย ไปรวมกับจำานวนในหลักร้อย

ตรงกัน แล้วจึงนำ�จำ�นวนที่อยู่ในหลักเดียวกัน จำานวนสองจำานวนบวกกันเมื่อสลับที่กันผลบวกยังคงเท่าเดิม

มาบวกกัน โดยเริ่มจากหลักหน่วย หลักสิบ แบบฝึกหัด 2.5

และหลักร้อย ตามลำ�ดับ 80 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

−− ถ้าผลบวกในหลักหน่วยเป็น 1 สิบ
หรือมากกว่า 1 สิบ ต้องทด 1 สิบ ไปรวมกับจำ�นวน
ในหลักสิบ หรือถ้าผลบวกในหลักสิบเป็น 1 ร้อยหรือมากกว่า 1 ร้อย ต้องทด 1 ร้อย
ไปรวมกับจำ�นวนในหลักร้อย
−− จำ�นวนสองจำ�นวนบวกกันเมื่อสลับที่กันผลบวกยังคงเท่าเดิม
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 2.5 หน้า 48 – 50

56  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

2.6 การหาผลบวกของจำ�นวนสามจำ�นวน (1)


จุดประสงค์ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

หาผลบวกของจำ�นวนสามจำ�นวน
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

2.6 การหาผลบวกของจำานวนสามจำานวน (1)

สื่อการเรียนรู้
พัฒนาความรู้

ซื้อแตงโม 5 ผล ส้มโอ 4 ผล และแอปเปิล 7 ผล


−−
ซื้อผลไม้ทั้งหมดกี่ผล

5 + 4 + 7 =
แนวการจัดการเรียนรู้
นำา 5 บวก 4 ก่อน
แล้วจึงนำาผลบวกที่ได้ไปบวก 7

การพัฒนาความรู้
5 + 4 + 7 = 9 + 7
= 16

1. ครูสนทนาเกี่ยวกับสถานการณ์ตาม 5 + 4 + 7 = 5 + 11
นำา 4 บวก 7 ก่อน
แล้วจึงนำาผลบวกที่ได้ไปบวก 5

หนังสือเรียนหน้า 81 เขียนประโยคสัญลักษณ์ = 16

5 + 4 + 7 = โดยครูถามนักเรียนว่า จะหา 5 + 4 + 7 = 12 + 4 นำา 5 บวก 7 ก่อน


แล้วจึงนำาผลบวกที่ได้ไปบวก 4
= 16

ผลบวกได้อย่างไร นักเรียนตอบ บวกทีละสอง ดังนั้น 5 + 4 + 7 = 16

จำ�นวน ครูสาธิตการบวกจำ�นวนสามจำ�นวน โดย ตอบ ซื้อผลไม้ทั้งหมด ๑๖ ผล

บวกทีละสองจำ�นวนคู่ใดก่อนก็ได้ แล้วนำ�ผลบวก การบวกจำานวนสามจำานวน จะบวกสองจำานวนใดก่อนก็ได้


แล้วจึงบวกกับจำานวนที่เหลือ ผลบวกเท่ากัน

ที่ได้ไปบวกกับจำ�นวนที่เหลือ ตามหนังสือเรียน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 81

หน้า 81 ดังนั้น 5 + 4 + 7 = 16 ครูให้นักเรียน


สังเกตว่า การบวกจำ�นวนสามจำ�นวนไม่วา่ จะ
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

บวกจำ�นวนสองจำ�นวนใดก่อน แล้วจึงบวกกับ
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

จำ�นวนที่เหลือ ผลบวกที่ได้ยังคงเท่ากัน 30 + 40 + 80 =

2. ครูให้นักเรียนหาผลบวกของจำ�นวน
สามจำ�นวน เช่น 30 + 40 + 80 = โดยให้ 30 + 40 + 80 = 70 + 80
= 150
นักเรียนเลือกว่าจะบวกสองจำ�นวนใดก่อน เมื่อ
บวกกับจำ�นวนทีเ่ หลือแล้วนำ�ผลบวกมาตรวจสอบ 30 + 40 + 80 = 30 + 120
= 150

ว่าเท่ากันหรือไม่ หากพบว่าได้ผลบวกไม่เท่ากัน
30 + 40 + 80 = 110 + 40
ให้นกั เรียนตรวจสอบการบวกอีกครัง้ ครูให้นกั เรียน = 150

สังเกตว่า ในการเลือกจำ�นวนสองจำ�นวนใด
มาบวกกันก่อน ควรเลือกจำ�นวนทีม ่ ผ
ี ลบวกครบสิบ ดังนั้น 30 + 40 + 80 = 150

หรือครบร้อย เพื่อให้ง่ายและรวดเร็วในการ
ตอบ ๑๕๐

หาคำ�ตอบ เช่น 75 + 9 + 45 = ควรเลือก หาผลบวก


1 75 + 9 + 45 = 129
75 + 45 ก่อน ซึ่ง 75 + 45 = 120 และ 2 84 + 62 + 31 = 177

120 + 9 = 129 จากนั้นให้นักเรียนช่วยกันหา 82 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ผลบวกของจำ�นวนสามจำ�นวนในกรอบท้ายหน้า 82

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  57
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

3. เมื่อนักเรียนหาผลบวกของจำ�นวนสามจำ�นวน หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ในกรอบท้ายหน้า 82 เสร็จแล้ว ครูสุ่มนักเรียนออกมา 75 + 9 + 45 =

แสดงวิธีหาผลบวกของจำ�นวนสามจำ�นวนข้อละ 3 คน 75+ 9 + 45 = 84 + 45
= 129

ครูให้นักเรียนสังเกตการหาคำ�ตอบของเพื่อนแต่ละคน และ
75+ 9 + 45 = 75 + 54
= 129

75+ 9 + 45 = 120 + 9

พิจารณาว่าเพื่อนแต่ละคนได้คำ�ตอบเท่ากันหรือไม่ ซึ่งใน = 129

การหาผลบวกของนักเรียนแต่ละคนอาจแตกต่างกัน ครูให้ ดังนั้น 75 + 9 + 45 = 129


ตอบ ๑๒๙

นักเรียนพิจารณาโจทย์ 84 + 62 + 31 = แล้วถาม 84 + 62 + 31 =

31
นักเรียนว่า จะเลือกสองจำ�นวนใดมาบวกกันก่อน นักเรียน
84 + 62 + 31 = 146 +

366 =

แต่ละคนอาจเลือกไม่เหมือนกัน ครูแนะนำ�ว่า ควรเลือก 84 93 84 + 62 + 31 = +

177 =

สองจำ�นวนที่ง่ายในการหาผลบวก เช่น อาจเลือก 62 115 62 84 + 62 + 31 = +

177
กับ 31 จะง่ายกว่าเพราะได้ผลบวกเป็นจำ�นวนสองหลัก
=

177
ดังนั้น 84 + 62 + 31 =

แล้วจึงนำ�ผลบวกไปบวกกับ 84 ซึ่งเป็นจำ�นวนสองหลัก
๑๗๗
ตอบ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 83

ได้ 177 ครูอาจให้นักเรียนแสดงวิธีหาผลบวกพร้อมอธิบาย


เหตุผลในการเลือกจำ�นวนสองจำ�นวนที่นำ�มาบวกกันก่อนแล้วบวกกับจำ�นวนที่เหลือ ซึ่งนักเรียน
อาจมีเหตุผลที่แตกต่างกัน แต่คำ�ตอบที่ได้ต้องเท่ากัน ครูเฉลยคำ�ตอบที่ถูกต้อง แล้วให้นักเรียนสังเกต
อีกครั้งว่าคำ�ตอบเท่ากันหรือไม่ ครูควรใช้คำ�ถามเพื่อให้นักเรียนสามารถสรุปได้ว่า การหาผลบวก
ของจำ�นวนสามจำ�นวน จะบวกสองจำ�นวนใดก่อนก็ได้ แล้วบวกกับจำ�นวนที่เหลือ ผลบวกเท่ากัน

การตรวจสอบความเข้าใจ
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ตรวจสอบความเข้าใจ

โดยให้นักเรียนแสดงการหาผลบวกของจำ�นวนสามจำ�นวน หาผลบวก

เป็นรายบุคคลตามหนังสือเรียนหน้า 84 ถ้าพบว่า 1 47 + 89 + 23 = 2 68 + 51 + 49 =

มีนักเรียนยังหาผลบวกไม่ถูกต้อง ครูให้นักเรียนมาฝึก 3 37 + 63 + 120 = 4 70 + 423 + 30 =

เพิ่มเติมกับครูเป็นรายบุคคล จากนั้นครูและนักเรียน 159 168

ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ 220 523

สิ่งที่ได้เรียนรู้
• การบวกจำ �นวนสามจำ�นวนจะบวกสองจำ�นวนใดก่อน
ก็ได้ แล้วบวกกับจำ�นวนที่เหลือผลบวกเท่ากัน
สิ่งที่ได้เรียนรู้
การบวกจำานวนสามจำานวนจะบวกสองจำานวนใดก่อนก็ได้
แล้วบวกกับจำานวนที่เหลือ ผลบวกเท่ากัน

จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 2.6 หน้า 51 – 52 แบบฝึกหัด 2.6

84 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

58  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

2.7 การหาผลบวกของจำ�นวนสามจำ�นวน (2)


จุดประสงค์
หาผลบวกของจำ�นวนสามจำ�นวน
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

สื่อการเรียนรู้ 2.7 การหาผลบวกของจำานวนสามจำานวน (2)

บัตรตัวเลข พัฒนาความรู้

การหาผลบวกของจำานวนสามจำานวน โดยการตั้งบวกมีขั้นตอน ดังนี้

แนวการจัดการเรียนรู้ 213 + 26 + 54 =
หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย

การพัฒนาความรู้ 1 ขั้นที่ 1 บวกในหลักหน่วย


2 1 3
3 หน่วย บวก 6 หน่วย บวก 4 หน่วย
2 6+
1. ทบทวนการหาผลบวกของจำ�นวน
ได้ 13 หน่วย หรือ 1 สิบ กับ 3 หน่วย
5 4 เขียน 3 ในหลักหน่วยทด 1 สิบ ไปหลักสิบ

สามจำ�นวน โดยการใช้คำ�ถาม เช่น นักเรียน


3

หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย

สามารถหาผลบวกของจำ�นวนสามจำ�นวน
ขั้นที่ 2 บวกในหลักสิบ
1
2 1 3
1 สิบ บวก 2 สิบ บวก 5 สิบ และบวกกับ
2 6+
ได้อย่างไร นักเรียนตอบว่า การหาผลบวก
ที่ทดมาอีก 1 สิบ ได้ 9 สิบ
5 4 เขียน 9 ในหลักสิบ

ของจำ�นวนสามจำ�นวน จะบวกสองจำ�นวนใด 9 3

หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย


ก่อนก็ได้ แล้วบวกกับจำ�นวนที่เหลือ ผลบวก 2 1 3
ขั้นที่ 3 บวกในหลักร้อย
1

2 ร้อย บวก 0 ร้อย บวก 0 ร้อย ได้ 2 ร้อย


6+
เท่ากัน ครูสุ่มนักเรียนให้ออกมาแสดงการหา
2 เขียน 2 ในหลักร้อย
5 4

ผลบวกของจำ�นวนสามจำ�นวน โดยการตั้งบวก 2 9 3 ดังนั้น 213 + 26 + 54 = 293


| 85
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เช่น 213 + 26 + 54 = นักเรียนอาจ


หาผลบวกของสองจำ�นวนก่อน แล้วไปบวกกับ
จำ�นวนที่เหลือ ครูถามนักเรียนว่า นักเรียนเลือกสองจำ�นวนใดมาบวกกันก่อน
เพราะเหตุใด นักเรียนตอบว่า เลือก 26 + 54 ก่อน เพราะจำ�นวนสองหลักบวกกับจำ�นวนสองหลัก
จะหาผลบวกได้ง่าย จากนั้นให้นักเรียนแสดงการหาคำ�ตอบ นักเรียนอาจแสดงได้ดังนี้

2 6

5 4+

8 0

2 1 3

2 9 3

ครูถามนักเรียนว่า มีวิธีหาคำ�ตอบอื่นอีกหรือไม่
ครูสาธิตการบวกจำ�นวนสามจำ�นวน โดยการตั้งบวก ตามหนังสือเรียนหน้า 85

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  59
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

แสดงวิธีหาผลบวก
หาผลบวก
416 + 28 + 9 = 1 196 + 324 + 47 =
379 + 247 + 355 =
วิธีทำา วิธีทำา
หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย 2
2 ขั้นที่ 1 บวกในหลักหน่วย 4 1 6 1 9 6
3 7 9 + +
9 หน่วย บวก 7 หน่วย บวก 5 หน่วย 2 8 3 2 4
2 4 7+ ได้ 21 หน่วย หรือ 2 สิบ กับ 1 หน่วย 4 7
9
3 5 5 เขียน 1 ในหลักหน่วยทด 2 สิบ ไปหลักสิบ 5 6 7
4 5 3
1

หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย ตอบ ๔๕๓ ตอบ ๕๖๗


1 2 ขั้นที่ 2 บวกในหลักสิบ
3 7 9
7 สิบ บวก 4 สิบ บวก 5 สิบ และบวกกับ
2 4 7+ ที่ทดมาอีก 2 สิบ ได้ 18 สิบ
3 5 5 หรือ 1 ร้อยกับ 8 สิบ เขียน 8 2 231 + 420 + 157 = 808 3 583 + 139 + 278 = 1,000

ในหลักสิบ ทด 1 ร้อยไปหลักร้อย
8 1

หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย 4 67 + 134 + 76 = 277 5 504 + 96 + 200 = 800


1 2 ขั้นที่ 3 บวกในหลักร้อย
3 7 9
3 ร้อย บวก 2 ร้อย บวก 3 ร้อย และ
2 4 7+ บวกกับที่ทดมาอีก 1 ร้อย ได้ 9 ร้อย
3 5 5 เขียน 9 ในหลักร้อย 6 89 + 121 + 375 = 585 7 345 + 355 + 109 = 809

9 8 1

ดังนั้น 379 + 247 + 355 = 981 8 715 + 85 + 200 = 1,000 9 400 + 500 + 100 = 1,000
การหาผลบวกของจำานวนสามจำานวนอาจทำาได้โดยนำาจำานวนในหลักเดียวกัน
มาบวกกัน ถ้าผลบวกในหลักใดเป็นจำานวนสองหลักให้ทดจำานวนในหลักสิบ
ไปรวมกับจำานวนในหลักถัดไปทางซ้าย

86 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 87

2. ครูสาธิตการบวกจำ�นวนสามหลักสามจำ�นวนโดยการตัง้ บวก เช่น 379 + 247 + 355 =


ตามหนังสือเรียนหน้า 86 ดังนี้ ขั้นที่ 1 บวกในหลักหน่วย 9 หน่วย บวก 7 หน่วย บวก 5 หน่วย
ได้ 21 หน่วย ผลบวกเป็นจำ�นวนสองหลักต้องทดจำ�นวนที่ครบสิบไปหลักสิบ ดังนั้นต้อง ทด 2 สิบ
ไปหลักสิบ และนำ� 2 สิบที่ทดไว้ไปรวมกับผลบวกในหลักสิบ ขั้นที่ 2 บวกในหลักสิบ 7 สิบ
บวก 4 สิบ บวก 5 สิบ บวกกับที่ทดมาอีก 2 สิบ ได้ 18 สิบ ผลบวกเป็นจำ�นวนสองหลักต้องทด
จำ�นวนที่ครบสิบไปหลักร้อย ดังนั้น ต้องทด 10 สิบ หรือ 1 ร้อยไปหลักร้อย และ นำ� 1 ร้อยที่ทดไว้
ไปรวมกับผลบวกในหลักร้อย ขั้นที่ 3 บวกในหลักร้อย 3 ร้อย บวก 2 ร้อย บวก 3 ร้อย
บวกกับที่ทดมาอีก 1 ร้อย ได้ 9 ร้อย ดังตัวอย่างในหนังสือเรียนหน้า 86 จะได้
379 + 247 + 355 = 981 ครูเน้นย้ำ�ว่า การหาผลบวกของจำ�นวนสามจำ�นวนอาจทำ�ได้
โดยนำ�จำ�นวนในหลักเดียวกันมาบวกกัน ถ้าผลบวกในหลักใดเป็นจำ�นวนสองหลักให้ทดจำ�นวน
ในหลักสิบไปรวมกับจำ�นวนในหลักถัดไปทางซ้าย
3. ครูให้นักเรียนช่วยกันหาผลบวกของจำ�นวนสามจำ�นวนโดยการตั้งบวกตามตัวอย่าง
416 + 28 + 9 = ในหนังสือเรียนหน้า 87 โดยครูใช้การถาม-ตอบในการหาผลบวก
ในแต่ละหลัก เช่น
6 หน่วย บวก 8 หน่วย บวก 9 หน่วย ได้กี่หน่วย แล้วต้องทดไปหลักสิบเท่าไร
1 สิบ บวก 2 สิบ รวมกับที่ทดไว้อีก 2 สิบ ได้เท่าไร มีทดหรือไม่
4 ร้อย บวก 0 ร้อย บวก 0 ร้อย ได้เท่าไร แล้วคำ�ตอบเป็นเท่าไร

60  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

ให้นักเรียนหาคำ�ตอบในข้อ 1 – 9 ทีละข้อ แล้วครูแสดงวิธีคิดที่ถูกต้องทีละข้อเพื่อตรวจสอบ


ความถูกต้อง ครูควรเน้นย้ำ�การบวกที่ทดไปหลักพันในข้อ 8 และข้อ 9 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป
ขั้นตอนการหาผลบวกของจำ�นวนสามจำ�นวนโดยการตั้งบวกว่า การหาผลบวกของจำ�นวน
สามจำ�นวนอาจทำ�ได้โดยนำ�จำ�นวนในหลักเดียวกันมาบวกกัน ถ้าผลบวกในหลักใดเป็นจำ�นวน
สองหลักให้ทดจำ�นวนในหลักสิบไปรวมกับจำ�นวนในหลักถัดไปทางซ้าย

การตรวจสอบความเข้าใจ
4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
โดยให้นักเรียนแสดงการหาผลบวกของจำ�นวน หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

สามจำ�นวนเป็นรายบุคคลตามหนังสือเรียน ตรวจสอบความเข้าใจ

หน้า 88 ถ้าพบว่ามีนักเรียนยังหาผลบวก หาผลบวก

ไม่ถูกต้อง ครูให้นักเรียนมาฝึกเพิ่มเติมกับครู 1 427 + 289 + 243 = 959 2 368 + 501 + 42 = 911

เป็นรายบุคคล จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกัน
3 300 + 489 + 100 = 889 4 567 + 83 + 297 = 947
ตรวจสอบความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้

สิ่งที่ได้เรียนรู้
• การหาผลบวกของจำ �นวนสามจำ�นวนโดยการ
ตั้งบวกทำ�ได้โดยนำ�จำ�นวนในหลักเดียวกัน
มาบวกกัน ถ้าผลบวกในหลักใดเป็นจำ�นวน
สิ่งที่ได้เรียนรู้
สองหลัก ให้ทดจำ�นวนในหลักสิบไปรวมกับ การหาผลบวกของจำานวนสามจำานวนโดยการตั้งบวกทำาได้โดยนำาจำานวน

จำ�นวนในหลักถัดไปทางซ้าย ในหลักเดียวกันมาบวกกัน ถ้าผลบวกในหลักใดเป็นจำานวนสองหลัก


ให้ทดจำานวนในหลักสิบไปรวมกับจำานวนในหลักถัดไปทางซ้าย

จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 2.7 แบบฝึกหัด 2.7

หน้า 53 – 55 88 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  61
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

2.8 การหาผลลบโดยใช้เส้นจำ�นวน หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

จุดประสงค์ 2.8 การหาผลลบโดยใช้เส้นจำานวน

หาผลลบที่ตัวตั้งไม่เกิน 100 โดยใช้เส้นจำ�นวน พัฒนาความรู้

25 – 10 =

สื่อการเรียนรู้
−− บัตรภาพแสดงเส้นจำ�นวน
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

เริ่มจาก 25 ถอยไป 10 ได้ 15

−− บัตรตัวเลข บัตรโจทย์
ดังนั้น 25 – 10 = 15

−− บัตรเครื่องหมายลบ 25 – 13 =

แนวการจัดการเรียนรู้ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

การพัฒนาความรู้
เริ่มจาก 25 ถอยไป 10 กับอีก 3 ได้ 12
ดังนั้น 25 – 13 = 12

1. ครูยกสถานการณ์การลบที่สอดคล้องกับ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 89

ประโยคสัญลักษณ์ 25 – 10 = เช่น ตอนออกมา


จากบ้านเด็กชาย ก นำ�เงินมา 25 บาท ซื้อขนมหน้าโรงเรียน 10 บาท เด็กชาย ก จะเหลือเงินกี่บาท
ให้นักเรียนหาคำ�ตอบ ครูควรใช้คำ�ถามเพื่อให้นักเรียนแสดงวิธีคิด หาคำ�ตอบ เช่น
−− นักเรียนสามารถหาคำ�ตอบได้อย่างไร
−− นักเรียนคิดว่ามีวิธีหาคำ�ตอบวิธีอื่นหรือไม่
ครูทบทวนการเขียนเส้นจำ�นวน อาจจะเริ่มจาก 0 หรือไม่ก็ได้ แล้วแสดงขั้นตอนการหาผลลบ
โดยการลากเส้นโค้ง ดังนี้
เริ่มจาก 25 ถอยไป 10 ได้ 15 ให้นักเรียนสังเกตว่า การลากเส้นโค้งถอยไป 10 เป็นการลด
หลักสิบไป 1 สิบ ดังนั้น 25 − 10 = 15 ครูติดบัตรโจทย์
25 − 13 = แล้วแสดงการหาผลลบโดยการลากเส้นโค้ง
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

เริม
่ จาก 25 ถอยไป 10 กับอีก 3 ได้ 12 ดังนัน้ 25 − 13 = 12 68 – 12 =

2. ครูติดบัตรโจทย์ 68 – 12 = และ
47 − 21 = ครูสุ่มนักเรียนออกมาแสดงวิธีหาผลลบ
45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70

เริ่มจาก 68 ถอยไป 10 กับอีก 2 ได้ 56

โดยใช้เส้นจำ�นวน ข้อละ 1 คน แล้วให้เพื่อนในห้อง ดังนั้น 68 – 12 = 56

ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง ดังนี้
จาก 68 − 12 = ลากเส้นโค้งเริ่มจาก 68 47 – 21 =

ถอยไป 10 ได้ 58 แล้วถอยไปอีก 2 ได้ 56


ดังนั้น 68 − 12 = 56 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50

เริ่มจาก 47 ถอยไป 10 กับอีก 10 กับอีก 1 ได้ 26

จาก 47 − 21 = ลากเส้นโค้งเริ่มจาก 47 ดังนั้น 47 – 21 = 26

ถอยไป 10 ได้ 37 ถอยไปอีก 10 ได้ 27แล้วถอยไปอีก 1 ได้ 26


90 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ดังนั้น 47 – 21 = 26

62  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

3. ครูให้นักเรียนช่วยกันหาผลลบ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

ของจำ�นวนสองจำ�นวน โดยใช้เส้นจำ�นวนทีละ
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

อธิบายการหาผลลบโดยใช้เส้นจำานวน

ข้อ ตามหนังสือเรียนหน้า 91 ครูควรใช้คำ�ถาม 1 82 – 14 =

กระตุ้นให้นักเรียนคิดหาคำ�ตอบ ดังนี้
67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82

−− เริ่มลากเส้นโค้งจากจำ�นวนใด เริ่มจาก 10 กับอีก 4 ได้ 68


82 ถอยไป ......................................................................................

−− ถอยไปเท่าไร และได้คำ�ตอบเท่าไร ดังนั้น 82 – 14 = 68

เช่น 82 − 14 = ลากเส้นโค้งเริ่มจาก 82 2 100 – 23 =

ถอยไป 10 ได้ 72 แล้วถอยไปอีก 4 ได้ 68 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100

ดังนั้น 82 − 14 = 68 เริ่มจาก 10 กับอีก 10 กับอีก 3 ได้ 77


100 ถอยไป ......................................................................................
ดังนั้น 100 – 23 = 77

ตรวจสอบความเข้าใจ 3 84 – 30 =

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84

โดยให้นักเรียนแสดงการหาผลลบของจำ�นวน เริ่มจาก 10 กับอีก 10 กับอีก 10 ได้ 54


84 ถอยไป ......................................................................................

สองจำ�นวนโดยใช้เส้นจำ�นวนเป็นรายบุคคลตาม ดังนั้น 84 – 30 = 54

หนังสือเรียนหน้า 92 ถ้าพบว่ามีนักเรียนยังหา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 91

ผลลบไม่ถูกต้อง ครูให้นักเรียนมาฝึกเพิ่มเติมกับ
ครูเป็นรายบุคคล จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกัน
ตรวจสอบความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ตรวจสอบความเข้าใจ

สิ่งที่ได้เรียนรู้
อธิบายการหาผลลบโดยใช้เส้นจำานวน


1 59 – 12 =
การลบจำ�นวนสองจำ�นวนอาจหาผลลบได้โดย
45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60

ใช้เส้นจำ�นวน เริ่มจาก 10 กับอีก 2 ได้ 47


59 ถอยไป ......................................................................................
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 2.8 ดังนั้น 59 – 12 = 47

หน้า 56 − 58 2 65 – 25 =

35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65

เริ่มจาก 10 กับอีก 10 กับอีก 5 ได้ 40


65 ถอยไป ......................................................................................
ดังนั้น 65 – 25 = 40

สิ่งที่ได้เรียนรู้
การลบจำานวนสองจำานวนอาจหาผลลบได้โดยใช้เส้นจำานวน

แบบฝึกหัด 2.8

92 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  63
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

2.9 การหาผลลบโดยแผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย


จุดประสงค์
หาผลลบที่ตัวตั้งไม่เกิน 1,000 โดยใช้แผ่น หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

ตารางร้อย แผ่นตารางสิบ แผ่นตารางหน่วย


บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

2.9 การหาผลลบโดยใช้แผ่นตารางร้อย
แผ่นตารางสิบ แผ่นตารางหน่วย
สื่อการเรียนรู้ พัฒนาความรู้

−− แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ กิจกรรม หาผลลบ


อุปกรณ์ แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย

แผ่นตารางหน่วย วิธีจัดกิจกรรม
1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม และแจกอุปกรณ์
−− บัตรโจทย์ 2. ครูสาธิตการหาผลลบของ 219 กับ 118 โดยใช้แผ่นตารางร้อย
แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย ดังนี้

แนวการจัดการเรียนรู้
การพัฒนาความรู้
1. ครูให้นักเรียนทำ�กิจกรรมหาผลลบ ดังนั้น 219 – 118 = 101
ให้นักเรียนสังเกตว่า 101 + 118 = 219
ตามหนังสือเรียนหน้า 93 โดยแบ่งนักเรียน
ลบโดยใช้สื่อ

3. ครูกาำ หนดจำานวน ครัง้ ละสองจำานวน ให้นก


ั เรียนหาผลลบ (ไม่มก
ี ารกระจาย)
เป็นกลุ่ม และแจกอุปกรณ์กลุ่มละ 1 ชุด

เช่น 314 กับ 212 โดยใช้แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบและแผ่นตารางหน่วย
พร้อมทั้งให้นักเรียนสังเกตว่า ผลลบบวกตัวลบเท่ากับตัวตั้ง

ครูติดบัตรโจทย์ 219 − 118 = แล้ว 4. ครูและนักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง

ถามนักเรียนว่าจะหาคำ�ตอบได้อย่างไร ครูสาธิต | 93
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

การหาผลลบโดยใช้แผ่นตารางร้อย แผ่นตาราง
สิบ และแผ่นตารางหน่วยในการหาคำ�ตอบ ดังนี้
ครูแสดงจำ�นวน 219 ด้วยแผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย ครูถามนักเรียนว่า
−− 219 ลบด้วย 118 หมายความว่าอย่างไร
−− 219 เอาออก 118 จะเหลือเท่าไร มีวิธีหาคำ�ตอบได้อย่างไร
นักเรียนตอบว่า ต้องนำ�แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย ที่แสดงจำ�นวน
118 ออกไปจากแผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย ที่แสดงจำ�นวน 219
แล้วผลลบนับได้จากแผ่นตารางที่เหลือ จากนั้นครูถามนักเรียนว่า ต้องนำ�แผ่นตารางร้อย
แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย ออกไปอย่างละกี่แผ่น ครูแสดงการลบโดยการเอา
แผ่นตารางร้อยออก 1 แผ่น แผ่นตารางสิบออก 1 แผ่น และแผ่นตารางหน่วยออก 8 แผ่น ผลลบคือ
แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย ที่เหลืออยู่ ครูให้นักเรียนนับแผ่นตารางร้อย
แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วยที่เหลือ จะได้ แผ่นตารางร้อย 1 แผ่น แผ่นตารางสิบ 0 แผ่น
และแผ่นตารางหน่วย 1 แผ่น ซึ่งแสดงจำ�นวน 101 ดังนั้น 219 − 118 = 101 ครูให้นักเรียน
ตรวจสอบว่า 101 + 118 = 219 หรือไม่ครูกำ�หนดจำ�นวนครั้งละ 2 จำ�นวน เช่น 314 กับ 212
ให้นักเรียนหาผลลบโดยไม่มีการกระจาย และให้สังเกตว่าผลลบบวกกับตัวลบเท่ากับตัวตั้ง

64  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

2. ครูติดบัตรโจทย์ 350 − 237 = ซึ่งเป็นการลบที่มีการกระจาย ครูสาธิตการลบ


โดยใช้แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย ดังนี้ ครูแสดงจำ�นวน 350
ด้วยแผ่นตารางร้อย 3 แผ่น แผ่นตารางสิบ 5 แผ่น
ครูถามนักเรียนว่า
−− 350 ลบด้วย 237 หมายความว่าอย่างไร
−− 350 เอาออก 237 จะเหลือเท่าไร มีวิธีหาคำ�ตอบได้อย่างไร
นักเรียนตอบว่า ต้องนำ�แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย ที่แสดงจำ�นวน
237 ออกไปจากแผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย ที่แสดงจำ�นวน 350 แล้ว
ผลลบนับได้จากแผ่นตารางที่เหลือ จากนั้นครูถามนักเรียนว่า ต้องนำ�แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ
และแผ่นตารางหน่วย ออกไปอย่างละกี่แผ่น
ครูแสดงการลบโดยการเอาแผ่นตารางร้อย หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ออก 2 แผ่น แผ่นตารางสิบออก 3 แผ่น หาผลลบ

และแผ่นตารางหน่วยออก 7 แผ่น แต่เนื่องจาก กระจายแผ่นตารางสิบ 1 แผ่น เป็นแผ่นตารางหน่วย 10 แผ่น


350 – 237 =
แผ่นตารางหน่วยที่แสดงจำ�นวน 350 มี 0 แผ่น
จึงต้องกระจายแผ่นตารางสิบมา 1 แผ่น
ได้แผ่นตารางหน่วย 10 แผ่นก่อน แล้วจึงเอา
ดังนั้น 350 – 237 = 113 สังเกต 113 + 237 = 350

แผ่นตารางหน่วยออก 7 แผ่น ผลลบคือ ผลลบบวกตัวลบเท่ากับตัวตั้ง

แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และ หาผลลบ


กระจายแผ่นตารางร้อย 1 แผ่น
1 418 – 172 = เป็นแผ่นตารางสิบ 10 แผ่น

แผ่นตารางหน่วยที่เหลืออยู่ ครูให้นักเรียนนับ
แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และ
แผ่นตารางหน่วยที่เหลือจะได้ แผ่นตารางร้อย ดังนั้น 418 – 172 = 246
กระจายแผ่นตารางสิบ 1 แผ่น
เป็นแผ่นตารางหน่วย 10 แผ่น
1 แผ่น แผ่นตารางสิบ 1 แผ่น และ
2 351 – 244 =

แผ่นตารางหน่วย 3 แผ่น ซึ่งแสดงจำ�นวน 113


ดังนั้น 350 − 237 = 113 ครูให้นักเรียน ดังนั้น 351 – 244 = 107

ตรวจสอบว่า 113 + 237 = 350 หรือไม่ 94 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ครูให้นักเรียนช่วยกันหาผลลบโดยใช้
แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และ
แผ่นตารางหน่วยในกรอบท้ายหน้า 94 และตรวจสอบว่า ผลลบบวกกับตัวลบเท่ากับตัวตั้งหรือไม่
จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  65
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

3. ใช้วิธีจัดกิจกรรมเหมือนหน้า 94 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

แต่เน้นให้นักเรียนกระจายแผ่นตารางร้อย
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

หาผลลบ
1 แผ่น เป็นแผ่นตารางสิบ 10 แผ่น
กระจายแผ่นตารางร้อย 1 แผ่น เป็นแผ่นตารางสิบ 10 แผ่น

ครูให้นักเรียนช่วยกันหาผลลบโดยใช้ 310 – 190 =

แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และ


แผ่นตารางหน่วยในกรอบท้ายหน้า 95
และตรวจสอบว่า ผลลบบวกกับตัวลบ
สังเกต 120 + 190 = 310
ดังนั้น 310 – 190 = 120
ผลลบบวกตัวลบเท่ากับตัวตั้ง

เท่ากับตัวตั้ง หรือไม่ จากนั้นครูและนักเรียน หาผลลบ


กระจายแผ่นตารางร้อย 1 แผ่น

ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง 1 327 – 254 = เป็นแผ่นตารางสิบ 10 แผ่น

ตรวจสอบความเข้าใจ ดังนั้น 327 – 254 = 73 กระจายแผ่นตารางร้อย 1 แผ่น


เป็นแผ่นตารางสิบ 10 แผ่น

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน 2 423 – 167 =


และกระจายแผ่นตารางสิบ 1 แผ่น
เป็นแผ่นตารางหน่วย 10 แผ่น

โดยให้นักเรียนแสดงการหาผลลบของจำ�นวน
สองจำ�นวนโดยใช้แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ
ดังนั้น 423 – 167 = 256
และแผ่นตารางหน่วยเป็นรายบุคคลตาม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 95

หนังสือเรียนหน้า 96 ถ้าพบว่ามีนักเรียน
ยังหาผลลบไม่ถูกต้อง ครูให้นักเรียน
มาฝึกเพิ่มเติมกับครูเป็นรายบุคคล จากนั้นครู
และนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ตรวจสอบความเข้าใจ
และสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
หาผลลบ

1 216 – 113 = 103

สิ่งที่ได้เรียนรู้
• การลบจำ �นวนสองจำ�นวนอาจหาผลลบ
โดยใช้แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ
2 341 – 228 = 113

และแผ่นตารางหน่วย

• ผลลบบวกตัวลบเท่ากับตัวตั้ง
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 2.9
3 425 – 372 = 53

หน้า 59 − 60

สิ่งที่ได้เรียนรู้
การลบจำานวนสองจำานวนอาจหาผลลบโดยใช้แผ่นตารางร้อย
แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย
ผลลบบวกตัวลบเท่ากับตัวตั้ง
แบบฝึกหัด 2.9

96 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

66  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

2.10 การหาผลลบโดยการตัง้ ลบไม่มก


ี ารกระจาย หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

จุดประสงค์ 2.10 การหาผลลบโดยการตั้งลบไม่มีการกระจาย

หาผลลบโดยการตั้งลบไม่มีการกระจายที่ตัวตั้ง พัฒนาความรู้

ต้นกล้ามีเงิน 198 บาท ซื้อลูกชิ้น 75 บาท

ไม่เกิน 1,000 ต้นกล้าเหลือเงินกี่บาท เขียนเลขโดดในหลักเดียวกันให้ตรงกัน


แล้วจึงนำาจำานวนในหลักเดียวกันมาลบกัน
198 – 75 =

ขั้นที่ 1 ลบในหลักหน่วย ขั้นที่ 2 ลบในหลักสิบ

สื่อการเรียนรู้ 8 หน่วย ลบด้วย 5 หน่วย ได้ 3 หน่วย


หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย
9 สิบ ลบด้วย 7 สิบ ได้ 2 สิบ
หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย

บัตรตัวเลขและบัตรคำ�
1 9 8 1 9 8
– –
7 5 7 5
3 2 3

เขียนแสดงวิธีหาผลลบ ดังนี้ ขั้นที่ 3 ลบในหลักร้อย

แนวการจัดการเรียนรู้ 1 9 8
7 5

1 ร้อย ลบด้วย 0 ร้อย ได้ 1 ร้อย
ลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย

การพัฒนาความรู้
1 2 3 1 9 8

7 5
ดังนั้น 198 – 75 = 123
1 2 3
1. ครูนำ�เข้าสู่บทเรียนโดยการสนทนากับนักเรียน สังเกต 123 + 75 = 198
ต้นกล้าเหลือเงิน 123 บาท

ว่า ต้นกล้ามีเงิน 198 บาท ซื้อลูกชิ้น 75 บาท ต้นกล้า


ผลลบบวกตัวลบเท่ากับตัวตั้ง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 97

เหลือเงินกี่บาท ซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ต้องใช้การลบ
ครูถามนักเรียนว่าจะหาคำ�ตอบได้อย่างไร นักเรียนตอบว่า
นำ� 198 ลบด้วย 75 ครูถามว่าจะหาผลลบได้อย่างไรบ้าง นักเรียนอาจตอบว่าหาผลลบโดยใช้
แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบและแผ่นตารางหน่วย ครูถามนักเรียนว่า จะมีวิธีอื่นในการหาผลลบ
ได้อีกหรือไม่ นักเรียนอาจตอบว่าหาผลลบโดยการตั้งลบครูถามนักเรียนว่า การหาผลลบโดยการ
ตั้งลบจะมีวิธีการตั้งลบอย่างไร นักเรียนตอบว่าเขียนเลขโดดในหลักเดียวกันให้ตรงกัน แล้วนำ�
จำ�นวนในหลักเดียวกันมาลบกัน ครูติดบัตรคำ� หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย และบัตรตัวเลข
198 และ 75 บนกระดาน โดยให้เลขโดดที่อยู่ในหลักเดียวกันตรงกัน ครูสาธิตการลบโดยการตั้งลบ
ทีละขั้นตอน ดังตัวอย่างในหนังสือเรียนหน้า 97
จะได้ 198 − 75 = 123 ดังนั้น ต้นกล้าเหลือเงิน
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

123 บาท หาผลลบ

เขียนเลขโดดในหลักเดียวกันให้ตรงกัน

2. ครูยกตัวอย่างจำ�นวนสามหลักลบด้วยจำ�นวน
แล้วจึงนำาจำานวนในหลักเดียวกันมาลบกัน
597 – 216 =

สามหลักที่ไม่มีทด เช่น 597 − 216 = ครูสาธิต


ขั้นที่ 1 ลบในหลักหน่วย ขั้นที่ 2 ลบในหลักสิบ
7 หน่วย ลบด้วย 6 หน่วย ได้ 1 หน่วย 9 สิบ ลบด้วย 1 สิบ ได้ 8 สิบ

หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย

การหาผลลบโดยการตั้งลบทีละขั้นตอน ตามหนังสือเรียน 5 9 7

5 9 7

2 1 6 2 1 6

หน้า 98 โดยเน้นย้ำ�ว่า การเขียนตัวเลขในการตั้งลบ 1 8 1

ต้องเขียนเลขโดดที่อยู่ในหลักเดียวกันให้ตรงกัน เขียนแสดงวิธีหาผลลบ ดังนี้


5 9 7 ขั้นที่ 3 ลบในหลักร้อย

5 ร้อย ลบด้วย 2 ร้อย ได้ 3 ร้อย
แล้วนำ�จำ�นวนในหลักเดียวกันมาลบกัน
2 1 6
3 8 1 หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย

5 9 7

2 1 6
3 8 1

ดังนั้น 597 – 216 = 381


สังเกต 381 + 216 = 597
ผลลบบวกตัวลบเท่ากับตัวตั้ง

98 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  67
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

3. ครูยกตัวอย่าง 497 − 23 = ดังนี้ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

เขียนเลขโดดในหลักเดียวกันให้ตรงกัน หาผลลบ

497 – 23 = 986 – 452 =

ขั้นที่ 1 ลบในหลักหน่วย 7 หน่วยลบด้วย 3 หน่วย วิธีทำา


4 9 7
วิธีทำา
9 8 6

ได้ 4 หน่วย
– –
2 3 4 5 2

4 7 4 5 3 4

ขั้นที่ 2 ลบในหลักสิบ 9 สิบลบด้วย 2 สิบ ตอบ ๔๗๔ ตอบ ๕๓๔

ได้ 7 สิบ 1 469 – 58 =


วิธีทำา
2 597 – 286 =
วิธีทำา
4 6 6 5 9 7
ขั้นที่ 3 ลบในหลักร้อย 4 ร้อยลบด้วย 0 ร้อย 5 8

2 8 6

ได้ 4 ร้อย 4 1
๔๑๑ตอบ
1
ตอบ
3
๓๑๑
1 1

ดังนั้น 497 − 23 = 474 จากนั้นครูยกตัวอย่าง 3 129 – 5 = 4 674 – 324 =


วิธีทำา วิธีทำา

ที่ 2 986 − 452 = ให้นักเรียนช่วยกันแสดงวิธี 1 2 9



6 7 4

5 3 2 4
หาผลลบโดยการตั้งลบ ทำ�นองเดียวกับตัวอย่างที่ 1 1 2 4 3 5 0
๑๒๔ตอบ ตอบ ๓๕๐
โดยบอกขั้นตอนการหาผลลบทีละขั้นตอน แล้วครู สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 99

ให้นักเรียนหาผลลลบ ข้อ 1 - 4 ทีละข้อ ตามหนังสือเรียน


หน้า 99 ครูแสดงวิธีคิดที่ถูกต้องทีละข้อเพื่อตรวจสอบ
ความถูกต้อง ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปขั้นตอนการหาผลลบโดยการตั้งลบ

การตรวจสอบความเข้าใจ
4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน โดยให้นักเรียนแสดงการหาผลลบโดยการตั้งลบ
เป็นรายบุคคล ตามหนังสือเรียนหน้า 100 ถ้าพบว่ามีนักเรียนยังหาผลลบไม่ถูกต้อง
ครูให้นักเรียนมาฝึกเพิ่มเติมกับครูเป็นรายบุคคล จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบ
ความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ตรวจสอบความเข้าใจ
สิ่งที่ได้เรียนรู้
• การหาผลลบโดยการตั
แสดงวิธีหาผลลบ

้งลบ ต้องเขียนเลขโดด 1 475 – 214 = 2 693 – 421 =


วิธีทำา วิธีทำา

ในหลักเดียวกันให้ตรงกัน แล้วจึงนำ�จำ�นวน 4 7 5

6 9 3

2 1 4 4 2 1
ที่อยู่ในหลักเดียวกันมาลบกัน 2 6 1 2 7 2
๒๖๑ ๒๗๒
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 2.10
ตอบ ตอบ

หน้า 61 − 63

สิ่งที่ได้เรียนรู้
การหาผลลบโดยการตั้งลบ ต้องเขียนเลขโดดในหลักเดียวกันให้ตรงกัน
แล้วจึงนำาจำานวนที่อยู่ในหลักเดียวกันมาลบกัน

แบบฝึกหัด 2.10

100 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

68  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

2.11 การหาผลลบโดยการตั้งลบมีการกระจาย (1)


จุดประสงค์
หาผลลบโดยการตั้งลบมีการกระจายหนึ่งหลัก หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

ที่ตัวตั้งไม่เกิน 1,000
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

2.11 การหาผลลบโดยการตั้งลบมีการกระจาย (1)

สื่อการเรียนรู้
พัฒนาความรู้
มีนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ทั้งหมด 325 คน เป็นนักเรียนชาย 119 คน

−− แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบและ เป็นนักเรียนหญิงกี่คน


325 – 119 =

แผ่นตารางหน่วย ขั้นที่ 1 ลบในหลักหน่วย หลักสิบ 2 สิบ กระจายไป 1 สิบ เหลือ 1 สิบ


ตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบ จึงต้องกระจาย หลักหน่วย 5 หน่วย กับที่กระจายมา 1 สิบ
−− บัตรตัวเลขและบัตรคำ� จากหลักสิบไปหลักหน่วย หรือ 10 หน่วย รวมเป็น 15 หน่วย

หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย


1 15
3 2 5

แนวการจัดการเรียนรู้ 1

1

9
6

การพัฒนาความรู้ ขั้นที่ 2 ลบในหลักสิบ ขั้นที่ 3 ลบในหลักร้อย

1. ครูสนทนาเกี่ยวกับสถานการณ์ ใน 1 สิบ ลบด้วย 1 สิบ ได้ 0 สิบ


หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย
3 ร้อย ลบด้วย 1 ร้อย ได้ 2 ร้อย
หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย

หนังสือเรียนหน้า 101 เขียนประโยคสัญลักษณ์ 3 2 5



1
3
15
2 5

1 15

1 1 9 1 1 9
แล้วทบทวนการหาผลลบโดยใช้แผ่นตารางร้อย 0 6 2 0 6

แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย เช่น ดังนั้น 325 – 119 = 206


สังเกต 206 + 119 = 325
เป็นนักเรียนหญิง 206 คน

325 − 119 = ให้นักเรียนหาผลลบ


ผลลบบวกตัวลบเท่ากับตัวตั้ง

| 101
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โดยใช้แผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และ


แผ่นตารางหน่วย ครูสาธิตการหาผลลบ
โดยการตัง้ ลบทีม่ กี ารกระจาย ซึง่ ในตัวอย่างนีจ้ ะเป็นการกระจายจากหลักสิบไปหลักหน่วย ครูตด ิ บัตรคำ�
หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย และ บัตรตัวเลข 325 และ 119 บนกระดาน โดยให้เลขโดดที่อยู่ใน
หลักเดียวกันตรงกัน ครูสาธิตการลบโดยการตั้งลบทีละขั้นตอน ขั้นที่ 1 ลบในหลักหน่วย 5 หน่วย
ลบด้วย 9 หน่วย ตัวตั้งน้อยกกว่าตัวลบ เมื่อเทียบกับวิธีการหาผลลบโดยใช้แผ่นตาราง “เมื่อแผ่น
ตารางหน่วยของตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบ จึงต้องกระจายแผ่นตารางสิบมา 1 แผ่น ได้แผ่นตารางหน่วย
10 หน่วย รวมกับแผ่นตารางหน่วยที่มีอยู่เดิม 5 หน่วย เป็น 15 หน่วย แล้วจึงเอาออกไป 9 หน่วย
ได้ผลลบเป็น 6 หน่วย” ดังนั้นการลบในหลักหน่วย 15 − 9 ได้ 6 หน่วย ขั้นที่ 2 ลบในหลักสิบ
2 สิบที่เป็นตัวตั้งกระจายไปแล้ว 1 สิบ เหลือ 1 สิบ ลบด้วย 1 สิบที่เป็นตัวลบ ได้ 0 สิบ ขั้นที่ 3
ลบในหลักร้อย 3 ร้อย ลบด้วย 1 ร้อย ได้ 2 ร้อย ดังตัวอย่างในหนังสือเรียนหน้า 101 จะได้
325 − 119 = 206 ดังนั้น เป็นนักเรียนหญิง 206 คน ครูให้นักเรียนสังเกตว่า ผลลบบวกตัวลบ
เท่ากับตัวตั้ง ดังนั้น 206 + 119 = 325 ครูเน้นย้ำ�ว่า การหาผลลบโดยการตั้งลบ เขียนเลขโดด
ในหลักเดียวกันให้ตรงกัน แล้วนำ�จำ�นวนในแต่ละหลักมาลบกัน โดยเริ่มจากหลักหน่วย หลักสิบ
และหลักร้อย ตามลำ�ดับ ถ้าเลขโดดในหลักหน่วยของตัวตั้งมีค่าน้อยกว่าเลขโดดในหลักหน่วย
ของตัวลบ ต้องกระจายจำ�นวนจากหลักสิบไปหลักหน่วย

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  69
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

หาผลลบ หาผลลบ

หลักร้อย 2 ร้อย กระจายไป 1 ร้อย เหลือ 1 ร้อย


หลักสิบ 6 สิบ กับที่กระจายมา 1 ร้อย หรือ 10 สิบ รวมเป็น 16 สิบ 437 – 92 = 290 – 152 =
วิธีทำา วิธีทำา
3 13 8 10
264 – 191 = 4 3 7 2 9 0
– –
9 2 1 5 2
ขั้นที่ 1 ลบในหลักหน่วย ขั้นที่ 2 ลบในหลักสิบ
4 หน่วย ลบด้วย 1 หน่วย ได้ 3 หน่วย ตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบ จึงต้องกระจาย 3 4 5 1 3 8
จากหลักร้อยไปหลักสิบ ตอบ ๓๔๕ ตอบ ๑๓๘
หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย
หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย
2 6 4 1 16
– 2 6 4
1 9 1 –
1 9 1
3 1 263 – 207 = 56 2 600 – 320 = 280
7 3

เขียนแสดงวิธีหาผลลบ ดังนี้
1 16 ขั้นที่ 3 ลบในหลักร้อย 3 706 – 215 = 491 4 547 – 286 = 261
2 6 4
– 1 ร้อย ลบด้วย 1 ร้อย ได้ 0 ร้อย
1 9 1
7 3 หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย
1 16
2 6 4 5 129 – 89 = 40 6 216 – 176 = 40

1 9 1
0 7 3
ดังนั้น 264 – 191 = 73
7 809 – 113 = 696 8 697 – 689 = 8

สังเกต 73 + 191 = 264


ผลลบบวกตัวลบเท่ากับตัวตั้ง

102 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 103

2. ครูยกตัวอย่าง 264 − 191 = ครูสาธิตการหาผลลบโดยการตั้งลบที่มีการกระจาย


จากหลักร้อยไปหลักสิบ ขั้นที่ 1 ลบในหลักหน่วย 4 หน่วย ลบด้วย 1 หน่วย ได้ 3 หน่วย
ขั้นที่ 2 ลบในหลักสิบ 6 สิบลบด้วย 9 สิบ ตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบ จึงต้องกระจาย 1 ร้อยจากหลักร้อย
มา 10 สิบ รวมกับ ตัวตัง้ 6 สิบได้ 16 สิบ ลบด้วย 9 สิบ ได้ 7 สิบ ขัน
้ ที่ 3 ลบในหลักร้อย ตัวตัง้ 2 ร้อย
กระจายไปแล้ว 1 ร้อย เหลือ 1 ร้อย ลบด้วย 1 ร้อย ได้ 0 ร้อย ดังนั้น 264 − 191 = 73
ครูให้นักเรียนสังเกตว่า 73 + 191 = 264 ดังนั้น ผลลบบวกตัวลบเท่ากับตัวตั้ง ครูเน้นย้ำ�ว่า
การหาผลลบโดยการตั้งลบ เขียนเลขโดดในหลักเดียวกันให้ตรงกัน แล้วนำ�จำ�นวนในแต่ละหลัก
มาลบกัน โดยเริ่มจากหลักหน่วย หลักสิบ และหลักร้อย ตามลำ�ดับ ถ้าเลขโดดในหลักสิบ
ของตัวตั้งมีค่าน้อยกว่าเลขโดดในหลักสิบของตัวลบ ต้องกระจายจำ�นวนจากหลักร้อยไปหลักสิบ
3. ครูยกตัวอย่าง 437 − 92 = หาผลลบโดยการตัง้ ลบทีละขัน ้ ตอน ดังนี้ ลบในหลักหน่วย
7 หน่วย ลบด้วย 2 หน่วย ได้ 5 หน่วย ลบในหลักสิบ ตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบ จึงกระจายจากหลักร้อย
มาหลักสิบ ได้ 13 สิบ ลบด้วย 9 สิบ ได้ 4 สิบ ลบในหลักร้อย 4 ร้อย กระจายไปแล้ว 1 ร้อย เหลือ 3 ร้อย
ลบด้วย 0 ร้อย ได้ 3 ร้อย ดังนั้น 437 − 92 = 345 จากนั้นครูยกตัวอย่างที่ 2 290 − 152 =
ให้นักเรียนช่วยกันแสดงวิธีการหาผลลบโดยการตั้งลบทำ�นองเดียวกับตัวอย่างที่ 1 โดยบอกขั้นตอน
การหาผลลบทีละขั้นตอน แล้วครูให้นักเรียนหาคำ�ตอบข้อ 1 − 8 ทีละข้อ ตามหนังสือเรียนหน้า 103
ครูแสดงวิธีคิดที่ถูกต้องทีละข้อเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปขั้นตอน

70  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

การหาผลลบโดยการตั้งลบว่า การหาผลลบโดยการตั้งลบ สามารถทำ�ได้โดย เขียนเลขโดด


ในหลักเดียวกันให้ตรงกัน แล้วนำ�จำ�นวนในแต่ละหลักมาลบกัน โดยเริ่มจากหลักหน่วย หลักสิบ
และหลักร้อยตามลำ�ดับ ถ้าเลขโดดในหลักหน่วยของตัวตั้งมีค่าน้อยกว่าเลขโดดในหลักหน่วย
ของตัวลบ ต้องกระจายจำ�นวนจากหลักสิบไปหลักหน่วย ถ้าเลขโดดในหลักสิบของตัวตั้ง
มีค่าน้อยกว่าเลขโดดในหลักสิบของตัวลบ ต้องกระจายจำ�นวนจากหลักร้อยไปหลักสิบ

การตรวจสอบความเข้าใจ
4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
โดยให้นักเรียนแสดงการหาผลลบโดยการตั้งลบ
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

เป็นรายบุคคล ตามหนังสือเรียนหน้า 104


บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ตรวจสอบความเข้าใจ
ถ้าพบว่ามีนักเรียนยังหาผลลบไม่ถูกต้อง
หาผลลบ
ครูให้นักเรียนมาฝึกเพิ่มเติมกับครูเป็นรายบุคคล
1 554 – 260 = 294 2 570 – 425 = 145
จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบ
ความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ 3 304 – 124 = 180 4 662 – 343 = 319

สิ่งที่ได้เรียนรู้
• การหาผลลบของจำ �นวนสองจำ�นวนโดยการ
ตั้งลบ ต้องเขียนเลขโดดในหลักเดียวกัน
สิ่งที่ได้เรียนรู้
การหาผลลบของจำานวนสองจำานวนโดยการตั้งลบ ต้องเขียนเลขโดด
ในหลักเดียวกันให้ตรงกัน แล้วจึงนำาจำานวนที่อยู่ในหลักเดียวกันมาลบกัน
ให้ตรงกัน แล้วจึงนำ�จำ�นวนที่อยู่ โดยเริ่มจากหลักหน่วย หลักสิบ และหลักร้อย ตามลำาดับ

ในหลักเดียวกันมาลบกัน โดยเริ่มจาก
ถ้าเลขโดดในหลักหน่วยของตัวตั้งมีค่าน้อยกว่าเลขโดดในหลักหน่วย
ของตัวลบ ต้องกระจายจำานวนจากหลักสิบไปหลักหน่วย

หลักหน่วย หลักสิบ และหลักร้อย ตามลำ�ดับ ถ้าเลขโดดในหลักสิบของตัวตั้งมีค่าน้อยกว่าเลขโดดในหลักสิบ


ของตัวลบต้องกระจายจำานวนจากหลักร้อยไปหลักสิบ

−− ถ้าเลขโดดในหลักหน่วยของตัวตั้งมีค่า
น้อยกว่าเลขโดดในหลักหน่วยของตัวลบ ต้อง
แบบฝึกหัด 2.11

104 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กระจายจำ�นวนจากหลักสิบไปหลักหน่วย
−− ถ้าเลขโดดในหลักสิบของตัวตั้งมีค่า
น้อยกว่าเลขโดดในหลักสิบของตัวลบต้องกระจายจำ�นวนจากหลักร้อยไปหลักสิบ
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 2.11 หน้า 64 − 66

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  71
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

2.12 การหาผลลบโดยการตั้งลบมีการกระจาย (2)


จุดประสงค์
หาผลลบโดยการตั้งลบมีการกระจายมากกว่าหนึ่งหลักที่ตัวตั้งไม่เกิน 1,000
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

สื่อการเรียนรู้
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

2.12 การหาผลลบโดยการตั้งลบมีการกระจาย (2)


บัตรตัวเลขและบัตรคำ�
พัฒนาความรู้
ซื้อข้าวสาร 430 บาท อาหารกระป๋อง 291 บาท

แนวการจัดการเรียนรู้ 430 – 291 =


ซื้อข้าวสารมากกว่าอาหารกระป๋องกี่บาท

การพัฒนาความรู้ ขั้นที่ 1 ลบในหลักหน่วย


ตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบ จึงต้องกระจาย
ขั้นที่ 2 ลบในหลักสิบ
ตัวตั้ง 2 สิบน้อยกว่าตัวลบ 9 สิบ
1. ครูทบทวนการหาผลลบโดยการตั้งลบ จากหลักสิบไปหลักหน่วย
หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย
จึงต้องกระจายจากหลักร้อยไป
หลักสิบ ได้ 12 สิบ

มีการกระจายหนึ่งหลัก โดยให้นักเรียนบอก หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย


2 10
4 3 0
3 2 12 10
– 4 3 0
2 9 1
ขั้นตอนการหาผลลบ เขียนเลขโดด 9 2 9 1

3 9
ในหลักเดียวกันให้ตรงกัน แล้วนำ�จำ�นวน เขียนแสดงวิธีหาผลลบ ดังนี้
3 2
12
10
4 3 0 ขั้นที่ 3 ลบในหลักร้อย
ในแต่ละหลักมาลบกัน โดยเริ่มจากหลักหน่วย

2 9 1 3 ร้อย ลบด้วย 2 ร้อย ได้ 1 ร้อย
1 3 9 หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย
หลักสิบ และหลักร้อยตามลำ�ดับ ถ้าเลขโดด ดังนั้น 430 – 291 = 139 4 3
3
0
2 12 10


ในหลักหน่วยของตัวตั้งมีค่าน้อยกว่าเลขโดด สังเกต 139 + 291 = 430
2 9 1

ผลลบบวกตัวลบเท่ากับตัวตั้ง 1 3 9

ในหลักหน่วยของตัวลบต้องกระจายจำ�นวน ซื้อข้าวสารมากกว่าอาหารกระป๋อง 139 บาท

จากหลักสิบไปหลักหน่วย ถ้าเลขโดดในหลักสิบ | 105


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ของตัวตั้งมีค่าน้อยกว่าเลขโดดในหลักสิบ
ของตัวลบต้องกระจายจำ�นวนจากหลักร้อยไปหลักสิบ
ครูสนทนาเกีย่ วกับสถานการณ์ในหนังสือเรียนหน้า 105 เพือ ่ ให้นก ั เรียนหาผลลบ ควรให้นก ั เรียน
ลองหาผลลบด้วยตัวเองก่อน จากนัน ้ ครูสาธิตการหาผลลบโดยการตัง้ ลบทีม ่ ก ี ารกระจายมากกว่า
หนึง่ หลัก เช่น 430 − 291 = ให้นก ั เรียนหาผลลบโดยการตัง้ ลบ ครูถามนักเรียนว่า การหาผลลบ
โดยการตัง้ ลบต้องทำ�อย่างไร นักเรียนตอบว่า เขียนเลขโดดในหลักเดียวกันให้ตรงกัน แล้วนำ�จำ�นวน
ในหลักเดียวกันมาลบกัน ครูถามนักเรียนว่า เริม ่ หาผลลบจากหลักใดก่อน นักเรียนตอบว่า
เริม่ ลบจากหลักหน่วย หลักสิบ และหลักร้อยตามลำ�ดับ ครูควรให้นก ั เรียนเป็นผูบ ้ อกขัน ้ ตอน
ในการหาผลลบทีละขัน ้ ครูสาธิตการหาผลลบโดยการตัง้ ลบทีม ่ ก
ี ารกระจายจากหลักสิบไปหลักหน่วย
และจากหลักร้อยไปหลักสิบ ครูตด ิ บัตรคำ� หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย และบัตรตัวเลข 430 และ 291
บนกระดาน โดยให้เลขโดดทีอ ่ ยูใ่ นหลักเดียวกันตรงกัน ครูสาธิตการลบโดยการตัง้ ลบทีละขัน ้ ตอน
ขัน้ ที่ 1 ลบในหลักหน่วย ตัวตัง้ น้อยกว่าตัวลบ ต้องกระจายจากหลักสิบมา 1 สิบ เป็น 10 หน่วย
ลบด้วย 1 หน่วย ได้ 9 หน่วย ขัน ้ ที่ 2 ลบในหลักสิบ ตัวตัง้ น้อยกว่าตัวลบต้องกระจายจากหลักร้อย
มา 10 สิบ เป็น 12 สิบ ลบด้วย 9 สิบ ได้ 3 สิบ ขัน ้ ที่ 3 ลบในหลักร้อย 4 ร้อย กระจายไปแล้ว
1 ร้อย เหลือ 3 ร้อย ลบด้วย 2 ร้อย ได้ 1 ร้อย ดังตัวอย่างในหนังสือเรียนหน้า 105

72  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

ดังนั้น 430 − 291 = 139 ครูให้นักเรียนสังเกตว่า 139 + 291 = 430


ดังนั้น ผลลบบวกตัวลบเท่ากับตัวตั้ง
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

หาผลลบ หาผลลบ
หลักร้อย 5 ร้อย กระจายไป 1 ร้อย เหลือ 4 ร้อย
หลักสิบ 0 สิบ กับที่กระจายมา 1 ร้อย หรือ 10 สิบ
รวมเป็น 10 สิบ และกระจายไป 1 สิบ เหลือ 9 สิบ 724 – 136 = 501 – 245 =
หลักหน่วย 6 หน่วย กับที่กระจายมา 1 สิบ หรือ 10 หน่วย
วิธีทำา วิธีทำา
รวมเป็น 16 หน่วย 6 1 11 14 4 10 9 11
7 2 4 5 0 1
506 – 149 = – –
เฉลย
1 3 6 2 4 5
ขั้นที่ 1 ลบในหลักหน่วย ขั้นที่ 2 ลบในหลักสิบ
5 8 8 2 5 6
ตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบจึงต้องกระจาย 9 สิบ ลบด้วย 4 สิบ ได้ 5 สิบ 1. 545
จากหลักสิบไปหลักหน่วย แต่เลขโดด หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย ตอบ ๕๘๘ ตอบ ๒๕๖
ในหลักสิบเป็น 0 จึงต้องกระจายจาก 4 10 9 16
หลักร้อยไปหลักสิบและจากหลักสิบ 5 0 6 2. 288

ไปหลักหน่วย 1 4 9
หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย 1 603 – 58 = 2 435 – 147 =
5 7
4 10 9 16 3. 599
5 0 6

1 4 9 ขั้นที่ 3 ลบในหลักร้อย
4 ร้อย ลบด้วย 1 ร้อย ได้ 3 ร้อย 3 888 – 289 = 4 1,000 – 613 = 4. 387
7
หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย
เขียนแสดงวิธีหาผลลบ ดังนี้ 4 10 9 16
4 10 9 16
5 0 6 5. 89
5 0 6
– 5 234 – 145 = 6 765 – 199 =
– 1 4 9
1 4 9
3 5 7 6. 566
3 5 7
ดังนั้น 506 – 149 = 357
ดังนั้น 506 – 149 = 357
7 423 – 136 = 8 850 – 251 =
หาผลลบ 7. 287
1 100 – 57 = 2 1,000 – 468 =
43 532

106 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 107 8. 599

2. ครูยกตัวอย่างการหาผลลบของจำ�นวนสองจำ�นวน เช่น 506 − 149 = ซึง่ ในตัวอย่างนี้


ต้องมีการกระจายจากหลักสิบไปหลักหน่วย และกระจายจากหลักร้อยไปหลักสิบ แต่เนื่องจากเลขโดด
ในหลักสิบเป็น 0 จึงต้องกระจายจากหลักร้อยไปหลักสิบก่อน แล้วจึงกระจายจากหลักสิบไปหลักหน่วย
ดังนี้
หลักร้อย 5 ร้อย กระจายไปหลักสิบ 1 ร้อย เหลือ 4 ร้อย
หลักสิบ 0 สิบ กับที่กระจายมา 1 ร้อย หรือ 10 สิบ รวมเป็น 10 สิบ และกระจายไป
หลักหน่วย 1 สิบ เหลือ 9 สิบ
หลักหน่วย 6 หน่วยกับทีก ่ ระจายมา 1 สิบ หรือ 10 หน่วย รวมเป็น 16 หน่วย แล้วนำ�จำ�นวน
ในหลักเดียวกันมาลบกัน จะได้ 506 − 149 = 357 ตามหนังสือเรียนหน้า 106 จากนั้น
ครูให้นักเรียนช่วยกันหาผลลบในกรอบท้ายหน้า 106
3. ครูให้นักเรียนช่วยกันหาผลลบโดยการตั้งลบจากตัวอย่าง 724 − 136 =
ในหนังสือเรียนหน้า 107 โดยครูใช้การถาม-ตอบในการหาผลลบในแต่ละหลัก เช่น
4 หน่วย ลบด้วย 6 หน่วย ได้กี่หน่วย ต้องกระจายจากหลักสิบมาเท่าไร เป็นเท่าไร
2 สิบ กระจายไปแล้ว 1 สิบ เหลือเท่าไร ต้องกระจายจากหลักร้อยมาเท่าไร เป็นเท่าไร
7 ร้อย กระจายไปแล้ว 1 ร้อย เหลือเท่าไร ลบด้วย 1 ร้อย ได้เท่าไร และคำ�ตอบเป็นเท่าไร
ให้นักเรียนหาคำ�ตอบในข้อ 1 − 8 ทีละข้อ แล้วครูแสดงวิธีคิดที่ถูกต้องทีละข้อเพื่อตรวจสอบ
ความถูกต้อง ครูควรให้นักเรียนสังเกต ผลลบบวกตัวลบเท่ากับตัวตั้ง และเน้นย้ำ�การลบที่กระจาย
จากหลักพันในข้อ 4

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  73
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปขั้นตอนการหาผลลบโดยการตั้งลบ ครูเน้นย้ำ�ว่า การหาผลลบ


ของจำ�นวนสองจำ�นวนโดยการตั้งลบ ต้องเขียนเลขโดดในหลักเดียวกันให้ตรงกัน นำ�จำ�นวน
ที่อยู่ในหลักเดียวกันมาลบกัน โดยเริ่มจากหลักหน่วย หลักสิบ และหลักร้อยตามลำ�ดับ
ถ้าหลักใดตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบ ต้องกระจายจำ�นวนจากหลักถัดไปทางซ้าย

การตรวจสอบความเข้าใจ
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ตรวจสอบความเข้าใจ
โดยให้นักเรียนแสดงการหาผลลบโดยการตั้งลบ
แสดงวิธีหาผลลบ
เป็นรายบุคคล ตามหนังสือเรียนหน้า 108
ถ้าพบว่ามีนักเรียนยังหาผลลบไม่ถูกต้อง
1 814 – 275 = 539 2 900 – 346 = 554

ครูให้นักเรียนมาฝึกเพิ่มเติมกับครูเป็นรายบุคคล 3 912 – 313 = 599 4 666 – 598 = 68

จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบ
ความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้

สิ่งที่ได้เรียนรู้
• การหาผลลบของจำ �นวนสองจำ�นวนโดยการ
ตั้งลบ ต้องเขียนเลขโดดในหลักเดียวกัน
สิ่งที่ได้เรียนรู้
การหาผลลบของจำานวนสองจำานวนโดยการตั้งลบ ต้องเขียนเลขโดด
ในหลักเดียวกันให้ตรงกัน แล้วจึงนำาจำานวนที่อยู่ในหลักเดียวกัน
ให้ตรงกัน แล้วจึงนำ�จำ�นวนที่อยู่ใน มาลบกัน ถ้าหลักใดตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบ ต้องกระจายจำานวน
จากหลักถัดไปทางซ้าย

หลักเดียวกันมาลบกัน ถ้าหลักใดตัวตั้ง
น้อยกว่าตัวลบ ต้องกระจายจำ�นวนจาก
แบบฝึกหัด 2.12

108 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หลักถัดไปทางซ้าย
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 2.12
หน้า 67 − 69

74  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

2.13 การลบจำ�นวนสามจำ�นวนโดยการตั้งลบ
จุดประสงค์
หาผลลบของจำ�นวนสามจำ�นวนโดยการตั้งลบที่ตัวตั้งไม่เกิน 1,000
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

สื่อการเรียนรู้
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

2.13 การหาผลลบของจำานวนสามจำานวน
บัตรตัวเลข พัฒนาความรู้

การหาผลลบของจำานวนสามจำานวนโดยการตัง้ ลบมีขน
้ั ตอน ดังนี้

875 – 550 – 300 =

แนวการจัดการเรียนรู้ ขั้นที่ 1
875 ลบด้วย 550
ขั้นที่ 2
นำาผลลบ 325 ลบด้วย 300

การพัฒนาความรู้ 8
5
7
5
5
0

3
3
2
0
5
0

1. ครูทบทวนการหาผลลบของจำ�นวนสองจำ�นวน 3 2 5 0 2 5

875 – 550 – 300 = 25

โดยใช้การถาม−ตอบ ว่าการหาผลลบโดยการตั้งลบ เขียนแสดงวิธีหาผลลบดังนี้

มีขั้นตอนอย่างไร นักเรียนตอบว่า การหาผลลบของจำ�นวน


วิธีทำา 8
5
7
5
5
0

สองจำ�นวนโดยการตั้งลบ ต้องเขียนเลขโดดในหลัก

3
3
2
0
5
0

เดียวกันให้ตรงกัน แล้วจึงนำ�จำ�นวนที่อยู่ในหลักเดียวกัน 0 2 5

ตอบ ๒๕

มาลบกัน ถ้าหลักใดตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบต้องกระจาย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 109

จำ�นวนจากหลักถัดไปทางซ้าย
ครูยกสถานการณ์ที่สอดคล้องกับประโยคสัญลักษณ์ในหนังสือเรียนหน้า 109 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

เพื่อความเข้าใจยิ่งขึ้น เช่น 2.13 การหาผลลบของจำานวนสามจำานวน


−− แม่มีเงิน 875 บาท ให้พ่อ 550 บาท และให้พ ี่ 300 บาท แม่จะเหลือเงินกี่บาท
พัฒนาความรู้
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ให้น ักเรียนร่วมกันเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ 875 การหาผลลบของจำ


2.13 การหาผลลบของจำานวนสามจำานวน
− 550 −านวนสามจำ
300านวนโดยการตั
= ง้ ลบมีขน้ั ตอน ดังนี้
ครูถามนั กเรี
พัฒย นว่ามี้ ขั้นตอนในการหาผลลบอย่างไร 875 – 550 – 300 =
นาความรู นักเรียนตอบว่า หาผลลบทีละสองจำ�นวน
ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2
โดยการตั้งลบ ครูการหาผลลบของจำ
สาธิตการหาผลลบของจำ
านวนสามจำานวนโดยการตัง้ ลบมีขน �นวนสามจำ
้ั ตอน ดั
งนี้ �นวน
875 ลบด้ วย 550โดยการตั้งลบ ทีละสองจำ
นำาผลลบ 325 ลบด้ วย 300 �นวน
ดังนี้
875 – 550 – 300 = 8 7 5 3 2 5
– –
ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 5 5 0 3 0 0
875 ลบด้วย 550 นำาผลลบ 325 ลบด้วย 300 3 2 5 0 2 5
8 7 5 3 2 5
– –
5 5 0 3 0 0 875 – 550 – 300 = 25

3 2 5 0 2 5
เขียนแสดงวิธีหาผลลบดังนี้
875 – 550 – 300 = 25
วิธีทำา 8 7 5

จะได้ 875 − 550 − 300 = 25
เขียนแสดงวิธีหาผลลบดังนี้
5 5 0
3 2 5
หรือนักเรียนสามารถเขี ยนแสดงวิ ธีการหาผลลบได้ดังนี้
วิธีทำา 8 7 5 –
– 3 0 0
5 5 0
0 2 5
3 2 5

3 0 0
ตอบ ๒๕
0 2 5

จากนั้นครูให้นักเรี ยนหาผลลบของ 875 − 300 − 550 = ครูให้นักเรียนสังเกตว่


ตอบ ๒๕
| 109
า สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

การหาผลลบของ 875 − 550 − 300 = จะลบด้วย 550 หรือ จะลบด้วย 300 ก่อน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 109

ได้ผลลบเท่ากัน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  75
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

2. ครูสาธิตการหาผลลบของจำ�นวน หนงัสอื เรย


ี นรายวช
ิ าพน
�ื ฐาน | คณต
ิ ศาสตร� ป.2

สามจำ�นวนโดยการตั้งลบ เช่น
บทท�ี 2 | การบวกและการลบจาำนวนนบ ั ไมเ�กน
ิ 1,000

683 − 83 − 449 = ครูถามนักเรียนว่า


โจทย์ข้อนี้จะลบ 683 ด้วยจำ�นวนใดก่อน
นักเรียนอาจตอบว่า ลบด้วย 83 ก่อน า

ครูให้นักเรียนหาผลลบโดยการตั้งลบ ดังนี้
683 ลบด้วย 83 ได้ 600 แล้วนำ� 600
ลบด้วย 449 จะเห็นว่า เป็นการลบที่มี
การกระจายจากหลักร้อยไปหลักสิบ และ
กระจายจากหลักสิบไปหลักหน่วย
ได้ผลลบเป็น 151 า

หรือนักเรียนอาจตอบว่า นำ� 683 ลบด้วย


449 ก่อน ดังนี้ 683 ลบด้วย 449 ได้ 234
จากนั้นนำ� 234 ลบด้วย 83 ได้ 151
ดังนั้น 683 − 83 − 449 = 151
110 |
ครูให้นักเรียนพิจารณาว่า การหาผลลบ
683 − 83 − 449 เราควรนำ� 83 ไปลบ 683 ก่อน
หรือนำ� 449 ไปลบ 683 ก่อน เพราะเหตุใด
จากนั้นให้นักเรียนหาผลลบของ 416 − 125 − 102 = ครูถามนักเรียนว่า โจทย์ข้อนี้
จะลบ 416 ด้วยจำ�นวนใดก่อน นักเรียนตอบว่า ลบด้วยจำ�นวนใดก่อนก็ได้ ครูให้นักเรียนหาผลลบ
โดยการตั้งลบ ซึ่ง 416 ลบด้วย 125 เป็นการลบที่มีการกระจายจากหลักร้อยไปหลักสิบ ได้ผลลบ
เป็น 291 จากนั้นนำ� 291 ลบด้วย 102เป็นการลบที่มีกระจายจากหลักสิบไปหลักหน่วย
ได้ผลลบเป็น 189
หรือนักเรียนอาจนำ� 416 ลบด้วย 102 ก่อน ดังนี้ 416 ลบด้วย 102 ได้ 314
จากนั้นนำ� 314 ลบด้วย 125 ได้ผลลบเป็น 189
ดังนั้น 416 − 125 − 102 = 189

76  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

3. ครูให้นักเรียนช่วยกันหาผลลบ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

ในข้อ 1 − 2 ตามหนังสือเรียนหน้า 111


บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

หาผลลบ

โดยครูใช้การถาม−ตอบ ทีละขั้นตอน
1 940 – 95 – 46 = 2 674 – 349 – 250 =
จนได้คำ�ตอบ และได้ข้อสรุปว่า การหาผลลบ 8
วิธีทำา 9
3 13
4
10
0 วิธีทำา 6
6
7
14
4
– –
ของจำ�นวนสามจำ�นวนโดยการตั้งลบ สามารถ
8
9
3 13
5
15
3
2
4
12
9
8 4 5 3 2 5
หาคำ�ตอบโดยใช้วิธีเดียวกับการหาผลลบ 4 6

2 5 0

7 9 9
ของจำ�นวนสองจำ�นวน แต่ต้องหาผลลบทีละ 7 5

สองจำ�นวน นำ�ผลลบของสองจำ�นวน ตอบ ๗๙๙ ตอบ ๗๕

มาเป็นตัวตั้งแล้วลบกับจำ�นวนที่สาม
ซึ่งสามารถลบด้วยจำ�นวนใดก่อนก็ได้ 3 567 – 234 – 129 = 204 4 700 – 176 – 295 = 229

ให้นก
ั เรียนหาคำ�ตอบในข้อ 3 − 8 ทีละข้อ 5 880 – 85 – 480 = 315 6 1,000 – 376 – 215 = 409

แล้วครูแสดงวิธีคิดที่ถูกต้องทีละข้อ
เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง 7 392 – 109 – 77 = 206 8 414 – 61 – 221 = 132

การตรวจสอบความเข้าใจ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 111
4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
โดยให้นักเรียนแสดงการหาผลลบ โดยการ
ตั้งลบเป็นรายบุคคล ตามหนังสือเรียนหน้า 112
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

ถ้าพบว่ามีนักเรียนยังหาผลลบไม่ถูกต้อง
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ตรวจสอบความเข้าใจ
ครูให้นักเรียนมาฝึกเพิ่มเติมกับครูเป็นรายบุคคล
หาผลลบ
จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบ
ความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ 407 6
1 659 – 93 – 159 = 2 471 – 206 – 259 =

3 843 – 374 – 460 = 9 4 444 – 155 – 289 = 0


สิ่งที่ได้เรียนรู้
• การหาผลลบของจำ �นวนสามจำ�นวนโดย
การตั้งลบ ให้นำ�จำ�นวนสองจำ�นวนมาลบกัน
ก่อนแล้วนำ�ผลลบไปลบกับจำ�นวนที่เหลือ
จากนัน
้ ให้นกั เรียนทำ�แบบฝึกหัด 2.13
หน้า 70 − 72 สิ่งที่ได้เรียนรู้
การหาผลลบของจำานวนสามจำานวนโดยการตั้งลบ ให้นำาจำานวนสอง
จำานวนมาลบกันก่อนแล้วนำาผลลบไปลบกับจำานวนที่เหลือ

แบบฝึกหัด 2.13

112 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  77
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

2.14 ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

จุดประสงค์ 2.14 ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ

เขียนความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ พัฒนาความรู้

ผ้าเช็ดหน้าสีฟ้า 100 ผืน


ผ้าเช็ดหน้าสีชมพู 150 ผืน
สีฟ�า สีชมพู

สื่อการเรียนรู้
บัตรตัวเลขและบัตรเครื่องหมาย มีผ้าเช็ดหน้าทั้งหมด 100 + 150 = 250 ผืน

มีผ้าเช็ดทั้งหมด 250 ผืน เป็นผ้าเช็ดหน้าสีฟ้า 100 ผืน

แนวการจัดการเรียนรู้
เป็นผ้าเช็ดหน้าสีชมพู 250 – 100 = 150 ผืน

การพัฒนาความรู้
มีผ้าเช็ดทั้งหมด 250 ผืน เป็นผ้าเช็ดหน้าสีชมพู 150 ผืน
เป็นผ้าเช็ดหน้าสีฟ้า 250 – 150 = 100 ผืน

1. ครูสนทนาเกี่ยวกับสถานการณ์ในหนังสือเรียน สังเกต ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ


100 + 150 = 250

หน้า 113 โดยใช้บัตรตัวเลขและบัตรเครื่องหมาย 250 – 100 = 150


250 – 150 = 100

แสดงประโยคสัญลักษณ์การบวก 100 + 150 = 250 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 113

ครูถามนักเรียนว่า จากความสัมพันธ์ของการบวก
และการลบที่นักเรียนเคยได้เรียนมาสามารถเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การลบได้อย่างไร
นักเรียนตอบว่า สามารถเขียนได้เป็น 250 − 100 = 150
และ 250 − 150 = 100
ให้นักเรียนสังเกตความสัมพันธ์ของการบวกและการลบว่า จำ�นวนสองจำ�นวนบวกกัน
ผลบวกที่ได้ลบด้วยจำ�นวนใดจำ�นวนหนึ่ง หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

ในสองจำ�นวนนั้น ผลลบคือจำ�นวน
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

อีกจำ�นวนหนึ่ง มีนักเรียนชั้น ป.2 อยู่ในห้องประชุม 180 คน อยู่นอกห้องประชุม 50 คน


นักเรียนชั้น ป.2 มีทั้งหมด 180 + 50 = 230 คน

นักเรียนชั้น ป.2 มีทั้งหมด 230 คน อยู่นอกห้องประชุม 50 คน


2. ครูยกตัวอย่างสถานการณ์แรก อยู่ในห้องประชุม 230 – 50 = 180 คน

ตามหนังสือเรียนหน้า 114 แล้วถามนักเรียนว่า


นักเรียนชั้น ป.2 มีทั้งหมด 230 คน อยู่ในห้องประชุม 180 คน
เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การบวกได้อย่างไร อยู่นอกห้องประชุม 230 – 180 = 50 คน

และจากประโยคสัญลักษณ์การบวกเมื่อใช้
สังเกต ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ 180 + 50 = 230
230 – 50 = 180

สามารถเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การลบ 230 – 180 = 50

ได้อย่างไร ครูเน้นย้ำ�ให้นักเรียนสังเกต
จำานวนสองจำานวนบวกกัน ผลบวกที่ได้ลบด้วยจำานวนใดจำานวนหนึ่ง
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบว่า ในสองจำานวนนั้น ผลลบคือจำานวนอีกจำานวนหนึ่ง

จำ�นวนสองจำ�นวนบวกกันผลบวกที่ได้ลบด้วย
จำ�นวนใดจำ�นวนหนึ่งในสองจำ�นวนนั้น
ผลลบคือจำ�นวนอีกจำ�นวนหนึ่ง
114 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

78  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

3. ครูใช้บัตรตัวเลขและบัตรเครื่องหมาย หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

แสดงตัวอย่างในหนังสือเรียนหน้า 115
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

โดยกำ�หนดประโยคสัญลักษณ์การบวกมาให้ จำานวนสองจำานวนบวกกัน ผลบวกที่ได้ลบด้วยจำานวนใดจำานวนหนึ่ง


ในสองจำานวนนั้น ผลลบคือจำานวนอีกจำานวนหนึ่ง

แล้วให้นก
ั เรียนใช้บตั รตัวเลขและบัตรเครือ
่ งหมาย เช่น 246 + 154 = 400

มาติดบนกระดาน เพื่อแสดงประโยคสัญลักษณ์ จะได้ 400 – 246 = 154

และ 400 – 154 = 246


การลบ จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกันเติมตัวเลข
เติมตัวเลขแสดงจำานวน
แสดงจำ�นวนในประโยคสัญลักษณ์การบวก
1 413 + 237 = 650 2 125 + 130 = 255

และประโยคสัญลักษณ์การลบ โดยใช้ 650 – 237 = 413 255 – 125 = 130

ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ ข้อ 1 − 6 650 – 413 = 237 255 – 130 = 125

ตามหนังสือเรียนหน้า 115 ครูและนักเรียน 3 564 + 265 = 829 4 297 + 601 = 898

ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง 829 – 564 = 265 898 – 297 = 601

829 – 265 = 564 898 – 601 = 297

การตรวจสอบความเข้าใจ 5 540 + 360 = 900 6 271 + 197 = 468


900 – 360 = 540 468 – 197 = 271
4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
900 – 540 = 360 468 – 271 = 197
โดยให้นักเรียนเติมตัวเลขแสดงจำ�นวน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 115
ในประโยคสัญลักษณ์การบวก และ
ประโยคสัญลักษณ์การลบ โดยใช้ความสัมพันธ์
ของการบวกและการลบเป็นรายบุคคล
ตามหนังสือเรียนหน้า 116 ถ้าพบว่า
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ตรวจสอบความเข้าใจ
มีนักเรียนยังเติมตัวเลขไม่ถูกต้อง ครูให้นักเรียน
เติมตัวเลขแสดงจำานวน
มาฝึกเพิ่มเติมกับครูเป็นรายบุคคล จากนั้น
ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
1 520 + 180 = 700 2 348 + 156 = 504

700 – 520 = 180 504 – 348 = 156


และสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ 700 – 180 = 520 504 – 156 = 348

3 784 + 216 = 1,000 4 395 + 416 = 811


สิ่งที่ได้เรียนรู้
• จำลบด้�นวนสองจำ
1,000 – 784 = 216 811 – 395 = 416
�นวนบวกกัน ผลบวกที่ได้ 1,000 – 216 = 784 811 – 416 = 395

วยจำ�นวนใดจำ�นวนหนึง่ ในสองจำ�นวนนัน

ผลลบคือจำ�นวนอีกจำ�นวนหนึ่ง
จากนัน
้ ให้นก
ั เรียนทำ�แบบฝึกหัด 2.14 สิ่งที่ได้เรียนรู้

หน้า 73 − 74
จำานวนสองจำานวนบวกกัน ผลบวกที่ได้ลบด้วยจำานวนใดจำานวนหนึ่ง
ในสองจำานวนนั้น ผลลบคือจำานวนอีกจำานวนหนึ่ง

แบบฝึกหัด 2.14

116 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  79
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

2.15 การหาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์การบวกและ
ประโยคสัญลักษณ์การลบ
จุดประสงค์
หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์การบวกและประโยคสัญลักษณ์การลบ

สื่อการเรียนรู้
−− บัตรตัวเลข บัตรเครื่องหมาย
−− บัตรรูปสี่เหลี่ยม (ตัวไม่ทราบค่า) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

บัตรประโยคสัญลักษณ์ 2.15 การหาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์


การบวก และประโยคสัญลักษณ์การลบ

พัฒนาความรู้
แนวการจัดการเรียนรู้ แก้วตามีหนังสืออยู่บนชั้นวางหนังสือ 18 เล่ม
ใบบัวนำามาเพิ่มอีกรวมเป็น 27 เล่ม

การพัฒนาความรู้
1. ครูตด
ิ บัตรตัวเลข และบัตรเครือ ่ งหมาย ใบบัวนำาหนังสือมาเพิ่มอีกกี่เล่ม

เป็นประโยคสัญลักษณ์การบวกและ 18 + = 27

ประโยคสัญลักษณ์การลบแสดงความสัมพันธ์ ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ

จะได้ 27 – 18 =
ของการบวกและการลบเพื่อทบทวนความรู้ เช่น 27 – 18 = 9

300 + 500 = 800 ดังนั้น 18 + 9 = 27

800 − 300 = 500


ตอบ ใบบัวนำาหนังสือมาเพิ่มอีก ๙ เล่ม

800 − 500 = 300 เป็นตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์

ครูสนทนาเกี่ยวกับสถานการณ์ในหนังสือ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์

เรียนหน้า 117 และเขียนประโยคสัญลักษณ์ที่มี 1 760 + 240 = 1,000 2 498 + 202 = 700

ตัวไม่ทราบค่า ดังนี้ | 117


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

−− แก้วตามีหนังสือ 18 เล่ม ครูติดบัตร


ตัวเลข 18
−− ใบบัวนำ�มาเพิม่ อีก เล่ม ครูตด
ิ บัตรเครือ
่ งหมายบวก และบัตรรูปสีเ่ หลีย่ ม(ตัวไม่ทราบค่า)
−− รวมเป็น 27 เล่ม ครูติดบัตรเครื่องหมายเท่ากับ และบัตรตัวเลข 27 จะได้
ประโยคสัญลักษณ์การบวก 18 + = 27 ครูให้นักเรียนใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การลบ เพื่อหาคำ�ตอบ จะได้ 27 − 18 = ครูถามนักเรียนว่า
ได้ผลลบเป็นเท่าไร นักเรียนตอบว่า 27 − 18 = 9 ดังนั้น 18 + 9 = 27

80  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

2. ครูติดบัตรประโยคสัญลักษณ์ที่มีตัวไม่ทราบค่า แล้วสาธิตการหาค่าของตัวไม่ทราบค่า
โดยใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบตามหนังสือเรียนหน้า 118 โดยใช้การถาม−ตอบ เช่น
ตัวอย่างที่ 1 − 100 = 500 ครูถามนักเรียนว่า จำ�นวนใดลบด้วย 100 แล้วได้เท่ากับ 500
หาจำ�นวนนั้นได้อย่างไร นักเรียนตอบว่า ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ จะได้
500 + 100 = 600 ดังนั้น จำ�นวนนั้นคือ 600 ตรวจสอบคำ�ตอบได้โดย นำ� 600 ลบด้วย 100
ได้ผลลบเป็น 500 ตามที่โจทย์กำ�หนด ดังนั้น 600 เป็นคำ�ตอบที่ถูกต้อง จากนั้นครูยกตัวอย่าง
356 − = 251 ครูถามนักเรียนว่า 356 ลบด้วยจำ�นวนใด แล้วได้เท่ากับ 251 หาจำ�นวนนัน ้ ได้อย่างไร
นักเรียนตอบว่า ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ จะได้ 356 − 251 = 105 ดังนัน ้ จำ�นวนนัน้ คือ
105 ตรวจสอบคำ�ตอบได้โดย นำ� 356 ลบด้วย 105 ได้ผลลบเป็น 251 ตามที่โจทย์กำ�หนด ดังนั้น
105 เป็นคำ�ตอบทีถ่ กู ต้อง ครูให้นกั เรียนช่วยกันหาค่าของตัวไม่ทราบค่า ข้อ 1 และ 2 ในกรอบท้ายหน้า 118

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์
หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์
400 + = 650 ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
650 – 400 = 250
คำาตอบคือ 250
– 100 = 500

ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ

จะได้ 500 + 100 =


คำาตอบคือ 600
500 + 100 = 600
1 180 + 288 = 468
ดังนั้น 600 – 100 = 500

2 810 – 260 = 550


356 – = 251

ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
3 255 – 125 = 130
จะได้ 356 – 251 =
คำาตอบคือ 105
356 – 251 = 105
4 663 – 237 = 426
ดังนั้น 356 – 105 = 251

5 307 + 693 = 1,000

หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์

1 1,000 – 420 = 580 2 614 – 355 = 259 6 659 – 539 = 120

118 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 119

3. ครูให้นักเรียนช่วยกันหาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์การบวกและ
ประโยคสัญลักษณ์การลบ โดยยกตัวอย่าง 400 + = 650 ถามนักเรียนว่า 400 บวกกับจำ�นวนใด
แล้วได้เท่ากับ 650 หาจำ�นวนนั้นได้อย่างไร นักเรียนตอบว่า ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
จะได้ 650 − 400 = 250 ดังนัน ้ จำ�นวนนัน
้ คือ 250 ตรวจสอบคำ�ตอบได้โดย นำ� 400 บวกกับ 250
ได้ผลบวกเป็น 650 ตามที่โจทย์กำ�หนด ดังนั้น 250 เป็นคำ�ตอบที่ถูกต้อง ครูให้นักเรียนช่วยกันทำ�
ข้อ 1 − 6 ตามหนังสือเรียนหน้า 119 ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  81
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

การตรวจสอบความเข้าใจ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ตรวจสอบความเข้าใจ
โดยให้นก ั เรียนแสดงการหาค่าของตัวไม่ทราบค่า หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์

ในประโยคสัญลักษณ์การบวกและการลบ
1 – 172 = 360

เป็นรายบุคคล ตามหนังสือเรียนหน้า 120 ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ

จะได้ 360 + 172 =


ถ้าพบว่ามีนักเรียนยังหาค่าของตัวไม่ทราบค่า 360 + 172 = 532

ไม่ถูกต้อง ครูให้นักเรียนมาฝึกเพิ่มเติมกับครู คำาตอบคือ 532


ดังนั้น 532
– 172 = 360

เป็นรายบุคคล จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกัน
ตรวจสอบความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
2 543 + = 900
ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ

จะได้ 900 – 543 =

900 – 543 = 357


สิ่งที่ได้เรียนรู้
• สามารถใช้
ดังนั้น 357
543 + = 900
คำาตอบคือ 357
ความสัมพันธ์ของการบวก
และการลบในการหาค่าของตัวไม่ทราบค่า สิ่งที่ได้เรียนรู้
สามารถใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
ในประโยคสัญลักษณ์การบวกและ ในการหาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์การบวก
และประโยคสัญลักษณ์การลบ
แบบฝึกหัด 2.15

ประโยคสัญลักษณ์การลบ 120 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 2.15
หน้า 75 − 77

82  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

2.16 โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ (1)


จุดประสงค์ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

แก้โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

2.16 โจทย์ปญ
ั หาการบวกและโจทย์ปญ
ั หาการลบ (1)
พัฒนาความรู้
สื่อการเรียนรู้
โจทย์ปัญหา พ่อค้ามีปลาหางนกยูง 278 ตัว ซื้อมาเพิ่มอีก 322 ตัว
บัตรภาพ บัตรโจทย์ปัญหา บัตรโจทย์ถาม พ่อค้ามีปลาหางนกยูงทั้งหมดกี่ตัว

บัตรโจทย์บอก บัตรประโยคสัญลักษณ์
โจทย์ถาม พ่อค้ามีปลาหางนกยูงทั้งหมดกี่ตัว
โจทย์บอก พ่อค้ามีปลาหางนกยูง 278 ตัว ซื้อมาเพิ่มอีก 322 ตัว

หาคำาตอบได้อย่างไร

แนวการจัดการเรียนรู้ มีอยู่ 278 เพิ่มอีก 322 จำานวนทั้งหมดหาได้จาก 278 บวก 322

การพัฒนาความรู้ ประโยคสัญลักษณ์ 278 + 322 =

278 + 322 = 600


1. ครูตด ิ บัตรโจทย์ปญ ั หาตามหนังสือเรียน ตอบ พ่อค้ามีปลาหางนกยูงทั้งหมด ๖๐๐ ตัว

หน้า 121 ให้นก ั เรียนอ่านโจทย์ปญ ั หา 278 มากกว่า 200 และ 322 มากกว่า 300
200 + 300 = 500

พร้อมกันแล้วครูท�ำ กิจกรรมดังนี้ 278 + 322 มากกว่า 500


ดังนั้น 600 เป็นคำาตอบที่สมเหตุสมผล เพราะมากกว่า 500

−− ครูติดบัตรโจทย์ถามและถามว่า หรือ 278 น้อยกว่า 300 และ 322 น้อยกว่า 400


300 + 400 = 700
โจทย์ถามอะไร 278 + 322 น้อยกว่า 700
ดังนั้น 600 เป็นคำาตอบที่สมเหตุสมผล เพราะน้อยกว่า 700

−− ครูติดบัตรโจทย์บอกและถามว่า สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 121

โจทย์บอกอะไร
−− แล้วจะหาคำ�ตอบได้อย่างไร
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

ครูติดบัตรภาพปลาหางนกยูง 2 ภาพ
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

แล้วเขียนจำ�นวนกำ�กับไว้ ใช้คำ�พูดที่สื่อให้เห็นว่า ลุงเลี้ยงไก่ 854 ตัว ขายไป 526 ตัว ลุงเหลือไก่กี่ตัว

โจทย์ถาม ลุงเหลือไก่กี่ตัว
ซื้อมาเพิ่ม เป็นการนำ�จำ�นวนปลาทั้งหมด โจทย์บอก ลุงเลี้ยงไก่ 854 ตัว ขายไป 526 ตัว

มารวมกัน ต้องหาคำ�ตอบด้วยการบวก หาคำาตอบได้อย่างไร

ครูเขียนประโยคสัญลักษณ์และให้นักเรียน มีอยู่ 854 ขายไป 526 จำานวนที่เหลือหาได้จาก 854 ลบด้วย 526

หาคำ�ตอบ จะได้ 278 + 322 = 600 ดังนั้น ประโยคสัญลักษณ์ 854 – 526 =

854 – 526 = 328

พ่อค้ามีปลาหางนกยูงทั้งหมด 600 ตัว ตอบ ลุงเหลือไก่ ๓๒๘ ตัว

ครูตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำ�ตอบ 328 เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง เพราะ 328 + 526 = 854

ตามหนังสือเรียนหน้า 121 ครูมห


ี นังสือนิทาน 362 เล่ม บริจาคไป 250 เล่ม ครูเหลือหนังสือนิทานกีเ่ ล่ม

2. ครูติดบัตรโจทย์ปัญหาตามหนังสือเรียน โจทย์ถาม ครูเหลือหนังสือนิทานกี่เล่ม


โจทย์บอก ครูมีหนังสือนิทาน 362 เล่ม บริจาคไป 250 เล่ม
หน้า 122 แล้วจัดกิจกรรมทำ�นองเดียวกับข้อ 1 ประโยคสัญลักษณ์ 362 – 250 =

ให้ครูใช้คำ�พูดที่สื่อให้เห็นว่า ขายไป บริจาคไป 362 – 250 = 112

ตอบ ครูเหลือหนังสือนิทาน ๑๑๒ เล่ม


คือการหักออก ซึ่งต้องใช้การลบในการหาคำ�ตอบ
112 เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง เพราะ 112 + 250 = 362

แล้วให้นักเรียนตรวจคำ�ตอบโดยการนำ�ผลลบ 122 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บวกกับตัวลบจะได้เท่ากับตัวตั้ง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  83
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

3. ครูยกตัวอย่างโจทย์ปัญหา หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

ในหนังสือเรียนหน้า 123 และใช้การถาม−ตอบ


บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำาตอบ

เพื่อแสดงวิธีหาคำ�ตอบ ดังนี้ แก้วตามีเงิน 245 บาท พ่อให้เพิม


่ อีก 100 บาท แก้วตามีเงินทัง้ หมดกีบ
่ าท

−− โจทย์ถามอะไร โจทย์ถาม แก้วตามีเงินทั้งหมดกี่บาท

−− โจทย์บอกอะไร
โจทย์บอก แก้วตามีเงิน 245 บาท พ่อให้เพิ่มอีก 100 บาท

245 + 100 =
−− เขียนประโยคสัญลักษณ์ได้อย่างไร 245 + 100 = 345

−− หาคำ�ตอบได้อย่างไร ตอบ แก้วตามีเงินทั้งหมด ๓๔๕ บาท

แล้วให้นก
ั เรียนช่วยกันเขียนประโยคสัญลักษณ์
1 โรงเรียนมีจานอยู่ในตู้ 745 ใบ นำาออกมาใช้ 480 ใบ เหลือจานในตู้กี่ใบ
และหาคำ�ตอบในข้อ 1 และ 2 ตามหนังสือเรียน โจทย์ถาม เหลือจานในตู้กี่ใบ

หน้า 123 โดยครูคอยชีแ้ นะและตรวจสอบ โจทย์บอก โรงเรียนมีจานอยู่ในตู้ 745 ใบ นำาออกมาใช้ 480 ใบ


ประโยคสัญลักษณ์ 745 – 480 =
745 – 480 = 265

ความถูกต้องของคำ�ตอบ ครูเน้นย้�ำ ว่า


ตอบ เหลือจานในตู้ ๒๖๕ ใบ
2 แม่ซื้อผลไม้ 265 บาท ซื้อเนื้อไก่ 132 บาท แม่จ่ายเงินทั้งหมดกี่บาท
โจทย์ถาม แม่จ่ายเงินทั้งหมดกี่บาท
ควรตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำ�ตอบด้วย โจทย์บอก แม่ซื้อผลไม้ 265 บาท ซื้อเนื้อไก่ 132 บาท
ประโยคสัญลักษณ์ 265 + 132 =
265 + 132 = 397
ตอบ แม่จ่ายเงินทั้งหมด ๓๙๗ บาท

การตรวจสอบความเข้าใจ
ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำาตอบด้วย

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 123

โดยให้นักเรียนเขียนประโยคสัญลักษณ์และ
หาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาเป็นรายบุคคล
ตามหนังสือเรียนหน้า 124 ถ้าพบว่ามีนักเรียน
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ยังเขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำ�ตอบ ตรวจสอบความเข้าใจ

ของโจทย์ปัญหาไม่ถูกต้อง ครูให้นักเรียน เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำาตอบ

1 แม่ค้าขายดอกกุหลาบได้ 125 ดอก ขายดอกบัวได้ 108 ดอก


มาฝึกเพิ่มเติมกับครูเป็นรายบุคคล จากนั้น แม่ค้าขายดอกกุหลาบและดอกบัวได้ทั้งหมดกี่ดอก

ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง ประโยคสัญลักษณ์ 125 + 108 =


125 + 108 = 233

และสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ตอบ แม่ค้าขายดอกกุหลาบและดอกบัวได้ทั้งหมด ๒๓๓ ดอก

2 ต้นกล้าออมเงินได้ 736 บาท นำาไปซื้อหนังสือ 231 บาท

สิ่งที่ได้เรียนรู้ ต้นกล้าเหลือเงินกี่บาท

• การแก้
ประโยคสัญลักษณ์ 736 – 231 =
โจทย์ปัญหาทำ�ได้โดย 736 – 231 = 505
ตอบ ต้นกล้าเหลือเงิน ๕๐๕ บาท

อ่านทำ�ความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปญ
ั หา
หาคำ�ตอบ และตรวจสอบความสมเหตุสมผล สิ่งที่ได้เรียนรู้
ของคำ�ตอบ การแก้โจทย์ปัญหาทำาได้โดย อ่านทำาความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา
หาคำาตอบ และตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำาตอบ
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 2.16
หน้า 78 − 80 แบบฝึกหัด 2.16

124 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

84  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

2.17 โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ (2)


จุดประสงค์
แก้โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

2.17 โจทย์ปญ
ั หาการบวกและโจทย์ปญ
ั หาการลบ (2)
สื่อการเรียนรู้ พัฒนาความรู้

−− บัตรภาพ แม่เพาะต้นดาวเรืองไว้ขาย 345 ต้น ต้นทานตะวัน 136 ต้น

−− แถบกระดาษสีที่มีความยาวแตกต่างกัน
แม่เพาะต้นดาวเรืองมากกว่าต้นทานตะวันกี่ต้น

โจทย์ถาม แม่เพาะต้นดาวเรืองมากกว่าต้นทานตะวันกี่ต้น
โจทย์บอก แม่เพาะต้นดาวเรืองไว้ขาย 345 ต้น ต้นทานตะวัน 136 ต้น

แนวการจัดการเรียนรู้ หาคำาตอบได้อย่างไร ต้นดาวเรือง


ต้นทานตะวัน 136
345
ต้นดาวเรือง

การพัฒนาความรู้
มากกว่าต้นทานตะวัน

1. ครูให้นักเรียนอ่านโจทย์ปัญหา ต้นดาวเรืองมากกว่าต้นทานตะวัน หาได้จาก 345 ลบด้วย 136

ประโยคสัญลักษณ์ 345 – 136 =


ในหนังสือเรียนหน้า 125 แล้วถามนักเรียนดังนี้ 345 – 136 = 209

−− โจทย์ถามอะไร ตอบ แม่เพาะต้นดาวเรืองมากกว่าต้นทานตะวัน ๒๐๙ ต้น

−− โจทย์บอกอะไร 209 เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง เพราะ 209 + 136 = 345

−− จะหาคำ�ตอบได้อย่างไร เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำาตอบ
เมื่อวานแก้วตาอ่านหนังสือได้ 112 หน้า วันนี้อ่านได้ 120 หน้า
ครูติดบัตรภาพดอกดาวเรืองและ วันนี้แก้วตาอ่านหนังสือได้มากกว่าเมื่อวานกี่หน้า

แถบกระดาษสีแสดงจำ�นวนของต้นดาวเรือง | 125
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เขียนตัวเลขแสดงจำ�นวนกำ�กับไว้ เฉลย

ครูติดบัตรภาพดอกทานตะวันและแถบกระดาษ
ประโยคสัญลักษณ์

120 – 112 =
120 – 112 = 8
สี ตอบ วันนี้แก้วตาอ่านหนังสือได้มากกว่าเมื่อวาน ๘ หน้า

แสดงจำ�นวนของต้นทานตะวัน เขียนตัวเลข
แสดงจำ�นวนกำ�กับไว้ ครูให้นักเรียนเปรียบเทียบ
แถบกระดาษสีว่า แถบกระดาษสีของต้นอะไรยาวกว่า นักเรียนตอบว่า แถบกระดาษสีของ
ต้นดาวเรืองยาวกว่า ครูอธิบายว่า แถบกระดาษสีของต้นดาวเรืองยาวกว่า แสดงว่าจำ�นวนต้นดาวเรือง
มากกว่าจำ�นวนต้นทานตะวัน ครูถามว่า ต้นดาวเรืองมากกว่าต้นทานตะวันอยู่เท่าไร และหาคำ�ตอบ
ได้อย่างไร นักเรียนตอบว่า หาคำ�ตอบได้จาก นำ�จำ�นวนต้นดาวเรืองลบด้วยจำ�นวนต้นทานตะวัน
ครูให้นักเรียนเขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำ�ตอบ พร้อมตรวจสอบความสมเหตุสมผล
ของคำ�ตอบ
จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกันเขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหา
ในกรอบท้ายหน้า 125

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  85
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

2. ครูให้นักเรียนอ่านโจทย์ปัญหา หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

ในหนังสือเรียนหน้า 126 แล้วถามนักเรียนดังนี้


บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

−− โจทย์ถามอะไร
ร้านค้ามีไข่เป็ด 118 ฟอง มีไข่ไก่มากกว่าไข่เป็ด 225 ฟอง ร้านค้ามีไข่ไก่
ทัง้ หมดกี่ฟอง

−− โจทย์บอกอะไร โจทย์ถาม ร้านค้ามีไข่ไก่ทั้งหมดกี่ฟอง


โจทย์บอก ร้านค้ามีไข่เป็ด 118 ฟอง มีไข่ไก่มากกว่าไข่เป็ด 225 ฟอง

−− จะหาคำ�ตอบได้อย่างไร หาคำาตอบได้อย่างไร

ครูติดแถบกระดาษสีแสดงจำ�นวนไข่เป็ด
ไข่เป็ด 118 ไข่ไก่มากกว่าไข่เป็ด

และเขียนตัวเลขแสดงจำ�นวนกำ�กับไว้ ไข่ไก่ 118 225

ครูถามนักเรียนว่า จากที่โจทย์กำ�หนดให้ ไข่เป็ด จำานวนไข่ไก่ทั้งหมด หาได้จาก 118 บวก 225

หรือไข่ไก่มีจำ�นวนมากกว่า นักเรียนตอบว่า ประโยคสัญลักษณ์ 118 + 225 =

ไก่ไข่มากกว่าไข่เป็ด 118 + 225 = 343

ตอบ ร้านค้ามีไข่ไก่ทั้งหมด ๓๔๓ ฟอง


ครูถามนักเรียนว่า ต้องติดแถบกระดาษสี 118 มากกว่า 100 และ 225 มากกว่า 200
100 + 200 = 300
แสดงจำ�นวนไข่ไก่ยาวกว่าหรือสั้นกว่าไข่เป็ด 118 + 225 มากกว่า 300
ดังนั้น 343 เป็นคำาตอบที่สมเหตุสมผล เพราะมากกว่า 300

เพราะเหตุใด นักเรียนตอบว่า ต้องติดแถบ เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำาตอบ

กระดาษสีแสดงจำ�นวนไข่ไก่ยาวกว่า เพราะ เมื่อวานแก้วตาอ่านหนังสือได้ 130 หน้า วันนี้อ่านได้มากกว่าเมื่อวาน


70 หน้า วันนี้แก้วตาอ่านหนังสือได้กี่หน้า

มีจำ�นวนไข่ไก่มากกว่าไข่เป็ด 126 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ครูติดแถบกระดาษสีแสดงจำ�นวนไข่ไก่
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 เฉลย
ครูถามนักเรียนว่า จากที่โจทย์กำ�หนดให้
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ประโยคสัญลักษณ์ 130 + 70 =

ร้ไข่ ไาก่มีมไข่ากกว่ าไข่เป็ไข่ดไก่เท่ าไราไข่เป็ด 225 ฟอง ร้านค้ามีไข่ไก่ 130 + 70 = 200


านค้ เป็ด 118 ฟอง มี มากกว่ ตอบ วันนี้แก้วตาอ่านหนังสือได้ ๒๐๐ หน้า
ทั้งหมดกี่ฟอง
นักเรียนตอบว่า 225 ฟอง ครูเขียนจำ�นวน
โจทย์ถาม ร้านค้ามีไข่ไก่ทั้งหมดกี่ฟอง

ที่ไข่ไก่มากกว่าไข่เป็ดจำ�นวน 225 ฟอง
โจทย์บอก ร้านค้ามีไข่เป็ด 118 ฟอง มีไข่ไก่มากกว่าไข่เป็ด 225 ฟอง
ลงในแถบกระดาษสีแสดงจำ�นวนไข่ไก่ ดังนี้
หาคำาตอบได้อย่างไร

ไข่เป็ด 118 ไข่ไก่มากกว่าไข่เป็ด

ไข่ไก่ 118 225

จำานวนไข่ไก่ทั้งหมด หาได้จาก 118 บวก 225

ครูถามนักเรียนว่า หาจำ�นวนไข่ไก่ทั้งหมดได้อย่างไร นักเรียนตอบว่า นำ� 118 บวกกับ 225


ประโยคสัญลักษณ์ 118 + 225 =

ครู ให้น118 + 225 = 343


ักเรียนเขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำ�ตอบ พร้อมตรวจสอบความสมเหตุสมผล
ของคำา�นค้ตอบ
ตอบ ร้ จากนั
ามีไข่ไก่ท ้นครูให้นักเรียนช่วยกันเขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหา
ั้งหมด ๓๔๓ ฟอง

ในกรอบท้ายหน้ า 126
118 มากกว่ า 100 และ 225 มากกว่า 200
100 + 200 = 300
118 + 225 มากกว่า 300
ดังนั้น 343 เป็นคำาตอบที่สมเหตุสมผล เพราะมากกว่า 300

เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำาตอบ
เมื่อวานแก้วตาอ่านหนังสือได้ 130 หน้า วันนี้อ่านได้มากกว่าเมื่อวาน
70 หน้า วันนี้แก้วตาอ่านหนังสือได้กี่หน้า

86  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
126 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

3. ครูให้นักเรียนอ่านโจทย์ปัญหา หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

ในหนังสือเรียนหน้า 127 แล้วถามนักเรียนดังนี้


บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

−− โจทย์ถามอะไร
ขุนมียางรัด 757 เส้น ขุนมียางรัดมากกว่าต้นกล้า 94 เส้น ต้นกล้ามียางรัดกีเ่ ส้น

−− โจทย์บอกอะไร โจทย์ถาม ต้นกล้ามียางรัดกี่เส้น


โจทย์บอก ขุนมียางรัด 757 เส้น ขุนมียางรัดมากกว่าต้นกล้า 94 เส้น

−− จะหาคำ�ตอบได้อย่างไร หาคำาตอบได้อย่างไร

ครูติดแถบกระดาษสีแสดงจำ�นวน ขุนมียางรัดมากกว่าต้นกล้า 94 เส้น หรือ ต้นกล้ามียางรัดน้อยกว่าขุน 94 เส้น

ยางรัดของขุน และเขียนตัวเลขแสดงจำ�นวน
ขุน 757
ต้นกล้า
ต้นกล้ามียางรัด

กำ�กับไว้ ครูถามนักเรียนว่า จากทีโ่ จทย์ก�ำ หนดให้ น้อยกว่าขุน 94 เส้น

ขุนกับต้นกล้า ใครมียางรัดมากกว่า นักเรียนตอบว่า


จำานวนยางรัดของต้นกล้าหาได้จาก 757 ลบด้วย 94

ประโยคสัญลักษณ์ 757 – 94 =
ขุน ครูถามว่า ขุนกับต้นกล้า ใครมียางรัดน้อยกว่า 757 – 94 = 663

นักเรียนตอบว่า ต้นกล้า ครูถามนักเรียนว่า ตอบ ต้นกล้ามียางรัด ๖๖๓ เส้น

ต้องติดแถบกระดาษสีแสดงจำ�นวนยางรัด 663 เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง เพราะ 663 + 94 = 757

ของต้นกล้าสั้นกว่าหรือยาวกว่าของขุน เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำาตอบ

เพราะเหตุใด นักเรียนตอบว่า ต้องติดแถบ สัปดาห์แรกชาวสวนปลูกมะพร้าว 324 ต้น สัปดาห์แรกปลูกได้มากกว่า


สัปดาห์ที่สอง 118 ต้น สัปดาห์ที่สองชาวสวนปลูกมะพร้าวได้กี่ต้น

กระดาษสีแสดงจำ�นวนยางรัดของต้นกล้าสั้นกว่า สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 127

ของขุน เพราะต้นกล้ามีจำ�นวนยางรัดน้อยกว่า
เฉลย
ของขุน ครูติดแถบกระดาษสีแสดงจำ�นวน ประโยคสัญลักษณ์ 324 – 118 =
ยางรัดของต้นกล้า ครูถามนักเรียนว่า จากทีโ่ จทย์ 324 – 118 = 206
ตอบ สัปดาห์ที่สองชาวสวนปลูกมะพร้าวได้ ๒๐๖ ต้น
กำ�หนดให้ ขุนมียางรัดมากกว่าต้นกล้า หรือต้นกล้า หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

มียางรั
ขุนด
มียน้
างรัอ ยกว่น ขุานขุมียนางรัเท่
ด 757 เส้ าไร นั
ดมากกว่ กเรีน ต้ยนนตอบว่
าต้นกล้า 94 เส้ กล้ามียางรัดกีเ่ ส้นา 94 เส้น

ครูเขียโจทย์
นจำถาม �นวนที ่ต้นกล้ามียางรัดน้อยกว่าขุน 94 เส้น
ต้นกล้ามียางรัดกี่เส้น

ลงในแถบกระดาษสี
โจทย์บอก ขุนมียางรัด 757 เส้ ดันง ขุนีนมี้ ยางรัดมากกว่าต้นกล้า 94 เส้น
หาคำาตอบได้อย่างไร

ขุนมียางรัดมากกว่าต้นกล้า 94 เส้น หรือ ต้นกล้ามียางรัดน้อยกว่าขุน 94 เส้น

ขุน 757
ต้นกล้า
ต้นกล้ามียางรัด
น้อยกว่าขุน 94 เส้น

จำานวนยางรัดของต้นกล้าหาได้จาก 757 ลบด้วย 94

ครูถามนักเรียนว่า หาจำ�นวนยางรัดของต้นกล้าได้อย่างไร นักเรียนตอบว่า 757 ลบด้วย 94


ประโยคสัญลักษณ์ 757 – 94 =

ครูให้นักเรียนเขี

ยนประโยคสัญลักษณ์และหาคำ�ตอบ พร้อมตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำ�ตอบ
757 – 94 = 663

ตอบ ต้นกล้ามียางรัด ๖๖๓ เส้น


จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกันเขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาในกรอบท้าย
หน้า 127
663 เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง เพราะ 663 + 94 = 757

เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำาตอบ
สัปดาห์แรกชาวสวนปลูกมะพร้าว 324 ต้น สัปดาห์แรกปลูกได้มากกว่า
สัปดาห์ที่สอง 118 ต้น สัปดาห์ที่สองชาวสวนปลูกมะพร้าวได้กี่ต้น

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 127

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  87
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

การตรวจสอบความเข้าใจ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ตรวจสอบความเข้าใจ
โดยให้นักเรียนเขียนประโยคสัญลักษณ์ เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำาตอบ

และหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาเป็นรายบุคคล 1 คุณยายห่อขนมใส่ไส้ได้ 240 ห่อ คุณแม่หอ


่ ได้มากกว่าคุณยาย 132 ห่อ
คุณแม่ห่อขนมใส่ไส้ได้กี่ห่อ
ตามหนังสือเรียนหน้า 128 ถ้าพบว่า ประโยคสัญลักษณ์ 240 + 132 =

มีนักเรียนยังเขียนประโยคสัญลักษณ์และ 240 + 132 = 372


ตอบ คุณแม่ห่อขนมใส่ไส้ได้ ๓๗๒ ห่อ

หาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาไม่ถูกต้อง
ครูให้นักเรียนมาฝึกเพิ่มเติมกับครูเป็นรายบุคคล 2 มีนก
ั ท่องเทีย่ วหญิงมากกว่าชาย 78 คน ถ้ามีนก
ั ท่องเทีย่ วหญิง 369 คน
มีนักท่องเที่ยวชายกี่คน
จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบ ประโยคสัญลักษณ์ 369 – 78 =

ความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ 369 – 78 = 291


ตอบ มีนักท่องเที่ยวชาย ๒๙๑ คน

สิ่งที่ได้เรียนรู้

สิ่งที่ได้เรียนรู้

การแก้โจทย์ปัญหาทำ�ได้โดย การแก้โจทย์ปญ
ั หาทำาได้โดย อ่านทำาความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปญ
หาคำาตอบ และตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำาตอบ
ั หา

อ่านทำ�ความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา
หาคำ�ตอบ และตรวจสอบความสมเหตุสมผล
แบบฝึกหัด 2.17

128 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ของคำ�ตอบ
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 2.17
หน้า 81 − 83

88  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

2.18 โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ (3)


จุดประสงค์
แก้โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

สื่อการเรียนรู้ 2.18 โจทย์ปญ


ั หาการบวกและโจทย์ปญ
ั หาการลบ (3)

แถบกระดาษสี พัฒนาความรู้

ร้านขายเครื่องเขียนมีสีเทียน 150 กล่อง สีไม้ 120 กล่อง ร้านขายเครื่องเขียน


มีสีไม้น้อยกว่าสีเทียนกี่กล่อง

แนวการจัดการเรียนรู้ โจทย์ถาม ร้านขายเครื่องเขียนมีสีไม้น้อยกว่าสีเทียนกี่กล่อง

การพัฒนาความรู้
โจทย์บอก ร้านขายเครื่องเขียนมีสีเทียน 150 กล่อง สีไม้ 120 กล่อง

หาคำาตอบได้อย่างไร สีเทียน 150


1. ครูให้นักเรียนอ่านโจทย์ปัญหา สีไม้ 120 สีไม้น้อยกว่าสีเทียน

ในหนังสือเรียนหน้า 129 แล้วถามนักเรียนดังนี้


สีไม้น้อยกว่าสีเทียน หาได้จาก 150 ลบด้วย 120

−− โจทย์ถามอะไร ประโยคสัญลักษณ์ 150 – 120 =

−− โจทย์บอกอะไร 150 – 120 = 30

ตอบ ร้านขายเครื่องเขียนมีสีไม้น้อยกว่าสีเทียน ๓๐ กล่อง


−− จะหาคำ�ตอบได้อย่างไร
30 เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง เพราะ 30 + 120 = 150

ครูติดแถบกระดาษสีแสดงจำ�นวนสีเทียน
เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำาตอบ
เขียนตัวเลขแสดงจำ�นวนกำ�กับไว้ แก้วตามีเหรียญหนึ่งบาท 453 เหรียญ มีเหรียญห้าบาท 246 เหรียญ
แก้วตามีเหรียญห้าบาทน้อยกว่าเหรียญหนึ่งบาทกี่เหรียญ
ครูติดแถบกระดาษสีแสดงจำ�นวนสีไม้
| 129
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เขียนตัวเลขแสดงจำ�นวนกำ�กับไว้
เฉลย
ครูให้นักเรียนเปรียบเทียบแถบกระดาษสี
ประโยคสัญลักษณ์ 453 – 246 =
ว่าแถบกระดาษสีของสีชนิดใดสั้นกว่า 453 – 246 = 207
ตอบ แก้วตามีเหรียญห้าบาทน้อยกว่าเหรียญบาท ๒๐๗ เหรียญ
นักเรียนตอบว่าแถบกระดาษสีของสีไม้สั้นกว่า
ครูอธิบายว่า แถบกระดาษสีของสีไม้สั้นกว่าแสดงว่าจำ�นวนของสีไม้น้อยกว่าจำ�นวนของสีเทียน
ครูถามว่า สีไม้น้อยกว่าสีเทียนอยู่เท่าไร และหาคำ�ตอบได้อย่างไร นักเรียนตอบว่า หาคำ�ตอบ
ได้จาก นำ�จำ�นวนสีเทียนลบด้วยจำ�นวนสีไม้ ครูให้นักเรียนเขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำ�ตอบ
พร้อมตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำ�ตอบ
จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกันเขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำ�ตอบของโจทย์ในกรอบท้าย
หน้า 129

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  89
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

2. ครูให้นักเรียนอ่านโจทย์ปัญหาในหนังสือเรียนหน้า 130 แล้วถามนักเรียนดังนี้


−− โจทย์ถามอะไร
−− โจทย์บอกอะไร หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

−− จะหาคำ�ตอบได้อย่างไร
ฟาร์มแห่งหนึ่งมีแพะ 580 ตัว มีวัวน้อยกว่าแพะ 190 ตัว ฟาร์มแห่งนี้มีวัวกี่ตัว
ครูติดแถบกระดาษสีแสดงจำ�นวนแพะ
และเขียนตัวเลขแสดงจำ�นวนกำ�กับไว้
โจทย์ถาม ฟาร์มแห่งนี้มีวัวกี่ตัว
โจทย์บอก ฟาร์มแห่งหนึ่งมีแพะ 580 ตัว มีวัวน้อยกว่าแพะ 190 ตัว

ครูถามนักเรียนว่า จากที่โจทย์กำ�หนดให้ หาคำาตอบได้อย่างไร

แพะหรือวัว มีจำ�นวนน้อกว่า นักเรียนตอบว่า วัว แพะ 580

ครูถามนักเรียนว่า ติดแถบกระดาษสี วัว วัวน้อยกว่าแพะ 190 ตัว

แสดงจำ�นวนวัวสั้นกว่าหรือยาวกว่าแพะ
จำานวนวัวหาได้จาก 580 ลบด้วย 190

เพราะเหตุใด นักเรียนตอบว่า ต้องติดแถบ ประโยคสัญลักษณ์ 580 – 190 =

กระดาษสีแสดงจำ�นวนวัวสั้นกว่าแพะ เพราะมี 580 – 190 = 390

จำ�นวนวัวน้อยกว่าแพะ ครูติดแถบกระดาษสี
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000
ตอบ ฟาร์มแห่งนี้มีวัว ๓๙๐ ตัว

แสดงจำ�นวนวัว ครูถามนักเรียนว่า จากที่โจทย์ 390 เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง เพราะ 390 + 190 = 580


ฟาร์มแห่งหนึ่งมีแพะ 580 ตัว มีวัวน้อยกว่าแพะ 190 ตัว ฟาร์มแห่งนี้มีวัวกี่ตัว
กำ�หนดให้ วัวน้อยกว่าแพะเท่าไร นักเรียน
เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำาตอบ
ตอบว่ า 190
โจทย์ถาม ตัวงนี้มครู
ฟาร์มแห่ ีวัวกีเ่ตขี
ัว ยนจำ�นวนทีว ่ วั น้อยกว่าแพะ สวนสัตว์มีนก 101 ตัว มีเต่าน้อยกว่านก 44 ตัว สวนสัตว์มีเต่ากี่ตัว
โจทย์บอก ฟาร์มแห่งหนึ่งมีแพะ 580 ตัว มีวัวน้อยกว่าแพะ 190 ตัว
190 ตัว ลงในแถบกระดาษสีแสดงจำ�นวน ดังนี้ 130 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หาคำาตอบได้อย่างไร

เฉลย
แพะ 580
วัว วัวน้อยกว่าแพะ 190 ตัว ประโยคสัญลักษณ์ 101 – 44 =
101 – 44 = 57
ตอบ สวนสัตว์มีเต่า ๕๗ ตัว
จำานวนวัวหาได้จาก 580 ลบด้วย 190
ครูถามนักเรียนว่า หาจำ�นวนวัวได้อย่างไร นักเรียนตอบว่า นำ� 580 ลบด้วย 190
ประโยคสัญลักษณ์ 580 – 190 =
ครูให้นักเรี ยนเขี

ยนประโยคสัญลักษณ์และหาคำ�ตอบ พร้อมตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำ�ตอบ
580 – 190 = 390
จากนั
ตอบ ฟาร์ มแห่งนี้ม้น
ีวัวครู ให้วนักเรียนช่วยกันเขียนประโยคสัญลักษณ์ และหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหา
๓๙๐ ตั

ในกรอบท้ายหน้า 130
390 เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง เพราะ 390 + 190 = 580

เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำาตอบ
สวนสัตว์มีนก 101 ตัว มีเต่าน้อยกว่านก 44 ตัว สวนสัตว์มีเต่ากี่ตัว

130 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

90  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

3. ครูให้นกั เรียนอ่านโจทย์ปญ ั หาในหนังสือเรียนหน้า 131 แล้วถามนักเรียนดังนี้


−− โจทย์ถามอะไร
−− โจทย์บอกอะไร หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

−− จะหาคำ�ตอบได้อย่างไร
ชาวสวนปลูกเงาะ 450 ต้น ปลูกเงาะน้อยกว่าทุเรียน 124 ต้น ชาวสวน
ครูติดแถบกระดาษสีแสดงจำ�นวนต้นเงาะ ปลูกทุเรียนกี่ต้น

และเขียนตัวเลขแสดงจำ�นวนกำ�กับไว้
โจทย์ถาม ชาวสวนปลูกทุเรียนกี่ต้น
โจทย์บอก ชาวสวนปลูกเงาะ 450 ต้น ปลูกเงาะน้อยกว่าทุเรียน 124 ต้น

ครูถามนักเรียนว่า จากที่โจทย์กำ�หนดให้ หาคำาตอบได้อย่างไร

ต้นเงาะกับต้นทุเรียน ต้นอะไร มีจำ�นวนน้อยกว่า ปลูกเงาะน้อยกว่าทุเรียน 124 ต้น หรือ ปลูกทุเรียนมากกว่าเงาะ 124 ต้น

นักเรียนตอบว่า ต้นเงาะ ครูถามว่า


เงาะ 450 ทุเรียนมากกว่าเงาะ

ทุเรียน 450 124

ต้นเงาะกับต้นทุเรียน ต้นอะไรมีจำ�นวนมากกว่า จำานวนทุเรียนที่ปลูก หาได้จาก 450 บวก 124

นักเรียนตอบว่า ต้นทุเรียน ครูถามนักเรียนว่า ประโยคสัญลักษณ์ 450 + 124 =

ต้องติดแถบกระดาษสีแสดงจำ�นวนต้นทุเรียน 450 + 124 = 574

ตอบ ชาวสวนปลูกทุเรียน ๕๗๔ ต้น


ยาวกว่าหรือสั้นกว่าต้นเงาะ เพราะเหตุใด 450 น้อยกว่า 500 และ 124 น้อยกว่า 200
500 + 200 = 700
นักเรียนตอบว่า ติดแถบกระดาษสีแสดงจำ�นวน 450 + 124 น้อยกว่า 700
ดังนั้น 574 เป็นคำาตอบที่สมเหตุสมผล เพราะน้อยกว่า 700

ต้นทุเรียนยาวกว่า เพราะว่า มีจำ�นวนต้นทุเรียน เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำาตอบ

มากกว่าต้นเงาะ ครูติดแถบกระดาษสี โรงเรียนแห่งหนึ่งมีนักเรียนชายน้อยกว่านักเรียนหญิง 115 คน


ถ้ามีนักเรียนชาย 374 คน มีนักเรียนหญิงกี่คน

แสดงจำ�นวน ต้นทุเรียน ครูถามนักเรียนว่า | 131


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

จากที่โจทย์กำ�หนดให้ ต้นเงาะน้อยกว่าต้นทุเรียน หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

หรือ ต้ชาวสวนปลู
นทุเรีกเงาะ 450 ต้
ยนมากกว่ าต้นเงาะเท่าไร
น ปลูกเงาะน้อยกว่าทุเรียน 124 ต้น ชาวสวน
เฉลย

นัก เรีปลูยกนตอบว่
ทุเรียนกี่ต้น
า 124 ต้น ครูเขียนจำ�นวนต้นทุเรียน ประโยคสัญลักษณ์ 374 + 115 =
374 + 115 = 489
โจทย์ถาม ชาวสวนปลูกทุเรียนกี่ต้น
มากกว่
โจทย์า ต้นชาวสวนปลู
บอก เงาะ 124 ต้นน ปลูลงในแถบกระดาษสี
กเงาะ 450 ต้ กเงาะน้อยกว่าทุเรียน 124 ต้น ดังนี้ ตอบ มีนักเรียนหญิง ๔๘๙ คน

หาคำาตอบได้อย่างไร

ปลูกเงาะน้อยกว่าทุเรียน 124 ต้น หรือ ปลูกทุเรียนมากกว่าเงาะ 124 ต้น

เงาะ 450 ทุเรียนมากกว่าเงาะ

ทุเรียน 450 124

จำานวนทุเรียนที่ปลูก หาได้จาก 450 บวก 124

ครูถามนักเรียนว่า หาจำ�นวนต้นทุเรียนได้อย่างไร นักเรียนตอบว่า นำ� 450 บวกกับ 124


ประโยคสัญลักษณ์ 450 + 124 =

450 + 124 = 574


ครูให้ตอบ ชาวสวนปลู
นักเรียนช่ วยกันเขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำ�ตอบ พร้อมตรวจสอบความสมเหตุสมผล
กทุเรียน ๕๗๔ ต้น

ของคำ�ตอบ 450 น้ อยกว่า 500 และ 124 น้อยกว่า 200


500 + 200 = 700

จากนั้นครู ดังนั้นใ 574 เป็


ห้นนักคำาเรี ย่สมเหตุ
นเขี ยนประโยคสั ญลักษณ์และหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาในกรอบท้าย
450 + 124 น้อยกว่า 700
ตอบที สมผล เพราะน้ อยกว่า 700

หน้า 131
เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำาตอบ
โรงเรียนแห่งหนึ่งมีนักเรียนชายน้อยกว่านักเรียนหญิง 115 คน
ถ้ามีนักเรียนชาย 374 คน มีนักเรียนหญิงกี่คน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 131

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  91
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

การตรวจสอบความเข้าใจ
4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

โดยให้นก ั เรียนเขียนประโยคสัญลักษณ์และ ตรวจสอบความเข้าใจ


เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำาตอบ
หาคำ�ตอบของโจทย์ปญ ั หาเป็นรายบุคคล
1 ลุงเลีย้ งปลานิล 100 ตัว เลีย้ งปลาทับทิมน้อยกว่าปลานิล 75 ตัว

ตามหนังสือเรียนหน้า 132 ถ้าพบว่า ลุงเลี้ยงปลาทับทิมกี่ตัว

มีนักเรียนยังเขียนประโยคสัญลักษณ์และ ประโยคสัญลักษณ์ 100 − 75 =


100 − 75 = 25
หาคำ�ตอบของโจทย์ปญ ั หาไม่ถูกต้อง ตอบ ลุงเลี้ยงปลาทับทิม ๒๕ ตัว

ครูให้นักเรียนมาฝึกเพิ่มเติมกับครูเป็นรายบุคคล
2 แก้วตามีลูกปัด 200 เม็ด แก้วตามีลูกปัดน้อยกว่าใบบัว 60 เม็ด

จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบ ใบบัวมีลูกปัดกี่เม็ด

ประโยคสัญลักษณ์ 200 + 60 =
ความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ 200 + 60 = 260
ตอบ ใบบัวมีลูกปัด ๒๖๐ เม็ด

สิ่งที่ได้เรียนรู้
• การแก้
สิ่งที่ได้เรียนรู้
โจทย์ปัญหาทำ�ได้โดย การแก้โจทย์ปญ
ั หาทำาได้โดย อ่านทำาความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปญ
ั หา
หาคำาตอบ และตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำาตอบ
อ่านทำ�ความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา
หาคำ�ตอบ และตรวจสอบความสมเหตุสมผล แบบฝึกหัด 2.18

132 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ของคำ�ตอบ
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 2.18
หน้า 84 − 86

92  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

2.19 โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ (4)


จุดประสงค์
แก้โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

สื่อการเรียนรู้
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

2.19 โจทย์ปญ
ั หาการบวกและโจทย์ปญ
ั หาการลบ (4)
บัตรตัวเลขและบัตรเครื่องหมาย
พัฒนาความรู้

แนวการจัดการเรียนรู้
ร้านขายไก่ทอด ทอดน่องไก่ไปแล้ว 147 ชิ้น ต้องทอดน่องไก่เพิ่มอีกกี่ชิ้น
จึงจะได้น่องไก่ทอด 250 ชิ้น

การพัฒนาความรู้ โจทย์ถาม ต้องทอดน่องไก่เพิ่มอีกกี่ชิ้น


โจทย์บอก ร้านขายไก่ทอด ทอดน่องไก่ไปแล้ว 147 ชิ้น ต้องทอดให้ได้ 250 ชิ้น

1. ครูให้นักเรียนอ่านโจทย์ปัญหา 147 บวกจำานวนใดได้ 250

ในหนังสือเรียนหน้า 133 แล้วถามดังนี้ ประโยคสัญลักษณ์ 147 + = 250

−− โจทย์ถามอะไร 147 + = 250

−− โจทย์บอกอะไร
ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ

จะได้ 250 – 147 =

ครูถามนักเรียนว่า ทอดน่องไก่ไปแล้ว 250 – 147 = 103

ดังนั้น 147 + 103 = 250


147 ชิ้น ทอดเพิ่มอีกเท่าไร จึงจะได้น่องไก่ทอด
ตอบ ร้านขายไก่ทอดต้องทอดน่องไก่เพิ่มอีก ๑๐๓ ชิ้น
250 ชิ้น หรือ 147 บวกกับจำ�นวนใด
เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำาตอบ

แล้วได้ 250 เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ แม่ทำาขนมถ้วยฟู 294 ชิ้น ป้าทำามาเพิ่มอีก ทำาให้มีขนมถ้วยฟูทั้งหมด


400 ชิ้น ป้าทำาขนมถ้วยฟูมาเพิ่มอีกกี่ชิ้น
ได้อย่างไร นักเรียนตอบว่า 147 + = 250 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 133

ครูถามนักเรียนว่า จากประโยคสัญลักษณ์นี้
หาคำ�ตอบได้อย่างไร นักเรียนตอบว่า
ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ จะได้
250 − 147 = 103 ครูให้นักเรียนตรวจสอบ
คำ�ตอบว่า 147 + 103 = 250 จริงหรือไม่
นักเรียนตรวจสอบคำ�ตอบแล้วถูกต้อง จะได้ 103
เป็นคำ�ตอบที่ถูกต้อง ดังนั้น ทอดน่องไก่เพิ่มอีก
103 ชิ้น จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกันเขียน
ประโยคสัญลักษณ์และหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหา
ในกรอบท้ายหน้า 133

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  93
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

2. ครูให้นักเรียนอ่านโจทย์ปัญหา หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

ในหนังสือเรียนหน้า 134 แล้วถามดังนี้


บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

−− โจทย์ถามอะไร
แม่มีเงินอยู่ 700 บาท ซื้อของไปแล้วเหลือเงิน 420 บาท แม่ซื้อของไปกี่บาท

−− โจทย์บอกอะไร โจทย์ถาม แม่ซื้อของไปกี่บาท


โจทย์บอก แม่มีเงินอยู่ 700 บาท ซื้อของไปแล้วเหลือเงิน 420 บาท
ครูถามนักเรียนว่า มีเงินอยู ่ 700 บาท
หาคำาตอบได้อย่างไร

ซือ
้ ของไปเท่าไร แล้วเหลือเงิน 420 บาท
หรือ 700 ลบด้วยจำ�นวนใดแล้วได้ 42
มีอยู่ 700 ลบอะไรแล้วเหลือ 420

ประโยคสัญลักษณ์ 700 – = 420

เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้อย่างไร ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ

จะได้ 700 – 420 =


นักเรียนตอบว่า 700− = 420 700 – 420 = 280

ครูถามนักเรียนว่า จากประโยคสัญลักษณ์น้ี ดังนั้น 700 – 280 = 420

หาคำ�ตอบได้อย่างไร นักเรียนตอบว่า
ตอบ แม่ซื้อของไป ๒๘๐ บาท

ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำาตอบ

จะได้ 700 − 420 = 280 ครูให้นก ั เรียน 1 ขุนมีเงิน 800 บาท นำาไปซื้อของเล่นแล้วเหลือเงิน 480 บาท
ขุนซื้อของเล่นกี่บาท

ตรวจสอบคำ�ตอบว่า 700 − 280 = 420 2 ถังไม้ใบหนึ่งมีข้าวสารเต็มถัง ชั่งน้ำาหนักได้ 542 กิโลกรัม


ถ้าถังไม้ใบนี้หนัก 31 กิโลกรัม ข้าวสารในถังนี้หนักกี่กิโลกรัม
จริงหรือไม่ นักเรียนตรวจสอบคำ�ตอบแล้วถูกต้อง
134 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

จะได้ 280 เป็นคำ�ตอบทีถ ่ ก


ู ต้อง ดังนัน้ ซือ้ ของไป
280 บาท เฉลย

1. ประโยคสัญลักษณ์ 800 − = 480 หรือ 800 – 480 =


จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกันเขียน ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
ประโยคสัญลักษณ์และหาคำ�ตอบ จะได้ 800 − 480 =
800 − 480 = 320
ของโจทย์ปัญหาข้อ 1 และ 2 ในกรอบท้าย ดังนั้น 800 − 320 = 480

หน้า 134 ตอบ ขุนซื้อของเล่น ๓๒๐ บาท

2. ประโยคสัญลักษณ์ + 31 = 542 หรือ 542 − 31 =


ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
จะได้ 542 − 31 =
542 − 31 = 511
ดังนั้น 511 + 31 = 542
ตอบ ข้าวสารในถังนี้หนัก ๕๑๑ กิโลกรัม

94  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

3. ครูให้นักเรียนอ่านโจทย์ปัญหา หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

ในหนังสือเรียนหน้า 135 แล้วถามดังนี้


บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

−− โจทย์ถามอะไร
แม่คา้ มีไข่ทง้ั หมดกีฟ
่ อง ถ้าใช้ทาำ ขนมไปแล้ว 345 ฟอง ยังมีไข่เหลืออยู ่ 75 ฟอง

−− โจทย์บอกอะไร โจทย์ถาม แม่ค้ามีไข่ทั้งหมดกี่ฟอง


โจทย์บอก ใช้ทำาขนมไปแล้ว 345 ฟอง ยังมีไข่เหลืออยู่ 75 ฟอง
ครูถามนักเรียนว่า มีไข่ทั้งหมดเท่าไร หาคำาตอบได้อย่างไร

ทำ�ขนมไปแล้ว 345 ฟอง เหลือไข่ 75 ฟอง


จำานวนใดลบด้วย 345 เท่ากับ 75
หรือ จำ�นวนใดลบด้วย 345 แล้วได้ 75 ประโยคสัญลักษณ์ – 345 = 75

เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้อย่างไร ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ

จะได้ 75 + 345 =

นักเรียนตอบว่า − 345 = 75 75 + 345 = 420

ครูถามนักเรียนว่า จากประโยคสัญลักษณ์นี้ ดังนั้น 420 – 345 = 75

ตอบ แม่ค้ามีไข่ทั้งหมด ๔๒๐ ฟอง


หาคำ�ตอบได้อย่างไร นักเรียนตอบว่า
ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำาตอบ

1 เดิมร้านค้ามีตุ๊กตากี่ตัว ถ้าซื้อมาเพิ่มอีก 84 ตัว ทำาให้ร้านค้ามีตุ๊กตา


จะได้ 75 + 345 = 420 ครูให้นักเรียน ทั้งหมด 560 ตัว
2 ระยะทางจากบ้านแก้วตาไปถึงบ้านคุณยายกี่กิโลเมตร ถ้าคุณพ่อขับรถ
ตรวจสอบคำ�ตอบว่า 420 − 345 = 75 มาแล้ว 145 กิโลเมตร และยังเหลือระยะทางอีก 76 กิโลเมตร

จริงหรือไม่ นักเรียนตรวจสอบคำ�ตอบ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 135

แล้วถูกต้อง จะได้ 420 เป็นคำ�ตอบที่ถูกต้อง


ดังนั้น มีไข่ทั้งหมด 420 ฟอง เฉลย

1. ประโยคสัญลักษณ์ + 84 = 560 หรือ 560 – 84 =


จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกันเขียน ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ

ประโยคสัญลักษณ์และหาคำ�ตอบของ จะได้ 560 − 84 =


560 − 84 = 476
โจทย์ปัญหาในกรอบท้ายหน้า 135 ดังนั้น 476 + 84 = 560
ตอบ เดิมร้านค้ามีตุ๊กตา ๔๗๖ ตัว

2. ประโยคสัญลักษณ์ − 145 = 76 หรือ 145 + 76 =


ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
จะได้ 76 + 145 =
76 + 145 = 221
ดังนั้น 211 − 145 = 76
ตอบ ระยะทางจากบ้านแก้วตาไปถึงบ้านคุณยาย ๒๒๑ กิโลเมตร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  95
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

การตรวจสอบความเข้าใจ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ตรวจสอบความเข้าใจ
โดยให้นักเรียนเขียนประโยคสัญลักษณ์ เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำาตอบ

และหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาเป็นรายบุคคล 1 พี่ตูนต้องการวิ่งให้ได้ระยะทาง 375 กิโลเมตร วิ่งไปแล้วสองวัน


ยังเหลือระยะทางที่ต้องวิ่งอีก 255 กิโลเมตร พี่ตูนวิ่งไปแล้วสองวัน
ตามหนังสือเรียนหน้า 136 ถ้าพบว่า เป็นระยะทางกี่กิโลเมตร ประโยคสัญลักษณ์ 375 − = 255 หรือ 375 − 255 =
ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
มีนักเรียนยังเขียนประโยคสัญลักษณ์และ จะได้

375 − 255 =
375 − 255 = 120

หาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาไม่ถูกต้อง ดังนั้น 375 − 120 = 255


ตอบ พี่ตูนวิ่งไปแล้วสองวันเป็นระยะทาง ๑๒๐ กิโลเมตร

ครูให้นักเรียนมาฝึกเพิ่มเติมกับครูเป็นรายบุคคล
2 ครูมีดินสออยู่ 146 แท่ง ครูต้องรับบริจาคดินสอเพิ่มอีกกี่แท่ง
จึงจะได้ดินสอไปบริจาคทั้งหมด 250 แท่ง

จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบ
ประโยคสัญลักษณ์ 146 + = 250 หรือ 250 − 146 =
ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
จะได้ 250 − 146 =
ความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ 250 − 146 = 104
ดังนั้น 146 + 104 = 560
ตอบ ครูต้องรับบริจาคดินสอเพิ่มอีก ๑๐๔ แท่ง

สิ่งที่ได้เรียนรู้ สิ่งที่ได้เรียนรู้

• การแก้
การแก้โจทย์ปญ
ั หาทำาได้โดย อ่านทำาความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปญ
ั หา

โจทย์ปัญหาทำ�ได้โดย หาคำาตอบ และตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำาตอบ

อ่านทำ�ความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา
แบบฝึกหัด 2.19

หาคำ�ตอบ และตรวจสอบความสมเหตุสมผล 136 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ของคำ�ตอบ
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 2.19 หน้า 87 − 88

96  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

2.20 การสร้างโจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบจากภาพ
จุดประสงค์
สร้างโจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบจากภาพ

สื่อการเรียนรู้ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

บัตรภาพ บัตรโจทย์ บัตรโจทย์ถาม บัตรโจทย์บอก 2.20 การสร้างโจทย์ปัญหาการบวก


และโจทย์ปัญหาการลบจากภาพ
บัตรประโยคสัญลักษณ์ พัฒนาความรู้ จากภาพช่วยกันสร้างโจทย์ปัญหาและ
เขียนประโยคสัญลักษณ์

โจทย์ปัญหาต้องมีส่วนที่โจทย์ถาม
และส่วนที่โจทย์บอก

แนวการจัดการเรียนรู้
การพัฒนาความรู้ มีมะม่วงดิบ 50 ผล มะม่วงสุก 20 ผล มีมะม่วงทั้งหมดกี่ผล

1. ครูทบทวนเรือ ่ งการแก้โจทย์ปญ ั หาว่า ถ้าต้องการ โจทย์ถาม มีมะม่วงทั้งหมดกี่ผล


โจทย์บอก มีมะม่วงดิบ 50 ผล มะม่วงสุก 20 ผล

แก้โจทย์ปญ ั หาต้องรูอ้ ะไรบ้าง นักเรียนตอบว่า โจทย์ถามอะไร


ประโยคสัญลักษณ์ 50 + 20 =

มีแอปเปิลเขียว 64 แพ็ก แอปเปิลแดง 56 แพ็ก มีแอปเปิลเขียว

โจทย์บอกอะไร ครูถามนักเรียนต่อว่า แล้วถ้าต้องการ มากกว่าแอปเปิลแดงกี่แพ็ก


โจทย์ถาม มีแอปเปิลเขียวมากกว่าแอปเปิลแดงกี่แพ็ก

สร้างโจทย์ปัญหา ในโจทย์ปัญหาที่สร้างต้องมีส่วนใดบ้าง
โจทย์บอก มีแอปเปิลเขียว 64 แพ็ก แอปเปิลแดง 56 แพ็ก
ประโยคสัญลักษณ์ 64 – 56 =

นักเรียนตอบว่า โจทย์ปัญหาที่สร้างต้องมีส่วนที่โจทย์ถาม โจทย์ปัญหาที่สร้างมีความเป็นไปได้หรือไม่ และคำาตอบเป็นเท่าไร

และส่วนที่โจทย์บอก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 137

ครูติดบัตรภาพร้านขายผลไม้ตามหนังสือเรียนหน้า
137 แล้วสนทนาเกี่ยวกับภาพ เช่น
ในภาพมีผลไม้อะไรบ้าง ครูให้นักเรียนช่วยกันสร้างโจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ
เกี่ยวกับผลไม้ในภาพ ครูอาจยกตัวอย่างโจทย์ปญ ั หาทีส่ ร้างไว้แล้วตามหนังสือเรียนหน้า 137
จากนัน ้ ใช้การถาม-ตอบ เพือ ่ ให้นก
ั เรียนบอกส่วนทีโ่ จทย์ถาม
ส่วนทีโ่ จทย์บอก และประโยคสัญลักษณ์ ซึง่ ครูควรเน้นย้�ำ ว่า
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000


ัม 200 บาท

โจทย์ปัญหาที่สร้างมีความเป็นไปได้หรือไม่ และคำ�ตอบ
เงาะ
มังคุด 3 กิโลกร 3 กิโ
ลกรัม
100
บาท

เป็นเท่าไร
2. ครูตด
ิ บัตรภาพมังคุดและเงาะพร้อมป้ายบอกราคา จากภาพช่วยกันสร้างโจทย์ปัญหาและ
เขียนประโยคสัญลักษณ์

บนกระดาน แล้วสนทนาเกี่ยวกับภาพ เช่น ในภาพมีผลไม้ แม่ซื้อมังคุด 3 กิโลกรัม และเงาะ 3 กิโลกรัม แม่ต้องจ่ายเงินเท่าไร

อะไรบ้าง และราคาเท่าไร ครูให้นักเรียนช่วยกันสร้าง ประโยคสัญลักษณ์ 200 + 100 =

โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบเกี่ยวกับ ซื้อมังคุด 3 กิโลกรัม จ่ายเงินมากกว่าซื้อเงาะ 3 กิโลกรัม อยู่กี่บาท

ประโยคสัญลักษณ์ 200 – 100 =

ผลไม้ในภาพ ครูอาจยกตัวอย่างโจทย์ปัญหาที่สร้างไว้แล้ว
ซื้อเงาะ 3 กิโลกรัม จ่ายเงินน้อยกว่าซื้อมังคุด 3 กิโลกรัม อยู่กี่บาท

ตามหนังสือเรียนหน้า 138 จากนั้นใช้การถาม-ตอบ ประโยคสัญลักษณ์ 200 – 100 =

เพื่อให้นักเรียนบอกส่วนที่โจทย์ถาม ส่วนที่โจทย์บอก โจทย์ปัญหาที่สร้างมีความเป็นไปได้หรือไม่ และคำาตอบเป็นเท่าไร

และประโยคสัญลักษณ์ ซึ่งครูควรเน้นย้ำ�ว่าโจทย์ปัญหา
138 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ที่สร้างมีความเป็นไปได้หรือไม่ และคำ�ตอบเป็นเท่าไร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  97
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

3. ครูให้นักเรียนทำ�กิจกรรม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

สร้างโจทย์ปัญหาอย่างไรดี ดังนี้
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

กิจกรรม สร้างโจทย์ปัญหาอย่างไรดี

−− แบ่งนักเรียนเป็นกลุม่ กลุม่ ละเท่า ๆ กัน อุปกรณ์ บัตรภาพ เช่น

−− แจกบัตรภาพกลุ่มละ 2 บัตร แล้วให้ ตัวอย่างบัตรภาพ

นักเรียนสร้างโจทย์ปัญหาการบวกและ
โจทย์ปญ ั หาการลบเกีย่ วกับภาพอย่างละ 1 โจทย์
จากนั้นให้นักเรียนส่งตัวแทนออกมานำ�เสนอ
ซึ่งในการนำ�เสนอให้นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับ
โจทย์ปัญหาที่สร้าง ส่วนที่โจทย์บอก ส่วนที่
โจทย์ถาม และประโยคสัญลักษณ์ พร้อมหาคำ�ตอบ
ให้เพื่อนในห้องช่วยกันตรวจสอบว่าโจทย์ปัญหา
วิธีจัดกิจกรรม

ที่สร้างมีความเป็นไปได้หรือไม่ และคำ�ตอบ 1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม


2. ครูแจกบัตรภาพให้กลุ่มละ 2 ภาพ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม
ถูกต้องหรือไม่ หากเวลาในการนำ�เสนอไม่เพียงพอ สร้างโจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบอย่างละ 1 โจทย์
3. ครูให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมานำาเสนอ และให้เพื่อนต่างกลุ่มพิจารณาว่า
ครูอาจให้นกั เรียนส่งเป็นใบงานเพือ่ ให้ครูตรวจสอบ โจทย์ปัญหาที่สร้างมีความเป็นไปได้หรือไม่ และคำาตอบเป็นเท่าไร

ความถูกต้องและให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 139

การตรวจสอบความเข้าใจ
4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

โดยให้นักเรียนสร้างโจทย์ปัญหาการบวกและ ตรวจสอบความเข้าใจ
สร้างโจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบจากภาพ
โจทย์ปัญหาการลบจากภาพ เป็นรายบุคคล พร้อมทั้งเขียนประโยคสัญลักษณ์

ตามหนังสือเรียนหน้า 140 ถ้าพบว่ามีนักเรียน


ยังสร้างโจทย์ปัญหาไม่ถูกต้อง ครูให้นักเรียน
คะน�า ผักกาดขาว กะหล่ำปลี

มาฝึกเพิม ่ เติมกับครูเป็นรายบุคคล จากนัน


้ ครูและ
นักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและสรุป 1 โจทย์ปัญหาการบวก
ใบบัวปลูกคะน้า 40 ต้น ปลูกผักกาดขาว 20 ต้น ใบบัวปลูกคะน้า

สิง่ ทีไ่ ด้เรียนรู้ และผักกาดขาวทั้งหมดกี่ต้น


ประโยคสัญลักษณ์ 40 + 20 =
*คำ�ตอบมีหลากหลายขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครู

2 โจทย์ปัญหาการลบ

สิ่งที่ได้เรียนรู้ ครูทับทิมปลูกคะน้า 40 ต้น ปลูกกะหล่ำ�ปลีน้อยกว่าคะน้า 10 ต้น

• การสร้
ครูทับทิมปลูกกะหล่ำ�ปลีกี่ต้น
ประโยคสัญลักษณ์ 40 – 10 =
างโจทย์ปญ
ั หา ต้องมีทง้ั ส่วนทีโ่ จทย์บอก *คำ�ตอบมีหลากหลายขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครู

และส่วนที่โจทย์ถาม นอกจากนี้โจทย์ปัญหา สิ่งที่ได้เรียนรู้

ที่สร้างต้องมีความเป็นไปได้ การสร้างโจทย์ปญ
ั หา ต้องมีทงั้ ส่วนทีโ่ จทย์บอกและส่วนทีโ่ จทย์ถาม
นอกจากนี้โจทย์ปัญหาที่สร้างต้องมีความเป็นไปได้

จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 2.20 แบบฝึกหัด 2.20

140 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน้า 89 − 90

98  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

2.21 การสร้างโจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบจากประโยคสัญลักษณ์
จุดประสงค์
สร้างโจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ
จากประโยคสัญลักษณ์

สื่อการเรียนรู้
−− บัตรภาพ บัตรโจทย์ บัตรประโยคสัญลักษณ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

แนวการจัดการเรียนรู้
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

2.21 การสร้างโจทย์ปัญหาการบวก

การพัฒนาความรู้ และโจทย์ปัญหาการลบจากประโยคสัญลักษณ์
พัฒนาความรู้

1. ครูทบทวนว่า ในโจทย์ปัญหาที่สร้างต้องมี
ส่วนใดบ้าง นักเรียนตอบว่า โจทย์ปัญหาต้องมีส่วนที่
บา
ดอกช

ดอกกุหลาบ ดอกทานตะวัน
ดอกดาวเรือง

โจทย์ถาม และส่วนที่โจทย์บอก ครูติดบัตรภาพ ช่วยกันสร้างโจทย์ปัญหาจากประโยคสัญลักษณ์


126 + 52 =

ร้านขายดอกไม้ ตามหนังสือเรียนหน้า 141 และ ติดบัตร โจทย์ปัญหามีส่วนที่โจทย์ถามและส่วนที่โจทย์บอก

ประโยคสัญลักษณ์ 126 + 52 = ให้นักเรียนช่วยกัน มีดอกกุหลาบสีแดง 126 ดอก สีขาว 52 ดอก


มีดอกกุหลาบสีแดงและสีขาวกี่ดอก

สร้างโจทย์ปัญหาจากประโยคสัญลักษณ์ เช่น ขุนมี มีดอกกุหลาบสีแดง 126 ดอก ดอกกุหลาบสีเหลือง


มากกว่าสีแดง 52 ดอก มีดอกกุหลาบสีเหลืองกี่ดอก

ดอกกุหลาบสีแดง 126 ดอก ดอกกุหลาบสีขาว 52 ดอก มีดอกกุหลาบสีแดง 126 ดอก ดอกกุหลาบสีแดง

ขุนมีดอกกุหลาบสีแดงและสีขาวกี่ดอก
น้อยกว่าสีชมพู 52 ดอก มีดอกกุหลาบสีชมพูกี่ดอก

โจทย์ปัญหาที่สร้างมีความเป็นไปได้หรือไม่ และคำาตอบเป็นเท่าไร

จากนั้นครูใช้การถาม-ตอบ เพื่อให้นักเรียน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 141

บอกส่วนที่โจทย์ถาม ส่วนที่โจทย์บอก ซึ่งครูควรเน้นย้ำ�ว่า


โจทย์ปัญหาที่สร้างมีความเป็นไปได้หรือไม่ และคำ�ตอบ
เป็นเท่าไร
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

2. ครูติดบัตรภาพปลาทอง ปลาหางนกยูง และ


ปลาเทวดา บนกระดาน แล้วสนทนาเกี่ยวกับภาพ เช่น ปลาทอง ปลาหางนกยูง ปลาเทวดา

ในภาพมีปลาอะไรบ้าง ครูให้นักเรียนช่วยกันสร้างโจทย์
ช่วยกันสร้างโจทย์ปัญหาจากประโยคสัญลักษณ์

ปัญหาจากประโยคสัญลักษณ์ 190 − 80 = 190 – 80 =

ครูอาจยกตัวอย่างโจทย์ปญ ั หาทีส่ ร้างไว้แล้วตามหนังสือเรียน มีปลาทอง 190 ตัว ตักขายไป 80 ตัว


เหลือปลาทองกี่ตัว

หน้า 142 จากนั้นใช้การถาม-ตอบ เพื่อให้นักเรียนบอก


มีปลาหางนกยูง 190 ตัว ปลาทอง 80 ตัว

ส่วนที่โจทย์ถามและส่วนที่โจทย์บอก ซึ่งครูควรเน้นย้ำ�ว่า มีปลาทองน้อยกว่าปลาหางนกยูงกี่ตัว

โจทย์ปัญหาที่สร้างมีความเป็นไปได้หรือไม่ และคำ�ตอบ มีปลาหางนกยูงและปลาเทวดา 190 ตัว


เป็นปลาหางนกยูง 80 ตัว เป็นปลาเทวดากี่ตัว

เป็นเท่าไร
โจทย์ปัญหาที่สร้างมีความเป็นไปได้หรือไม่ และคำาตอบเป็นเท่าไร

142 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  99
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

3. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

กัน แล้วแจกบัตรประโยคสัญลักษณ์ตามหนังสือ
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

สร้างโจทย์ปัญหาจากประโยคสัญลักษณ์

เรียนหน้า 143 กลุ่มละ 1 ข้อ ครูควรแจกบัตร


1 500 – 460 =

ประโยคสัญลักษณ์การบวกอีกกลุ่มละ 1 ข้อ
พ่อของแก้วตามีเงิน 500 บาท
ซึ่งแต่ละกลุ่มจะได้รับบัตรประโยคสัญลักษณ์ ซื้อกระเป๋านักเรียนให้แก้วตา 460 บาท

การบวก 1 ข้อ และบัตรประโยคสัญลักษณ์ พ่อของแก้วตาเหลือเงินกี่บาท


*คำ�ตอบมีหลากหลายขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครู
การลบ 1 ข้อ เมื่อแต่ละกลุ่มสร้างโจทย์ปัญหา
เสร็จแล้ว ให้ส่งตัวแทนออกมานำ�เสนอ ซึ่งใน
การนำ�เสนอให้นกั เรียนอธิบายเกีย่ วกับโจทย์ปญั หา
2 350 – 230 =
ที่สร้าง ส่วนที่โจทย์บอก ส่วนที่โจทย์ถาม และ
ประโยคสัญลักษณ์ พร้อมหาคำ�ตอบ ให้เพื่อน แม่ค้ามีดอกบัว 350 ดอก
ขายไป 230 ดอก แม่ค้าเหลือดอกบัวกี่ดอก
ในห้องช่วยกันตรวจสอบว่า โจทย์ปัญหาที่สร้าง *คำ�ตอบมีหลากหลายขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครู

มีความเป็นไปได้หรือไม่ และคำ�ตอบถูกต้องหรือไม่
หากเวลาในการนำ�เสนอไม่เพียงพอ ครูอาจ
ให้นักเรียนส่งเป็นใบงานเพื่อให้ครูตรวจสอบ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 143

ความถูกต้องและให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

การตรวจสอบความเข้าใจ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน ตรวจสอบความเข้าใจ
สร้างโจทย์ปัญหาจากประโยคสัญลักษณ์
โดยให้นักเรียนสร้างโจทย์ปัญหาการบวก
1 240 + 380 =
และโจทย์ปญ ั หาการลบเป็นรายบุคคล
ในงานแข่งขันกีฬาสีโรงเรียนแห่งหนึ่ง มีนักกีฬาชาย 380 คน
ตามหนังสือเรียนหน้า 144 ถ้าพบว่ามีนก ั เรียน มีนักกีฬาหญิงมากกว่านักกีฬาชา 240 คน มีนักกีฬาหญิงกี่คน

ยังสร้างโจทย์ปญั หาไม่ถูกต้อง ครูให้นักเรียน *คำ�ตอบมีหลากหลายขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครู

มาฝึกเพิ่มเติมกับครูเป็นรายบุคคล จากนั้น
ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง 2 400 – 135 =

และสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ หนังสือเล่มหนึ่งมีทั้งหมด 400 หน้า


แก้วตาอ่านไปแล้ว 135 หน้า เหลือหนังสือที่ยังไม่ได้อ่านกี่หน้า
*คำ�ตอบมีหลากหลายขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครู

สิ่งที่ได้เรียนรู้
• การสร้ างโจทย์ปัญหา ต้องมีทั้งส่วนที่
โจทย์บอกและส่วนที่โจทย์ถาม นอกจากนี้
สิ่งที่ได้เรียนรู้
การสร้างโจทย์ปญ
ั หา ต้องมีทงั้ ส่วนทีโ่ จทย์บอกและส่วนทีโ่ จทย์ถาม
นอกจากนี้โจทย์ปัญหาที่สร้างต้องมีความเป็นไปได้

โจทย์ปัญหาที่สร้างต้องมีความเป็นไปได้ แบบฝึกหัด 2.21

144 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 2.21
หน้า 91 − 92

100  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

ร่วมคิดร่วมทำ� หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

กิจกรรม กลุ่มของฉันอยู่ไหน
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ร่วมคิดร่วมทำา

กิจกรรม กลุ่มของฉันอยู่ไหน

อุปกรณ์ 1 ชุดประกอบด้วย อุปกรณ์ 1 ชุดประกอบด้วย บัตรโจทย์ปัญหา 5 บัตร บัตรประโยคสัญลักษณ์


10 บัตร และบัตรคำาตอบ 10 บัตร (บัตรโจทย์ปัญหา 1 บัตร
จะมีบัตรประโยคสัญลักษณ์ 2 บัตร และบัตรคำาตอบ 2 บัตร)
1. บัตรโจทย์ปัญหา 5 บัตร ตัวอย่างบัตร

2. บัตรประโยคสัญลักษณ์ 10 บัตร พ�อเลี้ยงปลา 150 ตัว ซื้อมาเพิ่มอีก 70 ตัว พ�อมีปลาทั้งหมดกี่ตัว

3. บัตรคำ�ตอบ 10 บัตร 150 + 70 = 150 − 70 =

พ�อมีปลาทั้งหมด 220 ตัว พ�อมีปลาทั้งหมด 80 ตัว

วิธีจัดกิจกรรม
เตรียมสถานที่

1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม และแจกอุปกรณ์กลุ่มละ 1 ชุด
2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันจัดกลุ่มของบัตรโจทย์ปัญหา

จัดโต๊ะเป็นกลุ่มหรือใช้ห้องโล่งในการ

บัตรประโยคสัญลักษณ์ และบัตรคำาตอบที่สอดคล้องกัน
3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำาเสนอ

จัดกิจกรรม ตัวอย่างโจทย์ปัญหา
แม่ค้ามีมะพร้าว 282 ผล ขายไป 148 ผล แม่ค้าเหลือมะพร้าวกี่ผล
รถบังคับราคา 425 บาท รถบังคับราคามากกว่าหุ่นยนต์ 100 บาท หุ่นยนต์ราคากี่บาท
พี่มีลูกแก้ว 178 ลูก พี่มีลูกแก้วน้อยกว่าน้อง 30 ลูก น้องมีลูกแก้วกี่ลูก

วิธีดำ�เนินกิจกรรม แม่ค้าขายเสื้อ 220 ตัว ขายกางเกงได้น้อยกว่าเสื้อ 40 ตัว ขายกางเกงได้กี่ตัว


ป้ามีกล้วย 274 ผล ปิ้งขายไปแล้วยังเหลืออีก 19 ผล ป้าขายกล้วยปิ้งไปแล้วกี่ผล
แก้วตามีแสตมป์ 92 ดวง ใบบัวมีแสตมป์มากกว่าแก้วตา 45 ดวง ใบบัวมีแสตมป์กี่ดวง
1. แบ่งนักเรียนเป็นกลุม ่ กลุม ่ ละเท่า ๆ กัน ขุนมีนมรสหวานมากกว่านมรสจืด 160 กล่อง ถ้าขุนมีนมรสจืด 480 กล่อง
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 ขุนมีนมรสหวานกีก
่ ล่อง

แล้วแจกอุปกรณ์ให้นักเรียนกลุ่มละ 1 ชุด
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 145
ร่วมคิดร่วมทำา
2. ครูให้นักเรียนจัดกลุ่มบัตรโจทย์ปัญหา
กิจกรรม กลุ่มของฉันอยู่ไหน
บัตรประโยคสั
อุปกรณ์ 1 ชุดญ ลักษณ์
ประกอบด้ วย บัตแ ละบั
รโจทย์ ปัญต รคำต�ร บั
หา 5 บั ตอบที ่ ญลักษณ์
ตรประโยคสั
10 บัตร และบัตรคำาตอบ 10 บัตร (บัตรโจทย์ปัญหา 1 บัตร
สอดคล้
องกัจะมีน เช่น ญลักษณ์ 2 บัตร และบัตรคำาตอบ 2 บัตร)
บัตรประโยคสั
ตัวอย่างบัตร

พ�อเลี้ยงปลา 150 ตัว ซื้อมาเพิ่มอีก 70 ตัว พ�อมีปลาทั้งหมดกี่ตัว

150 + 70 = 150 − 70 =

พ�อมีปลาทั้งหมด 220 ตัว พ�อมีปลาทั้งหมด 80 ตัว

วิธีจัดกิจกรรม

3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำ�เสนอโจทย์ปัญหา ส่วนที่โจทย์ถาม ส่วนที่โจทย์บอก


1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม และแจกอุปกรณ์กลุ่มละ 1 ชุด
2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันจัดกลุ่มของบัตรโจทย์ปัญหา
ประโยคสัญลักษณ์ และคำ�ตอบ
บั ต รประโยคสั ญ ลั ก ษณ์ และบั ต รคำ า ตอบที ส
่ อดคล้ อ งกั น
3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำาเสนอ
4. ถ้าเวลาไม่เพียตังพอครู วอย่างโจทย์ปัญ อหาาจแจกบัตรโจทย์ปัญหาให้น้อยลงตามความเหมาะสม
แม่ค้ามีมะพร้าว 282 ผล ขายไป 148 ผล แม่ค้าเหลือมะพร้าวกี่ผล
จากนั ้นครูให้นักงเรี
รถบังคับราคา 425 บาท รถบั ยนทำ�าหุแบบฝึ
คับราคามากกว่ กท้า่นยนต์
่นยนต์ 100 บาท หุ ทาย
ราคากีหน้
่บาท า 93
พี่มีลูกแก้ว 178 ลูก พี่มีลูกแก้วน้อยกว่าน้อง 30 ลูก น้องมีลูกแก้วกี่ลูก
แม่ค้าขายเสื้อ 220 ตัว ขายกางเกงได้น้อยกว่าเสื้อ 40 ตัว ขายกางเกงได้กี่ตัว
ป้ามีกล้วย 274 ผล ปิ้งขายไปแล้วยังเหลืออีก 19 ผล ป้าขายกล้วยปิ้งไปแล้วกี่ผล
แก้วตามีแสตมป์ 92 ดวง ใบบัวมีแสตมป์มากกว่าแก้วตา 45 ดวง ใบบัวมีแสตมป์กี่ดวง
ขุนมีนมรสหวานมากกว่านมรสจืด 160 กล่อง ถ้าขุนมีนมรสจืด 480 กล่อง
ขุนมีนมรสหวานกีก
่ ล่อง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 145

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  101
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

ตัวอย่างแบบทดสอบท้ายบท

ตัวอย่างแบบทดสอบนี้ใช้ในการประเมินผลระหว่างเรียนเพื่อพัฒนานักเรียนหากมีนักเรียน
คนใดที่ไม่สามารถทำ�แบบทดสอบนี้ได้ ครูควรให้นักเรียนคนนั้นฝึกทักษะมากขึ้นโดยอาจใช้
แบบฝึกเสริมในหนังสือเสริมเพิ่มปัญญาของสสวท.หรือแบบฝึกอื่นตามที่เห็นสมควร ก่อนสอบครูอาจ
ทบทวนความรูใ้ ห้กบ
ั นักเรียนก่อน 20-30 นาที ซึง่ แบบทดสอบท้ายบทนีม
้ จี �ำ นวน 12 ข้อ คะแนนเต็ม
12 คะแนน ใช้เวลาในการทำ�แบบทดสอบ 20 นาที และวิเคราะห์เป็นรายจุดประสงค์ได้ดังนี้

จุดประสงค์ ข้อที่

1. หาผลบวกในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกของจำ�นวนนับ
ตอนที่ 1 ข้อ 1,2
ไม่เกิน 1,000

2. หาผลลบในประโยคสัญลักษณ์แสดงการลบของจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ตอนที่ 1 ข้อ 3

3. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวก และ
ตอนที่ 1 ข้อ 4,5
ประโยคสัญลักษณ์แสดงการลบของจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000

4. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาการบวก และโจทย์ปัญหาการลบ ตอนที่ 2

5. สร้างโจทย์ปัญหาการบวก และโจทย์ปัญหาการลบ ตอนที่ 3

ตัวอย่างแบบทดสอบท้ายบทที่ 2
ตอนที่ 1 เติมคำ�ตอบ
1. 356 + 109 = …………………….........
2. 124 + 130 + 246 = …………………
3. 999 − 145 − 390 = …………………
4. ………………… − 253 = 185
5. 190 – …………………. = 80

102  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

ตอนที่ 2 เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำ�ตอบ
1. แม่ซื้อจานกระดาษมา 400 ใบ นำ�มาใช้ 235 ใบ แม่เหลือจานกระดาษกี่ใบ
ประโยคสัญลักษณ์.............................................................................................
ตอบ..................................................................................................................

2. วันแรกพ่อเก็บมะพร้าวได้ 128 ผล วันต่อมาเก็บได้อีก 108 ผล รวมสองวันพ่อเก็บ


มะพร้าวได้กี่ผล
ประโยคสัญลักษณ์.............................................................................................
ตอบ..................................................................................................................

3. แก้วตาออมเงินได้ 345 บาท แก้วตาออมเงินได้มากกว่าใบบัว 215 บาท ใบบัวออมเงินได้กี่บาท


ประโยคสัญลักษณ์.............................................................................................
ตอบ..................................................................................................................

4. ห้องสมุดมีหนังสือคณิตศาสตร์น้อยกว่าหนังสือวิทยาศาสตร์ 78 เล่ม ถ้ามีหนังสือคณิตศาสตร์


300 เล่ม ห้องสมุดจะมีหนังสือวิทยาศาสตร์กี่เล่ม
ประโยคสัญลักษณ์.............................................................................................
ตอบ..................................................................................................................

5. วันนี้ร้านสหกรณ์ขายปากกาได้ 324 ด้าม เหลือปากกา 174 ด้าม เดิมสหกรณ์มีปากกากี่ด้าม


ประโยคสัญลักษณ์.............................................................................................
ตอบ..................................................................................................................

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  103
คู่มือครูร�ยวิช�พื้นฐ�นคณิตศ�สตร์
ชั้นประถมศึกษ�ปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ตอนที่ 3 สร้�งโจทย์ปัญห�ก�รบวกและโจทย์ปัญห�ก�รลบ

1. โจทย์ปัญห�ก�รบวก
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
2. โจทย์ปัญห�ก�รลบ
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................

เฉลยแบบทดสอบท้ายบทที่ 2
ตอนที่ 1
1. 465 2. 500 3. 464 4. 438 5. 110
ตอนที่ 2
1. ประโยคสัญลักษณ์ 400 − 235 = ตอบ แม่เหลือจ�นกระด�ษ 165 ใบ
2. ประโยคสัญลักษณ์ 128 + 108 = ตอบ รวมสองวันพ่อเก็บมะพร้�วได้ 236 ผล
3. ประโยคสัญลักษณ์ 345 − 215 = ตอบ ใบบัวออมเงินได้ 130 บ�ท
4. ประโยคสัญลักษณ์ 300 + 78 = ตอบ ห้องสมุดจะมีหนังสือวิทย�ศ�สตร์ 378 เล่ม
5. ประโยคสัญลักษณ์ − 324 = 174 ตอบ เดิมสหกรณ์มีป�กก� 498 ด้�ม (นักเรียนอ�จ
เขียนประสัญลักษณ์เป็น 324 + 174 =
ตอนที่ 3
1. (ตัวอย่�ง) วันแรกแม่ค้�ข�ยลูกชุบได้ 410 ลูก วันที่สองข�ยได้ม�กกว่�วันแรก 102 ลูก วันที่สอง
แม่ค้�ข�ยลูกชุบได้กี่ลูก
2. (ตัวอย่�ง) มีลูกชุบที่ปั้นเป็นรูปพริก 341 ลูก ลูกชุบที่ปั้นเป็นรูปมังคุด 293 ลูก มีลูกชุบที่ปั้นเป็น
รูปพริกม�กกว่�ลูกชุบที่ปั้นเป็นรูปมังคุดกี่ลูก

104 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 3 | การวัดความยาว ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

บทที่ 3 การวัดความยาว

จุดประสงค์การเรียนรู้และสาระสำ�คัญ

จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำ�คัญ

นักเรียนสามารถ

1. วัดและบอกความยาวเป็นเมตรและ
เซนติเมตร
• การวั ดความยาวหรือความสูงของสิ่งต่าง ๆ
เป็นเซนติเมตร อาจวางเครื่องมือวัดเริ่มที่ 0
(หัวข้อ 3.1, 3.2, 3.3) หรือไม่เริ่มที่ 0 ก็ได้

• การวัดระยะทางระหว่างตำ�แหน่งสองตำ�แหน่ง
ทำ�ได้โดยวัดความยาวตามเส้นทางที่กำ�หนด
จากตำ�แหน่งหนึ่งไปอีกตำ�แหน่งหนึ่ง
ถ้าเส้นทางเป็นแนวเส้นตรง ความยาวที่วัดได้
อาจเรียกว่าระยะห่างระหว่างตำ�แหน่งสอง
ตำ�แหน่งนั้น

• การบอกความยาวหรือความสูงของสิ่งต่าง ๆ
อาจบอกเป็นเมตร เป็นเซนติเมตร หรือ
เป็นเมตรและเซนติเมตร

• 1 เมตร เท่ากับ 100 เซนติเมตร

2. คาดคะเนความยาวเป็นเมตร
(หัวข้อ 3.4)
• การคาดคะเนความยาวหรื อความสูงเป็นเมตร
เป็นการบอกความยาวหรือความสูงเป็นเมตร
ให้ใกล้เคียงกับความยาวหรือความสูงจริง
อาจเทียบกับความยาวหรือความสูง 1 เมตร
โดยไม่ใช้เครื่องมือวัด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  105
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 3 | การวัดความยาว

จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำ�คัญ

นักเรียนสามารถ

3. เปรียบเทียบความยาวโดยใช้ความสัมพันธ์
ระหว่างเมตรและเซนติเมตร
• การเปรี ยบเทียบความยาวเป็นเมตรและ
เซนติเมตรของสิง่ ต่าง ๆ สองสิง่ สิง่ ทีม
่ ค
ี วามยาว
(หัวข้อ 3.5, 3.6, 3.7) เป็นเมตรมากกว่าจะยาวกว่า ถ้าความยาว
เป็นเมตรเท่ากัน สิ่งที่มีความยาวเป็น
เซนติเมตรมากกว่าจะยาวกว่า

• การเปรียบเทียบความยาวที่มีหน่วยต่างกัน
ต้องเปลี่ยนหน่วยให้เป็นหน่วยเดียวกันก่อน
แล้วนำ�มาเปรียบเทียบกัน

4. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
ความยาวที่มีหน่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร
• การหาผลบวกหรื อผลลบเกี่ยวกับความยาว
เป็นเมตรและเซนติเมตร ทำ�ได้โดยนำ�ความยาว
(หัวข้อ 3.8, 3.9, 3.10) ที่เป็นหน่วยเดียวกันมาบวกหรือลบกัน

• การแก้โจทย์ปัญหาทำ�ได้โดย
อ่านทำ�ความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา
หาคำ�ตอบ และตรวจสอบความสมเหตุสมผล
ของคำ�ตอบ

106  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 3 | การวัดความยาว ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

การวิเคราะห์เนื้อหากับทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

ทักษะและกระบวนการ
เวลา ทางคณิตศาสตร์
หัวข้อ เนื้อหา
(ชั่วโมง)
1 2 3 4 5

เตรียมความพร้อม 1

3.1 การแก้ปัญหาการวัดความยาวเป็นเซนติเมตร 1

3.2 การวัดความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร 1

3.3 ความสัมพันธ์ระหว่างเมตรกับเซนติเมตร 1

3.4 การคาดคะเนความยาวเป็นเมตร 1

3.5 การเปรียบเทียบความยาว (1) 1

3.6 การเปรียบเทียบความยาว (2) 1

3.7 การวัดและเปรียบเทียบระยะทาง 1

3.8 การบวกและการลบเกี่ยวกับความยาว 2
โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหา
3.9 2
การลบ (1)
โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหา
3.10 2
การลบ (2)
ร่วมคิดร่วมทำ� 1

1  การแก้ปัญหา 2  การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
3  การเชื่อมโยง 4  การให้เหตุผล 5  การคิดสร้างสรรค์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  107
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 3 | การวัดความยาว

คำ�สำ�คัญ
เครื่องมือวัดความยาว การวัดความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร การคาดคะเนความยาว
เป็นเมตร ระยะทาง ระยะห่าง หน่วยการวัดความยาว

ความรู้หรือทักษะพื้นฐานของนักเรียน
1. การสังเกต
2. การวิเคราะห์
3. การบวกจำ�นวนนับ
4. การลบจำ�นวนนับ
5. การใช้เครื่องมือวัด เช่น ไม้บรรทัด ไม้เมตร ตลับเมตร สายวัด
6. การวัดและบอกความยาวเป็นเมตร
7. การวัดและบอกความยาวเป็นเซนติเมตร
8. การเปรียบเทียบความยาวเป็นเมตร
9. การเปรียบเทียบความยาวเป็นเซนติเมตร

สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียน หน้า 146 - 189
2. แบบฝึกหัด หน้า 94 - 122
3. แบบบันทึกกิจกรรม ใบกิจกรรม บัตรภาพต่าง ๆ และอุปกรณ์ ต่าง ๆ ที่ใช้ประกอบ
กิจกรรม ดังนี้


• เครื่องมือวัดความยาว เช่น ไม้เมตร ไม้บรรทัด สายวัดชนิดตลับ (ชนิดผ้า) และ
เครื่องมือวัดที่ไม่สามารถเริ่มวัดที่ตัวเลข 0

• เชือกที่มีความยาวเป็นเมตร เชือกที่มีความยาวเป็นเซนติเมตร เชือกสีแดง เชือกสีฟ้า

• บัตรภาพแสดงการวัดความยาวหรือความสูงที่ไม่ได้เริ่มที่ตัวเลข 0

• สือ่ ของจริง เช่น โต๊ะครู โต๊ะนักเรียน ริบบิน


้ ดินสอ ยางลบ หนังสือ ธงราว เครือ่ งบินกระดาษ

• บัตรภาพ 2 ชุด ชุดที่ 1 บอกความยาว ชุดที่ 2 บอกความสูง

• แถบโจทย์การบวก แถบโจทย์การลบ แถบโจทย์ปญ ั หาการบวก แถบโจทย์ปญ ั หาการลบ

• อุปกรณ์สำ�หรับกำ�หนดเส้นทาง เช่น กรวยจราจร ขวดน้ำ�

• ใบกิจกรรม แบบบันทึกกิจกรรม
4. สื่อเพิ่มเติม หน้า 148 155 159 163 171 และ 189 (Download ได้จาก QR code
หน้า 146)

เวลาที่ใช้จัดการเรียนรู้ 16 ชั่วโมง
108  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 3 | การวัดความยาว ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

การจัดการเรียนรู้
การเตรียมความพร้อม

บทที่ 3 การวัดความยาว

เรียนจบบทนี้แล้ว นักเรียนสามารถ

วัดและบอกความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร
คาดคะเนความยาวเป็นเมตร นักกีฬาสีเหลืองกระโดดไกลได้ 1 เมตร 50 เซนติเมตร
เปรียบเทียบความยาวโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างเมตร
และเซนติเมตร
แสดงวิธีหาคำาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว
1 ม. สีฟ�า 1 ม. สีฟ�า 2 ม. 2 ม. 3 ม. 3 ม. 4 ม. 4 ม.
สื่อเพิ่มเติม ที่มีหน่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร สีแดง1 ม. 20 ซม.
95 ซม.
1 ม. 20 ซม.
สีแดง
95 ซม.
สีเขียว สีเขียว
1 ม. 25 ซม. 1 ม. 25 ซม.

นักกีฬาสีใดกระโดดได้ไกลที่สุด

1. ครูใช้หน้าเปิดบทสนทนาเกี่ยวกับการแข่งขันกระโดดไกลของนักกรีฑาประเภทลาน ครูอาจ
ให้ความรู้เพิ่มเติมว่า กระโดดไกลเป็นกรีฑาประเภทลานที่ใช้การวิ่งเพื่อกระโดดโดยกระโดดออกจาก
จุดกระโดดไปให้ไกลที่สุด ครูใช้การถาม-ตอบกระตุ้นความสนใจของนักเรียน เช่น
−− ในภาพมีกรีฑาประเภทลานอะไรบ้าง (กระโดดไกล กระโดดสูง)
−− เคยแข่งกระโดดสูงหรือไม่
−− รู้ได้อย่างไรว่าใครกระโดดสูงที่สุด
−− เคยแข่งกระโดดไกลหรือไม่
−− รู้ได้อย่างไรว่าใครกระโดดไกลที่สุด
−− วัดระยะทางการกระโดดไกลได้อย่างไร
โดยที่บางคำ�ถามนักเรียนอาจตอบได้ แต่บางคำ�ถามครูอาจเลือกเพื่อถามนำ�เข้าสู่บทเรียนว่า
จะหาคำ�ตอบได้ต้องใช้ความรู้ที่จะเรียนในบทนี้ จากนั้นครูทำ�กิจกรรมเตรียมความพร้อม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  109
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 3 | การวัดความยาว

2. ครูและนักเรียนใช้หนังสือเรียนหน้า 148 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 3 | การวัดความยาว

ให้นักเรียนทำ�กิจกรรมร่วมด้วยช่วยกันวัดความยาวเชือก เตรียมความพร้อม

ในการเตรียมความพร้อม เพื่อตรวจสอบความรู้พื้นฐาน กิจกรรม ร่วมด้วยช่วยกันวัดความยาวเชือก


อุปกรณ์ 1 ชุดประกอบด้วย

ของนักเรียนในการใช้เครื่องมือวัดความยาว เช่น ไม้เมตร


1. เครื่องมือวัดความยาว เช่น ไม้เมตร ไม้บรรทัด
2. เชือกที่มีความยาวเป็นเมตร 2 เส้น เช่น 1 เมตร 3 เมตร
และเชือกที่มีความยาวเป็นเซนติเมตร 2 เส้น เช่น 30 ซม. 85 ซม.

ไม้บรรทัด ในการวัดความยาวของเชือกที่มีความยาวเป็น 3. แบบบันทึกกิจกรรม


วิธีจัดกิจกรรม

เมตร ความยาวเป็นเซนติเมตร เมื่อนักเรียนวัดความยาว 1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม แนะนำาเครื่องมือวัดความยาว และแจกอุปกรณ์


กลุ่มละ 1 ชุด ให้นักเรียนวัดความยาวของเชือกเป็นเมตร 2 เส้น
และวัดความยาวของเชือกเป็นเซนติเมตร 2 เส้น
ของเชือกและจดบันทึกในใบกิจกรรมแล้วให้เปรียบเทียบ 2. ให้แต่ละกลุ่มช่วยกันวัดความยาวของเชือก บันทึกความยาวลงใน
แบบบันทึกกิจกรรม และเปรียบเทียบความยาวที่วัดได้

ความยาวของเชือกที่มีหน่วยเดียวกันตามที่ครูกำ�หนด เช่น 3. ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง

เชือกสีแดง ยาวกว่าหรือสั้นกว่า เชือกสีน้ำ�เงิน และยาวกว่า ตัวอย่างแบบบันทึกกิจกรรม

เชือกเส้นที่ ความยาว เปรียบเทียบ (ยาวกว่า / สั้นกว่า)

หรือสั้นกว่าอยู่เท่าไร เพื่อนักเรียนจะได้ทบทวนความรู้เกี่ยว 1
2
.............. เมตร
.............. เมตร
เส้นที่ 1 ........... เส้นที่ 2 อยู่ ........... เมตร

กับการวัดความยาวเป็นเมตร เป็นเซนติเมตร
3 ................ ซม.
เส้นที่ 3 ........... เส้นที่ 4 อยู่ ........... ซม.
4 ................ ซม.

และเปรียบเทียบความยาวเป็นเมตร เป็นเซนติเมตร 148 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ครูอาจทำ�กิจกรรมเพิ่มเติมโดยการใช้ภาพสิ่งของ
ที่อยู่รอบตัว เช่น โต๊ะนักเรียน โต๊ะครู ตู้หนังสือที่กำ�หนด หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว

ความยาวให้ แล้วให้นักเรียนฝึกการเปรียบเทียบความยาว 3.1 การแก้ปญ


ั หาการวัดความยาวเป�นเซนติเมตร
พัฒนาความรู้

3.1 การแก้ปญ
ั หาการวัดความยาวเป็นเซนติเมตร วัดความยาวของดินสอได้อย่างไร

12
11
10
จุดประสงค์

9 8
7
6
5 4
32
1 0
2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

วัดและบอกความยาวหรือความสูงของสิ่งที่กำ�หนดให้ ไม้บรรทัด
มองไม่เห็นตัวเลข 0
ต้องนับจำานวนช่อง

เป็นเซนติเมตร 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

ความยาวของดินสอเท่ากับ 8 ช่อง
ดังนั้น ดินสอยาว 8 เซนติเมตร หรือ 8 ซม.

สื่อการเรียนรู้
สังเกต ปลายดินสอข้างหนึ่งตรงกับตัวเลข 3
และอีกข้างหนึ่งตรงกับตัวเลข 11
ดังนั้น หาความยาวของดินสอได้จาก 11 – 3 = 8 เซนติเมตร

−− บัตรภาพแสดงการวัดความยาวหรือความสูง ไม้กวาดยาวกี่เซนติเมตร 0
10 0
90

ในสถานการณ์ต่าง ๆ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 11 12 13 14 15 16 17 18 19 21 22 23 24 25 26 27 28 29 31 32 33 34 35 36 37 38 39 41 42 43 44 45 46 47 48 49 51 52 53 54 55 56 57 58 59 61 62 63 64 65 66 67 68 69 71 72 73 74 75 76 77 78 79 81 82 83 84 85 86 87 88 89 91 92 93 94 95 96 97 98 99

0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100
ซม.

80 เซนติเมตร
−− ไม้บรรทัด ไม้เมตร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 149

−− สิ่งที่ต้องการวัด เช่น ดินสอ ไม้กวาด ขวดน้ำ�

แนวการจัดการเรียนรู้
การพัฒนาความรู้
1. ครูทบทวนการวัดความยาวของดินสอเป็นเซนติเมตรโดยใช้ไม้บรรทัด โดยให้ตัวแทน
นักเรียนออกมาแสดงการวัดความยาวของดินสอหน้าชั้น นักเรียนแสดงการวัดความยาวของดินสอ
โดยเริ่มต้นวัดจาก 0 ครูถามนักเรียนว่า ดินสอยาวกี่เซนติเมตร นักเรียนตอบว่า ดินสอยาว
8 เซนติเมตร ครูถามนักเรียนต่อว่า ถ้าวัดความยาวของดินสอโดยใช้ไม้บรรทัดที่เริ่มต้นวัดจาก

110  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 3 | การวัดความยาว ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

3 เซนติเมตร ตามหนังสือเรียนหน้า 149 จะวัดความยาว หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 3 | การวัดความยาว

ของดินสอได้เท่าไร นักเรียนตอบว่า 8 เซนติเมตร ครูสาธิต 200


ซม.

190

การวัดความยาวของดินสอทีเ่ ริม ่ ต้นวัดจาก 3 เซนติเมตร


180

170

160

โดยให้ปลายดินสอข้างหนึง่ ตรงกับตัวเลข 3 แล้ว ครูให้นกั เรียน


150

140

130

ช่วยกันบอกความสูง

ดูวา่ ปลายอีกข้างหนึง่ ตรงกับตัวเลขอะไร นักเรียนตอบว่า


120

ของพ่อ พี่ และน้อง 110

100

90

ตรงกับตัวเลข 11 ครูถามต่อไปว่า ดินสอยาว 8 เซนติเมตร


80

70

60

แต่ปลายอีกข้างของดินสอตรงกับตัวเลข 11 เราจะมีวธิ บ ี อก
50

40

30

ความยาวของดินสอทีว่ ด ั ได้อย่างไร นักเรียนตอบว่า นับช่อง


20

10

ทีแ่ สดงความยาว 1 เซนติเมตร จากตัวเลข 3 ไปถึงตัวเลข 11


พ่อสูง 170 ซม.

พี่สูง 160 − 40 = 120 ซม.

ได้ 8 ช่อง ดังนัน ้ ดินสอยาว 8 เซนติเมตร ครูแนะนำ�ว่า อาจ น้องสูง 150 − 80 = 70 ซม.

ใช้วธิ ลี บ โดยนำ�ตัวเลขแสดงจำ�นวนทีอ ่ ยูป


่ ลายอีกข้างหนึง่ ลบ ตอบคำาถาม
ถ้าเพิ่มกล่องที่พี่ยืนอีก 1 กล่อง หัวของพี่อยู่ที่ระดับกี่เซนติเมตร

ด้วยตัวเลขแสดงจำ�นวนทีเ่ ริม ่ ต้นวัด จะได้ 11 − 3 = 8 200 เซนติเมตร


150 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ดังนัน้ ดินสอยาว 8 เซนติเมตร ครูให้นก ั เรียนลองวัด


ความยาวของดินสอแท่งเดิมโดยให้เริม ่ วัดจากตัวเลขอืน ่ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว

เช่น ตัวเลข 5 แล้วดูวา่ จุดปลายอีกข้างหนึง่ ของดินสอตรงกับ บอกความสูงหรือความยาวของสิ่งต่อไปนี้

ตัวเลขอะไรแล้วให้นก ั เรียนลองนำ�มาลบกันจะได้ผลลบ ขวดน้ำาสูงกี่เซนติเมตร กล่องนมสูงกี่เซนติเมตร

22
เท่ากับ 8 หรือไม่ จากนัน ้ ครูให้นก ั เรียนช่วยกันบอก

21
20
12

19
11

ความยาวของไม้กวาดในกรอบท้ายหน้า 149 ครูและ


18
10

17
9

16
8

นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง 15
7

14
6

13
5

2. ครูตด ิ ภาพการวัดความสูงของพ่อ พี่ และน้อง


12
4

11
3

10
2

ตามหนังสือเรียนหน้า 150 บนกระดาน ครูสนทนากับ


9
1

8
0

นักเรียนเกีย่ วกับภาพว่ามีอะไรในภาพบ้าง เช่น เป็นภาพ


ไม้พายยาวกี่เซนติเมตร

20 100 80 เซนติเมตร 0 20 0 20

ของใครบ้าง คนในภาพกำ�ลังทำ�อะไร มีอะไรอยูใ่ นภาพบ้าง


1 2 3 4 5 6 7 8 9 11 12 13 14 15 16 17 18 19 21 22 23 24 25 26 27 28 29 31 32 33 34 35 36 37 38 39 41 42 43 44 45 46 47 48 49 51 52 53 54 55 56 57 58 59 61 62 63 64 65 66 67 68 69 71 72 73 74 75 76 77 78 79 81 82 83 84 85 86 87 88 89 91 92 93 94 95 96 97 98 99

20 30 40 50 60 70 80 90 100
ซม.

ไม้คฑายาวกี่เซนติเมตร

90 เซนติเมตร
จากนัน ้ ครูให้นก ั เรียนบอกความสูงของพ่อ โดยให้สงั เกตว่า 10 100
1 2 3 4 5 6 7
0

8 9

10
11 12 13 14 15 16 17 18 19

20
20

21 22 23 24 25 26 27 28 29

30
31 32 33 34 35 36 37 38 39

40
41 42 43 44 45 46 47 48 49

50
51 52 53 54 55 56 57 58 59

60
61 62 63 64 65 66 67 68 69

70
71 72 73 74 75 76 77 78 79

80
81 82 83 84 85 86 87 88 89

90
0

91 92 93 94 95 96 97 98 99

100
20

พ่อยืนอยูท ่ พ
่ี น
้ื และมีเครือ ่ งมือวัดความสูงเริม ่ ต้นทีต
่ วั เลข 0
ซม.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 151

ครูถามนักเรียนว่า พ่อสูงเท่าไร นักเรียนตอบว่า พ่อสูง 170


เซนติเมตร ครูถามต่อไปว่า พีส่ งู เท่าไร โดยครูให้สงั เกตว่าพี่
ยืนอยูท ่ จ่ี ด
ุ ใด และให้น�ำ ความรูเ้ รือ ่ งการวัดความยาวทีไ่ ม่ได้เริม ่ วัดทีต
่ วั เลข 0 มาใช้ประกอบ
ในการวัดความสูงของพี่ นักเรียนอาจหาคำ�ตอบโดยการนำ�ตัวเลขแสดงจำ�นวนทีอ ่ ยูร่ ะดับศีรษะ
ลบด้วยตัวเลขแสดงจำ�นวนทีอ ่ ยู่ ณ จุดทีย่ น ื จะได้ 160 − 40 = 120 ดังนัน ้ พีส่ งู 120 เซนติเมตร
ครูให้นก ั เรียนช่วยกันหาความสูงของน้อง โดยใช้วธิ ก ี ารลบ จะได้ 150 − 80 = 70
ดังนั้น น้องสูง 70 เซนติเมตร จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกันตอบคำ�ถามในกรอบท้ายหน้า 150
ครูและนักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  111
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 3 | การวัดความยาว

3. ครูให้นักเรียนช่วยกันบอกความยาวหรือความสูงของสิ่งต่าง ๆ ที่กำ�หนดให้ในหนังสือเรียน
หน้า 151 โดยใช้ความรู้เรื่องการวัดความยาวหรือความสูงที่จุดเริ่มวัดไม่อยู่ที่ตัวเลข 0 ครูและ
นักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง

การตรวจสอบความเข้าใจ
4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว

โดยให้นักเรียนบอกความสูงของสัตว์ต่าง ๆ ที่อยู่ในภาพ ตรวจสอบความเข้าใจ

ที่กำ�หนดให้ตามหนังสือเรียนหน้า 152 โดยครู ตอบคำาถาม

1 นกกระจอกเทศสู 165
งกี่เซนติเมตร เซนติเมตร

อาจถามนักเรียนก่อนว่า สัตว์แต่ละชนิดยืนอยู่ที่จุดใด 2 ไก่สูงกี่เซนติเมตร 60 เซนติเมตร


นกยูงสูงกี่เซนติเมตร
3 70 เซนติเมตร

เพื่อให้นักเรียนสังเกตจุดที่เริ่มวัดความสูง แล้วให้นักเรียน 180


ซม.

170
4 นกฮูกสูงกี่เซนติเ 20
มตร เซนติเมตร

บอกความสูงของสัตว์ต่าง ๆ เป็นรายบุคคล ครูอาจ


160

150

140

130

เสนอแนะเพิ่มเติมในการบอกความสูงของนกกระจอกเทศ
120

110

100

90

ซึ่งมีระดับความสูงที่หัวตรงกับขีดที่ต้องนับต่อจาก
80

70

60

160 เซนติเมตรไปอีก จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกัน


50

40

30

20

ตรวจสอบความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
10

สิ่งที่ได้เรียนรู้
การวัดความยาวหรือความสูงของสิ่งต่าง ๆ เป็นเซนติเมตร

สิ่งที่ได้เรียนรู้
อาจวางเครื่องมือวัดเริ่มที่ 0 หรือไม่เริ่มที่ 0 ก็ได้
แบบฝึกหัด 3.1

• การวั
152 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ดความยาวหรือความสูงของสิง่ ต่าง ๆ เป็นเซนติเมตร


อาจวางเครือ่ งมือวัดเริม
่ ที่ 0 หรือไม่เริม
่ ที่ 0 ก็ได้
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 3.1 หน้า 94 − 96

3.2 การวัดความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว

จุดประสงค์ 3.2 การวัดความยาวเป�นเมตรและเซนติเมตร

พัฒนาความรู้

วัดและบอกความยาวของสิง่ ทีก่ �ำ หนดให้เป็นเมตรและเซนติเมตร กระดานดำายาวเท่าไร

0
80 20

สื่อการเรียนรู้ 0
1 2 3 4 5 6 7 8 9

10
11 12 13 14 15 16 17 18 19

20
21 22 23 24 25 26 27 28 29

30
31 32 33 34 35 36 37 38 39

40
41 42 43 44 45 46 47 48 49

50
51 52 53 54 55 56 57 58 59

60
61 62 63 64 65 66 67 68 69

70
71 72 73 74 75 76 77 78 79

80
81 82 83 84 85 86 87 88 89

90
91 92 93 94 95 96 97 98 99

100
ซม.
1 2 3 4 5 6 7 8 9

10
11 12 13 14 15 16 17 18 19

20
21 22 23 24 25 26 27 28 29

30
31 32 33 34 35 36 37 38 39

40
41 42 43 44 45 46 47 48 49

50
51 52 53 54 55 56 57 58 59

60
61 62 63 64 65 66 67 68 69

70
71 72 73 74 75 76 77 78 79

80
81 82 83 84 85 86 87 88 89

90
91 92 93 94 95 96 97 98 99

100
ซม.
1 2 3 4 5 6 7 8 9

10
11 12 13 14 15 16 17 18 19

20
21 22 23 24 25 26 27 28 29

30
31 32 33 34 35 36 37 38 39

40
41 42 43 44 45 46 47 48 49

50
51 52 53 54 55 56 57 58 59

60
61 62 63 64 65 66 67 68 69

70
71 72 73 74 75 76 77 78 79

80
81 82 83 84 85 86 87 88 89

90
91 92 93 94 95 96 97 98 99

100
ซม.

−− บัตรภาพแสดงการวัดความยาวหรือความสูง 100 + 100 + 80 = 280 เซนติเมตร

ในสถานการณ์ต่าง ๆ
200 เซนติเมตร
กับ 80 เซนติเมตร

−− ไม้เมตร สายวัดชนิดตลับ (ชนิดผ้า)


100 เซนติเมตร
เป็น 1 เมตร

−− สิ่งที่ต้องการวัด เช่น ดินสอ ไม้กวาด ขวดน้ำ�


2 เมตร กับ 80 เซนติเมตร

กระดานดำายาว 280 เซนติเมตร


หรือ 2 เมตร 80 เซนติเมตร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 153

112  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 3 | การวัดความยาว ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

แนวการจัดการเรียนรู้ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 3 | การวัดความยาว

การพัฒนาความรู้

ซม.
100
91 92 93 94 95 96 97 98 99
1. ครูให้ตัวแทนนักเรียนนำ�ไม้เมตรออกมาวัด

90
81 82 83 84 85 86 87 88 89

80
71 72 73 74 75 76 77 78 79
0
90 20 30 40 50 60 70 80 90 100

70
ซม.

61 62 63 64 65 66 67 68 69

60
51 52 53 54 55 56 57 58 59
ความยาวของกระดานที่หน้าห้องเรียน โดยครูแนะนำ�การ

50
41 42 43 44 45 46 47 48 49

40
31 32 33 34 35 36 37 38 39
0
50 20 30 40 50 60 70 80 90 100

30
ซม.

21 22 23 24 25 26 27 28 29

20
11 12 13 14 15 16 17 18 19
วัดความยาวของกระดานไปทีละเมตร และให้เพื่อนในห้อง

10
9
8
7
6
5
4
3
15

2
1

ซม.
100
0 20 30 40 50 60 70 80 90 100

91 92 93 94 95 96 97 98 99
ซม.

90
81 82 83 84 85 86 87 88 89

80
71 72 73 74 75 76 77 78 79

70
ช่วยกันบันทึกความยาว เช่น ตัวแทนนักเรียนวัดได้ 1 เมตร

61 62 63 64 65 66 67 68 69

60
51 52 53 54 55 56 57 58 59

50
41 42 43 44 45 46 47 48 49

40
31 32 33 34 35 36 37 38 39

30
21 22 23 24 25 26 27 28 29
แล้วขีดรอยขีดไว้ แล้ววัดต่อจากรอยขีดเป็น 2 เมตร

20
11 12 13 14 15 16 17 18 19

10
9
8
7
สิ่งของเหล่านี้สูงเท่าไร

6
5
4
3
2
1
ขีดรอยขีดไว้ แล้ววัดต่อจากรอยขีดอีก จนกระทั่งส่วน ตู้เสื้อผ้าสูง 1 เมตร 90 เซนติเมตร

ที่ไม่ได้วัดความยาว ยาวไม่ถึง 1 เมตร ครูถามนักเรียนว่า พัดลมสูง 1 เมตร 15 เซนติเมตร

ขอบกระดานอีกข้างพอดี 1 เมตรหรือไม่ ถ้าไม่พอดี ตูเ้ ย็นสูง 1 เมตร 50 เซนติเมตร

ขอบกระดานตรงกับตัวเลขใด ครูบอกความยาวของ
กระดานที่วัดได้เป็นเมตรและเซนติเมตร จากนั้น 154 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ครูให้นักเรียนดูภาพที่อยู่ในหนังสือเรียนหน้า 153
แล้วให้นักเรียนบอกความยาวของกระดานว่ายาวเท่าไร หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว

นักเรียนอาจตอบได้ตามหนังสือเรียนหน้า 153 เช่น กิจกรรม สนุกกับการวัด


อุปกรณ์ 1 ชุดประกอบด้วย

กระดานยาว 280 เซนติเมตร หรือ 2 เมตร 80 เซนติเมตร 1. เครื่องมือวัดความยาว เช่น ไม้เมตร สายวัดชนิดตลับ (ชนิดผ้า)
2. แบบบันทึกกิจกรรม

ซึง่ ครูควรจะเน้นย้�ำ ว่า จากความสัมพันธ์ 1 เมตร เท่ากับ


วิธีจัดกิจกรรม
1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม แจกอุปกรณ์กลุ่มละ 1 ชุด

100 เซนติเมตร ดังนัน ้ ความยาว 280 เซนติเมตร เท่ากับ


2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันวัดความยาวหรือความสูงของสิ่งต่าง ๆ
ตามที่ครูกำาหนด (สิ่งของที่จะวัดความยาวให้มีหน่วยเมตรและเซนติเมตร)
และบันทึกลงในแบบบันทึกกิจกรรม

ความยาว 2 เมตร 80 เซนติเมตร ครูอาจให้นักเรียน 3. นักเรียนนำาเสนอผลการวัด และครูตรวจสอบความถูกต้อง

ลองวัดความยาวของโต๊ะครู หรือโต๊ะนักเรียน ตัวอย่างแบบบันทึกกิจกรรม

ที่อยู่ในห้องเรียนเพื่อให้นักเรียนมีทักษะการวัดมากขึ้น สิ่งที่วัด ความยาวที่วัดได้

2. ครูติดบัตรภาพการวัดความสูงตามหนังสือเรียน 1.................................... .................... เมตร ....................... เซนติเมตร

หน้า 154 แล้วให้นักเรียนบอกความสูงของตู้เสื้อผ้า พัดลม 2..................................... .................... เมตร ....................... เซนติเมตร

และตู้เย็น เช่น นักเรียนอาจตอบว่า ตู้เสื้อผ้าสูง 1 เมตร 90


เซนติเมตร หรือตู้เสื้อผ้าสูง 190 เซนติเมตร ถ้านักเรียน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 155

บอกความสูงของสิ่งต่าง ๆ เพียงอย่างเดียว เช่น ตอบเป็น


เซนติเมตรอย่างเดียว หรือตอบเป็นเมตรและเซนติเมตรอย่างเดียว ครูควรกระตุน ้ ให้นกั เรียนบอกความสูง
ของสิง่ ต่าง ๆ ทัง้ 2 ลักษณะ ครูให้นก ั เรียนตอบความสูงของพัดลมและตูเ้ ย็นในลักษณะเดียวกันนี้
3. ครูให้นกั เรียนทำ�กิจกรรมสนุกกับการวัด ตามหนังสือเรียนหน้า 155 โดยแบ่งนักเรียนเป็นกลุม ่
กลุม ่ ละเท่า ๆ กัน และแจกอุปกรณ์กลุม ่ ละ 1 ชุดแล้วให้นก
ั เรียนวัดความยาวหรือความสูงของสิง่ ต่าง ๆ
ทีค ่ รูก�ำ หนด เช่น ความสูงประตูหอ ้ งเรียน ความยาวของห้องเรียน ความยาวของโต๊ะครู เป็นต้น
แล้วบันทึกสิง่ ทีว่ ด ั และผลการวัดลงในแบบบันทึกกิจกรรม จากนัน ้ ให้แต่ละกลุม ่ ออกมานำ�เสนอ โดยครู
และเพือ ่ นในห้องเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง ถ้ามีกลุม ่ ใดวัดสิง่ เดียวกัน แต่ผลการวัดได้ไม่เท่ากัน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  113
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 3 | การวัดความยาว

ครูควรสาธิตการวัดที่ถูกต้องเพื่อตรวจสอบอีกครั้ง ซึ่งก่อนการทำ�กิจกรรม ครูควรสนทนา


กับนักเรียนเกี่ยวกับเครื่องมือวัดความยาวและความเหมาะสมในการเลือกเครื่องมือวัดความยาว
กับสิ่งที่ต้องการวัด ทั้งนี้การกำ�หนดสิ่งที่ต้องการวัดครูอาจให้นักเรียนเลือกเองตามความเหมาะสม
กับเครื่องมือวัด

การตรวจสอบความเข้าใจ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 3 | การวัดความยาว

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน ตรวจสอบความเข้าใจ

โดยให้นักเรียนบอกความยาวของสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ในภาพ ไม้พลอง

ที่กำ�หนดให้ตามหนังสือเรียนหน้า 156 เป็นรายบุคคล


ไม้กวาดด้ามยาว

เข็มขัด

ถ้าพบว่ามีนักเรียนคนใดบอกความยาวของสิ่งต่าง ๆ ไม่ได้ 0
1 2 3
ไม้ถพ
4
ู น
5
้ื
6 7 8 9

10
11 12 13 14 15 16 17 18 19

20
21 22 23 24 25 26 27 28 29

30
31 32 33 34 35 36 37 38 39

40
41 42 43 44 45 46 47 48 49

50
51 52 53 54 55 56 57 58 59

60
61 62 63 64 65 66 67 68 69

70
71 72 73 74 75 76 77 78 79

80
81 82 83 84 85 86 87 88 89

90
91 92 93 94 95 96 97 98 99

100
ซม.
1 2 3 4 5 6 7 8 9

10
11 12 13 14 15 16 17 18 19

20
21 22 23 24 25 26 27 28 29

30
31 32 33 34 35 36 37 38 39

40
41 42 43 44 45 46 47 48 49

50
51 52 53 54 55 56 57 58 59

60
61 62 63 64 65 66 67 68 69

70
71 72 73 74 75 76 77 78 79

80
81 82 83 84 85 86 87 88 89

90
91 92 93 94 95 96 97 98 99

100
ซม.

ให้นักเรียนมาฝึกวัดความยาวหรือความสูงกับครู
0
10 20
0
30
30 40
20
0
50
50
30 40
60
20 50
70
30 60
40
80
0
90
70
50
90 100
80
60
20
ซม.

บอกความยาวของสิ่งต่อไปนี้

เป็นรายบุคคล จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบ 1 เข็มขัด ยาว

2 ไม้ถูพื้น ยาว
1 เมตร

1 เมตร
10 เซนติเมตร

30 เซนติเมตร

ความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ 3 ไม้กวาดด้ามยาว ยาว 1 เมตร 90 เซนติเมตร

4 ไม้พลอง ยาว 1 เมตร 50 เซนติเมตร

สิ่งที่ได้เรียนรู้

สิ่งที่ได้เรียนรู้

การบอกความยาวหรือความสูงของสิ่งต่าง ๆ
การบอกความยาวหรือความสูงของสิ่งต่าง ๆ อาจบอกเป็นเมตร
และเซนติเมตร
แบบฝึกหัด 3.2

อาจบอกเป็นเมตรและเซนติเมตร 156 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 3.2 หน้า 97 – 99


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว

3.3 ความสัมพันธ์ระหว่างเมตรกับเซนติเมตร 3.3 ความสัมพันธ์ระหว่างเมตรกับเซนติเมตร

จุดประสงค์ พัฒนาความรู้

เปลี่ยนหน่วยความยาวหรือความสูงโดยใช้ความสัมพันธ์
ระหว่างเมตรกับเซนติเมตร 1 เมตร เท่ากับ 100 เซนติเมตร
ยีราฟสูง 4 ม.
ยีราฟสูงกี่เซนติเมตร
ม. 80 ซม.
จระเข�ยาว 1
ยีราฟสูง 4 เมตร

สื่อการเรียนรู้ 100 + 100 + 100 + 100 = 400

ยีราฟสูง 400 เซนติเมตร จระเขย้ าว 1 เมตร 80 เซนติเมตร

−− บัตรภาพ 100 + 80 = 180

−− บัตรความยาว
จระเข้ยาว 180 เซนติเมตร

ตอบคำาถาม

1 รั้วยาว 5 เมตร ยาวเท่ากับกี่เซนติเมตร 500 เซนติเมตร

แนวการจัดการเรียนรู้ 2 ต้นหูกระจงสูง 5 เมตร 70 เซนติเมตร สูงเท่ากับกี่เซนติเมตร


570 เซนติเมตร

การพัฒนาความรู้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 157

1. ครูติดบัตรภาพแสดงความยาวและความสูงของ
สัตว์ตามหนังสือเรียนหน้า 157 ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับภาพว่าเป็นภาพของสัตว์ชนิดใด

114  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 3 | การวัดความยาว ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

และมีป้ายบอกความยาวหรือความสูงเท่าไร ครูใช้การถาม-ตอบเพื่อให้นักเรียนบอกความยาวหรือ
ความสูง เช่น ยีราฟมีป้ายบอกความสูงเท่าไร นักเรียนตอบว่า ยีราฟสูง 4 เมตร ครูถามต่อไปว่า ยีราฟ
สูงกี่เซนติเมตร โดยครูแนะนำ�ว่า ต้องใช้ความสัมพันธ์ 1 เมตร เท่ากับ 100 เซนติเมตร นักเรียน
ตอบว่า ยีราฟสูง 100 + 100 + 100 + 100 = 400 เซนติเมตร ครูถามนักเรียนว่าจระเข้ยาว
เท่าไร นักเรียนตอบว่า จระเข้ยาว 1 เมตร 80 เซนติเมตร ครูถามต่อไปว่า จระเข้ยาวกี่เซนติเมตร
นักเรียนตอบว่า จระเข้ยาว 100 + 80 = 180 เซนติเมตร ครูให้นักเรียนสรุปอีกครั้งว่า ความยาว
4 เมตร เท่ากับ ความยาว 400 เซนติเมตร และความยาว 1 เมตร 80 เซนติเมตร เท่ากับ ความยาว
180 เซนติเมตร ครูอาจเล่ารายละเอียดเกี่ยวกับยีราฟ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Giraffa) เป็นสกุลหนึ่งของ
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Giraffidae เป็นสัตว์เคี้ยวเอื้องมีลักษณะเด่น คือ เป็นสัตว์ที่ตัวสูง ขายาว
ลำ�คอยาว มีเขา 1 คู่ ตัวมีสีเหลืองและสีน้ำ�ตาลเข้มเป็นลาย มีถิ่นกำ�เนิดในทวีปแอฟริกา ตัวผู้
มีความสูง 4.8 ถึง 5.5 เมตร (16-18 ฟุต) และมีน้ำ�หนักถึง 900 กิโลกรัม (2,000 ปอนด์) ตัวเมีย
มีขนาดและความสูงน้อยกว่าเล็กน้อย จัดเป็นสัตว์บกที่มีความสูงที่สุดในโลก เป็นต้น จากนั้นครู
ให้นักเรียนช่วยกันตอบคำ�ถามในกรอบท้ายหน้า 157 ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
2. ครูติดบัตรภาพแม่ช้างกับลูกช้างตามภาพใน
หนังสือเรียนหน้า 158 ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับช้าง
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว

โดยใช้การถาม-ตอบ เช่น ในภาพเป็นสัตว์ชนิดใด


แม�ช�างสูง 300 ซม.

มีป้ายบอกความสูงเท่าไร ครูถามนักเรียนว่า แม่ช้าง


ลูกช�างสูง 108 ซม.

สูงเท่าไร นักเรียนตอบว่า แม่ช้างสูง 300 เซนติเมตร แม่ช้างสูง 300 เซนติเมตร

ครูถามต่อไปว่า แม่ช้างสูงกี่เมตร โดยใช้ความสัมพันธ์


100 เซนติเมตร เท่ากับ 1 เมตร
300 เซนติเมตร เท่ากับ กี่เมตร

100 เซนติเมตร เท่ากับ 1 เมตร นักเรียนตอบว่า


100 เซนติเมตร เท่ากับ 1 เมตร 200 เซนติเมตร เท่ากับ 2 เมตร
300 เซนติเมตร เท่ากับ 3 เมตร ดังนั้น แม่ช้างสูง 3 เมตร

100 เซนติเมตร เท่ากับ 1 เมตร 200 เซนติเมตร เท่ากับ


ลูกช้างสูง 108 เซนติเมตร

2 เมตร 300 เซนติเมตร เท่ากับ 3 เมตร ดังนั้น แม่ช้างสูง


108 เซนติเมตร คือ 100 เซนติเมตร กับ 8 เซนติเมตร
100 เซนติเมตร กับ 8 เซนติเมตร เท่ากับ 1 เมตร 8 เซนติเมตร

3 เมตร ครูแนะนำ�ว่า นักเรียนอาจเทียบว่า 100 เซนติเมตร ลูกช้างสูง 1 เมตร 8 เซนติเมตร

เท่ากับ 1 เมตร ดังนั้น 300 เซนติเมตร เท่ากับ 3 เมตร ตอบคำาถาม

5 เมตร
1 เสาโรงเลี้ยงช้างสูง 500 เซนติเมตร เท่ากับกี่เมตร กี่เซนติเมตร

ครูถามนักเรียนว่า ลูกช้างสูงเท่าไร นักเรียนตอบว่า 2 เมตร 20 เซนติเมตร


2 ซุงยาว 220 เซนติเมตร เท่ากับกี่เมตร กี่เซนติเมตร

ลูกช้างสูง 108 เซนติเมตร ครูถามต่อว่า ลูกช้างสูงกี่เมตร


158 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กับกี่เซนติเมตร นักเรียนตอบว่า 100 เซนติเมตร เท่ากับ


1 เมตร ดังนัน ้ 108 เซนติเมตร เท่ากับ 1 เมตร กับ 8 เซนติเมตร ครูให้นก ั เรียนสรุปอีกครัง้ ว่า ความสูง
300 เซนติเมตร เท่ากับ ความสูง 3 เมตร และ ความสูง 108 เซนติเมตร เท่ากับ ความสูง 1 เมตร
8 เซนติเมตร จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกันตอบคำ�ถามในกรอบท้ายหน้า 158 ครูและนักเรียนร่วมกัน
ตรวจสอบความถูกต้อง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  115
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 3 | การวัดความยาว

3. ครูให้นักเรียนทำ�กิจกรรมคู่ของฉัน หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 3 | การวัดความยาว

ตามหนังสือเรียนหน้า 159 โดยแบ่งนักเรียนเป็นกลุม ่ กลุม


่ ละ กิจกรรม คู่ของฉัน
อุปกรณ์ บัตรความยาว

เท่า ๆ กัน แล้วแจกบัตรความยาวให้นก ั เรียนกลุม


่ ละ 1 ชุด ตัวอย่างบัตรความยาว 1 ชุด

ให้นกั เรียนช่วยกันจับคูบ ่ ต
ั รความยาวทีแ่ สดงความยาวเท่ากัน 280 เซนติเมตร 2 เมตร 80 เซนติเมตร

เช่น บัตรความยาว 210 เซนติเมตร คู่กับ บัตรความยาว 1 เมตร 5 เซนติเมตร 105 เซนติเมตร

2 เมตร 10 เซนติเมตร เป็นต้น ครูอาจทำ�กิจกรรมเสริม 150 เซนติเมตร 1 เมตร 50 เซนติเมตร

เช่น กิจกรรมใจดวงเดียวกัน ทำ�บัตรภาพเป็นรูปหัวใจ 3 เมตร 75 เซนติเมตร 375 เซนติเมตร

ทีแ่ บ่งเป็นสองส่วนหรือสามส่วนก็ได้ เขียนความยาวทีเ่ ท่ากัน


6 เมตร 99 เซนติเมตร 699 เซนติเมตร

ในบัตรหัวใจแต่ละส่วน แล้วให้นักเรียนตามหาบัตรหัวใจ
ที่แสดงความยาวเท่ากันนำ�มาประกอบกันเป็นบัตร วิธีจัดกิจกรรม
1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม แจกบัตรความยาวให้กลุ่มละ 1 ชุด

รูปหัวใจดวงเดียวกัน เมื่อนักเรียนแต่ละกลุ่มทำ�กิจกรรม 2. ให้แต่ละกลุม


เป็นผู้ชนะ
่ จับคูบ
่ ต
ั รความยาวทีแ่ สดงความยาวเท่ากัน กลุม
่ ไหนเสร็จก่อน

คู่ของฉันครบแล้วให้ออกมานำ�เสนอหน้าชั้นเรียน
3. ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 159

โดยครูและเพื่อนในห้องช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

การตรวจสอบความเข้าใจ
บทที่ 3 | การวัดความยาว

ตรวจสอบความเข้าใจ

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน บอกความยาวที่เท่ากับความยาวที่กำาหนดให้

1 540 เซนติเมตร เท่ากับก่ี่เมตร ก่ี่เซนติเมตร

โดยให้นักเรียนบอกความยาวที่เท่ากับความยาว 2 325 เซนติเมตร เท่ากับก่ี่เมตร ก่ี่เซนติเมตร


3 5 เมตร 4 เซนติเมตร เท่ากับก่ี่เซนติเมตร

ที่กำ�หนดให้ตามหนังสือเรียนหน้า 160 เป็นรายบุคคล 4 2 เมตร 50 เซนติเมตร เท่ากับก่ี่เซนติเมตร

1. 5 เมตร 40 เซนติเมตร

ถ้าพบว่ามีนักเรียนคนใดบอกความยาวทีเ่ ท่ากับความยาว
2. 3 เมตร 25 เซนติเมตร
3. 504 เซนติเมตร
4. 250 เซนติเมตร

ทีก
่ �ำ หนดให้ไม่ได้ ครูอาจเพิ่มเติมด้วยการกำ�หนดความยาว
เป็นเมตรแล้วให้ตอบความยาวเป็นเซนติเมตร หรือ
อาจกำ�หนดเป็นเมตรและเซนติเมตรแล้วตอบความยาว
เป็นเซนติเมตรกับครูเป็นรายบุคคล จากนั้นครูและ สิ่งที่ได้เรียนรู้
การบอกความยาวหรือความสูงของสิ่งต่าง ๆ

นักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและ อาจบอกเป็นเมตร เซนติเมตร หรือเมตรและเซนติเมตร


โดยใช้ความสัมพันธ์ 1 เมตร เท่ากับ 100 เซนติเมตร

สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ 160 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


แบบฝึกหัด 3.3

สิ่งที่ได้เรียนรู้
• โดยใช้
การบอกความยาวหรือความสูงของสิง่ ต่าง ๆ อาจบอกเป็นเมตร เซนติเมตร หรือ เมตรและเซนติเมตร
ความสัมพันธ์ 1 เมตร เท่ากับ 100 เซนติเมตร
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 3.3 หน้า 100 – 102

116  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 3 | การวัดความยาว ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

3.4 การคาดคะเนความยาวเป็นเมตร หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 3 | การวัดความยาว

จุดประสงค์ 3.4 การคาดคะเนความยาวเป�นเมตร

คาดคะเนความยาวของสิ่งต่าง ๆ ที่กำ�หนดให้เป็นเมตร พัฒนาความรู้

ลองคาดคะเนว่ากระดานน่าจะยาวกี่เมตร

สื่อการเรียนรู้ 1 2 3 4 5 6 7 8 9

10
11 12 13 14 15
16 17 18 19

20
21 22 23 24 25
26 27 28 29

30
31 32 33 34 35
36 37 38 39

40
41 42 43 44 45
46 47 48 49

50
51 52 53 54 55
56 57 58 59

60
61 62 63 64 65
66 67 68 69

70
71 72 73 74 75
76 77 78 79

80
81 82 83 84 85
86 87 88 89

90
91 92 93 94 95
96 97 98 99

100
ซม.
น่าจะยาว 2 เมตร ค่ะ

−− เครื่องมือวัดความยาว เช่น ไม้เมตร สายวัดชนิดตลับ


(ชนิดผ้า)
น่าจะยาว 3 เมตร ครับ

−− แบบบันทึก
0
80 20

แนวการจัดการเรียนรู้ 0
1 2 3 4 5 6 7 8 9

10
11 12 13 14 15 16 17 18 19

20
21 22 23 24 25 26 27 28 29

30
31 32 33 34 35 36 37 38 39

40
41 42 43 44 45 46 47 48 49

50
51 52 53 54 55 56 57 58 59

60
61 62 63 64 65 66 67 68 69

70
71 72 73 74 75 76 77 78 79

80
81 82 83 84 85 86 87 88 89

90
91 92 93 94 95 96 97 98 99

100
ซม.

การพัฒนาความรู้ วัดจริงกระดานยาว 2 เมตร 80 เซนติเมตร

ความยาว 2 เมตร 80 เซนติเมตร ใกล้เคียง 3 เมตร

1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการคาดคะเน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 161

ความยาวเป็นเซนติเมตร โดยทบทวนความรู้ว่า การคาด


คะเนความยาวเป็นเซนติเมตรนั้นต้องเทียบกับความยาว หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว

1 เซนติเมตร จากนัน ้ ครูถามนักเรียนว่า ถ้าต้องการคาดคะเน


ซม.
100
91 92 93 94 95 96 97 98 99

90
81 82 83 84 85 86 87 88 89

80
71 72 73 74 75 76 77 78 79
คาดคะเนว่าประตูน่าจะสูงกี่เมตร
70
61 62 63 64 65 66 67 68 69

ความยาวของกระดานเป็นเมตร ต้องเทียบกับความยาว 60
51 52 53 54 55 56 57 58 59

50
41 42 43 44 45 46 47 48 49

40
31 32 33 34 35 36 37 38 39

30
21 22 23 24 25 26 27 28 29

20
11 12 13 14 15 16 17 18 19
9
8
7
6
5
4
3
2
1

10

น่าจะสูง 3 เมตร ค่ะ

กี่เมตร นักเรียนอาจยังตอบไม่ได้ ครูสาธิตการคาดคะเน น่าจะสูง 2 เมตร ค่ะ

ความยาวของกระดาน ดังนี้ ครูให้ตัวแทนนักเรียนออกมา


ยืนถือไม้เมตรวางที่ขอบกระดานให้เห็นความยาว 1 เมตร
ซม.
100
91 92 93 94 95 96 97 98 99

90
81 82 83 84 85 86 87 88 89

80
71 72 73 74 75 76 77 78 79

70
61 62 63 64 65 66 67 68 69

60
51 52 53 54 55 56 57 58 59

ดังรูปแรกในหนังสือเรียนหน้า 161 ครูให้นักเรียน


50
41 42 43 44 45 46 47 48 49

0
20 20
40
31 32 33 34 35 36 37 38 39

30
21 22 23 24 25 26 27 28 29

20
11 12 13 14 15 16 17 18 19

10
9

คาดคะเนว่า กระดานนี้น่าจะยาวกี่เมตร เมื่อนักเรียนตอบ


8
7
6
5
4
3
2

วัดจริงประตูสูง
1

2 เมตร 20 เซนติเมตร

คำ�ถามครูแล้ว ครูให้ตัวแทนนักเรียนวัดความยาวของ
กระดาน พร้อมทั้งบอกความยาวจริงของกระดานที่วัดได้
ความสูง 2 เมตร 20 เซนติเมตร
ใกล้เคียง 2 เมตร

จากนั้นครูถามต่อไปว่า ใครคาดคะเนได้ใกล้เคียงกับ
ความยาวจริงมากที่สุด ถ้านักเรียนคาดคะเนว่า กระดาน 162 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

น่าจะยาว 3 เมตร แต่วัดจริงได้ 2 เมตร 80 เซนติเมตร


แสดงว่า นักเรียนคาดคะเนได้ใกล้เคียงกับความยาวจริง หรือถ้าวัดจริงได้ 3 เมตร 10 เซนติเมตร
ก็แสดงว่า นักเรียนคาดคะเนได้ใกล้เคียงกับความยาวจริง ครูเน้นย้ำ�ว่า ความยาวจริงที่วัดได้อาจ
มากกว่าหรือน้อยกว่าความยาวที่เราคาดคะเนไว้ก็ได้ จากนั้นครูให้นักเรียนคาดคะเนความยาวของ
สิ่งที่อยู่รอบตัว เช่น ความยาวของห้องเรียน ครูและนักเรียนร่วมกันวัดความยาวจริงของสิ่งนั้น

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  117
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 3 | การวัดความยาว

2. ครูให้นักเรียนคาดคะเนความสูงของประตูห้องเรียน โดยให้ตัวแทนนักเรียนนำ�ไม้เมตร
มาเทียบให้เป็นความสูง 1 เมตร ดังรูปแรกตามหนังสือเรียนหน้า 162 ครูถามนักเรียนว่า ประตู
น่าจะสูงกี่เมตร เมื่อนักเรียนตอบคำ�ถามของครูแล้ว ครูให้ตัวแทนนักเรียนวัดความสูงจริงของประตู
พร้อมทั้งบอกความสูงจริงของประตูที่วัดได้ จากนั้นครูถามต่อไปว่า ใครคาดคะเนได้ใกล้เคียงกับ
ความสูงจริงมากที่สุด ถ้านักเรียนคาดคะเนว่า ประตูน่าจะยาว 2 เมตร แต่วัดจริงได้ 2 เมตร
20 เซนติเมตร แสดงว่า นักเรียนคาดคะเนได้ใกล้เคียงกับความสูงจริง หรือถ้าวัดจริงได้ 1 เมตร
90 เซนติเมตร ก็แสดงว่า นักเรียนคาดคะเนได้ใกล้เคียงกับความสูงจริง ครูเน้นย้�ำ ว่า ความสูงจริงทีว่ ด
ั ได้
อาจมากกว่าหรือน้อยกว่าความสูงที่เราคาดคะเนไว้ก็ได้
จากนั้นครูให้นักเรียนคาดคะเนความสูงของสิ่งที่อยู่รอบตัว
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว

กิจกรรม สนุกกับการคาดคะเน

เช่น ความสูงของชั้นวางหนังสือ ครูและนักเรียนร่วมกัน อุปกรณ์ 1 ชุดประกอบด้วย


1. เครื่องมือวัดความยาว เช่น ไม้เมตร สายวัดชนิดตลับ (ชนิดผ้า)

วัดความสูงจริงของสิ่งนั้น
2. แบบบันทึกกิจกรรม
วิธีจัดกิจกรรม
1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม แจกอุปกรณ์กลุ่มละ 1 ชุด

3. ครูให้นักเรียนทำ�กิจกรรม สนุกกับการคาดคะเน 2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันคาดคะเนความยาวหรือความสูง


ของสิ่งต่าง ๆ เป็นเมตร ตามที่ครูกำาหนด และบันทึกลงใน

ตามหนังสือเรียนหน้า 163 โดยแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม


แบบบันทึกกิจกรรม
3. ครูเลือกตัวแทนนักเรียนออกมาวัดความยาวหรือความสูงของสิ่งต่าง ๆ
ตามที่ครูกำาหนด และบันทึกลงในแบบบันทึกกิจกรรม

กลุ่มละเท่า ๆ กัน แล้วแจกอุปกรณ์กลุ่มละ 1 ชุด โดยครู 4. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาว่าความยาวหรือความสูงของสิ่งต่าง ๆ


ที่วัดจริงใกล้เคียงกี่เมตร

กำ�หนดสิ่งของที่ต้องการวัด 3 อย่าง จากนั้นให้นักเรียน ตัวอย่างแบบบันทึกกิจกรรม

แต่ละกลุ่มคาดคะเนความยาวหรือความสูงของสิ่งต่าง ๆ สิ่งที่ครูกำาหนด คาดคะเน วัดจริง

ที่ครูกำ�หนดให้เป็นเมตร แล้วบันทึกลงในใบบันทึกกิจกรรม 1................................ .................เมตร ...............เมตร.........เซนติเมตร

ครูให้นักเรียนส่งตัวแทนกลุ่มมาช่วยกันวัดความยาวหรือ 2................................ .................เมตร ...............เมตร.........เซนติเมตร

3................................ .................เมตร ...............เมตร.........เซนติเมตร


ความสูงจริงของสิ่งของ 3 อย่างนั้น แล้วบันทึกลงในใบ
| 163

กิจกรรม ครูอาจถามคำ�ถามเพิ่มเติมว่า นักเรียนกลุ่มใด


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คาดคะเนความยาวหรือความสูงได้ใกล้เคียงกับความยาว
หรือความสูงจริงทีว่ ดั ได้ แล้วให้กลุม
่ นัน
้ ออกมานำ�เสนอผลงาน
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว

ตรวจสอบความเข้าใจ
ครูและเพือ ่ นในห้องเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง กิจกรรม ตามหานักคาดคะเน
อุปกรณ์ ไม้เมตร
วิธีจัดกิจกรรม

การตรวจสอบความเข้าใจ
1. ครูกำาหนดสิ่งที่จะให้นักเรียนคาดคะเนความยาว 1 อย่าง และ
ความสูง 1 อย่าง
2. ให้นักเรียนคาดคะเน แล้วบันทึกลงในสมุด

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยให้นักเรียน 3. ครูและนักเรียนร่วมกันวัดความยาวและความสูงจริง แล้วสนทนาว่า


ความยาวหรือความสูงของสิ่งต่าง ๆ ที่วัดจริง ใกล้เคียงกี่เมตร

คาดคะเนความยาวของสิ่งของ 1 อย่าง และความสูง


ของสิ่งของ 1 อย่าง เขียนลงในสมุดเป็นรายบุคคล ครูและ
1

0
2 3 4 5 6 7 8 9
11 12

10
13 14
15 16
17 18
19
21 22

20
23 24
25 26
27 28
29
31 32

30
33 34
35 36
37 38
39
41 42

40
43 44
45 46
47 48
49
51 52

50
53 54
55 56
57 58
59
61 62

60
63 64
65 66
67 68
69
71 72

70
73 74
75 76
77 78
79
81 82

80
83 84
85 86
87 88
89
91 92

90
93 94
95 96
97 98
99

100
ซม.

นักเรียนร่วมกันวัดความยาวและความสูงจริงของสิ่งนั้น
พร้อมทั้งให้นักเรียนแต่ละคนตรวจสอบว่า นักเรียน สิ่งที่ได้เรียนรู้
การคาดคะเนความยาวหรือความสูงเป็นเมตร เป็นการบอกความยาว

คาดคะเนความยาวและความสูงได้ใกล้เคียงกับความยาว
หรือความสูงเป็นเมตรให้ใกล้เคียงกับความยาว
หรือความสูงจริง โดยไม่ใช้เครื่องมือวัด
การคาดคะเนความยาวหรือความสูงเป็นเมตรอาจเทียบกับ

และความสูงจริงหรือไม่ จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกัน ความยาวหรือความสูง 1 เมตร


แบบฝึกหัด 3.4

สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
164 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

118  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 3 | การวัดความยาว ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

สิ่งที่ได้เรียนรู้
• การคาดคะเนความยาวหรื อความสูงเป็นเมตร เป็นการบอกความยาวหรือความสูงเป็นเมตร
ให้ใกล้เคียงกับความยาวหรือความสูงจริง โดยไม่ใช้เครื่องมือวัด

• การคาดคะเนความยาวหรื อความสูงเป็นเมตร อาจเทียบกับความยาวหรือความสูง 1 เมตร


จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 3.4 หน้า 103 – 104

3.5 การเปรียบเทียบความยาว (1) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

จุดประสงค์
บทที่ 3 | การวัดความยาว

3.5 การเปรียบเทียบความยาว (1)


เปรียบเทียบความยาวหรือความสูง
พัฒนาความรู้

ใบบัวสูงกว่าแก้วตากี่เซนติเมตร

สื่อการเรียนรู้
ใบบัวสูง 132 เซนติเมตร

แก้วตาสูง 120 เซนติเมตร

−− เครื่องมือวัดความยาว เช่น ไม้เมตร


สายวัดชนิดตลับ
−− ธงราว ใบบัวสูงกว่าแก้วตา 132 − 120 = 12 เซนติเมตร

ขุนสูงกว่าใบบัวกี่เซนติเมตร
ขุนสูง 141 เซนติเมตร

แนวการจัดการเรียนรู้ ขุนสูงกว่าใบบัว 141 − 132 = 9 เซนติเมตร

การพัฒนาความรู้
1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับความ กระดาษสายรุ้งสีแดง กระดาษสายรุ้งสีเขียว
ยาว 372 เซนติเมตร ยาว 450 เซนติเมตร
สูงของนักเรียนแต่ละคน แล้วให้นักเรียนบอก กระดาษสายรุ้งสีใดสั้นกว่า
และสั้นกว่าอยู่กี่เซนติเมตร
ความสูงของตนเอง แล้วใช้การถาม-ตอบว่า
กระดาษสายรุ้งสีแดงสั้นกว่า 78 เซนติเมตร
ใครสูงกว่า และใครเตี้ยกว่า จากนั้นครูใช้ข้อมูล | 165
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ในหนังสือเรียนหน้า 165 ถามนักเรียนว่า


ใบบัวสูงกว่าแก้วตาเท่าไร หาคำ�ตอบได้อย่างไร
นักเรียนตอบว่า ใบบัวสูงกว่าแก้วตา 132 – 120 = 12 เซนติเมตร ครูถามต่อไปว่า ขุนสูงเท่าไร
และสูงกว่าใบบัวเท่าไร นักเรียนตอบว่า ขุนสูง 141 เซนติเมตร และขุนสูงกว่าใบบัว 141 - 132 = 9
เซนติเมตร จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกันเปรียบเทียบความยาวของกระดาษสายรุ้งสีแดงและกระดาษ
สายรุ้งสีเขียวในกรอบท้ายหน้า 165 ว่ากระดาษสายรุ้งสีใดสั้นกว่า และสั้นกว่ากันเท่าไร (สีเขียว
สั้นกว่าและ สั้นกว่า 450 – 372 = 78 เซนติเมตร)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  119
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 3 | การวัดความยาว

2. ครูยกตัวอย่างการเปรียบเทียบความยาวที่มี หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 3 | การวัดความยาว

หน่วยเมตรต่างกันตามหนังสือเรียนหน้า 166 โดย เส้นที่ 1


2 เมตร 25 เซนติเมตร

การเปรียบความยาวของธงราวเส้นที่ 1 กับเส้นที่ 2
3 เมตร 15 เซนติเมตร
เส้นที่ 2

2 เมตร 70 เซนติเมตร
เส้นที่ 3

ครูให้นกั เรียนบอกความยาวของธงราวเส้นที่ 1 (ยาว 2 เมตร


ธงราวเส้นที่ 2 ยาวกว่าเส้นที่ 1 3 เมตร 15 เซนติเมตร

25 เซนติเมตร) และธงราวเส้นที่ 2 (ยาว 3 เมตร ยาวกว่า 2 เมตร 25 เซนติเมตร

15 เซนติเมตร) ให้นักเรียนสังเกตความยาวที่เป็นหน่วย การเปรียบเทียบความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร


ของสิ่งต่าง ๆ สองสิ่ง สิ่งที่มีความยาวเป็นเมตรมากกว่าจะยาวกว่า

เมตรว่า ธงราวใดมีความยาวเป็นเมตรมากกว่าธงราวนั้น ธงราวเส้นที่ 3 ยาวกว่าเส้นที่ 1

2 เมตร 70 เซนติเมตร

จะมีความยาวมากกว่า ดังนัน ้ ธงราวเส้นที่ 2 ยาวกว่า เส้นที่ 1 ยาวกว่า 2 เมตร 25 เซนติเมตร

การเปรียบเทียบความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตรของสิง่ ต่าง ๆ สองสิง่

แล้วครูถามนักเรียนว่า ธงราวเส้นที่ 2 กับ เส้นที่ 3 ธงราว ถ้าความยาวเป็นเมตรเท่ากัน สิง่ ทีม


่ ค
ี วามยาวเป็นเซนติเมตรมากกว่าจะยาวกว่า

เส้นใดสั้นกว่า (ธงราวเส้นที่ 3 สั้นกว่าธงราวเส้นที่ 2)


ตอบคำาถาม

1 เสาไฟฟ้าสูง 12 เมตร 50 เซนติเมตร ตึกสูง 15 เมตร 30 เซนติเมตร


สิ่งใดสูงกว่า ตึก
ครูให้นักเรียนพิจารณาความยาวของธงราวทั้ง 2 เส้น 2 สะพานคอนกรีตยาว 6 เมตร 60 เซนติเมตร สะพานไม้ยาว
6 เมตร 25 เซนติเมตร สะพานใดสั้นกว่า สะพานไม้

จนได้ข้อสรุปร่วมกันว่า ธงราวใดมีความยาวเป็นเมตร 166 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

น้อยกว่า ธงราวนั้นจะมีความยาวสั้นกว่า ดังนั้น ธงราว


เส้นที่ 3 สั้นกว่า ธงราวเส้นที่ 2 จากนั้นครูยกตัวอย่าง หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว

การเปรียบเทียบความยาวที่มีหน่วยเมตรเท่ากัน
โดยให้นักเรียนพิจารณาว่า ธงราวเส้นที่ 1 กับธงราวเส้น สูง 10 ม. 25 ซม.

ที่ 3 เส้นใดยาวกว่า เพราะเหตุใด โดยให้สังเกตความยาว อาคาร B

เป็นเมตร ซึ่งความยาวเป็นเมตรเท่ากัน แล้วให้สังเกต


1 ม.
สูง 8 ม. 50 ซม. สูง 8 ม. 5 ซม.

ยา
งเด . 70

ว 4 างเด

ม. ิน 2

ิน
ว4

70
ยา
ทา

ซม
.
ความยาวเป็นเซนติเมตร จะได้ว่าความยาวเป็นเซนติเมตร
ยาว 6 ม. 50 ซม.
อาคาร A ทางเดิน 3 อาคาร C

ของธงราวเส้นที่ 3 มากกว่า ดังนั้น ธงราวเส้นที่ 3 ยาวกว่า ตอบคำาถาม

อาคาร
1 อาคาร A กับ อาคาร B อาคารใดสูงกว่า B
ธงราวเส้นที่ 1 ครูอาจยกตัวอย่างการเปรียบเทียบใน อาคาร
2 อาคาร A กับ อาคาร C อาคารใดเตี้ยกว่า C
3 อาคารใดสูงที่ส อาคาร B
ลักษณะเดียวกันนี้เพิ่มเติมอีก 2 – 3 ตัวอย่าง จากนั้น
ุด

4 อาคารใดเตี้ยที่สุด อาคาร C

ครูให้นักเรียนช่วยกันตอบคำ�ถามข้อ 1 และ 2 ในกรอบ 5 อาคารใดบ้างที อาคาร


่มีความสูงน้อยกว่าอาคาร B

6 ทางเดิน 1 กับ ทางเดิ


ทางเดิน 3 ทางเดินใดมีความยาวมากกว่า น
A และ อาคาร C
3

ท้ายหน้า 166 ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบ ทางเดิ


7 ทางเดินใดบ้างที ่มีความยาวเท่ากัน น 1 และ ทางเดิน 2

ความถูกต้อง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 167

3. ครูให้นกั เรียนช่วยกันตอบคำ�ถามตามหนังสือเรียน
หน้า 167 ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบความสูงของอาคาร A
อาคาร B และอาคาร C และจากนั้นให้นักเรียนเปรียบ
เทียบระยะทางจากอาคาร A ไปอาคาร B ระยะทางจาก
อาคาร B ไปอาคาร C ระยะทางจากอาคาร A ไปอาคาร C
โดยใช้หลักการเปรียบเทียบตามข้อสรุปที่ได้จากหน้า 166
ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง

120  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 3 | การวัดความยาว ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

การตรวจสอบความเข้าใจ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 3 | การวัดความยาว

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน ตรวจสอบความเข้าใจ

โดยให้นักเรียนเปรียบเทียบความยาวหรือความสูง 1 สิ่งใดยาวกว่า

1) เชือกเส้นที่ 1 ยาว 215 ซม. กับ เชือกเส้นที่ 2 ยาว 205 ซม.

ของสิ่งที่กำ�หนดให้ เป็นรายบุคคล ครูและนักเรียน 2)


เชือกเส้นที่ 1
ริบบิ้นสีแดงยาว 3 ม. 25 ซม. กับ ริบบิ้นสีฟ้ายาว 3 ม. 40 ซม.
ริบบิ้นสีฟ้า

ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง และร่วมกันสรุป 2 สิ่งใดสูงกว่า

1) ต้นหางนกยูงสูง 4 ม. 5 ซม. กับ ต้นปีบสูง 4 ม. 87 ซม.

สิ่งที่ได้เรียนรู้ 2)
ต้นปีบ
ตู้เก็บของสูง 2 ม. 10 ซม. กับ ชั้นวางหนังสือสูง 1 ม. 80 ซม.
ตู้เก็บของ

สิ่งที่ได้เรียนรู้
• การเปรี ยบเทียบความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร
ของสิ่งต่าง ๆ สองสิ่ง สิ่งที่มีความยาวเป็นเมตรมากกว่า สิ่งที่ได้เรียนรู้
การเปรียบเทียบความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร

จะยาวกว่า ถ้าความยาวเป็นเมตรเท่ากันสิ่งที่มีความยาว
ของสิ่งต่าง ๆ สองสิ่ง สิ่งที่มีความยาวเป็นเมตรมากกว่าจะยาวกว่า
ถ้าความยาวเป็นเมตรเท่ากัน สิ่งที่มีความยาวเป็นเซนติเมตร
มากกว่าจะยาวกว่า

เป็นเซนติเมตรมากกว่าจะยาวกว่า
แบบฝึกหัด 3.5

168 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 3.5
หน้า 105 - 106 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว

3.6 การเปรียบเทียบความยาว (2)

3.6 การเปรียบเทียบความยาว (2) พัฒนาความรู้

จุดประสงค์
ชั้นวางหนังสือสูง 1 เมตร 20 เซนติเมตร

ผมสูง 132 เซนติเมตร

เปรียบความยาวหรือความสูงของสิ่งที่กำ�หนดให้

สื่อการเรียนรู้ 1 เมตร เท่ากับ


100 เซนติเมตร
ต้นกล้ากับชั้นวางหนังสือ อะไรสูงกว่า

−− บัตรภาพ ชุดที่ 1 บอกความยาว ต้นกล้าสูง 132 เซนติเมตร


ชั้นวางหนังสือสูง 1 เมตร 20 เซนติเมตร หรือ 120 เซนติเมตร
ดังนั้น ต้นกล้าสูงกว่าชั้นวางหนังสือ

−− บัตรภาพ ชุดที่ 2 บอกความสูง 100 เซนติเมตร


เท่ากับ 1 เมตร
ต้นกล้าสูง 132 เซนติเมตร หรือ 1 เมตร 32 เซนติเมตร
ชั้นวางหนังสือสูง 1 เมตร 20 เซนติเมตร
ดังนั้น ต้นกล้าสูงกว่าชั้นวางหนังสือ

แนวการจัดการเรียนรู้ การเปรียบเทียบความยาวต้องเปลี่ยนหน่วยความยาวให้เป็นหน่วย

การพัฒนาความรู้
เดียวกันก่อนโดยใช้ความสัมพันธ์ 1 เมตร เท่ากับ 100 เซนติเมตร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 169

1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการเปรียบเทียบ
ความยาวที่เป็นหน่วยเดียวกันโดยอาจเปรียบเทียบความสูงของนักเรียน 2 คน แล้วนำ�เข้าสู่
การเปรียบเทียบความยาวที่มีหน่วยต่างกันที่ใช้ความสัมพันธ์ 1 เมตร เท่ากับ 100 เซนติเมตร
จากนั้นครูยกตัวอย่างตามหนังสือเรียนหน้า 169 ครูถามนักเรียนว่าต้นกล้าสูงเท่าไร ชั้นวางหนังสือ
สูงเท่าไร ต้นกล้ากับชั้นวางหนังสืออะไรสูงกว่า ซึ่งในการเปรียบเทียบความสูงของต้นกล้า
132 เซนติเมตร หรือ 1 เมตร 32 เซนติเมตร และความสูงของชัน ้ วางหนังสือ 1 เมตร 20 เซนติเมตร
หรือ 120 เซนติเมตร อาจเปรียบเทียบในหน่วยเซนติเมตร หรือเปรียบเทียบในหน่วยเมตรและ
เซนติเมตรก็ได้ แต่ในการเปรียบเทียบในหน่วยเมตรและเซนติเมตร จำ�นวนในเมตรเป็น 1 เมตร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  121
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 3 | การวัดความยาว

เท่ากัน จึงต้องเปรียบเทียบในหน่วยเซนติเมตร หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 3 | การวัดความยาว

ครูอาจยกตัวอย่างอื่นเพิ่มเติมเช่น ประตูห้องเรียนสูง
220 เซนติเมตร ประตูห้องน้ำ�สูง 2 เมตร 10 เซนติเมตร เชือกฟางยาว 410 ซม.

นักเรียนเปรียบเทียบประตูทั้งสองบาน จากนั้นครูและ
เชือกไนล่อนยาว 3 ม. 75 ซม. ไหมพรมยาว 5 ม.

นักเรียนร่วมกันสรุปว่า การเปรียบเทียบความยาวที่มี เชือกไนล่อนกับเชือกฟาง สิ่งใดยาวกว่า

หน่วยต่างกันต้องเปลี่ยนหน่วยความยาวให้เป็น เชือกไนล่อนยาว 3 เมตร 75 เซนติเมตร หรือ 375 เซนติเมตร


เชือกฟางยาว 410 เซนติเมตร

หน่วยเดียวกันก่อนแล้วจึงนำ�มาเปรียบเทียบกัน
ดังนั้น เชือกฟางยาวกว่าเชือกไนล่อน

2. ครูยกตัวอย่างความยาวของเชือกชนิดต่าง ๆ เชือกไนล่อนยาว 3 เมตร 75 เซนติเมตร


เชือกฟางยาว 410 เซนติเมตร หรือ 4 ม. 10 เซนติเมตร
ดังนั้น เชือกฟางยาวกว่าเชือกไนล่อน

ตามหนังสือเรียนหน้า 170 แล้วให้นักเรียนช่วยกัน


ตอบคำาถาม

เปรียบเทียบความยาวโดยการเปลี่ยนหน่วยความยาว เชื
1 เชือกฟางกับไหมพรม สิ่งใดสั้นกว่ า อกฟาง
ไหมพรม
2 ไหมพรมกับเชือกไนล่อน สิ่งใดยาวกว่ า

ของเชือกไนล่อน เชือกฟาง และไหมพรม ให้เป็นหน่วย 3 สิ่งใดยาวที่สุด ยาวกี่เซนติเมตร ไหมพรม ยาว 500 เซนติเมตร
4 สิ่งใดสั้นที่สุด ยาวกี่เซนติเมตร เชือกไนล่อน ยาว 375 เซนติเมตร

ความยาวเดียวกัน เช่น เชือกไนล่อนยาว 3 ม.75 ซม. หรือ 170 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

375 เซนติเมตร เชือกฟางยาว 410 เซนติเมตร หรือ 4 ม.


10 ซม. ไหมพรมยาว 5 ม. หรือ 500 เซนติเมตร แล้ว หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว

นักเรียนช่วยกันตอบคำ�ถามข้อ 1 - 4 ในกรอบท้ายหน้า 170 กิจกรรม สนุกกับการเปรียบเทียบ


อุปกรณ์ บัตรภาพ 2 ชุด ชุดที่ 1 บอกความยาว ชุดที่ 2 บอกความสูง

3. ครูจัดกิจกรรมสนุกกับการเปรียบเทียบ โดย ตัวอย่างบัตรภาพ ชุดที่ 1

เตรียมบัตรภาพ 2 ชุด ชุดที่ 1 บัตรภาพความยาว ชุดที่ 2 เชือก ริบบิ้น โซ�

บัตรภาพความสูง แล้วแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มตาม 2 ม. 20 ซม. 150 ซม. 250 ซม.

ความเหมาะสมกับจำ�นวนนักเรียนในชั้นเรียน แนะนำ� ตัวอย่างบัตรภาพ ชุดที่ 2

การทำ�งานร่วมกันเป็นทีม ครูติดบัตรภาพชุดที่ 1
เสาธง หอนา�ิกา เสาไฟถนน

บนกระดาน ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิดใน
12
1
1011 2
9 3
8 4
7 6 5

8 ม. 750 ซม. 6 ม. 50 ซม.

การเปรียบเทียบความยาวของสิ่งของในภาพ วิธีจัดกิจกรรม

เชือกยาว 2 ม. 20 ซม หรือ 220 ซม.


1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม ติดบัตรภาพชุดที่ 1 บนกระดาน ให้แต่ละกลุ่ม
เขียนสิ่งที่ยาวที่สุด สิ่งที่สั้นที่สุด และเรียงลำาดับสิ่งของตามความยาว
จากยาวที่สุดไปสั้นที่สุด ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง

ริบบิ้นยาว 1 ม. 50 ซม. หรือ 150 ซม.


ของแต่ละกลุ่ม
2. ครูตดิ บัตรภาพชุดที่ 2 บนกระดาน ให้แต่ละกลุม ่ เขียนสิง่ ทีส่ งู ทีส่ ดุ
สิ่งที่เตี้ยที่สุด และเรียงลำาดับสิ่งของตามความสูงจากสูงที่สุดไปเตี้ยที่สุด

โซ่ยาว 2 ม. 50 ซม. หรือ 250 ซม. ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของแต่ละกลุ่ม


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 171

แล้วเรียงลำ�ดับความยาวของ โซ่ เชือก และ ริบบิ้น พร้อม


ทัง้ ให้เหตุผลประกอบการเปรียบเทียบ ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนัน ้ ครูตด
ิ บัตร
ภาพชุดที่ 2 ให้นก ั เรียนแต่ละกลุม
่ ระดมความคิดในการเปรียบเทียบความสูงของสิง่ ของในภาพ
เสาธงสูง 8 ม. หรือ 800 ซม.
หอนาฬิกาสูง 750 ซม. หรือ 7 ม. 50 ซม.
เสาไฟถนนสูง 6 ม. 50 ซม. หรือ 650 ซม.
แล้วเรียงลำ�ดับความสูงของ เสาธง หอนาฬิกา และ เสาไฟถนน พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบการ
เปรียบเทียบ ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง

122  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 3 | การวัดความยาว ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

การตรวจสอบความเข้าใจ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 3 | การวัดความยาว

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน ตรวจสอบความเข้าใจ

โดยให้นักเรียนเปรียบเทียบความยาวหรือความสูง 1 สิ่งใดยาวกว่า

ไม้ปัดหยากไย่อันที่ 1 ไม้ปัดหยากไย่อันที่ 2

ของสิ่งที่กำ�หนดให้ตามหนังสือเรียน หน้า 172


1) กับ
ยาว 230 ซม. ยาว 2 ม.
ไม้ปัดหยากไย่อันที่ 1
กระดาษชำาระ A กระดาษชำาระ B

เป็นรายบุคคล ครูอาจเสริมกิจกรรมโดยกำ�หนดสิ่งของมาให้
2) กับ
ยาว 5 ม. 5 ซม. ยาว 5 ม. 50 ซม.
กระดาษชำ�ระ B

เช่น เชือกสีฟ้ายาว 2 ม. 20 ซม. ให้นักเรียนบอกความยาว 2 สิ่งใดสูงกว่า

ของเชือกสีแดงที่ยาวน้อยกว่า เชือกสีฟ้า และให้บอก


1) เสาธงสูง 10 ม. กับ อาคารเรียนสูง 8 ม. 10 ซม.
เสาธง
2) หอนาฬิกาสูง 920 ซม. กับ ประภาคารสูง 9 ม. 50 ซม.

ความยาวของเชือกสีเขียวที่ยาวมากกว่าเชือกสีฟ้า
โดยให้นักเรียนระบุความยาวเองครูและนักเรียนร่วมกัน
ตรวจสอบความถูกต้องและร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ สิ่งที่ได้เรียนรู้
การเปรียบเทียบความยาวที่มีหน่วยต่างกัน ต้องเปลี่ยนหน่วย
ให้เป็นหน่วยเดียวกันก่อน แล้วนำามาเปรียบเทียบกัน

สิ่งที่ได้เรียนรู้
แบบฝึกหัด 3.6

• การเปรี
172 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ยบเทียบความยาวที่มีหน่วยต่างกัน
ต้องเปลี่ยนหน่วยให้เป็นหน่วยเดียวกันก่อน
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว

3.7 การวัดและเปรียบเทียบระยะทาง
แล้วนำ�มาเปรียบเทียบกัน
พัฒนาความรู้

จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 3.6 บ�านใบบัว

หน้า 107 – 108 205 ม.

220 ม.
192 ม. 1011
9
8
7
12

6
1

5
2
3
4
425 ม.

หอนา�ิกา
380 ม.
โรงเรียน
510 ม.

3.7 การวัดและการเปรียบเทียบระยะทาง
ตลาด
ระยะห่างระหว่างบ้านใบบัว
กับตลาดเท่ากับ 425 เมตร
ใบบัวเดินทางจากบ้าน
ไปตลาดเป็นระยะทาง

จุดประสงค์
192 + 380 = 572 เมตร

การวัดระยะทางระหว่างตำาแหน่งสองตำาแหน่ง ทำาได้โดยวัดความยาว

วัดและเปรียบเทียบระยะทางระหว่างตำ�แหน่งสองตำ�แหน่ง ตามเสน ้ ทางทีก


่ าำ หนดจากตำาแหน่งหนึง่ ไปอีกตำาแหน่งหนึง่
ถ้าเส้นทางเป็นแนวเส้นตรงความยาวที่วัดได้อาจเรียกว่า
ระยะห่างระหว่างตำาแหน่งสองตำาแหน่งนั้น

ที่กำ�หนดให้ บอกระยะห่าง และระยะทางระหว่างตำาแหน่งสองตำาแหน่งต่อไปนี้

1 บ้านใบบัวกับโรงเรียน
2 โรงเรียนกับตลาด

สื่อการเรียนรู้
3 บ้านใบบัวกับหอนาฬิกา

−− เครื่องมือวัดความยาว เช่น ไม้เมตร สายวัดชนิดตลับ


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 173

−− เครื่องบินกระดาษ เฉลย
1. ระยะห่างระหว่างบ้านใบบัวกับโรงเรียน เท่ากับ 205 เมตร
ระยะทางระหว่างบ้านใบบัวกับโรงเรียน เท่ากับ 412 เมตร
2. ระยะห่างระหว่างโรงเรียนกับตลาด เท่ากับ 510 เมตร

แนวการจัดการเรียนรู้ ระยะทางระหว่างโรงเรียนกับตลาด เท่ากับ 600 เมตร


3. ระยะห่างระหว่างบ้านใบบัวกับหอนาฬิกา เท่ากับ 192 เมตร

การพัฒนาความรู้ ระยะทางระหว่างบ้านใบบัวกับหอนาฬิกา เท่ากับ 192 เมตร

1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับภาพในหนังสือเรียนหน้า 173 ว่าเป็นภาพเกี่ยวกับระยะทาง


จากบ้านใบบัวไปยังสถานที่ต่าง ๆ เช่น โรงเรียน หอนาฬิกา และตลาด ครูใช้การถาม-ตอบ เพื่อให้
นักเรียนดูภาพแล้วตอบคำ�ถาม เช่น

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  123
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 3 | การวัดความยาว

ระยะทางจากบ้านใบบัวถึงหอนาฬิกาเป็นเท่าไร (192 เมตร)


ระยะทางจากหอนาฬิกาถึงตลาดเป็นเท่าไร (380 เมตร)
ระยะทางจากหอนาฬิกาถึงโรงเรียนเป็นเท่าไร (220 เมตร)
ครูให้นักเรียนสังเกตเส้นประสีแดงในภาพว่ามีลักษณะเป็นเส้นตรงและมีตัวเลขกำ�กับไว้นั้น
เป็นการบอกระยะห่างระหว่างตำ�แหน่งสองตำ�แหน่ง ครูให้นักเรียนบอกว่า ระยะทางกับระยะห่าง
เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายจนได้ข้อสรุปว่า ระยะทางกับระยะห่าง
ต่างกัน แต่ถ้าเส้นทางเป็นแนวเส้นตรง ระยะทางที่วัดได้อาจเรียกว่าระยะห่างระหว่างตำ�แหน่งสอง
ตำ�แหน่งนั้น จากนั้นครูให้นักเรียนดูภาพในหนังสือเรียนหน้า 173 เพื่อตอบคำ�ถาม เช่น บ้านใบบัว
อยู่ห่างจากตลาดเท่าไร (425 เมตร)
ระยะทางจากโรงเรียนไปตลาดโดยผ่านหอนาฬิกา
เป็นเท่าไร (220 + 380 = 600 เมตร) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว

ระยะห่างระหว่างโรงเรียนกับตลาด (510 เมตร) นักกีฬาสีเหลืองกระโดดไกลได้ 1 เมตร 50 เซนติเมตร

ครูให้นักเรียนสรุปเกี่ยวกับระยะทางกับระยะห่าง
อีกครั้งว่าต่างกันอย่างไร (ระยะทางวัดตามความยาว
1 ม. สีฟ�า 2 ม. 3 ม. 4 ม.
สีแดง 1 ม. 20 ซม.
95 ซม.
สีเขียว
1 ม. 25 ซม.

เส้นทางที่กำ�หนด ระยะห่างวัดจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง
เป็นเส้นตรง) ครูอาจถามนักเรียนว่า ระยะจากบ้านใบบัว
นักกีฬาสีฟ้ากระโดดไกลได้ 1 เมตร 20 เซนติเมตร

ถึง หอนาฬิกา 192 ม. คือ ระยะทางหรือระยะห่าง นักกีฬาสีแดงกระโดดไกลได้ 95 เซนติเมตร

(ระยะทาง เพราะเป็นเส้นทางที่สามารถเดินไปหอนาฬิกา
นักกีฬาสีเขียวกระโดดไกลได้ 1 เมตร 25 เซนติเมตร
นักกีฬาสีเหลืองกระโดดไกลได้ 1 เมตร 50 เซนติเมตร

ได้ และเป็นระยะห่าง เพราะเส้นทางจากบ้านใบบัวไป


นักกีฬาสีใดกระโดดไกลได้ระยะทางมากที่สุด

หอนาฬิกาเป็นเส้นตรง) จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกัน
นักกีฬาสีแดง กระโดดได้ระยะทางน้อยกว่า 1 เมตร ซึ่งนักกีฬา
สีอื่น ๆ กระโดดได้ระยะทางมากกว่า 1 เมตร
ดังนั้น นักกีฬาสีแดงกระโดดได้ระยะทางน้อยที่สุด
พิจารณาระยะทาง 1 เมตร 20 เซนติเมตร 1 เมตร 25 เซนติเมตร

ตอบคำ�ถาม ข้อ 1 – 3 ในกรอบท้ายหน้า 173 และ 1 เมตร 50 เซนติเมตร จะได้ว่าระยะทาง 1 เมตร 50 เซนติเมตร
ไกลที่สุด ดังนั้น นักกีฬาสีเหลืองกระโดดได้ระยะทางมากที่สุด

2. ครูกบั นักเรียนสนทนาเกีย่ วกับภาพการกระโดดไกล 174 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ของนักกีฬาสีของโรงเรียนเพื่อนำ�ระยะทางที่นักกีฬา
สีต่าง ๆ กระโดดได้มาเปรียบเทียบกัน เพื่อจัดลำ�ดับ
การแข่งขันโดยใช้การถาม-ตอบ ดังนี้
นักกีฬาสีฟ้ากระโดดได้ระยะทางเท่าไร (1 ม. 20 ซม.)
นักกีฬาสีแดงกระโดดได้ระยะทางเท่าไร (95 ซม.)
นักกีฬาสีเขียวกระโดดได้ระยะทางเท่าไร (1 ม. 25 ซม.)
นักกีฬาสีเหลืองกระโดดได้ระยะทางเท่าไร (1 ม. 50 ซม.)
จากนั้นครูถามนักเรียนว่า นักกีฬาสีใดกระโดดได้ระยะทางมากที่สุด แล้วให้เรียงลำ�ดับระยะ
ทางที่กระโดด จากนั้นให้นักเรียนบอกว่าสีใดได้รับรางวัลเหรียญทอง (นักกีฬาสีเหลือง) เหรียญเงิน
(นักกีฬาสีเขียว) และเหรียญทองแดง (นักกีฬาสีฟ้า) ครูถามว่านักกีฬาสีใดกระโดดได้ระยะทาง
น้อยที่สุด (นักกีฬาสีแดง)

124  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 3 | การวัดความยาว ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

3. ครูจัดกิจกรรม เครื่องบินกระดาษ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

ของกลุ่มใดพุ่งไกลที่สุด ตามหนังสือเรียน
บทที่ 3 | การวัดความยาว

กิจกรรม เครื่องบินกระดาษของกลุ่มใดพุ่งไกลที่สุด

หน้า 175 โดยแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม แล้วแจก อุปกรณ์ 1. เครื่องมือวัดความยาว เช่น สายวัดตัว สายวัดชนิดตลับ


2. เครื่องบินกระดาษ
เครื่องบินกระดาษให้กลุ่มละ 1 ลำ� ครูบอกกติกา วิธีจัดกิจกรรม

และสาธิตวิธีการวัดระยะทางจากจุดที่ปล่อย
1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม แจกเครื่องบินกระดาษให้กลุ่มละ 1 ลำา
2. ครูเตรียมสถานที่สำาหรับแข่งขัน บอกกติกา และสาธิตวิธีการวัดระยะทาง

เครือ
่ งบินถึงจุดทีเ่ ครือ
่ งบินหยุดนิง่ แล้วให้ตวั แทน จากจุดที่ปล่อยเครื่องบินถึงจุดที่เครื่องบินหยุดนิ่ง
3. ให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มพุ่งเครื่องบิน วัดระยะทาง และจดบันทึกระยะทาง

แต่ละกลุ่มพุ่งเครื่องบินแข่งกันแล้วให้สมาชิก บนกระดาน
4. ครูให้นักเรียนดูระยะทางที่บันทึกไว้บนกระดานแล้วช่วยกันตัดสินว่า

ในกลุ่มช่วยกันวัดระยะทางที่พุ่งได้และจดบันทึก กลุ่มใดพุ่งเครื่องบินได้ไกลที่สุด เป็นกลุ่มที่ชนะ

ระยะทางบนกระดาน จากนั้นนำ�ระยะทางของ
แต่ละกลุ่มที่พุ่งได้มาเปรีบเทียบกัน แล้วช่วยกัน
ตัดสินว่ากลุ่มใดพุ่งเครื่องบินได้ระยะทาง
มากที่สุดจะเป็นกลุ่มที่ชนะ ถ้ามีเวลาเพียงพอ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97

ครูอาจให้นักเรียนพับเครื่องบินกระดาษเอง

การตรวจสอบความเข้าใจ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 175

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
โดยให้นักเรียนดูภาพในหนังสือเรียนหน้า 176
แล้วตอบคำ�ถามเกี่ยวกับระยะทางและระยะห่าง
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว

เป็นรายบุคคล ครูและนักเรียนร่วมกัน ตรวจสอบความเข้าใจ

ตรวจสอบความถูกต้อง และร่วมกันสรุป ตอบคำาถามต่อไปนี้


380 ม.

สิ่งที่ได้เรียนรู้
สวนสาธารณะ
12
1
1011 2
9 3
8 4
7 6 5

หอนา�ิกา 450 ม.
ม.
0
50

สิ่งที่ได้เรียนรู้ 230 ม.

• การวั ดระยะทางระหว่างตำ�แหน่งสอง
ตำ�แหน่ง ทำ�ได้โดยวัดความยาวตามเส้นทาง
วัด

1 ระยะห่างจากวัดกับสวนสาธารณะเป็นกี่เมตร 500
320 ม.

เมตร
ตลาด

700
2 ถ้าเดินจากวัดไปสวนสาธารณะโดยผ่านตลาดจะเดิ นเป็นระยะทางเท่าไร เมตร
ที่กำ�หนดจากตำ�แหน่งหนึ่งไปอีกตำ�แหน่งหนึ่ง 3 ถ้าเดินจากวัดไปสวนสาธารณะโดยผ่านหอนาฬิ 610
กาจะเดินเป็นระยะทางเท่าไร เมตร

ถ้าเส้นทางเป็นแนวเส้นตรง ความยาวที่วัดได้ 4 ระยะทางจากวัดไปสวนสาธารณะโดยผ่านตลาด กับระยะทางจากวัดไป


สวนสาธารณะโดยผ่านหอนาฬิการะยะทางใดสั้นกว่า ระยะทางจากวัดไปสวนสาธารณะ
โดยผ่านหอนาฬิกา
อาจเรียกว่าระยะห่างระหว่างตำ�แหน่งสอง สิ่งที่ได้เรียนรู้

ตำ�แหน่งนั้น การวัดระยะทางระหว่างตำาแหน่งสองตำาแหน่ง ทำาได้โดยวัดความยาว


ตามเส้นทางที่กำาหนดจากตำาแหน่งหนึ่งไปอีกตำาแหน่งหนึ่ง

จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 3.7
ถ้าเส้นทางเป็นแนวเส้นตรง ความยาวที่วัดได้อาจเรียกว่า
ระยะห่างระหว่างตำาแหน่งสองตำาแหน่งนั้น

หน้า 109 - 111 แบบฝึกหัด 3.7

176 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  125
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 3 | การวัดความยาว

3.8 การบวกและการลบเกี่ยวกับความยาว หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 3 | การวัดความยาว

จุดประสงค์ 3.8 การบวกและการลบเกี่ยวกับความยาว

หาผลบวกและผลลบเกี่ยวกับความยาวที่กำ�หนดให้ พัฒนาความรู้

สื่อการเรียนรู้
กระดาษสายรุ้งสีแดงยาว 3 เมตร 42 เซนติเมตร

กระดาษสายรุ้งสีเขียวยาว 4 เมตร 50 เซนติเมตร

แถบโจทย์การบวกและการลบเกี่ยวกับความยาว กระดาษสายรุ้งทั้งหมดยาวเท่าไร

3 เมตร รวมกับ 4 เมตร ได้ 7 เมตร


42 เซนติเมตร รวมกับ 50 เซนติเมตร
ได้ 92 เซนติเมตร
ดังนั้นกระดาษสายรุ้งทั้งหมดยาว

แนวการจัดการเรียนรู้ 7 เมตร 92 เซนติเมตร

การพัฒนาความรู้ เขียนแสดงวิธีหาคำาตอบ ดังนี้

วิธีทำา เมตร เซนติเมตร

1. ครูทบทวนวิธีการบวกเกี่ยวกับความยาวที่มี กระดาษสายรุ้งสีแดงยาว 3 42
+
กระดาษสายรุ้งสีเขียวยาว 4 50

หน่วยเดียวกัน เช่น 3 เมตร รวมกับ 5 เมตรเท่ากับเท่าไร กระดาษสายรุ้งทั้งหมดยาว 7 92


ตอบ กระดาษสายรุ้งทั้งหมดยาว ๗ เมตร ๙๒ เซนติเมตร

(8 เมตร) 40 เซนติเมตร รวมกับ 25 เซนติเมตร เท่ากับ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 177

เท่าไร (65 เซนติเมตร) ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับ


การบวกความยาวทีม ่ ห
ี น่วยต่างกัน ตามภาพในหนังสือเรียน หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว

หน้า 177 แล้วถามนักเรียนว่ากระดาษสายรุ้งสีแดง 22 เมตร 50 เซนติเมตร รวมกับ 12 เมตร 75 เซนติเมตร เท่ากับเท่าไร

ยาวเท่าไร (3 เมตร 42 เซนติเมตร) กระดาษสายรุ้งสีเขียว


เขียนแสดงวิธีหาคำาตอบ ดังนี้

วิธีทำา เมตร เซนติเมตร

ยาวเท่าไร (4 เมตร 50 เซนติเมตร) 22


12
50
75
+
100 ซม. เท่ากับ 1 ม.

กระดาษสายรุ้งทั้งหมดยาวเท่าไร โดยครูให้นักเรียน หรือ 35


34 125
25

นำ�ความยาวที่เป็นหน่วยเดียวกันมาบวกกันก่อน ซึ่งจะได้
ตอบ ๓๕ เมตร ๒๕ เซนติเมตร

325 เซนติเมตร รวมกับ 6 เมตร 95 เซนติเมตร เท่ากับเท่าไร

3 เมตร รวมกับ 4 เมตร ได้ 7 เมตร และ 42 เซนติเมตร 325 ซม. เท่ากับ 3 ม. 25 ซม. และเขียนแสดงวิธีหาคำาตอบ ดังนี้

รวมกับ 50 เซนติเมตร ได้ 92 เซนติเมตร ดังนั้น กระดาษ


วิธีทำา เมตร เซนติเมตร

3 25
+

สายรุ้งทั้งหมดยาว 7 เมตร 92 เซนติเมตร จากนั้นครูสาธิต


6 95 100 ซม. เท่ากับ 1 ม.
9 120

การเขียนแสดงวิธีหาคำ�ตอบตามหนังสือเรียนหน้า 177
หรือ 10 20
ตอบ ๑๐ เมตร ๒๐ เซนติเมตร

ครูอาจทำ�กิจกรรมเพิ่มเติมโดยการนำ�เชือกสีแดง ยาว 1 ม. แสดงวิธีหาคำาตอบ


1 2 เมตร 74 เซนติเมตร รวมกับ 4 เมตร 80 เซนติเมตร เท่ากับเท่าไร

15 ซม. เชือกสีฟ้ายาว 2 ม. 25 ซม. มาวางต่อกัน แล้ว


2 756 เซนติเมตร รวมกับ 6 เมตร 15 เซนติเมตร เท่ากับเท่าไร

178 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ถามว่า เชือกทัง้ หมดยาวเท่าไร นักเรียนอาจหาคำ�ตอบโดย เฉลย

การวัดความยาวของเชือกสองเส้นว่ายาวเท่าไร หรือนักเรียน 1. วิ
ธีทำ� เมตร
2
เซนติเมตร
74
2. วิธีทำ�

เมตร
7
เซนติเมตร
56
1

4 80 6 15
อาจหาคำ�ตอบโดยการนำ�ความยาวของเชือกแต่ละเส้น
หรือ
6
7
154
54
13
ตอบ ๑๓ เมตร ๗๑ เซนติเมตร
71

มาบวกกัน ตอบ ๗ เมตร ๕๔ เซนติเมตร

2. ครูยกตัวอย่างการบวกเกี่ยวกับความยาวโดยการเขียนแสดงวิธีหาคำ�ตอบตามหนังสือเรียน
หน้า 178 ซึ่งคล้ายกับการตั้งบวก แต่ให้เขียนหน่วยไว้บรรทัดบน แล้วนำ�ความยาวที่มีหน่วยเดียวกัน
มาบวกกัน ถ้าผลรวมในหน่วยเซนติเมตรมากกว่า 100 เซนติเมตรต้องทด 1 เมตรไปรวมกับผลบวก
ของความยาวในหน่วยเมตร เช่น ตัวอย่างแรก 50 เซนติเมตร บวกกับ 75 เซนติเมตร ได้ 125 เซนติเมตร

126  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 3 | การวัดความยาว ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

ต้องทด 100 เซนติเมตร หรือ 1 เมตร ไปรวมกับผลบวกทีไ่ ด้ในหน่วยเมตร ครูอาจให้นก ั เรียนฝึกการบวก


เกีย่ วกับความยาวเพิม ่ เติม เมือ
่ กำ�หนดความยาวทีม ่ ห
ี น่วยต่างกัน เช่น 475 เซนติเมตร รวมกับ 5 เมตร
85 เซนติเมตร เท่ากับเท่าไร โดยครูถามนักเรียนว่า 475 เซนติเมตร เท่ากับ กีเ่ มตร กีเ่ ซนติเมตร
(4 ม. 75 ซม.) แล้วครูให้นก ั เรียนเขียนแสดงวิธห ี าคำ�ตอบและตรวจสอบความถูกต้อง จากนัน ้ ให้นก ั เรียน
ช่วยกันแสดงวิธห ี าคำ�ตอบ ข้อ 1 และ 2 ในกรอบท้ายหน้า 178
3. ครูยกตัวอย่างการลบเกีย่ วกับความยาวโดยการ
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว

เขียนแสดงวิธห ี าคำ�ตอบตามหนังสือเรียนหน้า 179


5 เมตร มากกว่า 3 เมตร 70 เซนติเมตร อยู่เท่าไร

ซึง่ คล้ายกับการตัง้ ลบ แต่ให้เขียนหน่วยไว้บรรทัดบน วิธีทำา เมตร


4
เซนติเมตร
100
1 ม. เท่ากับ 100 ซม.
5 0 ดังนั้น 5 ม. เท่ากับ 4 ม. 100 ซม.

แล้วนำ�ความยาวที่มีหน่วยเดียวกันมาลบกัน ถ้าตัวตัง้

3 70
1 30

ในหน่วยเซนติเมตรมีคา่ น้อยกว่าตัวลบ ให้กระจายความยาว ตอบ ๑ เมตร ๓๐ เซนติเมตร

ในหน่วยเมตรมา 1 เมตร หรือ 100 เซนติเมตร มารวมกับ 845 เซนติเมตร น้อยกว่า 10 เมตร 17 เซนติเมตร อยู่เท่าไร

ตัวตัง้ ในหน่วยเซนติเมตร เช่น ตัวอย่างแรก 0 เซนติเมตร


วิธีทำา เมตร เซนติเมตร 1 ม. เท่ากับ 100 ซม.

ลบด้วย 70 เซนติเมตร ต้องกระจายจาก 5 เมตรมา 1 เมตร


ดังนั้น 10 ม. 17 ซม. เท่ากับ
9 117
9 ม. 117 ซม.
10 17

8 45

หรือ 100 เซนติเมตร ไปรวมกับตัวตัง้ 0 เซนติเมตร ได้ 100


845 ซม.
เท่ากับ 8 ม. 45 ซม.
1 72
ตอบ ๑ เมตร ๗๒ เซนติเมตร

เซนติเมตร แล้วนำ� 100 เซนติเมตร ลบด้วย 70 เซนติเมตร


แสดงวิธีหาคำาตอบ

ได้ 30 เซนติเมตร สำ�หรับความยาวในหน่วยเมตร 5 เมตร 1 4 เมตร 50 เซนติเมตร ตัดออก 175 เซนติเมตร เหลือเท่าไร
2 13 เมตร มากกว่า 2 เมตร 50 เซนติเมตร อยู่เท่าไร

กระจายไปแล้ว 1 เมตรเหลือ 4 เมตร นำ� 4 เมตร ลบด้วย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 179

3 เมตร ได้ 1 เมตร จากนัน ้ ให้นก ั เรียนช่วยกันแสดงวิธี เฉลย


1. วิธีทำ� เมตร เซนติเมตร
หาคำ�ตอบในกรอบท้ายหน้า 179 ครูอาจให้นก ั เรียนฝึกการลบเกีย่ วกับ
3 150
4 50
1 75

ความยาวเพิม ่ เติมเมือ
่ กำ�หนดความยาวทีม ่ ห
ี น่วยเดียวกัน หรือทีม่ ห
ี น่วยต่างกัน 2
ตอบ ๒ เมตร ๗๕ เซนติเมตร
75

มาให้นก ั เรียนแสดงวิธห ี าคำ�ตอบ เช่น กำ�หนดโจทย์ 6 เมตร ยาวกว่า 4 เมตร 2. วิธีทำ�



เมตร
13
เซนติเมตร
0
12 100

25 เซนติเมตรอยูเ่ ท่าไร ครูอาจถามคำ�ถาม ดังนี้



2
10
50
50

6 เมตร ยาวเท่ากับ 6 เมตร กี่เซนติเมตร (6 เมตร 0 เซนติเมตร)


ตอบ ๑๐ เมตร ๕๐ เซนติเมตร

6 เมตร 0 เซนติเมตร ยาวเท่ากับ 5 เมตร กี่เซนติเมตร (5 เมตร 100 เซนติเมตร)


5 เมตร 100 เซนติเมตร ยาวกว่า 4 เมตร 25 เซนติเมตร เท่าไร (1 เมตร 75 เซนติเมตร)
ประกอบการใช้ Bar Model
1 ม. 1 ม. 1 ม. 1 ม. 100 ซม. 1 ม.
}
}

1 ม. 1 ม. 1 ม. 1 ม. 25 ซม. 75 ซม. 1 ม.

จากแถบกระดาษสี (Bar Model) 6 เมตร ยาวกว่า 4 เมตร 25 เซนติเมตร อยู่


1 เมตร 75 เซนติเมตร
ครูควรดูแลและช่วยเหลือนักเรียนที่ยังไม่เข้าใจและสะท้อนการเรียนรู้ของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
อาจให้นักเรียนมาฝึกเพิ่มเติมกับครูเป็นรายบุคคล จากนั้นให้นักเรียนช่วยกันแสดงวิธีหาคำ�ตอบ
ข้อ 1 และ 2 ในกรอบท้ายหน้า 179

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  127
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 3 | การวัดความยาว

การตรวจสอบความเข้าใจ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 3 | การวัดความยาว

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน ตรวจสอบความเข้าใจ

โดยให้นักเรียนบวกและลบเกี่ยวกับความยาวตาม แสดงวิธีหาคำาตอบ

1 5 เมตร 10 เซนติเมตร รวมกับ 2 6 เมตร 5 เซนติเมตร มากกว่า

หนังสือเรียนหน้า 180 แล้วเขียนแสดงวิธีหาคำ�ตอบ


3 เมตร 90 เซนติเมตร เท่ากับเท่าไร 4 เมตร 20 เซนติเมตร อยูเ่ ท่าไร

วิธีทำา เมตร เซนติเมตร วิธีทำา เมตร เซนติเมตร

เป็นรายบุคคล ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบ
5 105
5 10 6 5
+ −
3 90 4 20

ความถูกต้อง ครูอาจเสริมกิจกรรมแข่งขันการหาคำ�ตอบ 8 100 1 85

หรือ 9 00

ด้วยการกำ�หนดโจทย์การบวกและการลบเกี่ยวกับความยาว ตอบ ๙ เมตร ตอบ ๑ เมตร ๘๕ เซนติเมตร

มาให้นักเรียนหาคำ�ตอบให้ได้อย่างรวดเร็ว จากนั้นครูและ 3 4 เมตร 35 เซนติเมตร รวมกับ 15 เมตร 80 เซนติเมตร เท่ากับเท่าไร


4 53 เมตร 6 เซนติเมตร น้อยกว่า 72 เมตร อยู่เท่าไร

นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
สิ่งที่ได้เรียนรู้
การหาผลบวกหรือผลลบเกี่ยวกับความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร
ทำาได้โดยนำาความยาวที่เป็นหน่วยเดียวกันมาบวกหรือลบกัน

สิ่งที่ได้เรียนรู้
• การหาผลบวกหรือผลลบเกี่ยวกับความยาวเป็นเมตร
และเซนติเมตรทำ�ได้โดยนำ�ความยาวที่เป็นหน่วย
180 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แบบฝึกหัด 3.8

เฉลย
เดียวกันมาบวกหรือลบกัน 3. วิธีทำ� เมตร เซนติเมตร
4 35

จากนัน
้ ให้นกั เรียนทำ�แบบฝึกหัด 3.8 หน้า 112 – 114

15
19
80
115
หรือ 20 15
ตอบ ๒๐ เมตร ๑๕ เซนติเมตร

3.9 โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ (1) 4. วิธีทำ�



เมตร
71
72
เซนติเมตร
100
0

จุดประสงค์
53 6
18 94
ตอบ ๑๘ เมตร ๙๔ เซนติเมตร
แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาการบวกและ
โจทย์ปัญหาการลบเกี่ยวกับความยาวที่มีหน่วย หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

เป็นเมตรและเซนติเมตร
บทที่ 3 | การวัดความยาว

3.9 โจทย์ปญ
ั หาการบวกและโจทย์ปญ
ั หาการลบ (1)
พัฒนาความรู้

สื่อการเรียนรู้ ม้านั่งตัวหนึ่งยาว 1 เมตร 30 เซนติเมตร ม้านั่งอีกตัวหนึ่งยาว 1 เมตร


70 เซนติเมตร นำามาวางต่อกันจะยาวเท่าไร
แถบโจทย์ปัญหาการบวกและแถบโจทย์ปัญหาการลบ โจทย์ถาม นำามาวางต่อกันจะยาวเท่าไร

ความยาวหรือความสูงที่มีหน่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร
โจทย์บอก ม้านั่งตัวหนึ่งยาว 1 เมตร 30 เซนติเมตร
ม้านั่งอีกตัวหนึ่งยาว 1 เมตร 70 เซนติเมตร

หาคำาตอบได้อย่างไร นำาความยาวมาบวกกัน

เขียนแสดงวิธีหาผลบวกได้ดังนี้

แนวการจัดการเรียนรู้ วิธีทำา เมตร เซนติเมตร

การพัฒนาความรู้ ม้านั่งตัวหนึ่งยาว
ม้านั่งอีกตัวหนึ่งยาว
1
1
30
70
+

1. ครูติดแถบโจทย์ปัญหาการบวกความยาวตาม
นำามาวางต่อกันจะยาว 2 100 100 ซม. เท่ากับ 1 ม.

หรือ 3 0
ตอบ นำาม้านั่งมาวางต่อกันจะยาว ๓ เมตร
หนังสือเรียนหน้า 181 ครูให้นักเรียนอ่านโจทย์แล้วร่วมกัน 3 เมตร เป็นคำาตอบที่สมเหตุสผลเพราะม้านั่งแต่ละตัวยาวมากกว่า 1 เมตร

วิเคราะห์โจทย์ โดยถามนักเรียนว่า โจทย์ถามอะไร โจทย์


ดังนั้น นำามาต่อกันต้องยาวมากกว่า 2 เมตร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 181

บอกอะไร และหาคำ�ตอบได้อย่างไร นักเรียนฝึกการ


วิเคราะห์โจทย์ปัญหาการบวก แล้วตอบคำ�ถามจากโจทย์ “ม้านั่งตัวหนึ่งยาว 1 เมตร 30 เซนติเมตร

128  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 3 | การวัดความยาว ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

ม้านั่งอีกตัวหนึ่งยาว 1 เมตร 70 เซนติเมตร นำ�มาวางต่อกันจะยาวเท่าไร” ให้นักเรียนคิดว่าความยาว


ทั้งหมดของม้านั่งสองตัวเป็นเท่าไร ครูถามคำ�ถามกระตุ้นการคิดของนักเรียน เช่น
−− ม้านั่งตัวแรกยาวเท่าไร (1 ม. 30 ซม.)
−− ม้านั่งตัวที่สองยาวเท่าไร (1 ม. 70 ซม.)
−− เมื่อนำ�ม้านั่งมาวางต่อกันจะยาวมากขึ้นหรือน้อยกว่าเดิม (ยาวมากกว่าเดิม)
−− ความยาวของม้านั่งสองตัวเป็นเท่าไร (3 ม.)
−− หาคำ�ตอบได้อย่างไร (นำ�ความยาวของม้านั่งมาบวกกัน)
ครูให้นักเรียนเขียนแสดงวิธีหาคำ�ตอบในสมุดแล้วสุ่มนักเรียนออกมาเขียนแสดงวิธีหา
คำ�ตอบบนกระดาน ครูและเพื่อนในห้องร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง และหากมีนักเรียนคนใด
ที่คิดต่างจากเพื่อนที่ออกมานำ�เสนอ ควรให้นักเรียนได้อธิบายเหตุผล ครูอาจเตรียมภาพม้านั่ง
มาติดแสดงให้เห็นความยาวที่เพิ่มขึ้นจริงเมื่อนำ�มาต่อกัน และให้นักเรียนสังเกตผลบวกของความยาว
ในหน่วยเซนติเมตรที่มีผลบวกเป็น 100 เซนติเมตร ซึ่งมีความยาวเท่ากับ 1 เมตร นักเรียนต้อง
นำ�ความยาว 1 เมตรนี้ไปรวมกับผลบวกของความยาวในหน่วยเมตร ตามหนังสือเรียนหน้า 181
ครูควรเน้นย้ำ�เรื่องการตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำ�ตอบที่ได้ว่า ม้านั่งแต่ละตัวยาวมากกว่า
1 เมตร เมื่อนำ�มาต่อกันต้องมีความยาวมากกว่า 2 เมตร
2. ครูติดแถบโจทย์ปัญหาการลบความยาวตาม
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว

หนังสือเรียนหน้า 182 ครูให้นักเรียนอ่านโจทย์แล้วร่วมกัน


เชือกสีแดงยาว 3 เมตร 5 เซนติเมตร เชือกสีเขียวยาว 2 เมตร 75 เซนติเมตร
เชือกสีเขียวสั้นกว่าเชือกสีแดงเท่าไร

วิเคราะห์โจทย์ โดยถามนักเรียนว่า โจทย์ถามอะไร


โจทย์ถาม เชือกสีเขียวสั้นกว่าเชือกสีแดงเท่าไร
โจทย์บอก เชือกสีแดงยาว 3 เมตร 5 เซนติเมตร เชือกสีเขียวยาว
2 เมตร 75 เซนติเมตร

โจทย์บอกอะไร และหาคำ�ตอบได้อย่างไร นักเรียน หาคำาตอบได้อย่างไร

ฝึกการวิเคราะห์โจทย์ปัญหาการลบ แล้วตอบคำ�ถาม นำาความยาวมาลบกัน

จากโจทย์ “เชือกสีแดงยาว 3 เมตร 5 เซนติเมตร


เขียนแสดงวิธีหาผลลบได้ดังนี้

เชือกสีเขียวยาว 2 เมตร 75 เซนติเมตร เชือกสีเขียวสัน ้ กว่า


วิธีทำา เมตร เซนติเมตร 1 ม. เท่ากับ 100 ซม.
ดังนั้น 3 ม. 5 ซม. เท่ากับ
2 105 2 ม. 105 ซม.
เชือกสีแดงยาว 3 5

เชือกสีแดงเท่าไร”
เชือกสีเขียวยาว 2 75
เชือกสีเขียวสั้นกว่าเชือกสีแดง 0 30

−− โจทย์ถามอะไร (เชือกสีเขียวสัน้ กว่าเชือกสีแดงเท่าไร)


ตอบ เชือกสีเขียวสั้นกว่าเชือกสีแดง ๓๐ เซนติเมตร

−− โจทย์บอกอะไร (เชือกสีแดงยาว 3 เมตร 5 เซนติเมตร


30 เซนติเมตร เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง เพราะ 2 เมตร 75 เซนติเมตร
รวมกับ 30 เซนติเมตร เท่ากับ 3 เมตร 5 เซนติเมตร

เชือกสีเขียวยาว 2 เมตร 75 เซนติเมตร)


−− ได้คำ�ตอบเป็นเท่าไร (30 เซนติเมตร)
182 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ครูให้นักเรียนเขียนแสดงวิธีหาคำ�ตอบในสมุดแล้วสุ่ม
นักเรียนออกมาเขียนแสดงวิธห ี าคำ�ตอบบนกระดาน ครูและเพือ ่ นในห้องร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
และหากมีนักเรียนคนใดที่คิดต่างจากเพื่อนที่ออกมานำ�เสนอ ควรให้นักเรียนได้อธิบายเหตุผล
ครูอาจเตรียมภาพเชือกสีเขียวและเชือกสีแดงมาเปรียบเทียบความยาวให้เห็นจริง และให้นักเรียน
สังเกตว่าความยาวเชือกในหน่วยเซนติเมตรตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบ จึงต้องกระจาย 1 เมตร หรือ
100 เซนติเมตรจากความยาวเชือกในหน่วยเมตรมารวมกับความยาวเชือกในหน่วยเซนติเมตร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  129
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 3 | การวัดความยาว

ที่เป็นตัวตั้งแล้วจึงนำ�มาลบกัน และความยาวเชือก หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 3 | การวัดความยาว

ในหน่วยเมตรเมื่อกระจายไปแล้วความยาวเชือกจะลดลง แสดงวิธีหาคำาตอบ

1 เมตรตามหนังสือเรียนหน้า 182 ครูควรเน้นย้ำ�เรื่อง เสาธงสูง 8 เมตร อาคารเรียนสูง 11 เมตร 30 เซนติเมตร


เสาธงเตี้ยกว่าอาคารเรียนเท่าไร

การตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำ�ตอบที่ได้ว่าเมื่อนำ� วิธีทำา เมตร เซนติเมตร

30 เซนติเมตร รวมกับ 2 เมตร 75 เซนติเมตรจะเท่ากับ อาคารเรียนสูง


เสาธงสูง
11
8
30
0

3 เมตร 5 เซติเมตร
เสาธงเตี้ยกว่าอาคารเรียน 3 30
ตอบ เสาธงเตี้ยกว่าอาคารเรียน ๓ เมตร ๓๐ เซนติเมตร

3. ครูให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์โจทย์ปัญหา 1 ตู้ใบหนึ่งยาว 2 เมตร 75 เซนติเมตร ตู้อีกใบหนึ่งยาว 80 เซนติเมตร


นำามาวางต่อกันจะยาวเท่าไร

และแสดงวิธีหาคำ�ตอบตามหนังสือเรียนหน้า 183 2

โดยครูติดแถบโจทย์ปัญหาอาจมีรูปประกอบเพื่อให้ 175 ม.

แก้วตาเดินจากบ้านแวะซือ
220 ม. 50 ซม.

้ อาหารทีร่ ถขายอาหารแล้วเดินต่อไปทีโ่ รงเรียน


แก้วตาเดินเป็นระยะทางเท่าไร
นักเรียนเห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น 3 ระยะทางจากเสาธงถึงอาคารเรียน 25 เมตร 50 เซนติเมตร ระยะทาง
จากเสาธงถึงโรงอาหาร 40 เมตร ระยะทางจากเสาธงถึงโรงอาหารมากกว่า

เสาธงสูง 8 เมตร อาคารเรียนสูง 11 เมตร ระยะทางจากเสาธงถึงอาคารเรียนอยู่เท่าไร

30 เซนติเมตร เสาธงเตี้ยกว่าอาคารเรียนเท่าไร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 183

โจทย์ถามอะไร โจทย์บอกอะไร และหาคำ�ตอบ เฉลย


1. วิธีทำ� เมตร เซนติเมตร 2. วิธีทำ� เมตร เซนติเมตร
ได้อย่างไร ครูให้นักเรียนช่วยกันหาคำ�ตอบ จะได้คำ�ตอบ ตู้ใบหนึ่งยาว 2 75
+
175 0
+
แก้วตาจากบ้านไปรถขายอาหาร
ตู้อีกใบยาว 80 220 50 แก้วตาจากรถขายอาหารไปโรงเรียน

ตามหนังสือเรียนหน้า 183 จากนั้นครูแบ่งกลุ่มนักเรียน ตู้วางต่อกันยาว 2 115 395 50 แก้วตาเดินเป็นระยะทางทั้งหมด


หรือ 3 55 ตอบ นำ�ตู้มาวางต่อกันจะยาว ๓ เมตร ๕๕ เซนติเมตร
กลุ่มละเท่า ๆ กัน แล้วให้แต่ละกลุ่มช่วยกันวิเคราะห์ ตอบ นำ�ตู้มาวางต่อกันจะยาว ๓ เมตร ๕๕ เซนติเมตร
3. วิธีทำ� เมตร เซนติเมตร
โจทย์ปัญหาและแสดงวิธีหาคำ�ตอบข้อ 1 - 3 กลุ่มละ
39 100
40 0
ระยะทางจากเสาธงถึงโรงอาหาร
25 50
ระยะทางจากเสาธงถึงอาคารเรียน

1 ข้อ แล้วให้แต่ละกลุ่มออกมานำ�เสนอหน้าห้องเรียน ระยะทาง


14 จากเสาธงถึงโรงอาหาร
50
มากกว่าระยะทางจากเสาธงถึงอาคารเรียน
ตอบ ระยะทางจากเสาธงถึงโรงอาหารมากกว่า ระยะทางจากเสาธงถึงอาคารเรียน ๑๘ เมตร ๕๐ เซนติเมตร

ครูและเพื่อนในห้องช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว

การตรวจสอบความเข้าใจ
ตรวจสอบความเข้าใจ
แสดงวิธีหาคำาตอบ

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
โดยให้นักเรียนวิเคราะห์โจทย์ปัญหาการบวกและ
โจทย์ปัญหาการลบแล้วเขียนแสดงวิธีหาคำ�ตอบของ
1 แม่ซื้อผ้า 10 เมตร ตัดไปทำาผ้าม่าน 6 เมตร 50 เซนติเมตร

โจทย์ปัญหาตามหนังสือเรียนหน้า 184 เป็นรายบุคคล แม่เหลือผ้าอยู่เท่าไร

ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง 2 สร้างรั้วสนามเด็กเล่น วันแรกสร้างได้ 17 เมตร 30 เซนติเมตร


วันที่สองสร้างได้อีก 14 เมตร 80 เซนติเมตร รวมสองวัน
สร้างรั้วสนามเด็กเล่นได้ยาวเท่าไร

ครูอาจเสริมกิจกรรมแข่งขันการหาคำ�ตอบด้วยการกำ�หนด
โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปญ ั หาการลบมาให้นกั เรียน สิ่งที่ได้เรียนรู้
การแก้โจทย์ปญ
ั หาทำาได้โดย อ่านทำาความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปญ
ั หา

หาคำ�ตอบให้ได้อย่างรวดเร็ว จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกัน หาคำาตอบ และตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำาตอบ

สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ หากพบว่ามีนักเรียนวิเคราะห์ แบบฝึกหัด 3.9

โจทย์ปัญหาและแสดงวิธีหาคำ�ตอบไม่ถูกต้อ
184 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เฉลย
ครูควรสอนเพิ่มเติมเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม 1. วิธีทำ� เมตร เซนติเมตร
9 100
2. วิธีทำ� เมตร เซนติเมตร
แม่ซื้อผ้า 10
0 วันแรก 17 35
ตัดผ้าไปทำ�ม่าน 6 50 วันที่สอง 14 80
แม่เหลือผ้า 3 50 รวมสองวัน 31 110
ตอบ แม่เหลือผ้าอยู่ ๓ เมตร ๕๐ เซนติเมตร หรือ 32 10
ตอบ รวมสองวันสร้างรั้วสนามเด็กเล่น
130  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ยาว ๓๒ เมตร ๑๐ เซนติเมตร
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 3 | การวัดความยาว ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

สิ่งที่ได้เรียนรู้
• การแก้ โจทย์ปัญหาทำ�ได้โดย อ่านทำ�ความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา หาคำ�ตอบ
และตรวจสอบความสมเหตุสมผล
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 3.9 หน้า 115 – 117

3.10 โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ (2)


จุดประสงค์
แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว

3.10 โจทย์ปญ
ั หาการบวกและโจทย์ปญ
ั หาการลบ (2)
ปัญหาการลบเกี่ยวกับความยาวที่มีหน่วยเป็นเมตรและ
พัฒนาความรู้

เซนติเมตร
หอกระโดดน้าำ มีกระดานสปริง 2 ระดับ ระดับแรกสูงจากพืน
้ 5 เมตร ระดับทีส่ อง
สูงกว่าระดับแรก 2 เมตร 50 เซนติเมตร กระดานสปริงระดับที่สองสูงจากพื้น
เท่าไร

สื่อการเรียนรู้ โจทย์ถาม
โจทย์บอก
กระดานสปริงระดับที่สองสูงจากพื้นเท่าไร
หอกระโดดน้ำามีกระดานสปริง 2 ระดับ ระดับแรกสูงจากพื้น

แถบโจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบความยาว
5 เมตร ระดับที่สองสูงกว่าระดับแรก 2 เมตร 50 เซนติเมตร

2 ม. 50 ซม.

หรือความสูงที่มีหน่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร หาคำาตอบได้อย่างไร

5 ม.
นำาความสูงมาบวกกัน

แนวการจัดการเรียนรู้ วิธีทำา เมตร เซนติเมตร

การพัฒนาความรู้
ระดับแรกสูงจากพื้น 5 0
+
ระดับที่สองสูงกว่าระดับแรก 2 50
ระดับที่สองสูงจากพื้น 7 50

1. ครูติดแถบโจทย์ปัญหาการบวกความสูงตาม ตอบ กระดานสปริงระดับที่สองสูงจากพื้น ๗ เมตร ๕๐ เซนติเมตร

หนังสือเรียนหน้า 185 ครูให้นักเรียนอ่านโจทย์แล้วร่วมกัน


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 185

วิเคราะห์โจทย์ ครูอาจใช้คำ�ถามกระตุ้นการคิด
โดยถามนักเรียนว่า โจทย์ถามอะไร โจทย์บอกอะไร และหาคำ�ตอบได้อย่างไร ทั้งนี้ครูอาจใช้
ภาพประกอบเพื่อให้นักเรียนเห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น กระดานสปริง 2 ระดับ ระดับแรกสูงจากพื้น
5 เมตร ถ้าระดับที่สองสูงเท่ากันจะสูงจากพื้นเท่าไร (5 เมตร) ครูอาจแสดงภาพการเลื่อนขึ้นหรือ
เลื่อนลงของกระดานสปริงให้นักเรียนเข้าใจความหมายของการเท่ากัน มากกว่า หรือ น้อยกว่า
ในโจทย์ปัญหาข้อนี้ต้องเลื่อนกระดานสปริงระดับที่สองให้สูงกว่าระดับแรก นักเรียนควรตอบคำ�ถาม
ให้ได้ว่า จะหาคำ�ตอบได้อย่างไร ครูควรเปิดโอกาสให้นักเรียนอธิบายแนวคิดของตนเอง
2. ครูติดแถบโจทย์ปัญหาตามหนังสือเรียนหน้า 186 แล้วให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์
โจทย์ปัญหา โดยครูอาจใช้ภาพอาคารเรียนและเสาธงที่เสาธงสูงกว่าและเตี้ยกว่าอาคารเรียน เพื่อให้
นักเรียนเลือกภาพที่สอดคล้องกับโจทย์ปัญหา จากนั้นให้นักเรียนวิเคราะห์ว่าจะหาคำ�ตอบได้อย่างไร
แล้วช่วยกันเขียนแสดงวิธีหาคำ�ตอบ ครูควรเน้นย้ำ�เรื่องการลบที่มีการกระจาย แล้วให้นักเรียน
ช่วยกันวิเคราะห์และหาคำ�ตอบโจทย์ปัญหาข้อ 1 และ 2 ในกรอบท้ายหน้า 186 พร้อมทั้งตรวจสอบ
ความถูกต้อง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  131
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 3 | การวัดความยาว

3. ครูติดแถบโจทย์ปัญหาแล้วให้นักเรียนช่วยกัน หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 3 | การวัดความยาว

วิเคราะห์โจทย์ปัญหาตามหนังสือเรียนหน้า 187 อาคารเรียนสูง 9 เมตร 20 เซนติเมตร เสาธงสูงน้อยกว่าอาคารเรียน


2 เมตร 75 เซนติเมตร เสาธงสูงเท่าไร

โดยครูอาจใช้ภาพประกอบการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา โจทย์ถาม เสาธงสูงเท่าไร


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

เพื่อสร้างความเข้าใจ แล้วกระตุ้นการคิดวิเคราะห์เพิ่มเติม
โจทย์บอก อาคารเรียนสูง 9 เมตร 20 เซนติเมตร เสาธงสูงน้อยกว่า
บทที่ 3 | การวัดความยาว อาคารเรียน 2 เมตร 75 เซนติเมตร
2 ม. 75 ซม.

ด้วยคำ�ถาม โจทย์ถามอะไร โจทย์บอกอะไร นักเรียนจะ


9 ม. 20 ซม.
นำาความสูงมาลบกัน

วันแรกพ่อปูอิฐตัวหนอนทำาทางเดินได้ระยะทาง 6 เมตร 10 เซนติเมตร


หาคำ�ตอบได้อย่างไรวัในโจทย์ ปัญหาข้อนี้อาจใช้แถบ
นที่สองพ่อต้องปูอิฐเป็นระยะทางเท่าไร จึงจะได้ระยะทางรวม 10 เมตร
วิธีทำา เมตร เซนติเมตร
8 120
1 ม. เท่ากับ 100 ซม.
ดังนั้น 9 ม. 20 ซม. เท่ากับ
8 ม. 120 ซม.
อาคารเรียนสูง 9 20

กระดาษสี (Bar Model) มาประกอบการอธิบาย เช่น



เสาธงสูงน้อยกว่าอาคารเรียน 2 75

โจทย์ถาม วันที่สองพ่อต้องปูอิฐเป็นระยะทางเท่ หนังสืาอไร


เสาธงสูง 6 45

วันแรกพ่อปูอิฐได้ระยะทาง 6 เมตร 10 เซนติเมตร


เรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
ตอบ เสาธงสูง ๖ เมตร ๔๕ เซนติเมตร
บทที่ 3 | การวัดความยาว
โจทย์บอก วันแรกพ่อปูอิฐตัวหนอนทำาทางเดินได้ระยะทาง 6 เมตร
ครูติดแถบกระดาษสีแสดงระยะทางที ่พ่อปูอิฐได้ดังนี้
อย่าลืมตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำาตอบ

10 เซนติเมตร ต้องการทำาทางเดินให้ได้ระยะทางรวม 10 เมตร


วันแรกพ่อปูอิฐตัวหนอนทำาทางเดินได้ระยะทาง 6 เมตร 10 เซนติเแสดงวิ
มตร
6 ม. 10 ซม.
ธีหาคำาตอบ

วันที่สองพ่อต้องปูอิฐเป็นระยะทางเท่าไร จึงจะได้ระยะทางรวม 10 เมตร


1 พ่อสูง 1 เมตร 70 เซนติเมตร พ่อสูงกว่าแม่ 15 เซนติเมตร
แม่สูงเท่าไร แม่สูง 1 เมตร 55 เซนติเมตร
วันแรก วันที่สอง
นำาระยะทางมาลบกั น
2 ไม้ท่อนแรกยาว 300 เซนติเมตร ไม้ท่อนแรกสั้นกว่าไม้ท่อนที่สอง

ระยะทางทั้งโจทย์ ่พ่อปูวัอนิฐที10
ถาม ม. อต้องปูอิฐเป็นระยะทางเท่าไร
่สองพ่
1 เมตร 21 เซนติเมตร ไม้ท่อนที่สองยาวเท่าไร

หมดที ได้ 10 เมตร ครูเขียน 186 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ไม้ท่อนที่สองยาว 4 เมตร 21 เซนติเมตร

โจทย์
วิธบีท่อ
รูปสี่เหลี่ยมต่อออกไปเพื อก
ำา ให้ได้วัร
นะยะทาง
แรกพ่อปูอิฐ10 ตัวหนอนทำ
เมตร าดัทางเดิ
งนี้ นเซนติ
เมตร ได้ระยะทาง
เมตร 6 เมตร
เฉลย 1 ม. เท่ากับ 100 ซม.
10 เซนติเมตร ต้องการทำาทางเดิ 9 นให้ไ100
ด้ระยะทางรวม 10 เมตร
ต้องการระยะทางรวม 10 0 1. วิ ธ ท
ี �
ำ ดังนั้น 10 ม. เท่ากับ เมตร เซนติเมตร
6 ม. 10 ซม. − พ่อสูง 9 ม. 100 ซม. 1 70

วันแรกพ่อปูอิฐตัวันวที่สหนอนได้
วันแรก อง 6 10 พ่อสูงกว่าแม่ 15
นำแม่
าระยะทางมาลบกั
สูง น 1 55
่ 10
วันทีส ม.อต้องปูอฐิ เป็นระยะทาง 3
องพ่ 90 ตอบ แม่สูง ๑ เมตร ๕๕ เซนติเมตร
จากรูป ครูใวิห้ธนีทตอบ
ัก
ำา เรียวันบอกว่
นที่สองพ่าอส่ ต้อวงปู
นทีอิฐ่ตเป็่อนออกไปนัเมตร ้น๓
ระยะทาง เซนติ
เมตรเมตร
๙๐ 2.
เซนติ
วิธีทำ�เ มตร เมตร เซนติเมตร
ไม้ท1่อนแรกยาว
ม. เท่ากับ 100 ซม. 300
9 100
เป็นระยะทางเท่าไร แล้ต้วอให้ น ก
ั เรี
งการระยะทางรวมย นแสดงวิ ธ ห
ี าคำ � ตอบ
10 0 ไม้ ทดั

่ ง นั น

นแรกสั 10

้ ม.
กว่ า เท่
ไม้ ทาอ
่ กั
นทีบ ส
่ อง 1 21

− ไม้ท่อนที9่สม. 100 ซม.


องยาว 1 321
จากนั้นครูให้นักเรียนช่ววันยกั น วิ เ คราะห์
แรกพ่อปูอิฐตัวหนอนได้ แ ละหาคำ � ตอบของ
อย่าลืมตรวจสอบความสมเหตุ 6 10
สมผลของคำ
หรืาอตอบ 4 21

โจทย์ปัญหาในกรอบท้าวัยหน้ นทีส า 187 พร้


่ องพ่ อต้องปูอฐิ เป็อนมทัระยะทาง้งตรวจสอบ3 90
ตอบ ไม้ท่อนที่สองยาว ๔ เมตร ๒๑ เซนติเมตร

ความถูกต้อง ตอบ วันทีแสดงวิ่สองพ่อธต้ีหอาคำ


งปูาอตอบ
ิฐเป็นระยะทาง ๓ เมตร ๙๐ เซนติเมตร
ทั้งนี้ครูอาจสร้างสถานการณ์
1 แม่มีเชือเกเส้ ป็นนเรืหนึ่อ่งงราว
ยาว 30 เมตร ตัดไปทำาราวตากผ้า
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว

แล้วเหลือเชือก 15 เมตร 25 เซนติเมตร แม่ตัดเชือก


เพิ่มความสนใจให้นักเรียน เช่น การทำ �ความดี
วันแรกพ่อปูอิฐตัวหนอนทำาทางเดินได้ระยะทาง 6 เมตร 10 เซนติเมตร
วันที่สองพ่อต้องปูอิฐเป็นระยะทางเท่าไร จึงจะได้ระยะทางรวม 10 เมตร
อย่าลืมาตรวจสอบความสมเหตุ
ทำาราวตากผ้ ยาวเท่าไร สมผลของคำาตอบ
ของต้นกล้า แม่ของต้นกล้ามีเชือกยาว 30 เมตร
โจทย์ถาม วันที่สองพ่อต้องปูอิฐเป็นระยะทางเท่าไร
โจทย์บอก วันแรกพ่อปูอิฐตัวหนอนทำาทางเดินได้ระยะทาง 6 เมตร
2 อุปกรณ์ที่ใช้ต่อขาสูงเท่าไร ถ้าตัวตลกสูง 150 เซนติเมตร 10 เซนติเมตร ต้องการทำาทางเดินให้ได้ระยะทางรวม 10 เมตร

(ครูเขียนรูปจำ�ลองเชือแสดงวิ กบนกระดาน)
ธต่ีหอาคำ
ขาแล้ วตัวตลกมีความสูง 3 เมตร 42 เซนติเมตร
าตอบ
6 ม. 10 ซม.
วันแรก วันที่สอง
นำาระยะทางมาลบกัน
10 ม.

เฉลย 1 แม่มีเชือกเส้นหนึ่งยาว 30 เมตร ตัดไปทำาราวตากผ้า วิธีทำา เมตร เซนติเมตร


1 ม. เท่ากับ 100 ซม.

และเทคโนโลยี | 187
9 100

แล้วเหลือเชือก 15เมตร
เมตรเซนติ
25เมตร
เซนติเมตร แม่ตัดเชือก วันแรกพ่อปูอิฐตัวหนอนได้ 106 100−
ต้องการระยะทางรวม ดังนั้น 10 ม. เท่ากับ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ 9 ม. 100 ซม.
1. วิธีทำ�
ทำาราวตากผ้ายาวเท่30
าไร 0
29 100
เชือกเส้นหนึ่งยาว วันทีส่ องพ่อต้องปูอฐิ เป็นระยะทาง 3 90
- ตอบ วันที่สองพ่อต้องปูอิฐเป็นระยะทาง ๓ เมตร ๙๐ เซนติเมตร
แม่ตัดเชือกแล้วเหลือเชือก 15 25
แม่ตัดเชื2อกทำ�อุ ปกรณ์ายาว
ราวตากผ้ ที่ใช้ต่อขาสู14
งเท่ าไร ถ้
75าตัวตลกสูง 150 เซนติเมตร
ต่�อราวตากผ้
ขาแล้าวยาว
ตัว๑๔
ตลกมี
เมตรค วามสู
เซนติเงมตร
3 เมตร 42 เซนติเมตร
อย่าลืมตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำาตอบ
ตอบ แม่ตัดเชือกทำ ๗๕
แสดงวิธีหาคำาตอบ
1 แม่มีเชือกเส้นหนึ่งยาว 30 เมตร ตัดไปทำาราวตากผ้า
2. วิธีทำ� เมตร เซนติเมตร
2 142 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 187
แล้วเหลือเชือก 15 เมตร 25 เซนติเมตร แม่ตัดเชือก
ต่อขาแสดงตัวตลกมีความสูง 3 42 ทำาราวตากผ้ายาวเท่าไร
- 2 อุปกรณ์ที่ใช้ต่อขาสูงเท่าไร ถ้าตัวตลกสูง 150 เซนติเมตร
ถ้าตัวตลกสูง 1 50 1 ม. เท่ากับ 100 ซม.
ดังนั้น 150 ซม. ต่อขาแล้วตัวตลกมีความสูง 3 เมตร 42 เซนติเมตร
อุปกรณ์ที่ใช้ต่อขาสูง 1 92 เท่ากับ 1 ม. 50 ซม.
| 187
ตอบ อุปกรณ์ที่ใช้ต่อขาสูง ๑ เมตร ๙๒ เซนติเมตร
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

132  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 3 | การวัดความยาว ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

ต้นกล้าช่วยแม่ตัดเชือกทำ�ราวตากผ้า หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

แล้วเหลือเชือกยาว 15 เมตร 25 เซนติเมตร


บทที่ 3 | การวัดความยาว

ตรวจสอบความเข้าใจ
(ครูเขียนรูปจำ�ลองเชือกบนกระดาน) แสดงวิธีหาคำาตอบ

ให้นักเรียนช่วยกันหาคำ�ตอบว่าต้นกล้าใช้เชือก 1 ริบบิน้ สีแดงยาว 4 เมตร 15 เซนติเมตร ริบบิน้ สีแดงยาวน้อยกว่าริบบิน


ทำ�ราวตากผ้าเท่าไร (14 เมตร 75 เซนติเมตร)


สีเขียว 1 เมตร 90 เซนติเมตร ริบบิน
้ สีเขียวยาวเท่าไร

การตรวจสอบความเข้าใจ ริบบิ้นสีเขียวยาว 6 เมตร 5 เซนติเมตร

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน 2 แก้วตามีเชือกฟางอยู่ม้วนหนึ่ง หลังจากใช้ทำาพู่เชียร์กีฬาไป 84 เมตร


70 เซนติเมตร ยังเหลือเชือกฟางอยู่ 15 เมตร 30 เซนติเมตร

โดยให้นักเรียนวิเคราะห์โจทย์ปัญหาการบวก
เดิมเชือกฟางม้วนนี้ยาวเท่าไร

และโจทย์ปัญหาการลบ แล้วเขียนแสดงวิธีหา
เดิมเชือกฟางม้วนนี้
คำ�ตอบของโจทย์ปัญหาตามหนังสือเรียนหน้า ยาว 100 เมตร

188 เป็นรายบุคคล ครูและนักเรียนร่วมกัน สิ่งที่ได้เรียนรู้

ตรวจสอบความถูกต้อง ครูอาจเสริมกิจกรรม การแก้โจทย์ปญ


ั หาทำาได้โดย อ่านทำาความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปญ
หาคำาตอบ และตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำาตอบ
ั หา

แข่งขันการหาคำ�ตอบด้วยการกำ�หนดโจทย์
ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบมาให้
แบบฝึกหัด 3.10

188 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

นักเรียนหาคำ�ตอบให้ได้อย่างรวดเร็ว จากนั้น
เฉลย
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ 1. วิธีทำ� เมตร เซนติเมตร
หากพบว่ามีนักเรียนวิเคราะห์โจทย์ปัญหาและ ริบบิ้นสีแดงยาว 4 15
+
ริบบิ้นสีแดงยาวน้อยกว่าริบบิ้นสีเขียว 1 90
แสดงวิธีหาคำ�ตอบไม่ถูกต้อง ครูควรสอน ริบบิ้นสีเขียวยาว 5 105

เพิ่มเติมเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม หรือ 6 5
ตอบ ริบบิ้นสีเขียวยาว ๖ เมตร ๕ เซนติเมตร

2. วิธีทำ� เมตร เซนติเมตร


สิ่งที่ได้เรียนรู้
• การแก้
ใช้เชือกฟางทำ�พู่เชียร์กีฬาไป 84 70
+
โจทย์ปัญหาทำ�ได้โดย จึงเหลือเชือกฟางอยู่ 15 30
เดิมเชือกฟางม้วนนี้ยาว 99 100
อ่านทำ�ความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา หรือ 100 0
ตอบ ริบบิ้นสีเขียวยาว ๑๐๐ เมตร
หาคำ�ตอบ และตรวจสอบความสมเหตุสมผล
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 3.10
หน้า 118 – 120

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  133
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 3 | การวัดความยาว

ร่วมคิดร่วมทำ� หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

กิจกรรม สำ�รวจระยะทาง
บทที่ 3 | การวัดความยาว

ร่วมคิดร่วมทำา
กิจกรรม สำารวจระยะทาง
อุปกรณ์ 1. อุปกรณ์สำาหรับกำาหนดเส้นทาง เช่น กรวยจราจร ขวดน้ำา
อุปกรณ์ 2. เครื่องมือวัดความยาว เช่น สายวัดชนิดตลับ (ชนิดผ้า)

1. อุปกรณ์สำ�หรับกำ�หนดเส้นทาง เช่น
3. แบบบันทึกกิจกรรม
วิธีจัดกิจกรรม

กรวยจราจร ขวดน้ำ� 1. ครูเตรียมสถานที่ โดยวางอุปกรณ์สำาหรับกำาหนดเส้นทางพร้อมทั้ง


กำาหนดชื่อแต่ละตำาแหน่ง เช่น B
A
2. เครื่องมือวัดความยาว เช่น จุดเริ่มต้น
C
D

สายวัดชนิดตลับ จุดหมาย
2. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม แล้วแจกเครื่องมือวัดความยาว

3. แบบบันทึกกิจกรรม และแบบบันทึกกิจกรรม
3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสำารวจระยะทางจาก A ถึง D โดยผ่าน B หรือ
ผ่าน C เส้นทางใดมีระยะทางสั้นกว่า และสั้นกว่าเท่าไร
4. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสรุปว่า ถ้าต้องเดินทางจากจุดเริ่มต้นไปยัง
เตรียมสถานที่ จุดหมาย นักเรียนจะเลือกเส้นทางใด เพราะเหตุใด

ตัวอย่างแบบบันทึกกิจกรรม
ควรเป็นพื้นที่โล่งเพื่อการวางอุปกรณ์
จาก A ถึง D โดยผ่าน B จาก A ถึง D โดยผ่าน C

สำ�หรับกำ�หนดเส้นทาง อาจให้นักเรียนช่วยกัน ระยะทางจาก A ถึ ง B เท่ า กั บ ................... ระยะทางจาก A ถึง C เท่ากับ...................

ระยะทางจาก B ถึง D เท่ากับ................... ระยะทางจาก C ถึง D เท่ากับ...................


กำ�หนดจุดเริ่มต้น จุดหมาย และเส้นทางตาม ระยะทางจาก A ถึง D เท่ากับ................... ระยะทางจาก A ถึง D เท่ากับ...................

จุดต่าง ๆ แล้วตั้งชื่อจุดที่ผ่านตาม | 189


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนหน้า 189 ครูอาจสร้างเป็น


สถานการณ์หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในนิทาน
เช่น หนูน้อยหมวกแดงต้องการเดินทางไปเยี่ยมคุณยาย เพื่อเสริมสร้างจิตนาการนักเรียน โดยใช้
กรวยจราจรหรือขวดน้ำ�เป็นจุดที่แสดงตำ�แหน่ง

วิธีดำ�เนินกิจกรรม
1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มตามความเหมาะสม แล้วแจกเครื่องมือวัดความยาวและแบบ
บันทึกกิจกรรม
3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสำ�รวจระยะทาง เช่น จาก A ถึง D โดยผ่าน B หรือผ่าน C
เส้นทางใดมีระยะทางสั้นกว่าและสั้นกว่าเท่าไร
4. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสรุปว่า ถ้าต้องเดินทางจากจุดเริ่มต้นไปยังจุดหมาย นักเรียน
จะเลือกเส้นทางใด เพราะเหตุใด
หมายเหตุ: ครูอาจกำ�หนดให้นักเรียนสำ�รวจระยะทางจาก A ถึง D โดยผ่าน B และ C
หรือ โดยผ่าน C และ B เส้นทางใดมีระยะทางสั้นกว่าและสั้นกว่าเท่าไร ซึ่งครูต้องทำ�แบบบันทึก
กิจกรรมเพิ่มเติม
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัดท้าทาย หน้า 121 – 122

134  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 3 | การวัดความยาว ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

ตัวอย่างแบบทดสอบท้ายบท

ตัวอย่างแบบทดสอบนี้ใช้ในการประเมินผลระหว่างเรียนเพื่อพัฒนานักเรียนหากมีนักเรียน
คนใดที่ไม่สามารถทำ�แบบทดสอบนี้ได้ครูควรให้นักเรียนคนนั้นฝึกทักษะมากขึ้นโดยอาจใช้
แบบฝึกเสริมในหนังสือเสริมเพิ่มปัญญาของสสวท.หรือแบบฝึกอื่นที่ตามที่เห็นสมควร ก่อนสอบ
ครูอาจทบทวนความรู้ให้กับนักเรียนก่อน 20-30 นาที ซึ่งแบบทดสอบท้ายบนนี้มีจำ�นวน 12 ข้อ
คะแนนเต็ม 20 คะแนน ใช้เวลาในการทำ�แบบทดสอบ 30 นาที และวิเคราะห์เป็นรายจุดประสงค์
ได้ดังนี้

จุดประสงค์ ข้อที่

1. วัดและบอกความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร 1-5

2. คาดคะเนความยาวเป็นเมตร 6-7

3. เปรียบเทียบความยาวโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างเมตรและเซนติเมตร 8 - 10

4. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวที่มีหน่วยเป็นเมตร
ตอนที่ 4
และเซนติเมตร

ตัวอย่างแบบทดสอบท้ายบทที่ 3
ตอนที่ 1 เติมคำ�ตอบ (ข้อละ 1 คะแนน)
1. การวัดความยาวของห้องเรียนควรใช้....................................................................เป็นเครื่องมือวัด
2. ใบบัวใช้ไม้เมตรวัดความยาวของกระดานดำ�ต่อกัน 3 ครั้ง ครั้งที่ 4 วัดได้ 55 เซนติเมตร
ดังนั้น กระดานดำ�ยาว......................เมตร.......................เซนติเมตร
3. ต้นกล้าวัดความยาวของดินสอด้วยไม้บรรทัดเริ่มที่ 3 เซนติเมตรปลายอีกข้างอยู่ที่ 18 เซนติเมตร
ดังนั้น ดินสอยาว............................เซนติเมตร
4. แก้วตาวัดความยาวของห้องประชุมได้ 950 เซนติเมตร หรือ................เมตร................เซนติเมตร
5. ขุนวัดความสูงของประตูห้องเรียนได้ 1 เมตร 80 เซนติเมตร หรือ......................เซนติเมตร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  135
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 3 | การวัดความยาว

ตอนที่ 2 คาดคะเนความยาว หรือความสูงเป็นเมตร (ข้อละ 1 คะแนน)


6. (ครูเตรียมไม้กวาดด้ามยาวให้นักเรียนคาดคะเนความยาว)
คาดคะเนความยาวของไม้กวาดด้ามยาวได้...................เมตร
7. คาดคะเนความสูงจากพื้นห้องถึงเพดานห้องได้.................................เมตร
หมายเหตุ ข้อ 6 และข้อ 7 ครูอาจกำ�หนดอย่างอื่นให้นักเรียนคาดคะเนความยาว และความสูง
ตามความเหมาะสม

ตอนที่ 3 เติมคำ�ว่า มากกว่า น้อยกว่า หรือเท่ากับ (ข้อละ 1 คะแนน)


8. เชือกสีฟ้ายาว 2 เมตร 50 เซนติเมตร และเชือกสีแดงยาว 500 เซนติเมตร
ดังนั้น เชือกสีฟ้ายาว.............................. เชือกสีแดง
9. ขุนสูง 135 เซนติเมตร และชั้นวางหนังสือสูง 1 เมตร 45 เซนติเมตร
ดังนั้น ชั้นวางหนังสือสูง .............................. ขุน
10. กระดานยาว 2 เมตร 85 เซนติเมตร และม้านั่งยาว 285 เซนติเมตร
ดังนั้น กระดานยาว ............................. ม้านั่ง

ตอนที่ 4 แสดงวิธีหาคำ�ตอบ (ข้อละ 5 คะแนน)


1. พ่อมีเชือกไนล่อนยาว 49 เมตร 12 เซนติเมตร ซื้อมาเพิ่มอีก 15 เมตร 98 เซนติเมตร
พ่อมีเชือกไนล่อนทั้งหมดยาวเท่าไร
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................

136  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 3 | การวัดความยาว ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

2. ระยะทางจากบ้านนิดถึงโรงเรียน 75 เมตร ระยะทางจากบ้านนิดถึงโรงเรียนมากกว่าระยะทาง


จากบ้านหน่อยถึงโรงเรียน 22 เมตร 50 เซนติเมตร ระยะทางจากบ้านหน่อยถึงโรงเรียน
เป็นเท่าไร
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................

เฉลยแบบทดสอบท้ายบทที่ 3
ตอนที่ 1
1. สายวัดชนิตตลับ หรือ ไม้เมตร 2. 3 เมตร 55 เซนติเมตร 3. 18 – 3 = 15
4. 9 เมตร 50 เซนติเมตร 5. 180 เซนติเมตร
ตอนที่ 2
คำ�ตอบขึ้นอยู่กับครูกำ�หนด
ตอนที่ 3
8. น้อยกว่า 9. มากกว่า 10. เท่ากับ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  137
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 3 | การวัดความยาว

ตอนที่ 4
1.
วิธีทำ� เมตร เซนติเมตร

พ่อมีเชือกไนล่อนยาว 49 12
+
ซื้อมาเพิ่มอีก 15 98

พ่อมีเชือกไนล่อนทั้งหมด 64 110

หรือ 65 10

ตอบ พ่อมีเชือกไนล่อนทั้งหมด ๖๕ เมตร ๑๐ เซนติเมตร

2.
วิธีทำ� เมตร เซนติเมตร
74 100
ระยะทางจากบ้านนิดถึงโรงเรียน 75 0

ซึ่งมากกว่าระยะทางจากบ้านหน่อยถึงโรงเรียน 22 50

ระยะทางจากบ้านหน่อยถึงโรงเรียน 52 50

ตอบ ระยะทางจากบ้านหน่อยถึงโรงเรียน ๕๒ เมตร ๕๐ เซนติเมตร

138  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

บทที่ 4 การวัดน้ำ�หนัก

จุดประสงค์การเรียนรู้และสาระสำ�คัญ

จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำ�คัญ

นักเรียนสามารถ

1. วัดและบอกน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมและกรัม
กิโลกรัมและขีด
• การบอกน้ ำ�หนักของสิ่งต่าง ๆ อาจบอก
น้ำ�หนัก เป็นกรัม เป็นกิโลกรัมและขีด
(หัวข้อ 4.1 - 4.4) เป็นกิโลกรัมและกรัม

ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม กิโลกรัมกับขีด

2. เปรียบเทียบน้ำ�หนักโดยใช้ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ของหน่วยน้ำ�หนัก
1 กิโลกรัม เท่ากับ 10 ขีด
(หัวข้อ 4.5 - 4.7) 1 ขีด เท่ากับ 100 กรัม
1 กิโลกรัม เท่ากับ 1,000 กรัม


การเปรียบเทียบน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมและกรัม
หรือกิโลกรัมและขีด สิ่งที่มีน้ำ�หนักกิโลกรัม
มากกว่าจะหนักกว่า ถ้าน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัม
เท่ากัน สิ่งที่มีน้ำ�หนักเป็นกรัมหรือเป็นขีด
มากกว่าจะมีน้ำ�หนักมากกว่า


การเปรียบเทียบน้ำ�หนักที่มีหน่วยต่างกันต้อง
เปลี่ยนหน่วยให้เป็นหน่วยเดียวกัน

3. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
น้ำ�หนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัมและกรัม
• การหาผลบวกหรื อผลลบเกี่ยวกับน้ำ�หนักเป็น
กิโลกรัมและขีด หรือกิโลกรัมและกรัม ทำ�ได้
กิโลกรัมและขีด โดยนำ�น้ำ�หนักที่เป็นหน่วยเดียวกันมาบวก
(หัวข้อ 4.8 - 4.11) หรือลบกัน

• การแก้โจทย์ปัญหาทำ�ได้โดย อ่านทำ�ความ
เข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา หาคำ�ตอบ
และตรวจสอบความสมเหตุสมผล

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  139
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก

การวิเคราะห์เนื้อหากับทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์์
ทักษะและกระบวนการ
เวลา ทางคณิตศาสตร์
หัวข้อ เนื้อหา
(ชั่วโมง)
1 2 3 4 5
เตรียมความพร้อม 1
4.1 การวัดน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมและขีด 1
4.2 การวัดน้ำ�หนักตัว 1
4.3 การวัดน้ำ�หนักเป็นกรัม 1
4.4 การวัดน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมและกรัม 1
4.5 ความสัมพันธ์ของหน่วยน้ำ�หนัก 1
4.6 การเปรียบเทียบน้ำ�หนัก (1) 1
4.7 การเปรียบเทียบน้ำ�หนัก (2) 1
4.8 การบวกและการลบเกี่ยวกับน้ำ�หนัก (1) 2
4.9 การบวกและการลบเกี่ยวกับน้ำ�หนัก (2) 2
4.10 โจทย์ปญ
ั หาการบวกและโจทย์ปญ
ั หาการลบ (1) 2
4.11 โจทย์ปญ
ั หาการบวกและโจทย์ปญ
ั หาการลบ (2) 2
ร่วมคิดร่วมทำ� 1
1  การแก้ปัญหา 2  การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
3  การเชื่อมโยง 4  การให้เหตุผล 5  การคิดสร้างสรรค์

คำ�สำ�คัญ
การวัดน้ำ�หนัก การเปรียบเทียบน้ำ�หนัก กิโลกรัม ขีด กรัม กิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและ
กรัม ความสัมพันธ์ของหน่วยน้ำ�หนัก

ความรู้หรือทักษะพื้นฐานของนักเรียน
1. การบวกและการลบจำ�นวนนับ
2. การชั่งและบอกน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัม เป็นขีด
3. การเปรียบเทียบน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัม เป็นขีด
4. ความสัมพันธ์ของหน่วยน้ำ�หนักระหว่างกิโลกรัมกับขีด
5. การบวกและการลบจำ�นวนเกี่ยวกับน้ำ�หนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัม เป็นขีด
6. การแก้โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบเกี่ยวกับน้ำ�หนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัม เป็นขีด
140  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียน หน้า 190 - 237
2. แบบฝึกหัด หน้า 123 - 153
3. แบบบันทึกกิจกรรม ใบกิจกรรม บัตรภาพต่าง ๆ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ประกอบกิจกรรม
ดังนี้

• เครื่องชั่งสปริง ชนิด 1 กิโลกรัม 3 กิโลกรัม

• น้ำ�ตาลทรายบรรจุถุง หนัก 1 กิโลกรัม มีป้ายบอกน้ำ�หนักกำ�กับ

• ข้าวสาร ถั่วเขียว เกลือ และถั่วแดงบรรจุถุงที่มีป้ายชื่อกำ�กับ

• ข้าวสารบรรจุถุง 10 ถุง หนักถุงละ 1 ขีด (100 กรัม)

• ข้าวสารบรรจุถุง 1 ถุง หนัก 1 กิโลกรัม


• เครื่องชั่งสำ�หรับวัดน้ำ�หนักตัวแบบเข็ม และ เครื่องชั่งสำ�หรับวัดน้ำ�หนักตัวแบบใช้
ตัวเลข
• สิ่งของที่มีน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมและกรัม เช่น มะนาวบรรจุถุง กระเทียมบรรจุถุง


• บัตรภาพแสดงการชั่งน้ำ�หนักของสิ่งต่าง ๆ ที่มีหน่วยเป็นกรัม เป็นขีด เป็นกิโลกรัมและ
ขีด


• บัตรภาพแสดงการชั่งน้ำ�หนักของสิ่งต่าง ๆ ที่เป็นหน่วยเดียวกัน เช่น
ปลาหนัก 3 กิโลกรัม 2 ขีด กุ้งหนัก 3 กิโลกรัม 4 ขีด ไก่หนัก 4 กิโลกรัม 2 ขีด


• บัตรภาพแสดงการชั่งน้ำ�หนักของสิ่งต่าง ๆ ที่เป็นหน่วยต่างกัน เช่น พริกแห้งหนัก
200 กรัม หอมแดงหนัก 5 ขีด

• บัตรภาพแสดงการชั่งน้ำ�หนักของสิ่งต่าง ๆ ที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัมและกรัม

• บัตรโจทย์ปัญหาการบวกที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัมและขีด เป็นกิโลกรัมและกรัม


• ถุงทรายที่มีน้ำ�หนักหลากหลาย โดยถุงทรายไม่ติดป้ายน้ำ�หนักกำ�กับ เช่น 5 ขีด
8 ขีด 1 กิโลกรัม 1 ขีด 1 กิโลกรัม 2 ขีด 1 กิโลกรัม

• บัตรกำ�หนดน้ำ�หนัก เช่น 2 กิโลกรัม 3 ขีด 500 กรัม 8 ขีด

• ใบกิจกรรม แบบบันทึกกิจกรรม
4. สื่อเพิ่มเติม (QR code) หน้า 190 192 206 237
5. สื่อวีดิทัศน์ (QR code)

• กิโลกรัมและขีด หน้า 194

เวลาที่ใช้จัดการเรียนรู้ 18 ชั่วโมง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  141
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก

การจัดการเรียนรู้
การเตรียมความพร้อม

บทที่ 4 การวัดน้ำาหนัก

เรียนจบบทนี้แล้ว นักเรียนสามารถ

วัดและบอกน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด
เปรียบเทียบน้ำ�หนักโดยใช้คว�มสัมพันธ์ระหว่�ง

กิโลกรัมกับกรัม กิโลกรัมกับขีด IL
OG
0 IL
OG
0 IL
OG
0 IL
OG
0

K
5 51 15 51 1
แสดงวิธีห�คำ�ตอบของโจทย์ปัญห�เกี่ยวกับน้ำ�หนัก 4 24 24 24 2
ที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด 3 3 3 3

สื่อเพิ่มเติม

ทุเรียนหนักกว่�หรือเบ�กว่�แตงโมอยู่เท่�ไร

1. ใช้ข้อมูลในหนังสือเรียนหน้าเปิดบท เพื่อกระตุ้นความสนใจเกี่ยวกับการวัดน้ำ�หนักของ
สิ่งต่าง ๆ ที่มากกว่า 1 กิโลกรัม โดยใช้คำ�ถาม เช่น

นักเรียนเคยไปตลาดหรือห้างสรรพสินค้าหรือไม่


ในตลาดขายสินค้าอะไรบ้าง


ในภาพแม่ค้าขายอะไรบ้าง


แตงโมหนักเท่าไร


ทุเรียนหนักเท่าไร


ทุเรียนหนักกว่าหรือเบากว่าแตงโม
และสนทนาเกี่ยวกับการนำ�ความรู้เรื่องการวัดน้ำ�หนักไปใช้ในการบอกน้ำ�หนักของสิ่งต่าง ๆ
เพื่อนำ�เข้าสู่บทเรียน

142  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

2. ครูจดั กิจกรรม ชัง่ น้�ำ หนัก ในการเตรียมความพร้อม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

เพื่อตรวจสอบความรู้พื้นฐานของนักเรียนเรื่อง การวัด เตรียมความพร้อม

น้ำ�หนักเป็นกิโลกรัม เป็นขีด การคาดคะเนน้ำ�หนัก กิจกรรม ชั่งน้ำ�หนัก


อุปกรณ์ 1. เครื่องชั่งสปริง

การเปรียบเทียบ การบวกและการลบเกี่ยวกับน้ำ�หนัก
2. น้ำ�ต�ลทร�ยบรรจุถุงหนัก 1 กิโลกรัม มีป้�ยบอกน้ำ�หนักกำ�กับ
3. ข้�วส�ร ถั่วเขียว เกลือ และถั่วแดงบรรจุถุง อย่�งละหนึ่งถุง
มีป้�ยชื่อกำ�กับ 4. แบบบันทึกกิจกรรม

ตามหนังสือเรียนหน้า 192 โดยครูจัดเตรียมอุปกรณ์ให้ วิธีจัดกิจกรรม


1. ครูเตรียม ถั่วเขียว ข้�วส�ร ถั่วแดง และเกลือที่มีน้ำ�หนัก 5 ขีด 8 ขีด 20 ขีด
และ 15 ขีด ใส่ถุงกระด�ษทึบโดยที่นักเรียนไม่ทร�บว่� ถั่วเขียว ข้�วส�ร
เพียงพอกับจำ�นวนนักเรียน ให้นักเรียนทุกคนได้ยก ถั่วแดง และเกลือ แต่ละอย่�งหนักเท่�ไร
2. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน แจกแบบบันทึกกิจกรรมกลุ่มละ 1 ใบ

น้ำ�ตาลทรายบรรจุถุงที่มีน้ำ�หนัก 1 กิโลกรัม เพื่อรับรู้ถึง



3. ให้นกั เรียนในกลุม
่ ยกน้�ำ ต�ลทร�ยบรรจุถงุ ทีละคน เพือ
แล้วเลือกสิง่ ของต�มข้อ 1 เพือ
่ รับรูถ
้ งึ น้�ำ หนัก 1 กิโลกรัม
่ เปรียบเทียบน้�ำ หนักว่� หนักกว่�หรือเบ�กว่�
1 กิโลกรัม บันทึกในแบบบันทึกกิจกรรม โดยแต่ละคนในกลุม ่ ต้องเลือกอุปกรณ์
น้ำ�หนัก 1 กิโลกรัม แล้วคาดคะเนน้ำ�หนักของสิ่งของ ไม่ซ�ำ้ กัน
4. นำ�สิ่งของที่เลือกไปชั่งน้ำ�หนัก แล้วบันทึกในแบบบันทึกกิจกรรม

ที่ครูกำ�หนดให้ว่าหนักกว่า หรือเบากว่า 1 กิโลกรัม แบบบันทึกกิจกรรม


ขีด ✓ ใน และเติมคำาตอบ

พร้อมบันทึกในใบกิจกรรม หลังจากนั้นนำ�ข้าวสารบรรจุถุง ข้�วส�ร


ถั่วเขียว
รายการ หนักกว่าหรือเบากว่า 1 กก.
หนักกว่� เบ�กว่�
หนักกว่� เบ�กว่�
น้ำาหนักที่ชั่งได้
...........................
...........................

ถั่วเขียวบรรจุถุง เกลือบรรจุถุง และ ถั่วแดงบรรจุถุง


เกลือ หนักกว่� เบ�กว่� ...........................
ถั่วแดง หนักกว่� เบ�กว่� ...........................
1. สิ่งของที่มีน้ำ�หนักม�กที่สุด คือ .......................................................................................

ไปชั่งจริงเพื่อตรวจสอบผลการคาดคะเนน้ำ�หนัก
2. สิ่งของที่มีน้ำ�หนักน้อยที่สุด คือ .......................................................................................
3. ถั่วเขียว หนักกว่� เบ�กว่� เกลืออยู่ .............................

192 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แล้วบันทึกในใบกิจกรรมและเติมคำ�ตอบ ครูอาจจัดกิจกรรม
เพิ่มเติมโดยใช้บัตรภาพแสดงการชั่งน้ำ�หนักของสิ่งต่าง ๆ
ที่มีหน่วยเป็นขีด เพื่อทบทวนความรู้เรื่องการชั่งน้ำ�หนักและการบอกน้ำ�หนัก

4.1 การวัดน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมและขีด
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

4.1 การวัดน้ำาหนักเป็นกิโลกรัมและขีด
จุดประสงค์ พัฒนาความรู้

บอกน้ำ�หนักของสิ่งต่าง ๆ เป็นกิโลกรัมและขีด กิจกรรม บอกน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมและขีด


อุปกรณ์ 1. เครื่องชั่งสปริง
2. ข้�วส�รบรรจุถงุ 10 ถุง หนักถุงละ 1 ขีด และ 1 ถุงหนัก 1 กิโลกรัม
วิธีจัดกิจกรรม

สื่อการเรียนรู้
1. ครูเตรียมเครื่องชั่งสปริง ให้นักเรียนสังเกตว่� ก่อนชั่งเข็มชี้น้ำ�หนัก
ต้องชี้ที่ตัวเลข 0
2. ครูชั่งข้�วส�รพร้อมกับให้นักเรียนบอกน้ำ�หนักที่ชั่งได้ เริ่มจ�ก 1 ถุง
(หนัก 1 ขีด) แล้วเพิ่มทีละหนึ่งถุงจนครบ 5 ถุง
−− บัตรภาพแสดงการชั่งน้ำ�หนักสิ่งของต่าง ๆ ข�าวสา

ข�าวสา

ข�าวสา
ร ร ร
ข�าวสา ข�าวสา ข�าวสา

ข�าวสา



ข�าวสา ข�าวสา ข�าวสา

ข�าวสา



ข�าวสา


ข�าวสา ข�าวสา ข�าวสา


−− เครื่องชั่งสปริง OG 0 OG 0 OG 0 OG 0 OG 0
L

L
KI

KI

KI

KI

KI

3 1 3 1 3 1 3 1 3 1
2 2 2 2 2

−− ข้าวสาร 10 ถุง หนักถุงละ 1 ขีด 1 ขีด 2 ขีด 3 ขีด 4 ขีด 5 ขีด

5 ขีด หรือ ครึ่งกิโลกรัม

−− ข้าวสาร 1 ถุง หนัก 1 กิโลกรัม


3. ครูแนะนำ�น้ำ�หนัก 5 ขีด พูดอีกอย่�งหนึ่งว่� น้ำ�หนักครึ่งกิโลกรัม
จ�กนัน ้ ครูชง่ั ข้�วส�รเพิม
่ ทีละหนึง่ ถุง พร้อมกับให้นก
ั เรียนบอกน้�ำ หนักทีช
่ ง่ั ได้
ไปจนครบ 10 ถุง ครูแนะนำ�น้ำ�หนัก 10 ขีด เท่�กับน้ำ�หนัก 1 กิโลกรัม

แนวการจัดการเรียนรู้
ครูเปลี่ยนถุงข้�วส�ร 10 ถุง เป็นถุงข้�วส�ร 1 กิโลกรัม
เร�บอกจำ�นวนได้ด้วยก�รนับ

การพัฒนาความรู้
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 193

1. ครูจัดกิจกรรม บอกน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมและขีด ตามหนังสือเรียนหน้า 193 – 194


โดยครูเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมแล้วแนะนำ�การใช้เครื่องชั่งสปริงในการชั่งน้ำ�หนัก ครูควรเน้นย้ำ�ว่า
ก่อนการชั่งน้ำ�หนักสิ่งของต่าง ๆ ควรสังเกต เข็มชี้น้ำ�หนักต้องชี้ที่ตัวเลข 0 ก่อนชั่งทุกครั้ง
ครูชั่งข้าวสารทีละถุงแล้วให้นักเรียนบอกน้ำ�หนักที่ชั่งได้ จนครบ 5 ถุง ซึ่งเข็มชี้น้ำ�หนักจะชี้
ที่ตัวเลข 5 นักเรียนอ่านน้ำ�หนัก 5 ขีด ครูแนะนำ�ว่า น้ำ�หนัก 5 ขีด เท่ากับน้ำ�หนักครึ่งกิโลกรัม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  143
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก

จากนั้นครูชั่งข้าวสารเพิ่มทีละถุงแล้วให้นักเรียน
หนังสือเรียนร�ยวิช�พื้นฐ�น | คณิตศ�สตร์ ป.2

บอกน้ำ�หนักที่ชั่งได้ จนครบ 10 ถุง ซึ่งเข็มจะชี้


บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

4. ครูชั่งข้�วส�รเพิ่มทีละ 1 ถุง (หนัก 1 ขีด) และให้นักเรียนบอกน้ำ�หนัก

ที่ตัวเลข 1 ครูแนะนำ�ว่า น้ำ�หนัก 10 ขีด ไปจนครบ 5 ถุง

เท่ากับน้ำ�หนัก 1 กิโลกรัม จากนั้นเปลี่ยนถุง


ข�าวสาร ข�าวสาร ข�าวสาร ข�าวสาร ข�าวสาร
ข�าวสาร
ข�าวสารข�าวสาร
ข�าวสาร ข�าวสาร ข�าวสาร ข�าวสารข�าวสารข�าวสาร ข�าวสารข�าวสารข�าวสาร ข�าวสารข�าวสารข�าวสาร

OG 0 OG 0 OG 0 OG 0 OG 0

ข้าวสาร 10 ถุง เป็นถุงข้าวสาร 1 กิโลกรัม 1 ถุง

L
KI

KI

KI

KI

KI
3 1 3 1 3 1 3 1 3 1
2 2 2 2 2

และครูนำ�ถุงข้าวสารที่หนัก 1 ขีด ชั่งเพิ่ม 1 กิโลกรัม 1 กิโลกรัม 1 กิโลกรัม 1 กิโลกรัม 1 กิโลกรัม


1 ขีด 2 ขีด 3 ขีด 4 ขีด 5 ขีด
ทีละ 1 ถุง และให้นักเรียนอ่านน้ำ�หนักเป็น 1 กิโลกรัม 5 ขีด หรือ 1 กิโลกรัมครึ่ง

กิโลกรัมและขีด จนครบ 5 ถุง ครูแนะนำ�ว่า


1 กิโลกรัม 5 ขีด เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า 5. ครูแนะนำ�น้ำ�หนัก 1 กิโลกรัม 5 ขีด พูดอีกอย่�งหนึ่งว่� 1 กิโลกรัมครึ่ง
ครูชั่งข้�วส�รเพิ่มทีละ 1 ถุง (หนัก 1 ขีด) และให้นักเรียนบอกน้ำ�หนัก
1 กิโลกรัมครึ่ง แล้วครูชั่งข้าวสารเพิ่มทีละถุง ไปจนครบ 10 ถุง

ให้นักเรียนบอกน้ำ�หนักที่ชั่งได้เป็นกิโลกรัม ข�าวสาร
ข�าวสารข�าวสาร
ข�าวสารข�าวสารข�าวสาร
ข�าวสาร
ข�าวสารข�าวสาร
ข�าวสารข�าวสารข�าวสาร
ข�าวสาร
ข�าวสารข�าวสาร
ข�าวสารข�าวสารข�าวสาร
ข�าวสาร
ข�าวสารข�าวสาร
ข�าวสารข�าวสารข�าวสาร
ข�าวสาร
ข�าวสารข�าวสาร
ข�าวสารข�าวสารข�าวสาร

และขีด จนครบ 10 ถุง ซึ่งเข็มจะชี้ที่ตัวเลข 2


OG 0 OG 0 OG 0 OG 0 OG 0

L
KI

KI

KI

KI

KI
3 1 3 1 3 1 3 1 3 1
2 2 2 2 2

ครูแนะนำ�ว่า 1 กิโลกรัม 10 ขีด เท่ากับ 1 กิโลกรัม 1 กิโลกรัม 1 กิโลกรัม 1 กิโลกรัม 2 กิโลกรัม

น้ำ�หนัก 2 กิโลกรัม หรือ น้ำ�หนัก 20 ขีด 6 ขีด 7 ขีด 8 ขีด 9 ขีด

เท่ากับ น้ำ�หนัก 2 กิโลกรัม กิโลกรัมและขีด

194 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2. ครูให้นักเรียนช่วยกันบอกน้ำ�หนัก
เป็นกิโลกรัมและขีด ตามหนังสือเรียน 1 กก. 6 ขีด 1 กก. 7 ขีด 1 กก. 8 ขีด 1 กก. 9 ขีด 2 กก.

หน้า 195 ครูอาจนำ�ของจริงมาให้นักเรียนชั่ง หนังสือเรียนร�ยวิช�พื้นฐ�น | คณิตศ�สตร์ ป.2


บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

และบอกน้ำ�หนัก เพื่อฝึกให้นักเรียนอ่านน้ำ�หนัก อ่านน้ำาหนักของสิ่งของเป็นกิโลกรัมและขีด

เป็นกิโลกรัมและขีด หรืออาจนำ�บัตรภาพการ
ชั่งสิ่งต่าง ๆ มาให้นักเรียนอ่านน้ำ�หนัก
OG 0 OG 0

เพื่อฝึกเพิ่มเติม หากนักเรียนอ่านน้ำ�หนัก
L

L
KI

KI

3 1 3 1
2 2

ของสิ่งต่าง ๆ เป็นกิโลกรัมและขีดไม่ถูกต้อง กุ้งหนัก 2 กิโลกรัม 5 ขีด


แตงโมหนัก 2 กิโลกรัม 7 ขีด
หรือ 2 กิโลกรัมครึ่ง

ครูควรแก้ไขทันที

OG OG
IL 0 IL 0
K

1
K

5 5 1

4 2 4 2
3 3

ทุเรียนหนัก 3 กิโลกรัม 2 ขีด ฟักทองหนัก 4 กิโลกรัม 5 ขีด

OG OG
IL 0 IL 0
K

5 1 5 1

4 2 4 2
3 3

สับปะรดหนัก 2 กิโลกรัม 9 ขีด มะละกอหนัก 1 กิโลกรัม 7 ขีด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 195

144  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

การตรวจสอบความเข้าใจ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

3. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน ตรวจสอบความเข้าใจ

โดยให้นักเรียนอ่านน้ำ�หนักของสิ่งต่าง ๆ ตามหนังสือเรียน
อ่านน้ำาหนักของสิ่งของเป็นกิโลกรัมและขีด

หน้า 196 ซึ่งจะกำ�หนดภาพการชั่งสิ่งของมาให้ IL


OG
0
ปูหนัก 1 กิโลกรัม 2 ขีด

K
5 1

4 2

จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
3

และสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ หากนักเรียนอ่านน้ำ�หนัก IL
OG
0
มะม่วงหนัก 3 กิโลกรัม 5 ขีด

K
5 1

ของสิ่งต่าง ๆ เป็นกิโลกรัมและขีด ไม่ถูกต้อง ครูควรแก้ไข


4 2
3

โดยให้นักเรียนฝึกชั่งน้ำ�หนักของสิ่งของที่เป็นของจริง IL
OG
0
ส้มหนัก 2 กิโลกรัม 7 ขีด

K
1

แล้วบอกน้ำ�หนักเป็นรายบุคคล
5
4 2
3

สิ่งที่ได้เรียนรู้
ก�รบอกน้ำ�หนักของสิ่งต่�ง ๆ ที่ม�กกว่� 1 กิโลกรัม

สิ่งที่ได้เรียนรู้ อ�จบอกน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมและขีด

• การบอกน้ ำ�หนักของสิ่งต่าง ๆ ที่มากกว่า 1 กิโลกรัม


อาจบอกน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมและขีด
196 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แบบฝึกหัด 4.1

จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 4.1 หน้า 123 - 125

4.2 การวัดน้ำ�หนักตัว หนังสือเรียนร�ยวิช�พื้นฐ�น | คณิตศ�สตร์ ป.2


บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

จุดประสงค์ 4.2 การวัดน้ำาหนักตัว

บอกน้ำ�หนักตัวเป็นกิโลกรัมและขีด พัฒนาความรู้

เครื่องชั่งสำาหรับวัดน้ำาหนักตัว

แบบมีเข็ม แบบใช้ตัวเลข

สื่อการเรียนรู้
−− เครื่องชั่งสำ�หรับวัดน้ำ�หนักตัวแบบมีเข็ม
−− เครื่องชั่งสำ�หรับวัดน้ำ�หนักตัวแบบใช้ตัวเลข

แนวการจัดการเรียนรู้
การพัฒนาความรู้
1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการชั่งน้ำ�หนักตัว
ว่า ใช้เครื่องชั่งชนิดใดได้บ้าง เช่น เครื่องชั่งแบบมีเข็ม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 197

เครื่องชั่งแบบใช้ตัวเลข จากนั้นครูแนะนำ�เครื่องชั่งทั้ง
สองแบบ และแนะนำ�เครื่องชนิดต่าง ๆ ตามหนังสือเรียนหน้า 197 ครูอาจใช้การถาม-ตอบ
เกี่ยวกับการวัดน้ำ�หนักตัวของนักเรียน เช่น นักเรียนหนักเท่าไร รู้ได้อย่างไร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  145
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก

2. ครูจัดกิจกรรม ใครหนักเท่าไร หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

ตามหนังสือเรียนหน้า 198 โดยครูจัดเตรียม


บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

กิจกรรม ใครหนักเท่�ไร

เครือ่ งชัง่ น้�ำ หนักตัวแบบมีเข็ม และแบบใช้ตวั เลข อุปกรณ์ 1. เครื่องชั่งน้ำ�หนักตัวแบบมีเข็ม


2. เครื่องชั่งน้ำ�หนักตัวแบบใช้ตัวเลข
และเน้นย้ำ�ว่าให้นักเรียนสังเกตหน้าปัดเครื่องชั่ง วิธีจัดกิจกรรม

ก่อนชั่งทุกครั้งว่า เครื่องชั่งน้ำ�หนักตัวแบบมีเข็ม
1. ครูเตรียมเครื่องชั่งน้ำ�หนักตัวแบบมีเข็มและแบบใช้ตัวเลข
2. ครูแนะนำ�ข้อปฏิบัติในก�รวัดน้ำ�หนักตัว และสุ่มนักเรียน 1 คน

เข็มต้องชี้ที่ตัวเลข 0 เครื่องชั่งน้ำ�หนักตัวแบบ

ออกม�วัดน้ำ�หนักตัวด้วยเครื่องชั่งน้ำ�หนักตัวแบบมีเข็ม และแนะนำ�
ก�รอ่�นน้ำ�หนักตัวจ�กเครื่องชั่งน้ำ�หนักตัวแบบมีเข็ม

ใช้ตัวเลข หน้าปัดต้องขึ้นตัวเลข 0.0 (บางรุ่น



3. ให้นักเรียนวัดน้ำ�หนักตัวของตนเองด้วยเครื่องชั่งน้ำ�หนักตัวแบบมีเข็ม
และบอกน้ำ�หนักของตนเอง

อาจไม่ปรากฎตัวเลข จนกว่าจะขึ้นชั่งน้ำ�หนัก) 4. ครูแนะนำ�เครื่องชั่งน้ำ�หนักตัวแบบใช้ตัวเลขและก�รอ่�นน้ำ�หนัก

แล้วให้นักเรียนทุกคนชั่งน้ำ�หนักตัวและ
อ่านน้ำ�หนักของตนเอง ครูแนะนำ�ว่า
ในการอ่านน้�ำ หนักจากเครือ ่ งชัง่ น้�ำ หนักตัว เช่น จ�กภ�พ 49.5 อ่�นว่� สี่สิบเก้าจุดห้า
หม�ยถึง 49 กิโลกรัม 5 ขีด

แบบใช้ตวั เลขให้อ่านดังนี้ หน้าปัดเครื่องชั่ง


ขึ้นตัวเลข 49.5 อ่านว่า สี่สิบเก้าจุดห้า 5. ให้นักเรียนวัดน้ำ�หนักตัวของตนเองด้วยเครื่องชั่งน้ำ�หนักตัวแบบใช้ตัวเลข

และให้บอกน้ำ�หนักว่า 49 กิโลกรัม 5 ขีด



และบอกน้ำ�หนักของตนเอง
6. ครูให้นักเรียนสังเกตผลก�รวัดน้ำ�หนักตัวด้วยเครื่องชั่งทั้ง 2 แบบว่�

3. ครูให้นักเรียนช่วยกันบอกน้ำ�หนัก เหมือนกันหรือแตกต่�งกันอย่�งไร เพร�ะเหตุใด

198 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โดยใช้ภาพในหนังสือเรียนหน้า 199 เพื่อฝึก


ให้นักเรียนอ่านน้ำ�หนักจากเครื่องชั่งแบบมีเข็ม
และแบบใช้ตัวเลข ครูอาจนำ�บัตรภาพการชั่ง หนังสือเรียนร�ยวิช�พื้นฐ�น | คณิตศ�สตร์ ป.2
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

น้ำ�หนักตัวจากเครื่องชั่งแบบมีเข็ม และ อ่านน้ำาหนักจากเครื่องชั่งน้ำาหนักตัว

แบบใช้ตัวเลขมาให้นักเรียนอ่านน้ำ�หนัก
เพื่อฝึกเพิ่มเติม หากนักเรียนอ่านน้ำ�หนักตัว
ไม่ถูกต้องครูควรแก้ไขทันที โดยครูเน้นย้ำ�ว่า
32
20
33
31
21
19

36

30
36

30

40
40

การบอกน้ำ�หนักจากเครื่องชั่งแบบใช้ตัวเลข 20
19
32
33

19
36
21

30
40
36

30

ตัวเลขที่อยู่หน้าจุดจะบอกน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัม
40

น้ำ�หนัก 20 กิโลกรัม น้ำ�หนัก 32 กิโลกรัม


ตัวเลขที่อยู่หลังจุดจะบอกน้ำ�หนักเป็นขีด เช่น
15.3 บอกน้ำ�หนักว่า 15 กิโลกรัม 3 ขีด

น้ำ�หนัก 22 กิโลกรัม 4 ขีด น้ำ�หนัก 33 กิโลกรัม 9 ขีด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 199

146  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

การตรวจสอบความเข้าใจ หนังสือเรียนร�ยวิช�พื้นฐ�น | คณิตศ�สตร์ ป.2


บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน ตรวจสอบความเข้าใจ

โดยให้นักเรียนอ่านน้ำ�หนักตัวจากเครื่องชั่งแบบมีเข็ม
อ่านน้ำาหนักจากเครื่องชั่งน้ำาหนักตัว

และ เครื่องชั่งแบบใช้ตัวเลขในแต่ละภาพตาม
หนังสือเรียนหน้า 200 จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกัน
ตรวจสอบความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ 28

หากนักเรียนอ่านน้ำ�หนักตัวไม่ถูกต้อง ครูควรแก้ไข

29
27
36

30
40
โดยการให้นักเรียนฝึกชั่งน้ำ�หนักตัวของตนเองและ
28
19

29
36
30
40

น้ำ�หนัก 28 กิโลกรัม น้ำ�หนัก 80 กิโลกรัม 3 ขีด

เพื่อนในห้องแล้วบอกน้ำ�หนักเป็นรายบุคคล
จากนั้นร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ สิ่งที่ได้เรียนรู้
เครื่องชั่งสำ�หรับวัดน้ำ�หนักตัวมีทั้งแบบมีเข็มและแบบใช้ตัวเลข

สิ่งที่ได้เรียนรู้ แบบฝึกหัด 4.2

• เครื
200 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

่องชั่งสำ�หรับวัดน้ำ�หนักตัวมีทั้งแบบมีเข็ม
และแบบใช้ตัวเลข
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 4.2 หน้า 126 - 127

4.3 การวัดน้ำ�หนักเป็นกรัม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

จุดประสงค์ 4.3 การวัดน้ำาหนักเป็นกรัม

พัฒนาความรู้
บอกน้ำ�หนักของสิ่งต่าง ๆ เป็นกรัม กิจกรรม หนึ่งกิโลกรัมเท่�กับกี่กรัม 900 1kg 100

800 200

อุปกรณ์ 1. เครื่องชั่งสปริงชนิด 3 กิโลกรัม 700 300

600 400

2. เครื่องชั่งสปริงชนิด 1 กิโลกรัม ดังรูป


500

สื่อการเรียนรู้
3. ข้�วส�รบรรจุถุง 10 ถุง หนักถุงละ 100 กรัม
วิธีจัดกิจกรรม

−− เครือ
่ งชัง่ สปริงชนิด 1 กิโลกรัม และชนิด 3 กิโลกรัม
1. ครูเตรียมเครื่องชั่งสปริงชนิด 3 กิโลกรัม และชนิด 1 กิโลกรัม
2. ครูชั่งข้�วส�ร 1 ถุง โดยใช้เครื่องสปริงชนิด 3 กิโลกรัม ให้นักเรียน
อ่�นน้ำ�หนักจ�กเครื่องชั่ง และบอกน้ำ�หนักเป็นขีด (ข้�วส�รหนัก 1 ขีด)

−− ข้าวสารบรรจุถุง 10 ถุง ถุงละ 100 กรัม



3. ครูแนะนำ�และส�ธิตก�รใช้เครื่องชั่งสปริงชนิด 1 กิโลกรัม โดยนำ�
ถุงข้�วส�รที่ชั่งในข้อ 2 ม�ว�งบนเครื่องชั่งสปริงชนิด 1 กิโลกรัม
ให้นักเรียนสังเกตเข็มของเครื่องชั่งว่�เข็มจะเคลื่อนจ�กตัวเลข 0 ไปที่
−− บัตรภาพการชั่งสิ่งของ

ตัวเลข 100 ครูแนะนำ�ก�รอ่�นน้�ำ หนักทีม ่ ห
ี น่วยเป็นกรัม (ข้�วส�รหนัก
100 กรัม) และบอกนักเรียนว่�ข้�วส�รหนัก 1 ขีด เท่�กับ ข้�วส�รหนัก
100 กรัม
4. ครูให้นักเรียนนำ�ถุงข้�วส�รที่มีน้ำ�หนัก 100 กรัม จำ�นวน 1 ถุง ว�งเพิ่ม
ลงบนเครื่องชั่งชนิด 3 กิโลกรัม พร้อมกับอ่�นน้ำ�หนักเป็นกรัม จ�กนั้น

แนวการจัดการเรียนรู้

ครูให้นักเรียนว�งถุงข้�วส�รเพิ่มทีละถุงและอ่�นน้ำ�หนักเป็นกรัม
ไปเรื่อย ๆ จนครบ 10 ถุง

การพัฒนาความรู้
1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการชั่งน้ำ�หนัก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 201

เป็นขีดว่าอ่านน้ำ�หนักเป็นขีดจากเครื่องชั่งได้อย่างไร
จากนั้นครูจัดกิจกรรม หนึ่งกิโลกรัมเท่ากับกี่กรัม ตามหนังสือเรียนหน้า 201 - 202 โดยครู
เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมก่อนจัดกิจกรรม และครูควรเน้นย้ำ�ว่า ก่อนชั่งน้ำ�หนักสิ่งของต่าง ๆ
ควรสังเกต เข็มชี้น้ำ�หนักต้องชี้ที่ตัวเลข 0 ทุกครั้ง จากนั้นครูชั่งข้าวสารบรรจุถุง (หนัก 1 ขีด) 1 ถุง
ลงบนเครื่องชั่งสปริงชนิด 3 กิโลกรัมและให้นักเรียนอ่านน้ำ�หนักเป็นขีด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  147
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก

จากนั้นครูนำ�ข้าวสารบรรจุถุง ถุงเดิม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

ไปชั่งบนเครื่องชั่งสปริงชนิด 1 กิโลกรัม
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

ซึ่งเข็มจะชี้ไปที่ตัวเลข 100 ครูแนะนำ�


ข�าวสาร ข�าวสาร
าร
ข�าวสาร ข�าวส ข�าวสาร
ข�าวสาร
าร าร าร ข�าวสข�า
ารวสาร
ข�าวสาร ข�าวสาร ข�าวสาร ข�าวสาร ข�าวส ข�าวส ข�าวสาร ข�าวส

การอ่านน้ำ�หนักว่า ข้าวสารหนัก 100 กรัม OG 0 OG 0 OG 0 OG 0

L
KI

KI

KI

KI
3 1 3 1 3 1 3 1

ครูให้นักเรียนสังเกตว่า ข้าวสาร 1 ขีด หนัก 2 2 2 2

1 ขีด 2 ขีด 3 ขีด 10 ขีด


เท่ากับ ข้าวสาร 100 กรัม ครูให้นักเรียนวางถุง หรือ 100 กรัม หรือ 200 กรัม หรือ 300 กรัม หรือ 1,000 กรัม
หรือ 1 กิโลกรัม

ข้าวสารเพิ่มทีละถุงและอ่านน้ำ�หนักเป็นขีด และ 5. ครูให้นักเรียนสรุปร่วมกันว่�


น้ำ�หนัก 1 กิโลกรัม เท่�กับ น้ำ�หนัก 10 ขีด
อ่านน้ำ�หนักเป็นกรัม ไปเรื่อย ๆ จนครบ 10 ถุง น้�ำ หนัก 1 ขีด เท่�กับ น้ำ�หนัก 100 กรัม
น้�ำ หนัก 1 กิโลกรัม เท่�กับ น้ำ�หนัก 1,000 กรัม
เช่น
ข้าวสาร 1 ขีด หนักเท่ากับ ข้าวสาร 100 กรัม
ข้าวสาร 2 ขีด หนักเท่ากับ ข้าวสาร 200 กรัม น้ำ�หนักครึ่งขีด คือ น้ำ�หนัก 50 กรัม

ข้าวสาร 3 ขีด หนักเท่ากับ ข้าวสาร 300 กรัม


OG 0

L
KI
3 1

ข้าวสาร 10 ขีด หนักเท่ากับ ข้าวสาร 1,000 กรัม ชมพู่หนัก 3 ขีดครึ่ง หรือ 350 กรัม

ซึ่งบนเครื่องชั่งสปริงชนิด 1 กิโลกรัมจะชี้ที่
202 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตัวเลข 1 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่า
น้ำ�หนัก 1 กิโลกรัม เท่ากับ น้ำ�หนัก 10 ขีด
น้ำ�หนัก 1 ขีด เท่ากับ น้ำ�หนัก 100 กรัม หนังสือเรียนร�ยวิช�พื้นฐ�น | คณิตศ�สตร์ ป.2
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

น้ำ�หนัก 1 กิโลกรัม เท่ากับ น้ำ�หนัก 1,000 กรัม อ่านน้ำาหนักของสิ่งของเป็นกรัม

ครูใช้การถาม-ตอบ เพื่อให้นักเรียนสรุป
ให้ได้ว่า น้ำ�หนักครึ่งขีด คือน้ำ�หนัก 50 กรัม
งาขาว

OG 0 OG 0
L

เช่น ครูชั่งน้ำ�หนักข้าวสาร 1 ถุงให้นักเรียน


KI

KI

3 1 3 1
2 2

อ่านน้ำ�หนักได้ 100 กรัม ครูถามนักเรียนว่า ง�ข�วหนัก 100 กรัม หอมแดงหนัก 400 กรัม

ถ้าเทข้าวสารออกให้เหลือครึ่งถุงแล้วนำ�มาชั่ง แป�งสาลี

จะได้น้ำ�หนักเท่าไร (50 กรัม) OG 0 OG 0

2. ครูให้นักเรียนช่วยกันอ่านน้ำ�หนักของ
L

L
KI

KI

3 1 3 1
2 2

สิ่งของเป็นกรัมโดยใช้ภาพในหนังสือเรียนหน้า กระเทียมหนัก 900 กรัม แป้งส�ลีหนัก 800 กรัม

203 เพื่อฝึกให้นักเรียนอ่านน้ำ�หนักเป็นกรัมและ แป�งมัน งาดำ

ครูอาจนำ�บัตรภาพการชั่งสิ่งของต่าง ๆ มาให้
OG 0 OG 0

นักเรียนอ่านน้ำ�หนัก เพื่อฝึกเพิ่มเติม
L

L
KI

KI

3 1 3 1
2 2

แป้งมันหนัก 600 กรัม ง�ดำ�หนัก 550 กรัม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 203

148  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

การตรวจสอบความเข้าใจ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

3. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน ตรวจสอบความเข้าใจ

โดยให้นักเรียนอ่านน้ำ�หนักของสิ่งต่าง ๆ เป็นกรัม
อ่านน้ำาหนักของสิ่งของเป็นกรัม

ในแต่ละภาพที่กำ�หนดมาให้ตามหนังสือเรียนหน้า 204 OG 0

L
KI
3 1 ต้นหอมหนัก 700 กรัม

จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
2

และสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ หากนักเรียนอ่านน้ำ�หนัก OG 0

L
KI
3 1 ผักชีหนัก 300 กรัม

ของสิ่งต่าง ๆ เป็นกรัมไม่ถูกต้อง ครูควรแก้ไข


2

โดยการให้นก ั เรียนฝึกชัง่ น้�ำ หนักของสิง่ ต่าง ๆ ทีเ่ ป็นของจริง OG 0

L
ผักก�ดข�วหนัก 950 กรัม

KI
แล้วอ่านน้ำ�หนักเป็นรายบุคคล
3 1
2

สิ่งที่ได้เรียนรู้
ก�รบอกน้ำ�หนักของสิ่งต่�ง ๆ อ�จบอกเป็นกรัม

สิ่งที่ได้เรียนรู้ น้ำ�หนัก 1 ขีด เท่�กับ น้ำ�หนัก 100 กรัม

• การบอกน้
น้ำ�หนัก 1 กิโลกรัม เท่�กับ น้ำ�หนัก 1,000 กรัม

ำ�หนักของสิ่งต่าง ๆ อาจบอกเป็นกรัม
แบบฝึกหัด 4.3

204 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

น้ำ�หนัก 1 ขีด เท่ากับ น้ำ�หนัก 100 กรัม


น้ำ�หนัก 1 กิโลกรัม เท่ากับ น้ำ�หนัก 1,000 กรัม
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 4.3 หน้า 128 - 130

4.4 การวัดน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมและกรัม หนังสือเรียนร�ยวิช�พื้นฐ�น | คณิตศ�สตร์ ป.2


บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

จุดประสงค์ 4.4 การวัดน้ำาหนักเป็นกิโลกรัมและกรัม

บอกน้ำ�หนักของสิ่งต่าง ๆ เป็นกิโลกรัมและกรัม
พัฒนาความรู้

ฟักทองหนักเท่�ไร
ฟักทองหนัก 2 กิโลกรัม 4 ขีด
OG 0

สื่อการเรียนรู้
L
KI

3 1
2
4 ขีด เท่�กับ 400 กรัม
ดังนั้น ฟักทองหนัก 2 กิโลกรัม 400 กรัม

−− บัตรภาพแสดงการชั่งน้ำ�หนักของสิ่งต่าง ๆ ส้มโอหนักเท่�ไร
ส้มโอหนัก 1 กิโลกรัม 5 ขีด

−− เครื่องชั่งสปริง OG 0
L
KI

3 1

−− สิง่ ของทีม
่ น
ี �ำ้ หนักเป็นกิโลกรัมและกรัมจำ�นวน 3 สิง่
2
ส้มโอหนัก 1 กิโลกรัมครึ่ง

ส้มโอหนัก 1 กิโลกรัม 500 กรัม

งาดำ

แนวการจัดการเรียนรู้
ง�ดำ�หนัก 1 กิโลกรัม 250 กรัม

OG 0
2 ขีดครึ่ง เท่�กับ 250 กรัม

การพัฒนาความรู้
L
KI

3 1
2

1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการชั่งน้ำ�หนัก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 205

เป็นกิโลกรัมและขีด และการชั่งน้ำ�หนักเป็นกรัม จากที่ได้


เรียนผ่านมาแล้วในชั่วโมงก่อนหน้านี้ จากนั้นครูใช้การถามตอบเพื่อให้นักเรียนเชื่อมโยงความรู้
1 ขีด เท่ากับกี่กรัม (100 กรัม) 1 กิโลกรัม เท่ากับกี่ขีด (10 ขีด) 1 กิโลกรัม เท่ากับกี่กรัม
(1,000 กรัม) เช่น

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  149
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก

มะม่วงหนัก 1 กิโลกรัม 2 ขีด จะเท่ากับ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

มะม่วงหนัก 1 กิโลกรัมกี่กรัม (1 กิโลกรัม


บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

กิจกรรม บอกน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมและกรัม

200 กรัม ) อุปกรณ์ 1. เครื่องชั่งสปริง


2. สิ่งของที่มีน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมและกรัม
จากนั้นใช้หนังสือเรียนหน้า 205 3. แบบบันทึกกิจกรรม
วิธีจัดกิจกรรม
เพื่อสนทนาเกี่ยวกับการบอกน้ำ�หนักเป็น 1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม แจกแบบบันทึกกิจกรรมและสิ่งของที่จะชั่ง
กลุ่มละ 3 อย่�ง
กิโลกรัมและกรัม ครูใช้การถาม-ตอบเกี่ยวกับ 2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มชั่งสิ่งของต�มที่กำ�หนดแล้วบันทึกน้ำ�หนักที่ชั่งได้
ในแบบบันทึกกิจกรรม
น้ำ�หนักที่เป็นครึ่งขีด เช่น 3. ตัวแทนกลุ่มออกม�นำ�เสนอผลก�รชั่ง ครูและเพื่อนช่วยกันตรวจสอบ
คว�มถูกต้อง
ส้มหนัก 1 ขีดครึ่ง จะเท่ากับส้มหนัก
กี่กรัม (150 กรัม) ตัวอย่างแบบบันทึกกิจกรรม

กระท้อนหนัก 3 ขีดครึ่ง จะเท่ากับ ลำาดับที่ สิ่งของ น้ำาหนักที่ชั่งได้

กระท้อนหนักกี่กรัม (350 กรัม) 1 .................................... .............. กิโลกรัม .............. กรัม

2. ครูจัดกิจกรรม บอกน้ำ�หนักเป็น
2 .................................... .............. กิโลกรัม .............. กรัม

3
กิโลกรัมและกรัม ตามหนังสือเรียนหน้า 206
.................................... .............. กิโลกรัม .............. กรัม

โดยครูจัดเตรียมเครื่องชั่งสปริงและสิ่งของที่มี
น้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมและกรัม 3 สิ่ง ตามความ
206 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เหมาะสม เช่นมะนาวบรรจุถุง กระเทียมบรรจุถุง
ซึ่งครูต้องทดลองชั่งก่อนเพื่อให้สิ่งของเหล่านั้นมี
น้ำ�หนักตามต้องการ คือ มีน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัม หนังสือเรียนร�ยวิช�พื้นฐ�น | คณิตศ�สตร์ ป.2
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

และกรัม เช่น มะนาวหนัก 1 กิโลกรัม 200 กรัม อ่านน้ำาหนักของสิ่งของเป็นกิโลกรัมและกรัม

ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มชั่งสิ่งของแล้วบันทึกผล
การชั่งลงในแบบบันทึกกิจกรรม แล้วนำ�เสนอ OG 0 OG 0
L
L

KI
KI

3 1 3 1

หน้าชั้นเรียน 2 2

ครูควรเน้นย้�ำ ว่า ก่อนชัง่ ควรสังเกต แตงโมหนัก 2 กิโลกรัม 200 กรัม ทุเรียนหนัก 2 กิโลกรัม 250 กรัม

เข็มชี้น้ำ�หนักต้องชี้ที่ตัวเลข 0 ทุกครั้ง
3. ครูให้นักเรียนอ่านน้ำ�หนักเป็น OG 0 OG 0
L

L
KI

KI

กิโลกรัมและกรัมโดยใช้ภาพในหนังสือเรียน
3 1 3 1
2 2

หน้า 207 เพื่อฝึกให้นักเรียนอ่านน้ำ�หนัก สับปะรดหนัก 1 กิโลกรัม 500 กรัม ส้มหนัก 2 กิโลกรัม 400 กรัม

เป็นกิโลกรัมและกรัม ครูอาจนำ�บัตรภาพ
ข�าว

การชั่งสิ่งต่าง ๆ มาให้นักเรียนอ่านน้ำ�หนัก
เหนียว

OG 0 OG 0

เพื่อฝึกเพิ่มเติม
L

L
KI

KI

3 1 3 1
2 2

ข้�วเหนียวหนัก 2 กิโลกรัม 400 กรัม ถัว่ เหลืองหนัก 1 กิโลกรัม 100 กรัม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 207

150  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

การตรวจสอบความเข้าใจ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน ตรวจสอบความเข้าใจ

โดยให้นักเรียนอ่านน้ำ�หนักของสิ่งต่าง ๆ ในหนังสือเรียน
อ่านน้ำาหนักของสิ่งของเป็นกิโลกรัมและกรัม

หน้า 208 จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบ IL


OG
0

K
5 1
มันสำ�ปะหลังหนัก 4 กิโลกรัม 500 กรัม

ความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ หากนักเรียน
4 2
3

อ่านน้ำ�หนักของสิ่งต่าง ๆ เป็นกิโลกรัมและกรัมไม่ถูกต้อง IL
OG
0

K
5 1
มะละกอหนัก 1 กิโลกรัม 700 กรัม

ครูควรแก้ไขโดยการให้นักเรียนฝึกชั่งน้ำ�หนักของสิ่งต่าง ๆ
4 2
3

ที่เป็นของจริงแล้วอ่านน้ำ�หนักเป็นรายบุคคล IL
OG
0
แคร์รอตหนัก 1 กิโลกรัม 350 กรัม

K
5 1

4 2
3

สิ่งที่ได้เรียนรู้ สิ่งที่ได้เรียนรู้


ก�รบอกน้ำ�หนักของสิ่งต่�ง ๆ อ�จบอกเป็นกิโลกรัมและกรัม

การบอกน้�ำ หนักของสิง่ ต่าง ๆ อาจบอกเป็นกิโลกรัมและกรัม


จากนัน
้ ให้นกั เรียนทำ�แบบฝึกหัด 4.4 หน้า 131 - 133
แบบฝึกหัด 4.4

208 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

4.5 ความสัมพันธ์ของหน่วยน้ำ�หนัก
จุดประสงค์
บอกน้ำ�หนักของสิ่งต่าง ๆ โดยใช้ความสัมพันธ์ของหน่วยน้ำ�หนัก
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

สื่อการเรียนรู้ 4.5 ความสัมพันธ์ของหน่วยน้ำาหนัก

บัตรภาพแสดงน้ำ�หนักของสิ่งต่าง ๆ พัฒนาความรู้

ต้นหอมหนักกี่กรัม

แนวการจัดการเรียนรู้

1 ขีด เท่�กับ 100 กรัม
8 ขีด เท่�กับ 800 กรัม

การพัฒนาความรู้ ต้นหอมหนัก 8 ขีด


ดังนั้น ต้นหอมหนัก 800 กรัม

1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของ ผักชีหนักกี่ขีด

หน่วยน้ำ�หนัก เช่น

100 กรัม เท่�กับ 1 ขีด
600 กรัม เท่�กับ 6 ขีด
ดังนั้น ผักชีหนัก 6 ขีด

1 ขีด เท่ากับ 100 กรัม


ผักชีหนัก 600 กรัม

ตอบคำาถาม

10 ขีด เท่ากับ 1 กิโลกรัม 700 กรัม


1 คะน้�หนัก 7 ขีด เท่�กับ คะน้�หนักกี่กรัม
1,000 กรัม
2 แตงกว�หนัก 10 ขีด เท่�กับ แตงกว�หนักกี่กรัม

1,000 กรัม เท่ากับ 1 กิโลกรัม 5 ขีด


3 ผักก�ดข�วหนัก 500 กรัม เท่�กับ ผักก�ดข�วหนักกี่ขีด
9 ขีด
4 มะระหนัก 900 กรัม เท่�กับ มะระหนักกี่ขีด

ครูติดบัตรภาพแสดงน้ำ�หนักของต้นหอม 8 ขีด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 209

แล้วใช้คำ�ถามว่า ต้นหอมหนักกี่กรัม โดยให้นักเรียนใช้


ความสัมพันธ์ของหน่วยน้�ำ หนัก 1 ขีด เท่ากับ 100 กรัม นักเรียนควรตอบได้วา ่ ต้นหอมหนัก 800 กรัม
จากนั้นครูถามว่า ผักชีหนัก 600 กรัม เท่ากับผักชีหนักกี่ขีด นักเรียนควรตอบได้ว่า ผักชีหนัก 6 ขีด
ครูอาจถามคำ�ถามอื่นเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเปลี่ยนหน่วยน้ำ�หนักที่มีหน่วยเป็นขีดให้เป็นกรัม หรือ
การเปลี่ยนหน่วยน้ำ�หนักที่มีหน่วยเป็นกรัมให้เป็นขีด เช่น

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  151
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก

−− กุ้งหนัก 2 ขีด เท่ากับกุ้งหนักกี่กรัม (200 กรัม) หนังสือเรียนร�ยวิช�พื้นฐ�น | คณิตศ�สตร์ ป.2


บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

−− ผักบุ้งหนัก 400 กรัม เท่ากับผักบุ้งหนักกี่ขีด (4 ขีด)


และให้นักเรียนช่วยกันตอบคำ�ถาม ข้อ 1 – 4 ปูหนัก 2 กิโลกรัม 3 ขีด
ปูหนักกี่ขีด

ในกรอบท้ายหน้า 209

1 กิโลกรัม เท่�กับ 10 ขีด
2 กิโลกรัม เท่�กับ 20 ขีด

2 กิโลกรัม 3 ขีด เท่�กับ

2. ครูติดบัตรภาพแสดงน้ำ�หนักของปูหนัก
2 กิโลกรัม 3 ขีด เท่�กับ 23 ขีด 20 + 3 = 23 ขีด
ดังนั้น ปูหนัก 23 ขีด

2 กิโลกรัม 3 ขีด แล้วใช้คำ�ถามว่า ปูหนักกี่ขีด โดย


กุ้งหนักกี่กิโลกรัม กี่ขีด

ให้นักเรียนใช้ความสัมพันธ์ 1 กิโลกรัม เท่ากับ 10 ขีด กุ้งหนัก 13 ขีด

10 ขีด เท่�กับ 1 กิโลกรัม

นักเรียนควรตอบได้ว่า ปูหนัก 23 ขีด จากนั้นครูถามว่า 13 ขีด เท่�กับ 1 กิโลกรัม 3 ขีด


ดังนั้น กุ้งหนัก 1 กิโลกรัม 3 ขีด
13 คือ 10 กับ 3

กุ้งหนัก 13 ขีด เท่ากับกุ้งหนักกี่กิโลกรัม กี่ขีด นักเรียน ตอบคำาถาม

ควรตอบได้ว่า กุ้งหนัก 1 กิโลกรัม 3 ขีด ครูอาจถาม 1 หอยแครงหนัก 5 กิโลกรัม เท่�กับ หอยแครงหนักกี่ขีด 50 ขีด
2 หมึกหนัก 2 กิโลกรัม 8 ขีด เท่�กับ หมึกหนักกี่ขีด 28 ขีด

คำ�ถามอื่นเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเปลี่ยนหน่วยน้ำ�หนัก 3 ปล�หนัก 25 ขีด เท่�กับ ปล�หนักกี่กิโลกรัม กี่ขีด 2 กิโลกรัม 5 ขีด


4 แมงด�ทะเลหนัก 42 ขีด เท่�กับ แมงด�ทะเลหนักกี่กิโลกรัม กี่ขีด
4 กิโลกรัม 2 ขีด
ที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัมและขีดให้เป็นขีด หรือ การเปลี่ยน 210 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยน้ำ�หนักที่มีหน่วยเป็นขีดให้เป็นกิโลกรัมและขีด เช่น
−− ปลาหนัก 24 ขีด เท่ากับปลาหนักกี่กิโลกรัมกี่ขีด หนังสือเรียนร�ยวิช�พื้นฐ�น | คณิตศ�สตร์ ป.2
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

(2 กิโลกรัม 4 ขีด)
−− หมึกหนัก 7 กิโลกรัม 1 ขีด เท่ากับหมึกหนักกี่ขีด
ส้มโอหนักกี่ขีด

ส้มโอหนัก 2 กิโลกรัม 400 กรัม

(71 ขีด)

1 กิโลกรัม เท่�กับ 10 ขีด 2 กิโลกรัม เท่�กับ 20 ขีด
100 กรัม เท่�กับ 1 ขีด 400 กรัม เท่�กับ 4 ขีด

และให้นักเรียนช่วยกันตอบคำ�ถาม ข้อ 1 – 4 ในกรอบท้าย


จะได้ 2 กิโลกรัม 400 กรัม เท่�กับ 20 + 4 = 24 ขีด
ดังนั้น ส้มโอหนัก 24 ขีด

หน้า 210 ทุเรียนหนักกี่กิโลกรัม กี่กรัม

3. ครูติดบัตรภาพส้มโอหนัก 2 กิโลกรัม 400 กรัม ทุเรียนหนัก 37 ขีด

ครูถามว่า ส้มโอหนักกี่ขีด โดยใช้ความสัมพันธ์



10 ขีด เท่�กับ 1 กิโลกรัม
30 ขีด เท่�กับ 3 กิโลกรัม
37 ขีด เท่�กับ 3 กิโลกรัม 7 ขีด 1 ขีด เท่�กับ 100 กรัม

1 ขีด เท่ากับ 100 กรัม จะได้ 37 ขีด เท่�กับ 3 กิโลกรัม 700 กรัม
7 ขีด เท่�กับ 700 กรัม

ดังนั้น ทุเรียนหนัก 3 กิโลกรัม 700 กรัม

10 ขีด เท่ากับ 1 กิโลกรัม ตอบคำาถาม


4 กิโลกรัม 900 กรัม
1,000 กรัม เท่ากับ 1 กิโลกรัม 1 มังคุดหนัก 49 ขีด เท่�กับ มังคุดหนักกี่กิโลกรัม กี่กรัม
2 เง�ะหนัก 7 กิโลกรัม 600 กรัม เท่�กับ เง�ะหนักกี่ขีด 76 ขีด

นักเรียนอาจเปลี่ยน 400 กรัม เป็น 4 ขีดก่อน จากนั้น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 211

จึงเปลี่ยน 2 กิโลกรัม เป็น 20 ขีด


ดังนั้น ส้มโอหนัก 2 กิโลกรัม 400 กรัม เท่ากับ ส้มโอหนัก
20 + 4 = 24 ขีด ซึ่งครูอาจใช้แผนภาพแสดงแนวคิด ดังนี้

152  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

2 กิโลกรัม 400 กรัม

20 ขีด 4 ขีด

ครูติดบัตรภาพทุเรียนหนัก 37 ขีด ครูถามว่า ทุเรียนหนักกี่กิโลกรัม กี่กรัม นักเรี4 ยนควรตอบ


ได้ว่า ทุเรียนหนัก 3 กิโลกรัม 700 กรัม นักเรียนอาจเปลี่ยน 37 ขีด เป็น 3 กิโลกรัม 7 ขีดก่อน
จากนั้นจึงเปลี่ยน 7 ขีดเป็น 700 กรัม ดังนั้น ทุเรียนหนัก 3 กิโลกรัม 700 กรัม ซึ่งครู
1 อาจใช้
แผนภาพแสดงแนวคิด ดังนี้
หนังสือเรียนร�ยวิช�พื้นฐ�น | คณิตศ�สตร์ ป.2

37 ขีด
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

ตรวจสอบความเข้าใจ
ตอบคำาถาม

30 ขีด 7 ขีด
หอมหัวใหญ่หนัก 1,000 กรัม เท่�กับหอมหัวใหญ่หนักกี่ขีด 10 ขีด
2

3 กิโลกรัม 700 กรัม


กระเทียมหนัก 24 ขีด เท่�กับกระเทียมหนักกี่กิโลกรัม กี่ขีด

ครูอาจถามคำ�ถามอื่นเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเปลี่ยน 3
2 กิโลกรัม 4 ขีด

หน่วยน้ำ�หนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัมและกรัมให้เป็นขีด หรือ กุ้งหนัก 5 กิโลกรัม 500 กรัม เท่�กับกุ้งหนักกี่ขีด 55 ขีด


การเปลี่ยนหน่วยน้ำ�หนักขีดให้เป็นกิโลกรัมและกรัม เช่น สิ่งที่ได้เรียนรู้

−− ขนุนหนัก 31 ขีด เท่ากับขนุนหนักกี่กิโลกรัมกี่กรัม ก�รบอกน้ำ�หนักของสิ่งต่�ง ๆ อ�จบอกเป็นกิโลกรัม กรัม ขีด


กิโลกรัมและกรัม หรือกิโลกรัมและขีด โดยใช้คว�มสัมพันธ์
1 กิโลกรัม เท่�กับ 10 ขีด
(3 กิโลกรัม 100 กรัม) 1 ขีด เท่�กับ 100 กรัม
และ 1 กิโลกรัม เท่�กับ 1,000 กรัม

−− ส้มหนัก 1 กิโลกรัม 900 กรัม เท่ากับส้มหนักกี่ขีด


แบบฝึกหัด 4.5

212 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

(19 ขีด)
และให้นักเรียนช่วยกันตอบคำ�ถาม ข้อ 1 – 2 ในกรอบท้ายหน้า 211

การตรวจสอบความเข้าใจ
4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน โดยให้นก ั เรียนตอบคำ�ถามทีเ่ กีย่ วกับน้�ำ หนักของสิง่ ต่าง ๆ
ในหนังสือเรียนหน้า 212 ซึ่งต้องเปลี่ยนหน่วยน้ำ�หนักโดยใช้ความสัมพันธ์ของหน่วยน้ำ�หนัก จากนั้น
ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ หากมีนักเรียนตอบคำ�ถามไม่ได้
ครูควรแก้ไขโดยการให้นักเรียนฝึกเปลี่ยนหน่วยน้ำ�หนักของสิ่งต่าง ๆ เป็นรายบุคคล

สิ่งที่ได้เรียนรู้
• การบอกน้ ำ�หนักของสิ่งต่าง ๆ อาจบอกเป็นกิโลกรัม กรัม ขีด กิโลกรัมและกรัม หรือ
กิโลกรัมและขีด โดยใช้ความสัมพันธ์ 1 กิโลกรัม เท่ากับ 10 ขีด 1 ขีด เท่ากับ 100 กรัม
และ 1 กิโลกรัม เท่ากับ 1,000 กรัม
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 4.5 หน้า 134 -136

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  153
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก

4.6 การเปรียบเทียบน้ำ�หนัก (1) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

จุดประสงค์
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

4.6 การเปรียบเทียบน้ำาหนัก (1)


เปรียบเทียบน้ำ�หนักของสิ่งต่าง ๆ
พัฒนาความรู้

สื่อการเรียนรู้ IL
OG
0 IL
OG
0 IL
OG
0 IL
OG
0

−− บัตรภาพแสดงการชั่งน้ำ�หนักขอสิ่งต่าง ๆ

K
5 1 5 1 5 1 5 1

4 2 4 2 4 2 4 2
3 3 3 3

เช่น ปลาหนัก 3 กิโลกรัม 2 ขีด กุ้งหนัก เปรียบเทียบน้ำ�หนักของเห็ดฟ�งกับผักบุ้ง 3 กก. ม�กกว่� 1 กก.

3 กิโลกรัม 4 ขีด น้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมของสิ่งใดม�กกว่�สิ่งนั้นหนักกว่�

−− บัตรภาพแสดงน้ำ�หนักของสิ่งต่าง ๆ เห็ดฟ�งหนัก 1 กิโลกรัม 5 ขีด ผักบุ้งหนัก 3 กิโลกรัม 4 ขีด


ผักบุ้งหนักกว่�เห็ดฟ�ง หรือ เห็ดฟ�งเบ�กว่�ผักบุ้ง

เปรียบเทียบน้ำ�หนักของคะน้�กับกะหล่ำ�ปลี
แนวการจัดการเรียนรู้ ถ้�น้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมเท่�กัน ให้เปรียบเทียบน้ำ�หนักเป็นขีดหรือกรัม

การพัฒนาความรู้ 1 กิโลกรัม เท่�กัน

1. ครูติดบัตรภาพแสดงการชั่งน้ำ�หนัก แต่ 500 กรัม น้อยกว่� 800 กรัม

ของเห็ดฟาง ผักบุ้ง คะน้า และกะหล่ำ�ปลี คะน้�หนัก 1 กิโลกรัม 500 กรัม กะหล่ำ�ปลีหนัก 1 กิโลกรัม 800 กรัม
คะน้�เบ�กว่�กะหล่ำ�ปลี หรือ กะหล่ำ�ปลีหนักกว่�คะน้�

ตามหนังสือเรียนหน้า 213 ครูให้นักเรียน


| 213 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เปรียบเทียบน้ำ�หนักของเห็ดฟางกับผักบุ้ง
โดยดูจากเข็มชี้น้ำ�หนักที่เครื่องชั่ง นักเรียนควร
ตอบได้ว่า ผักบุ้งหนักกว่าเห็ดฟาง โดยพิจารณาจากเข็มชี้น้ำ�หนักที่เป็นกิโลกรัมของเครื่องชั่งผักบุ้ง
ชี้ที่ระหว่างตัวเลข 3 กับตัวเลข 4 แต่เข็มชี้น้ำ�หนักที่เป็นกิโลกรัมของเครื่องชั่งเห็ดฟางชี้ที่ระหว่าง
ตัวเลข 1 กับตัวเลข 2 ดังนั้น ผักบุ้งหนักกว่าเห็ดฟาง หรือเห็ดฟางเบากว่าผักบุ้ง ครูให้นักเรียน
สังเกตว่า การเปรียบเทียบน้ำ�หนักของสิ่งต่าง ๆ ที่มีน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมต่างกัน สิ่งใดมีน้ำ�หนักเป็น
กิโลกรัมมากกว่าสิ่งนั้นจะหนักกว่า จากนั้นครูให้นักเรียนเปรียบเทียบน้ำ�หนักของคะน้ากับกะหล่ำ�ปลี
โดยดูจากเข็มชี้น้ำ�หนักที่เครื่องชั่ง นักเรียนควรตอบได้ว่า คะน้าเบากว่ากะหล่ำ�ปลี โดยพิจารณาจาก
เข็มชี้น้ำ�หนักที่เป็นกิโลกรัมของเครื่องชั่งคะน้าและกะหล่ำ�ปลี ซึ่งเข็มชี้น้ำ�หนักชี้ที่ระหว่างตัวเลข
1 กับตัวเลข 2 เหมือนกัน จึงต้องดูว่าเข็มชี้น้ำ�หนักชี้ตรงที่ขีดใด เข็มชี้น้ำ�หนักของเครื่องชั่งคะน้า
ชี้ที่ขีดที่ 5 นับถัดจากตัวเลขแสดง 1 กิโลกรัม เข็มชี้น้ำ�หนักของเครื่องชั่งกะหล่ำ�ปลีชี้ที่ขีดที่ 8
นับถัดจากตัวเลขแสดง 1 กิโลกรัม ดังนั้น คะน้าเบากว่ากะหล่ำ�ปลี หรือกะหล่ำ�ปลีหนักกว่าคะน้า
ครูให้นักเรียนสังเกตว่า การเปรียบเทียบน้ำ�หนักของสิ่งต่าง ๆ ที่มีน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมเท่ากัน
ให้เปรียบเทียบน้ำ�หนักที่เป็นขีดหรือกรัม สิ่งใดมีน้ำ�หนักเป็นขีดหรือกรัมมากกว่าสิ่งนั้นจะหนักกว่า

154  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

หนังสือเรียนร�ยวิช�พื้นฐ�น | คณิตศ�สตร์ ป.2 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

เปรียบเทียบน้ำาหนัก
เปรียบเทียบน้ำาหนัก

2 กิโลกรัม 6 ขีด กับ 2 กิโลกรัม 5 ขีด

2 กิโลกรัมเท่�กัน แต่ 6 ขีด ม�กกว่� 5 ขีด


ดังนั้น 2 กิโลกรัม 6 ขีด ม�กกว่� 2 กิโลกรัม 5 ขีด
หรือ 2 กิโลกรัม 5 ขีด น้อยกว่� 2 กิโลกรัม 6 ขีด

2 กิโลกรัม 300 กรัม กับ 1 กิโลกรัม 500 กรัม


1 3 กิโลกรัม 2 ขีด กับ 5 กิโลกรัม 1 ขีด
แตงโมหนัก 2 กิโลกรัม 300 กรัม ส้มโอหนัก 1 กิโลกรัม 500 กรัม
3 กิโลกรัม 2 ขีด น้อยกว่า 5 กิโลกรัม 1 ขีด หรือ 5 กิโลกรัม 1 ขีด มากกว่า 3 กิโลกรัม 2 ขีด
2 กิโลกรัม ม�กกว่� 1 กิโลกรัม
ดังนั้น แตงโมหนักกว่�ส้มโอ หรือ ส้มโอเบ�กว่�แตงโม
2 4 กิโลกรัม 900 กรัม กับ 4 กิโลกรัม 300 กรัม

4 กิโลกรัม 900 กรัม มากกว่า 4 กิโลกรัม 300 กรัม หรือ 4 กิโลกรัม 300 กรัม น้อยกว่า 4 กิโลกรัม 900 กรัม

3 6 กิโลกรัม 8 ขีด กับ 6 กิโลกรัม 7 ขีด

6 กิโลกรัม 8 ขีด มากกว่า 6 กิโลกรัม 7 ขีด หรือ 6 กิโลกรัม 7 ขีด น้อยกว่า 6 กิโลกรัม 8 ขีด

2 กิโลกรัม 4 ขีด กับ 2 กิโลกรัม 5 ขีด 4 7 กิโลกรัม 600 กรัม กับ 9 กิโลกรัม 400 กรัม

7 กิโลกรัม 600 กรัม น้อยกว่า 9 กิโลกรัม 400 กรัม หรือ 9 กิโลกรัม 400 กรัม มากกว่า 7 กิโลกรัม 600 กรัม

ไก่หนัก 2 กิโลกรัม 4 ขีด ปล�ทูหนัก 2 กิโลกรัม 5 ขีด


5 2 กิโลกรัม 5 ขีด กับ 2 กิโลกรัมครึ่ง
2 กิโลกรัมเท่�กัน แต่ 4 ขีด น้อยกว่� 5 ขีด
ดังนั้น ไก่เบ�กว่�ปล�ทู หรือ ปล�ทูหนักกว่�ไก่ 2 กิโลกรัม 5 ขีด เท่ากับ 2 กิโลกรัมครึ่ง

214 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 215

2. ครูตด
ิ บัตรภาพแสดงน้�ำ หนักของแตงโม 2 กิโลกรัม 300 กรัม กับส้มโอ 1 กิโลกรัม 500 กรัม
ครูให้นักเรียนเปรียบเทียบน้ำ�หนักของแตงโมและส้มโอ โดยพิจารณาหน่วยน้ำ�หนักที่เป็นกิโลกรัมก่อน
นักเรียนควรตอบได้ว่า แตงโมหนักกว่าส้มโอ หรือส้มโอเบากว่าแตงโม เพราะน้ำ�หนักที่แสดงน้ำ�หนัก
เป็นกิโลกรัมของแตงโมมากกว่าส้มโอ จากนั้นครูติดบัตรภาพแสดงน้ำ�หนักของไก่ 2 กิโลกรัม 4 ขีด
กับ ปลาทู 2 กิโลกรัม 5 ขีด ครูให้นักเรียนเปรียบเทียบน้ำ�หนักของไก่และปลาทู โดยพิจารณา
หน่วยน้ำ�หนักที่เป็นกิโลกรัมก่อน นักเรียนควรสังเกตได้ว่า น้ำ�หนักของไก่และปลาทูที่เป็นกิโลกรัม
หนัก 2 กิโลกรัมเท่ากัน จึงต้องพิจารณาน้ำ�หนักที่เป็นขีด ซึ่ง 4 ขีด น้อยกว่า 5 ขีด
ดังนั้น ไก่เบากว่าปลาทู หรือปลาทูหนักกว่าไก่
3. ครูให้นักเรียนฝึกเปรียบเทียบน้ำ�หนัก โดยพิจารณาจากหน่วยน้ำ�หนักที่เป็นกิโลกรัมก่อน
แล้วจึงเปรียบเทียบน้ำ�หนักที่เป็นขีด หรือกรัม เช่น 2 กิโลกรัม 6 ขีด กับ 2 กิโลกรัม 5 ขีด
จากนั้นให้นักเรียนช่วยกันเปรียบเทียบน้ำ�หนักตามหนังสือเรียนหน้า 215 ครูและนักเรียนร่วมกัน
ตรวจสอบความถูกต้อง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  155
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก

การตรวจสอบความเข้าใจ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน ตรวจสอบความเข้าใจ

โดยให้นักเรียนเปรียบเทียบสิ่งของว่าสิ่งใดหนักกว่า
1 สิ่งใดหนักกว่า

และสิง่ ใดเบากว่า เป็นรายบุคคล ตามหนังสือเรียนหน้า 216 1) หอมหัวใหญ่หนัก 1 กิโลกรัม 6 ขีด กับ ฟักทองหนัก 1 กิโลกรัม 5 ขีด
หอมใหญ่
จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
และสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ หากมีนักเรียนตอบคำ�ถามไม่ได้
2) แตงโมหนัก 1 กิโลกรัม 7 ขีด กับ ทุเรียนหนัก 3 กิโลกรัม 2 ขีด
ทุเรียน
2 สิ่งใดเบากว่า

ครูควรแก้ไขโดยการให้นักเรียนฝึกเปรียบเทียบน้ำ�หนัก
ของสิ่งต่าง ๆ กับครูเป็นรายบุคคล
1) ส้มหนัก 2 กิโลกรัม 500 กรัม กับ มังคุดหนัก 2 กิโลกรัม 600 กรัม
ส้ม

สิ่งที่ได้เรียนรู้
2) หอมแดงหนัก 1 กิโลกรัม 800 กรัม กับ กระเทียมหนัก 2 กิโลกรัมครึ่ง
หอมแดง


สิ่งที่ได้เรียนรู้

การเปรียบเทียบน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมและกรัม หรือ ก�รเปรียบเทียบน้�ำ หนักเป็นกิโลกรัมและกรัม หรือกิโลกรัมและขีด


ของสิ่งต่�ง ๆ สองสิ่ง สิ่งที่มีน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมม�กกว่�
จะหนักกว่� ถ้�น้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมเท่�กัน สิ่งที่มีน้ำ�หนักเป็นกรัม
กิโลกรัมและขีดของสิ่งต่าง ๆ สองสิ่ง สิ่งที่มีน้ำ�หนัก หรือเป็นขีดม�กกว่�จะหนักกว่� แบบฝึกหัด 4.6

216 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เป็นกิโลกรัมมากกว่าจะหนักกว่า ถ้าน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัม
เท่ากัน สิ่งที่มีน้ำ�หนักเป็นกรัมหรือเป็นขีดมากกว่าจะ
หนักกว่า
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 4.6 หน้า 137 - 138

4.7 การเปรียบเทียบน้ำ�หนัก (2) หนังสือเรียนร�ยวิช�พื้นฐ�น | คณิตศ�สตร์ ป.2

จุดประสงค์
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

4.7 การเปรียบเทียบน้ำาหนัก (2)

เปรียบเทียบน้ำ�หนักโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่าง พัฒนาความรู้

กิโลกรัม กรัม และขีด


พริกแห้งหนัก 200 กรัม หอมแดงหนัก 5 ขีด

อะไรหนักกว่�

สื่อการเรียนรู้ 1 ขีด เท่�กับ 100 กรัม

พริกแห้งหนัก 200 กรัม หรือ 2 ขีด หอมแดงหนัก 5 ขีด หรือ 500 กรัม
บัตรภาพแสดงน้ำ�หนักของสิ่งต่าง ๆ หอมแดงหนัก 5 ขีด
ดังนั้น หอมแดง หนักกว่� พริกแห้ง
หรือ พริกแห้งหนัก 200 กรัม
ดังนั้น หอมแดง หนักกว่� พริกแห้ง

ก�รเปรียบเทียบน้�ำ หนักเป็นกรัม กับ น้�ำ หนักเป็นขีด ต้องเปลีย่ นน้�ำ หนักเป็นหน่วยเดียวกันก่อน


โดยใช้คว�มสัมพันธ์ 1 ขีด เท่�กับ 100 กรัม

แนวการจัดการเรียนรู้
การพัฒนาความรู้
หนักกว่า เบากว่า หรือ หนักเท่ากับ

มะละกอ 900 กรัม เบากว่า น้อยหน่� 10 ขีด

1. ครูติดบัตรภาพแสดงน้ำ�หนักของพริกแห้ง ข้�วส�ร 5 ขีด หนักกว่า วุ้นเส้น 50 กรัม

200 กรัม และหอมแดง 5 ขีด ครูถามว่าอะไรหนักกว่า สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 217

โดยให้นักเรียนใช้ความสัมพันธ์ของหน่วยน้ำ�หนัก
100 กรัม เท่ากับ 1 ขีด การเปลี่ยนหน่วยน้ำ�หนักอาจเปลี่ยนหน่วยน้ำ�หนักกรัมให้เป็นขีด
หรือเปลี่ยนหน่วยน้ำ�หนักขีดให้เป็นกรัม ตามหนังสือเรียนหน้า 217 ครูอาจยกตัวอย่างเพิ่มเติม เช่น
ทุเรียนหนัก 35 ขีด กับฝรั่งหนัก 220 กรัม สิ่งใดหนักกว่า (ทุเรียนหนักกว่า) ครูให้นักเรียน

156  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

ร่วมกันสรุปว่าในการเปรียบเทียบน้ำ�หนักที่มีหน่วยต่างกัน หนังสือเรียนร�ยวิช�พื้นฐ�น | คณิตศ�สตร์ ป.2


บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

ต้องเปลี่ยนหน่วยน้ำ�หนักให้เป็นหน่วยเดียวกันก่อน
แล้วจึงนำ�มาเปรียบเทียบกัน จากนั้นให้นักเรียน ปูหนัก 2 กิโลกรัม 3 ขีด กุ้งหนัก 13 ขีด

ช่วยกันเปรียบเทียบน้ำ�หนักในกรอบท้ายหน้า 217 อะไรเบ�กว่�

2. ครูติดบัตรภาพแสดงน้ำ�หนักของปู 1 กิโลกรัม เท่�กับ 10 ขีด

หนัก 2 กิโลกรัม 3 ขีด และกุ้งหนักหนัก 13 ขีด ครูถามว่า ปูหนัก 2 กิโลกรัม 3 ขีด หรือ 23 ขีด
กุ้งหนัก 13 ขีด หรือ
กุ้งหนัก 13 ขีด หรือ 1 กิโลกรัม 3 ขีด
ปูหนัก 2 กิโลกรัม 3 ขีด
ดังนั้น กุ้ง เบ�กว่� ปู ดังนั้น กุ้ง เบ�กว่� ปู
อะไรเบากว่า โดยให้นักเรียนใช้ความสัมพันธ์ของ ก�รเปรียบเทียบน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมและขีด กับ น้ำ�หนักเป็นขีด ต้องเปลี่ยนน้ำ�หนัก

หน่วยน้ำ�หนัก 1 กิโลกรัม เท่ากับ 10 ขีด การเปลี่ยน


ให้เป็นหน่วยเดียวกันก่อน โดยใช้คว�มสัมพันธ์ 1 กิโลกรัม เท่�กับ 10 ขีด

หน่วยน้ำ�หนักอาจเปลี่ยนหน่วยน้ำ�หนักกิโลกรัมและขีด
ให้เป็นขีด หรือเปลีย่ นหน่วยน้�ำ หนักขีดให้เป็นกิโลกรัมและขีด หนักกว่า เบากว่า หรือ หนักเท่ากับ

หอมแดง 13 ขีด เบากว่า กระเทียม 1 กิโลกรัม 5 ขีด

ตามหนังสือเรียนหน้า 218 ครูอาจยกตัวอย่างเพิ่มเติม เช่น ฟักทอง 4 กิโลกรัม 2 ขีด หนักกว่า ฟักเขียว 34 ขีด

ปลาหนัก 42 ขีด กับไก่หนัก 3 กิโลกรัม 8 ขีด สิง่ ใดหนักกว่า 218 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

(ปลาหนักกว่า) ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปว่าในการ
เปรียบเทียบน้�ำ หนักทีม่ ห
ี น่วยต่างกันต้องเปลีย่ นหน่วยน้�ำ หนัก หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

ให้เป็นหน่วยเดียวกันก่อนแล้วจึงนำ�มาเปรียบเทียบกัน
จากนั้นให้นักเรียนช่วยกันเปรียบเทียบน้ำ�หนัก ปล�หนัก 3 กิโลกรัม 200 กรัม หมึกหนัก 25 ขีด

ในกรอบท้ายหน้า 218 อะไรหนักกว่�

3. ครูติดบัตรภาพแสดงน้ำ�หนักของปลาหนัก 100 กรัม เท่�กับ 1 ขีด

3 กิโลกรัม 200 กรัม และหมึกหนัก 25 ขีด ครูถามว่า


ปล�หนัก 3 กิโลกรัม 200 กรัม หมึกหนัก 25 ขีด หรือ 2 กิโลกรัม 5 ขีด
หรือ 3 กิโลกรัม 2 ขีด หรือ 32 ขีด ปล�หนัก 3 กิโลกรัม 200 กรัม
หรือ
หมึกหนัก 25 ขีด หรือ 3 กิโลกรัม 2 ขีด

อะไรหนักกว่า โดยให้นักเรียนใช้ความสัมพันธ์ของ
ดังนั้น ปล� หนักกว่� หมึก ดังนั้น ปล� หนักกว่� หมึก

ก�รเปรียบเทียบน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมและกรัม กับ น้ำ�หนักเป็นขีด

หน่วยน้ำ�หนัก 100 กรัม เท่ากับ 1 ขีด การเปลี่ยน


ต้องเปลี่ยนหน่วยน้ำ�หนักให้เป็นหน่วยเดียวกันก่อน
โดยใช้คว�มสัมพันธ์ 1 กิโลกรัม เท่�กับ 10 ขีด และ 1 ขีด เท่�กับ 100 กรัม

หน่วยน้ำ�หนักอาจเปลี่ยนหน่วยน้ำ�หนักกิโลกรัมและกรัม
ให้เป็นขีดหรือเปลี่ยนหน่วยน้ำ�หนักขีดให้เป็นกิโลกรัม หนักกว่า เบากว่า หรือ หนักเท่ากับ

พริกไทย 15 ขีด หนักกว่า กระเทียม 1 กิโลกรัม 100 กรัม

และกรัม หรือเปลี่ยนหน่วยน้ำ�หนักขีดให้เป็นกิโลกรัม ผักก�ด 2 กิโลกรัม 300 กรัม หนักเท่ากับ ผักโขม 23 ขีด

และขีด ตามหนังสือเรียนหน้า 218 ครูอาจยกตัวอย่าง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 219

เพิ่มเติม เช่น ฟักทองหนัก 670 กรัม กับฟักเขียวหนัก


1 กิโลกรัม 2 ขีด สิ่งใดเบากว่า (ฟักทองเบากว่า)
ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปว่าในการเปรียบเทียบน้ำ�หนักที่มีหน่วยต่างกันต้องเปลี่ยนหน่วยน้ำ�หนัก
ให้เป็นหน่วยเดียวกันก่อนแล้วจึงนำ�มาเปรียบเทียบกัน จากนั้นให้นักเรียนช่วยกันเปรียบเทียบ
น้ำ�หนักในกรอบท้ายหน้า 219

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  157
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก

การตรวจสอบความเข้าใจ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน ตรวจสอบความเข้าใจ

โดยให้นักเรียนเปรียบเทียบสิ่งของว่าสิ่งใดหนักกว่า
1 สิ่งใดหนักกว่า

และสิง่ ใดเบากว่า เป็นรายบุคคล ตามหนังสือเรียนหน้า 220


แป�งสาลี

ข้าวสาร
จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง แป้งส�ลีหนัก 2 กิโลกรัม 400 กรัม กับ ข้�วส�รหนัก 4 กิโลกรัม 3 ขีด

และสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ หากมีนักเรียนตอบคำ�ถามไม่ได้ 2 สิ่งใดเบากว่า

ครูควรแก้ไขโดยการให้นักเรียนฝึกเปรียบเทียบน้ำ�หนัก
คะน้า
ของสิ่งต่าง ๆ กับครูเป็นรายบุคคล ถั่วฝักย�วหนัก 3 กิโลกรัม 4 ขีด กับ คะน้�หนัก 3 กิโลกรัม 200 กรัม

สิ่งที่ได้เรียนรู้

สิ่งที่ได้เรียนรู้

การเปรียบเทียบน้ำ�หนักที่มีหน่วยต่างกันต้องเปลี่ยน ก�รเปรียบเทียบน้ำ�หนักที่มีหน่วยต่�งกันต้องเปลี่ยนหน่วย
ให้เป็นหน่วยเดียวกันก่อนแล้วนำ�ม�เปรียบเทียบกัน

หน่วยให้เป็นหน่วยเดียวกันก่อนแล้วนำ�มาเปรียบเทียบกัน แบบฝึกหัด 4.7

220 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

จากนัน้ ให้นกั เรียนทำ�แบบฝึกหัด 4.7 หน้า 139 -140


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

4.8 การบวกและการลบเกี่ยวกับน้ำ�หนัก (1)


บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

4.8 การบวกและการลบเกี่ยวกับน้ำาหนัก (1)

จุดประสงค์ พัฒนาความรู้

บวกและลบเกี่ยวกับน้ำ�หนัก มะม่วงหนัก 1 กิโลกรัม 5 ขีด


มะละกอหนัก 1 กิโลกรัม 2 ขีด

มะม่วงกับมะละกอหนักรวมกันเป็นกี่กิโลกรัม กี่ขีด

สื่อการเรียนรู้
1 กิโลกรัม รวมกับ 1 กิโลกรัม ได้ 2 กิโลกรัม
5 ขีด รวมกับ 2 ขีด ได้ 7 ขีด
1 กิโลกรัม 5 ขีด รวมกับ 1 กิโลกรัม 2 ขีด ได้ 2 กิโลกรัม 7 ขีด

บัตรโจทย์
ดังนั้น มะม่วงกับมะละกอหนักรวมกันเป็น 2 กิโลกรัม 7 ขีด

เขียนแสดงวิธีห�คำ�ตอบ ดังนี้

วิธีทำา กิโลกรัม ขีด

แนวการจัดการเรียนรู้
มะม่วงหนัก 1 5
+
มะละกอหนัก 1 2

การพัฒนาความรู้
หนักรวมกัน 2 7
ตอบ มะม่วงกับมะละกอหนักรวมกันเป็น ๒ กิโลกรัม ๗ ขีด

1. ครูติดบัตรโจทย์ มะม่วงหนัก 1 กิโลกรัม 5 ขีด เขียนแสดงวิธีหาคำาตอบ

1 4 กิโลกรัม 7 ขีด กับ 5 กิโลกรัม 2 ขีด รวมเป็นกี่กิโลกรัม กี่ขีด

มะละกอหนัก 1 กิโลกรัม 2 ขีด แล้วถามว่า มะม่วงกับ 2 6 กิโลกรัม 4 ขีด กับ 5 ขีด รวมเป็นกี่กิโลกรัม กี่ขีด

| 221

มะละกอหนักรวมกันเป็นกี่กิโลกรัม กี่ขีด ครูให้นักเรียน


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เฉลย
นำ�น้ำ�หนักที่เป็นหน่วยเดียวกันมาบวกกัน จะได้ 1 กิโลกรัม 1. วิธีทำ� 2. วิธีทำ�
กิโลกรัม ขีด กิโลกรัม ขีด
รวมกับ 1 กิโลกรัม ได้ 2 กิโลกรัม และ 5 ขีด รวมกับ 2 ขีด 4 7 6 4
+ +
ได้ 7 ขีด ดังนั้น มะม่วงกับมะละกอหนักรวมกันเป็น 5 2 5
9 9 6 9
2 กิโลกรัม 7 ขีด จากนั้นครูแนะนำ�การเขียนแสดง ตอบ ๙ กิโลกรัม ๙ ขีด ตอบ ๖ กิโลกรัม ๙ ขีด

วิธีหาคำ�ตอบ โดยเขียนหน่วยน้ำ�หนักไว้ก่อน แล้วเขียนตัวเลขแสดงจำ�นวนน้ำ�หนักของมะม่วงและ


มะละกอให้ตรงกับหน่วยน้ำ�หนักแต่ละหน่วย แล้วจึงนำ�จำ�นวนในหน่วยน้ำ�หนักเดียวกันมาบวกกัน
จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกันเขียนแสดงวิธีหาคำ�ตอบ ข้อ 1 และ 2 ในกรอบท้ายหน้า 221

158  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

2. ครูติดบัตรโจทย์ 7 กิโลกรัม 8 ขีด รวมกับ 2 กิโลกรัม 4 ขีด เท่ากับเท่าไร


ครูสุ่มนักเรียนออกมาเขียนแสดงวิธีหาคำ�ตอบที่หน้าชั้นเรียนโดยมีครูและเพื่อนในห้องเรียนช่วยกัน
ตรวจสอบความถูกต้อง ดังนี้
กิโลกรัม ขีด หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

7 8
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

7 กิโลกรัม 8 ขีด รวมกับ 2 กิโลกรัม 4 ขีด เท่�กับเท่�ไร

+
2 4 วิธีทำา
เขียนแสดงวิธีห�คำ�ตอบ ดังนี้

กิโลกรัม ขีด

9 12 7 8
+
2 4

หรือ 10 2
หรือ 10
9 12
2
10 ขีด เท่�กับ 1 กิโลกรัม

ครูให้นักเรียนสังเกตว่า ผลบวกที่ได้ในหน่วยขีด ตอบ ๑๐ กิโลกรัม ๒ ขีด

2 กิโลกรัม 3 ขีด รวมกับ 18 ขีด เท่�กับเท่�ไร

มากกว่า 10 ต้องทด 1 สิบ หรือ 1 กิโลกรัม ไปรวมกับ 18 ขีด เท่�กับ 1 กิโลกรัม 8 ขีด เขียนแสดงวิธีห�คำ�ตอบ ดังนี้

ผลบวกในหน่วยกิโลกรัม เพราะ 10 ขีด เท่ากับ 1 กิโลกรัม วิธีทำา กิโลกรัม

2
ขีด

ตามหนังสือเรียนหน้า 222 ครูยกตัวอย่างเพิ่มเติมเกี่ยวกับ


+
1 8 10 ขีด เท่�กับ 1 กิโลกรัม
3 11

การบวกน้ำ�หนักที่มีหน่วยต่างกัน ต้องเปลี่ยนหน่วยให้เป็น หรือ


ตอบ ๔ กิโลกรัม ๑ ขีด
4 1

หน่วยเดียวกันก่อนแล้วจึงนำ�มาบวกกัน เช่น เขียนแสดงวิธีหาคำาตอบ


1 15 กิโลกรัม 9 ขีด รวมกับ 7 กิโลกรัม 4 ขีด เท่�กับเท่�ไร

2 กิโลกรัม 3 ขีด รวมกับ 18 ขีด เท่ากับเท่าไร 2 23 กิโลกรัม 5 ขีด รวมกับ 15 ขีด เท่�กับเท่�ไร

222 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ครูแนะนำ�ว่า อาจเปลี่ยน 18 ขีด เป็น 1 กิโลกรัม เฉลย

8 ขีด ก่อนแล้วจึงนำ�มาบวกกัน ดังนี้ 1. วิธีทำ� 2. วิธีทำ�

กิโลกรัม ขีด กิโลกรัม ขีด กิโลกรัม ขีด


15 9 23 5 10 ขีด = 1 กก.
+ +
2 3 7 4 15 20 ขีด = 2 กก.

+ 22 13 23 20
1 8 หรือ 23 3 หรือ 25 0
ตอบ ๒๓ กิโลกรัม ๓ ขีด ตอบ ๒๕ กิโลกรัม
3 11
หรือ 4 1
หรือ อาจไม่เปลี่ยน 18 ขีด เป็น 1 กิโลกรัม 8 ขีด ก็ได้
ดังนี้
กิโลกรัม ขีด
2 3
+
18
2 21
หรือ 4 1
ซึ่งผลบวกที่ได้ในหน่วยขีดมากกว่า 10 ต้องทด 2 สิบ หรือ 2 กิโลกรัม ไปรวมกับผลบวกใน
หน่วยกิโลกรัม เพราะ 20 ขีด เท่ากับ 2 กิโลกรัม จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกันเขียนแสดงวิธีหา
คำ�ตอบ ข้อ 1 และ 2 ในกรอบท้ายหน้า 222

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  159
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก

3. ครูติดบัตรโจทย์ 1 กิโลกรัม 6 ขีด น้อยกว่า หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

2 กิโลกรัม 4 ขีด อยูเ่ ท่าไร ครูแนะนำ�การเขียนแสดงวิธท


ี �ำ 1 กิโลกรัม 6 ขีด น้อยกว่� 2 กิโลกรัม 4 ขีด อยู่เท่�ไร

ดังนี้ เขียนแสดงวิธีห�คำ�ตอบ ดังนี้

กิโลกรัม ขีด วิธีทำา กิโลกรัม ขีด

1 14
1 14 1 กิโลกรัม เท่�กับ 10 ขีด
2 4 2 กิโลกรัม 4 ขีด จึงเท่�กับ 1 กิโลกรัม 14 ขีด

2 4

1 6

− 0 8

1 6 ตอบ ๘ ขีด

0 8
4 กิโลกรัม 2 ขีด ม�กกว่� 9 ขีด อยู่เท่�ไร

เขียนแสดงวิธีห�คำ�ตอบ ดังนี้

ครูให้นักเรียนสังเกตว่า ในหน่วยขีดตัวตั้งน้อยกว่า วิธีทำา กิโลกรัม


3
ขีด
12 1 กิโลกรัม เท่�กับ 10 ขีด
4 2 4 กิโลกรัม 2 ขีด จึงเท่�กับ 3 กิโลกรัม 12 ขีด

ตัวลบ ต้องกระจายจาก 2 กิโลกรัม มา 1 กิโลกรัม



9
3 3

หรือ 10 ขีด ไปรวมกับ 4 ขีด ได้ 14 ขีด แล้วจึงนำ�มาลบ ตอบ ๓ กิโลกรัม ๓ ขีด

กับ 6 ขีด เป็น 8 ขีด 2 กิโลกรัมเมื่อกระจายไปแล้ว


เขียนแสดงวิธีหาคำาตอบ

1 3 กิโลกรัม 6 ขีด น้อยกว่� 5 กิโลกรัม 4 ขีด อยู่เท่�ไร

1 กิโลกรัม เหลือ 1 กิโลกรัม ลบด้วย 1 กิโลกรัม


2 8 กิโลกรัม 5 ขีด ม�กกว่� 27 ขีด อยู่เท่�ไร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 223

เป็น 0 กิโลกรัม ดังนั้น 1 กิโลกรัม 6 ขีด น้อยกว่า 2 เฉลย

กิโลกรัม 4 ขีด อยู่ 8 ขีด ครูยกตัวอย่างเพิ่มเติมเกี่ยวกับ 1. วิธีทำ� กิโลกรัม


4
ขีด
14
2. วิธีทำ� กิโลกรัม
7
ขีด
15
5 4 8 5
การลบน้ำ�หนักที่มีหน่วยต่างกันตามตัวอย่างกรอบที่สองใน 3 6

2 7

1 8 5 8 10 ขีดเท่ากับ 1 กก.

หนังสือเรียนหน้า 223 จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกันเขียน ตอบ ๑ กิโลกรัม ๘ ขีด ตอบ ๕ กิโลกรัม ๘ ขีด ดังนั้น 20 ขีด
เท่ากับ 2 กก.

แสดงวิธีหาคำ�ตอบข้อ 1 และ 2 ในกรอบท้ายหน้า 223 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

การตรวจสอบความเข้าใจ
ตรวจสอบความเข้าใจ
เขียนแสดงวิธีหาคำาตอบ

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
1 5 กิโลกรัม 4 ขีด รวมกับ 2 34 กิโลกรัม 3 ขีด ม�กกว่�
6 กิโลกรัม 7 ขีด เท่�กับเท่�ไร 5 กิโลกรัม 8 ขีด อยู่เท่�ไร

โดยให้นักเรียนเขียนแสดงวิธีหาคำ�ตอบเป็นรายบุคคล
วิธีทำา กิโลกรัม ขีด วิธีทำา กิโลกรัม ขีด

5 4 3334 133
+ −

ตามหนังสือเรียนหน้า 224 จากนั้นครูและนักเรียน 6 7 5 8

11 11 28 5

ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
หรือ
12 1 ตอบ
๒๘ กิโลกรัม ๕ ขีด
ตอบ
๑๒ กิโลกรัม ๑ ขีด
หากมีนักเรียนเขียนแสดงวิธีหาคำ�ตอบไม่ได้ ครูควรแก้ไข
3 12 กิโลกรัม 2 ขีด รวมกับ 27 กิโลกรัม 8 ขีด เท่�กับเท่�ไร

โดยการให้นักเรียนฝึกเขียนแสดงวิธีหาคำ�ตอบกับครู 4 24 กิโลกรัม 4 ขีด ม�กกว่� 17 กิโลกรัม 5 ขีด อยู่เท่�ไร

เป็นรายบุคคล สิ่งที่ได้เรียนรู้
�รห�ผลบวกหรือผลลบเกีย่ วกับน้�ำ หนักเป็นกิโลกรัมและขีด

ทำ�ได้โดยนำ�น้ำ�หนักที่เป็นหน่วยเดียวกันม�บวกหรือลบกัน

สิ่งที่ได้เรียนรู้

แบบฝึกหัด 4.8

การหาผลบวกหรือผลลบเกี่ยวกับน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัม
224 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เฉลย
และขีดทำ�ได้โดยนำ�น้ำ�หนักที่เป็นหน่วยเดียวกันมาบวก 3. วิธีทำ� 4. วิธีทำ�

หรือลบกัน กิโลกรัม ขีด กิโลกรัม ขีด


23 14
12 2 24 4
+
จากนัน
้ ให้นกั เรียนทำ�แบบฝึกหัด 4.8 หน้า 141 - 143 27 8 17 5

39 10 6 9
หรือ 40 0 ตอบ ๖ กิโลกรัม ๙ ขีด
ตอบ ๔๐ กิโลกรัม

160  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

4.9 การบวกและการลบเกี่ยวกับน้ำ�หนัก (2) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

จุดประสงค์ 4.9 การบวกและการลบเกี่ยวกับน้ำาหนัก (2)

บวกและลบเกี่ยวกับน้ำ�หนัก
พัฒนาความรู้

ปูหนัก 3 กิโลกรัม 200 กรัม และ หมึกหนัก 650 กรัม

สื่อการเรียนรู้
ปูกับหมึกหนักรวมกันเป็นกี่กิโลกรัม กี่กรัม

บัตรโจทย์ เขียนแสดงวิธีห�คำ�ตอบ ดังนี้

วิธีทำา กิโลกรัม กรัม

แนวการจัดการเรียนรู้ ปูหนัก
หมึกหนัก
3

200
650
+

การพัฒนาความรู้ หนักรวมกัน 3
ตอบ ปูกับหมึกหนักรวมกันเป็น ๓ กิโลกรัม ๘๕๐ กรัม
850

1. ครูติดบัตรโจทย์ ปูหนัก 3 กิโลกรัม 200 กรัม เขียนแสดงวิธีหาคำาตอบ

และหมึกหนัก 650 กรัม แล้วถามนักเรียนว่า ปูกับหมึกหนัก


1 4 กิโลกรัม 150 กรัม รวมกับ 3 กิโลกรัม 250 กรัม เป็นกีก
่ โิ ลกรัม กีก
่ รัม
2 700 กรัม รวมกับ 1 กิโลกรัม 300 กรัม เป็นกี่กิโลกรัม กี่กรัม

รวมกันเป็นกี่กิโลกรัม กี่กรัม ครูให้นักเรียนนำ�น้ำ�หนักที่เป็น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 225

หน่วยเดียวกันมาบวกกัน จะได้ 200 กรัม รวมกับ 650 เฉลย


1. วิธีทำ� 2. วิธีทำ�
กรัม เป็น 850 กรัม ดังนั้น ปูกับหมึกหนักรวมกันเป็น 3 กิโลกรัม กรัม กิโลกรัม กรัม
4 150 700
กิโลกรัม 850 กรัม จากนั้นครูแนะนำ�การเขียนแสดงวิธีหา 3 250
+
1 300
+

7 400 1 1000
คำ�ตอบ โดยเขียนหน่วยน้ำ�หนักไว้ก่อน แล้วเขียนตัวเลข ตอบ ๗ กิโลกรัม ๔๐๐ กรัม 2 0 1 กก. เท่ากับ
1,000 กรัม
แสดงน้ำ�หนักของปูและหมึกให้ตรงกับหน่วยน้ำ�หนัก ตอบ ๒ กิโลกรัม

แต่ละหน่วย แล้วจึงนำ�จำ�นวนในหน่วยน้ำ�หนักเดียวกันมา หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

บวกกัน ครูแนะนำ�การเขียนแสดงวิธีหาคำ�ตอบ ดังนี้


15 กิโลกรัม รวมกับ 5 กิโลกรัม 850 กรัม เท่�กับเท่�ไร

เขียนแสดงวิธีห�คำ�ตอบ ดังนี้

วิธีทำา กิโลกรัม กรัม

กิโลกรัม กรัม

15
5 850
0
+

ปูหนัก 3 200
20 850

+ ตอบ ๒๐ กิโลกรัม ๘๕๐ กรัม

หมึกหนัก 650 2 กิโลกรัม 350 กรัม รวมกับ 2 กิโลกรัม 650 กรัม เท่�กับเท่�ไร

หนักรวมกัน 3 850
เขียนแสดงวิธีห�คำ�ตอบ ดังนี้

วิธีทำา กิโลกรัม กรัม

2 350
+
2 650

2. ครูยกตัวอย่างการบวกเกี่ยวกับน้ำ�หนักที่เป็น
หรือ 5
4 1000
0
1,000 กรัม เท่�กับ 1 กก.

หน่วยกิโลกรัมและกรัม ตามหนังสือเรียนหน้า 226 ครูควร ตอบ ๕ กิโลกรัม

เน้นย้ำ�เรื่องการบวกที่ผลบวกในหน่วยกรัมเป็น 1,000
เขียนแสดงวิธีหาคำาตอบ

7 กิโลกรัม 50 กรัม รวมกับ 950 กรัม เท่�กับเท่�ไร

ต้องทด 1,000 กรัม หรือ 1 กิโลกรัมไปรวมกับผลบวก 226 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ในหน่วยกิโลกรัม ครูให้นักเรียนช่วยกันเขียนแสดง
เฉลย
วิธีทำ�
วิธีหาคำ�ตอบในกรอบท้ายหน้า 225 - 226 กิโลกรัม กรัม
7 50
+
950
7 1000
หรือ 8 0 1,000 กรัม
ตอบ ๘ กิโลกรัม เท่ากับ 1 กก.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  161
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก

3. ครูตดิ บัตรโจทย์ 2 กิโลกรัม 500 กรัม น้อยกว่า


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

4 กิโลกรัม 750 กรัม อยู่เท่าไร ครูให้นักเรียนนำ�น้ำ�หนัก


2 กิโลกรัม 500 กรัม น้อยกว่� 4 กิโลกรัม 750 กรัม อยู่เท่�ไร

เขียนแสดงวิธีห�คำ�ตอบ ดังนี้

ทีเ่ ป็นหน่วยเดียวกันมาลบกัน ครูแนะนำ�การเขียนแสดงวิธท ี �ำ วิธีทำา กิโลกรัม กรัม

ดังนี้ กิโลกรัม กรัม


4 750

2 500

4 750 –
2 250
ตอบ ๒ กิโลกรัม ๒๕๐ กรัม

2 500 3 กิโลกรัม ม�กกว่� 600 กรัม อยู่เท่�ไร

2 250
เขียนแสดงวิธีห�คำ�ตอบ ดังนี้

วิธีท ำา กิโลกรัม กรัม

ครูติดบัตรโจทย์ 3 กิโลกรัม มากกว่า 600 กรัม


2
3
1,000
0

1 กิโลกรัม เท่�กับ 1,000 กรัม
3 กิโลกรัม จึงเท่�กับ 2 กิโลกรัม 1,000 กรัม
600

อยู่เท่าไร 2 400
ตอบ ๒ กิโลกรัม ๔๐๐ กรัม

ครูให้นกั เรียนสังเกตว่า 3 กิโลกรัม เมือ่ เขียนแสดงวิธที �ำ


เขียนแสดงวิธีหาคำาตอบ

เราจะเขียน 3 ในหน่วยกิโลกรัม และเขียน 0 ในหน่วยกรัม 8 กิโลกรัม ม�กกว่� 2 กิโลกรัมครึ่ง อยู่เท่�ไร

ด้วย ในการลบต้องกระจาย 3 กิโลกรัม มา 1 กิโลกรัม หรือ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 227

เฉลย
1,000 กรัม แล้วนำ�มาลบกับ 600 กรัม เหลือ 400 กรัม วิธีทำ�

สำ�หรับ 3 กิโลกรัมเมื่อกระจายไปแล้ว 1 กิโลกรัม เหลือ กิโลกรัม กรัม


7 1,000
8 0

2 กิโลกรัม ลบด้วย 0 กิโลกรัม เหลือ 2 กิโลกรัม ดังนัน ้ 3 กิโลกรัม 2 500
5 500
มากกว่า 600 กรัม อยู่ 2 กิโลกรัม 400 กรัม เขียนแสดงวิธี ตอบ ๕ กิโลกรัม ๕๐๐ กรัม

หาคำ�ตอบ ตามตัวอย่างกรอบทีส่ องในหนังสือเรียนหน้า 227 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

จากนัน้ ครูให้นกั เรียนช่วยกันเขียนแสดงวิธห ี าคำ�ตอบ


บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

ตรวจสอบความเข้าใจ

ในกรอบท้ายหน้า 227 เขียนแสดงวิธีหาคำาตอบ

1 50 กิโลกรัม 150 กรัม รวมกับ 2 100 กิโลกรัม ม�กกว่� 25 กิโลกรัม


9 กิโลกรัม 850 กรัม เท่�กับเท่�ไร 50 กรัม อยู่เท่�ไร

การตรวจสอบความเข้าใจ วิธีทำา กิโลกรัม กรัม วิธีทำา กิโลกรัม


99 1,000
กรัม

50 150 100 0

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยให้นักเรียน 9 850
+
25 50

59 1000 74 950

เขียนแสดงวิธีหาคำ�ตอบเป็นรายบุคคล ตามหนังสือเรียน หรือ 60 0


ตอบ ๗๔ กิโลกรัม ๙๕๐ กรัม
ตอบ ๖๐ กิโลกรัม
หน้า 228 จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบ
ความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ หากมีนักเรียนเขียน
3 4 กิโลกรัม 800 กรัม รวมกับ 6 กิโลกรัม 200 กรัม เท่�กับเท่�ไร

4 1 กิโลกรัม 100 กรัม น้อยกว่� 3 กิโลกรัม อยู่เท่�ไร

แสดงวิธีหาคำ�ตอบไม่ได้ ครูควรแก้ไขโดยการให้นักเรียน สิ่งที่ได้เรียนรู้

ฝึกเขียนแสดงวิธีหาคำ�ตอบกับครูเป็นรายบุคคล ก�รห�ผลบวกหรือผลลบเกีย่ วกับน้�ำ หนักเป็นกิโลกรัมและกรัม


ทำ�ได้โดยนำ�น้ำ�หนักที่เป็นหน่วยเดียวกันม�บวกหรือลบกัน

สิ่งที่ได้เรียนรู้
แบบฝึกหัด 4.9

• การหาผลบวกหรื
228 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

อผลลบเกี่ยวกับน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัม เฉลย

และกรัม ทำ�ได้โดยนำ�น้ำ�หนักที่เป็นหน่วยเดียวกัน 3. วิธีทำ� 4. วิธีทำ�


กิโลกรัม กรัม กิโลกรัม กรัม
2 1,000
มาบวกหรือลบกัน 4 800
+
3 0

6 200 1 100
จากนัน
้ ให้นกั เรียนทำ�แบบฝึกหัด 4.9 หน้า 144 - 146 10 1000 1 900
หรือ 11 0 ตอบ ๑ กิโลกรัม ๙๐๐ กรัม
ตอบ ๑๑ กิโลกรัม

162  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

4.10 โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ (1)


จุดประสงค์
แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

ปัญหาการลบเกี่ยวกับน้ำ�หนัก 4.10 โจทย์ปญ


ั หาการบวกและโจทย์ปญ
ั หาการลบ (1)
พัฒนาความรู้

สื่อการเรียนรู้ ใบบัวมีมะเขือ 5 กิโลกรัม 5 ขีด เก็บจ�กสวนได้อีก 1 กิโลกรัม 4 ขีด


ใบบัวมีมะเขือทั้งหมดกี่กิโลกรัม กี่ขีด

บัตรโจทย์ปัญหาการบวกและบัตรโจทย์ปัญหาการลบ โจทย์ถาม
โจทย์บอก
ใบบัวมีมะเขือทั้งหมดกี่กิโลกรัม กี่ขีด
ใบบัวมีมะเขือ 5 กิโลกรัม 5 ขีด เก็บจ�กสวนได้อีก
1 กิโลกรัม 4 ขีด

ห�คำ�ตอบได้อย่�งไร
นำ�น้ำ�หนักม�บวกกัน

แนวการจัดการเรียนรู้ เขียนแสดงวิธีห�ผลบวกได้ดังนี้

การพัฒนาความรู้ วิธีทำา

ใบบัวมีมะเขือ
กิโลกรัม

5
ขีด

5
+
1. ครูติดบัตรโจทย์ปัญหา ใบบัวมีมะเขือ 5 กิโลกรัม เก็บจ�กสวนได้อีก 1
ใบบัวมีมะเขือทั้งหมด 6
4
9

5 ขีด เก็บจากสวนได้อีก 1 กิโลกรัม 4 ขีด ใบบัวมีมะเขือ ตอบ ใบบัวมีมะเขือทั้งหมด ๖ กิโลกรัม ๙ ขีด

ทัง้ หมดกีก่ โิ ลกรัม กีข่ ด


ี ครูให้นกั เรียนช่วยกันวิเคราะห์โจทย์วา

6 กิโลกรัม 9 ขีด เป็นคำ�ตอบที่สมเหตุสผล เพร�ะใบบัวมีมะเขือ
อยู่แล้วม�กกว่� 5 กิโลกรัม เก็บได้อีกม�กกว่� 1 กิโลกรัม
ดังนั้น ใบบัวมีมะเขือรวมกันม�กกว่� 6 กิโลกรัม

โจทย์ถามอะไร โจทย์บอกอะไร นักเรียนควรบอกได้ว่า สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 229

สิ่งที่โจทย์ถามคือ ใบบัวมีมะเขือทั้งหมดกี่กิโลกรัม กี่ขีด


สิ่งที่โจทย์บอกคือใบบัวมีมะเขือ 5 กิโลกรัม 5 ขีด เก็บจากสวนได้อีก 1 กิโลกรัม 4 ขีด ครูถามว่า
หาคำ�ตอบได้อย่างไร นักเรียนควรตอบได้ว่านำ�น้ำ�หนักมาบวกกัน ครูแนะนำ�การเขียน
แสดงวิธีหาคำ�ตอบ ดังนี ้ กิโลกรัม ขีด
ใบบัวมีมะเขือหนัก 5 5
+
เก็บจากสวนได้อีก 1 4
ใบบัวมีมะเขือทั้งหมด 6 9
ดังนั้น ใบบัวมีมะเขือทั้งหมด 6 กิโลกรัม 9 ขีด
ครูเน้นย้ำ�การตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำ�ตอบว่า 5 กิโลกรัม 5 ขีดมากกว่า 5 กิโลกรัม
เมื่อรวมกับ 1 กิโลกรัม ผลบวกจะมากกว่า 6 กิโลกรัม ครูอาจยกตัวอย่างเพิ่มเติม ดังนี้
ในถุงมีส้ม 2 กิโลกรัม 6 ขีด ขุนหยิบส้มใส่ถุงเพิ่มอีก 8 ขีด มีส้มในถุงกี่กิโลกรัม กี่ขีด

วิธีทำ� กิโลกรัม ขีด


ในถุงมีส้ม 2 6 +
หยิบส้มใส่ถุงเพิ่มอีก 8
มีส้มในถุง 2 14
หรือ 3 4
ครูแนะนำ�เพิ่มเติมว่า ผลบวกที่ได้ในหน่วยขีดมากกว่า 10 ต้องทด 1 สิบ หรือ 1 กิโลกรัม
ไปรวมกับผลบวกในหน่วยกิโลกรัม เพราะ 10 ขีด เท่ากับ 1 กิโลกรัม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  163
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก

2. ครูติดบัตรโจทย์ปัญหา แม่ค้ามีผักกาด หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

14 กิโลกรัม 7 ขีด ขายไป 5 กิโลกรัม 9 ขีด แม่ค้าเหลือ แม่ค้�มีผักก�ด 14 กิโลกรัม 7 ขีด ข�ยไป 5 กิโลกรัม 9 ขีด แม่ค้�เหลือ
ผักก�ดกี่กิโลกรัม กี่ขีด
ผักกาดกีก่ โิ ลกรัม กีข่ ด
ี ครูให้นกั เรียนช่วยกันวิเคราะห์โจทย์วา
่ โจทย์ถาม แม่ค้�เหลือผักก�ดกี่กิโลกรัม กี่ขีด

โจทย์ถามอะไร โจทย์บอกอะไร นักเรียนควรบอกได้ว่า


โจทย์บอก แม่ค้�มีผักก�ด 14 กิโลกรัม 7 ขีด ข�ยไป 5 กิโลกรัม 9 ขีด

ห�คำ�ตอบได้อย่�งไร
นำ�น้ำ�หนักม�ลบกัน

สิ่งที่โจทย์ถามคือ แม่ค้าเหลือผักกาดกี่กิโลกรัม กี่ขีด เขียนแสดงวิธีห�ผลบวกได้ดังนี้

สิ่งที่โจทย์บอกคือ แม่ค้ามีผักกาด 14 กิโลกรัม 7 ขีด


วิธีทำา

แม่ค้�มีผักก�ด
กิโลกรัม
13
14
ขีด
17 1 กิโลกรัม เท่�กับ 10 ขีด
7 14 กิโลกรัม 7 ขีด จึงเท่�กับ 13 กิโลกรัม 17 ขีด

ขายไป 5 กิโลกรัม 9 ขีด ครูถามว่า หาคำ�ตอบได้อย่างไร ข�ยไป
เหลือผักก�ด
5
8
9
8

นักเรียนควรตอบได้ว่า นำ�น้ำ�หนักมาลบกัน ตอบ แม่ค้�เหลือผักก�ด ๘ กิโลกรัม ๘ ขีด

ครูแนะนำ�การเขียนแสดงวิธีหาคำ�ตอบ ดังนี้
8 กิโลกรัม 8 ขีด เป็นคำ�ตอบที่ถูกต้อง เพร�ะ 8 กิโลกรัม 8 ขีด
รวมกับ 5 กิโลกรัม 9 ขีด เท่�กับ 14 กิโลกรัม 7 ขีด

วิธีทำ� กิโลกรัม ขีด เขียนแสดงวิธีหาคำาตอบ

1 ปล�หนัก 3 กิโลกรัม 2 ขีด กุ้งหนัก 2 กิโลกรัม 5 ขีด

ปล�หนักกว่�กุ้งกี่กิโลกรัม กี่ขีด

13 17 2 ในถุงมีส้ม 2 กิโลกรัม 6 ขีด ขุนหยิบส้มใส่ถุงเพิ่มอีก 8 ขีด


ส้มในถุงหนักกี่กิโลกรัม กี่ขีด
แม่ค้ามีผักกาด 14 7
– 230 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ขายไป 5 9 เฉลย
1. วิธีทำ� 2. วิธีทำ�
แม่ค้าเหลือผักกาด 8 8 กิโลกรัม ขีด กิโลกรัม ขีด
2 12
ปลาหนัก 3 2 มีส้ม 2 6
ดังนั้น แม่ค้าเหลือผักกาด 8 กิโลกรัม 8 ขีด กุ้งหนัก 2 5

ขุนหยิบส้มใส่ถุง 8
+

ปลาหนักกว่ากุ้ง 7 เพิ่มส้มในถุงอีก 2 14
ครูให้นักเรียนสังเกตว่า ในหน่วยน้ำ�หนักที่เป็นขีด ตอบ ปลาหนักกว่ากุ้ง 7 ขีด หรือ 3 4

ตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบ ต้องกระจายจาก 14 กิโลกรัม มา ตอบ ส้มในถุงหนัก ๓ กิโลกรัม ๔ ขีด

1 กิโลกรัม หรือ 10 ขีด ไปรวมกับ 7 ขีด ได้ 17 ขีด หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

แล้วจึงนำ�มาลบกับ 9 ขีด สำ�หรับ 14 กิโลกรัม กระจายไปแล้ว แม่ค้�ชั่งมะละกอผลใหญ่กับผลเล็กรวมกันหนัก 3 กิโลกรัม 8 ขีด


ถ้�มะละกอผลเล็กหนัก 1 กิโลกรัม 3 ขีด มะละกอผลใหญ่หนักเท่�ไร

1 กิโลกรัมเหลือ 13 กิโลกรัม แล้วจึงนำ�มาลบกับ 5 กิโลกรัม โจทย์ถาม มะละกอผลใหญ่หนักเท่�ไร


โจทย์บอก แม่ค้�ชั่งมะละกอผลใหญ่กับผลเล็กรวมกันหนัก 3 กิโลกรัม 8 ขีด

ครูให้นักเรียนตรวจสอบคำ�ตอบโดยการนำ� และมะละกอผลเล็กหนัก 1 กิโลกรัม 3 ขีด


ลูกใหญ่กับลูกเล็ก

8 กิโลกรัม 8 ขีด บวกกับ 5 กิโลกรัม 9 ขีด แล้วได้ผลบวก ห�คำ�ตอบได้อย่�งไร 3 กก. 8 ขีด


1 กก. 3 ขีด ?
ลูกเล็ก ลูกใหญ่

เป็น 14 กิโลกรัม 7 ขีด แสดงว่า 8 กิโลกรัม 8 ขีด นำ�น้ำ�หนักม�ลบกัน

เขียนแสดงวิธีห�คำ�ตอบ ดังนี้

เป็นคำ�ตอบที่ถูกต้อง จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกันเขียน
วิธีทำา กิโลกรัม ขีด

แสดงวิธีหาคำ�ตอบ ข้อ 1 และ 2 ในกรอบท้ายหน้า 230 น้ำ�หนักรวม 3 8



มะละกอผลเล็กหนัก 1 3

3. ครูติดบัตรโจทย์ปัญหา แม่ค้าชั่งมะละกอ มะละกอผลใหญ่หนัก 2 5


ตรวจสอบคว�มสมเหตุสมผล
ตอบ มะละกอผลใหญ่หนัก ๒ กิโลกรัม ๕ ขีด

ผลใหญ่กับผลเล็กรวมกันหนัก 3 กิโลกรัม 8 ขีด


ของคำ�ตอบด้วยนะ

เขียนแสดงวิธีหาคำาตอบ

ถ้ามะละกอผลเล็กหนัก 1 กิโลกรัม 3 ขีด มะละกอผลใหญ่ แม่มีมะม่วง 12 กิโลกรัม 7 ขีด แบ่งให้ปู่แล้วเหลือมะม่วง


5 กิโลกรัม 2 ขีด แม่แบ่งมะม่วงให้ปู่กี่กิโลกรัม กี่ขีด

หนักเท่าไร ครูให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์โจทย์ว่า สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 231

โจทย์ถามอะไร โจทย์บอกอะไร นักเรียนควรบอกได้ว่า เฉลย

สิ่งที่โจทย์ถามคือ มะละกอผลใหญ่หนักเท่าไร

วิธีทำ�
แม่มีมะม่วง
กิโลกรัม
12
ขีด
7

แบ่งให้ปู่แล้วเหลือมะม่วง 5 2
แม่แบ่งมะม่วงให้ปู่ 7 5
ตอบ แม่แบ่งมะม่วงให้ปู่ ๗ กิโลกรัม ๕ ขีด

164  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

สิ่งที่โจทย์บอกคือ แม่ค้าชั่งมะละกอผลใหญ่กับผลเล็กรวมกันหนัก 3 กิโลกรัม 8 ขีด ครูถามว่า


หาคำ�ตอบได้อย่างไร นักเรียนอาจจะยังตอบไม่ได้ทันที ครูอธิบายเพิ่มเติมโดยใช้ Bar Model ดังนี้
ครูเขียน Bar Model แสดงน้ำ�หนักรวมของมะละกอผลใหญ่กับผลเล็กดังนี้
ลูกใหญ่กับลูกเล็ก
3 กก. 8 ขีด

จากนั้นเขียน Bar Model แสดงน้ำ�หนักของมะละกอผลเล็ก ดังนี้


ลูกใหญ่กับลูกเล็ก
3 กก. 8 ขีด
1 กก. 3 ขีด ?
ลูกเล็ก ลูกใหญ่
แล้วครูถามนักเรียนว่า จากภาพน้ำ�หนักของมะละกอ
ผลใหญ่ หาได้อย่างไร
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

ตรวจสอบความเข้าใจ

นักเรียนควรตอบได้วา ่ นำ�น้�ำ หนักมะละกอผลใหญ่กบ ั เขียนแสดงวิธีหาคำาตอบ

มะละกอผลเล็กลบด้วยน้�ำ หนักมะละกอผลเล็ก 1 แก้วต�ซื้อส้ม 1 กิโลกรัม 8 ขีด และ ชมพู่ 1 กิโลกรัม 4 ขีด


แก้วต�ซื้อส้มและชมพู่ทั้งหมดกี่กิโลกรัม กี่ขีด

จากนัน ้ ครูและนักเรียนช่วยกันเขียนแสดงวิธหี าคำ�ตอบ 2 ป้�ซื้อกุ้งแห้ง 2 กิโลกรัม 3 ขีด แม่ซื้อกุ้งแห้ง 1 กิโลกรัม 5 ขีด


แม่ซื้อกุ้งแห้งน้อยกว่�ป้�กี่กิโลกรัม กี่ขีด

ตามหนังสือเรียนหน้า 231 ครูให้นักเรียนตรวจสอบคำ�ตอบ 3 ช�วประมงจับปล�ได้ 24 กิโลกรัม 4 ขีด นำ�ไปข�ยที่ตล�ด เหลือปล�

โดยนำ�คำ�ตอบที่ได้รวมกับน้ำ�หนักมะละกอผลเล็ก
18 กิโลกรัม 6 ขีด ช�วประมงข�ยปล�ไปกี่กิโลกรัม กี่ขีด

จะได้เท่ากับน้ำ�หนักของมะละกอผลเล็กกับผลใหญ่รวมกัน
จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกันเขียนแสดง
วิธีหาคำ�ตอบในกรอบท้ายหน้า 231 สิ่งที่ได้เรียนรู้
ก�รแก้โจทย์ปญ
ั ห�ทำ�ได้โดย อ่�นทำ�คว�มเข้�ใจปัญห� ว�งแผนแก้ปญ
ั ห�
ห�คำ�ตอบ และตรวจสอบคว�มสมเหตุสมผลของคำ�ตอบ

การตรวจสอบความเข้าใจ
แบบฝึกหัด 4.10

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยให้นก ั เรียน 232 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เขียนแสดงวิธีหาคำ�ตอบเป็นรายบุคคลตามหนังสือเรียน เฉลย
1. วิธีทำ� กิโลกรัม ขีด
หน้า 232 จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง แก้วตาซื้อส้ม 1 8
+
แก้วตาซื้อชมพู่ 1 4
และสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ หากมีนักเรียนวิเคราะห์โจทย์ปัญหาหรือ แก้วตาซื้อส้มและชมพูดทั้งหมด 2 12
หรือ 3 2
เขียนแสดงวิธีหาคำ�ตอบไม่ได้ ครูควรแก้ไขโดยการให้นักเรียนฝึก ตอบ แก้วตาซื้อส้มและชมพู่ทั้งหมด ๓ กิโลกรัม ๒ ขีด

วิเคราะห์โจทย์ปญั หาและเขียนแสดงวิธห ี าคำ�ตอบกับครูเป็นรายบุคคล 2. วิธีทำ� กิโลกรัม ขีด
1 13
ป้าซื้อกุ้งแห้ง 2 3

แม่ซื้อกุ้งแห้ง 1 5

สิ่งที่ได้เรียนรู้ แม่ซื้อกุ้งแห้งน้อยกว่าป้า 8

• การแก้
ตอบ แม่ซื้อกุ้งแห้งน้อยกว่าป้า ๘ ขีด
โจทย์ปัญหาทำ�ได้โดย อ่านทำ�ความเข้าใจปัญหา
3. วิธีทำ� กิโลกรัม ขีด
วางแผนแก้ปัญหา หาคำ�ตอบและตรวจสอบความสมเหตุสมผล ชาวประมงจับปลาได้
23
24
14
4

นำ�ไปขายที่ตลาดเหลือปลา 18 6
ของคำ�ตอบ ชาวประมงขายปลาไป 5 8

จากนัน
้ ให้นกั เรียนทำ�แบบฝึกหัด 4.10 หน้า 147 - 149 ตอบ ชาวประมงขายปลาไป ๕ กิโลกรัม ๘ ชีด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  165
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก

4.11 โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ (2)


จุดประสงค์
แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบเกี่ยวกับน้ำ�หนัก

สื่อการเรียนรู้
บัตรโจทย์ปัญหาการบวกและบัตรโจทย์ปัญหาการลบ

แนวการจัดการเรียนรู้
การพัฒนาความรู้
1. ครูติดบัตรโจทย์ปัญหา ครูซื้อมันฝรั่ง หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

1 กิโลกรัม 250 กรัม และหอมหัวใหญ่ 750 กรัม


4.11 โจทย์ปญ
ั หาการบวกและโจทย์ปญ
ั หาการลบ (2)
ครูซื้อมันฝรั่งและหอมหัวใหญ่กี่กิโลกรัม กี่กรัม
พัฒนาความรู้
ครูให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์โจทย์ว่า
โจทย์ถามอะไร โจทย์บอกอะไร นักเรียน
ครูซื้อมันฝรั่ง 1 กิโลกรัม 250 กรัม และหอมหัวใหญ่ 750 กรัม
ครูซื้อมันฝรั่งและหอมหัวใหญ่กี่กิโลกรัม กี่กรัม

ควรบอกได้ว่า โจทย์ถาม ครูซื้อมันฝรั่งและหอมหัวใหญ่กี่กิโลกรัม กี่กรัม


โจทย์บอก ครูซื้อมันฝรั่ง 1 กิโลกรัม 250 กรัม และหอมหัวใหญ่ 750 กรัม
สิ่งที่โจทย์ถามคือ ครูซื้อมันฝรั่งและ
ห�คำ�ตอบได้อย่�งไร

หอมหัวใหญ่กี่กิโลกรัม กี่กรัม นำ�น้ำ�หนักม�บวกกัน

สิ่งที่โจทย์บอกคือ ครูซื้อมันฝรั่ง วิธีทำา กิโลกรัม กรัม

1 กิโลกรัม 250 กรัม และหอมหัวใหญ่ มันฝรั่งหนัก 1 250


+
หอมหัวใหญ่หนัก 750
750 กรัม ครูถามว่า หาคำ�ตอบได้อย่างไร น้ำ�หนักรวม 1 1000
1000 กรัม เท่�กับ 1 กก.

นักเรียนควรตอบได้ว่า นำ�น้ำ�หนักมาบวกกัน หรือ 2


ตอบ ครูซื้อมันฝรั่งและหอมหัวใหญ่ ๒ กิโลกรัม
0

ครูแนะนำ�การเขียนแสดงวิธีหาคำ�ตอบ ดังนี้
2 กิโลกรัม เป็นคำ�ตอบที่สมเหตุสมผล เพร�ะ มีมันฝรั่งน้อยกว่�
2 กิโลกรัม และมีหอมหัวใหญ่น้อยกว่� 1 กิโลกรัม

กิโลกรัม กรัม ดังนั้น น้ำ�หนักรวมควรน้อยกว่� 3 กิโลกรัม

มันฝรั่งหนัก 1 250 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 233

+
หอมหัวใหญ่หนัก 750
น้ำ�หนักรวม 1 1000
หรือ 2 0

ดังนั้น ครูซื้อมันฝรั่งและหอมหัวใหญ่ 2 กิโลกรัม


ครูเน้นย้ำ�การตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำ�ตอบว่า 1 กิโลกรัม 250 กรัม
มากกว่า 1 กิโลกรัม เมื่อรวมกับ 750 กรัม ผลบวกจะมากกว่า 1 กิโลกรัม
ครูแนะนำ�เพิ่มเติมว่า ผลบวกที่ได้ในหน่วยกรัมเท่ากับ 1,000 ต้องทด 1,000 กรัม
หรือ 1 กิโลกรัม ไปรวมกับผลบวกในหน่วยกิโลกรัม เพราะ 1,000 กรัม เท่ากับ 1 กิโลกรัม

166  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

2. ครูติดบัตรโจทย์ปัญหา แม่มีน้ำ�ตาลทราย
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

แม่มีน้ำ�ต�ลทร�ย 2 กิโลกรัม ใช้ทำ�ขนม 450 กรัม แม่เหลือน้ำ�ต�ลทร�ย

2 กิโลกรัม ใช้ทำ�ขนม 450 กรัม แม่เหลือน้ำ�ตาลทราย


กี่กิโลกรัม กี่กรัม

โจทย์ถาม แม่เหลือน้ำ�ต�ลทร�ยกี่กิโลกรัม กี่กรัม

กี่กิโลกรัม กี่กรัม ครูให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์โจทย์ว่า โจทย์บอก แม่มีน้ำ�ต�ลทร�ย 2 กิโลกรัม ใช้ทำ�ขนม 450 กรัม

ห�คำ�ตอบได้อย่�งไร

โจทย์ถามอะไร โจทย์บอกอะไร นักเรียนควรบอกได้ว่า


นำ�น้ำ�หนักม�ลบกัน

สิง่ ทีโ่ จทย์ถามคือ แม่เหลือน้�ำ ตาลทรายกีก่ โิ ลกรัม กีก่ รัม


วิธีทำา กิโลกรัม
1
2
กรัม

0
1000
1 กิโลกรัม เท่�กับ 1,000 กรัม
2 กิโลกรัม จึงเท่�กับ 1 กิโลกรัม 1,000 กรัม

สิ่งที่โจทย์บอกคือ แม่มีน้ำ�ตาลทราย 2 กิโลกรัม



0 450
กิโลกรัม
1 550

ใช้ทำ�ขนม 450 กรัม ครูถามว่า หาคำ�ตอบได้อย่างไร ตอบ แม่เหลือน้ำ�ต�ลทร�ย ๑ กิโลกรัม ๕๕๐ กรัม


2

นักเรียนควรตอบได้ว่า นำ�น้ำ�หนักมาลบกัน ครูแนะนำ� 1 กิโลกรัม 550 กรัม เป็นคำ�ตอบที่ถูกต้อง


1
เพร�ะ 1 กิโลกรัม 550 กรัม รวมกับ 450 กรัม เท่�กับ 2 กิโลกรัม

การเขียนแสดงวิธีหาคำ�ตอบ ดังนี้ เขียนแสดงวิธีหาคำาตอบ

1 ถั่วแดงหนัก 1 กิโลกรัม 800 กรัม ถั่วเขียวหนัก 2 กิโลกรัม


กิโลกรัม กรัม ถัว่ เขียวหนักม�กกว่�ถั่วแดงกี่กิโลกรัม กี่กรัม
2 พริกแห้งหนัก 3 กิโลกรัม 300 กรัม กระเทียมหนักม�กกว่�พริกแห้ง

1 1,000
600 กรัม กระเทียมหนักกี่กิโลกรัม กี่กรัม

– 234 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แม่มีน้ำ�ตาลทราย 2 0 เฉลย
ใช้ทำ�ขนม 450 1. วิธีทำ�
ถั่วเขียวหนัก
กิโลกรัม กรัม
2
1 1,000
0
800 −
แม่เหลือน้ำ�ตาลทราย 1 550 ถั่วแดงหนัก
ถั่วเขียวหนักกว่าถั่วแดง
1
200

ดังนั้น แม่เหลือน้ำ�ตาลทราย 1 กิโลกรัม 550 กรัม ตอบ ถั่วเขียวหนักกว่าถั่วแดง ๒๐๐ กรัม


ครูให้นักเรียนสังเกตว่า ในหน่วยน้ำ�หนักที่เป็นกรัม 2. วิธีทำ�


พริกแห้งหนัก
กิโลกรัม กรัม
3 300
กระเทียมหนักกว่าพริกแห้ง 600+
ตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบ ต้องกระจายจาก 2 กิโลกรัม กระเทียมหนัก 3 900
ตอบ กระเทียมหนัก ๓ กิโลกรัม ๙๐๐ กรัม
มา 1 กิโลกรัม หรือ 1,000 กรัม แล้วจึงนำ�มาลบกับ
450 กรัม สำ�หรับ 2 กิโลกรัม กระจายไปแล้ว 1 กิโลกรัม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

เหลือ 1 กิโลกรัม แม่มีแป้งส�ลี 750 กรัม ต้องซื้อม�เพิ่มอีกกี่กิโลกรัม กี่กรัม แม่จึงจะมีแป้งส�ลี


2 กิโลกรัม

ครูให้นักเรียนตรวจสอบคำ�ตอบโดยการนำ�คำ�ตอบ โจทย์ถาม
โจทย์บอก
ต้องซื้อม�เพิ่มอีกกี่กิโลกรัม กี่กรัม
แม่มีแป้งส�ลี 750 กรัม ต้องก�รมีแป้งส�ลี 2 กิโลกรัม

ที่ได้บวกกับ 450 กรัม แล้วได้ผลบวกเท่ากับ 2 กิโลกรัม ห�คำ�ตอบได้อย่�งไร


1000 กรัม
ต้องก�ร
1000 กรัม

แสดงว่าคำ�ตอบที่ได้เป็นคำ�ตอบที่ถูกต้อง จากนั้นครู
750 กรัม ?
นำ�น้ำ�หนักม�ลบกัน มีอยู่ ซื้อเพิ่ม

ให้นักเรียนช่วยกันเขียนแสดงวิธีหาคำ�ตอบ ข้อ 1 และ 2


เขียนแสดงวิธีห�คำ�ตอบ ดังนี้

ในกรอบท้ายหน้า 234
วิธีทำา กิโลกรัม กรัม
1 1000
2 0 1 กิโลกรัม เท่�กับ 1,000 กรัม
− 2 กิโลกรัม จึงเท่�กับ 1 กิโลกรัม 1,000 กรัม

3. ครูติดบัตรโจทย์ปัญหา แม่มีแป้งสาลี 750 กรัม


1
750
250

ต้องซื้อมาเพิ่มอีกกี่กิโลกรัม กี่กรัม แม่จึงจะมีแป้งสาลี ตอบ แม่ต้องซื้อแป้งส�ลีม�เพิ่มอีก ๑ กิโลกรัม ๒๕๐ กรัม

ตรวจสอบคว�มสมเหตุสมผลของคำ�ตอบด้วยนะ

2 กิโลกรัม ครูให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์โจทย์ว่า เขียนแสดงวิธีหาคำาตอบ

โจทย์ถามอะไร โจทย์บอกอะไร นักเรียนควรบอกได้ว่า เดิมลุงมีเผือกอยู่เท่�ไร เมื่อข�ยไปแล้ว 14 กิโลกรัม 400 กรัม


เหลือเผือก 5 กิโลกรัม 600 กรัม

สิ่งที่โจทย์ถามคือ ต้องซื้อมาเพิ่มอีกกี่กิโลกรัม กี่กรัม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 235

เฉลย
สิ่งที่โจทย์บอกคือ แม่มีแป้งสาลี 750 กรัม ต้องการ วิธีทำ� กิโลกรัม กรัม
ลุงขายเผือกไปแล้ว 14 400
มีแป้งสาลี 2 กิโลกรัม ครูถามว่า หาคำ�ตอบได้อย่างไร นักเรียน เหลือเผือก 5 600 +
เดิมลุงมีเผือกอยู่ 19 1,000
อาจจะยังตอบไม่ได้ทันที ครูอธิบายเพิ่มเติมโดยใช้ Bar Model ดังนี้ หรือ 20 0
ตอบ เดิมลุงมีเผือกอยู่ ๒๐ กิโลกรัม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  167
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก

ครูเขียน Bar Model แสดงน้ำ�หนักของแป้งสาลีที่แม่ต้องการ ดังนี้


ต้องการ
1,000 กรัม 1,000 กรัม

จากนั้นเขียน Bar Model แสดงน้ำ�หนักของแป้งสาลีที่แม่มีอยู่ ดังนี้


ต้องการ
1,000 กรัม 1,000 กรัม
750 กรัม ?
มีอยู่ ซื้อเพิ่ม
แล้วครูถามนักเรียนว่า จากภาพน้ำ�หนักของแป้งสาลีที่แม่ต้องซื้อมาเพิ่มอีก หาได้อย่างไร
นักเรียนควรตอบได้ว่า นำ�น้ำ�หนักของแป้งสาลีที่แม่ต้องต้องการลบด้วยน้ำ�หนักของแป้งสาลีที่แม่มีอยู่
จากนั้น ครูและนักเรียนช่วยกันเขียนแสดงวิธีหาคำ�ตอบ ตามหนังสือเรียนหน้า 235
ครูให้นักเรียนตรวจสอบคำ�ตอบโดยนำ� คำ�ตอบทีไ่ ด้รวมกับน้�ำ หนักของแป้งสาลีทแ่ี ม่มอ ี ยู่ จะได้เท่ากับ
น้�ำ หนักของแป้งสาลีทแ่ี ม่ตอ
้ งการ
จากนัน
้ ครูให้นก
ั เรียนช่วยกันเขียนแสดงวิธห
ี าคำ�ตอบ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

ในกรอบท้ายหน้า 235 ตรวจสอบความเข้าใจ


เขียนแสดงวิธีหาคำาตอบ

การตรวจสอบความเข้าใจ 1 แม่ซื้อทุเรียน 2 ผล ผลแรกหนัก 3 กิโลกรัม 250 กรัม ผลที่สองหนัก


2 กิโลกรัม 800 กรัม ทุเรียนสองผลหนักรวมกันเป็นกี่กิโลกรัม กี่กรัม

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน 2 แม่มีข้�วส�ร 500 กรัม ต้องซื้อม�เพิ่มอีกกี่กิโลกรัม กี่กรัม


แม่จึงจะมีข้�วส�ร 5 กิโลกรัม

โดยให้นักเรียนเขียนแสดงวิธีหาคำ�ตอบเป็นรายบุคคล
ตามหนังสือเรียนหน้า 236 จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกัน
ตรวจสอบความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ 4 กิโลกรัม 500 กรัม

หากมีนักเรียนวิเคราะห์โจทย์ปัญหาหรือเขียนแสดง
วิธีหาคำ�ตอบไม่ได้ ครูควรแก้ไขโดยการให้นักเรียน
สิ่งที่ได้เรียนรู้
ก�รแก้โจทย์ปัญห�ทำ�ได้โดย อ่�นทำ�คว�มเข้�ใจปัญห� ว�งแผนแก้ปัญห�
ห�คำ�ตอบ และตรวจสอบคว�มสมเหตุสมผลของคำ�ตอบ
ฝึกวิเคราะห์โจทย์ปัญหาและเขียนแสดงวิธีหาคำ�ตอบกับครู
เป็นรายบุคคล แบบฝึกหัด 4.11

236 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สิ่งที่ได้เรียนรู้ เฉลย

• การแก้

1. วิธีทำ� กิโลกรัม กรัม
โจทย์ปัญหาทำ�ได้โดย อ่านทำ�ความเข้าใจปัญหา ทุเรียนผลเรียกหนัก 3 250 1,000 กรัม
+
วางแผนแก้ปัญหา หาคำ�ตอบและตรวจสอบ ทุเรียนผลที่สองหนัก
ทุเรียนสองผลหนักรวมกัน 5
2 800
1,050
กับ 50 กรัม

ความสมเหตุสมผลของคำ�ตอบ หรือ 6 50
ตอบ ทุเรียนสองผลหนักรวมกันเป็น ๖ กิโลกรัม ๕๐ กรัม
จากนัน
้ ให้นกั เรียนทำ�แบบฝึกหัด 4.11 หน้า 150 - 152
2. วิธีทำ� กิโลกรัม กรัม
4 1,000
แม่ต้องการมีข้าวสาร 5 0

แม่มีข้าวสาร 500
แม่ต้องซื้อมาเพิ่มอีก 4 500
ตอบ แม่ต้องซื้อข้าวสารมาเพิ่มอีก ๔ กิโลกรัม ๕๐๐ กรัม

168  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

ร่วมคิดร่วมทำ� หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

กิจกรรม ถุงทรายเจ้าปัญหา ร่วมคิดร่วมทำา

อุปกรณ์
กิจกรรม ถุงทร�ยเจ้�ปัญห�
อุปกรณ์ 1. ถุงทร�ยที่มีน้ำ�หนักหล�กหล�ย โดยถุงทร�ยไม่ติดป้�ยน้ำ�หนัก เช่น

−− ถุงทรายที่มีน้ำ�หนักหลากหลาย เช่น
5 ขีด 8 ขีด 1 กิโลกรัม 1 ขีด 1 กิโลกรัม 2 ขีด 1 กิโลกรัม
2. บัตรกำ�หนดน้ำ�หนัก เช่น 2 กิโลกรัม 3 ขีด 500 กรัม 8 ขีด
3. เครื่องชั่งสปริง 4. แบบบันทึกกิจกรรม
5 ขีด 8 ขีด 1 กิโลกรัม 1 กิโลกรัม 1 ขีด วิธีจัดกิจกรรม
1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มหยิบบัตรกำ�หนดน้ำ�หนัก
1 กิโลกรัม 2 ขีด ให้มีจำ�นวนเพียงพอสำ�หรับ ที่ว�งคว่ำ�ไว้ กลุ่มละ 1 ใบ แล้วหยิบถุงทร�ยม�ชั่ง กี่ถุงก็ได้ต�มที่คิดว่�
จะได้น้ำ�หนักเท่�กับน้ำ�หนักในบัตรกำ�หนดน้ำ�หนัก แล้วบันทึกผลใน
การชั่งน้ำ�หนักตามบัตรกำ�หนดน้ำ�หนัก แบบบันทึกกิจกรรม
2. ครูให้ทำ�กิจกรรมทำ�นองเดียวกับข้อ 1 อีกครั้ง
−− บัตรกำ�หนดน้ำ�หนัก เช่น
แบบบันทึกกิจรรม
ขีด ใน และเติมคำ�ตอบ

2 กิโลกรัม 3 ขีด 500 กรัม


ครั้งที่ น้ำาหนักในบัตร น้ำาหนักที่ชั่งได้ เปรียบเทียบ

น้ำ�หนักที่ชั่งได้น้อยกว่�น้ำ�หนักในบัตรอยู่ .........
1
........................ ........................ น้ำ�หนักที่ชั่งได้ม�กกว่�น้ำ�หนักในบัตรอยู่ .........

8 ขีด 2 กิโลกรัม 100 กรัม


น้ำ�หนักที่ชั่งได้น้อยกว่�น้ำ�หนักในบัตรอยู่ .........
2
........................ ........................ น้ำ�หนักที่ชั่งได้ม�กกว่�น้ำ�หนักในบัตรอยู่ .........

เติมคำาตอบ

ชั่งครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 น้ำ�หนักรวมกันได้ ........................................................................


−− เครื่องชั่งสปริง
−− แบบบันทึกกิจกรรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 237

เตรียมสถานที่
ห้องโล่ง โดยจัดโต๊ะสำ�หรับวางถุงทราย จัดโต๊ะสำ�หรับวางบัตรกำ�หนดน้ำ�หนักโดยวางคว่ำ�ไว้
และจัดโต๊ะสำ�หรับวางเครื่องชั่ง
วิธีจัดกิจกรรม
1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสุ่มหยิบบัตรกำ�หนด
น้ำ�หนักกลุ่มละ 1 ใบ
2. เมื่อได้บัตรกำ�หนดน้ำ�หนักแล้วให้ไปหยิบถุงทรายมาชั่งกี่ถุงก็ได้ตามที่คิดว่า จะได้น้ำ�หนัก
เท่ากับน้ำ�หนักในบัตรกำ�หนดน้ำ�หนัก แล้วบันทึกลงในแบบบันทึกกิจกรรม
3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำ�กิจกรรมทำ�นองเดียวกันอีก 1 ครั้ง แล้วบันทึกลงในแบบบันทึก
กิจกรรมพร้อมทั้งเติมคำ�ตอบ
4. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำ�เสนอแบบบันทึกกิจกรรมหน้าชั้นเรียน ครูและนักเรียนช่วยกัน
ตรวจสอบความถูกต้อง
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกท้าทายหน้า 153

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  169
คู่มือครูร�ยวิช�พื้นฐ�นคณิตศ�สตร์
ชั้นประถมศึกษ�ปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

ตัวอย่างแบบทดสอบท้ายบท

แบบทดสอบนี้ใช้ในก�รประเมินผลระหว่�งเรียนเพื่อพัฒน�นักเรียน ห�กมีนักเรียนคนใด
ที่ไม่ส�ม�รถทำ�แบบทดสอบนี้ได้ ครูควรให้นักเรียนคนนั้นฝึกทักษะม�กขึ้นโดยอ�จใช้แบบฝึกเสริม
ในหนังสือเสริมเพิ่มปัญญ�ของสสวท.หรือแบบฝึกอื่นต�มที่เห็นสมควร ก่อนสอบครูอ�จทบทวน
คว�มรู้ให้กับนักเรียนก่อน 20-30 น�ที ซึ่งแบบทดสอบท้�ยบทนี้มีจำ�นวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม
10 คะแนน ใช้เวล�ในก�รทำ�แบบทดสอบ 20 น�ที และ วิเคร�ะห์เป็นร�ยจุดประสงค์ได้ดังนี้

จุดประสงค์ ข้อที่

1. วัดและบอกน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด 1,2,3,4

2. เปรียบเทียบน้ำ�หนักโดยใช้คว�มสัมพันธ์ระหว่�งกิโลกรัมกับกรัม
5,8,9
กิโลกรัมกับขีด

3. แสดงวิธีห�คำ�ตอบของโจทย์ปัญห�เกี่ยวกับน้ำ�หนักที่มีหน่วยเป็น
6,7,10
กิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด

ตัวอย่างแบบทดสอบท้ายบทที่ 4
เขียนคำาตอบ

1. ทุเรียนหนัก ..................... กิโลกรัม ..................... ขีด

2. น้ำ�หนัก ..................... กิโลกรัม ..................... ขีด

3. น้ำ�ต�ลทร�ยหนัก ..................... กรัม

170 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูร�ยวิช�พื้นฐ�นคณิตศ�สตร์
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก ชั้นประถมศึกษ�ปีที่ 2 เล่ม 1

4. ผักก�ดข�วหนัก ..................... กิโลกรัม ..................... กรัม

5. ปล�หนัก 18 ขีด เท่�กับ ปล�หนัก ..................... กิโลกรัม ..................... ขีด

6. 5 กิโลกรัม 5 ขีด กับ 5 กิโลกรัม 3 ขีด รวมเป็น ..................... กิโลกรัม ..................... ขีด

7. 3 กิโลกรัม 150 กรัม น้อยกว่� 5 กิโลกรัม 350 กรัม อยู่ ................ กิโลกรัม ................ กรัม

เติมคำาว่า มากกว่า น้อยกว่า หรือ เท่ากับ

8. 3 กิโลกรัม 8 ขีด ..................... 3 กิโลกรัม 700 กรัม

9. ผักก�ดหนัก 1 กิโลกรัม 500 กรัม ..................... ต้นหอมหนัก 18 ขีด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 171
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 4 | การวัดน้ำ�หนัก

10. แสดงวิธีหาคำ�ตอบ

แม่ค้าขายปลาไป 4 กิโลกรัม 800 กรัม เหลือปลา 2 กิโลกรัม 200 กรัม


เดิมแม่ค้ามีปลากี่กิโลกรัม กี่กรัม
วิธีทำ�
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................

เฉลยแบบทดสอบท้ายบทที่ 4
1. 2 กิโลกรัม 4 ขีด
2. 42 กิโลกรัม 8 ขีด
3. 500 กรัม
4. 2 กิโลกรัม 300 กรัม
5. 1 กิโลกรัม 8 ขีด
6. 10 กิโลกรัม 8 ขีด
7. 2 กิโลกรัม 200 กรัม
8. มากกว่า
9. น้อยกว่า
10. วิธีทำ� กิโลกรัม กรัม
แม่ค้าขายปลาไป 4 800
+
เหลือปลา 2 200
เดิมแม่ค้ามีปลา 6 1000
หรือ 7 0
ตอบ เดิมแม่ค้ามีปลาทั้งหมด ๗ กิโลกรัม

172  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 5 | การคูณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

บทที่ 5 การคูณ

จุดประสงค์การเรียนรู้และสาระสำ�คัญ

จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำ�คัญ

นักเรียนสามารถ

1. หาผลคูณในประโยคสัญลักษณ์แสดง
การคูณของจำ�นวน 1 หลักกับจำ�นวน
• สหรืง่ิ ต่อาแต่ง ๆละแถวมี
ทีจ่ ด
ั เป็นกลุม
่ หรือเป็นแถวทีแ่ ต่ละกลุม
จำ�นวนสมาชิกเท่ากัน

ไม่เกิน 2 หลัก สามารถเขียนในรูปการคูณของจำ�นวน


(หัวข้อ 5.1-5.11) สองจำ�นวน คือ จำ�นวนกลุม ่ หรือจำ�นวนแถว
คูณกับจำ�นวนสมาชิกในแต่ละกลุ่ม
หรือจำ�นวนสมาชิกในแต่ละแถว ผลคูณ
ของจำ�นวนสองจำ�นวนนั้น คือ จำ�นวน
สมาชิกทั้งหมด

• จำ�นวนใดคูณกับ 1 ผลคูณเท่ากับจำ�นวนนั้น
และจำ�นวนใดคูณกับ 0 ผลคูณเท่ากับ 0

• การคูณจำ�นวน 1 หลักกับจำ�นวน 1 หลัก


หาผลคูณโดยใช้สูตรคูณแม่ 2 แม่ 3 แม่ 4
แม่ 5 แม่ 6 แม่ 7 แม่ 8 หรือแม่ 9

• จำ�นวน 1 หลัก คูณกับ 10 20 30 40 50


60 70 80 90 หาผลคูณโดยนำ�จำ�นวน
1 หลักนั้นคูณกับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9
ตามลำ�ดับ แล้วเติม 0 ต่อท้าย
• การหาผลคูณของจำ�นวน 1 หลักกับจำ�นวน
2 หลักโดยการตั้งคูณ ต้องคูณในหลักหน่วย
ก่อน แล้วคูณในหลักสิบ ถ้าผลคูณในหลักใด
ครบสิบ หรือมากกว่าสิบ ให้ทดจำ�นวน
ที่ครบสิบไปหลักถัดไปทางซ้าย

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  173
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 5 | การคูณ

จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำ�คัญ

นักเรียนสามารถ

• ความรู ้สึกเชิงจำ�นวนเกี่ยวกับการคูณเป็นการ
บอกว่าผลคูณของจำ�นวนสองจำ�นวนใดมีค่า
มากกว่ากัน น้อยกว่ากัน หรือเท่ากัน
โดยไม่ต้องหาผลคูณของสองจำ�นวนนั้น

2. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์
แสดงการคูณของจำ�นวน 1 หลักกับจำ�นวน
• การหาค่ าของตัวไม่ทราบค่าในประโยค
สัญลักษณ์การคูณ อาจใช้สูตรคูณ
ไม่เกิน 2 หลัก
(หัวข้อ 5.12)

3. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาการคูณ
(หัวข้อ 5.13-5.14)
• การแก้ โจทย์ปัญหาทำ�ได้โดย
อ่านทำ�ความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา
หาคำ�ตอบ และตรวจสอบความสมเหตุสมผล
ของคำ�ตอบ

4. สร้างโจทย์ปัญหาการคูณ
(หัวข้อ 5.15-5.16)
• การสร้างโจทย์ปญ
ั หาต้องมีทง้ั ส่วนทีโ่ จทย์บอก
และส่วนที่โจทย์ถาม นอกจากนี้โจทย์ปัญหา
ที่สร้างต้องมีความเป็นไปได้

174  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 5 | การคูณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

การวิเคราะห์เนื้อหากับทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

ทักษะและกระบวนการ
เวลา ทางคณิตศาสตร์
หัวข้อ เนื้อหา
(ชั่วโมง)
1 2 3 4 5

เตรียมความพร้อม 1
5.1 ความหมายของการคูณ (1) 1
5.2 ความหมายของการคูณ (2) 1
5.3 หนึ่งและศูนย์กับการคูณ 1
5.4 การคูณจำ�นวนหนึง่ หลักกับจำ�นวนหนึง่ หลัก (1) 1
5.5 การคูณจำ�นวนหนึง่ หลักกับจำ�นวนหนึง่ หลัก (2) 1
5.6 การคูณจำ�นวนหนึง่ หลักกับจำ�นวนหนึง่ หลัก (3) 1
5.7 การคูณจำ�นวนหนึง่ หลักกับจำ�นวนหนึง่ หลัก (4) 1
5.8 การคูณจำ�นวนหนึง่ หลักกับ 10 20 30 ... 90 1
การคูณจำ�นวนหนึ่งหลักกับจำ�นวนสองหลัก
5.9 1
โดยการตั้งคูณ (1)
การคูณจำ�นวนหนึ่งหลักกับจำ�นวนสองหลัก
5.10 1
โดยการตั้งคูณ (2)
5.11 การพัฒนาความรูส้ กึ เชิงจำ�นวนเกีย่ วกับการคูณ 1
5.12 การหาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์การคูณ 2
5.13 โจทย์ปัญหาการคูณ (1) 2
5.14 โจทย์ปัญหาการคูณ (2) 2
5.15 การสร้างโจทย์ปัญหาการคูณจากภาพ 1
5.16 การสร้างโจทย์ปญ
ั หาการคูณจากประโยคสัญลักษณ์ 1
ร่วมคิดร่วมทำ� 1

1  การแก้ปัญหา 2  การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
3  การเชื่อมโยง 4  การให้เหตุผล 5  การคิดสร้างสรรค์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  175
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 5 | การคูณ

คำ�สำ�คัญ
การคูณ ประโยคสัญลักษณ์การคูณ เครือ่ งหมายคูณ ผลคูณ สูตรคูณ การตัง้ คูณ โจทย์ปญ
ั หาการคูณ
จำ�นวนกลุม
่ จำ�นวนแถว จำ�นวนสมาชิกในแต่ละกลุม ่ จำ�นวนสมาชิกในแต่ละแถว จำ�นวนสมาชิกทัง้ หมด

ความรู้หรือทักษะพื้นฐานของนักเรียน
1. การเชื่อมโยง การแก้โจทย์ปัญหา และการคิดวิเคราะห์
2. การบวกจำ�นวนไม่เกิน 1,000
3. การบวกจำ�นวนเดียวกันซ้ำ� ๆ
4. การนับเพิ่มทีละ 2
5. การนับเพิ่มทีละ 5
6. การนับเพิ่มทีละ 10

สื่อและแหล่งเรียนรู้
1 หนังสือเรียน หน้า 238 − 305
2. แบบฝึกหัด หน้า 154 − 196
3. แบบบันทึกกิจกรรม ใบกิจกรรม บัตรภาพต่าง ๆ และอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ทีใ่ ช้ประกอบกิจกรรม ดังนี้


บัตรภาพแสดงผลไม้ที่จัดเป็นกลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน


สื่อของจริง เช่น ตัวนับ ปากกา ดินสอ


บัตรภาพ


กระดาษจุด


แผ่นตารางสิบ แผ่นตารางหน่วย


บัตรโจทย์การคูณ


ตารางสูตรคูณแม่ 2 − 9


กระดานบิงโกขนาด 3 × 3


บัตรโจทย์ 9 ถึง 10 ใบ


เบี้ย 2 สี สีละ 9 อัน


ใบกิจกรรม แบบบันทึกกิจกรรม
4. สื่อเพิ่มเติม หน้า 240 241 247 253 254 257 258 261 262 265 266
และ 305
5. สื่อวีดิทัศน์ (QR code)


แถวแนวนอนและแถวแนวตั้ง หน้า 245

เวลาที่ใช้จัดการเรียนรู้ 22 ชั่วโมง
176  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 5 | การคูณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

การจัดการเรียนรู้
การเตรียมความพร้อม

่ 5
บทที การคูณ

เรียนจบบทนี้แล้ว นักเรียนสามารถ

หาผลคูณในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของจำานวน

1 หลักกับจำานวนไม่เกิน 2 หลัก
หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณ
ของจำานวน 1 หลักกับจำานวนไม่เกิน 2 หลัก
แสดงวิธีหาคำาตอบของโจทย์ปัญหาการคูณ
สื่อเพิ่มเติม สร้างโจทย์ปัญหาการคูณ

เขียนประโยคสัญลักษณ์การคูณ
แสดงจำานวนของสิ่งต่าง ๆ ได้อย่างไร

1. ใช้ข้อมูลในหนังสือเรียนหน้าเปิดบทที่เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับการไปปิกนิกกับครอบครัว
ที่สวนสาธารณะ โดยครูอาจเล่าว่า มีกิจกรรมให้ร่วมสนุกกันหลายอย่างเช่น นั่งเรือจักรยานน้ำ�
นำ�อาหารมารับประทานร่วมกัน เป็นต้น เพื่อกระตุ้นความสนใจของนักเรียนเกี่ยวกับกิจกรรมต่าง ๆ
โดยใช้คำ�ถาม เช่น ใครเคยไปปิกนิกกับครอบครัวบ้าง เคยไปที่ไหน มีกิจกรรมที่ทำ�ร่วมกันอะไรบ้าง
และให้นักเรียนสังเกตจำ�นวนคน จำ�นวนสิ่งของที่มีในภาพว่ามีลักษณะอย่างไรบ้าง
จากนั้นครูให้นักเรียนสังเกตภาพในหนังสือเรียนหน้าเปิดบทว่าเป็นกิจกรรมปิกนิก
ของครอบครัวขุน แก้วตา ต้นกล้า และใบบัว แล้วใช้คำ�ถามนำ�เข้าสู่บทเรียนเรื่องการคูณว่า
ถ้าต้องการทราบว่า มีคนนั่งเรือจักรยานน้ำ�กี่คน จะหาคำ�ตอบได้อย่างไร หรือถ้าต้องการทราบว่า
มีลูกชิ้นทั้งหมดที่วางในจานกี่ไม้ และมีลูกชิ้นทั้งหมดกี่ลูก จะหาคำ�ตอบได้อย่างไร นักเรียนอาจ
หาคำ�ตอบโดยการนำ�จำ�นวนมาบวกกัน หรือโดยการนับรวมกัน ครูแนะนำ�ว่ามีอีกวิธีหนึ่ง
ที่จะช่วยในการหาคำ�ตอบได้ โดยใช้การคูณ ซึ่งจะใช้ความรู้ในบทที่จะเรียนนี้ในการหาคำ�ตอบ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  177
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 5 | การคูณ

2. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

ภาพผลไม้ต่าง ๆ ที่แม่ค้าขายที่สวนสาธารณะ
บทที่ 5 | การคูณ

เตรียมความพร้อม
ในหน้าเปิดบทว่า แม่ค้าจัดผลไม้ในลักษณะ กิจกรรม การบวกซ้ำา ๆ ของจำานวนเดียวกัน

อย่างไร และจะหาจำ�นวนผลไม้ทั้งหมด อุปกรณ์ 1. ใบกิจกรรม


2. บัตรภาพแสดงผลไม้ที่จัดเป็นกลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน เช่น
ได้อย่างไร นักเรียนอาจใช้วิธีการนำ�จำ�นวนผลไม้
มาบวกกัน โดยเป็นการบวกจำ�นวนเดียวกันซ้ำ� ๆ
เช่น ภาพส้มในหน้าเปิดบทมี 6 แพ็ก วิธีจัดกิจกรรม
1. ครูชูบัตรภาพ ให้นักเรียนบอกว่า ผลไม้ในบัตรภาพมีจำานวนเท่าไร
แต่ละแพ็กมี 3 ผล ดังนั้น มีส้มทั้งหมด

ให้นักเรียนเขียนแสดงจำานวนผลไม้ในบัตรภาพโดยการบวก เช่น
มีแอปเปิล 4 + 4 + 4 + 4 + 4 = 20 ผล

3 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3 = 18 ผล

มีมะม่วง 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 = 12 ผล
2. ครูแจกใบกิจกรรมให้นักเรียนคนละ 1 ใบ เมื่อนักเรียนทำาเสร็จแล้ว

ครูให้นักเรียนใช้วิธีการบวกจำ�นวนเดียวกันซ้ำ� ๆ ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลย และตรวจสอบความถูกต้อง

เช่นเดียวกันนี้ในกิจกรรมเตรียมความพร้อม
ตัวอย่างใบกิจกรรม
โดยแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน หาผลบวก
30 2. 3 + 3 + 3 = .............................
1. 6 + 6 + 6 + 6 + 6 = ................ 9
จากนั้นครูชูบัตรภาพผลไม้ที่จัดไว้เป็นกลุ่ม .................
3. 7 + 7 + 7 = ............. 21 4. 8 + 8 + 8 = .............................
24
25 6. 9 + 9 + 9 + 9 = ......................
5. 5 + 5 + 5 + 5 + 5 = ................ 36
กลุ่มละเท่า ๆ กัน แล้วให้นักเรียนหาจำ�นวน 40 45
7. 10 + 10 + 10 + 10 = .............. 8. 15 + 15 + 15 = ......................

ผลไม้ทั้งหมดที่อยู่ในภาพนั้น (ครูอาจใช้สื่อภาพ 240 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ผลไม้จากเอกสารสื่อเพิ่มเติมบทที่ 5 หน้า 240 )


กลุ่มใดตอบได้รวดเร็วและถูกต้องเป็นกลุ่มที่ชนะ
และเพื่อตรวจสอบว่านักเรียนใช้วิธีการบวกจำ�นวนเดียวกันซ้ำ� ๆ ในการหาคำ�ตอบหรือไม่ ครูอาจ
ให้นักเรียนเขียนแสดงวิธีหาคำ�ตอบไว้ในบัตรภาพผลไม้แต่ละบัตรที่ได้รับแจกด้วย
3. ในการเตรียมความพร้อมเพื่อเป็นการตรวจสอบว่านักเรียนแต่ละคนมีความรู้พื้นฐาน
เพียงพอในการเรียนเรื่องการคูณหรือไม่ ครูควรแจกใบกิจกรรมการบวกซ้ำ� ๆ ให้นักเรียน
ทำ�เป็นรายบุคคล จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง ถ้าพบว่ามีนักเรียนคนใด
ยังบวกจำ�นวนเดียวกันซ้ำ� ๆ ไม่ได้ ครูควรฝึกเป็นรายบุคคล
4. ข้อควรระวังสำ�หรับครูผู้สอน เช่น 6 + 6 + 6 + 6 + 6 ครูมักจะอ่านผิดว่า มี 6 บวกกัน
5 ครั้ง ที่ถูกต้องคือ มี 6 บวกกัน 5 จำ�นวน เหตุผลที่อ่านว่า มี 6 บวกกัน 5 ครั้งไม่ถูกต้อง เนื่องจาก
6 + 6 + 6 + 6 + 6 เมือ ่ หาผลบวกจะบวก 6 เพียง 4 ครัง้ เท่านัน ้ คือ บวกครัง้ ที่ 1 ได้ 12 + 6 + 6 + 6
บวกครั้งที่ 2 ได้ 18 + 6 + 6 บวกครั้งที่ 3 ได้ 24 + 6 และ บวกครั้งที่ 4 ได้ 30

178  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 5 | การคูณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

5.1 ความหมายของการคูณ (1) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 5 | การคูณ

จุดประสงค์ 5.1 ความหมายของการคูณ (1)

เขียนประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณจากสถานการณ์ทก่ี �ำ หนด พัฒนาความรู้

จากภาพบอกอะไรได้บ้าง

สื่อการเรียนรู้ มีส้ม 4 จาน จานละ 5 ผล เท่ากัน

−− บัตรภาพ นับแล้วมีส้มทั้งหมด 20 ผล

−− สื่อของจริง เช่น ตัวนับ ปากกา ดินสอ มีส้มทั้งหมด 5 + 5 + 5 + 5 = 20 ผล

แนวการจัดการเรียนรู้ มีส้ม 4 จาน จานละ 5 ผล เท่ากัน มีส้มทั้งหมด 20 ผล


เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การบวก 5 + 5 + 5 + 5 = 20

การพัฒนาความรู้
5 บวกกัน 4 จำานวน

เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณ 4 × 5 = 20

1. ครูชูบัตรภาพส้ม 4 จาน จานละ 5 ผล


× เรียกว่า เครื่องหมายคูณ 4 × 5
4 × 5 = 20 อ่านว่า สี่คูณห้าเท่ากับยี่สิบ 4 เป็นจำานวนกลุ่ม
5 เป็นจำานวนสมาชิกในแต่ละกลุ่ม
20 เป็น ผลคูณ ของ 4 กับ 5
ตามหนังสือเรียนหน้า 241 ให้นักเรียนดูแล้วถามนักเรียน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 241

ว่าในภาพมีอะไรบ้าง นักเรียนตอบ มีสม ้ 4 จาน จานละ 5 ผล


ครูถามว่า มีสม้ ทัง้ หมดกีผ
่ ล นักเรียนตอบ มีสม
้ ทัง้ หมด 20 ผล ครูถามว่า หาคำ�ตอบได้อย่างไร
นักเรียนอาจใช้การนับ หรือการบวกโดยนำ�จำ�นวนส้มมาบวกกัน เช่น มีส้ม 5 + 5 + 5 + 5 = 20 ผล
จากนั้นครูแนะนำ�ว่าจากสถานการณ์ดังกล่าว สามารถเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้
4 × 5 = 20 ครูแนะนำ�เครื่องหมายคูณ และผลคูณ พร้อมทั้งแนะนำ�ว่า เมื่อเขียน 4 × 5 = 20
นั้น 4 เป็นจำ�นวนกลุ่ม 5 เป็นจำ�นวนสมาชิกในแต่ละกลุ่ม และ 20 คือผลคูณ ในที่นี้คือ ส้ม 4 จาน
จานละ 5 ผล มีส้มทั้งหมด 20 ผล
2. ครูให้นักเรียนเขียนประโยคสัญลักษณ์การคูณ
จากสถานการณ์ที่กำ�หนดให้จากหนังสือเรียนหน้า 242
ภาพแรก ครูถามนักเรียนว่าเห็นอะไรในภาพบ้าง
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

นักเรียนตอบ มีขนมถ้วย 3 จาน จานละ 4 ถ้วย ครูถามต่อว่า


3 × 4
3 เป็นจำานวนกลุ่ม
4 เป็นจำานวนสมาชิกในแต่ละกลุ่ม

มีขนมถ้วยทั้งหมดกี่ถ้วย นักเรียนตอบ 12 ถ้วย ครูแนะนำ� มีขนมถ้วย 3 จาน จานละ 4 ถ้วย


มีขนมถ้วยทั้งหมด 4 + 4 + 4 = 12 ถ้วย

เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การบวกได้ 4 + 4 + 4 = 12 ประโยคสัญลักษณ์การคูณ 3 × 4 = 12

เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้ 3 × 4 = 12 และ 5 × 2
5 เป็นจำานวนกลุ่ม

ใช้คำ�ถามว่า จาก 3 × 4 = 12 นั้น 3 ในที่นี้หมายถึง


2 เป็นจำานวนสมาชิกในแต่ละกลุ่ม

มีคุกกี้ 5 ถุง ถุงละ 2 ชิ้น

อะไร 4 ในที่นี้หมายถึงอะไร และ 12 ในที่นี้หมายถึงอะไร มีคุกกี้ทั้งหมด 2 + 2 + 2 + 2 + 2 = 10 ชิ้น


ประโยคสัญลักษณ์การคูณ 5 × 2 = 10

นักเรียนตอบว่า 3 เป็นจำ�นวนกลุ่ม 4 เป็นจำ�นวนสมาชิก


ในแต่ละกลุ่ม และ 12 เป็นจำ�นวนสมาชิกทั้งหมด จากนั้น
2 เป็นจำานวนกลุ่ม
6 เป็นจำานวนสมาชิกในกลุ่ม

ครูสอนในทำ�นองเดียวกันนี้โดยใช้ภาพคุกกี้ และภาพโดนัท มีโดนัท 2 กล่อง กล่องละ 6 ชิ้น


6 6 12
มีโดนัททั้งหมด + = ชิ้น

ตามหนังสือเรียนหน้า 242 2 6 12
ประโยคสัญลักษณ์การคูณ × =

242 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  179
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 5 | การคูณ

3. ครูนำ�คุกกี้มาจัดเป็นถุง 8 ถุง ถุงละ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

3 ชิ้น แล้วให้นักเรียนเขียนประโยคสัญลักษณ์
บทที่ 5 | การคูณ

การบวก และประโยคสัญลักษณ์การคูณแสดง
มีคุกกี้ 8 ถุง ถุงละ 3 ชิ้น
จำ�นวนคุกกี้ทั้งหมดจะได้ 3 + 3 + 3 + 3 + 3 มีคุกกี้ทั้งหมด 3 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3 = 24 ชิ้น
ประโยคสัญลักษณ์การคูณ 8 × 3 = 24
+ 3 + 3 + 3 = 24 และ 8 × 3 = 24
ครูถามนักเรียนเพื่อเน้นย้ำ�ความเข้าใจว่า มีคุกกี้ 3 ถุง ถุงละ 8 ชิ้น
มีคุกกี้ทั้งหมด 8 + 8 + 8 = 24 ชิ้น
จาก 8 × 3 = 24 นั้น 8 ในที่นี้หมายถึงอะไร ประโยคสัญลักษณ์การคูณ 3 × 8 = 24

3 ในที่นี้หมายถึงอะไร และ 24 ในที่นี้หมายถึง สังเกต จำานวนหน้าเครื่องหมายคูณเป็นจำานวนกลุ่ม


8 × 3 กับ 3 × 8 ผลคูณเท่ากัน แต่ความหมายต่างกันคือ

อะไร นักเรียนตอบว่า 8 เป็นจำ�นวนกลุ่ม 3 เป็น 8 × 3 ในที่นี้หมายถึง มีคุกกี้ 8 ถุง ถุงละ 3 ชิ้น และ
3 × 8 ในที่นี้หมายถึง มีคุกกี้ 3 ถุง ถุงละ 8 ชิ้น

จำ�นวนสมาชิกในแต่ละกลุ่ม และ 24 เป็น


จำ�นวนสมาชิกทั้งหมด จากนั้นครูจัดกลุ่มคุกกี้
เขียนประโยคสัญลักษณ์การคูณ
ใหม่เป็น 3 ถุง ถุงละ 8 ชิ้น แล้วถามนักเรียนว่า 1 ใบบัวมีขา้ วโพดปิง้ 4 ถุง ถุงละ 2 ฝัก ใบบัวมีขา้ วโพดปิง้ ทัง้ หมด 8 ฝัก 4 × 2 = 8

มีคุกกี้ทั้งหมดกี่ชิ้น และจัดเป็นกี่ถุง ถุงละกี่ชิ้น


2 ลูกชิ้นไม้ละ 5 ลูก มีอยู่ 6 ไม้ มีลูกชิ้นทั้งหมด 30 ลูก 6 × 5 = 30
3 แก้วตามีขนมเค้ก 3 กล่อง กล่องละ 8 ชิ้น แก้วตามีขนมเค้กทั้งหมด

นักเรียนตอบว่า มีคกุ กีท้ ง้ั หมด 24 ชิน


้ จัดเป็น 3 ถุง
้ 3 × 8 = 24
24 ชิน
4 ไข่ปิ้งไม้ละ 3 ฟอง มีอยู่ 10 ไม้ มีไข่ปิ้งทั้งหมด 30 ฟอง 10 × 3 = 30

ถุงละ 8 ชิ้น ครูถามนักเรียนว่าเขียนเป็น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 243

ประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียน
เขียนได้เป็น 3 × 8 = 24 ครูชี้ไปที่ประโยค
สัญลักษณ์การคูณ 8 × 3 = 24 อีกครั้งแล้วให้
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

นักเรียนพูดว่า จัดคุกกี้ 8 ถุง ถุงละ 3 ชิ้น มีคุกกี้ ตรวจสอบความเข้าใจ


เขียนประโยคสัญลักษณ์การคูณ
ทั้งหมด 24 ชิ้น และครูชี้ไปที่ประโยคสัญลักษณ์ 1 6 + 6 + 6 + 6 = 24 4 × 6 = 24

การคูณ 3 × 8 = 24 แล้วให้นักเรียนพูดว่า 2 7 + 7 + 7 + 7 + 7 + 7 = 42 6 × 7 = 42

จัดคุกกี้ 3 ถุง ถุงละ 8 ชิ้น มีคุกกี้ทั้งหมด 24 ชิ้น


3 แม่มีดอกบัวกำาละ 3 ดอก อยู่ 7 กำา แม่มีดอกบัวทั้งหมด 21 ดอก 7 × 3 = 21

ครูให้นักเรียนสังเกตว่า 3 × 8 = 24 และ
4 ลุงมีฝรั่ง 9 ถุง ถุงละ 5 ผล ลุงมีฝรั่งทั้งหมด 45 ผล 9 × 5 = 45
8 × 3 = 24 ถึงแม้ว่าจะมี จำ�นวนคุ้กกี้ 24 ชิ้น
เท่ากัน แต่ลักษณะของการจัดคุ้กกี้ใส่ถุง
แตกต่างกัน จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกันเขียน
สิ่งที่ได้เรียนรู้
ประโยคสัญลักษณ์การคูณจากสถานการณ์ สิ่งต่าง ๆ ที่จัดเป็นกลุ่ม แต่ละกลุ่มมีจำานวนสมาชิกเท่ากัน
สามารถเขียนในรูปการคูณของจำานวนสองจำานวน คือ จำานวนกลุ่ม
ข้อ 1− 4 ทีก ่ �ำ หนดในกรอบท้ายหน้า 243 ครู คูณกับจำานวนสมาชิกในแต่ละกลุ่ม ผลคูณของจำานวนสองจำานวนนั้น
คือจำานวนสมาชิกทั้งหมด เช่น
และนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง 4 × 5 = 20

จำานวนกลุ่ม จำานวนสมาชิกทั้งหมด

การตรวจสอบความเข้าใจ จำานวนสมาชิกในแต่ละกลุ่ม
แบบฝึกหัด 5.1

244 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
โดยให้นักเรียนเขียนประโยคสัญลักษณ์การคูณ

180  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 5 | การคูณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

จากประโยคสัญลักษณ์การบวก และจากสถานการณ์ที่กำ�หนดให้ โดยให้บอกด้วยว่าจำ�นวนกลุ่ม


คือจำ�นวนใด จำ�นวนสมาชิกในแต่ละกลุ่มคือจำ�นวนใด และจำ�นวนสมาชิกทั้งหมดคือจำ�นวนใด
เพือ
่ ให้นก ั เรียนได้เน้นย้�ำ ความเข้าใจว่าจากประโยคสัญลักษณ์การคูณ จำ�นวนทีอ ่ ยูห
่ น้าเครือ
่ งหมายคูณ
เป็นจำ�นวนกลุ่ม จำ�นวนที่อยู่หลังเครื่องหมายคูณเป็นจำ�นวนสมาชิกในแต่ละกลุ่ม และจำ�นวน
หลังเครือ่ งหมายเท่ากับเป็นจำ�นวนสมาชิกทัง้ หมด จากนัน ้ ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
และสรุปสิง่ ทีไ่ ด้เรียนรู้

สิ่งที่ได้เรียนรู้
สิ่งต่าง ๆ ที่จัดเป็นกลุ่ม แต่ละกลุ่มมีจำ�นวนสมาชิกเท่ากัน สามารถเขียนในรูปการคูณของ
จำ�นวนสองจำ�นวน คือ จำ�นวนกลุ่มคูณกับจำ�นวนสมาชิกในแต่ละกลุ่ม ผลคูณของจำ�นวน
สองจำ�นวนนั้น คือ จำ�นวนสมาชิกทั้งหมด เช่น
4 × 5 = 20

จำ�นวนกลุ่ม จำ�นวนสมาชิกทั้งหมด
จำ�นวนสมาชิกในแต่ละกลุ่ม

จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 5.1 หน้า 154 − 156

5.2 ความหมายของการคูณ (2) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

จุดประสงค์
บทที่ 5 | การคูณ

5.2 ความหมายของการคูณ (2)


เขียนประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณจากสถานการณ์ทก่ี �ำ หนด พัฒนาความรู้

จากรูป ดูแถวแนวนอน
แถวแนวนอนมี 3 แถว แถวละ 4 คน
แถวที่ 3
มีนักเรียนทั้งหมด 4 + 4 + 4 = 12 คน

สื่อการเรียนรู้ แถวที่ 2

แถวที่ 1

บัตรภาพ แนวนอน
แถวแนวนอน
และแถวแนวตั้ง

เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณ 3 × 4 = 12
3 เป็นจำานวนแถว 4 เป็นจำานวนสมาชิกในแต่ละแถว

แนวการจัดการเรียนรู้
จากรูป ดูแถวแนวตั้ง
แถวแนวตั้งมี 4 แถว แถวละ 3 คน
มีนักเรียนทั้งหมด 3 + 3 + 3 + 3 = 12 คน

การพัฒนาความรู้ แนวตั้ง

1. ครูชบ ู ต
ั รภาพเด็กทีน
่ ง่ั เป็นแถว 3 แถวตามแนวนอน แถวที่ 1 แถวที่ 2 แถวที่ 3 แถวที่ 4

เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณ 4 × 3 = 12

ในภาพแรกตามหนังสือเรียนหน้า 245 ครูถามนักเรียนว่า 4 เป็นจำานวนแถว 3 เป็นจำานวนสมาชิกในแต่ละแถว

ในแนวนอนมีเด็กนั่งอยู่กี่แถว นักเรียนตอบ 3 แถว ครูถาม สังเกต 3 × 4 = 4 × 3

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 245

แถวละกี่คน นักเรียนตอบ แถวละ 4 คน ครูถาม มีเด็ก


ทัง้ หมดกีค
่ น นักเรียนตอบ 12 คน ครูถาม 12 คนหาได้โดยวิธีใด นักเรียนตอบ 4 + 4 + 4 = 12
ครูถามว่าเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 3 × 4 = 12 ครูถามนักเรียน
3 ในที่นี้หมายถึงอะไร 4 ในที่นี้หมายถึงอะไร และ12 ในที่นี้หมายถึงอะไร นักเรียนตอบว่า

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  181
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 5 | การคูณ

3 เป็นจำ�นวนแถว 4 เป็นจำ�นวนสมาชิกในแต่ละแถว และ 12 เป็นจำ�นวนสมาชิกทัง้ หมด จากนัน ้


ครูให้นกั เรียนดูภาพเด็กนัง่ เป็นแถวตามแนวตัง้ แล้วถามนักเรียนว่า ในแถวแนวตั้งมีเด็กนั่งอยู่กี่แถว
แถวละกี่คนและมีจำ�นวนเด็กทั้งหมดกี่คน นักเรียนตอบ มีเด็กนั่งอยู่ 4 แถว แถวละ 3 คน
มีเด็กนั่งอยู่ทั้งหมด 12 คน ครูถามว่า 12 คนหาได้โดยวิธีใด นักเรียนตอบ 3 + 3 + 3 + 3 = 12
ครูถามว่าเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 4 × 3 = 12 ครูถามนักเรียน
4 ในที่นี้หมายถึงอะไร 3 ในที่นี้หมายถึงอะไร และ 12 ในที่นี้หมายถึงอะไร นักเรียนตอบ 4 หมายถึง
จำ�นวนแถว 3 หมายถึงจำ�นวนสมาชิกในแต่ละแถว และ 12 หมายถึงจำ�นวนสมาชิกทั้งหมด
ครูชี้ไปที่ประโยคสัญลักษณ์การคูณ 3 × 4 = 12 อีกครั้ง แล้วให้นักเรียนพูดพร้อมกันว่า
3 เป็นจำ�นวนแถว 4 เป็นจำ�นวนสมาชิกในแต่ละแถว และ 12 เป็นจำ�นวนสมาชิกทั้งหมด
และครูชี้มาที่ประโยคสัญลักษณ์การคูณ 4 × 3 = 12 อีกครั้ง แล้วให้นักเรียนพูดพร้อมกันว่า
4 เป็นจำ�นวนแถว 3 เป็นจำ�นวนสมาชิกในแต่ละแถว และ 12 เป็นจำ�นวนสมาชิกทั้งหมด
ครูให้นักเรียนสังเกตว่า 3 × 4 = 4 × 3 ถ้าพบว่ามีนักเรียนที่ยังไม่เข้าใจเรื่องแถวแนวตั้ง
และแถวแนวนอน ให้ครูใช้สื่อประกอบที่เป็น QR Code ในหนังสือเรียนหน้า 245 ซึ่งเมื่อแสกน
QR Code แล้วจะเป็นวีดิทัศน์แสดงให้นักเรียนเห็นได้ง่ายขึ้นว่า แถวแนวนอนกับแถวแนวตั้งนั้น
ต่างกันอย่างไรและให้สังเกตอย่างไร โดยครูอาจจะอธิบายเพิ่มเติมประกอบวีดิทัศน์ด้วยก็ได้
2. ครูให้นกั เรียนดูภาพต้นตะบองเพชรในหนังสือเรียน หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

หน้า 246 แล้วถามนักเรียนว่าต้นตะบองเพชรมีกี่แถว 2 × 3 = 3 + 3

แถวละกี่ต้น มีทั้งหมดกี่ต้น นักเรียนอาจตอบว่า มี 2 แถว


= 6

ต้นตะบองเพชร 2 แถว แถวละ 3 ต้น


แถวละ 3 ต้น มีทั้งหมด 6 ต้น หรือมี 3 แถว แถวละ 2 ต้น
3 × 2 = 2 + 2 + 2
มีต้นตะบองเพชรทั้งหมด 2 × 3 = 6 ต้น = 6

หรือ ต้นตะบองเพชร 3 แถว แถวละ 2 ต้น

มีทั้งหมด 6 ต้น จากนั้นครูให้นักเรียนเขียนเป็น มีต้นตะบองเพชรทั้งหมด 3 × 2 = 6 ต้น

สังเกต 2 × 3 = 3 × 2

ประโยคสัญลักษณ์การคูณ จะได้วา ่ 2 × 3 = 6 หรือ 3 × 2 = 6


ครูชี้ไปที่ประโยคสัญลักษณ์การคูณ 2 × 3 = 6 แล้วถาม 4 × 5 = 5 + 5 + 5 + 5
= 20

นักเรียนว่า 2 ในที่นี้หมายถึงอะไร 3 ในที่นี้หมายถึงอะไร ในลังมีขวดน้ำา 4 แถว แถวละ 5 ขวด

และ 6 ในทีน ่ ห
้ี มายถึงอะไร นักเรียนตอบ 2 เป็นจำ�นวนแถว
มีขวดน้ำาทั้งหมด 4 × 5 = 20 ขวด 5 × 4 = 4 + 4 + 4 + 4 + 4
= 20
หรือ ในลังมีขวดน้ำา 5 แถว แถวละ 4 ขวด
มีขวดน้ำาทั้งหมด 5 × 4 = 20 ขวด
3 เป็นจำ�นวนสมาชิกในแต่ละแถว และ 6 เป็นจำ�นวน สังเกต 4 × 5 = 5 × 4

สมาชิกทั้งหมด จากนั้นครูชี้ไปที่ประโยคสัญลักษณ์การคูณ
3 × 2 = 6 แล้วถามนักเรียนว่า 3 ในที่นี้หมายถึงอะไร
จำานวนสองจำานวนคูณกัน เมื่อสลับที่กันผลคูณยังคงเท่าเดิม

246 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

2 ในที่นี้หมายถึงอะไร และ 6 ในที่นี้หมายถึงอะไร


นักเรียนตอบ 3 เป็นจำ�นวนแถว 2 เป็นจำ�นวนสมาชิกในแต่ละแถวและ 6 เป็นจำ�นวนสมาชิกทั้งหมด
ครูให้นก ั เรียนสังเกต 2 × 3 = 3 × 2 จากนัน ้ ครูให้นก
ั เรียนพิจารณาภาพขวดในลังว่ามีกแ่ี ถวแต่ละแถว
มีกี่ขวด และมีขวดทั้งหมดเท่าไร แล้วทำ�กิจกรรมเช่นเดียวกันกับข้างต้นโดยครูควรเน้นย้ำ�เรื่อง
การเขียนประโยคสัญลักษณ์การคูณและการบอกความหมายให้ตรงกับประโยคสัญลักษณ์การคูณ
เพื่อให้นักเรียนบอกความหมายได้คล่องและจำ�ได้แม่น

182  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 5 | การคูณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

3. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มแล้วแจกกระดาษจุด หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 5 | การคูณ

ที่ทำ�เป็นแถวตามหนังสือเรียนหน้า 247 แล้วให้นักเรียน เขียนประโยคสัญลักษณ์การคูณ

เขียนประโยคสัญลักษณ์การคูณแสดงจำ�นวนจุดทั้งหมด

2 × 4

= 4 + 4
= 8

ลงไปในกระดาษที่แจกให้ เมื่อนักเรียนเขียนเสร็จทุกกลุ่ม
หรือ 4 × 2 = 2 + 2 + 2 + 2
2 × 4 = 8
= 8
หรือ 4 × 2 = 8

แล้วครูให้แต่ละกลุ่มนำ�เสนอประโยคสัญลักษณ์การคูณ
1 2

และอธิบายความหมาย กลุ่มละ 1 ข้อ จากนั้นครูและ


เพื่อนในห้องร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
3 × 2 = 6 3 × 5 = 15
หรือ 2 × 3 = 6 หรือ 5 × 3 = 15

การตรวจสอบความเข้าใจ 3 4

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยให้นก ั เรียน
เขียนประโยคสัญลักษณ์การคูณจากสถานการณ์ทก ่ี �ำ หนดให้
4 × 4 = 16 5 × 5 = 25
และให้บอกว่าจำ�นวนแถวคือจำ�นวนใด จำ�นวนสมาชิก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 247

ในแต่ละแถวคือจำ�นวนใด และจำ�นวนสมาชิกทั้งหมด
คือจำ�นวนใด เพื่อให้นักเรียนได้เข้าใจว่าจาก หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

ประโยคสัญลักษณ์การคูณ จำ�นวนทีอ ่ ยูห


่ น้าเครือ
่ งหมายคูณ
บทที่ 5 | การคูณ

ตรวจสอบความเข้าใจ

เป็นจำ�นวนแถว จำ�นวนทีอ ่ ยูห


่ ลังเครือ
่ งหมายคูณ เขียนประโยคสัญลักษณ์การคูณ

เป็นจำ�นวนสมาชิกในแต่ละแถว และจำ�นวนทีอ ่ ยูห


่ ลัง
1
6 × 5 = 30
หรือ 5 × 6 = 30
เครือ
่ งหมายเท่ากับเป็นจำ�นวนสมาชิกทัง้ หมด จากนัน ้ ครูและ
2

นักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและสรุปสิง่ ทีไ่ ด้เรียนรู ้


หรือ
3 × 7 = 21
7 × 3 = 21

สิ่งที่ได้เรียนรู้ สิ่งที่ได้เรียนรู้

• สิสามารถเขี
สิ่งต่าง ๆ ที่จัดเป็นแถว แต่ละแถวมีจำานวนสมาชิกเท่ากัน

ง่ ต่าง ๆ ทีจ่ ด
ั เป็นแถว แต่ละแถวมีจ�ำ นวนสมาชิกเท่ากัน
สามารถเขียนในรูปการคูณของจำานวนสองจำานวน คือ
จำานวนแถวกับจำานวนสมาชิกในแต่ละแถว ผลคูณของจำานวน
สองจำานวนนั้นคือจำานวนสมาชิกทั้งหมด เช่น

ยนในรูปการคูณของจำ�นวนสองจำ�นวน คือ 4 × 5 = 20

จำานวนแถว จำานวนสมาชิกทั้งหมด

จำ�นวนแถวกับจำ�นวนสมาชิกในแต่ละแถว ผลคูณของ จำานวนสมาชิกในแต่ละแถว

จำานวนสองจำานวนคูณกัน เมื่อสลับที่กันผลคูณยังคงเท่าเดิม

จำ�นวนสองจำ�นวนนัน
้ คือจำ�นวนสมาชิกทัง้ หมด เช่น แบบฝึกหัด 5.2

248 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

4 × 5 = 20

จำ�นวนแถว จำ�นวนสมาชิกทั้งหมด
จำ�นวนสมาชิกในแต่ละแถว

• จำ จากนั
�นวนสองจำ�นวนคูณกัน เมื่อสลับที่กันผลคูณยังคงเท่าเดิม
้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 5.2 หน้า 157 − 158

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  183
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 5 | การคูณ

5.3 หนึ่งและศูนย์กับการคูณ
จุดประสงค์
หาผลคูณของจำ�นวนหนึ่งหลักกับ 0 และหาผลคูณของจำ�นวนหนึ่งหลักกับ 1
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

สื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 | การคูณ

5.3 หนึ่งและศูนย์กับการคูณ
บัตรภาพ พัฒนาความรู้

หนึ่งกับการคูณ

แนวการจัดการเรียนรู้ มีคุกกี้ 3 ถุง ถุงละ 1 ชิ้น มีคุกกี้ทั้งหมด 3 × 1 = 1 + 1 + 1 = 3 ชิ้น

การพัฒนาความรู้
มีคุกกี้ 1 ถุง ถุงละ 3 ชิ้น มีคุกกี้ทั้งหมด 1 × 3 = 3 ชิ้น

1. ครูติดบัตรภาพขนมคุกกี้ 3 ถุง ถุงละ 1 ชิ้น


ตามหนังสือเรียนหน้า 249 แล้วถามนักเรียนว่า มีคุกกี้กี่ถุง มีส้ม 4 จาน จานละ 1 ผล มีส้มทั้งหมด 4 × 1 = 1 + 1 + 1 + 1 = 4 ผล

ถุงละกี่ชิ้น มีคุกกี้ทั้งหมดกี่ชิ้น นักเรียนตอบว่า มีคุกกี้ 3 ถุง มีส้ม 1 จาน จานละ 4 ผล มีส้มทั้งหมด 1 × 4 = 4 ผล

ถุงละ 1 ชิ้น มีคุกกี้ทั้งหมด 3 ชิ้น ครูถามว่า เขียนเป็น มีแอปเปิล 6 จาน จานละ 1 ผล มีแอปเปิลทั้งหมด 6 × 1 = 6 ผล

ประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ
มีแอปเปิล 1 จาน จานละ 6 ผล มีแอปเปิลทั้งหมด 1 × 6 = 6 ผล

3 × 1 = 3 ครูถามนักเรียนว่า จากประโยคสัญลักษณ์การคูณ จำานวนใดคูณกับ 1 ผลคูณเท่ากับจำานวนนั้น

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 249

3 × 1 = 3 นั้น 3 ตัวหน้าในที่นี้หมายถึงอะไร 1 ในที่นี้


หมายถึงอะไร และ 3 ตัวหลังในที่นี้หมายถึงอะไร นักเรียนตอบ 3 ตัวหน้าเป็นจำ�นวนกลุ่ม และ
1 เป็นจำ�นวนสมาชิกในแต่ละกลุม ่ และ 3 ตัวหลังเป็นจำ�นวนสมาชิกทัง้ หมด ครูตด ิ บัตรภาพคุกกี้ 1 ถุง
ถุงละ 3 ชิ้น ครูถามนักเรียนว่า มีคุกกี้กี่ถุง ถุงละกี่ชิ้น มีคุกกี้ทั้งหมดกี่ชิ้น นักเรียนตอบว่า มีคุกกี้ 1 ถุง
ถุงละ 3 ชิน ้ มีคกุ กีท
้ ง้ั หมด 3 ชิน
้ ครูถามว่า เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ
1 × 3 = 3 ครูถามนักเรียนว่า จากประโยคสัญลักษณ์การคูณ 1 × 3 = 3 นั้น 1 ในที่นี้หมายถึงอะไร
3 ตัวหน้าในที่นี้หมายถึงอะไร และ 3 ตัวหลังในที่นี้หมายถึงอะไร นักเรียนตอบ 1 เป็นจำ�นวนกลุ่ม
3 ตัวหน้าเป็นจำ�นวนสมาชิกในแต่ละกลุ่ม และ 3 ตัวหลังเป็นจำ�นวนสมาชิกทั้งหมด ครูให้นักเรียน
สังเกตว่า 3 × 1 = 3 และ 1 × 3 = 3 จากนัน ้ ครูตด
ิ บัตรภาพส้ม 4 จาน จานละ 1 ผล ตามหนังสือเรียน
หน้า 249 แล้วถามนักเรียนว่า มีส้มกี่จาน จานละกี่ผล มีส้มทั้งหมดกี่ผล นักเรียนตอบว่า มีส้ม 4 จาน
จานละ 1 ผล มีส้มทั้งหมด 4 ผล ครูถามว่า เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร
นักเรียนตอบ 4 × 1 = 4 ครูถามนักเรียนว่า จากประโยคสัญลักษณ์การคูณ 4 × 1 = 4 นั้น
4 ตัวหน้าในที่นี้หมายถึงอะไร 1 ในที่นี้หมายถึงอะไร และ 4 ตัวหลังนี้หมายถึงอะไร นักเรียนตอบ
4 ตัวหน้าเป็นจำ�นวนกลุ่ม และ 1 เป็นจำ�นวนสมาชิกในแต่ละกลุ่ม และ 4 ตัวหลังเป็นจำ�นวน
สมาชิกทั้งหมด ครูติดบัตรภาพส้ม 1 จาน จานละ 4 ผล แล้วถามนักเรียนว่า มีส้มกี่จาน จานละกี่ผล
มีส้มทั้งหมดกี่ผล นักเรียนตอบว่า มีส้ม 1 จาน จานละ 4 ผล มีส้มทั้งหมด 4 ผล ครูถามว่า
เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 1 × 4 = 4 ครูถามนักเรียนว่า
จากประโยคสัญลักษณ์การคูณ 1 × 4 = 4 นั้น 1 ในที่นี้หมายถึงอะไร 4 ตัวหน้าในที่นี้หมายถึงอะไร

184  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 5 | การคูณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

และ 4 ตัวหลังในที่นี้หมายถึงอะไร นักเรียนตอบ 1 เป็นจำ�นวนกลุ่ม และ 4 เป็นจำ�นวนสมาชิก


ในแต่ละกลุ่ม และ 4 ตัวหลังเป็นจำ�นวนสมาชิกทัง้ หมด ครูยกตัวอย่างอืน ่ เพิม ่ เติมจนได้ข้อสรุปร่วมกับ
นักเรียนว่า จำ�นวนใดคูณกับ 1 ผลคูณเท่ากับจำ�นวนนั้น
2. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับภาพตามหนังสือเรียนหน้า 250 ว่าเป็นเรื่องราวที่มีขนม
อยู่ในจานแล้วขุนกับต้นกล้ากินขนมที่อยู่ในจานหมดแล้ว จากนั้นครูติดบัตรภาพจานขนม 3 จาน
จานละ 0 ชิ้น แล้วถามนักเรียนว่า มีขนมกี่จาน จานละกี่ชิ้น มีขนมทั้งหมดกี่ชิ้น นักเรียนตอบว่า
มีขนม 3 จาน จานละ 0 ชิ้น มีขนมทั้งหมด
0 ชิ้น ครูถามว่า เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 3 × 0 = 0
ศูนย์กับการคูณ

เรากินขนมหมดแล้ว
ไม่มีขนมอยู่เลย
ครูถามนักเรียนว่า จากประโยคสัญลักษณ์การคูณ
3 × 0 = 0 นั้น 3 ในที่นี้หมายถึงอะไร
0 ตัวหน้าในที่นี้หมายถึงอะไร และ 0 ตัวหลัง
ในที่นี้หมายถึงอะไร นักเรียนตอบ 3 เป็น
จำ�นวนกลุ่ม และ 0 ตัวหน้าเป็นจำ�นวนสมาชิก มีขนม 3 จาน จานละ 0 ชิ้น มีขนมทั้งหมด 3 × 0 = 0 + 0 + 0 = 0 ชิ้น

ในแต่ละกลุ่ม และ 0 ตัวหลังเป็นจำ�นวนสมาชิก ถ้า 3 × 0 = 0 แล้ว 0 × 3 เท่ากับเท่าไร

ทั้งหมด ครูแนะนำ�ว่า เนื่องจากการคูณจำ�นวน จำานวนสองจำานวนคูณกัน เมื่อสลับที่กันผลคูณยังคงเท่าเดิม


ดังนั้น 0 × 3 = 3 × 0 จะได้ว่า 0 × 3 = 0

สองจำ�นวนเมื่อสลับที่กันผลคูณยังคงเท่าเดิม
หาผลคูณ
ครูถามนักเรียนว่า เนื่องจาก 3 × 0 = 0 แล้ว 1 2 3
4 × 0 = 0 9 × 0 = 0 5 × 0 = 0

0 × 3 เท่ากับเท่าไร นักเรียนตอบ 0 × 3 = 0 0 × 4 = 0 0 × 9 = 0 0 × 5 = 0

จากนัน้ ครูยกตัวอย่างเพิ่มเติม เช่น


1 × 0 เท่ากับเท่าไร 2 × 0 เท่ากับเท่าไร จำานวนใดคูณกับ 0 ผลคูณเท่ากับ 0

0 × 1 เท่ากับเท่าไร 0 × 2 เท่ากับเท่าไร
250 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

จนนักเรียนเข้าใจและได้ข้อสรุปร่วมกัน
ว่าจำ�นวนใดคูณกับ 0 ผลคูณเท่ากับ 0
ครูให้นักเรียนช่วยกับหาผลคูณของจำ�นวนใด ๆ กับ 0 ในกรอบท้ายหน้า 250 เมื่อนักเรียน
ช่วยกันหาคำ�ตอบเสร็จแล้ว ครูอาจให้นก ั เรียนนำ�เสนอเป็นรายบุคคลเพือ ่ ตรวจสอบว่ามีใครไม่เข้าใจบ้าง
โดยครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  185
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 5 | การคูณ

3. เมื่อนักเรียนเข้าใจการคูณจำ�นวนใด ๆ กับ 1 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 5 | การคูณ

และการคูณจำ�นวนใด ๆ กับ 0 แล้ว ครูให้นักเรียน หาผลคูณ

ฝึกหาผลคูณ โดยให้ช่วยกันหาผลคูณตามหนังสือเรียน 2 × 0 = 0 1 × 9 = 9

หน้า 251 อาจจะแบ่งกลุ่มแล้วให้นักเรียนช่วยกัน


6 × 0 = 0 1 × 3 = 0
ทำ�เป็นกลุ่ม และนำ�เสนอ หรืออาจให้ตอบเป็นรายบุคคล
1 2

เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้มีส่วนร่วมในการเรียน 3 8 × 0 = 0 4 2 × 1 = 2

จากนั้นครูและนักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง
ถ้ามีนักเรียนบางคนตอบไม่ได้ ครูควรสอนโดย 5 0 × 7 = 0 6 1 × 5 = 5

ใช้สื่ออีกครั้งเพื่อให้นักเรียนเข้าใจยิ่งขึ้น
7 0 × 6 = 0 8 1 × 8 = 8

การตรวจสอบความเข้าใจ 9 10 × 0 = 0 10 12 × 1 = 12

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 251

โดยให้นักเรียนหาผลคูณของจำ�นวนใด ๆ กับ 0 และ


หาผลคูณของจำ�นวนใด ๆ กับ 1 ตามหนังสือเรียนหน้า 252 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

แต่จะพบว่าข้อ 7−10 เป็นการให้เติมตัวเลขแสดงจำ�นวน


บทที่ 5 | การคูณ

ตรวจสอบความเข้าใจ

ให้ได้ผลคูณเท่ากับ 1 หรือให้ได้ผลคูณเท่ากับ 0 หาผลคูณ

เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกทักษะในการคิดให้คล่อง ซึ่งเป็น 1 11 × 0 = 0 2 0 × 8 = 0

การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ จากนั้นครูและนักเรียนร่วม 3 1
1 × 1 = 4
10 × 1 = 10

กันตรวจสอบความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
5
0 × 9 = 0 6
1 × 9 = 9

สิ่งที่ได้เรียนรู้ 5 × 0 1 × 7
7 = 0 8 = 7

• จำจำ��นวนใดคู ณกับ 1 ผลคูณเท่ากับจำ�นวนนั้น 0 7


9 × 9 = 0 10 × 1 = 7

นวนใดคูณกับ 0 ผลคูณเท่ากับ 0 สิ่งที่ได้เรียนรู้

จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 5.3
จำานวนใดคูณกับ 1 ผลคูณเท่ากับจำานวนนั้น
จำานวนใดคูณกับ 0 ผลคูณเท่ากับ 0

หน้า 159 − 160 แบบฝึกหัด 5.3

252 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

186  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 5 | การคูณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

5.4 การคูณจำ�นวนหนึ่งหลักกับจำ�นวนหนึ่งหลัก (1)


จุดประสงค์
หาผลคูณของจำ�นวนหนึ่งหลักกับ 2 และหาผลคูณของจำ�นวนหนึ่งหลักกับ 3

สื่อการเรียนรู้
บัตรภาพ

แนวการจัดการเรียนรู้
การพัฒนาความรู้
1. ครูติดบัตรภาพมะนาว 2 จาน จานละ
1 ผล แล้วถามนักเรียนว่า มีมะนาวกี่จาน จาน
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

ละกี่ผล มีมะนาวทัง้ หมดกีผ ่ ล นักเรียนตอบว่า มี 5.4 การคูณจำานวนหนึง่ หลักกับจำานวนหนึง่ หลัก (1)

มะนาว 2 จาน จานละ 1 ผล มีมะนาวทัง้ หมด 2 พัฒนาความรู้

ผล ครูถามว่า เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ มีมะนาว 2 จาน จานละ 6 ผล

การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 2 × 1 = 2 ครูถาม


มีมะนาวทั้งหมด 2 × 6 = 6 + 6 = 12 ผล

จัดสิ่งต่าง ๆ เป็น 2 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีจำานวนสมาชิกเท่ากัน สูตรคูณแม่ 2


นักเรียนว่า จากประโยคสัญลักษณ์การคูณ 2 × 1 2 × 1 = 1 + 1 = 2 2 × 1 = 2

= 2 นั้น 2 ตัวหน้าในที่นี้หมายถึงอะไร 1 ในที่นี้ 2 × 2 = 2 + 2 = 4 2 × 2 = 4

หมายถึงอะไร และ 2 ตัวหลังในที่นี้หมายถึงอะไร 2 × 3 = 3 + 3 = 6 2 × 3 = 6

2 × 4 = 4 + 4 = 8 2 × 4 = 8
นักเรียนตอบ 2 ตัวหน้าเป็นจำ�นวนกลุ่ม
2 × 5 = 5 + 5 = 10 2 × 5 = 10
และ 1 เป็นจำ�นวนสมาชิกในแต่ละกลุ่ม 2 × 6 = 6 + 6 = 12 2 × 6 = 12

และ 2 ตัวหลังเป็นจำ�นวนสมาชิกทัง้ หมด 2 × 7 = 7 + 7 = 14 2 × 7 = 14

ครูตด
ิ บัตรภาพมะนาว 2 จาน จานละ 2 ผล 2 × 8 = 8 + 8 = 16 2 × 8 = 16

แล้วถามนักเรียนว่า มีมะนาวกี่จาน จานละกี่ผล 2 × 9 = 9 + 9 = 18 2 × 9 = 18

มีมะนาวทั้งหมดกี่ผล นักเรียนตอบว่า สูตรคูณแม่ 2 ผลคูณเพิ่มขึ้นทีละ 2

| 253
มีมะนาว 2 จาน จานละ 2 ผล มีมะนาวทั้งหมด
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

4 ผล ครูถามว่า เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์
การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 2 × 2 = 4 ครู
ถามนักเรียนว่า จากประโยคสัญลักษณ์การคูณ
2 × 2 = 4 นั้น 2 ตัวหน้าในที่นี้หมายถึงอะไร 2 ตัวหลังในที่นี้หมายถึงอะไร และ 4 ในที่นี้
หมายถึงอะไร นักเรียนตอบ 2 ตัวหน้าเป็นจำ�นวนกลุม ่ และ 2 ตัวหลังเป็นจำ�นวนสมาชิกในแต่ละกลุม ่

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  187
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 5 | การคูณ

และ 4 เป็นจำ�นวนสมาชิกทั้งหมด ครูติดบัตรภาพมะนาว 2 จาน จานละ 3 ผล แล้วถามนักเรียนว่า


มีมะนาวกี่จาน จานละกี่ผล มีมะนาวทัง้ หมดกีผ ่ ล นักเรียนตอบว่า มีมะนาว 2 จาน จานละ 3 ผล
มีมะนาวทัง้ หมด 6 ผล ครูถามว่า เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ
2 × 3 = 6 ครูถามนักเรียนว่า จากประโยคสัญลักษณ์การคูณ 2 × 3 = 6 นั้น 2 ในที่นี้
หมายถึงอะไร 3 ในที่นี้หมายถึงอะไร และ 6 ในที่นี้หมายถึงอะไร นักเรียนตอบ 2
เป็นจำ�นวนกลุ่ม และ 3 เป็นจำ�นวนสมาชิกในแต่ละกลุ่ม และ 6 เป็นจำ�นวนสมาชิกทั้งหมด
ครูตดิ บัตรภาพมะนาว 2 จาน จานละ 4 ผล แล้วถามนักเรียนว่า มีมะนาวกีจ่ าน จานละกีผ ่ ล มีมะนาว
ทั้งหมดกี่ผล นักเรียนตอบว่า มีมะนาว 2 จาน จานละ 4 ผล มีมะนาวทั้งหมด 8 ผล ครูถามว่า
เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 2 × 4 = 8 ครูติดบัตรภาพมะนาว
2 จาน จานละ 5 ผล แล้วถามนักเรียนว่า มีมะนาวกี่จาน จานละกี่ผล มีมะนาวทั้งหมดกี่ผล
นักเรียนตอบว่า มีมะนาว 2 จาน จานละ 5 ผล มีมะนาวทั้งหมด 10 ผล ครูถามว่า เขียนเป็น
ประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 2 × 5 = 10 ครูแนะนำ�ว่า การจัดสิง่ ต่าง ๆ
เป็น 2 กลุม่ กลุม
่ ละเท่า ๆ กัน เป็นการนำ� 2 ไปคูณกับจำ�นวนของสิง่ ต่าง ๆ อาจเขียนเป็น 2 × 1 = 2
2 × 2 = 4 2 × 3 = 6 2 × 4 = 8 2 × 5 = 10 ซึ่งเรียกว่า สูตรคูณแม่ 2 ครูให้นักเรียน
สังเกตผลคูณ จะเห็นว่า สูตรคูณแม่ 2 มีผลคูณเพิ่มขึ้นทีละ 2 จากนั้นครูถามนักเรียนว่า 2 × 6
เท่ากับเท่าไร 2 × 7 เท่ากับเท่าไร 2 × 8 เท่ากับเท่าไร 2 × 9 เท่ากับเท่าไร โดยสังเกตจากผลคูณ
จากนั้นครูเขียนสูตรคูณแม่ 2 ให้ครบแล้ว
ให้นักเรียนอ่านพร้อมกัน
2. ครูติดบัตรภาพขนมถ้วย 3 จาน
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

จานละ 1 ถ้วย แล้วถามนักเรียนว่า มีขนมถ้วย


กี่จาน จานละกี่ถ้วย มีขนมถ้วยทั้งหมดกี่ถ้วย
มีขนมถ้วย 3 จาน จานละ 4 ถ้วย
มีขนมถ้วยทั้งหมด 3 × 4 = 4 + 4 + 4 = 12 ถ้วย

นักเรียนตอบว่า มีขนมถ้วย 3 จาน จานละ จัดสิ่งต่าง ๆ เป็น 3 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีจำานวนสมาชิกเท่ากัน สูตรคูณแม่ 3

1 ถ้วย มีขนมถ้วยทั้งหมด 3 ถ้วย ครูถามว่า 3 × 1 = 1 + 1 + 1 = 3 3 × 1 = 3

เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร 3 × 2 = 2 + 2 + 2 = 6 3 × 2 = 6

นักเรียนตอบ 3 × 1 = 3 ครูถามนักเรียนว่า 3 × 3 = 3 + 3 + 3 = 9 3 × 3 = 9

3 × 4 = 4 + 4 + 4 = 12 3 × 4 = 12
จากประโยคสัญลักษณ์การคูณ 3 × 1 = 3 นั้น
3 × 5 = 5 + 5 + 5 = 15 3 × 5 = 15
3 ตัวหน้าในที่นี้หมายถึงอะไร 1 ในที่นี้ 3 × 6 = 6 + 6 + 6 = 18 3 × 6 = 18

หมายถึงอะไร และ 3 ตัวหลังในที่นี้หมายถึงอะไร 3 × 7 = 7 + 7 + 7 = 21 3 × 7 = 21

นักเรียนตอบ 3 ตัวหน้าเป็นจำ�นวนกลุ่ม 3 × 8 = 8 + 8 + 8 = 24 3 × 8 = 24

และ 1 เป็นจำ�นวนสมาชิกในแต่ละกลุ่ม 3 × 9 = 9 + 9 + 9 = 27 3 × 9 = 27

และ 3 ตัวหลังเป็นจำ�นวนสมาชิกทั้งหมด สูตรคูณแม่ 3 ผลคูณเพิ่มขึ้นทีละเท่าไร

ครูติดบัตรภาพขนมถ้วย 3 จาน จานละ 2 ถ้วย


254 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แล้วถามนักเรียนว่า มีขนมกี่จาน จานละกี่ถ้วย

188  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 5 | การคูณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

มีขนมถ้วยทั้งหมดกี่ถ้วย นักเรียนตอบว่า มีขนมถ้วย 3 จาน จานละ 2 ถ้วย มีขนมถ้วยทั้งหมด 6 ถ้วย


ครูถามว่า เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 3 × 2 = 6 ครูถามนักเรียนว่า
จากประโยคสัญลักษณ์การคูณ 3 × 2 = 6 นั้น 3 ในที่นี้หมายถึงอะไร 2 ในที่นี้หมายถึงอะไร
และ 6 ในที่นี้หมายถึงอะไร นักเรียนตอบ 3 เป็นจำ�นวนกลุ่ม และ 2 เป็นจำ�นวนสมาชิกในแต่ละกลุ่ม
และ 6 เป็นจำ�นวนสมาชิกทัง้ หมด ครูตด ิ บัตรภาพขนมถ้วย 3 จาน จานละ 3 ถ้วย แล้วถามนักเรียนว่า
มีขนมถ้วยกี่จาน จานละกี่ถ้วย มีขนมถ้วยทั้งหมดกี่ถ้วย นักเรียนตอบว่า มีขนมถ้วย 3 จาน
จานละ 3 ถ้วย มีขนมถ้วยทั้งหมด 9 ถ้วย ครูถามว่า เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร
นักเรียนตอบ 3 × 3 = 9 ครูถามนักเรียนว่า จากประโยคสัญลักษณ์การคูณ 3 × 3 = 9 นั้น
3 ตัวหน้าในที่นี้หมายถึงอะไร 3 ตัวหลังในที่นี้หมายถึงอะไร และ 9 ในที่นี้หมายถึงอะไร
นักเรียนตอบ 3 ตัวหน้าเป็นจำ�นวนกลุ่ม และ 3 ตัวหลังเป็นจำ�นวนสมาชิกในแต่ละกลุ่ม
และ 9 เป็นจำ�นวนสมาชิกทัง้ หมด ครูตด ิ บัตรภาพขนมถ้วย 3 จาน จานละ 4 ถ้วย แล้วถามนักเรียนว่า
มีขนมถ้วยกี่จาน จานละกี่ถ้วย มีขนมถ้วยทั้งหมดกี่ถ้วย นักเรียนตอบว่า มีขนมถ้วย 3 จาน
จานละ 4 ถ้วย มีขนมถ้วยทั้งหมด 12 ถ้วย ครูถามว่า เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร
นักเรียนตอบ 3 × 4 = 12 ครูติดบัตรภาพขนมถ้วย 3 จาน จานละ 5 ถ้วย แล้วถามนักเรียนว่า
มีขนมถ้วยกี่จาน จานละกี่ถ้วย มีขนมถ้วยทั้งหมดกี่ถ้วย นักเรียนตอบว่า มีขนมถ้วย 3 จาน
จานละ 5 ถ้วย มีขนมถ้วยทั้งหมด 15 ถ้วย ครูถามว่า เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร
นักเรียนตอบ 3 × 5 = 15 ครูแนะนำ�ว่า การจัดสิ่งต่าง ๆ เป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน
เป็นการนำ� 3 ไปคูณกับจำ�นวนของสิ่งต่าง ๆ อาจเขียนเป็น 3 × 1 = 3 3 × 2 = 6 3 × 3 = 9
3 × 4 = 12 3 × 5 = 15 ซึ่งเรียกว่า สูตรคูณแม่ 3 ครูให้นักเรียนสังเกตผลคูณ จะเห็นว่า
สูตรคูณแม่ 3 มี ผลคูณเพิ่มขึ้นทีละ 3 จากนั้น ครูถามนักเรียนว่า 3 × 6 เท่ากับเท่าไร 3 × 7
เท่ากับเท่าไร 3 × 8 เท่ากับเท่าไร 3 × 9 เท่ากับเท่าไร โดยสังเกตจากผลคูณ จากนั้นครู
เขียนสูตรคูณแม่ 3 ให้ครบแล้วให้นักเรียนอ่านพร้อมกัน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  189
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 5 | การคูณ

3. ครูให้นักเรียนหาผลคูณของจำ�นวน หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

หนึง่ หลักกับ 2 โดยใช้การถาม−ตอบ เช่น 4 × 2


บทที่ 5 | การคูณ

เท่ากับเท่าไร ซึ่งนักเรียนอาจหาผลคูณ โดยนำ�


4 × 2 =
เนื่องจาก 4 × 2 = 2 × 4

2 มาบวกกัน 4 จำ�นวน (2 + 2 + 2 + 2) จากสูตรคูณแม่ 2 จะได้ 2 × 4 = 8


ดังนั้น 4 × 2 = 8
ครูแนะนำ�ว่า เนื่องจากการคูณจำ�นวนสอง
หาผลคูณ
จำ�นวน เมื่อสลับที่กันผลคูณยังคงเท่าเดิม
9 × 3 = 3 × 9
จะได้ 4 × 2 = 2 × 4 ดังนั้น สามารถหา 9 × 3 = 27 = 27

ผลคูณของ 4 × 2 ได้จาก 2 × 4 ซึ่งเท่ากับ 8


จากนั้น ครูให้นักเรียนช่วยกันหาผลคูณ 1 6 × 2 = 12 2 3 × 8 = 24

ของจำ�นวนหนึ่งหลักกับ 2 และหาผลคูณ
3 2 × 9 = 18 4 2 × 7 = 14
ของจำ�นวนหนึ่งหลักกับ 3 ตามหนังสือเรียน
หน้า 255 โดยครูและนักเรียนร่วมกัน 5 6 × 3 = 18 6 3 × 5 = 15

ตรวจสอบความถูกต้อง
7 7 × 2 = 14 8 3 × 4 = 12

การตรวจสอบความเข้าใจ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 255

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
โดยให้นักเรียนหาผลคูณของจำ�นวนหนึ่งหลัก
กับ 2 และหาผลคูณของจำ�นวนหนึ่งหลักกับ 3
ตามหนังสือเรียนหน้า 256 และจะพบว่าข้อ 2
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

ตรวจสอบความเข้าใจ
ข้อ 4 ข้อ 5 และข้อ 6 เป็นการใช้การสลับที่
หาผลคูณ

การคูณเพื่อหาคำ�ตอบ ซึ่งนักเรียนเรียนรู้มาแล้ว
2 × 2 = 4 12
ในหน้า 252 เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกทักษะการคิด 1 2 4 × 3 =

ให้คล่อง ซึ่งเป็นการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ 3 2 × 4 = 8 4 5 × 3 = 15
จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบ
ความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ 5 5 × 2 = 10 6 7 × 3 = 21

สิ่งที่ได้เรียนรู้
• 2 คู ณกับจำ�นวนหนึ่งหลัก หาผลคูณได้โดย
ใช้สูตรคูณแม่ 2

• 3 คู
สิ่งที่ได้เรียนรู้
ณกับจำ�นวนหนึ่งหลัก หาผลคูณได้โดย 2 คูณกับจำานวนหนึ่งหลัก หาผลคูณได้โดยใช้สูตรคูณแม่ 2
3 คูณกับจำานวนหนึ่งหลัก หาผลคูณได้โดยใช้สูตรคูณแม่ 3
ใช้สูตรคูณแม่ 3
จากนัน
้ ให้นกั เรียนทำ�แบบฝึกหัด 5.4 แบบฝึกหัด 5.4

256 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน้า 161 − 163

190  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 5 | การคูณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

5.5 การคูณจำ�นวนหนึ่งหลักกับจำ�นวนหนึ่งหลัก (2)


จุดประสงค์
หาผลคูณของจำ�นวนหนึ่งหลักกับ 4 และหาผลคูณของจำ�นวนหนึ่งหลักกับ 5
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

สื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 | การคูณ

5.5 การคูณจำานวนหนึง่ หลักกับจำานวนหนึง่ หลัก (2)


บัตรภาพ พัฒนาความรู้

มีคุกกี้ 4 ถุง ถุงละ 5 ชิ้น

แนวการจัดการเรียนรู้
มีคุกกี้ทั้งหมด 4 × 5 = 5 + 5 + 5 + 5 = 20 ชิ้น

จัดสิ่งต่าง ๆ เป็น 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีจำานวนสมาชิกเท่ากัน สูตรคูณแม่ 4

การพัฒนาความรู้ 4 × 1 = 1 + 1 + 1 + 1 = 4

4 × 2 = 2 + 2 + 2 + 2 = 8
4 × 1 = 4

4 × 2 = 8

1. ครูติดบัตรภาพคุกกี้ 4 ถุง ถุงละ 1 ชิ้น แล้วถาม 4 × 3 = 3 + 3 + 3 + 3 = 12 4 × 3 = 12

นักเรียนว่า มีคุกกี้กี่ถุง ถุงละกี่ชิ้น มีคุกกี้ทั้งหมดกี่ชิ้น 4 × 4 = 4 + 4 + 4 + 4 = 16 4 × 4 = 16

4 × 5 = 5 + 5 + 5 + 5 = 20 4 × 5 = 20

นักเรียนตอบว่า มีคกุ กี้ 4 ถุง ถุงละ 1 ชิน ้ มีคกุ กีท


้ ง้ั หมด 4 ชิน
้ 4 × 6 = 6 + 6 + 6 + 6 = 24 4 × 6 = 24

ครูถามว่า เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร 4 × 7 = 7 + 7 + 7 + 7 = 28 4 × 7 = 28

4 × 8 = 8 + 8 + 8 + 8 = 32 4 × 8 = 32

นักเรียนตอบ 4 × 1 = 4 ครูถามนักเรียนว่า 4 × 9 = 9 + 9 + 9 + 9 = 36 4 × 9 = 36

จากประโยคสัญลักษณ์การคูณ 4 × 1 = 4 นั้น 4 ตัวหน้า สูตรคูณแม่ 4 ผลคูณเพิ่มขึ้นทีละ 4

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 257

ในที่นี้หมายถึงอะไร 1 ในที่นี้หมายถึงอะไร และ 4 ตัวหลัง


ในที่นี้หมายถึงอะไร นักเรียนตอบ 4 ตัวหน้าเป็นจำ�นวนกลุ่ม และ 1 เป็นจำ�นวนสมาชิกในแต่ละกลุ่ม
และ 4 ตัวหลังเป็นจำ�นวนสมาชิกทั้งหมด ครูติดบัตรภาพคุกกี้ 4 ถุง ถุงละ 2 ชิ้น แล้วถามนักเรียนว่า
มีคุกกี้กี่ถุง ถุงละกี่ชิ้น มีคุกกี้ทั้งหมดกี่ชิ้น นักเรียนตอบว่า มีคุกกี้ 4 ถุง ถุงละ 2 ชิ้น มีคุกกี้ทั้งหมด
8 ชิ้น ครูถามว่า เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 4 × 2 = 8
ครูถามนักเรียนว่า จากประโยคสัญลักษณ์การคูณ 4 × 2 = 8 นั้น 4 ในที่นี้หมายถึงอะไร 2 ในที่นี้
หมายถึงอะไร และ 8 ในที่นี้หมายถึงอะไร นักเรียนตอบ 4 เป็นจำ�นวนกลุ่ม และ 2 เป็นจำ�นวน
สมาชิกในแต่ละกลุ่ม และ 8 เป็นจำ�นวนสมาชิกทั้งหมด ครูติดบัตรภาพคุกกี้ 4 ถุง ถุงละ 3 ชิ้น
แล้วถามนักเรียนว่า มีคุกกี้กี่ถุง ถุงละกี่ชิ้น มีคุกกี้ทั้งหมดกี่ชิ้น นักเรียนตอบว่า มีคุกกี้ 4 ถุง ถุงละ
3 ชิ้น มีคุกกี้ทั้งหมด 12 ชิ้น ครูถามว่า เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ
4 × 3 = 12 ครูถามนักเรียนว่า จากประโยคสัญลักษณ์การคูณ 4 × 3 = 12 นั้น 4 ในที่นี้หมายถึง
อะไร 3 ในที่นี้หมายถึงอะไร และ 12 ในที่นี้หมายถึงอะไร นักเรียนตอบ 4 เป็นจำ�นวนกลุ่ม และ
3 เป็นจำ�นวนสมาชิกในแต่ละกลุ่ม และ 12 เป็นจำ�นวนสมาชิกทั้งหมด ครูติดบัตรภาพคุกกี้ 4 ถุง
ถุงละ 4 ชิ้น แล้วถามนักเรียนว่า มีคุกกี้กี่ถุง ถุงละกี่ชิ้น มีคุกกี้ทั้งหมดกี่ชิ้น นักเรียนตอบว่า
มีคุกกี้ 4 ถุง ถุงละ 4 ชิ้น มีคุกกี้ทั้งหมด 16 ชิ้น ครูถามว่า เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณ
ได้อย่างไร นักเรียนตอบ 4 × 4 = 16 ครูติดบัตรภาพคุกกี้ 4 ถุง ถุงละ 5 ชิ้น แล้วถามนักเรียนว่า
มีคุกกี้กี่ถุง ถุงละกี่ชิ้น มีคุกกี้ทั้งหมดกี่ชิ้น นักเรียนตอบว่า มีคก ุ กี้ 4 ถุง ถุงละ 5 ชิน
้ มีคก
ุ กีท
้ ง้ั หมด
20 ชิน้ ครูถามว่า เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 4 × 5 = 20

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  191
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 5 | การคูณ

ครูแนะนำ�ว่า การจัดสิ่งต่าง ๆ เป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน เป็นการนำ� 4 ไปคูณกับจำ�นวนของสิ่ง


ต่าง ๆ อาจเขียนเป็น 4 × 1 = 4 4 × 2 = 8 4 × 3 = 12 4 × 4 = 16 4 × 5 = 20 ซึ่งเรียกว่า
สูตรคูณแม่ 4 ครูให้นักเรียนสังเกตผลคูณจะเห็นว่า สูตรคูณแม่ 4 มีผลคูณเพิ่มขึ้นทีละ 4 จากนั้น
ครูถามนักเรียนว่า 4 × 6 เท่ากับเท่าไร 4 × 7 เท่ากับเท่าไร 4 × 8 เท่ากับเท่าไร 4 × 9 เท่ากับ
เท่าไร โดยสังเกตจากผลคูณ จากนั้นครูเขียนสูตรคูณแม่ 4 ให้ครบ แล้วให้นักเรียนอ่านพร้อมกัน
2. ครูติดบัตรภาพขนมตาล 5 จาน จานละ 1 ชิ้น หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

แล้วถามนักเรียนว่า มีขนมตาลกี่จาน จานละกี่ชิ้น


บทที่ 5 | การคูณ

มีขนมตาลทั้งหมดกี่ชิ้น นักเรียนตอบว่า มีขนมตาล 5 จาน มีขนมตาล 5 จาน จานละ 7 ชิ้น


มีขนมตาลทั้งหมด 5 × 7 = 7 + 7 + 7 + 7 + 7 = 35 ชิ้น

จานละ 1 ชิ้น มีขนมตาลทั้งหมด 5 ชิ้น ครูถามว่า เขียน จัดสิ่งต่าง ๆ เป็น 5 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีจำานวนสมาชิกเท่ากัน สูตรคูณแม่ 5

เป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 5 × 1 = 1 + 1 + 1 + 1 + 1 = 5 5 × 1 = 5

5 × 1 = 5 ครูถามนักเรียนว่า จากประโยคสัญลักษณ์
5 × 2 = 2 + 2 + 2 + 2 + 2 = 10 5 × 2 = 10

5 × 3 = 3 + 3 + 3 + 3 + 3 = 15 5 × 3 = 15

การคูณ 5 × 1 = 5 นั้น 5 ตัวหน้าในที่นี้หมายถึงอะไร 5 × 4 = 4 + 4 + 4 + 4 + 4 = 20 5 × 4 = 20

1 ในที่นี้หมายถึงอะไร และ 5 ตัวหลังในที่นี้หมายถึงอะไร


5 × 5 = 5 + 5 + 5 + 5 + 5 = 25 5 × 5 = 25

5 × 6 = 6 + 6 + 6 + 6 + 6 = 30 5 × 6 = 30

นักเรียนตอบ 5 ตัวหน้าเป็นจำ�นวนกลุ่ม และ 1 เป็นจำ�นวน 5 × 7 = 7 + 7 + 7 + 7 + 7 = 35 5 × 7 = 35

สมาชิกในแต่ละกลุ่ม และ 5 ตัวหลังเป็นจำ�นวนสมาชิก


5 × 8 = 8 + 8 + 8 + 8 + 8 = 40 5 × 8 = 40

5 × 9 = 9 + 9 + 9 + 9 + 9 = 45 5 × 9 = 45

ทั้งหมด ครูติดบัตรภาพขนมตาล 5 จาน จานละ 2 ชิ้น


แล้วถามนักเรียนว่า มีขนมตาลกี่จาน จานละกี่ชิ้น
สูตรคูณแม่ 5 ผลคูณเพิ่มขึ้นทีละเท่าไร

258 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มีขนมทั้งหมดกี่ชิ้น นักเรียนตอบว่า มีขนมตาล 5 จาน


จานละ 2 ชิ้น มีขนมตาลทั้งหมด 10 ชิ้น ครูถามว่า เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร
นักเรียนตอบ 5 × 2 = 10 ครูถามนักเรียนว่า จากประโยคสัญลักษณ์การคูณ 5 × 2 = 10 นั้น
5 ในที่นี้หมายถึงอะไร 2 ในที่นี้หมายถึงอะไร และ 10 ในที่นี้หมายถึงอะไร นักเรียนตอบ
5 เป็นจำ�นวนกลุ่ม และ 2 เป็นจำ�นวนสมาชิกในแต่ละกลุ่ม และ 10 เป็นจำ�นวนสมาชิกทั้งหมด
ครูติดบัตรภาพขนมตาล 5 จาน จานละ 3 ชิ้น แล้วถามนักเรียนว่า มีขนมตาลกี่จาน จานละกี่ชิ้น
มีขนมตาลทั้งหมดกี่ชิ้น นักเรียนตอบว่ามีขนมตาล 5 จาน จานละ 3 ชิ้น มีขนมตาลทั้งหมด 15 ชิ้น
ครูถามว่า เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 5 × 3 = 15 ครูถามนักเรียนว่า
จากประโยคสัญลักษณ์การคูณ 5 × 3 = 15 นั้น 5 ในที่นี้หมายถึงอะไร 3 ในที่นี้หมายถึงอะไร
และ 15 ในทีน ่ ห้ี มายถึงอะไร นักเรียนตอบ 5 เป็นจำ�นวนกลุม ่ และ 3 เป็นจำ�นวนสมาชิกในแต่ละกลุม

และ 15 เป็นจำ�นวนสมาชิกทั้งหมด ครูติดบัตรภาพขนมตาล 5 จาน จานละ 4 ชิ้น แล้วถามว่า
มีขนมตาลกีจ่ าน จานละกีช ่ น
้ิ มีขนมตาลทัง้ หมดกีช
่ น
้ิ นักเรียนตอบว่า มีขนมตาล 5 จาน จานละ 4 ชิน ้
มีขนมตาลทั้งหมด 20 ชิ้น ครูถามว่า เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ
5 × 4 = 20 ครูติดบัตรภาพขนมตาล 5 จาน จานละ 5 ชิ้น แล้วถามนักเรียนว่า มีขนมตาล กี่จาน
จานละกี่ชิ้น มีขนมตาลทั้งหมดกี่ชิ้น นักเรียนตอบว่า มีขนมตาล 5 จาน จานละ 5 ชิ้น มีขนมตาล
ทัง้ หมด 25 ชิน
้ ครูถามว่า เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 5 × 5 = 25

192  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 5 | การคูณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

ครูแนะนำ�ว่า การจัดสิง่ ต่าง ๆ เป็น 5 กลุม่ กลุม่ ละเท่า ๆ กัน เป็นการนำ� 5 ไปคูณกับจำ�นวนของสิง่ ต่าง ๆ
อาจเขียนเป็น 5 × 1 = 5 5 × 2 = 10 5 × 3 = 15 5 × 4 = 20 5 × 5 = 25 ซึง่ เรียกว่า สูตรคูณแม่ 5
ครูให้นกั เรียนสังเกตผลคูณจะเห็นว่า สูตรคูณแม่ 5 มีผลคูณเพิม ่ ขึน
้ ทีละ 5 จากนัน
้ ครูถามว่า 5 × 6 เท่ากับ
เท่าไร 5 × 7 เท่ากับเท่าไร 5 × 8 เท่ากับเท่าไร 5 × 9
เท่ากับเท่าไร โดยสังเกตจากผลคูณ จากนัน ้ ครูเขียนสูตรคูณ
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

แม่ 5 ให้ครบ แล้วให้นก ั เรียนอ่านพร้อมกัน 6 × 4 =


เนื่องจาก 6 × 4 = 4 × 6

3. ครูให้นก ั เรียนหาผลคูณของจำ�นวนหนึง่ หลักกับ 4


จากสูตรคูณแม่ 4 จะได้ 4 × 6 = 24
ดังนั้น 6 × 4 = 24

โดยใช้การถาม-ตอบ เช่น 6 × 4 เท่ากับเท่าไร ซึง่ นักเรียน หาผลคูณ

อาจหาผลคูณโดยนำ� 4 มาบวกกัน 6 จำ�นวน (4 + 4 + 4 9 × 5 = 45


9 × 5 = 5 × 9
= 45

+ 4 + 4 + 4) ครูแนะนำ�ว่า เนื่องจากการคูณจำ�นวน
สองจำ�นวนเมือ ่ สลับทีก่ นั ผลคูณยังคงเท่าเดิม จะได้ 20 30
1 5 × 4 = 2 6 × 5 =

6 × 4 = 4 × 6 ดังนัน ้ สามารถหาผลคูณของ 6 × 4 3 36 4 × 9 = 25 4 5 × 5 =

ได้จาก 4 × 6 ซึง่ เท่ากับ 24 จากนัน ้ ครูให้นกั เรียนช่วยกัน 5 36 9 × 4 = 32 6 8 × 4 =

หาผลคูณของจำ�นวนหนึง่ หลักกับ 4 และผลคูณของ


7 16 4 × 4 = 35 8 7 × 5 =

จำ�นวนหนึง่ หลักกับ 5 ตามหนังสือเรียนหน้า 259


โดยครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 259

การตรวจสอบความเข้าใจ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยให้นก ั เรียน
บทที่ 5 | การคูณ

ตรวจสอบความเข้าใจ

หาผลคูณของจำ�นวนหนึง่ หลัก กับ 4 และหาผลคูณ หาผลคูณ

ของจำ�นวนหนึง่ หลัก กับ 5 ตามหนังสือเรียนหน้า 260 1 5 × 2 = 10 2 4 × 3 = 12

แต่จะพบว่าข้อ 3 และข้อ 4 เป็นการใช้การสลับทีก ่ ารคูณ 3 7 × 4 = 28 4 8 × 5 = 40

เพือ
่ หาคำ�ตอบ ซึง่ นักเรียนเรียนรูม
้ าแล้วในหน้า 259
5 4 × 8 = 32 6 5 × 7 = 35
เพือ่ ให้นก
ั เรียนได้ฝก
ึ ทักษะการคิดให้คล่อง ซึง่ เป็นการ
ส่งเสริมของความคิดสร้างสรรค์ จากนัน ้ ครูและนักเรียน
ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและสรุปสิง่ ทีไ่ ด้เรียนรู

สิ่งที่ได้เรียนรู้
4 คูณกับจำานวนหนึ่งหลัก หาผลคูณได้โดยใช้สูตรคูณแม่ 4

สิ่งที่ได้เรียนรู้ 5 คูณกับจำานวนหนึ่งหลัก หาผลคูณได้โดยใช้สูตรคูณแม่ 5

• 4 คู
ณกับจำ�นวนหนึง่ หลัก หาผลคูณได้โดยใช้สตู รคูณแม่ 4


แบบฝึกหัด 5.5

260 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

5 คูณกับจำ�นวนหนึง่ หลัก หาผลคูณได้โดยใช้สตู รคูณแม่ 5


จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 5.5 หน้า 164 − 166

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  193
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 5 | การคูณ

5.6 การคูณจำ�นวนหนึ่งหลักกับจำ�นวนหนึ่งหลัก (3)


จุดประสงค์
หาผลคูณของจำ�นวนหนึ่งหลักกับ 6 และหาผลคูณของจำ�นวนหนึ่งหลักกับ 7
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

สื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 | การคูณ

5.6 การคูณจำานวนหนึง่ หลักกับจำานวนหนึง่ หลัก (3)


บัตรภาพ พัฒนาความรู้

มีแอปเปิล 6 แพ็ก แพ็กละ 4 ผล

แนวการจัดการเรียนรู้
มีแอปเปิลทั้งหมด 6 × 4 = 4 + 4 + 4 + 4 + 4 + 4 = 24 ผล

จัดสิ่งต่าง ๆ เป็น 6 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีจำานวนสมาชิกเท่ากัน สูตรคูณแม่ 6

การพัฒนาความรู้ 6 × 1 = 1 + 1 + 1 + 1 + 1 + 1 = 6

6 × 2 = 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 = 12
6 × 1 = 6

6 × 2 = 12

1. ครูติดบัตรภาพแอปเปิล 6 แพ็ก แพ็กละ 1 ผล 6 × 3 = 3 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3 = 18 6 × 3 = 18

แล้วถามนักเรียนว่า มีแอปเปิลกี่แพ็ก แพ็กละกี่ผล 6 × 4 = 4 + 4 + 4 + 4 + 4 + 4 = 24 6 × 4 = 24

6 × 5 = 5 + 5 + 5 + 5 + 5 + 5 = 30 6 × 5 = 30

มีแอปเปิลทั้งหมดกี่ผล นักเรียนตอบว่า มีแอปเปิล 6 แพ็ก 6 × 6 = 6 + 6 + 6 + 6 + 6 + 6 = 36 6 × 6 = 36

แพ็กละ 1 ผล มีแอปเปิลทั้งหมด 6 ผล ครูถามว่า เขียนเป็น 6 × 7 = 7 + 7 + 7 + 7 + 7 + 7 = 42 6 × 7 = 42

6 × 8 = 8 + 8 + 8 + 8 + 8 + 8 = 48 6 × 8 = 48

ประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 6 × 9 = 9 + 9 + 9 + 9 + 9 + 9 = 54 6 × 9 = 54

6 × 1 = 6 ครูถามนักเรียนว่า จากประโยคสัญลักษณ์การคูณ สูตรคูณแม่ 6 ผลคูณเพิ่มขึ้นทีละ 6

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 261

6 × 1 = 6 นั้น 6 ตัวหน้าในที่นี้หมายถึงอะไร 1 ในที่นี้


หมายถึงอะไร และ 6 ตัวหลังในทีน ่ ห
้ี มายถึงอะไร นักเรียนตอบ 6 ตัวหน้าเป็นจำ�นวนกลุม
่ และ 1 เป็น
จำ�นวนสมาชิกในแต่ละกลุ่ม และ 6 ตัวหลังเป็นจำ�นวนสมาชิกทั้งหมด ครูติดบัตรภาพแอปเปิล
6 แพ็ก แพ็กละ 2 ผล แล้วถามนักเรียนว่า มีแอปเปิลกี่แพ็ก แพ็กละกี่ผล มีแอปเปิลทั้งหมดกี่ผล
นักเรียนตอบว่า มีแอปเปิล 6 แพ็ก แพ็กละ 2 ผล มีแอปเปิลทั้งหมด 12 ผล ครูถามว่า เขียนเป็น
ประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 6 × 2 = 12 ครูถามนักเรียนว่า จากประโยคสัญลักษณ์
การคูณ 6 × 2 = 12 นั้น 6 ในที่นี้หมายถึงอะไร 2 ในที่นี้หมายถึงอะไร และ 12 ในที่นี้หมายถึงอะไร
นักเรียนตอบ 6 เป็นจำ�นวนกลุ่ม และ 2 เป็นจำ�นวนสมาชิกในแต่ละกลุ่ม และ 12 เป็นจำ�นวนสมาชิก
ทั้งหมด ครูติดบัตรภาพแอปเปิล 6 แพ็ก แพ็กละ 3 ผล แล้วถามนักเรียนว่า มีแอปเปิลกี่แพ็ก แพ็กละ
กี่ผล มีแอปเปิลทั้งหมดกี่ผล นักเรียนตอบว่า มีแอปเปิล 6 แพ็ก แพ็กละ 3 ผล มีแอปเปิลทั้งหมด
18 ผล ครูถามว่า เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 6 × 3 = 18
ครูถามนักเรียนว่า จากประโยคสัญลักษณ์การคูณ 6 × 3 = 18 นั้น 6 ในที่นี้หมายถึงอะไร
3 ในที่นี้หมายถึงอะไร และ 18 ในที่นี้หมายถึงอะไร นักเรียนตอบ 6 เป็นจำ�นวนกลุ่ม และ
3 เป็นจำ�นวนสมาชิกในแต่ละกลุ่ม และ 18 เป็นจำ�นวนสมาชิกทั้งหมด ครูติดบัตรภาพแอปเปิล
6 แพ็ก แพ็กละ 4 ผล แล้วถามนักเรียนว่า มีแอปเปิลกี่แพ็ก แพ็กละกี่ผล มีแอปเปิลทั้งหมดกี่ผล
นักเรียนตอบว่า มีแอปเปิล 6 แพ็ก แพ็กละ 4 ผล มีแอปเปิลทั้งหมด 24 ผล ครูถามว่า เขียนเป็น
ประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 6 × 4 = 24 ครูติดบัตรภาพแอปเปิล 6 แพ็ก
แพ็กละ 5 ผล แล้วถามนักเรียนว่า มีแอปเปิลกี่แพ็ก แพ็กละกี่ผล มีแอปเปิลทั้งหมดกี่ผล

194  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 5 | การคูณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

นักเรียนตอบว่า มีแอปเปิล 6 แพ็ก แพ็กละ 5 ผล มีแอปเปิลทัง้ หมด 30 ผล ครูถามว่า เขียนเป็น


ประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 6 × 5 = 30 ครูแนะนำ�ว่า การจัดสิง่ ต่าง ๆ
เป็น 6 กลุม ่ กลุม ่ ละเท่า ๆ กัน เป็นการนำ� 6 ไปคูณกับจำ�นวนของสิง่ ต่าง ๆ อาจเขียนเป็น 6 × 1 = 6
6 × 2 = 12 6 × 3 = 18 6 × 4 = 24 6 × 5 = 30 ซึง่ เรียกว่า สูตรคูณแม่ 6 ครูให้นก ั เรียน
สังเกตผลคูณ จะเห็นว่า สูตรคูณแม่ 6 มีผลคูณเพิม ่ ขึน
้ ทีละ 6 จากนัน ้ ครูถามนักเรียนว่า 6 × 6
เท่ากับเท่าไร 6 × 7 เท่ากับเท่าไร 6 × 8 เท่ากับเท่าไร 6 × 9 เท่ากับเท่าไร โดยสังเกตจากผลคูณ
จากนัน ้ ครูเขียนสูตรคูณแม่ 6 ให้ครบแล้วให้นกั เรียนอ่านพร้อมกัน
2. ครูตด ิ บัตรภาพขนมกล้วย 7 จาน จานละ 1 ชิน ้
แล้วถามนักเรียนว่า มีขนมกล้วยกีจ่ าน จานละกีช ่ น้ิ
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

มีขนมกล้วยทัง้ หมดกีช ่ น้ิ นักเรียนตอบว่า มีขนมกล้วย 7 จาน มีขนมกล้วย 7 จาน จานละ 5 ชิ้น
มีขนมกล้วยทั้งหมด 7 × 5 = 5 + 5 + 5 + 5 + 5 + 5 + 5 = 35 ชิ้น

จานละ 1 ชิน ้ มีขนมกล้วยทัง้ หมด 7 ชิน ้ ครูถามว่า เขียนเป็น


จัดสิ่งต่าง ๆ เป็น 7 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีจำานวนสมาชิกเท่ากัน สูตรคูณแม่ 7
ประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 7 × 1 = 7 7 × 1 = 1 + 1 + 1 + 1 + 1 + 1 + 1 = 7 7 × 1 = 7

ครูถามนักเรียนว่า จากประโยคสัญลักษณ์การคูณ 7 × 1 = 7 7 × 2 = 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 = 14 7 × 2 = 14

นัน ้ 7 ตัวหน้าในทีน ่ ห้ี มายถึงอะไร 1 ในทีน ่ ห้ี มายถึงอะไร และ


7 × 3 = 3 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3 = 21 7 × 3 = 21

7 × 4 = 4 + 4 + 4 + 4 + 4 + 4 + 4 = 28 7 × 4 = 28

7 ตัวหลังในทีน ่ ห
้ี มายถึงอะไร นักเรียนตอบ 7 ตัวหน้าเป็น 7 × 5 = 5 + 5 + 5 + 5 + 5 + 5 + 5 = 35 7 × 5 = 35

จำ�นวนกลุม ่ และ 1 เป็นจำ�นวนสมาชิกในแต่ละกลุม ่ และ


7 × 6 = 6 + 6 + 6 + 6 + 6 + 6 + 6 = 42 7 × 6 = 42

7 × 7 = 7 + 7 + 7 + 7 + 7 + 7 + 7 = 49 7 × 7 = 49

7 ตัวหลังเป็นจำ�นวนสมาชิกทัง้ หมด ครูตด ิ บัตรภาพขนมกล้วย 7 × 8 = 8 + 8 + 8 + 8 + 8 + 8 + 8 = 56 7 × 8 = 56

7 จาน จานละ 2 ชิน ้ แล้วถามนักเรียนว่า มีขนมกล้วยกีจ่ าน


7 × 9 = 9 + 9 + 9 + 9 + 9 + 9 + 9 = 63 7 × 9 = 63

จานละกีช ่ น
้ิ มีขนมกล้วยทัง้ หมดกีช ่ น ้ิ นักเรียนตอบว่า สูตรคูณแม่ 7 ผลคูณเพิ่มขึ้นทีละเท่าไร

มีขนมกล้วย 7 จาน จานละ 2 ชิน ้ มีขนมกล้วยทัง้ หมด 14 ชิน ้ 262 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ครูถามว่า เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร
นักเรียนตอบ 7 × 2 = 14 ครูถามนักเรียนว่า จากประโยคสัญลักษณ์การคูณ 7 × 2 = 14 นัน ้ 7 ในทีน่ ้ี
หมายถึงอะไร 2 ในที่นี้หมายถึงอะไร และ 14 ในที่นี้หมายถึงอะไร นักเรียนตอบ 7 เป็นจำ�นวนกลุ่ม
และ 2 เป็นจำ�นวนสมาชิกในแต่ละกลุม ่ และ 14 เป็นจำ�นวนสมาชิกทัง้ หมด ครูตด ิ บัตรภาพขนมกล้วย
7 จาน จานละ 3 ชิ้น แล้วถามนักเรียนว่า มีขนมกล้วยกี่จาน จานละกี่ชิ้น มีขนมกล้วยทั้งหมดกี่ชิ้น
นักเรียนตอบว่า มีขนมกล้วย 7 จาน จานละ 3 ชิน ้ มีขนมกล้วยทัง้ หมด 21 ชิน ้ ครูถามว่า เขียนเป็น
ประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 7 × 3 = 21 ครูถามนักเรียนว่า จากประโยคสัญลักษณ์
การคูณ 7 × 3 = 21 นัน ้ 7 ในทีน่ ห้ี มายถึงอะไร 3 ในทีน ่ ห้ี มายถึงอะไร และ 21 ในทีน ่ ห
้ี มายถึงอะไร
นักเรียนตอบ 7 เป็นจำ�นวนกลุม ่ และ 3 เป็นจำ�นวนสมาชิกในแต่ละกลุม ่ และ 21 เป็นจำ�นวนสมาชิก
ทัง้ หมด ครูตดิ บัตรภาพขนมกล้วย 7 จาน จานละ 4 ชิน ้ แล้วถามนักเรียนว่า มีขนมกล้วยกีจ่ าน จานละกีช่ น ้ิ
มีขนมกล้วยทัง้ หมดกีช ่ น
้ิ นักเรียนตอบว่า มีขนมกล้วย 7 จาน จานละ 4 ชิน ้ มีขนมกล้วยทัง้ หมด 28 ชิน ้
ครูถามว่า เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 7 × 4 = 28 ครูตด ิ บัตรภาพ
ขนมกล้วย 7 จาน จานละ 5 ชิน ้ แล้วถามนักเรียนว่ามีขนมกล้วยกีจ่ าน จานละกีช่ น ้ ิ มีขนมกล้วยทัง้ หมดกีช่ น ้ิ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  195
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 5 | การคูณ

นักเรียนตอบว่า มีขนมกล้วย 7 จาน จานละ 5 ชิน ้ มีขนมกล้วยทัง้ หมด 35 ชิน ้ ครูถามว่า เขียนเป็น
ประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 7 × 5 = 35 ครูแนะนำ�ว่า การจัดสิง่ ต่าง ๆ เป็น 7 กลุม ่
กลุม ่ ละเท่า ๆ กัน เป็นการนำ� 7 ไปคูณกับจำ�นวนของสิง่ ต่าง ๆ อาจเขียนเป็น 7 × 1 = 7 7 × 2 = 14
7 × 3 = 21 7 × 4 = 28 7 × 5 = 35 ซึง่ เรียกว่า สูตรคูณแม่ 7 ครูให้นกั เรียนสังเกตผลคูณ จะเห็นว่า
สูตรคูณแม่ 7 มีผลคูณเพิม ่ ขึน
้ ทีละ 7 จากนัน
้ ครูถามนักเรียนว่า 7 × 6 เท่ากับเท่าไร 7 × 7 เท่ากับเท่าไร
7 × 8 เท่ากับเท่าไร 7 × 9 เท่ากับเท่าไร โดยสังเกตจากผลคูณ จากนัน ้ ครูเขียนสูตรคูณแม่ 7 ให้ครบ
แล้วให้นกั เรียนอ่านพร้อมกัน
3. ครูให้นกั เรียนหาผลคูณของจำ�นวนหนึง่ หลักกับ 6 โดย หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

ใช้การถาม-ตอบ เช่น 6 × 3 เท่ากับเท่าไร แล้วถามนักเรียนว่า 6 × 3 =


6 × 3 = 3 × 6

3 × 6 เท่ากับเท่าไร นักเรียนควรจะตอบได้วา ่ 3 × 6 = 6 × 3 จากสูตรคูณแม่ 6 จะได้ 6 × 3 = 18

เพราะนักเรียนทราบมาแล้วว่า การคูณจำ�นวนสองจำ�นวน ใช้สูตรคูณแม่ 3 ก็ได้ 3 × 6 = 18


ดังนั้น 6 × 3 = 18

เมือ่ สลับทีก่ น
ั ผลคูณยังคงเท่าเดิม ครูให้นกั เรียนสังเกตว่า หาผลคูณ

สามารถหาคำ�ตอบโดยใช้สต ู รคูณแม่ 3 หรือสูตรคูณแม่ 6 ก็ได้ 8 × 6 = 48


8 × 6 = 6 × 8
= 48

จากนัน ้ ครูให้นกั เรียนช่วยกันหาผลคูณของจำ�นวนหนึง่ หลัก


24 6 × 4 = 35 5 × 7 =
กับ 6 และ ผลคูณของจำ�นวนหนึง่ หลักกับ 7 ตามหนังสือเรียน
1 2

หน้า 263 โดยครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง 3 21 7 × 3 = 56 4 7 × 8 =

5
9 × 6 = 54 6 6 × 6 = 36

การตรวจสอบความเข้าใจ
7
6 × 8 = 48 8 7 × 5 = 35
4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนให้สอดคล้อง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 263

กับจุดประสงค์การเรียนในชั่วโมงนี้โดยให้นักเรียนหาผลคูณ
ของจำ�นวนหนึ่งหลัก กับ 6 และหาผลคูณของจำ�นวนหนึ่ง หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

หลัก กับ 7 ตามหนังสือเรียนหน้า 264 แต่จะพบว่าข้อ 2


บทที่ 5 | การคูณ

ตรวจสอบความเข้าใจ

ข้อ 3 และข้อ 5 เป็นการใช้การสลับที่การคูณเพื่อหา หาผลคูณ

คำ�ตอบ ซึ่งนักเรียนทำ�มาแล้วในหน้า 263 เพื่อให้นักเรียน 1


7 × 2 = 14 2 4 × 7 = 28

ได้ฝึกทักษะการคิดให้คล่อง ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของความคิด 3
3 × 7 = 21 4 6 × 5 = 30

สร้างสรรค์ จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบ
5
5 × 6 = 30 6 7 × 6 = 42
ความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้

สิ่งที่ได้เรียนรู้
• 6 คู
ณกับจำ�นวนหนึง่ หลัก หาผลคูณได้โดยใช้สต ู รคูณแม่ 6


สิ่งที่ได้เรียนรู้

7 คูณกับจำ�นวนหนึง่ หลัก หาผลคูณได้โดยใช้สต ู รคูณแม่ 7 6 คูณกับจำานวนหนึ่งหลัก หาผลคูณได้โดยใช้สูตรคูณแม่ 6


7 คูณกับจำานวนหนึ่งหลัก หาผลคูณได้โดยใช้สูตรคูณแม่ 7

จากนัน ้ ให้นกั เรียนทำ�แบบฝึกหัด 5.6 หน้า 167 − 169 264 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


แบบฝึกหัด 5.6

196  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 5 | การคูณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

5.7 การคูณจำ�นวนหนึ่งหลักกับจำ�นวนหนึ่งหลัก (4)


จุดประสงค์
หาผลคูณของจำ�นวน 1 หลักกับ 8 และหาผลคูณของจำ�นวน 1 หลักกับ 9

สื่อการเรียนรู้
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

5.7 การคูณจำานวนหนึง่ หลักกับจำานวนหนึง่ หลัก (4)


บัตรภาพ พัฒนาความรู้

มีสาลี่ 8 กล่อง กล่องละ 2 ผล

แนวการจัดการเรียนรู้
มีสาลี่ทั้งหมด 8 × 2 = 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 = 16 ผล

จัดสิ่งต่าง ๆ เป็น 8 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีจำานวนสมาชิกเท่ากัน สูตรคูณแม่ 8

การพัฒนาความรู้ 8 × 1 = 1 + 1 + 1 + 1 + 1 + 1 + 1 + 1 = 8 8 × 1 = 8

8 × 2 = 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 = 16 8 × 2 = 16

1. ครูตด ิ บัตรภาพสาลี่ 8 แพ็ก แพ็กละ 1 ผล แล้ว 8 × 3 = 3 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3 = 24 8 × 3 = 24

ถามนักเรียนว่า มีสาลีก่ แ่ี พ็ก แพ็กละกีผ ่ ล มีสาลีท ่ ง้ั หมดกีผ


่ ล 8 × 4 = 4 + 4 + 4 + 4 + 4 + 4 + 4 + 4 = 32 8 × 4 = 32

8 × 5 = 5 + 5 + 5 + 5 + 5 + 5 + 5 + 5 = 40 8 × 5 = 40

นักเรียนตอบว่า มีสาลี่ 8 แพ็ก แพ็กละ 1 ผล มีสาลี่ทั้งหมด 8 × 6 = 6 + 6 + 6 + 6 + 6 + 6 + 6 + 6 = 48 8 × 6 = 48

8 ผล ครูถามว่า เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณ 8 × 7 = 7 + 7 + 7 + 7 + 7 + 7 + 7 + 7 = 56 8 × 7 = 56

8 × 8 = 8 + 8 + 8 + 8 + 8 + 8 + 8 + 8 = 64 8 × 8 = 64

ได้อย่างไร นักเรียนตอบ 8 × 1 = 8 ครูถามนักเรียนว่า 8 × 9 = 9 + 9 + 9 + 9 + 9 + 9 + 9 + 9 = 72 8 × 9 = 72

จากประโยคสัญลักษณ์การคูณ 8 × 1 = 8 นั้น 8 ตัวหน้า สูตรคูณแม่ 8 ผลคูณเพิ่มขึ้นทีละเท่าไร

| 265

ในที่นี้หมายถึงอะไร 1 ในที่นี้หมายถึงอะไร และ 8 ตัวหลัง


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ในทีน่ ห ้ี มายถึงอะไร นักเรียนตอบ 8 ตัวหน้าเป็นจำ�นวนกลุม ่ และ 1 เป็นจำ�นวนสมาชิกในแต่ละกลุม ่


และ 8 ตัวหลังเป็นจำ�นวนสมาชิกทัง้ หมด ครูตด ิ บัตรภาพสาลี่ 8 แพ็ก แพ็กละ 2 ผล แล้วถามนักเรียนว่า
มีสาลีก่ แ่ี พ็ก แพ็กละกีผ
่ ล มีสาลีท ่ ง้ั หมดกีผ ่ ล นักเรียนตอบว่า มีสาลี 8 แพ็ก แพ็กละ 2 ผล มีสาลีท ่ ง้ั หมด
16 ผล ครูถามว่า เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 8 × 2 = 16
ครูถามนักเรียนว่า จากประโยคสัญลักษณ์การคูณ 8 × 2 = 16 นัน ้ 8 ในทีน่ ห้ี มายถึงอะไร 2 ในทีน ่ ้ี
หมายถึงอะไร และ 16 ในทีน ่ ห ้ี มายถึงอะไร นักเรียนตอบ 8 เป็นจำ�นวนกลุม ่ และ 2 เป็นจำ�นวนสมาชิก
ในแต่ละกลุม ่ และ 16 เป็นจำ�นวนทัง้ หมด ครูตด ิ บัตรภาพสาลี่ 8 แพ็ก แพ็กละ 3 ผล แล้วถามนักเรียนว่า
มีสาลีก่ แ่ี พ็ก แพ็กละกีผ
่ ล มีสาลีท ่ ง้ั หมดกีผ ่ ล นักเรียนตอบว่า มีสาลี่ 8 แพ็ก แพ็กละ 3 ผล มีสาลีท ่ ง้ั หมด
24 ผล ครูถามว่า เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 8 × 3 = 24
ครูถามนักเรียนว่า จากประโยคสัญลักษณ์การคูณ 8 × 3 = 24 นัน ้ 8 ในทีน่ ห ้ี มายถึงอะไร 3 ในทีน ่ ้ี
หมายถึงอะไร และ 24 ในทีน ่ ห้ี มายถึงอะไร นักเรียนตอบ 8 เป็นจำ�นวนกลุม ่ และ 3 เป็นจำ�นวนสมาชิก
ในแต่ละกลุ่ม และ 24 เป็นจำ�นวนสมาชิกทั้งหมด ครูติดบัตรภาพสาลี่ 8 แพ็ก แพ็กละ 4 ผล แล้ว
ถามนักเรียนว่า มีสาลีก่ แ่ี พ็ก แพ็กละกีผ ่ ล มีสาลีท ่ ง้ั หมดกีผ
่ ล นักเรียนตอบว่า มีสาลี่ 8 แพ็ก แพ็กละ 4 ผล
มีสาลีท ่ ง้ั หมด 32 ผล ครูถามว่า เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 8 × 4 = 32
ครูตด
ิ บัตรภาพสาลี่ 8 แพ็ก แพ็กละ 5 ผล แล้วถามนักเรียนว่า มีสาลีก่ แ่ี พ็ก แพ็กละกีผ ่ ล มีสาลีท
่ ง้ั หมดกีผ ่ ล
นักเรียนตอบว่า มีสาลี่ 8 แพ็ก แพ็กละ 5 ผล มีสาลี่ทั้งหมด 40 ผล ครูถามว่า เขียนเป็น
ประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 8 × 5 = 40 ครูแนะนำ�ว่า การจัดสิง่ ต่าง ๆ เป็น 8 กลุม ่

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  197
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 5 | การคูณ

กลุม ่ ละเท่า ๆ กัน เป็นการนำ� 8 ไปคูณกับจำ�นวนของสิง่ ต่าง ๆ อาจเขียนเป็น 8 × 1 = 8 8 × 2 = 16


8 × 3 = 24 8 × 4 = 32 8 × 5 = 40 ซึ่งเรียกว่า สูตรคูณแม่ 8 ครูให้นักเรียนสังเกตผลคูณ
จะเห็นว่า สูตรคูณแม่ 8 มีผลคูณเพิ่มขึ้นทีละ 8 จากนั้นครูถามนักเรียนว่า 8 × 6 เท่ากับเท่าไร
8 × 7 เท่ากับเท่าไร 8 × 8 เท่ากับเท่าไร 8 × 9 เท่ากับเท่าไร โดยสังเกตจากผลคูณ จากนั้น
ครูเขียนสูตรคูณแม่ 8 ให้ครบแล้วให้นักเรียนอ่านพร้อมกัน
2. ครูตด ิ บัตรภาพขนมถ้วยฟู 9 จาน จานละ 1 ชิน ้
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

แล้วถามนักเรียนว่า มีขนมถ้วยฟูกจ่ี าน จานละกีช ่ น ้ิ มีขนม


บทที่ 5 | การคูณ

ถ้วยฟูทง้ั หมดกีช ่ น ้ิ นักเรียนตอบว่า มีขนมถ้วยฟู 9 จาน มีขนมถ้วยฟู 9 จาน จานละ 3 ชิ้น


มีขนมถ้วยฟูทั้งหมด 9 × 3 = 3 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3 = 27 ชิ้น

จานละ 1 ชิน ้ มีขนมถ้วยฟู ทัง้ หมด 9 ชิน ้ ครูถามว่า เขียนเป็น จัดสิ่งต่าง ๆ เป็น 9 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีจำานวนสมาชิกเท่ากัน สูตรคูณแม่ 9

ประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 9 × 1 = 9 9 × 1 = 1 + 1 + 1 + 1 + 1 + 1 + 1 + 1 + 1 = 9 9 × 1 = 9

ครูถามนักเรียนว่า จากประโยคสัญลักษณ์การคูณ 9 × 1 = 9
9 × 2 = 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 = 18 9 × 2 = 18

9 × 3 = 3 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3 = 27 9 × 3 = 27

นัน ้ 9 ตัวหน้าในทีน ่ ห ้ี มายถึงอะไร 1 ในทีน ่ ห


้ี มายถึงอะไร และ 9 × 4 = 4 + 4 + 4 + 4 + 4 + 4 + 4 + 4 + 4 = 36 9 × 4 = 36

9 ตัวหลังในทีน ่ ห ้ี มายถึงอะไร นักเรียนตอบ 9 ตัวหน้าเป็น


9 × 5 = 5 + 5 + 5 + 5 + 5 + 5 + 5 + 5 + 5 = 45 9 × 5 = 45

9 × 6 = 6 + 6 + 6 + 6 + 6 + 6 + 6 + 6 + 6 = 54 9 × 6 = 54

จำ�นวนกลุม ่ และ 1 เป็นจำ�นวนสมาชิกในแต่ละกลุม ่ และ 9 × 7 = 7 + 7 + 7 + 7 + 7 + 7 + 7 + 7 + 7 = 63 9 × 7 = 63

9 ตัวหลังเป็นจำ�นวนสมาชิกทัง้ หมด ครูตดิ บัตรภาพขนมถ้วยฟู


9 × 8 = 8 + 8 + 8 + 8 + 8 + 8 + 8 + 8 + 8 = 72 9 × 8 = 72

9 × 9 = 9 + 9 + 9 + 9 + 9 + 9 + 9 + 9 + 9 = 81 9 × 9 = 81

9 จาน จานละ 2 ชิน ้ แล้วถามนักเรียนว่า มีขนมถ้วยฟูกจ่ี าน


สูตรคูณแม่ 9 ผลคูณเพิ่มขึ้นทีละเท่าไร

จานละกีช ่ น้ิ มีขนมถ้วยฟูทง้ั หมดกีช ่ น ้ิ นักเรียนตอบว่า มีขนม 266 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ถ้วยฟู 9 จาน จานละ 2 ชิน ้ มี ขนมถ้วยฟูทง้ั หมด 18 ชิน ้


ครูถามว่า เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 9 × 2 = 18 ครูถามนักเรียนว่า
จากประโยคสัญลักษณ์การคูณ 9 × 2 = 18 นัน ้ 9 ในทีน ่ ห ้ี มายถึงอะไร 2 ในทีน ่ ห
้ี มายถึงอะไร และ 18
ในทีน ่ ห
้ี มายถึงอะไร นักเรียนตอบ 9 เป็นจำ�นวนกลุม ่ และ 2 เป็นจำ�นวนสมาชิกในแต่ละกลุม ่ และ 18
เป็นจำ�นวนสมาชิกทัง้ หมด ครูตดิ บัตรภาพขนมถ้วยฟู 9 จาน จานละ 3 ชิน ้ แล้วถามนักเรียนว่า มีขนมถ้วยฟู
กีจ่ าน จานละกีช่ น ้ิ มีขนมถ้วยฟูทง้ั หมดกีช่ น ้ิ นักเรียนตอบว่า มีขนมถ้วยฟู 9 จาน จานละ 3 ชิน ้ มีขนมถ้วยฟู
ทัง้ หมด 27 ชิน ้ ครูถามว่า เขียนเป็น ประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 9 × 3 = 27
ครูถามนักเรียนว่า จากประโยคสัญลักษณ์การคูณ 9 × 3 = 27 นัน ้ 9 ในทีน ่ ห้ี มายถึงอะไร 3 ในทีน ่ ้ี
หมายถึงอะไร และ 27 ในทีน ่ ห
้ี มายถึงอะไร นักเรียนตอบ 9 เป็นจำ�นวนกลุม ่ และ 3 เป็นจำ�นวนสมาชิก
ในแต่ละกลุม ่ และ 27 เป็นจำ�นวนสมาชิกทัง้ หมด ครูตด ิ บัตรภาพขนมถ้วยฟู 9 จาน จานละ 4 ชิน ้
แล้วถามนักเรียนว่า มีขนมถ้วยฟูกจ่ี าน จานละกีช ่ น้ิ มีขนมถ้วยฟูทง้ั หมดกีช ่ น้ิ นักเรียนตอบว่า มีขนมถ้วยฟู
9 จาน จานละ 4 ชิน ้ มีขนมถ้วยฟูทง้ั หมด 36 ชิน ้ ครูถามว่า เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร
นักเรียนตอบ 9 × 4 = 36 ครูตด ิ บัตรภาพขนมถ้วยฟู 9 จาน จานละ 5 ชิน ้ แล้วถามว่า มีขนมถ้วยฟูกจ่ี าน
จานละกีช ่ น
้ิ มีขนมถ้วยฟูทง้ั หมดกีช ่ น ้ิ นักเรียนตอบว่า มีขนมถ้วยฟู 9 จาน จานละ 5 ชิน ้ มีขนมถ้วยฟู
ทัง้ หมด 45 ชิน ้ ครูถามว่า เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 9 × 5 = 45
ครูแนะนำ�ว่า การจัดสิง่ ต่าง ๆ เป็น 9 กลุม ่ กลุม ่ ละเท่า ๆ กัน เป็นการนำ� 9 ไปคูณกับจำ�นวนของสิง่ ต่าง ๆ

198  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 5 | การคูณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

อาจเขียนเป็น 9 × 1 = 9 9 × 2 = 18 9 × 3 = 27 9 × 4 = 36 9 × 5 = 45 ซึ่งเรียกว่า
สูตรคูณแม่ 9 ครูให้นักเรียนสังเกตผลคูณ จะเห็นว่า สูตรคูณแม่ 9 มีผลคูณเพิ่มขึ้นทีละ 9 จากนั้น
ครูถามนักเรียนว่า 9 × 6 เท่ากับเท่าไร 9 × 7 เท่ากับเท่าไร 9 × 8 เท่ากับเท่าไร 9 × 9 เท่ากับเท่าไร
โดยสังเกตจากผลคูณ จากนั้นครูเขียนสูตรคูณแม่ 9 ให้ครบแล้วให้นักเรียนอ่านพร้อมกัน
3. ครูให้นักเรียนหาผลคูณของจำ�นวนหนึ่งหลัก หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

กับ 9 โดยใช้การถาม-ตอบ เช่น 9 × 5 เท่ากับเท่าไร


บทที่ 5 | การคูณ

9 × 5 =

นักเรียนตอบว่า 45 แล้วครูถามนักเรียนว่า 5 × 9
9 × 5 = 5 × 9

จากสูตรคูณแม่ 9 จะได้ 9 × 5 = 45

เท่ากับเท่าไร นักเรียนตอบว่า 45 ครูให้นกั เรียนสังเกตว่า ใช้สูตรคูณแม่ 5 ก็ได้ 5 × 9 = 45


ดังนั้น 9 × 5 = 45

สามารถหาคำ�ตอบโดยใช้สต ู รคูณแม่ 5 หรือสูตรคูณแม่ 9 หาผลคูณ

ก็ได้ เพราะการคูณจำ�นวนสองจำ�นวนเมื่อสลับที่กันผลคูณ 8 × 4 = 32

ยังคงเท่าเดิม จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกันหาผลคูณ
ของจำ�นวนหนึ่งหลักกับ 8 และผลคูณของจำ�นวนหนึ่งหลัก 1 36 56
9 × 4 = 2 8 × 7 =

กับ 9 ตามหนังสือเรียนหน้า 267 โดยครูและนักเรียน 3 64 54


8 × 8 = 4 6 × 9 =

ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง 5 40 81
8 × 5 = 6 9 × 9 =

การตรวจสอบความเข้าใจ
7
7 × 9 = 63 8 3 × 8 = 24

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 267

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
โดยให้นักเรียนหาผลคูณของจำ�นวนหนึง่ หลักกับ 8
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

และหาผลคูณของจำ�นวนหนึ่งหลักกับ 9 ตามหนังสือเรียน
บทที่ 5 | การคูณ

ตรวจสอบความเข้าใจ

หน้า 268 นักเรียนอาจหาผลคูณโดยใช้การสลับที่การคูณ หาผลคูณ

เพื่อหาคำ�ตอบก็ได้ ซึ่งนักเรียนเรียนรู้มาแล้วในหน้า 267 1


8 × 2 = 16 2 9 × 3 = 27

เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกการคิดให้คล่อง ซึ่งเป็นการส่งเสริม 3
8 × 7 = 56 4 9 × 5 = 45

ความคิดสร้างสรรค์ จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกัน
5
8 × 5 = 40 6 9 × 6 = 54
ตรวจสอบความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้

สิ่งที่ได้เรียนรู้
• 8 คู
สิ่งที่ได้เรียนรู้

ณกับจำ�นวนหนึง่ หลัก หาผลคูณได้โดยใช้สตู รคูณแม่ 8 8 คูณกับจำานวนหนึ่งหลัก หาผลคูณได้โดยใช้สูตรคูณแม่ 8


9 คูณกับจำานวนหนึ่งหลัก หาผลคูณได้โดยใช้สูตรคูณแม่ 9

9 คูณกับจำ�นวนหนึง่ หลัก หาผลคูณได้โดยใช้สตู รคูณแม่ 9


จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 5.7 แบบฝึกหัด 5.7

268 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน้า 170 −172

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  199
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 5 | การคูณ

5.8 การคูณจำ�นวนหนึ่งหลักกับ 10 20 30 ... 90


จุดประสงค์ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

หาผลคูณของจำ�นวนหนึ่งหลักกับ 10 20 30 ... 90 5.8 การคูณจำานวนหนึง่ หลักกับ 10 20 30 … 90

พัฒนาความรู้

สื่อการเรียนรู้ ใบบัวมีดาวความดี 2 แถว แถวละ 10 ดวง


ใบบัวมีดาวความดีทั้งหมด 2 × 10 = 10 + 10 = 20 ดวง

บัตรภาพ แผ่นตารางสิบ
แก้วตามีดาวความดี 3 แถว แถวละ 10 ดวง
แก้วตามีดาวความดีทั้งหมด 3 × 10 = 10 + 10 + 10 = 30 ดวง

แนวการจัดการเรียนรู้ สังเกต 2 × 1 = 2
2 × 10 = 20
3 × 1 = 3
3 × 10 = 30

การพัฒนาความรู้
1. ครูตด ิ บัตรภาพดาวความดี 2 แถว แถวละ 10 ดวง
มีดินสอสี 3 กล่อง กล่องละ 30 แท่ง
มีดินสอสีทั้งหมด 3 × 30 = 30 + 30 + 30 = 90 แท่ง

ครูถามนักเรียนว่า มีดาวความดีกี่แถว แถวละกี่ดวง มีดาว มีดินสอ 2 กล่อง กล่องละ 40 แท่ง


มีดินสอทั้งหมด 2 × 40 = 40 + 40 = 80 แท่ง

ความดีทั้งหมดกี่ดวง นักเรียนตอบว่า มีดาวความดี 2 แถว สังเกต 3 × 3 = 3


3 × 30 = 90
2 × 4 = 8
2 × 40 = 80

แถวละ 10 ดวง มีดาวความดีทั้งหมด 20 ดวง ครูให้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 269

นักเรียนเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณ นักเรียนเขียน
ได้เป็น 2 × 10 = 20 ครูน�ำ ดาวความดีไปติดเพิม ่ อีก 1 แถว แถวละ 10 ดวง ครูถามนักเรียนว่า เมื่อติด
ดาวความดีเพิ่มมาอีก 1 แถว ตอนนี้ครูมีดาวความดีกี่แถว แถวละกี่ดวง ครูมีดาวความดีทั้งหมดกี่ดวง
นักเรียนตอบว่า ครูมด ี าวความดี 3 แถว แถวละ 10 ดวง ครูมด ี าวความดีทง้ั หมด 30 ดวง ครูให้นก ั เรียน
เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณ นักเรียนเขียนได้เป็น 3 × 10 = 30 ครูนำ�ดาวความดีไปติด
เพิ่มอีก 1 แถว แถวละ 10 ดวง ครูถามนักเรียนว่า เมือ่ ติดดาวความดีเพิม ่ อีก 1 แถว ตอนนีค
้ รูมด
ี าว
ความดีกแ่ี ถว แถวละกีด ่ วง ครูมด
ี าวความดีทง้ั หมดกีด ่ วง นักเรียนตอบว่า ครูมีดาวความดี 4 แถว แถวละ
10 ดวง ครูมด ี าวความดีทง้ั หมด 40 ดวง ครูให้นกั เรียนเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณ นักเรียนเขียน
ได้เป็น 4 × 10 = 40 ครูน�ำ ดาวความดีไปติดเพิม ่ อีก 1 แถว แถวละ 10 ดวง ครูถามนักเรียนว่า เมือ่ ติดดาว
ความดีเพิม ่ มาอีก 1 แถว ตอนนีค ้ รูมด
ี าวความดีกแ่ี ถว แถวละกี่ดวง ครูมีดาวความดีทั้งหมดกี่ดวง
นักเรียนตอบว่า ครูมด ี าวความดี 5 แถว แถวละ 10 ดวง ครูมด ี าวความดีทง้ั หมด 50 ดวง ครูให้นกั เรียน
เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณ นักเรียนเขียนได้เป็น 5 × 10 = 50 ครูถามนักเรียนว่า ถ้าครูตด ิ ดาว
ความดีเพิม ่ อีก 1 แถว เป็น 6 แถว นักเรียนเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ
6 × 10 = 60 ครูถามนักเรียนว่า ถ้าครูตด ิ ดาวความดีเพิม ่ ทีละ 1 แถว เป็น 7 แถว 8 แถว และ 9 แถว
นักเรียนจะเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบ 7 × 10 = 70 8 × 10 = 80
และ 9 × 10 = 90 ตามลำ�ดับ ครูเขียน 1 × 10 = 10 2 × 10 = 20 3 × 10 = 30 4 × 10 = 40
5 × 10 = 50 6 × 10 = 60 7 × 10 = 70 8 × 10 = 80 และ 9 × 10 = 90
บนกระดานในแนวตัง้ แล้วให้นกั เรียนสังเกตผลคูณ โดยครูใช้การถาม-ตอบเพือ่ ให้นกั เรียนร่วมกันสรุปว่า
จำ�นวนใดคูณกับ 10 จะได้ผลคูณเป็น 1 คูณกับจำ�นวนนั้นแล้วเติม 0 ต่อท้าย 1 ตัว เช่น 9 × 10
หาผลคูณได้จาก 9 × 1 = 9 แล้วเติม 0 ต่อท้ายที่ผลคูณจะได้ 9 × 10 = 90

200  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 5 | การคูณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

2. ครูถามนักเรียนว่า ถ้ามีดินสอ 2 กล่อง กล่องละ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 5 | การคูณ

30 แท่ง จะมีดินสอทั้งหมด 30 + 30 = 60 แท่ง เขียนเป็น อาจใช้สื่อช่วยหาผลคูณ ดังนี้

ประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนตอบว่า 5 × 10 =
5 กลุ่ม กลุ่มละ 1 สิบ เป็น 5 สิบ

2 × 30 = 60 ครูถามนักเรียนว่า ถ้านำ�ข้อสรุปข้างต้น
5 × 1 = 5
ดังนั้น 5 × 10 = 50 5 × 10 = 50

มาใช้ในการหาผลคูณจะทำ�ได้อย่างไร นักเรียนตอบว่า 3 × 20 =

หา 2 × 3 ก่อน ได้เท่ากับ 6 แล้วจึงเติม 0 ต่อท้าย 6


3 กลุ่ม กลุ่มละ 2 สิบ เป็น 6 สิบ
3 × 2 = 6
ดังนั้น 3 × 20 = 60 3 × 20 = 60

ครูยกตัวอย่างอื่นจากหนังสือเรียนท้ายหน้า 269 เช่น 50 × 4 =

3 × 30 และ 2 × 40 ซึ่งนักเรียนควรจะตอบได้ว่า 50 × 4 = 4 × 50

3 × 30 หาจาก 3 × 3 ก่อนแล้วเติม 0 และ 2 × 40


4 กลุ่ม กลุ่มละ 5 สิบ เป็น 20 สิบ หรือ 200

หาจาก 2 × 4 ก่อนแล้วเติม 0 ซึ่งจะได้คำ�ตอบเป็น จะได้ 4 × 50 = 200 4 × 5 = 20


4 × 50 = 200
ดังนั้น 50 × 4 = 200

3 × 30 = 90 และ 2 × 40 = 80 ตามลำ�ดับ จำานวนหนึ่งหลักคูณกับ 10 20 30 40 50 60 70 80 90


หาผลคูณโดยนำาจำานวนหนึ่งหลักนั้นคูณกับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9

ถ้ามีนักเรียนที่ยังไม่เข้าใจครูอาจใช้สื่อแผ่นตารางสิบมาใช้ ตามลำาดับ แล้วเติม 0 ต่อท้าย

270 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ประกอบการสอนตามตัวอย่างในหนังสือเรียนหน้า 270
และครูควรเน้นย้ำ�เรื่องการหาผลคูณที่ใช้การสลับที่การคูณ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

เพื่อให้นักเรียนเกิดความชำ�นาญในการหาผลคูณมากขึ้น
บทที่ 5 | การคูณ

60 × 4 =

จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่า จำ�นวนหนึ่งหลักคูณ
ใช้สูตรคูณแม่ 6 จะได้ 6 × 4 = 24

กับ 10 20 30 40 50 60 70 80 90 หาผลคูณได้ ดังนั้น 60 × 4 = 240

ใช้สูตรคูณแม่ 4 จะได้ 4 × 6 = 24

โดยนำ�จำ�นวนหนึ่งหลักนั้นคูณกับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 หาผลคูณ
ดังนั้น 60 × 4 = 240

ตามลำ�ดับ แล้วเติม 0 ต่อท้าย 70 × 6 = 420

3. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มและให้แต่ละกลุ่ม
ช่วยกันหาผลคูณของจำ�นวนหนึ่งหลักกับ 10 20 30 40
1 80 150
4 × 20 = 2 3 × 50 =

50 60 70 80 90 ตามหนังสือเรียนหน้า 271 เช่น 3 60 560


30 × 2 = 4 80 × 7 =

ตามตัวอย่าง 60 × 4 เท่ากับเท่าไร ครูให้นักเรียนหา 5 450 420


90 × 5 = 6 6 × 70 =

6 × 4 ก่อนว่าได้เท่าไร แล้วก็จะได้คำ�ตอบโดยเติม 0

7 480 90
8 × 60 = 8 10 × 9 =

ต่อท้าย อาจสุ่มนักเรียนในกลุ่มแต่ละกลุ่มออกมานำ�เสนอ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 271

วิธีหาคำ�ตอบหน้าชั้นเรียน ครูและเพื่อนในห้องช่วยกัน
ตรวจสอบความถูกต้อง ถ้ามีกลุ่มใดหาคำ�ตอบผิด
ครูให้เพื่อนในกลุ่มนั้นช่วยกันหาคำ�ตอบใหม่จนกว่าจะได้คำ�ตอบที่ถูกต้อง จากนั้นครูและนักเรียน
ร่วมกันสรุปว่า จำ�นวนหนึ่งหลักคูณกับ 10 20 30 40 50 60 70 80 90 หาผลคูณได้โดยนำ�
จำ�นวนหนึ่งหลักนั้นคูณกับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ตามลำ�ดับ แล้วเติม 0 ต่อท้าย

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  201
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 5 | การคูณ

การตรวจสอบความเข้าใจ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 5 | การคูณ

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน ตรวจสอบความเข้าใจ

โดยให้นักเรียนหาผลคูณของจำ�นวนหนึ่งหลักกับ
หาผลคูณ

10 20 30 40 50 60 70 80 90 เป็นรายบุคคล
1 60
6 × 10 = 2 40 × 5 = 200

ตามหนังสือเรียนหน้า 272 โดยใช้ข้อสรุปทีค ่ รูและนักเรียน 3 560


70 × 8 = 4 7 × 90 = 630

ร่วมกันสรุปก่อนหน้านีว้ า
่ จำ�นวนหนึง่ หลักคูณกับ 10 20
30 40 50 60 70 80 90 หาผลคูณได้โดยนำ�จำ�นวน
หนึ่งหลักนั้นคูณกับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ตามลำ�ดับ
แล้วเติม 0 ต่อท้าย จากนัน ้ ครูและนักเรียนร่วมกัน สิ่งที่ได้เรียนรู้

ตรวจสอบความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ จำานวนหนึ่งหลักคูณกับ 10 20 30 40 50 60 70 80 90
หาผลคูณโดยนำาจำานวนหนึ่งหลักนั้นคูณกับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9
ตามลำาดับ แล้วเติม 0 ต่อท้าย

สิ่งที่ได้เรียนรู้ แบบฝึกหัด 5.8

• จำ90�นวนหนึ
272 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

่งหลักคูณกับ 10 20 30 40 50 60 70 80
หาผลคูณโดยนำ�จำ�นวนหนึง่ หลักนัน
้ คูณกับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ตามลำ�ดับ แล้วเติม 0 ต่อท้าย
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 5.8 หน้า 173 − 175

5.9 การคูณจำ�นวนหนึ่งหลักกับจำ�นวนสองหลักโดยการตั้งคูณ (1)


จุดประสงค์
หาผลคูณจำ�นวนหนึง่ หลักกับจำ�นวนสองหลัก โดยการตัง้ คูณ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

5.9 การคูณจำานวนหนึ่งหลักกับจำานวนสองหลัก
โดยการตั้งคูณ (1)
สื่อการเรียนรู้ พัฒนาความรู้

แผ่นตารางสิบ แผ่นตารางหน่วย
แม่บริจาคหนังสือ 2 กอง กองละ 24 เล่ม

แม่บริจาคหนังสือทั้งหมดกี่เล่ม

2 × 24 =

แนวการจัดการเรียนรู้ 2 กลุ่มของ 24 เท่ากับ 2 กลุ่มของ 20 กับ 2 กลุ่มของ 4

การพัฒนาความรู้
2 × 24 2 × 20 2 × 4

1. ครูให้นก ั เรียนพิจารณาสถานการณ์ในหนังสือเรียน หลักสิบ หลักหน่วย หลักสิบ หลักหน่วย

2 4 2 4

หน้า 273 แม่บริจาคหนังสือ 2 กอง กองละ 24 เล่ม แม่


× ×
2 2
8 4 8

บริจาคหนังสือทั้งหมดกี่เล่ม เขียนประโยคสัญลักษณ์ ขั้นที่ 1 คูณในหลักหน่วย


2 คูณ 4 หน่วย ได้ 8 หน่วย
ขั้นที่ 2 คูณในหลักสิบ
2 คูณ 2 สิบ ได้ 4 สิบ
เขียน 8 ในหลักหน่วย เขียน 4 ในหลักสิบ

ได้ 2 × 24 = ครูใช้แผ่นตารางสิบ แผ่นตารางหน่วย จะได้ 2 × 24 = 48


ดังนั้น แม่บริจาคหนังสือทั้งหมด 48 เล่ม

ช่วยอธิบายขั้นตอนการคูณโดยใช้ความหมายการคูณ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 273

มาช่วยอธิบายว่า 2 × 24 หมายถึง จัดแผ่นตารางสิบและ


ตารางหน่วยเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 24 จะได้ แผ่นตารางสิบ กลุ่มละ 2 แผ่น และแผ่นตารางหน่วย
กลุ่มละ 4 แผ่น จะได้ แผ่นตารางสิบทั้งหมด 4 แผ่น เท่ากับ 4 สิบ และ แผ่นตารางหน่วยทั้งหมด

202  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 5 | การคูณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

8 แผ่น เท่ากับ 8 หน่วย รวมเป็น 48 ดังนัน ้ 2 × 24 = 48 ซึ่งในการหาผลคูณโดยใช้แผ่นตารางสิบ


และแผ่นตารางหน่วย ครูอาจชี้ให้นักเรียนเห็นว่า การจัดแผ่นตารางสิบ เป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 2 แผ่น
นั้นคือ 2 × 20 และการจัดแผ่นตารางหน่วยเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 4 แผ่น นั้นคือ 2 × 4 ดังนั้น
2 × 24 = 48 มาจาก 2 × 20 = 40 กับ 2 × 4 = 8 ทั้งนี้เพื่อให้นักเรียนเชื่อมโยงไปสู่การคูณ
โดยการตั้งคูณที่ต้องคูณในหลักหน่วยและหลักสิบ จากนั้นครูแนะนำ�ขั้นตอนการตั้งคูณ ดังนี้
ขั้นที่ 1 คูณในหลักหน่วย 2 คูณ 4 หน่วย ได้ 8 หน่วย เขียน 8 ในหลักหน่วย
ขั้นที่ 2 คูณในหลักสิบ 2 คูณ 2 สิบ ได้ 4 สิบ เขียน 4 ในหลักสิบ
เขียนการตั้งคูณได้ตามหนังสือเรียนหน้า 273 หลักสิบ หลักหน่วย
2 4
×
2
4 8
ดังนั้น แม่บริจาคหนังสือทั้งหมด 48 เล่ม
2. ครูยกตัวอย่างการหาผลคูณของจำ�นวนหนึ่งหลักกับจำ�นวนสองหลักโดยการตั้งคูณ เช่น
13 × 3 = ครูใช้การถาม-ตอบ เพื่อให้นักเรียนหาผลคูณตามขั้นตอนการตั้งคูณตามหนังสือเรียน
หน้า 274 โดยให้คูณในหลักหน่วยก่อน แล้วจึงคูณในหลักสิบ ดังนี้
ขั้นที่ 1 คูณในหลักหน่วย 3 คูณ 3 หน่วยได้ 9 หน่วย เขียน 9 ในหลักหน่วย
ขั้นที่ 2 คูณในหลักสิบ 3 คูณ 1 สิบ ได้ 3 สิบ เขียน 3 ในหลักสิบ
เขียนการตั้งคูณได้ตามหนังสือเรียนหน้า 274 หลักสิบ หลักหน่วย
1 3
×
3
3 9
ดังนั้น 13 × 3 = 39
ครูแนะนำ�ว่า ในการหาผลคูณโดยการตั้งคูณ
ไม่จำ�เป็นต้องเขียนคำ�ว่า หลักหน่วย หลักสิบ
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

โดยสามารถเขียนแสดงวิธห ี าผลคูณ ดังนี ้ 1 3


13 × 3 =

× หลักสิบ หลักหน่วย หลักสิบ หลักหน่วย

3 1 3
3
×
1 3
3
×

3 9 9 3 9

ขั้นที่ 1 คูณในหลักหน่วย ขั้นที่ 2 คูณในหลักสิบ


3 คูณ 3 หน่วย ได้ 9 หน่วย 3 คูณ 1 สิบ ได้ 3 สิบ

ครูยกตัวอย่าง การหาผลคูณโดยการตัง้ คูณของ 4 × 80 = เขียน 9 ในหลักหน่วย

เขียนแสดงวิธีหาผลคูณ ดังนี้
เขียน 3 ในหลักสิบ

ครูเน้นย้ำ�ว่า ในการตั้งคูณจะเขียนจำ�นวนใดขึ้นก่อนก็ได้ 1 3
3
×

เช่น 4 × 80 = เพื่อความสะดวกจะเขียน 80 ขึ้นก่อน ดังนั้น 13 × 3 = 39


3 9

ตามหนังสือเรียนหน้า 274 4 × 80 =

วิธีทำา 8 0

ขั้นที่ 1 คูณในหลักหน่วย
× ขั้นที่ 1 คูณในหลักหน่วย
4

8 0
4 คูณ 0 หน่วย ได้ 0 หน่วย
3 2 0 เขียน 0 ในหลักหน่วย

ขั้นที่ 2 คูณในหลักสิบ ×
4 ขั้นที่ 2 คูณในหลักสิบ
4 คูณ 8 สิบ ได้ 32 สิบ หรือ 3 ร้อย กับ 2 สิบ
เขียน 2 ในหลักสิบ และเขียน 3 ในหลักร้อย

3 2 0 ตอบ ๓๒๐

ดังนั้น 4 × 80 = 320
274 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  203
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 5 | การคูณ

3. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

ช่วยกันแสดงวิธีหาผลคูณโดยการตั้งคูณ
บทที่ 5 | การคูณ

แสดงวิธีหาผลคูณ

ตามตัวอย่างในหนังสือเรียน หน้า 275 ดังนี้


2 × 41 =
2 × 41 =
วิธีทำา 4 1
วิธีทำ� 2
×

4 1
× 8 2
2 ตอบ ๘๒

8 2
ตอบ ๘๒
3 2 2 1
× ×
1 3 × 32 = 96 3 2 21 × 4 = 84 4
9 6 8 4

จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบ 3 4 1 1
× ×
3 34 × 2 = 68 2 4 9 × 11 = 99 9
ความถูกต้องครูเน้นย้ำ�ว่า การหาผลคูณโดย 6 8 9 9

การตั้งคูณให้คูณในหลักหน่วยก่อนแล้วจึง 5 4 × 62 = 248
6 2
×
4 6 70 × 5 = 350
7 0
×
5
2 4 8 3 5 0
คูณในหลักสิบ จากนั้นให้นักเรียนช่วยกันหา

7 1 9 3
× ×
ผลคูณข้อที่ 1 − 8 โดยการตั้งคูณลงในสมุด 7 71 × 8 = 568 8 8
5 6 8
2 × 93 = 186 2
1 8 6

การตรวจสอบความเข้าใจ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 275

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
โดยให้นักเรียนแสดงวิธีหาผลคูณโดยการตั้งคูณ
ตามหนังสือเรียนหน้า 276 และใช้ข้อสรุปว่า
ให้คูณในหลักหน่วยก่อนแล้วจึงคูณในหลักสิบ
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

ตรวจสอบความเข้าใจ
จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบ
แสดงวิธีหาผลคูณ

ความถูกต้องและสรุปสิง่ ทีไ่ ด้เรียนรู ้ ถ้ามีนก


ั เรียน 1. 1 2 ×
3
เขียนแสดงวิธีหาผลคูณโดยการตั้งคูณไม่ถูกต้อง 1 3 × 12 = 36 3 6

2. 2 0 ×
ครูควรให้นักเรียนมาฝึกเพิ่มเติมกับครู 2 20 × 4 = 80
4
8 0

เป็นรายบุคคล 3 61 × 5 = 305
3. 6 1 ×
5
3 0 5

สิ่งที่ได้เรียนรู้
• การหาผลคู ณของจำ�นวนหนึ่งหลัก
กับจำ�นวนสองหลักโดยการตั้งคูณ
ต้องคูณในหลักหน่วยก่อน แล้วคูณในหลักสิบ สิ่งที่ได้เรียนรู้
การหาผลคูณของจำานวนหนึ่งหลักกับจำานวนสองหลักโดยการตั้งคูณ
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 5.9 ต้องคูณในหลักหน่วยก่อน แล้วคูณในหลักสิบ

หน้า 176 − 177


5.10 การคูณจำ�นวนหนึ่งหลักกับ 276 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แบบฝึกหัด 5.9

204  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 5 | การคูณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

จำ�นวนสองหลักโดยการตั้งคูณ (2)
จุดประสงค์
หาผลคูณจำ�นวนหนึง่ หลักกับจำ�นวนสองหลัก โดยการตัง้ คูณ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

5.10 การคูณจำานวนหนึ่งหลักกับจำานวนสองหลัก

สื่อการเรียนรู้ โดยการตั้งคูณ (2)


พัฒนาความรู้

- ซื้อไก่สะเต๊ะ 3 ถุง ถุงละ 15 ไม้

ต้นกล้าซื้อไก่สะเต๊ะทั้งหมดกี่ไม้

แนวการจัดการเรียนรู้ 3 × 15 =

การพัฒนาความรู้ หลักสิบ หลักหน่วย


1
1 5
ขั้นที่ 1 คูณในหลักหน่วย
3 คูณ 5 หน่วย ได้ 15 หน่วย
× หรือ 1 สิบ กับ 5 หน่วย

1. ครูทบทวนการหาผลคูณโดยการตั้งคูณที่ไม่มีทด
3
เขียน 5 ในหลักหน่วย
5 และทด 1 สิบ ไปหลักสิบ

โดยใช้แบบฝึกหัดจากชั่วโมงที่แล้วมาเฉลยในห้องเรียน หลักสิบ หลักหน่วย


ขั้นที่ 2 คูณในหลักสิบ

จากนั้นครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับสถานการณ์
1
1 5 3 คูณ 1 สิบ ได้ 3 สิบ
× รวมกับที่ทดอีก 1 สิบ เป็น 4 สิบ
3
เขียน 4 ในหลักสิบ

ในหนังสือเรียนหน้า 277 ต้นกล้าซื้อไก่สะเต๊ะ 3 ถุง ถุงละ จะได้ 3 × 15 = 45


4 5

15 ไม้ ต้นกล้าซื้อไก่สะเต๊ะทั้งหมดกี่ไม้ ครูถามนักเรียนว่า ดังนั้น ต้นกล้าซื้อไก่สะเต๊ะทั้งหมด 45 ไม้

| 277

จากสถานการณ์เขียนประโยคสัญลักษณ์ได้อย่างไร
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

นักเรียนตอบว่า เขียนประโยคสัญลักษณ์ได้ 3 × 15 = ครูถามนักเรียนว่า จะหาผลคูณ


โดยการตั้งคูณได้อย่างไร ครูอธิบายการหาผลคูณโดยการตั้งคูณที่มีทด ดังนี้
ขัน
้ ที่ 1 คูณในหลักหน่วย 3 คูณ 5 หน่วยได้ 15 หน่วยหรือ 1 สิบกับ 5 หน่วย เขียน 5 ในหลักหน่วย
และทด 1 สิบ ไปหลักสิบ
ขัน้ ที่ 2 คูณในหลักสิบ 3 คูณ 1 สิบ ได้ 3 สิบ รวมกับทีท
่ ดมาอีก 1 สิบ เป็น 4 สิบเขียน 4 ในหลักสิบ
เขียนแสดงการคูณได้ดังนี้ หลักสิบ หลักหน่วย
1
1 5
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

×
3 8 × 47 =

หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย


4 5
5
4 7
×
ขั้นที่ 1 คูณในหลักหน่วย
8 คูณ 7 หน่วย ได้ 56 หน่วย
หรือ 5 สิบ กับ 6 หน่วย
8
เขียน 6 ในหลักหน่วย

ดังนั้น ต้นกล้าซื้อไก่สะเต๊ะทั้งหมด 45 ไม้


3 7 6 และทด 5 สิบ ไปหลักสิบ

2. ครูยกตัวอย่างการหาผลคูณโดยการตั้งคูณ
ขั้นที่ 2 คูณในหลักสิบ
8 คูณ 4 สิบ ได้ 32 สิบ รวมกับที่ทดอีก
5 สิบ เป็น 37 สิบ หรือ 3 ร้อย กับ 7 สิบ
เขียน 7 ในหลักสิบ และ 3 ในหลักร้อย

ตามหนังสือเรียนหน้า 278 8 × 47 = ซึ่งในตัวอย่างนี้


เขียนแสดงวิธีหาผลคูณ ดังนี้

ผลคูณจะเป็นจำ�นวนสามหลัก ครูอธิบายขัน ้ ตอนการตัง้ คูณ ดังนี้ 5


4 7
×
8
ขั้นที่ 1 คูณในหลักหน่วย 8 คูณ 7 หน่วยได้ 56 หน่วย 3 7 6

หรือ 5 สิบกับ 6หน่วย เขียน 6 ในหลักหน่วย และทด


ดังนั้น 8 × 47 = 376

5 สิบ ไปหลักสิบ แสดงวิธีหาผลคูณ

ขั้นที่ 2 คูณในหลักสิบ 8 คูณ 4 สิบ ได้ 32 สิบ รวมกับ


1 39 × 6 = 2 9 × 27 =

ที่ทดมาอีก 5 สิบ เป็น 37 สิบ หรือ 3 ร้อย กับ 7 สิบ


278 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  205
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 5 | การคูณ

เขียน 7 ในหลักสิบ และ 3 ในหลักร้อย หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 5 | การคูณ

เขียนแสดงการคูณได้ดังนี้ หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย แสดงวิธีหาผลคูณ

5
4 7
×
3 × 27 = 34 × 7 =

8
2 2
วิธีทำา 2 7 วิธีทำา 3 4
× ×
3 7

3 7 6
ดังนั้น 8 × 47 = 376
8 1 2 3 8
ตอบ ๘๑ ตอบ ๒๓๘

ครูแนะนำ�ว่า ในการหาผลคูณโดยการตั้งคูณไม่จำ�เป็น 1
3 6
×
1
2 5
×
2 3
ต้องเขียน หลักหน่วย หลักสิบ หลักร้อย โดยสามารถ
1 2 × 36 = 72 2 25 × 3 = 75
7 2 7 5

5
เขียนแสดงวิธีหาผลคูณ ดังนี้ 4 7
1 1
7 2 2 3
× ×
×
9 6
3 72 × 9 = 648 4 6 × 23 = 138
6 4 8 1 3 8
8
4

1

3 7 6
6 5 9 4
× ×
8 3
5 65 × 8 = 520 6 3 × 94 = 282
5 2 0 2 8 2

จากนั้น ครูช่วยกันแสดงวิธีหาผลคูณของ 39 × 6 = 4 6
×
8 2
×
3 1

230 5 574 7
และ 9 × 27 = ในกรอบท้ายหน้า 278 ครูและ
7 5 × 46 = 8 82 × 7 =
2 3 0 5 7 4

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 279

นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง
3. ครูให้นกั เรียนช่วยกันแสดงวิธห
ี าผลคูณของจำ�นวนหนึง่ หลักกับจำ�นวนสองหลักโดยการตัง้ คูณ
ที่มีทด ตามหนังสือเรียน หน้า 279 โดยครูยกตัวอย่าง
3 × 27 = ดังนี้ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

5
วิธีทำ� 2 7 ตรวจสอบความเข้าใจ

× แสดงวิธีหาผลคูณ

3
ตอบ ๘๑ 8 1 4
1 8
×
1
2 3
×
1 5 × 18 = 90 5 2 23 × 4 = 92 4
9 0 9 2
จากนั้นครูสุ่มนักเรียนออกมาเขียนแสดงวิธีหาผลคูณ

ของ 34 × 7 = ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบ 5 6
7 6 5 8
× ×
ความถูกต้อง แล้วให้นักเรียนช่วยกันหาผลคูณ 3 9 × 76 = 684 9 4 58 × 8 = 464 8
6 8 4 4 6 4

ข้อที่ 1 − 8 โดยการตั้งคูณลงในสมุด
สิ่งที่ได้เรียนรู้

ตรวจสอบความเข้าใจ
การหาผลคูณของจำานวนหนึ่งหลักกับจำานวนสองหลักโดยการตั้งคูณ
ต้องคูณในหลักหน่วยก่อน แล้วคูณในหลักสิบ ถ้าผลคูณในหลักใดครบสิบ
หรือมากกว่าสิบ ให้ทดจำานวนที่ครบสิบไปหลักถัดไปทางซ้าย

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยให้นก ั เรียน
แบบฝึกหัด 5.10

แสดงวิธห
ี าผลคูณโดยการตัง้ คูณตามหนังสือเรียน หน้า 280 280 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

และใช้ข้อสรุปว่า ให้คูณในหลักหน่วยก่อนแล้วจึงคูณ
ในหลักสิบ หากผลคูณในหลักหน่วยครบสิบหรือมากกว่าสิบให้ทดจำ�นวนที่ครบสิบไปหลักสิบ
หากผลคูณในหลักสิบครบสิบหรือมากกว่าสิบให้ทดจำ�นวนที่ครบสิบไปหลักร้อย จากนั้นครู
และนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ถ้ามีนักเรียนเขียนแสดงวิธี
หาผลคูณโดยการตั้งคูณไม่ถูกต้อง ครูควรให้นักเรียนมาฝึกเพิ่มเติมกับครูเป็นรายบุคคล

206  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 5 | การคูณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

สิ่งที่ได้เรียนรู้
• การหาผลคูณของจำ�นวนหนึง่ หลักกับจำ�นวนสองหลักโดยการตัง้ คูณ ต้องคูณในหลักหน่วยก่อน
แล้วคูณในหลักสิบ ถ้าผลคูณในหลักใดครบสิบหรือมากกว่าสิบ ให้ทดจำ�นวนที่ครบสิบไปหลักถัดไป
ทางซ้าย
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 5.10หน้า 178 − 180

5.11 การพัฒนาความรู้สึกเชิงจำ�นวนเกี่ยวกับการคูณ
จุดประสงค์ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

พัฒนาความรู้สึกเชิงจำ�นวนเกี่ยวกับการคูณ
บทที่ 5 | การคูณ

5.11 การพัฒนาความรูส
้ ก
ึ เชิงจำานวนเกีย
่ วกับการคูณ
พัฒนาความรู้

สื่อการเรียนรู้ 5 × 8 5 × 9 และ มี
5 × 10 ผลคูณเท่าไร

บัตรโจทย์การคูณ 5 × 8 = 40 5 × 9 = 45 5 × 10 = 50

5 × 8 = 40 5 × 9 = 45 5 × 10 = 50
สังเกต ผลคูณมีค่าเพิ่มขึ้น

แนวการจัดการเรียนรู้ 7 × 6 กับ 7 × 9 ผลคูณใดมากกว่า

การพัฒนาความรู้ 7 × 9 มีผลคูณมากกว่า 7 × 6 เพราะ 9 มากกว่า 6

1. ครูทบทวนการหาผลคูณของจำ�นวนหนึง่ หลักกับ
12 × 5 กับ 8 × 12 ผลคูณใดน้อยกว่า

12 × 5 มีผลคูณน้อยกว่า 8 × 12 เพราะ 5 น้อยกว่า 8

จำ�นวนหนึง่ หลัก โดยสุม


่ นักเรียนหาผลคูณของ 5 × 8 5 × 9 เรียงลำาดับผลคูณต่อไปนี้จากมากไปน้อย

และ 5 × 10 ครูเขียน 5 × 8 = 40 5 × 9 = 45 และ 5 × 10 = 50 1 6 × 9 8 × 6 6 × 15

2 13 × 4 4 × 18 20 × 4

บนกระดาน แล้วให้นก ั เรียนสังเกตผลคูณทีไ่ ด้วา่ เพิม ่ ขึน


้ หรือ 1. 6 × 15 6 × 9 8×6
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 281

ลดลง (40 45 และ 50 เป็นจำ�นวนทีเ่ พิม ่ ขึน


้ ) ครูให้นกั เรียน
2. 20 × 4 4 × 18 13 × 4

สังเกตจำ�นวนทีม ่ าคูณกับ 5 ว่า เพิม่ ขึน


้ หรือลดลง (8 9 และ 10 เป็นจำ�นวนทีเ่ พิม ่ ขึน้ ) ครูใช้ค�ำ ถามว่า
ถ้าหา 5 × 12 จะได้ผลคูณมากกว่าหรือน้อยกว่า 5 × 10 นักเรียนตอบว่า มากกว่าเพราะ 12 มากกว่า 10
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่า จำ�นวนสองจำ�นวนเมือ่ นำ�แต่ละจำ�นวนมาคูณกับ 5 จำ�นวนใดมากกว่าผลคูณ
ของจำ�นวนนั้นกับ 5 จะมากกว่า จากนั้นครูให้นักเรียนหาผลคูณของจำ�นวนในลักษณะเดียวกันนี้ เช่น
4 × 6 และ 4 × 13 ครูถามว่า 4 × 6 กับ 4 × 13 ผลคูณของจำ�นวนใดมากกว่า นักเรียนตอบว่า
4 × 13 ครูถามว่า รูไ้ ด้อย่างไร นักเรียนตอบว่า เพราะ 13 มากกว่า 6 ดังนัน ้ 4 × 13 มากกว่า 4 × 6
ครูติดบัตรโจทย์การคูณ 7 × 6 และ 7 × 9 และถามว่า 7 × 6 กับ 7 × 9 ผลคูณใดมากกว่า
ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปว่า ผลคูณของ 7 × 9 มากกว่า 7 × 6 เพราะ 9 มากกว่า 6
ครูติดบัตรโจทย์การคูณ 12 × 5 และ 8 × 12 และถามว่า 12 × 5 กับ 8 × 12 ผลคูณใด
น้อยกว่า ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปคำ�ตอบว่า ผลคูณของ 12 × 5 น้อยกว่า 8 × 12
เพราะ 5 น้อยกว่า 8 ครูและนักเรียนช่วยกันเรียงลำ�ดับผลคูณจากมากไปน้อยในกรอบท้ายหน้า 281
โดยให้สังเกตว่า จำ�นวนสองจำ�นวนที่นำ�มาคูณกันนั้นมีจำ�นวนใดที่เหมือนกัน แล้วให้พิจารณาจำ�นวน
อีกจำ�นวนหนึ่งว่า น้อยกว่ากันหรือมากกว่ากัน โดยไม่จำ�เป็นต้องหาผลคูณของสองจำ�นวนนั้น

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  207
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 5 | การคูณ

2. ครูให้นักเรียนหาผลคูณของ 1 × 3 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

และ 2 × 4 แล้วถามนักเรียนว่า ผลคูณใด


บทที่ 5 | การคูณ

มากกว่า นักเรียนตอบว่า 2 × 4 = 8 มีผลคูณ 11 × 3 กับ 12 × 5 มีผลคูณเป็นเท่าไร

มากกว่า 1 × 3 = 3 ครูให้นักเรียนหาผลคูณ
11 × 3 = 33 12 × 5 = 60
ของ 2 × 3 และ 4 × 5 แล้วถามนักเรียนว่า
ผลคูณใดมากกว่า นักเรียนตอบว่า 4 × 5 = 20
11 × 3 = 33

มีผลคูณมากกว่า 2 × 3 = 6 จากนั้นครูถาม 12 × 5 = 60

นักเรียนว่า 2 × 5 และ 4 × 6 ผลคูณใด สังเกต 12 มากกว่า 11 และ 5 มากกว่า 3


จึงได้ว่า 12 × 5 มีผลคูณมากกว่า 11 × 3

มากกว่า โดยไม่ต้องหาผลคูณ นักเรียนอาจจะ


ยังตอบไม่ได้ ครูให้นักเรียนสังเกตว่า 4 มากกว่า 78 × 9 กับ 56 × 7 ผลคูณใดน้อยกว่า

2 และ 6 มากกว่า 5 ดังนั้น 4 × 6 มากกว่า 56 น้อยกว่า 78 และ 7 น้อยกว่า 9

2×5
ดังนั้น 56 × 7 มีผลคูณน้อยกว่า 78 × 9

ครูติดบัตรโจทย์การคูณ 11 × 3 และ
1. 8 × 61 ผลคูณมากกว่า 37 × 4
ตอบคำาถาม
เพราะ 8 มากกว่า 4 และ 61 มากกว่า 37
1 37 × 4 กับ 8 × 61 ผลคูณใดมากกว่า เพราะเหตุใด
12 × 5 ผลคูณใดมากกว่า โดยไม่ต้องหาผลคูณ 2 9 × 28 กับ 4 × 21 ผลคูณใดน้อยกว่า เพราะเหตุใด

นักเรียนอาจยังตอบไม่ได้ ครูอาจให้นักเรียนหา 282 | 2. 4 × 21 ผลคูณน้อยกว่า 9 × 28


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เพราะ 4 น้อยกว่า 9 และ 21 น้อยกว่า 28
ผลคูณก่อน ตามหนังสือเรียนหน้า 282 จากนั้น
ให้นักเรียนสังเกต ดังนี้
11 × 3 กับ 12 × 5 ผลคูณใดมากกว่า
สังเกต 11 กับ 12 จำ�นวนใดมากกว่า (12 มากกว่า 11)
3 กับ 5 จำ�นวนใดมากกว่า (5 มากกว่า 3)
ดังนั้น 12 × 5 มีผลคูณมากกว่า 11 × 3
จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันสรุปข้อสังเกตที่ได้ คือ 12 มากกว่า 11 และ 5 มากกว่า 3 จึงได้ว่า
12 × 5 มีผลคูณมากกว่า 11 × 3
ครูติดบัตรโจทย์การคูณ 78 × 9 กับ 56 × 7 และถามว่า ผลคูณใดน้อยกว่า เพราะเหตุใด
โดยไม่ต้องหาผลคูณ ครูให้นักเรียนสังเกตจำ�นวนสองจำ�นวนที่นำ�มาคูณกันแล้วใช้ข้อสรุปที่ได้
จากข้างต้นเพื่อหาคำ�ตอบว่าผลคูณของสองจำ�นวนใดน้อยกว่า ดังนี้ 56 น้อยกว่า 78 และ
7 น้อยกว่า 9 ดังนั้น 56 × 7 มีผลคูณน้อยกว่า 78 × 9 ครูให้นักเรียนช่วยกันตอบคำ�ถาม
ในกรอบท้ายหน้า 282 ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
3. ครูให้นักเรียนช่วยกันเติมเครื่องหมาย > < หรือ = ใน โดยครูอาจใช้คำ�ถามนำ�
เพื่อให้นักเรียนนำ�ข้อสรุปข้างต้นมาใช้ในการเปรียบเทียบผลคูณ เช่น 6 × 53 กับ 7 × 53 จำ�นวนที่
เหมือนกันคือ 53 จำ�นวนที่นำ�มาคูณกับ 53 คือ 6 กับ 7 ครูถามว่า จำ�นวนใดน้อยกว่า นักเรียน
ตอบว่า 6 น้อยกว่า 7 ครูถามต่อไปว่า 6 × 53 กับ 7 × 53 ผลคูณใดน้อยกว่า นักเรียนควรตอบได้ว่า
6 × 53 มีผลคูณน้อยกว่า 7 × 53 ข้ออื่น ๆ ครูให้นักเรียนช่วยกันทำ� สำ�หรับข้อที่ให้เติมตัวเลข

208  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 5 | การคูณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

แสดงจำ�นวนนั้นอาจมีคำ�ตอบหลายคำ�ตอบ ครูควรให้ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 5 | การคูณ

นักเรียนเลือกคำ�ตอบมาเติมเพียงจำ�นวนเดียว ซึ่งคำ�ตอบ เติมเครื่องหมาย > < หรือ = ใน

ของนักเรียนแต่ละคนอาจไม่เหมือนกัน หากมีนักเรียน 1 6 × 53 < 7 × 53 2 75 × 2 > 80 × 5

= 5 × 17 <
คนใดตอบไม่ถูกต้อง ครูอาจอธิบายเพิ่มเติม เช่น 3 17 × 5 4 28 × 2 4 × 48

5 4 × 49 < 5 × 49 6 8 × 41 = 41 × 8
19 × 3 < 19 × ครูถามว่า เติมตัวเลขแสดง
จำ�นวนใดในช่องว่าง ครูให้นักเรียนหาตัวเลขแสดงจำ�นวน เติมตัวเลขแสดงจำานวนใน

19 × 3 < 19 × 4 15 × 3 = 3 × 15
ที่เติมในช่องว่าง โดยใช้คำ�ถาม เช่น
1 2

3 8 × 41 > 5 × 41 4 86 × 2 < 87 × 2
−− จำ�นวนที่เติมในช่องว่างมากกว่าหรือน้อยกว่า 3 5 7 × 62 < 7 × 98 6 88 × 2 > 87 × 2
(มากกว่า 3) หมายเหตุ : บางข้ออาจมีคำ�ตอบหลากหลาย ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครู

ตอบคำาถาม
−− จำ�นวนทีเ่ ติมในช่องว่างเป็นจำ�นวนใดได้บา้ ง 1 จำานวนนับสองจำานวนที่คูณกันได้ 8 มีจำานวนใดบ้าง 2 กับ 4 8 กับ 1
2 จำานวนนับสองจำานวนใดที่คูณกันได้มากกว่า 8 ตอบมา 2 คู่ 8 กับ 4 3 กับ 8
(คำ�ตอบมีมากกว่า 1 คำ�ตอบ เช่น 4 5 6 หรือ 7) สำ�หรับ 3 จำานวนนับสองจำานวนที่คูณกันได้ 16 มีจำานวนใดบ้าง 8 กับ 2 16 กับ 4 4 กับ 4
4 จำานวนนับสองจำานวนใดที่คูณกันได้มากกว่า 16 ตอบมา 2 คู่ 16 กับ 3 16 กับ 4
คำ�ถามข้อ 1 − 4 ในกรอบท้ายหน้า 283 บางข้อจะมีค�ำ ตอบ *คำ�ตอบมีหลากหลายขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครู
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 283

หลายคำ�ตอบ ครูควรให้นักเรียนตอบมาให้ครบทุกคำ�ตอบ
จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยและตรวจสอบ
ความถูกต้อง ถ้ามีนักเรียนตอบคำ�ถามไม่ถูกต้อง
ครูอาจถามเพิ่มเติมว่า จำ�นวนนับสองจำ�นวนที่คูณกันได้ 8
มีจำ�นวนใดบ้าง (1 × 8 และ 4 × 2) ครูให้ยกตัวอย่าง
จำ�นวนนับสองจำ�นวนใดบ้างที่คูณกันได้มากกว่า 8 เช่น
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

ตรวจสอบความเข้าใจ
2 × 9 5 × 3 เติมเครื่องหมาย > < หรือ = ใน

1 34 × 9 > 29 × 7 2 57 × 2 < 75 × 2

ตรวจสอบความเข้าใจ 3 62 × 5 > 26 × 3 4 9 × 91 = 91 × 9
4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
โดยให้นักเรียนเติมเครื่องหมาย > < และ = ลงในช่องว่าง
เป็นรายบุคคล จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบ
ความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
สิ่งที่ได้เรียนรู้

สิ่งที่ได้เรียนรู้
เราสามารถบอกได้ว่าผลคูณของจำานวนสองจำานวนใดมีค่ามากกว่ากัน

• เราสามารถบอกได้
น้อยกว่ากัน หรือเท่ากัน โดยไม่ต้องหาผลคูณของสองจำานวนนั้น

ว่าผลคูณของจำ�นวนสองจำ�นวนใดมี แบบฝึกหัด 5.11

ค่ามากกว่ากัน น้อยกว่ากัน หรือเท่ากัน โดยไม่ต้องหา


284 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ผลคูณของสองจำ�นวนนั้น
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 5.11 หน้า 181 − 182

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  209
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 5 | การคูณ

5.12 การหาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์การคูณ
จุดประสงค์
หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์การคูณ

สื่อการเรียนรู้
−− บัตรโจทย์การคูณ
−− ตารางสูตรคูณแม่ 2 ถึง แม่ 9
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

5.12 การหาค่าของตัวไม่ทราบค่า
แนวการจัดการเรียนรู้ ในประโยคสัญลักษณ์การคูณ
การพัฒนาความรู้ พัฒนาความรู้

1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับ 6 × = 24
6 คูณจำานวนใดได้ 24

การหาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์
สูตรคูณแม่ 6
6 × 1 = 6
6 × 2 = 12

การคูณ เช่น 2 × = 6 ครูถามนักเรียนว่า


6 × 3 = 18จากสูตรคูณแม่ 6
6 × 4 = 24
6 คูณ 4 ได้ 24
6 × 5 = 30
6 × 6 = 36

2 คูณจำ�นวนใดได้ 6 ครูให้นักเรียนท่องสูตรคูณ 6 × 7 = 42
ดังนั้น 6 × 4 = 24
6 × 8 = 48
6 × 9 = 54

แม่ 2 พร้อมกัน นักเรียนควรตอบได้ว่า


× 8 = 56
2 × 3 = 6 ดังนั้น จำ�นวนที่คูณกับ 2 ได้ 6 จำานวนใดคูณ 8 ได้ 56
สูตรคูณแม่ 8
8 × 1 = 8

คือ 3 จากนั้น ครูติดบัตรโจทย์การคูณ 8 × 2 = 16


8 × 3 = 24
8 × 4 = 32
จากสูตรคูณแม่ 8
8 คูณ 7 ได้ 56

6 × = 24 แล้วถามนักเรียนว่า 6 คูณกับ
8 × 5 = 40
8 × 6 = 48
ดังนั้น 7 × 8 = 56
8 × 7 = 56
8 × 8 = 64

จำ�นวนใดได้ 24 ครูให้นักเรียนท่องสูตรคูณ 8 × 9 = 72

แม่ 6 พร้อมกัน นักเรียนควรตอบได้ว่า เติมตัวเลขแสดงจำานวน

1 4 × 6 = 24 2 9 × 7 = 63 3 9 × 5 = 45
6 × 4 = 24 ดังนั้น จำ�นวนที่คูณกับ 6 ได้ 24 | 285
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คือ 4 ตามหนังสือเรียนหน้า 285


ครูติดบัตรโจทย์การคูณ × 8 = 56
ครูถามนักเรียนว่า จำ�นวนใดคูณกับ 8 ได้ 56
ครูให้นักเรียนท่องสูตรคูณแม่ 8 พร้อมกัน นักเรียนควรตอบได้ว่า 8 × 7 = 56 ดังนั้น จำ�นวน
ที่คูณกับ 8 ได้ 56 คือ 7 ครูให้นักเรียนสังเกตว่า การหาค่าของตัวไม่ทราบหาได้จากการท่องสูตรคูณ
ให้ได้ผลคูณเท่ากับที่โจทย์กำ�หนด จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกันเติมตัวเลขแสดงจำ�นวน
ในกรอบท้ายหน้า 285 โดยการท่องสูตรคูณ ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง

210  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 5 | การคูณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

2. ครูติดบัตรโจทย์การคูณ 3 × = 36 ครูถามนักเรียนว่า 3 คูณจำ�นวนใดได้ 36


นักเรียนท่องสูตรคูณแม่ 3 ถึง 3 คูณ 9 ได้ 27 พบว่า ผลคูณเพิ่มขึ้นทีละ 3
ดังนั้น 3 คูณ 10 ได้จาก 27 บวก 3 เท่ากับ 30
3 คูณ 11 ได้จาก 30 บวก 3 เท่ากับ 33
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

3 คูณ 12 ได้จาก 33 บวก 3 เท่ากับ 36


3 × = 36
3 คูณจำานวนใดได้ 36

สูตรคูณแม่ 3

นักเรียนควรตอบได้ว่า จำ�นวนที่คูณกับ 3 ได้ 36 คือ 12


3 × 1 = 3
จากสูตรคูณแม่ 3
3 × 2 = 6
3 × 3 = 9 3 คูณ 9 ได้ 27
3 × 4 = 12 จะได้ 3 คูณ 10 ได้ 30

ครูติดบัตรโจทย์การคูณ × 5 = 70
3 × 5 = 15
3 คูณ 11 ได้ 33
3 × 6 = 18
3 × 7 = 21 3 คูณ 12 ได้ 36
3 × 8 = 24
3 × 9 = 27 ดังนั้น 3 × 12 = 36

แล้วถามนักเรียนว่า จำ�นวนใดคูณ 5 ได้ 70 ครูให้นักเรียน


× 5 = 70

ท่องสูตรคูณแม่ 5 จนถึง 5 คูณ 9 ได้ 45 พบว่า


จำานวนใดคูณ 5 ได้ 70

สูตรคูณแม่ 5
จากสูตรคูณแม่ 5

ผลคูณเพิ่มขึ้นทีละ 5
5 × 1 = 5
5 × 2 = 10 5 คูณ 9 ได้ 45
5 × 3 = 15 จะได้ 5 คูณ 10 ได้ 50
5 × 4 = 20 5 คูณ 11 ได้ 55
5 × 5 = 25

ดังนั้น 5 คูณ 10 ได้จาก 45 บวก 5 เท่ากับ 50


5 × 6 = 30 5 คูณ 12 ได้ 60
5 × 7 = 35 5 คูณ 13 ได้ 65
5 × 8 = 40 5 คูณ 14 ได้ 70
5 × 9 = 45

5 คูณ 11 ได้จาก 50 บวก 5 เท่ากับ 55


ดังนั้น 14 × 5 = 70

5 คูณ 12 ได้จาก 55 บวก 5 เท่ากับ 60 เติมตัวเลขแสดงจำานวน

5 คูณ 13 ได้จาก 60 บวก 5 เท่ากับ 65 11


1 13
7 × 14 = 77 2 × 9 = 117 3 8 × = 112

5 คูณ 14 ได้จาก 65 บวก 5 เท่ากับ 70 286 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

นักเรียนควรตอบได้วา ่ จำ�นวนทีค
่ ณ
ู กับ 5 ได้ 70 คือ 14
ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่มและให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาจับสลากที่ครูเตรียมไว้
มีโจทย์ข้อ 1 2 และ 3 ที่อยู่ในกรอบท้ายหน้า 286 กลุ่มละ 1 ข้อ จากนั้นให้นักเรียนออกไป
นำ�เสนอวิธีการหาคำ�ตอบของแต่ละกลุ่ม โดยครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
3. ครูทบทวนเกี่ยวกับการคูณจำ�นวนหนึ่งหลักกับ 10 20 … 90 โดยการยกตัวอย่าง เช่น
ครูเขียน
2 × 3 = (6) และ 2 × 30 = (60)
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

7 × = 140

5 × 9 = (45) และ 5 × 90 = (450) สูตรคูณแม่ 7


7 คูณจำานวนใดได้ 140
เนื่องจาก 7 × 2 = 14
ดังนั้น 7 × 20 = 140

ครูให้นักเรียนช่วยกันหาผลคูณ และสังเกตคำ�ตอบที่ได้
7 × 1 = 7
7 × 2 = 14
7 × 3 = 21
7 × 4 = 28
7 × 5 = 35

ครูยกตัวอย่างเพิ่มเติม 1 - 2 ตัวอย่าง จากนั้นครู


7 × 6 = 42 จำานวนหนึ่งหลักคูณกับ 10 20 30 40 50 60
7 × 7 = 49 70 80 90 หาผลคูณโดยนำาจำานวนหนึ่งหลักนั้น
7 × 8 = 56 คูณกับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ตามลำาดับ
7 × 9 = 63
แล้วเติม 0 ต่อท้าย

และนักเรียนร่วมกันสรุปว่า จำ�นวนหนึ่งหลักคูณกับ
10 20 … 90 หาผลคูณได้โดยนำ�จำ�นวนหนึ่งหลักนั้น
× 4 = 320
จำานวนใดคูณ 4 ได้ 320
สูตรคูณแม่ 4 เนื่องจาก 4 × 8 = 32

คูณกับ 1 2 … 9 ตามลำ�ดับ แล้วเติม 0 ต่อท้าย


4 × 1 = 4
ดังนั้น 80 × 4 = 320
4 × 2 = 8
4 × 3 = 12
4 × 4 = 16

ครูติดบัตรโจทย์การคูณ 7 × = 140 ครูถาม


4 × 5 = 20
4 × 6 = 24 จำานวนหนึ่งหลักคูณกับ 10 20 30 40 50 60
4 × 7 = 28 70 80 90 หาผลคูณโดยนำาจำานวนหนึ่งหลักนั้น
4 × 8 = 32
คูณกับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ตามลำาดับ

นักเรียนว่า 7 คูณจำ�นวนใดได้ 140 นักเรียนอาจจะยังหา


4 × 9 = 36
แล้วเติม 0 ต่อท้าย

คำ�ตอบไม่ได้ ครูอาจใช้คำ�ถามนำ� เช่น 7 คูณจำ�นวนใด เติมตัวเลขแสดงจำานวน

ได้ 14 (2) 7 คูณจำ�นวนใดได้ 140 (20)


1 5 × = 100 2 × 3 = 120 3 9 × = 810

ดังนั้น จำ�นวนที่คูณกับ 7 ได้ 140 คือ 20


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 287

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  211
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 5 | การคูณ

ครูตด ิ บัตรโจทย์การคูณ × 4 = 320 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

และถามนักเรียนว่า จำ�นวนใดคูณ 4 ได้ 320


บทที่ 5 | การคูณ

7 × = 140
หาจำ�นวนนัน ้ ได้อย่างไร นักเรียนควรตอบได้วา่ 7 คูณจำานวนใดได้ 140
เนื่องจาก 7 × 2 = 14
สูตรคูณแม่ 7

หาจำ�นวนทีค่ ณ ู กับ 4 แล้วได้ 32 แล้วเติม 0 ต่อท้าย 7 × 1 = 7


7 × 2 = 14
7 × 3 = 21
ดังนั้น 7 × 20 = 140

จำ�นวนนัน ้ ถ้ามีนกั เรียนไม่เข้าใจ ครูอาจอธิบายดังนี้


7 × 4 = 28
7 × 5 = 35
7 × 6 = 42 จำานวนหนึ่งหลักคูณกับ 10 20 30 40 50 60
7 × 7 = 49 70 80 90 หาผลคูณโดยนำาจำานวนหนึ่งหลักนั้น
จาก 8 คูณ 4 ได้ 32 จะได้วา ่ 80 คูณ 4 ได้ 320 7 × 8 = 56
7 × 9 = 63
คูณกับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ตามลำาดับ
แล้วเติม 0 ต่อท้าย

ดังนัน
้ จำ�นวนทีค ่ ณ
ู กับ 4 แล้วได้ 320 คือ 80
ครูอาจยกตัวอย่างเพิม ่ เติมเพือ่ ให้นกั เรียนฝึกการนำ� × 4 = 320
จำานวนใดคูณ 4 ได้ 320

ข้อสรุปข้างต้นไปใช้ในการหาค่าของตัวไม่ทราบค่า
สูตรคูณแม่ 4 เนื่องจาก 4 × 8 = 32
4 × 1 = 4
ดังนั้น 80 × 4 = 320
4 × 2 = 8

เช่น × 8 = 160 นักเรียนต้องหาจำ�นวนมา


4 × 3 = 12
4 × 4 = 16
4 × 5 = 20
4 × 6 = 24 จำานวนหนึ่งหลักคูณกับ 10 20 30 40 50 60

คูณกับ 8 ได้ 16 แล้วเติม 0 ต่อท้ายจำ�นวนนัน ้ 4 × 7 = 28


4 × 8 = 32
4 × 9 = 36
70 80 90 หาผลคูณโดยนำาจำานวนหนึ่งหลักนั้น
คูณกับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ตามลำาดับ
แล้วเติม 0 ต่อท้าย
จะได้ 20 × 8 = 160 ครูให้นักเรียนช่วยกันเติม
ตัวเลขแสดงจำ�นวนในกรอบท้ายหน้า 287 เติมตัวเลขแสดงจำานวน

ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง 1 5 × 20 = 100 2 40 × 3 = 120 3 9 × 90 = 810

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 287

ตรวจสอบความเข้าใจ
4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
โดยให้นักเรียนแต่ละคนเติมตัวเลขแสดงจำ�นวน
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

ในช่องว่าตามหนังสือเรียนหน้า 288 ครูและ ตรวจสอบความเข้าใจ

นักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและสรุป
เติมตัวเลขแสดงจำานวน

สิง่ ทีไ่ ด้เรียนรู้ ถ้ามีนกั เรียนคนใดเติมตัวเลข


1 2 × 6 = 12

แสดงจำ�นวนไม่ถูกต้อง ครูอาจทบทวนสูตรคูณ 2 7 × 5 = 35

แม่ 2 ถึงแม่ 9 และให้นักเรียนฝึกการหาผลคูณ 30 = 180


3 6 ×

ของจำ�นวนหนึ่งหลักกับ 10 20 30 40 50 4 70 × 7 = 490

60 70 80 90 ให้คล่อง แล้วให้ตรวจสอบ
ความเข้าใจอีกครั้ง แต่ถ้ายังทำ�ไม่ได้ให้มาฝึก
เป็นรายบุคคลกับครู

สิ่งที่ได้เรียนรู้
สิ่งที่ได้เรียนรู้
• กสัญารหาค่
การหาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์การคูณ
อาจใช้สูตรคูณ
าของตัวไม่ทราบค่าในประโยค
ลักษณ์การคูณอาจใช้สูตรคูณ แบบฝึกหัด 5.12

288 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 5.12
หน้า 183 − 184

212  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 5 | การคูณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

5.13 โจทย์ปัญหาการคูณ (1) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

จุดประสงค์
บทที่ 5 | การคูณ

5.13 โจทย์ปัญหาการคูณ (1)


แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาการคูณ
พัฒนาความรู้

สื่อการจัดการเรียนรู้ ยายลีซื้อกล้วยปิ้ง 4 ไม้ แต่ละไม้มีกล้วย 5 ผล ยายลีซื้อกล้วยปิ้งทั้งหมดกี่ผล

−− บัตรภาพ
โจทย์ถาม ยายลีซื้อกล้วยปิ้งทั้งหมดกี่ผล
โจทย์บอก ยายลีซื้อกล้วยปิ้ง 4 ไม้ แต่ละไม้มีกล้วย 5 ผล

−− บัตรโจทย์ปัญหา หาคำาตอบได้อย่างไร
ถ้าใช้การนับทีละ 5 ไป 4 ครั้ง จะได้ 20 ผล
ดังนั้น 20 ผล เป็นคำาตอบที่สมเหตุสมผล
−− สื่อของจริง เช่น ขวด ประโยคสัญลักษณ์ 4 × 5 =
4 × 5 = 20
ตอบ ยายลีซื้อกล้วยปิ้งทั้งหมด ๒๐ ผล

แนวการจัดการเรียนรู้ ตู้แช่มีน้ำาส้ม 3 แถว แถวละ 6 ขวด มีน้ำาส้มในตู้แช่ทั้งหมดกี่ขวด

1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับ โจทย์ถาม มีน้ำาส้มในตู้แช่ทั้งหมดกี่ขวด


โจทย์บอก ตู้แช่มีน้ำาส้ม 3 แถว แถวละ 6 ขวด
โจทย์ปัญหาการคูณที่กำ�หนดตามหนังสือเรียน ประโยคสัญลักษณ์ 3 × 6 =
3 × 6 = 18
หน้า 289 ครูใช้คำ�ถามกระตุ้นให้นักเรียน ตอบ มีน้ำาส้มในตู้แช่ทั้งหมด ๑๘ ขวด

วิเคราะห์โจทย์ปัญหา เช่น โจทย์ถามอะไร


18 ขวด เป็นคำาตอบที่สมเหตุสมผล เพราะถ้ามีน้ำาส้ม 3 แถว
แถวละ 10 ขวด อาจใช้การนับทีละ 10 ไป 3 ครั้ง จะได้ 30 ขวด
ดังนั้น น้ำาส้ม 3 แถว แถวละ 6 ขวด จึงน้อยกว่า 30 ขวด

โจทย์บอกอะไร นักเรียนควรตอบได้ว่า | 289


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โจทย์ถาม คือ ยายลีซื้อกล้วยปิ้งทั้งหมดกี่ผล


โจทย์บอก คือ ยายลีซื้อกล้วยปิ้ง 4 ไม้
แต่ละไม้มีกล้วย 5 ผล
ครูถามนักเรียนต่อไปว่า หาคำ�ตอบได้อย่างไร นักเรียนอาจหาคำ�ตอบได้ด้วยการบวกทีละ 5
เช่น 5 + 5 + 5 + 5 = 20 ผล ดังนั้น ยายลีซื้อกล้วยปิ้งทั้งหมด 20 ผล หรือนักเรียนอาจหาคำ�ตอบ
ด้วยการคูณ ซึ่งพิจารณาจากกล้วยปิ้ง 4 ไม้ แต่ละไม้มีกล้วย 5 ผล จะได้ 4 × 5 = 20 ผล
ดังนั้น ยายลีซื้อกล้วยปิ้งทั้งหมด 20 ผล ถ้านักเรียนไม่สามารถหาคำ�ตอบได้ ครูอาจใช้บัตรภาพ
ประกอบการอธิบายว่า กล้วยปิ้ง 4 ไม้ ไม้ละ 5 ผล แล้วให้นักเรียนนับจำ�นวนกล้วยปิ้งทั้งหมด
หรือบวกทีละ 5 หรือให้เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณได้ 4 × 5= และใช้สูตรคูณแม่ 4
หรือแม่ 5 หาผลคูณ เมื่อนักเรียนได้คำ�ตอบแล้วครูควรเน้นย้ำ�เรื่องการตรวจสอบความสมเหตุสมผล
ของคำ�ตอบ เช่น 4 × 5 = 20 อาจตรวจสอบด้วยการนับทีละ 5 ไป 4 ครั้ง จะได้ 20 ดังนั้น 20
เป็นคำ�ตอบที่ถูกต้อง ครูยกตัวอย่างโจทย์ปัญหาถัดไป ให้นักเรียนวิเคราะห์โจทย์ว่า โจทย์ถามอะไร
โจทย์บอกอะไร และหาคำ�ตอบได้อย่างไร ครูอาจใช้ขวดมาเรียงเป็นแถว 3 แถว แถวละ 6 ขวด
ครูถามนักเรียนว่า การจัดขวดเป็นแถว 3 แถว แถวละ 6 ขวด ได้ทั้งหมดกี่ขวด เขียนเป็น
ประโยคสัญลักษณ์การคูณได้อย่างไร นักเรียนควรตอบได้วา ่ 3 × 6 = ครูถามว่าหาคำ�ตอบอย่างไร
นักเรียนอาจตอบว่าใช้การบวกเพิม ่ ทีละเท่า ๆ กัน (6 + 6 + 6) หรือใช้สูตรคูณแม่ 3 หรือแม่ 6
เมื่อนักเรียนได้คำ�ตอบ 18 ขวด ครูควรให้นักเรียนร่วมกันตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำ�ตอบ
ตามหนังสือเรียนหน้า 289

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  213
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 5 | การคูณ

2. ครูตด ิ บัตรโจทย์ปญ ั หาตามหนังสือเรียน หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

หน้า 290 ให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์โจทย์


บทที่ 5 | การคูณ

ตู้หนังสือแต่ละตู้ยาว 45 เซนติเมตร นำามาวางเรียงต่อกัน 3 ตู้ ความยาวทั้งหมด


ปัญหาว่า โจทย์ถามอะไร โจทย์บอกอะไร และ กี่เซนติเมตร

จะหาคำ�ตอบได้อย่างไร โดยใช้การถาม−ตอบ โจทย์ถาม ความยาวทั้งหมดกี่เซนติเมตร


โจทย์บอก ตู้หนังสือแต่ละตู้ยาว 45 เซนติเมตร นำามาวางเรียงต่อกัน 3 ตู้
เช่น การนำ�ตู้มาวางเรียงต่อกันความยาวทั้งหมด
หาคำาตอบได้อย่างไร

จะเพิม ่ ขึน
้ หรือลดลง (เพิม
่ ขึน
้ ) หาคำ�ตอบด้วยวิธใี ด
(นำ�ความยาวมาบวกกัน) ครูถามเพิ่มเติมว่า
ถ้าความยาวตูแ้ ต่ละตูเ้ ท่ากันทัง้ 3 ตูอ้ าจหาคำ�ตอบ
ด้วยวิธีใดได้อีก (หาคำ�ตอบด้วยการคูณ) 45 45 45

ครูให้นักเรียนเขียนประโยคสัญลักษณ์การคูณ ประโยคสัญลักษณ์ 3 × 45 =
3 × 45 = 135
แล้วหาคำ�ตอบ ตามหนังสือเรียนหน้า 290 ตอบ ความยาวทั้งหมด ๑๓๕ เซนติเมตร

ครูอาจแนะนำ�การตรวจสอบความสมเหตุสมผลว่า 135 เซนติเมตร เป็นคำาตอบที่สมเหตุสมผล

ถ้าตู้แต่ละตู้ยาว 50 เซนติเมตร เรียงต่อกัน 3 ตู้ เพราะ ถ้าแต่ละตู้ยาว 50 เซนติเมตร เรียงต่อกัน 3 ตู้


ความยาวทั้งหมด 3 × 50 = 150 เซนติเมตร
ดังนั้น ตู้ยาว 45 เซนติเมตร เรียงต่อกัน 3 ตู้
ความยาวทั้งหมด 3 × 50 = 150 เซนติเมตร ความยาวทั้งหมดน้อยกว่า 150 เซนติเมตร

แต่ความยาวตู้ในโจทย์ 45 เซนติเมตร 290 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ซึ่งมีค่าน้อยกว่า 50 คำ�ตอบที่ได้ควรน้อยกว่า
150 เซนติเมตร ซึง่ คำ�ตอบทีไ่ ด้คอื 135 เซนติเมตร
เป็นคำ�ตอบที่สมเหตุสมผล
3. ครูยกตัวอย่างโจทย์ปัญหา
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำาตอบ

ในหนังสือเรียนหน้า 291 แล้วให้นักเรียนช่วยกัน


พ่อปลูกมะม่วงแถวละ 5 ต้น จำานวน 6 แถว พ่อปลูกมะม่วงทั้งหมดกี่ต้น
วิเคราะห์โจทย์ปัญหาและหาคำ�ตอบ จากนั้น ประโยคสัญลักษณ์ 6 × 5 =

ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนเป็น 5 กลุ่ม แล้วให้ 6 × 5 = 30


ตอบ พ่อปลูกมะม่วงทั้งหมด ๓๐ ต้น
แต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนประโยคสัญลักษณ์และ
หาคำ�ตอบกลุ่มละ 1 ข้อ เมื่อเสร็จแล้ว 1 ลูกเสือเข้าแถว 8 แถว แถวละ 10 คน มีลูกเสือทั้งหมดกี่คน
ประโยคสัญลักษณ์ 8 × 10 =
8 × 10 = 80
ตอบ มีลูกเสือทั้งหมด ๘๐ คน
ให้แต่ละกลุ่มออกมานำ�เสนอวิธีหาคำ�ตอบ 2 ครูซื้อไอศกรีมโบราณ 12 ห่อ แต่ละห่อมีไอศกรีมโบราณ 6 แท่ง ประโยคสัญลักษณ์ 12 × 6 =
12 × 6 = 72
ครูซื้อไอศกรีมโบราณทั้งหมดกี่แท่ง
หน้าชั้นเรียน จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกัน ตอบ ครูซื้อไอศกรีมโบราณทั้งหมด ๗๒ แท่ง

ประโยคสัญลักษณ์ 4 × 7 =
3 ป้าศรีซื้อคะน้ากำาละ 7 บาท ซื้อ 4 กำา ป้าศรีต้องจ่ายเงินกี่บาท
ตรวจสอบความถูกต้อง และตรวจสอบ 4 × 7 = 28
ตอบ ป้าศรีต้องจ่ายเงิน ๒๘ บาท

ความสมเหตุสมผลของคำ�ตอบ ครูควรเน้นย้ำ� 4 พ่อมีลูก 4 คน พ่อให้เงินลูกไปโรงเรียนคนละ 20 บาท


พ่อให้เงินลูกทั้งหมดกี่บาท
ประโยคสัญลักษณ์ 4 × 20 =
4 × 20 = 80
ตอบ พ่อให้เงินลูกทั้งหมด ๘๐ บาท

นักเรียนทุกครั้งว่า เมื่อแก้โจทย์ปัญหา 5 ชาวสวนปลูกมะม่วงแถวละ 16 ต้น จำานวน 5 แถว ชาวสวนปลูกมะม่วง


ทั้งหมดกี่ต้น ประโยคสัญลักษณ์ 5 × 16 =
จนได้คำ�ตอบแล้วต้องอย่าลืมตรวจสอบ 5 × 16 = 80
ตอบ ชาวสวนปลูกมะม่วงทั้งหมด ๘๐ ต้น

ความสมเหตุสมผลของคำ�ตอบทุกครั้ง ควรตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำาตอบด้วย

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 291

214  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 5 | การคูณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

ตรวจสอบความเข้าใจ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 5 | การคูณ

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยให้นก ั เรียน ตรวจสอบความเข้าใจ

แต่ละคนเขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำ�ตอบ
เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำาตอบ

1 กล้วยแขกถุงละ 10 ชิ้น ขุนซื้อกล้วยแขก 9 ถุง ขุนได้กล้วยแขก

ตามหนังสือเรียนหน้า 292 ครูและนักเรียนร่วมกัน ทั้งหมดกี่ชิ้น ประโยคสัญลักษณ์



9 × 10 =
9 × 10 = 90
ตอบ ขุนได้กล้วยแขกทั้งหมด ๙๐ ชิ้น

ตรวจสอบความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ถ้ามีนักเรียน
2 แม่ตัดขนมชั้นในถาดเป็นแถวได้ 8 แถว แถวละ 12 ชิ้น แม่ตัดขนมชั้น
ได้ทั้งหมดกี่ชิ้น ประโยคสัญลักษณ์ 8 × 12 =
8 × 12 = 96

คนใดเขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำ�ตอบไม่ถูกต้อง
ตอบ แม่ตัดขนมชั้นทั้งหมด ๙๖ ชิ้น
3 แก้วตาซื้อขนมปัง 3 กล่อง กล่องละ 23 บาท แก้วตาต้องจ่ายเงิน
ทั้งหมดกี่บาท ประโยคสัญลักษณ์ 3 × 23 =

ครูอาจให้นักเรียนฝึกการหาผลคูณของจำ�นวนหนึ่งหลัก
3 × 23 = 69
ตอบ แก้วตาต้องจ่ายเงินทั้งหมด ๖๙ บาท

กับจำ�นวนสองหลักให้คล่อง หรือถ้านักเรียนเขียน
ประโยคสัญลักษณ์การคูณผิด ครูอาจทบทวน
เรื่องความหมายของการคูณที่จัดสิ่งของเป็นกลุ่ม
สิ่งที่ได้เรียนรู้
การแก้โจทย์ปญ
ั หาทำาได้โดยอ่านทำาความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปญ
ั หา
หาคำาตอบ และตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำาตอบ

กลุ่มละเท่า ๆ กัน หรือจัดสิ่งของเป็นแถว แถวละเท่า ๆ กัน


แล้วให้ตรวจสอบความเข้าใจอีกครั้ง แต่ถ้ายังทำ�ไม่ได้ 292 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แบบฝึกหัด 5.13

ให้มาฝึกเป็นรายบุคคลกับครู

สิ่งที่ได้เรียนรู้
• กและตรวจสอบความสมเหตุ
ารแก้โจทย์ปัญหาทำ�ได้โดยอ่านทำ�ความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา หาคำ�ตอบ
สมผลของคำ�ตอบ
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 5.13 หน้า 185 − 186

5.14 โจทย์ปัญหาการคูณ (2)


จุดประสงค์
แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาการคูณ
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

5.14 โจทย์ปัญหาการคูณ (2)

พัฒนาความรู้

สื่อการจัดการเรียนรู้
บัตรโจทย์ปัญหา
แม่ซื้อซาลาเปา 3 ลูก แต่ละลูกราคาเท่ากัน แม่จ่ายเงินทั้งหมด 15 บาท

แนวการจัดการเรียนรู้
ซาลาเปาราคาลูกละกี่บาท

โจทย์ถาม ซาลาเปาราคาลูกละกี่บาท

1. โจทย์ปัญหาการคูณในชั่วโมงนี้เป็นโจทย์ปัญหา โจทย์บอก

แม่ซื้อซาลาเปา 3 ลูก แต่ละลูกราคาเท่ากัน แม่จ่ายเงิน
ทั้งหมด 15 บาท

การคูณในลักษณะการหาค่าของตัวไม่ทราบค่า หาคำาตอบได้อย่างไร

ครูยกตัวอย่างโจทย์ปัญหาการคูณตามหนังสือเรียน
สูตรคูณแม่ 3
3 × 1 = 3
3 คูณกับจำานวนใด ได้ 15
3 × 2 = 6
ประโยคสัญลักษณ์ 3 × = 15 3 × 3 = 9

หน้า 293 โดยติดบัตรโจทย์ปัญหาบนกระดาน


3 × 4 = 12
จากสูตรคูณแม่ 3 3 คูณ 5 ได้ 15
3 × 5 = 15
ดังนั้น 3 × 5 = 15 3 × 6 = 18
3 × 7 = 21
ตอบ ซาลาเปาราคาลูกละ ๕ บาท

แล้วให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์ว่าโจทย์ถามอะไร
3 × 8 = 24
3 × 9 = 27

โจทย์บอกอะไร และนักเรียนจะหาคำ�ตอบได้อย่างไร
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 293

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  215
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 5 | การคูณ

ครูใช้คำ�ถามกระตุ้นให้นักเรียนคิดว่า ซาลาเปา 3 ลูก ราคาลูกละเท่ากัน จ่ายเงินไป 15 บาท


หมายความว่า 3 คูณจำ�นวนใด ได้ผลคูณเท่ากับ 15 เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ 3 × = 15
ซึ่งนักเรียนอาจใช้วิธีการท่องสูตรคูณแม่ 3 จะได้ว่า 3 × 5 = 15 ดังนั้น ซาลาเปาราคาลูกละ 5 บาท
หลังจากที่นักเรียนได้คำ�ตอบแล้วครูควรให้นักเรียนตรวจสอบคำ�ตอบโดยการนำ�คำ�ตอบที่ได้คูณกับ 3
แล้วได้ผลคูณเท่ากับ 15 หรือไม่ ถ้าได้เท่ากับ 15 แสดงว่าเป็นคำ�ตอบที่ถูกต้อง เมื่อนักเรียนได้แนวคิด
ในการวิเคราะห์และหาคำ�ตอบโจทย์ปญ ั หาการคูณทีม
่ ลี ก
ั ษณะเป็นโจทย์การหาค่าของตัวไม่ทราบค่าแล้ว
ครูยกตัวอย่างโจทย์ปัญหาการคูณจากตัวอย่างโจทย์ปัญหาในหน้าถัดไป
2. ครูยกตัวอย่างโจทย์ปัญหาการคูณ
ที่มีตัวไม่ทราบค่าตามหนังสือเรียนหน้า 294
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

แล้วให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์โจทย์ปัญหาว่า บทที่ 5 | การคูณ

โจทย์ถามอะไร โจทย์บอกอะไร และจะหาคำ�ตอบ ครูจัดโต๊ะ 5 แถว แถวละเท่า ๆ กัน ครูต้องจัดโต๊ะแถวละกี่ตัว จึงจะได้โต๊ะ


ทั้งหมด 100 ตัว

ได้อย่างไร ครูใช้คำ�ถามกระตุ้นให้นักเรียนคิดว่า โจทย์ถาม ครูต้องจัดโต๊ะแถวละกี่ตัว


โจทย์บอก ครูจัดโต๊ะ 5 แถว แถวละเท่า ๆ กัน ครูต้องการโต๊ะ
ครูจัดโต๊ะ 5 แถว แถวละเท่า ๆ กัน ต้องจัดโต๊ะ ทั้งหมด 100 ตัว

แถวละกี่ตัว ถ้าจัดโต๊ะทั้งหมด 100 ตัว


สูตรคูณแม่ 5
5 × 1 = 5
ประโยคสัญลักษณ์ 5 × = 100 5 × 2 = 10
5 × 3 = 15
เนื่องจาก 5 คูณ 2 ได้ 10

หมายความว่า 5 คูณจำ�นวนใดได้ผลคูณเท่ากับ
5 × 4 = 20
ดังนั้น 5 × 20 = 100 5 × 5 = 25
5 × 6 = 30
ตอบ ครูต้องจัดโต๊ะแถวละ ๒๐ ตัว 5 × 7 = 35

100 เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ 5 × = 100


5 × 8 = 40
5 × 9 = 45

ซึ่งนักเรียนอาจใช้การคูณกับจำ�นวน แก้วตาซื้อดินสอ 4 กล่อง แต่ละกล่องมีดินสอเท่ากัน เทรวมกันนับได้ 48 แท่ง


แต่ละกล่องมีดินสอกี่แท่ง

10 20 30 … จะได้ว่า 5 × 20 = 100 โจทย์ถาม แต่ละกล่องมีดินสอกี่แท่ง

ดังนั้น จัดโต๊ะแถวละ 20 ตัว ครูให้นักเรียน โจทย์บอก แก้วตาซื้อดินสอ 4 กล่อง แต่ละกล่องมีดินสอเท่ากัน


เทรวมกันนับได้ 48 แท่ง

ตรวจสอบคำ�ตอบโดยนำ�คำ�ตอบที่ได้ไปคูณกับ 5 ประโยคสัญลักษณ์ 4 ×
จากสูตรคูณแม่ 4 4 คูณ 9 ได้ 36
= 48

ถ้าได้ผลคูณเท่ากับ 100 แสดงว่าเป็นคำ�ตอบ จะได้





4 คูณ 10 ได้ 40
4 คูณ 11 ได้ 44

ที่ถูกต้อง ครูอาจยกตัวอย่างโจทย์ปัญหาการคูณ
4 คูณ 12 ได้ 48
ดังนั้น 4 × 12 = 48
ตอบ แต่ละกล่องมีดินสอ ๑๒ แท่ง
ท้ายหน้า 294 เพือ ่ ให้นก
ั เรียนได้ฝก
ึ การวิเคราะห์
294 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

และหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาในลักษณะ
หาตัวไม่ทราบค่าที่เป็นจำ�นวนสมาชิกในกลุ่ม
ซึ่งจะได้ประโยคสัญลักษณ์คือ 4 × = 48 ในการหาคำ�ตอบนี้นักเรียนอาจใช้สูตรคูณแม่ 4
ดังนั้น 4 × 9 = 36 และ 4 × 10 = 40 4 × 11 = 44 4 × 12 = 48 เมื่อได้คำ�ตอบแล้ว
ครูให้นักเรียนตรวจสอบความถูกต้องของคำ�ตอบ จากนั้นครูยกตัวอย่างโจทย์ปัญหาการคูณ
ที่มีตัวไม่ทราบค่าเป็นจำ�นวนกลุ่ม เช่น ครูจัดดอกบัว 12 ดอกเป็นกำ� กำ�ละ 6 ดอก ครูจัดดอกบัว
ได้กี่กำ� หมายความว่า จำ�นวนใดคูณกับ 6 ได้ผลคูณเท่ากับ 12 เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์
× 6 = 12 นักเรียนอาจหาคำ�ตอบโดยใช้สูตรคูณแม่ 6 จะได้ 6 × 2 = 12 ดังนั้น ครูจัดดอกบัว
ได้ 2 กำ� ครูให้นักเรียนตรวจสอบความถูกต้องของคำ�ตอบทำ�นองเดียวกับข้างต้น

216  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 5 | การคูณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

3. เมื่อนักเรียนเข้าใจและสามารถวิเคราะห์ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2


บทที่ 5 | การคูณ

โจทย์ปัญหาการคูณในลักษณะการหาค่าของตัวไม่ทราบค่า เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำาตอบ

ได้แล้ว ครูแบ่งนักเรียนเป็น 4 กลุ่มให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม



แม่ซื้อนมเย็น 8 แก้ว นมเย็นแต่ละแก้วราคาเท่ากัน แม่จ่ายเงินทั้งหมด
80 บาท นมเย็นราคาแก้วละกี่บาท

ช่วยกันวิเคราะห์โจทย์ปัญหาการคูณในหนังสือเรียน


ประโยคสัญลักษณ์


8 ×

8 × 10
= 80

= 80
8 × 1 = 8
8 × 10 = 80

หน้า 295 กลุ่มละ 1 ข้อ โดยให้นักเรียนช่วยกันเขียน ตอบ นมเย็นราคาแก้วละ ๑๐ บาท

ประโยคสัญลักษณ์และหาคำ�ตอบ และครูเน้นย้ำ�ให้นักเรียน 1 ชาวสวนจัดต้นกล้าเป็นแถว แถวละ 4 ต้น ชาวสวนต้องจัดต้นกล้ากี่แถว


จึงจะได้ต้นกล้าทั้งหมด 24 ต้น

ตรวจสอบความถูกต้องของคำ�ตอบ ครูอาจแนะนำ�นักเรียน 2 นมสดแต่ละแพ็กมี 6 กล่อง ต้องซื้อกี่แพ็ก จึงจะได้นมสด 48 กล่อง

กลุ่มที่แก้โจทย์ปัญหาข้อ 1 และ 2 ซึ่งมีตัวไม่ทราบค่าเป็น 3 แม่ซื้อขนมเปี๊ยะ 7 กล่อง แต่ละกล่องมีขนมเปี๊ยะเท่ากัน ถ้ามีขนมเปี๊ยะ

จำ�นวนแถวและจำ�นวนกลุ่มตามลำ�ดับ ประโยคสัญลักษณ์
ทั้งหมด 98 ชิ้น แต่ละกล่องมีขนมเปี๊ยะกี่ชิ้น

4 เตรียมรถไปทัศนศึกษา 9 คัน จัดนักเรียนนั่งรถคันละเท่า ๆ กัน

ที่เขียนได้ดังนี้ × 4 = 24 และ × 6 = 48 มีนักเรียนทั้งหมด 270 คน จัดนักเรียนนั่งรถคันละกี่คน

จากนั้นครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำ�เสนอ ควรตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำาตอบด้วย

ประโยคสัญลักษณ์และวิธีหาคำ�ตอบของแต่ละข้อ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 295

ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง เฉลย
1. ประโยคสัญลักษณ์ × 4 = 24 3. ประโยคสัญลักษณ์ 7 × = 98
6 × 4 = 24 7 × 14 = 98

ตรวจสอบความเข้าใจ ตอบ ชาวสวนต้องจัดต้นกล้า ๖ แถว ตอบ แต่ละกล่องมีขนมเปี๊ยะ ๑๔ ชิ้น

2. ประโยคสัญลักษณ์ × 6 = 48 4. ประโยคสัญลักษณ์ 9 × = 270


4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยนักเรียน 8 × 6 = 48 9 × 30 = 270
ตอบ ต้องซื้อนมสด ๘ แพ็ก ตอบ จัดนักเรียนนั่งรถคันละ ๓๐ คน

แต่ละคนเขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำ�ตอบ
ตามหนังสือเรียนหน้า 296 ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
ถ้ามีนักเรียนคนใดเขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำ�ตอบไม่ถูกต้อง ครูอาจให้นักเรียนฝึกการหาค่า
ของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์การคูณให้คล่อง หรือถ้านักเรียนเขียนประโยคสัญลักษณ์การคูณผิด
ครูอาจทบทวนเรื่องความหมายของการคูณที่เน้นจำ�นวน
สมาชิกในแต่ละกลุ่มและจำ�นวนกลุ่มหรือจำ�นวนสมาชิก
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

ตรวจสอบความเข้าใจ
ในแต่ละแถวและจำ�นวนแถว แล้วให้ตรวจสอบความเข้าใจ เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำาตอบ

อีกครั้งแต่ถ้ายังทำ�ไม่ได้ให้มาฝึกเป็นรายบุคคลกับครู 1 แม่ค้าจัดดอกไม้เป็นช่อ ช่อละ 6 ดอก แม่ค้าจัดดอกไม้กี่ช่อ ถ้าแม่ค้า


ใช้ดอกไม้ไป 120 ดอก

2 ร้านค้าตัดผ้าขายเป็นผืน ผืนละเท่า ๆ กัน ได้ 5 ผืน ถ้าก่อนตัด

สิ่งที่ได้เรียนรู้
ผ้ายาว 30 เมตร ร้านค้าตัดผ้าแต่ละผืนยาวกี่เมตร

• กวางแผนแก้
ารแก้โจทย์ปัญหาทำ�ได้โดยอ่านทำ�ความเข้าใจปัญหา
ปัญหา หาคำ�ตอบและตรวจสอบ
1. ประโยคสัญลักษณ์ × 6 = 120 2. ประโยคสัญลักษณ์ 5 × = 30

ความสมเหตุสมผลของคำ�ตอบ
ตอบ แม่ค้าจัดดอกไม้ ๒๐ ช่อ
20 × 6 = 120 5 × 6 = 30
ตอบ ร้านค้าตัดผ้าแต่ละผืนยาว ๖ เมตร

จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 5.1 สิ่งที่ได้เรียนรู้


การแก้โจทย์ปัญหาทำาได้โดยอ่านทำาความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา
หน้า 187 - 188 หาคำาตอบ และตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำาตอบ

แบบฝึกหัด 5.14

296 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  217
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 5 | การคูณ

5.15 การสร้างโจทย์ปัญหาการคูณจากภาพ
จุดประสงค์ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

สร้างโจทย์ปัญหาการคูณจากภาพ 5.15 การสร้างโจทย์ปัญหาการคูณจากภาพ

พัฒนาความรู้

สื่อการจัดการเรียนรู้
บัตรภาพ
จากภาพเห็นอะไรบ้าง

มีส้ม 3 จาน จานละ 2 ผล

การสร้างโจทย์ปัญหาต้องมีทั้ง ส่วนที่โจทย์บอก และ

แนวการจัดการเรียนรู้
ส่วนที่โจทย์ถาม จากภาพสร้างโจทย์ปัญหาการคูณได้อย่างไร

1. การสร้างโจทย์ปัญหาการคูณจากภาพควรเริ่ม มีส้ม 3 จาน จานละ 2 ผล มีส้มทั้งหมดกี่ผล

จากการให้นักเรียนพิจารณาภาพ โดยใช้คำ�ถามนำ� เช่น มีส้ม 3 จาน จานละ 2 ผล มีส้มทั้งหมดกี่ผล


โจทย์ถาม มีส้มทั้งหมดกี่ผล

จากภาพในหนังสือเรียนหน้า 297 นักเรียนเห็นอะไรบ้าง


โจทย์บอก มีส้ม 3 จาน จานละ 2 ผล
ประโยคสัญลักษณ์ 3 × 2 =

(มีสม
้ 3 จาน แต่ละจานมีสม ้ 2 ผล) มีสม้ ทัง้ หมดกีผ
่ ล ( 6 ผล) โจทย์ปัญหาที่สร้างมีคำาตอบเป็นเท่าไร

ถ้าจะสร้างโจทย์ปัญหาการคูณ ส่วนที่โจทย์ถามคืออะไร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 297

(มีส้มทั้งหมดกี่ผล) ส่วนที่โจทย์บอกคืออะไร (มีส้ม 3 จาน


จานละ 2 ผล) ดังนั้น เขียนเป็นโจทย์ปัญหาการคูณ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

จากภาพนีไ้ ด้วา ่ มีสม


้ 3 จาน จานละ 2 ผล มีสม ้ ทัง้ หมดกีผ
่ ล
หรือมีสม ้ จานละ 2 ผล อยู่ 3 จาน มีสม ้ ทัง้ หมด กี่ผล
เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้ว่า 3 × 2 =
จากภาพ สร้างโจทย์ปัญหาการคูณ

ครูเน้นย้ำ�ว่า โจทย์ปัญหาที่สร้างต้องมีความเป็นไปได้ และเขียนประโยคสัญลักษณ์ได้อย่างไร

2. ครูติดบัตรภาพตามหนังสือเรียนหน้า 298
ชาวสวนปลูกกะหล่ำาปลี 3 แถว แถวละ 10 ต้น
ชาวสวนปลูกกะหล่ำาปลีทั้งหมดกี่ต้น
ประโยคสัญลักษณ์ 3 × 10 =

จากภาพในหนังสือเรียนนักเรียนเห็นอะไรบ้าง
(ปลูกกะหล่�ำ ปลี 3 แถว แต่ละแถวมีกะหล่�ำ ปลี 10 ต้น)
ปลูกกะหล่ำ�ปลีทั้งหมดกี่ต้น (30 ต้น) ถ้าจะสร้างโจทย์
ปัญหาการคูณ ส่วนที่โจทย์ถามคืออะไร (ปลูกกะหล่ำ�ปลี
จากภาพ สร้างโจทย์ปัญหาการคูณ
และเขียนประโยคสัญลักษณ์ได้อย่างไร

ทั้งหมดกี่ต้น) ส่วนที่โจทย์บอกคืออะไร (ปลูกกะหล่ำ�ปลี ชาวสวนปลูกผักกาดขาว 2 แถว แถวละ 15 ต้น


ชาวสวนปลูกผักกาดขาวทั้งหมดกี่ต้น
ประโยคสัญลักษณ์ 2 × 15 =

3 แถว แต่ละแถวมีกะหล่ำ�ปลี 10 ต้น) ดังนั้น เขียนเป็น 298 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โจทย์ปัญหาการคูณจากภาพนี้ได้ว่า ปลูกกะหล่ำ�ปลี 3 แถว


แต่ละแถวมีกะหล่ำ�ปลี 10 ต้น ปลูกกะหล่ำ�ปลีทั้งหมดกี่ต้น
หรือปลูกกะหล่ำ�ปลีแถวละ 10 ต้น
ปลูก 3 แถว ปลูกกะหล่ำ�ปลีทั้งหมดกี่ต้น เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้ว่า 3 × 10 =
ครูเน้นย้ำ�ว่า โจทย์ปัญหาที่สร้างต้องมีความเป็นไปได้
จากนั้นครูติดบัตรภาพปลูกผักกาดตามหนังสือเรียนท้ายหน้า 298 แล้วให้นักเรียนช่วยกัน
สร้างโจทย์ปัญหาการคูณ และช่วยกันพิจารณาความเป็นไปได้ของโจทย์ปัญหาที่สร้างขึ้น

218  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 5 | การคูณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

3. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม 3 กลุ่ม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

แล้วให้นกั เรียนแต่ละกลุม
่ ช่วยกันสร้างโจทย์ปญ
ั หา
บทที่ 5 | การคูณ

การคูณจากภาพพร้อมทัง้ เขียนประโยคสัญลักษณ์ สร้างโจทย์ปัญหาการคูณและเขียนประโยคสัญลักษณ์

กลุ่มละ 2 ข้อ ตามหนังสือเรียนหน้า 299


เมือ
่ สร้างโจทย์ปญั หาการคูณเสร็จแล้วให้นก ั เรียน กล�องละ 20 บาท ขนมเทียน

แต่ละกลุ่มออกมานำ�เสนอโจทย์ปัญหาที่สร้างได้
นักเรียนแต่ละกลุ่มอาจสร้างโจทย์ปัญหาการคูณ ขนมเทียน 3 กล่อง กล่องละ 20 บาท ซื้อขนมเทียน 3 กล่อง ต้องใช้เงินกี่บาท
2 ประโยคสัญลักษณ์ 3 × 20 =

ได้แตกต่างกัน ครูและนักเรียนช่วยกันพิจารณา
ที่จอดรถจักรยาน

ความถูกต้องและความเป็นไปได้ของโจทย์ปัญหา
ที่สร้าง มีรถจักรยานจอดอยู่ 2 แถว แถวละ 12 คัน มีรถจักรยานจอดอยู่ทั้งหมดกี่คัน
3 ประโยคสัญลักษณ์ 2 × 12 =

ตรวจสอบความเข้าใจ
4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
โดยให้นก ั เรียนแต่ละคนสร้างโจทย์ปญ ั หาการคูณ แพ็กละ 20 บาท
ฝ�กละ 10 บาท

แม่ค้ามีส้ม 6 แพ็ก ราคาแพ็กละ 20 บาท แม่ค้าจะได้เงินจากการขายส้มทั้งหมดกี่บาท


และเขียนประโยคสัญลักษณ์จากภาพ ประโยคสัญลักษณ์ 6 × 20 =
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 299

ตามหนังสือเรียนหน้า 300 ครูและนักเรียน หมายเหตุ : การสร้างโจทย์ และคำ�ตอบมีหลากหลาย ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครู

ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและความเป็นไปได้
หลังจากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันสรุป
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

สิง่ ทีไ่ ด้เรียนรู ้ ถ้ามีนกั เรียนคนใดสร้างโจทย์ปญั หา ตรวจสอบความเข้าใจ


จากภาพ สร้างโจทย์ปัญหาการคูณและเขียนประโยคสัญลักษณ์
การคูณและเขียนประโยคสัญลักษณ์จากภาพ 1

ไม่ถก ู ต้อง ครูอาจให้นก ั เรียนฝึกพิจารณา


โจทย์ปญ ั หาการคูณว่าประกอบด้วย กำละ 5 บาท

ส่วนที่โจทย์บอกและส่วนที่โจทย์ถามให้คล่อง แม่ซื้อดอกบัว 6 กำ� ราคากำ�ละ 5 บาท แม่ต้องจ่ายเงินทั้งหมดกี่บาท


ประโยคสัญลักษณ์ 6 × 5 =
แล้วให้ตรวจสอบความเข้าใจอีกครั้งแต่ถ้า 2

ยังทำ�ไม่ได้ให้มาฝึกเป็นรายบุคคลกับครู
ต�นละ 30 บาท

สิ่งที่ได้เรียนรู้ พ่อค้าขายต้นกระบองเพชร 7 ต้น ราคาต้นละ 30 บาท พ่อค้าขายได้เงินทั้งหมดกี่บาท

• กโจทย์
ประโยคสัญลักษณ์ 7 × 30 =

ารสร้างโจทย์ปัญหาต้องมีทั้งส่วนที่ สิ่งที่ได้เรียนรู้

บอกและส่วนที่โจทย์ถาม นอกจากนี้
การสร้างโจทย์ปัญหาต้องมีทั้งส่วนที่โจทย์บอกและส่วนที่โจทย์ถาม
นอกจากนี้โจทย์ปัญหาที่สร้างต้องมีความเป็นไปได้

โจทย์ปัญหาที่สร้างต้องมีความเป็นไปได้
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 5.15 แบบฝึกหัด 5.15

300 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน้า 189 − 190 หมายเหตุ : การสร้างโจทย์ และคำ�ตอบมีหลากหลาย ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครู

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  219
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 5 | การคูณ

5.16 การสร้างโจทย์ปัญหาการคูณจากประโยคสัญลักษณ์
จุดประสงค์ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

สร้างโจทย์ปัญหาการคูณจากประโยคสัญลักษณ์ 5.16 การสร้างโจทย์ปัญหาการคูณ


จากประโยคสัญลักษณ์
พัฒนาความรู้

สื่อการจัดการเรียนรู้
−− บัตรภาพ
−− บัตรประโยคสัญลักษณ์การคูณ
ช่วยกันสร้างโจทย์ปัญหาการคูณจากประโยคสัญลักษณ์

แนวการจัดการเรียนรู้
3 × 2 = พร้อมทั้งบอกส่วนที่โจทย์ถามและส่วนที่โจทย์บอก

เรือจักรยานน้ำา 3 ลำา แต่ละลำามีคนนั่ง 2 คน

1. ครูติดบัตรภาพและบัตรประโยคสัญลักษณ์
มีคนนั่งเรือจักรยานน้ำาทั้งหมดกี่คน

โจทย์ถาม มีคนนั่งเรือจักรยานน้ำาทั้งหมดกี่คน

3 × 2 = แล้วใช้คำ�ถามนำ�เพื่อให้นักเรียนสร้าง
โจทย์บอก เรือจักรยานน้ำา 3 ลำา แต่ละลำามีคนนั่ง 2 คน

คนยืนรอซื้อตั๋วลงเรือ 3 แถว แถวละ 2 คน

โจทย์ปัญหาการคูณจากประโยคสัญลักษณ์ที่กำ�หนดโดย มีคนยืนรอซื้อตั๋วลงเรือทั้งหมดกี่คน

โจทย์ถาม มีคนยืนรอซื้อตั๋วลงเรือทั้งหมดกี่คน

นำ�ข้อมูลจากภาพมาเป็นแนวทางในการสร้างโจทย์ปัญหา โจทย์บอก คนยืนรอซื้อตั๋วลงเรือ 3 แถว แถวละ 2 คน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 301

การคูณ เช่น จากประโยคสัญลักษณ์ 3 × 2 = ครูอาจ


ให้นกั เรียนบอกความหมายของการคูณว่า 3 × 2 = คือ มี 3 กลุม ่ แต่ละกลุม ่ มีสมาชิก 2 หรือ มี 3 แถว
แต่ละแถวมีสมาชิก 2 แล้วให้นก ั เรียนใช้ขอ
้ มูลจากภาพทีก ่ �ำ หนดให้ สร้างเป็นโจทย์ปญั หาการคูณได้วา ่
เรือจักรยานน้ำ� 3 ลำ� แต่ละลำ�มีคนนั่ง 2 คน มีคนนั่งเรือจักรยานน้ำ�ทั้งหมดกี่คน หรือนักเรียน
อาจสร้างโจทย์ปัญหาการคูณแบบอื่นได้ว่า มีคนยืนรอซื้อตั๋วลงเรือ 3 แถว แถวละ 2 คน มีคนยืนรอ
ซื้อตั๋วลงเรือทั้งหมดกี่คน แล้วให้นักเรียนระบุส่วนที่โจทย์บอก และส่วนที่โจทย์ถาม จากนั้นครูและ
นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความเป็นไปได้ของโจทย์ปัญหาที่สร้างขึ้น
2. หลังจากที่นักเรียนเข้าใจและสามารถสร้างโจทย์
ปัญหาจากประโยคสัญลักษณ์โดยมีภาพประกอบได้
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

ครูจงึ กำ�หนดประโยคสัญลักษณ์การคูณ ให้นก ั เรียนช่วยกัน


สร้างโจทย์ปัญหาจากประโยคสัญลักษณ์ 5 × 2 =

สร้างโจทย์ปัญหา ดังนี้ จัดขนมชั้นใส่จาน 5 ใบ จานแต่ละใบมีขนมชั้น 2 ชิ้น


มีขนมชั้นทั้งหมดกี่ชิ้น

กำ�หนดประโยคสัญลักษณ์ 5 × 2 = แล้วให้ ชั้นวางรองเท้า 5 ชั้น แต่ละชั้นมีรองเท้าวางอยู่ 2 คู่


มีรองเท้าทั้งหมดกี่คู่

นักเรียนสร้างโจทย์ปัญหาการคูณ โดยระบุส่วนที่โจทย์บอก
และส่วนที่โจทย์ถาม ครูควรเน้นย้ำ�และตรวจสอบว่า
สร้างโจทย์ปัญหาจากประโยคสัญลักษณ์ 4 × 6 =

โจทย์ปัญหาที่นักเรียนแต่ละคนช่วยกันสร้างขึ้นมีความ
ซื้อมะเขือเทศ 4 ถุง แต่ละถุงมีมะเขือเทศ 6 ผล

เป็นไปได้หรือไม่ จากนั้นให้นักเรียนช่วยกันหาคำ�ตอบ ซื้อมะเขือเทศทั้งหมดกี่ผล

ของโจทย์ปัญหานั้น โจทย์ปัญหาที่นักเรียนสร้างอาจมี
โรงเรียนจัดลานจอดรถไว้ 4 แถว แต่ละแถวจอดรถได้ 6 คัน
ลาดจอดรถของโรงเรียนจอดรถได้ทั้งหมดกี่คัน

ความแตกต่างกัน ครูและนักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง โจทย์ปัญหาที่สร้างควรมีความเป็นไปได้

จากนั้นครูกำ�หนดประโยคสัญลักษณ์ 4 × 6 = ช่วยกันหาคำาตอบของโจทย์ปัญหาที่นักเรียนสร้าง

แล้วจัดกิจกรรม ทำ�นองเดียวกับข้างต้น
302 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

220  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 5 | การคูณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

3. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุม ่ แล้วให้นกั เรียน หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

แต่ละกลุ่มสร้างโจทย์ปัญหาการคูณจาก
บทที่ 5 | การคูณ

สร้างโจทย์ปัญหาจากประโยคสัญลักษณ์

ประโยคสัญลักษณ์ตามหนังสือเรียนหน้า 303 1

โดยให้นกั เรียนแต่ละกลุม ่ ได้ฝกึ การสร้างโจทย์ปญ ั หา 4 × 12 =

การคูณจากประโยคสัญลักษณ์ทั้ง 2 ข้อ เมื่อ


นักเรียน 4 คน บริจาคหนังสือคนละ 12 เล่ม
แต่ละกลุ่มสร้างโจทย์ปัญหาเสร็จแล้วให้นกั เรียน จะได้หนังสือบริจาคทั้งหมดกี่เล่ม

แต่ละกลุม ่ นำ�เสนอเกีย่ วกับโจทย์ปญ ั หาทีส่ ร้าง ระบุ ดินสอกล่องหนึ่งมี 12 แท่ง ซื้อดินสอ 4 กล่อง
จะได้ดินสอทั้งหมดกี่แท่ง
ส่วนทีโ่ จทย์บอก ส่วนทีโ่ จทย์ถาม และหาคำ�ตอบ
โดยครูและนักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง 2

และความเป็นไปได้ของโจทย์ปญ ั หาทีส่ ร้าง 8 × 8 =

ใบบัวปูกระเบื้อง 8 แถว แถวละ 8 แผ่น


ต้องใช้กระเบื้องทั้งหมดกี่แผ่น
ตรวจสอบความเข้าใจ
ครูจัดดอกไม้ใส่แจกัน 8 ใบ แจกันละ 8 ดอก
4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน ครูต้องใช้ดอกไม้ทั้งหมดกี่ดอก

โดยให้นก ั เรียนแต่ละคนสร้างโจทย์ปญ ั หาการคูณ


ช่วยกันหาคำาตอบของโจทย์ปัญหาที่นักเรียนสร้าง

จากประโยคสัญลักษณ์ ตามหนังสือเรียนหน้า 304 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 303

ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง หมายเหตุ : การสร้างโจทย์ และคำ�ตอบมีหลากหลาย ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครู

และความเป็นไปได้ของโจทย์ปัญหาที่สร้าง
หลังจากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันสรุป
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

สิ่งที่ได้เรียนรู้ ถ้ามีนกั เรียนคนใดสร้างโจทย์ปญ


ั หา ตรวจสอบความเข้าใจ
สร้างโจทย์ปัญหาจากประโยคสัญลักษณ์
การคูณจากประโยคสัญลักษณ์ไม่ถูกต้อง
1 6 × 11 =
ครูอาจให้นก ั เรียนฝึกบอกความหมายการคูณตาม
ครูแบ่งกล่ม
ุ นักเรียน 6 กลุม
่ กลุม
่ ละ 11 คน มีนก
ั เรียนทัง้ หมดกีค
่ น
ประโยคสัญลักษณ์และบอกส่วนประกอบ
ของโจทย์ปัญหาว่าประกอบด้วยส่วนที่โจทย์บอก
และส่วนที่โจทย์ถามให้คล่อง แล้วให้ตรวจสอบ
2 7 × 3 =
ความเข้าใจอีกครั้ง แต่ถ้ายังทำ�ไม่ได้ให้มาฝึก
แม่ปลูกต้นดาวเรือง 7 แถว แถวละ 3 ต้น แม่ปลูกต้นดาวเรืองทัง้ หมดกีต
่ น

เป็นรายบุคคลกับครู

สิ่งที่ได้เรียนรู้
• กบอกและส่
ารสร้างโจทย์ปัญหาต้องมีทั้งส่วนที่โจทย์
วนที่โจทย์ถาม นอกจากนี้โจทย์
สิ่งที่ได้เรียนรู้
การสร้างโจทย์ปญ
ั หาต้องมีทง้ั ส่วนทีโ่ จทย์บอกและส่วนทีโ่ จทย์ถาม
นอกจากนี้โจทย์ปัญหาที่สร้างต้องมีความเป็นไปได้

ปัญหาที่สร้างต้องมีความเป็นไปได้ แบบฝึกหัด 5.16

304 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 5.16 หมายเหตุ : การสร้างโจทย์ และคำ�ตอบมีหลากหลาย ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครู

หน้า 191 − 192

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  221
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 5 | การคูณ

ร่วมคิดร่วมทำ� หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2

กิจกรรม เกมบิงโก
บทที่ 5 | การคูณ

ร่วมคิดร่วมทำา

กิจกรรม เกมบิงโก

อุปกรณ์ 1 ชุด ประกอบด้วย อุปกรณ์ 1 ชุดประกอบด้วย กระดานบิงโกขนาด 3 × 3


บัตรโจทย์ 9 ถึง 10 ใบ เบี้ย 2 สี สีละ 9 อัน

−− กระดานบิงโกขนาด 3 × 3 วิธีจัดกิจกรรม
1. ครูให้นักเรียนจับคู่เล่นเกม และแจกอุปกรณ์ให้คู่ละ 1 ชุด

−− บัตรโจทย์ 9 − 10 บัตร 2. ครูให้นักเรียนแต่ละคนเลือกเบี้ยคนละสี


3. ครูให้นักเรียนเล่นเกมบิงโก โดยสลับกันหงายบัตรโจทย์ที่คว่ำาไว้
−− เบี้ย 2 สี สีละ 9 อัน ผู้ที่หงายบัตรต้องหาคำาตอบของโจทย์ แล้ววางเบี้ยของตนเอง
ในช่องที่เป็นคำาตอบบนกระดานบิงโก
4. ผู้เล่นคนที่วางเบี้ยได้ครบสามช่องเรียงกันในแนวตั้ง แนวนอน
หรือแนวทแยงก่อนเป็นผู้ชนะ
การเตรียมอุปกรณ์ ตัวอย่างบัตรโจทย์
มีมะละกอ 6 กอง

1. ครูเตรียมกระดานบิงโกขนาด 3 × 3
กองละ 7 ผล 5 × 3 =
มีมะละกอทั้งหมดกี่ผล

ตัวอย่างกระดานบิงโก
ทีเ่ ขียนคำ�ตอบของบัตรโจทย์การคูณ และคำ�ตอบ 2 × 6 = 4 × = 28
12 42 15

ของบัตรโจทย์ปัญหาการคูณในช่องแต่ละช่อง 4 × 32 = 8 × 50 =
400 8 7
จนครบทุกช่อง โดยแต่ละกระดานอาจเขียนคำ�ตอบ 7 × = 77
มะม่วงถุงละ 9 ผล
มี 10 ถุง
มีมะม่วงทั้งหมดกี่ผล
128 90 11
แต่ละช่องไม่เหมือนกัน จำ�นวนกระดานบิงโก 8 × 0 =
นมแต่ละแพ็กมี 10 กล่อง
ต้องซื้อกี่แพ็ก
จึงจะได้นม 80 กล่อง

เท่ากับจำ�นวนคู่ของนักเรียนในห้อง | 305 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

2. ครูเตรียมบัตรโจทย์การคูณและ
บัตรโจทย์ปัญหาการคูณ ชุดละ 10 บัตร
จำ�นวนชุดจะเท่ากับจำ�นวนคู่ของนักเรียนในห้อง โดยที่แต่ละบัตรมีคำ�ตอบในกระดานบิงโก
และจะมีอยู่ 1 บัตรที่ไม่ได้เขียนคำ�ตอบไว้ในกระดานบิงโก
3. ครูเตรียมเบี้ย 2 สี สีละ 9 อัน เท่ากับจำ�นวนกลุ่มของนักเรียนในห้อง

วิธีจัดกิจกรรม
1. ครูให้นักเรียนจับคู่เล่นเกมบิงโก แล้วแจกอุปกรณ์คู่ละ 1 ชุด
2. ครูให้นักเรียนแต่ละคนเลือกเบี้ย โดยคู่เดียวกันให้เลือกเบี้ยคนละสี และให้คว่ำ�
บัตรโจทย์การคูณและบัตรโจทย์ปัญหาการคูณไว้
3. ครูให้นักเรียนแต่ละคนสลับกันหงายบัตรที่คว่ำ�ไว้ หาคำ�ตอบ แล้ววางเบี้ยของตนเอง
ลงในกระดานบิงโกให้ตรงกับช่องที่เป็นคำ�ตอบของบัตรที่หยิบได้ ผู้เล่นที่วางเบี้ยได้ครบ 3 ช่อง
เรียงกันก่อนเป็นผู้ชนะ
ครูอาจให้นักเรียนสลับคู่กันเล่นเพื่อเป็นการฝึกทักษะการคูณและการแก้โจทย์ปัญหาการคูณ
มากขึ้น ครูอาจแนะนำ�ว่าในระหว่างที่เล่นเกมถ้านักเรียนคนใดหาคำ�ตอบผิดหรือหาคำ�ตอบไม่ได้
อาจให้เพื่อนช่วยหาคำ�ตอบหรือให้แนะนำ�วิธีการหาคำ�ตอบได้ ไม่ถือว่าผิดกติกา
จากนั้นครูให้นักเรียนทำ�แบบฝึกท้าทายในหนังสือแบบฝึกหัดหน้า 193 − 196

222  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 5 | การคูณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

ตัวอย่างแบบทดสอบเรื่องการคูณ

แบบทดสอบนีใ้ ช้ในการประเมินผลระหว่างเรียนเพือ่ พัฒนานักเรียน หากมีนกั เรียนคนใดทีไ่ ม่สามารถ


ทำ�แบบทดสอบนี้ได้ ครูควรให้นักเรียนคนนั้นฝึกทักษะมากขึ้นโดยอาจใช้แบบฝึกเสริมในหนังสือ
เสริมเพิ่มปัญญาของสสวท. หรือแบบฝึกอื่นตามที่เห็นสมควร ก่อนสอบครูอาจะทบทวนความรู้ให้กับ
นักเรียนก่อน 20-30 นาที ซึ่งแบบทดสอบท้ายบทนี้มีจำ�นวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ใช้เวลา
ในการทำ�แบบทดสอบ 20 นาที และวิเคราะห์เป็นรายจุดประสงค์ได้ดงั นี้

ข้อที่
จุดประสงค์
ตอนที่ 1 ตอนที่ 2
1. หาผลคูณในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของจำ�นวน
1, 2, 3, 4, 5 1
1 หลักกับจำ�นวนไม่เกิน 2 หลัก
2. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณ
6
ของจำ�นวน 1 หลัก กับจำ�นวนไม่เกิน 2 หลัก
3. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาการคูณ 7, 8

4. สร้างโจทย์ปัญหาการคูณ 2

ตัวอย่างแบบทดสอบท้ายบทที่ 5
ตอนที่ 1 เลือกตอบ ก ข ค หรือ ง ที่เป็นคำ�ตอบที่ถูกต้อง
1. จากรูปเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณแสดงจำ�นวนส้มได้อย่างไร

ก. 2 × 5 = 10 ข. 5 × 3 = 15
ค. 3 × 5 = 15 ง. 5 × 2 = 10

2. จากรูปเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์การคูณแสดงจำ�นวนจุดได้อย่างไร

ก. 2 × 4 = 8 ข. 4 × 2 = 8
ค. ถูกทั้ง ก และ ข ง. ผิดทั้ง ก และ ข

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  223
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 บทที่ 5 | การคูณ

3. ข้อใดมีผลคูณเท่ากับ 12
จุดประสงค์
ก. 4 × 3 ข. 2 × 6
ค. 3 × 4 ง. ถูกทุกข้อ

4. ข้อใดมีผลคูณเท่ากับ 240
ก. 3 × 80 ข. 4 × 60
ค. 40 × 6 ง. ถูกทุกข้อ

5. 52 × 3 มีผลคูณน้อยกว่าผลคูณในข้อใด
ก. 53 × 5 ข. 35 × 2
ค. 3 × 52 ง. 25 × 3

6. 4 × = 80 จำ�นวนใน คือจำ�นวนใด
ก. 2 ข. 16
ค. 20 ง. 10

ใช้โจทย์ปัญหาที่กำ�หนดให้ ตอบคำ�ถามข้อ 7 และข้อ 8


แม่ค้าจัดส้มเป็นถุง ถุงละ 5 กิโลกรัม ขายราคาถุงละ 100 บาท
ครูไพลินซื้อส้ม 12 ถุง ครูไพลินซื้อส้มทั้งหมดกี่กิโลกรัม

7. โจทย์ปัญหานี้เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้อย่างไร
ก. 5 × 100 = ข. 5 × 12 =
ค. 12 × 100 = ง. 12 × 5 =

8. สรุปคำ�ตอบของโจทย์ปัญหานี้ได้อย่างไร
ก. ครูไพลินซื้อส้มทั้งหมด 500 กิโลกรัม ข. ครูไพลินซื้อส้มทั้งหมด 60 กิโลกรัม
ค. ครูไพลินซื้อส้มทั้งหมด 500 บาท ง. ครูไพลินซื้อส้มทั้งหมด 60 บาท

224  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
บทที่ 5 | การคูณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

ตอนที่ 2 แสดงวิธีการหาผลคูณและสร้างโจทย์ปัญหาการคูณ
1. แสดงวิธีการหาผลคูณโดยการตั้งคูณ
9 × 73 =
วิธีทำ�................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
ตอบ................................................................................................................................................

2. สร้างโจทย์ปัญหาจากประโยคสัญลักษณ์
6 × 15 =
โจทย์ปัญหา.......................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
ส่วนที่โจทย์ถาม : ..............................................................................................................................
ส่วนที่โจทย์บอก : .............................................................................................................................


เฉลยแบบทดสอบท้ายบทที่ 4
ตอนที่ 1
1. ค 2. ค 3. ง 4. ง 5. ก 6. ค 7. ง 8. ข
ตอนที่ 2
1. วิธีทำ�
7 3
×
9
6 5 7
ตอบ ๖๕๗
2. แม่ซื้อแอปเปิล 6 ถุง แต่ละถุงมีแอปเปิล 15 ผล แม่ซื้อแอปเปิลทั้งหมดกี่ผล
ส่วนที่โจทย์ถาม : แม่ซื้อแอปเปิลทั้งหมดกี่ผล
ส่วนที่โจทย์บอก : แม่ซื้อแอปเปิล 6 ถุง แต่ละถุงมีแอปเปิล 15 ผล

*คำ�ตอบอาจแตกต่างจากนี้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครู

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  225
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์เชิงสะเต็ม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

กิจกรรมคณิตศาสตร์เชิงสะเต็ม (5 ชั่วโมง)
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
กิจกรรมคณิตศาสตร์เชิงสะเต็ม กิจกรรมคณิตศาสตร์เชิงสะเต็ม

กิจกรรมคณิตศาสตร์เชิงสะเต็ม : ถั่วงอกเพาะสนุก • ครูยังมีซขักนาดเล็


ถามเกี่ยวกับวิธีวัดความสูงของต้นถั่วงอก เช่น ถ้าต้นถั่วงอก
กอาจใช้การประมาณ เพราะเราไม่สามารถหยิบมาวัดได้
โดยตรง ให้นก ั เรียนใช้อป
ุ กรณ์การวัดทีเ่ หมาะสม เช่น สายวัดตัว ไม้บรรทัด
อุปกรณ์
และใช้หน่วยการวัดที่เป็นมาตรฐาน เช่น เซนติเมตร หลังจากนั้น
1. ถั่วงอก ครูสาธิตวิธีการวัดและให้นักเรียนทดลองวัดถั่วงอก


2. ไม้บรรทัด หรือสายวัดตัว
3. อุปกรณ์การปลูกถั่วงอก ได้แก่ ทิชชู น้ำา
• ครูให้นักเรียนบันทึกความสูงของต้นถั่วงอกในแต่ละวันในแบบบันทึก
โดยเลือกต้นถั่วงอกที่สูงที่สุด แล้วเปรียบเทียบความสูงของต้นถั่วงอก
ภาชนะสำาหรับวางเมล็ดถั่วเขียว เช่น ตะกร้า ที่อยู่ในภาชนะที่ได้รับแสงอาทิตย์ กับภาชนะที่ไม่ได้รับแสงอาทิตย์
4. เครื่องชั่งสปริง
ตัวอย่างแบบบันทึกความสูงของถั่วงอก

วิธีจัดกิจกรรม
กลุ่ม…………………...........………….
1. กิจกรรมให้ทำาตาม (2 – 3 ชั่วโมง) สมาชิกกลุ่ม 1. ……………......…….…. 2. ……………......…….…. 3. ……………......…….….

•ครูถามนักเรียนเกี่ยวกับถั่วงอกและประสบการณ์ที่นักเรียนแต่ละคน
ได้รับ เช่น ใช้ทำาอาหารอะไรบ้าง ถั่วงอกเป็นต้นอ่อนของต้นอะไร วันที่ปลูก
ความสูง (เซนติเมตร)
ข้อสังเกตที่ได้
ภาชนะที่ได้รับแสง ภาชนะที่ไม่ได้รับแสง
เป็นต้น
•ครูแบ่งกลุ่มนักเรียน ให้แต่ละกลุ่มช่วยกันเพาะถั่วงอก ครูแจกเมล็ด
ถั่วเขียวที่แช่น้ำาไว้แล้วหนึ่งคืน และอุปกรณ์การเพาะ ครูถามว่า
วันที่ 1
วันที่ 2

ทำาไมต้องนำาถั่วเขียวไปแช่น้ำาก่อน (ทำาให้เปลือกเมล็ดถั่วเขียวอ่อนตัว วันที่ 3


เปลือกนิ่ม ทำาให้รากออกเร็ว) วันที่ 4

•ครูสาธิตการปลูก โดยนำากระดาษทิชชูวางบนภาชนะ พรมน้ำาให้


กระดาษทิชชูเปียก แล้วนำาถั่วเขียวที่แช่น้ำาไว้โรยบนกระดาษทิชชู
ที่เปียกให้ห่างกัน จากนั้นนำากระดาษทิชชู ปิดทับ 3 – 4 ชั้น
• หลังจากปลูกได้ 4 วัน ครูให้นักเรียนนำาเสนอผลการเพาะถั่วงอก
แล้วพรมน้ำากระดาษทิชชูให้ชุ่มอีกครั้งหนึ่ง 2. กิจกรรมท้าทาย (1 - 2 ชั่วโมง)
•ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทดลองปลูกตามวิธีที่ครูสาธิต  โดยปลูกในภาชนะ
2 ใบ ใบแรกนำาไปไว้ในร่มแต่ได้รับแสงอาทิตย์ ใบทีส่ องนำาไปไว้
• ครูแจกเมล็ดถั่วเขียวกลุ่มละ 3 ขีด ตะกร้ากลุ่มละ 1 ใบ และกระดาษทิชชู
กลุ่มละ 1 ม้วน ให้แต่ละกลุ่มปลูกถั่วงอกให้ได้ต้นถั่วงอกสูงที่สุด
ในทีท ่ ไ่ี ม่ได้รบ
ั แสงอาทิตย์ (อาจใส่ในกล่องเพือ
่ ไม่ให้ได้รบ
ั แสงอาทิตย์) และผลผลิตทั้งหมดมีน้ำาหนักมากที่สุด
• ครูให้แต่ละกลุ่มออกมานำาเสนอวิธีการดำาเนินงานที่ทำาให้ชนะเลิศ
ปัญหา อุปสรรคระหว่างดำาเนินงาน และการแก้ไขปัญหา

306 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 307

ถั่วงอกเพาะสนุก เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในเรื่องการวัดความยาวและ
การวัดน้ำ�หนัก นอกจากนี้ยังเสริมสร้างทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และทักษะการสังเกต
ผ่านการทำ�กิจกรรมเพาะถั่วงอกอีกด้วย
กิจกรรมถั่วงอกเพาะสนุก แบ่งเป็น 2 กิจกรรมย่อย คือ กิจกรรมให้ทำ�ตาม ใช้เวลาในการทำ�
กิจกรรม 2 ชั่วโมงถึง 3 ชั่วโมง และกิจกรรมท้าทาย ใช้เวลาในการทำ�กิจกรรม 1 ชั่วโมงถึง 2 ชั่วโมง
ดังนั้นกิจกรรมถั่วงอกเพาะสนุกจะใช้เวลาประมาณ 5 ชั่วโมง ซึ่งเวลาที่กำ�หนดนี้ไม่ได้รวมเวลาที่
ต้องรอให้ถั่วเขียวที่เพาะไว้เจริญเติบโตเป็นถั่วงอกพร้อมรับประทานซึ่งต้องใช้เวลาในการเพาะ
ประมาณ 4 วันถึง 5 วันต่อการเพาะหนึ่งครั้ง
กิจกรรมย่อยที่ 1 กิจกรรมให้ท�ำ ตาม เป็นกิจกรรมทีใ่ ห้นกั เรียนได้ฝกึ ปฏิบตั โิ ดยการเพาะถัว่ งอก
ในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน 2 ลักษณะคือ ปลูกไว้ในร่ม กับปลูกไว้ในที่ที่ไม่ได้รับแสงอาทิตย์ และ
บันทึกความสูงของถั่วงอกต้นที่สูงที่สุดในสภาพแวดล้อมทั้ง 2 ลักษณะ เมื่อถึงขั้นนี้ครูถามนักเรียนว่า
ทำ�ไมเราจึงต้องมีการบันทึกความสูงของถั่วงอก (เพื่อดูผลการเจริญเติบโตของถั่วงอกในแต่ละวัน
และเปรียบเทียบผลการเจริญเติบโตของถั่วงอกในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน) ในแต่ละวัน
ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มรดน้ำ�วันละ 3 เวลาทุกวัน เมื่อถั่วงอกเจริญเติบโตได้เต็มที่แล้ว ครูให้นักเรียน
แต่ละกลุ่มนำ�เสนอผลการเพาะถั่วงอก
กิจกรรมย่อยที่ 2 กิจกรรมท้าทาย เมื่อนักเรียนผ่านการนำ�เสนอผลการเพาะถั่วงอก
จากกิจกรรมที่ 1 แล้ว ครูก็ท้าทายนักเรียนในแต่ละกลุ่มให้หาวิธีเพาะถั่วงอกให้ได้ต้นที่สูงที่สุดและ
ผลผลิตทั้งหมดมีน้ำ�หนักมากที่สุด โดยครูเตรียมเมล็ดถั่วเขียวให้แต่ละกลุ่ม กลุ่มละ 3 ขีด ทั้งนี้
ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนการทำ�งานก่อนลงมือปฏิบัติจริง และอาจให้ศึกษาวิธีการเพาะถั่วงอก
เพิ่มเติมจากอินเทอร์เน็ต เมื่อเสร็จสิ้นกิจกรรมครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำ�เสนอผลการดำ�เนินงาน
วิธีการดำ�เนินงาน ปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่างการดำ�เนินงาน และวิธีการแก้ปัญหา

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  226
สารบัญ
หน้า
แบบฝึกหัด

บทที่ 1 จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 2

แบบฝึกหัด

บทที่ 2 การบวกและการลบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 36

แบบฝึกหัด
บทที่ 3 การวัดความยาว 94

แบบฝึกหัด

บทที่ 4 การวัดน้ำ�หนัก 123

แบบฝึกหัด
บทที่ 5 การคูณ 154
228
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

ฝกึ
แบบ หดั
บทที
แบบฝึก่ หั1ด
1.1 การนับทีละ 2
บทที่ 1 จำานวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0
ฝกึ
แบบ หดั
1 วงรอบภาพแสดงการนับทีละ 2 และเขียนตัวเลขแสดงจำานวน
เตรียมความพร้อม 1)

สมุดสะสมสติกเกอร�
เขียน ทับภาพ ตัวเลข หรือตัวหนังสือที่แสดงจำานวนที่เท่ากัน ความดีของขุน

1 54 ๔๕ สี่สิบหก 16
ขุนมีสติกเกอร์ความดี ...................... อัน

2)

2 ๖๖ สิบหก 60 16

23
ออมสินมียางลบ ...................... ก้อน

3 ๘๒ 72 เก้าสิบสอง
3)

4 สี่สิบเจ็ด 37 ๔๗

5 12 ยี่สิบเจ็ด ๒๑ ยี่สิบเอ็ด
33
ต้นกล้ามีหุ่นยนต์ ...................... ตัว
2| สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |3
229
แบบฝ�กหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝ�กหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำานวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 บทที่ 1 | จำานวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

ฝกึ
แบบ หดั
2 วงรอบภาพแสดงการนับทีละ 2 หรือทีละ 10 และเขียนตัวเลข
แสดงจำานวน 1.2 การนับทีละ 5

1)
1 วงรอบภาพแสดงการนับทีละ 5 และเขียนตัวเลขแสดงจำานวน

1)
24
ขนมโมจิ ...................... ชิ้น

2)

18
ขนมตาล ...................... ชิ้น 35
นักเรียน ป. 2/1 มีแก้วน้ำา ...................... ใบ

3) 2)

86
ลูกชุบ ...................... ชิ้น 30
ขุนมีรถของเล่น ...................... คัน

3)
4)

68
ไข่นกกระทาทอด ...................... ชิ้น
40
แก้วตามีสีเทียน ...................... แท่ง
4| สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |5
230
แบบฝ�กหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำานวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

ฝกึ
แบบ หดั
2 วงรอบภาพแสดงการนับทีละ 5 และเขียนตัวเลขแสดงจำานวน
1.3 จำานวนนับไม่เกิน 200

1) 1 เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก และตัวเลขไทยแสดงจำานวน

ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย

1)
28
เยลลี่ ...................... ถ้วย
128
................................ ๑๒๘
................................

2)
2)
150
................................ ๑๕๐
................................

3)
59
นมเปรี้ยว ...................... ขวด 186 ๑๘๖
................................ ................................

3)
4)
102
................................ ๑๐๒
................................

5)
37
ไอศกรีม ...................... แท่ง
200
................................ ๒๐๐
................................

6| สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |7
231
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

ฝกึ
แบบ หดั
2 เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำานวน
1.4 จำานวนนับ 201 ถึง 1,000
1)
110
ตัวเลขฮินดูอารบิก............................................ 1 เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก และตัวเลขไทยแสดงจำานวน

๑๑๐
ตัวเลขไทย ....................................................... ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย
หนึ่งร้อยสิบ
ตัวหนังสือ .......................................................
1)

2) 400 ๔๐๐
121 ................................ ................................
ตัวเลขฮินดูอารบิก............................................
๑๒๑
ตัวเลขไทย .......................................................
หนึ่งร้อยยี่สิบเอ็ด
ตัวหนังสือ ....................................................... 2)

230
................................ ๒๓๐
................................
3)
139
ตัวเลขฮินดูอารบิก............................................
๑๓๙
ตัวเลขไทย ....................................................... 3)
หนึ่งร้อยสามสิบเก้า
ตัวหนังสือ .......................................................
587
................................ ๕๘๗
................................

4)
152
ตัวเลขฮินดูอารบิก............................................ 4)
๑๕๒
ตัวเลขไทย .......................................................
หนึ่งร้อยห้าสิบสอง
ตัวหนังสือ ....................................................... 848
................................ ๘๔๘
................................

8| สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |9
232
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

ฝกึ
2 เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำานวน แบบ หดั
หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก
1.5
ของจำานวนนับไม่เกิน 1,000
1)
601
ตัวเลขฮินดูอารบิก............................................ 1 เขียนตัวเลขแสดงจำานวน
๖๐๑
ตัวเลขไทย .......................................................
1) 154 2) 401
หกร้อยเอ็ด
ตัวหนังสือ .......................................................

1 ในหลักร้อย 100
มีค่า ................ 4 ในหลักร้อย 400
มีค่า ................
2) 5 ในหลักสิบ 50
มีค่า ................ 0 ในหลักสิบ 0
มีค่า ................
900
ตัวเลขฮินดูอารบิก............................................ 4
4 ในหลักหน่วย มีค่า ................ 1
1 ในหลักหน่วย มีค่า ................
๙๐๐
ตัวเลขไทย .......................................................
เก้าร้อย
ตัวหนังสือ .......................................................
3) 392 4) 223

3) 3 ในหลักร้อย 300
มีค่า ................ 2 ในหลักร้อย 200
มีค่า ................
547
ตัวเลขฮินดูอารบิก............................................ 90 2 ในหลักสิบ 20
มีค่า ................
9 ในหลักสิบ มีค่า ................
๕๔๗
ตัวเลขไทย ....................................................... 2 3
3 ในหลักหน่วย มีค่า ................
2 ในหลักหน่วย มีค่า ................
ห้าร้อยสี่สิบเจ็ด
ตัวหนังสือ .......................................................

5) 760 6) 636
4)
799
ตัวเลขฮินดูอารบิก............................................ 700 6 ในหลักร้อย 600
มีค่า ................
7 ในหลักร้อย มีค่า ................
๗๙๙
ตัวเลขไทย ....................................................... 6 ในหลักสิบ 60
มีค่า ................ 3 ในหลักสิบ 30
มีค่า ................
เจ็ดร้อยเก้าสิบเก้า
ตัวหนังสือ ....................................................... 0
0 ในหลักหน่วย มีค่า ................ 6
6 ในหลักหน่วย มีค่า ................

10 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 11
233
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

2 เขียนตัวเลขแสดงจำานวน และเขียนในรูปกระจาย 3 เขียนแสดงจำานวนในรูปกระจาย

1) 452 1) 805 800 0 + …………


= ………… + ………… 5
4
................ ในหลักร้อย 400
มีค่า ................ 2) 149 100 40 + …………
= ………… + ………… 9
5
................ ในหลักสิบ 50
มีค่า ................
3) 330 300 30 + …………
= ………… + ………… 0
2
................ 2
ในหลักหน่วย มีค่า ................
4) 712 700 10 + …………
= ………… + ………… 2
400
เขียนในรูปกระจาย 452 = 50 + …………
………… + ………… 2
4 เขียนตัวเลขแสดงจำานวนตามที่กำาหนด
2) 658
6
................ ในหลักร้อย 600
มีค่า ................ 1) 8 อยู่ในหลักร้อย
5
................ ในหลักสิบ 50
มีค่า ................ 5 อยู่ในหลักสิบ 857
ตอบ ..................................................
8
................ 8
ในหลักหน่วย มีค่า ................ 7 อยู่ในหลักหน่วย
600
เขียนในรูปกระจาย 658 = 50 + …………
………… + ………… 8
2) 0 อยู่ในหลักร้อย
3) 497
8 อยู่ในหลักสิบ 86
ตอบ ..................................................
4
................ ในหลักร้อย 400
มีค่า ................
6 อยู่ในหลักหน่วย
9
................ ในหลักสิบ 90
มีค่า ................
7
................ 7
ในหลักหน่วย มีค่า ................ 3) 5 อยู่ในหลักสิบ
400
เขียนในรูปกระจาย 497 = 90 + …………
………… + ………… 7 2 อยู่ในหลักร้อย 251
ตอบ ..................................................
4) 521 1 อยู่ในหลักหน่วย
5
................ ในหลักร้อย 500
มีค่า ................
2 20 4) 5 อยู่ในหลักร้อย
................ ในหลักสิบ มีค่า ................
2 อยู่ในหลักหน่วย 512
ตอบ ..................................................
1
................ 1
ในหลักหน่วย มีค่า ................
500 20 1 1 อยู่ในหลักสิบ
เขียนในรูปกระจาย 521 = ………… + ………… + …………
12 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 13
234
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

ฝกึ
แบบ หดั 2 เติมเครื่องหมาย > หรือ <
1.6 การเปรียบเทียบจำานวน (1)

1 เติมคำาตอบและเครื่องหมาย > หรือ <


1) 74 < 254 2) 91 < 119

เปรียบเทียบ 12 กับ 123 1) เปรียบเทียบ 241 กับ 45

สอง หลัก
12 เป็นจำานวน ………… 241 สาม หลัก
เป็นจำานวน …………
3) 648 > 86 4) 25 < 715

สาม หลัก
123 เป็นจำานวน ………… เป็นจำานวน …………
45 สอง หลัก

ดังนั้น 12 < 123 ดังนั้น 241 > 45


5) 367 > 80 6) 83 < 126

2) เปรียบเทียบ 648 กับ 65 3) เปรียบเทียบ 94 กับ 109

648 สาม หลัก


เป็นจำานวน ………… 94 สอง หลัก
เป็นจำานวน …………
7) 15 < 105 8) 452 > 36

เป็นจำานวน …………
65 สอง หลัก เป็นจำานวน …………
109 สาม หลัก

ดังนั้น 648 > 65 ดังนั้น 94 < 109


9) 97 < 354 10) 840 > 73

4) เปรียบเทียบ 80 กับ 452 5) เปรียบเทียบ 71 กับ 710

80 สอง หลัก
เป็นจำานวน ………… 71 สอง หลัก
เป็นจำานวน …………

เป็นจำานวน …………
452 สาม หลัก เป็นจำานวน …………
710 สาม หลัก

ดังนั้น 80 < 452 ดังนั้น 71 < 710

14 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 15
235
แบบฝ�กหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำานวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

ฝกึ
แบบ หดั
3 เติมตัวเลขแสดงจำานวน
1.7 การเปรียบเทียบจำานวน (2)
สังเกตให้ดี ๆ โจทย์ชุดนี้มีคำาตอบหลากหลาย
1 เติมตัวเลขแสดงจำานวนและเครื่องหมาย > หรือ <

1)
54 < 132 2)
632 > 96 299 669
2 ในหลักร้อย มีค่า …………
2 9 9 ………… 200
6 ในหลักร้อย มีค่า …………
6 6 9 ………… 600
3) 36 < 72 4) 545 > 96
200 < 600
…………………………………………………….
ดังนั้น 299 < 669
5) 42
124 > 6) 215 > 39
1) 201 120
2 0 2 200
1 ………… ในหลักร้อย มีค่า ………..........…
7)
310 > 85 8) 87 < 837
1 2 1 100
0 ………… ในหลักร้อย มีค่า ………..........…
200 > 100
…………………………………………………….
9) 186 > 10 10)
61 < 299 ดังนั้น 201 > 120

*คำ�ตอบอาจแตกต่างจากนี้ 2) 750 747


7 ในหลักร้อย มีค่า ………..........…
7 5 0 ………… 700

เลือกมาเติมเพียงจำานวนเดียว
7 ในหลักร้อย มีค่า ………..........…
7 4 7 ………… 700
5 ในหลักสิบ มีค่า ………..........…
7 5 0 ………… 50
4 ในหลักสิบ มีค่า ………..........…
7 4 7 ………… 40
50 > 40
…………………………………………………….
ดังนั้น 750 > 747

16 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 17
236
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝ�กหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 บทที่ 1 | จำานวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

3 เติมตัวเลขแสดงจำานวน
3) 321 324
3 ในหลักร้อย
3 2 1 ………… 300
มีค่า ………..........… สังเกตให้ดี ๆ โจทย์ชุดนี้มีคำาตอบหลากหลาย
3 ในหลักร้อย
3 2 4 ………… 300
มีค่า ………..........…
2 ในหลักสิบ
3 2 1 ………… 20
มีค่า ………..........…
421 > 1 21
....
2 ในหลักสิบ มีค่า ………..........…
3 2 4 ………… 20
1 ในหลักหน่วย มีคา่ ………..........…
3 2 1 ………… 1
4 ในหลักหน่วย มีค่า ………..........…
3 2 4 ………… 4 1) 30
.... 9 < 317 2) 608 > 3
60 ....
1 < 4
…………………………………………………….
ดังนั้น 321 < 324 3) 7 75
.... > 675 4) 716 < 66
7 ....

2 เติมเครื่องหมาย > หรือ <


5) 82 9
.... > 824 6) 159 < 2 59
....

1) 453 > 345 2) 867 < 876


7) 54 3
.... > 541 8) 852 > 8 11
....

*คำ�ตอบอาจแตกต่างจากนี้
3) 302 < 307 4) 254 > 159

เลือกมาเติมเพียงจำานวนเดียว
5) 917 > 819 6) 681 < 688

7) 542 < 659 8) 427 > 420

9) 194 > 154 10) 708 < 780

18 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 19
237
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

ฝกึ
แบบ หดั 3 เติมตัวเลขแสดงจำานวนเพื่อให้เป็นการเรียงลำาดับจำานวนจากน้อยไปมาก
1.8 การเรียงลำาดับจำานวน (1)
1)
254 450 523
.............
1 เรียงลำาดับจำานวนจากน้อยไปมาก

2)
681 685
............. 689
1) 152 854 570
152 570 854
................................................................. แต่ละข้อเติมได้หลายจำานวน
720 เลือกมาเติมเพียงจำานวนเดียว
2) 785 621 724 3) 357 652 .............
621 724 785
.................................................................
3) 354 381 352 348
4) ............. 458 568
352 354 381
.................................................................
4) 635 457 459
457 459 635
..................................................................
4 เติมตัวเลขแสดงจำานวนเพื่อให้เป็นการเรียงลำาดับจำานวนจากมากไปน้อย

2 เรียงลำาดับจำานวนจากมากไปน้อย
1)
485 426 414
.............
1) 542 698 457
698 542 457
.................................................................. 336
2) ............. 253 200
2) 257 235 158
แต่ละข้อเติมได้หลายจำานวน
257 235 158
.................................................................. 851
3) 951 ............. 842 เลือกมาเติมเพียงจำานวนเดียว
3) 812 735 874
874 812 735
..................................................................
4)
716 429 315
.............
4) 986 921 943
986 943 921
..................................................................
*คำ�ตอบอาจแตกต่างจากนี้
20 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 21
238
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

ฝกึ
แบบ หดั
2 เรียงลำาดับจำานวนจากมากไปน้อย
1.9 การเรียงลำาดับจำานวน (2)
1) 358 453 948 142
1 เรียงลำาดับจำานวนจากน้อยไปมาก
948 453 358 142
..........................................................................................

1) 460 698 795 367


367 460 698 795 2) 627 361 659 343
..........................................................................................
659 627 361 343
..........................................................................................
2) 683 957 424 955

424 683 955 957


.......................................................................................... 3) 546 684 425 564

3) 581 998 582 974 684 564 546 425


..........................................................................................

581 582 974 998


..........................................................................................
4) 945 258 746 940 257
4) 607 416 835 256 185
945 940 746 258 257
..........................................................................................
185 256 416 607 835
..........................................................................................

5) 364 335 435 542 369


5) 962 864 635 985 562
542 435 369 364 335
..........................................................................................
562 635 864 962 985
..........................................................................................

6) 709 407 786 404 499 6) 190 478 242 109 269

404 407 499 709 786


.......................................................................................... 478 269 242 190 109
..........................................................................................

22 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 23
239
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

ฝกึ
แบบ หดั
2 วงรอบจำานวนคู่
1.10 จำานวนคู่ จำานวนคี่
สังเกตให้ดี ๆ โจทย์ชุดนี้วงรอบได้หลายจำานวน

1 วงรอบภาพแสดงการจับคู่ เขียนตัวเลขแสดงจำานวน
แล้วตอบว่าเป็นจำานวนคู่หรือจำานวนคี่ 1) 32 58 87 94

1) 2) 54 12 60 59

3) 45 8 56 30

มีดอกกุห 8
ลาบ ............. ดอก จำานวนดอกกุหลาบเป็น จำ.........................
�นวนคู่
4) 76 22 39 21

2)
5) 4 70 67 54

มีดินสอ .............
24 แท่ง จำานวนดินสอเป็น .........................
จำ�นวนคู่ 3 วงรอบจำานวนคี่

3) 1) 17 54 96 35

2) 65 30 89 1

มีตุ๊กตาหมี 9
............. จำ�นวนคี่
ตัว จำานวนตุ๊กตาหมีเป็น .........................
3) 3 57 71 48

4)
4) 29 31 43 52

.............
16 อัน จำานวนไอศกรีมเป็น .........................
จำ�นวนคู่ 5) 90 29 85 76
มีไอศกรีม

24 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 25
240
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

แบบรูปของจำานวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 2
ฝกึ
แบบ หดั
4 เขียน ทับจำานวนคู่
1.11
และแบบรูปของจำานวนที่ลดลงทีละ 2
458 301 520 82
เติมจำานวนที่หายไปในแบบรูป และเติมคำาตอบ

815 56 642 29 +2 +2 +2 +2 +2

874 876 878 880 882 884


............
94 31 476 135 เพิ่มขึ้น ทีละ ............
แบบรูปของจำานวนที่ ............ 2

–2 –2 –2 –2 –2
831 256 97 318
600 598 596 594 592 590
............

ลดลง ทีละ ............


แบบรูปของจำานวนที่ ............ 2
5 เขียน ทับจำานวนคี่ -2 -2 -2 -2 -2

1) 101 99 97 95 93 91
............
43 50 821 94
แบบรูปของจำานวนที่ ......................
ลดลง ทีละ ......................
2
+2 +2 +2 +2 +2
366 155 300 109 26
2) 20 22 24 ............ 28 30

แบบรูปของจำานวนที่ ......................
เพิ่มขึ้น ทีละ ......................
2
93 68 14 222
-2 -2 -2 -2 -2

3) 325 323 321 319 317


............ 315
32 717 249 498
ลดลง ทีละ ......................
แบบรูปของจำานวนที่ ...................... 2

26 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 27
241
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

-2 -2 -2 -2 -2
แบบรูปของจำานวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 5
ฝกึ
แบบ หดั
4) 729 ............
727 725 723 721 719
1.12
และแบบรูปของจำานวนที่ลดลงทีละ 5
แบบรูปของจำานวนที่ ......................
ลดลง ทีละ ......................
2
+2 +2 +2 +2 +2 เติมจำานวนที่หายไปในแบบรูป และเติมคำาตอบ
5) 248 250 252 ............
254 256 258
+5 +5 +5 +5 +5
แบบรูปของจำานวนที่ ......................
เพิ่มขึ้น ทีละ ......................
2
130
105 110 115 120 125 ............
+2 +2 +2 +2 +2
เพิ่มขึ้น ทีละ ............
แบบรูปของจำานวนที่ ............ 5
6) ............
450 452 454 456 458 460

–5 –5 –5 –5 –5
แบบรูปของจำานวนที่ ......................
เพิ่มขึ้น ทีละ ......................
2
+2 +2 +2 +2 +2 89 84 79 74 69 64
............
7) 155 157 159 ............
161 ............
163 165 ลดลง ทีละ ............
5
แบบรูปของจำานวนที่ ............
-5 -5 -5 -5 -5
แบบรูปของจำานวนที่ ......................
เพิ่มขึ้น ทีละ ......................
2
+2 +2 +2 +2 +2
1) 50 45 40 35 30 ...........
25

8) 744 ............
746 748 750 752 ............
754
แบบรูปของจำานวนที่ ......................
ลดลง ทีละ ......................
5
แบบรูปของจำานวนที่ ......................
เพิ่มขึ้น ทีละ ......................
2 +5 +5 +5 +5 +5

-2 -2 -2 -2 -2 2) 80 85 90 95 100 ...........
105
9) ............
932 930 928 926 924 ............
922
แบบรูปของจำานวนที่ ......................
เพิ่มขึ้น ทีละ ......................
5
แบบรูปของจำานวนที่ ......................
ลดลง ทีละ ......................
2
+5 +5 +5 +5 +5
-2 -2 -2 -2 -2
3) 72 77 82 87 92 ...........
97
10) 329 327 325 323 ............
321 .............
319

เพิ่มขึ้น ทีละ ......................


แบบรูปของจำานวนที่ ...................... 5
แบบรูปของจำานวนที่ ......................
ลดลง ทีละ ......................
2

28 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 29
242
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

-5 -5 -5 -5 -5
แบบรูปของจำานวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 100
ฝกึ
แบบ หดั
4) 118 113 108 103 .............
98 93
1.13
และแบบรูปของจำานวนที่ลดลงทีละ 100
ลดลง ทีละ ......................
แบบรูปของจำานวนที่ ...................... 5
-5 -5 -5 -5 -5 1 เติมจำานวนที่หายไปในแบบรูป และเติมคำาตอบ
5) 136 131 126 121 116 ............
111
+100 +100 +100 +100 +100

ลดลง ทีละ ......................


แบบรูปของจำานวนที่ ...................... 5 230 330 430 530 630 730
............
+5 +5 +5 +5 +5
เพิ่มขึ้น ทีละ ............
แบบรูปของจำานวนที่ ............ 100
6) 432 ............
437 442 447 452 ............
457

–100 –100 –100 –100 –100


แบบรูปของจำานวนที่ ......................
เพิ่มขึ้น ทีละ ......................
5
877 777 677 577 477 377
............
-5 -5 -5 -5 -5
7) 765 760 755 ............
750 ............
745 740 ลดลง ทีละ ............
แบบรูปของจำานวนที่ ............ 100
+100 +100 +100 +100 +100
ลดลง ทีละ ......................
แบบรูปของจำานวนที่ ...................... 5 600
1) 100 200 300 400 500 ...........
+5 +5 +5 +5 +5
8) ...........
634 639 644 649 ...........
654 659 แบบรูปของจำานวนที ่ ......................
เพิ่มขึ้น ทีละ ......................
100
-100 -100 -100 -100 -100
แบบรูปของจำานวนที่ ......................
เพิ่มขึ้น ทีละ ......................
5
-5 -5 -5 -5 -5 2) 508 408 308 208 108 ...........
8

9) 567 ...........
562 ............
557 552 547 542
แบบรูปของจำานวนที่ ......................
ลดลง ทีละ ......................
100
ลดลง ทีละ ......................
แบบรูปของจำานวนที่ ...................... 5 +100 +100 +100 +100 +100
+5 +5 +5 +5 +5 553
3) 153 253 353 453 ........... 653
10) ...........
975 980 985 990 995 ...........
1,000

แบบรูปของจำานวนที่ ......................
เพิ่มขึ้น ทีละ ......................
100
แบบรูปของจำานวนที่ ......................
เพิ่มขึ้น ทีละ ......................
5

30 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 31
243
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

-100 -100 -100 -100 +100


4) 601 501 401 ............
301 201 101 2 เขียน ใน ที่เป็นแบบรูปของจำานวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 100 และ

แบบรูปของจำานวนที่ ......................
ลดลง ทีละ ......................
100 เขียน ใน ที่เป็นแบบรูปของจำานวนที่ลดลงทีละ 100

+100 +100 +100 +100 +100


5) 467 567 667 767 ............
867 ............
967 1) 700 600 500 400 300

แบบรูปของจำานวนที่ ......................
เพิ่มขึ้น ทีละ ......................
100
2) 231 331 431 531 631
-100 -100 -100 -100 -100
6) 505 405 305 205 ............
105 ............
5
3) 250 350 450 550 650
ลดลง ทีละ ......................
แบบรูปของจำานวนที่ ...................... 100
-100 -100 -100 -100 -100 4) 126 136 146 156 166
7) ............
598 498 398 298 ............
198 98
5) 772 672 572 472 372
ลดลง ทีละ ......................
แบบรูปของจำานวนที่ ...................... 100
+100 +100 +100 +100 +100
6) 368 468 568 668 768
8) 9 ............
109 209 309 409 ............
509

แบบรูปของจำานวนที่ ......................
เพิ่มขึ้น ทีละ ......................
100 7) 915 815 715 615 515
+100 +100 +100 +100 +100
9) 276 376 476 ............
576 ............
676 776 8) 487 587 687 787 887

แบบรูปของจำานวนที่ ......................
เพิ่มขึ้น ทีละ ......................
100
9) 567 568 569 570 571
-100 -100 -100 -100 -100
10) ............
834 734 ............
634 534 434 334
10) 403 303 203 103 3
ลดลง ทีละ ......................
แบบรูปของจำานวนที่ ...................... 100

32 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 33
244
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 บทที่ 1 | จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0

2 ฉันคือจำานวนอะไร
แบบฝึกท้าทาย

1 นำาบัตรเลขโดดมาเรียงให้เป็นจำานวนที่มีสามหลัก และเติมคำาตอบ คำาถามที่ ถาม ตอบ

1 ฉันเป็นจำานวนที่มากกว่า 10 ใช่ไหม ไม่ใช่

6 4 7 2 ฉันเป็นจำานวนคู่ใช่ไหม ใช่

3 ฉันเป็นจำานวนที่น้อยกว่า 5 ใช่ไหม ไม่ใช่


764
จำานวนคู่ที่มีค่ามากที่สุดคือ ......................
4 ฉันเป็นจำานวนที่มากกว่า 7 ใช่ไหม ไม่ใช่
647
จำานวนคี่ที่มีค่ามากที่สุดคือ ......................

476
จำานวนคู่ที่มีค่าน้อยที่สุดคือ ...................... 6
ตอบ ฉันคือ ......................................
467
จำานวนคี่ที่มีค่าน้อยที่สุดคือ ......................

เรียงลำาดับจำานวนทั้ง 4 จำานวนจากน้อยไปมาก

467 476
...................... ...................... 647
...................... 764
......................
6 8
4

7
6
4

34 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 35
245
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

บทที
แบบฝึก่ หั1ด การบวกและการลบ 2 แสดงวิธีหาผลบวกโดยใช้เส้นจำานวน

บทที่ 2 จำานวนนับไม่เกิน 1,000 32 + 12 =

ฝกึ
แบบ หดั

2.1 การหาผลบวกโดยใช้เส้นจำานวน 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45

1 แสดงวิธีหาผลบวกโดยใช้เส้นจำานวน ๔๔
ตอบ …………........................

39 + 22 = 1) 25 + 14 =

35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65

10 กับอีก …………
เริ่มจาก 39 แล้วต่อไปอีก ………… 10 กับอีก …………
2 ได้ …………
61 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40

61
ดังนั้น 39 + 22 = ………… ๓๙
ตอบ …………........................

1) 58 + 14 =
2) 28 + 41 =

50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75

10 กับอีก 4 ได้ 72
เริ่มจาก 58 แล้วต่อไปอีก ………....................................................... 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70

72
ดังนั้น 58 + 14 = ……...................…… ๖๙
ตอบ …………........................

2) 21 + 45 =
3) 65 + 35 =

45 50 55 60 65 66 70

10 กับอีก 10 กับอีก 1 ได้ 66


เริ่มจาก 45 แล้วต่อไปอีก ………....................................................... 65 70 75 80 85 90 95 100

66
ดังนั้น 21 + 45 = ……...................…… ๑๐๐
ตอบ …………........................

36 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 37
246
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

การหาผลบวกโดยใช้แผ่นตารางร้อย
ฝกึ
3 แสดงวิธีหาผลบวกโดยใช้เส้นจำานวน แบบ หดั

2.2
1) 14 + 18 =
แผ่นตารางสิบ แผ่นตารางหน่วย
1 หาผลบวก

17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 35 36 37 38 39 41 42 43
115 + 118 =
๓๒
ตอบ …………........................

2) 23 + 36 =
115 กับ 118 200 กับ …………
………… 30 กับ …………
3

๒๓๓
ตอบ …………........................
35 36 37 38 39 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62

๕๙ 1) 241 + 317 =
ตอบ …………........................

3) 21 + 46 =
241 กับ 317 500 50
………… 8
กับ ………… กับ …………

45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71
๕๕๘
ตอบ …………........................

๖๗
ตอบ …………........................ 2) 152 + 275 =

4) 35 + 57 =

152 กับ 275 400 20


………… 7
กับ ………… กับ …………
56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 7172 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92
๔๒๗
ตอบ …………........................
๙๒
ตอบ …………........................

38 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 39
247
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

2 หาผลบวก
3) 387 + 234 =
1) 245 + 234 =

387 กับ 234 600 20


………… 1
กับ ………… กับ …………
245 กับ 234
๖๒๑
ตอบ …………........................
๔๗๙
ตอบ …………........................

4) 345 + 255 =
2) 191 + 228 =

345 กับ 255 600 0


………… 0
กับ ………… กับ …………
191 กับ 228
๖๐๐
ตอบ …………........................ ๔๑๙
ตอบ …………........................

5) 416 + 109 =
3) 278 + 359 =

416 กับ 109 500 20


………… 5
กับ ………… กับ ………… 278 กับ 359

๕๒๕
ตอบ …………........................ ๖๓๗
ตอบ …………........................

40 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 41
248
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ฝกึ
แบบ หดั 2 หาผลบวก
2.3 การหาผลบวกโดยการตั้งบวกไม่มีการทด
413 + 106 =
1 หาผลบวก
วิธีทำา 4 1 3
+
243 + 124 = 1 0 6
5 1 9
หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย
ตอบ ๕๑๙
…………........................
2 4 3
+
1 2 4 1) 336 + 241 = 2) 238 + 721 =
3 6 7
วิธีทำา 3 3 6 วิธีทำา 2 3 8
๓๖๗
ตอบ …………........................ + +
2 4 1 7 2 1
5 7 7 9 5 9
1) 102 + 211 = 2) 468 + 320 =
ตอบ ๕๗๗
…………........................ ตอบ ๙๕๙
…………........................
หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย
1 0 2 4 6 8 3) 642 + 246 = 4) 522 + 423 =
+ +
2 1 1 3 2 0
วิธีทำา 6 4 2 วิธีทำา 5 2 2
3 1 3 7 8 8 + +
2 4 6 4 2 3
…………........................
ตอบ ๓๑๓ …………........................
ตอบ ๗๘๘
8 8 8 9 4 5
ตอบ ๘๘๘
…………........................ ตอบ ๙๔๕
…………........................
3) 743 + 124 = 4) 845 + 143 =
หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย 5) 294 + 705 = 6) 567 + 432 =
7 4 3 8 4 5 วิธีทำา 2 9 4 วิธีทำา 5 6 7
+ + + +
1 2 4 1 4 3 7 0 5 4 3 2
8 6 7 9 8 8 9 9 9 9 9 9
…………........................
ตอบ ๘๖๗ …………........................
ตอบ ๙๘๘
ตอบ ๙๙๙
…………........................ ตอบ ๙๙๙
…………........................
42 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 43
249
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ฝกึ
3 หาผลบวก แบบ หดั

2.4 การหาผลบวกโดยการตั้งบวกมีการทด (1)


854 + 132 = 1) 319 + 240 =
1 หาผลบวก
วิธีทำา 8 5 4 วิธีท
ำา 3 1 9
+ +
549 + 234 =
1 3 2 2 4 0
หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย
9 8 6 5 5 9 1
5 4 9
๕๕๙ +
ตอบ ๙๘๖
…………............. ตอบ …………............. 2 3 4
7 8 3
๗๘๓
ตอบ …………........................
2) 513 + 274 = 3) 702 + 156 =

วิธีท
ำา 5 1 3 วิธีท ำา 7 0 2 1) 436 + 247 = 2) 487 + 372 =
+ +
หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย
2 7 4 1 5 6 1 1
4 3 6 4 8 7
7 8 7 8 5 8 + +
2 4 7 3 7 2
๗๘๗ ๘๕๘ 6 8 3 8 5 9
ตอบ …………............. ตอบ ………….............
…………........................
ตอบ ๖๘๓ …………........................
ตอบ ๘๕๙

4) 427 + 121 = 5) 251 + 247 = 3) 406 + 478 = 4) 735 + 235 =

วิธีท
ำา 4 2 7 วิธีท
ำา 2 5 1 หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย
+ + 1 1
4 0 6 7 3 5
1 2 1 2 4 7 + +
4 7 8 2 3 5
5 4 8 4 9 8 8 8 4 9 7 0

๕๔๘ ๔๙๘ …………........................


ตอบ ๘๘๔ …………........................
ตอบ ๙๗๐
ตอบ …………............. ตอบ ………….............

44 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 45
250
แบบฝกึ หด
ั รายวช
ิ าพน
ื ฐาน | คณต
ิ ศาสตร ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที 2 | การบวกและการลบจาำนวนนบ ั ไมเกน
ิ 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

2 3 หาผลบวก

408 + 268 = 1) 452 + 128 =


1 1 1
า วิธีทำา 4 0 8 วิธีท
ำา 4 5 2
+ +
2 6 8 1 2 8
6 7 6 5 8 0

ตอบ ๖๗๖
………….............
ตอบ ๕๘๐
………….............
1 1
า 2 า
2 2) 572 + 383 = 3) 192 + 540 =
1 1
9 3 5 7 9 7
วิธีท ำา 5 7 2 วิธีท ำา 1 9 2
+ +
๙๓๕ ๗๙๗
3 8 3 5 4 0

9 5 5 7 3 2
1 1
า า

ตอบ ๙๕๕
………….............
ตอบ ๗๓๒
………….............
2
8 6 0 8 9 0
๘๖๐ ๘๙๐ 4) 476 + 243 = 5) 187 + 709 =
1 1

วิธีท ำา 4 7 6 วิธีท ำา 1 8 7
+ +
1
า 2 า 2 4 3 7 0 9

7 1 9 8 9 6
9 8 6 1 0 0 0

ตอบ ๗๑๙
………….............
ตอบ ๘๙๖
………….............
๙๘๖ ๑,๐๐๐
46 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 47
251
แบบฝก ึ หด
ั รายวช
ิ าพน
�ื ฐาน | คณต
ิ ศาสตร� ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทท�ี 2 | การบวกและการลบจาำนวนนบ ั ไมเ�กน
ิ 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000


แบบ ั 2 หาผลบวก
2.5
158 + 265 = 1) 394 + 458 =
1
11 11 1 1
วิธีทำา 1 5 8 วิธีท
ำา 3 9 4
+ +
2 6 5 4 5 8
1 1 1
า า
1 4 2 3 8 5 2

2 8 0 7 ตอบ ๔๒๓
………….............
ตอบ ๘๕๒
…………....
๘๐๗ 2) 218 + 394 =
1 1
วิธีท
ำา 2 1 8
+
3 9 4
1 1 1 1
า า 6 1 2
2
3) 285 + 268 =

ตอบ ๖๑๒
…………....
9 4 0 9 3 0
1 1
๙๔๐ ๙๓๐ วิธีท
ำา 2 8 5
4) 858 + 142 =
+ 1 1
2 6 8 วิธีทำา 8 5 8
+
5 5 3 1 4 2
1 1 1 1 1 0 0 0
า 2 า
ตอบ ๕๕๓
…………....

ตอบ ๑,๐๐๐
…………....
9 9 4 1 0 0 0
๙๙๔ ๑,๐๐๐

48 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 49
252
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ฝกึ
3 โยงเส้นจับคู่ แบบ หดั
โจทย์ชุดนี้ไม่ต้องคำานวณ
2.6 การหาผลบวกของจำานวนสามจำานวน (1)
1 หาผลบวก
265 + 356 257 + 75

68 + 57 + 32 = 100
........................... 57
+ ...........................
= 157
...........................................................
75 + 257 356 + 265

1) 85 + 5 + 40 = 90
........................... 40
+ ...........................
225 + 257 120 + 754 = 130
...........................................................

2) 59 + 29 + 71 = 59 + ...........................
........................... 100
754 + 120 653 + 265
= 159
...........................................................

225 + 568 257 + 225 3) 90 + 65 + 50 = 140 + ...........................


........................... 65
= 205
...........................................................

265 + 653 302 + 452 140 + ...........................


55
4) 73 + 55 + 67 = ...........................
= 195
...........................................................
803 + 75 568 + 225
5) 36 + 94 + 82 = 130 + ...........................
........................... 82
= 212
...........................................................
615 + 319 75 + 803
6) 68 + 52 + 47 = 120 + ...........................
........................... 47
= 167
...........................................................
452 + 302 319 + 615

50 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 51
253
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ฝกึ
2 เติมผลบวกของจำานวนสามจำานวนในวงกลมตามแนวลูกศร แบบ หดั

2.7 การหาผลบวกของจำานวนสามจำานวน (2)


1 หาผลบวก
158 160 150 160 162
345 + 43 + 294 =
หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย
1 1
160 3 4 5
24 70 66
4 3+
2 9 4
150 90 50 10 6 8 2
๖๘๒
ตอบ …………........................
160 46 30 84
1) 423 + 154 + 21 = 2) 47 + 202 + 590 =
หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย
4 2 3 4 7
1
1 5 4+ 2 0 2+
2 1 5 9 0
35 29 95 159 5 9 8 8 3 9
๕๙๘
ตอบ …………........................ ๘๓๙
ตอบ …………........................
76 82 44 202
3) 115 + 309 + 438 = 4) 278 + 135 + 397 =

65 31 45 หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย


141 1 1
2
5
2
2 7
2
8
3 0 9+ 1 3 5+
4 3 8 3 9 7
242 176 142 184 162 8 6 2 8 1 0
๘๖๒
ตอบ …………........................ ๘๑๐
ตอบ …………........................

52 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 53
254
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

2 หาผลบวก 3 หาผลบวก

245 + 497 + 38 = 314 + 135 + 245 = 1) 213 + 78 + 316 =


1 2 1 1
วิธีทำา 2 4 5 1
วิธีทำา 3 1 4 ำา
วิธีท 2 1 3
4 9 7+
3 8 1 3 5 + 7 8 +
7 8 0 2 4 5 3 1 6
ตอบ ๗๘๐
…………........................
6 9 4 6 0 7
1) 123 + 451 + 214 = 2) 218 + 68 + 309 =
2 ตอบ ๖๙๔
………….............
ตอบ ๖๐๗
………….............
วิธีทำา 1 2 3 วิธีทำา 2 1 8
4 5 1+ 6 8+ 2) 204 + 378 + 49 = 3) 91 + 485 + 358 =
2 1 4 3 0 9 1 2 2 1
7 8 8 5 9 5 วิธีท ำา 2 0 4 ำา
วิธีท 9 1

ตอบ ๗๘๘
…………........................
ตอบ ๕๙๕
…………........................
3 7 8 + 4 8 5 +
3) 254 + 361 + 92 = 4) 207 + 419 + 284 = 4 9 3 5 8
2 1 2 6 3 1 9 3 4
วิธีทำา 2 5 4 วิธีทำา 2 0 7
3 6 1+ 4 1 9+ ๖๓๑ ๙๓๔
ตอบ …………............. ตอบ ………….............
9 2 2 8 4
7 0 7 9 1 0
๗๐๗ ๙๑๐ 4) 114 + 735 + 146 = 5) 169 + 248 + 357 =
ตอบ …………........................ ตอบ …………........................
1 1 2
วิธีท ำา 1 1 4 ำา
วิธีท 1 6 9
5) 325 + 138 + 537 = 6) 501 + 291 + 108 =
1 2 1 1 7 3 5 + 2 4 8 +
วิธีทำา 3 2 5 วิธีทำา 5 0 1
1 3 8+ 2 9 1+ 1 4 6 3 5 7
5 3 7 1 0 8 9 9 5 7 7 4
1 0 0 0 9 0 0

ตอบ ๑,๐๐๐
…………........................ ๙๐๐
ตอบ …………........................
ตอบ ๙๙๕
………….............
ตอบ ๗๗๔
………….............

54 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 55
255
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ฝกึ
แบบ หดั 2 แสดงวิธีหาผลลบโดยใช้เส้นจำานวน
2.8 การหาผลลบโดยใช้เส้นจำานวน
32 – 13 =
1 แสดงวิธีหาผลลบโดยใช้เส้นจำานวน

84 – 15 = 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35

๑๙
ตอบ …………........................
65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85

84 ถอยไป …………
เริ่มจาก ………… 10 กับอีก …………
5 ได้ …………
69
69 1) 75 – 21 =
ดังนั้น 84 – 15 = …………

1) 59 – 24 =
50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75

35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60
๕๔
ตอบ …………........................
59 ถอยไป ……….......................................................
เริ่มจาก ………… 10 กับอีก 10 กับอีก 4 ได้ 35
35
ดังนั้น 59 – 24 = …………
2) 63 – 14 =
2) 65 – 22 =

35 40 43 45 50 55 60 65 70 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65

65 ถอยไป ……….......................................................
เริ่มจาก ………… 10 กับอีก 10 กับอีก 2 ได้ 43 ๔๙
ตอบ …………........................
43
ดังนั้น 65 – 22 = …………
3) 100 – 31 =
3) 70 – 31 =

35 39 40 45 50 55 60 65 70
65 69 70 75 80 85 90 95 100
70 ถอยไป ……….......................................................
เริ่มจาก ………… 10 กับอีก 10 กับอีก 10 กับอีก 1 ได้ 39
39
ดังนั้น 70 – 31 = ………… ๖๙
ตอบ …………........................

56 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 57
256
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ฝกึ
3 แสดงวิธีหาผลลบโดยใช้เส้นจำานวน แบบ หดั
การหาผลลบโดยใช้แผ่นตารางร้อย
2.9
1) 36 – 14 =
แผ่นตารางสิบ แผ่นตารางหน่วย
1 หาผลลบ

20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46
428 – 275 =
๒๒
ตอบ …………........................

2) 59 – 23 =

๑๕๓
ตอบ …………........................
35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61

๓๖
ตอบ …………........................ 1) 245 – 193 =

3) 45 – 17 =

๕๒
ตอบ …………........................
25 28 30 35 40 45 50

2) 341 – 125 =
๒๘
ตอบ …………........................

4) 86 – 22 =

๒๑๖
ตอบ …………........................
60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86

๖๔ ผลลบที่ได้บวกกับตัวลบเท่ากับตัวตั้งหรือไม่
ตอบ …………........................

58 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 59
257
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ฝกึ
2 หาผลลบ แบบ หดั

2.10 การหาผลลบโดยการตั้งลบไม่มีการกระจาย
244 – 159 =
1 หาผลลบ

148 – 26 =

หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย


1 4 8
๘๕
ตอบ ……........................ –
2 6
1 2 2
1) 326 – 218 =
๑๒๒
ตอบ …………........................

1) 268 – 54 = 2) 417 – 17 =
หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย
๑๐๘
ตอบ …………........................ 2 6 8 4 1 7
– –
5 4 1 7
2) 308 – 160 = 2 1 4 4 0 0
…………........................
ตอบ ๒๑๔ …………........................
ตอบ ๔๐๐

3) 349 – 136 = 4) 489 – 265 =


๑๔๘
ตอบ …………........................ หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย
3 4 9 4 8 9
– –
3) 400 – 125 =
1 3 6 2 6 5
2 1 3 2 2 4
…………........................
ตอบ ๒๑๓ …………........................
ตอบ ๒๒๔

๒๗๕
ตอบ …………........................ ผลลบที่ได้บวกกับตัวลบเท่ากับตัวตั้งหรือไม่

60 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 61
258
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

2 หาผลลบ 3 แสดงวิธีหาผลลบ

418 – 106 = 1) 347 – 21 = 2) 405 – 103 =


วิธีทำา 4 1 8 วิธีท
ำา 3 4 7 วิธีท
ำา 4 0 5

– –
1 0 6
2 1 1 0 3
3 1 2
ตอบ ๓๑๒
…………........................
3 2 6 3 0 2

ตอบ ๓๒๖
………….............
ตอบ ๓๐๒
………….............
1) 386 – 46 = 2) 238 – 221 =

วิธีทำา 3 8 6 วิธีทำา 2 3 8
– –
4 6 2 2 1 3) 623 – 511 = 4) 879 – 275 =

3 4 0 0 1 7
วิธีท ำา 6 2 3 ำา
วิธีท 8 7 9
– –
ตอบ ๓๔๐
…………........................ ตอบ ๑๗
…………........................
5 1 1 2 7 5
3) 646 – 242 = 4) 527 – 423 =
1 1 2 6 0 4
วิธีทำา 6 4 6 วิธีทำา 5 2 7
– –
ตอบ ๑๑๒
………….............
ตอบ ๖๐๔
………….............
2 4 2 4 2 3
4 0 4 1 0 4
ตอบ ๔๐๔
…………........................ ตอบ ๑๐๔
…………........................ 5) 566 – 543 = 6) 974 – 564 =

5) 450 – 120 = 6) 999 – 932 =


วิธีท ำา 5 6 6 วิธีท ำา 9 7 4
– –
วิธีทำา 4 5 0 วิธีทำา 9 9 9 5 4 3 5 6 4
– –
1 2 0 9 3 2 0 2 3 4 1 0
3 3 0 0 6 7

ตอบ ๒๓
………….............
ตอบ ๔๑๐
………….............
ตอบ ๓๓๐
…………........................ ตอบ ๖๗
…………........................
62 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 63
259
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ฝกึ
แบบ หดั 2 หาผลลบ
2.11 การหาผลลบโดยการตั้งลบมีการกระจาย (1)
841 – 406 =
1 หาผลลบ 3 11
วิธีทำา 8 4 1

348 – 167 = 4 0 6
หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย 4 3 5
2 14
3 4 8 ตอบ ๔๓๕
…………........................

1 6 7
1) 233 – 29 = 2) 748 – 82 =
1 8 1
2 13 6 14
๑๘๑
ตอบ …………........................ วิธีทำา 2 3 3 วิธีทำา 7 4 8
– –
2 9 8 2
1) 254 – 38 = 2) 714 – 81 =
2 0 4 6 6 6
หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย
4 14 6 11
ตอบ ๒๐๔
…………........................ ตอบ ๖๖๖
…………........................
2 5 4 7 1 4
– –
3 8 8 1 3) 641 – 490 = 4) 452 – 239 =
2 1 6 6 3 3 5 14 4 12
วิธีทำา 6 4 1 วิธีทำา 4 5 2
– –
…………........................
ตอบ ๒๑๖ …………........................
ตอบ ๖๓๓
4 9 0 2 3 9

3) 449 – 263 = 4) 870 – 465 = 1 5 1 2 1 3

หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย ตอบ ๑๕๑


…………........................ ตอบ ๒๑๓
…………........................
3 14 6 10
4 4 9 8 7 0 5) 910 – 190 = 6) 598 – 539 =
– –
2 6 3 4 6 5 8 11 8 18
วิธีทำา 9 1 0 วิธีทำา 5 9 8
1 8 6 4 0 5 – –
1 9 0 5 3 9
…………........................
ตอบ ๑๘๖ …………........................
ตอบ ๔๐๕
7 2 0 0 5 9
ผลลบที่ได้บวกกับตัวลบเท่ากับตัวตั้งหรือไม่ ตอบ ๗๒๐
…………........................ ตอบ ๕๙
…………........................
64 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 65
260
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ฝกึ
3 หาผลลบ แบบ หดั

2.12 การหาผลลบโดยการตั้งลบมีการกระจาย (2)


1) 408 – 68 = 2) 452 – 126 =
3 10 4 12 1 หาผลลบ
วิธีท
ำา 4 0 8 วิธีท
ำา 4 5 2
– –
426 – 148 = 1) 112 – 24 =
6 8 1 2 6
3 1 11 16 0 0 10 12
วิธีทำา 4 2 6 วิธีทำา 1 1 2
3 4 0 3 2 6 – –
1 4 8 2 4

ตอบ ๓๔๐
………….............
ตอบ ๓๒๖
…………............. 2 7 8 0 8 8
ตอบ ๒๗๘
………….............. ตอบ ๘๘
…………..............

3) 519 – 383 = 4) 652 – 345 =


4 11 4 12 2) 305 – 186 = 3) 200 – 123 =
ำา
วิธีท 5 1 9 ำา
วิธีท 6 5 2 2 10 9 15 1 10 9 10
– – วิธีทำา 3 0 5 วิธีทำา 2 0 0
3 8 3 3 4 5 – –
1 8 6 1 2 3
1 3 6 3 0 7 1 1 9 0 7 7

๑๓๖ ๓๐๗ ตอบ ๑๑๙


………….............. ตอบ ๗๗
…………..............
ตอบ …………............. ตอบ ………….............

4) 917 – 729 = 5) 813 – 516 =


5) 471 – 243 = 6) 437 – 264 = 8 0 10 17 7 0 10 13
วิธีทำา 9 1 7 วิธีทำา 8 1 3
6 11 3 13 – –
ำา
วิธีท 4 7 1 วิธีท ำา 4 3 7 7 2 9 5 1 6
– –
2 4 3 2 6 4 1 8 8 2 9 7
ตอบ ๑๘๘
………….............. ตอบ ๒๙๗
…………..............
2 2 8 1 7 3

ตอบ ๒๒๘
………….............
ตอบ ๑๗๓
…………............. ผลลบที่ได้บวกกับตัวลบเท่ากับตัวตั้งหรือไม่

66 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 67
261
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

2 หาผลลบ 3 หาผลลบ
8 6 16 12 3 2 12 11 4 10 9 13
658 – 259 = 1) 845 – 458 = 1) 9 7 2 2) 4 3 1 3) 5 0 3
– – –
14 7 3 13 15
5 4 18 6 9 4 1 3 4 1 4 6
วิธีทำา 6 5 8 วิธีท
ำา 8 4 5
– – 2 7 8 2 9 7 3 5 7
2 5 9 4 5 8 7 0 10 13 0 3 13 17 6 13
4) 8 1 3 5) 9 4 7 6) 6 7 3
3 9 9 3 8 7 – – –
3 5 7 5 4 9 2 1 5
ตอบ ๓๙๙
………….............
ตอบ ๓๘๗
…………............. 4 5 6 3 9 8 4 5 8
5 13 7 3 13 11
7) 5 6 3 8) 8 4 1
– –
2) 460 – 394 = 3) 643 – 487 =
1 5 7 5 4 3
3 5 15 10 5 3 13 13
วิธีท ำา 4 6 0 วิธีท ำา 6 4 3 4 0 6 2 9 8
– –
3 9 4 4 8 7
นำาผลลบที่ได้มาถอดรหัสกับตัวอักษรต่อไปนี้
0 6 6 1 5 6
๖๖ ๑๕๖ A O E H L M V T
ตอบ …………............. ตอบ ………….............
298 357 458 278 398 297 406 456

4) 511 – 335 = 5) 1,000 – 142 =


4 0 10 11 0 10 9 10 9 10
วิธีท ำา 5 1 4 วิธ ีทำา 1 0 0 0 เติมตัวอักษรที่ได้จากการถอดรหัสในช่องว่างต่อไปนี้
– –
3 3 5 1 4 2
5) 3) 7) 6) 2) 8) 4) 1)
1 7 6 8 5 8
L O V E M A T H

ตอบ ๑๗๖
………….............
ตอบ ๘๕๘
………….............

68 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 69
262
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ฝกึ
แบบ หดั 2 หาผลลบ
2.13 การหาผลลบของจำานวนสามจำานวน การลบจำานวนสามจำานวนจะนำาตัวลบใดมาลบออกจากตัวตั้งก่อนก็ได้

` 1,000 – 276 – 400 = 1) 657 – 208 – 15 =


1 หาผลลบ 0 10 4 17
วิธีทำา 1 0 0 0 – วิธีทำา 6 5 7 –
4 0 0 2 0 8
515 – 309 – 145 = 1) 400 – 65 – 109 = 5 10 9 10
0 15 3 10 9 10 6 0 0 4 4 9
วิธีทำา 5 1 5 วิธีทำา 4 0 0 – –
– – 2 7 6 1 5
3 0 9 6 5
1 10 2 15 3 2 4 4 3 4
2 0 6 3 3 5
– – ตอบ ๓๒๔
…………........................ ตอบ ๔๓๔
…………........................
1 4 5 1 0 9
2) 458 – 99 – 230 = 3) 880 – 485 – 180 =
0 6 1 2 2 6 3 4 14 18 7 7 17 10
วิธีทำา 4 5 8 – วิธีทำา 8 8 0 –
๖๑
9 9 4 8 5
ตอบ …………........................
ตอบ ๒๒๖
…………........................
3 5 9 3 9 5
– –
2 3 0 1 8 0
2) 690 – 425 – 79 = 3) 787 – 123 – 456 = 1 2 9 2 1 5
8 10
วิธีทำา 6 9 0 วิธีทำา 7 8 7 ตอบ ๑๒๙
…………........................ ตอบ ๒๑๕
…………........................
– –
4 2 5 1 2 3 4) 999 – 361 – 499 = 5) 1,000 – 238 – 300 =
1 15 15 5 14 0 10 9 10 9 10
2 6 5 6 6 4 วิธีทำา 9 9 9 – วิธีทำา 1 0 0 0 –
– –
7 9 4 5 6 3 6 1 2 3 8
5 2 12 18
1 8 6 2 0 8 6 3 8 7 6 2
– –
4 9 9 3 0 0

ตอบ ๑๘๖
…………........................
ตอบ ๒๐๘
…………........................ 1 3 9 4 6 2
ตอบ ๑๓๙
…………........................ ตอบ ๔๖๒
…………........................
70 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 71
263
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ฝกึ
3 หาผลลบ แบบ หดั

2.14 ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
1) 707 – 350 – 218 = 2) 540 – 53 – 230 = 1 เติมตัวเลขแสดงจำานวน
โจทย์ชุดนี้ไม่ต้องคำานวณ
6 10 4 3 13 10
วิธีท
ำา 7 0 7 วิธีท
ำา 5 4 0
– –
3 5 0 5 3
4 17
1) 340 + 225 = 565 2) 156 + 497 = 653
3 5 7 4 8 7
– – 565
………… – 225 = 340 653
………… – 497 = 156
2 1 8 2 3 0
340
565 – ………… = 225 653
………… – 156 = 497
1 3 9 2 5 7


ตอบ ๑๓๙
………….............
ตอบ ๒๕๗
………….............

3) 571
308 + ………… = 879 4) 324
………… + 270 = 594

3) 854 – 126 – 354 = 4) 668 – 274 – 305 = 879


………… – 308 = 571 324
594 – ………… = 270
4 14 5 16 879 – 571 = 308 594 – 270 = 324
วิธีท
ำา 8 5 4 วิธีท
ำา 6 6 8
– –
1 2 6 2 7 4
6 12 8 14
7 2 8 3 9 4
– –
3 5 4 3 0 5 5) 999
784 + 215 = ………… 6) 970
416 + 554 = …………

999 – 215 = 784 970 – 416 = 554
3 7 4 0 8 9
784
999 – ………… = 215 416
970 – 554 = …………

ตอบ ๓๗๔
………….............
ตอบ ๘๙
………….............

72 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 73
264
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

การหาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์
ฝกึ
2 เขียนความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ แบบ หดั

2.15
การบวกและประโยคสัญลักษณ์การลบ
240 + 250 = 490 133 + 209 = 342 1 หาคำาตอบโดยใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ

490 – 240 = 250 342 – 209 = 133


250 + = 400 + 100 = 300
490 – 250 = 240 342 – 133 = 209 ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ

400 – 250 = 300 – 100 =

400 – 250 = 150 300 – 100 = 200


1) 625 + 125 = 750 2) 570 + 382 = 952
ดังนั้น 250 + 150 = 400 ดังนั้น 200 + 100 = 300
750 - 625 = 125 952 - 570 = 382
750 - 125 = 625 952 - 382 = 570 1) 220 + = 640 2) + 241 = 500
ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
640 - 220 =
............................................................. 500 - 241=
.............................................................

3) 570 + 318 = 888 4) 370 + 112 = 482 640 - 220 = 420


............................................................. 500 - 241 = 259
.............................................................

888 – 570 = 318 482 - 370 = 112 + 420 = 640
ดังนั้น 220 ดังนั้น 259 + 241 = 500

888 - 318 = 570 482 – 112 = 370


3) + 235 = 428 4) 700 + = 1,000
ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
428 - 235 =
............................................................. 1,000 - 700 =
.............................................................
5) 345 + 236 = 581 6) 121 + 199 = 320 428 - 235 =193
............................................................. 1,000 - 700 = 300
.............................................................
581 - 345 = 236 320 – 121 = 199
ดังนั้น 193 + 235 = 428 + 300 = 1,000
ดังนั้น 700
581 - 236 = 345 320 - 199 = 121

74 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 75
265
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

2 ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบหาคำาตอบ 3 โยงเส้นจับคู่

650 – = 250 – 200 = 100

ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ + 246 = 876 550

650 – 250 = 100 + 200 =

650 – 250 = 400 100 + 200 = 300

ดังนั้น 650 – 400 = 250 ดังนั้น 300 – 200 = 100


465 – = 232 280

1) – 520 = 280 2) 240 – = 90

ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
280 + 520 =
............................................................. 240 - 90 =
............................................................. – 200 = 350 630
280 + 520 = 800
............................................................. 240 - 90 = 150
.............................................................

ดังนั้น 800 – 520 = 280 – 150 = 90
ดังนั้น 240

3) 1,000 – = 700 4) – 150 = 450 543 + = 823 441

ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ ใช้ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
1,000 - 700 =
............................................................. 450 + 150 =
.............................................................
1,000 - 700 = 300
............................................................. 450 + 150 = 600
.............................................................
743 – 302 = 233

ดังนั้น 1,000 – 300 = 700 ดังนั้น 600 – 150 = 450

76 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 77
266
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ฝกึ
แบบ หดั 2 วงรอบสิ่งที่โจทย์ถาม ขีดเส้นใต้สิ่งที่โจทย์บอก เขียนประโยคสัญลักษณ์
2.16 โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ (1) และหาคำาตอบ

แม่ซื้อปลา 214 บาท ซื้อไก่ 146 บาท แม่ซื้อปลาและไก่ทั้งหมดกี่บาท


1 เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำาตอบ
214 + 146 =
ประโยคสัญลักษณ์ .............................................................................
1) พ่อเลี้ยงปลาดุก 250 ตัว ปลาช่อน 275 ตัว พ่อเลี้ยงปลาดุกและปลาช่อน 214 + 146 = 360
.............................................................................
ทั้งหมดกี่ตัว
๓๖๐
ตอบ แม่ซื้อปลาและไก่ทั้งหมด ................... บาท
โจทย์ถาม พ่อเลี้ยงปลาดุกและปลาช่อนทั้งหมดกี่ตัว
โจทย์บอก พ่อเลี้ยงปลาดุก 250 ตัว ปลาช่อน 275 ตัว 1) ร้านขายไข่มีไข่ไก่ 431 ฟอง ขายไป 218 ฟอง เหลือไข่ไก่กี่ฟอง

ประโยคสัญลักษณ์ 431 - 218 =


.............................................................................
ประโยคสัญลักษณ์ 250 + 275 =
......................................................................
431 - 218 = 213
.............................................................................
250 + 275 = 525
......................................................................
๒๑๓ ฟอง
ตอบ เหลือไข่ไก่ ...................
๕๒๕ ตัว
ตอบ พ่อเลี้ยงปลาดุกและปลาช่อนทั้งหมด ...................

2) โรงเรียนแห่งหนึ่งมีนักเรียนชาย 357 คน และนักเรียนหญิง 542 คน


2) แม่มีเงินอยู่ 480 บาท ซื้อของไป 128 บาท แม่เหลือเงินกี่บาท โรงเรียนนี้มีนักเรียนทั้งหมดกี่คน

โจทย์ถาม แม่เหลือเงินกี่บาท ประโยคสัญลักษณ์ 357 + 542 =


.............................................................................

โจทย์บอก แม่มีเงิน 480 บาท ซื้อของไป 128 บาท 357 + 542 = 899
.............................................................................

ประโยคสัญลักษณ์ 480 - 128 =


...................................................................... ๘๙๙ คน
ตอบ โรงเรียนนี้มีนักเรียนทั้งหมด ...................
480 - 128 = 352
......................................................................
3) ลุงมีไก่ 245 ตัว ซื้อมาเพิ่ม 100 ตัว ลุงมีไก่ทั้งหมดกี่ตัว
๓๕๒ บาท
ตอบ แม่เหลือเงิน ...................
ประโยคสัญลักษณ์ 245 + 100 =
.............................................................................
245 + 100 = 345
.............................................................................
อย่าลืมตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำาตอบด้วยนะ ๓๔๕ ตัว
ตอบ ลุงมีไก่ทั้งหมด ...................

78 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 79
267
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ฝกึ
3 เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำาตอบ แบบ หดั

2.17 โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ (2)


1) มานีปลูกมะละกอ 215 ต้น ปลูกกล้วย 144 ต้น มานีปลูกมะละกอ
และกล้วยทั้งหมดกี่ต้น 1 เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำาตอบ
ประโยคสัญลักษณ์ 215 + 144 =
.............................................................................
215 + 144 = 359
............................................................................. 1) พ่อปลูกต้นไม้ได้ 235 ต้น แม่ปลูกต้นไม้ได้ 146 ต้น พ่อปลูกต้นไม้
ได้มากกว่าแม่กี่ต้น
๓๕๙ ต้น
ตอบ มานีปลูกมะละกอและกล้วยทั้งหมด ...................
โจทย์ถาม พ่อปลูกต้นไม้ได้มากกว่าแม่กี่ต้น
2) ถนนสายหนึ่งสร้างไปแล้ว 634 เมตร ยังไม่ได้สร้างอีก 256 เมตร
โจทย์บอก พ่อปลูกต้นไม้ได้ 235 ต้น แม่ปลูกต้นไม้ได้ 146 ต้น
ถ้าสร้างเสร็จถนนสายนี้จะยาวกี่เมตร
634 + 256 = ประโยคสัญลักษณ์ 235 - 146 =
......................................................................
ประโยคสัญลักษณ์ .............................................................................
634 + 256 = 890 235 - 146 = 89
......................................................................
.............................................................................
๘๙๐
ตอบ ถ้าสร้างเสร็จถนนสายนี้จะยาว ................... เมตร ๘๙
ตอบ พ่อปลูกต้นไม้ได้มากกว่าแม่ ................... ต้น

3) แม่มีปลาสลิดอยู่ 650 ตัว จัดใส่ถุงแล้ว 267 ตัว เหลือปลาสลิด


ที่ยังไม่ได้จัดใส่ถุงกี่ตัว 2) ฟาร์มแห่งหนึ่งมีไก่ 230 ตัว มีเป็ดมากกว่าไก่ 70 ตัว ฟาร์มนี้มีเป็ดกี่ตัว
ประโยคสัญลักษณ์ 650 - 267 =
............................................................................. โจทย์ถาม ฟาร์มนี้มีเป็ดกี่ตัว
650 - 267 = 383
............................................................................. โจทย์บอก ฟาร์มแห่งหนึ่งมีไก่ 230 ตัว มีเป็ดมากกว่าไก่ 70 ตัว
๓๘๓ ตัว
ตอบ เหลือปลาสลิดที่ยังไม่ได้จัดใส่ถุง ................... 230 + 70 =
ประโยคสัญลักษณ์ ......................................................................

4) ร้านค้ามีลูกโป่งสีแดงและสีฟ้า 120 ลูก เป็นลูกโป่งสีแดง 90 ลูก


230 + 70 = 300
......................................................................
เป็นลูกโป่งสีฟ้ากี่ลูก ๓๐๐ ตัว
ตอบ ฟาร์มนี้มีเป็ด ...................
ประโยคสัญลักษณ์ 120 - 90 =
.............................................................................
120 - 90 = 30
.............................................................................
๓๐
ตอบ เป็นลูกโป่งสีฟ้า ................... ลูก อย่าลืมตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำาตอบด้วยนะ

80 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 81
268
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

2 วงรอบสิ
2 ่งวงรอบสิ
ที่โจทย์ถ่งาม
ที่โจทย์
ขีดเส้
ถนามใต้ขีสดิ่งเส้
ที่โนจทย์
ใต้สบิ่งอก
ที่โจทย์
เขียบ
นประโยคสั
อก เขียนประโยคสั
ญลักษณ์ญลักษณ์ 3 เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำาตอบ
และหาคำาและหาคำ
ตอบ าตอบ
1) ป้าขายถั่วเขียวได้เงิน 520 บาท ขายถั่วเขียวได้เงินมากกว่าขายถั่วแดง
250 บาท ป้าขายถั่วแดงได้เงินกี่บาท
1) พี่สูง 172 เซนติเมตร พี่สูงกว่าน้อง 64 เซนติเมตร น้องสูงกี่เซนติเมตร
ประโยคสัญลักษณ์ 520 - 250 =
.............................................................................
ประโยคสัญลักษณ์ 172 - 64 =
............................................................................. 520 - 250 = 270
.............................................................................
172 - 64 = 108
............................................................................. ๒๗๐ บาท
ตอบ ป้าขายถั่วแดงได้เงิน ...................
๑๐๘ เซนติเมตร
ตอบ น้องสูง ...................
2) ห้องสมุดมีหนังสือวิทยาศาสตร์ 376 เล่ม มีหนังสือคณิตศาสตร์มากกว่า
หนังสือวิทยาศาสตร์ 121 เล่ม ห้องสมุดมีหนังสือคณิตศาสตร์กี่เล่ม

2) บริษัทแห่งหนึ่งมีพนักงานหญิง 112 คน มีพนักงานหญิงมากกว่า ประโยคสัญลักษณ์ 376 + 121 =


.............................................................................
พนักงานชาย 62 คน บริษัทนี้มีพนักงานชายกี่คน 376 + 121 = 497
.............................................................................
ประโยคสัญลักษณ์ 112 - 62 =
............................................................................. ๔๙๗ เล่ม
ตอบ ห้องสมุดมีหนังสือคณิตศาสตร์ ...................
112 - 62 = 50
.............................................................................
3) เชือกเส้นที่หนึ่งยาว 500 เซนติเมตร เชือกเส้นที่สองยาวกว่า
๕๐ คน
ตอบ บริษัทนี้มีพนักงานชาย ................... เชือกเส้นที่หนึ่ง 150 เซนติเมตร เชือกเส้นที่สองยาวกี่เซนติเมตร
ประโยคสัญลักษณ์ 500 + 150 =
.............................................................................
500 + 150 = 650
.............................................................................
3) เมื่อวานขุนเก็บไข่ไก่ได้ 240 ฟอง วันนี้เก็บไข่ไก่ได้มากกว่าเมื่อวาน
๖๕๐ เซนติเมตร
ตอบ เชือกเส้นที่สองยาว ...................
54 ฟอง วันนี้ขุนเก็บไข่ไก่ได้กี่ฟอง

ประโยคสัญลักษณ์ 240 + 54 =
............................................................................. 4) เมื่อวานต้นกล้าเก็บส้มได้ 340 ผล เมื่อวานเก็บส้มได้มากกว่าวันนี้
240 + 54 = 294
............................................................................. 200 ผล วันนี้ต้นกล้าเก็บส้มได้กี่ผล
ประโยคสัญลักษณ์ 340 - 200 =
.............................................................................
๒๙๔ ฟอง
ตอบ วันนี้ขุนเก็บไข่ไก่ได้ ...................
340 - 200 = 140
.............................................................................
๑๔๐ ผล
ตอบ วันนี้ต้นกล้าเก็บส้มได้ ...................

82 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 83
269
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ฝกึ
แบบ หดั 2 วงรอบสิ่งที่โจทย์ถาม ขีดเส้นใต้สิ่งที่โจทย์บอก เขียนประโยคสัญลักษณ์
2.18 โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ (3) และหาคำาตอบ

1 เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำาตอบ 1) สวนสัตว์แห่งหนึ่งมีนกยูง 345 ตัว มีแกะน้อยกว่านกยูง 203 ตัว


สวนสัตว์นี้มีแกะกี่ตัว
1) พี่ออมเงินได้ 542 บาท น้องออมเงินได้น้อยกว่าพี่ 211 บาท
ประโยคสัญลักษณ์ 345 - 203 =
.............................................................................
น้องออมเงินได้กี่บาท
345 - 203 = 142
.............................................................................
โจทย์ถาม น้องออมเงินได้กี่บาท
๑๔๒ ตัว
ตอบ สวนสัตว์นี้มีแกะ ...................
โจทย์บอก พี่ออมเงินได้ 542 บาท น้องออมเงินได้น้อยกว่าพี่ 211 บาท

ประโยคสัญลักษณ์ 542 - 211 =


......................................................................
542 - 211 = 331
...................................................................... 2) วันนี้แก้วตาอ่านหนังสือได้ 135 หน้า วันนี้อ่านได้น้อยกว่าเมื่อวาน
30 หน้า เมื่อวานแก้วตาอ่านหนังสือได้กี่หน้า
๓๓๑ บาท
ตอบ น้องออมเงินได้ ...................
ประโยคสัญลักษณ์ 135 + 30 =
.............................................................................

2) สวนแห่งหนึ่งปลูกทุเรียน 142 ต้น ปลูกทุเรียนน้อยกว่าปลูกมังคุด 135 + 30 = 165


.............................................................................
122 ต้น สวนนี้ปลูกมังคุดกี่ต้น ๑๖๕ หน้า
ตอบ เมื่อวานแก้วตาอ่านหนังสือได้ ...................
โจทย์ถาม สวนนี้ปลูกมังคุดกี่ต้น
โจทย์บอก สวนแห่งหนึง่ ปลูกทุเรียน 142 ต้น
ปลูกทุเรียนน้อยกว่าปลูกมังคุด 122 ต้น 3) ปีนี้โรงเรียนแห่งหนึ่งมีนักเรียนทั้งหมด 653 คน ปีนี้มีนักเรียนน้อยกว่า
ปีที่แล้ว 72 คน ปีที่แล้วโรงเรียนนี้มีนักเรียนกี่คน
ประโยคสัญลักษณ์ 142 + 122 =
......................................................................
ประโยคสัญลักษณ์ 653 + 72 =
.............................................................................
142 + 122 = 264
......................................................................
653 + 72 = 725
.............................................................................
๒๖๔ ต้น
ตอบ สวนนี้ปลูกมังคุด ...................
๗๒๕ คน
ตอบ ปีที่แล้วโรงเรียนนี้มีนักเรียน ...................

อย่าลืมตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำาตอบด้วยนะ

84 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 85
270
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ฝกึ
3 เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำาตอบ แบบ หดั

2.19 โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ (4)


1)
1) ฟาร์
ขุนมีมลแห่ งหนึ
ูกแก้ ่งมีม้าน้กอ ต้ยกว่
ว 241 ลู นกล้าแพะอยู ่ 143
ามีลูกแก้ ตัว ถ้าาขุมีนแ 120 ลู
วน้อยกว่ พะ 224 ก ตัว
ฟาร์ มนีามี
ต้นกล้ ้มลีมูก้ากีแก้
่ตัวกี่ลูก 1 เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำาตอบ
241 - 120 =
ประโยคสัญลักษณ์ .............................................................................
241 - 120 = 121 1) ครูทบ
ั ทิมมีสมุด 236 เล่ม ต้องซือ
้ สมุดเพิม
่ อีกกีเ่ ล่ม จึงจะครบ 700 เล่ม
.............................................................................
ตอบ ต้
ตอบ นกล้
ฟาร์ มนีามี
้มลีมูก้า แก้ ๑๒๑ตัว ก
ว ................... ลู
................... โจทย์ถาม ต้องซื้อสมุดเพิ่มอีกกี่เล่ม
โจทย์บอก ครูทับทิมมีสมุด 236 เล่ม ต้องซื้อให้ครบ 700 เล่ม
2) พั
2) พีด่มลมตั
ีเงิน 250 บาท พี ่มีเงิน899
วหนึ่งติดราคาไว้ น้อยกว่ บาทาน้พั
อง 150 บาท น้
ดลมติดราคาไว้อนงมี ้อเยกว่
งินกีา่บเตารี
าท ด
ประโยคสัญลักษณ์ 236 + = 700 หรือ 700 - 236 =
......................................................................
101
ประโยคสั บาท ญ
เตารี
ลักดษณ์
ติด ราคาไว้ ก250
ี่บาท +150 =
.............................................................................
236 + 464 = 700 700 - 236 = 464
......................................................................
ประโยคสัญลักษณ์ .............................................................................
250 +150 = 400
.............................................................................
๔๐๐ ............................................................................. ๔๖๔ เล่ม
ตอบ ต้องซื้อสมุดเพิ่มอีก ...................
ตอบ น้องมีเงิน ................... บาท
ตอบ เตารีดติดราคาไว้ ................... บาท
3) พัดลมตัวหนึ่งติดราคาไว้ 899 บาท พัดลมติดราคาไว้น้อยกว่าเตารีด 2) ต้นกล้ามีเงิน 450 บาท ซื้อหนังสือไปแล้วเหลือเงิน 300 บาท ต้นกล้า
ขุ101 บาท เตารี
3) นมีลูกแก้ว 241 ดติลูดกราคาไว้
ต้นกล้กาี่บ
มีาท
ลูกแก้วน้อยกว่าขุน 120 ลูก ซื้อหนังสือไปกี่บาท
ต้ประโยคสั
นกล้ามีลญ
ูกแก้
ลักวษณ์ 899 +101 =
กี่ลูก .............................................................................
โจทย์ถาม ต้นกล้าซื้อหนังสือไปกี่บาท
ประโยคสัญลักษณ์ 899 +101 = 1,000
.............................................................................
.............................................................................
โจทย์บอก ต้นกล้ามีเงิน 450 บาท ซื้อหนังสือไปแล้วเหลือเงิน 300 บาท
ตอบ เตารีดติดราคาไว้.............................................................................
๑,๐๐๐
................... บาท
ประโยคสัญลักษณ์ 450 - = 300 หรือ 450 - 300 =
......................................................................
ตอบ ต้นกล้ามีลูกแก้ว ................... ลูก
450 - 150 = 300 450 - 300 = 150
......................................................................
4) ฟาร์มแห่งหนึ่งมีม้าน้อยกว่าแพะอยู่ 143 ตัว ถ้ามีแพะ 224 ตัว
พี
4) ฟาร์
่มีเงิมนนี้ม250
ีม้ากีบาท
่ตัว พี่มีเงินน้อยกว่าน้อง 150 บาท น้องมีเงินกี่บาท
๑๕๐ บาท
ตอบ ต้นกล้าซื้อหนังสือไป ...................
224 - 143 =
ประโยคสัญลักษณ์ .............................................................................
*ประโยคสัญลักษณ์อาจเขียนได้แตกต่างจากนี้
224 - 143 = 81
............................................................................. เช่น 236 + = 700 หรือ 700 - 236 =

ตอบ ฟาร์
ตอบ ๘๑ บาทว
มเนีงิ้มนีม...................
น้องมี ้า ................... ตั อย่าลืมตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำาตอบด้วยนะ

86 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 87
271
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝ�กหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

การสร้างโจทย์ปัญหาการบวก
ฝกึ
2 วงรอบสิ่งที่โจทย์ถาม ขีดเส้นใต้สิ่งที่โจทย์บอก เขียนประโยคสัญลักษณ์ แบบ หดั

และหาคำาตอบ 2.20
และโจทย์ปัญหาการลบจากภาพ
1 สร้างโจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบจากภาพ
1) วันนี้แก้วตาอ่านหนังสือได้ 135 หน้า แก้วตาจะต้องอ่านอีกกี่หน้า พร้อมทั้งเขียนประโยคสัญลักษณ์
จึงจะครบ 350 หน้า

ประโยคสัญลักษณ์ 135 + = 350 หรือ 350 - 135 =


.............................................................................
135 + 215 = 350 350 - 135 = 215 ิ
มะล บาท ดอกชบา
.............................................................................
ดอก วัน
ดอก 250 กระเช�า ลิลลี่ านตะ
ละ 670 ดอกท 30 บาท กระเช�าละ 200 บาท
�าละ บาท 2 ดอกด
กระ เ ช ช�อละ ช�อละ
าวเรือ

160 บ
าท

๒๑๕ หน้า
ตอบ แก้วตาจะต้องอ่านอีก ...................
ดอกกุหลาบสีขาว
ดอกกุหลาบสีแดง และสีเหลือง
และสีชมพู ช�อละ 420 บาท
ช�อละ 580 บาท

2) พ่อมีข้าวสาร 1,000 ถุง หลังจากบริจาคไปแล้วเหลือข้าวสาร 490 ถุง


โจทย์ปัญหาการบวก
พ่อบริจาคข้าวสารไปกี่ถุง
คุณแม่ซื้อดอกมะลิละ 250 บาท ซื้อดอกลิลลี่ 670 บาท
.......................................................................................................................
ประโยคสัญลักษณ์ 1,000 - = 490 หรือ 1,000 - 490 =
............................................................................. คุณแม่ซื้อดอกมะลิและดอกลิลลี่ทั้งหมดกี่บาท
.......................................................................................................................
1,000 - 510 = 490 1,000 - 490 = 510
.............................................................................
.......................................................................................................................
๕๑๐ ถุง
ตอบ พ่อบริจาคข้าวสารไป ...................
ประโยคสัญลักษณ์ 250 + 670 =
...................................................................................

โจทย์ปัญหาการลบ
3) แม่ทำาขนมตาลไว้แล้ว 420 ชิ้น แม่ต้องทำาเพิ่มอีกกี่ชิ้น จึงจะครบ 580 ชิ้น ครูทับทิมดอกทานตะวัน 230 บาท ดอกดาวเรือง 160 บาท
.......................................................................................................................
ประโยคสัญลักษณ์ 420 + = 580 หรือ 580 - 420 =
............................................................................. ครูทับทิมจ่ายเงินซื้อดอกทานตะวันมากกว่าดอกดาวเรืองกี่บาท
.......................................................................................................................
420 + 160 = 580 580 - 420 = 160
............................................................................. .......................................................................................................................
๑๖๐ ชิ้น
ตอบ แม่ต้องทำาเพิ่มอีก ................... ประโยคสัญลักษณ์ 230 - 160 =
...................................................................................

*ประโยคสัญลักษณ์อาจเขียนได้แตกต่างจากนี้ เช่น 135 + = 350 หรือ 350 - 135 = *คำ�ตอบอาจแตกต่างจากนี้

88 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 89
272
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝ�กหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

ฝกึ
2 สร้างโจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบจากภาพ แบบ หดั
การสร้างโจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ
พร้อมทั้งเขียนประโยคสัญลักษณ์ 2.21
จากประโยคสัญลักษณ์
1 สร้างโจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบจากประโยคสัญลักษณ์
ช�าง 52 ตัว
ยีราฟ 74 ตัว
ลิง 265 ตัว
นก 589 ตัว
กวาง 324 ตัว
แพะ 149 ตัว
จระเข� 471 ตัว

โจทย์ปัญหาการบวก
สวนสัตว์แห่งหนึ่งมีช้าง 52 ตัว มีนก 589 ตัว
1. .................................................................................................................
มีช้างและนกรวมกันกี่ตัว
.......................................................................................................................
ประโยคสัญลักษณ์ 52 + 589 =
...................................................................................
สวนสัตว์แห่งหนึ่งมียีราฟ 74 ตัว มีจระเข้มากกว่ายีราฟ 397 ตัว
2. ................................................................................................................. ประโยคสัญลักษณ์ 60 + 80 =
สวนสัตว์แห่งนี้มีจระเข้กี่ตัว
....................................................................................................................... ร้านค้ามีนมรสหวาน 60 ขวด มีนมรสจืด 80 ขวด
.......................................................................................................................

ประโยคสัญลักษณ์ 397 + 74 =
................................................................................... ร้านค้ามีนมรสหวานและนมรสจืดกี่ขวด
.......................................................................................................................
.......................................................................................................................
โจทย์ปัญหาการลบ
สวนสัตว์แห่งหนึ่งมีแพะ 149 ตัว มีกวาง 324 ตัว
1. .................................................................................................................
มีแพะน้อยกว่ากวางกี่ตัว
....................................................................................................................... ประโยคสัญลักษณ์ 135 – 120 =

324 - 149 = น้ำ�ยาล้างจานราคา 135 บาท น้ำ�ยาถูพื้นราคา 120 บาท


.......................................................................................................................
ประโยคสัญลักษณ์ ...................................................................................
สวนสัตว์แห่งหนึ่งมีลิง 265 ตัว มีช้าง 52 ตัว น้ำ�ยาล้างจานราคามากกว่าน้ำ�ยาถูพื้นกี่บาท
.......................................................................................................................
2. .................................................................................................................
มีลิงมากกว่าช้างกี่ตัว
....................................................................................................................... .......................................................................................................................

ประโยคสัญลักษณ์ 265 - 52 =
...................................................................................
*คำ�ตอบอาจแตกต่างจากนี้
*คำ�ตอบอาจแตกต่างจากนี้
90 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 91
273
แบบฝ�กหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000 บทที่ 2 | การบวกและการลบจำานวนนับไม่เกิน 1,000

2 สร้างโจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ จากประโยคสัญลักษณ์ แบบฝึกท้าทาย

1 เติมตัวเลขแสดงจำานวน

1)
7 9 9 2)
9 3 7


1 5 6 3 0 2

6 4 3 6 3 5

3)
4 4 6
+
4) 9
1 5
+
2 8 5 2 7 6

7 3 1 3
4 5
ประโยคสัญลักษณ์ 340 – 100 =
ฟาร์มแห่งหนึ่งมี ลูกไก่ 340 ตัว มีแม่ไก่น้อยกว่าลูกไก่ 100 ตัว
....................................................................................................................... 5) 6
9 4 6) 2 0 7
ฟาร์มแห่งนี้มีแม่ไก่กี่ตัว
....................................................................................................................... – +
0
1 6 8
2 5
.......................................................................................................................
8
5 8 6
4 5

2 เติมตัวเลขแสดงจำานวน
ประโยคสัญลักษณ์ 240 + 120 =
ลุงเก็บไข่ไก่ได้ 240 ฟอง เก็บไข่เป็ดได้มากกว่าไข่ไก่ 120 ฟอง
....................................................................................................................... 1) 2 1 2 2) 1 0 9
– –
ลุงเก็บไข่เป็ดได้กี่ฟอง
....................................................................................................................... 1 1 2 9 8
....................................................................................................................... 1 1
1 0 0

*คำ�ตอบอาจแตกต่างจากนี้
*คำ�ตอบอาจแตกต่างจากนี้
92 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 93
274
แบบฝ�กหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว

2 เติมคำาตอบ และเติมคำาว่า น้อยกว่า หรือ มากกว่า 
บทที
แบบฝึก่ หั1ด
บทที่ 3 การวัดความยาว
ฝกึ
แบบ หดั

3.1 การแก้
การแก้
ปัญหาการวั
ปัญหาการวั
ดความยาวเป็
ดความยาวเป็
นเซนติ
นเเซนติ
มตร เมตร
1 เขียนชื่อเครื่องมือวัดความยาวและโยงเส้นจับคู่กับสิ่งของที่ต้องการวัด 
  ให้เหมาะสม

สายวัดตัว            ไม้บรรทัด             ไม้เมตร            สายวัดชนิดตลับ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30
ซม.

1)
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
ซม.

ไม้บรรทัด
..................................................... 1) กบเหลาดิ 5
นสอยาว ......................... เซนติเมตร

24
2) ปากกายาว ......................... เซนติ เมตร
2) 0
1 2 3 4 5 6 7 8 9

10
11 12 13 14 15 16 17 18 19

20
21 22 23 24 25 26 27 28 29

30
31 32 33 34 35 36 37 38 39

40
41 42 43 44 45 46 47 48 49

50
51 52 53 54 55 56 57 58 59

60
61 62 63 64 65 66 67 68 69

70
71 72 73 74 75 76 77 78 79

80
81 82 83 84 85 86 87 88 89

90
91 92 93 94 95 96 97 98 99

100
ความสูงของประตู
ซม.

21
3) ดินสอยาว ......................... เซนติ เมตร
ไม้เมตร
.....................................................
4) ดินสอสีย 17
าว ......................... เซนติเมตร

3) 6
6 5) ยางลบยาว ......................... เซนติ เมตร
ความหนาของหนังสือ
0 1 2 3 4 5

สายวัดตัว
..................................................... มากกว่า นสอ อยู่ ......................... เซนติ
6) ปากกายาว ......................... ดิ 3 เมตร

7) กบเหลาดิ น้อยกว่า ่ ......................... เซนติ
นสอยาว ......................... ยางลบ อยู 1 เมตร
4)
10 9 8 7 6 5 4 3 2 1

สายวัดชนิดตลับ
..................................................... ความยาวรอบเอวของขุน
94 |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 95
275
แบบฝ�กหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝ�กหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว บทที่ 3 | การวัดความยาว

3 เติมคำาตอบ ฝกึ
แบบ หดั

200
ซม. 3.2 การวัดความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร
190

180

170
1 เติมคำาตอบ
160

150

140

130

120
1 2 3 4 5 6 7 8 9 11 12 13 14 15 16 17 18 19 21 22 23 24 25 26 27 28 29 31 32 33 34 35 36 37 38 39 41 42 43 44 45 46 47 48 49 51 52 53 54 55 56 57 58 59 61 62 63 64 65 66 67 68 69 71 72 73 74 75 76 77 78 79 81 82 83 84 85 86 87 88 89 91 92 93 94 95 96 97 98 99 1 2 3 4 5 6 7 8 9 11 12 13 14 15 16 17 18 19 21 22 23 24 25 26 27 28 29 31 32 33 34 35 36 37 38 39 41 42 43 44 45 46 47 48 49 51 52 53 54 55 56 57 58 59 61 62 63 64 65 66 67 68 69 71 72 73 74 75 76 77 78 79 81 82 83 84 85 86 87 88 89 91 92 93 94 95 96 97 98 99 1 2 3 4 5 6 7 8 9 11 12 13 14 15 16 17 18 19 21 22 23 24 25 26 27 28 29 31 32 33 34 35 36 37 38 39 41 42 43 44 45 46 47 48 49 51 52 53 54 55 56 57 58 59 61 62 63 64 65 66 67 68 69 71 72 73 74 75 76 77 78 79 81 82 83 84 85 86 87 88 89 91 92 93 94 95 96 97 98 99

0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100


110 ซม. ซม. ซม.

100

90 0
35 20 0 30
8040 2050
0 30 60 40
020
70 5030
80 60
2040
90 70
30
100
50
ซม. 35 50
80

70

60

50

40

30 1) เชือ 1 35
กสีเขียวยาว ......................... เมตร ......................... เซนติ เมตร
20

10
2) เชือ 2 35
กสีแดงยาว ......................... เมตร ......................... เซนติ เมตร

3) เชือ 1 80
กสีเหลืองยาว ......................... เมตร ......................... เซนติ เมตร
120
1) แก้วตาสู ง ......................... เซนติเมตร
70 4) เชือ 2 50
กสีฟ้ายาว ......................... เมตร ......................... เซนติ เมตร
2) พัดลมสู ง ......................... เซนติเมตร
3) แจกัน 35
สูง ......................... เซนติเมตร 5) เชือ กสี ......................... ยาวที
ฟ้า ่สุด
1
4) แก้วตาต้ องวางกล่องเพิ่มอีก ......................... กล่อง หัวของแก้วตาจึงจะอยู่
6) เชือ กสี ......................... สั
เขียว ้นที่สุด
ระดับเดียวกับความสูงของตู้

5) พัดลมสู 35
งกว่าแจกันอยู่ ......................... เซนติ เมตร
6) ถ้านำา 65
แจกันมาวางบนกล่อง ปากแจกันจะอยู่ที่ระดับ ............... เซนติ เมตร

96 |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 97
276
แบบฝ�กหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว บทที่ 3 | การวัดความยาว

2 เติมคำาตอบ 3 โยงเส้นจับคู่
ซม.
100
91 92 93 94 95 96 97 98 99

90
81 82 83 84 85 86 87 88 89

80
71 72 73 74 75 76 77 78 79

70
61 62 63 64 65 66 67 68 69

80
60

0 20 30 40 50 60 70 80 90 100
51 52 53 54 55 56 57 58 59

ซม.
50
41 42 43 44 45 46 47 48 49

40
31 32 33 34 35 36 37 38 39

30
21 22 23 24 25 26 27 28 29

20
11 12 13 14 15 16 17 18 19

10

85
9
8

0 20 30 40 50 60 70 80 90 100
7
6
5
4
3

ซม.
2
1

ซม.
100
91 92 93 94 95 96 97 98 99

90
81 82 83 84 85 86 87 88 89

80
71 72 73 74 75 76 77 78 79

70
61 62 63 64 65 66 67 68 69

โต�ะครูสูง 1 เมตร 5 เซนติเมตร


60
51 52 53 54 55 56 57 58 59

50
41 42 43 44 45 46 47 48 49

40

70
31 32 33 34 35 36 37 38 39

0 20 30 40 50 60 70 80 90 100
ซม.
30
21 22 23 24 25 26 27 28 29

20
11 12 13 14 15 16 17 18 19

10
9

โต�ะนักเรียนสูง 80 เซนติเมตร
8
7
6
5
4
3
2
1

ซม.
100
91 92 93 94 95 96 97 98 99

90
81 82 83 84 85 86 87 88 89

80
71 72 73 74 75 76 77 78 79

10
70
61 62 63 64 65 66 67 68 69

0 20 30 40 50 60 70 80 90 100
ซม.
60
51 52 53 54 55 56 57 58 59

50
41 42 43 44 45 46 47 48 49

40
31 32 33 34 35 36 37 38 39

30
21 22 23 24 25 26 27 28 29

1) ความสูงของครู 1 เมตร 10 เซนติเมตร


20
11 12 13 14 15 16 17 18 19

10
9
8
7
6
5
4
3
2
1

1
1) นกกระจอกเทศสู 70
ง ......................... เมตร ......................... เซนติ เมตร

1
2) 85
จิงโจ้สูง ......................... เมตร ......................... เซนติ เมตร
2) ความสูงของชั้นวางหนังสือ 1 เมตร 25 เซนติเมตร
3) 2 80
ลูกยีราฟสูง ......................... เมตร ......................... เซนติ เมตร

1
4) นกฟลามิ 10
งโก้สูง ......................... เมตร ......................... เซนติ เมตร

5) ...................................... สู
ลูกยีราฟ นกฟลามิงโก้
งที่สุด และ ...................................... เตี ้ยที่สุด 3) ความสูงของนักเรียนหญิง 1 เมตร 60 เซนติเมตร

98 |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 99
277
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝ�กหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว บทที่ 3 | การวัดความยาว

ฝกึ
แบบ หดั 2 เติมคำาตอบ
3.3 ความสัมพันธ์ระหว่างเมตรกับเซนติเมตร

1) 210
เก้าอี้ ยาว .................. เซนติ เมตร
1 เติมคำาตอบ
2 เมตร 10 เซนติเมตร

2) ผ้าลูกไม้ 1 ม้วน ยาว 180 เซนติเมตร

หรื 1 80 เมตร
อ .................. เมตร .................. เซนติ

540
ผ้าลูกไม้ 3 ม้วน ยาว .................. เซนติ เมตร

หรื 5 40 เมตร
อ .................. เมตร .................. เซนติ
1) ยีราฟมีถิ่นกำาเนิดในทวีปแอฟริกา ตัวผู้มีความสูง 4 เมตร 80 เซนติเมตร
ถึง 5 เมตร 50 เซนติเมตร (1 เมตร เท่ากับ 100 เซนติเมตร)

ยีราฟตัว 480 550


ผู้สูง ......................... เซนติเมตร ถึง ......................... เซนติ เมตร
3) โต๊ะนักเรียน 1 ตัว ยาว 65 เซนติเมตร

130
นำามาวางต่อกัน 2 ตัว ยาว .................. เซนติ เมตร

หรื 1 30 เมตร
อ .................. เมตร .................. เซนติ

4) 175
ตู้หนังสือสูง .................. เซนติ เมตร
2) จระเข้น้ำาจืดสายพันธุ์ไทย มีถิ่นกำาเนิดในบริเวณเวียดนาม กัมพูชา ลาว ไทย
1
หรือ สู 75 เมตร
ง .................. เมตร .................. เซนติ
จัดเป็นจระเข้ขนาดปานกลางค่อนข้างใหญ่ขนาดลำาตัวยาว 300 เซนติเมตร
175 ซม.
ถึง 400 เซนติเมตร 220
ตู้หนังสือ ยาว .................. เซนติ เมตร

หรือลำาตัว 3 4
ยาว ......................... เมตร ถึง ......................... เมตร 220 ซม. 2 20 เมตร
หรือ ยาว .................. เมตร .................. เซนติ

100 |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 101


278
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว บทที่ 3 | การวัดความยาว

ฝกึ
แบบ หดั
3 โยงเส้นจับคู่สิ่งที่มีความยาวหรือความสูงเท่ากัน
3.4 การคาดคะเนความยาวเป็นเมตร
ชั้นวางหนังสือยาว
1) ตึกสูง 900 เซนติเมตร 1 เขียนเครื่องหมาย  ✓ เพื่อคาดคะเนความยาวของสิ่งต่าง ๆ แล้ววัดความยาวจริง
1 เมตร 20 เซนติเมตร

1)
คาดคะเน
สิ่งที่คาดคะเน วัดจริง
มากกว่า 1 เมตร น้อยกว่า 1 เมตร

2) ช้างสูง 3 เมตร เสาธงสูง 9 เมตร ความสูงของตู้เย็น .................. .................. ....................................

2)
คาดคะเน
สิ่งที่คาดคะเน วัดจริง
มากกว่า 2 เมตร น้อยกว่า 2 เมตร

3) ตู้เย็นสูง
โต๊ะครูยาว 120 เซนติเมตร ความสูงของประตูบ้าน .................. .................. ....................................
1 เมตร 30 เซนติเมตร

3)
คาดคะเน
สิ่งที่คาดคะเน วัดจริง
ประตูห้องเรียนสูง มากกว่า 2 เมตร น้อยกว่า 2 เมตร
4) ต้นไม้สูง 300 เซนติเมตร
200 เซนติเมตร ความกว้างของห้องนอน .................. .................. ....................................

4)
คาดคะเน
สิ่งที่คาดคะเน วัดจริง
5) ใบบัวสูง 130 เซนติเมตร ตู้เสื้อผ้าสูง 2 เมตร มากกว่า 1 เมตร น้อยกว่า 1 เมตร

.................................... .................. .................. ....................................


*คำ�ตอบขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครู

102 |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 103


279
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว บทที่ 3 | การวัดความยาว

ฝกึ
2 เติมคำาตอบ แบบ หดั

3.5 การเปรียบเทียบความยาว (1)
1)
1 เติมคำาตอบ และเติมคำาว่า สูงกว่า เตี้ยกว่า หรือ สูงเท่ากับ
150
ซม.

140

130

120

110

100

น้ำา คาดคะเนความยาวของเชือกกระโดด 4 เมตร 90

ฝน คาดคะเนความยาวของเชือกกระโดด 3 เมตร
80

70

ฟ้า คาดคะเนความยาวของเชือกกระโดด 2 เมตร 60

50

3
วัดจริง เชือกกระโดดยาว 280 เซนติเมตร ใกล้เคียงความยาว .................. เมตร 40

30

20

10

2)
ต้น น้ำา ขวัญ ตั้ม ตูน
105
1) ตั้มสูง ......................... เซนติ เมตร
สูงเท่ากับ
2) ต้น ......................... ตั ้ม
ขวัญ
3) ถ้าให้คนสูงที่สุดยืนท้ายแถว จะได้ ......................... ยื นท้ายแถว
นก คาดคะเนความยาวเชือก 1 เมตร
ตาล คาดคะเนความยาวเชือก 4 เมตร ตูน
4) ......................... เตี ้ยที่สุด
ตุ๊ก คาดคะเนความยาวเชือก 3 เมตร สูงกว่า
5) ต้น ......................... ตู 15
น อยู่ ......................... เซนติ เมตร
น้อย คาดคะเนความยาวเชือก 2 เมตร
เตี้ยกว่า
6) น้ำา ......................... ขวั 20
ญ อยู่ ......................... เซนติ เมตร
2
วัดจริง เชือกยาว 195 เซนติเมตร ใกล้เคียงความยาว....................เมตร 7) เรียงลำาดับคนตามความสูงจากน้อยไปมากได้ดังนี้
ตูน ต้น ตั้ม น้ำ� ขวัญ หรือ ตูน ตั้ม ต้น น้ำ� ขวัญ
………………………………………………………………………………………………
104 |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 105
280
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว บทที่ 3 | การวัดความยาว

ฝกึ
2 เติมคำาตอบ และเติมคำาว่า สั้นกว่า ยาวกว่า หรือ ยาวเท่ากับ แบบ หดั

3.6 การเปรียบเทียบความยาว (2)
1) เชือกสีแดง ยาว 158 เซนติเมตร เชือกสีน้ำาเงิน ยาว 162 เซนติเมตร 1 เติมคำาตอบ  และเติมคำาว่า ยาวกว่า สั้นกว่า หรือ ยาวเท่ากับ
สั้นกว่า
เชือกสีแดง ......................... เชื อกสีน้ำาเงิน

2) ผ้าสีเหลืองยาว 2 เมตร 15 เซนติเมตร ผ้าสีฟ้ายาว 3 เมตร


ยาวกว่า
ผ้าสีฟ้า ......................... ผ้ าสีเหลือง ริบบิ้น เชือกไนล่อน ธงราวสามเหลี่ยม
8 ม. 45 ซม. 925 ซม. 505 ซม.
3) อาคาร A สูง 15 เมตร อาคาร B สูง 11 เมตร อาคาร C สูง 19 เมตร
C
อาคาร ......................... สู B
งที่สุด อาคาร ......................... เตี ้ยที่สุด
8
อาคารที่สูงที่สุดสูงกว่าอาคารที่เตี้ยที่สุดอยู่ ......................... เมตร
กระดาษสายรุ้ง เชือกสีแดง บันได
4) ผลการแข่งขันกระโดดสูงของกีฬาสีโรงเรียนแห่งหนึ่ง 6 ม. 40 ซม. 640 ซม. 2 ม. 50 ซม.
นักกีฬาสีแดง กระโดดได้ 1 เมตร 59 เซนติเมตร
845
1) ริบบิ้นยาว 8 เมตร 45 เซนติเมตร หรือ ......................... เซนติ เมตร
นักกีฬาสีเหลือง กระโดดได้ 95 เซนติเมตร
925
เชือกไนล่อนยาว ......................... เซนติ เมตร
นักกีฬาสีเขียว กระโดดได้ 1 เมตร 80 เซนติเมตร
สั้นกว่า
ดังนั้น ริบบิ้น .................................................. เชื อกไนล่อน
นักกีฬาสีชมพู กระโดดได้ 2 เมตร 5 เซนติเมตร
6
2) เชือกสีแดง ยาว 640 เซนติเมตร หรื 40 เมตร
อ .............. เมตร ............ เซนติ
ผลการแข่งขัน
6 40 เมตร
กระดาษสายรุ้ง ยาว .................. เมตร ……………… เซนติ
สีชมพู
เหรียญทอง ได้แก่ นักกีฬา ......................... ยาวเท่ากับ
ดังนั้น เชือกสีแดง .................................................. กระดาษสายรุ ้ง
สีเขียว
เหรียญเงิน ได้แก่ นักกีฬา .........................
สีแดง 2 เมตร 50 เซนติเมตร หรือ 250 เซนติเมตร
3) บันไดยาว .............………………………………………………………………………...
เหรียญทองแดง ได้แก่ นักกีฬา .........................
505 เซนติเมตร
ธงราวสามเหลี่ยมยาว .............………..……………………………………..………..
ยาวกว่า
ดังนั้น ธงราวสามเหลี่ยม .................................................. บั นได

106 |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 107


281
แบบฝ�กหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว บทที่ 3 | การวัดความยาว

ฝกึ
2 เติมคำาตอบ  และเติมคำาว่า เตี้ยกว่า สูงกว่า หรือ สูงเท่ากับ แบบ หดั

3.7 การวัดและเปรียบเทียบระยะทาง
1 เติมคำาตอบ

ตึกใบหยก 2 ตึกมหานคร เสาธง 680 เมตร


โรงเรียน
304 ม. 314 ม. 750 ซม.
420 เมตร
สนามเด็กเล�น
12
11 1
10 2
9 3
8 4
7 6 5

705 เมตร 378 เมตร


489 เมตร
225 เมตร
338 เมตร หอนา�ิกา

ตึกเอ็มไพร์ทาวเวอร์ เสาชิงช้า ตึกช้าง 520 เมตร


226 ม. 80 ซม. 21 ม. 15 ซม. 102 ม. บ�านแก�วตา บ�านใบบัว

ตึกมหานคร
1) .......................................... สู งที่สุด 705
1) แก้วตาเดินทางจากบ้านไปโรงเรียนเป็นระยะทาง .................. เมตร
เสาธง
2) .......................................... เตี ้ยที่สุด 645
2) ใบบัวเดินทางจากบ้านไปโรงเรียนผ่านหอนาฬิกาเป็นระยะทาง ............... เมตร
202
3) ตึกใบหยก 2 สูงกว่าตึกช้างอยู่ .......................................... เมตร 680
3) ระยะห่างของโรงเรียนกับสนามเด็กเล่นเท่ากับ .................. เมตร
เตี้ยกว่า
4) เสาธง .......................................... เสาชิ งช้า 489
4) ระยะห่างของบ้านใบบัวกับสนามเด็กเล่นเท่ากับ .................. เมตร

เตี้ยกว่า
5) ตึกเอ็มไพร์ทาวเวอร์ .......................................... ตึ กใบหยก 2 716
5) แก้วตาเดินจากสนามเด็กเล่นกลับบ้านเป็นระยะทาง .................. เมตร

สูงกว่า
6) ตึกมหานคร .......................................... ตึ กช้าง

108 |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 109


282
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว บทที่ 3 | การวัดความยาว

2 เติมคำาว่า มากกว่า  น้อยกว่า หรือ เท่ากับ 3 เติมคำาตอบ

1) ผลการแข่งขันขว้างจักรหญิงของกีฬาสีโรงเรียนแห่งหนึ่ง
1) นิดเดินไปวัดเป็นระยะทาง 120 เมตร ฟ้าเดินไปวัดเป็นระยะทาง 80 เมตร
มากกว่า นักกีฬาสีแดง ขว้างได้ 7 เมตร 59 เซนติเมตร
50 เซนติเมตร นิดเดินไปวัดเป็นระยะทาง ......................... ระยะทางที ่ฟ้า
นักกีฬาสีเหลือง ขว้างได้ 895 เซนติเมตร
เดินไปวัด
นักกีฬาสีเขียว ขว้างได้ 780 เซนติเมตร
นักกีฬาสีชมพู ขว้างได้ 8 เมตร 75 เซนติเมตร
2) ใบบัววัดระยะทางจากบ้านไปบ้านขุนได้ 125 เมตร
ใบเตยวัดระยะทางจากบ้านไปบ้านแก้วตาได้ 119 เมตร 65 เซนติเมตร ผลการแข่งขัน เหรียญทอง สีเหลือง
ได้แก่ นักกีฬา .........................
มากกว่า
ระยะทางจากบ้านใบบัวไปบ้านขุน ......................... ระยะทางจาก เหรียญเงิน สีชมพู
ได้แก่ นักกีฬา .........................

บ้านใบเตยไปบ้านแก้วตา สีเขียว
เหรียญทองแดง ได้แก่ นักกีฬา .........................

2) ผลการแข่งขันการพุ่งเครื่องบินกระดาษ
3) หนังสือเล่มสีแดงอยู่ห่างจากโต๊ะครู 190 เซนติเมตร หนังสือเล่มสีฟ้าอยู่ห่าง
ใบบัว พุ่งได้ 5 เมตร 95 เซนติเมตร
จากโต๊ะครู 1 เมตร 90 เซนติเมตร
ต้นกล้า พุ่งได้ 695 เซนติเมตร
เท่ากับ
หนังสือเล่มสีแดงอยู่ห่างจากโต๊ะครู ......................... หนั งสือเล่มสีฟ้า
แก้วตา พุ่งได้ 980 เซนติเมตร
ขุน พุ่งได้ 6 เมตร 8 เซนติเมตร
4) โต๊ะเรียนของต้นกล้าอยู่ห่างจากโต๊ะครู 240 เซนติเมตร ออมสิน พุ่งได้ 10 เมตร 15 เซนติเมตร
โต๊ะเรียนของขุนอยู่ห่างจากโต๊ะครู 1 เมตร 50 เซนติเมตร ออมสิน
เครื่องบินของ ......................... พุ ่งได้ไกลที่สุด
โต๊ะเรียนของแก้วตาอยู่ห่างจากโต๊ะครู 1 เมตร 15 เซนติเมตร ใบบัว
เครื่องบินของ ......................... พุ ่งได้ใกล้ที่สุด
มากกว่า
โต๊ะเรียนของต้นกล้าอยู่ห่างจากโต๊ะครู ......................... โต๊ ะเรียนของขุน ออมสิน
เครื่องบินของ ........................................ พุ ่งได้ไกลกว่าเครื่องบินของแก้วตา
น้อยกว่า
โต๊ะเรียนของแก้วตาอยู่ห่างจากโต๊ะครู ......................... โต๊ ะเรียนของขุน ถ้าเครื่องบินพุ่งได้มากกว่า 6 เมตร 50 เซนติเมตรจะได้รับรางวัล
มากกว่า
โต๊ะเรียนของต้นกล้าอยู่ห่างจากโต๊ะครู ......................... โต๊ ะเรียนของแก้วตา ออมสิน แก้วตา ต้นกล้า
คนที่ได้รับรางวัลได้แก่ .............................................................................

110 |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 111
283
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว บทที่ 3 | การวัดความยาว

ฝกึ
แบบ หดั 3 เขียนแสดงวิธีหาคำาตอบ
3.8 การบวกและการลบเกี่ยวกับความยาว
1) 48 เมตร 23 เซนติเมตร รวมกับ 21 เมตร 97 เซนติเมตร เท่ากับเท่าไร
1 เชือกสีแดง ยาว 2 เมตร 25 เซนติเมตร   วิธีทำา เมตร เซนติเมตร
48 23
......................................................................
เชือกสีฟ้า ยาว 3 เมตร 12 เซนติเมตร 21 97
+
......................................................................
69 120
......................................................................
นำาเชือกสีแดงมาวางต่อกับเชือกสีฟ้าได้เชือกที่มีความยาวทั้งหมดเท่าไร
หรือ 70 20
......................................................................
ตอบ ................ เมตร ................ เซนติ
๗๐ ๒๐ เมตร
วิธีทำา เมตร เซนติเมตร

เชือกสีแดงยาว 2
25
2) 23 เมตร 19 เซนติเมตร มากกว่า 11 เมตร 98 เซนติเมตร อยู่เท่าไร
+
เชือกสีฟ้ายาว 3 12   วิธีทำา เมตร เซนติเมตร
22 119
ได้เชือกที่มีความยาวทั้งหมด 5 37
23 19
......................................................................
11 98
-
๕ ๓๗
ตอบ ได้เชือกที่มีความยาวทั้งหมด ........... เมตร ........... เซนติ เมตร ......................................................................
11 21
......................................................................
......................................................................
2 ริบบิ้นสีแดง ยาว 23 เมตร 78 เซนติเมตร ริบบิ้นสีฟ้า ยาว 359 เซนติเมตร ................ เมตร ................ เซนติ
๑๑ ๒๑
ตอบ เมตร
ริบบิ้นสีแดงยาวกว่าริบบิ้นสีฟ้าเท่าไร
3) 59 เมตร 28 เซนติเมตร น้อยกว่า 84 เมตร 72 เซนติเมตร อยู่เท่าไร
วิธีทำา เมตร เซนติเมตร
  วิธีทำา เมตร เซนติเมตร
ริบบิ้นสีแดงยาว 23
78
84 72
......................................................................

59 28
-
ริบบิ้นสีฟ้ายาว 3 59 ......................................................................
ริบบิ้นสีแดงยาวกว่าริบบิ้นสีฟ้า 20 19 25 44
......................................................................
......................................................................
ตอบ ริบบิ้นสีแดงยาวกกว่าริบบิ้นสีฟ ้า ........... เมตร ........... เซนติ
๒๐ ๑๙ เมตร
ตอบ ................ เมตร ................ เซนติ
๒๕ ๔๔ เมตร

112 |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 113


284
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว บทที่ 3 | การวัดความยาว

ฝกึ
แบบ หดั

4) 53 เมตร 79 เซนติเมตร รวมกับ 815 เซนติเมตร เท่ากับเท่าไร


3.9 โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ (1)
  วิธีทำา เมตร เซนติเมตร แสดงวิธีหาคำาตอบ
53 79
......................................................................
8 15
+
...................................................................... 1 ใบบัวใช้ริบบิ้นสีแดงทำาดอกไม้ประดิษฐ์ 19 เมตร 28 เซนติเมตร ใช้ริบบิ้น
61 94
...................................................................... สีเขียวทำาใบไม้ 23 เมตร 19 เซนติเมตร ใบบัวใช้ริบบิ้นทั้งหมดเท่าไร
......................................................................
ตอบ ................ เมตร ................ เซนติ
๖๑ ๙๔ เมตร โจทย์ถาม ใบบัวใช้ริบบิ้นทั้งหมดเท่าไร
  โจทย์บอก ใบบัวใช้ริบบิ้นสีแดงทำาดอกไม้ประดิษฐ์ 19 เมตร 28 เซนติเมตร
ใช้ริบบิ้นสีเขียวทำาใบไม้ 23 เมตร 19 เซนติเมตร
วิธีทำา  เมตร เซนติเมตร
..................................................................................................
5) 9 เมตร 13 เซนติเมตร มากกว่า 467 เซนติเมตร อยู่เท่าไร
  วิธีทำา เมตร เซนติเมตร ใบบัวใช้ริบบิ้นสีแดงทำ� ดอกไม้ 19 28
..................................................................................................

8
9
113
13
......................................................................
+
4 67
- ใช้ริบบิ้นสีเขียวทำ�ใบไม้ 23 19
..................................................................................................
......................................................................
4 46
...................................................................... ใบบัวใช้ริบบิ้นทั้งหมด 42 47
..................................................................................................
......................................................................
..................................................................................................
ตอบ ................ เมตร ................ เซนติ
๔ ๔๖ เมตร
..................................................................................................

๔๒ ๔๗
ตอบ ใบบัวใช้ริบบิ้นทั้งหมด ..................... เมตร ..................... เซนติ เมตร

114 |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 115


285
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝ�กหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว บทที่ 3 | การวัดความยาว

4 ตึกมหานครสูง 314 เมตร เสาชิงช้าสูง 21 เมตร 15 เซนติเมตร


ตึกมหานครสูงกว่าเสาชิงช้าเท่าไร
ต�นน้ำ

ิเมต
นต
5
เซ
27
เมต วิธีทำา เมตร เซนติเมตร
..................................................................................................
ต ร8 ร1
5เ 313 100
เม ซน
ตึกมหานครสูง 314 0
..................................................................................................
19
-
ติเม
ตร
32 เมตร 54 เซนต
ต�นข�าว ิเมตร
เสาชิงช้าสูง 21 15
..................................................................................................
ต�นตาล

ตึกมหานครสูงกว่าเสาชิงช้า 292 85
..................................................................................................
2 จากรูป ระยะทางจากต้นน้ำาไปถึงต้นตาลสั้นกว่าระยะทางจากต้นข้าวไปถึง
..................................................................................................
ต้นตาลเท่าไร
..................................................................................................
วิธีทำา เมตร เซนติเมตร
..................................................................................................
ตอบ ตึกมหานครสูงกว่าเสาชิง ช้า ................ เมตร ................ เซนติ
๒๙๒ ๘๕ เมตร
ระยะทางจากต้นข้าวไปถึงต้ นตาล 32 54
..................................................................................................
ระยะทางจากต้นน้ำ�ไปถึงต้น ตาล 27 15
-
..................................................................................................
ระยะทางสั้นกว่า 5 39
..................................................................................................
ตอบ ระยะทางจากต้นน้ำาไปถึงต้นตาลสั้นกว่าระยะทางจากต้นข้าว
5 ตู้คอนเทนเนอร์สูง 228 เซนติเมตร นำามาวางซ้อนกัน 2 ตู้
๕ ๓๙
ไปถึงต้นตาล ..................... เมตร ..................... เซนติ เมตร จะมีความสูงรวมกันเท่าไร

3 จากรูป ระยะทางจากต้นข้าวไปถึงต้นน้ำารวมกับระยะทางจากต้นน้ำาไปถึง วิธีทำา เมตร เซนติเมตร


..................................................................................................
ต้นตาลเป็นเท่าไร ตู้คอนเทนเนอร์ตู้แรกสูง 2 28
..................................................................................................
เมตร เซนติเมตร
ตู้คอนเทนเนอร์ตู้สองสูง 2 28
+
วิธีทำา ระยะทางจากต้นข้าวไปถึงต้ นน้ำ� 19 85
.................................................................................................. ..................................................................................................
ระยะทางจากต้นน้ำ�ถึงต้นตาล 27 15
+ นำ�มาวางซ้อนกันสูง 4 56
..................................................................................................
..................................................................................................
ระยะทางรวมกันเป็น 46 100
.................................................................................................. ..................................................................................................
หรือ 47 -
.................................................................................................. ..................................................................................................
ตอบ ระยะทางจากต้นข้าวไปถึงต้นน้ำารวมกับระยะทางจากต้นน้ำา น ................ เมตร ................ เซนติ
ตอบ จะมีความสูงรวมกั ๔ ๕๖ เมตร
๔๗
ไปถึงต้นตาลเป็น ..................... เมตร ..................... เซนติ เมตร

116 |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 117


286
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว บทที่ 3 | การวัดความยาว

ฝกึ
แบบ หดั

3.10 โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ (2) 3 ระยะทางจากบ้านไปวัด 350 เมตร ระยะทางจากบ้านไปวัดสั้นกว่า


ระยะทางจากบ้านไปตลาด 150 เมตร 70 เซนติเมตร ระยะทางจากบ้าน
แสดงวิธีหาคำาตอบ ไปตลาดเท่ากับเท่าไร

1 ช่างตัดเสื้อใช้ผ้าในการตัดชุดราตรี 4 เมตร 25 เซนติเมตร ใช้ผ้าในการตัด วิธีทำา เมตร เซนติเมตร


..................................................................................................
ชุดทำางานมากกว่าชุดราตรี 1 เมตร 50 เซนติเมตร ช่างตัดเสื้อใช้ผ้า ระยะทางจากบ้านไปวัด 350 0
..................................................................................................
ในการตัดชุดทำางานเท่าไร

ระยะทางจากบ้านไปวัดสั้นกว่า
150 70
+
..................................................................................................
ระยะทางจากบ้านไปตลาด

โจทย์ถาม ช่างตัดเสื้อใช้ผ้าในการตัดชุดทำางานเท่าไร ระยะทางจากบ้านไปตลาด 500 70


..................................................................................................
  โจทย์บอก ช่างตัดเสื้อใช้ผ้าในการตัดชุดราตรี 4 เมตร 25 เซนติเมตร
ใช้ผ้าในการตัดชุดทำางานมากกว่าชุดราตรี 1 เมตร 50 เซนติเมตร ตอบ ระยะทางจากบ้านไปตลาดเท่า กับ ................ เมตร ................ เซนติ
๕๐๐ ๗๐ เมตร
วิธีทำา เมตร เซนติเมตร
..................................................................................................
ใช้ผ้าตัดชุดราตรี 4 25
..................................................................................................
ชุดทำ�งานใช้ผ้ามากกว่าชุด ราตรี 1 50 +
..................................................................................................
ใช้ผ้าตัดชุดทำ�งาน 5 75 4 ระยะห่างระหว่างเรือเล็กกับท่าเรือ 780 เมตร ระยะห่างระหว่างเรือใหญ่
..................................................................................................
กับท่าเรือน้อยกว่าระยะห่างระหว่างเรือเล็กกับท่าเรือ 230 เมตร
ตอบ ช่างตัดเสื้อใช้ผ้าในการตัดชุดทำ างาน ........... เมตร ........... เซนติ
๕ ๗๕ เมตร 90 เซนติเมตร เรือใหญ่อยู่ห่างจากท่าเรือเท่าไร

2 ในการแข่งขันกระโดดสูง ธีระกระโดดได้ 2 เมตร 5 เซนติเมตร วิธีทำา เมตร เซนติเมตร


..................................................................................................
ธีระกระโดดได้สูงกว่านิธิ 17 เซนติเมตร นิธิกระโดดได้สูงเท่าไร 779 100
ระยะห่างระหว่างเรือเล็กกับ ท่าเรือ 780 0
..................................................................................................
โจทย์ถาม นิธิกระโดดได้สูงเท่าไร ระยะห่างระหว่างเรือใหญ่กับท่ 230
-
..................................................................................................
าเรือน้อยกว่า 90
  โจทย์บอก ในการแข่งขันกระโดดสูง ธีระกระโดดได้ 2 เมตร 5 เซนติเมตร เรือใหญ่อยู่ห่างจากท่าเรือ 549 10
..................................................................................................
ธีระกระโดดได้สูงกว่านิธิ 17 เซนติเมตร
วิธีทำา เมตร เซนติเมตร
.................................................................................................. ตอบ เรือใหญ่อยู่ห่างจากท่า เรือ ................ เมตร ................ เซนติ
๕๔๙ ๑๐ เมตร
1 105
ธีระกระโดดได้สูง 2 5
..................................................................................................
ธีระกระโดดสูงกว่านิธิ 17
-
..................................................................................................
นิธิกระโดดได้สูง 1 88
..................................................................................................
สูง ........... เมตร ........... เซนติ
ตอบ นิธิกระโดดได้ ๑ ๘๘ เมตร
118 |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 119
287
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว บทที่ 3 | การวัดความยาว

5 วันแรกช่างซ่อมถนนได้ระยะทาง 740 เมตร วันแรกซ่อมได้ระยะทาง   แบบฝึกท้าทาย


มากกว่าวันที่สอง 40 เมตร 50 เซนติเมตร วันที่สองช่างซ่อมถนนได้
ตอบคำาถามท้าทาย และสร้างโจทย์ปัญหาพร้อมหาคำาตอบ
ระยะทางเท่าไร

วิธีทำา เมตร เซนติเมตร


..................................................................................................
739 100
วันแรกช่างซ่อมถนนได้ระยะทาง 740 0
.................................................................................................. สนามเด็กเล�น
-
300 ม. บ�านนก

วันแรกซ่อมได้ระยะทางมากกว่ 40 50
..................................................................................................
าวันที่สอง
425 ม.
500 ม.
วันที่สองช่างซ่อมถนนได้ 699 50
.................................................................................................. 450 ม.
โรงเรียน
๖๙๙ ๕๐
ตอบ วันที่สองช่างซ่อมถนนได้ระยะทาง ............ เมตร ............ เซนติ เมตร
200 ม.
300 ม.

213 ม. 300 ม. สถานีรถไฟ


150 ม. ตลาด
350 ม.

550 ม.
6 ริบบิ้นผ้ายาว 50 เมตร 5 เซนติเมตร ริบบิ้นผ้ายาวน้อยกว่าริบบิ้นกระดาษ
215 เซนติเมตร ริบบิ้นกระดาษยาวเท่าไร โรงพยาบาล ที่ทำการไปรษณีย�

วิธีทำา เมตร เซนติเมตร


.................................................................................................. คำาถามท้าทาย
ริบบิ้นผ้ายาว 50 5
.................................................................................................. นกเดินทางจากบ้านไปทีท
่ าำ การไปรษณียด
์ ว้ ยเส้นทางใดใกล้ทส่ี ด
ุ เป็นระยะทางเท่าไร
ริบบิ้นผ้ายาวกว่าริบบิ้นกระดาษ 2 15
+
.................................................................................................. แนวการหาคำาตอบ
ริบบิ้นกระดาษยาว 52 20
..................................................................................................
นกเดินจากบ้าน ผ่านตลาดไปที่ทำ�การไปรษณีย์
๕๒ ๒๐
ตอบ ริบบิ้นกระดาษยาว ................ เมตร ................ เซนติ เมตร เป็นระยะทาง 450 + 350 = 800 เมตร
นกเดินจากบ้าน ผ่านสถานีรถไฟฟ้าไปที่ทำ�การไปรษณีย์
เป็นระยะทาง 500 + 150 = 650 เมตร
ดังนั้น นกเดินจากบ้านผ่านสถานีรถไฟฟ้าไปที่ทำ�การไปรษณีย์ใกล้ที่สุด

120 |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 121


288
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 3 | การวัดความยาว

บทที
แบบฝึก่ หั1ด
บทที่ 4 การวัดน้ำาหนัก
สร้างโจทย์ปัญหา : .............................................................................................
ฝกึ
ระยะทางจากบ้านนกไปสนามเด็กเล่น 300 เมตร แบบ หดั
............................................................................................................................
ระยะทางจากบ้านนกไปตลาด 450 เมตร
............................................................................................................................
4.1 การวัดน้ำาหนักเป็นกิโลกรัมและขีด
ระยะทางจากบ้านนกไปตลาดมากกว่าระยะทางจากบ้านนกไปสนามเด็กเล่นเท่าใร
............................................................................................................................ 1 โยงเส้นจับคู่เครื่องชั่งกับน้ำาหนัก

หาคำาตอบ 1)
2 กิโลกรัม 5 ขีด
ระยะทางจากบ้านนกไปสนามเด็กเล่น 300 เมตร
OG 0
  วิ ธีทำา ..................................................................................................

L
KI
3 1

ระยะทางจากบ้านนกไปตลาด 450 เมตร


..................................................................................................
2

ระยะทางจากบ้านนกไปตลาดมากกว่าระยะทาง
..................................................................................................
จากบ้านนกไปสนามเด็กเล่น 450 - 300 = 150 เมตร
..................................................................................................
2)
ดังนั้น ระยะทางจากบ้านนกไปตลาดมากกว่าระยะทางจากบ้านนก
.................................................................................................. 1 กิโลกรัม 2 ขีด
OG
ไปสนามเด็กเล่น 150 เมตร
0

L
KI
๑๕๐ เมตร
3 1

ตอบ .................................................................................................. 2

*คำ�ตอบขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครู
3)
OG 0 2 กิโลกรัม 8 ขีด

L
KI
3 1
2

4)
OG 0

L
KI
3 1 1 กิโลกรัม 7 ขีด
2

122 |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 123


289
แบบฝ�กหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร� ป.2 แบบฝ�กหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร� ป.2
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

3 เขียนเข็มชี้น้ำาหนักที่หน้าปัดตามน้ำาหนักที่กำาหนด
2 อ่านน้ำาหนักและเติมคำาตอบ

1) 2) 1) แคร�รอตหนัก 1 กิโลกรัม 4 ขีด 2) ชมพู่หนัก 3 กิโลกรัม 8 ขีด

OG OG
IL IL 0
0

K
1
K

5 1 5

4 2 4 2
3 3

3 5
ฝรั่งหนัก .......... กิโลกรัม .......... ขีด
ผักกาดขาวหนั 1 5
ก .......... กิโลกรัม .......... ขีด OG
OG
IL IL 0
0

K
1

K
5 1 5

3) 4) 4 2 4 2
3 3
OG
IL 0 OG
IL 0
K

5 1
K

5 1
4 2 4 2
3 3
3) ส้มโอหนัก 2 กิโลกรัม 2 ขีด 4) แตงไทยหนัก 4 กิโลกรัม 9 ขีด

2 2
มังคุดหนัก .......... กิโลกรัม .......... ขีด 4
มันเทศหนัก .......... กิโลกรัม .......... ขีด

5) 6)

OG OG OG OG
IL
IL IL 0
0
0
IL 0
K

1
K

5 5 1

K
1

K
5 1 5
4 2 4 2
3 3
4 2 4 2
3 3
ลิ้นจี่หนัก ..........
1 3 กิโลกรัม .......... ขีด น้อ 2 6
ยหน่าหนัก .......... กิโลกรัม .......... ขีด

124 |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 125


290
แบบฝ�กหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร� ป.2 แบบฝ�กหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร� ป.2
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

ฝกึ
แบบ หดั
2 เติมคำาตอบ
4.2 การวัดน้ำาหนักตัว

1 อ่านน้ำาหนักและเติมคำาตอบ

1) 18
19

20
17
31 9
40 30

น้ำาหนัก .......... กิโลกรัม .......... ขีด

18 19

17

20
40 30

2)

28
น้ำาหนัก .......... กิโลกรัม .......... ขีด
1) 37 9
ขุนหนัก ..................... กิโลกรัม .................... ขีด

3)
2) 18 6
แก้วตาหนัก ............... กิโลกรัม .................... ขีด

44 8
น้ำาหนัก .......... กิโลกรัม .......... ขีด 3) 22
ใบบัวหนัก ................. กิโลกรัม .................... ขีด

4)
4) ........................................................
แก้วตา เบาที่สุด

50 5
น้ำาหนัก .......... กิโลกรัม .......... ขีด
5) ........................................................
ขุน หนักที่สุด

126 |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 126 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 127


291
แบบฝ�กหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร� ป.2 แบบฝ�กหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร� ป.2
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

ฝกึ
แบบ หดั
2 อ่านน้ำาหนักสิ่งของและเติมคำาตอบ
4.3 การวัดน้ำาหนักเป็นกรัม
1) 2)
1 โยงเส้นจับคู่เครื่องชั่งกับน้ำาหนัก

1)

OG 0 300 กรัม OG OG
0 0
L
KI

L
L
3 1

KI
KI
2 3 1 3 1
2 2
2)
OG 0
1,000 กรัม มะเขื 500 850
L

อหนัก ........................ กรัม พริกหยวกหนัก ........................ กรัม


KI

3 1
2

3) 4)
3)
OG 0
L
KI

3 1 750 กรัม
2 OG 0 OG 0

L
KI

KI
3 1 3 1

4) 2 2
OG 0
L

500 กรัม
KI

3 1
2 400
มะนาวหนั ก ........................ กรัม 800
ถั่วฝักยาวหนัก ........................ กรัม

128 |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 129


292
แบบฝ�กหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร� ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

ฝกึ
3 เขียนเข็มชี้น้ำาหนักที่หน้าปัดตามน้ำาหนักที่กำาหนด แบบ หดั

4.4 การวัดน้ำาหนักเป็นกิโลกรัมและกรัม
1) ผักกาดหอมหนัก 400 กรัม 2) ถั่วงอกหนัก 350 กรัม
1 โยงเส้นจับคู่เครื่องชั่งกับน้ำาหนัก

1) 4 กิโลกรัม 600 กรัม


OG 0

L
KI
3 1

OG OG 0
2
0

L
L

KI
KI

3 1 3 1
2 2 2)
OG 0 1 กิโลกรัม 400 กรัม

L
KI
3 1
2

3) ถั่วเหลืองหนัก 1,000 กรัม 4) ถั่วเขียวหนัก 500 กรัม

3)
3 กิโลกรัม 700 กรัม
OG
IL 0

K
5 1

4 2
3

OG 0 OG 0
L

L
KI

KI

3 1 3 1 4)
OG
IL 0
2 2 2 กิโลกรัม 500 กรัม
K
5 1

4 2
3

130 |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 131


293
แบบฝ�กหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร� ป.2 แบบฝ�กหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร� ป.2
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

2 อ่านน้ำาหนักและเติมคำาตอบ 3 เขียนเข็มชี้น้ำาหนักที่หน้าปัดตามน้ำาหนักที่กำาหนด

1) กุ้งแห้งหนัก 1 กิโลกรัม 500 กรัม 2) ทุเรียนทอดหนัก 4 กิโลกรัม 100 กรัม

1) IL
OG
0
หอยแครงหนั 3 500
ก .......... กิโลกรัม ................. กรัม
K

5 1

4 2
3

OG OG
1 400
OG
IL 0 IL 0
IL 0
2) หมึกหนัก .......... กิโลกรัม ................. กรัม
K

5 1

K
1

K
5 5 1
4 2
3
4 2 4 2
3 3

3)
IL
OG
0 2 200
ปลาทูหนัก .......... กิโลกรัม ................. กรัม
K

5 1

4
3
2
3) หมึกแห้งหนัก 1 กิโลกรัม 700 กรัม 4) ปลาเค็มหนัก 2 กิโลกรัม 800 กรัม

4)
IL
OG
0 2 600
กุ้งหนัก .......... กิโลกรัม ................. กรัม
K

5 1

4 2
3

OG OG
IL IL 0
0

K
1

K
5 1 5

4 2 4 2
3 3
4 350
OG
IL 0
5) ปูหนัก .......... กิโลกรัม ................. กรัม
K

5 1

4 2
3

132 |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 133


294
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

ฝกึ
แบบ หดั 2 เติมตัวเลขแสดงจำานวน
4.5 ความสัมพันธ์ของหน่วยน้ำาหนัก
1) กุ้งหนัก 12 ขีด เท่ากั 1 2
บ กุ้งหนัก .......... กิโลกรัม .................... ขีด
1 เติมตัวเลขแสดงจำานวน

1) 100
กะปิหนัก 1 ขีด เท่ากับ กะปิหนัก ........................................ กรัม
2) ปลาหนัก 15 ขีด เท่ากั 1 5
บ ปลาหนัก .......... กิโลกรัม .................. ขีด

2) 400
พริกไทยหนัก 4 ขีด เท่ากับ พริกไทยหนั ก ............................ กรัม
3) หมึกหนัก 25 ขีด เท่ากั 2 500
บ หมึกหนัก .......... กิโลกรัม .................. กรัม

3) 800
มะระหนัก 8 ขีด เท่ากับ มะระหนัก ...................................... กรัม

4) ปูหนัก 32 ขีด เท่า 3 200


กับ ปูหนัก .......... กิโลกรัม ....................... กรัม

4) 1,000
แตงกวาหนัก 10 ขีด เท่ากับ แตงกวาหนั ก ........................... กรัม

5) 1 200
ไก่หนัก ........... กิโลกรัม ..................... กรัม เท่ากับ ไก่หนัก 12 ขีด
5) ก ............................
กุ้งแห้งหนัก 200 กรัม เท่ากับ กุ้งแห้งหนั 2 ขีด

6) เป็ดหนัก 23 ขีด เท่ากั 2 300


บ เป็ดหนัก .......... กิโลกรัม ................. กรัม
6) ถั่วเขียวหนัก 400 กรัม เท่ากับ ถั่วเขีย วหนัก .........................
4 ขีด

25
7) ปลาทูหนัก 2 กิโลกรัม 500 กรัม เท่ากับ ปลาทู หนัก ................. ขีด
7) หนัก .........................
พริกป่นหนัก 500 กรัม เท่ากับ พริกป่น 5 ขีด


10 8) 46
หอยลายหนัก 4 กิโลกรัม 6 ขีด เท่ากับ หอยลายหนั ก ............ ขีด
8) เกลือหนัก 1,000 กรัม เท่ากับ เกลือหนั ก .............................. ขีด

134 |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 135


295
แบบฝ�กหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร� ป.2 แบบฝ�กหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร� ป.2
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

ฝกึ
3 โยงเส้นจับคู่สิ่งของที่มีน้ำาหนักเท่ากัน แบบ หดั

4.6 การเปรียบเทียบน้ำาหนัก (1)
1)

1 เติมคำาว่า หนักกว่า เบากว่า หรือ หนักเท่ากับ

1)

OG OG
กุ้งหนัก 12 ขีด ไก่หนัก 18 ขีด IL 0 IL 0

K
5 1 5 1

4 2 4 2
3 3
2)

หอมแดง เบากว่า
.................................... กระเทียม

2)
ปูหนัก 1 กิโลกรัม 8 ขีด ส้มหนัก 3 กิโลกรัม 2 ขีด
OG OG
IL 0 IL 0

K
5 1 5 1
3)
4 2 4 2
3 3

แตงโม เบากว่า
.................................... ทุเรียน
ปลาหนัก
2 กิโลกรัม 500 กรัม แคร�รอตหนัก 1,200 กรัม
3)
4)
OG OG
IL 0 IL 0

K
5 1 5 1

4 2 4 2
3 3

หมึกหนัก 32 ขีด หอมแดงหนัก 25 ขีด สับปะรด หนักกว่า


.................................... ส้มโอ

136 |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 137


296
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

ฝกึ
2 เติมคำาว่า หนักกว่า เบากว่า  หรือ หนักเท่ากับ แบบ หดั

4.7 การเปรียบเทียบน้ำาหนัก (2)
1) เบากว่า
ส้ม 3 กิโลกรัม 5 ขีด ................................. แตงโม 3 กิโลกรัม 6 ขีด
1 เติมคำาว่า หนักกว่า เบากว่า หรือ หนักเท่ากับ

2) หนักกว่า
ฝรั่ง 4 กิโลกรัม 9 ขีด ................................. ทับทิม 4 กิโลกรัม 3 ขีด
1) เบากว่า
ปลา 600 กรัม ............................................................... กุ้ง 7 ขีด

3) หนักเท่ากับ มังคุด 5 กิโลกรัมครึ่ง


น้อยหน่า 5 กิโลกรัม 5 ขีด .................................
2) หนักเท่ากับ
ไก่ 1,000 กรัม ............................................................. ปู 10 ขีด

4) เบากว่า มันแกว 7 กิโลกรัม 700 กรัม


มันเทศ 4 กิโลกรัม 700 กรัม ....................... หนักกว่า
3) ถั่วเขียว 20 ขีด ..................................................... เกลือ 200 กรัม

5) เบากว่า
องุ่น 7 กิโลกรัม 4 ขีด ................................. พุทรา 9 กิโลกรัม 4 ขีด เบากว่า
4) กุ้งแห้ง 900 กรัม .................................................. น้ำาตาล 10 ขีด

6) หนักกว่า
มะม่วง 3 กิโลกรัม 8 ขีด ................................. มะเฟือง 3 กิโลกรัม 5 ขีด หนักเท่ากับ
5) หอมแดง 1 กิโลกรัม .......................................... กระเทียม 10 ขีด

7) หนักเท่ากับ
ลองกอง 6 กิโลกรัม 500 กรัม ................................. ลำาไย 6 กิโลกรัมครึ่ง

8) หนักกว่า ส้มแก้ว 4 กิโลกรัม 600 กรัม


ส้มโอ 6 กิโลกรัม 600 กรัม ....................... IL
OG
0

K
5 1

4 2
3

9) เบากว่า
ลูกพลับ 8 กิโลกรัม 200 กรัม ................................... สละ 8 กิโลกรัมครึ่ง

10) หนักกว่า สาลี่ 7 กิโลกรัม 700 กรัม


มะปราง 9 กิโลกรัม 100 กรัม ..........................

138 |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 139


297
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

ฝกึ
2 เติมคำาว่า หนักกว่า เบากว่า หรือ หนักเท่ากับ แบบ หดั

4.8 การบวกและการลบเกี่ยวกับน้ำาหนัก (1)
1) เบากว่า
กระเทียม 12 ขีด .................................... กุ้งแห้ง 1 กิโลกรัม 4 ขีด
1 เติมตัวเลขแสดงจำานวน

2) หนักเท่ากับ
กุ้ง 21 ขีด .................................................. ปู 2 กิโลกรัม 100 กรัม
1) 4 กิโลกรัม 5 ขีด รวมกับ 3 4 8
ขีด เป็น ................ กิโลกรัม ...................... ขีด

3) หนักกว่า
ทุเรียน 28 ขีด ..................................... มังคุด 2 กิโลกรัม 600 กรัม 2) 1 กิโลกรัม 7 ขีด รวมกับ 2 1 9
ขีด เป็น ................. กิโลกรัม ..................... ขีด

หนักเท่ากับ 3) 8
6 กิโลกรัม 8 ขีด รวมกับ 2 กิโลกรั 8 ขีด
ม เป็น ................. กิโลกรัม .............
4) ผักบุ้ง 15 ขีด .............................................. ต้นหอม 1 กิโลกรัมครึ่ง

4)
2 กิโลกรัม 2 ขีด รวมกับ 1 กิโลกรั 3 6
ม 4 ขีด เป็น .......... กิโลกรัม ........... ขีด
5) เบากว่า
ละมุด 16 ขีด ....................................... ลำาไย 2 กิโลกรัม 600 กรัม

5)
4 กิโลกรัม 5 ขีด รวมกับ 5 กิโลกรั 9 8
ม 3 ขีด เป็น .......... กิโลกรัม ........... ขีด
6) หนักกว่า
ปู 5 กิโลกรัมครึ่ง ....................................................... ปลา 34 ขีด
6) 7 กิโลกรัม 6 ขีด มากกว่า 4 7 2 ขีด
ขีด อยู่ ....................... กิโลกรัม ...............

7) หนักกว่า
หอย 4 กิโลกรัม 400 กรัม ........................................ หมึก 24 ขีด
7) 8 กิโลกรัม 8 ขีด มากกว่า 3 กิโ 5 8 ขีด
ลกรัม อยู่ ............... กิโลกรัม ................

8) หนักเท่ากับ
ชมพู่ 3 กิโลกรัม 2 ขีด ........................................ น้อยหน่า 32 ขีด
8) 3 กิโลกรัม น้อยกว่า 5 กิโลกรัม 2 3 ขีด
3 ขีด อยู่ ............... กิโลกรัม ...............

OG
9) 7 ขีด น้อยกว่า 7 กิโลกรัม 8 7 1 ขีด
ขีด อยู่ ........................ กิโลกรัม ...............
IL 0
K

5 1

4 2
3

10)
5 กิโลกรัม 4 ขีด น้อยกว่า 9 กิโลกรั 4 2
ม 6 ขีด อยู่ .......... กิโลกรัม ........... ขีด

140 |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 141


298
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

2 เขียนแสดงวิธีหาคำาตอบ
5) 11 กิโลกรัม 3 ขีด รวมกับ 6) 14 กิโลกรัม 2 ขีด มากกว่า
9 กิโลกรัม 7 ขีด เท่ากับเท่าไร 6 กิโลกรัม 4 ขีด อยู่เท่าไร
1) 2 กิโลกรัม 8 ขีด รวมกับ 2) 7 กิโลกรัม 5 ขีด มากกว่า
1 กิโลกรัม 4 ขีด เท่ากับเท่าไร 2 กิโลกรัม 9 ขีด อยู่เท่าไร   วิธีทำา กิโลกรัม ขีด   วิธีทำา กิโลกรัม ขีด
13 12
11 3 14 2
+ –
  วิธีทำา กิโลกรัม ขีด   วิธีทำา กิโลกรัม ขีด 9 7 6 4
6 15
2 8
+
7 5

20 10 7 8
1 4 2 9 หรื 21
อ 0
3 12 4 6
ตอบ ..........
๒๑ กิโลกรัม .......... ขีด ตอบ ..........
๗ กิโลกรัม ..........
๘ ขีด
4
หรือ 2
7) 5 กิโลกรัม 8 ขีด รวมกับ 8) 4 กิโลกรัม 6 ขีด น้อยกว่า
ตอบ ..........
๔ กิโลกรัม ..........
๒ ขีด ตอบ ..........
๔ กิโลกรัม ..........
๖ ขีด 23 กิโลกรัม 6 ขีด เท่ากับเท่าไร 7 กิโลกรัม อยู่เท่าไร

  วิธีทำา กิโลกรัม ขีด   วิธีทำา กิโลกรัม ขีด


6 10
5 8 7 0
3) 4 กิโลกรัม 6 ขีด รวมกับ 4) 1 กิโลกรัม 3 ขีด น้อยกว่า + –
7 กิโลกรัม 5 ขีด เท่ากับเท่าไร 3 กิโลกรัม 1 ขีด อยู่เท่าไร 23 6 4 6
28 14 2 4
  วิธีทำา กิโลกรัม ขีด   วิธีทำา กิโลกรัม ขีด หรื อ 29 4
2 11
4 6 3 1
+ –
ตอบ ..........
๒๙ กิโลกรัม ..........
๔ ขีด ตอบ ..........
๒ กิโลกรัม ..........
๔ ขีด
7 5 1 3
11 11 1 8 3 เติมตัวเลขแสดงจำานวน
12
หรือ 1
1) 23
15 กิโลกรัม 1 ขีด รวมกับ 7 กิโลกรัม 9 ขีด เป็น .......... กิโลกรัม .......... ขีด

ตอบ ..........
๑๒ กิโลกรัม ..........
๑ ขีด ตอบ ..........
๑ กิโลกรัม ..........
๘ ขีด
2) 6
2 กิโลกรัม 5 ขีด น้อยกว่า 9 กิโลกรัม 3 ขีด อยู 8 ขีด
่ .......... กิโลกรัม ..........

142 |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 143


299
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

ฝกึ
แบบ หดั 2 เขียนแสดงวิธีหาคำาตอบ
4.9 การบวกและการลบเกี่ยวกับน้ำาหนัก (2)
1) 5 กก. 500 ก. รวมกับ 2) 6 กก. 200 ก. มากกว่า
1 เติมตัวเลขแสดงจำานวน
2 กก. 500 ก. เท่ากับเท่าไร 3 กก. 400 ก. อยู่เท่าไร

1) 5 กิโลกรัม 300 กรัม กับ 200 กรั 5 500


ม รวมเป็น .......... กิโลกรัม ...................... กรัม   วิธีทำา กิโลกรัม กรัม   วิธีทำา กิโลกรัม กรัม
5 500 6 200
+ –
ม รวมเป็น ..........
2) 2 กิโลกรัม กับ 4 กิโลกรัม 750 กรั 6 กิโลกรัม .....................
750 กรัม IL
OG
0 1
2 500 3 400

K
7
6 กก. 6
2
200 ก.
7 1,000 5 4 3 2 800
3) 100 กรัม กับ 1 กิโลกรัม 500 กรั 1 600
ม รวมเป็น .......... กิโลกรัม ...................... กรัม 8
หรือ 0 2 กก. 800 ก. 3 กก.
400 ก.

4) 4 กิโลกรัม 400 กรัม กับ 8 กิโลกรัม 300 12 700


กรัม รวมเป็น ........ กิโลกรัม ........ กรัม ตอบ ........
๘ กิโลกรัม ........ กรัม ตอบ ........
๒ กิโลกรัม ๘๐๐
........ กรัม

5) 7 กิโลกรัม 200 กรัม กับ 2 กิโลกรัม 600 9 800


กรัม รวมเป็น ........ กิโลกรัม ........ กรัม
3) 7 กก. 300 ก. รวมกับ 4) 4 กก. 650 ก. น้อยกว่า
8 กก. 700 ก. เท่ากับเท่าไร 8 กก. 500 ก. อยู่เท่าไร
6) 650 กรัม มากกว่า 400 กรัม อยู่ ...............................................................
250 กรัม

1 0   วิธีทำา กิโลกรัม กรัม   วิธีทำา กิโลกรัม กรัม


7) 1 กิโลกรัมครึ่ง มากกว่า 500 กรัม อยู่ .......... กิโลกรัม ................................. กรัม
7 300 8 500
+ –
8 700 OG
4 650
8) 5 กิโลกรัม 700 กรัม น้อยกว่า 10 กิโลกรั 5 100
IL 0 1
8 กก.
ม 800 กรัม อยู่ ......... กิโลกรัม ......... กรัม

K
9 2
500 ก.
15 1,000 8
7
6
3 850
5 4
3


9) 3 กิโลกรัม 200 กรัม น้อยกว่า 4 กิโลกรั 1 300
มครึ่ง อยู่ ......... กิโลกรัม ................. กรัม
หรือ 16 0
3 กก. 850 ก. 4 กก.
650 ก.

10) 8 กิโลกรัม 500 กรัม มากกว่า 1 กิโลกรัม 7 400


100 กรัม อยู่ ....... กิโลกรัม ......... กรัม ตอบ ........
๑๖ กิโลกรัม ........ กรัม ตอบ ........
๓ กิโลกรัม ๘๕๐
........ กรัม

144 |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 145


300
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

ฝกึ
แบบ หดั

5) 9 กก. 200 ก. รวมกับ 6) 10 กก. 100 ก. มากกว่า 4.10 โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ (1)


6 กก. 800 ก. เท่ากับเท่าไร 7 กก. 400 ก. อยู่เท่าไร

  วิธีทำา กิโลกรัม กรัม   วิธีทำา กิโลกรัม กรัม แสดงวิธีหาคำาตอบ


9 200 10 100
+ OG
– 1 ปู่มีมะม่วง 5 กิโลกรัม 5 ขีด เก็บมาเพิ่มอีก 2 กิโลกรัม 3 ขีด
IL 0 1
6 800 11 7
2 400 ปู่มีมะม่วงทั้งหมดกี่กิโลกรัม กี่ขีด

K
10 กก. 3
10
100 ก. 9 4
15 1,000 87 6 2
5
700 โจทย์ถาม ปู่มีมะม่วงทั้งหมดกี่กิโลกรัม กี่ขีด
2 กก.
หรื อ 16 0 700 ก.
7 กก.   โจทย์บอก ปูม่ ีมะม่วง 5 กิโลกรัม 5 ขีด เก็บมาเพิ่มอีก 2 กิโลกรัม 3 ขีด
400 ก.

ตอบ ........
๑๖ กิโลกรัม ........
๐ กรัม ตอบ ........
๒ กิโลกรัม ๗๐๐
........ กรัม กิโลกรัม ขีด
5 5
7) 8 กก. 50 ก. รวมกับ 8) 1 กก. 550 ก. น้อยกว่า 2 3
+
18 กก. 950 ก. เท่ากับเท่าไร 5 กก. อยู่เท่าไร
7 8
  วิธีทำา กิโลกรัม กรัม   วิธีทำา กิโลกรัม กรัม
4 1,000 ตอบ ปู่มีมะม่วงทั้งหมด ...........
๗ กิโลกรัม ............
๘ ขีด
8 50 5 0
+ –
18 950 1 550 2 แตงโมหนัก 1 กิโลกรัม 2 ขีด องุ่นหนัก 4 กิโลกรัม 3 ขีด
3 450 องุ่นหนักกว่าแตงโมกี่กิโลกรัม กี่ขีด
26 1,000
หรื 27
อ 0 โจทย์ถาม องุ่นหนักกว่าแตงโมกี่กิโลกรัม กี่ขีด
  โจทย์บอก แตงโมหนัก 1 กิโลกรัม 2 ขีด องุ่นหนัก 4 กิโลกรัม 3 ขีด
ตอบ ........
๒๗ กิโลกรัม ........ กรัม ตอบ ........
๓ กิโลกรัม ๔๕๐
........ กรัม
กิโลกรัม ขีด
3 เติมตัวเลขแสดงจำานวน 4 3
1 2

1) 21 กิโลกรัม 350 กรัม รวมกับ 11 กิโลกรัม 650 กรัม เป็ 33
น ....... กิโลกรัม ....... กรัม
3 1

2) 4 กิโลกรัม 750 กรัม น้อยกว่า 12 กิโลกรัม อยู 7 250 กรัม


ู่ .......... กิโลกรัม .......... ตอบ องุ่นหนักกว่าแตงโม ...........
๓ กิโลกรัม ............
๑ ขีด

146 |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 147


301
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

3 แม่ค้าขายมะเขือไป 1 กิโลกรัม 8 ขีด เหลือมะเขือ 3 กิโลกรัม 1 ขีด 5 ต้นกล้าเก็บมังคุดได้ 9 กิโลกรัม 3 ขีด ใบบัวเก็บมังคุดได้ 9 ขีด
เดิมแม่ค้ามีมะเขือกี่กิโลกรัม กี่ขีด ต้นกล้าและใบบัวเก็บมังคุดรวมกันได้กี่กิโลกรัม กี่ขีด

วิธีทำา กิโลกรัม ขีด


วิธีทำา กิโลกรัม ขีด
ต้นกล้าเก็บมังคุดได้ 9 3
.......................................................................
แม่ค้าขายมะเขือไป 1 8
+ 9
+
ใบบัวเก็บมังคุดได้
.......................................................................
เหลือมะเขือ 3 1
ต้นกล้าและใบบัวเก็บมังคุดได้รวมกัน 9 12
.......................................................................
เดิมแม่ค้ามีมะเขือ 4 9
หรื อ
10 2

ตอบ เดิมแม่ค้ามีมะเขือ ...........


๔ กิโลกรัม ............
๙ ขีด
ตอบ ต้นกล้าและใบบัวเก็บมังคุดรวมกันได้ ...........
๑๐ กิโลกรัม ............
๒ ขีด

4 แก้วตามีถั่วเขียว 4 กิโลกรัม 4 ขีด แบ่งให้ใบบัว 2 กิโลกรัม 5 ขีด 6 แม่มีส้ม 5 กิโลกรัม ทำาน้ำาส้มคั้น 3 กิโลกรัม 2 ขีด
แก้วตาเหลือถั่วเขียวกี่กิโลกรัม กี่ขีด แม่เหลือส้มกี่กิโลกรัม กี่ขีด

วิธีทำา กิโลกรัม ขีด


วิธีทำา กิโลกรัม ขีด 4 10
3 14 5 0
แม่มีส้ม
แก้วตามีถั่วเขียว 4 4

.......................................................................
3 2

ทำ�น้ำ�ส้มคั้น
.......................................................................
แบ่งให้ใบบัว 2 5
แม่เหลือส้ม 1 8
.......................................................................
แก้วตาเหลือถั่วเขียว 1 9

ตอบ แม่เหลือส้ม ...........


๑ กิโลกรัม ...........
๘ ขีด
ตอบ แก้วตาเหลือถั่วเขียว ...........
๑ กิโลกรัม ............
๙ ขีด

148 |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 149


302
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

ฝกึ
แบบ หดั

4.11 โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ (2) 3 พ่อเก็บส้มได้ 3 กิโลกรัม 800 กรัม ขุนเก็บส้มได้ 3 กิโลกรัม 200 กรัม
พ่อและขุนเก็บส้มรวมกันได้กี่กิโลกรัม กี่กรัม
แสดงวิธีหาคำาตอบ
วิธีทำา กิโลกรัม กรัม
1 แม่ซื้อเงาะ 2 กิโลกรัม 200 กรัม ลำาไย 1 กิโลกรัม 700 กรัม
พ่อเก็บส้มได้ 3 800
แม่ซื้อเงาะและลำาไยกี่กิโลกรัม กี่กรัม
+
ขุนเก็บส้มได้ 3 200
โจทย์ถาม แม่ซื้อเงาะและลำาไยกี่กิโลกรัม กี่กรัม
  โจทย์บอก แม่ซื้อเงาะ 1 กิโลกรัม 200 กรัม ลำาไย 1 กิโลกรัม 700 กรัม พ่อและขุนเก็บส้มได้ 6 1,000
กิโลกรัม กรัม หรือ 7 0
2 200
+
1 700 ตอบ พ่อและขุนเก็บส้มรวมกันได้ ...........
๗ กิโลกรัม ...........
๐ กรัม
3 900

ตอบ แม่ซื้อเงาะและลำาไย ...........


๓ กิโลกรัม ...........
๙๐๐ กรัม
4 ทุเรียนหนัก 4 กิโลกรัม 400 กรัม ขนุนหนัก 7 กิโลกรัม 300 กรัม
ทุเรียนเบากว่าขนุนกี่กิโลกรัม กี่กรัม
2 ใบบัวมีข้าวสาร 5 กิโลกรัม บริจาคไป 2 กิโลกรัม 500 กรัม
ใบบัวเหลือข้าวสารกี่กิโลกรัม กี่กรัม
วิธีทำา กิโลกรัม กรัม
โจทย์ถาม ใบบัวเหลือข้าวสารกี่กิโลกรัม กี่กรัม
ขนุนหนัก 7 300
  โจทย์บอก ใบบัวมีข้าวสาร 5 กิโลกรัม บริจาคไป 2 กิโลกรัม 500 กรัม

OG
IL 0 1

K
9 2
กิโลกรัม กรัม ทุเรียนหนัก 4 400 8
7
3
6 5 4
4 1,000

5 0 ทุเรียนเบากว่าขนุน 2 900 7 กก.


300 ก. 4 กก.
2 กก. 400 ก.
2 500 900 ก.

2 500 ตอบ ทุเรียนเบากว่าขนุน ...........


๒ กิโลกรัม ...........
๙๐๐ กรัม

ตอบ ใบบัวเหลือข้าวสาร ...........


๒ กิโลกรัม ...........
๕๐๐ กรัม

150 |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 151


303
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก บทที่ 4 | การวัดน้ำาหนัก

5 แม่ค้าขายปลาไป 6 กิโลกรัม 800 กรัม เหลือปลา 3 กิโลกรัม 200 กรัม   แบบฝึกท้าทาย


เดิมแม่ค้ามีปลากี่กิโลกรัม กี่กรัม
1 เติมคำาตอบ
วิธีทำา กิโลกรัม กรัม

แม่ค้าขายปลาไป
.......................................................................
6 800
+
เหลือปลา 3 200
.......................................................................
เดิมแม่ค้ามีปลา
.......................................................................
9 1,000 ทุเรียนหนัก สับปะรดหนัก ฟักทองหนัก
2 กิโลกรัม 8 ขีด 2 กิโลกรัม 500 กรัม 26 ขีด
หรื 10
อ 0

ทุเรียน
.......................................................... หนักที่สุด
ตอบ เดิมแม่ค้ามีปลา ...........
๑๐ กิโลกรัม ...........
๐ กรัม

สับปะรด
.......................................................... เบาที่สุด

6 ต้นกล้าเก็บฝรั่งได้ 6 กิโลกรัม 300 กรัม แบ่งให้ใบบัว 700 กรัม


ต้นกล้าเหลือฝรั่งกี่กิโลกรัม กี่กรัม 2 ขุนซื้อมะม่วงมา 5 กิโลกรัม แบ่งให้ใบบัว 2 กิโลกรัม 250 กรัม
แบ่งให้แก้วตา 24 ขีด ขุนเหลือมะม่วงกี่ขีด
วิธีทำา กิโลกรัม กรัม

ต้นกล้าเก็บฝรั่งได้ 6 300 วิธีคิด ..................................................................................................


.......................................................................
− ขุนซื้อมะม่วงมา 5 กิโลกรัม
..................................................................................................
700

}
แบ่งให้ใบบัว
.......................................................................
..................................................................................................
ต้นกล้าเหลือฝรั่ง
.......................................................................
5 600

}
}
..................................................................................................

}
ให้ใบบัว ให้แก้วตา 24 ขีด เหลือ
2 กิโลกรัม 250 กรัม หรือ 2 กิโลกรัม 400 กรัม
6 กก.
OG
IL 0 1
..................................................................................................
ตอบ ต้นกล้าเหลือฝรั่ง ...........
๕ กิโลกรัม ...........
๖๐๐ กรัม
K

300 ก. 7
6
2 ..................................................................................................
700 ก. 5 4 3
5 กก.
600 ก. ตอบ 3 ขีดครึ่ง ขีด
ขุนเหลือมะม่วง ................

152 |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  | 153


304
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

บทที
แบบฝึก่ หั1ด 2 เติมคำ�ตอบและเขียนประโยคสัญลักษณ์ก�รคูณ
บทที ่ 5 ก�รคูณ
6
1 + 1 + 1 + 1 + 1 + 1 = ....................................
ฝกึ 6 × 1 = 6
ประโยคสัญลักษณ์การคูณ ....................................
แบบ หดั

5.1 คว�มหม�ยของก�รคูณ (1)
6
1) 2 + 2 + 2 = ..........................................................................
1 จ�กภ�พ เขียนประโยคสัญลักษณ์ก�รบวกและประโยคสัญลักษณ์ก�รคูณ  3×2=6
ประโยคสัญลักษณ์การคูณ ......................................................

0
2) 0 + 0 + 0 + 0 + 0 = ............................................................
4 + 4 + 4 + 4 + 4 = 20
ประโยคสัญลักษณ์การบวก ............................................................
5 × 4 = 20 5×0=0
ประโยคสัญลักษณ์การคูณ ......................................................
ประโยคสัญลักษณ์การคูณ .............................................................

30
3) 3 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3 = .........................
1)
10 × 3 = 30
ประโยคสัญลักษณ์การคูณ .......................................................
  5 + 5 + 5 + 5 + 5 + 5 = 30
ประโยคสัญลักษณ์การบวก ............................................................
6 × 5 = 30
ประโยคสัญลักษณ์การคูณ .............................................................
45
4) 15 + 15 + 15 = ...................................................................
3 × 15 = 45
ประโยคสัญลักษณ์การคูณ ......................................................
2)
  2+2+2+2=8
ประโยคสัญลักษณ์การบวก ............................................................
4×2=8 5) มีลูกเสือ 3 กอง กองละ 17 คน มีลูกเสือทั้งหมด 51 คน
ประโยคสัญลักษณ์การคูณ ..............................................................
3 × 17 = 51
ประโยคสัญลักษณ์การคูณ ......................................................

3)
  1+1+1+1+1+1+1=7
ประโยคสัญลักษณ์การบวก ............................................................ 6) มีดน
ิ สอกล่องละ 12 แท่ง อยู ่ 10 กล่อง มีดน
ิ สอทัง้ หมด 120 แท่ง

7×1=7 10 × 12 = 120
ประโยคสัญลักษณ์การคูณ ......................................................
ประโยคสัญลักษณ์การคูณ .............................................................

154  |  สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี  |  155


305
แบบฝ�กหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | ก�รคูณ บทที่ 5 | การคูณ

ฝกึ
3 จ�กประโยคสัญลักษณ์ก�รคูณ วงรอบภ�พแสดงคว�มหม�ยของก�รคูณ  แบบ หดั

5.2 คว�มหม�ยของก�รคูณ (2)
4 × 2 = 8
1 จ�กภ�พ เขียนประโยคสัญลักษณ์ก�รคูณ

1) 1 × 3 = 3
2 × 3 = 6
ประโยคสัญลักษณ์การคูณ .........................
3 × 2 = 6
หรือ ..........................

2) 3 × 1 = 3
1)

3 × 4 = 12
ประโยคสัญลักษณ์การคูณ .........................
3) 2 × 4 = 8 4 × 3 = 12
หรือ ..........................

4) 3 × 5 = 15 2)

2 × 5 = 10
ประโยคสัญลักษณ์การคูณ .........................

5) 5 × 3 = 15 5 × 2 = 10
หรือ ..........................

3)
6) 6 × 4 = 24
4 × 6 = 24
ประโยคสัญลักษณ์การคูณ .........................
6 × 4 = 24
หรือ ..........................
7) 10 × 2 = 20

*การเขียนวงรอบภาพอาจแตกต่างจากนี้
156  |  สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี  |  157
306
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ บทที่ 5 | การคูณ

ฝกึ
2 เติมตัวเลขแสดงจำ�นวน แบบ หดั

5.3 หนึ่งและศูนย์กับก�รคูณ
2
1) 3 × 2 = ……..... × 3
เติมตัวเลขแสดงจำ�นวน
5
2) 5 × 4 = 4 × …….....


1 2
1 × 2 = ....................
2 0
3 × 0 = ....................
15
3) ……..... × 8 = 8 × 15

5
4) 10 × ……..... = 5 × 10

3 0
5 × 0 = ....................
4 4
4 × 1 = ....................

9 12
5) 12 × 9 = ……..... × …….....


5 0
0 × 10 = ....................
6 0
13 × 0 = ....................
3 จ�กประโยคสัญลักษณ์ก�รคูณ วงรอบจุดแสดงคว�มหม�ยของก�รคูณ

2 × 3 = 6 1) 5 × 4 = 20

7 11
1 × 11 = ....................
8 15
15 × 1 = ....................
หรือ


9 12
12 × 1 = ....................
10 21
1 × 21 = ....................

2) 3 × 5 = 15 3) 7 × 2 = 14

158  |  สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี *การเขียนวงรอบภาพอาจแตกต่างจากนี้ สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี  |  159


307
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ บทที่ 5 | การคูณ

ฝกึ
แบบ หดั

2
11 1 × 2 = ....................
12 0
32 × 0 = .................... 5.4 ก�รคูณจำ�นวนหนึง่ หลักกับจำ�นวนหนึง่ หลัก (1)

1 เติมตัวเลขแสดงจำ�นวน
13
13 1 × 13 = .................... 54
14 54 × 1 = ....................
10
1) 5 × 2 = .................... 3
2) 3 × 1 = ....................


15
5 1
.................... × 8 = 8
16
13 0
7 × .................... = 0
12
3) 2 × 6 = .................... 12
4) 4 × 3 = ....................


17 1
10 × .................... = 10
18 0
.................... × 12 = 0
15
5) 3 × 5 = .................... 14
6) 7 × 2 = ....................


19 1
.................... × 14 = 14
20 1
.................... × 0 = 0
14
7) 2 × 7 = .................... 15
8) 5 × 3 = ....................
*คำ�ตอบอาจแตกต่างจากนี้

16
9) 8 × 2 = .................... 16
10) 2 × 8 = ....................

160  |  สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี  |  161


308
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ บทที่ 5 | การคูณ

2 เติมตัวเลขแสดงจำ�นวน
27
11) 3 × 9 = .................... 27
12) 9 × 3 = ....................
1) ขุนมีส้ม 3 ถุง ถุงละ 5 ผล
3 5 15
ขุนมีส้มทั้งหมด ......... × ......... = ………….. ผล
8
13) 4 × 2 = .................... 18
14) 2 × 9 = ....................

2) แม่ค้าขายมะนาวจานละ 4 ผล มีมะนาวอยู่ 2 จาน


7
15) .................... × 3 = 21 2
16) 5 × .................... = 10 2 4 8
แม่ค้ามีมะนาวทั้งหมด ......... × ......... = ………….. ผล

3) มีลูกเสือเข้าแถว แถวละ 6 คน มีลูกเสืออยู่ 3 แถว


2
17) 2 × .................... = 4 3
18) .................... × 3 = 9
3 6 18
มีลูกเสือทั้งหมด ......... × ......... = ………….. คน

2
19) .................... × 9 = 18 3
20) .................... × 6 = 18 4) พ่อมีลูก 2 คน ให้เงินลูกคนละ 5 บาท
2 5 10
พ่อให้เงินลูกทั้งหมด ......... × ......... = ………….. บาท

5) ใบบัวเลี้ยงปลาทอง 2 ตู้ ตู้ละ 7 ตัว


2 7 14 ว
ใบบัวเลี้ยงปลาทองทั้งหมด ......... × ......... = ………….. ตั

6) แก้วตาเก็บส้มได้ตระกร้าละ 8 ผล เก็บส้มได้ 3 ตะกร้า


3 8 24
แก้วตาเก็บส้มได้ทั้งหมด ......... × ......... = ………….. ผล

7) ออมสินเพาะต้นทานตะวัน 3 กระถาง กระถางละ 9 ต้น


3 9 27 น
ออมสินเพาะต้นทานตะวันทั้งหมด ......... × ......... = ………….. ต้

162  |  สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี  |  163


309
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ บทที่ 5 | การคูณ

ฝกึ
แบบ หดั

5.5 ก�รคูณ
ก�รคู
จำ�นวนหนึ
ณจำ�นวนหนึ
ง่ หลักกั
ง่ หลั
บจำก�นวนหนึ
กับจำ�นวนหนึ
ง่ หลัก (2)
ง่ หลัก (2) 45
11) 5 × 9 = .................... 40
12) 8 × 5 = ....................

1 เติมตัวเลขแสดงจำ�นวน
40
13) 5 × 8 = .................... 28
14) 4 × 7 = ....................
20
1) 5 × 4 = .................... 8
2) 4 × 2 = ....................

7
15) .................... × 5 = 35 3
16) 4 × .................... = 12
30
3) 6 × 5 = .................... 28
4) 7 × 4 = ....................

8
17) 5 × .................... = 40 4
18) .................... × 9 = 36
35
5) 5 × 7 = .................... 30
6) 5 × 6 = ....................

19) 4 4 = 16
............. × ............. 20) 5 5 = 25
............. × .............
35
7) 7 × 5 = .................... 32
8) 8 × 4 = ....................

32
9) 4 × 8 = .................... 45
10) 9 × 5 = ....................

164  |  สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี  |  165


310
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ บทที่ 5 | การคูณ

ฝกึ
2 เติมตัวเลขแสดงจำ�นวน แบบ หดั

5.6 ก�รคูณจำ�นวนหนึง่ หลักกับจำ�นวนหนึง่ หลัก (3)


1) ต้นกล้ามีลูกชิ้นปิ้ง 5 ไม้ ไม้ละ 3 ลูก
5 3 15
ต้นกล้ามีลูกชิ้นปิ้งทั้งหมด ......... × ......... = ………….. ลู ก 1 เติมตัวเลขแสดงจำ�นวน

18
1) 6 × 3 = .................... 28
2) 7 × 4 = ....................
2) แม่มีขนมตาลจานละ 2 ชิ้น วางอยู่ 4 จาน
4 2 8 ้น
แม่มีขนมตาลทั้งหมด ......... × ......... = ………….. ชิ
0
3) 7 × 0 = .................... 30
4) 6 × 5 = ....................
3) ครูจัดเก้าอี้ห้องประชุม 4 แถว แถวละ 8 ตัว
4 8 32 ว
ครูจัดเก้าอี้ทั้งหมด ......... × ......... = ………….. ตั
6
5) 1 × 6 = .................... 42
6) 7 × 6 = ....................

4) เพื่อนใบบัวนั่งเชียร์กีฬาสีแถวละ 6 คน จำานวน 5 แถว


5 6 30
เพื่อนใบบัวนั่งเชียร์กีฬาสีทั้งหมด ......... × ......... = ………….. คน 42
7) 6 × 7 = .................... 56
8) 8 × 7 = ....................

5) พ่อจัดมะม่วงใส่ตะกร้าไปฝากเพื่อนบ้าน 4 ตะกร้า ตะกร้าละ 7 ผล


48
9) 6 × 8 = .................... 56
10) 7 × 8 = ....................
4 7 28
พ่อจัดมะม่วงใส่ตะกร้าทั้งหมด ......... × ......... = ………….. ผล

6) ขุนซื้อคุกกี้ถุงละ 6 ชิ้น จำานวน 4 ถุง


4 6 24 ้น
ขุนซื้อคุกกี้ทั้งหมด ......... × ......... = ………….. ชิ

7) แก้วตาปลูกต้นดาวเรือง 5 แปลง แปลงละ 9 ต้น


5 9 45 น
แก้วตาปลูกต้นดาวเรืองทั้งหมด ......... × ......... = ………….. ต้

166  |  สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี  |  167


311
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ บทที่ 5 | การคูณ

2 เติมตัวเลขแสดงจำ�นวน
63
11) 7 × 9 = .................... 63
12) 9 × 7 = ....................
1) แม่ซื้อแอปเปิลไปฝากคุณยายถุงละ 4 ผล จำานวน 6 ถุง
แม่ซื้อแอปเปิลไปฝากคุณยายทั้ง 6 4 24
หมด ........ × ........ = ……….. ผล
54
13) 9 × 6 = .................... 54
14) 6 × 9 = ....................

2) ป้าจัดแป้งใส่ถาดสำาหรับอบขนมปัง 7 แถว แถวละ 3 ชิ้น


5
15) .................... × 6 = 30 4
16) 7 × .................... = 28 ป้าจัดแป้งใส่ถาดสำาหรับอบขนมปังทั้ง 7 3 21
หมด ........ × ........ = ……….. ชิ ้น

3) ครูจัดนักเรียนทำากิจกรรมเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน จำานวน 6 กลุ่ม


8
17) 6 × .................... = 48 7
18) .................... × 8 = 56
ครูจัดนักเรียนทำากิจกรรมเป็นกลุ่มทั้ง 6 5 30
หมด ........ × ........ = ……….. คน

19) 7 7 = 49
............. × ............. 20) 6 6 = 36
............. × ............. 4) แก้วตาเก็บมะม่วงไปฝากครูทับทิมถุงละ 5 ผล จำานวน 7 ถุง
แก้วตาเก็บมะม่วงไปฝากครูทับทิมทั้ง 7 5 35
หมด ........ × ........ = ……….. ผล

5) ใบบัวแบ่งลูกอมให้เพื่อน 6 คน คนละ 8 เม็ด


ใบบัวแบ่งลูกอมให้เพื่อนทั้ง 6 8 48
หมด ........ × ........ = ……….. เม็ ด

6) ต้นกล้าช่วยพ่อเก็บไข่ไก่ใส่กล่อง กล่องละ 6 ฟอง จำานวน 7 กล่อง


ต้นกล้าช่วยพ่อเก็บไข่ไก่ใส่กล่องทั้ง 7 6 42
หมด ........ × ......... = ……….. ฟอง

7) ครูจัดนักเรียนเข้าแถว แถวละ 8 คน จำานวน 6 แถว


ครูจัดนักเรียนเข้าแถวทั้ง 6 8 48
หมด ........ × ........ = ……….. คน

168  |  สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี  |  169


312
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ บทที่ 5 | การคูณ

ฝกึ
แบบ หดั

5.7 ก�รคูณ
ก�รคู
จำ�นวนหนึ
ณจำ�นวนหนึ
ง่ หลักกั
ง่ หลั
บจำก�นวนหนึ
กับจำ�นวนหนึ
ง่ หลัก (4)
ง่ หลัก (4) 18
11) 9 × 2 = .................... 18
12) 2 × 9 = ....................

1 เติมตัวเลขแสดงจำ�นวน
5
13) 9 × .................... = 45 7
14) 8 × .................... = 56
16
1) 8 × 2 = .................... 27
2) 9 × 3 = ....................

5
15) .................... × 8 = 40 8
16) 9 × .................... = 72
0
3) 0 × 8 = .................... 9
4) 1 × 9 = ....................

9
17) 6 × .................... = 54 8
18) .................... × 4 = 32
54
5) 9 × 6 = .................... 54
6) 6 × 9 = ....................

19) 9 9 = 81
............. × ............. 20) 8 8 = 64
............. × .............
56
7) 8 × 7 = .................... 56
8) 7 × 8 = ....................

72
9) 9 × 8 = .................... 72
10) 8 × 9 = ....................

170  |  สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี  |  171


313
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ บทที่ 5 | การคูณ

ฝกึ
2 เติมตัวเลขแสดงจำ�นวน แบบ หดั

5.8 ก�รคูณจำ�นวนหนึง่ หลักกับ 10 20 30 … 90  


1) พ่อปลูกมะม่วงแถวละ 6 ต้น จำานวน 9 แถว
9 6 54 น
พ่อปลูกมะม่วงทั้งหมด ......... × ......... = ………….. ต้ 1 เติมตัวเลขแสดงจำ�นวน

2) แม่มีขนมเค้ก 8 กล่อง กล่องละ 3 ชิ้น 8


1) 8 × 1 = .................... 8
2) 4 × 2 = ....................
8 3 24 ้น
แม่มีขนมเค้กทั้งหมด ......... × ......... = ………….. ชิ
80
8 × 10 = .................... 80
4 × 20 = ....................

3) หอประชุมมีเก้าอี้วางอยู่เป็นแถว 9 แถว แถวละ 8 ตัว


9 8 72
หอประชุมมีเก้าอี้วางอยู่ทั้งหมด ......... × ......... = ………….. ตั ว
9
3) 9 × 1 = .................... 6
4) 2 × 3 = ....................

4) ครูจัดกลุ่มนักเรียนไปทัศนศึกษากลุ่มละ 7 คน จำานวน 8 กลุ่ม 90


9 × 10 = .................... 60
2 × 30 = ....................
8 7 56
ครูจัดนักเรียนไปทัศนศึกษาทั้งหมด ......... × ......... = ………….. คน

5) ใบบัวจัดช่อดอกกุหลาบไปขาย ช่อละ 9 ดอก จำานวน 8 ช่อ 12


5) 3 × 4 = .................... 30
6) 5 × 6 = ....................
8 9 72
ใบบัวจัดดอกกุหลาบไปขายทั้งหมด ......... × ......... = ………….. ดอก
120
3 × 40 = .................... 300
5 × 60 = ....................

6) ขุนช่วยแม่จัดขนมโมจิใส่กล่อง กล่องละ 6 ชิ้น จำานวน 8 กล่อง


8 6 48
ขุนช่วยแม่จัดขนมโมจิทั้งหมด ......... × ......... = ………….. ชิ ้น

7) แก้วตาปลูกต้นหอม 9 กระถาง กระถางละ 4 ต้น


9 4 36 น
แก้วตาปลูกต้นหอมทั้งหมด ......... × ......... = ………….. ต้

172  |  สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี  |  173


314
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ บทที่ 5 | การคูณ

2 เติมตัวเลขแสดงจำ�นวน
18
7) 6 × 3 = .................... 35
8) 7 × 5 = ....................
1) แก้วตาเก็บเงินใส่กระปุกออมสินวันละ 10 บาท เมื่อครบ 5 วัน
180
6 × 30 = .................... 350
7 × 50 = .................... 5 10 50
แก้วตามีเงินในกระปุกออมสินทั้งหมด ........ × ........ = ……….. บาท

2) ต้นกล้าซื้อลูกแก้วราคาลูกละ 2 บาท จำานวน 50 ลูก


40
9) 5 × 8 = .................... 36
10) 4 × 9 = .................... 50 2 100
ต้นกล้าต้องจ่ายเงินทั้งหมด ........ × ........ = ……….. บาท

400
50 × 8 = .................... 360
40 × 9 = ....................
3) มีนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 จำานวน 4 ห้อง ห้องละ 20 คน
4 20 80
มีนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ทั้งหมด ........ × ........ = ……….. คน

24
11) 8 × 3 = ................... 63
12) 9 × 7 = ...................
4) พ่อเรียงกระถางต้นไม้เป็นแถว 9 แถว แถวละ 10 กระถาง
240
80 × 3 = .................... 360
90 × 7 = .................... 9 10 90
พ่อเรียงกระถางต้นไม้ทั้งหมด ........ × ........ = ……….. กระถาง

5) ใบบัวช่วยครูทับทิมจัดดอกไม้ใส่แจกัน 5 ใบ ใบละ 20 ดอก


5 20 100
ใบบัวช่วยครูทับทิมจัดดอกไม้ทั้งหมด ........ × ........ = ……….. ดอก

6) ขุนแบ่งลูกอมให้เพื่อน 30 คน คนละ 6 เม็ด


30 6 180 ด
ขุนแบ่งลูกอมให้เพื่อนทั้งหมด ........ × ........ = ……….. เม็

7) ต้นกล้าสะสมแสตมป์ได้ 40 แถว แถวละ 8 ดวง


40 8 320
ต้นกล้าสะสมแสตมป์ได้ทั้งหมด ........ × ........ = ……….. ดวง

174  |  สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี  |  175


315
แบบฝก ึ หด
ั รายวช ิ าพน
�ื ฐาน | คณต
ิ ศาสตร� ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทท�ี 5 | การคณู บทที่ 5 | การคูณ

บบ ก
กา 2 แสดงวิธีห�ผลคูณ


1) 14 × 2 = 2) 10 × 8 =

  วิธีทำ�  1 4   วิธีทำ�  1 0
× ×
2 8
2 2 2 8
8 0

๒๘
ตอบ ............................ ๘๐
ตอบ ............................
9 8

๙๓
............................ ๘๘
............................
3) 6 × 41 = 4) 30 × 7 =
2 4 1 3 0
  วิธีทำ�  .........................   วิธีทำ�  .........................
× ×
6
......................... 7
.........................
2 2 4 6
. ........................ 2 1 0
. ........................
8 3 5
๒๔๖
ตอบ .............................. ๒๑๐
ตอบ ..............................
๘๐
............................ ๓๕๗
............................

5) 3 × 52 = 6) 92 × 4 =

6 2
  วิธีทำ�   5 2
.........................
  วิธีทำ�   9 2
.........................
× ×
4 3 3
......................... 4
.........................
1 5 6
. ........................ 3 6 8
. ........................
2 8 1 8 6
๒๘๘ ๑๘๖ ๑๕๖
ตอบ .............................. ๓๖๘
ตอบ ..............................
............................ ............................

| า า า า สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี  |  177
316
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ บทที่ 5 | การคูณ

ฝกึ
ก�รคูณจำ�นวนหนึ่งหลักกับจำ�นวนสองหลัก 
แบบ หดั
2 แสดงวิธีห�ผลคูณ
5.10
โดยก�รตั้งคูณ (2)          
1) 5 × 16 = 2) 53 × 4 =
1 แสดงวิธีห�ผลคูณ
3 1
  วิธีทำ�  1 6   วิธีทำ�   5 3
× ×
1) 19 × 3 = 2) 37 × 2 =
5 4
2 1
  วิธีทำ�  1 9   วิธีทำ�  3 7 8
0
2 1 2

× ×
3 2
๘๐
ตอบ ............................ ๒๑๒
ตอบ ............................
5 7 7 4

๕๗
ตอบ ............................ ๗๔
ตอบ ............................
3) 95 × 2 = 4) 6 × 42 =
3) 52 × 5 = 4) 7 × 22 = 1 1
  วิธีทำ�   9 5   วิธีทำ�   4 2
1 1 × ×
  วิธีทำ�    5 2   วิธีทำ�    2 2 2 6
× ×
5 7 1
9
0 2
5
2
2 6 0 1 5
4

๑๙๐
ตอบ ............................ ๒๕๒
ตอบ ............................
๒๖๐
ตอบ ............................ ๑๕๗
ตอบ ............................

5) 2 × 86 = 6) 49 × 6 = 5) 7 × 23 = 6) 8 × 39 =
1 5 2 7
  วิธีทำ�    8 6   วิธีทำ�    4 9   วิธีทำ�   2 3   วิธีทำ�   3 9
× × × ×
2 6 7 8

1
7
2 2 9 4
1
6
1 3
1
2

๑๗๒
ตอบ ............................ ๒๙๔
ตอบ ............................ ๑๖๑
ตอบ ............................ ๓๑๒
ตอบ ............................

178  |  สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี  |  179


317
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ บทที่ 5 | การคูณ

ฝกึ
3 แสดงวิธีห�ผลคูณ แบบ หดั

5.11 ก�รพัฒน�คว�มรูส
้ ก
ึ เชิงจำ�นวนเกีย
่ วกับก�รคูณ
1) 3 × 25 = 2) 22 × 5 =
1 1 1 เขียนเครื่องหม�ย  >  <  หรือ  =  ใน
  วิธีทำ�   2 5   วิธีทำ�  
......................... 2 2
......................... สังเกตดี ๆ โจทย์ข้อนี้ไม่ต้องคำานวณ
× ×
3
......................... 5
.........................
7 5
. ........................ 1 1 0
. ........................ 1) 61 × 2 < 61 × 5 2) 5 × 32 > 3 × 32

๗๕
ตอบ .............................. ๑๑๐
ตอบ .............................. = 54 × 4
3) 27 × 6 > 5 × 27 4) 4 × 54

5) 8 × 31 < 8 × 39 6) 60 × 5 > 40 × 3
3) 56 × 2 = 4) 9 × 23 =
1 2
  วิธีทำ�   5 6
.........................   วิธีทำ�   2 3
.........................
× × 7) 2 × 89 < 2 × 98 8) 7 × 74 > 4 × 47
2
......................... 9
.........................
1 1 2
. ........................ 2 0 7
. ........................ 2 เติมตัวเลขแสดงจำ�นวน
สังเกตดี ๆ โจทย์ข้อนี้มีหลายคำาตอบ
๑๑๒
ตอบ .............................. ๒๐๗
ตอบ .............................. ให้เลือกตอบเพียงจำานวนเดียว

1) 15 × 2 <   15 × 3 2) 7 × 44 >   4 × 44

5) 3 × 99 = 6) 93 × 8 =
2 2 3) 4 × 31 <   7 × 31 4) 86 × 2 <  87 × 2
  วิธีทำ�   9 9
.........................   วิธีทำ�   9 3
.........................
× ×
3
......................... 8
.........................
5) 6 × 23 >  5 × 23 6) 51 × 9 =   9 × 51
2 9 7
. ........................ 7 4 4
. ........................

๒๙๗
ตอบ .............................. ๗๔๔
ตอบ .............................. 7) 74 × 5 < 74 × 6 8) 82 × 2 >  82 × 1

180  |  สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี  |  181


*คำ�ตอบอาจแตกต่างจากนี้
318
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ บทที่ 5 | การคูณ

ฝกึ
3 เติมคำ�ตอบ (อย่�งน้อย 3 คำ�ตอบ) แบบ หดั
ก�รห�ค่�ของตัวไม่ทร�บค่� 
5.12
เขียนจำานวนสองจำานวนคูณกันที่มีผลคูณมากกว่า 12 × 3
ในประโยคสัญลักษณ์ก�รคูณ 
12 × 4 12 × 5 และ 13 × 3
…………………………………………..…………………………….....………. 1 เติมตัวเลขแสดงจำ�นวน


10
8 × .......... = 80 90
.......... × 7 = 630
1) เขียนจำานวนสองจำานวนคูณกันที่มีผลคูณเท่ากับ 50
1 × 50 2 × 25 5 × 10
………………………………………………………………………………………....
8 คูณจำานวนใด ได้ 80 จำานวนใดคูณ 7 ได้ 63
………………………………………………………………………………………….


2) เขียนจำานวนสองจำานวนคูณกันที่มีผลคูณมากกว่า 25 7 × 2 = 14
1) .......... 12 = 36
2) 3 × ..........

25 × 2 25 × 3 26 × 2
………………………………………………………………………………………....
………………………………………………………………………………………….
4 = 20
3) 5 × .......... 6 × 11 = 66
4) ..........

3) เขียนจำานวนสองจำานวนคูณกันที่มีผลคูณน้อยกว่า 3 × 49
0 × 49 1 × 49 2 × 49
………………………………………………………………………………………....
70 = 490
5) 7 × .......... 3 = 27
6) 9 × ..........
………………………………………………………………………………………….


4) เขียนจำานวนสองจำานวนคูณกันทีม
่ ผ
ี ลคูณน้อยกว่า 61 × 7 4 × 20 = 80
7) .......... 8) 6 × ..........
80 = 480
แต่มากกว่า 50 × 2
50 × 3 50 × 4 50 × 5
………………………………………………………………………………………....
…………………………………………………………………………………………. 50 × 8 = 400
9) .......... 90 = 360
10) 4 × ..........

182  |  สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี *คำ�ตอบอาจแตกต่างจากนี้ สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี  |  183


319
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝ�กหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ บทที่ 5 | ก�รคูณ

ฝกึ
2 เติมตัวเลขแสดงจำ�นวนในบัตรตัวเลขเพือ
่ ว�งเรียงต่อกันให้ได้ผลคูณต�มทีก
่ �ำ หนด แบบ หดั

5.13 โจทย์ปัญห�ก�รคูณ (1)

6 × 1
....... = 6
1 วิเคร�ะห์โจทย์ปัญห� เขียนประโยคสัญลักษณ์ และห�คำ�ตอบ
×

40 เริ่มเติมตัวเลขช่องไหนก่อนนะ
1) ใบบัวจัดยาหม่องใส่ถุง 10 ถุง ถุงละ 2 ขวด
ใบบัวจัดยาหม่องใส่ถุงทั้งหมดกี่ขวด
=
ใบบัวจัดยาหม่องใส่ถุงทั้งหมดกี่ขวด
โจทย์ถ�ม ....................................................................................
40
....... × 6
....... = 240
  ใบบัวจัดยาหม่องใส่ถุง 10 ถุง ถุงละ 2 ขวด
โจทย์บอก ....................................................................................
×
10 × 2 =
ประโยคสัญลักษณ์  ......................................................................
4
10 × 2 = 20
......................................................................
=
๒๐
ตอบ ใบบัวจัดยาหม่องใส่ถุงทั้งหมด ................... ขวด
24
....... × 5 = 120
.......

4
....... 2) แก้วน้ำาคว่ำาเป็นแถว 4 แถว แถวละ 3 ใบ
= มีแก้วน้ำาทั้งหมดกี่ใบ

20 × 5
....... = 100 มีแก้วน้ำ�ทั้งหมดกี่ใบ
โจทย์ถ�ม ....................................................................................
จำานวนใดคูณกันได้ 450
×   แก้วน้ำ�คว่ำ�เป็น 4 แถว แถวละ 3 ใบ
โจทย์บอก ....................................................................................

90
....... 4×3=
ประโยคสัญลักษณ์  ......................................................................
4 × 3 = 12
......................................................................
=
๑๒
ตอบ มีแก้วน้ำาทั้งหมด ................... ใบ
450

184  |  สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี  |  185


320
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ บทที่ 5 | การคูณ

ฝกึ
2 วงรอบสิ่งที่โจทย์ถ�ม ขีดเส้นใต้สิ่งที่โจทย์บอก เขียนประโยคสัญลักษณ์  แบบ หดั

  และห�คำ�ตอบ 5.14 โจทย์ปัญห�ก�รคูณ (2)

1) แม่ซื้อผ้า 2 เมตร ราคาเมตรละ 95 บาท แม่ซื้อผ้าทั้งหมดกี่บาท 1 เขียนประโยคสัญลักษณ์และห�คำ�ตอบ

  2 × 95 =
ประโยคสัญลักษณ์  .............................................................................
2 × 95 = 190 1) แม่ซื้อมะนาว 50 ผล ราคาผลละเท่า ๆ กัน แม่จ่ายเงินทั้งหมด 100 บาท
.............................................................................
มะนาวราคาผลละกี่บาท 50 × 1 = 50
๑๙๐
ตอบ แม่ซื้อผ้าทั้งหมด ............... บาท 50 × = 100 50 × 2 = 100
ประโยคสัญลักษณ์  .............................................................................
50 × 2 = 100
.............................................................................


ตอบ มะนาวราคาผลละ ............... บาท
2) แก้วน้ำา 1 โหล มี 12 ใบ ยายซื้อแก้วน้ำา 3 โหล ยายซื้อแก้วน้ำากี่ใบ
  3 × 12 =
ประโยคสัญลักษณ์  .............................................................................
2) น้ำาดื่ม 1 ลัง มี 24 ขวด เรียงเป็นแถว แถวละ 6 ขวด น้ำาดื่มลังนี้มีกี่แถว
3 × 12 = 36
.............................................................................
  × 6 = 24 6×1=6
ประโยคสัญลักษณ์  .............................................................................
๓๖
ตอบ ยายซื้อแก้วน้ำา ............... ใบ 4
6 × 2 = 12
× 6 = 24 6 × 3 = 18
.............................................................................
6 × 4 = 24

ตอบ น้ำาดื่มลังนี้มี ............ แถว

3) แม่ค้าซื้อน้ำาพริกตาแดง น้ำาพริกนรก น้ำาพริกแมงดา น้ำาพริกปลาย่าง


อย่างละ 20 กระปุก แม่ค้าซื้อน้ำาพริกทั้งหมดกี่กระปุก 3) แม่จัดดอกบัวเป็นกำา กำาละ 3 ดอก แม่ใช้ดอกบัวไปทั้งหมด 27 ดอก
แม่จัดดอกบัวได้กี่กำา 3×1=3
4 × 20 =
ประโยคสัญลักษณ์  ............................................................................. 3×2=6

× 3 = 27 3×3=9
ประโยคสัญลักษณ์  .............................................................................
4 × 20 = 80
............................................................................. 3 × 4 = 12
9 × 3 = 27 3 × 5 = 15
.............................................................................
3 × 6 = 18
๘๐
ตอบ แม่ค้าซื้อน้ำาพริกทั้งหมด ............... กระปุ ก 3 × 7 = 21

ตอบ แม่จัดดอกบัวได้ ............ กำ า 3 × 8 = 24
3 × 9 = 27

186  |  สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี  |  187


321
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ บทที่ 5 | การคูณ

ฝกึ
2 ห�คำ�ตอบ แบบ หดั

5.15 ก�รสร้�งโจทย์ปัญห�ก�รคูณจ�กภ�พ

1) พ่อปลูกกล้วย 25 ต้น ปลูกเป็นแถว แถวละ 5 ต้น


1 จ�กภ�พ สร้�งโจทย์ปัญห�ก�รคูณและเขียนประโยคสัญลักษณ์
พ่อปลูกกล้วยทั้งหมดกี่แถว

๕ 1)
ตอบ พ่อปลูกกล้วยทั้งหมด ............... แถว

3
มีตุ๊กตาหมี 4 ว
................. กล่อง กล่องละ ................. ตั
2) ยายซื้อเทียนหอม 88 เล่ม จัดใส่กล่อง กล่องละเท่า ๆ กัน
ได้ 8 กล่อง แต่ละกล่องมีเทียนหอมกี่เล่ม  โจทย์ปัญห�ก�รคูณ
แก้วตามีตุ๊กตาหมี 3 กล่อง กล่องละ 4 ตัว
.......................................................................................................................
๑๑
ตอบ แต่ละกล่องมีเทียนหอม ............... เล่ ม
แก้วตามีตุ๊กตาหมีทั้งหมดกี่ตัว
.......................................................................................................................
ประโยคสัญลักษณ์ฺ 3 × 4 =
.......................................................................................................................

3) แม่จัดขนมถ้วยใส่ถาดเป็นแถว แถวละ 7 ถ้วย


ต้องจัดขนมถ้วยกี่แถว จึงจะได้ขนมถ้วย 70 ถ้วย
2)

๑๐
ตอบ ต้องจัดขนมถ้วย ............... แถว
5
มีลูกโป่ 10 ก
ง …………. แถว แถวละ ................. ลู

โจทย์ปัญห�ก�รคูณ
4) พ่อจัดไข่ไก่ทั้งหมด 54 ฟอง ใส่กล่องได้ 9 กล่อง
กล่องละเท่า ๆ กัน แต่ละกล่องมีไข่ไก่กี่ฟอง ครูมีลูกโป่ง 5 แถว แถวละ 10 ลูก
.......................................................................................................................
ครูมีลูกโป่งทั้งหมดกี่ลูก
.......................................................................................................................

ตอบ แต่ละกล่องมีไข่ไก่ ............... ฟอง ประโยคสัญลักษณ์ฺ 5 × 10 =
.......................................................................................................................

188  |  สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี  |  189


322
แบบฝ�กหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝ�กหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | ก�รคูณ บทที่ 5 | ก�รคูณ

ฝกึ
แบบ หดั
2 จ�กภ�พ สร้�งโจทย์ปัญห�ก�รคูณและเขียนประโยคสัญลักษณ์
5.16 ก�รสร้�งโจทย์ปญ
ั ห�ก�รคูณจ�กประโยคสัญลักษณ์          
1)
1 สร้�งโจทย์ปัญห�จ�กประโยคสัญลักษณ์ 

แอปเปิล
1) 3 × 3 =
แม่ซื้อแอปเปิ้ล 7 ถุง ถุงละ 4 ผล แม่ซื้อแอปเปิลทั้งหมดกี่ผล
.......................................................................................................................
ประโยคสัญลักษณ์ฺ 7 × 4 =
.......................................................................................................................
.......................................................................................................................
....................................................................................................................... ใบบัวซื้อดินสอง 3 กล่อง กล่องละ 3 แท่ง
.......................................................................................................................

....................................................................................................................... ใบบัวซื้อดินสอทั้งหมดกี่แท่ง
.......................................................................................................................
.......................................................................................................................
2)

2) 2 × 4 =

ขนมทองม้วน
.......................................................................................................................
ขนมทองม้วนถุงหนึ่งมี 2 แถว แถวละ 10 ชิ้น มีขนมทองม้วนในถุง
.......................................................................................................................
ทั้งหมดกี่ชิ้น แก้วตามีกระปุกออมสิน 2 แถว แถวละ 4 กระปุก
.......................................................................................................................
.......................................................................................................................
ประโยคสัญลักษณ์ฺ 2 × 10 = แก้วตามีกระปุกออมสินทั้งหมดกี่กระปุก
.......................................................................................................................
.......................................................................................................................
....................................................................................................................... .......................................................................................................................

*คำ�ตอบอาจแตกต่างจากนี้
190  |  สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี *คำ�ตอบอาจแตกต่างจากนี้ สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี  |  191
323
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ บทที่ 5 | การคูณ

2 สร้�งโจทย์ปัญห�จ�กประโยคสัญลักษณ์ 
  แบบฝึกท้�ท�ย 

1 เติมตัวเลขแสดงจำ�นวนในต�ร�งก�รคูณให้สมบูรณ์์ 
1) 4 × 2 =
× 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13
แม่ซื้อน้ำ�มะเขือเทศ 4 แพ็ก แพ็กละ 2 กล่อง
....................................................................................................................... 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
11
12
13

แม่ซื้อน้ำ�มะเขือเทศทั้งหมดกี่กล่อง 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20
2 22
24
26
.......................................................................................................................
3 9 12 15 18 21 24 27 30
3 6 33
36
39
....................................................................................................................... 4 4 8 16 20 24 28 32 36 40
12 44
48
52
5 25 30 35 40 45 50 55 60 65
5 10 15 20
6 36 42 48 54 60 66 72 78
6 12 18 24 30

7 49 56 63 70 77 84 91
7 14 21 28 35 42
2) 5 × 12 =
8 64 72 80 88 96 104
8 16 24 32 40 48 56

9 81 90 99 108 117
9 18 27 36 45 54 63 72
แม่ค้าขายดินสอ 5 กล่อง แต่ละกล่องมีดินสอ 12 แท่ง
....................................................................................................................... 10 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 110 120 130

แม่ค้าขายดินสอทั้งหมดกี่แท่ง
....................................................................................................................... 11 11 22 33 44 55 66 77 88 99 110 121 132 143
12 12 24 36 48 60 72 84 96 108 120 132 144 156
.......................................................................................................................
13 13 26 39 52 65 78 91 104 117 130 143 156 164

  ข้อสังเกต
3) 15 × 3 =   แถวแรกที่เติมในแนวนอนและแนวตั้งเป็นการเพิ่มขึ้นทีละ 1
1. ...........................................................................................................
แถวที่สองที่เติมในแนวนอนและแนวตั้งเป็นการเพิ่มขึ้นทีละ 2
2. ...........................................................................................................
ครูจัดเก้าอี้ในห้องเรียน 15 แถว แถวละ 3 ตัว
....................................................................................................................... แถวที่สามที่เติมในแนวนอนและแนวตั้งเป็นการเพิ่มขึ้นทีละ 3
3. ...........................................................................................................
ครูจัดเก้าอี้ในห้องเรียนทั้งหมดกี่ตัว
....................................................................................................................... แถวที่สิบที่เติมในแนวนอนและแนวตั้งเป็นการเพิ่มขึิ้นทีละ 10
4. ...........................................................................................................
....................................................................................................................... แถวสุดท้ายที่เติมแนวนอนและแนวตั้งเป็นการเพิ่มขึิ้นทีละ 13
5. ...........................................................................................................
*ข้อสังเกตอาจแตกต่างจากนี้
192  |  สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี
*คำ�ตอบอาจแตกต่างจากนี้
สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี  |  193
324
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ บทที่ 5 | การคูณ

2 เติมตัวเลขแสดงจำ�นวนที่คูณกันแล้วได้เท่�กับจำ�นวนที่กำ�หนดให้ 3 ชาวสวนปลูกมะม่วง 16 ต้น ปลูกเป็นแถว 4 แถว แถวละ 4 ต้น


ถ้าชาวสวนซื้อมะม่วงมาปลูกเพิ่มอีก 32 ต้น จะต้องปลูกต่อจากเดิม
1) ได้อย่างไรบ้าง โดยปลูกเป็นแถวแต่ละแถวมีจำานวนเท่ากัน จะปลูกได้กี่แถว
แต่ละแถวมีกี่ต้น
2
1 4 1
12 1.
8 3 12
2 8 6
4

2) 3)
2.
2 2
1 1
24
32
6 24 4 8 32
8 4
3 16
12

4) 5)
1 2 2
8 1
6 4
12
48 3
8
56 7
16 14
48 56 4 12 น หรื อ 12 แถว
24 4 28   ตอบ 1. จะปลูกได้ ............ แถว แต่ละแถวมี ............ ต้ แต่ละแถวมี 4 ต้น
2. จะปลูกได้ 6 8
............ แถว แต่ละแถวมี ............ ต้ น หรือ 8 แถว
แต่ละแถวมี 8 ต้น
194  |  สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี *กลีบดอกไม้สีเดียวกันจะคู่กัน *คำ�ตอบอาจแตกต่างจากนี้ สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี  |  195
325
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.2
บทที่ 5 | การคูณ

4 คุณครูจัดโต๊ะนักเรียนห้องที่ใช้สอนประจำา จัดเป็นแถวหันหน้า
เข้าหากระดานแถวละ 5 ตัว โดยแบ่งข้างซ้าย 2 ตัว ข้างขวา 3 ตัว ดังรูป

มีนักเรียนห้องแรกเข้ามาเรียน 19 คน
นักเรียนจะช่วยครูทับทิมจัดให้เพื่อน ๆ นั่งเรียนได้อย่างไรบ้าง
โดยที่ไม่มีเพื่อนคนใดเลยที่นั่งคนเดียว บอกมา 2 วิธี

วิธีที่ 1 วิธีที่ 2
2 4
2 × ……….. = …………. 5 10
2 × ……….. = ………….
5 15
3 × ……….. = …………. 3 9
3 × ……….. = ………….

*คำ�ตอบอาจแตกต่างจากนี้
สูตรคูณแม่ 2 สูตรคูณแม่ 3
2 × 1 = 2 3 × 1 = 3
2 × 2 = 4 3 × 2 = 6
2 × 3 = 6 3 × 3 = 9
2 × 4 = 8 3 × 4 = 12
2 × 5 = 10 3 × 5 = 15
2 × 6 = 12 3 × 6 = 18
2 × 7 = 14 3 × 7 = 21
2 × 8 = 16 3 × 8 = 24
2 × 9 = 18 3 × 9 = 27

196  |  สถ�บันส่งเสริมก�รสอนวิทย�ศ�สตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

ความรู้เพิ่มเติมสำ�หรับครู

หลักสูตร การสอน และการวัดผลประเมินผล เป็นองค์ประกอบหลักทีส่ �ำ คัญในการออกแบบแนวทาง


การจัดการเรียนรู้ หากมีการเปลีย่ นแปลงองค์ประกอบใดองค์ประกอบหนึง่ จะส่งผลต่อองค์ประกอบอืน ่
ตามไปด้วย ดังนัน ้ เพือ
่ ความสอดคล้องและเกิดประสิทธิผลในการนำ�ไปใช้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
จึงกำ�หนดเป้าหมายและจุดเน้นหลายประการทีค ่ รูควรตระหนักและทำ�ความเข้าใจ เพือ่ ให้การจัดการเรียนรู้
สัมฤทธิผ ์ ลตามทีก
่ �ำ หนดไว้ในหลักสูตร ครูควรศึกษาเพิม
่ เติมในเรือ
่ งต่อไปนี้

1. ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์เป็นความสามารถทีจ่ ะนำ�ความรูไ้ ปประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้
สิ่งต่าง ๆ  เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำ�วันได้อย่างมีประสิทธิภาพ  ทักษะและ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในทีน ่ ้ี เน้นทีท
่ ก
ั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ทจ่ี �ำ เป็น และต้องการ
พัฒนาให้เกิดขึน ้ กับนักเรียน ได้แก่ความสามารถต่อไปนี้
1) การแก้ปญ ั หา เป็นความสามารถในการทำ�ความเข้าใจปัญหา คิดวิเคราะห์ วางแผน แก้ปญ ั หา
และเลือกใช้วธิ กี ารทีเ่ หมาะสม โดยคำ�นึงถึงความสมเหตุสมผลของคำ�ตอบพร้อมทัง้ ตรวจสอบความถูกต้อง
2) การสือ ่ สารและการสือ ่ ความหมายทางคณิตศาสตร์ เป็นความสามารถในการใช้รป ู ภาษา
และสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสือ ่ สาร สือ
่ ความหมาย สรุปผล และนำ�เสนอได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน
3) การเชือ ่ มโยง เป็นความสามารถในการใช้ความรูท ้ างคณิตศาสตร์เป็นเครือ
่ งมือในการเรียนรู้
คณิตศาสตร์เนื้อหาต่าง ๆ หรือศาสตร์อื่น ๆ และนำ�ไปใช้ในชีวิตจริง
4) การให้เหตุผล เป็นความสามารถในการให้เหตุผล  รับฟังและให้เหตุผลสนับสนุนหรือโต้แย้ง
เพื่อนำ�ไปสู่การสรุป โดยมีข้อเท็จจริงทางคณิตศาสตร์รองรับ
5) การคิดสร้างสรรค์ เป็นความสามารถในการขยายแนวคิดที่มีอยู่เดิม หรือสร้างแนวคิดใหม่
เพื่อปรับปรุง พัฒนาองค์ความรู้

2. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการเรียนคณิตศาสตร์
การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ควรมุ่งเน้นให้นักเรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ต่อไปนี้
1) ทำ�ความเข้าใจหรือสร้างกรณีทวั่ ไปโดยใช้ความรูท ้ ไี่ ด้จากการศึกษากรณีตวั อย่างหลาย ๆ กรณี
2) มองเห็นว่าสามารถใช้คณิตศาสตร์แก้ปัญหาในชีวิตจริงได้
3) มีความมุมานะในการทำ�ความเข้าใจปัญหาและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
4) สร้างเหตุผลเพื่อสนับสนุนแนวคิดของตนเองหรือโต้แย้งแนวคิดของผู้อื่นอย่างสมเหตุสมผล
5) ค้นหาลักษณะที่เกิดขึ้นซ้ำ� ๆ และประยุกต์ใช้ลักษณะดังกล่าวเพื่อทำ�ความเข้าใจหรือ
แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ

326  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

3. การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ในปัจจุบันนี้มุ่งเน้นการวัดและการประเมิน
การปฏิบต ั งิ านในสภาพทีเ่ กิดขึน้ จริงหรือทีใ่ กล้เคียงกับสภาพจริง รวมทัง้ การประเมินเกีย่ วกับสมรรถภาพ
ของนักเรียนเพิ่มเติมจากความรู้ที่ได้จากการท่องจำ� โดยใช้วิธีการประเมินที่หลากหลายจากการที่
นักเรียน ได้ลงมือปฏิบต ั จิ ริง ได้เผชิญกับปัญหาจากสถานการณ์จริงหรือสถานการณ์จ�ำ ลอง ได้แก้ปญ ั หา
สืบค้นข้อมูล และนำ�ความรูไ้ ปใช้ รวมทัง้ แสดงออกทางการคิด การวัดผลประเมินผลดังกล่าวมีจด ุ ประสงค์
สำ�คัญดังต่อไปนี้
1) เพือ่ ตรวจสอบผลสัมฤทธิท ์ างการเรียนและตัดสินผลการเรียนรูต ้ ามสาระการเรียนรู้ มาตรฐาน
การเรียนรู้ และตัวชี้วัด เพื่อนำ�ผลที่ได้จากการตรวจสอบไปปรับปรุงพัฒนาให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้
ที่ดียิ่งขึ้น
2) เพื่อวินิจฉัยความรู้ทางคณิตศาสตร์และทักษะที่นักเรียนจำ�เป็นต้องใช้ในชีวิตประจำ�วัน เช่น
ความสามารถในการแก้ปัญหา การสืบค้น การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย การนำ�ความรู้
ไปใช้ การคิดวิเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การควบคุมกระบวนการคิด และนำ�ผลที่ได้จากการวินิจฉัย
นักเรียนไปใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสม
3) เพือ ่ รวบรวมข้อมูลและจัดทำ�สารสนเทศด้านการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ขอ ้ มูลจากการประเมิน
ผลที่ได้ในการสรุปผลการเรียนของนักเรียนและเป็นข้อมูลป้อนกลับแก่นักเรียนหรือผู้เกี่ยวข้องตาม
ความเหมาะสม รวมทั้งนำ�สารสนเทศไปใช้วางแผนบริหารการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
การกำ�หนดจุดประสงค์ของการวัดผลประเมินผลอย่างชัดเจน จะช่วยให้เลือกใช้วิธีการและ
เครื่องมือวัดผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวัดได้ในสิ่งที่ต้องการวัดและนำ�ผลที่ได้ไปใช้งานได้จริง

แนวทางการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์มีแนวทางที่สำ�คัญดังนี้
1) การวัดผลประเมินผลต้องกระทำ�อย่างต่อเนือ่ ง โดยใช้ค�ำ ถามเพือ่ ตรวจสอบและส่งเสริมความรู้
ความเข้าใจด้านเนือ ้ หา ส่งเสริมให้เกิดทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ดังตัวอย่างคำ�ถามต่อไป
นี้ “นักเรียนแก้ปญ ั หานีไ้ ด้อย่างไร” “ใครมีวธิ ก
ี ารนอกเหนือไปจากนีบ
้ า้ ง” “นักเรียนคิดอย่างไรกับวิธก ี าร
ที่เพื่อนเสนอ” การกระตุ้นด้วยคำ�ถามที่เน้นการคิดจะทำ�ให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนด้วยกันเอง
และระหว่างนักเรียนกับครู นักเรียนมีโอกาสแสดงความคิดเห็น นอกจากนี้ครูยังสามารถใช้คำ�ตอบ
ของนักเรียนเป็นข้อมูลเพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจ และพัฒนาการด้านทักษะและกระบวนการ
ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนได้อีกด้วย
2) การวัดผลประเมินผลต้องสอดคล้องกับความรูค ้ วามสามารถของนักเรียนทีร่ ะบุไว้ตามตัวชีว้ ด ั
ซึง่ กำ�หนดไว้ในหลักสูตรทีส่ ถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน ทัง้ นีค ้ รูจะต้องกำ�หนด
วิธก ี ารวัดผลประเมินผลเพือ ่ ใช้ตรวจสอบว่านักเรียนได้บรรลุผลการเรียนรูต ้ ามมาตรฐานทีก ่ �ำ หนดไว้ และ
ต้องแจ้งตัวชีว้ ด
ั ในแต่ละเรือ่ งให้นกั เรียนทราบโดยทางตรงหรือทางอ้อมเพือ่ ให้นกั เรียนได้ปรับปรุงตนเอง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  327
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

3) การวัดผลประเมินผลต้องครอบคลุมด้านความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และ


คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยเน้นการเรียนรูด ้ ว้ ยการทำ�งานหรือทำ�กิจกรรมทีส่ ง่ เสริมให้เกิดสมรรถภาพ
ทั้งสามด้าน ซึ่งงานหรือกิจกรรมดังกล่าวควรมีลักษณะดังนี้
−− สาระในงานหรือกิจกรรมต้องเน้นให้นักเรียนได้ใช้การเชื่อมโยงความรู้หลายเรื่อง
−− วิธีหรือทางเลือกในการดำ�เนินงานหรือการแก้ปัญหามีหลากหลาย
−− เงื่อนไขหรือสถานการณ์ของปัญหามีลักษณะปลายเปิด เพื่อให้นักเรียนได้มีโอกาสแสดง
ความสามารถตามศักยภาพของตน
−− งานหรื อ กิ จ กรรมต้ อ งเอื้ อ อำ � นวยให้ นั ก เรี ย นได้ ใ ช้ ก ารสื่ อ สาร การสื่ อ ความหมาย
ทางคณิตศาสตร์และการนำ�เสนอในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การพูด การเขียน การวาดภาพ
−− งานหรื อ กิ จ กรรมควรมี ค วามใกล้ เ คี ย งกั บ สถานการณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง เพื่ อ ช่ ว ยให้ นั ก เรี ย น
ได้เห็นการเชื่อมโยงระหว่างคณิตศาสตร์กับชีวิตจริง ซึ่งจะก่อให้เกิดความตระหนักในคุณค่า
ของคณิตศาสตร์
4) การวั ด ผลประเมิ น ผลการเรี ย นรู้ ค ณิ ต ศาสตร์ ต้ อ งใช้ วิ ธี ก ารที่ ห ลากหลายและเหมาะสม
และใช้เครือ่ งมือทีม่ ค
ี ณ
ุ ภาพเพือ่ ให้ได้ขอ้ มูลและสนเทศเกีย่ วกับนักเรียน เช่น เมือ่ ต้องการวัดผลประเมินผล
เพื่อตัดสินผลการเรียนอาจใช้การทดสอบ การตอบคำ�ถาม การทำ�แบบฝึกหัด การทำ�ใบกิจกรรม หรือ
การทดสอบย่อย เมื่อต้องการตรวจสอบพัฒนาการการเรียนรู้ของนักเรียนด้านทักษะและกระบวนการ
ทางคณิตศาสตร์ อาจใช้การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ การสัมภาษณ์ การจัดทำ�แฟ้มสะสมงาน หรือ
การทำ�โครงงาน การเลือกใช้วิธีการวัดที่เหมาะสมและเครื่องมือที่มีคุณภาพ จะทำ�ให้สามารถวัดในสิ่งที่
ต้ อ งการวั ด ได้ ซึ่ ง จะทำ � ให้ ค รู ไ ด้ ข้ อ มู ล และสนเทศเกี่ ย วกั บ นั ก เรี ย นอย่ า งครบถ้ ว นและตรงตาม
วัตถุประสงค์ของการวัดผลประเมินผล อย่างไรก็ตาม ครูควรตระหนักว่าเครื่องมือวัดผลประเมินผล
การเรียนรู้ที่ใช้ในการประเมินตามวัตถุประสงค์หนึ่ง ไม่ควรนำ�มาใช้กับอีกวัตถุประสงค์หนึ่ง เช่น
แบบทดสอบที่ใช้ในการแข่งขันหรือการคัดเลือกไม่เหมาะสมที่จะนำ�มาใช้ตัดสินผลการเรียนรู้
5) การวัดผลประเมินผลเป็นกระบวนการทีใ่ ช้สะท้อนความรูค ้ วามสามารถของนักเรียน ช่วยให้
นักเรียนมีขอ ้ มูลในการปรับปรุงและพัฒนาความรูค ้ วามสามารถของตนเองให้ดข ี น
ึ้ ในขณะทีค
่ รูสามารถ
นำ�ผลการประเมินมาใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อปรับปรุงกระบวนการเรียนรู้ของนักเรียน
รวมทั้งปรับปรุงการสอนของครูให้มีประสิทธิภาพ จึงต้องวัดผลประเมินผลอย่างสม่ำ�เสมอและนำ�ผล
ที่ได้มาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน ซึ่งจะแบ่งการประเมินผลเป็น 3 ระยะดังนี้
ประเมินก่อนเรียน เป็นการประเมินความรู้พื้นฐานและทักษะจำ�เป็นที่นักเรียนควรมีก่อน
การเรียนรายวิชา บทเรียนหรือหน่วยการเรียนใหม่ ข้อมูลที่ได้จากการวัดผลประเมินผลจะช่วยให้ครู
นำ�ไปใช้ประโยชน์ในการจัดการเรียนรู้ดังนี้
−− จัดกลุม่ นักเรียนและจัดกิจกรรมการเรียนรูใ้ ห้ตรงตามความถนัด ความสนใจ และความสามารถ
ของนักเรียน
−− วางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยครูพิจารณาเลือกตัวชี้วัด เนื้อหาสาระ กิจกรรม

328  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

แบบฝึกหัด อุปกรณ์ และสื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับความรู้พื้นฐานและทักษะของนักเรียน


และสอดคล้องกับการเรียนรู้ที่กำ�หนดไว้
ประเมินระหว่างเรียน เป็นการประเมินเพื่อวินิจฉัยนักเรียนในระหว่างการเรียน ข้อมูลที่ได้จะ
ช่วยให้ครูสามารถดำ�เนินการในเรื่องต่อไปนี้
−− ศึกษาพัฒนาการเรียนรูข้ องนักเรียนเป็นระยะ ๆ ว่านักเรียนมีพฒ ั นาการเพิม ่ ขึน
้ เพียงใด ถ้าพบว่า
นักเรียนไม่มีพัฒนาการเพิ่มขึ้นครูจะได้หาทางแก้ไขได้ทันท่วงที
−− ปรับปรุงกระบวนการเรียนรู้ของนักเรียน ถ้าพบว่านักเรียนไม่เข้าใจบทเรียนใดจะได้จัด
ให้เรียนซ้ำ� หรือนักเรียนเรียนรู้บทใดได้เร็วกว่าที่กำ�หนดไว้จะได้ปรับวิธีการเรียนการสอน นอกจากนี้
ยังช่วยให้ทราบจุดเด่นและจุดด้อยของนักเรียนแต่ละคน
ประเมินหลังเรียน เป็นการประเมิ น เพื่อ นำ � ผลที่ไ ด้ ไ ปใช้ ส รุ ป ผลการเรี ยนรู้หรื อ เป็ น การวัด
ผลประเมินผลแบบสรุปรวบยอดหลังจากสิ้นสุดภาคการศึกษาหรือปีการศึกษาของนักเรียน รวมทั้งครู
สามารถนำ�ผลการประเมินทีไ่ ด้ไปใช้ในการวางแผนและพัฒนาการจัดการเรียนรูใ้ ห้มป ี ระสิทธิภาพมากขึน ้

4. การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
ในศตวรรษที่ 21 (1 มกราคม ค.ศ. 2001 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 2100) โลกมีการเปลี่ยนแปลง
ในทุก ๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ สังคม วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ส่งผลให้จำ�เป็นต้องมี
การเตรียมนักเรียนให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของโลก ครูจึงต้องมีความตื่นตัวและเตรียมพร้อม
ในการจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนมีความรู้ในวิชาหลัก (core subjects) มีทักษะการเรียนรู้ (learning
skills) และพัฒนานักเรียนให้มีทักษะที่จำ�เป็นในศตวรรษที่ 21 ไม่ว่าจะเป็นทักษะการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ ทักษะการคิดและการแก้ปัญหา ทักษะการสื่อสาร และทักษะชีวิตทั้งนี้เครือข่าย P21
(Partnership for 21st Century Skill) ได้จ�ำ แนกทักษะทีจ่ �ำ เป็นในศตวรรษที่ 21 ออกเป็น 3 หมวด
ได้แก่
1) ทั ก ษะการเรี ย นรู้ แ ละนวั ต กรรม (Learning and Innovation Skills) ได้ แ ก่
การคิดสร้างสรรค์ (creativity) การคิดแบบมีวิจารณญาณ/การแก้ปัญหา (critical thinking/
problem-solving) การสื่อสาร (communication) และ การร่วมมือ (collaboration)
2) ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี (Information, Media, and Technology
Skills) ได้แก่ การรู้เท่าทันสารสนเทศ (information literacy) การรู้เท่าทันสื่อ (media literacy)
การรู้ทันเทคโนโลยีและการสื่อสาร (information, communications, and technology literacy)
3) ทักษะชีวิตและอาชีพ (Life and Career Skills) ได้แก่ ความยืดหยุ่นและความสามารถ
ในการปรับตัว (flexibility and adaptability) มีความคิดริเริ่มและกำ�กับดูแลตัวเองได้ (initiative
and self-direction) ทักษะสังคมและเข้าใจในความต่างระหว่างวัฒนธรรม (social and cross-
cultural skills) การเป็นผู้สร้างผลงานหรือผู้ผลิตและมีความรับผิดชอบเชื่อถือได้ (productivity
and accountability) และมีภาวะผู้นำ�และความรับผิดชอบ (leadership and responsibility)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  329
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

ดังนัน
้ การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 ต้องมีการเปลีย่ นแปลงให้เข้ากับสภาพแวดล้อม
บริบททางสังคมและเทคโนโลยีท่เี ปลี่ยนแปลงไป ครูต้องออกแบบการเรียนรู้ท่เี น้นนักเรียนเป็นสำ�คัญ
โดยให้นักเรียนได้เรียนจากสถานการณ์ในชีวิตจริงและเป็นผู้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง โดยมีครูเป็น
ผูจ้ ด
ุ ประกายความสนใจใฝ่รู้ อํานวยความสะดวก และสร้างบรรยากาศให้เกิดการแลกเปลีย่ นเรียนรูร้ ว่ มกัน

5. การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ในระดับประถมศึกษา
การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์เป็นกระบวนการที่มุ่งเน้นให้นักเรียนใช้ความรู้ที่หลากหลายและ
ยุทธวิธีที่เหมาะสมในการหาคำ�ตอบของปัญหา นักเรียนต้องได้รับการพัฒนากระบวนการแก้ปัญหา
อย่างต่อเนื่อง สามารถแก้ปัญหาได้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่าง ๆ
กระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่ได้รับการยอมรับกันอย่างแพร่หลาย คือ กระบวนการ
แก้ปัญหาตามแนวคิดของโพลยา (Polya) ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนสำ�คัญ 4 ขั้น ดังนี้
ขั้นที่ 1 ทำ�ความเข้าใจปัญหา
ขั้นที่ 2 วางแผนแก้ปัญหา
ขั้นที่ 3 ดำ�เนินการตามแผน
ขั้นที่ 4 ตรวจสอบ     
ขัน ้ ที่ 1 ทำ�ความเข้าใจปัญหา ขัน
้ ตอนนีเ้ ป็นการพิจารณาว่าสถานการณ์ทก
ี่ �ำ หนดให้เป็นปัญหา
เกี่ยวกับอะไร ต้องการให้หาอะไร กำ�หนดอะไรให้บ้าง เกี่ยวข้องกับความรู้ใดบ้าง การทำ�ความเข้าใจ
ปัญหา อาจใช้วิธีการต่าง ๆ ช่วย เช่น การวาดภาพ การเขียนตาราง การบอกหรือเขียนสถานการณ์
ปัญหาด้วยภาษาของตนเอง
ขั้นที่  2 วางแผนแก้ปัญหา ขั้นตอนนี้เป็นการพิจารณาว่าจะแก้ปัญหาด้วยวิธีใด จะแก้อย่างไร
รวมถึงพิจารณาความสัมพันธ์ของสิง่ ต่างๆ ในปัญหา ผสมผสานกับประสบการณ์การแก้ปญ ั หาทีน่ ก
ั เรียน
มีอยู่ เพื่อกำ�หนดแนวทางในการแก้ปัญหา และเลือกยุทธวิธีแก้ปัญหา
ขั้นที่  3  ดำ�เนินการตามแผน ขั้นตอนนี้เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนหรือแนวทางที่วางไว้ 
จนสามารถหาคำ�ตอบได้ ถ้าแผนหรือยุทธวิธีที่เลือกไว้ไม่สามารถหาคำ�ตอบได้ นักเรียนต้องตรวจสอบ
ความถูกต้องของแต่ละขั้นตอนในแผนที่วางไว้ หรือเลือกยุทธวิธีใหม่จนกว่าจะได้คำ�ตอบ
ขั้นที่ 4 ตรวจสอบ ขั้นตอนนี้เป็นการพิจารณาความถูกต้องและความสมเหตุสมผลของคำ�ตอบ
นักเรียนอาจมองย้อนกลับไปพิจารณายุทธวิธีอื่น ๆ ในการหาคำ�ตอบ และขยายแนวคิดไปใช้กับ
สถานการณ์ปัญหาอื่น

6. ยุทธวิธีการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
ยุ ท ธวิ ธี ก ารแก้ ปั ญ หาทางคณิ ต ศาสตร์ เ ป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ ช่ ว ยให้ นั ก เรี ย นประสบความสำ � เร็ จ
ในการแก้ ปั ญ หา ครู ต้ อ งจั ด ประสบการณ์ ก ารแก้ ปั ญ หาที่ ห ลากหลายและเพี ย งพอให้ กั บ นั ก เรี ย น
โดยยุทธวิธีที่เลือกใช้ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ นั้น จะต้องมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับพัฒนาการ

330  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

ของนักเรียน ยุทธวิธีการแก้ปัญหาที่นักเรียนในระดับประถมศึกษาควรได้รับการพัฒนาและฝึกฝน
เช่น การวาดภาพ การหาแบบรูป การคิดย้อนกลับ การเดาและตรวจสอบ การทำ�ปัญหาให้ง่ายหรือ
แบ่งเป็นปัญหาย่อย การแจกแจงรายการหรือสร้างตาราง การตัดออก และ การเปลี่ยนมุมมอง
1) การวาดภาพ (Draw a Picture)
การวาดภาพ เป็นการอธิบายสถานการณ์ปัญหาด้วยการวาดภาพจำ�ลอง หรือเขียนแผนภาพ
เพื่อทำ�ให้เข้าใจปัญหาได้ง่ายขึ้น และเห็นแนวทางการแก้ปัญหานั้น ๆ ในบางครั้งอาจได้คำ�ตอบ
จากการวาดภาพนั้น
ตัวอย่าง
โต้งมีเงินอยู่จำ�นวนหนึ่ง วันเสาร์ใช้ไป 300 บาท และวันอาทิตย์ใช้ไป 2 ของเงินที่เหลือ ทำ�ให้
5
เงินที่เหลือคิดเป็นครึ่งหนึ่งของเงินที่มีอยู่เดิม จงหาว่าเดิมโต้งมีเงินอยู่กี่บาท
แนวคิด

วันเสาร์ใช้เงิน เงินที่เหลือจากวันเสาร์

300

เงินที่มีอยู่เดิม

วันเสาร์ใช้เงิน เงินที่เหลือคิดเป็นครึ่งหนึ่งของเงินที่มีอยู่เดิมเท่ากับ 3
6

วันอาทิตย์ใช้เงิน 2 ของเงินที่เหลือ
5

แสดงว่า เงิน 1 ส่วน เท่ากับ 300 บาท


เงิน 6 ส่วน เท่ากับ 6 × 300 = 1,800 บาท
ดังนั้น เดิมโต้งมีเงินอยู่ 1,800 บาท

2) การหาแบบรูป (Find a Pattern)


การหาแบบรูป เป็นการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา โดยค้นหาความสัมพันธ์ของข้อมูลที่เป็น
ระบบ หรือทีเ่ ป็นแบบรูป แล้วนำ�ความสัมพันธ์หรือแบบรูปทีไ่ ด้นน
ั้ ไปใช้ในการหาคำ�ตอบของสถานการณ์
ปัญหา
ตัวอย่าง ในงานเลี้ยงแห่งหนึ่งเจ้าภาพจัด และ ตามแบบรูปดังนี้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  331
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

ถ้าจัดโต๊ะและเก้าอี้ตามแบบรูปนี้จนมีโต๊ะ 10 ตัว จะต้องใช้เก้าอี้ทั้งหมดกี่ตัว


แนวคิด
1) เลือกยุทธวิธีที่จะนำ�มาใช้แก้ปัญหา ได้แก่ วิธีการหาแบบรูป
2) พิจารณารูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 แล้วเขียนจำ�นวนโต๊ะและจำ�นวนเก้าอี้ของแต่ละรูป

โต๊ะ 1 ตัว เก้าอี้ที่อยู่ด้านหัวกับด้านท้าย 2 ตัว


เก้าอี้ด้านข้าง 2 ตัว

โต๊ะ 2 ตัว เก้าอี้ที่อยู่ด้านหัวกับด้านท้าย 2 ตัว


เก้าอี้ด้านข้าง 2+2 ตัว

โต๊ะ 3 ตัว เก้าอี้ที่อยู่ด้านหัวกับด้านท้าย 2 ตัว


เก้าอี้ด้านข้าง 2+2+2 ตัว

โต๊ะ 4 ตัว เก้าอี้ที่อยู่ด้านหัวกับด้านท้าย 2 ตัว


เก้าอี้ด้านข้าง 2+2+2+2 ตัว

3) พิจารณาหาแบบรูปจำ�นวนเก้าอี้ที่เปลี่ยนแปลงเทียบกับจำ�นวนโต๊ะ พบว่า จำ�นวนเก้าอี้ซ่ึง


วางอยู่ที่ด้านหัวกับด้านท้ายคงตัวไม่เปลี่ยนแปลง แต่เก้าอี้ด้านข้างมีจำ�นวนเท่ากับจำ�นวนโต๊ะ
คูณด้วย 2
4) ดังนัน
้ เมือ
่ จัดโต๊ะและเก้าอีต
้ ามแบบรูปนีไ้ ปจนมีโต๊ะ 10 ตัว จะต้องใช้เก้าอีท
้ งั้ หมดเท่ากับ จำ�นวน
โต๊ะคูณด้วย 2 แล้วบวกกับจำ�นวนเก้าอี้หัวกับท้าย 2 ตัว ได้คำ�ตอบ (10 × 2)+ 2 = 22 ตัว

332  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

3) การคิดย้อนกลับ (Work Backwards)


การคิ ด ย้ อ นกลั บ เป็ น การวิ เ คราะห์ ส ถานการณ์ ปั ญ หาที่ ท ราบผลลั พ ธ์ แต่ ไ ม่ ท ราบข้ อ มู ล
ในขั้นเริ่มต้น การคิดย้อนกลับเริ่มคิดจากข้อมูลที่ได้ในขั้นสุดท้าย แล้วคิดย้อนกลับทีละขั้นมาสู่ข้อมูล
ในขั้นเริ่มต้น
ตัวอย่าง
เพชรมีเงินจำ�นวนหนึ่ง ให้น้องชายไป 35 บาท ให้น้องสาวไป 15 บาท ได้รับเงินจากแม่อีก
20 บาท ทำ�ให้ขณะนี้เพชรมีเงิน 112 บาท เดิมเพชรมีเงินกี่บาท
แนวคิด
จากสถานการณ์เขียนแผนภาพได้ ดังนี้

คิดย้อนกลับจากจำ�นวนเงินที่เพชรมีขณะนี้ เพื่อหาจำ�นวนเงินเดิมที่เพชรมี

ดังนั้น เดิมเพชรมีเงิน 142 บาท

4) การเดาและตรวจสอบ (Guess and Check)


การเดาและตรวจสอบ เป็นการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาและเงื่อนไขต่าง ๆ ผสมผสานกับ
ความรู้ และประสบการณ์เดิมเพือ่ เดาคำ�ตอบทีน ่ า่ จะเป็นไปได้ แล้วตรวจสอบความถูกต้อง ถ้าไม่ถก
ู ต้อง
ให้เดาใหม่โดยใช้ข้อมูลจากการเดาครั้งก่อนเป็นกรอบในการเดาคำ�ตอบครั้งต่อไปจนกว่าจะได้คำ�ตอบ
ที่ถูกต้องและสมเหตุสมผล
ตัวอย่าง
จำ�นวน 2 จำ�นวน ถ้านำ�จำ�นวนทัง้ สองนัน
้ บวกกันจะได้ 136 แต่ถา้ นำ�จำ�นวนมากลบด้วยจำ�นวนน้อย
จะได้ 36 จงหาจำ�นวนสองจำ�นวนนั้น
แนวคิด เดาว่าจำ�นวน 2 จำ�นวนนั้นคือ 100 กับ 36 (ซึ่งมีผลบวก เป็น 136)
ตรวจสอบ 100 + 36 = 136 เป็นจริง
แต่ 100 − 36 = 64 ไม่สอดคล้องกับเงื่อนไข
เนื่องจากผลลบมากกว่า 36 จึงควรลดตัวตั้ง และเพิ่มตัวลบด้วยจำ�นวนที่เท่ากัน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  333
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

จึงเดาว่าจำ�นวน 2 จำ�นวนนั้นคือ 90 กับ 46 (ซึ่งมีผลบวกเป็น 136 )


ตรวจสอบ 90 + 46 = 136 เป็นจริง
แต่ 90 − 46 = 44 ไม่สอดคล้องกับเงื่อนไข
เนื่องจากผลลบมากกว่า 36 จึงควรลดตัวตั้ง และเพิ่มตัวลบด้วยจำ�นวนที่เท่ากัน
จึงเดาว่าจำ�นวน 2 จำ�นวนนั้นคือ 80 กับ 56 (ซึ่งผลบวกเป็น 136 )
ตรวจสอบ 80 + 56 = 136 เป็นจริง
แต่ 80 − 56 = 24 ไม่สอดคล้องกับเงื่อนไข
เนื่องจากผลลบน้อยกว่า 36 จึงควรเพิ่มตัวตั้ง และลดตัวลบด้วยจำ�นวนที่เท่ากัน โดยที่ตัวตั้ง
ควรอยู่ระหว่าง 80 และ 90
เดาว่าจำ�นวน 2 จำ�นวน คือ 85 กับ 51
ตรวจสอบ 85 + 51 = 136 เป็นจริง
แต่ 85 − 51 = 34 ไม่สอดคล้องกับเงื่อนไข
เนื่องจากผลลบน้อยกว่า 36 เล็กน้อย จึงควรเพิ่มตัวตั้ง และลดตัวลบด้วยจำ�นวนที่เท่ากัน
เดาว่าจำ�นวน 2 จำ�นวน คือ 86 กับ 50
ตรวจสอบ 86 + 50 = 136 เป็นจริง
และ 86 − 50 = 36 เป็นจริง
ดังนั้น จำ�นวน 2 จำ�นวนนั้น คือ 86 กับ 50

5) การทำ�ปัญหาให้ง่าย (Simplify the problem)


การทำ�ปัญหาให้งา่ ย เป็นการลดจำ�นวนทีเ่ กีย่ วข้องในสถานการณ์ปญ
ั หา หรือเปลีย่ นให้อยูใ่ นรูป
ที่คุ้นเคย ในกรณีที่สถานการณ์ปัญหามีความซับซ้อนอาจแบ่งปัญหาเป็นส่วนย่อย ๆ ซึ่งจะช่วยให้หา
คำ�ตอบของสถานการณ์ปัญหาได้ง่ายขึ้น
ตัวอย่าง
จงหาพื้นที่รูปสามเหลี่ยมที่แรเงาในรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า

334  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

แนวคิด
ถ้าคิดโดยการหาพื้นที่รูปสามเหลี่ยมจากสูตร 1 × ความยาวของฐาน × ความสูง
2
ซึ่งพบว่ามีความยุ่งยากมากแต่ถ้าเปลี่ยนมุมมองจะสามารถแก้ปัญหาได้ง่ายกว่า ดังนี้
วิธีที่ 1 จากรูป เราสามารถหาพื้นที่ A + B + C + D แล้วลบออกจากพื้นที่ทั้งหมดก็จะได้พื้นที่ของ
รูปสามเหลี่ยมที่ต้องการได้

พื้นที่รูปสามเหลี่ยม A เท่ากับ (16 × 10) ÷ 2 = 80 ตารางเซนติเมตร


พื้นที่รูปสามเหลี่ยม B เท่ากับ (10 × 3) ÷ 2 = 15 ตารางเซนติเมตร
พื้นที่รูปสี่เหลี่ยม C เท่ากับ 6 × 3 = 18 ตารางเซนติเมตร
พื้นที่รูปสามเหลี่ยม D เท่ากับ (6 × 7) ÷ 2 = 21 ตารางเซนติเมตร
จะได้พื้นที่ A + B + C + D เท่ากับ 80 + 15 + 18 + 21 = 134 ตารางเซนติเมตร
ดังนั้น พื้นที่รูปสามเหลี่ยมที่ต้องการเท่ากับ (16 × 10) − 134 = 26 ตารางเซนติเมตร

วิธีที่ 2 จากรูปสามารถหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมที่ต้องการได้ดังนี้

พื้นที่รูปสามเหลี่ยม AEG เท่ากับ (16 × 10) ÷ 2 = 80 ตารางเซนติเมตร


จากรูปจะได้ว่า พื้นที่รูปสามเหลี่ยม AEG เท่ากับพื้นที่รูปสามเหลี่ยม ACE
ดังนั้น พื้นที่รูปสามเหลี่ยม ACE เท่ากับ 80 ตารางเซนติเมตร
พื้นที่รูปสามเหลี่ยม ABH เท่ากับ (10 × 3) ÷ 2 = 15 ตารางเซนติเมตร
พื้นที่รูปสามเหลี่ยม HDE เท่ากับ (6 × 7) ÷ 2 = 21 ตารางเซนติเมตร
และพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม BCDH เท่ากับ 3 × 6 = 18 ตารางเซนติเมตร
ดังนั้น พื้นที่รูปสามเหลี่ยม AHE เท่ากับ 80 − (15 + 21 + 18) = 26 ตารางเซนติเมตร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  335
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

6) การแจกแจงรายการ (Make a list)


การแจกแจงรายการ เป็นการเขียนรายการหรือเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน ้ จากสถานการณ์ปญ ั หาต่าง ๆ
การแจกแจงรายการควรทำ�อย่างเป็นระบบ โดยอาจใช้ตารางช่วยในการแจกแจงหรือจัดระบบของข้อมูล
เพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่างชุดของข้อมูลที่นำ�ไปสู่การหาคำ�ตอบ
ตัวอย่าง
นักเรียนกลุม
่ หนึง่ ต้องการซือ
้ ไม้บรรทัดอันละ 8 บาท และดินสอแท่งละ 4 บาท เป็นเงิน 100 บาท
ถ้าต้องการไม้บรรทัดอย่างน้อย 5 อัน และดินสออย่างน้อย 4 แท่ง จะซือ ้ ไม้บรรทัดและดินสอได้กว่ี ธิ ี
แนวคิด เขียนแจกแจงรายการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำ�นวนและราคาไม้บรรทัดกับดินสอ ดังนี้
ถ้าซื้อไม้บรรทัด 5 อัน ราคาอันละ 8 บาท เป็นเงิน 5 × 8 = 40 บาท
เหลือเงินอีก 100 − 40 = 60 บาท จะซือ ้ ดินสอราคาแท่งละ 4 บาท ได้ 60 ÷ 4 = 15 แท่ง
ถ้าซื้อไม้บรรทัด 6 อัน ราคาอันละ 8 บาท เป็นเงิน 6 × 8 = 48 บาท
เหลือเงินอีก 100 − 48 = 52 บาท จะซือ ้ ดินสอราคาแท่งละ 4 บาท ได้ 52 ÷ 4 = 13 แท่ง
สังเกตได้ว่า เมื่อซื้อไม้บรรทัดเพิ่มขึ้น 1 อัน จำ�นวนดินสอจะลดลง 2 แท่ง
เขียนแจกแจงในรูปตาราง ได้ดังนี้

ไม้บรรทัด เหลือเงิน ดินสอ

จำ�นวน(อัน) ราคา(บาท) (บาท) จำ�นวน(แท่ง)


5 5 × 8 = 40 100 – 40 = 60 60 ÷ 4 = 15
6 6 × 8 = 48 100 – 48 = 52 52 ÷ 4 = 13
7 7 × 8 = 56 100 – 56 = 44 44 ÷ 4 = 11
8 8 × 8 = 64 100 – 64 = 36 36 ÷ 4 = 9
9 9 × 8 = 72 100 – 72 = 28 28 ÷ 4 = 7
10 10 × 8 = 80 100 – 80 = 20 20 ÷ 4 = 5

ดังนั้น จะซื้อไม้บรรทัดและดินสอให้เป็นไปตามเงื่อนไขได้ 6 วิธี

7) การตัดออก (Eliminate)
การตัดออก เป็นการพิจารณาเงือ่ นไขของสถานการณ์ปญ ั หา แล้วตัดสิง่ ทีก่ �ำ หนดให้ในสถานการณ์
ปัญหาที่ไม่สอดคล้องกับเงื่อนไข จนได้คำ�ตอบที่ตรงกับเงื่อนไขของสถานการณ์ปัญหานั้น
ตัวอย่าง จงหาจำ�นวนที่หารด้วย 5 และ 6 ได้ลงตัว
4,356 9,084 5,471 9,346 4,782 7,623
2,420 3,474 1,267 12,678 2,094 6,540
4,350 4,140 5,330 3,215 4,456 9,989

336  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

แนวคิด พิจารณาจำ�นวนที่หารด้วย 5 ได้ลงตัว จึงตัดจำ�นวนที่มีหลักหน่วยไม่เป็น 5 หรือ 0 ออก


จำ�นวนที่เหลือได้แก่ 2,420 6,540 4,350 4,140 5,330 และ 3,215
จากนั้น พิจารณาจำ�นวนที่หารด้วย 6 ได้ลงตัว ได้แก่ 6,540 4,350 4,140
ดังนั้น จำ�นวนที่หารด้วย 5 และ 6 ได้ลงตัว ได้แก่ 6,540 4,350 4,140

8) การเปลี่ยนมุมมอง
การเปลี่ยนมุมมอง เป็นการแก้สถานการณ์ปัญหาที่มีความซับซ้อนไม่สามารถใช้วิธียุทธวิธีอื่น
ในการหาคำ�ตอบได้ จึงต้องเปลี่ยนวิธีคิด หรือแนวทางการแก้ปัญหาให้แตกต่างไปจากที่คุ้นเคยเพื่อให้
แก้ปัญหาได้ง่ายขึ้น
ตัวอย่าง
จากรูป เมื่อแบ่งเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลมออกเป็น 3 ส่วนเท่าๆกัน จงหาพื้นที่ส่วนที่แรเงา

แนวคิด
พลิกครึง่ วงกลมส่วนล่างจะได้พน
้ื ทีส่ ว่ นทีไ่ ม่แรเงาเป็นวงกลมที่ 1 ส่วนทีแ่ รเงาเป็นวงกลมที่ 2 ดังรูป

พื้นที่ส่วนที่แรเงา เท่ากับ พื้นที่วงกลมที่ 2 ลบด้วยพื้นที่วงกลมที่ 1


1 2 3
จะได้ π(1)2 − π ( )2 = 4 π ตารางหน่วย
จากยุทธวิธข ี า้ งต้นเป็นยุทธวิธพ
ี น
้ื ฐานสำ�หรับนักเรียนชัน ้ ประถมศึกษา ครูจ�ำ เป็นต้องสอดแทรก
ยุทธวิธีการแก้ปัญหาที่เหมาะสมกับพัฒนาการของนักเรียน เช่น นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1−2
ครูอาจเน้นให้นก ั เรียนใช้การวาดรูป หรือการแจกแจงรายการช่วยในการแก้ปญ ั หา นักเรียนชัน้ ประถม
ศึกษาปีท่ี 3−6 ครูอาจให้นกั เรียนใช้การแจกแจงรายการ การวาดรูป การหาแบบรูป การเดาและตรวจสอบ
การคิดย้อนกลับ การตัดออก หรือการเปลีย่ นมุมมอง
ปัญหาทางคณิตศาสตร์บางปัญหานัน ้ อาจมียท
ุ ธวิธท
ี ใ่ี ช้แก้ปญ
ั หานัน
้ ได้หลายวิธี นักเรียนควรเลือก
ใช้ยุทธวิธีให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัญหา ในบางปัญหานักเรียนอาจใช้ยุทธวิธีมากกว่า 1 ยุทธวิธี
เพื่อแก้ปัญหานั้น

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  337
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

7. การใช้เทคโนโลยีในการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
ในศตวรรษที่ 21 ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงขึ้นอย่าง
รวดเร็วทำ�ให้การติดต่อสื่อสารและเผยแพร่ข้อมูลผ่านทางช่องทางต่าง ๆ สามารถทำ�ได้อย่างสะดวก
ง่ายและรวดเร็ว โดยใช้สื่ออุปกรณ์ที่ทันสมัย การจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ก็เช่นกัน ต้องมี
การปรับปรุงและปรับตัว ให้เข้ากับบริบททางสังคมและเทคโนโลยีทเี่ ปลีย่ นแปลงไป ซึง่ จำ�เป็นต้องอาศัย
สือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูใ้ ห้นา่ สนใจ สามารถนำ�เสนอเนือ ้ หา
ได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้และช่วยลดภาระงานบางอย่างทั้งนักเรียน
และครูได้ เช่น การใช้เครือข่ายสังคม (Social network : line, facebook, twitter) ในการสั่งการบ้าน
ติดตามภาระงานทีม ่ อบหมายหรือใช้ตด ิ ต่อสือ
่ สารกันระหว่างนักเรียน ครู และผูป ้ กครองได้อย่างสะดวก
รวดเร็ว ทุกที่ทุกเวลา ทั้งนี้ครู และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาควรบูรณาการและประยุกต์ใช้
สือ
่ เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพือ ่ ช่วยให้นก
ั เรียนเกิดการเรียนรู้ มีความสามารถ
ในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและหลากหลาย ตลอดจนพัฒนา
ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
สถานศึกษามีบทบาทอย่างยิ่งในการจัดสิ่งอำ�นวยความสะดวก ตลอดจนส่งเสริมให้ครูและ
นักเรียน ได้มีโอกาสในการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ให้มากที่สุด
เพื่อจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำ�นวยต่อการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศให้มากที่สุดสถานศึกษาควร
ดำ�เนินการ ดังนี้
1) จัดให้มห ี อ้ งปฏิบต
ั กิ ารทางคณิตศาสตร์ทม ี่ สี อื่ อุปกรณ์ เทคโนโลยีตา่ ง ๆ เช่น ระบบอินเทอร์เน็ต
คอมพิวเตอร์ โปเจคเตอร์ ให้เพียงพอกับจำ�นวนนักเรียน
2) จัดเตรียมสื่อ เครื่องมือประกอบการสอนในห้องเรียนเพื่อให้ครูได้ใช้ในการนำ�เสนอเนื้อหา
ในบทเรียน เช่น คอมพิวเตอร์ โปเจคเตอร์ เครื่องฉายทึบแสง เครื่องขยายเสียง เป็นต้น
3) จัดเตรียมระบบสื่อสารแบบไร้สายที่ปลอดภัยโดยไม่มีค่าใช้จ่าย (secured-free WIFI) ให้
เพียงพอ กระจายทั่วถึงครอบคลุมพื้นที่ในโรงเรียน
4) ส่งเสริมให้ครูนำ�สื่อเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ รวมทั้งสนับสนุนให้ครู
เข้ารับการอบรมอย่างต่อเนื่อง
5) ส่งเสริมให้นกั เรียนและผูป ้ กครองได้ตรวจสอบ ติดตามผลการเรียน การเข้าชัน ้ เรียนผ่านระบบ
อินเทอร์เน็ต เช่น ผูป ้ กครองสามารถเข้าเว็บมาดูกล้องวีดโิ อวงจรปิด (CCTV) การเรียนการสอน
ของห้องเรียนที่บุตรของตนเองเรียนอยู่ได้
ครูในฐานะทีเ่ ป็นผูถ้ า่ ยทอดความรูใ้ ห้กบ ั นักเรียน จำ�เป็นต้องศึกษาและนำ�สือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ
มาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูใ้ ห้สอดคล้อง เหมาะสม กับสภาพแวดล้อม และความพร้อม
ของโรงเรียน ครูควรมีบทบาท ดังนี้
1) ศึกษาหาความรูเ้ กีย่ วกับสือ่ เทคโนโลยีใหม่ ๆ เพือ่ นำ�มาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
2) จัดหาสื่อ อุปกรณ์ โปรแกรม แอปพลิเคชันต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ที่เหมาะสมเพื่อนำ�เสนอ

338  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

เนื้อหาให้นักเรียนสนใจและเข้าใจมากยิ่งขึ้น
3) ใช้สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน เช่น ใช้โปรแกรม Power point ในการนำ�เสนอเนื้อหา
ใช้ Line และ Facebook ในการติดต่อสื่อสารกับนักเรียนและผู้ปกครอง
4) ส่ ง เสริ ม ให้ นั ก เรี ย นได้ ใ ช้ สื่ อ เทคโนโลยี ม าใช้ ใ นการเรี ย น เช่ น เครื่ อ งคิ ด เลข โปรแกรม
The Geometer’s Sketchpad (GSP) และ GeoGebra เป็นต้น
5) ปลูกจิตสำ�นึกให้นักเรียนรู้จักใช้สื่อเทคโนโลยีอย่างถูกต้อง เหมาะสมกับเวลาและสถานที่
การใช้งานอย่างประหยัด เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
เพือ่ ส่งเสริมการนำ�สือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูค ้ ณิตศาสตร์
ในระดับชัน ้ ประถมศึกษา เพือ ่ ให้นกั เรียนมีความรู ้ มีทก
ั ษะ บรรลุผลตามจุดประสงค์ของหลักสูตร และ
สามารถนำ�ความรูท ้ ไ่ี ด้ไปประยุกต์ใช้ทง้ั ในการเรียนและใช้ในชีวต ิ จริง ครูควรจัดหาและศึกษาเกีย ่ วกับ
สือ่ อุปกรณ์และเครือ่ งมือทีค่ วรมีไว้ใช้ในห้องเรียน เพือ่ นำ�เสนอบทเรียนให้นา่ สนใจ สร้างเสริมความเข้าใจ
ของนักเรียน ทำ�ให้การสอนมีประสิทธิภาพยิง่ ขึน ้

8. สถิติในระดับประถมศึกษา
ในปัจจุบัน เรามักได้ยินหรือได้เห็นคำ�ว่า “สถิติ” อยู่บ่อยครั้ง ทั้งจากโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ หรือ
อินเทอร์เน็ต ซึ่งมักจะมีข้อมูลหรือตัวเลขเกี่ยวข้องอยู่ด้วยเสมอ เช่น สถิติจำ�นวนนักเรียนในโรงเรียน
สถิตกิ ารมาโรงเรียนของนักเรียน สถิตก ิ ารเกิดอุบตั เิ หตุบนท้องถนนในช่วงเทศกาลต่าง ๆ สถิตก ิ ารเกิด
การตาย สถิตผ ิ ปู้ ว่ ยโรคเอดส์ เป็นต้น จนทำ�ให้หลายคนเข้าใจว่า สถิติ คือข้อมูลหรือตัวเลข แต่ในความ
เป็นจริง สถิตย ิ งั รวมไปถึงวิธก ี ารทีว่ า่ ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูล การนำ�เสนอข้อมูล การวิเคราะห์ขอ ้ มูล
และการตีความหมายข้อมูลด้วย ซึ่งผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถิติจะสามารถนำ�สถิติไปช่วย
ในการตัดสินใจ การวางแผนดำ�เนินงาน และการแก้ปัญหาในด้านต่าง ๆ ทั้งด้านการดำ�เนินชีวิต ธุรกิจ
และการพัฒนาประเทศ เช่น ถ้ารัฐบาลต้องการเพิม ่ รายได้ของประชากร จะต้องวางแผนโดยอาศัยข้อมูล
สถิติประชากร สถิติการศึกษา สถิติแรงงาน สถิติการเกษตร และสถิติอุตสาหกรรม เป็นต้น
ดังนัน ้ สถิตจิ งึ เป็นเรือ
่ งสำ�คัญและมีความจำ�เป็นทีต ่ อ
้ งจัดการเรียนการสอนให้นก
ั เรียนเกิดความรู้
ความเข้าใจ และสามารถนำ�สถิติไปใช้ในชีวิตจริงได้ ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
จึงจัดให้นก
ั เรียนได้เรียนรูเ้ กีย่ วกับวิธก ี ารเก็บรวบรวมข้อมูลและการนำ�เสนอข้อมูล ซึง่ เป็นความรูพ ้ ื้นฐาน
สำ�หรับการเรียนสถิติในระดับที่สูงขึ้น โดยในการเรียนการสอนควรเน้นให้นักเรียนใช้ข้อมูลประกอบ
การตัดสินใจและแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมด้วย
การเก็บรวบรวมข้อมูล (Collecting Data)
ในการศึก ษาหรือตัด สินใจเรื่องต่า ง ๆ จำ � เป็ น ต้ อ งอาศั ยข้ อ มู ล ประกอบการตั ด สิ น ใจทั้งสิ้น
จึงจำ�เป็นทีต
่ อ้ งมีการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึง่ มีวธิ กี ารทีห
่ ลากหลาย เช่น การสำ�รวจ การสังเกต การสอบถาม
การสัมภาษณ์ หรือการทดลอง ทั้งนี้การเลือกวิธีเก็บรวบรวมข้อมูลจะขึ้นอยู่กับสิ่งที่ต้องการศึกษา

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  339
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

การนำ�เสนอข้อมูล (Representing Data)


การนำ�เสนอข้อมูลเป็นการนำ�ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาจัดแสดงให้มีความน่าสนใจ และง่ายต่อ
การทำ�ความเข้าใจ ซึ่งการนำ�เสนอข้อมูลสามารถแสดงได้หลายรูปแบบ โดยในระดับประถมศึกษาจะ
สอนการนำ�เสนอข้อมูลในรูปแบบของแผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแท่ง แผนภูมิรูปวงกลม กราฟเส้น
ตาราง ซึ่งในหลักสูตรนี้ได้มีการจำ�แนกตารางออกเป็นตารางทางเดียวและตารางสองทาง
ตาราง (Table)
การบอกความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ กับจำ�นวนในรูปตาราง เป็นการจัดตัวเลขแสดงจำ�นวนของ
สิ่งต่าง ๆ อย่างมีระเบียบในตารางเพื่อให้อ่านและเปรียบเทียบง่ายขึ้น
ตารางทางเดียว (One - Way Table)
ตารางทางเดียวเป็นตารางที่มีการจำ�แนกรายการตามหัวเรื่องเพียงลักษณะเดียว เช่น
จำ�นวนนักเรียนของโรงเรียนแห่งหนึ่งจำ�แนกตามชั้น
จำ�นวนนักเรียนของโรงเรียนแห่งหนึ่ง
ชั้น จำ�นวน (คน)
ประถมศึกษาปีที่ 1 65
ประถมศึกษาปีที่ 2 70
ประถมศึกษาปีที่ 3 69
ประถมศึกษาปีที่ 4 62
ประถมศึกษาปีที่ 5 72
ประถมศึกษาปีที่ 6 60
รวม 398

ตารางสองทาง (Two – Way Table)


ตารางสองทางเป็ น ตารางที่ มี ก ารจำ � แนกรายการตามหั ว ข้ อ เรื่ อ ง 2 ลั ก ษณะ เช่ น
จำ�นวนนักเรียนของโรงเรียนแห่งหนึ่งจำ�แนกตามชั้นและเพศ

จำ�นวนนักเรียนของโรงเรียนแห่งหนึ่ง
เพศ
ชั้น รวม (คน)
ชาย (คน) หญิง (คน)
ประถมศึกษาปีที่ 1 38 27 65
ประถมศึกษาปีที่ 2 33 37 70
ประถมศึกษาปีที่ 3 32 37 69
ประถมศึกษาปีที่ 4 28 34 62
ประถมศึกษาปีที่ 5 32 40 72
ประถมศึกษาปีที่ 6 25 35 60
รวม 188 210 398

340  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

9. การใช้เส้นจำ�นวนในการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
เส้นจำ�นวน (Number Line) เป็นแผนภาพที่แสดงลำ�ดับของจำ�นวนบนเส้นตรงที่มีจุด 0 เป็น
จุดแทนศูนย์ จุดที่อยู่ทางขวาของ 0 แทนจำ�นวนบวก เช่น 1, 2, 3, … และจุดที่อยู่ทางซ้ายของ 0 แทน
จำ�นวนลบ เช่น -1, -2, -3, … โดยแต่ละจุดอยู่ห่างจุด 0 เป็นระยะ 1, 2, 3, … หน่วยตามลำ�ดับ แสดง
ได้ดังนี้

-3 -2 -1 0 1 2 3

ในระดับประถมศึกษา ครูสามารถใช้เส้นจำ�นวนเป็นสื่อในการจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับ
จำ�นวน และการดำ�เนินการของจำ�นวน เช่น การแสดงจำ�นวนบนเส้นจำ�นวน การนับเพิ่ม การนับลด
การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับจำ�นวน การหาค่าประมาณ และการดำ�เนินการของจำ�นวน
1) การแสดงจำ�นวนบนเส้นจำ�นวน สามารถแสดงได้ทั้งจำ�นวนนับ เศษส่วน และ
ทศนิยม ดังนี้
• การแสดงจำ�นวนนับบนเส้นจำ�นวน เช่น เส้นจำ�นวนแสดง 3 เริ่มต้นจาก 0 ถึง 3

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เส้นจำ�นวนแสดง 38 เริ่มจาก 0 ถึง 38

0 10 20 30 40 50 60 70 80 90
38


• ในหนึ
การแสดงเศษส่วนบนเส้นจำ�นวน
่งหน่วยแบ่งเป็นสิบส่วนเท่า ๆ กัน แต่ละส่วนแสดง 1 เส้นจำ�นวนนี้แสดง 7
10 10

0 1

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  341
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

ในหนึ่งหน่วยแบ่งเป็นสองส่วนเท่า ๆ กัน แต่ละส่วนแสดง 1 เส้นจำ�นวนนี้แสดง 3


2 2

0 1 2 3

0 1 2 3 4 5 6
2 2 2 2 2 2 2


• เส้นการแสดงทศนิ ยมบนเส้นจำ�นวน
จำ�นวนนี้แสดงทศนิยม 1 ตำ�แหน่ง เริ่มตั้งแต่ 2 ถึง 3

2 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9 3


เส้นจำ�นวนนี้แสดงทศนิยม 2 ตำ�แหน่ง เริ่มตั้งแต่ 2.3 ถึง 2.4


2.3 2.31 2.32 2.33 2.34 2.35 2.36 2.37 2.38 2.39 2.4

เส้นจำ�นวนนี้แสดงทศนิยม 3 ตำ�แหน่ง เริ่มตั้งแต่ 2.32 ถึง 2.33

2.32 2.321 2.322 2.323 2.324 2.325 2.326 2.327 2.328 2.329 2.33

2) การนับเพิ่มและการนับลด


• เส้การนั บเพิ่มทีละ 1
นจำ�นวนแสดงการนับเพิ่มทีละ 1 เริ่มต้นจาก 0 นับเป็น หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า หก เจ็ด
แปด เก้า สิบ ตามลำ�ดับ

0 1
2 3 4 5 6 7 8 9 10

การนับเพิ่มทีละ 2
เส้นจำ�นวนแสดงการนับเพิ่มทีละ 2 เริ่มต้นจาก 0 นับเป็น สอง สี่ หก แปด สิบ ตามลำ�ดับ

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
การนับเพิ่มทีละ 5 ทีละ 10 หรืออื่นๆ ใช้หลักการเดียวกัน

342  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1


• การนั บลดทีละ 1
เส้นจำ�นวนแสดงการนับลดทีละ 1 เริ่มต้นจาก 10 นับเป็น เก้า แปด เจ็ด หก ห้า สี่ สาม
สอง หนึ่ง ตามลำ�ดับ

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10


• การนั บลดทีละ 2
เส้นจำ�นวนแสดงการนับลดทีละ 2 เริ่มต้นจาก 10 นับเป็น แปด หก สี่ สอง ตามลำ�ดับ

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

การนับลดทีละ 5 ทีละ 10 หรืออื่นๆ ใช้หลักการเดียวกัน

3) การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับจำ�นวน


• การเปรี ยบเทียบและเรียงลำ�ดับจำ�นวนนับ
ในการแข่งขันตอบปัญหาคณิตศาสตร์ มีผู้เข้าแข่งขัน 5 คน ได้คะแนนดังนี้

รายชื่อผู้เข้าแข่งขัน คะแนนที่ได้
ด.ญ.รินทร์ (ร) 4
ด.ญ.อิงอร (อ) 5
ด.ช.ณภัทร (ณ) 9
ด.ช.พจน์ (พ) 2
ด.ช.กานต์ (ก) 8

• เขียนเส้นจำ�นวน โดยนำ�คะแนนและอักษรย่อของแต่ละคนแสดงบนเส้นจำ�นวน
พ ร อ ก ณ
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

จากเส้นจำ�นวนพบว่า
คะแนนของพจน์อยู่ทางซ้ายคะแนนของอิงอร
คะแนนของพจน์ (2) น้อยกว่าคะแนนของอิงอร (5) เขียนแทนด้วย 2 < 5

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  343
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

หรือคะแนนของอิงอรอยู่ทางขวาคะแนนของพจน์
คะแนนของอิงอร (5) มากกว่าคะแนนของพจน์ (2) เขียนแทนด้วย 5 > 2
ดังนัน
้ 2 < 5 หรือ 5 > 2

จากเส้นจำ�นวนพบว่า
คะแนนของรินทร์อยู่ทางซ้ายคะแนนของกานต์
คะแนนของรินทร์ (4) น้อยกว่าคะแนนของกานต์ (8) เขียนแทนด้วย 4 < 8
หรือคะแนนของกานต์อยู่ทางขวาคะแนนของรินทร์
คะแนนของกานต์ (8) มากกว่าคะแนนของรินทร์ (4) เขียนแทนด้วย 8 > 4
ดังนั้น 4 < 8 หรือ 8 > 4

เมื่ออ่านจำ�นวนบนเส้นจำ�นวนจากทางซ้ายไปขวา จะได้ 2 4 5 8 9 ซึ่งเป็นการเรียงลำ�ดับ


จากน้อยไปมาก และเมือ่ อ่านจำ�นวนบนเส้นจำ�นวนจากทางขวาไปซ้าย จะได้ 9 8 5 4 2 ซึง่ เป็นการ
เรียงลำ�ดับจากมากไปน้อย ดังนั้น ในการแข่งขันตอบปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียน 5 คน
เมื่อนำ�คะแนนของนักเรียนแต่ละคนมาเรียงลำ�ดับจากน้อยไปมาก จะได้ดังนี้
ด.ช.พจน์ ได้ 2 คะแนน
ด.ญ.รินทร์ได้ 4 คะแนน
ด.ญ.อิงอรได้ 5 คะแนน
ด.ช.กานต์ได้ 8 คะแนน
ด.ช.ณภัทรได้ 9 คะแนน

4) การหาค่าประมาณ
การใช้เส้นจำ�นวนแสดงการหาค่าประมาณเป็นจำ�นวนเต็มสิบ

10
11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

จากเส้นจำ�นวน 11 12 13 และ 14 อยู่ใกล้ 10 มากกว่าใกล้ 20 ดังนั้น ค่าประมาณเป็นจำ�นวน


เต็มสิบของ 11 12 13 และ 14 คือ 10
16 17 18 และ 19 อยู่ใกล้ 20 มากกว่าใกล้ 10 ดังนั้น ค่าประมาณเป็นจำ�นวนเต็มสิบของ 16
17 18 และ 19 คือ 20
15 อยูก ่ ง่ึ กลางระหว่าง 10 และ 20 ถือเป็นข้อตกลงว่าให้ประมาณเป็นจำ�นวนเต็มสิบทีม
่ ากกว่า
ดังนั้น ค่าประมาณเป็นจำ�นวนเต็มสิบของ 15 คือ 20

344  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

ตัวอย่าง
การหาค่าประมาณเป็นจำ�นวนเต็มสิบของ 538

530 531 532 533 534 535 536 537 538 539 540

จากเส้นจำ�นวน
538 อยู่ระหว่าง 530 กับ 540
538 อยู่ใกล้ 540 มากกว่า 530
ดังนั้น ค่าประมาณเป็นจำ�นวนเต็มสิบของ 538 คือ 540
การหาค่าประมาณเป็นจำ�นวนเต็มร้อย เต็มพัน เต็มหมื่น เต็มแสน และเต็มล้าน ใช้หลักการ
ทำ�นองเดียวกับการหาค่าประมาณเป็นจำ�นวนเต็มสิบ

5) การดำ�เนินการของจำ�นวน


• การบวกจำ �นวนสองจำ�นวน
เส้นจำ�นวนแสดงการบวกของ 3 + 2 = โดยวิธีการนับต่อ

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ดังนั้น 3 + 2 = 5

เส้นจำ�นวนแสดงการบวกของ 15 + 9 = โดยวิธีการนับครบสิบ และการนับต่อ

15 + 5 + 4 = 24

0 5 10 15 20 25 30
24
ดังนั้น 15 + 9 = 24

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  345
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1


• การลบจำ �นวนสองจำ�นวน
เส้นจำ�นวนแสดงการลบของ 6 – 2 = โดยวิธีการนับถอยหลัง

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ดังนั้น 6 – 2 = 4

เส้นจำ�นวนแสดงการลบของ 13 – 6 = โดยวิธีการนับถอยหลังไปที่จำ�นวนเต็มสิบ
(Bridging through a decade)

13 - 3 - 3 = 7

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

ดังนั้น 13 – 6 = 7


• การคู ณจำ�นวนนับ
เส้นจำ�นวนแสดงการคูณของ 3 × 5 =
โดยวิธีการนับเพิ่มครั้งละเท่า ๆ กัน
จาก 3 × 5 เขียนในรูปการบวกได้ 5 + 5 + 5 แสดงด้วยเส้นจำ�นวนได้

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25

ดังนั้น 3 × 5 = 15

346  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ เล่ม ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

คณะผู้จัดทำ�
คณะที่ปรึกษา
ศาสตราจารย์ชูกิจ ลิมปิจำ�นงค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นายศรเทพ วรรณรัตน์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คณะผู้เขียน
นางศิริวรรณ โหตะรัตน์ โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายประถม)
นายอัลอามีน สะมาแอ โรงเรียนบ้านยือลาแป จังหวัดนราธิวาส
นางสาวอุไร ซิรัมย์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำ�แหง (ฝ่ายมัธยม)
นางสุนันท์ ประเสริฐศรี โรงเรียนเทศบาลบ้านสุขสำ�ราญ จังหวัดอุบลราชธานี
นางนวลจันทร์ ฤทธิ์ขำ� สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางณัตตยา มังคลาสิริ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวธนภรณ์ เกิดสงกรานต์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คณะผู้พิจารณา
รองศาสตราจารย์จิราภรณ์ สิริทวี ข้าราชการบำ�นาญ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
รองศาสตราจารย์มัณฑนี กุฎาคาร ข้าราชการบำ�นาญ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม)
นางเนาวรัตน์ ตันติเวทย์ ข้าราชการบำ�นาญ โรงเรียนอนุบาลวัดนางนอง
นางสาวทองระย้า นัยชิต ข้าราชการบำ�นาญ โรงเรียนวัดถนน จังหวัดอ่างทอง
นายสมเกียรติ เพ็ญทอง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางนวลจันทร์ ฤทธิ์ขำ� สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางเหมือนฝัน เยาว์วิวัฒน์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวธนภรณ์ เกิดสงกรานต์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวปวันรัตน์ วัฒนะ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)   347


คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ เล่ม ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

คณะบรรณาธิการ
รองศาสตราจารย์จิราภรณ์ ศิริทวี ข้าราชการบำ�นาญ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นายสมเกียรติ เพ็ญทอง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ฝ่ายสนับสนุนวิชาการ
นางสาวละออ เจริญศรี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางพรนิภา เหลืองสฤษดิ์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ออกแบบรูปเล่ม
บริษัท ศูนย์สองสตูดิโอ จำ�กัด

348   สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)

You might also like