You are on page 1of 250

คู่มือครู

Teacher Script

คณิตศาสตร์ ม. 1
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
ตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด เล่ม 1
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ผูเรียบเรียงหนังสือเรียน ผูตรวจหนังสือเรียน บรรณาธิการหนังสือเรียน


นางกนกวลี อุษณกรกุล นางจินดา อยูเปนสุข รศ.ดร. อําพล ธรรมเจริญ
นางสาวปาจรีย วัชชวัลคุ นายรณชัย มาเจริญทรัพย
ดร. สุเทพ บุญซอน นายสุกิจ พุทธชาติเสวี

ผูเรียบเรียงคูมือครู บรรณาธิการคูมือครู
นางสาวจันทรเพ็ญ ชุมคช นางสาววรรณทัศน เลิศอภิสิทธิ
นางสาวทองดี กุลแกวสวางวงศ นายปรัชญา เปรมมะ

พิมพครั้งที่ 5
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
รหัสสินคา 2146032
ค� ำ แนะน� ำ กำรใช้
คูม่ อื ครู รายวิชาพืน้ ฐาน คณิตศาสตร์ ม.1 เล่มนี ้ จัดท�าขึน้ ส�าหรับ
ให้ครูผสู้ อนใช้เป็นแนวทางวางแผนการจัดการเรียนการสอน เพือ่ พัฒนา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการประกันคุณภาพผู้เรียนตามนโยบาย
ของส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)

ิ่ม คําแนะนําการใช้ ช่วยสร้างความเข้าใจ เพื่อใช้คู่มือครูได้


เพ
อย่างถูกต้องและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด นํา นํา สอน สรุป ประเมิน
โซน 1
ิ่ม คําอธิบายรายวิชา แสดงขอบข่ายเนื้อหาสาระของรายวิชา ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)
เพ การใชความรูเ ดิมฯ (Prior Knowledge)
หน่วยการเรียนรู้ที่

ซึ่งครอบคลุมตัวชี้วัดตามที่หลักสูตรก�าหนด 1. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
2. ครู ก ระตุ  น ความสนใจของนั ก เรี ย น โดยให
นั ก เรี ย นดู ภ าพหน า หน ว ย จากนั้ น ครู ย ก
สถานการณของทวีปแอนตารกติกา
1 ระบบจ�านวนเต็ม
ิ่ม Pedagogy ช่วยสร้างความเข้าใจในกระบวนการออกแบบ 3. ครูถามคําถามในหนังสือเรียน หนา 2 วา

เพ “จากสถานการณ ข องทวี ป แอนตาร ก ติ ก า


ขางตน นักเรียนคิดวาอุณหภูมิที่ไดบันทึกไว
การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ได้อย่างมี ของทวีปแอนตารกติกาตางกันอยางไร” แลว
ใหนกั เรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นถึงวิธกี าร
ประสิทธิภาพ หาคําตอบ
หมายเหตุ : ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น เฉลย
คํ า ถามในหนั ง สื อ เรี ย น หน า 2 หลั ง เรี ย น
ิ่ม Teacher Guide Overview ช่วยให้เห็นภาพรวมของการ หนวยการเรียนรูที่ 1
เพ
จั ด การเรี ย นการสอนทั้ ง หมดของรายวิ ช าก่ อ นที่ จ ะลงมื อ
สอนจริง
ทวีปแอนตาร์กติกา เป็นทวีปทีม่ อี ากาศหนาวเย็นทีส่ ดุ ในโลก

ิ่ม โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 5 ํC ในฤดูร้อน จนถึง -80 ํC ใน

เพ Chapter Overview ช่วยสร้างความเข้าใจและเห็นภาพรวม เฉลย คําถามในหนังสือเรียน หนา 2 ฤดูหนาว อุณหภูมสิ งู สุดทีไ่ ด้บนั ทึกไว้ เมือ่ เดือนมีนาคม พ.ศ. 2558
อยู่ที่ 17.5 ํC และอุณหภูมิตํ่าสุดที่ได้บันทึกไว้เมื่อเดือนสิงหาคม
จากอุ ณ หภู มิ สู ง สุ ด ที่ ไ ด บั น ทึ ก ไว ข องทวี ป พ.ศ. 2553 อยู่ที่ -94.7 ํC1
ในการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้แต่ละหน่วย แอนตารกติกา เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2558 อยู
ที่ 17.5 ํC และอุณหภูมิตํ่าสุดที่ไดบันทึกไวเมื่อ
ตัวชี้วัด
• เข้าใจจ�านวนตรรกยะและความสัมพันธ์ของจ�านวนตรรกยะ
Q. จากสถานการณ์
และใช้สมบัติของจ�านวนตรรกยะในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ ข้างต้น นักเรียนคิดว่า
เดือนสิงหาคม อยูที่ -94.7 ํC ซึ่งจะเห็นวามีความ และปัญหาในชีวิตจริง (ค 1.1 ม.1/1) อุณหภูมิที่ได้บันทึกไว้
ิ่ม ข้อสอบเน้นการคิด/ข้อสอบแนว O-NET เพื่อเตรียม แตกตางกันมาก โดยอุณหภูมิที่ไดบันทึกไวมีคา สาระการเรียนรู้แกนกลาง

เพ
• จ�านวนเต็ม
ของทวีปแอนตาร์กติกา
ตางกัน 112.2 ํC • สมบัติของจ�านวนเต็ม ต่างกันอย่างไร
ความพร้อมของผู้เรียนสู่การสอบในระดับต่าง ๆ 1 Antarctica sets record for coldest temperature on Earth. Retrieved October 17, 2017, from http://www.pbs.org/
newshour/nation/antarctica-sets-record-for-coldest-temperature-on-earth

ิ่ม กิจกรรม 21st Century Skills กิจกรรมที่จะช่วยพัฒนา


เพ เกร็ดแนะครู กิจกรรม เสริมสรางคุณลักษณะอันพึงประสงค
ผู้เรียนให้มีทักษะที่จ�าเปนส�าหรับการเรียนรู้และการด�ารงชีวิต การเรียนการสอนของหนวยการเรียนนี้ ครูชแี้ นะใหนกั เรียนเห็นความสําคัญ
เกีย่ วกับ “ระบบจํานวนเต็ม” วา เปนความรูพ นื้ ฐานทางคณิตศาสตรและนําไปใช
ครูควรปลูกฝงใหนักเรียนมีระเบียบวินัย โดยการสรางขอตกลง
กับนักเรียน เชน ในการสงการบาน ใหสงตรงตามเวลาที่กําหนด
ในโลกแห่งศตวรรษที่ 21 ในชีวติ ประจําวันอยูเ สมอ โดยใหนกั เรียนลองยกตัวอยางเหตุการณทพี่ บเห็น เชน
การพยากรณอากาศ อุณหภูมิของรางกายคนเรา คาใชจายตางๆ การซื้อขาย
โดยครูอาจจะกําหนดชวงเวลาในการสง หากใครไมสงตามเวลา
ดังกลาวอาจถูกตัดคะแนนหรือตองทําความสะอาดหอง การแตงกาย
ในตลาดหลักทรัพย เปนตน และใหนักเรียนรวมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มาโรงเรียนใหถกู ระเบียบ ไมสง เสียงดังขณะทีค่ รูกาํ ลังสอน เปนตน
ฝกทักษะการคิดวิเคราะหและการแกปญหาไดอยางเหมาะสม (ครูและนักเรียนควรรวมกันสรางขอตกลงดังกลาว)

โซน 3
โซน 2
T6

โซน 1 ช่วยครูจัด โซน 2 ช่วยครูเตรียมสอน


กำรเรียนกำรสอน
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ครูผู้สอน โดยประกอบด้วยองค์ประกอบต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ส�าหรับ
โดยแนะน�าขั้นตอนการสอน และการจัดกิจกรรมอย่างละเอียด ครู เพื่อน�าไปประยุกต์ใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน
เพื่อให้นักเรียนบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามตัวชี้วัด เกร็ดแนะครู
ความรู้เสริมส�าหรับครู ข้อเสนอแนะ ข้อสังเกต แนวทางการจัด
น�ำ สอน สรุป ประเมิน
กิจกรรมและอื่น ๆ เพื่อประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอน
นักเรียนควรรู้
ความรูเ้ พิม่ เติมจากเนือ้ หา ส�าหรับอธิบายเสริมเพิม่ เติมให้กบั นักเรียน
โดยใช้ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร ม.1 และแบบฝกหัดคณิตศาสตร ม.1 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน์
อจท. จ�ากัด เป็นสื่อหลัก (Core Materials) ประกอบการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐาน
การเรียนรู้และตัวชี้วัดของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งคู่มือครูเล่มนี้มีองค์ประกอบที่ง่ายต่อการใช้งาน ดังนี้

โซน 1 นํา นํา สอน สรุป ประเมิน


โซน 3 ช่วยครูเตรียมนักเรียน
ขัน้ นํา
การใชความรูเ ดิมฯ (Prior Knowledge)
ควรรูก้ ่อนเรียน 4. ครูใหนกั เรียนดูรปู เทอรโมมิเตอรแสดงอุณหภูมิ ประกอบด้ ว ยแนวทางส� า หรั บ การจั ด กิ จ กรรมและ
โดยเฉลี่ยของเมืองหลวง 5 ประเทศ ในทวีป
นักวิทยาศาสตร์ได้ประดิษฐ์และพัฒนาเครื่องวัดอุณหภูมิขึ้นมา เรียกว่า เทอร์โมมิเตอร์
ที่ท�าจากหลอดแก้วซึ่งภายในบรรจุของเหลวประเภทปรอทหรือแอลกอฮอล์ โดยของเหลวภายใน
เอเชีย ในหนังสือเรียน หนา 3 จากนั้นให
นักเรียนเขียนแสดงอุณหภูมิของเมืองหลวง
เสนอแนะแนวข้อสอบ เพือ่ อ�านวยความสะดวกให้แก่ครูผสู้ อน
หลอดแก้วจะหดตัวเมื่อได้รับความเย็นและขยายตัวเมื่อได้รับความร้อน นอกจากนี้บนหลอดแก้ว 5 ประเทศ บนเสนจํานวนลงสมุด แลวถาม
จะมีสเกลที่ระบุตัวเลขส�าหรับบอกระดับอุณหภูมิต่าง ๆ อีกด้วยเช่น อุณหภูมิโดยเฉลี่ยในเดือน คําถาม ดังนี้
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 ณ เมืองหลวงของประเทศต่าง ๆ ในทวีปเอเชีย ซึ่งแสดงอุณหภูมิด้วย
เทอร์โมมิเตอร์ ดังรูปต่อไปนี้
• เสนจํานวนที่นักเรียนเขียน แสดงจํานวน
ชนิดใดบาง
กิจกรรม 21st Century Skills
50
40
30
50
40
30
50
40
30
50
40
30
50
40
30
50
40
30
50
40
30
50
40
30
50
40
30
50
40
30
(แนวตอบ จํานวนนับและศูนย)
• เรียงลําดับอุณหภูมิจากสูงสุดไปตํ่าสุดได กิจกรรมที่ให้นักเรียนได้ประยุกต์ ใช้ความรู้ที่เรียนรู้มาสร้าง
อยางไร
20
10
0
10
20
10
0
10
20
10
0
10
20
10
0
10
20
10
0
10
20
10
0
10
20
10
0
10
20
10
0
10
20
10
0
10
20
10
0
10
(แนวตอบ 29, 27, 20, 17, 7)
• บนเสนจํานวน จํานวนทีอ่ ยูท างขวาหรือซาย
ชิ้นงาน หรือท�ากิจกรรมรวบยอดเพื่อให้เกิดทักษะที่จ�าเป็น
20
30
40
20
30
40
20
30
40
20
30
40
20
30
40
20
30
40
20
30
40
20
30
40
20
30
40
20
30
40
มีคามากกวากัน
( แนวตอบ จํ า นวนที่ อ ยู  ท างขวาจะมี ค  า
ในศตวรรษที่ 21
50 50 50 50 50 50 50 50 50 50
มากกวาจํานวนที่อยูทางซาย)
C
° C
° °
C C
° °
C
5. ครูถามคําถาม ดังนี้
กรุงเทพฯ
ประเทศไทย
จาการ์ตา โตเกียว
ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศญี่ปุน
ไทเป
ประเทศไต้หวัน
ฮานอย
ประเทศเวียดนาม
• นักเรียนเคยดูขาวพยากรณอากาศของกรม
อุตนุ ยิ มวิทยาหรือไม ตัวเลขทีแ่ สดงอุณหภูมิ
ข้อสอบเน้นการคิด
ที่มา : https://www.timeanddate.com/weather
จากรูปแสดงอุณหภูมิ จะได้ว่า
ของประเทศตางๆ ในทวีปยุโรปเหมือนกัน
หรื อ แตกต า งจากประเทศไทยหรื อ ไม
ตัวอย่างข้อสอบที่มุ่งเน้นการคิด มีทั้งปรนัย-อัตนัย พร้อม
อยางไร
1. เมืองหลวงของประเทศที่มีอากาศร้อนที่สุด คือ กรุงเทพฯ ประเทศไทย
2. เมืองหลวงของประเทศที่มีอากาศหนาวที่สุด คือ โตเกียว ประเทศญี่ปุน
3. อุณหภูมิของกรุงเทพฯ สูงกว่าอุณหภูมิของจาการ์ตา อยู่ 2 �C
(แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบไดหลากหลาย เฉลยอย่างละเอียด
ตามพื้นฐานความรู เชน เหมือนกัน เพราะ
4. อุณหภูมิของจาการ์ตา สูงกว่าอุณหภูมิของโตเกียว อยู่ 20 �C แสดงโดยใชจํานวนนับ หรือแตกตางกัน
5. อุณหภูมิของโตเกียว ต�่ากว่าอุณหภูมิของไทเป อยู่ 10 �C
6. อุณหภูมิของไทเป ต�่ากว่าอุณหภูมิของฮานอย อยู่ 3 �C
นักเรียนจะพบว่า ตัวเลขที่แสดงระดับอุณหภูมิ ณ เมืองหลวงของประเทศต่าง ๆ ได้แก่ 29,
เพราะอุณหภูมใิ นฤดูหนาวของทวีปยุโรปจะ
แสดงโดยใชจาํ นวนนับทีม่ เี ครือ่ งหมายลบอยู ข้อสอบเน้นการคิดแนว O-NET
ขางหนา เปนตน)
27, 7, 17 และ 20 เป็น “จ�านวนนับ” ซึ่งเรียงจากมากไปหาน้อย ได้ดังนี้ 29, 27, 20, 17 และ 7
ตัวอย่างข้อสอบที่มุ่งเน้นการคิดวิเคราะห์ และสอดคล้องกับ
3
แนวข้อสอบ O-NET มีทั้งปรนัย-อัตนัย พร้อมเฉลยอย่าง
กิจกรรม เสริมสรางคุณลักษณะอันพึงประสงค สื่อ Digital
ละเอียด
ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4 คน จากนั้นใหแตละกลุม เรี ย นรู  เ พิ่ ม เติ ม เรื่ อ ง จํ า นวนเต็ ม ลบ จากภาพยนตร ส ารคดี สั้ น เรื่ อ ง
สงตัวแทนมาจับฉลากภาคตางๆ ของประเทศไทย แลวชวยกัน
ค น คว า นอกห อ งเรี ย นเกี่ ย วกั บ อุ ณ หภู มิ โ ดยเฉลี่ ย ที่ สู ง ที่ สุ ด และ
ชาวอินเดียกับจํานวนลบ ไดที่ http://twig-aksorn.com/f ifilm/india-and-
negative-numbers-8514/ กิจกรรมเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ตํ่าที่สุด ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2560 ของจังหวัดในภาคตางๆ
ที่กลุมตนเองจับฉลากได จากนั้นใหนักเรียนแตละกลุมออกมา
นําเสนอหนาชั้นเรียน
กิจกรรมที่มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านคุณธรรม
จริยธรรม ค่านิยม ตามที่หลักสูตรก�าหนด
โซน 3
โซน 2
กิจกรรมท้าทาย
เสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรม เพือ่ ต่อยอดส�าหรับนักเรียน
T7
ที่เรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว และต้องการท้าทายความสามารถใน
ระดับที่สูงขึ้น
กิจกรรมสร้างเสริม
เสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรมซ่อมเสริมส�าหรับนักเรียน
ที่ควรได้รับการพัฒนาการเรียนรู้
บูรณาการอาเซียน
ความรู้เสริมหรือการเชื่อมโยงในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับประชาคม
อาเซียน
สื่อ Digital เฉลยละเอียด
แนะน�าแหล่งเรียนรู้และแหล่งค้นคว้าจากสื่อ Digital ต่าง ๆ
หนังสือเรียน คณิตศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
แนวทางการวัดและประเมินผล สามารถเข้าไปดาวน์โหลดได้ที่
เสนอแนะแนวทางการบรรลุผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน www.aksorn.com
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่หลักสูตรก�าหนด
ค� ำ อธิ บ ายรายวิ ช า
คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1 เวลาเรียน 60 ชั่วโมง / ภาคเรียน

ศึกษาการเปรียบเทียบจ�ำนวนเต็ม จ�ำนวนตรงข้ามและค่าสัมบูรณ์ การบวก การลบ การคูณ และการหารจ�ำนวนเต็ม


สมบัติของจ�ำนวนเต็ม และการน�ำความรู้เกี่ยวกับจ�ำนวนเต็มไปใช้ในชีวิตจริง เศษส่วน การเปรียบเทียบเศษส่วน การบวก
การลบ การคูณ การหารเศษส่วน และการน�ำความรู้เกี่ยวกับเศษส่วนไปใช้ในชีวิตจริง ทศนิยม ค่าประจ�ำหลักของทศนิยม
การเปรียบเทียบทศนิยม การบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม (ไม่รวมผลลัพธ์ที่เป็นทศนิยมซ�้ำ) ความสัมพันธ์
ของเศษส่วนกับทศนิยม การน�ำความรู้เกี่ยวกับทศนิยมไปใช้ในชีวิตจริง และจ�ำนวนตรรกยะและสมบัติของจ�ำนวนตรรกยะ
การเขียนเลขยกก�ำลังทีม่ เี ลขชีก้ ำ� ลังเป็นจ�ำนวนเต็มบวก การคูณและการหารเลขยกก�ำลัง เมือ่ เลขชีก้ ำ� ลังเป็นจ�ำนวนเต็มบวก
การเขียนจ�ำนวนในรูปสัญกรณ์วทิ ยาศาสตร์ และการน�ำความรูเ้ กีย่ วกับเลขยกก�ำลังไปใช้ในชีวติ จริง หน้าตัดของรูปเรขาคณิต
สามมิติ การอธิบายภาพสองมิติที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบนของรูปเรขาคณิตสามมิติ และรูปเรขาคณิต
สามมิติที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์ แบบรูปและความสัมพันธ์ ค�ำตอบของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สมบัติของการเท่ากัน
การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และการน�ำความรู้เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวไปใช้ในชีวิตจริง
โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีีวิตประจ�ำวันที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า ฝึกทักษะ
โดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะ กระบวนการในการคิดค�ำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล
การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และน�ำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้
สิ่งต่าง ๆ และใช้ในชีวิตประจ�ำวันอย่างสร้างสรรค์
เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถท�ำงานได้อย่างเป็นระบบ มีระเบียบ รอบคอบ มีความ
รับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง

ตัวชี้วัด
ค 1.1 ม.1/1 เข้าใจจ�ำนวนตรรกยะและความสัมพันธ์ของจ�ำนวนตรรกยะ และใช้สมบัตขิ องจ�ำนวนตรรกยะในการแก้ปญั หา
คณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง
ค 1.1 ม.1/2 เข้าใจและใช้สมบัตขิ องเลขยกก�ำลังทีม่ เี ลขชีก้ ำ� ลังเป็นจ�ำนวนเต็มบวกในการแก้ปญั หาคณิตศาสตร์และปัญหา
ในชีวิตจริง
ค 1.3 ม.1/1 เข้าใจและใช้สมบัติของการเท่ากันและสมบัติของจ�ำนวน เพื่อวิเคราะห์และแก้ปัญหาโดยใช้สมการเชิงเส้น
ตัวแปรเดียว
ค 2.2 ม.1/2 เข้าใจและใช้ความรูท้ างเรขาคณิตในการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตสองมิตแิ ละรูปเรขาคณิต
สามมิติ
รวม 4 ตัวชี้วัด
Pedagogy
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน
คณิ ตศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 รวมถึงสื่อการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้น ม.1 เล่ม 1 ผู้จัดท�ำได้
ออกแบบการสอน (Instructional Design) อันเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้และเทคนิคการสอนที่เปี่ยมด้วยประสิทธิภาพและ
มีความหลากหลายให้กบั ผูเ้ รียน เพือ่ ให้ผเู้ รียนสามารถบรรลุผลสัมฤทธิต์ ามมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชีว้ ดั รวมถึงสมรรถนะ
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนที่หลักสูตรก�ำหนดไว้ โดยครูสามารถน�ำไปใช้ส�ำหรับจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
ได้อย่างเหมาะสม ส�ำหรับ Pedagogy หลักที่นำ� มาใช้ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบด้วย

รูปแบบการสอน Concept Based Teaching

ขั้นการใช้ความรู้เดิมเชื่อมโยงความรู้ใหม่ ขั้นเข้าใจ

1 Prior Knowledge 2 Knowing 3 Understanding 4 Doing

ขั้นรู้ ขั้นลงมือท�ำ

เลือกใช้รูปแบบการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง : Concept Based Teaching เนื่องจากคณิตศาสตร์เป็นวิชา


ที่เป็นเครื่องมือในการด�ำเนินชีวิต โดยอาศัยหลักการและความคิดรวบยอดต่าง ๆ เพื่อประยุกต์ใช้ ดังนั้น Concept Based
Teaching เป็นการจัดการเรียนการสอนที่น�ำพาผู้เรียน เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะ และเกิดความคิดรวบยอด
ผลของการจัดการเรียนการสอนในลักษณะนี้ จะท�ำให้ผู้เรียนได้ความรู้ และมีทักษะในการค้นหาความคิดรวบยอด ซึ่งจะเป็น
ทักษะส�ำคัญติดตัวผู้เรียนไปตลอดชีวิต

วิธีสอน (Teaching Method)

เลือกใช้วิธีการสอนที่หลากหลาย เช่น อุปนัย นิรนัย การสาธิต แบบสาธิต แบบแก้ปัญหา แบบบรรยาย เป็นต้น


เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และเกิดความเข้าใจในเนื้อหาคณิตศาสตร์อย่างถ่องแท้ โดยจะเน้นใช้วิธีสอนแบบอุปนัย (Inductive
Method) เนื่องจากเป็นการสอนที่ผู้เรียนจะได้ค้นหาสิ่งที่มีอยู่ร่วมกัน จากตัวอย่างสถานการณ์ต่าง ๆ ซึ่งสนับสนุนกับ
การจัดการเรียนการสอนแบบ Concept Based Teaching ที่ท�ำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการ ซึ่งท�ำให้ได้ความคิดรวบยอด
ที่ส�ำคัญ

เทคนิคการสอน (Teaching Technique)

เลือกใช้เทคนิคการสอนทีห่ ลากหลายและเหมาะสมกับเรือ่ งทีเ่ รียน เช่น การใช้คำ� ถาม การใช้ตวั อย่างกระตุน้ ความคิด
การใช้แผนภาพ และการใช้ส่ือการเรียนรู้ที่น่าสนใจ เป็นต้น เพื่อส่งเสริมวิธีการสอนและรูปแบบการสอนให้มีประสิทธิภาพ
ในการจัดการเรียนรู้ให้มากยิ่งขึ้น ซึ่งช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข และสามารถฝึกฝนทักษะการเรียนรู้
ในศตวรรษที่ 21 ได้
Teacher Guide Overview
คณิ ต ศาสตร์ ม.1 เล่ ม 1
หน่วย
ตัวชี้วัด ทักษะที่ได้ เวลาที่ใช้ การประเมิน สื่อที่ใช้
การเรียนรู้

1 เข้าใจจ�ำนวนตรรกยะและความสัมพันธ์ - ทักษะการเปรียบเทียบ - ตรวจใบงานที่ 1.1-1.13 - หนังสือเรียน


ระบบจ�ำนวนเต็ม
ของจ�ำนวนตรรกยะ และใช้สมบัติ - ทักษะการคิดหลากหลาย - ตรวจแบบฝึกทักษะ รายวิชาพื้นฐาน
ของจ�ำนวนตรรกยะในการแก้ปัญหา - ทักษะการคิดคล่อง ในหนังสือเรียน คณิตศาสตร์ ม.1
คณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง - ทักษะการประยุกต์ใช้ - ตรวจแบบฝึกหัด เล่ม 1
(มฐ. ค 1.1 ม.1/1) ความรู้ ในแบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ - แบบฝึกหัด
- การน�ำเสนอผลงาน คณิตศาสตร์ ม.1
- ตรวจผังมโนทัศน์ เล่ม 1
14 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 - QR Code
ชั่วโมง ระบบจ�ำนวนเต็ม - บัตรตัวเลข 1
- สังเกตพฤติกรรม และ -1
การท�ำงานรายบุคคล - ใบงาน
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตความมีวินัย
ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น
ในการท�ำงาน

2 เข้าใจจ�ำนวนตรรกยะและความสัมพันธ์ - ทักษะการเปรียบเทียบ - ตรวจใบงานที่ 2.1-2.17 - หนังสือเรียน


จ�ำนวนตรรกยะ
ของจ�ำนวนตรรกยะ และใช้สมบัติ - ทักษะการคิดหลากหลาย - ตรวจแบบฝึกทักษะ รายวิชาพื้นฐาน
ของจ�ำนวนตรรกยะในการแก้ปัญหา - ทักษะการคิดคล่อง ในหนังสือเรียน คณิตศาสตร์ ม.1
คณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง - ทักษะการประยุกต์ใช้ - ตรวจแบบฝึกหัด เล่ม 1
(มฐ. ค 1.1 ม.1/1) ความรู้ ในแบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ - แบบฝึกหัด
- ทักษะการเชื่อมโยง - การน�ำเสนอผลงาน คณิตศาสตร์ ม.1
- ตรวจผังมโนทัศน์ เล่ม 1
20 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 - ใบงาน
ชั่วโมง จ�ำนวนตรรกยะ
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตความมีวินัย
ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น
ในการท�ำงาน

3 เข้าใจและใช้สมบัติของเลขยกก�ำลังที่มี - ทักษะการเชื่อมโยง - ตรวจใบงานที่ 3.1-3.5 - หนังสือเรียน


เลขยกก�ำลัง
เลขชี้ก�ำลังเป็นจ�ำนวนเต็มบวกในการ - ทักษะการประยุกต์ใช้ - ตรวจแบบฝึกทักษะ รายวิชาพื้นฐาน
แก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิต ความรู้ ในหนังสือเรียน คณิตศาสตร์ ม.1
จริง (มฐ. ค 1.1 ม.1/2) - ตรวจแบบฝึกหัด เล่ม 1
10 ในแบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ - แบบฝึกหัด
ชั่วโมง - การน�ำเสนอผลงาน คณิตศาสตร์ ม.1
- ตรวจผังมโนทัศน์ เล่ม 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 - ใบงาน
เลขยกก�ำลัง
หน่วย
ตัวชี้วัด ทักษะที่ได้ เวลาที่ใช้ การประเมิน สื่อที่ใช้
การเรียนรู้

- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตความมีวินัย
ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น
ในการท�ำงาน

4 เข้าใจและใช้ความรู้ทางเรขาคณิต - ทักษะการระบุ - ตรวจแบบฝึกทักษะ - หนังสือเรียน


มิติสัมพันธ์ของ
ในการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่าง ในหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน
รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิต - ตรวจแบบฝึกหัด คณิตศาสตร์ ม.1
รูปเรขาคณิต
สามมิติ (มฐ. ค 2.2 ม.1/2) ในแบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ เล่ม 1
- การน�ำเสนอผลงาน - แบบฝึกหัด
- ตรวจผังมโนทัศน์ คณิตศาสตร์ ม.1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เล่ม 1
6 มิติสัมพันธ์ของ - มะนาวและ
ชั่วโมง รูปเรขาคณิต แก้วมังกร
- สังเกตพฤติกรรม - ดินน�ำ้ มัน
การท�ำงานรายบุคคล - โอเอซิส
- สังเกตพฤติกรรม - นอต
การท�ำงานกลุ่ม - ลูกรูบิก
- สังเกตความมีวินัย - แก้วกระดาษ
ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น - ลูกบาศก์
ในการท�ำงาน - QR Code

5 เข้าใจและใช้สมบัติของการเท่ากัน - ทักษะการหาแบบแผน - ตรวจใบงานที่ 5.1-5.5 - หนังสือเรียน


สมการเชิงเส้น
และสมบัติของจ�ำนวน เพื่อวิเคราะห์ - ทักษะการพิสจู น์ความจริง - ตรวจแบบฝึกทักษะ รายวิชาพื้นฐาน
และแก้ปัญหาโดยใช้สมการเชิงเส้น - ทักษะการประยุกต์ใช้ ในหนังสือเรียน คณิตศาสตร์ ม.1
ตัวแปรเดียว
ตัวแปรเดียว (มฐ. ค 1.3 ม.1/1) ความรู้ - ตรวจแบบฝึกหัด เล่ม 1
- ทักษะการตีความ ในแบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ - แบบฝึกหัด
- การน�ำเสนอผลงาน คณิตศาสตร์ ม.1
- ตรวจผังมโนทัศน์ เล่ม 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 - บัตรตัวเลข
10 สมการเชิงเส้น - บัตรตัวแปร
ชั่วโมง ตัวแปรเดียว - ใบงาน
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตความมีวินัย
ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น
ในการท�ำงาน
สารบั ญ

Chapter Teacher
Chapter Title Overview Script
หน่วยการเรียนรู้ท
ี่ 1 ระบบจ�ำนวนเต็ม T2 - T5 T6 - T43

1.1 จ�ำนวนเต็ม T8

1.2 การเปรียบเทียบจ�ำนวนเต็ม T8  - T10

1.3 จ�ำนวนตรงข้ามและค่าสัมบูรณ์ T11 - T13

1.4 การบวกและการลบจ�ำนวนเต็ม T14 - T21

1.5 การคูณและการหารจ�ำนวนเต็ม T22 - T31

1.6 สมบัติของจ�ำนวนเต็ม T32 - T35

1.7 การน�ำความรู้เกี่ยวกับจ�ำนวนเต็มไปใช้ในชีวิตจริง T36 - T39

ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 T40 - T43

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 จ�ำนวนตรรกยะ T44 - T47 T48 - T113

2.1 เศษส่วน T50 - T74

2.2 ทศนิยม T75 - T101

2.3 จ�ำนวนตรรกยะและสมบัติของจ�ำนวนตรรกยะ T102 - T107

ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 T108 - T113

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เลขยกก�ำลัง T114 - T115 T116 - T149

3.1 การเขียนเลขยกก�ำลังที่มีเลขชี้ก�ำลังเป็นจ�ำนวนเต็มบวก T118 - T121

3.2 การคูณและการหารเลขยกก�ำลัง เมื่อเลขชี้ก�ำลังเป็นจ�ำนวนเต็มบวก T122 - T135

3.3 การเขียนจ�ำนวนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ T136 - T141

3.4 การน�ำความรู้เกี่ยวกับเลขยกก�ำลังไปใช้ในชีวิตจริง T142 - T145

ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 T146 - T149
Chapter Teacher
Chapter Title Overview Script
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 มิติสัมพันธ์ของรูปเรขำคณิต T150 - T151 T152 - T187

4.1 หน้าตัดของรูปเรขาคณิตสามมิติ T154 - T161

4.2 การอธิบายภาพสองมิติที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน T162 - T169


ของรูปเรขาคณิตสามมิติ
4.3 รูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์ T170 - T181

ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 T182 - T187

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 สมกำรเชิงเส้นตัวแปรเดียว T188 - T189 T190 - T239

5.1 แบบรูปและความสัมพันธ์ T192 - T207

5.2 ค�าตอบของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว T208 - T213

5.3 สมบัติของการเท่ากัน T214 - T219


5.4 การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว T220 - T231
5.5 การน�าความรู้เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวไปใช้ในชีวิตจริง T232 - T235
ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 T236 - T239

บรรณำนุกรม T240
Chapter Overview

แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 1 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. ระบุหรือยกตัวอย่าง Concept - ตรวจใบงานที่ 1.1 - ทักษะการ 1. มีวินัย
จ�ำนวนเต็มและ พืน้ ฐาน คณิตศาสตร์ จ�ำนวนเต็มบวก Based เรื่อง การเปรียบเทียบ เปรียบเทียบ 2. ใฝ่เรียนรู้
การเปรียบเทียบ ม.1 เล่ม 1 จ�ำนวนเต็มลบ Teaching จ�ำนวนเต็ม 3. มุ่งมั่น
จ�ำนวนเต็ม
- แบบฝึกหัด และศูนย์ได้ (K) - ตรวจใบงานที่ 1.2 ในการท�ำงาน
คณิตศาสตร์ 2. เรียงล�ำดับจ�ำนวน เรือ่ ง แบบรูปของ
2 ม.1 เล่ม 1 จากมากไปน้อย หรือ จ�ำนวน
ชั่วโมง
- ใบงานที่ 1.1 เรื่อง น้อยไปมากได้ (K) - ตรวจใบงานที่ 1.3
การเปรียบเทียบ 3. ใช้เส้นจ�ำนวน เรื่อง การเรียงล�ำดับ
จำ�นวนเต็ม ในการเปรียบเทียบ จ�ำนวน
- ใบงานที่ 1.2 เรื่อง จ�ำนวนเต็มได้ (P) - ตรวจแบบฝึกทักษะ
แบบรูปของจำ�นวน 4. รับผิดชอบต่อหน้าที่ 1.2
- ใบงานที่ 1.3 เรื่อง ที่ได้รับมอบหมาย (A) - ตรวจ Exercise 1.1
การเรียงลำ�ดับจำ�นวน - ประเมินการน�ำเสนอ
ผลงาน
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. บอกจ�ำนวนตรงข้าม Concept - ตรวจใบงานที่ 1.4 - ทักษะการ 1. มีวินัย
จ�ำนวนตรงข้าม พื้นฐาน คณิตศาสตร์ ของจ�ำนวนเต็มได้ (K) Based เรื่อง จ�ำนวนตรงข้าม เปรียบเทียบ 2. ใฝ่เรียนรู้
และค่าสัมบูรณ์ ม.1 เล่ม 1 2. บอกค่าสัมบูรณ์ Teaching ของจ�ำนวนเต็ม 3. มุ่งมั่น
- แบบฝึกหัด ของจ�ำนวนเต็มได้ (K) - ตรวจใบงานที่ 1.5 ในการท�ำงาน
1 คณิตศาสตร์ 3. ใช้เส้นจ�ำนวนอธิบาย เรื่อง ค่าสัมบูรณ์
ชั่วโมง ม.1 เล่ม 1 จ�ำนวนตรงข้าม ของจ�ำนวนเต็ม
- ใบงานที่ 1.4 เรื่อง และค่าสัมบูรณ์ของ - ตรวจแบบฝึกทักษะ
จำ�นวนตรงข้าม จ�ำนวนเต็มได้ (P) 1.3
ของจำ�นวนเต็ม 4. รับผิดชอบต่อหน้าที่ - ตรวจ Exercise 1.3
- ใบงานที่ 1.5 เรื่อง ที่ได้รับมอบหมาย (A) - ประเมินการน�ำเสนอ
ค่าสัมบูรณ์ ผลงาน
ของจำ�นวนเต็ม - สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์

T2
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 3 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. ค�ำนวณผลบวกของ โมเดลซิปปา - ตรวจใบงานที่ 1.6 - ทักษะการคิด 1. มีวินัย
การบวก พื้นฐาน คณิตศาสตร์ จ�ำนวนเต็มได้ (K) (CIPPA เรื่อง การบวก หลากหลาย 2. ใฝ่เรียนรู้
และการลบ
จ�ำนวนเต็ม ม.1 เล่ม 1 2. ค�ำนวณผลลบของ Model) จ�ำนวนเต็มบวก - ทกั ษะการคิด 3. มุ่งมั่น
- แบบฝึกหัด จ�ำนวนเต็มได้ (K) และการบวก คล่อง ในการท�ำงาน
4 คณิตศาสตร์ 3. เขียนแสดงขั้นตอน จ�ำนวนเต็มลบ
ชั่วโมง ม.1 เล่ม 1 วิธีการหาผลบวกและ - ตรวจใบงานที่ 1.7
- ใบงานที่ 1.6 เรื่อง ผลลบของจ�ำนวนเต็ม เรื่อง การบวก
การบวก ได้ (P) จ�ำนวนเต็ม
จำ�นวนเต็มบวก 4. รับผิดชอบต่อหน้าที่ - ตรวจใบงานที่ 1.8
และการบวก ที่ได้รับมอบหมาย (A) เรื่อง การลบ
จำ�นวนเต็มลบ จำ�นวนเต็ม
- ใบงานที่ 1.7 เรื่อง - ตรวจแบบฝึกทักษะ
การบวกจำ�นวนเต็ม 1.4
- ใบงานที่ 1.8 เรื่อง - ตรวจ Exercise 1.4
การลบจำ�นวนเต็ม - ประเมินการน�ำเสนอ
- บัตรตัวเลข 1 และ -1 ผลงาน
- QR Code - สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์

T3
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 4 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. ค�ำนวณผลคูณของ Concept - ตรวจใบงานที่ 1.9 - ทักษะการคิด 1. มีวินัย
การคูณ พื้นฐาน คณิตศาสตร์ จ�ำนวนเต็มได้ (K) Based เรื่อง การคูณ หลากหลาย 2. ใฝ่เรียนรู้
และการหาร
จ�ำนวนเต็ม ม.1 เล่ม 1 2. ค�ำนวณผลหารของ Teaching จ�ำนวนเต็มบวกด้วย - ทกั ษะการคิด 3. มุ่งมั่น
- แบบฝึกหัด จ�ำนวนเต็มได้ (K) จ�ำนวนเต็มลบ คล่อง ในการท�ำงาน
4 คณิตศาสตร์ 3. เขียนแสดงขั้นตอน - ตรวจใบงานที่ 1.10
ชั่วโมง ม.1 เล่ม 1 วิธีการหาผลคูณและ เรื่อง การคูณ
- ใบงานที่ 1.9 เรื่อง ผลหารของจ�ำนวนเต็ม จ�ำนวนเต็ม
การคูณ ได้ (P) - ตรวจใบงานที่ 1.11
จำ�นวนเต็มบวก 4. รับผิดชอบต่อหน้าที่ เรื่อง การหาร
ด้วยจำ�นวนเต็มลบ ที่ได้รับมอบหมาย (A) จ�ำนวนเต็ม
- ใบงานที่ 1.10 เรื่อง - ตรวจแบบฝึกทักษะ
การคูณจำ�นวนเต็ม 1.5
- ใบงานที่ 1.11 เรื่อง - ตรวจ Exercise 1.5
การหารจำ�นวนเต็ม ข้อ 1-2
- ประเมินการน�ำเสนอ
ผลงาน
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์

T4
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 5 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายสมบัติของ Concept - ตรวจใบงานที่ 1.12 - ทักษะการ 1. มีวินัย
สมบัติของ พื้นฐาน คณิตศาสตร์ จ�ำนวนเต็มในการบวก Based เรื่อง สมบัติของ ประยุกต์ใช้ 2. ใฝ่เรียนรู้
จ�ำนวนเต็ม ม.1 เล่ม 1 การลบ การคูณ และ Teaching จ�ำนวนเต็ม ความรู้ 3. มุ่งมั่น
- แบบฝึกหัด การหารได้ (K) - ตรวจแบบฝึกทักษะ ในการท�ำงาน
1 คณิตศาสตร์ 2. เขียนแสดงขั้นตอน 1.6
ชั่วโมง ม.1 เล่ม 1 การด�ำเนินการของ - ตรวจ Exercise 1.6
- ใบงานที่ 1.12 เรื่อง จ�ำนวนเต็มต่าง ๆ - สังเกตพฤติกรรม
สมบัติของจำ�นวนเต็ม โดยใช้สมบัติของ การท�ำงานรายบุคคล
จ�ำนวนเต็มได้ (P) - สังเกตคุณลักษณะ
3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ อันพึงประสงค์
ที่ได้รับมอบหมาย (A)
แผนฯ ที่ 6 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายการน�ำความรู้ Concept - ตรวจใบงานที่ 1.13 - ทักษะการ 1. มีวินัย
การน�ำความรู้ พื้นฐาน คณิตศาสตร์ เกี่ยวกับจ�ำนวนเต็ม Based เรื่อง การน�ำความรู้ ประยุกต์ใช้ 2. ใฝ่เรียนรู้
เกี่ยวกับ ม.1 เล่ม 1 ไปใช้แก้ปัญหา Teaching เกี่ยวกับจ�ำนวนเต็ม ความรู้ 3. มุ่งมั่น
จ�ำนวนเต็ม
ไปใช้ ในชีวิตจริง - แบบฝึกหัด คณิตศาสตร์และ ไปใช้ในชีวิตจริง ในการท�ำงาน
คณิตศาสตร์ ปัญหาในชีวิตจริง (K) - ตรวจแบบฝึกทักษะ
2 ม.1 เล่ม 1 2. เขียนแสดงขั้นตอน 1.7
ชั่วโมง - ใบงานที่ 1.13 วิธีการแก้ปัญหาทาง - ตรวจ Exercise 1.7
เรื่อง การนำ�ความรู้ คณิตศาสตร์เกี่ยวกับ - ตรวจแบบฝึกทักษะ
เกี่ยวกับจำ�นวนเต็ม จ�ำนวนเต็มได้ (P) ประจ�ำหน่วยการเรียนรู้
ไปใช้ในชีวิตจริง 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ ที่ 1
ที่ได้รับมอบหมาย (A) - ตรวจผังมโนทัศน์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
ระบบจ�ำนวนเต็ม
- ประเมินการน�ำเสนอ
ผลงาน
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์

T5
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใชความรูเ ดิมฯ (Prior Knowledge)
หน่วยการเรียนรู้ที่
1. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
2. ครู ก ระตุ  น ความสนใจของนั ก เรี ย น โดยให
นั ก เรี ย นดู ภ าพหน า หน ว ย จากนั้ น ครู ย ก
สถานการณของทวีปแอนตารกติกา
1 ระบบจ�านวนเต็ม
3. ครูถามคําถามในหนังสือเรียน หนา 2 วา
“จากสถานการณ ข องทวี ป แอนตาร ก ติ ก า
ขางตน นักเรียนคิดวาอุณหภูมิที่ไดบันทึกไว
ของทวีปแอนตารกติกาตางกันอยางไร” แลว
ใหนกั เรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นถึงวิธกี าร
หาคําตอบ
หมายเหตุ : ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น เฉลย
คํ า ถามในหนั ง สื อ เรี ย น หน า 2 หลั ง เรี ย น
หนวยการเรียนรูที่ 1

ทวีปแอนตาร์กติกา เป็นทวีปทีม่ อี ากาศหนาวเย็นทีส่ ดุ ในโลก


โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 5 ํC ในฤดูร้อน จนถึง -80 ํC ใน
ฤดูหนาว อุณหภูมสิ งู สุดทีไ่ ด้บนั ทึกไว้ เมือ่ เดือนมีนาคม พ.ศ. 2558
อยู่ที่ 17.5 ํC และอุณหภูมิตํ่าสุดที่ได้บันทึกไว้เมื่อเดือนสิงหาคม
พ.ศ. 2553 อยู่ที่ -94.7 ํC1
ตัวชี้วัด Q. จากสถานการณ์
• เข้าใจจ�านวนตรรกยะและความสัมพันธ์ของจ�านวนตรรกยะ
และใช้สมบัติของจ�านวนตรรกยะในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ ข้างต้น นักเรียนคิดว่า
เฉลย คําถามในหนังสือเรียน หนา 2 และปัญหาในชีวิตจริง (ค 1.1 ม.1/1) อุณหภูมิที่ได้บันทึกไว้
จากอุ ณ หภู มิ สู ง สุ ด ที่ ไ ด บั น ทึ ก ไว ข องทวี ป สาระการเรียนรู้แกนกลาง ของทวีปแอนตาร์กติกา
• จ�านวนเต็ม
แอนตารกติกา เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2558 อยู • สมบัติของจ�านวนเต็ม ต่างกันอย่างไร
ที่ 17.5 ํC และอุณหภูมิตํ่าสุดที่ไดบันทึกไวเมื่อ
เดือนสิงหาคม อยูที่ -94.7 ํC ซึ่งจะเห็นวามีความ 1 Antarctica sets record for coldest temperature on Earth. Retrieved October 17, 2017, from http://www.pbs.org/

แตกตางกันมาก โดยอุณหภูมิที่ไดบันทึกไวมีคา newshour/nation/antarctica-sets-record-for-coldest-temperature-on-earth


ตางกัน 112.2 ํC

เกร็ดแนะครู กิจกรรม เสริมสรางคุณลักษณะอันพึงประสงค


การเรียนการสอนของหนวยการเรียนนี้ ครูชแี้ นะใหนกั เรียนเห็นความสําคัญ ครูควรปลูกฝงใหนักเรียนมีระเบียบวินัย โดยการสรางขอตกลง
เกีย่ วกับ “ระบบจํานวนเต็ม” วา เปนความรูพ นื้ ฐานทางคณิตศาสตรและนําไปใช กับนักเรียน เชน ในการสงการบาน ใหสงตรงตามเวลาที่กําหนด
ในชีวติ ประจําวันอยูเ สมอ โดยใหนกั เรียนลองยกตัวอยางเหตุการณทพี่ บเห็น เชน โดยครูอาจจะกําหนดชวงเวลาในการสง หากใครไมสงตามเวลา
การพยากรณอากาศ อุณหภูมิของรางกายคนเรา คาใชจายตางๆ การซื้อขาย ดังกลาวอาจถูกตัดคะแนนหรือตองทําความสะอาดหอง การแตงกาย
ในตลาดหลักทรัพย เปนตน และใหนักเรียนรวมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มาโรงเรียนใหถกู ระเบียบ ไมสง เสียงดังขณะทีค่ รูกาํ ลังสอน เปนตน
ฝกทักษะการคิดวิเคราะหและการแกปญหาไดอยางเหมาะสม (ครูและนักเรียนควรรวมกันสรางขอตกลงดังกลาว)

T6
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
การใชความรูเ ดิมฯ (Prior Knowledge)
ควรรูก้ ่อนเรียน 4. ครูใหนกั เรียนดูรปู เทอรโมมิเตอรแสดงอุณหภูมิ
โดยเฉลี่ยของเมืองหลวง 5 ประเทศ ในทวีป
นักวิทยาศาสตร์ได้ประดิษฐ์และพัฒนาเครื่องวัดอุณหภูมิขึ้นมา เรียกว่า เทอร์โมมิเตอร์ เอเชีย ในหนังสือเรียน หนา 3 จากนั้นให
ที่ท�าจากหลอดแก้วซึ่งภายในบรรจุของเหลวประเภทปรอทหรือแอลกอฮอล์ โดยของเหลวภายใน นักเรียนเขียนแสดงอุณหภูมิของเมืองหลวง
หลอดแก้วจะหดตัวเมื่อได้รับความเย็นและขยายตัวเมื่อได้รับความร้อน นอกจากนี้บนหลอดแก้ว 5 ประเทศ บนเสนจํานวนลงสมุด แลวถาม
จะมีสเกลที่ระบุตัวเลขส�าหรับบอกระดับอุณหภูมิต่าง ๆ อีกด้วยเช่น อุณหภูมิโดยเฉลี่ยในเดือน คําถาม ดังนี้
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 ณ เมืองหลวงของประเทศต่าง ๆ ในทวีปเอเชีย ซึ่งแสดงอุณหภูมิด้วย • เสนจํานวนที่นักเรียนเขียน แสดงจํานวน
เทอร์โมมิเตอร์ ดังรูปต่อไปนี้ ชนิดใดบาง
50 50 50 50 50 50 50 50 50 50 (แนวตอบ จํานวนนับและศูนย)
40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 • เรียงลําดับอุณหภูมิจากสูงสุดไปตํ่าสุดได
30 30 30 30 30 30 30 30 30 30
20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 อยางไร
10 10 10
0
10
0
10
0
10
0
10
0
10
0
10
0
10
0
(แนวตอบ 29, 27, 20, 17, 7)
0 0
10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 • บนเสนจํานวน จํานวนทีอ่ ยูท างขวาหรือซาย
20 20 20 20 20 20 20 20 20 20
30 30 30 30 30 30 30 30 30 30 มีคามากกวากัน
40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 ( แนวตอบ จํ า นวนที่ อ ยู  ท างขวาจะมี ค  า
50 50 50 50 50 50 50 50 50 50
มากกวาจํานวนที่อยูทางซาย)
C
° C
° °
C C
° °
C
5. ครูถามคําถาม ดังนี้
กรุงเทพฯ จาการ์ตา โตเกียว ไทเป ฮานอย • นักเรียนเคยดูขาวพยากรณอากาศของกรม
ประเทศไทย ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศญี่ปุน ประเทศไต้หวัน ประเทศเวียดนาม อุตนุ ยิ มวิทยาหรือไม ตัวเลขทีแ่ สดงอุณหภูมิ
ที่มา : https://www.timeanddate.com/weather ของประเทศตางๆ ในทวีปยุโรปเหมือนกัน
จากรูปแสดงอุณหภูมิ จะได้ว่า หรื อ แตกต า งจากประเทศไทยหรื อ ไม
1. เมืองหลวงของประเทศที่มีอากาศร้อนที่สุด คือ กรุงเทพฯ ประเทศไทย อยางไร
2. เมืองหลวงของประเทศที่มีอากาศหนาวที่สุด คือ โตเกียว ประเทศญี่ปุน (แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบไดหลากหลาย
3. อุณหภูมิของกรุงเทพฯ สูงกว่าอุณหภูมิของจาการ์ตา อยู่ 2 �C ตามพื้นฐานความรู เชน เหมือนกัน เพราะ
4. อุณหภูมิของจาการ์ตา สูงกว่าอุณหภูมิของโตเกียว อยู่ 20 �C แสดงโดยใชจํานวนนับ หรือแตกตางกัน
5. อุณหภูมิของโตเกียว ต�่ากว่าอุณหภูมิของไทเป อยู่ 10 �C เพราะอุณหภูมใิ นฤดูหนาวของทวีปยุโรปจะ
6. อุณหภูมิของไทเป ต�่ากว่าอุณหภูมิของฮานอย อยู่ 3 �C แสดงโดยใชจาํ นวนนับทีม่ เี ครือ่ งหมายลบอยู
นักเรียนจะพบว่า ตัวเลขที่แสดงระดับอุณหภูมิ ณ เมืองหลวงของประเทศต่าง ๆ ได้แก่ 29, ขางหนา เปนตน)
27, 7, 17 และ 20 เป็น “จ�านวนนับ” ซึ่งเรียงจากมากไปหาน้อย ได้ดังนี้ 29, 27, 20, 17 และ 7

กิจกรรม เสริมสรางคุณลักษณะอันพึงประสงค สื่อ Digital


ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4 คน จากนั้นใหแตละกลุม เรี ย นรู  เ พิ่ ม เติ ม เรื่ อ ง จํ า นวนเต็ ม ลบ จากภาพยนตร ส ารคดี สั้ น เรื่ อ ง
สงตัวแทนมาจับฉลากภาคตางๆ ของประเทศไทย แลวชวยกัน ชาวอินเดียกับจํานวนลบ ไดที่ http://twig-aksorn.com/f ifilm/india-and-
ค น คว า นอกห อ งเรี ย นเกี่ ย วกั บ อุ ณ หภู มิ โ ดยเฉลี่ ย ที่ สู ง ที่ สุ ด และ negative-numbers-8514/
ตํ่าที่สุด ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2560 ของจังหวัดในภาคตางๆ
ที่กลุมตนเองจับฉลากได จากนั้นใหนักเรียนแตละกลุมออกมา
นําเสนอหนาชั้นเรียน

T7
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
1. ครูใหนกั เรียนจับคูศ กึ ษาเนือ้ หาในหนังสือเรียน 1.1 จ�านวนเต็ม
หนา 4 หัวขอ 1.1 จํานวนเต็ม แลวแลกเปลี่ยน
ในระดับชั้นประถมศึกษานักเรียนรู้จักจ�านวนมาแล้ว ได้แก่ 0 และ 1, 2, 3, 4, … ซึ่งเรียก
ความรูกับคูของตนเอง จากนั้นครูถามคําถาม
ดังนี้ 1 บ หรือเรียกอีกชือ่ หนึง่ ว่า “จํานวนเต็มบวก” แต่ในชีวติ ประจ�าวัน
จ�านวน 1, 2, 3, 4, … ว่า จ�านวนนั
นักเรียนจะพบว่ามีการใช้ตวั เลขแสดงระดับอุณหภูม ิ เช่น อุณหภูมทิ ปี่ กั กิง่ ประเทศจีน เท่ากับ -10 �C
• จํานวนเต็มที่อยูทางขวาของศูนย คือ อ่านว่า ลบสิบองศาเซลเซียส ซึง่ เป็นอุณหภูมติ า�่ กว่าจุดเยือกแข็ง นักคณิตศาสตร์จงึ ก�าหนดตัวเลข
(แนวตอบ จํานวนเต็มบวก) แสดงจ�านวนอีกชนิดหนึง่ เป็นจ�านวนทีม่ คี า่ น้อยกว่าศูนย์ เช่น -1, -2, -3, -4, … ขึน้ มาและเรียกว่า
• จํานวนเต็มที่อยูทางซายของศูนย คือ “จํานวนเต็มลบ”
(แนวตอบ จํานวนเต็มลบ) 2
ดังนั้น จ�านวนเต็มประกอบด้วย จ�านวนเต็มบวก จ�านวนเต็มลบ และศูนย์
• จากคณิตนารู นักเรียนจะสังเกตไดอยางไรวา นักเรียนสามารถแสดงจ�านวนเต็ม โดยใช้เส้นจ�านวนได้ดังนี้
ทําไม “ศูนย” จึงไมเปนทั้งจํานวนเต็มบวก
และจํานวนเต็มลบ ศูนย์
(แนวตอบ สังเกตจากเสนจํานวน จะพบวา จ�านวนเต็มลบ จ�านวนเต็มบวก
ศูนยอยูตรงกลางระหวางจํานวนเต็มบวก
-6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6
กับจํานวนเต็มลบ ดังนั้น ศูนยจึงไมเปน
ทั้งจํานวนเต็มบวกและจํานวนเต็มลบ) จากเส้นจ�านวน จะเห็นว่า คณิตน่ารู้
2. ครูยกตัวอยางเสนจํานวนบนกระดาน แลวให • จ�านวนเต็มบวกทุกจ�านวนจะอยู่ทางขวาของศูนย์ “ศูนย์” ไม่เป็นทั้งจ�านวนเต็มบวก
นักเรียนสังเกตตําแหนงของ 2 กับ -3 และ -5 ซึ่งเพิ่มขึ้นทีละ 1 และมีค่ามากขึ้นเรื่อย ๆ โดยไม่มีที่สิ้นสุด และจ�านวนเต็มลบ และศูนย์อาจ
กับ -3 จากนั้นอธิบายวา 2 อยูทางขวาของ -3 • จ�านวนเต็มลบทุกจ�านวนจะอยู่ทางซ้ายของศูนย์ จะไม่แสดงความไม่มีค่าเสมอไป
แสดงวา -3 มีคานอยกวา 2 หรือ 2 มากกวา ซึ่งลดลงทีละ 1 และมีค่าน้อยลงเรื่อย ๆ โดยไม่มีที่สิ้นสุด เช่ น อุ ณ หภู มิ 0 องศา คื อ
การแสดงระดั บ ของอุ ณ หภู มิ ท่ี
-3 ใชสัญลักษณ 2 > -3 และ -3 อยูทางขวา จุดเยือกแข็ง
ของ -5 แสดงวา -3 มากกวา -5 หรือ -5 1.2 การเปรียบเทียบจ�านวนเต็ม
นอยกวา -3 ใชสัญลักษณ -5 < -3
3. ครูถามคําถาม ดังนี้ พิจารณาต�าแหน่งของจ�านวนเต็มบนเส้นจ�านวน จะเห็นว่า
• นั ก เรี ย นสามารถอธิ บ ายการเปรี ย บเที ย บ
-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5
จํานวนเต็มบนเสนจํานวนวาจํานวนใดมีคา
มากกวาไดอยางไร 2 อยู่ทางขวาของ -3 แสดงว่า 2 มากกว่า -3 ใช้สัญลักษณ์ 2 > -3
(แนวตอบ บนเสนจํานวน จํานวนเต็มที่อยู -5 อยู่ทางซ้ายของ -3 แสดงว่า -5 น้อยกว่า -3 ใช้สัญลักษณ์ -5 < -3
ทางขวาจะมี ค  า มากกว า จํ า นวนเต็ ม ที่ อ ยู 
ทางซาย)
4. ครูใหนักเรียนทํา Exercise 1.1 ในแบบฝกหัด
4
คณิตศาสตรเปนการบาน

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


1 ตัวเลข (Numeral) คือ สัญลักษณแทนจํานวนตางๆ มนุษยไดพัฒนา ขอใดไมเปนจํานวนเต็ม
มาจากการใชรอยขีดบนตนไมเปนตัวเลข ตอมาไดคิดเปนระบบตัวเลข เชน
1. - 64
16
0
2. 10
ระบบตัวเลขโรมัน ระบบตัวเลขอียิปต เปนตน
639
3. 284 4. 2002
77
2 ศูนย (0) ในทางคณิตศาสตรมีขอตกลงวา ศูนย (0) ไมใชจํานวนนับ
การใชศูนย (0) มีความหมายแตกตางตามกรณี ตัวอยางเชน (เฉลยคําตอบ 1. - 64 = -4 เปนจํานวนเต็มลบ
- การใช 0 เพื่อบอกปริมาณจํานวน เราใช 0 แทนความไมมี เชน ไมมี 16
0
2. 10 =0 เปนจํานวนเต็มศูนย
หนังสือ ไมมีดอกไม เปนตน
- การใช 0 เพื่อบอกคา เชน บริเวณดอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม 3. 639
284 = 2 14 ไมเปนจํานวนเต็ม
มีอุณหภูมิ 0 องศา ขอความนี้ไมไดหมายความวา ไมมีอุณหภูมิ แตเปน
การบอกคาแสดงระดับของอุณหภูมิที่จุดเยือกแข็ง 4. 2002
77 = 26 เปนจํานวนเต็มบวก
จากตัวอยางขางตนจะเห็นวา การใชศนู ย (0) ตองระวังและใชใหสอดคลอง ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)
กับบริบทของขอความหรือประโยค

T8
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เขาใจ (Understanding)
จากหัวข้อที่ 1.1 นักเรียนทราบแล้วว่า จ�านวนเต็มบวกอยู่ทางขวาของศูนย์ และจ�านวน 1. ครู ใ ห นั ก เรี ย นจั บ คู  ศึ ก ษาตั ว อย า งที่ 1 ใน
เต็มลบอยู่ทางซ้ายของศูนย์ ดังนั้น หนังสือเรียน หนา 5 แลวแลกเปลี่ยนความรู
กับคูของตนเอง จากนั้นใหนักเรียนแตละคน
บนเส้นจ�านวน จ�านวนเต็มที่อยู่ทางขวาจะมีค่ามากกว่าจ�านวนเต็มที่อยู่ทางซ้ายเสมอ
ทํา “ลองทําดู” และใบงานที่ 1.1 เรื่อง การ
ตัวอย่างที่ 1
เปรียบเทียบจํานวนเต็ม จากนัน้ ครูและนักเรียน
รวมกันเฉลยคําตอบ
จงเติมเครื่องหมาย > หรือ < ลงใน
2. ครูยกตัวอยางจํานวนเต็มบวก 5 จํานวน ไดแก
1) -7 5 2) -2 -4 1, 2, 3, 4, 5 และจํานวนเต็มลบ 5 จํานวน
วิธีทํา -8 -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 ไดแก -2, -4, -6, -8, -10 บนกระดาน แลวให
นักเรียนสังเกตการเรียงของจํานวนทีก่ าํ หนดให
จากเส้นจ�านวน
จากนั้นครูถามคําถาม ดังนี้
1) -7 อยู่ทางซ้ายของ 5 แสดงว่า -7 < 5
• จากชุดของจํานวน 1, 2, 3, 4, 5 จํานวน
2) -2 อยู่ทางขวาของ -4 แสดงว่า -2 > -4 ตอบ
แตละคูท อี่ ยูต ดิ กันมีความสัมพันธกนั อยางไร
ลองทําดู และจํานวนถัดไปอีก 2 จํานวน คือจํานวนใด
จงเติมเครื่องหมาย > หรือ < ลงใน ตามลําดับ
1) 9 -3 2) -6 -2 ( แนวตอบ จํ า นวนที่ อ ยู  ติ ด กั น จะเพิ่ ม ขึ้ น
ครั้งละ 1 และจํานวนถัดไปอีก 2 จํานวน
ตัวอย่างที่ 2
คือ 6 และ 7 ตามลําดับ)
1 • จากชุดของจํานวน -2, -4, -6, -8, -10
จงหาจํานวนเต็มอีก 3 จํานวนต่อจากแบบรูปที่กําหนดให้ต่อไปนี้
จํานวนแตละคูท อี่ ยูต ดิ กันมีความสัมพันธกนั
1) -1, -3, -5, -7, … 2) -9, -6, -3, … อยางไร และจํานวนถัดไปอีก 2 จํานวน คือ
2
วิธีทํา 1) -1, -3, -5, -7, … จะสังเกตว่าการเรียงของจ�านวนที่ก�าหนดให้แต่ละคู่ จํานวนใดตามลําดับ
ที่อยู่ติดกัน ลดลงทีละ 2 (แนวตอบ จํานวนที่อยูติดกันจะลดลงครั้งละ
ดังนั้น จ�านวนเต็มอีก 3 จ�านวน คือ -9, -11, -13 2 และจํานวนถัดไปอีก 2 จํานวน คือ -12
3
2) -9, -6, -3, … จะสังเกตว่าการเรียงของจ�านวนที่ก�าหนดให้แต่ละคู่ที่อยู่ติดกัน และ -14 ตามลําดับ)
เพิ่มขึ้นทีละ 3 3. ครู ใ ห นั ก เรี ย นจั บ คู  ศึ ก ษาตั ว อย า งที่ 2 ใน
ดังนั้น จ�านวนเต็มอีก 3 จ�านวน คือ 0, 3, 6 ตอบ หนังสือเรียน หนา 5 แลวแลกเปลี่ยนความรู
ลองทําดู กับคูข องตนเอง จากนัน้ ใหนกั เรียนแตละคนทํา
“ลองทําดู” และรวมกันเฉลยคําตอบ
จากแบบรูปที่กําหนดให้ต่อไปนี้ จงหาจํานวนเต็มอีก 3 จํานวนต่อจากแบบรูปที่กําหนดให้
1) -2, -5, -8, -11, … 2) -12, -7, -2, … 4. ครูแจกใบงานที่ 1.2 เรื่อง แบบรูปของจํานวน
ใหนักเรียนทํา จากนั้นรวมกันเฉลยคําตอบ
5
5. ครู ใ ห นั ก เรี ย นทํ า แบบฝ ก ทั ก ษะ 1.2 เป น
การบาน

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู


ขอใดตอไปนี้ถูกตอง 1 แบบรูป (Pattern) คือ ชุดของจํานวน รูปภาพ หรือสิ่งตางๆ ที่มีความ
1. สามารถหาจํานวนเต็มลบที่มากที่สุดได สัมพันธกันอยางใดอยางหนึ่ง
2. จํานวนเต็มที่นอยที่สุดคือ 0 2 -1, -3, -5, -7, … เปนแบบรูปของจํานวนที่มีความสัมพันธกันแบบลดลง
3. จํานวนเต็มเปนจํานวนนับ ครั้งละ 2
4. ศูนยไมใชจํานวนเต็ม -1 , -3 , -5 , -7 , …
(เฉลยคําตอบ จํานวนเต็มประกอบดวยจํานวนเต็มบวก
-2 -2 -2
จํานวนเต็มศูนย และจํานวนเต็มลบ
ขอ 1. ถูกตอง เพราะ -1 เปนจํานวนเต็มลบที่มากที่สุด 3 -9, -6, -3, … เปนแบบรูปของจํานวนที่มีความสัมพันธกันแบบเพิ่มขึ้น
ขอ 2. ไมถูกตอง เพราะไมสามารถระบุจํานวนเต็มที่นอยที่สุด ครั้งละ 3
ได -9 , -6 , -3 , …
ขอ 3. ไมถูกตอง เพราะจํานวนนับตองเปนจํานวนเต็มบวก +3 +3
ขอ 4. ไมถกู ตอง เพราะจํานวนเต็มประกอบดวย จํานวนเต็มบวก
จํานวนเต็มลบ และศูนย
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 1.)
T9
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
ครูใหนกั เรียนจัดกลุม กลุม ละ 4 คน คละความ แบบฝึกทักษะ 1.2
สามารถทางคณิตศาสตร แลวทํากิจกรรม ดังนี้
ระดับ พื้นฐาน
• ครูแจกใบงานที่ 1.3 เรื่อง การเรียงลําดับ
จํานวน ใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันทํา 1. ข้อความต่อไปนี้เป็นจริงหรือเท็จ
• ใหสมาชิกภายในกลุม คิดจํานวนเต็มคนละ 2 1) -2 เป็นจ�านวนเต็ม 2) 93 เป็นจ�านวนเต็ม
จํานวน แลวเขียนเรียงลําดับจํานวนจากนอย 3) 32 เป็นจ�านวนเต็มบวก 4) 0 เป็นจ�านวนเต็มบวก
ไปมาก และมากไปนอย ลงในใบงานที่ 1.3 5) 1.8 เป็นจ�านวนเต็ม 6) จ�านวนนับเป็นจ�านวนเต็มบวก
• สงตัวแทนกลุมละ 2 คน ออกมานําเสนอ
2. จงเติมเครื่องหมาย > หรือ < ลงใน ให้ถูกต้อง
ขัน้ สรุป 1) 7 -4 2) -125 3
1. ครูใหนกั เรียนเขียนแผนผังความรูร วบยอด เรือ่ ง 3) -3 -12 4) -12 -10
จํานวนเต็มและการเปรียบเทียบจํานวนเต็ม 3. จงหาจ�านวนเต็มอีก 5 จ�านวนต่อจากแบบรูปที่ก�าหนดให้ต่อไปนี้
ลงสมุด 1) -4, -3, -2, -1, 0, … 2) -6, -3, 0, 3, …
2. ครูถามคําถาม ดังนี้ 3) -7, -10, -13, … 4) 1, -1, -3, …
• จํานวนเต็มประกอบดวยอะไรบาง ระดับ กลาง
(แนวตอบ จํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ
และศูนย) 4. จงเรียงล�าดับจ�านวนที่ก�าหนดให้จากมากไปน้อย
• การเปรียบเทียบจํานวนเต็มบนเสนจํานวน 1) 3, 9, -4, 7, 2 2) -22, 22, -3, 4, 0
มีหลักการอยางไร 3) 2, -4, 8, -6, 10, -11 4) 9, 8, -8, 7, 1, -2, 10
(แนวตอบ บนเสนจํานวน จํานวนเต็มที่อยู 5) 8, -6, -5, -1, 1, -10 6) 1, -11, -10, 9, 8, -7, 7
ทางขวาจะมีคามากกวาจํานวนเต็มที่อยู 5. จงเรียงล�าดับจ�านวนที่ก�าหนดให้จากน้อยไปมาก
ทางซาย) 1) 11, -6, 5, 0, -14, -2 2) 30, 0, -100, 20, -70, -10
3) -12, 9, -15, 4, -10 4) -12, 0, -7, 48, -56, 9
ขัน้ ประเมิน 5) 1, 3, -3, 10, -11, 12 6) 7, -7, 6, 5, -5, 4, 3
1. ครูตรวจใบงานที่ 1.1-1.3 ระดับ ท้าทาย
2. ครูตรวจแบบฝกทักษะ 1.2
6. ข้อความต่อไปนี้เป็นจริงหรือเท็จ จงอธิบายพร้อมยกตัวอย่าง
3. ครูตรวจ Exercise 1.1
1) ถ้า a เป็นจ�านวนเต็มลบแล้ว ไม่สามารถหาจ�านวนเต็มลบที่น้อยกว่า a ได้
4. ครูประเมินการนําเสนอผลงาน
2) ถ้า a เป็นจ�านวนเต็มแล้ว ไม่สามารถหาจ�านวนเต็มที่มากกว่า a ได้
5. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
6. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
7. ครูสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค
6

บูรณาการอาเซียน ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ความรูเรื่องระบบจํานวนเต็มซึ่งจํานวนนับ จํานวนเต็มบวก ศูนยและ ขอใดตอไปนี้เรียงลําดับจากนอยไปมาก
จํานวนเต็มลบ จํานวนเหลานีเ้ กีย่ วของกับกิจกรรมในชีวติ ประจําวันของคนทุกคน 1. -6, -3, -1, 3, 5
และเราพบจํานวนเหลานี้จากสื่อตางๆ เชน สื่อสิ่งพิมพ อินเทอรเน็ต โทรทัศน 2. -4, -7, 5, 6, 7
เปนตน 3. 5, 3, 1, -1, -3
โดยเฉพาะอยางยิ่งขณะนี้ประเทศในกลุมอาเซียนจะมีการรวมลงทุนดาน 4. 0, -1, -2, -3, -4
การคา การศึกษา การคมนาคมและอืน่ ๆ ดังนัน้ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน (เฉลยคําตอบ 1. ถูก เพราะ -6, -3, -1, 3, 5 เปนการเรียงจาก
ในหนวยการเรียนรูนี้ ครูสามารถเชื่อมโยงความรูกับประเทศในกลุมอาเซียน นอยไปมาก
ไดโดยนําขอมูลเกี่ยวกับสินคาที่สงออกของไทย สินคานําเขาจากประเทศใน 2. ผิด เพราะ -4 > -7
กลุมอาเซียน จํานวนแรงงานไทยไปทํางานที่ประเทศในกลุมอาเซียน เปนตน 3. ผิด เพราะเปนการเรียงจากมากไปนอย
ซึ่งครูควรใหนักเรียนสืบคนในหัวขอตอไปนี้ 4. ผิด เพราะเปนการเรียงจากมากไปนอย
• จํานวนประชากรของประเทศในกลุมอาเซียน ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 1.)
• พื้นที่ของประเทศในกลุมอาเซียน
• ขอมูลการสงออกสินคาของไทยสูประเทศในกลุมอาเซียน

T10
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใชความรูเ ดิมฯ (Prior Knowledge)
1.3 จ�านวนตรงข้ามและคาสัมบูรณ ครูทบทวนความรูเกี่ยวกับจํานวนเต็มและการ
1. จ�านวนตรงข้าม เปรียบเทียบจํานวนเต็ม โดยการถาม-ตอบ ดังนี้
จงพิจารณาจ�านวนเต็ม บนเส้นจ�านวนต่อไปนี้ • จํานวนเต็มประกอบดวยอะไรบาง
(แนวตอบ จํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ
จ�านวนตรงข้าม
และศูนย)
-6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 • การเปรียบเทียบจํานวนเต็มบนเสนจํานวน
จ�านวนตรงข้าม มีหลักการอยางไร
(แนวตอบ จํานวนเต็มที่อยูทางขวาจะมีคา
จากเส้นจ�านวน จะเห็นว่า
มากกวาจํานวนเต็มที่อยูทางซาย)
3 และ -3 อยู่ห่างจาก 0 เป็นระยะ 3 หน่วย เท่ากัน
5 และ -5 อยู่ห่างจาก 0 เป็
1 นระยะ 5 หน่วย เท่ากัน
แสดงว่า 3 เป็นจ�านวนตรงข้ามของ -3 และ -3 เป็นจ�านวนตรงข้ามของ 3 ขัน้ สอน
รู (Knowing)
5 เป็นจ�านวนตรงข้ามของ -5 และ -5 เป็นจ�านวนตรงข้ามของ 5
เรียก 3 และ -3 ว่าเป็นจ�านวนตรงข้ามซึ่งกันและกัน 1. ครูใหนกั เรียนจับคูศ กึ ษาเนือ้ หาในหนังสือเรียน
5 และ -5 ว่าเป็นจ�านวนตรงข้ามซึ่งกันและกัน หนา 7 เรื่อง จํานวนตรงขาม แลวแลกเปลี่ยน
ความรูกับคูของตนเอง จากนั้นครูถามคําถาม
เมื่อ a เป็นจ�านวนเต็มใด ๆ เขียนแทนจ�านวนตรงข้ามของ a ด้วยสัญลักษณ์ -a
ดังนี้
เช่น จ�านวนตรงข้ามของ 3 เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ -3 คณิตน่ารู้ • จํานวนตรงขาม คืออะไร
จ�านวนตรงข้ามของ -3 เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ -(-3) (แนวตอบ คือ จํานวนที่อยูหางจาก 0 เปน
จ�านวนตรงข้ามของ 0
จงพิจารณาเส้นจ�านวนต่อไปนี้ คือ 0 ระยะเทากัน และอยูคนละดานของ 0 บน
เสนจํานวน)
-6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 • จํานวนตรงขามของจํานวนเต็มบวก คือ
(แนวตอบ จํานวนเต็มลบ)
จากเส้นจ�านวนพบว่า จ�านวนตรงข้ามของ -3 คือ 3 • จํานวนตรงขามของจํานวนเต็มลบ คือ
ดังนั้น -(-3) = 3
(แนวตอบ จํานวนเต็มบวก)
2. คาสัมบูรณ 2. ครูแจกใบงานที่ 1.4 เรื่อง จํานวนตรงขาม
ของจํานวนเต็ม ใหนักเรียนทํา จากนั้นครูและ
ค่าสัมบูรณ์ของจํานวนเต็ม เป็นระยะห่างระหว่างจ�านวนเต็มนัน้ กับศูนย์บนเส้นจ�านวน นักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ
3. ครูใหนกั เรียนจับคูศ กึ ษาเนือ้ หาในหนังสือเรียน
หนา 7-8 เรื่อง คาสัมบูรณ แลวแลกเปลี่ยน
ความรูกับคูของตนเอง
7

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


ขอใดตอไปนี้ถูกตอง ครูเนนยํ้าความเขาใจจํานวนตรงขาม โดยใหนักเรียนลองฝกจากการเขียน
1. -(-10) = -10 เสนจํานวนและกําหนดจํานวนตรงขาม พรอมทั้งใหสังเกตระยะหางระหวาง
2. --2 < -3 จํานวนเหลานั้น แลวสรุปผล
3. -9 < -(-8)
4. 7 > -7
(เฉลยคําตอบ 1. ผิด เพราะ -(-10) -10 นักเรียนควรรู
2. ถูก เพราะ --2  < -3  1 จํานวนตรงขาม มีขอ สังเกตใหพจิ ารณาจากเสนจํานวน จํานวนสองจํานวน
3. ผิด เพราะ -9  > -(-8) ที่เปนจํานวนตรงขามกันจะมีระยะหางจาก 0 เทากันเสมอ
4. ผิด เพราะ 7 = -7 
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)

T11
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
4. ครูถามคําถาม ดังนี้ ในหัวข้อที่ผ่านมา นักเรียนทราบแล้วว่าจ�านวนตรงข้ามของ 3 เท่ากับ -3 ให้1นักเรียน
• คาสัมบูรณของจํานวนเต็ม a และ -a มีคา ลองพิจารณาระยะห่างระหว่าง 3 กับ 0 และระยะห่างระหว่าง -3 กับ 0 โดยใช้เส้นจ�านวนต่อไปนี้
เทาไร และเทากันหรือไม 3 หน่วย 3 หน่วย
(แนวตอบ คาสัมบูรณของ a เทากับ a และ -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6
คาสัมบูรณของ -a เทากับ a ซึง่ มีคา เทากัน)
• คาสัมบูรณของจํานวนเต็มใดๆ เปนจํานวน จากเส้นจ�านวน จะเห็นว่า
เต็มลบไดหรือไม เพราะเหตุใด 3 อยู่ห่างจาก 0 เป็นระยะ 3 หน่วย จะกล่าวว่า ค่าสัมบูรณ์ของ 3 เท่ากับ 3
(แนวตอบ ไมได เพราะคาสัมบูรณเปนคาของ -3 อยู่ห่างจาก 0 เป็นระยะ 3 หน่วย จะกล่าวว่า ค่าสัมบูรณ์ของ -3 เท่ากับ 3
ระยะหาง จึงไมสามารถเปนลบได) เมื่อ a เป็นจ�านวนเต็มใด ๆ เขียนแทนค่าสัมบูรณ์ของ a ด้วยสัญลักษณ์ ∙a∙
เขาใจ (Understanding) เช่น ค่าสัมบูรณ์ของ 3 เท่ากับ 3 เขียนได้เป็น ∙3∙ = 3
1. ครู ใ ห นั ก เรี ย นจั บ คู  ศึ ก ษาตั ว อย า งที่ 3 ใน ค่าสัมบูรณ์ของ -3 เท่ากับ 3 เขียนได้เป็น ∙-3∙ = 3
หนังสือเรียน หนา 8 แลวแลกเปลี่ยนความรู ค่าสัมบูรณ์ของ 0 เท่ากับ 0 เขียนได้เป็น ∙0∙ = 0
กับคูของตนเอง จากนั้นใหนักเรียนแตละคน ค่าสัมบูรณ์ของจ�านวนเต็มใด ๆ ที่ไม่ใช่ศูนย์จะเป็นจ�านวนเต็มบวก และค่าสัมบูรณ์
ทํา “ลองทําดู” ของศูนย์เท่ากับศูนย์เสมอ
2. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ
3. ครูใหนักเรียนทํา Exercise 1.3 ในแบบฝกหัด
คณิตศาสตร จากนั้นครูและนักเรียนรวมกัน ตัวอย่างที่ 3

เฉลยคําตอบ จงหาค่าต่อไปนี้
4. ครู ใ ห นั ก เรี ย นทํ า แบบฝ ก ทั ก ษะ 1.3 เป น 1) ∙17∙ 2) ∙-17∙ 3) -∙17∙ 4) -∙-17∙
การบาน วิธีทํา 1) ∙17∙ = 17
2) ∙-17∙ = 17
3) -∙17∙ = -17
4) -∙-17∙ = -17 ตอบ

ลองทําดู
จงหาค่าต่อไปนี้
1) ∙5∙ 2) ∙-15∙ 3) -∙24∙ 4) -∙-19∙

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูเนนยํ้าใหนักเรียนพิจารณาวา ผลบวกของจํานวนสองจํานวนซึ่งเปน ขอใดไมถูกตอง
จํานวนตรงขามกัน จะเทากับ 0 1. -5 > -3
2. -7 - -7 = 0
3. -2 + 2 < -1
นักเรียนควรรู 4. 4 > -2
1 เสนจํานวน (Number Line) เปนแผนทีแ่ สดงลําดับของจํานวนบนเสนตรง (เฉลยคําตอบ 1. ถูก เพราะ -5  > -3 
ที่มีจุด 0 เปนจุดแทนศูนย จุดที่อยูทางขวาของ 0 แทนจํานวนบวก เชน 1, 2. ถูก เพราะ -7  - -7  = 0 
2, 3, ... และจุดที่อยูทางซายของ 0 แทนจํานวนลบ เชน -1, -2, -3, ... 3. ผิด เพราะ -2  + 2  > -1
โดยแตละจุดอยูหาง 0 เปนระยะ 1, 2, 3, ... หนวยตามลําดับ แสดงได ดังนี้ 4. ถูก เพราะ 4  > -2 
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)
-3 -2 -1 0 1 2 3

T12
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
แบบฝึกทักษะ 1.3 ครูใหนกั เรียนจัดกลุม กลุม ละ 4 คน คละความ
สามารถทางคณิตศาสตร แลวทํากิจกรรม ดังนี้
ระดับ พื้นฐาน
• ครูแจกใบงานที่ 1.5 เรื่อง คาสัมบูรณของ
1. จงเขียนจ�านวนตรงข้าม และค่าสัมบูรณ์ของจ�านวนต่อไปนี้ จํานวนเต็ม ใหนกั เรียนแตละกลุม รวมกันทํา
1) 4 2) 7 3) -2 • ใหสมาชิกภายในกลุมคิดจํานวนเต็มคนละ
4) -10 5) -56 6) -108 2 จํานวน แลวหาคาสัมบูรณ จากนั้นนํามา
7) 511 8) -635 9) -702 เปรียบเทียบกันอยางเชนขอ 2 ในใบงานที่
2. จงหาค่าต่อไปนี้ 1.5 โดยเขียนเปนขอ 3 ลงใบงานที่ 1.5
1) -∙-3∙ 2) ∙-3∙ 3) -∙-4∙ • สงตัวแทนกลุมละ 2 คน ออกมานําเสนอ
4) ∙-9∙ 5) -∙22∙ 6) -∙-24∙
ระดับ กลาง ขัน้ สรุป
3. จงเติมเครื่องหมาย > < หรือ = ลงใน ให้ถูกต้อง ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ
นักเรียน ดังนี้
1) ∙4∙ ∙-8∙ 2) ∙-38∙ ∙-40∙
• จํานวนตรงขาม คืออะไร
3) ∙-33∙ ∙33∙ 4) ∙-6∙ -∙6∙ (แนวตอบ คือ จํานวนที่อยูหางจาก 0 เปน
5) ∙-2∙ -∙-5∙ 6) -∙-9∙ ∙9∙ ระยะเทากัน และอยูคนละดานของ 0 บน
7) -∙-48∙ -∙-50∙ 8) -∙-795∙ -∙-793∙ เสนจํานวน)
• คาสัมบูรณของจํานวนเต็ม คืออะไร
4. จงเติมค�าตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง (แนวตอบ คือ ระยะหางระหวางจํานวนเต็ม
1) ค่าสัมบูรณ์ของ 28 และ -28 เท่ากับ ………………………………….
นั้นกับศูนยบนเสนจํานวน)
2) ค่าสัมบูรณ์ของ …………………………………. และ -50 เท่ากับ 50
3) ค่าสัมบูรณ์ของ …………………………………. และ …………………………………. เท่ากับ 132
4) 178 เป็นค่าสัมบูรณ์ของ …………………………………. และ …………………………………. ขัน้ ประเมิน
5) …………………………………. เป็นค่าสัมบูรณ์ของ …………………………………. และ -479 1. ครูตรวจใบงานที่ 1.4-1.5
6) …………………………………. เป็นค่าสัมบูรณ์ของ 2,810 และ …………………………………. 2. ครูตรวจแบบฝกทักษะ 1.3
5. จงหาค่าของจ�านวนต่อไปนี้ 3. ครูตรวจ Exercise 1.3
1) -(-17) 2) -(-42) 3) -(-54) 4. ครูประเมินการนําเสนอผลงาน
4) -(-89) 5) -(16) 6) -(560) 5. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
6. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
7. ครูสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค
9

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET สื่อ Digital


ประโยคในขอใดเปนจริง เรียนรูเ พิม่ เติมเรือ่ ง จํานวนตรงขามและคาสัมบูรณ จากภาพยนตรสารคดีสนั้
1. -12 + -9 + 21 = -29 + 7 + -6 เรื่อง ฝูงปลาซารดีน ไดที่ https://www.twig-aksorn.com/f ifilm/the-sardine-
2. [-(-85)] + -17 + 39 < -28 + -47 + [-(-56)] run-8534/
3. 43 + -34 + -62 > [-(-74)] + -23 + -62
4. -8 - -10 + 9 = -17 + -3 - (-4)
(เฉลยคําตอบ
1. ถูก เพราะ -12  + -9  + 21  = -29  + 7  + -6 
2. ผิด เพราะ [-(-85)] + -17  + 39  > -28  + -47  + [-(-56)]
3. ผิด เพราะ 43  + -34  + -62  < [-(-74)] + -23  + -62 
4. ผิด เพราะ -8  - -10  + 9  < -17 + -3  - (-4)
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 1.)

T13
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (CIPPA Model)


ทบทวนความรูเ ดิม
1. ครูถามคําถามวา 1.4 การบวกและการลบจ�านวนเต็ม
• นักเรียนจําไดหรือไมวา การหาผลบวกของ
จํานวนนับหาไดอยางไร
1. การบวกจ�านวนเต็ม
(แนวตอบ ใชการนับตอหรือใชการนับเพิ่ม 1) การบวกจํานวนเต็มบวกด้วยจํานวนเต็มบวก หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า การบวก
หรือการบวกตามแนวตั้งหรือการบวกตาม จ�านวนนับด้วยจ�านวนนับ
แนวนอน) พิจารณาการหาผลบวกของ 5 กับ 3 โดยใช้เส้นจ�านวน ดังนี้
2. ครูยกตัวอยางการหาผลบวกของ 5 กับ 3 เริ่มต้นที่ 0 นับไปทางขวา 5 หน่วย แล้วนับ
โดยใชเสนจํานวนบนกระดาน แลวอธิบาย เพิ่มไปทางขวาอีก 3 หน่วย จะไปสิ้นสุดที่ 8
ดังนี้ จากเสนจํานวน ใหเริ่มตนที่ 0 นับไป เริ่ม จบ
ทางขวา 5 หนวย โดยนับตามจํานวนของ -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11
ตัวตัง้ คือ 5 จากนัน้ นับเพิม่ ไปทางขวา 3 หนวย 8 หน่วย
โดยนับตามจํานวนของตัวบวก คือ 3 จะไดวา ดังนั้น 5 + 3 = 8
ไปสิ้นสุดที่ 8
การบวกจ�านวนเต็มบวกด้วยจ�านวนเต็มบวก จะได้ผลบวกเป็นจ�านวนเต็มบวก
3. ครูถามคําถาม ดังนี้
• ดังนั้นผลบวกของ 5 กับ 3 เทากับเทาไร 2) การบวกจํานวนเต็มลบด้วยจํานวนเต็มลบ
(แนวตอบ เทากับ 8) พิจารณาการหาผลบวกของ -5 กับ -3 โดยใช้เส้นจ�านวน ดังนี้
• จากการบวกจํ า นวนนั บ ด ว ยจํ า นวนนั บ
ดังกลาว ผลบวกที่ไดเปนจํานวนอะไร เริ่มต้นที่ 0 นับไปทางซ้าย 5 หน่วย แล้วนับ
(แนวตอบ ผลบวกที่ไดเปนจํานวนนับ) ต่อไปทางซ้ายอีก 3 หน่วย จะไปสิ้นสุดที่ -8
จบ เริ่ม
ขัน้ สอน -10 -9 -8 -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
การแสวงหาความรูใหม 8 หน่วย

1. ครูใหนกั เรียนจับคูศ กึ ษาเนือ้ หาในหนังสือเรียน ดังนั้น (-5) + (-3) = -8


หนา 10 แลวแลกเปลีย่ นความรูก บั คูข องตนเอง พิจารณาการหาผลบวกของ -5 กับ -3 โดยใช้ค่าสัมบูรณ์ ดังนี้
จากนั้นครูถามคําถาม ดังนี้ ค่าสัมบูรณ์ของ -5 เท่ากับ 5 หรือ ∙-5∙ = 5
• การบวกจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มลบ ค่าสัมบูรณ์ของ -3 เท่ากับ 3 หรือ ∙-3∙ = 3
ผลบวกที่ไดเปนจํานวนอะไร จะเห็นว่า ถ้าน�าค่าสัมบูรณ์ของ -5 บวกด้วยค่าสัมบูรณ์ของ -3 แล้วเขียนผลบวก
(แนวตอบ ผลบวกที่ไดเปนจํานวนเต็มลบ) เป็นจ�านวนเต็มลบ จะได้ผลบวกเท่ากับ -8 เช่นเดียวกับการหาผลบวกโดยใช้เส้นจ�านวน
• ถาใหนักเรียนหาผลบวก (-113) + (-45)
โดยใชเสนจํานวน จะมีความสะดวกหรือไม การบวกจ�านวนเต็มลบด้วยจ�านวนเต็มลบ ให้น�าค่าสัมบูรณ์ของจ�านวนทั้งสอง
และมีวิธีอื่นที่สะดวกกวาหรือไม มาบวกกัน แล้วเขียนผลบวกเป็นจ�านวนเต็มลบ
(แนวตอบ ไมสะดวก ควรหาผลบวกของ 10
จํานวนเต็มลบโดยใชคาสัมบูรณจะสะดวก
กวาการใชเสนจํานวน)

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูเนนยํ้ากับนักเรียนเกี่ยวกับขอตกลง “การใชเสนจํานวน” ดังนี้ ผลลัพธของ -20 - 50 + 20 เทากับขอใด
• การนับเพิม่ กับการใชเสนจํานวน เปนการนับตอไปทางขวาของเสนจํานวน 1. -50
ซึ่งจํานวนบนเสนจํานวนนั้น จํานวนทางขวาจะมีคามากกวาจํานวนทางซาย 2. -10
• การนับลดกับการใชเสนจํานวน เปนการนับตอไปทางซายของจํานวน 3. 10
ซึ่งจํานวนบนเสนจํานวนนั้น จํานวนทางซายจะมีคานอยกวาจํานวนทางขวา 4. 90
(เฉลยคําตอบ -20  - 50 + 20 = 20 - 50 + 20
= -10
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)

T14
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
การแสวงหาความรูใหม
ตัวอย่างที่ 4 2. ครู ใ ห นั ก เรี ย นจั บ คู  ศึ ก ษาตั ว อย า งที่ 4 ใน
จงหาผลบวกของจํานวนต่อไปนี้ หนังสือเรียน หนา 11 แลวแลกเปลี่ยนความรู
1) (-3) + (-13) 2) [(-6) + (-2)] + (-8) กับคูของตนเอง จากนั้นใหนักเรียนแตละคน
วิธีทํา 1) (-3) + (-13) = -(∙-3∙ + ∙-13∙) ทํา “ลองทําดู” แลวรวมกันเฉลย
คณิตน่ารู้ 3. ครูใหนักเรียนทําใบงานที่ 1.6 เรื่อง การบวก
= -(3 + 13) ให้ a, b แทนจ�านวนเต็มบวกใด ๆ 1 จํานวนเต็มบวกและการบวกจํานวนเต็มลบ
= -16 จะได้ว่า (-a) + (-b) = -(a + b)
แลวรวมกันเฉลยคําตอบ
2) [(-6) + (-2)] + (-8) = -(∙-6∙ + ∙-2∙) + (-8)
= -(6 + 2) + (-8) การศึกษาทําความเขาใจขอมูล/ความรูใหมฯ
= (-8) + (-8)
= -(∙-8∙ + ∙-8∙) 1. ครูยกตัวอยางการหาผลบวกของ 5 กับ (-2)
= -16 ตอบ โดยใชเสนจํานวน บนกระดาน จากนั้นครู
ถามคําถาม ดังนี้
ลองทําดู • การหาผลบวกของ 5 กับ -2 เขียนเปน
จงหาผลบวกของจํานวนต่อไปนี้ ประโยคสัญลักษณไดอยางไร
1) (-9) + (-16) 2) [(-11) + (-21)] + (-8) (แนวตอบ 5 + (-2) = □)
• จากประโยคสัญลักษณ จํานวนใดเปนตัวตัง้
3) การบวกจํานวนเต็มบวกด้วยจํานวนเต็มลบ และการบวกจํานวนเต็มลบด้วย
และจํานวนใดเปนตัวบวก
จํานวนเต็มบวก
(แนวตอบ 5 เปนตัวตั้งและ -2 เปนตัวบวก)
(1) พิจารณาการหาผลบวกของ 5 กับ -2 โดยใช้เส้นจ�านวน ดังนี้
2. ครูอธิบาย ดังนี้ จากเสนจํานวนใหเริ่มตนที่ 0
เริ่มต้นที่ 0 นับไปทางขวา 5 หน่วย แล้วนับ นั บ ไปทางขวา 5 หน ว ย เพราะตั ว ตั้ ง มี
ลดไปทางซ้าย 2 หน่วย จะสิ้นสุดที่ 3 เครือ่ งหมายเปนบวก จากนัน้ นับลดไปทางซาย
เริ่ม จบ 2 หนวย เพราะตัวบวกมีเครื่องหมายเปนลบ
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 หลังจากนับแลวจะเห็นวาไปสิน้ สุดที่ 3 แสดงวา
3 หน่วย ผลบวกของ 5 กับ -2 เทากับ 3
ดังนั้น 5 + (-2) = 3
3. ครู อ ธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม ว า นอกจากการบวก
พิจารณาการหาผลบวกของ 5 กับ -2 โดยใช้ค่าสัมบูรณ์ ดังนี้ จํ า นวนเต็ ม บวกด ว ยจํ า นวนเต็ ม ลบโดยใช
ค่าสัมบูรณ์ของ 5 เท่ากับ 5 หรือ ∙5∙ = 5
เสนจํานวนแลว เรายังสามารถใชความรูเรื่อง
ค่าสัมบูรณ์ของ -2 เท่ากับ 2 หรือ ∙-2∙ = 2
คาสัมบูรณ มาชวยในการหาผลบวกไดอกี ดวย
จะเห็นว่า ถ้าน�าค่าสัมบูรณ์ของ 5 ลบด้วยค่าสัมบูรณ์ของ -2 นั่นคือ 4. ครูใหนักเรียนศึกษาการหาผลบวกของ 5 กับ
∙5∙ - ∙-2∙ = 5 - 2 แล้วจะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 3 เช่นเดียวกับการหาผลบวกโดยใช้เส้นจ�านวน
-2 โดยใชคาสัมบูรณ ในหนังสือเรียน หนา 11
11

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


คาสัมบูรณของ -47 บวกดวยคาสัมบูรณของ -61 มีคาตรงกับ ครูควรยํา้ ใหนกั เรียนพิจารณาการใชเสนจํานวน โดยการสังเกต “หัวลูกศร”
ขอใด มีลักษณะทิศทางไปทางซายหรือทางขวา มีความหมายเหมือนกันหรือแตกตาง
1. -14 2. 14 กันอยางไร และการเขียนหัวลูกศรไวมีความหมายอยางไร
3. -108 4. 108
(เฉลยคําตอบ -47  = 47
-61  = 61
นักเรียนควรรู
-47  + -61  = 47 + 61 1 (-a) + (-b) = -(a + b) เราจะเรียกการดําเนินการในลักษณะนี้วา
= 108 การแจกแจงทางซาย ซึ่งสามารถใชในการคํานวณจํานวนที่มากๆ ใหงายและ
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.) รวดเร็วขึ้นได เชน 30 × 99 = 30 × (100 - 1)
= (30 × 100) - (30 × 1)
= 3,000 - 30
= 2,970

T15
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
การแลกเปลีย่ นความรูค วามเขาใจกับกลุม
1. ครูใหนักเรียนจัดกลุม กลุมละ 4 คน คละ (2) พิจารณาการหาผลบวกของ -4 กับ 6 โดยใช้เส้นจ�านวน ดังนี้
ความสามารถทางคณิตศาสตร แลวศึกษา
เริ่มต้นที่ 0 นับไปทางซ้าย 4 หน่วย แล้วนับ
เนื้อหาในหนังสือเรียน หนา 12-13 จากนั้น เพิ่มไปทางขวา 6 หน่วย จะสิ้นสุดที่ 2
แลกเปลี่ยนความรูกันภายในกลุมของตนเอง เริ่ม จบ
2. ครูสุมถามนักเรียนแตละกลุม แลวใหตัวแทน -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5
กลุมมาอธิบายคําตอบบนกระดาน ดังนี้ 2 หน่วย
• การหาผลบวกของ -4 กับ 6 เขียนเปน ดังนั้น (-4) + 6 = 2
ประโยคสัญลักษณไดอยางไร พิจารณาการหาผลบวกของ -4 กับ 6 โดยใช้ค่าสัมบูรณ์ ดังนี้
(แนวตอบ (-4) + 6 = □) ค่าสัมบูรณ์ของ -4 เท่ากับ 4 หรือ ∙-4∙ = 4
ค่าสัมบูรณ์ของ 6 เท่ากับ 6 หรือ ∙6∙ = 6
• จากประโยคสัญลักษณ จํานวนใดเปนตัวตัง้
จะเห็นว่า ถ้าน�าค่าสัมบูรณ์ของ 6 ลบด้วยค่าสัมบูรณ์ของ -4 นั่นคือ
และจํานวนใดเปนตัวบวก
∙6∙ - ∙-4∙ = 6 - 4 แล้วจะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 2 เช่นเดียวกับการหาผลบวกโดยใช้เส้นจ�านวน
(แนวตอบ -4 เปนตัวตั้งและ 6 เปนตัวบวก)
• ถาหาผลบวกของ -4 กับ 6 โดยใชเสนจํานวน
(3) พิจารณาการหาผลบวกของ 3 กับ -7 โดยใช้ค่าสัมบูรณ์ ดังนี้
ตองนับอยางไร และไดผลบวกเทาไร เริ่มต้นที่ 0 นับไปทางขวา 3 หน่วย แล้วนับ
(แนวตอบ เริม่ ตนที่ 0 นับไปทางซาย 4 หนวย ลดไปทางซ้าย 7 หน่วย จะสิ้นสุดที่ -4
เพราะตัวตั้งมีเครื่องหมายเปนลบ จากนั้น จบ เริ่ม
นับเพิ่มไปทางขวา 6 หนวย เพราะตัวบวก -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5
4 หน่วย
มี เ ครื่ อ งหมายเป น บวก หลั ง จากนั บ แล ว
จะเห็นวาไปสิน้ สุดที่ 2 แสดงวา ผลบวกของ
ดังนั้น 3 + (-7) = -4
-4 กับ 6 เทากับ 2) พิจารณาการหาผลบวกของ 3 กับ -7 โดยใช้ค่าสัมบูรณ์ ดังนี้
ค่าสัมบูรณ์ของ 3 เท่ากับ 3 หรือ ∙3∙ = 3
• ถาหาผลบวกของ -4 กับ 6 โดยใชคา สัมบูรณ ค่าสัมบูรณ์ของ -7 เท่ากับ 7 หรือ ∙-7∙ = 7
จะตองทําอยางไร และผลบวกที่ไดเทากับ
จะเห็นว่า ถ้าน�าค่าสัมบูรณ์ของ -7 ลบด้วยค่าสัมบูรณ์ของ 3 แล้วเขียนผลลัพธ์เป็น
การหาผลบวกโดยใชเสนจํานวนหรือไม จ�านวนเต็มลบ ซึ่งเท่ากับ -4 เช่นเดียวกับการหาผลบวกโดยใช้เส้นจ�านวน
( แนวตอบ นํ า ค า สั ม บู ร ณ ข อง 6 ลบด ว ย
(4) พิจารณาการหาผลบวกของ -6 กับ 3 โดยใช้เส้นจ�านวน ดังนี้
คาสัมบูรณของ -4 ดังนี้
6  - -4  = 6 - 4 = 2 แสดงวา ผลบวกของ เริ่มต้นที่ 0 นับไปทางซ้าย 6 หน่วย แล้วนับ
เพิ่มไปทางขวา 3 หน่วย จะสิ้นสุดที่ -3
-4 กับ 6 เทากับ 2 ซึ่งเทากับการหาผลบวก
โดยใชเสนจํานวน) จบ เริ่ม
• ผลบวกของ -4 กับ 6 และ -6 กับ 3 มี -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
3 หน่วย
เครื่องหมายเหมือนจํานวนใด ดังนั้น (-6) + 3 = -3
12
(แนวตอบ ผลบวกที่ไดมีเครื่องหมายเหมือน
จํานวนที่มีคาสัมบูรณมากกวา)

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูควรยกตัวอยางใหนกั เรียนไมสบั สนวาคําตอบของการดําเนินการจะเปน ผลบวกของ [108 + (-172)] + 141 เทากับขอใด
จํ า นวนบวกหรื อ จํ า นวนลบ และต อ งสั ง เกตจากค า สั ม บู ร ณ ข องจํ า นวนลบ 1. 205
หากคาสัมบูรณของจํานวนลบมีคามากกวาจํานวนบวก ผลลัพธจะมีคาเปน 2. 139
จํ า นวนลบ แต ถ  า หากค า สั ม บู ร ณ ข องจํ า นวนลบมี ค  า น อ ยกว า จํ า นวนบวก 3. 77
ผลลัพธจะมีคาเปนจํานวนบวก เชน (-6) + 3 = -3 และ 6 + (-3) = 3 4. -77
(เฉลยคําตอบ [108 + (-172)] + 141
= -( 172  - 108 ) + 141
= (-64) + 141
= 141  - 64 
= 77
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T16
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
การแลกเปลีย่ นความรูค วามเขาใจกับกลุม
พิจารณาการหาผลบวกของ -6 กับ 3 โดยใช้ค่าสัมบูรณ์ ดังนี้ 3. ครูใหนักเรียนแตละกลุมศึกษาตัวอยางที่ 5
ค่าสัมบูรณ์ของ -6 เท่ากับ 6 หรือ ∙-6∙ = 6 ในหนังสือเรียน หนา 13 แลวแลกเปลี่ยน
ค่าสัมบูรณ์ของ 3 เท่ากับ 3 หรือ ∙3∙ = 3 ความรูกันภายในกลุมของตนเอง จากนั้นให
จะเห็นว่า ถ้าน�าค่าสัมบูรณ์ของ -6 ลบด้วยค่าสัมบูรณ์ของ 3 แล้วเขียนผลลัพธ์เป็น นักเรียนแตละคนทํา “ลองทําดู”
จ�านวนเต็มลบ ซึ่งเท่ากับ -3 เช่นเดียวกับการหาผลบวกโดยใช้เส้นจ�านวน 4. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ
5. ครูอธิบายเพิ่มเติมวา เมื่อนําจํานวนตรงขาม
การบวกจ�านวนเต็มบวกด้วยจ�านวนเต็มลบ และการบวกจ�านวนเต็มลบด้วยจ�านวนเต็ม มาบวกกั น ผลบวกที่ ไ ด จ ะมี ค  า เป น ศู น ย
บวกให้น�าค่าสัมบูรณ์ของจ�านวนที่มากกว่า ลบด้วยค่าสัมบูรณ์ของจ�านวนที่น้อยกว่า
เช น เดี ย วกั น ในกรณี ที่ ค  า สั ม บู ร ณ เ ท า กั น
แล้วเขียนผลลัพธ์เป็นจ�านวนเต็ม ตามจ�านวนที่มีค่าสัมบูรณ์มากกว่า
ผลบวกที่ไดก็จะมีคาเทากับศูนยเสมอ
(5) กรณีที่ค่าสัมบูรณ์เท่ากัน สามารถเลือกจ�านวนใดเป็นตัวตั้งก็ได้ ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้
จะมีค่าเท่ากับศูนย์เสมอ เช่น (-5) + 5 = ∙-5∙ - ∙5∙ = 0 การสรุปและจัดระเบียบความรู
5 + (-5) = ∙5∙ - ∙-5∙ = 0 ครูและนักเรียนรวมกันสรุปการบวกจํานวนเต็ม
ตัวอย่างที่ 5 โดยใชการถาม-ตอบ ดังนี้
จงหาผลบวกของจํานวนต่อไปนี้ • การบวกจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มลบ
1) 25 + (-11) 2) (-16) + 9 ผลบวกที่ไดเปนจํานวนอะไร
วิธีทํา 1) 25 + (-11) = ∙25∙ - ∙-11∙ (แนวตอบ เปนจํานวนเต็มลบ)
= 25 - 11 • การบวกจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มลบ
= 14 โดยใชคาสัมบูรณทําอยางไร
2) (-16) + 9 = -(∙-16∙ - ∙9∙) (แนวตอบ ใหนําคาสัมบูรณมาบวกกัน แลว
= -(16 - 9) เขียนผลบวกเปนจํานวนเต็มลบ)
= -7 ตอบ • การบวกจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบ
และการบวกจํ า นวนเต็ ม ลบด ว ยจํ า นวน
ลองทําดู
เต็มบวก โดยใชคาสัมบูรณทําอยางไร
จงหาผลบวกของจํานวนต่อไปนี้ ( แนวตอบ ให นํ า ค า สั ม บู ร ณ ข องจํ า นวนที่
1) 12 + (-23) 2) (-9) + 17 มากกวาลบดวยคาสัมบูรณของจํานวนที่
คณิตน่ารู้ นอยกวา แลวเขียนผลลัพธเปนจํานวนเต็ม
ให้ a, b แทนจ�านวนเต็มบวกใด ๆ แล้ว a + (-b) = a - b เมื่อ a ≥ b
ตามจํานวนที่มีคาสัมบูรณมากกวา)
a + (-b) = -(b - a) เมื่อ b > a
(-a) + b = -(a - b) เมื่อ a ≥ b
(-a) + b = b - a เมื่อ b > a
13

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


กําหนด P = -42, Q = 65 และ R = -52 คาของ P + (Q + R) การสรุปหลักการบวกจํานวนเต็มครูควรใหนักเรียนไดเชื่อมโยงความรูกับ
เทากับขอใด สถานการณในชีวิตประจําวัน เพื่อใหนักเรียนไดขอสรุปที่เปนความเขาใจของ
1. -29 2. 25 ตนเอง ซึ่งจะสงผลใหนักเรียนเกิดความรูที่ชัดแจง เนื่องจากนักเรียนสามารถ
3. 29 4. 59 เชื่อมโยงความรูกับสถานการณในชีวิตประจําวันได และสามารถนําความรูเชิง
(เฉลยคําตอบ P + (Q + R) = -42 + [65 + (-52)] ทฤษฎีมาใชในภาคปฏิบัติได
= (-42) + 13 เชน นักเรียนมีเงิน 5 บาท ซื้อนํ้าเปลา 6 บาท นักเรียนจะติดเงินคนขาย
= -29 1 บาท ซึ่งก็คือ 5 - 6 = -1
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 1.) และ นักเรียนติดเงินเพื่อน 5 บาท แลวนักเรียนนําเงินมาใหเพื่อน 20 บาท
เพื่อนจะตองคืนเงินใหนักเรียน 15 บาท ซึ่งก็คือ (-5) + 20 = 15

T17
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
การปฏิบตั ิ และ/หรือการแสดงผลงาน
1. ครูใหนักเรียนจับคูกัน แลวชวยกันทํากิจกรรม กิจกรรม คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร ในหนังสือเรียน หนา 14 ดังนี้
• ครูแจกบัตรตัวเลข 1 และ -1 จํานวน ให้นกั เรียนจับคูก่ บั เพือ่ นแล้วช่วยกันหาผลบวกของจÓนวนเต็มโดยใช้บตั รตัวเลข 1 และ -1
อยางละ 10 ใบ ใหนักเรียนแตละคู ข้อตกลง 1) ให้ 1 แทนตัวเลขแสดงจ�านวน 1 และ -1 แทนตัวเลขแสดงจ�านวน -1
• ครู อ ธิ บ ายข อ ตกลงการใช บั ต รตั ว เลข 2) ใช้บัตรตัวเลขแสดงจ�านวนเต็มต่าง ๆ เช่น
จากนั้นใหนักเรียนศึกษาตัวอยางการบวก 1 1 1 หมายถึง 1 + 1 + 1 = 3
จํานวนเต็มขอ 1. แลวแลกเปลี่ยนความรู
-1 -1 -1 หมายถึง (-1) + (-1) + (-1) = -3
กับคูของตนเอง
1 -1 หมายถึง 1 + (-1) = 0
• ให นั ก เรี ย นแสดงการหาผลบวกของ
จํ า นวนเต็ ม สองจํ า นวนที่ มี เ ครื่ อ งหมาย 1. การบวกจํานวนเต็มสองจํานวนที่มีเครื่องหมายเหมือนกัน
เหมือนกัน โดยใชบัตรตัวเลข แลวเขียน
ผลบวกที่ไดลงในสมุดของตนเอง ตัวอย่าง จงหาผลบวกของ (-2) + (-3)
• ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาตั ว อย า งการบวก -1 -1
-1 -1 -1 -1 -1
จํานวนเต็มขอ 2. แลวแลกเปลี่ยนความรู -1 -1 -1
กับคูของตนเอง ดังนั้น (-2) + (-3) = -5
• ให นั ก เรี ย นแสดงการหาผลบวกของ
จํ า นวนเต็ ม สองจํ า นวนที่ มี เ ครื่ อ งหมาย จงหาผลบวกของจ�านวนต่อไปนี้
ตางกัน โดยใชบตั รตัวเลข แลวเขียนผลบวก 1) 2 + 4 2) 6 + 3 3) (-3) + (-4) 4) (-5) + (-2)
ที่ไดลงในสมุดของตนเอง 2. การบวกจํานวนเต็มสองจํานวนที่มีเครื่องหมายต่างกัน
• ครูใหนักเรียนคิดโจทยการหาผลบวกของ
จํานวนเต็ม มาคูละ 2 โจทย โดยนักเรียน ตัวอย่าง จงหาผลบวกของ 5 + (-2)
สามารถยื ม บั ต รตั ว เลขของเพื่ อ นคู  อื่ น ได 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
1 1 1
จากนั้นออกมานําเสนอการหาผลบวกบน -1 -1 -1 -1
กระดานโดยใชบัตรตัวเลข จ�านวนตรงข้าม
2. ครูสแกน QR Code เรื่อง การหาผลบวก บวกกันเท่ากับศูนย์
ของจํานวนเต็มโดยใชบตั รตัวเลข ใหนกั เรียนดู ดังนั้น 5 + (-2) = 3
3. ครูแจกใบงานที่ 1.7 เรื่อง การบวกจํานวนเต็ม จงหาผลบวกของจ�านวนต่อไปนี้
ใหนักเรียนทํา จากนั้นครูและนักเรียนรวมกัน 1) 7 + (-3) 2) (-5) + 8 3) 4 + (-9) 4) (-8) + 2
เฉลยคําตอบ
14 การหาผลบวกของจ�านวนเต็มโดยใช้บัตรตัวเลข

เฉลย กิจกรรมคณิตศาสตร
ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET
1. การบวกจํานวนเต็มสองจํานวนที่มีเครื่องหมายเหมือนกัน
ผลลัพธในขอใดมีคามากที่สุด
1) 6 2) 9 3) -7 4) -7
1. [(-19) + 13] + (-4)
2. การบวกจํานวนเต็มสองจํานวนที่มีเครื่องหมายตางกัน
2. [(-12) + 8] + 2
1) 4 2) 3 3) -5 4) -6
3. [11 + (-18)] + 3
4. [(-23) + 17] + (-7)
สื่อ Digital (เฉลยคําตอบ 1. [(-19) + 13] + (-4) = -10
2. [(-12) + 8] + 2 = -2
ครูเปดสื่อการเรียนรูเรื่อง การหาผลบวกของจํานวนเต็มโดยใชบัตรตัวเลข 3. [11 + (-18)] + 3 = -4
จากหนังสือเรียน หนา 14 ดวยการสแกน QR Code 4. [(-23) + 17] + (-7) = -13
คาที่มากที่สุด คือ -2
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)

T18
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
การศึกษาทําความเขาใจขอมูล/ความรูใหมฯ
2. การลบจ�านวนเต็ม 1. ครูใหนกั เรียนจับคูศ กึ ษาเนือ้ หาในหนังสือเรียน
จงพิจารณาผลลบและผลบวกของจ�านวนเต็มต่อไปนี้ หนา 15 แลวแลกเปลีย่ นความรูก บั คูข องตนเอง
3 - 2 = 1 และ 3 + (-2) = 1 จากนั้นครูถามคําถาม ดังนี้
จะเห็นว่า 3 - 2 = 3 + (-2) • จาก 3 - 2 = 1 และ 3 + (-2) = 1 มีอะไร
4 - 2 = 2 และ 4 + (-2) = 2 ที่เหมือนกัน
จะเห็นว่า 4 - 2 = 4 + (-2) (แนวตอบ มี 3 เปนตัวตั้ง และมีผลลบและ
การลบจ�านวนเต็มใช้ข้อตกลง ดังนี้ ผลบวกเหมือนกัน คือ 1)
ตัวตั้ง - ตัวลบ = ตัวตั้ง + จ�านวนตรงข้ามของตัวลบ • จาก 3 - 2 = 1 และ 3 + (-2) = 1
มีความสัมพันธกันอยางไร
นั่นคือ ถ้าก�าหนดให้ a และ b แทนจ�านวนเต็มใด ๆ (แนวตอบ 3 - 2 = 1 สามารถเขียนอยูใน
a - b = a + จ�านวนตรงข้ามของ b
รูปการบวกไดเปน 3 + (-2) = 1)
หรือ a - b = a + (-b)
2. ครูอธิบายเพิ่มเติม ดังนี้ นักเรียนจะสังเกต
ตัวอย่างที่ 6
เห็นวาเมื่อเขียน 3 - 2 ใหอยูในรูปการบวก
จงหาผลลบของจํานวนต่อไปนี้ จํ า นวนที่ นํ า มาบวกจะเป น จํ า นวนตรงข า ม
1) 3 - 7 2) (-2) - 4 3) 5 - (-2) 4) (-3) - (-8) ของ 2 ที่เปนตัวลบ แลวครูถามคําถาม ดังนี้
วิธีทํา 1) 3 - 7 = 3 + จ�านวนตรงข้ามของ 7 • จากขอสังเกตดังกลาวขางตนสามารถสรุป
= 3 + (-7) เปนขอตกลงของการลบจํานวนเต็ม โดย
= -4
อาศัยการบวกไดอยางไร
2) (-2) - 4 = (-2) + จ�านวนตรงข้ามของ 4
= (-2) + (-4) T hinking Time (แนวตอบ ตัวตั้ง ลบ ตัวลบ เทากับ ตัวตั้ง
= -6 จงหาผลลัพธ์ของ (-33) + 78 - 96 บวก จํานวนตรงขามของตัวลบ)
3) 5 - (-2) = 5 + จ�านวนตรงข้ามของ -2 การแลกเปลีย่ นความรูค วามเขาใจกับกลุม
= 5 + 2
= 7 1. ครูใหนักเรียนจัดกลุม กลุมละ 4 คน คละ
4) (-3) - (-8) = (-3) + จ�านวนตรงข้ามของ -8 ความสามารถทางคณิตศาสตร แลวศึกษา
= (-3) + 8 ตัวอยางที่ 6 ในหนังสือเรียน หนา 15 แลว
= 5 ตอบ แลกเปลี่ ย นความรู  ภ ายในกลุ  ม ของตนเอง
จากนั้นใหนักเรียนแตละกลุมทํา “ลองทําดู”
ลองทําดู
และ “Thinking Time” โดยเขียนวิธีทําลงใน
จงหาผลลบของจํานวนต่อไปนี้ สมุดของตนเอง
1) 15 - 28 2) (-6) - 3 3) 3 - (-10) 4) (-12) - (-4) 2. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ “ลองทําดู”
15 และ “Thinking Time”

ขอสอบเนน การคิด เฉลย Thinking Time


(-33) + 78 - 96 = [(-33) + 78] - 96
คาของ (-2) - 4 + 8 - 1 เทากับขอใด
= [ 78  - -33 ] - 96
1. -15 2. -13
= 45 - 96
3. 1 4. 13
= 45 + จํานวนตรงขามของ 96
(เฉลยคําตอบ = 45 + (-96)
(-2) - 4 + 8 - 1 = [(-2) - 4] + 8 - 1 = -51
= [-( -2  + -4 )] + 8 - 1
= [-( 2 + 4)] + 8 - 1
= [(-6) + 8] - 1
= ( 8  - -6 ) - 1
= (8 - 6) - 1
= 2-1
= 1
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T19
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
การสรุปและจัดระเบียบความรู
ครูและนักเรียนรวมกันสรุปการลบจํานวนเต็ม กิจกรรม คณิตศาสตร์
โดยใชการถาม-ตอบ ดังนี้
• นักเรียนคิดวา a - b เปนจํานวนเต็มบวก ให้นกั เรียนจับคูก่ บั เพือ่ นแล้วช่วยกันหาผลลบของจÓนวนเต็มโดยใช้บตั รตัวเลข 1 และ -1
ไดหรือไม ถาได a และ b ตองเปนอยางไร ข้อตกลง เมื่อใช้บัตรตัวเลขแสดงจ�านวนเต็มต่าง ๆ เราสามารถหาจ�านวนตรงข้ามได้ เช่น
(แนวตอบ ได เมื่อ a มีคามากกวา b) - -1 -1 -1 1 1 1
• นักเรียนคิดวา a - b เปนจํานวนเต็มลบได -(-3) = 3
หรือไม ถาได a และ b ตองเปนอยางไร 1. การลบจํานวนเต็มด้วยจํานวนเต็มบวก
(แนวตอบ ได เมื่อ a มีคานอยกวา b) ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลลบของ 4 - 6
1 1 1 1 1 1 1 1 -1 -1
การปฏิบตั ิ และ/หรือการแสดงผลงาน
-1 -1 -1 -1 -1 -1 -1 -1 -1 -1 -1 -1
1. ครูใหนักเรียนจับคูกัน แลวชวยกันทํากิจกรรม 4 - 6 สามารถเขียน
จ�านวนตรงข้ามบวกกันเท่ากับศูนย์ เป็น 4 + (-6) ได้
คณิตศาสตร ในหนังสือเรียน หนา 16 ดังนี้ ดังนั้น 4 - 6 = -2
• ครูแจกบัตรตัวเลข 1 และ -1 จํานวน ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลลบของ (-5) - 2
อยางละ 10 ใบ ใหนักเรียนแตละคู -1 -1 -1 -1 -1 (-5) - 2 สามารถเขียน
-1 -1 -1 -1 -1 -1 -1
• ครู อ ธิ บ ายข อ ตกลงการใช บั ต รตั ว เลข -1 -1 เป็น (-5) + (-2) ได้
ใหนักเรียนฟง จากนั้นใหนักเรียนศึกษา ดังนั้น (-5) - 2 = -7
ตั ว อย า งการลบจํ า นวนเต็ ม ข อ 1. แล ว จงหาผลลบของจ�านวนต่อไปนี้
แลกเปลี่ยนความรูกับคูของตนเอง 1) 7 - 4 2) 3 - 6 3) (-2) - 4 4) (-5) - 4
• ให นั ก เรี ย นแสดงการลบจํ า นวนเต็ ม ด ว ย 2. การลบจํานวนเต็มด้วยจํานวนเต็มลบ
จํานวนเต็มบวก โดยใชบตั รตัวเลข แลวเขียน
ผลลบที่ไดลงในสมุดของตนเอง ตัวอย่างที่ 3 จงหาผลลบของ 3 - (-2)
• ใหนกั เรียนศึกษาตัวอยางการลบจํานวนเต็ม 1 1 1 1 1 1
1 1 1 1 1 1 1 3 - (-2) สามารถ
ข อ 2. แล ว แลกเปลี่ ย นความรู  กั บ คู  ข อง
- -1 -1 เขียนเป็น 3 + 2 ได้
ตนเอง ดังนั้น 3 - (-2) = 5
• ให นั ก เรี ย นแสดงการลบจํ า นวนเต็ ม ด ว ย ตัวอย่างที่ 4 จงหาผลลบของ (-3) - (-4)
จํานวนเต็มลบ โดยใชบัตรตัวเลข แลวเขียน -1 -1 -1 -1 -1 -1 1
ผลลบที่ไดลงในสมุดของตนเอง - -1 -1 -1 -1 1 1 1 1 (-3) - (-4) สามารถ
2. ครูแจกใบงานที่ 1.8 เรื่อง การลบจํานวนเต็ม ดังนั้น (-3) - (-4) = 1 เขียนเป็น (-3) + 4 ได้
ใหนักเรียนทํา จากนั้นครูและนักเรียนรวมกัน จงหาผลลบของจ�านวนต่อไปนี้
เฉลยคําตอบ 1) 7 - (-2) 2) 4 - (-5) 3) (-4) - (-8) 4) (-9) - (-5)
16

เฉลย กิจกรรมคณิตศาสตร
กิจกรรม 21st Century Skills
1. การลบจํานวนเต็มดวยจํานวนเต็มบวก
1. ครูใหนกั เรียนจัดกลุม กลุม ละ 4 คน แลวชวยกันคิดโจทยการหา
1) 3 2) -3 3) -6 4) -9
ผลลบของจํานวนเต็ม มากลุมละ 2 โจทย จากนั้นแสดงการหา
2. การลบจํานวนเต็มดวยจํานวนเต็มลบ
ผลลบโดยใชบตั รตัวเลขลงกระดาษ A4 พรอมตกแตงใหสวยงาม
1) 9 2) 9 3) 4 4) -4
2. กอนทํากิจกรรมใหนักเรียนแตละกลุมประชุมเพื่อแบงหนาที่
ในการทํางาน
3. นักเรียนแตละกลุม ลงมือทํากิจกรรม โดยสมาชิกในกลุม ทําหนาที่
ตามที่ประชุมกันไว
4. นักเรียนแตละกลุมนําเสนอผลงาน

T20
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ประยุกตใชความรู
แบบฝึกทักษะ 1.4 ครู ใ ห นั ก เรี ย นทํ า แบบฝ ก ทั ก ษะ 1.4 และ
Excercise 1.4 ในแบบฝกหัดคณิตศาสตรเปน
ระดับ พื้นฐาน
การบาน
1. จงหาผลลัพธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) (-5) + 17 2) (-12) + (-25) 3) (-60) + 28 ขัน้ สรุป
4) 54 + (-46) 5) 7 - 16 6) (-12) - 23
7) 15 - (-9) 8) (-4) - (-18) 9) (-28) - (-11) ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ
นักเรียน ดังนี้
ระดับ กลาง • การบวกจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มลบ
2. จงหาผลลัพธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้ จะไดผลบวกเปนจํานวนอะไร
1) 55 + (-19) + 30 2) 34 + (-27) + (-51) 3) (-61) + (-9) + (-32) (แนวตอบ จํานวนเต็มลบ)
4) 23 - 46 - 11 5) (-25) - (-17) - 15 6) 35 - (-18) + (-21) • การบวกจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบ
3. จงเติมจ�านวนลงใน ให้ถูกต้อง และการบวกจํ า นวนเต็ ม ลบด ว ยจํ า นวน
1) 5 - = 12 2) 7 - = -13 3) (-9) - = -15 เต็มบวก โดยใชคาสัมบูรณทําอยางไร
4) (-8) + = 6 5) + 7 = 3 6) + (-13) = -14 ( แนวตอบ ให นํ า ค า สั ม บู ร ณ ข องจํ า นวนที่
4. จงหาผลลัพธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้ มากกวาลบดวยคาสัมบูรณของจํานวนที่
1) ∙6 + (-8)∙ 2) -∙(-5) + 17∙ 3) ∙(-13) - (-7)∙ นอยกวา แลวเขียนผลลัพธเปนจํานวนเต็ม
4) -∙-38∙ + (-51) 5) -∙-59∙ + ∙28∙ 6) 46 - ∙-25∙ ตามจํานวนที่มีคาสัมบูรณมากกวา)
• ขอตกลงของการลบจํานวนเต็มโดยอาศัย
ระดับ ท้าทาย การบวก เปนอยางไร
5. จงเติมจ�านวนเต็มใด ๆ ที่ไม่ใช่ศูนย์ลงในตารางต่อไปนี้ โดยที่สัญลักษณ์ที่เหมือนกัน (แนวตอบ ตัวตั้ง ลบ ตัวลบ เทากับ ตัวตั้ง
เป็นจ�านวนเดียวกัน บวก จํานวนตรงขามของตัวลบ)
ข้อ ช่องที่ 1 ช่องที่ 2
+ +
ขัน้ ประเมิน
1
1. ครูตรวจใบงานที่ 1.6-1.8
2 ( + ) + + ( + )
2. ครูตรวจแบบฝกทักษะ 1.4
3 - -
3. ครูตรวจ Exercise 1.4
4 ( - )- -( - ) 4. ครูประเมินการนําเสนอผลงาน
1) จงหาค่าผลลัพธ์จากตารางในช่องที่ 1 และช่องที่ 2 5. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
2) จงเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่ได้จากตารางในช่องที่ 1 และช่องที่ 2 6. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
7. ครูสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค
17

กิจกรรม สรางเสริม สื่อ Digital


ใหนักเรียนปฏิบัติขั้นตอนตอไปนี้
1. เลือกจํานวน 3 จํานวน ที่เปนจํานวนเต็มบวกและจํานวน ตรวจสอบคําตอบของ (-12) + (-25) โดยใชเครื่องคํานวณปฏิบัติ ดังนี้
เต็มลบซึ่งไมเปนจํานวนตรงขามกัน แสดงผล
2. หาผลบวกของจํานวนทั้งสามจากขอ 1. ใหไดผลลัพธเปน 0
จํานวนเต็มบวก 1. กดแปนเครื่องหมาย - 0
2. กดแปนตัวเลข 12 12
กิจกรรม ทาทาย 3. กดแปนเครื่องหมาย + -12
ใหนักเรียนปฏิบัติขั้นตอนตอไปนี้ 4. กดแปนเครื่องหมาย - -12
1. เขียนจํานวนเต็มบวกและจํานวนเต็มลบอยางละ 5 จํานวน
5. กดแปนตัวเลข 25 25
โดยที่แตละจํานวนตองไมเปนจํานวนตรงขามกัน
2. เลือกจํานวน 4 จํานวน ที่เปนจํานวนเต็มบวกและจํานวน 6. กดแปนเครื่องหมาย = -37
เต็มลบจากขอ 1.
3. หาผลลบของจํานวนทั้งสี่จากขอ 2. ใหไดผลลัพธเปนจํานวน
เต็มลบ
T21
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใชความรูเ ดิมฯ (Prior Knowledge)
1. ครูทบทวนความรูเรื่องการคูณที่นักเรียนเคย 1.5 การคูณและการหารจ�านวนเต็ม
เรียนมาแลวในชั้นประถมศึกษา (โดยครูอาจ
ใหนักเรียนทองสูตรคูณ) 1. การคูณจ�านวนเต็ม
2. ครู ย กตั ว อย า งการคู ณ จํ า นวนเต็ ม บวกด ว ย 1) การคูณจํานวนเต็มบวกด้วยจํานวนเต็มบวก นักเรียนสามารถหาผลคูณได้โดยใช้
จํานวนเต็มบวกในหนังสือเรียน หนา 18 เชน การบวกจ�านวนเต็มบวกซ�้า ๆ เช่น
3 × 4 = 4 + 4 + 4 = 12 2 × 9 = 9 + 9 = 18
3. ครูใหนักเรียนหาผลคูณของ 4 × 3 โดยใช 3 × 4 = 4 + 4 + 4 = 12
การบวกจํานวนเต็มบวกซํ้าๆ
(แนวตอบ 3 + 3 + 3 + 3 = 12) 5 × 3 = 3 + 3 + 3 + 3 + 3 = 15
7 × 7 = 7 + 7 + 7 + 7 + 7 + 7 + 7 = 49
ขัน้ สอน
รู (Knowing) การคูณจ�านวนเต็มบวกด้วยจ�านวนเต็มบวก จะได้ผลคูณเป็นจ�านวนเต็มบวก
1. ครูใหนกั เรียนสังเกตผลคูณของจํานวนเต็มบวก 2) การคูณจํานวนเต็
กับจํานวนเต็มบวก แลวถามคําถาม ดังนี้ 1 มบวกด้วยจํานวนเต็มลบ นักเรียนสามารถหาผลคูณได้โดยใช้
การบวกจ�านวนเต็มลบซ�้า ๆ เช่น
• การคูณจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มบวก
2 × (-3) = (-3) + (-3) = -6
ผลคูณที่ไดเปนจํานวนอะไร
(แนวตอบ จํานวนเต็มบวก) 3 × (-4) = (-4) + (-4) + (-4) = -12
2. ครู ย กตั ว อย า งการคู ณ จํ า นวนเต็ ม บวกด ว ย 5 × (-2) = (-2) + (-2) + (-2) + (-2) + (-2) = -10
จํานวนเต็มลบในหนังสือเรียน หนา 18 บน พิจารณาการหาผลคูณของ 3 กับ -4 โดยใช้ค่าสัมบูรณ์ ดังนี้
กระดาน เชน 3 × (-4) = (-4) + (-4) + (-4) ค่าสัมบูรณ์ของ 3 เท่ากับ 3 หรือ ∙3∙ = 3
= -12 จากนั้นใหนักเรียนสังเกตผลคูณ แลว ค่าสัมบูรณ์ของ -4 เท่ากับ 4 หรือ ∙-4∙ = 4
ถามคําถาม ดังนี้
• การคูณจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบ จะเห็นว่า ถ้าน�าค่าสัมบูรณ์ของ 3 คูณด้วยค่าสัมบูรณ์ของ -4 แล้วเขียนผลคูณเป็น
ผลคูณที่ไดเปนจํานวนอะไร จ�านวนเต็มลบ จะได้ผลคูณเท่ากับ -12 เช่นเดียวกับการหาผลคูณโดยใช้การบวกจ�านวนเต็มลบ
(แนวตอบ จํานวนเต็มลบ) ซ�้า ๆ
3. ครูอธิบายเพิ่มเติม ดังนี้ “นอกจากการคูณ การคูณจ�านวนเต็มบวกด้วยจ�านวนเต็มลบ ให้น�าค่าสัมบูรณ์ของจ�านวนทั้งสอง
จํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบโดยใชการ มาคูณกัน แล้วเขียนผลคูณเป็นจ�านวนเต็มลบ
บวกจํานวนเต็มลบซํ้าๆ แลว เรายังสามารถ
หาผลคูณ โดยใชความรูเรื่องคาสัมบูรณมา
ชวยในการคํานวณไดอีกดวย โดยใชหลักการ
การคู ณ จํ า นวนเต็ ม บวกด ว ยจํ า นวนเต็ ม ลบ 18
ใหนําคาสัมบูรณของจํานวนทั้งสองมาคูณกัน
แลวเขียนผลคูณเปนจํานวนเต็มลบ”

เกร็ดแนะครู กิจกรรม ทาทาย


ครูควรเนนยํ้ากับนักเรียนถึงความหมายของการคูณเพื่อปองกันความ ใหนักเรียนแยกตัวประกอบของจํานวนเต็ม มาอยางนอย
เขาใจผิดเกี่ยวกับความหมายของการคูณ เชน 2 × 3 = 6 นักเรียนอาจ 2 แบบ โดยที่ในแตละแบบเปนชุดตัวเลขที่ไมซํ้ากัน เชน
เขาใจผิดวา 2 × 3 = 6 เกิดมาจาก 2 + 2 + 2 = 6 ซึ่งผิดความหมายของ -50 = 5 × 5 × (-2) ประกอบดวยชุดตัวเลข 5, 5, -2
การคูณ แตตามความหมายของการคูณ 2 × 3 = 6 เกิดมาจาก 3 + 3 = 6 -50 = (-5) × 5 × 2 = 5 × (-5) × 2 = 5 × 2 × (-5)
ประกอบดวยชุดตัวเลข -5, 5, 2
และ -50 = (-5) × (-5) × (-2) ประกอบดวยชุดตัวเลข -5,
นักเรียนควรรู -5, -2
1 การบวกจํานวนเต็มลบซํ้าๆ เปนนิยามเพื่อการหาผลคูณ โดยใชการบวก 1. -28 2. 45
จํานวนซํ้าๆ

T22
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เขาใจ (Understanding)
ตัวอย่างที่ 7 1. ครู ใ ห นั ก เรี ย นจั บ คู  ศึ ก ษาตั ว อย า งที่ 7 ใน
จงหาผลคูณของจํานวนต่อไปนี้ หนังสือเรียน หนา 19 แลวแลกเปลี่ยนความรู
1) 3 × (-5) 2) 5 × (-3) กับคูของตนเอง จากนั้นใหนักเรียนแตละคน
3) 9 × (-11) 4) 11 × (-9) ทํา “ลองทําดู” แลวรวมกันเฉลยคําตอบ
2. ครู ส รุ ป การคู ณ จํ า นวนเต็ ม บวกด ว ยจํ า นวน
วิธีทํา 1) 3 × (-5) = -(∙3∙ × ∙-5∙) คณิตน่ารู้ เต็มลบเปนกรณีทั่วไปดังกรอบ “คณิตนารู”
= -(3 × 5) ในหนังสือเรียน หนา 19 ใหนักเรียนไดสังเกต
ให้ a, b แทนจ�านวนเต็มบวกใด ๆ
= -15 จะได้ว่า a × (-b) = -(a × b) 3. ครูแจกใบงานที่ 1.9 เรื่อง การคูณจํานวน
2) 5 × (-3) = -(∙5∙ × ∙-3∙) เต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบ ใหนักเรียนทํา
= -(5 × 3) จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ
= -15
3) 9 × (-11) = -(∙9∙ × ∙-11∙) รู (Knowing)
= -(9 × 11) 1. ครูอธิบายการคูณจํานวนเต็มลบดวยจํานวน
= -99 เต็มบวก โดยอธิบายวา “เราไมสามารถหา
4) 11 × (-9) = -(∙11∙ × ∙-9∙) ผลคูณโดยใชการบวกจํานวนซํ้าๆ ได ดังนั้น
= -(11 × 9) เราจึงใชสมบัติการสลับที่สําหรับการคูณมา
= -99 ตอบ ชวยในการหาผลคูณ” แลวยกตัวอยางโจทย
การคูณในหนังสือเรียน หนา 19 บนกระดาน
ลองทําดู จากนั้ น ให นั ก เรี ย นสั ง เกตผลคู ณ แล ว ถาม
คําถาม ดังนี้
จงหาผลคูณของจํานวนต่อไปนี้
• การคูณจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มบวก
1) 8 × (-12) 2) 6 × (-4)
ผลคูณที่ไดเปนจํานวนอะไร
(แนวตอบ จํานวนเต็มลบ)
3) การคูณจํานวนเต็มลบด้วยจํานวนเต็มบวก นักเรียนไม่สามารถหาผลคูณโดยใช้ 2. ครูยกตัวอยางโจทย (-3) × 4 =  บน
การบวกจ�านวนซ�้า ๆ ได้ ดังนั้น จึงน�าสมบัติการสลับที่ส�าหรับการคูณมาช่วยในการหาผลคูณ เช่น กระดาน แลวถามคําถาม ดังนี้
(-3) × 4 = 4 × (-3) = -12 • คาสัมบูรณของ -3 และคาสัมบูรณของ 4
พิจารณาการหาผลคูณของ -3 กับ 4 โดยใช้ค่าสัมบูรณ์ ดังนี้ เทากับเทาไร
ค่าสัมบูรณ์ของ -3 เท่ากับ 3 หรือ ∙-3∙ = 3 (แนวตอบ -3  = 3 และ 4  = 4)
ค่าสัมบูรณ์ของ 4 เท่ากับ 4 หรือ ∙4∙ = 4 • คาสัมบูรณของ -3 คูณกับคาสัมบูรณของ 4
เทากับเทาไร
(แนวตอบ -3  × 4  = 12)
19
• ถาเขียนผลคูณทีไ่ ดเปนจํานวนเต็มลบ จะได
จํานวนใด
(แนวตอบ -12)

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


ขอใดตอไปนี้ถูกตอง ครู ค วรชี้ แ นะว า ในตั ว อย า งที่ 7 นี้ ต  อ งการให นั ก เรี ย นได ฝ  ก การคู ณ
1. 7 × (-6) < (-6) × 7 จํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบจนเกิดความชํานาญ แลวสามารถนําความรู
2. (-12) × 15 = 12 × (-15) หรือความคิดรวบยอดไปใชไดทันที
3. (-8) × 7 > 9 × (-6)
4. -4 4
(เฉลยคําตอบ 1. ผิด เพราะ 7 × (-6) = -42 = (-6) × 7
2. ถูก เพราะ (-12) × 15 = -180 = 12 × (-15)
3. ผิด เพราะ (-8) × 7 = -56 < 9 × (-6) = -54
4. ผิด เพราะ -4  = 4 = 4 
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)

T23
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
3. ครูอธิบายเพิ่มเติมวา “หลังจากนําคาสัมบูรณ จะเห็นว่า ถ้าน�าค่าสัมบูรณ์ของ -3 คูณด้วยค่าสัมบูรณ์ของ 4 แล้วเขียนผลคูณเป็น
ของ -3 คูณกับคาสัมบูรณของ 4 แลวเขียน จ�านวนเต็มลบ จะได้ผลคูณเท่ากับ -12 เช่นเดียวกับการหาผลคูณโดยใช้สมบัติการสลับที่ส�าหรับ
ผลคูณที่ไดเปนจํานวนเต็มลบ จะไดผลคูณ การคูณ
เทากับ -12 ซึ่งเทากับการหาผลคูณโดยใช
สมบัติการสลับที่สําหรับการคูณมาชวย”
การคูณจ�านวนเต็มลบด้วยจ�านวนเต็มบวก ให้น�าค่าสัมบูรณ์ของจ�านวนทั้งสอง
มาคูณกัน แล้วเขียนผลคูณเป็นจ�านวนเต็มลบ
4. ครูและนักเรียนรวมกันสรุป ดังนี้ “การคูณ
จํ า นวนเต็ ม ลบด ว ยจํ า นวนเต็ ม บวก ให นํ า
ตัวอย่างที่ 8
คาสัมบูรณของจํานวนทั้งสองมาคูณกัน แลว
เขียนผลคูณเปนจํานวนเต็มลบ” จงหาผลคูณของจํานวนต่อไปนี้
5. ครู ใ ห นั ก เรี ย นจั บ คู  ศึ ก ษาตั ว อย า งที่ 8 ใน 1) (-1) × 3 2) (-2) × 5
หนังสือเรียน หนา 20 แลวแลกเปลี่ยนความรู 3) (-3) × 2 4) (-4) × 6
กับคูข องตนเอง จากนัน้ ใหนกั เรียนแตละคนทํา วิธีทํา 1) (-1) × 3 = -(∙-1∙ × ∙3∙) คณิตน่ารู้
“ลองทําดู” แลวรวมกันเฉลยคําตอบ = -(1 × 3)
ให้ a, b แทนจ�านวนเต็มบวกใด ๆ
6. ครู ส รุ ป การคู ณ จํ า นวนเต็ ม ลบด ว ยจํ า นวน = -3 จะได้ว่า (-a) × b = -(a × b)
เต็มบวกเปนกรณีทั่วไปดังกรอบ “คณิตนารู” 2) (-2) × 5 = -(∙-2∙ × ∙5∙)
ในหนังสือเรียน หนา 20 ใหนักเรียนไดสังเกต = -(2 × 5)
= -10
3) (-3) × 2 = -(∙-3∙ × ∙2∙)
= -(3 × 2)
= -6
4) (-4) × 6 = -(∙-4∙ × ∙6∙)
= -(4 × 6)
= -24 ตอบ
ลองทําดู
จงหาผลคูณของจํานวนต่อไปนี้
1) (-4) × 13
2) (-8) × 7

20

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครู ค วรชี้ แ นะว า ในตั ว อย า งที่ 8 นี้ ต  อ งการให นั ก เรี ย นได ฝ  ก การคู ณ ประโยคในขอใดตอไปนี้ผิด
จํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มบวกจนเกิดความชํานาญ แลวสามารถนําความรู 1. 2 × (-3) = (-2) × 3
หรือความคิดรวบยอดไปใชไดทันที 2. (-6) × 7 = 21 × (-2)
3. (-18) × 5 = (-15) × 8
4. 14 × 12 = 6 × 28
(เฉลยคําตอบ 1. ถูก เพราะ 2 × (-3) = -6 = (-2) × 3
2. ถูก เพราะ (-6) × 7 = -42 = 21 × (-2)
3. ผิด เพราะ (-18) × 5 = -90
แต (-15) × 8 = -120
4. ถูก เพราะ 14 × 12 = 168 = 6 × 28
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T24
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
4) การคูณจํานวนเต็มลบด้วยจํานวนเต็มลบ 7. ครู ย กตั ว อย า งการคู ณ จํ า นวนเต็ ม ลบด ว ย
พิจารณาการหาผลคูณของ -3 กับ -4 ดังนี้ จํานวนเต็มลบโดยใชสมบัติการแจกแจง ใน
เนื่องจาก (-4) + 4 = 0 หนังสือเรียน หนา 21 บนกระดาน จากนัน้ ให
1
น�า -3 คูณเข้าทั้งสองข้าง (-3) × [(-4) + 4] = (-3) × 0 นักเรียนสังเกตผลคูณ แลวถามคําถาม ดังนี้
จากสมบัติการแจกแจง [(-3) × (-4)] + [(-3) × 4] = 0 • การคูณจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มลบ
นั่นคือ [(-3) × (-4)] + (-12) = 0 ผลคูณที่ไดเปนจํานวนอะไร
แสดงว่า (-3) × (-4) กับ -12 ต้องเป็นจ�านวนตรงข้ามกัน ซึ่งจ�านวนตรงข้ามของ -12 (แนวตอบ จํานวนเต็มบวก)
คือ 12 8. ครูยกตัวอยางโจทย (-3) × (-4) =  บน
ดังนั้น (-3) × (-4) = 12 กระดาน แลวถามคําถาม ดังนี้
• คาสัมบูรณของ -3 และคาสัมบูรณของ -4
พิจารณาการหาผลคูณของ -3 กับ -4 โดยใช้ค่าสัมบูรณ์ ดังนี้
เทากับเทาไร
ค่าสัมบูรณ์ของ -3 เท่ากับ 3 หรือ ∙-3∙ = 3 (แนวตอบ -3  = 3 และ -4  = 4)
ค่าสัมบูรณ์ของ -4 เท่ากับ 4 หรือ ∙-4∙ = 4 • คาสัมบูรณของ -3 คูณกับคาสัมบูรณของ
จะเห็นว่า ถ้าน�าค่าสัมบูรณ์ของ -3 คูณด้วยค่าสัมบูรณ์ของ -4 จะได้ผลคูณเป็นจ�านวน -4 เทากับเทาไร
เต็มบวก ซึ่งเท่ากับ 12 เช่นเดียวกับการหาผลคูณโดยใช้สมบัติการแจกแจง (แนวตอบ -3  × -4  = 12)
9. ครูอธิบายเพิม่ เติมวา “หลังจากนําคาสัมบูรณ
การคูณจ�านวนเต็มลบด้วยจ�านวนเต็มลบ ให้น�าค่าสัมบูรณ์ของจ�านวนทั้งสอง ของ -3 คูณกับคาสัมบูรณของ -4 นักเรียน
มาคูณกัน จะได้ผลคูณเป็นจ�านวนเต็มบวก จะเห็นวา ผลคูณที่ไดเปนจํานวนเต็มบวก
เทากับ 12 ซึ่งเทากับการหาผลคูณโดยใช
ตัวอย่างที่ 9 สมบัติการแจกแจงมาชวย”
จงหาผลคูณของจํานวนต่อไปนี้ 10. ครูและนักเรียนรวมกันสรุป ดังนี้ “การคูณ
1) (-4) × (-3) 2) (-6) × (-5) จํ า นวนเต็ ม ลบด ว ยจํ า นวนเต็ ม ลบ ให นํ า
3) (-8) × (-11) 4) (-23) × (-5) คาสัมบูรณของจํานวนทัง้ สองมาคูณกัน จะได
วิธีทํา 1) (-4) × (-3) =
∙-4∙ × ∙-3∙ ผลคูณเปนจํานวนเต็มบวก”
คณิตน่ารู้
=
4 × 3 เขาใจ (Understanding)
ให้ a, b แทนจ�านวนเต็มบวกใด ๆ
=
12 จะได้ว่า (-a) × (-b) = a × b
2) (-6) × (-5) =
∙-6∙ × ∙-5∙ 1. ครู ใ ห นั ก เรี ย นจั บ คู  ศึ ก ษาตั ว อย า งที่ 9 ใน
=
6 × 5 หนังสือเรียน หนา 21-22 แลวแลกเปลี่ยน
=
30 ความรูกับคูของตนเอง จากนั้นใหนักเรียน
แตละคนทํา “ลองทําดู” แลวรวมกันเฉลย
คําตอบ
21 2. ครู ส รุ ป การคู ณ จํ า นวนเต็ ม ลบด ว ยจํ า นวน
เต็มลบเปนกรณีทั่วไปดังกรอบ “คณิตนารู”
ในหนังสือเรียน หนา 21 ใหนักเรียนไดสังเกต

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


กําหนด -5ac มีผลคูณเปนจํานวนเต็มบวก คาของ a และ c ครูควรเนนยํ้ากับนักเรียนถึงการคูณจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มลบ
ในขอใดถูกตอง โดยอาจเขียน (-3) × (-4) = -[-(3 × 4)] = -(-12) และใหนักเรียนอาน
1. a เปนจํานวนเต็มบวก c เปนจํานวนเต็มบวก เครื่องหมายลบตัวแรกที่อยูนอกวงเล็บวา “จํานวนตรงขาม” ดังนั้น นักเรียน
2. a เปนจํานวนเต็มบวก c เปนจํานวนเต็มลบ จะอาน -(-12) ไดวา “จํานวนตรงขามของลบสิบสอง”
3. a เปนจํานวนเต็มลบ และ c เปนจํานวนเต็มลบ
4. a เปนจํานวนเต็มลบ c เปนศูนย
(เฉลยคําตอบ -5 เปนจํานวนเต็มลบ ผลคูณของ ac ตองเปน นักเรียนควรรู
จํานวนเต็มลบ จึงจะทําใหผลลัพธเปนจํานวนเต็มบวก 1 คูณเขาทังสองขาง เปนสมบัติของการเทากัน ซึ่งจํานวนที่จะนํามาคูณ
จะได a และ c ตองเปนจํานวนเต็มบวกหนึ่งจํานวน อีกหนึ่ง ตองไมเทากับ 0 เพื่อใหผลคูณที่ไดเปนไปตามที่ตองการ
จํานวนเปนจํานวนเต็มลบ ซึ่งตรงกับขอ 2. และ a เปนจํานวน
เต็มบวก c เปนจํานวนเต็มลบ
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)

T25
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เขาใจ (Understanding)
3. ครูยกตัวอยางที่ 10 ในหนังสือเรียน หนา 22 3) (-8) × (-11) = ∙-8∙ × ∙-11∙
พรอมทั้งอธิบายวิธีการหาผลคูณ 2 ขั้นตอน = 8 × 11
หลังจากนั้นครูถามคําถาม “Thinking Time” = 88
ใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบพรอมทั้งบอก 4) (-23) × (-5) = ∙-23∙ × ∙-5∙
เหตุผล = 23 × 5
(แนวตอบ ผลคูณเหมือนกับผลคูณในตัวอยาง = 115 ตอบ
ที่ 10 เพราะการหาผลคูณ 2 ขั้นตอน ทําได
โดยนํ า สองจํ า นวนใดๆ คู ณ กั น ก อ นก็ ไ ด ลองทําดู Thinking Time
แล ว นํ า ผลคู ณ ที่ ไ ด ไ ปคู ณ กั บ จํ า นวนที่ เ หลื อ จงหาผลคูณของจํานวนต่อไปนี้ นักเรียนคิดว่า ผลคูณของ
สวนเครื่องหมายของผลคูณอาจใชหลักการ 1) (-3) × (-12) 2) (-7) × (-6) 2 × (-2) × 3 เหมือนกับ
ผลคูณในตัวอย่างที่ 10 หรือไม่
พิจารณาที่จํานวนของเครื่องหมายลบ ถามี เพราะเหตุใด
เครื่องหมายลบเปนจํานวนคู ผลคูณที่ไดจะ ตัวอย่างที่ 10

เปนจํานวนบวก แตถามีเครื่องหมายลบเปน จงหาผลคูณของจํ1านวนต่อไปนี้


จํานวนคี่ ผลคูณที่ไดจะเปนจํานวนลบ) 1) [2 × (-2)] × 3 2) 6 × [3 × (-2)]
4. ครูใหนกั เรียนทํา “ลองทําดู” และใบงานที่ 1.10 วิธีทํา 1) [2 × (-2)] × 3 = -(∙2∙ × ∙-2∙) × 3
เรือ่ ง การคูณจํานวนเต็ม จากนัน้ ครูและนักเรียน = -(2 × 2) × 3
รวมกันเฉลยคําตอบ = (-4) × 3
5. ครูใหนักเรียนทํา Exercise 1.5 ขอ 1. ในแบบ = -(∙-4∙ × ∙3∙)
ฝกหัดคณิตศาสตร และแบบฝกทักษะ 1.5 = -12
ขอ 1. เปนการบาน 2) 6 × [3 × (-2)] = 6 × [-(∙3∙ × ∙-2∙)]
= 6 × [-(3 × 2)]
= 6 × (-6)
= -(∙6∙ × ∙-6∙)
= -36 ตอบ
ลองทําดู
จงหาผลคูณของจํานวนต่อไปนี้
1) [5 × (-2)] × 3
2) 4 × [5 × (-3)]

22

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


1 [2 × (-2)] × 3 สามารถเขียนโดยใชสมบัติการเปลี่ยนหมูของการคูณได กําหนด a = -4, b = 3 และ c = -2 คาของ (2 × b) - c + a
ดังนี้ เทากับขอใด
2 × [(-2) × 3] = 2 × (-6) 1. 2
= -12 2. 4
คําตอบที่ไดเทากับโจทยในตัวอยางที่ 10 3. 6
4. 8
(เฉลยคําตอบ (2 × b) - c + a เมื่อ a = -4, b = 3 และ
c = -2
จะได (2 × 3) - (-2) + (-4) = 6 + 2 + (-4)
= 8 + (-4)
=4
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)

T26
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
2. การหารจ�านวนเต็ม 1. ครูทบทวนความรูเรื่องความสัมพันธของการ
ในหน่วยการเรียนรู้นี้นักเรียนจะเรียนการหารจ�านวนเต็มด้วยจ�านวนเต็มที่เป็นการหาร คูณและการหารที่นักเรียนไดเรียนมาแลวใน
ระดับชั้นประถมศึกษา คือ
ลงตัวโดยใช้ความสัมพันธ์ของการคูณและการหาร ดังนี้
ตัวตั้ง = ตัวหาร × ผลหาร
ตัวตั้ง = ตัวหาร × ผลหาร 2. ครูยกตัวอยางการหารจํานวนเต็มบวกดวย
จํานวนเต็มบวก ในหนังสือเรียน หนา 23 แสดง
1) การหารจํานวนเต็มบวกด้วยจํานวนเต็มบวก ใหนักเรียนเห็นถึงความสัมพันธของการคูณ
พิจารณาการหาผลหารของ 12 กับ 4 โดยใช้ความสัมพันธ์ของการคูณและการหาร ดังนี้ และการหารจากที่กลาวไวขางตน จากนั้นให
เนื่องจาก 12 = 4 × 3 นักเรียนสังเกตผลหาร แลวถามคําถาม ดังนี้
ดังนั้น 12 ÷ 4 = 3 • การหารจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มบวก
ผลหารที่ไดเปนจํานวนอะไร
การหารจ�านวนเต็มบวกด้วยจ�านวนเต็มบวก จะได้ผลหารเป็นจ�านวนเต็มบวก (แนวตอบ จํานวนเต็มบวก)
3. ครูอธิบายการหารจํานวนเต็มลบดวยจํานวน
2) การหารจํานวนเต็มลบด้วยจํานวนเต็มลบ เต็มลบวา “เราสามารถหาผลหารไดโดยใช
พิจารณาการหาผลหารของ -12 กับ -4 โดยใช้ความสัมพันธ์ของการคูณและการหาร ความสัมพันธของการคูณและการหาร” แลว
ดังนี้ ยกตั ว อย า งโจทย ก ารหารในหนั ง สื อ เรี ย น
เนื่องจาก -12 = (-4) × 3 หนา 23 บนกระดาน จากนัน้ ใหนกั เรียนสังเกต
ดังนั้น (-12) ÷ (-4) = 3 ผลหาร แลวถามคําถาม ดังนี้
พิจารณาการหาผลหารของ -12 กับ -4 โดยใช้ค่าสัมบูรณ์ ดังนี้ • การหารจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มลบ
ผลหารที่ไดเปนจํานวนอะไร
ค่าสัมบูรณ์ของ -12 เท่ากับ 12 หรือ ∙-12∙ = 12
(แนวตอบ จํานวนเต็มบวก)
ค่าสัมบูรณ์ของ -4 เท่ากับ 4 หรือ ∙-4∙ = 4 4. ครูยกตัวอยางโจทย (-12) ÷ (-4) =  บน
จะเห็นว่า ถ้าน�าค่าสัมบูรณ์ของ -12 หารด้วยค่าสัมบูรณ์ของ -4 จะได้ผลหารเป็น กระดาน แลวถามคําถาม ดังนี้
จ�านวนเต็มบวก ซึ่งเท่ากับ 3 เช่นเดียวกับการหาผลหารโดยใช้ความสัมพันธ์ของการคูณและ • คาสัมบูรณของ -12 หารดวยคาสัมบูรณ
การหาร ของ -4 เทากับเทาไร
(แนวตอบ -12  ÷ -4  = 3)
การหารจ�านวนเต็มลบด้วยจ�านวนเต็มลบ ให้น�าค่าสัมบูรณ์ของจ�านวนทั้งสอง 5. ครูอธิบายเพิ่มเติมวา “หลังจากนําคาสัมบูรณ
มาหารกัน จะได้ผลหารเป็นจ�านวนเต็มบวก ของ -12 หารดวยคาสัมบูรณของ -4 นักเรียน
จะเห็ น ว า ผลหารที่ ไ ด เ ท า กั บ 3 ซึ่ ง เท า กั บ
การหาผลหารโดยใชความสัมพันธของการคูณ
และการหาร”
6. ครูและนักเรียนรวมกันสรุป ดังนี้ “การหาร
23 จํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มลบ ใหนําคา
สัมบูรณมาหารกัน จะไดผลหารเปนจํานวน
เต็มบวก”

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


กําหนด a * b = aab - b เมื่อ a และ b เปนจํานวนเต็ม
ครูควรเนนยํ้าการหารจํานวนนับดวยจํานวนนับ โดยตั้งคําถามใหนักเรียน
แลว 4 * (6 * 3) มีคาเทากับขอใด สรุปวา ตองใชความรูเรื่องใดบาง พรอมทั้งครูควรเนนยํ้าการคูณจํานวนเต็ม
1. -2 2. -12 ดวยจํานวนเต็มโดยตั้งคําถามใหนักเรียนบอกผลคูณ เชน จํานวนเต็มบวกคูณ
3. 24 4. 72 ดวยจํานวนเต็มลบ ผลคูณที่ไดเปนจํานวนเต็มชนิดใด จํานวนเต็มลบคูณดวย
จํานวนเต็มลบ ผลคูณที่ไดเปนจํานวนเต็มชนิดใด
(เฉลยคําตอบ a * b = aab -b
6 * 3 = 66 ×- 33 = 183
= 6
4 * (6 * 3) = 44 ×- 66 = 24
-2
= -12
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)

T27
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เขาใจ (Understanding)
1. ครูใหนักเรียนจับคูศึกษาตัวอยางที่ 11 ใน ตัวอย่างที่ 11
หนังสือเรียน หนา 24 แลวแลกเปลี่ยนความรู จงหาผลหารของจํานวนต่อไปนี้
กับคูของตนเอง จากนั้นใหนักเรียนแตละคน 1) (-30) ÷ (-5) 2) (-144) ÷ (-8)
ทํา “ลองทําดู” แลวครูและนักเรียนรวมกัน
เฉลยคําตอบ วิธีทํา 1) (-30) ÷ (-5) = ∙-30∙ ÷ ∙-5∙ คณิตน่ารู้
2. ครู ส รุ ป การหารจํ า นวนเต็ ม ลบด ว ยจํ า นวน = 30 ÷ 5
ให้ a, b แทนจ�านวนเต็มบวกใด ๆ
เต็มลบเปนกรณีทั่วไปดังกรอบ “คณิตนารู” = 6 จะได้ว่า (-a) ÷ (-b) = a ÷ b
ในหนังสือเรียน หนา 24 ใหนักเรียนไดสังเกต 2) (-144) ÷ (-8) = ∙-144∙ ÷ ∙-8∙
จากนั้นใหนักเรียนจับคูชวยกันทํา “Thinking = 144 ÷ 8
Time” แลวรวมกันเฉลยคําตอบ = 18 ตอบ

รู (Knowing) ลองทําดู

1. ครูอธิบายการหารจํานวนเต็มลบดวยจํานวน จงหาผลหารของจํานวนต่อไปนี้ Thinking Time


1) (-42) ÷ (-7) 2) (-75) ÷ (-5) จงหาผลลัพธ์ของ (-72) ÷ (-3) ÷ (-4)
เต็ ม บวกว า “เราสามารถหาผลหารได โ ดย
ใช ค วามสั ม พั น ธ ข องการคู ณ และการหาร”
แลวยกตัวอยางโจทยการหารในหนังสือเรียน
หนา 24 บนกระดาน จากนัน้ ใหนกั เรียนสังเกต 3) การหารจํานวนเต็มลบด้วยจํานวนเต็มบวก
ผลหาร แลวถามคําถาม ดังนี้ พิจารณาการหาผลหารของ -12 กับ 4 โดยใช้ความสัมพันธ์ของการคูณและการหาร
• การหารจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มบวก ดังนี้
ผลหารที่ไดเปนจํานวนอะไร เนื่องจาก -12 = 4 × (-3)
(แนวตอบ จํานวนเต็มลบ) ดังนั้น (-12) ÷ 4 = -3
2. ครูยกตัวอยางโจทย (-12) ÷ 4 =  บน พิจารณาการหาผลหารของ -12 กับ 4 โดยใช้ค่าสัมบูรณ์ ดังนี้
กระดาน แลวถามคําถาม ดังนี้ ค่าสัมบูรณ์ของ -12 เท่ากับ 12 หรือ ∙-12∙ = 12
• คาสัมบูรณของ -12 หารดวยคาสัมบูรณของ ค่าสัมบูรณ์ของ 4 เท่ากับ 4 หรือ ∙4∙ = 4
4 เทากับเทาไร จะเห็นว่า ถ้าน�าค่าสัมบูรณ์ของ -12 หารด้วยค่าสัมบูรณ์ของ 4 แล้วเขียนผลหารเป็น
(แนวตอบ -12  ÷ 4  = 3) จ�านวนเต็มลบ จะได้ผลหารเท่ากับ -3 เช่นเดียวกับการหาผลหารโดยใช้ความสัมพันธ์ของการคูณ
3. ครูอธิบายเพิ่มเติมวา “หลังจากนําคาสัมบูรณ และการหาร
ของ -12 หารดวยคาสัมบูรณของ 4 แลวเขียน
ผลหารเปนจํานวนเต็มลบ จะไดผลหารเทากับ การหารจ�านวนเต็มลบด้วยจ�านวนเต็มบวก ให้น�าค่าสัมบูรณ์ของจ�านวนทั้งสอง
-3 ซึง่ เทากับการหาผลหารโดยใชความสัมพันธ มาหารกัน แล้วเขียนผลหารเป็นจ�านวนเต็มลบ
ของการคูณและการหาร”
4. ครูและนักเรียนรวมกันสรุป ดังนี้ “การหาร
จํ า นวนเต็ ม ลบด ว ยจํ า นวนเต็ ม บวก ให นํ า 24
คาสัมบูรณของจํานวนทั้งสองมาหารกัน แลว
เขียนผลหารเปนจํานวนเต็มลบ”
เฉลย Thinking Time
ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET
(-72) ÷ (-3) ÷ (-4) = [(-72) ÷ (-3)] ÷ (-4)
จงหาผลบวกของจํานวนเต็มตั้งแต -7 ถึง 15 และหารดวย 3
= ( -72  ÷ -3 ) ÷ (-4)
ลงตัววามีคาเทาใด
= (72 ÷ 3) ÷ (-4)
1. 7
= 24 ÷ (-4)
2. 15
= 24  ÷ -4 
3. 21
= -(24 ÷ 4)
4. 36
= -6
(เฉลยคําตอบ จํานวนเต็มตั้งแต -7 ถึง 15 และหารดวย 3 ลงตัว
คือ -6, -3, 0, 3, 6, 9, 12 และ 15 ผลบวกของจํานวนเต็มเหลานี้
เทากับ 36
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)

T28
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
4) การหารจํานวนเต็มบวกด้วยจํานวนเต็มลบ 5. ครูอธิบายการหารจํานวนเต็มบวกดวยจํานวน
พิจารณาการหาผลหารของ 12 กับ -4 โดยใช้ความสัมพันธ์ของการคูณและการหาร เต็มลบวา “เราสามารถหาผลหารไดโดยใช
ดังนี้ ความสัมพันธของการคูณและการหาร” แลว
เนื่องจาก 12 = (-4) × (-3) ยกตั ว อย า งโจทย ก ารหารในหนั ง สื อ เรี ย น
ดังนั้น 12 ÷ (-4) = -3 หนา 25 บนกระดาน จากนัน้ ใหนกั เรียนสังเกต
พิจารณาการหาผลหารของ 12 กับ -4 โดยใช้ค่าสัมบูรณ์ ดังนี้ ผลหาร แลวถามคําถาม ดังนี้
ค่าสัมบูรณ์ของ 12 เท่ากับ 12 หรือ ∙12∙ = 12 • การหารจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบ
ค่าสัมบูรณ์ของ -4 เท่ากับ 4 หรือ ∙-4∙ = 4 ผลหารที่ไดเปนจํานวนอะไร
จะเห็นว่า ถ้าน�าค่าสัมบูรณ์ของ 12 หารด้วยค่าสัมบูรณ์ของ -4 แล้วเขียนผลหารเป็น (แนวตอบ จํานวนเต็มลบ)
จ�านวนเต็มลบ จะได้ผลหารเท่ากับ -3 เช่นเดียวกับการหาผลหารโดยใช้ความสัมพันธ์ของการคูณ 6. ครูยกตัวอยางการหาผลหารของ 12 กับ -4
และการหาร โดยใชคาสัมบูรณ บนกระดาน แลวอธิบาย
เพิ่มเติมวา “หลังจากนําคาสัมบูรณของ 12
การหารจ�านวนเต็มบวกด้วยจ�านวนเต็มลบ ให้น�าค่าสัมบูรณ์ของจ�านวนทั้งสอง
มาหารกัน แล้วเขียนผลหารเป็นจ�านวนเต็มลบ หารดวยคาสัมบูรณของ -4 แลวเขียนผลหาร
เปนจํานวนเต็มลบ จะไดผลหารเทากับ -3 ซึ่ง
เทากับการหาผลหารโดยใชความสัมพันธของ
ตัวอย่างที่ 12 การคูณและการหาร”
จงหาผลหารของจํานวนต่อไปนี้ 7. ครูและนักเรียนรวมกันสรุป ดังนี้ “การหาร
1) (-36) ÷ 3 2) 45 ÷ (-5) จํ า นวนเต็ ม บวกด ว ยจํ า นวนเต็ ม ลบ ให นํ า
วิธีทํา 1) (-36) ÷ 3 = -(∙-36∙ ÷ ∙3∙) คาสัมบูรณของจํานวนทั้งสองมาหารกัน แลว
คณิตน่ารู้ เขียนผลหารเปนจํานวนเต็มลบ”
= -(36 ÷ 3)
ให้ a, b แทนจ�านวนเต็มบวกใด ๆ
= -12 จะได้ว่า (-a) ÷ b = -(a ÷ b) เขาใจ (Understanding)
2) 45 ÷ (-5) = -(∙45∙ ÷ ∙-5∙) และ a ÷ (-b) = -(a ÷ b)
= -(45 ÷ 5) 1. ครูใหนักเรียนจับคูศึกษาตัวอยางที่ 12 ใน
= -9 ตอบ หนังสือเรียน หนา 25 แลวแลกเปลี่ยนความรู
กับคูของตนเอง จากนั้นใหนักเรียนแตละคน
ลองทําดู ทํา “ลองทําดู” แลวรวมกันเฉลยคําตอบ
จงหาผลหารของจํานวนต่อไปนี้ 2. ครูสรุปการหารจํานวนเต็มบวกดวยจํานวน
1) (-54) ÷ 6 2) 108 ÷ (-6) เต็มลบเปนกรณีทั่วไปดังกรอบ “คณิตนารู”
ในหนังสือเรียน หนา 25 ใหนักเรียนไดสังเกต
25

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


กําหนด A = (-12) + [(-18) × (-6)] ครูเนนยํ้าใหนักเรียนตองระลึกอยูเสมอวาตัวตั้งและตัวหารเปนจํานวนเต็ม
B = (-14) × 71 ชนิดใด โดยครูตั้งคําถามทบทวนใหนักเรียนสรุป เชน
C = [261 ÷ (-9)] × 8 • ผลหารเปนจํานวนเต็มบวก เมื่อตัวตั้งและตัวหารเปนจํานวนเต็มชนิดใด
ขอใดเรียงลําดับคา A, B, C จากนอยไปมาก • ผลหารเปนจํานวนเต็มลบ เมื่อตัวตั้งและตัวหารเปนจํานวนชนิดใด
1. A, B, C 2. B, C, A • ผลหารเปนศูนย เมื่อตัวตั้งและตัวหารเปนจํานวนชนิดใด
3. A, C, B 4. B, A, C
(เฉลยคําตอบ A = (-12) + [(-18) × (-6)] = 96
B = (-14) × 71 = -994
C = [261 ÷ (-9)] × 8 = -232
เรียงลําดับคานอยไปหามาก -994, -232, 96
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)

T29
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เขาใจ (Understanding)
3. ครูใหนักเรียนทํา Exercise 1.5 ขอ 2. ใน แบบฝึกทักษะ 1.5
แบบฝกหัดคณิตศาสตร และทําแบบฝกทักษะ
ระดับ พื้นฐาน
1.5 ขอ 2.-5. เปนการบาน โดยครูกลาวชี้แนะ
และทบทวนความรูวา “ถาโจทยที่กําหนดให 1. จงหาผลคูณในแต่ละข้อต่อไปนี้
ไมไดใสวงเล็บ นักเรียนควรเริม่ ดําเนินการจาก 1) 3 × 17 2) 8 × (-9)
การคูณหรือหารโดยเริ่มจากซายไปขวา และ 3) (-6) × 7 4) (-7) × (-5)
ดําเนินการบวกหรือลบโดยเริ่มจากซายไปขวา 5) (-2) × 3 × 15 6) 3 × (-6) × 2
เปนลําดับสุดทาย” 2. จงหาผลหารในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) 65 ÷ 5 2) (-38) ÷ (-2)
ลงมือทํา (Doing)
3) (-57) ÷ 3 4) 132 ÷ (-11)
1. ครูแจกใบงานที่ 1.11 เรือ่ ง การหารจํานวนเต็ม 5) 60 ÷ (-4) 6) (-48) ÷ (-8)
ใหนักเรียนทํา จากนั้นครูและนักเรียนรวมกัน
เฉลยคําตอบ ระดับ กลาง
2. ครูใหนกั เรียนจัดกลุม กลุม ละ 4 คน คละความ
3. จงหาผลลัพธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้
สามารถทางคณิตศาสตร แลวทํากิจกรรม ดังนี้
1) (-2) + (3 × 15) 2) [(-5) + (-2)] × (-3)
• ให นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ช ว ยกั น ทํ า แบบฝ ก
3) [(-5) × 6] × (-4) 4) 8 × [(-4) × (-7)]
ทักษะ 1.5 ขอ 6. โดยเขียนลงในสมุดของ
5) (-12) ÷ [4 - (-2)] 6) [(-12) + 2] ÷ (-5)
ตนเอง
• จากนัน้ ใหนกั เรียนแลกเปลีย่ นความรูภ ายใน
7) [(-48) ÷ (-3)] - 7 8) (-5) + [54 ÷ (-6)]
กลุมของตนเอง เกี่ยวกับคําตอบของขอ 1) 9) (-78) + 14 × 4 10) 40 + (-36) ÷ 9
และขอ 2) จนเปนที่เขาใจรวมกัน 11) 63 ÷ (-9) + (-2) × (-10) 12) (-8) × (-5) - (-36) ÷ 9
1
• ให นั ก เรี ย นส ง ตั ว แทนกลุ  ม มานํ า เสนอ 4. จงเติมจ�านวนลงใน ให้ถูกต้อง
คําตอบหนาชั้นเรียน 1) 2 × (-3) × = -48 2) (-3) × × (-2) = 24
3) × (-4) × (-3) = -60 4) ÷ (-2) = -72

5) ÷ 8 = -83 6) (-672) ÷ = 96
7) 180 ÷ × (-22) = 132 8) ÷ 7 × 9 = -675

26

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


กอนใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 1.5 ครูควรใหนักเรียนพิจารณาวาโจทย กําหนด a = -4, b = -6, c = 2 และ d = -1 ขอใดถูกตอง
ขอ 2. ใชความรูเกี่ยวกับสูตรคูณ หรือใชความสัมพันธระหวางการคูณและ 1. c(ad- b) = 4 2. bacd
-c=1
การหาร 3. (ac + bd) ÷ cd = 1 4. (bc + ad) + (ab - cd) = -18
(เฉลยคําตอบ โจทยกําหนด a = -4, b = -6, c = 2 และ
นักเรียนควรรู d = -1
1. ผิด เพราะ 2[-4 -1
- (-6)] = 4 = -4
-1
1 เปนตัวไมทราบคาที่จะทําใหจํานวนทั้งสองขางของเครื่องหมาย (-6) - 2 = -8 = -1
เทากับนัน้ เทากัน ซึง่ เราจะเรียกการหาคาของตัวไมทราบคานีว้ า “การแกสมการ” 2. ผิด เพราะ (-4)(2)(-1) 8
การหาคาตัวไมทราบคาทีง่ า ยและรวดเร็ว เราจะใชสมบัตขิ องการเทากัน ในการ 3. ถูก เพราะ (-4)(2)2(-1)
+ (-6)(-1) = (-8) + 6 = 1
แกสมการซึ่งนักเรียนจะไดเรียนในบทเรียนตอๆ ไป -2
4. ผิด เพราะ [(-6)(2) + (-4)(-1)] + [(-4)(-6) - 2(-1)]
= (-12 + 4) + (24 + 2) = (-8) + 26 = 18
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T30
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ
นักเรียน ดังนี้
5. จงเติมจ�านวนลงในตารางให้ถกู ต้อง เมือ่ ก�าหนดจ�านวนทีอ่ ยูใ่ นแนวนอนเป็นตัวตัง้ และจ�านวน • การคูณจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบ
ที่อยู่ในแนวตั้งเป็นตัวหาร หรื อ การคู ณ จํ า นวนเต็ ม ลบด ว ยจํ า นวน
เต็มบวก ผลคูณที่ไดเปนจํานวนอะไร
ตัวหาร ตัวตั้ง 12 -12 (แนวตอบ จํานวนเต็มลบ)
-6 -2 • การคูณจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มลบ
4 ผลคูณที่ไดเปนจํานวนอะไร
-12 3 (แนวตอบ จํานวนเต็มบวก)
3 • การหารจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มลบ
ผลหารที่ไดเปนจํานวนอะไร
(แนวตอบ จํานวนเต็มบวก)
ระดับ ท้าทาย • การหารจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มบวก
6. จงเติมจ�านวนเต็มใด ๆ ที่ไม่ใช่ศูนย์ลงในตารางต่อไปนี้ โดยที่สัญลักษณ์ที่เหมือนกัน หรื อ การหารจํ า นวนเต็ ม บวกด ว ยจํ า นวน
เป็นจ�านวนเดียวกัน เต็มลบ ผลหารที่ไดเปนจํานวนอะไร
(แนวตอบ จํานวนเต็มลบ)
ข้อ ช่องที่ 1 ช่องที่ 2
1 × × ขัน้ ประเมิน
2 ( × )× × ( × ) 1. ครูตรวจใบงานที่ 1.9-1.11
3 ÷ ÷ 2. ครูตรวจแบบฝกทักษะ 1.5
4 ( ÷ )÷ ÷ ( ÷ ) 3. ครูตรวจ Exercise 1.5
4. ครูประเมินการนําเสนอผลงาน
1) จงหาค่าผลลัพธ์จากตารางในช่องที่ 1 และช่องที่ 2 5. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
2) จงเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่ได้จากตารางในช่องที่ 1 และช่องที่ 2 6. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
7. ครูสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค

27

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET แนวทางการวัดและประเมินผล


คาของ a ในขอใด เปนจํานวนเต็มลบ ครูศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลการนําเสนอผลงานและพฤติกรรม
1. a × (-7)(12) = -252 การทํางานกลุม จากใบประเมินของแผนการจัดการเรียนรูใ นหนวยการเรียนรูท ี่ 1
2. a × (-8)(-14) = -784
3. a + (-85) + (-60) = (-90) + (-55)
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
แบบประเมินการนาเสนอผลงาน
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับ
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับ ระดับคะแนน

4. ถูกทั้ง 1., 2. และ 3.


ระดับคะแนน
การมี
การทางาน
ระดับคะแนน การแสดง การยอมรับฟัง ส่วนร่วมใน รวม
ลาดับ ลาดับ ชื่อ – สกุล ตามที่ได้รับ ความมีน้าใจ
รายการประเมิน ความคิดเห็น คนอื่น การปรับปรุง 20
ที่ 4 3 2 1 ที่ ของนักเรียน มอบหมาย
ผลงานกลุ่ม คะแนน
1 เนื้อหาละเอียดชัดเจน    

(เฉลยคําตอบ
4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1
2 ความถูกต้องของเนื้อหา    
3 ภาษาที่ใช้เข้าใจง่าย    
4 ประโยชน์ที่ได้จากการนาเสนอ    

1. ผิด เพราะ (-7)(12) = -84 ดังนั้น ถา a เปนจํานวนเต็มลบ 5 วิธีการนาเสนอผลงาน

รวม
   

คูณจํานวนเต็มลบ จะไดจํานวนเต็มบวก ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน


............/................./................

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน

2. ถูก เพราะ (-8)(-14) = 112 ดังนั้น ถา a เปนจํานวน


เกณฑ์การให้คะแนน
............/................./................
ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชัดเจน ให้ 4 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องบางส่วน ให้ 3 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็นส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 4 คะแนน

เต็มลบคูณจํานวนเต็มบวก จะไดจํานวนเต็มลบ
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องมาก ให้ 1 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครัง้ ให้ 2 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

3. ผิด เพราะ (-85) + (-60) = (-90) + (-55) = -145


18 - 20 ดีมาก
14 - 17 ดี ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10 - 13 พอใช้ 18 - 20 ดีมาก
ต่ากว่า 10 ปรับปรุง 14 - 17 ดี
10 - 13 พอใช้

ดังนั้น a = 0 จึงไมใชจํานวนเต็มลบ ต่ากว่า 10 ปรับปรุง

ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)

T31
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใชความรูเ ดิมฯ (Prior Knowledge)
ครู ท บทวนการหาผลบวกและผลคู ณ ของ 1.6 สมบัติของจ�านวนเต็ม
จํานวนเต็มบวกสองจํานวน
1. สมบัติของหนึ่งและศูนย
ขัน้ สอน 1) สมบัติของศูนย์
รู (Knowing) (1) จ�านวนเต็มใด ๆ บวกด้วยศูนย์ หรือศูนย์บวกด้วยจ�านวนเต็มใด ๆ จะได้ผลบวก
เท่ากับจ�านวนนั้น เช่น 3 + 0 = 0 + 3 = 3
1. ครูยกตัวอยางการหาผลบวกของ 3 + 0 กับ
(-5) + 0 = 0 + (-5) = -5
0 + 3 และ (-5) + 0 กับ 0 + (-5) ใหนักเรียน 1
สังเกตผลบวกที่ได แลวครูสรุปวา “การบวก a + 0 = 0 + a = a เมื่อ a แทนจ�านวนเต็มใด ๆ
จํ า นวนเต็ ม ใดๆ ด ว ยศู น ย หรื อ ศู น ย บ วก
ด ว ยจํ า นวนเต็ ม ใดๆ จะได ผ ลบวกเท า กั บ (2) จ�านวนเต็มใด ๆ คูณด้วยศูนย์ หรือศูนย์คณ
ู ด้วยจ�านวนเต็มใด ๆ จะได้ผลคูณเท่ากับ
จํานวนนั้น” ศูนย์ เช่น 3 × 0 = 0 × 3 = 0
2. ครูยกตัวอยางการหาผลคูณของ 3 × 0 คูกับ (-5) × 0 = 0 × (-5) = 0
0 × 3 และ (-5) × 0 คูกับ 0 × (-5) ให a × 0 = 0 × a = 0 เมื่อ a แทนจ�านวนเต็มใด ๆ
นั ก เรี ย นสั ง เกตผลคู ณ ที่ ไ ด แล ว ครู ส รุ ป ว า
“การคูณจํานวนเต็มใดๆ ดวยศูนย หรือศูนย (3) ศูนย์หารด้วยจ�านวนเต็มใด ๆ ที่ไม่ใช่ศูนย์ จะได้ผลหารเท่ากับศูนย์ เช่น
คูณดวยจํานวนเต็มใดๆ จะไดผลคูณเทากับ 0 = 0 คณิตน่ารู้
3
ศูนย” 0 = 0 ถ้า a แทนจ�านวนเต็มใด ๆ
(-7)
3. ครูยกตัวอยางการหาผลหารของ 03 และ -70 แล้ว 0a ไม่มีความหมาย
ใหนักเรียนสังเกตผลหารที่ได แลวครูสรุปวา 0 = 0 เมื่อ a แทนจ�านวนเต็มใด ๆ ที่ไม่เท่ากับ 0 ทางคณิตศาสตร์
a
“ศูนยหารดวยจํานวนเต็มใดๆ ที่ไมใชศูนย
จะไดผลหารเทากับศูนย” และกลาวเนนยํ้าวา (4) ถ้าผลคูณของจ�านวนเต็มสองจ�านวนใด ๆ เท่ากับศูนย์ แล้วจ�านวนใดจ�านวนหนึ่ง
ตั ว หารต อ งไม เ ป น ศู น ย เพราะ a0 ไม มี ต้องเท่ากับศูนย์ กล่าวคือ ถ้า a และ b แทนจ�านวนเต็มใด ๆ และ a × b = 0 แล้ว a = 0
ความหมายทางคณิตศาสตร หรือ b = 0
4. ครู อ ธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม ว า “การคู ณ จํ า นวนเต็ ม 2) สมบัติของหนึ่ง
สองจํานวนใดๆ ถาผลคูณของจํานวนเต็มสอง
(1) จ�านวนเต็มใด ๆ คูณด้วยหนึง่ หรือหนึง่ คูณด้วยจ�านวนเต็มใด ๆ จะได้ผลคูณเท่ากับ
จํ า นวนใดๆ เท า กั บ ศู น ย แล ว จํ า นวนใด จ�านวนนั้น เช่น 1 × 3 = 3 × 1 = 3
จํานวนหนึ่งตองเทากับศูนย ซึ่งเปนสมบัติ 1 × (-5) = (-5) × 1 = -5
ของศูนยขอ (4)” 2
5. ครูใหนักเรียนจับคูศึกษาสมบัติของหนึ่ง ใน 1 × a = a × 1 = a เมื่อ a แทนจ�านวนเต็มใด ๆ
หนังสือเรียน หนา 28-29 แลวรวมกันสรุปเปน
กรณีท่ัวไปวา “การคูณจํานวนเต็มใด ๆ ดวย 28
หนึ่ง หรือหนึ่งคูณดวยจํานวนเต็มใด ๆ จะได
ผลคูณเทากับจํานวนนั้น”

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูควรใหนักเรียนศึกษา “คณิตนารู” แลวใหนักเรียนรวมกันแสดงความ ขอใดไมถูกตอง
คิดเห็นวาทําไม a0 ไมมีความหมายทางคณิตศาสตร เมื่อ a เปนจํานวนเต็มใดๆ 1. 0 × a = a × 0
2. 0 + b = b + 0
3. 0 ÷ c = c ÷ 0
นักเรียนควรรู 4. d × 1 = d
1 a + 0 = 0 + a = a เมื่อ a แทนจํานวนเต็มใดๆ จะกลาวไดวา 0 เปน (เฉลยคําตอบ
เอกลักษณการบวก 1. ถูก เพราะ 0 คูณกับจํานวนใดๆ จะได 0
2. ถูก เพราะการบวกมีสมบัติการสลับที่
2 1 × a = a × 1 = a เมื่อ a แทนจํานวนเต็มใดๆ จะกลาวไดวา 1 เปน
3. ผิด เพราะ c0 ไมมีความหมายทางคณิตศาสตร
เอกลักษณการคูณ
4. ถูก เพราะจํานวนใดๆ คูณดวย 1 จะไดจาํ นวนนัน้
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T32
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
(2) จ�านวนเต็มใด ๆ หารด้วยหนึ่ง จะได้ผลหารเท่ากับจ�านวนนั้น เช่น 6. ครูถามคําถามวา
3 ÷ 1 = 3 • ผลหารของ 3 ÷ 1 และ (-5) ÷ 1 เทากับ
(-5) ÷ 1 = -5 เทาไร
a ÷ 1 = a เมื่อ a แทนจ�านวนเต็มใด ๆ (แนวตอบ เทากับ 3 และ -5 ตามลําดับ)
แลวรวมกันสรุปเปนกรณีทั่วไปวา “การหาร
ตัวอย่างที่ 13 จํานวนเต็มใดๆ ดวยหนึ่ง จะไดผลหารเทากับ
จงหาผลลัพธ์ของจํานวนต่อไปนี้ จํานวนเต็มนั้น”
1) (18 - 17) × (-9) 2) 6 ÷ [(-4) + 5]
เขาใจ (Understanding)
วิธีทํา 1) (18 - 17) × (-9) = 1 × (-9) 2) 6 ÷ [(-4) + 5] = 6 ÷ 1
= -9 = 6 ตอบ 1. ครูใหนักเรียนคูเดิมศึกษาตัวอยางที่ 13 ใน
หนังสือเรียน หนา 29 แลวแลกเปลี่ยนความรู
ลองทําดู กับคูข องตนเอง จากนัน้ ใหนกั เรียนแตละคนทํา
จงหาผลลัพธ์ของจํานวนต่อไปนี้ “ลองทําดู” แลวรวมกันเฉลยคําตอบ
1) (12 - 11) × (-7) 2) 9 ÷ [23 + (-22)] 2. ครู ใ ห นั ก เรี ย นคู  เ ดิ ม ศึ ก ษาสมบั ติ ก ารสลั บ ที่
ในหนังสือเรียน หนา 29 แลวแลกเปลีย่ นความรู
2. สมบัติเกี่ยวกับการบวกและการคูณจ�านวนเต็ม กับคูของตนเอง จากนั้นครูถามคําถาม ดังนี้
1
1) สมบัติการสลับที่ • ผลบวกของ 3 + (-5) และ (-5) + 3 เทากับ
(1) การบวกจ�านวนเต็มสองจ�านวน เราสามารถสลับที่ระหว่างตัวตั้งและตัวบวกได้ เทาไร
โดยที่ผลบวกยังคงเท่ากัน เช่น 3 + (-5) = (-5) + 3 = -2 (แนวตอบ เทากับ -2)
• ผลคูณของ 3 × (-5) และ (-5) × 3 เทากับ
ถ้า a และ b แทนจ�านวนเต็มใด ๆ แล้ว a + b = b + a
เทาไร
(2) การคูณจ�านวนเต็มสองจ�านวน เราสามารถสลับทีร่ ะหว่างตัวตัง้ และตัวคูณได้ โดยที่ (แนวตอบ เทากับ -15)
ผลคูณยังคงเท่ากัน เช่น 3 × (-5) = (-5) × 3 = -15 แล ว ร ว มกั น สรุ ป เป น กรณี ทั่ ว ไปเหมื อ นใน
ถ้า a และ b แทนจ�านวนเต็มใด ๆ แล้ว a × b = b × a หนังสือเรียน หนา 29 และเรียกวา “สมบัติการ
สลับที่สําหรับการบวก และสมบัติการสลับที่
2) สมบัติการเปลี่ยนหมู่ สําหรับการคูณ ตามลําดับ”
(1) สมบั ติ ก ารเปลี่ ย นหมู ่ ส� า หรั บ การบวก เมื่ อ มี จ� า นวนเต็ ม สามจ� า นวนบวกกั น 3. ครูใหนกั เรียนคูเ ดิมศึกษาสมบัตกิ ารเปลีย่ นหมู
นักเรียนสามารถบวกจ�านวนเต็มคู่แรกหรือคู่หลังก่อนได้ โดยที่ผลบวกสุดท้ายยังคงเท่ากัน เช่น ในหนังสือเรียน หนา 29-30 แลวแลกเปลี่ยน
[2 + (-7)] + (-3) = 2 + [(-7) + (-3)] = -8 ความรูกับคูของตนเอง จากนั้นรวมกันสรุป
เปนกรณีทั่วไปเหมือนในหนังสือเรียน หนา 30
29
และเรี ย กว า “สมบั ติ ก ารเปลี่ ย นหมู  สํ า หรั บ
การบวก”

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


การดําเนินการในขอใดมีสมบัติการสลับที่ ครูเนนยํ้ากับนักเรียนถึงสมบัติการสลับที่วามีขอควรระวังวา 3 - 5 5 - 3
1. การบวกและการลบ เนื่องจาก 3 - 5 = -2 แต 5 - 3 = 2 ดังนั้น 3 - 5 5 - 3 และครูอาจชี้แนะ
2. การลบและการหาร เพิ่มเติมถึงขอควรระวังนี้วา จะสามารถใชสมบัติการสลับที่ไดอยางไร เชน 3 - 5
3. การบวกและการคูณ จะใชสมบัติการสลับที่ได ดังนี้ 3 - 5 = 3 + (-5) = (-5) + 3
4. การลบและการคูณ
(เฉลยคําตอบ สมบัติการสลับที่เปนจริง สําหรับการดําเนินการ
บวกและคูณ เมื่อ a, b เปนจํานวนใดๆ ดังนี้ นักเรียนควรรู
a+b=b+a 1 สมบัติการสลับที่ (Commutative Property) เปนสมบัติที่เกิดจากการ
และ a×b=b×a ดําเนินการบวกและการคูณของจํานวน ซึ่งชวยใหงายตอการคิดคํานวณ
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T33
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เขาใจ (Understanding)
4. ครูถามคําถามวา ถ้า a, b และ c แทนจ�านวนเต็มใด ๆ แล้ว (a + b) + c = a + (b + c)
• ผลคูณของ [2 × (-7)] × (-3) และ 2 ×
[(-7) × (-3)] เทากับเทาไร (2) สมบัติการเปลี่ยนหมู่ส�าหรับการคูณ เมื่อมีจ�านวนเต็มสามจ�านวนคูณกัน นักเรียน
(แนวตอบ เทากับ 42) สามารถคูณจ�านวนเต็มคู่แรกหรือคู่หลังก่อนได้ โดยที่ผลคูณสุดท้ายยังคงเท่ากัน เช่น
แลวครูและนักเรียนรวมกันสรุปเปนกรณีทวั่ ไป [2 × (-7)] × (-3) = 2 × [(-7) × (-3)] = 42
เหมือนในหนังสือเรียน หนา 30 และเรียกวา ถ้า a, b และ c แทนจ�านวนเต็มใด ๆ แล้ว (a × b) × c = a × (b × c)
“สมบัติการเปลี่ยนหมูสําหรับการคูณ”
5. ครูใหนักเรียนคูเดิมศึกษาตัวอยางที่ 14 และ 3) สมบัติการแจกแจง เป็นสมบัติที่เกี่ยวข้องระหว่างการบวกและการคูณ เช่น
ตัวอยางที่ 15 ในหนังสือเรียน หนา 30 แลว 3 × [4 + (-6)] = (3 × 4) + [3 × (-6)] = -6
แลกเปลี่ยนความรูกับคูของตนเอง จากนั้น [(-2) + 8] × (-3) = [(-2) × (-3)] + [8 × (-3)] = -18
ใหนักเรียนแตละคนทํา “ลองทําดู” 1
ถ้า a, b และ c แทนจ�านวนเต็มใด ๆ แล้2ว a × (b + c) = (a × b) + (a × c)
6. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น เฉลยคํ า ตอบ “ลอง และ (b + c) × a = (b × a) + (c × a)
ทําดู”
7. ครูใหนักเรียนคูเดิมศึกษาสมบัติการแจกแจง ตัวอย่างที่ 14

ในหนังสือเรียน หนา 30 แลวแลกเปลี่ยน จงหาผลบวกของ (-18) + 31 + (-34)


ความรูกับคูของตนเอง จากนั้นครูถามคําถาม วิธีทํา (-18) + 31 + (-34) = (-18) + (-34) + 31 (สมบัติการสลับที่ส�าหรับการบวก)
ดังนี้ = [(-18) + (-34)] + 31 (สมบัติการเปลี่ยนหมู่ส�าหรับการบวก)
• ผลลัพธของ 3 × [4 + (-6)] และ (3 × 4) + = (-52) + 31
[3 × (-6)] เทากับเทาไร = -21 ตอบ
(แนวตอบ เทากับ -6) ลองทําดู
• ผลลัพธของ [(-2) + 8] × (-3) และ [(-2) ×
จงหาผลบวกของ (-27) + 35 + (-42)
(-3)] + [8 × (-3)] เทากับเทาไร
(แนวตอบ เทากับ -18) ตัวอย่างที่ 15
แลวครูและนักเรียนรวมกันสรุปเปนกรณีทวั่ ไป จงหาผลคูณของ (-3) × (-5) × 4
เหมือนในหนังสือเรียน หนา 30 และเรียก วิธีทํา (-3) × (-5) × 4 = (-3) × [(-5) × 4] (สมบัติการเปลี่ยนหมู่ส�าหรับการคูณ)
สมบัตินี้วา “สมบัติการแจกแจง” = (-3) × (-20)
= 60 ตอบ
ลองทําดู
จงหาผลคูณของ (-7) × 5 × (-6)
30

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


1 a × (b + c) = (a × b) + (a × c) เมื่อ a, b และ c แทนจํานวนเต็ม ขอใดแสดงสมบัติการเปลี่ยนหมูของจํานวนเต็ม
ใดๆ จะเรียกวา “สมบัติการแจกแจงทางซาย” 1. (10 + 11) + 12 = 12 + (10 + 11)
2 (b + c) × a = (b × a) + (c × a) เมื่อ a, b และ c แทนจํานวนเต็ม 2. 7 × (8 × 9) = (8 × 9) × 7
ใดๆ จะเรียกวา “สมบัติการแจกแจงทางขวา” 3. (13 + 14) × 15 = (13 × 15) + (14 × 15)
4. 14 + (15 + 16) = (14 + 15) + 16
(เฉลยคําตอบ 1. (10 + 11) + 12 = 12 + (10 + 11)
สมบัติการสลับที่
2. 7 × (8 × 9) = (8 × 9) × 7
สมบัติการสลับที่
3. (13 + 14) × 15 = (13 × 15) + (14 × 15)
สมบัติการแจกแจง
4. 14 + (15 + 16) = (14 + 15) + 16
สมบัติการเปลี่ยนหมู

T34 ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)


นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เขาใจ (Understanding)
ตัวอย่างที่ 16 8. ครูยกตัวอยางการหาผลคูณของตัวอยางที่ 16
จงหาผลคูณของ 123 × (-15) ในหนังสือเรียน หนา 31 พรอมแสดงวิธีทํา
วิธีทํา 123 × (-15) = 123 × [(-10) + (-5)] อยางละเอียดบนกระดาน จากนั้นใหนักเรียน
= [123 × (-10)] + [123 × (-5)] (สมบัติการแจกแจง) ทํา “ลองทําดู” แลวรวมกันเฉลยคําตอบ
= (-1,230) + (-615) 9. ครู แ จกใบงานที่ 1.12 เรื่ อ ง สมบั ติ ข อง
= -1,845 ตอบ จํานวนเต็ม ใหนกั เรียนทํา แลวครูและนักเรียน
รวมกันเฉลยคําตอบ
ลองทําดู
จงหาผลคูณของ 213 × (-26) ลงมือทํา (Doing)
1. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 1.6 จากนั้น
ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบแบบฝก
แบบฝึกทักษะ 1.6 ทักษะ 1.6
ระดับ พื้นฐาน 2. ครูใหนักเรียนทํา Exercise 1.6 ในแบบฝกหัด
1. จงหาผลลัพธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้ คณิตศาสตรเปนการบาน
1) 0 + (-23) 2) (-9) - 0 3) (-58) ×1 0 4) 0 ÷ (-36)
5) 1 × (-11) 6) (-49) ÷ 1 7) 1 × a3 8) (a × b) ÷ 1
ขัน้ สรุป
ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ
ระดับ กลาง นักเรียน ดังนี้
2. จงเติมจ�านวนเต็มใด ๆ ใน และ เพื่อท�าให้แต่ละประโยคต่อไปนี้เป็นจริง • จํานวนเต็มใดๆ คูณดวยศูนย หรือศูนยคูณ
1) + 13 = 13 + (-29) ดวยจํานวนเต็มใดๆ จะไดผลคูณเทากับ
2) (-5) × = 7 × (-5) (แนวตอบ ผลคูณเทากับศูนย)
3) (6 + 2) + (-3) = + [2 + (-3)] • จํานวนเต็มใดๆ หารดวยหนึ่ง จะไดผลหาร
4) ( × 7) × (-4) = 8 × [7 × (-4)] เทากับ
5) (-5) + = (-2) + (แนวตอบ ผลหารเทากับจํานวนนั้นๆ)
2
6) (-4) × (32 × ) = ( × 32) × (-7)
ขัน้ ประเมิน
7) (8 × 11) + (8 × ) = × [11 + (-5)]
1. ครูตรวจใบงานที่ 1.12
3. จงหาผลคูณในแต่ละข้อต่อไปนี้โดยใช้สมบัติของจ�านวนเต็ม 2. ครูตรวจแบบฝกทักษะ 1.6
1) 18 × 74 2) 138 × (-65) 3) 123 × 996 3. ครูตรวจ Exercise 1.6
4. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
31
5. ครูสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู


ขอใดแสดงสมบัติการแจกแจงของจํานวนเต็ม 1 a3 จะมีคาเทากับ a × a × a
1. 2 × (5 - 3) = (2 × 5) + (2 × 3) ดังนั้น 1 × a3 = a3 หรือ 1 × a3 = a × a × a
2. (8 × 4) + (8 × 5) = 4 × (8 + 5) 2 (-4) × (32 × ) = ( × 32) × (-7) เมื่อ และ เปน
3. 5 + (6 + 7) = (5 × 6) + (5 × 7) ตัวไมทราบคาที่ทําใหการดําเนินการของจํานวนทั้งสองขางของเครื่องหมาย
4. (11 × 9) + (13 × 9) = (11 + 13) × 9 เทากับนั้นเทากัน เราจะเรียกประโยคที่มีตัวไมทราบคาสองตัวอยูในประโยควา
(เฉลยคําตอบ สมบั ติ ก ารแจกแจงที่ เ กี่ ย วกั บ จํ า นวนจะต อ งมี “สมการเชิงเสนสองตัวแปร”
การคูณจํานวนกับผลบวกของอีก 2 จํานวน
กําหนดให a, b และ c แทนจํานวนใดๆ
(a + b) × c = (a × c) + (b × c)
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)

T35
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใชความรูเ ดิมฯ (Prior Knowledge)
ครูทบทวนสมบัติของจํานวนเต็มตางๆ 1.7 การน�าความรู้เกี่ยวกับจ�านวนเต็มไปใช้ในชีวิตจริง
ในชีวิตประจ�าวันมีการน�าความรู้เกี่ยวกับจ�านวนเต็มและสมบัติของจ�านวนเต็มไปใช้ เช่น
ขัน้ สอน การซือ้ สิง่ ของต่าง ๆ และการแสดงจ�านวนเงินทีข่ าดทุนจากการค้าขาย โดยใช้จา� นวนเต็มลบ เป็นต้น
รู (Knowing)
ซึ่งนักเรียนจะได้ศึกษาจากตัวอย่างต่อไปนี้
1. ครูยกตัวอยางที่ 17 ในหนังสือเรียน หนา 32
ตัวอย่างที่ 17
พรอมแสดงวิธีทําอยางละเอียดบนกระดาน
และเนนยํ้าวา ในแตละขั้นตอนใชสมบัติของ รจนาซื้อดินสอ ไม้บรรทัด วงเวียน และปากกาเป็นเงิน 12 บาท 27 บาท 28 บาท และ 13 บาท
ตามลําดับ จงหาว่ารจนาซื้อสินค้าทั้งหมดกี่บาท
จํานวนเต็มอะไร 1
2. ครูใหนักเรียนแลกเปลี่ยนความรูกัน แลวทํา วิธีทํา รจนาซื้อสินค้าทั้งหมดเป็นเงิน 12 + 27 + 28 + 13 บาท
“ลองทําดู” ในหนังสือเรียน หนา 32 จากนั้น
= 12 + 28 + 27 + 13 บาท (สมบัติการสลับที่ส�าหรับการบวก)
= (12 + 28) + (27 + 13) บาท
ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ
= 40 + 40 บาท
3. ครูยกตัวอยางที่ 18 ในหนังสือเรียน หนา 32 = 80 บาท
บนกระดาน จากนั้นครูถามคําถาม ดังนี้ ดังนั้น รจนาซื้อสินค้าทั้งหมด 80 บาท ตอบ
• จากประโยคทีก่ ลาววา “ขายมะมวงขาดทุน”
นั ก เรี ย นคิ ด ว า เกี่ ย วข อ งกั บ จํ า นวนเต็ ม ลองทําดู
ชนิดใด สุชาติเลี้ยงไก่ เป็ด ห่าน และวัวจํานวน 107 ตัว 85 ตัว 32 ตัว และ 23 ตัว ตามลําดับ
(แนวตอบ เกี่ยวของกับจํานวนเต็มลบ) จงหาว่าสุชาติเลี้ยงสัตว์ทั้งหมดกี่ตัว
• การหาผลลั พ ธ ข องโจทย ข  อ นี้ เขี ย นเป น
ตัวอย่างที่ 18
ประโยคสัญลักษณไดอยางไร
(แนวตอบ พอคาขายผลไมทงั้ สีช่ นิดนีไ้ ดกาํ ไร พ่อค้าขายส้ม ฝรัง่ และเงาะได้กาํ ไร 242 บาท 256 บาท และ 268 บาท ตามลําดับ แต่การขนส่ง
เทากับ 242 + 256 + 268 + (-246)) ทําให้มะม่วงบางส่วนเกิดรอยชํา้ จึงต้องลดราคาทําให้ขายมะม่วงขาดทุน 246 บาท อยากทราบว่า
จากนัน้ ครูแสดงวิธที าํ อยางละเอียดบนกระดาน พ่อค้าขายผลไม้ทั้งสี่ชนิดนี้ได้กําไรกี่บาท
4. ครูใหนักเรียนแลกเปลี่ยนความรูกัน แลวทํา วิธีทํา ให้จ�านวนเต็มบวกแสดงจ�านวนเงินที่พ่อค้าขายผลไม้ได้ก�าไร และจ�านวนเต็มลบ
“ลองทําดู” ในหนังสือเรียน หนา 33 จากนั้น แสดงจ�านวนเงินที่พ่อค้าขายผลไม้ขาดทุน
พ่อค้าขายผลไม้ทั้งสี่ชนิดนี้ได้ก�าไร 242 + 256 + 268 + (-246) บาท
ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ
= 242 + 268 + 256 - 246 บาท (สมบัติการสลับที่ส�าหรับการบวก)
= (242 + 268) + (256 - 246) บาท
= 510 + 10 บาท
= 520 บาท
ดังนั้น พ่อค้าขายผลไม้ทั้งสี่ชนิดนี้ได้ก�าไร 520 บาท ตอบ
32

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


1 12 + 27 + 28 + 13 สามารถคิดคํานวณไดอีกแบบ ดังนี้ ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
12 + 27 + 28 + 13 = (10 + 20 + 20 + 10) + (2 + 7 + 8 + 3) 1. 10 - (5 - 2) = (10 - 5) - 2
= 60 + 20 2. 5(10 - 4) = (5 × 10) - (5 × 4)
= 80 3. 2(8 - 7) = (2 × 7) - (2 × 8)
4. (14 × 3) + (17 × 5) = 31 × 8
(เฉลยคําตอบ 1. ผิด เพราะ 10 - 3 5-2
7 3
2. ถูก เพราะ 5(6) = 50 - 20
30 = 30
3. ผิด เพราะ 2(1) 14 - 16
2 -2
4. ผิด เพราะ 42 + 85 31 × 8
127 248

T36 ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)


นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
ลองทําดู 5. ครูยกตัวอยางที่ 19 ในหนังสือเรียน หนา 33
1
แม่ค้าขายขนมทองหยิบ ทองหยอด และฝอยทองได้กําไร 525 บาท 417 บาท และ 415 บาท พรอมแสดงวิธีทําอยางละเอียดบนกระดาน
2 ทั้ง 2 วิธี จากนั้นครูถามคําถาม ดังนี้
ตามลําดับ แต่ช่วงบ่ายฝนตกส่งผลให้ขายขนมถ้วยฟูขาดทุน 207 บาท อยากทราบว่าแม่ค้า
ขายขนมไทยทั้งสี่ชนิดนี้ได้กําไรกี่บาท • วิธีที่ 1 ใชสมบัติใดบาง
(แนวตอบ สมบัติการสลับที่สําหรับการคูณ
ตัวอย่างที่ 19
และสมบัติการแจกแจง)
• วิธีที่ 2 ใชสมบัติใดบาง
มินตราซื้อเสื้อราคาขายส่งตัวละ 179 บาท จํานวน 95 ตัว มินตราซื้อเสื้อทั้งหมดกี่บาท
(แนวตอบ สมบัติการสลับที่สําหรับการคูณ
วิธีทํา วิธีคิดราคาเสื้อ อาจคิดได้หลายวิธี เช่น
และสมบัติการแจกแจง)
วิธีที่ 1 มินตราซื้อเสื้อทั้งหมดเป็นเงิน 95 × 179 บาท
• นักเรียนคิดวาวิธใี ดหาผลลัพธไดงา ยกวากัน
= 179 × 95 บาท (สมบัติการสลับที่ส�าหรับการคูณ)
= 179 × (100 - 5) บาท เพราะเหตุใด
= (179 × 100) - (179 × 5) บาท (สมบัติการแจกแจง) (แนวตอบ นักเรียนอาจตอบวาวิธีที่ 1 เพราะ
= 17,900 - 895 บาท การหาผลคูณของ 179 × 100 งายกวา
= 17,005 บาท การหาผลคูณของ 180 × 95 หรือนักเรียน
ดังนั้น มินตราซื้อเสื้อทั้งหมดเป็นเงิน 17,005 บาท อาจตอบวาวิธีที่ 2 เพราะการหาผลคูณของ
วิธีที่ 2 มินตราซื้อเสื้อทั้งหมดเป็นเงิน 95 × 179 บาท 1 × 95 งายกวาการหาผลคูณของ 179 × 5)
= 179 × 95 บาท (สมบัติการสลับที่ส�าหรับการคูณ) จากนั้ น ครู ส รุ ป ว า “ไม ว  า นั ก เรี ย นจะเลื อ ก
= (180 - 1) × 95 บาท ทํ า วิ ธีใ ดก็ ต าม ขึ้ น อยู  กั บ ความสะดวกของ
= (180 × 95) - (1 × 95) บาท (สมบัติการแจกแจง) แตละคน ผลลัพธที่ไดจะเทากัน”
= 17,100 - 95 บาท 6. ครู ใ ห นั ก เรี ย นจั บ คู  แ ลกเปลี่ ย นความรู  กั น
= 17,005 บาท แลวทํา “ลองทําดู” ในหนังสือเรียนหนา 33
ดังนั้น มินตราซื้อเสื้อทั้งหมดเป็นเงิน 17,005 บาท ตอบ โดยครูคอยตรวจสอบความถูกตอง จากนั้นครู
และนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ “ลองทําดู”
ลองทําดู
สินีขายสมุด 256 เล่ม ราคาเล่มละ 37 บาท สินีได้รับเงินทั้งหมดกี่บาท

33

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู


ถา (3 × 5) - (3 × 8) = 3 × a 1 กําไร (Gain) คือ ผลตอบแทนที่ไดมากกวาตนทุน
และ [2 × (-4) + 2 × (-6)] = 2b แลว b - a + 7 เทากับเทาไร เชน ซื้อพัดลมราคา 300 บาท ขายตอราคา 500 บาท
(เฉลยคําตอบ แสดงวา ไดกําไร 200 บาท เปนตน
(3 × 5) - (3 × 8) = 3 × (5 - 8) สมบัติการแจกแจง 2 ขาดทุน (Loss) คือ ผลตอบแทนที่นอยกวาตนทุน
= 3 × (-3) เชน ซื้อพัดลมราคา 300 บาท ขายตอราคา 200 บาท
3 × a = 3 × (-3) แสดงวา ขาดทุน 100 บาท เปนตน
a = -3
และ [2 × (-4) + 2 × (-6)] = 2 × [(-4) + (-6)]
= 2 × (-10)
2b = 2 × (-10)
b = -10
b - a + 7 = (-10) - (-3) + 7
= (-7) + 7
= 0)
T37
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
7. ครูยกตัวอยางที่ 20 ในหนังสือเรียน หนา 34 ตัวอย่างที่ 20
พรอมแสดงวิธีทําอยางละเอียดบนกระดาน ขวัญข้าวซื้อสมุดปกแข็ง ราคาโหลละ 157 บาท จํานวน 95 โหล สมุดปกอ่อนราคาโหลละ
จากนั้นนักเรียนจับคูชวยกันหาผลลัพธของ 106 บาท จํานวน 90 โหล ขวัญข้าวต้องจ่ายเงินทั้งหมดกี่บาท
โจทยขอนี้โดยใชวิธีคิดคํานวณอื่นๆ แลวสง วิธีทํา คิดเงินจากสมุดปกแข็งและสมุดปกอ่อน จ�านวน 90 โหลก่อน และคิดเงินจาก
ตัวแทนออกมาแสดงวิธีทําบนกระดาน สมุดปกแข็งที่เหลืออีก 5 โหล แล้วน�าเงินมาบวกกัน
( แนวตอบ นักเรียนอาจจะคิดจาก ประโยค จะได้จ�านวนเงิน เท่ากับ [(90 × 157) + (90 × 106)] + (5 × 157) บาท
สัญลักษณ (157 × 95) + (106 × 90) =  = [(157 × 90) + (106 × 90)] + (157 × 5) บาท (สมบัติการสลับที่ส�าหรับการคูณ)
หรือประโยคสัญลักษณ [157 × (100 - 5)] + = [(157 + 106) × 90] + 785 บาท (สมบัติการแจกแจง)
[(100 + 6) × 90] =  ) = [263 × (9 × 10)] + 785 บาท
หมายเหตุ : ถานักเรียนหาผลลัพธของโจทย = [(263 × 9) × 10] + 785 บาท (สมบัตกิ ารเปลีย่ นหมูส่ า� หรับการคูณ)
ปญหานีโ้ ดยใชวธิ คี ดิ คํานวณอืน่ ๆ ทีห่ ลากหลาย = (2,367 × 10) + 785 บาท
กวานี้ ใหออกมาเขียนแสดงวิธีทําบนกระดาน = 23,670 + 785 บาท
ทุกวิธี = 24,455 บาท
8. ครูใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” ในหนังสือเรียน ดังนั้น ขวัญข้าวต้องจ่ายเงินทั้งหมด 24,455 บาท ตอบ
หนา 34 จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันเฉลย
ลองทําดู
คําตอบ
วีณาซื้อปากกานํ้าเงินราคาโหลละ 192 บาท จํานวน 68 โหล ดินสอราคาโหลละ 146 บาท
เขาใจ (Understanding)
จํานวน 60 โหล วีณาต้องจ่ายเงินทั้งหมดกี่บาท
1. ครูใหนกั เรียนแบงเปน 4 กลุม เทาๆ กัน จากนัน้
รวมกันวิเคราะห “H.O.T.S. คําถามทาทายการ
คิดขั้นสูง” ในหนังสือเรียน หนา 34 แลวเขียน
คํ า ตอบจากการวิ เ คราะห ล งในสมุ ด ตนเอง คําถามท้าทายการคิดขัน
้ สูง
จากนั้นสงตัวแทนกลุมละ 2 คน มานําเสนอ 1. นักเรียนคิดว่า
คําตอบหนาชั้นเรียน 1) ท�าไมจึงควรใช้สมบัติการสลับที่ เพื่อเปลี่ยนอันดับที่ของการบวกจ�านวนเต็ม
2. ครูแจกใบงานที่ 1.13 เรื่อง การนําความรู ต่อไปนี้ก่อนหาผลบวก (-75) + (-173) + (-20)
เกีย่ วกับจํานวนเต็มไปใชในชีวติ จริง ใหนกั เรียน 2) เพราะอะไรจึงสลับที่จ�านวนเต็มสองจ�านวนนั้น
ทํา จากนัน้ ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ 2. ค่าสัมบูรณ์ของผลรวมของจ�านวนเต็มสองจ�านวนทีแ่ ตกต่างกัน และมีเครือ่ งหมาย
เหมือนกันเท่ากับ 8 ถ้าสินีบอกว่ามีจ�านวนเต็มสามคู่ที่ตรงกับค�าอธิบายดังกล่าว นักเรียน
เห็นด้วยหรือไม่ เพราะเหตุใด

34

เฉลย H.O.T.S. คําถามทาทายการคิดขั้นสูง


ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET
1. 1) เพราะชวยทําใหงา ยและสะดวกรวดเร็วตอการคิดคํานวณ จึงควรใช
กําหนด a = 4, b = -2, c = -3, d = 6
สมบัติการสลับที่ ดังนี้
คาของ [(a - b) × c] ÷ d ตรงกับขอใด
(-75) + (-173) + (-20) = (-75) + (-20) + (-173)
1. a + b
2) เพราะ (-75) + (-20) ทําใหเราบวกเลขไดเร็วกวา (-75) + (-173)
2. b + d
2. ไมเห็นดวย เพราะคาสัมบูรณของจํานวนเต็มใดๆ เปนจํานวนเต็มบวก
3. c
เสมอ ดังนัน้ ผลรวมของจํานวนเต็มสองจํานวนทีแ่ ตกตางกัน และมีเครือ่ งหมาย
4. b
เหมื อ นกั น จึ ง สามารถเป น ได ทั้ ง จํ า นวนเต็ ม บวกและจํ า นวนเต็ ม ลบ เช น
(-1) และ (-7), 1 และ 7, (-2) และ (-6), 2 และ 6, (-3) และ (-5), 3 และ 5 (เฉลยคําตอบ [(a - b) × c] ÷ d = [(4 - (-2)) × (-3)] ÷ 6
(ทั้งหมดได 6 คู) = (-18) ÷ 6
= -3
[(a - b) × c] ÷ d เทากับ -3
และ c เทากับ -3
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T38
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เขาใจ (Understanding)
แบบฝึกทักษะ 1.7 3. ครูทบทวนวิธกี ารแกโจทยปญ หา โดยยกตัวอยาง
แบบฝกทักษะ 1.7 ขอ 5 ในหนังสือเรียน หนา 35
ระดับ พื้นฐาน
1 มาอธิบายขัน้ ตอนการแสดงวิธที าํ อยางละเอียด
1. แม่ค้าร้านอาหารแห่งหนึ่งซื้อกุ้ง ปลา ปู และเนื้อไก่อย่างละ 25 กิโลกรัม 86 กิโลกรัม บนกระดาน
18 กิโลกรัม และ 94 กิโลกรัม ตามล�าดับ อยากทราบว่าแม่คา้ ซือ้ อาหารสดทัง้ หมดกีก่ โิ ลกรัม 4. ครูใหนักเรียนแตละคนทําแบบฝกทักษะ 1.7
2
2. พ่อมีไม้ 4 ท่อน ท่อนแรกยาว 229 เซนติเมตร ท่อนที่สองยาว 134 เซนติเมตร ท่อนที่สาม ขอ 6-7 ในหนังสือเรียน หนา 35 เพือ่ ตรวจสอบ
ยาว 221 เซนติเมตร และท่อนที่สี่ยาว 178 เซนติเมตร ถ้าพ่อน�าไม้ทั้งสี่ท่อนมาวางต่อกัน ความเขาใจโดยครูคอยเดินดูเพื่อตรวจสอบ
จะมีความยาวทั้งหมดกี่เซนติเมตร ความถูกตอง
3. นิธิศขายจาน ชาม และแก้วเซรามิคได้ก�าไร 1,567 บาท 1,482 บาท และ 973 บาท 5. ครูใหนกั เรียนทําแบบฝกทักษะ 1.7 (ขอทีเ่ หลือ)
ตามล�าดับ แต่นิธิศท�าถ้วยเซรามิคแตกเสียหายบางส่วน ท�าให้ขายถ้วยเซรามิคขาดทุน ในหนังสือเรียน หนา 35 จากนัน้ ครูและนักเรียน
642 บาท อยากทราบว่านิธิศขายสินค้าเซรามิคทั้งสี่ชนิดนี้ได้ก�าไรกี่บาท รวมกันเฉลยคําตอบแบบฝกทักษะ 1.7
4. สมปองขายแก้วน�้า 368 ใบ ราคาใบละ 45 บาท สมปองได้รับเงินทั้งหมดกี่บาท
5. ธิดาซื้อเสื้อตัวละ 89 บาท จ�านวน 4 ตัว และกระโปรงตัวละ 90 บาท จ�านวน 3 ตัว
ธิดาต้องจ่ายเงินทั้งหมดกี่บาท
ระดับ กลาง

6. ปกป้องต้องการซื้อเสื้อตัวละ 198 บาท จ�านวน 5 ตัว และกางเกงตัวละ 280 บาท จ�านวน


3 ตัว ปกป้องซื้อของทั้งหมดกี่บาท
7. ริสาซือ้ เงาะราคากิโลกรัมละ 45 บาท จ�านวน 5 กิโลกรัม และซือ้ ส้มราคากิโลกรัมละ 65 บาท
จ�านวน 5 กิโลกรัม ริสาต้องจ่ายเงินทั้งหมดกี่บาท
8. หน่อยซื้อกระเป๋าราคา 268 บาท จ�านวน 8 ใบ และถุงเท้าราคาคู่ละ 32 บาท จ�านวน 8 คู่
หน่อยต้องจ่ายเงินทั้งหมดกี่บาท
9. แม่คา้ ซื้อนมรสหวานมา 7 ลัง ในหนึ่งลังมี 48 กล่อง ถ้าแม่ค้าน�านมรสหวานมาขายกล่องละ
12 บาท แม่ค้าจะได้รับเงินกี่บาทเมื่อขายนมรสหวานหมด 7 ลัง
10. วนิดามีพวงกุญแจตุ๊กตาอยู่ 563 ชิ้น ขายไปแล้วยังเหลือพวงกุญแจตุ๊กตาอีก 345 ชิ้น
ถ้าวนิดาขายพวงกุญแจตุ๊กตาชิ้นละ 85 บาท วนิดาจะได้รับเงินกี่บาท
11. พ่อค้ามีข้าวสาร 470 กิโลกรัม แบ่งบรรจุใส่ถุง ถุงละ 5 กิโลกรัม ถ้าพ่อค้าขายข้าวสารถุงละ
239 บาท พ่อค้าจะได้รับเงินทั้งหมดกี่บาท

35

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู


จํานวนเต็มสองจํานวนคูณกันได -68 ถาจํานวนหนึ่งเปน 17 1 กิโลกรัม (Kilogramme) เปนชื่อหนวยมาตราชั่งนํ้าหนักในระบบเมตริก
อีกจํานวนตรงกับขอใด เทากับ 1,000 กรัม เขียนยอวา กก. หรือ kg.
1. 4 2 เซนติเมตร (Centimetre) เปนชือ่ หนวยมาตราวัดความยาวในระบบเมตริก
2. -4 มีอัตราเทากับ 1 ใน 100 ของ 1 เมตร เขียนยอวา ซม. หรือ cm.
3. 3
4. -3
(เฉลยคําตอบ จํานวนสองจํานวนคูณกัน = -68
จํานวนหนึ่ง = 17
จํานวนที่สอง = -68
17 = -4
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)

T39
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
1. ครูใหนกั เรียนจัดกลุม กลุม ละ 4 คน คละความ คณิตศาสตร์ในชีวิตจริง
สามารถทางคณิตศาสตร แลวทํากิจกรรม ดังนี้
• ให แ ต ล ะกลุ  ม ส ง ตั ว แทนมาตกลงกั น ว า ในชีวติ จริงเราได้นา� ความรูเ้ กีย่ วกับจ�านวนเต็มและสมบัตขิ องจ�านวนเต็มมาใช้ในสถานการณ์
จะเลื อ กแก ป  ญ หาสถานการณ ใ ดจาก ต่าง ๆ เช่น
“คณิตศาสตรในชีวิตจริง” ในหนังสือเรียน สถานการณ์ที่ 1 วายุฝากเงินทีธ่ นาคารพาณิชย์แห่งหนึง่ ทุกเดือน เดือนละ 1,355 บาท จ�านวน
หนา 36 12 เดือน ซึ่งได้ดอกเบี้ยร้อยละ 0.5 ต่อป1 ถ้าในวันที่ 1 ของเดือนที่ 13 วายุถอนเงินออกมาจาก
• นักเรียนแตละคนวิเคราะหวาสถานการณ
บัญชีธนาคารจ�านวน 12,500 บาท อยากทราบว่าวายุเหลือเงินในบัญชีธนาคารกี่บาท
ที่กลุมของตนเองเลือกมีวิธีการแกปญหา
อย า งไร จากนั้ น แลกเปลี่ ย นคํ า ตอบกั น
ภายในกลุม สนทนาซักถามจนเปนที่เขาใจ
รวมกัน
• นักเรียนแตละคนเขียนขั้นตอนแสดงวิธีคิด
ของกลุม ตนเองอยางละเอียดลงในสมุดของ
ตนเอง
• ครูคอยตรวจสอบความถูกตอง
2. ครูใหนักเรียนทํา Exercise 1.7 (เฉพาะขอคู)
ในแบบฝกหัดคณิตศาสตรเปนการบาน สถานการณ์ที่ 2 ร้านขายรองเท้าแห่งหนึ่งแม่ค้าติดราคาขายรองเท้าไว้คู่ละ 399 บาท ถ้าซื้อ
2 คู่ แม่ค้าลดราคาให้ 25 บาท ดาวิกาต้องการซื้อรองเท้า 5 คู่ เพื่อน�าไปฝากเพื่อน 3 คน คนละ
1 คู่ และอีก 2 คู่ส�าหรับตนเอง อยากทราบว่าดาวิกาต้องจ่ายเงินทั้งหมดกี่บาท

1
อัตราดอกเบี้ยเงินฝากสําหรับบุคคลธรรมดาของธนาคารพาณิชย์. สืบค้นเมื่อ 17 ตุลาคม 2560, จาก http://www.bot.or.th/
thai/statistics/_layouts/application/interest_rate/in_rate.aspx

36

เฉลย คณิตศาสตร ในชีวิตจริง


สถานการณที่ 1 วายุฝากเงินในบัญชีธนาคาร เทากับ 1,355 × 12 บาท
= 16,260 บาท
จากดอกเบี้ยรอยละ 0.5 ตอป
หมายความวา เงินฝาก 100 บาท จะไดรับเงินจากธนาคาร 100.5 บาท
เงินฝาก 16,260 บาท จะไดรับเงินจากธนาคาร 16,260100× 100.5 บาท

= 16,341.3 บาท
วายุถอนเงินออกมาจากบัญชีธนาคาร 12,500 บาท
ดังนั้น วายุเหลือเงินในบัญชีธนาคาร 16,341.3 - 12,500 = 3,841.3 บาท
สถานการณที่ 2 ดาวิกาตองจายเงินทั้งหมด เทากับ (399 × 5) - (25 × 2) บาท
= 1,995 - 50 บาท
= 1,945 บาท
ดังนั้น ดาวิกาตองจายเงินทั้งหมด 1,945 บาท

T40
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
1. ครูใหนกั เรียนอานและศึกษา “สรุปแนวคิดหลัก”
สรุปแนวคิดหลัก ในหนังสือเรียน หนา 37-38 แลวเขียนผัง
มโนทัศน หนวยการเรียนรูท ี่ 1 ระบบจํานวนเต็ม
จํานวนเต็ม ลงในกระดาษ A4
2. ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ
นักเรียน ดังนี้
จ�านวนเต็มลบ ศูนย์ จ�านวนเต็มบวก • จํานวนเต็มประกอบดวยอะไรบาง
-1, -2, -3, … 0 1, 2, 3, … (แนวตอบ จํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ
และศูนย)
เส้นจํานวน • จํานวนตรงขามของ a คืออะไร
-3 -2 -1 0 1 2 3 (แนวตอบ จํานวนตรงขามของ a คือ -a)
บนเส้นจ�านวน จ�านวนเต็มที่อยู่ทางขวาจะมีค่ามากกว่าจ�านวนเต็มที่อยู่ทางซ้ายเสมอ • คาสัมบูรณของจํานวนเต็ม คืออะไร
(แนวตอบ คาสัมบูรณของจํานวนเต็ม คือ
จํานวนตรงข้ามและค่าสัมบูรณ์ ระยะหางระหวางจํานวนเต็มนั้นกับศูนยบน
เมื่อ a เป็นจ�านวนเต็มใด ๆ เสนจํานวน)
• เขียนแทนจ�านวนตรงข้ามของ a ด้วยสัญลักษณ์ -a เช่น • การบวกจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มลบ
จ�านวนตรงข้ามของ 3 เขียนแทนด้วย -3 ผลบวกที่ไดเปนจํานวนอะไร
จ�านวนตรงข้ามของ -3 เขียนแทนด้วย -(-3) (แนวตอบ ผลบวกที่ไดเปนจํานวนเต็มลบ)
• เขียนแทนค่าสัมบูรณ์ของ a ด้วยสัญลักษณ์ ∙a∙ เช่น • การบวกจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบ
ค่าสัมบูรณ์ของ 3 เขียนแทนด้วย ∙3∙ และการบวกจํ า นวนเต็ ม ลบด ว ยจํ า นวน
ค่าสัมบูรณ์ของ -3 เขียนแทนด้วย ∙-3∙ เต็มบวก จะไดผลบวกเปนจํานวนอะไร
การบวกและการลบจํานวนเต็ม (แนวตอบ จะไดผลบวกเปนจํานวนเต็มตาม
1) การบวกจํานวนเต็ม จํานวนที่มีคาสัมบูรณมากกวา)
ก�าหนดให้ a และ b แทนจ�านวนเต็มบวกใด ๆ จะได้ว่า
a + b = a + b
(-a) + (-b) = -(a + b)
a + (-b) = a - b เมื่อ a ≥ b
a + (-b) = -(b - a) เมือ่ b > a
(-a) + b = -(a - b) เมือ่ a ≥ b
(-a) + b = b - a เมือ่ b > a
37

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


กําหนด a = -1, b = 2 และ c = 3 ขอใดมีคานอยที่สุด
1. 2ca -- 3a
b 2. (a - ac
b) × c
3. (-3)(ab - c) 4. (a + b)(a - c)
(เฉลยคําตอบ a = -1 , b = 2 และ c = 3
1. 2c - 3a = 2(3) - 3(-1) 2. (a - ac b) × c = [(-1) - 2] × 3
a-b (-1) - 2 (-1)(3)
= 6 -+3 3 = -93 = -3 = -9
-3 3=
3. (-3)(ab - c) = (-3)[(-1)(2) - 3] 4. (a + b)(a - c) = [(-1) + 2][(-1) - 3]
= (-3)(-5) = 15 = 1(-4) = -4
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)

T41
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
3. ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ
นักเรียน ดังนี้
• ขอตกลงของการลบจํานวนเต็มโดยอาศัย
การบวก เปนอยางไร 2) การลบจํานวนเต็ม
(แนวตอบ ตัวตั้ง ลบ ตัวลบ เทากับ ตัวตั้ง ก�าหนดให้ a และ b แทนจ�านวนเต็มใด ๆ
บวก จํานวนตรงขามของตัวลบ) a - b = a + จ�านวนตรงข้ามของ b นั่นคือ a - b = a + (-b)
• การคูณจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มบวก การคูณและการหารจํานวนเต็ม
และการคู ณ จํ า นวนเต็ ม ลบด ว ยจํ า นวน ก�าหนดให้ a และ b แทนจ�านวนเต็มบวกใด ๆ
เต็มลบ ผลคูณที่ไดเปนจํานวนอะไร 1) การคูณจํานวนเต็ม
(แนวตอบ จํานวนเต็มบวก) a × b = a × b
• การคูณจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบ a × (-b) = -(a × b)
และการคู ณ จํ า นวนเต็ ม ลบด ว ยจํ า นวน (-a) × b = -(a × b)
เต็มบวก ผลคูณที่ไดเปนจํานวนอะไร (-a) × (-b) = a × b
(แนวตอบ จํานวนเต็มลบ) 2) การหารจํานวนเต็ม
• การหารจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มบวก a ÷ b = a ÷ b
และการหารจํ า นวนเต็ ม ลบด ว ยจํ า นวน (-a) ÷ (-b) = a ÷ b
เต็มลบ ผลหารที่ไดเปนจํานวนอะไร (-a) ÷ b = -(a ÷ b)
(แนวตอบ จํานวนเต็มบวก) a ÷ (-b) = -(a ÷ b)
• การหารจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มบวก
สมบัติของจํานวนเต็ม
และการหารจํ า นวนเต็ ม บวกด ว ยจํ า นวน
ก�าหนดให้ a, b และ c แทนจ�านวนเต็มใด ๆ
เต็มลบ ผลหารที่ไดเปนจํานวนอะไร
1) สมบัติของศูนย์ 4) สมบัติการเปลี่ยนหมู่
(แนวตอบ จํานวนเต็มลบ)
a + 0 = 0 + a = a (a + b) + c = a + (b + c)
• จํานวนเต็มใดๆ คูณดวยศูนย หรือศูนยคูณ a × 0 = 0 × a = 0 (a × b) × c = a × (b × c)
ดวยจํานวนเต็มใดๆ จะไดผลคูณเทากับ
2) สมบัติของหนึ่ง 5) สมบัติการแจกแจง
(แนวตอบ ผลคูณเทากับศูนย)
a × 1 = 1 × a = a a × (b + c) = (a × b) + (a × c)
• ศูนยหารดวยจํานวนเต็มใดๆ ที่ไมใชศูนย a ÷ 1 = a และ (b + c) × a = (b × a) + (c × a)
จะไดผลหารเทากับ
3) สมบัติการสลับที่
(แนวตอบ ผลหารเทากับศูนย) a + b = b + a
• จํานวนเต็มใดๆ คูณดวยหนึ่ง หรือหนึ่งคูณ และ a × b = b × a
ดวยจํานวนเต็มใดๆ จะไดผลคูณเทากับ
(แนวตอบ ผลคูณเทากับจํานวนนั้นๆ)
38

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1. [(-63) ÷ 7] ÷ (-9) = -36 + [(-7) × (-5)] 2. (-100)0××[854+ (-9)] = 72 - [(-9)
45
× (-8)]

3. [180 ÷ (-6)] × [(-11) + 11] = 120 ÷ [60 - (30 + (-30))] 4. [4 × (-6)] ÷ [(-3) × (-8)] = 1
(เฉลยคําตอบ
1. ผิด เพราะ [(-63) ÷ 7] ÷ (-9) -36 + [(-7) × (-5)] 0 × 54
2. ถูก เพราะ (-100) = 72 45- 72 = 0
× (-1)
1 -1
120 2
3. ผิด เพราะ (180
-6 ) × 0 60 4. ผิด เพราะ -24
24 1
0 2 -1 1

ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)

T42
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
4. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําถามในหนังสือ
แบบฝึ ก ทั ก ษะ
ประจ�าหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรียน หนา 2 ที่ไดถามไวในชั่วโมงแรกของ
การเรียนในหนวยการเรียนรูที่ 1
( แนวตอบ จากอุ ณ หภู มิ สู ง สุ ด ที่ ไ ด บั น ทึ ก ไว
1. จงเขียนจ�านวน 3 จ�านวน ต่อจาก -20 โดยเพิ่มขึ้นทีละ 4 ของทวี ป แอนตาร ก ติ ก า เมื่ อ เดื อ นมี น าคม
2. จงเติมเครื่องหมาย < หรือ > ในช่องว่างที่ก�าหนดให้ เพื่อท�าให้ประโยคต่อไปนี้เป็นจริง พ.ศ. 2558 อยูที่ 17.5 ํC และอุณหภูมิตํ่าสุด
1) -7 -2 2) -11 -14 ที่ไดบันทึกไวเมื่อเดือนสิงหาคม อยูที่ -94.7 ํC
3) -1,243 -1,234 4) -24,872 -24,882 ซึ่ ง จะเห็ น ว า มี ค วามแตกต า งกั น มาก โดย
3. จงเติมจ�านวนใด ๆ ใน และ เพื่อท�าให้ประโยคต่อไปนี้เป็นจริง อุณหภูมิที่ไดบันทึกไวมีคาตางกัน 112.2 ํC)
1) (-3) + = (-4) + (-3) 5. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะประจําหนวย
2) (-2) × (-3) = × (-2) การเรียนรูที่ 1 เปนการบาน
3) (-3) + [ + (-4)] = [(-3) + 5] + (-4)
4) × (3 + 4) = [(-7) × 3] + [(-7) × ] ขัน้ ประเมิน
5) × 13 = [(-2) × 8] + [(-2) × 2] + ( × 3) 1. ครูตรวจใบงานที่ 1.13
4. จงหาผลลัพธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้ 2. ครูตรวจแบบฝกทักษะ 1.7
1) [(-5) - (-7)] × (-1) 2) [-(-12) - 8] ÷ (-4) 3. ครูตรวจ Exercise 1.7
3) [-∙-8∙ + ∙-5∙] - (-2) 4) [-∙(-3) - (-6)∙ × (-8)] × [-∙(-4) - (-1)∙] 4. ครูตรวจแบบฝกทักษะประจําหนวยการเรียนรู
5. จงหาผลลบของ -[56 - (-23)] - (-12) ที่ 1
5. ครูตรวจผังมโนทัศน หนวยการเรียนรูท ี่ 1 ระบบ
6. จงหาผลลัพธ์ของ (-45) - (-53) + (-73)
จํานวนเต็ม
7. จงหาผลลัพธ์ของ ∙(-35) + (-49)∙ - [27 - 12 × [(-6) + 9]] 6. ครูประเมินการนําเสนอผลงาน
8. จงหาผลลัพธ์ของ [-∙24 - 32∙ - ∙19 + (-36)∙] ÷ [-(9 - 14)] 7. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
9. จงหาผลลัพธ์ของ [(-12) (-12) × [(-13) - (-15)]
× (-13)] - [(-15) × (-12)]
8. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
9. ครูสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค
10. สินีขายผักบุ้งจีน ฟักเขียว และมะระจีนได้ก�าไร 542 บาท 345 บาท และ 568 บาท
ตามล�าดับ แต่มมี ะเขือเทศสีดาบางส่วนเน่าเสียจึงท�าให้ขายมะเขือเทศสีดาขาดทุน 125 บาท
อยากทราบว่าสินีขายผักทั้งสี่ชนิดนี้ได้ก�าไรกี่บาท
11. กุลธิดาซื้อหนังสือเล่มละ 82 บาท จ�านวน 8 เล่ม และกรอบรูปอันละ 139 บาท
จ�านวน 8 อัน กุลธิดาต้องจ่ายเงินทั้งหมดกี่บาท
12. ลินดาขายตุ๊กตาหมีราคาตัวละ 785 บาท จ�านวน 15 ตัว ลินดาจะได้รับเงินกี่บาท
39

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


ผลลัพธของ a - x + (b + -y) เมื่อ a = -7, b = -23, ครู เ น น ยํ้ า ให นั ก เรี ย นระมั ด ระวั ง การแก โ จทย ป  ญ หาการคู ณ การหาร
x = -36, y = -19 จํานวนเต็ม ในกรณีที่ตัวตั้ง ตัวคูณ ตัวหาร เปนผลมาจากการหาผลบวกหรือ
1. -13 ผลลบ โดยครูจะตองเนนยํ้ากับนักเรียนถึงขั้นตอนการดําเนินการวา จะตอง
2. -1 เริม่ ดําเนินการจากวงเล็บกอน และเริม่ ดําเนินการจากจํานวนทางซายไปจํานวน
3. 71 ทางขวา
4. 85
(เฉลยคําตอบ a - x  + ( b  + -y )
= (-7) - -36  + [ -23  + - (-19)  ]
= (-7) - 36 + (23 + 19)
= (-43) + 42
= -1
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)

T43
Chapter Overview

แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 1 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. ระบุหรือจ�ำแนก Concept - ตรวจใบงานที่ 2.1 - ทักษะการ 1. มีวินัย
เศษส่วนและ พื้นฐาน คณิตศาสตร์ เศษส่วนได้ (K) Based เรื่อง จ�ำนวนตรงข้าม เปรียบเทียบ 2. ใฝ่เรียนรู้
การเปรียบเทียบ ม.1 เล่ม 1 2. เปรียบเทียบและ Teaching ของเศษส่วน 3. มุ่งมั่น
เศษส่วน - แบบฝึกหัด เรียงล�ำดับเศษส่วนได้ - ตรวจใบงานที่ 2.2 ในการท�ำงาน
คณิตศาสตร์ ม.1 (K) เรื่อง การเปรียบเทียบ
2 เล่ม 1 3. ใช้ความรู้ ทักษะ เศษส่วน
ชั่วโมง - ใบงานที่ 2.1 เรื่อง และกระบวนการ - ตรวจใบงานที่ 2.3
จำ�นวนตรงข้าม ทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การเรียงล�ำดับ
ของเศษส่วน ในการแก้ปัญหาได้ เศษส่วน
- ใบงานที่ 2.2 เรื่อง (P) - ตรวจแบบฝึกทักษะ 2.1 ก
การเปรียบเทียบ 4. รับผิดชอบต่อหน้าที่ - ตรวจ Exercise 2.1A
เศษส่วน ที่ได้รับมอบหมาย (A) - ประเมินการน�ำเสนอ
- ใบงานที่ 2.3 เรื่อง ผลงาน
การเรียงลำ�ดับ - สังเกตพฤติกรรม
เศษส่วน การท�ำงานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. ค�ำนวณผลบวกของ Concept - ตรวจใบงานที่ 2.4 - ทักษะ 1. มีวินัย
การบวกและ พื้นฐาน คณิตศาสตร์ เศษส่วนได้ (K) Based เรื่อง การบวกและการลบ การคิด 2. ใฝ่เรียนรู้
การลบเศษส่วน ม.1 เล่ม 1 2. ค�ำนวณผลลบของ Teaching เศษส่วนที่มีตัวส่วน หลากหลาย 3. มุ่งมั่น
- แบบฝึกหัด เศษส่วนได้ (K) ไม่เท่ากัน - ทักษะการ ในการท�ำงาน
2 คณิตศาสตร์ ม.1 3. เขียนแสดงขั้นตอน - ตรวจใบงานที่ 2.5 คิดคล่อง
ชั่วโมง เล่ม 1 วิธีการค�ำนวณผลบวก เรื่อง การบวก ลบระคน
- ใบงานที่ 2.4 เรื่อง และผลลบของ ของเศษส่วน
การบวกและการลบ เศษส่วนได้ (P) - ตรวจแบบฝึกทักษะ 2.1 ข
เศษส่วนที่มีตัวส่วน 4. รับผิดชอบต่อหน้าที่ - ตรวจ Exercise 2.1B
ไม่เท่ากัน ที่ได้รับมอบหมาย (A) - ประเมินการน�ำเสนอ
- ใบงานที่ 2.5 เรื่อง ผลงาน
การบวก ลบระคน - สังเกตพฤติกรรม
ของเศษส่วน การท�ำงานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์

T44
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 3 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. ค�ำนวณผลคูณ Concept - ตรวจใบงานที่ 2.6 - ทักษะ 1. มีวินัย
การคูณและ พืน้ ฐาน คณิตศาสตร์ ของเศษส่วนได้ (K) Based เรื่อง การคูณเศษส่วน การคิด 2. ใฝ่เรียนรู้
การหารเศษส่วน ม.1 เล่ม 1 2. ค�ำนวณผลหาร Teaching - ตรวจใบงานที่ 2.7 หลากหลาย 3. มุ่งมั่น
- แบบฝึกหัด ของเศษส่วนได้ (K) เรื่อง การหารเศษส่วน - ทักษะการ ในการท�ำงาน
3 คณิตศาสตร์ ม.1 3. เขียนแสดงขั้นตอน - ตรวจแบบฝึกทักษะ 2.1 ค คิดคล่อง
ชั่วโมง เล่ม 1 วิธีการค�ำนวณผลคูณ - ตรวจ Exercise 2.1C
- ใบงานที่ 2.6 เรื่อง และผลหารของ - ประเมินการนำ�เสนอ
การคูณเศษส่วน เศษส่วนได้ (P) ผลงาน
- ใบงานที่ 2.7 เรื่อง 4. รับผิดชอบต่อหน้าที่ - สังเกตพฤติกรรม
การหารเศษส่วน ที่ได้รับมอบหมาย (A) การทำ�งานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 4 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายการน�ำความรู้ Concept - ตรวจใบงานที่ 2.8 - ทักษะการ 1. มีวินัย
การน�ำความรู้ พื้นฐาน คณิตศาสตร์ เกีย่ วกับเศษส่วนไปใช้ Based เรื่อง การนำ�ความรู้ ประยุกต์ใช้ 2. ใฝ่เรียนรู้
เกี่ยวกับเศษส่วน ม.1 เล่ม 1 แก้ปัญหาคณิตศาสตร์ Teaching เกี่ยวกับเศษส่วนไปใช้ ความรู้ 3. มุ่งมั่น
ไปใช้ ในชีวิตจริง - แบบฝึกหัด และปัญหาในชีวิตจริง ในชีวิตจริง ในการท�ำงาน
คณิตศาสตร์ ม.1 (K) - ตรวจแบบฝึกทักษะ 2.1 ง
2 เล่ม 1 2. เขียนแสดงขั้นตอน - ตรวจ Exercise 2.1D
ชั่วโมง - ใบงานที่ 2.8 เรื่อง วิธีการแก้ปัญหาทาง - ประเมินการนำ�เสนอ
การนำ�ความรู้เกี่ยวกับ คณิตศาสตร์เกี่ยวกับ ผลงาน
เศษส่วนไปใช้ใน เศษส่วนได้ (P) - สังเกตพฤติกรรม
ชีวิตจริง 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ การทำ�งานรายบุคคล
ที่ได้รับมอบหมาย (A) - สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 5 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. บอกค่าประจ�ำหลัก Concept - ตรวจใบงานที่ 2.9 - ทักษะการ 1. มีวินัย
ทศนิยมและ พื้นฐาน คณิตศาสตร์ และค่าของเลขโดด Based เรื่อง ค่าของเลขโดด เปรียบเทียบ 2. ใฝ่เรียนรู้
ค่าประจ�ำหลัก ม.1 เล่ม 1 ของทศนิยม Teaching ในแต่ละหลักของทศนิยม 3. มุ่งมั่น
ของทศนิยม - แบบฝึกหัด ในแต่ละหลักได้ (K) - ตรวจแบบฝึกทักษะ 2.2 ก ในการท�ำงาน
คณิตศาสตร์ ม.1 2. เขียนทศนิยมในรูป ข้อ 1. และ 3.
1 เล่ม 1 กระจายได้อย่าง - ตรวจ Exercise 2.2 A
ชั่วโมง - ใบงานที่ 2.9 เรื่อง คล่องแคล่ว (P) ข้อ 1-3
ค่าของเลขโดด 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ - สังเกตพฤติกรรม
ในแต่ละหลัก ที่ได้รับมอบหมาย (A) การทำ�งานรายบุคคล
ของทศนิยม - สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์

T45
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 6 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. เปรียบเทียบทศนิยม Concept - ตรวจใบงานที่ 2.10 - ทักษะการ 1. มีวินัย
การเปรียบเทียบ พืน้ ฐาน คณิตศาสตร์ ได้ (K) Based เรื่อง การเปรียบเทียบ เปรียบเทียบ 2. ใฝ่เรียนรู้
ทศนิยม ม.1 เล่ม 1 2. เรียงล�ำดับทศนิยมได้ Teaching และเรียงล�ำดับทศนิยม 3. มุ่งมั่น
- แบบฝึกหัด (K) - ตรวจแบบฝึกทักษะ 2.2 ก ในการท�ำงาน
1 คณิตศาสตร์ ม.1 3. เชื่อมโยงเรื่อง - ตรวจ Exercise 2.2A
ชั่วโมง เล่ม 1 ค่าสัมบูรณ์ของ ข้อ 4.-6.
- ใบงานที่ 2.10 เรื่อง ทศนิยมกับการ - สังเกตพฤติกรรม
การเปรียบเทียบและ เปรียบเทียบและ การท�ำงานรายบุคคล
เรียงลำ�ดับทศนิยม เรียงล�ำดับทศนิยมได้ - สังเกตพฤติกรรม
(P) การท�ำงานกลุ่ม
4. รับผิดชอบต่อหน้าที่ - สังเกตคุณลักษณะ
ที่ได้รับมอบหมาย (A) อันพึงประสงค์

แผนฯ ที่ 7 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. ค�ำนวณผลบวก Concept - ตรวจใบงานที่ 2.11 - ทักษะ 1. มีวินัย


การบวกและ พื้นฐาน คณิตศาสตร์ ของทศนิยมได้ (K) Based เรื่อง การบวกทศนิยม การคิด 2. ใฝ่เรียนรู้
การลบทศนิยม ม.1 เล่ม 1 2. ค�ำนวณผลลบ Teaching - ตรวจใบงานที่ 2.12 หลากหลาย 3. มุ่งมั่น
- ใบงานที่ 2.11 เรื่อง ของทศนิยมได้ (K) เรื่อง การลบทศนิยม - ทักษะการ ในการท�ำงาน
2 การบวกทศนิยม 3. เขียนแสดงขั้นตอน - ตรวจแบบฝึกทักษะ 2.2 ข คิดคล่อง
ชั่วโมง - ใบงานที่ 2.12 เรื่อง วิธีการค�ำนวณผลบวก ข้อ 1., 2. และ 5.
การลบทศนิยม และผลลบของทศนิยม - สังเกตพฤติกรรม
ได้ (P) การท�ำงานรายบุคคล
4. รับผิดชอบต่อหน้าที่ - สังเกตคุณลักษณะ
ที่ได้รับมอบหมาย (A) อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 8 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. ค�ำนวณผลคูณ Concept - ตรวจใบงานที่ 2.13 - ทักษะ 1. มีวินัย
การคูณ และ พืน้ ฐาน คณิตศาสตร์ ของทศนิยมได้ (K) Based เรื่อง การคูณทศนิยม การคิด 2. ใฝ่เรียนรู้
การหารทศนิยม ม.1 เล่ม 1 2. ค�ำนวณผลหาร Teaching - ตรวจใบงานที่ 2.14 หลากหลาย 3. มุ่งมั่น
- ใบงานที่ 2.13 เรื่อง ของทศนิยมได้ (K) เรื่อง การหารทศนิยม - ทักษะการ ในการท�ำงาน
3 การคูณทศนิยม 3. เขียนแสดงขั้นตอน - ตรวจแบบฝึกทักษะ 2.2 ข คิดคล่อง
ชั่วโมง - ใบงานที่ 2.14 เรื่อง วิธีการค�ำนวณผลคูณ ข้อ 3.-4. และ 6.-10.
การหารทศนิยม และผลหารของ - ประเมินการน�ำเสนอ
ทศนิยมได้ (P) ผลงาน
4. รับผิดชอบต่อหน้าที่ - สังเกตพฤติกรรม
ที่ได้รับมอบหมาย (A) การท�ำงานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์

T46
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 9 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. เขียนเศษส่วนในรูป Concept - ตรวจใบงานที่ 2.15 - ทักษะการ 1. มีวินัย
ความสัมพันธ์ พื้นฐาน คณิตศาสตร์ ทศนิยมและเขียน Based เรื่อง ความสัมพันธ์ เชื่อมโยง 2. ใฝ่เรียนรู้
ของเศษส่วน ม.1 เล่ม 1 ทศนิยมในรูปเศษส่วน Teaching ของเศษส่วนกับทศนิยม 3. มุ่งมั่น
กับทศนิยม - แบบฝึกหัด ได้ (K) - ตรวจแบบฝึกทักษะ ในการท�ำงาน
คณิตศาสตร์ ม.1 2. ใช้ความสัมพันธ์ของ 2.2 ค ข้อ 1.-2.
1 เล่ม 1 เศษส่วนกับทศนิยม - ตรวจ Exercise 2.2C
ชั่วโมง - ใบงานที่ 2.15 เรื่อง ช่วยในการแก้ปัญหา ข้อ 1.-2.
ความสัมพันธ์ของ ได้ (P) - สังเกตพฤติกรรม
เศษส่วนกับทศนิยม 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ การท�ำงานรายบุคคล
ที่ได้รับมอบหมาย (A) - สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 10 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายการน�ำความรู้ Concept - ตรวจใบงานที่ 2.16 - ทักษะการ 1. มีวินัย
การน�ำความรู้ พื้นฐาน คณิตศาสตร์ เกีย่ วกับทศนิยมไปใช้ Based เรื่อง การน�ำความรู้ ประยุกต์ใช้ 2. ใฝ่เรียนรู้
เกี่ยวกับทศนิยม ม.1 เล่ม 1 แก้ปัญหาคณิตศาสตร์ Teaching เกี่ยวกับทศนิยมไปใช้ ความรู้ 3. มุ่งมั่น
ไปใช้ ในชีวิตจริง - ใบงานที่ 2.16 เรื่อง และปัญหาในชีวิตจริง ในชีวิตจริง ในการท�ำงาน
การนำ�ความรู้เกี่ยวกับ (K) - ตรวจแบบฝึกทักษะ 2.2 ค
1 ทศนิยมไปใช้ใน 2. เขียนอธิบายขั้นตอน ข้อ 3.-10.
ชั่วโมง ชีวิตจริง วิธีการแก้ปญั หาทาง - ประเมินการน�ำเสนอ
คณิตศาสตร์เกี่ยวกับ ผลงาน
ทศนิยมได้ (P) - สังเกตพฤติกรรม
3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ การท�ำงานรายบุคคล
ที่ได้รับมอบหมาย (A) - สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 11 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายการน�ำความรู้ Concept - ตรวจใบงานที่ 2.17 เรื่อง - ทักษะการ 1. มีวินัย
จ�ำนวนตรรกยะ พื้นฐาน คณิตศาสตร์ เกี่ยวกับสมบัติของ Based สมบัติของจ�ำนวนตรรกยะ ประยุกต์ใช้ 2. ใฝ่เรียนรู้
และสมบัติของ ม.1 เล่ม 1 จ�ำนวนตรรกยะ Teaching - ตรวจแบบฝึกทักษะ 2.3 ความรู้ 3. มุ่งมั่น
จ�ำนวนตรรกยะ - แบบฝึกหัด ในการบวก การลบ - ตรวจ Exercise 2.3 ข้อ 1. ในการท�ำงาน
คณิตศาสตร์ ม.1 การคูณ และการหาร - ตรวจแบบฝึกทักษะ
2 เล่ม 1 ไปใช้ในการแก้ปัญหา ประจ�ำหน่วยการเรียนรู้ที่ 2
ชั่วโมง - ใบงานที่ 2.17 เรื่อง ได้ (K) - ประเมินการน�ำเสนอ
สมบัติของจำ�นวน 2. เขียนขั้นตอนการ ผลงาน
ตรรกยะ ด�ำเนินการของจ�ำนวน - ตรวจผังมโนทัศน์
โดยใช้สมบัติของ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
จ�ำนวนตรรกยะได้ (P) จ�ำนวนตรรกยะ
3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ - สังเกตพฤติกรรม
ที่ได้รับมอบหมาย (A) การท�ำงานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์

T47
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
หน่วยการเรียนรูที่
1. ครู แ จ ง จุ ด ประสงค ข องหน ว ยการเรี ย นรู 
ใหนักเรียนทราบ
2. ครู ก ระตุ  น ความสนใจของนั ก เรี ย นโดยให
นั ก เรี ย นดู ภ าพหน า หน ว ย จากนั้ น ครู ย ก
2 จ�านวนตรรกยะ
สถานการณการปนจักรยานตของนิธิศ
3. ครูถามคําถามในหนังสือเรียน หนา 40 แลว
ใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ : ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น เฉลย
คําถามในหนังสือเรียน หนา 40 หลังเรียน
หนวยการเรียนรูที่ 2

นิธิศเข้ำร่วมกำรแข่งขันจักรยำนทำงไกล โดยเริ่มออกจำก
กรุงเทพมหำนครไปเข้ำเส้นชัยที่จังหวัดเชียงใหม่ ในวันแรกนิธิศ
ปนจักรยำนได้ 38 ของระยะทำงทั้งหมด วันที่สองปนจักรยำน
ได้อีก 25 ของระยะทำงที่เหลือ ซึ่งวันที่สองนิธิศปนจักรยำนได้
ระยะทำง 236.25 กิโลเมตร
ตัวชี้วัด Q. นักเรียนคิดว่ำ
• เข้าใจจ�านวนตรรกยะและความสัมพันธ์ของจ�านวนตรรกยะ
และใช้สมบัติของจ�านวนตรรกยะในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์
และปัญหาในชีวิตจริง (ค 1.1 ม.1/1) นิธิศต้อง»˜›¹¨Ñ¡ÃÂÒ¹
สาระการเรียนรู้แกนกลาง ·Ñé§ËÁ´¡Õè¡Ô âÅàÁµÃ
• ทศนิยมและเศษส่วน จึงจะถึงเส้นชัย
• จ�านวนตรรกยะและสมบัติของจ�านวนตรรกยะ

เฉลย คําถามในหนังสือเรียน หน้า 40


ระยะทางทั้งหมด

วันแรกที่ปนได ระยะทางที่เหลือจากวันแรก
236.25 กิโลเมตร
จากภาพ จะไดวา 2 หนวย เทากับ 236.25 กิโลเมตร
1 หนวย เทากับ 236.25
2 = 118.125 กิโลเมตร
ดังนั้น 8 หนวย เทากับ 8 × 118.125 = 945 กิโลเมตร
นั่นคือ นิธิศตองปนจักรยานทั้งหมด 945 กิโลเมตร จึงจะถึงเสนชัย

T48
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
ควรรูก ่อนเรียน 4. ครูทบทวนความรูเรื่องเศษสวนที่เคยเรียนมา
แลวในชั้นประถม โดยใหนักเรียนดูภาพแสดง
เศษส่วนที่เท่ำกัน เศษสวนที่เทากันในหนังสือเรียน หนา 41
การแสดงเศษส่วนที่เท่ากัน อาจท�าได้โดยน�าจ�านวนที่เท่ากันที่ไม่ใช่ศูนย์มาคูณหรือหาร แลวถามคําถาม ดังนี้
ทั้งตัวเศษและตัวส่วน • รูปแสดงเศษสวนรูปที่ 1 และรูปที่ 2 ของ
สวนที่ระบายสีของแตละรูปมีพื้นที่เทากัน
หรือไม
(แนวตอบ เทากัน)
จากรูปจะได้ 4 = 8 = 12 • การทําเศษสวนใหเทากัน ทําไดโดยวิธีใด
5 10 15
หรือ 4
5 = 4×2
5×2 = 4×3
5×3
(แนวตอบ นักเรียนอาจตอบวา นําจํานวน
ที่ เ ท า กั น ที่ ไ ม เ ป น ศู น ย ม าคู ณ หรื อ หารทั้ ง
ตัวเศษและตัวสวน)
5. ครูใหนักเรียนศึกษาการเขียนเศษเกินในรูป
12 6 3 จํานวนคละ และศึกษาหลัก และคาประจําหลัก
จากรูปจะได้ = =
24 12 6 ของทศนิยมในหนังสือเรียน หนา 41 จากนั้น
หรือ 12 = 12 ÷ 2 = 12 ÷ 4
24 24 ÷ 2 24 ÷ 4 ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับ “การเขียนจํานวน
คละในรูปเศษเกิน” ดังนี้
กำรเขียนเศษเกินในรูปจ�ำนวนคละ จํานวนคละ a bc เมื่อ c 0 เขียนในรูป
พิจารณาการเขียน 135 ให้อยู่ในรูปจ�านวนคละ ดังนี้
เศษเกิน ไดเปน a bc = (a × cc) + b
จากรูปจะได้ว่า 135 = 55 + 55 + 35
จากนัน้ ครูยกตัวอยางการเขียนจํานวนคละ 2 35
= 1 + 1 + 35
ในรูปเศษเกินบนกระดาน ดังนี้
= 2 + 35
13
5 2 35 = (2 × 55) + 3 = 10 5+ 3 = 13 5
= 2 35

หลักและค่ำประจ�ำหลักของทศนิยม
หลัก ... พัน ร้อย สิบ หน่วย ส่วนสิบ ส่วนร้อย ส่วนพัน ...
1 1 1
ค่ำประจ�ำหลัก … 1,000 100 10 1 10 = 0.1 100 = 0.01 1,000 = 0.001 …

41

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


การเรียนการสอนของหนวยการเรียนรูนี้ ครูควรใหนักเรียนไดปฏิบัติโดย
พิจารณาความหมายของเศษสวนจากรูป
ยกตัวอยางสิ่งของที่อยูใกลตัวและเกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน เพื่อใหนักเรียน
วงกลม ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
ไดคํานวณและหาวิธีการแบงสิ่งของตางๆ ใหเทากัน โดยครูใหนักเรียนได
แสดงความคิดเห็นและบอกขั้นตอนที่นักเรียนเคยมีประสบการณมาแลว
1. รูปวงกลม 1 รูป แบงเปนสองสวนเทากัน แตละสวนเปน
1 ใน 2 ของรูป
2. รูปวงกลม 1 รูป แบงเปนสี่สวนเทากัน แตละสวนเปน 1
ใน 4 ของรูป
3. สวนที่แรเงาแสดง 1 ใน 4 ของรูป
4. แบงวงกลมออกเปน 2 สวน และสวนที่แรเงาเปน 1 ใน 4
ของรูป
(เฉลยคําตอบ พิจารณารูปและความหมายจะไดรปู วงกลม 1 รูป
แบงเปนสี่สวนเทากัน แตละสวนเปน 1 ใน 4 ของรูป
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)
T49
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
1. ครู ก ล า วทบทวนเรื่ อ งเศษส ว นแท เศษเกิ น 2.1 เศษส่วน
และจํานวนคละที่เปนจํานวนบวก และบอก
นักเรียนวา ในระดับชั้นนี้นักเรียนจะไดเรียนรู 1. เศษส่วน
เศษส ว นที่ เ ป น จํ า นวนลบ แล ว ยกตั ว อย า ง ในระดับชั้นประถมศึกษานักเรียนได้เรียนรู้เศษส่วนมาแล้ว ได้แก่
เศษสวนแท เศษเกิน และจํานวนคละที่เปน เศษส่วนแท้ คือ เศษส่วนที่มีตัวเศษน้อยกว่าตัวส่วน เช่น 12, 34, 45, 128
จํ า นวนลบตามหนั ง สื อ เรี ย น หน า 42 ให เศษเกิน คือ เศษส่วนที่มีตัวเศษมากกว่าหรือเท่ากับตัวส่วน เช่น 32, 77, 54
นักเรียนดู
จ�ำนวนคละ คือ เศษส่วนที่เขียนในรูปของจ�านวนเต็มกัับเศษส่วนแท้ เช่น 5 12, 3 25, 1 37
2. ครูทบทวนเรือ่ งเสนจํานวน ดังนี้ “บนเสนจํานวน
ประกอบดวยศูนย จํานวนลบ และจํานวนบวก นักเรียนจะพบว่าเศษส่วนทีก่ ล่าวไปข้างต้นเป็นจ�านวนบวกทัง้ หมด แต่ในระดับชัน้ นีน้ กั เรียน
ซึ่งนักเรียนทราบแลววา จํานวนเต็มสามารถ จะได้เรียนรูเ้ ศษส่วนทีเ่ ป็นจ�านวนลบ เช่น - 13 อ่านว่า ลบเศษหนึง่ ส่วนสาม, - 32 อ่านว่า ลบเศษสาม
แสดงไดดวยจุดบนเสนจํานวน และในทํานอง ส่วนสอง ซึ่ง - 32 เป็นเศษเกิน สามารถเขียนในรูปของจ�านวนคละได้เป็น -1 12 อ่านว่า ลบหนึ่ง
เดียวกันเราก็สามารถแสดงเศษสวนดวยจุด เศษหนึ่งส่วนสอง
บนเสนจํานวนไดเชนเดียวกัน ซึ่งทําไดโดย
แบงความยาวใน 1 หนวยของเสนจํานวน จ�านวนที่เขียนในรูป ab เมื่อ a และ b เป็นจ�านวนเต็มใด ๆ โดยที่ b ≠ 0 เรียกว่า
ใหเทาๆ กัน ซึ่งในการแบงความยาวใน 1 “เศษส่วน” และเรียก a ว่า “ตัวเศษ” เรียก b ว่า “ตัวส่วน” ของเศษส่วน ab
หนวยนัน้ จะพิจารณาจากตัวสวนของเศษสวน
ทีก่ าํ หนดให” จากนัน้ ครูยกตัวอยางเสนจํานวน นักเรียนเคยทราบมาแล้วว่าจ�านวนเต็มสามารถแสดงได้ด้วยจุดบนเส้นจ�านวน ในท�านอง
3. ครูถามคําถาม ดังนี้ เดียวกันสามารถแสดงเศษส่วนด้วยจุดบนเส้นจ�านวนได้เช่นเดียวกับจ�านวนเต็ม โดยแบ่งความยาว
ใน 1 หน่วยของเส้นจ�านวนให้เท่า ๆ กัน ซึง่ จะพิจารณาจากตัวส่วนของเศษส่วนทีก่ า� หนดให้ ส�าหรับ
-1 0 1 เศษส่วนที่เป็นลบสามารถเขียนแสดงด้วยจุดบนเส้นจ�านวนทางซ้ายของศูนย์
1
• ถาตองการแสดงเศษสวน 3 ดวยจุดบน จงพิจารณาจุดบนเส้นจ�านวนต่อไปนี้
เสนจํานวน จะตองแบงความยาว 1 หนวย
C B A
ของเสนจํานวนออกเปนกี่สวนเทาๆ กัน -2 -1 0 1 2
(แนวตอบ 3 สวนเทาๆ กัน)
จากเส้นจ�านวน ซึ่งได้แบ่งความยาวใน 1 หน่วย ออกเป็น 5 ส่วนเท่า ๆ กัน จะเห็นว่า
• เศษสวน 13 อยูที่ตําแหนงใดเมื่อเทียบกับ 0
บนเสนจํานวน จุด A อยู่ทางซ้ายของ 0 มีระยะห่างเท่ากับ 15 จะได้จุด A แทน - 15
(แนวตอบ เมื่อแบงความยาว 1 หนวย ออก จุด B อยู่ทางซ้ายของ 0 มีระยะห่างเท่ากับ 35 จะได้จุด B แทน - 35
เปน 3 สวนเทาๆ กัน 13 จะอยูที่ขีดแรก จุด C อยู่ทางซ้ายของ 0 มีระยะห่างเท่ากับ 95 จะได้จุด C แทน - 95
ถัดจาก 0 ไปทางขวา) พิจารณาจุด C จะเห็นว่าอยู่ระหว่าง -2 กับ -1 และมีระยะห่างจาก 0 ไปทางซ้าย 1 หน่วย
• เศษสวน - 13 อยูที่ตําแหนงใดเมื่อเทียบกับ กับอีก 4 ส่วน จากทั้งหมด 5 ส่วน จะได้จุด C แทน -1 45
0 บนเสนจํานวน
(แนวตอบ เมื่อแบงความยาว 1 หนวย ออก 42
เปน 3 สวนเทาๆ กัน - 13 จะอยูที่ขีดแรก
ถัดจาก 0 ไปทางซาย)

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูเนนยํ้ากับนักเรียนเพิ่มเติมวา ความหมายของเศษสวนแทและเศษสวน ขอใดตอไปนี้เปนเศษสวนแททั้งหมด
เกิน จะแตกตางจากระดับประถม กลาวคือ เศษสวนแท คือ เศษสวนที่มี 1. - 12 , -32 , 45 2. 1 4 7
-2 , - 5 , -8
คาสัมบูรณของตัวเศษนอยกวาคาสัมบูรณของตัวสวน เชน 12 , -12 , 45 , -45
เปนตน 3. 45 , -87 , -32 4. -5 , -8 , -3
4 7 2
เศษสวนเกิน คือ เศษสวนที่มีคาสัมบูรณของตัวเศษมากกวาหรือเทากับ (เฉลยคําตอบ ขอ 2. เพราะเศษสวนแท คือ เศษสวนที่มีคา
คาสัมบูรณของตัวสวน เชน 32 , -32 , 43 , -43 เปนตน สัมบูรณของตัวเศษนอยกวาคาสัมบูรณของตัวสวน
ดังนั้น -21 = 12 , - 45 = 45 , -87 = 78 เปนเศษสวนแท)

T50
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
1
เนื่องจากจ�านวนคละเขียนในรูปการบวกของจ�านวนเต็มกับเศษส่วนแท้ได้ ดังนั้น นักเรียน 4. ครูใหนักเรียนศึกษาการแสดงเศษสวนดวยจุด
สามารถเขียน -1 45 ในรูป - (1 + 45) หรือ (-1) + (- 45) บนเสนจํานวนตามตัวอยางในหนังสือเรียน
หนา 42
จึงได้ว่า - 95 = -1 45 = (-1) + (- 45) 5. ครูทบทวนจํานวนคละวา “จํานวนคละ คือ
จ�ำนวนตรงข้ำมของเศษส่วน จํานวนที่เขียนในรูปการบวกของจํานวนเต็ม
นักเรียนทราบแล้วว่าจ�านวนเต็มมีจ�านวนตรงข้ามเสมอ นั่นคือ เมื่อ a เป็นจ�านวนเต็มใด ๆ กับเศษสวนแทได” จากนั้นยกตัวอยางจํานวน
จะมี -a เป็นจ�านวนตรงข้ามของ a นักคณิตศาสตร์ได้ใช้หลักการข้างต้นก�าหนดจ�านวนตรงข้าม คละที่เปนลบ -1 45 เขียนในรูปการบวกของ
ของเศษส่วนด้วย จํานวนเต็มกับเศษสวนแทไดเปน - (1 + 45 )
จงพิจารณาจุดบนเส้นจ�านวนต่อไปนี้
หรือ (-1) + (- 45 ) ดังตัวอยางในหนังสือเรียน
หนา 43
6. ครูกลาวทบทวนจํานวนตรงขามของจํานวนเต็ม
-2 -1 2
3
-1 - 13 0 1
3
1 1 23 2 ดังนี้ “เมื่อ a เปนจํานวนเต็มใดๆ จะมี -a
จะเห็นว่า เปนจํานวนตรงขามของ a เราสามารถหา
1 และ - 13 อยู่ห่างจาก 0 เป็นระยะเท่ากัน จํ า นวนตรงข า มของเศษส ว นได ใ นทํ า นอง
3
1 23 และ -1 23 อยู่ห่างจาก 0 เป็นระยะเท่ากัน เดียวกันคือ “เมื่อ ab เปนเศษสวนใดๆ ที่
1 b 0 จะมี - ab เปนจํานวนตรงขามของ ab ”
แสดงว่า 3 เป็นจ�านวนตรงข้ามของ - 13 และ - 13 เป็นจ�านวนตรงข้ามของ 13
13 2 เป็นจ�านวนตรงข้ามของ -1 23 และ -1 23 เป็นจ�านวนตรงข้ามของ 1 23 เข้าใจ (Understanding)
เรียก 1 และ - 13 ว่าเป็นจ�านวนตรงข้ามซึ่งกันและกัน 1. ครูใหนักเรียนศึกษาการแสดงเศษสวนและ
3
1 23 และ -1 23 ว่าเป็นจ�านวนตรงข้ามซึ่งกันและกัน จํานวนตรงขามของเศษสวนนั้นดวยจุดบน
เส น จํ า นวนตามตั ว อย า งในหนั ง สื อ เรี ย น
เมื่อ a และ b เป็นจ�านวนเต็มใด ๆ โดยที่ b ≠ 0 เขียนแทนจ�านวนตรงข้ามของ ab หนา 43
ด้วยสัญลักษณ์ - ab 2. ครูแจกใบงานที่ 2.1 เรื่อง จํานวนตรงขามของ
เศษสวน ใหนกั เรียนทํา จากนัน้ ครูและนักเรียน
เช่น จ�านวนตรงข้ามของ 13 เขียนแทนด้วย - 13 หรือ - (13) รวมกันเฉลยคําตอบใบงานที่ 2.1
จ�านวนตรงข้ามของ - 13 เขียนแทนด้วย - (- 13) 3. ครูใหนักเรียนทํา Exercise 2.1A ขอ 1.-2. ใน
และเนื่องจากจ�านวนตรงข้ามของ - 13 คือ 13 แบบฝกหัดคณิตศาสตรเปนการบาน
ดังนั้น - (- 13) = 13
43

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


(-5) - ( 23 ) มีจํานวนตรงขามเทากับขอใด ครูควรชี้แนะวา จํานวนตรงขามของเศษสวนนั้น ไมจําเปนจะตองเปน
จํานวนลบ เชน จํานวนตรงขามของ - 23 คือ 23
1. 5 23
2. -(5) + ( 23 )
นักเรียนควรรู
3. -5 23
1 จํานวนเต็ม (Integer Number) เปนจํานวนที่เปนจํานวนนับ จํานวนนับ
4. -(-5) + (- 23 ) ติดเครื่องหมายลบหรือศูนย

(เฉลยคําตอบ ขอ 1. ถูก เพราะ (-5) - ( 23 ) = - (5 + 23 )


= - (5 23 ) = -5 23 ดังนั้น จํานวนตรงขามของ -5 23 คือ 5 23 )

T51
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
1. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ Exercise 2. การเปรียบเทียบเศษส่วน
2.1A ขอ 1.-2. ในแบบฝกหัดคณิตศาสตร 1) เศษส่วนที่เท่ำกัน
2. ครูใหนกั เรียนจับคูศ กึ ษาตัวอยางที่ 1 ในหนังสือ
กำรหำเศษส่วนที่เท่ำกันโดยกำรคูณ
เรียน หนา 44 แลวแลกเปลี่ยนความรูกับคู
ของตนเอง ก�าหนดเศษส่วน ab โดยที่ b ≠ 0 ถ้าน�าจ�านวนเต็ม c ที่ไม่เท่ากับศูนย์คูณทั้งตัวเศษ
3. ครู อ ธิ บ ายรายละเอี ย ดตั ว อย า งที่ 1 ใน และตัวส่วน จะได้เศษส่วนที่เท่ากับ ab
หนั ง สื อ เรี ย น หน า 44 การหาเศษส ว นที่ นั่นคือ ab = ab ×× cc
เทากับเศษสวนที่กําหนดให (เมื่อเศษสวนนั้น
เปนจํานวนลบ) โดยการคูณ พรอมทั้งแสดง เนือ่ งจากตามความหมายของเศษส่วน ตัวเศษและตัวส่วนต้องเป็นจ�านวนเต็ม และตัวส่วน
วิธีทําอยางละเอียดบนกระดาน ต้องไม่เท่ากับศูนย์ ดังนั้น จึงก�าหนดให้ c ที่น�าไปคูณเป็นจ�านวนเต็มใด ๆ โดยที่ c ≠ 0
ตัวอย่างที่ 1

จงหำเศษส่วนที่เท่ำกับเศษส่วนที่ก�ำหนดให้มำข้อละ 3 จ�ำนวน
1) - 56 2) -1 23
วิธีท�ำ 1) - 56 = - ( 56 ×× 22 )
= - 10
12
- 6 = - ( 56 ×× 33 )
5
= - 15
18
- 6 = - ( 56 ×× 44 )
5
= - 20
24
ดังนั้น - 6 = - 10
5 15
12 = - 18 = - 24
20
2) -1 23 = (-1) + (- 23)
= (-1) + [-( 23 ×× 22 )]
= (-1) + (- 46)
= -1 46

44

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูควรใชสื่อที่เปนรูปธรรมในการสอน เรื่อง เศษสวน โดยใหนักเรียนได เศษสวนในขอใดมีคาเทากับ 67
เห็นภาพอยางชัดเจนหรือใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติดวยตนเอง เชน การใช 1. 36
49
แถบกระดาษสี การใชสิ่งของในชีวิตประจําวัน ไมวาจะเปนสื่อรูปพิซซา รูปเคก
รูปช็อกโกเลตบาร เปนตน 2. 42
48
3. 54
63
= 16 90
4. 112
(เฉลยคําตอบ การหาเศษสวนที่เทากับเศษสวนที่กําหนดให
= 12 โดยการคูณ
6 × 6 = 36 , 6 × 7 = 42 , 6 × 9 = 54
7 × 6 42 7 × 7 49 7 × 9 63
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T52
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
-1 23 = (-1) + (- 23) 4. ครูใหนักเรียนทําหัวขอ “ลองทําดู” จากนั้นครู
และนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ
= (-1) + [-( 23 ×× 33 )]
5. ครูทบทวนเรื่อง เศษสวนที่เทากัน โดยอธิบาย
= (-1) + (- 69) วา เราสามารถหาเศษสวนที่เทากับเศษสวน
= -1 69 ที่ กํ า หนดให ไ ด โ ดยนํ า จํ า นวนเต็ ม ใดๆ ที่
-1 23 = (-1) + (- 23) ไมเทากับศูนยมาหารทั้งตัวเศษและตัวสวน
จะไดวา
= (-1) + [-( 23 ×× 44 )] 12 = 12 ÷ 2 = 6
24 24 ÷ 2 12
= (-1) + (- 128 )
และ 24 = 24 ÷ 4 = 36
12 12 ÷4
= -1 128
จากนั้ น ครู ส รุ ป เป น กรณี ทั่ ว ไปตามกรอบใน
ดังนั้น -1 23 = -1 46 = -1 69 = -1 128 ตอบ หนังสือเรียน หนา 45

ลองท�าดู
จงหำเศษส่วนที่เท่ำกับเศษส่วนที่ก�ำหนดให้มำข้อละ 3 จ�ำนวน
1) - 49
2) -2 35

กำรหำเศษส่วนที่เท่ำกันโดยกำรหำร
การหาเศษส่วนที่เท่ากับเศษส่วนที่ก�าหนดให้ นอกจากใช้วิธีการคูณ1แล้วยังหาได้โดยใช้
วิธีการหารอีกวิธีหนึ่ง ซึ่งวิธีนี้จะใช้กับเศษส่วนที่ตัวเศษและตัวส่วนมีตัวหารร่วม มีหลักการดังนี้

ก�าหนดเศษส่วน ab โดยที่ b ≠ 0 ถ้าน�าจ�านวนเต็มบวก c ที่เป็นตัวหารร่วมของ a


และ b ไปหารทั้งตัวเศษและตัวส่วนแล้ว ab = ba ÷÷ cc

เนื่องจากตามความหมายของเศษส่วนตัวเศษและตัวส่วนต้องเป็นจ�านวนเต็ม และตัวส่วน
ต้องไม่เท่ากับศูนย์ ดังนั้น จึงก�าหนดให้ c ที่น�าไปหารเป็นจ�านวนเต็มบวกใด ๆ โดยที่ c ≠ 0

45

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู


เศษสวนในขอใดเทากัน 1 ตัวหารรวม (Common Divisor) หรือตัวประกอบรวม (Common Factor)
1. 10 15 25 2. 38 58 78 คืือ จํานวนนับที่สามารถหารจํานวนที่กําหนดใหตั้งแตสองจํานวนขึ้นไปลงตัว
16 , 24 , 64 95 , 145 , 175
เชน 2 หาร 24 ลงตัว, 2 หาร 36 ลงตัว ดังนั้น 2 เปนตัวหารรวมของ 24
3. 32 72 112
28 , 63 , 98 4. 48 90
56 , 105 , 108
128 และ 36

(เฉลยคําตอบ 32 ÷ 4 8
28 ÷ 4 = 7
72 ÷ 9 = 8
63 ÷ 9 7
112 ÷ 14 = 8
98 ÷ 14 7
จะไดวา 28 = 72
32 112
63 = 98
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T53
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
6. ครู ใ ห นั ก เรี ย นจั บ คู  ศึ ก ษาตั ว อย า งที่ 2 ใน ตัวอย่างที่ 2
หนังสือเรียน หนา 46 แลวแลกเปลี่ยนความรู จงหำเศษส่วนที่เท่ำกับ - 48
กับคูของตนเอง 84 มำ 3 จ�ำนวน
วิธีท�ำ เนื่องจาก 48 และ 84 มีตัวหารร่วมหลายจ�านวน เช่น 2, 3, 4 และ 6 เป็นต้น
7. ครูอธิบายตัวอยางที่ 2 ในหนังสือเรียน หนา 46
จึงใช้การหาเศษส่วนที่เท่ากันโดยการหาร ดังนี้
เรื่ อ ง การหาเศษส ว นที่ เ ท า กั บ เศษส ว นที่
กําหนดให (เมื่อเศษสวนนั้นเปนจํานวนลบ) - 48 48 ÷ 2
84 = - ( 84 ÷ 2 )
โดยการหาร พรอมทัง้ แสดงวิธที าํ อยางละเอียด = - 2442
บนกระดาน 48 48 ÷ 3 )
- 84 = - ( 84 ÷ 3
8. ครูใหนักเรียนทําหัวขอ “ลองทําดู” เมื่อเสร็จ
แลวครูอธิบายความหมายของเศษสวนอยางตํา่ = - 1628
และนักเรียนรวมกันเฉลย 48
- 84 = - ( 84 48 ÷ 4 )
÷ 4

= - 1221
ดังนั้น - 48 24 16
84 = - 42 = - 28 = - 21
12 ตอบ

ลองท�าดู
จงหำเศษส่วนที่เท่ำกับ - 168
210 มำ 3 จ�ำนวน

จงพิจารณาการหาเศษส่วนที่เท่ากันต่อไปนี้
120 = 120 ÷ 10 Thinking Time
150 150 ÷ 10 78
จงหาเศษส่วนอย่างต�่าของ - 108
12 ÷
= 15 ÷ 3 3
= 45
จะพบว่า 45 เป็นเศษส่วนที่ตัวหารร่วมมากของตัวเศษและตัวส่วนเป็น 1

เศษส่วนที่มีตัวหารร่วมมากของตัวเศษและตัวส่วนเป็น 1 เรียกว่า “เศษส่วนอย่างต�่า”

เฉลย Thinking Time


78 = - 78 ÷ 3 = - 26 ÷ 2 = - 13
- 108 108 ÷ 3 36 ÷ 2 18 46
78 คือ - 13
ดังนั้น เศษสวนอยางตํ่าของ - 108 18

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


เศษสวนในขอใดเทากันทั้งหมด
1. - 22 42 110
33 , - 63 , - 155 2. - 20 30 36
25 , - 35 , - 45 3. - 24 33 126
40 , - 55 , - 195 4. - 24 84 128
42 , - 147 , - 224
(เฉลยคําตอบ
1. ไมเทากัน เพราะ - 22 ÷ 11 2 42 ÷ 21 2 110 ÷ 5 22
33 ÷ 11 = - 3 , - 63 ÷ 21 = - 3 , - 155 ÷ 5 = - 31
2. ไมเทากัน เพราะ - 20 ÷ 5 4 30 ÷ 5 6 36 ÷ 9 4
25 ÷ 5 = - 5 , - 35 ÷ 5 = - 7 , - 45 ÷ 9 = - 5
3. ไมเทากัน เพราะ - 24 ÷ 8 3 33 ÷ 11 3 126 ÷ 3 42
40 ÷ 8 = - 5 , - 55 ÷ 11 = - 5 , - 195 ÷ 3 = - 65
4. เทากัน เพราะ - 24 ÷ 6 4 84 ÷ 21 4 128 ÷ 32 4
42 ÷ 6 = - 7 , - 147 ÷ 21 = - 7 , - 224 ÷ 32 = - 7
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)

T54
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
ข้อตกลง การเขียนเศษส่วนทีเ่ ท่ากันและเป็นจ�านวนลบ สามารถเขียนได้ 3 รูปแบบ เมือ่ ก�าหนด 9. ครู อ ธิ บ ายข อ ตกลงของการเขี ย นเศษส ว น
เศษส่วน ab โดยที่ b ≠ 0 ดังนี้ ทีเ่ ปนจํานวนลบวา สามารถเขียนได 3 รูปแบบ
1. - ab เช่น - 13 อ่านว่า ลบเศษหนึ่งส่วนสาม ดังตัวอยางในหนังสือเรียน หนา 47
10. ครูอธิบายหลักการเปรียบเทียบเศษสวนที่มี
2. -ab เช่น -13 อ่านว่า เศษลบหนึ่งส่วนสาม
ตัวสวนเทากันที่เปนจํานวนลบวา “ตองทํา
3. -ba เช่น -31 อ่านว่า เศษหนึ่งส่วนลบสาม ตัวสวนใหเปนจํานวนเต็มบวกกอน แลวจึง
2) กำรเปรียบเทียบเศษส่วน เปรียบเทียบทีต่ วั เศษ โดยเศษสวนใดมีตวั เศษ
(1) กำรเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ำกัน มากกวา เศษสวนนั้นจะมีคามากกวาอีกเศษ
ส�าหรับเศษส่วนทีเ่ ป็นลบ ให้ทา� ตัวส่วนเป็นจ�านวนเต็มบวกก่อน จากนัน้ ให้พจิ ารณา สวนหนึ่ง”
ที่ตัวเศษ ดังนี้ 11. ครูใหนักเรียนจับคูศึกษาตัวอยางที่ 3 ใน
1. เศษส่วนใดมีตัวเศษมากกว่า เศษส่วนนั้นมีค่ามากกว่า หนังสือเรียน หนา 47 แลวแลกเปลี่ยนความรู
2. ถ้าตัวเศษของทั้งสองเศษส่วนเท่ากัน แสดงว่าเศษส่วนทั้งสองมีค่าเท่ากัน กับคูของตนเอง
ตัวอย่างที่ 3
12. ครูอธิบายตัวอยางที่ 3 ในหนังสือเรียน หนา
47 การเปรี ย บเที ย บเศษส ว นที่ กํ า หนดให
จงเปรียบเทียบเศษส่วน - 47 และ - 37
(เมื่อตัวสวนเทากัน จะพิจารณาตัวเศษที่เปน
วิธีท�ำ เนื่องจาก - 47 = -47 และ - 37 = -37 จํานวนลบ) โดยการเปรียบเทียบวาจํานวนลบ
น�าตัวเศษ -4 และ -3 มาเปรียบเทียบกัน ตั ว ไหนที่ มี ค  า มากกว า กั น พร อ มทั้ ง แสดง
จะได้ -4 < -3 วิธีทําอยางละเอียดบนกระดาน
ดังนั้น -47 < -37 13. จากนัน้ ครูใหนกั เรียนทําหัวขอ “ลองทําดู” เมือ่
นั่นคือ - 47 < - 37 ตอบ เสร็จแลวครูอธิบายและนักเรียนรวมกันเฉลย

ลองท�าดู เข้าใจ (Understanding)


จงเปรียบเทียบเศษส่วน - 125 และ - 128 1. ครู อ ธิ บ ายวิ ธีก ารเปรี ย บเที ย บเศษส ว นที่ มี
ตัวสวนไมเทากันวา “เราตองใชความรู เรื่อง
(2) กำรเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ำกัน การคูณ การหาร และตัวคูณรวมนอย เพื่อ
นักเรียนสามารถตรวจสอบว่าเศษส่วนหนึ่งมากกว่าหรือน้อยกว่าอีกเศษส่วนหนึ่ง ทํ า ให ตั ว ส ว นเท า กั น แล ว จึ ง เปรี ย บเที ย บที่
1
โดยใช้ความรูเ้ กีย่ วกับการคูณ การหาร และตัวคูณร่วมน้อยเพือ่ ท�าตัวส่วนให้เท่ากัน ส�าหรับเศษส่วน ตั ว เศษ โดยเศษส ว นใดมี ตั ว เศษมากกว า
ที่เป็นลบให้ท�าตัวส่วนเป็นจ�านวนเต็มบวกก่อน จากนั้นให้พิจารณาที่ตัวเศษ ดังนี้ เศษสวนนั้นจะมีคามากกวาอีกเศษสวนหนึ่ง”
1. เศษส่วนใดมีตัวเศษมากกว่า เศษส่วนนั้นมีค่ามากกว่า
2. ถ้าตัวเศษของทั้งสองเศษส่วนเท่ากัน แสดงว่าเศษส่วนทั้งสองมีค่าเท่ากัน
47

กิจกรรม ทาทาย เกร็ดแนะครู


ใหนักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนตอไปนี้
ครูยกตัวอยางตัวคูณรวมนอยใหนักเรียนเขาใจ
1. นํากระดาษ A4 จํานวน 4 แผน
เชน 70 เปนตัวคูณรวมนอยของ 14 และ 35
2. พับกระดาษ A4 แบงแผนกระดาษเปนสวนเทาๆ กัน ดังนี้
เนื่องจาก 70 เปนจํานวนที่มีคานอยที่สุดที่มี 14 และ 35
กระดาษแผนที่ 1 แบง 3 สวนเทาๆ กัน ระบายสี 1 สวน
เปนตัวประกอบรวม
กระดาษแผนที่ 2 แบง 4 สวนเทาๆ กัน ระบายสี 2 สวน
กระดาษแผนที่ 3 แบง 5 สวนเทาๆ กัน ระบายสี 2 สวน
กระดาษแผนที่ 4 แบง 6 สวนเทาๆ กัน ระบายสี 4 สวน นักเรียนควรรู
3. เขียนเศษสวนแทนสวนที่ระบายสีและแสดงการเปรียบเทียบ
เศษสวนทั้ง 4 จํานวน 1 ตัวคูณรวมนอย : ค.ร.น. (Least Common Multiple : L.C.M.) คือ จํานวน
ที่มีคานอยที่สุดที่มีจํานวนเหลานั้น (สองจํานวนขึ้นไป) เปนตัวประกอบรวม

T55
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
2. ครูใหนกั เรียนจับคูศ กึ ษาตัวอยางที่ 4 ในหนังสือ ตัวอย่างที่ 4
เรียน หนา 48 แลวแลกเปลี่ยนความรูกับคู จงเปรียบเทียบเศษส่วน - 23 และ - 25
ของตนเอง วิธีท�ำ เขียนเศษส่วนให้ตัวส่วนเป็นจ�านวนเต็มบวก และหา ค.ร.น. ของ 3 และ 5 ได้ 15
3. ครูใหนักเรียนแตละคนทําหัวขอ “ลองทําดู” ท�าตัวส่วนของเศษส่วนทั้งสองให้เท่ากับ 15
และใบงานที่ 2.2 เรื่ อ ง การเปรี ย บเที ย บ จะได้ - 23 = -23
เศษสวน เมื่อเสร็จแลวครูและนักเรียนรวมกัน
เฉลยคําตอบ = (-2)
3×5
× 5

4. ครู ใ ห นั ก เรี ย นจั บ คู  ศึ ก ษาตั ว อย า งที่ 5 ใน = -10


15
หนังสือเรียน หนา 48-49 แลวแลกเปลี่ยน และ 2
-5 = 5 -2
ความรูกับคูของตนเอง จากนั้นใหนักเรียน
แตละคนทํา “ลองทําดู” และใบงานที่ 2.3 เรือ่ ง = (-2)
5×3
× 3

การเรียงลําดับเศษสวน เมื่อนักเรียนทุกคน -6
= 15
ทําเสร็จครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ เปรียบเทียบตัวเศษจะได้ว่า -10 < -6
ดังนั้น -1015 < 15
-6
นั่นคือ - 23 < - 25 หรือ - 25 > - 23 ตอบ

ลองท�าดู
จงเปรียบเทียบเศษส่วน - 28 และ - 75

ตัวอย่างที่ 5

จงเรียงล�ำดับจ�ำนวนต่อไปนี้จำกน้อยไปมำก - 23, - 35, - 57


วิธีท�ำ เนื่องจาก - 23 = -23 , - 35 = -35 และ - 57 = -57
และ ค.ร.น. ของ 3, 5 และ 7 คือ 105 จึงต้องท�าให้ตัวส่วนของทุกเศษส่วน
ให้เท่ากับ 105
เนื่องจาก 105 ÷ 3 = 35 ดังนั้น คูณ -23 ด้วย 35 35
2
จะได้ - 3 = 3 × 35 (-2) × 35

= 105-70

48

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูควรเนนยํ้านักเรียนเสมอวา ในการเปรียบเทียบเศษสวนทุกครั้งเราตอง ขอใดเรียงลําดับจากนอยไปมาก
เริ่มพิจารณากอนวาเศษสวนที่ทําการเปรียบเทียบนั้นเทากันหรือไม ถาหาก
1. - 12 , - 23 , - 56 2. - 25 , - 35 , - 55
เศษสวนที่ทําการเปรียบเทียบนั้นมีตัวสวนเทากันแลว ใหพิจารณาวาตัวเศษนั้น
เทากัน นอยกวา หรือมากกวา และถาหากเศษสวนที่ทําการเปรียบเทียบนั้นมี 3. - 12 , - 32 , - 42 4. - 115 ,-4 ,-3
11 11
ตัวสวนไมเทากัน ใหดาํ เนินการทําตัวสวนใหเทากันกอน แลวทําการเปรียบเทียบ 5 , - 4 , - 3 เมื่อตัวสวน
ตัวเศษวาเทากัน มากกวา หรือนอยกวา (เฉลยคําตอบ ขอ 4. ถูก เพราะ - 11 11 11
เทากัน จะนําตัวเศษมาพิจารณา จํานวนที่ติดลบที่มีคามากที่สุด
จะเปนจํานวนที่ติดลบนอยที่สุด)

T56
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
เนื่องจาก 105 ÷ 5 = 21 ดังนั้น คูณ -35 ด้วย 21
21 1. ครูใหนกั เรียนจัดกลุม กลุม ละ 4 คน คละความ
3 (-3) × 21 สามารถทางคณิตศาสตร แลวทํากิจกรรม ดังนี้
จะได้ - 5 = 5 × 21
- ให นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ช ว ยกั น ทํ า แบบฝ ก
-63
= 105 ทักษะ 2.1 ก ขอ 6. โดยเขียนลงในสมุด
เนื่องจาก 105 ÷ 7 = 15 ดังนั้น คูณ -57 ด้วย 15
15 ของตนเอง
5 (-5)
จะได้ - 7 = 7 × 15 × 15 - ใหนักเรียนแลกเปลี่ยนความรูภายในกลุม
ของตนเอง และสนทนาซั ก ถามเกี่ ย วกั บ
-75
= 105 วิธีการหาคําตอบ จนเปนที่เขาใจรวมกัน
เปรียบเทียบตัวเศษจะได้ว่า -75 < -70 < -63 - ใหตัวแทนกลุมมานําเสนอคําตอบหนาชั้น
ดังนั้น 105-75 < -70 < -63 เรียน โดยเพื่อนกลุมที่เหลือคอยตรวจสอบ
105 105 ความถูกตอง
เขียนเรียงจ�านวนจากน้อยไปมากได้เป็น - 57 , - 23 , - 35 ตอบ 2. ครูใหนกั เรียนทําแบบฝกทักษะ 2.1 ก ขอ 2.-4.
และ Exercise 2.1A ขอ 3.-8. ในแบบฝกหัด
ลองท�าดู
คณิตศาสตรเปนการบาน
จงเรียงล�ำดับจ�ำนวนต่อไปนี้จำกน้อยไปมำก - 34 , - 78 , - 56

แบบฝึกทักษะ 2.1 ก
ระดับ พื้นฐาน

1. จงหาเศษส่วนที่เท่ากับเศษส่วนที่ก�าหนดให้มาข้อละ 3 จ�านวน
1) - 37 48
2) - 108
2. จงเติมเครื่องหมาย < > หรือ = ลงใน ให้ถูกต้อง
1) 58 - 12
2) - 67 2
3
3) - 76 - 19
21
4) - 163 - 11
20

49

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


ขอใดเรียงลําดับจากมากไปหานอย หลังจากนักเรียนทําลองทําดูในหนา 49 และกอนจะเริ่มทําแบบฝกทักษะ
2.1 ก ครูควรเปดโอกาสใหนักเรียนไดพูดคุยเพื่อซักถามขอสงสัยกัน โดยหา
1. - 32 , - 11 5
6 , -3 2. - 53 , - 32 , - 11
6 ประเด็นปญหาหรือขอสงสัยที่นาสนใจมาเปนประเด็นที่จะใหนักเรียนทั้งหอง
11 3
3. - 6 , - 2 , - 35 3 5
4. - 2 , - 3 , - 6 11 รวมกันแสดงความคิดเห็นหรือรวมกันแสดงแนวความคิด เพื่อหาขอสรุปหรือ
คําตอบของประเด็นปญหานั้น
(เฉลยคําตอบ นําตัวสวน 2, 3, 6 มาหา ค.ร.น. ได 6
- 32 ×× 33 > - 53 ×× 22 > - 11
6
- 96 > - 106 >-6
11

- 32 > - 53 > - 11 6
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)

T57
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ
นักเรียน ดังนี้
• การเปรียบเทียบเศษสวนที่มีตัวสวนเทากัน 3. จงเรียงล�าดับจ�านวนในแต่ละข้อต่อไปนี้จากน้อยไปมาก
ที่เปนจํานวนลบ สามารถทําไดอยางไร 1) - 48, - 34, - 322
( แนวตอบ ต อ งทํ า ตั ว ส ว นให เ ป น จํ า นวน
2) - 12, - 35, - 58
เต็มบวกกอน แลวจึงเปรียบเทียบที่ตัวเศษ
โดยเศษสวนใดมีตัวเศษมากกวา เศษสวน ระดับ กลาง
นั้นจะมีคามากกวาอีกเศษสวนหนึ่ง)
4. จงเติมจ�านวนลงใน เพื่อท�าให้เศษส่วนทั้งสองเป็นเศษส่วนที่เท่ากัน
• การเปรี ย บเที ย บเศษส ว นที่ มี ตั ว ส ว น
ไมเทากัน สามารถทําไดอยางไร 1) 27 = 35 2) - 49 = - 24
(แนวตอบ ตองใชความรู เรื่อง การคูณ การ
หาร และตัวคูณรวมนอย เพื่อทําใหตัวสวน 3) 116 = 132 4) - 16 1
80 = -
เทากัน แลวจึงเปรียบเทียบที่ตัวเศษ โดย
เศษสวนใดมีตัวเศษมากกวา เศษสวนนั้น 5) 51
63 = 21
99 = - 9
6) - 121
จะมีคามากกวาอีกเศษสวนหนึ่ง)
5. จงหาเศษส่วนอย่างต�่าของจ�านวนต่อไปนี้
ขัน้ ประเมิน 1) 21
28 2) - 48
72
1. ครูตรวจใบงานที่ 2.1-2.3 3) - 56 72
4) - 132
2. ครูตรวจแบบฝกทักษะ 2.1 ก 70
36
5) - 108
3. ครูตรวจ Exercise 2.1A
4. ครูประเมินการนําเสนอผลงาน
ระดับ ท้าทาย
5. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
6. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม 6. โนรีต้องการตักน�้าใส่โอ่งโดยใช้ถังที่มีอยู่ 2 ใบ ดังนี้ ถังใบที่ 1 ใช้ตักน�้าได้ 18 ของความจุโอ่ง
7. ครูสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค และถังใบที่ 2 ใช้ตกั น�้าได้ 163 ของความจุโอ่ง ถ้าในการตักน�้าใส่โอ่งแต่ละครัง้ โนรีไม่ท�าน�้าหก
โนรีควรเลือกใช้ถังใบใดตักน�้าจึงจะได้น�้าเต็มโอ่งก่อนกัน เพราะเหตุใด

50

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


การตรวจแบบฝกทักษะ 2.1 ก ครูควรตรวจแบบฝกทักษะดวยตนเอง 7 , 3 , 5 , 3 ขอใดกลาวถูกตอง
จากเศษสวนที่กําหนดให 16 8 32 4
อยางละเอียด เพื่อตรวจสอบวานักเรียนเขาใจถูกตองหรือไม หรือเขาใจผิด
อยางไร หากเกิดความเขาใจผิดครูควรอธิบายชี้แนะนักเรียนใหทราบโดยเร็ว 1. 34 < 32
5 2. 38 มีคานอยที่สุด
เพื่อปองกันความเขาใจที่คลาดเคลื่อนที่จะเกิดขึ้นกับนักเรียนและจะชวยยับยั้ง 3. 167 มีคามากที่สุด 4. 38 < 167 <3
ความเขาใจผิดในการเรียนในหัวขอตอไป 4
(เฉลยคําตอบ ทําเศษสวนทุกจํานวนใหมีตัวสวนเทากัน คือ 32
7 7 × 2 14 3 3 × 4 12 5 3 3 × 8 24
16 = 16 × 2 = 32 , 8 = 8 × 4 = 32 , 32 , 4 = 4 × 8 = 32
1. ผิด เพราะ 325 <3
4
5
2. ผิด เพราะ 32 มีคานอยที่สุด
3. ผิด เพราะ 34 มีคามากที่สุด
4. ถูก เพราะ 12 14 24 3 7 3
32 < 32 < 32 นั่นคือ 8 < 16 < 4
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)
T58
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
3. การบวกและการลบเศษส่วน ครูทบทวนเรื่องการหาผลบวกของเศษสวนที่มี
1) กำรบวกเศษส่วน ตัวสวนเทากัน โดยยกตัวอยางโจทยบนกระดาน
นักเรียนสามารถหาผลบวกของเศษส่วนที่เป็นลบและมีตัวส่วนไม่เท่ากันได้ โดยการท�า เชน 16 + 46 = 1 +6 4 = 56 ใหนกั เรียนสังเกตวิธกี าร
ตัวส่วนให้เท่ากัน ซึ่งนิยมท�าตัวส่วนให้เท่ากับ ค.ร.น. ของตัวส่วนของเศษส่วนที่ต้องการน�ามา หาผลบวกของเศษสวนที่มีตัวสวนเทากัน
บวกกัน แล้วจึงหาผลบวกของเศษส่วนตามขั้นตอนดังนี้
1. เขียนตัวส่วนของเศษส่วนที่เป็นลบให้เป็นจ�านวนเต็มบวกก่อน ขัน้ สอน
2. ท�าตัวส่วนของทุกเศษส่วนให้เท่ากัน รู้ (Knowing)
3. น�าตัวเศษมาบวกกัน โดยที่ตัวส่วนยังคงเท่าเดิม
1. ครูอธิบายขั้นตอนการบวกเศษสวนที่เปนลบ
ตัวอย่างที่ 6
และมีตัวสวนไมเทากัน ดังนี้
จงหำผลบวกของ 35 + (- 43) - เขียนตัวสวนของเศษสวนที่เปนลบใหเปน
วิธีท�ำ ค.ร.น. ของ 3 และ 5 คือ 15 จํานวนเต็มบวกกอน
3 + (- 4) = 3 + ( -4 ) - ทําตัวสวนของทุกเศษสวนใหเทากัน โดย
5 3 5 3 นิยมทําตัวสวนใหเทากับ ค.ร.น. ของตัวสวน
= 35 ×× 33 + (-4)
3×5
× 5
ของเศษสวนที่นํามาบวกกัน
= 9 +15(-20) - นําตัวเศษมาบวกกัน โดยที่ตัวสวนยังคง
เทาเดิม
= -11
15 2. ครูใหนักเรียนจับคูศึกษาตัวอยางที่ 6-7 ใน
= - 11
15 ตอบ หนังสือเรียน หนา 51 จากนั้นครูแสดงการหา
ผลบวกของเศษสวนอยางละเอียดบนกระดาน
ตัวอย่างที่ 7

จงหำผลบวกของ (-1 49) + (-2 56)


วิธีท�ำ วิธีที่ 1 เขียนจ�านวนคละให้อยู่ในรูปเศษเกิน แล้วน�าจ�านวนทั้งสองมาบวกกัน
ค.ร.น. ของ 6 และ 9 คือ 18 มำจำก
4 5 13 17
(-1 9) + (-2 6) = (- 9 ) + (- 6 ) ((-13) × 2 (-17) × 3
9 × 2 )+ ( 6 × 3 )
= (-26) 18+ (-51)
= -7718
= - 7718
= -4 185
51

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


ขอใดตอไปนี้เปนคําตอบที่ถูกตองของ 12 + 89 + 23 + 16 ในการบวกลบเศษสวน ครูอาจนํารูปวงกลมและรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก โดย
แบงพื้นที่ออกเปนสวนๆ เทากันมาใชประกอบการอธิบาย อีกทั้งครูชี้แนะ
1. 17 17
18 2. 15 15
18 เพิ่ ม เติ ม ด ว ยว า การใช พื้ น ที่ เ พื่ อ แสดงเศษส ว นวิ ธีที่ เ หมาะสมควรจะเลื อ ก
13
3. 13 18 4. 11 11 รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก เพราะจะแสดงการใชพื้นที่ไดเหมาะสมกวาการเลือกใช
18
รูปเรขาคณิตชนิดอื่นๆ
(เฉลยคําตอบ ขอ 3. ถูก เพราะ ค.ร.น. ของ 9, 3 และ 6 คือ 18
12 + 89 + 23 + 16 = 12 + 89 ×× 22 + 23 ×× 66 + 16 ×× 33
= 12 + 16 12 3
18 + 18 + 18
= 12 + 31
18
= 12 + 1 13
18
= (12 + 1) + 13 13
18 = 13 18 )

T59
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
3. ครูใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” และจับคูศึกษา วิธีที่ 2 เขียนจ�านวนคละในรูปการบวกของจ�านวนเต็มกับเศษส่วน แล้วหาผลบวก
ตั ว อย า งในหนั ง สื อ เรี ย น หน า 52 แสดง ของจ�านวนเต็มกับจ�านวนเต็ม และเศษส่วนบวกกับเศษส่วน
การบวกเศษสวนทีเ่ ปนจํานวนคละบนกระดาน (-1 49) + (-2 56) = [(-1) + (- 49 )] + [(-2) + (- 56 )]
โดยบอกนักเรียนวา เราสามารถหาผลบวกได = [(-1) + (-2)] + [(- 49 ) + (- 56 )]
2 วิธี ดังนี้
วิธีที่ 1 เขียนจํานวนคละใหอยูในรูปเศษเกิน = (-3) + (-8) +18(-15) มำจำก
= (-3) + ( -23 ((-4) × 2 (-5) × 3
9 × 2 )+ ( 6 × 3 )
แลวนําจํานวนทั้งสองมาบวกกัน 18 )
วิธีที่ 2 เขียนจํานวนคละในรูปการบวกของ = (-3) + (-1 185 )
จํานวนเต็มกับเศษสวนแท แลวหาผลบวกของ = (-3) + (-1) + (- 185 )
จํานวนเต็มกับจํานวนเต็ม และเศษสวนบวก
= -4 185 ตอบ
กับเศษสวน
ลองท�าดู
เข้าใจ (Understanding)
จงหำผลบวกของจ�ำนวนต่อไปนี้
1. ครูกลาวทบทวนวา “เศษสวนมีสมบัติการบวก
1) (- 75 ) + 118 2) (-1 107 ) + (-2 158 )
ดวยศูนย สมบัตกิ ารสลับทีส่ าํ หรับการบวก และ
สมบัติการเปลี่ยนหมูสําหรับการบวกเหมือน เศษส่วนมีสมบัตกิ ารบวกด้วยศูนย์ สมบัตกิ ารสลับทีส่ า� หรับการบวก และสมบัตกิ ารเปลีย่ นหมู่
กับจํานวนเต็ม ดังนัน้ เพือ่ ความรวดเร็วในการ ส�าหรับการบวกเหมือนกับจ�านวนเต็ม ซึง่ นักเรียนสามารถใช้สมบัตดิ งั กล่าวมาช่วยในการหาผลบวก
หาผลลัพธ เราสามารถใชสมบัติดังกลาวนี้ ของเศษส่วน ดังตัวอย่าง
มาช ว ยในการคํ า นวณได ” จากนั้ น ครู ย ก
ตัวอย่างที่ 8
ตัวอยางที่ 8 ในหนังสือเรียน หนา 52 แสดง
การหาผลบวกของเศษส ว นสามจํ า นวนที่ มี จงหำผลบวกของ (- 37) + 52 + 23
มำจำก
ตัวสวนไมเทากันบนกระดาน วิธีท�ำ (- 37 ) + 52 + 23 = ( -37 ) + (52 + 23) ( 25 ×× 33 ) + ( 32 ×× 22 )
2. ครูใหนักเรียนทํา Exercise 2.1B ขอ 1. ใน
= ( -37 ) + (15 6+ 4)
แบบฝกหัดคณิตศาสตรเปนการบาน
= ( -37 ) + 196
มำจำก
= (-18)42+ 133
( (-3) × 6 19 × 7
7 × 6 )+ (6 × 7)
= 115
42
= 2 3142 ตอบ

52

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูควรเนนยํ้ากับนักเรียนเสมอวา ในการบวกเศษสวนนักเรียนตองทําให ผลลัพธของ 13 9 7
16 + 12 - 8 มีคาตรงกับขอใด
ตัวสวนใหเทากันเสมอ อีกทั้งเพื่อปองกันความเขาใจที่คลาดเคลื่อนที่จะเกิดขึ้น 7 9
1. 16 2. 16
กับนักเรียนในเรือ่ งของการบวกเศษสวนทีม่ ตี วั สวนไมเทากัน ครูตอ งคอยสังเกต
นักเรียนอยูเสมอ พรอมทั้งครูตองคอยเปดโอกาสใหนักเรียนถาม เพื่อยับยั้ง 3. 11
16 4. 15
16
ขอสงสัยอันอาจนําไปสูการเกิดความเขาใจที่คลาดเคลื่อนในเรื่องนั้น
(เฉลยคําตอบ นํา 16, 12, 8 มาหา ค.ร.น. ได 48
13 × 3 + 9 × 4 - 7 × 6
16 × 3 12 × 4 8 × 6
= 39 36 42
48 + 48 - 48
= 33 11
48 = 16
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T60
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
ลองท�าดู 1. ครูใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” ในหนังสือเรียน
จงหำผลบวกของ (- 78) + 92 + 113 หนา 53 จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันเฉลย
คําตอบ
2) กำรลบเศษส่วน 2. ครูทบทวนหลักการลบจํานวนเต็มวาใชการ
การลบเศษส่วน ใช้หลักการเดียวกันกับการลบจ�านวนเต็ม คือ บวกดวยจํานวนตรงขาม และการลบเศษสวน
ก็ใชหลักการเดียวกันกับการลบจํานวนเต็ม คือ
ตัวตั้ง - ตัวลบ = ตัวตั้ง + จ�านวนตรงข้ามของตัวลบ ตัวตั้ง - ตัวลบ = ตัวตั้ง + จํานวนตรงขามของ
แล้วหาผลบวกโดยใช้ความรูก้ ารบวกเศษส่วน ถ้าตัวส่วนไม่เท่ากัน นักเรียนต้องท�าตัวส่วน ตัวลบ
ของทุกเศษส่วนให้เท่ากันก่อน แล้วจึงหาผลบวก 3. ครู อ ธิ บ ายขั้ น ตอนการลบเศษส ว นที่ เ ป น ลบ
ตัวอย่างที่ 9
และมีตัวสวนไมเทากัน ดังนี้
- เขี ย นการลบในรู ป การบวกด ว ยจํ า นวน
จงหำผลลบของ 56 - (- 127 ) ตรงขามกอน
วิธีท�ำ ค.ร.น. ของ 6 และ 12 คือ 12 - ทําตัวสวนของทุกเศษสวนใหเทากัน โดย
5 - (- 7 ) = 5 + 7 จ�านวนตรงข้ามของ - 127 คือ 127 นิยมทําตัวสวนใหเทากับ ค.ร.น. ของตัวสวน
6 12 6 12
= 1012+ 7 ของเศษสวนที่นํามาลบกัน
- นําตัวเศษมาบวกหรือลบกันตามเครือ่ งหมาย
= 17
12 ทีป่ รากฏสุดทาย โดยทีต่ วั สวนยังคงเทาเดิม
= 1 125 ตอบ 4. ครูยกตัวอยางที่ 9 และ 10 ในหนังสือเรียน
หนา 53 บนกระดาน
ตัวอย่างที่ 10 5. ครูและนักเรียนลองศึกษาตัวอยางที่ 10 และ
จงหำผลลบของ (- 14) - 2 59 ครู จ ะแสดงวิ ธีก ารลบเศษส ว น ให นั ก เรี ย น
ศึกษาและสังเกต
วิธีท�ำ (- 14) - 2 59 = ( -14 ) + (-2 59) จ�านวนตรงข้ามของ 2 59 คือ -2 59
= ( -14 ) + [(-2) + ( -59 )]
= (-2) + [( -14 ) + ( -59 )]
= (-2) + (-9) +36(-20)
= (-2) + (-2936 )
= -2 3629 ตอบ

53

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


ผลลัพธของ 19 14
6 - 4 ตรงกับขอใด ครูเนนยํ้ากับนักเรียนวา การลบจํานวนเต็มที่หาผลลบโดยใชตัวตั้งลบดวย
ตัวลบสามารถหาผลลบโดยใชหลักการ ตัวตั้งบวกดวยจํานวนตรงขามของ
1. 20
3 2. 13
ตัวลบไดอีกดวย
3. - 13 4. - 20
3
(เฉลยคําตอบ หา ค.ร.น. ของ 6, 4 ได 12
19 - 14 = 19 × 2 + - 14 × 3
6 4 6×2 ( 4×3)
= 38 42
12 + (- 12 )
4
= - 12
= - 13
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T61
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เขาใจ (Understanding)
1. ครูใหนักเรียนจับคูศึกษาตัวอยางที่ 11 ใน ตัวอย่างที่ 11
หนั ง สื อ เรี ย น หน า 54 แล ว แลกเปลี่ ย น จงหาผลลบของ (-2 107 ) - (-1 158 )
ความรูกับคูของตนเอง จากนั้นใหนักเรียน
วิธีท�า (-2 107 ) - (-1 158 ) = (-2 107 ) + 1 158 จ�ำนวนตรงข้ำมของ -1 158 คือ 1 158
แต ล ะคนทํ า “ลองทํ า ดู ” พร อ มทั้ ง ครู แ ละ
= [(-2) + (10-7)] + (1 + 8 )
นักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ 15
2. ครูแจกใบงานที่ 2.4 เรื่อง การบวกและการ = [(-2) + 1] + [(10 -7) + 8 ]
15
ลบเศษสวนทีม่ ตี วั สวนไมเทากัน ใหนกั เรียนทํา (-21) + 16
= (-1) + 30
จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ -5)
3. ครู อ ธิ บ ายการลบเศษส ว น 2 ขั้ น ตอน ที่ มี = (-1) + (30
ตัวสวนไมเทากัน โดยแสดงวิธีหาผลลบของ = -1 305
เศษสวนสามจํานวนจากตัวอยางที่ 12 ใน = -1 16 ตอบ
หนั ง สื อ เรี ย น หน า 54 อย า งละเอี ย ดบน
กระดาน และในระหวางแสดงวิธีทํา จากนั้น ลองทําดู
ใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” จงหาผลลบของจ�านวนต่อไปนี้
4. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ และครู 1) (- 27) - 3 34 2) 12 16
15 - (- 45) 3) (-10 112 ) - (-7 59)
แจกใบงานที่ 2.5 เรื่อง การบวก ลบระคน
ของเศษสวน ใหนักเรียนทํา จากนั้นครูและ ตัวอย่างที่ 12

นักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ จงหาผลลบของ (-3 14) - (38 - 2 125 )


วิธีท�า ค.ร.น. ของ 4, 8 และ 12 คือ 24
ลงมือทํา (Doing)
(-3 14) - (38 - 2 125 ) = (- 134) - [38 + (- 29
12)]
1. ครูใหนกั เรียนจัดกลุม กลุม ละ 4 คน คละความ (-13) × 6 (-29) × 2
สามารถทางคณิตศาสตร แลวทํากิจกรรม ดังนี้
= 4 × 6 - [ 8 × 3
3 ×
3 + 12 × 2 ]
- ใหแตละกลุมสงตัวแทนมาตกลงกันวาจะ = (-78 9 + (-58)
24 ) - 24
เลือกแกปญหาแบบฝกทักษะ 2.1 ข ขอ 5. = (-78 -49
หรือขอ 6. 24 ) - ( 24 )
- นักเรียนแตละคนวิเคราะหวาปญหาที่กลุม = (-78 49
24 ) + 24 จ�ำนวนตรงข้ำมของ -49 49
24 คือ 24
ของตนเองเลือกมีวิธีการแกอยางไร จากนั้น = -29
24
แลกเปลี่ยนคําตอบกันภายในกลุม สนทนา = -1 245 ตอบ
ซักถามจนเปนที่เขาใจรวมกัน
- นักเรียนแตละคนเขียนขั้นตอนแสดงวิธีคิด ลองทําดู
ของกลุมตนเองอยางละเอียดลงในสมุด จงหาผลลบของ (-3 38) - (56 - 3 12)
- ใหตัวแทนกลุมมานําเสนอคําตอบหนาชั้น 54
เรียน โดยเพื่อนกลุมที่เหลือคอยตรวจสอบ
ความถูกตอง

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ผลตางของ (5 18 - 4 12
5 กับ 2 7 - 3 9 ตรงกับขอใด
) ( 15 20)
7
1. 20 2. 19 3. 11 83
4. 1 120
30 40
(เฉลยคําตอบ 5 18 - 4 12
5 = 41 - 53 = 41 × 3 - 53 × 2 = 123 - 106 = 17
8 12 8 × 3 12 × 2 24 24 24
2 15 - 3 20 = 37
7 9 69 37 × 4 69 × 3 148 207 59
15 - 20 = 15 × 4 - 20 × 3 = 60 - 60 = - 60
(5 18 - 4 125 ) - (2 157 - 3 209 ) = 17 59
24 - (- 60 )
= 17 × 5 59 × 2
24 × 5 + 60 × 2
85 + 118
= 120 120
= 203 83
120 = 1 120
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)
T62
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
แบบฝึกทักษะ 2.1 ข 2. ครูใหนกั เรียนทําแบบฝกทักษะ 2.1 ข ขอ 1.-4.
และ Exercise 2.1B ขอ 2. ในแบบฝกหัด
ระดับ พื้นฐาน
คณิตศาสตร เปนการบาน
1. จงหาผลลัพธ์ของจ�านวนต่อไปนี้
1) 79 + (- 108) 2) (- 95) + 113 3) (-1 35) + (-3 14) ขัน้ สรุป
4) 207 - (- 56) 5) (-4 35) - 87 6) (-3 37) + (-4 116 ) ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ
นักเรียน ดังนี้
2. จงหาผลลัพธ์ของจ�านวนต่อไปนี้
• การบวกเศษส ว นที่ เ ป น ลบและมี ตั ว ส ว น
1) (- 114) + (78 + 13) 2) [(- 78) + 83] + 37 ไมเทากัน ทําอยางไร
3) 47 - (218 + 145 ) 4) (5 23 - 78) - (-2 49) (แนวตอบ เขียนตัวสวนของเศษสวนทีเ่ ปนลบ
ใหเปนจํานวนเต็มบวกกอน จากนัน้ ทําตัวสวน
ระดับ กลาง ของทุกเศษสวนใหเทากัน โดยนิยมทําตัวสวน
3. จงหาผลลัพธ์ของจ�านวนต่อไปนี้ ใหเทากับ ค.ร.น. ของตัวสวนของเศษสวน
1) (-2) - (-3 67) 2) (-3) - (- 56) 3) (-5) - (- 29) ที่นํามาบวกกัน แลวนําตัวเศษมาบวกกัน
4. จงหาผลลัพธ์ของจ�านวนต่อไปนี้ โดยที่ตัวสวนยังคงเทาเดิม)
• ข อ ตกลงของการลบเศษส ว นโดยอาศั ย
1) 37 - 78 - 1 12 2) 5 12 + 3 13 + (-4 16) การบวก เปนอยางไร
3) 3 45 + (-2 101 ) + 6 103 4) 9 78 + (-6 45) + 3 12 (แนวตอบ ตัวตั้ง - ตัวลบ = ตัวตั้ง + จํานวน
5) 5 23 + (-3 16) + (-2 49) 6) (-5 14) + (-2 23) + (-1 12) ตรงขามของตัวลบ)
7) (-1 14) - 2 56 - 4 58 8) (-3 34) - (-1 125 ) - 4 38 ขัน้ ประเมิน
9) (-1 58) - 2 247 - (-3 16) 10) (-3 12) - 3 57 - (-4 13) 1. ครูตรวจใบงานที่ 2.4-2.5
ระดับ ท้าทาย
2. ครูตรวจแบบฝกทักษะ 2.1 ข
3. ครูตรวจ Exercise 2.1B
5. ถ้าน�าเศษส่วนหนึ่งจ�านวนมาบวกกับ (- 47) - (- 79) แล้วได้ผลลัพธ์เป็นจ�านวนเต็มบวกที่มีค่า 4. ครูประเมินการนําเสนอผลงาน
น้อยที่สุด อยากทราบว่าเศษส่วนที่น�ามาบวกเท่ากับเท่าไร 5. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
6. จงหาว่า [17 3 4 5 6
20 + (4 - 1 5)] บวกหรือลบกับ [6 - (- 21)] แล้วท�าให้ผลลัพธ์ที่ได้เป็นเศษส่วน 6. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
ที่เป็นลบ และผลลัพธ์เท่ากับเท่าไร 7. ครูสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค

55

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ความยาวของเสนรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมเปน 16 35 เซนติเมตร ถาความยาวของสองดานเปน 6 10
7 เซนติเมตร และ 5 3
4
เซนติเมตร ตามลําดับ ดานที่สามจะยาวเทากับขอใด
1. 4 13
20 เซนติเมตร 2. 4 11
20 เซนติเมตร
3 เซนติเมตร
3. 4 20 1 เซนติเมตร
4. 4 20
(เฉลยคําตอบ ความยาวเสนรอบรูปเปน 16 35 = 83 5 เซนติเมตร
7 = 67 เซนติเมตร
ความยาวดานที่หนึ่งเปน 6 10 10
3 23
ความยาวดานที่สองเปน 5 4 = 4 เซนติเมตร
ความยาวสองดานรวมกัน = 67 23 67 × 2 23 × 5 134 115 249
10 + 4 = 10 × 2 + 4 × 5 = 20 + 20 = 20 เซนติเมตร
ความยาวดานที่สามเปน = 83 249 83 × 4 249 332 249 83 3
5 - 20 = 5 × 4 - 20 = 20 - 20 = 20 = 4 20 เซนติเมตร
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T63
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใชความรูเ ดิมฯ (Prior Knowledge)
ครูทบทวนเรื่องการคูณเศษสวน โดยใชภาพ 4. การคูณและการหารเศษส่วน
จากหนั ง สื อ เรี ย น หน า 56 พร อ มกั บ อธิ บ าย 1) กำรคูณเศษส่วน
ประกอบ ดังนี้ เมื่อพิจารณาจากภาพจะไดวา พิจารณา 12 ของ 56 หรือ 12 × 56 จากรูปต่อไปนี้
- แบงรูปสี่เหลี่ยมออกเปน 6 สวนเทาๆ กัน 5
แลวระบายสี 5 สวน ใน 6 สวน จะได 6
เศษสวน 56
1
- แบ ง ครึ่ ง รู ป สี่ เ หลี่ ย มทั้ ง 6 รู ป จะได รู ป 2
สี่เหลี่ยมทั้งหมด 12 รูปเทาๆ กัน 5 1 ของ 5 = 5
6 2 6 12
- ส ว นที่ ร ะบายสี มี 10 ส ว น จากทั้ ง หมด
ดังนั้น 12 × 56 = 125
12 สวน
- 12 ของ 56 คือ ครึ่งหนึ่งของสวนที่ระบายสี จะได้ว่า เมื่อก�าหนด ab และ dc เป็นเศษส่วน โดยที่ b, d ≠ 0
ทั้งหมด ผลคูณของ ab และ dc หาได้จาก ab × dc = ba ×× dc
5 หรือกลาวไดวา 1 ของ 5 หรือ
- จะได 12 2 6 ผลคูณของเศษส่วน คือ เศษส่วนซึ่งมีตัวเศษเท่ากับผลคูณของตัวเศษ และตัวส่วน
1×5= 5
2 6 12 เท่ากับผลคูณของตัวส่วน

ขัน้ สอน
รู (Knowing) ตัวอย่างที่ 13

1. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปวา “ผลคูณของ จงหำผลคูณของจ�ำนวนต่อไปนี้


เศษส ว น คื อ เศษส ว นซึ่ ง มี ตั ว เศษเท า กั บ 1) (-2 29) × 35 2) (-1 12) × (-7 15)
ผลคูณของตัวเศษ และตัวสวนเทากับผลคูณ
ของตัวสวน” วิธีท�ำ การคูณเศษส่วนที่เป็นจ�านวนคละ ต้องเขียนให้อยู่ในรูปเศษเกินก่อนแล้วจึงหาผลคูณ
2. ครูทบทวนการเขียนจํานวนคละในรูปเศษเกิน 1) (-2 29) × 35 = (- 209) × 35
และยกตัวอยางที่ 13 ในหนังสือเรียน หนา -4 1
56-57 แลวแสดงวิธที าํ อยางละเอียดบนกระดาน = (-20) × 3
93 × 5 1
จากนั้ น ถามนั ก เรี ย นเรื่ อ งเครื่ อ งหมายของ
= (-4)
3×1
× 1
ผลคูณ ดังนี้
• จากโจทยขอ 1) ผลคูณที่ไดมีเครื่องหมาย = -43
เปนบวกหรือลบ เพราะเหตุใด
(แนวตอบ ผลคูณที่ไดมีเครื่องหมายเปนลบ = -1 13
เพราะจํานวนที่มีเครื่องหมายตางกันเมื่อ 56
นํามาคูณกัน ผลคูณที่ไดจะมีเครื่องหมาย
เปนลบ)

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ขอใดถูกตอง
1. 16 102
34 × (- 128 ) = - 16
5 2. (- 147 203 1
105 ) × (- 245 ) = -1 5
3. 4 23 × (-2 67) × 6 35 = -88 9 × 9 7 × -1 1 = -58
4. (-3 11 ) 9 ( 28)
(เฉลยคําตอบ 1. ผิด เพราะ 16 102 3
34 × (- 128) = - 8
2. ผิด เพราะ (- 147 203
105) × (- 245) =
29 = 1 4
25 25
3. ถูก เพราะ 14 20 33
3 × (- 7 ) × 5 = -88
4. ผิด เพราะ (- 42 88 29 2
11 ) × 9 × (- 28 ) = 38 3
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T64
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
2) (-1 12) × (-7 15) = (- 32) × (- 365) • จากโจทยขอ 2) ผลคูณที่ไดมีเครื่องหมาย
-18 เปนบวกหรือลบ เพราะเหตุใด
= (-3)2 ×× (-36) (แนวตอบ ผลคูณที่ไดมีเครื่องหมายเปนบวก
1 5
= (-3)1 ×× (-18)
5
เพราะจํานวนทีม่ เี ครือ่ งหมายเหมือนกันเมือ่
54 นํามาคูณกัน ผลคูณที่ไดจะมีเครื่องหมาย
= 5
เปนบวก)
= 10 45 ตอบ 3. ครูกลาวเพิม่ เติมวา “ถาผลลัพธทไี่ ดเปนเศษเกิน
ควรเขียนใหอยูในรูปจํานวนคละ และตอบ
ลองท�าดู
ในรูปเศษสวนอยางตํ่า” จากนั้นใหนักเรียนทํา
จงหำผลคูณของจ�ำนวนต่อไปนี้
“ลองทําดู” ในหนังสือเรียน หนา 57 เมื่อเสร็จ
1) (-5 58) × 49 2) (-4 16) × (-2 15)
แลวครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบหัวขอ
“ลองทําดู”
เศษส่วนมีสมบัติการคูณด้วยศูนย์ สมบัติการคูณด้วยหนึ่ง สมบัติการสลับที่การคูณ สมบัติ
การเปลี่ยนหมู่ส�าหรับการคูณ ยังมีสมบัติการแจกแจงที่แสดงความเกี่ยวข้องระหว่างการบวกและ 4. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 2.1 ค ขอ 1.
การคูณเศษส่วนดังตัวอย่างต่อไปนี้ (ขอยอย 1)-3)) จากนัน้ ครูและนักเรียนรวมกัน
เฉลยคําตอบ
ตัวอย่างที่ 14

จงหำผลคูณของ (- 252 ) × 158 × (-2 26) เข้าใจ (Understanding)


วิธีท�ำ (- 252 ) × 158 × (-2 26) = [(- 252 ) × 158] × (- 146) 1. ครูกลาวทบทวนวา “เศษสวนมีสมบัติการคูณ
-1 3 ดวยศูนย สมบัติการคูณดวยหนึ่ง สมบัติการ
= ( (-2) × 15 -14
255× 84 ) × ( 6 ) สลับที่สําหรับการคูณ สมบัติการเปลี่ยนหมู
= ( (-1) × 3
5×4 )×(6)
-14 สําหรับการคูณ และสมบัตกิ ารแจกแจงเหมือน
-3 ) × (-14) กับจํานวนเต็ม ดังนัน้ เพือ่ ความรวดเร็วในการ
= ( 20 6 -7
-1 หาผลลัพธ เราสามารถใชสมบัติดังกลาวนี้
(-3)
= 20 × 6 × (-14)
มาช ว ยในการคํ า นวณได ” จากนั้ น ครู ย ก
10 2
= (-1)10 ×× (-7) ตัวอยางที่ 14 ในหนังสือเรียน หนา 57 แสดง
2 การหาผลคู ณ ของเศษส ว นสามจํ า นวนที่ มี
7
= 20 ตอบ ตัวสวนไมเทากันบนกระดาน
ลองท�าดู
2. ครูใหนกั เรียนเลือกทําหัวขอ “ลองทําดู” จากนัน้
ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ “ลองทําดู”
จงหำผลคูณของ (- 253 ) × 30 2
18 × (-2 24) 3. ครูแจกใบงานที่ 2.6 เรื่อง การคูณเศษสวน
57 ใหนักเรียนทํา จากนั้นครูและนักเรียนรวมกัน
เฉลยคําตอบ ใบงานที่ 2.6

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


ผลคูณของ 1 34 × (-2 17 ) × (-4 45 ) ตรงกับขอใด ครูเนนยํ้ากับนักเรียนวา สมบัติการสลับที่และสมบัติการเปลี่ยนหมูของ
จํานวนเต็มสําหรับการบวกและการคูณ โดยใหนักเรียนยกตัวอยางจํานวนเต็ม
1. -18
ที่แสดงใหเห็นการใชสมบัติการสลับที่ของการบวกและการคูณ และสมบัติ
2. -9
การเปลี่ยนหมูของการบวกและการคูณ จากนั้นครูเนนยํ้าวาการคูณเศษสวนนั้น
3. 9
มีสมบัติการสลับที่และสมบัติการเปลี่ยนหมูเหมือนจํานวนเต็ม ถานักเรียนยัง
4. 18
ไมเขาใจหรือยังมีทักษะการใชสมบัติทั้งสองใหทบทวนเพิ่มเติม
(เฉลยคําตอบ
1 34 × (-2 17 ) × (-4 45 ) = 74 × (- 157 ) × (- 245)
= 18
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)

T65
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
4. ครูยกตัวอยางที่ 15 ในหนังสือเรียน หนา 58 ตัวอย่างที่ 15
โดยแสดงวิ ธีทํ า อย า งละเอี ย ดบนกระดาน จงหำผลลัพธ์ของ [32 × (- 58)] + [43 × (- 58)]
จากนั้นใหนักเรียนทําหัวขอ “ลองทําดู”
5. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ “ลองทําดู” วิธีท�ำ [32 × (- 58)] + [43 × (- 58)] = (32 + 43) × (- 58)
6. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 2.1 ค ขอ 1.
= 9 +6 8 × (-58 )
(ขอยอย 7)) และ Exercise 2.1C ขอ 1. ใน
แบบฝกหัดคณิตศาสตรเปนการบาน = 176 × (-58 )
รู้ (Knowing) = 176 ×× (-5)
8
1. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบแบบฝก = -85
48
ทักษะ 2.1 ค ขอ 1. (ขอยอย 7)) และ Exercise
2.1C ขอ 1. = -1 37
48 ตอบ
2. ครู ใ ห นั ก เรี ย นพิ จ ารณาการหาผลหารของ ลองท�าดู
2 ÷ 3 ในหนังสือเรียน หนา 58 จากนั้น
4 4 จงหำผลลัพธ์ของ [(- 37) × 25] + [27 × 25]
อธิบาย ดังนี้ จากการหาผลหารของ 24 ÷ 34
เราจะคูณตัวเศษและตัวสวนดวย 43 เพื่อทํา
2) กำรหำรเศษส่วน
ใหตัวสวนเปน 1 นักเรียนจะสังเกตเห็นวา
จงพิจารณาการหาผลหารต่อไปนี้
จํานวนที่นํามาคูณเปนสวนกลับของเศษสวน 2
2÷3 = 4
ที่เปนตัวหาร 4 4 3
4
2×4
= 43 34
4×3
คูณตัวเศษและตัวส่วน
2×4
= 413 ด้วย 43 เพื่อท�าให้
ตัวส่วนเป็น 1
= 24 × 43
= 23

58

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ผลลัพธของขอใดเทากัน
1. 45 × 20 1
6 = 12 × 13
1 9 × 60 = 8 × 25
2. 16 135 5 32
3. (- 85 8 3 3 5
12 ) × (- 17 ) × 18 = 4 × (- 6) × (- 9)
8
4. (-3 34) × 9 35 × (-1 29) = 4 12 ×
6
2 27 × 2 14

(เฉลยคําตอบ 1. ไมเทากัน 45 × 20 3 4 8
6 2×3 ; 3 2
9 × 60 8 × 25 ; 1 5
2. ไมเทากัน 16 135 5 32 4 4
3. เทากัน (- 85 8 3 3 5 8 5 5
12 ) × (- 17 ) × 18 = 4 × (- 6 ) × (- 9 ) ; 9 = 9
4. ไมเทากัน (- 15 48 11 9 60 9
4 ) × 5 × (- 9 ) 2 × 27 × 4 ; 44 2
45

ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T66
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
3 3. ครู ใ ห นั ก เรี ย นพิ จ ารณาการหาผลหารของ
และ 3÷2 = 4
4 4 2 3 ÷ 2 ในหนังสือเรียน หนา 59 จากนั้น
4 4 4
3×4 อธิบาย ดังนี้ จากการหาผลหารของ 34 ÷ 24
= 42 24 เราจะคูณตัวเศษและตัวสวนดวย 42 เพื่อทําให
4×2
คูณตัวเศษและตัวส่วน ตัวสวนเปน 1 นักเรียนจะสังเกตเห็นวา จํานวน
3×4
= 412 ด้วย 42 เพื่อท�าให้ ที่นํามาคูณเปนสวนกลับของเศษสวนที่เปน
= 34 × 42
ตัวส่วนเป็น 1 ตัวหารเชนกัน
4. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวา “การหาผลหาร
= 32
ของเศษสวน คือ ผลคูณของเศษสวน โดย
จากการหาผลหารจะเห็นว่า 24 ÷ 34 ≠ 34 ÷ 24
เศษสวนที่เปนตัวคูณตองเปนสวนกลับของ
แสดงว่า การหารจ�านวนที่เป็นเศษส่วนไม่มีสมบัติการสลับที่
ตัวหาร”
จากการหาผลหารข้างต้น เมื่อก�าหนดให้ ab และ dc แทนเศษส่วนใด ๆ ซึ่ง b ≠ 0,
5. ครูใหนักเรียนพิจารณาผลหารของ 24 ÷ 34
c ≠ 0 และ d ≠ 0 พิจารณาผลหารที่เกิดจากการหาร ab ด้วย dc ดังนี้
a และ 34 ÷ 24 พรอมทั้งอธิบายวา “นักเรียน
a÷c = b จะเห็นวามีผลหารไมเทากัน ดังนั้น การหาร
b d c
d จํานวนที่เปนเศษสวนไมมีสมบัติการสลับที่”
a×d
= bc dc
d×c
a×d
= b1c
= ab × dc
ดังนั้น ab ÷ dc = ab × dc

ผลหารของเศษส่วน คือ ผลคูณของเศษส่วน โดยเศษส่วนที่เป็นตัวคูณต้องเป็น


ส่วนกลับของเศษส่วนที่เป็นตัวหาร

59

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


ขอใดมีคาเทากับ 1 ครูควรเปดโอกาสใหนักเรียนไดพูดคุยซักถามกัน เพื่อที่ครูจะนําประเด็น
1. 98 ÷ 81
64 2. 34 ÷ 24
36
คําถามทีน่ า สนใจมาใชในการอธิบาย เนือ่ งจากถาครูใหนกั เรียนถามครู นักเรียน
อาจจะไมกลาถามหรือครูอาจนําประเด็นคําถามที่นาสนใจที่ไดมาใหนักเรียน
3. 35 ÷ 57
25 2 5
4. 3 3 ÷ 6 12 ในชั้นเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นหรือรวมกันแสดงแนวคิด เพื่อหาขอสรุป
1 8 ของประเด็นคําถามดังกลาว
(เฉลยคําตอบ 1. 98 × 64
81 = 89 ไมเทากับ 1
1 9
1 9
2. 34 × 36
24 = 98 ไมเทากับ 1
1 8
5 1
3. 25 7 5
355 × 51 = 5 = 1 เทากับ 1
1 4
4. 11
31 ×
12 = 4
777 7 ไมเทากับ 1

ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T67
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
1. ครูใหนักเรียนจับคูศึกษาตัวอยางที่ 16 ใน ตัวอย่างที่ 16
หนังสือเรียน หนา 60 แลวแลกเปลี่ยนความรู จงหำผลหำรของ (- 14 2
15) ÷ 3
กับคูของตนเอง จากนั้นครูถามคําถาม ดังนี้
• การหารเศษสวนทีเ่ ปนลบดวยเศษสวนทีเ่ ปน วิธีท�ำ (- 14 2 14 3
15) ÷ 3 = (- 15) × 2
-7 1
บวก จะไดผลหารเปนจํานวนบวกหรือลบ = (-14) × 3
155× 2 1
(แนวตอบ ไดผลหารเปนจํานวนลบ)
2. ครูใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” จากนั้นครูและ = (-7)
5×1
× 1

นักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ “ลองทําดู” = - 75 ตอบ


3. ครูใหนักเรียนคูเดิมศึกษาตัวอยางที่ 17 ใน
หนังสือเรียน หนา 60 แลวแลกเปลี่ยนความรู ลองท�าดู
กับคูของตนเอง จากนั้นครูถามคําถาม ดังนี้ จงหำผลหำรของ (- 57) ÷ 25
63
• การหารเศษสวนที่เปนบวกดวยเศษสวนที่
เปนลบ จะไดผลหารเปนจํานวนบวกหรือลบ
(แนวตอบ ไดผลหารเปนจํานวนลบ) ตัวอย่างที่ 17

4. ครูใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” จากนั้นครูและ จงหำผลหำรของ 169 ÷ (-1 38)


นักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ “ลองทําดู”
วิธีท�ำ 169 ÷ (-1 38) = 169 ÷ (- 118)
5. ครูใหนักเรียนคูเดิมศึกษาตัวอยางที่ 18 ใน
หนังสือเรียน หนา 61 แลวแลกเปลี่ยนความรู = 169 × (11-8 )
กับคูของตนเอง 9 × (-8)-1
= 16
6. ครูใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” จากนั้นครูและ 2 × 11
นักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ “ลองทําดู” 9 × (-1)
= 2 × 11
7. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 2.1 ค ขอ 1.
(ขอยอย 4)-6)) และ Exercise 2.1C ขอ 2. = - 229 ตอบ
(ขอยอย 1)-5)) ในแบบฝกหัดคณิตศาสตร
ลองท�าดู
เปนการบาน
จงหำผลหำรของ 367 ÷ (-2 16)
8. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบแบบฝก
ทักษะ 2.1 ค ขอ 1. (ขอยอย 4)-6)) และ
Exercise 2.1C ขอ 2. (ขอยอย 1)-5))
9. ครู ก ล า วทบทวนหลั ก การหาผลหาร ดั ง นี้
“ผลหารของเศษสวน คือ ผลคูณของเศษสวน
60
โดยเศษสวนที่เปนตัวคูณตองเปนสวนกลับ
ของเศษสวนที่เปนตัวหาร”

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูควรเนนยํา้ กับนักเรียนวา การหารเศษสวนจะตองเปลีย่ นเครือ่ งหมายหาร (4 13 × 1 25 ) เปนกี่เทาของ (4 13 - 1 25 )
ใหเปนเครื่องหมายคูณ แลวกลับตัวเศษใหเปนตัวสวน และกลับตัวสวนใหเปน
ตัวเศษ เพื่อยํ้าใหนักเรียนที่มีความเขาใจผิดในการหารเศษสวนไดทบทวน 1. 7 34 2. 5 68 3
3. 2 44 3
4. 48
แลวปรับเปนความเขาใจที่ถูกตอง (เฉลยคําตอบ ( 13 7 13 7
3 × 5) ÷ ( 3 - 5)
= 91 13 × 5 7 × 3
15 ÷ ( 3 × 5 - 5 × 3)
= 91 44
15 ÷ 15
= 91 15
15 × 44
= 91
44
3
= 2 44
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)
T68
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
ตัวอย่างที่ 18 10. ครูกลาวถึงการหารทีม่ ี 2 ขัน้ ตอนวา “ถาโจทย
จงหำผลหำรของ (-2 14) ÷ (-1 56) การหารมีเครื่องหมายวงเล็บ ใหหาผลหาร
ในวงเล็บกอน แลวจึงนําผลหารที่ไดไปหา
วิธีท�ำ (-2 14) ÷ (-1 56) = (- 94) ÷ (- 116) ผลหารกับเศษสวนที่เหลือ” แลวยกตัวอยาง
= ( -94 ) × (11-6 ) ที่ 19 ในหนังสือเรียน หนา 61
-3 11. ครูใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” จากนั้นครูและ
= (-9)4 ×× 11(-6) นักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ “ลองทําดู”
2
= 27
22 12. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 2.1 ค ขอ 1.
= 1 225 ตอบ (ขอยอย 8)) และ Exercise 2.1C ขอ 2.
(ขอยอย 6)-10)) จากนั้นครูและนักเรียน
ลองท�าดู รวมกันเฉลยคําตอบ
13. ครู ใ ห นั ก เรี ย นทํ า “Thinking Time” ใน
จงหำผลหำรของ (-2 56) ÷ (-1 35)
หนังสือเรียน หนา 61
14. ครูแจกใบงานที่ 2.7 เรื่อง การหารเศษสวน
ตัวอย่างที่ 19
ใหนกั เรียนทํา จากนัน้ ครูและนักเรียนรวมกัน
จงหำผลหำรของ [(-7 15) ÷ 34] ÷ 92 เฉลยคําตอบ
วิธีท�ำ [(-7 15) ÷ 34] ÷ 92 = [(- 365) ÷ 34] ÷ 92
= (-36
5)×3×9
4 2 Thinking Time
-4 จงหาผลหาร (-1 13 ) ÷ (-2 25 ) ÷ (-2 13 )
= (-36) × 4 × 2
5 × 3 × 91
= (-4)
5×3×1
× 4 × 2
เฉลย Thinking Time
= -32
15 (-1 13 ) ÷ (-2 25 ) ÷ (-2 13 )
= - 32
15 = [(-1 13 ) ÷ (-2 25 )] ÷ (-2 13 )
= -2 152 ตอบ
= [(- 43 ) ÷ (- 12 7
5 )] ÷ (- 3 )
ลองท�าดู
จงหำผลหำรของ [(-2 58) ÷ 127 ] ÷ 145 = [(- 43 ) × (- 12
5 × -3
)] ( 7 )
= (- 43 ) × (- 12
5 × -3
) ( 7)
61
5
= - 21

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


(-5 23 ) ÷ (-3 121 ) ขอใดถูกตอง จากตัวอยางที่ 18-19 ลองทําดู และ Thinking Time ครูจะตองเนนยํ้า
นักเรียนเกี่ยวกับการหารจํานวนคละดวยวานักเรียนจะตองทําใหจํานวนคละ
1. 62
31 2. 64 33 3. 66
35 4. 68
37 ดังกลาวเปนเศษเกินกอนที่จะดําเนินการหารได ตามหลักการหาผลหารของ
เศษสวน อีกทั้งครูควรเนนยํ้านักเรียนดวยวาการหารเศษสวนที่เปนจํานวนลบ
(เฉลยคําตอบ (-5 23 ) ÷ (-3 12
1 = - 17 ÷ - 37
) ( 3 ) ( 12) ดวยเศษสวนที่เปนจํานวนลบ จะไดผลหารที่เปนจํานวนบวก
4
= (- 17 12
3 ) × (- 37 )
1

= (- 17 4
1 ) × (- 37 )
= 68
37
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)

T69
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
1. ครูใหนกั เรียนจัดกลุม กลุม ละ 4 คน คละความ แบบฝึกทักษะ 2.1 ค
สามารถทางคณิตศาสตร แลวทํากิจกรรม ดังนี้
ระดับ พื้นฐาน
- ใหแตละกลุมสงตัวแทนมาตกลงกันวาจะ
เลือกแกปญหาแบบฝกทักษะ 2.1 ค ขอ 4. 1. จงหาผลลัพธ์ของจ�านวนต่อไปนี้
หรือขอ 5. 1) (- 125 ) × (- 11
18) 2) 58 × (-6 27)
- นักเรียนแตละคนเขียนขั้นตอนแสดงวิธีคิด 3) (-3 6) × (-8 14)
5 4) 37 ÷ (- 109 )
ของกลุมตนเองอยางละเอียดลงในสมุด
5) (-2 58) ÷ 127 6) (-8 45) ÷ (-2 34)
- ใหตัวแทนกลุมมานําเสนอคําตอบหนาชั้น
เรียน โดยเพื่อนกลุมที่เหลือคอยตรวจสอบ 7) (165 × 368) × (-3 124 ) 8) [13 ÷ (-2 35)] ÷ 116
ความถูกตอง
2. ครูใหนกั เรียนทําแบบฝกทักษะ 2.1 ค ขอ 2.-3. ระดับ กลาง

และ Exercise 2.1C ขอ 3. ในแบบฝกหัด 2. จงหาผลลัพธ์ของจ�านวนต่อไปนี้


คณิตศาสตร เปนการบาน 1) (56 + 1 34) × (- 629 ) 2) [(- 23) × (- 98)] - 1 79
3) (- 72) ÷ [207 + (-3 15)] 4) [(-3 12) ÷ 3 14] - 15
ขัน้ สรุป 26
ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ 5) [(-7 12) × 1 18] ÷ (- 38) 6) (-3 6) × [(-1 7) ÷ (-4 23)]
1 3
นักเรียน เชน 3. จงหาผลลัพธ์ของจ�านวนต่อไปนี้
• หลักการหาผลหารของเศษสวน คืออะไร 1) [(-3 15) ÷ 2 13] + (-1 34) 2) (- 58) + [(-2 12) × 65]
(แนวตอบ ผลหารของเศษสวน คือ ผลคูณ
ของเศษสวน โดยเศษสวนที่เปนตัวคูณตอง 3) 6 38 - [(-1 13 2
15) ÷ (-1 5)] 4) (-1 35) × [(- 34) ÷ (-2 14)]
เปนสวนกลับของเศษสวนที่เปนตัวหาร) 5) [(-2 12) ÷ (-3)] × 1 35 6) [(-1 34) - 56] ÷ [(- 11 1
42) × (-9 3)]
ขัน้ ประเมิน ระดับ ท้าทาย

1. ครูตรวจใบงานที่ 2.6-2.7 4. ถ้าน�าเศษส่วนหนึ่งจ�านวนมาคูณ (-1 13) ÷ (- 25) แล้วได้ผลลัพธ์เป็นจ�านวนเต็มลบที่มีค่า


2. ครูตรวจแบบฝกทักษะ 2.1 ค มากที่สุด อยากทราบว่าเศษส่วนที่น�ามาคูณเท่ากับเท่าไร
3. ครูตรวจ Exercise 2.1C 5. จงหาว่า (-6) × (- 127 ) บวกหรือลบกับ (- 121 ) × (-6) แล้วท�าให้ผลลัพธ์ทไี่ ด้เป็นจ�านวน
4. ครูประเมินการนําเสนอผลงาน เต็มบวกและผลลัพธ์เท่ากับเท่าไร
5. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
6. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
7. ครูสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค 62

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


5
การตรวจแบบฝกทักษะ 2.1 และ Exercise 2.1C ครูควรตรวจแบบฝกหัด
16 × (- 29 + 364 ) ÷ 2 12 ขอใดถูกตอง
นักเรียนโดยละเอียดดวยตนเอง เพื่อที่ครูจะไดทราบวานักเรียนมีความเขาใจ
1
1. - 52 1
2. - 62 1
3. - 72 1
4. - 82
ถูกตองหรือไมอยางไร หากพบวานักเรียนยังมีความเขาใจผิดอยูครูควรเขาให
คําแนะนํา หรือคําอธิบาย พรอมทั้งใหแบบฝกหัดเพิ่มเติมแกนักเรียน เพื่อให 5 × -2 + 4 ÷ 21
นักเรียนไดมีความรูทชี่ ัดแจงซึ่งจะนําไปประยุกตใชในหัวขอตอๆ ไป ไดอยาง
(เฉลยคําตอบ 16 ( 9 36) 2
5 × -2 × 4 + 4 ÷ 2 1
ถูกตองแมนยํา = 16 [( 9 × 4) 36] 2
5 × -8 + 4 ÷5
= 16 [( 36) 36] 2
1 1 1
5 × -4 ×2
= 16
4
( 36) 5 1
18
1
= - 72
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T70
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
5. การน�าความรู้เกี่ยวกับเศษส่วนไปใช้ในชีวิตจริง 1. ครู ท บทวนความรู  เ รื่ อ งการบวก การลบ
ในชีวิตประจ�าวันมีสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเศษส่วน ซึ่งนักเรียนต้องใช้ความรู้ของ การคูณ และการหารเศษสวน
เศษส่วนมาด�าเนินการทางคณิตศาสตร์ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ดังตัวอย่างต่อไปนี้ 2. ครูกลาวนําวา “ในชีวติ ประจําวันมีสถานการณ
ตางๆ ที่เกี่ยวของกับเศษสวน ซึ่งนักเรียนตอง
ตัวอย่างที่ 20
ใช ค วามรู  ข องเศษส ว นที่ ไ ด ท บทวนไปแล ว
ในการแข่งขันวิ่งมาราธอนระยะทาง 42 กิโลเมตร ปรากฏว่าชั่วโมงแรกสุเมธวิ่งได้ระยะทาง 13
ข า งต น มาดํ า เนิ น การทางคณิ ต ศาสตร ใ ห
ของระยะทางทั้งหมด ชั่วโมงที่สองวิ่งได้อีก 67 ของระยะทางที่วิ่งได้ในชั่วโมงแรก หลังจากเวลา
เหมาะสมกับสถานการณ”
ผ่านไปสองชั่วโมง จงหาว่าเหลือระยะทางอีกกี่กิโลเมตรจึงจะถึงเส้นชัย
วิธีท�ำ ระยะทางทั้งหมด 42 กิโลเมตร ขัน้ สอน
ชั่วโมงแรกวิ่งได้ระยะทาง 13 ของระยะทางทั้งหมด รู้ (Knowing)
นั่นคือ ชั่วโมงแรกวิ่งได้ระยะทาง 13 × 42 = 14 กิโลเมตร 1. ครูใหนักเรียนจับคูศึกษาจากตัวอยางที่ 20
ชั่วโมงที่สองวิ่งได้ระยะทาง 67 ของระยะทางที่วิ่งได้ในชั่วโมงแรก ในหนังสือเรียน หนา 63 บนกระดาน แลว
นั่นคือ ชั่วโมงที่สองวิ่งได้ระยะทาง 67 × 14 = 12 กิโลเมตร ถามคําถามเพือ่ ใหนกั เรียนวิเคราะหโจทย ดังนี้
ดังนั้น เหลือระยะทางอีก 42 - (14 + 12) = 16 กิโลเมตร ตอบ • โจทยถามอะไร
(แนวตอบ เหลือระยะทางอีกกี่กิโลเมตรจึง
ลองท�าดู จะถึงเสนชัย)
วำยุมีเงินเดือน 28,000 บำท น�ำไปจ่ำยค่ำงวดรถยนต์ 17 ของเงินเดือนทั้งหมด จ่ำยค่ำที่พัก • สิ่งที่โจทยกําหนดใหมีอะไรบาง
และอำหำรอีก 125 ของเงินที่จ่ำยค่ำงวดรถยนต์ เงินส่วนที่เหลือจึงน�ำไปฝำกธนำคำร จงหำว่ำ ( แนวตอบ ในการแข ง ขั น วิ่ ง มาราธอน
วำยุเหลือเงินฝำกธนำคำรกี่บำท ระยะทาง 42 กิโลเมตร ปรากฏวา ชั่วโมง
แรกสุเมธวิ่งไดระยะทาง 13 ของระยะทาง
ตัวอย่างที่ 21
ทั้งหมด และชั่วโมงที่สองวิ่งไดอีก 67 ของ
วิชาญขับรถยนต์ออกจากบ้านไปจังหวัดเชียงราย วันแรกขับรถได้ 35 ของระยะทางทั้งหมด ระยะทางที่วิ่งไดในชั่วโมงแรก)
วันที่สองขับรถได้อีก 58 ของระยะทางที่เหลือ ถ้ารวมสองวันขับรถได้ระยะทาง 629 กิโลเมตร จากนัน้ ครูแสดงวิธที าํ อยางละเอียดใหนกั เรียน
จงหาว่าวิชาญขับรถออกจากบ้านถึงจังหวัดเชียงรายเป็นระยะทางกี่กิโลเมตร ไดศึกษาและสังเกต แลวถามคําถาม ดังนี้
วิธีท�ำ วันแรกขับรถได้ระยะทาง 3 ของระยะทางทั้งหมด • ใชการดําเนินการใดในการแกโจทยปญหา
5
ดังนั้น ระยะทางที่เหลือคิดเป็น 25 ของระยะทางทั้งหมด (แนวตอบ วิธีคูณ วิธีบวก และวิธีลบ)
วันที่สองขับรถได้ระยะทาง 58 ของระยะทางที่เหลือ • ไดคําตอบเทาไร
หรือคิดเป็น 58 × 25 = 14 ของระยะทางทั้งหมด (แนวตอบ เหลือระยะทางอีก 16 กิโลเมตร
สุเมธจึงจะถึงเสนชัย)
จากนั้นใหนักเรียนทํา “ลองทําดู”
63
2. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น เฉลยคํ า ตอบ “ลอง
ทําดู”

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


นักเรียนหองหนึ่งเปนนักเรียนชาย 59 ของนักเรียนทั้งหอง ครูควรเนนขั้นตอนการวิเคราะหโจทยปญหาใหนักเรียน ดังนี้
มีนักเรียนหญิงเปนนักกรีฑาอยู 0.5 ของนักเรียนหญิง ถานักเรียน - อานโจทยใหเขาใจ แลวพิจารณาวาโจทยถามอะไร
หญิงในหองนี้เปนนักกรีฑา 8 คน จะมีนักเรียนชายในหองนี้กี่คน - สิ่งที่โจทยกําหนดใหมีอะไรบาง
1. 18 2. 20 3. 22 4. 24 - เลือกวิธีดําเนินการที่จะแกโจทยปญหา
5
(เฉลยคําตอบ นักเรียนหองหนึง่ เปนนักเรียนชาย 9 ของนักเรียน - หาคําตอบ
ทั้งหอง
แสดงวา มีนักเรียนหญิงเทากับ 49 ของนักเรียนทั้งหอง
มีนักกรีฑาอยู 0.5 ของนักเรียนหญิง = 10 5 ×4=2
9 9
ถานักกรีฑาเปนนักเรียนหญิง 8 คน
นักเรียน 2 สวน คิดเปน 8 คน
ถานักเรียน 9 สวน คิดเปน 82 × 9 = 36 คน
จะไดวา มีนักเรียนชาย = 59 × 36 = 20 คน
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)
T71
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
3. ครูยกตัวอยางที่ 21 ในหนังสือเรียน หนา 63-64 รวมสองวันขับรถได้ระยะทาง 35 + 14 = 17 20 ของระยะทางทั้งหมด
บนกระดาน จากนั้นใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” 17
นั่นคือ รวมสองวันขับรถได้ 20 ของระยะทางทั้งหมด คิดเป็นระยะทาง 629 กิโลเมตร
ในหนังสือเรียน หนา 64
หมายความว่า ระยะทาง 17 ส่วน คิดเป็น 629 กิโลเมตร
4. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ “ลองทําดู”
5. ครูใหนักเรียนจับคูศึกษาตัวอยางที่ 22 ใน ระยะทาง 20 ส่วน คิดเป็น 62917× 20 = 740 กิโลเมตร
หนังสือเรียน หนา 64 แลวถามคําถามเพื่อ ดังนั้น ระยะทางจากบ้านของวิชาญถึงจังหวัดเชียงรายเท่ากับ 740 กิโลเมตร ตอบ
ใหนักเรียนวิเคราะหโจทย ดังนี้ ลองท�าดู
• โจทยถามอะไร
รวีอ่ำนหนังสือเล่มหนึ่ง โดยวันแรกอ่ำนได้ 203 ของจ�ำนวนหน้ำหนังสือทั้งหมด วันที่สองอ่ำน
(แนวตอบ พอคาติดราคาขายกีตารไวกี่บาท)
• สิ่งที่โจทยกําหนดใหมีอะไรบาง ได้อีก 10
17 ของจ�ำนวนหน้ำที่เหลือ ถ้ำรวมสองวันรวีอ่ำนหนังสือได้ 416 หน้ำ จงหำว่ำหนังสือ
( แนวตอบ ร า นขายเครื่ อ งดนตรี ป ระกาศ เล่มนี้มีจ�ำนวนทั้งหมดกี่หน้ำ
ลดราคากีตาร 10 1 ของราคาขายที่ติดไว
ตัวอย่างที่ 22
ถาผูซื้อจายเงินสดพอคาจะลดราคากีตาร
ลงอีก 15 1 ของราคาขายที่ลดลงครั้งแรก ร้านขายเครื่องดนตรีแห่งหนึ่งประกาศลดราคากีตาร์ 101 ของราคาขายที่ติดไว้ และถ้าผู้ซื้อจ่าย
และผูซื้อจายเงินสดซื้อกีตารเปนเงิน 4,872 เงินสด พ่อค้าจะลดราคากีตาร์ลงอีก 151 ของราคาขายที่ลดครั้งแรก ถ้าผู้ซื้อจ่ายเงินสดซื้อกีตาร์
บาท) เป็นเงิน 4,872 บาท อยากทราบว่าพ่อค้าติดราคาขายกีตาร์ไว้กี่บาท
จากนัน้ ครูแสดงวิธที าํ อยางละเอียดใหนกั เรียน วิธีท�ำ ร้านขายเครื่องดนตรีประกาศลดราคากีตาร์ 101 ของราคาขายที่ติดไว้
ไดศึกษาและสังเกต แลวถามคําถาม ดังนี้
แสดงว่า ราคาขายหลังจากการลดราคาครั้งแรกเป็น 109 ของราคาขายที่ติดไว้
• ใชการดําเนินการใดในการแกโจทยปญหา
ถ้าผู้ซื้อจ่ายเงินสด พ่อค้าจะลดราคาอีก 151 ของราคาขายที่ลดครั้งแรก
(แนวตอบ วิธคี ณู วิธลี บ และการเทียบบัญญัติ
ไตรยางศ) หรือคิดเป็น 151 × 109 = 503 ของราคาขายที่ติดไว้
• ไดคําตอบเทาไร ผู้ซื้อจ่ายเงินสดซื้อกีตาร์ราคา 109 - 503 = 4250 ของราคาขายที่ติดไว้
(แนวตอบ พอคาติดราคาขายกีตารไว 5,800 นั่นคือ ถ้าซื้อเงินสดพ่อค้าจะขายกีตาร์ให้ราคา 42
บาท) 50 ของราคาขายที่ติดไว้
คิดเป็นเงิน 4,872 บาท
หมายความว่า 42 ส่วนของราคาขายที่ติดไว้ คิดเป็นเงิน 4,872 บาท
50 ส่วนของราคาขายที่ติดไว้ คิดเป็นเงิน 4,87242× 50
= 5,800 บาท
ดังนั้น พ่อค้าติดราคาขายกีตาร์ ไว้เป็นเงิน 5,800 บาท ตอบ

64

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


เพื่อเชื่อมโยงทักษะทางคณิตศาสตรกับชีวิตประจําวันในศตวรรษที่ 21 นายธันซื้อเสื้อ 38 ของเงินที่มีอยู ซื้อกางเกง 45 ของเงินที่เหลือ
ครูอาจเพิ่มทักษะการใชเทคโนโลยีในการคิดคํานวณ โดยการสอนหลักการ ยังเหลือเงินอีก 40 บาท เดิมนายธันมีเงินทั้งหมดเทาไร
กดเครื่องคิดเลขในการคํานวณ หรือสอนการใชเครื่องคิดเลขพื้นฐานที่นักเรียน (เฉลยคําตอบ ใหนายธันมีเงินทั้งหมด 1 สวน
นํามาประยุกตใชในชีวิตประจําวันได ซื้อเสื้อ 38 ของเงินที่มีอยู = 38 × 1 = 38
∴ เหลือเงิน 1 - 3 = 5
8 8
ซื้อกางเกง 5 ของเงินที่เหลือ = 45 × 58 = 12
4
∴ ธันซื้อเสื้อและกางเกงเปนเงิน 3 + 1 = 7
8 2 8
เหลือเงินคิดเปนเศษสวน 1 - 78 = 18
เงิน 1 สวน คิดเปน 40 บาท
เงิน 8 สวน คิดเปน 8 × 40 = 320 บาท
ดังนั้น เดิมนายธันมีเงินทั้งหมด 320 บาท)

T72
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
ลองท�าดู 6. ครูใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” ในหนังสือเรียน
พ่อค้ำติดประกำศลดรำคำไวโอลิน 17 ของรำคำขำยที่ติดไว้ และถ้ำผู้ซื้อจ่ำยเงินสดพ่อค้ำจะ หนา 65 จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันเฉลย
ลดรำคำไวโอลินลงอีก 103 ของรำคำขำยที่ลดครั้งแรก ถ้ำผู้ซื้อจ่ำยเงินสดซื้อไวโอลินเป็นเงิน คําตอบ “ลองทําดู”
1,854 บำท อยำกทรำบว่ำพ่อค้ำติดรำคำขำยไวโอลินไว้กี่บำท
เข้าใจ (Understanding)

แบบฝึกทักษะ 2.1 ง 1. ครูแจกใบงานที่ 2.8 เรื่อง การนําความรูเกี่ยว


กับเศษสวนไปใชในชีวิตจริง ใหนักเรียนทํา
ระดับ พื้นฐาน จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ
1. กิ๊บซื้อริบบิ้นมา 6 23 เมตร ตัดไปท�าโบห่อของขวัญ 2 ชิ้น ของขวัญชิ้นแรกต้องใช้ริบบิ้น ใบงานที่ 2.8
2 16 เมตร ของขวัญชิ้นที่สองต้องใช้ริบบิ้น 3 49 เมตร จงหาว่ากิ๊บจะมีริบบิ้นเหลือกี่เมตร 2. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 2.1 ง ขอ 1.-3.
2. วิมลใช้เวลาท�าการบ้านวิชาคณิตศาสตร์ 1 15 ชั่วโมง วิชาวิทยาศาสตร์ 34 ชั่วโมง และวิชา จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ
ภาษาอังกฤษ 12 ชั่วโมง วิมลใช้เวลาท�าการบ้านทั้งหมดกี่ชั่วโมง แบบฝกทักษะ 2.1 ง ขอ 1.-3.
3. สุพรรณิการ์อ่านหนังสือเล่มหนึ่งซึ่งมี 480 หน้า วันแรกอ่านได้ 13 ของจ�านวนหน้าทั้งหมด 3. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 2.1 ง ขอ 4-8
วันที่สองอ่านได้ 38 ของจ�านวนหน้าที่เหลือ จงหาว่าหนังสือเล่มนี้เหลือกี่หน้าที่สุพรรณิการ์ และ Exercise 2.1D ขอ 1.-8. ในแบบฝกหัด
ยังไม่ได้อ่าน คณิตศาสตรเปนการบาน โดยครูและนักเรียน
ระดับ กลาง
วิเคราะหแนวทางการดําเนินการแกโจทยปญ  หา
ร่วมกันกอน
4. โรงเรียนแห่งหนึ่ง มีนักเรียนชาย 900 คน และ 25 ของนักเรียนทั้งหมดเป็นนักเรียนหญิง
จงหาว่าโรงเรียนแห่งนี้มีนักเรียนทั้งหมดกี่คน
5. แจงมีเงินอยู่ 2,000 บาท ซื้อกระเปาไป 14 ของเงินที่แจงมีอยู่ ซื้อรองเท้า 25 ของเงินที่เหลือ
จากที่ซื้อกระเปา และให้น้อง 13 ของเงินที่เหลือจากซื้อรองเท้า แจงจะเหลือเงินกี่บาท
6. ชายคนหนึ่งแบ่งเงินให้บุตรคนโต 101 ของเงินทั้งหมด ให้บุตรคนที่สอง 10 27 ของเงินที่เหลือ
จากแบ่งให้บตุ รคนโต และเงินส่วนทีเ่ หลือจากให้บตุ รคนทีส่ องให้บตุ รคนเล็ก ถ้าบุตรคนทีส่ อง
ได้รับเงิน 4,560 บาท บุตรคนเล็กได้รับเงินกี่บาท
7. ห้องน�้ารูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าแห่งหนึ่งมีด้านยาวยาว 4 13 เมตร ด้านกว้างยาว 2 23 เมตร
ถ้าต้องการปูกระเบื้องรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ซึ่งยาวด้านละ 16 เมตร จงหาว่าต้องใช้กระเบื้อง
ทั้งหมดอย่างน้อยกี่แผ่น
8. กวินขับรถยนต์จากกรุงเทพฯ เพื่อไปอุตรดิตถ์ โดยขับได้ระยะทาง 60 34 กิโลเมตร ใช้เวลา
2 ชั่วโมง ถ้าระยะทางทั้งหมดจากกรุงเทพฯ ถึงอุตรดิตถ์เท่ากับ 486 กิโลเมตร กวินต้อง
3
ใช้เวลาในการเดินทางกี่ชั่วโมง
65

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


3 วันที่สองซื้อ 2 วันที่สามซื้ออีก 1
แมคาซื้อสมโอ วันแรกซื้อ 10 เพื่อใหนักเรียนไดเห็นวาความรู เรื่อง เศษสวน สามารถนํามาปรับใชใน
5 4
นับผลไมทั้งสามวันได 38 ผล แมคาตั้งใจซื้อสมโอทั้งหมดกี่ผล ชีวติ ประจําวันไดอยางไรบาง ครูควรเปดโอกาสใหนกั เรียนไดแสดงความคิดเห็น
1. 38 ผล 2. 40 ผล 3. 42 ผล 4. 44 ผล ของตน โดยครูอาจเพียงแตตงั้ ประเด็นคําถามและใหนกั เรียนในชัน้ เรียนรวมกัน
(เฉลยคําตอบ ซื้อผลไมวันแรก 10 วันที่สอง 5 วันที่สาม 14
3 2 แสดงความคิดเห็น
รวมซื้อทั้งสามวัน = 10 3 +2+1
5 4
= (3 × 2) + (2 × 4) + (1 × 5)
20
6
= 20 + 8 + 5
= 19
20
ใหผลไมทั้งหมดมี 20 สวน ผลไม 19 สวน คิดเปน 38 ผล
ผลไม 20 สวน คิดเปน 38
19 × 20 = 40 ผล
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)

T73
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
ครูใหนกั เรียนจัดกลุม กลุม ละ 4 คน คละความ กิจกรรม คณิตศาสตร์
สามารถทางคณิตศาสตร แลวทํากิจกรรม ดังนี้
- ใหนกั เรียนแตละกลุม รวมกันศึกษากิจกรรม ให้นกั เรียนแก้โจทย์ปญ
ั หาโดยใช้บาร์โมเดล (Bar model)
คณิตศาสตร “การแกโจทยปญหาโดยใช ตัวอย่าง ตะวันต้องการซื้อกลอง 1 ชุด จากร้านขายเครื่องดนตรีแห่งหนึ่ง ซึ่งพ่อค้าติดประกาศ
บารโมเดล (Bar model)” ในหนังสือเรียน ลดราคากลอง 13 ของราคาขายที่ติดไว้ และถ้าผู้ซื้อจ่ายเงินสดจะลดราคากลองลงอีก 37 ของราคา
หนา 66 ขายที่ลดครั้งแรก ถ้าตะวันซื้อกลองด้วยเงินสดจะต้องจ่ายเงิน 14,888 บาท อยากทราบว่าพ่อค้า
- นักเรียนแตละคนเขียนขั้นตอนแสดงวิธีหา ติดราคาขายกลองไว้กี่บาท
คําตอบของกลุมตนเองอยางละเอียด ราคาขายกลองที่ติดประกาศไว้
- ใหตัวแทนกลุมมานําเสนอคําตอบหนาชั้น
เรียน โดยเพื่อนกลุมที่เหลือคอยตรวจสอบ ภาพที่ 1
ความถูกตอง ราคาที่ลดครั้งแรก ราคาขายหลังจากลดราคาครั้งแรก

ขัน้ สรุป ราคาขายหลังจากลดราคาครั้งแรก

ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ ภาพที่ 2
นักเรียน ดังนี้ ราคาที่ลด 14,888
• ขัน้ ตอนการวิเคราะหโจทยปญ หา มีอะไรบาง เมื่อจ่ายเงินสด
( แนวตอบ 1) อ า นโจทย ใ ห เ ข า ใจ แล ว จากภาพที่ 2 จะได้ว่า
พิจารณาวาโจทยถามอะไร 2) สิ่งที่โจทย 4 หน่วย เท่ากับ 14,888 บาท
กําหนดใหมีอะไรบาง 3) เลือกวิธีดําเนิน 1 หน่วย เท่ากับ 14,888
4 = 3,722 บาท
การที่จะแกโจทยปญหา 4) หาคําตอบ) ดังนั้น ราคาขายกลองหลังจากลดราคาครั้งแรก คือ
• การดํ า เนิ น การในการแก โ จทย ป  ญ หา 7 หน่วย เท่ากับ 3,722 × 7 = 26,054 บาท
เกี่ยวกับเศษสวน มีอะไรบาง จากภาพที่ 1 จะได้ว่า
(แนวตอบ การบวก การลบ การคูณ การหาร 2 หน่วย เท่ากับ 26,054 บาท
และการเทียบบัญญัติไตรยางศ) 1 หน่วย เท่ากับ 26,054
2 = 13,027 บาท
ขัน้ ประเมิน ดังนั้น ราคาขายกลองที่ติดประกาศไว้ คือ
3 หน่วย เท่ากับ 13,027 × 3 = 39,081 บาท
1. ครูตรวจใบงานที่ 2.8
ค�าถาม
2. ครูตรวจแบบฝกทักษะ 2.1 ง
3. ครูตรวจ Exercise 2.1D วายุขับรถยนต์จากบ้านไปจังหวัดภูเก็ต โดยวันแรกขับรถได้ 25 ของระยะทางทั้งหมด
4. ครูประเมินการนําเสนอผลงาน วันที่สองขับรถได้อีก 18 ของระยะทางที่เหลือ ถ้าวันที่สองวายุขับรถได้ระยะทาง 455 กิโลเมตร
5. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล อยากทราบว่าวายุขับรถจากบ้านถึงภูเก็ตเป็นระยะทางกี่กิโลเมตร
6. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
66
7. ครูสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค

เฉลย กิจกรรมคณิตศาสตร์
ระยะทางทั้งหมด
ภาพที่ 1
วันแรกขับรถได ระยะทางที่เหลือของวันแรก
วันที่สองขับรถได 55 กิโลเมตร
ภาพที่ 2
ระยะทางที่เหลือของวันแรก
จากภาพที่ 2 จะไดวา 1 หนวย เทากับ 55 กิโลเมตร นั่นคือ 8 หนวย เทากับ 8 × 55 = 440 กิโลเมตร
ดังนั้น ระยะที่เหลือของวันแรก เทากับ 440 กิโลเมตร
จะไดวา 5 หนวย เทากับ 5 ×3440 = 733.33 กิโลเมตร
ดังนั้น วายุตองขับรถจากบานถึงภูเก็ตเปนระยะทาง 733.33 กิโลเมตร

T74
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
2.2 ทศนิยม 1. ครู ท บทวนความสั ม พั น ธ ข องเศษส ว นกั บ
ทศนิยมไมเกินสามตําแหนง
ในชีวิตประจ�าวันนักเรียนจะพบจ�านวนในรูปทศนิยมเสมอ เช่น น�้าหนักสิ่งของ ความสูง
ป้ายแสดงราคาสินค้า และราคาน�้ามัน เป็นต้น 2. ครูกลาววา “ทศนิยมที่กลาวไปขางตนเปน
ทศนิยมที่เปนบวกทั้งหมด ตอไปเราจะเรียน
นักเรียนทราบมาแล้วว่าเศษส่วนสามารถเขียนในรูปของทศนิยมได้ เช่น
ทศนิ ย มที่ เ ป น ลบ” จากนั้ น ครู ย กตั ว อย า ง
7
10 เขียนให้อยู่ในรูปทศนิยมเป็น 0.7 อ่านว่า ศูนย์จุดเจ็ด เศษสวนที่เปนลบ 5 จํานวน แลวใหนักเรียน
232 เขียนให้อยู่ในรูปทศนิยมเป็น 2.32 อ่านว่า สองจุดสามสอง สงตัวแทน 5 คน ออกมาเขียนใหอยูในรูป
100
425
3 1000 เขียนให้อยู่ในรูปทศนิยมเป็น 3.425 อ่านว่า สามจุดสี่สองห้า ทศนิยม
3. ครู อ ธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม ว า “เราสามารถเขี ย น
จะพบว่าเศษส่วนที่เขียนในรูปของทศนิยมที่กล่าวไปข้างต้นเป็นจ�านวนบวกทั้งหมด แต่ใน แสดงทศนิยมบนเสนจํานวนไดเชนเดียวกับ
ระดับชั้นนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้ทศนิยมที่เป็นจ�านวนลบ โดยพิจารณาเศษส่วนที่เป็นลบเมื่อน�ามา จํานวนเต็มและเศษสวน นั่นคือ ทศนิยมที่
เขียนในรูปทศนิยมจะได้ทศนิยมที่เป็นลบ เช่น เปนบวกจะอยูทางขวาของศูนย และทศนิยม
- 109 เขียนให้อยู่ในรูปทศนิยมเป็น -0.9 อ่านว่า ลบศูนย์จุดเก้า ที่เปนลบจะอยูทางซายของศูนย”
- 391
100 เขียนให้อยู่ในรูปทศนิยมเป็น -3.91 อ่านว่า ลบสามจุดเก้าหนึ่ง
437 เขียนให้อยู่ในรูปทศนิยมเป็น -2.437 อ่านว่า ลบสองจุดสี่สามเจ็ด ขัน้ สอน
-2 1000 รู้ (Knowing)
สามารถแสดงทศนิยมบนเส้นจ�านวนได้เช่นเดียวกับจ�านวนเต็มและเศษส่วน กล่าวคือ 1. ครูใหนักเรียนจับคูศึกษาจํานวนตรงขามของ
ทศนิยมที่เป็นบวกจะอยู่ทางขวาของศูนย์ และทศนิยมที่เป็นลบจะอยู่ทางซ้ายของศูนย์ ดังนี้ ทศนิยม ในหนังสือเรียน หนา 67 แลวแลก
เปลี่ยนความรูกับคูของตนเอง จากนั้นครูถาม
-3 -2.5 -2 -1.5 -1 -0.5 0 0.5 1 1.5 2 2.5 3 คําถาม ดังนี้
• จํานวนตรงขามของทศนิยม หมายถึงอะไร
จ�ำนวนตรงข้ำมของทศนิยม (แนวตอบ หมายถึง ทศนิยมใดๆ ที่อยูหาง
นักเรียนทราบมาแล้วว่า จ�านวนตรงข้ามของจ�านวนเต็ม คือ จ�านวนที่อยู่ห่างจาก 0 เป็น จาก 0 เปนระยะเทาๆ กันบนเสนจํานวน)
ระยะเท่า ๆ กันบนเส้นจ�านวน ส�าหรับจ�านวนตรงข้ามของทศนิยมใช้หลักการเดียวกันกับจ�านวน • เมื่อ a เปนทศนิยมใดๆ เขียนแทนจํานวน
ตรงข้ามของจ�านวนเต็ม กล่าวคือ จ�านวนตรงข้ามของทศนิยม หมายถึง ทศนิยมใด ๆ ที่อยู่ ตรงขามของ a ไดอยางไร
ห่างจาก 0 เป็นระยะเท่า ๆ กันบนเส้นจ�านวน (แนวตอบ -a)
เมื่อ a เป็นทศนิยมใด ๆ เขียนแทนจ�านวนตรงข้ามของ a ด้วยสัญลักษณ์ -a

67

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


จากโจทย -13.18 + (-5.32) มีคาเทากับจํานวนตรงขามของ การเรียนการสอนในเรื่องนี้ ครูผูสอนควรยกตัวอยางสถานการณในชีวิต
คําตอบ ขอใดถูกตอง ประจําวันที่นักเรียนพบเห็นไดงายและเกี่ยวของกับตัวนักเรียน ควรใหนักเรียน
1. 8.14 ไดถายทอดประสบการณที่เกี่ยวของกับการใชทศนิยม เพื่อสรางความเขาใจ
2. 18.50 และสามารถนําไปประยุกตในชีวิตประจําวัน
3. -8.14
4. -18.50
(เฉลยคําตอบ ขอ 2. ถูก เพราะ -13.18 + (-5.32) = -18.50
แต โ จทย ถ ามจํ า นวนตรงข า มของคํ า ตอบ คื อ 18.50 ดั ง นั้ น
คําตอบขอนี้ คือ 18.50)

T75
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
2. ครู ใ ห นั ก เรี ย นคู  เ ดิ ม ศึ ก ษาจํ า นวนตรงข า ม จงพิจารณาทศนิยมบนเส้นจ�านวนต่อไปนี้
ของทศนิยม ในหนังสือเรียน หนา 68 แลว จ�านวนตรงข้าม
แลกเปลี่ยนความรูกับคูของตนเอง จากนั้นครู
ยกตัวอยางทศนิยมที่เปนบวกมา 1 จํานวน -3 -2.5 -2 -1.5 -1 -0.5 0 0.5 1 1.5 2 2.5 3
และทศนิ ย มที่ เ ป น ลบมา 1 จํ า นวน แล ว จ�านวนตรงข้าม
ให นั ก เรี ย นเขี ย นแสดงทศนิ ย มและจํ า นวน จากเส้นจ�านวน จะเห็นว่า
ตรงข า มของทศนิ ย มนั้ น บนเส น จํ า นวนลง -1.5 เป็นจ�านวนตรงข้ามของ 1.5 และ 1.5 เป็นจ�านวนตรงข้ามของ -1.5
ในสมุด นั่นคือ -1.5 = -(1.5) และ 1.5 = -(-1.5)
3. ครูใหนักเรียนศึกษาคาสัมบูรณของทศนิยม -2.5 เป็นจ�านวนตรงข้ามของ 2.5 และ 2.5 เป็นจ�านวนตรงข้ามของ -2.5
ในหนั ง สื อ เรี ย น หน า 68 จากนั้ น ครู ถ าม นั่นคือ -2.5 = -(2.5) และ 2.5 = -(-2.5)
คําถาม ดังนี้ ค่ำสัมบูรณ์ของทศนิยม
• คาสัมบูรณของทศนิยม หมายถึงอะไร นักเรียนทราบมาแล้วว่า ค่าสัมบูรณ์ของจ�านวนเต็มใด ๆ คือ ระยะห่างระหว่างจ�านวนเต็มนัน้
(แนวตอบ หมายถึง ระยะหางระหวางทศนิยม กับศูนย์บนเส้นจ�านวน ส�าหรับค่าสัมบูรณ์ของทศนิยมใช้หลักการเดียวกันกับค่าสัมบูรณ์ของ
นั้นกับศูนยบนเสนจํานวน) จ�านวนเต็ม กล่าวคือ ค่าสัมบูรณ์ของทศนิยมใด ๆ หมายถึง ระยะห่างระหว่างทศนิยมนั้นกับศูนย์
• เมือ่ a เปนทศนิยมใดๆ เขียนแทนคาสัมบูรณ บนเส้นจ�านวน
ของ a ไดอยางไร
(แนวตอบ a) เมื่อ a เป็นทศนิยมใด ๆ เขียนแทนค่าสัมบูรณ์ของ a ด้วยสัญลักษณ์ ∙a∙
4. ครูยกตัวอยางทศนิยมที่เปนบวกมา 1 จํานวน
และทศนิยมที่เปนลบมา 1 จํานวน แลวให จงพิจารณาทศนิยมบนเส้นจ�านวนต่อไปนี้
นักเรียนสงตัวแทน 2 คน ออกมาเขียนคา
สัมบูรณของทศนิยมนั้น -1.5 -1.25 -1 -0.75 -0.5 -0.25 0 0.25 0.5 0.75 1 1.25 1.5
จากเส้นจ�านวน จะเห็นว่า
1.25 อยู่ห่างจาก 0 เป็นระยะ 1.25 หน่วย กล่าวได้ว่า ค่าสัมบูรณ์ของ 1.25
เท่ากับ 1.25
นั่นคือ ∙1.25∙ = 1.25
-1.25 อยู่ห่างจาก 0 เป็นระยะ 1.25 หน่วย กล่าวได้ว่า ค่าสัมบูรณ์ของ -1.25
เท่ากับ 1.25
นั่นคือ ∙-1.25∙ = 1.25

68

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


การเนนยํ้าความรูในเรื่องของคาสัมบูรณ เพื่อใหผูเรียนไดเชื่อมโยงความรู จากโจทย -13.18 + (-5.32) มีคาเทากับขอใด
กับชีวิตประจําวัน ครูอาจตั้งประเด็นคําถามกับนักเรียนวา “อะไรบางในชีวิต 1. 8.14
ประจําวันที่เปนคาสัมบูรณได” โดยคําตอบจะสามารถตอบไดหลากหลาย ซึ่ง 2. 18.50
ตรวจสอบความถูกตองไดโดยยึดนิยามของคาสัมบูรณเปนเกณฑตัดสิน 3. -8.14
4. -18.50
(เฉลยคําตอบ ขอ 2. ถูก เพราะ
-13.18 + (-5.32)  = -13.18 - 5.32 
= -18.50 
= 18.50)

T76
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
1
1. ค่าประจ�าหลักทศนิยม 1. ครูใหนักเรียนพิจารณาตารางแสดงคาประจํา
นักเรียนทราบค่าประจ�าหลักของเลขโดดในหลักต่าง ๆ ของจ�านวนเต็มมาแล้ว เช่น หลักหน่วย หลักของเลขโดดในหลักตางๆ ของจํานวนเต็ม
มีค่าประจ�าหลักเป็น 1 หลักสิบมีค่าประจ�าหลักเป็น 10 เป็นต้น เพื่อเป็นการเชื่อมโยงให้เห็น และทศนิยมในหนังสือเรียน หนา 69
ค่าประจ�าหลักของจ�านวนเต็มและทศนิยม ให้นักเรียนพิจารณาตารางแสดงค่าประจ�าหลักของ 2. ครูยกตัวอยางที่ 23-24 ในหนังสือเรียน หนา
เลขโดดในหลักต่าง ๆ ของจ�านวนเต็ม และทศนิยมต่อไปนี้ 69 และใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” จากนั้นครู
และนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ “ลองทําดู”
ค่ำประจ�ำหลัก
จ�ำนวนเต็ม ทศนิยม ลงมือทํา (Doing)
... หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย หลักส่วนสิบ หลักส่วนร้อย หลักส่วนพัน หลักส่วนหมื่น ... 1. ครูแจกใบงานที่ 2.9 เรื่อง คาของเลขโดด
... 100 10 1 1 1 1 1 ... ในแต ล ะหลั ก ของทศนิ ย ม ให นั ก เรี ย นทํ า
10 100 1,000 10,000
จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ
2. ครูใหนักเรียนทํา Exercise 2.2A ขอ 1.-3.
ตัวอย่างที่ 23
ในแบบฝ ก หั ด คณิ ต ศาสตร จากนั้ น ครู แ ละ
จงเขียน 275.75 ให้อยู่ในรูปกระจำย นักเรียนรวมกันเฉลย Exercise 2.2A ขอ 1.-3.
วิธีท�ำ 275.75 = (2 × 100) + (7 × 10) + (5 × 1) + (7 × 101 ) + (5 × 100
1 ) ตอบ 3. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 2.2 ก ขอ 1.
และขอ 3. เปนการบาน
ลองท�าดู
ขัน้ สรุป
จงเขียนจ�ำนวนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปกระจำย
1) 132.84 2) 372.346 ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ
นักเรียน ดังนี้
• จาก 0.5 เลขโดด 5 อยูในหลักใด และมีคา
ตัวอย่างที่ 24
ประจําหลักเทาไร
จงเขียน (3 × 100) + (5 × 10) + (5 × 101 ) + (7 × 100
1 ) ให้อยู่ในรูปทศนิยม (แนวตอบ อยูใ นหลักสวนสิบ มีคา ประจําหลัก
1 หรือ 0.1)
เปน 10
วิธีท�ำ (3 × 100) + (5 × 10) + (5 × 101 ) + (7 × 100
1 ) = 350.57 ตอบ
• ทศนิยมเขียนในรูปกระจายไดอยางไร
(แนวตอบ เขียนในรูปการบวกของเลขโดด
ลองท�าดู
ในหลักตางๆ คูณกับคาประจําหลัก)
จงเขียนจ�ำนวนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปทศนิยม
1) (5 × 100) + (3 × 10) + (7 × 101 ) + (4 × 100
1) ขัน้ ประเมิน
2) (7 × 1,000) + (2 × 100) + (6 × 10) + (2 × 1001 ) + (3 × 1 ) 1. ครูตรวจใบงานที่ 2.9
1,000 2. ครูตรวจแบบฝกทักษะ 2.2 ก
3. ครูตรวจ Exercise 2.2A
69 4. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
5. ครูสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู


0.504 มีความหมายตรงกับขอใด 1 คาประจําหลัก (Place Value) คือ คาที่กําหนดตามตําแหนงของตัวเลข
1 + 4× 1
1. (5 × 10 ในระบบเลขฐานสิบคาประจําหลัก เชน หลักหนวย (1 หรือ 10 0) หลักสิบ
) ( 100) (10 หรือ 101) หลักรอย (102) หลักพัน (103) หลักหมื่น (104) เปนตน
2. (5 × 1 2) + (4 × 100
1
) มีขอควรจํา คือ คาประจําหลักของตัวเลขที่อยูทางซายมือเปนสิบเทาของคา
10
ประจําหลักของตัวเลขที่อยูถัดไปทางขวามือ เชน หลักรอยเปน 10 เทาของ
1 + 4× 1
3. (5 × 10 ) ( 1,000) หลักสิบ เปนตน
4. (5 × 1 2) + (4 × 10,0001
)
10
(เฉลยคําตอบ 0.504 เขียนในรูปการกระจายได
1 1 1
(5 × 10) + (0 × 10 0) + (4 × 1,000 )
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T77
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
1. ครู ท บทวนการเขี ย นแสดงทศนิ ย มบนเส น 2. การเปรียบเทียบทศนิยม
จํานวน โดยเขียนเสนจํานวนบนกระดาน ในการเปรียบเทียบทศนิยมสองจ�านวน เพื่อดูว่าทศนิยมใดน้อยกว่าหรือมากกว่าทศนิยม
2. ครูสรุปวา “นักเรียนรูมาแลววาทศนิยมที่เปน อีกจ�านวนหนึ่ง นักเรียนจะเห็นได้ง่ายโดยใช้เส้นจ�านวน ดังนี้
จํานวนบวกจะอยูท างขวาของศูนย และทศนิยม
ทีเ่ ปนจํานวนลบจะอยูท างซายของศูนย ดังนัน้ -3 -2.5 -2 -1.5 -1 -0.5 0 0.5 1 1.5 2 2.5 3
บนเสนจํานวนทศนิยมที่อยูทางขวาจะมีคา พิจารณาต�าแหน่งของทศนิยมบนเส้นจ�านวน จะเห็นว่า
มากกวาทศนิยมที่อยูทางซายเสมอ”
0.5 อยู่ทางขวำของ -1.5 แสดงว่า 0.5 > -1.5
-2.5 อยู่ทางซ้ำยของ -1.5 แสดงว่า -2.5 < -1.5
ขัน้ สอน
รู้ (Knowing) บนเส้นจ�านวน ทศนิยมที่อยู่ทางขวาจะมีค่ามากกว่าทศนิยมที่อยู่ทางซ้ายเสมอ
1. ครูยกตัวอยางการเขียนแสดงทศนิยม 0.5,
-1.5 บนเสนจํานวน ตามในหนังสือเรียน หนา 70 จากการเปรี ย บเที ย บทศนิ ย มโดยใช้ เ ส้ น จ� า นวน นั ก เรี ย นสามารถเขี ย นทศนิ ย มบน
แลวชี้ใหนักเรียนเห็นวา 0.5 อยูทางขวาของ เส้นจ�านวนได้อย่างง่ายเมื่อก�าหนดค่าของทศนิยมเป็นจ�านวนไม่มาก แต่ถ้านักเรียนต้องการ
-1.5 แสดงวา 0.5 มากกวา -1.5 หรือ -1.5 เปรียบเทียบทศนิยมที่มีค่ามากขึ้น การใช้เส้นจ�านวนเปรียบเทียบจึงไม่สะดวกในการเขียน
ทศนิยมลงบนเส้นจ�านวน ดังนั้น นักคณิตศาสตร์ได้น�าหลักการเปรียบเทียบโดยใช้เลขโดดกับ
นอยกวา 0.5 เขียนแทนดวย 0.5 > -1.5 หรือ
ค่าประจ�าหลักของจ�านวนนับมาใช้ในการเปรียบเทียบทศนิยม ดังนี้
-1.5 < 0.5
2. ครูยกตัวอยางทศนิยมหนึง่ ตําแหนงทีใ่ กลเคียง 1) กำรเปรียบเทียบทศนิยมที่เป็นจ�ำนวนบวก เนื่องจากทศนิยมประกอบด้วยสองส่วน
กันมา 3 จํานวน บนกระดาน ใหนักเรียนชวย คือ ส่วนทีเ่ ป็นจ�านวนเต็ม และส่วนทีเ่ ป็นทศนิยม ดังนัน้ ให้เปรียบเทียบส่วนทีเ่ ป็นจ�านวนเต็มก่อน
ครู เ ขี ย นแสดงทศนิ ย มบนเส น จํ า นวน แล ว ถ้าไม่เท่ำกัน สามารถสรุปได้วา่ ทศนิยมใดน้อยกว่าหรือมากกว่าทศนิยมอีกจ�านวนหนึง่
เปรี ย บเที ย บว า ทศนิ ย มใดมี ค  า มากที่ สุ ด ถ้าเท่ำกัน ให้เปรียบเทียบส่วนทีเ่ ป็นทศนิยม โดยพิจารณาเลขโดดคูแ่ รกในต�าแหน่ง
และทศนิยมใดมีคานอยที่สุด เดียวกัน จ�านวนที่เลขโดดในต�าแหน่งนั้นมากกว่าจะเป็นจ�านวนที่มากกว่าทศนิยมอีกจ�านวนหนึ่ง
(แนวตอบ ทศนิยมที่อยูทางขวาสุดเปนทศนิยม หลักการเปรียบเทียบทศนิยมที่เป็นจ�านวนบวก นักเรียนสามารถท�าได้ดังนี้
ที่มีคามากที่สุด และทศนิยมที่อยูทางซายสุด 1. เขียนจ�านวนทั้งสองไว้บรรทัดละ 1 จ�านวน โดยให้จุดทศนิยมของแต่ละจ�านวน
เปนทศนิยมที่มีคานอยที่สุด) ตรงกัน
3. ครู ก ล า วถึ ง ข อ จํ า กั ด ในการเปรี ย บเที ย บ 2. เปรียบเทียบเลขโดดในต�าแหน่งเดียวกันจากซ้ายไปขวา พิจารณาเลขโดดคู่แรกที่
ทศนิ ย มโดยใช เ ส น จํ า นวน ดั ง นี้ “การ ไม่เท่ากัน โดยจ�านวนทีเ่ ลขโดดในต�าแหน่งนัน้ มีคา่ มากกว่าจะเป็นจ�านวนทีม่ ากกว่า และถ้าเลขโดด
เปรี ย บเที ย บทศนิ ย มที่ มี ค  า มากขึ้ น การใช ในแต่ละต�าแหน่งเดียวกันของทั้งสองจ�านวนเท่ากันแสดงว่าจ�านวนทั้งสองเท่ากัน
เสนจํานวนเปรียบเทียบจะไมสะดวกในการ
เขี ย นทศนิ ย มเหล า นั้ น ลงบนเส น จํ า นวน
เราจึงใชหลักการเปรียบเทียบโดยใชเลขโดด
70
กับคาประจําหลักของจํานวนนับมาใชในการ
เปรียบเทียบทศนิยมแทน”

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูเนนยํ้าเรื่องคาสัมบูรณของจํานวนเต็ม และเชื่อมโยงความรูกับเรื่อง ขอใดเรียงจํานวนจากนอยไปหามากไดถูกตอง
ทศนิยมและเศษสวน และเนนยํ้าการใชสัญลักษณ   เพื่อสรางความคุนเคย 1. -3.267, -3.276, -3.672, -3.627
เพราะวานักเรียนจะตองนําไปใชในการศึกษาตอไป 2. -3.267, -3.276, -3.672, -3.726
3. -3.762, -3.726, -3.672, -3.276
4. -3.726, -3.762, -3.672, -3.276
(เฉลยคําตอบ ขอ 3. ถูก เพราะจากเสนจํานวน จํานวนลบจะอยู
ทางดานซายของศูนย จํานวนที่อยูหางจากศูนยมากจะมีคานอย
ลงตามลําดับ ดังนั้น -3.762 < -3.726 < -3.672 < -3.276
จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T78
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
ตัวอย่างที่ 25 4. ครูอธิบายวิธีการเปรียบเทียบทศนิยมที่เปน
จงเปรียบเทียบทศนิยม 0.12853 กับ 0.1292 จํานวนบวก ดังนี้
วิธีท�ำ ขั้นที่ 1 เขียนทศนิยมไว้บรรทัดละ 1 จ�านวน โดยให้จุดทศนิยมตรงกัน 1) ถ า จํ า นวนเต็ ม หน า ทศนิ ย มไม เ ท า กั น
0.12853 สามารถสรุปไดวา ทศนิยมใดมีคา มากกวา
0.1292 หรือมีคานอยกวากัน
ขั้นที่ 2 พิจารณาเลขโดดแต่ละคู่จากซ้ายไปขวา 2) ถ า จํ า นวนเต็ ม หน า ทศนิ ย มเท า กั น ให
0. 1 2 8 5 3 เปรียบเทียบเลขโดดคู่แรกที่ไม่เท่ากัน เปรี ย บเที ย บส ว นที่ เ ป น ทศนิ ย ม โดยมี
0. 1 2 9 2 จ�านวนใดที่เลขโดดมีค่ามากกว่าจะเป็น หลักการเปรียบเทียบ ดังนี้
ขั้นที่ 3 เปรียบเทียบจ�านวนทั้งสอง จ�านวนที่มากกว่า ขั้นที่ 1 เขียนจํานวนทั้งสองไวบรรทัดละ
จะได้ว่า 8 < 9 1 จํานวน โดยใหจุดทศนิยมของแตละ
ดังนั้น 0.12853 < 0.1292 ตอบ
จํานวนตรงกัน
ลองท�าดู ขั้นที่ 2 เปรียบเทียบเลขโดดในตําแหนง
จงเปรียบเทียบทศนิยมในแต่ละข้อต่อไปนี้ เดียวกันจากซายไปขวา เลขโดดคูแรกที่
1) 15.36 กับ 16.34 ไมเทากัน เลขโดดใดมีคา มากกวา ทศนิยม
2) 0.53478 กับ 0.53468 นั้นจะมีคามากกวา
5. ครูใหนักเรียนจับคูศึกษาตัวอยางที่ 25 ใน
2) กำรเปรียบเทียบทศนิยมทีเ่ ป็นจ�ำนวนลบ ให้พจิ ารณาค่าสัมบูรณ์ของทศนิยมทัง้ สอง หนังสือเรียน หนา 71 แสดงวิธกี ารเปรียบเทียบ
จ�านวน ดังนี้ เศษสวนของทศนิยม โดยบอกขั้นตอนในการ
(1) ทศนิยมใดมีคา่ สัมบูรณ์มากกว่า ทศนิยมนัน้ จะมีคา่ น้อยกว่าทศนิยมอีกจ�านวนหนึง่ เปรียบเทียบอยางละเอียดบนกระดาน จากนัน้
(2) ถ้าค่าสัมบูรณ์ของทั้งสองทศนิยมเท่ากัน แสดงว่าทศนิยมทั้งสองเท่ากัน ใหนักเรียนทําหัวขอ “ลองทําดู” เมื่อเสร็จแลว
ตัวอย่างที่ 26 ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ “ลองทําดู”
จงเปรียบเทียบทศนิยมในแต่ละข้อต่อไปนี้ 6. ครูอธิบายหลักการเปรียบเทียบทศนิยมที่เปน
1) -0.234 กับ -0.243 จํานวนลบ ดังนี้
2) -2.5734 กับ -2.5735 1) ทศนิยมใดทีม่ คี า สัมบูรณมากกวา ทศนิยม
นั้นจะมีคานอยกวา
วิธีท�ำ 1) ค่าสัมบูรณ์ของ -0.234 คือ 0.234
ค่าสัมบูรณ์ของ -0.243 คือ 0.243 2) ถ า ค า สั ม บู ร ณ ข องทศนิ ย มทั้ ง สองมี ค  า
ซึ่งพบว่า 0.243 > 0.234 เทากัน แสดงวาทศนิยมทัง้ สองมีคา เทากัน
ดังนั้น -0.243 < -0.234
เขาใจ (Understanding)
1. ครูยกตัวอยางที่ 26 ขอ 1) ในหนังสือเรียน
71
หนา 71

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


ขอใดเรียงลําดับจํานวนจากมากไปหานอย 1. ในขณะที่ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบลองทําดู ครูควรจะเปด
1. -0.835 > -0.538 > -0.385 โอกาสใหนักเรียนทุกคนแสดงคําตอบที่มีความแตกตางในโจทยนั้น โดยที่ครู
2. -0.354 > -0.534 > -0.453 จะตองยังไมเฉลยคําตอบที่ถูกตองเพื่อหาวาในขอนี้นักเรียนมีความเขาใจผิด
3. -1.001 > -1.012 > -0.002 อยางไร รวมถึงครูควรใหโอกาสนักเรียนแสดงแนวคิดของตน เพื่อที่ครูจะได
4. -5.192 > -5.291 > -5.921 ทราบวานักเรียนมีความเขาใจผิดอยางไร แลวครูจะไดแกไขความเขาใจผิดนั้น
(เฉลยคําตอบ ขอ 4. ถูก เพราะจํานวนลบยิ่งหางจากศูนยมาก ไดทันที อีกทั้งหากนักเรียนแสดงแนวคิดที่ผิด ครูจะตองไมทําใหนักเรียนเกิด
จะมีคานอยลง ดังนั้น -5.192 > -5.291 > -5.921 จึงเปนคําตอบ ความกดดัน หรือทอ หรือมองวายาก โดยครูจะตองเสริมแรงแกนักเรียน
ที่ถูกตอง) เพื่อจะสรางเจตคติที่ดีของนักเรียนกับวิชาคณิตศาสตร
2. ครูควรเนนยํ้าเรื่อง “หลักการเปรียบเทียบทศนิยมที่เปนจํานวนลบ”
เพื่อปกปองความเขาใจผิดที่อาจเกิดจากความสับสนของหลักการเปรียบเทียบ
ทศนิยมที่เปนจํานวนบวกและทศนิยมที่เปนจํานวนลบ

T79
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
2. ครูยกตัวอยางที่ 26 ขอ 2) ในหนังสือเรียน 2) ค่าสัมบูรณ์ของ -2.5734 คือ 2.5734
หนา 72 จากนั้นใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” ใน ค่าสัมบูรณ์ของ -2.5735 คือ 2.5735
หนังสือเรียน หนา 72 เมื่อเสร็จแลวครูและ ซึ่งพบว่า 2.5734 < 2.5735
นักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ “ลองทําดู” ดังนั้น -2.5734 > -2.5735 ตอบ
3. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 2.2 ก ขอ 2.
แลวครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ ลองท�าดู
4. ครูกลาวถึงการเรียงลําดับทศนิยมวา สามารถ จงเปรียบเทียบทศนิยมในแต่ละข้อต่อไปนี้
ทําไดโดยใชการเปรียบเทียบทศนิยมทีละคู 1) -0.747 กับ -0.743
จากนั้ น ยกตั ว อย า งที่ 27 ในหนั ง สื อ เรี ย น 2) -7.3216 กับ -7.3246
หน า 72 บนกระดาน แล ว เปรี ย บเที ย บ
ทศนิยมทีละคู
ตัวอย่างที่ 27
5. ครูใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” จากนั้นครูและ
นักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ “ลองทําดู” จงเรียงล�ำดับจ�ำนวนต่อไปนี้จำกน้อยไปมำก -1.106, -1.116, -1.108
วิธีท�ำ เนื่องจาก 1.106 < 1.108 < 1.116
ลงมือทํา (Doing) จะได้ว่า -1.106 > -1.108 > -1.116
1. ครูแจกใบงานที่ 2.10 เรื่อง การเปรียบเทียบ ดังนั้น เขียนเรียงล�าดับจ�านวนจากน้อยไปมาก ได้ดังนี้
และเรียงลําดับทศนิยม ใหนกั เรียนทํา จากนัน้ -1.116, -1.108, -1.106 ตอบ
ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบใบงานที่
ลองท�าดู
2.10
2. ครูใหนักเรียนทํา Exercise 2.2A ขอ 4.-6. จงเรียงล�ำดับจ�ำนวนต่อไปนี้จำกน้อยไปมำก
ในแบบฝ ก หั ด คณิ ต ศาสตร จากนั้ น ครู แ ละ 1) -0.07, -0.069, -0.073
นักเรียนรวมกันเฉลย Exercise 2.2A ขอ 4.-6. 2) -12.34, -21.53, -12.71
3. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 2.2 ก ขอ 4.
เปนการบาน

72

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูควรเปดโอกาสใหนักเรียนไดพูดคุยปรึกษากันเพื่อซักถามขอสงสัยหรือ ขอใดเรียงลําดับจากโจทย -599.895 -599.811 -599.817
ประเด็นปญหา หรือพูดคุยเพื่อใหรูสึกผอนคลายลดความกดดัน ซึ่งจะชวยให -599.095 โดยเรียงจากมากไปหานอย
การเรียนการสอนลดความตึงเครียด และจะทําใหนักเรียนรูสึกไมนาเบื่อ อีกทั้ง 1. -599.811 > -599.817 > -599.895 > -599.095
ในการซักถามกันนี้ครูอาจจะไดปญหาคําถามที่นาสนใจมาใหนักเรียนในหอง 2. -599.895 > -599.817 > -599.811 > -599.095
รวมกันอภิปรายหรือขยายเปนความรูเสริมเพิ่มเติมไดอีกดวย หรือครูอาจจะได 3. -599.095 > -599.811 > -599.817 > -599.895
ประเด็นที่จะนําไปศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนใหกับผูเรียน 4. -599.895 > -599.811 > -599.817 > -599.095
ไดอีกดวย (เฉลยคําตอบ ขอ 3. ถูก เพราะเรียงลําดับจากมากไปหานอย
ไดถูกตอง โดยจํานวนติดลบที่มีคามากจะเปนจํานวนนับที่มีคา
นอย)

T80
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ
แบบฝึกทักษะ 2.2 ก นักเรียน ดังนี้
• การเปรี ย บเที ย บทศนิ ย มบนเส น จํ า นวน
ระดับ พื้นฐาน
มีหลักการอยางไร
1. จงเขียนจ�ำนวนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปทศนิยม (แนวตอบ บนเสนจํานวน ทศนิยมทีอ่ ยูท างขวา
1) (8 × 1,000) + (6 × 1) + (3 × 101 ) + (1 × 1,000
1 ) จะมีคามากกวาทศนิยมที่อยูทางซายเสมอ)
2) (4 × 10,000) + (1 × 1,000) + (5 × 1001 ) + (7 × 1 ) + (3 × 1 ) • การเปรียบเทียบทศนิยมทีเ่ ปนบวก มีหลักการ
1,000 100,000 อยางไร
3) (3 × 100) + (2 × 10) + (6 × 101 ) + (4 × 10,000
1 ) + (5 × 1 )
100,000 (แนวตอบ ขั้ น ที่ 1 เขี ย นจํ า นวนทั้ ง สองไว
2. จงเติมเครื่องหมำย < หรือ > ลงใน ที่ก�ำหนดให้ เพื่อท�ำให้ประโยคเป็นจริง บรรทัดละ 1 จํานวน โดยใหจุดทศนิยมของ
แตละจํานวนตรงกัน
1) -5.072 -5.063
ขั้นที่ 2 เปรียบเทียบเลขโดดใน
2) -24.923 -24.913 ตําแหนงเดียวกันจากซายไปขวา เลขโดด
3) -38.69 -38.68 คูแรกที่ไมเทากัน เลขโดดใดมีคามากกวา
4) -101.01 -110.10 ทศนิยมนั้นจะมีคามากกวา)
• การเปรียบเทียบทศนิยมทีเ่ ปนลบ มีหลักการ
ระดับ กลาง
อยางไร
3. จงเขียนจ�ำนวนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปทศนิยม (แนวตอบ 1. ทศนิ ย มใดที่ มี ค  า สั ม บู ร ณ
1) (5 × 101 ) + (6 × 1,000
1 ) + (2 × 1 )
100,000 มากกวา ทศนิยมนั้นจะมีคานอยกวา
1 1
2) (7 × 10) + (2 × 100) + (3 × 1,000 1 ) + (6 × 1 ) 2. ถ า ค า สั ม บู ร ณ ข องทศนิ ย ม
10,000
ทั้งสองมีคาเทากัน แสดงวาทศนิยมทั้งสอง
4. จงเรียงล�ำดับจ�ำนวนต่อไปนี้จำกน้อยไปมำก มีคาเทากัน)
1) -0.0303, -0.003, -0.033
2) -18.72, -19.15, -91.24 ขัน้ ประเมิน
3) -0.6, -0.4, -0.7 1. ครูตรวจใบงานที่ 2.10
4) -0.04, -0.045, -0.054 2. ครูตรวจแบบฝกทักษะ 2.2 ก
5) -15.62, -15.79, -15.74 3. ครูตรวจ Exercise 2.2A
6) -28.73, -28.74, -28.72 4. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
5. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
6. ครูสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค
73

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


ขอใดเรียงลําดับ -51.91 -51.901 -51.9101 -51.19903 เพื่อใหการวัดผลและประเมินผลใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด สวนหนึ่งครู
จากนอยไปหามากถูกตอง จะตองแนใจวานักเรียนไดทําใบงาน แบบฝกทักษะ และแบบฝกหัดดวยตนเอง
1. -51.9101 < -51.91 < -51.901 < -51.19903 โดยครูอาจจะเนนยํ้ากับนักเรียนเสมอวาใหลองทําดวยตนเองผิดไมเปนไร
2. -51.19903 < -51.9101 < -51.901 < -51.91 และครูจะตองไมทําใหนักเรียนรูสึกกดดันหรืออาย หากทําไมไดหรือทําผิด
3. -51.19903 < -51.901 < -51.91 < -51.9101 ดวยการใหแรงเสริม หรือกระตุนใหนักเรียนคิดโดยการใชคําถามชี้นํา เพื่อให
4. -51.9101 < -51.901 < -51.91 < -51.19903 การวัดและการประเมินผลเปนไปตามสภาพจริงสอดคลองกับศักยภาพและ
(เฉลยคําตอบ ขอ 1. ถูก เพราะเรียงลําดับจากนอยไปหามาก ความสามารถจริงๆ ของนักเรียน
ไดถูกตอง โดยจํานวนติดลบที่มีคานอยจะเปนจํานวนนับที่มีคา
มาก)

T81
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
1. ครู ท บทวนการบวกทศนิ ย มด ว ยทศนิ ย มที่ 3. การบวก การลบ การคูณ และการหารทศนิยม
นั ก เรี ย นได เ รี ย นมาแล ว ในระดั บ ชั้ น ประถม 1) กำรบวกทศนิยม
ศึกษา (1) กำรบวกทศนิยมที่เป็นจ�ำนวนบวก
2. ครูยกตัวอยางที่ 28 ในหนังสือเรียน หนา 74 การบวกทศนิยมที่เป็นจ�านวนบวกใช้หลักการเดียวกับการบวกจ�านวนเต็ม ซึ่งจะ
บนกระดาน พรอมกับเนนยํ้าวา “การบวก ต้องน�าจ�านวนที่อยู่ในหลักเดียวกันมาบวกกัน กล่าวคือ การบวกทศนิยมที่เป็นจ�านวนบวกให้น�า
ทศนิยมใหนําจํานวนที่อยูในตําแหนงเดียวกัน ทศนิยมที่อยู่ในต�าแหน่งเดียวกันมาบวกกัน จะได้ผลบวกเป็นจ�านวนบวก
มาบวกกัน” หลังจากนั้นใหนักเรียนลองทํา ตัวอย่างที่ 28
หั ว ข อ “ลองทํ า ดู ” ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น
จงหำผลบวกของ 28.83 + 110.694
เฉลยคําตอบ
วิธีท�ำ 28.830 +
ขัน้ สอน 110.694
รู้ (Knowing) 139.524
1. ครูกลาวถึงหลักการบวกทศนิยมที่เปนจํานวน ดังนั้น 28.83 + 110.694 = 139.524 ตอบ
ลบวา “ใหนําคาสัมบูรณของทศนิยมทั้งสอง ลองท�าดู
มาบวกกัน แลวเขียนผลบวกเปนจํานวนลบ” จงหำผลบวกของ 19.72 + 146.592
2. ครูยกตัวอยางที่ 29 ในหนังสือเรียน หนา 74
บนกระดาน (2) กำรบวกทศนิยมที่เป็นจ�ำนวนลบ
3. ครู อ ธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม ว า “นํ า ค า สั ม บู ร ณ ข อง การบวกทศนิยมที่เป็นจ�านวนลบใช้หลักการเดียวกับการบวกจ�านวนเต็ม กล่าวคือ
-12.61 บวกกับคาสัมบูรณของ -29.754 แลว การบวกทศนิยมที่เป็นจ�านวนลบ ให้น�าค่าสัมบูรณ์มาบวกกัน แล้วเขียนผลบวกเป็นจ�านวนลบ
เขียนผลบวกที่ไดเปนจํานวนลบ จะไดผลบวก ตัวอย่างที่ 29
เทากับ -42.364” จากนัน้ ใหนกั เรียนตรวจสอบ จงหำผลบวกของ (-12.61) + (-29.754)
ผลบวกที่ไดในหนังสือเรียน หนา 74 วิธีท�ำ เนื่องจาก ∙-12.61∙ = 12.61 และ ∙-29.754∙ = 29.754
4. ครูสรุปเปนกรณีทั่วไปสําหรับการบวกทศนิยม ¤³Ôµน‹ารÙ้
12.610 +
ที่เปนจํานวนลบดังในกรอบ “คณิตนารู” ใน ให้ a, b แทนทศนิยมบวกใด ๆ
29.754 แล้ว (-a) + (-b) = -(a + b)
หนั ง สื อ เรี ย น หน า 74 แล ว ให นั ก เรี ย นทํ า 42.364
“ลองทํ า ดู ” จากนั้ น ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น ดังนั้น (-12.61) + (-29.754) = -42.364 ตอบ
เฉลยคําตอบ
ลองท�าดู
จงหำผลบวกของ (-21.38) + (-35.721)
74

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูควรเนนยํ้าใหนักเรียนระมัดระวังการหาผลบวกของทศนิยมโดยเขียน คําตอบของ 13.27 + 2.143 และ (-5.46) + (-27.342) มีคา
จํานวนทั้งสอง ใหจุดทศนิยมตรงกัน และเลขโดดในแตละหลักใหตรงกัน แลว เทากับขอใด
ทบทวนเรื่อง คาสัมบูรณ 1. 3.470, -32.802
2. 34.703, 32.802
3. 15.423, 32.802
4. 15.413, -32.802
(เฉลยคําตอบ ขอ 4. ถูก เพราะ
13.270+ และ -5.460 +
2.143 -27.342
15.413 -32.802)

T82
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
(3) กำรบวกทศนิยมทีเ่ ป็นจ�ำนวนบวกด้วยทศนิยมทีเ่ ป็นจ�ำนวนลบหรือกำรบวกทศนิยม 5. ครูกลาวถึงหลักการบวกทศนิยมที่เปนบวก
ที่เป็นจ�ำนวนลบด้วยทศนิยมที่เป็นจ�ำนวนบวก ดวยทศนิยมที่เปนลบ หรือการบวกทศนิยม
การบวกทศนิยมในหัวข้อนี้ ใช้หลักการเดียวกับการหาผลบวกของจ�านวนเต็ม ที่เปนลบดวยทศนิยมที่เปนบวกวา “ใหนํา
กล่าวคือ การบวกทศนิยมทีเ่ ป็นจ�านวนบวกด้วยทศนิยมทีเ่ ป็นจ�านวนลบหรือการบวกทศนิยมทีเ่ ป็น ทศนิ ย มที่ มี ค  า สั ม บู ร ณ ม ากกว า ลบด ว ย
จ�านวนลบด้วยทศนิยมที่เป็นจ�านวนบวก ให้น�าทศนิยมที่มีค่าสัมบูรณ์มากกว่าลบด้วยทศนิยมที่มี ทศนิยมที่มีคาสัมบูรณนอยกวา แลวเขียน
ค่าสัมบูรณ์น้อยกว่า แล้วเขียนผลลัพธ์ตามทศนิยมที่มีค่าสัมบูรณ์มากกว่า ผลลัพธตามทศนิยมที่มีคาสัมบูรณมากกวา”
6. ครูยกตัวอยางที่ 30 ขอ 1) ในหนังสือเรียน
ตัวอย่างที่ 30 หนา 75 บนกระดาน
จงหำผลบวกของทศนิยมในแต่ละข้อต่อไปนี้ 7. ครูอธิบายเพิม่ เติมวา “หลังจากนําคาสัมบูรณ
1) 29.754 + (-12.61) ของ 29.754 ลบดวยคาสัมบูรณของ -12.61
2) (-29.754) + 12.61 จะไดผลลัพธเทากับ 17.144” จากนั้นให
นั ก เรี ย นตรวจสอบผลบวกที่ ไ ด ใ นหนั ง สื อ
วิธีท�ำ 1) เนื่องจาก ∙29.754∙ = 29.754 และ ∙-12.61∙ = 12.61
เรียน หนา 75
29.754
- 8. ครูยกตัวอยางที่ 30 ขอ 2) ในหนังสือเรียน
12.610
หนา 75 บนกระดาน
17.144
9. ครูอธิบายเพิม่ เติมวา “หลังจากนําคาสัมบูรณ
ดังนั้น 29.754 + (-12.61) = 17.144 ของ -29.754 ลบดวยคาสัมบูรณของ 12.61
2) เนื่องจาก ∙-29.754∙ = 29.754 และ ∙12.61∙ = 12.61 แลวเขียนผลลัพธที่ไดเปนจํานวนลบ จะได
29.754 ผลลัพธเปน -17.144” จากนั้นใหนักเรียน
-
12.610 ตรวจสอบผลบวกทีไ่ ดในหนังสือเรียน หนา 75
17.144 10. ครูใหนักเรียนสังเกตเครื่องหมายของผลลัพธ
ดังนั้น 12.61 + (-29.754) = -17.144 ตอบ เครื่องหมายของตัวตั้ง และเครื่องหมายของ
ตั ว บวก จากตั ว อย า งที่ ค รู แ สดงวิ ธีทํ า ว า
ลองท�าดู มีความสัมพันธกันอยางไร แลวใหนักเรียน
จงหำผลบวกของทศนิยมในแต่ละข้อต่อไปนี้ สงตัวแทนมา 3 คน ออกมาแสดงความคิดเห็น
1) (-17.65) + 86.723 หนาหองวาเหมือนหรือตางกันอยางไร
2) (-25.762) + 18.37 ( แนวตอบ ผลลั พ ธ ที่ ไ ด จ ะมี เ ครื่ อ งหมาย
เหมือนกับทศนิยมที่มีคาสัมบูรณมากกวา)
11. ใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” จากนั้นครูและ
นักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ “ลองทําดู”
75

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


คําตอบของ (42.49 - 8.97) + (7.463 - 6.73) มีคาเทากับ ครูควรเนนยํ้าใหนักเรียนระมัดระวังการเขียนตอบผลบวกของทศนิยม
ขอใด ที่มีทั้งจํานวนบวกและจํานวนลบ โดยใชความสมเหตุสมผลของจํานวนและ
1. 34.203 คาสัมบูรณ
2. 34.253
3. 34.153
4. 34.143
(เฉลยคําตอบ ขอ 2. ถูก เพราะ
42.49 - 7.463 - และ 33.520+
8.97 6.730 0.733
33.52 0.733 34.253)

T83
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
1. ครูสรุปเปนกรณีทั่วไปสําหรับการบวกทศนิยม ¤³Ôµน‹ารÙ้
ที่เปนบวกดวยทศนิยมที่เปนลบ หรือการบวก
ให้ a, b แทนทศนิยมบวกใด ๆ แล้ว a + (-b) = a - b เมื่อ a ≥ b
ทศนิ ย มที่ เ ป น ลบด ว ยทศนิ ย มที่ เ ป น บวกดั ง a + (-b) = -(b - a) เมื่อ b > a
ในกรอบ “คณิตนารู” ในหนังสือเรียน หนา 76 (-a) + b = b - a เมื่อ b > a
2. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 2.2 ข ขอ 1. (-a) + b = -(a - b) เมื่อ a ≥ b
จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ
2) กำรลบทศนิยม
3. ครูแจกใบงานที่ 2.11 เรื่อง การบวกทศนิยม
ใหนักเรียนทําเปนการบาน การหาผลลบของทศนิยมใด ๆ ใช้ข้อตกลงเดียวกับการหาผลลบของจ�านวนเต็ม คือ
ตัวตั้ง - ตัวลบ = ตัวตั้ง + จ�านวนตรงข้ามของตัวลบ
รู้ (Knowing)
1. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบใบงานที่ ตัวอย่างที่ 31

2.11 เรื่อง การบวกทศนิยม จงหำผลลบของทศนิยมในแต่ละข้อต่อไปนี้


2. ครูทบทวนหลักการลบจํานวนเต็มวาใชการ 1) 38.42 - (-37.5) 2) (-48.923) - (-96.04)
บวกดวยจํานวนตรงขาม และการลบทศนิยม วิธีท�ำ 1) 38.42 - (-37.5) = 38.42 + 37.5 จ�านวนตรงข้ามของ -37.5
ก็ใชหลักการเดียวกันกับการลบจํานวนเต็ม 38.42 คือ 37.5
+
คื อ ตั ว ตั้ ง - ตั ว ลบ = ตั ว ตั้ ง + จํ า นวน 37.50
ตรงขามของตัวลบ 75.92
3. ครูยกตัวอยางที่ 31 ขอ 1)-2) ในหนังสือเรียน ดังนั้น 38.42 - (-37.5) = 75.92
หนา 76 2) (-48.923) - (-96.04) = (-48.923) + 96.04 จ�านวนตรงข้ามของ -96.04
4. ครูอธิบายเพิ่มเติมวา “หลังจากนําคาสัมบูรณ คือ 96.04
เนื่องจาก ∙-48.923∙ = 48.923 และ ∙96.04∙ = 96.04
ของ 96.04 ลบดวยคาสัมบูรณของ -48.923 96.040
จะได ผ ลลั พ ธ เ ท า กั บ 47.117 ซึ่ ง ผลลั พ ธ มี -
48.923
เครื่ อ งหมายตามทศนิ ย มที่ มี ค  า สั ม บู ร ณ 47.117
มากกวา” จากนั้นใหนักเรียนตรวจสอบผลลบ ดังนั้น (-48.923) - (-96.04) = 47.117 ตอบ
ที่ไดในหนังสือเรียน หนา 76
ลองท�าดู
เข้าใจ (Understanding) จงหำผลลบของทศนิยมในแต่ละข้อต่อไปนี้
ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 32 และ “คณิต 1) 43.78 - (-18.93)
นารู” แลวใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” เมื่อเสร็จแลว 2) (-42.524) - (-105.75)
ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ ในหนังสือ
76
เรียน หนา 77

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครู ค วรเน น ยํ้ า ให นั ก เรี ย นระมั ด ระวั ง การหาผลบวกและผลลบทศนิ ย ม ผลตางของ (54.8 - 47.69) กับ (8.09 - 3.02) เทากับขอใด
ที่มีตําแหนงไมเทากันวาตองเขียนจํานวนทั้งสองใหแตละหลักตรงกันและ 1. -4.00
จุดทศนิยมตรงกัน 2. 2.04
3. 4.00
4. 12.18
(เฉลยคําตอบ (54.8 - 47.69) - (8.09 - 3.02)
= 7.11 - 5.07
= 2.04
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)

T84
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
ตัวอย่างที่ 32 1. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 2.2 ข ขอ 2.
จงหำผลลัพธ์ของ (51.4 + 325.87) - (-248.71) และขอ 5. จากนั้นครูและนักเรียนรวมกัน
วิธีท�ำ (51.4 + 325.87) - (-248.71) = (51.4 + 325.87) + 248.71 เฉลยคําตอบ
51.40 2. ครูแจกใบงานที่ 2.12 เรื่อง การลบทศนิยม
+ ¤³Ôµน‹ารÙ้ ใหนักเรียนทําเปนการบาน
325.87
377.27 ให้ a, b แทนทศนิยมบวกใด ๆ
248.71
+ แล้ว a - b = a + (-b) ขัน้ สรุป
625.98 ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ
ดังนั้น (51.4 + 325.87) - (-248.71) = 625.98 ตอบ นักเรียน ดังนี้
• การบวกและการลบทศนิ ย ม มี ห ลั ก การ
ลองท�าดู สําคัญอยางไร
จงหำผลลัพธ์ของ (42.08 + 349.23) - (-193.47) (แนวตอบ ตองตั้งจุดทศนิยมของตัวตั้งและ
ตั ว บวกหรื อ ตั ว ลบให ต รงกั น จากนั้ น นํ า
3) กำรคูณทศนิยม ทศนิยมที่อยูตําแหนงเดียวกันมาบวกหรือ
(1) กำรคูณทศนิยมที่เป็นจ�ำนวนบวก ลบกัน)
เนือ่ งจากเศษส่วนและทศนิยมมีความสัมพันธ์กนั ให้นกั เรียนพิจารณาการหาผลคูณ • ข อ ตกลงของการลบทศนิ ย มโดยอาศั ย
ของ 0.2 และ 0.13 ดังนี้ การบวก เปนอยางไร
0.2 × 0.13 = 102 × 100
13 (แนวตอบ ตัวตั้ง - ตัวลบ = ตัวตั้ง + จํานวน
26
= 1,000 ตรงขามของตัวลบ)
= 0.026 ขัน้ ประเมิน
จากการคูณทศนิยมข้างต้น จะเห็นว่า 1. ครูตรวจใบงานที่ 2.11-2.12
จ�านวนต�าแหน่งทศนิยมของตัวตั้ง 0.2 เป็น 1 ต�าแหน่ง 2. ครูตรวจแบบฝกทักษะ 2.2 ข
จ�านวนต�าแหน่งทศนิยมของตัวคูณ 0.13 เป็น 2 ต�าแหน่ง 3. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
จ�านวนต�าแหน่งทศนิยมของผลคูณ 0.026 เป็น 3 ต�าแหน่ง
4. ครูสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค
นักเรียนจะเห็นความสัมพันธ์ระหว่างจ�านวนต�าแหน่งทศนิยมของตัวตั้ง ตัวคูณ
และผลคูณ ดังนี้ ขัน้ นํา
จ�านวนต�าแหน่งทศนิยมของผลคูณ เท่ากับผลบวกของจ�านวนต�าแหน่งทศนิยมของ การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
ตัวตั้งกับตัวคูณ 1. ครูทบทวนการคูณทศนิยมดวยทศนิยม
2. จากนัน้ ครูอธิบายวา “จํานวนตําแหนงทศนิยม
77 ของผลคูณ เทากับ ผลบวกของจํานวนตําแหนง
ทศนิยมของตัวตั้งกับตัวคูณ”

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


(13.546 + 10.953) - 14.5 มีคาตรงกับขอใด ในการถามคํ า ถามในขั้ น สรุ ป เพื่ อ สรุ ป ความคิ ด รวบยอดของนั ก เรี ย น
1. 10.999 ครูอาจเพิ่มสถานการณในชีวิตประจําวันในการตั้งคําถาม เพื่อใหนักเรียน
2. 9.009 มองเห็นถึงสถานการณจริงที่จะสามารถนําความรูเรื่องการบวกและการลบ
3. 9.099 ทศนิยมไปประยุกตใชในชีวติ ประจําวันได อีกทัง้ ครูอาจเพิม่ กิจกรรมใหนกั เรียน
4. 9.999 ไดสรางสถานการณในชีวิตประจําวันที่ตองใชความรูเรื่องของการบวกและ
(เฉลยคําตอบ (13.546 + 10.953) - 14.5 การลบทศนิยมมาประยุกตใชดวยตนเอง
= 24.499 - 14.5
= 9.999
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)

T85
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
1. ครูอธิบายวิธีการหาผลคูณของทศนิยมที่เปน การหาผลคูณของทศนิยมที่เป็นจ�านวนบวก มีวิธีดังนี้
บวก ดังนี้ 1. หาผลคูณของทศนิยมที่ก�าหนดให้ เช่นเดียวกับการหาผลคูณของจ�านวนเต็มโดยที่ยัง
1) หาผลคูณของทศนิยม เชนเดียวกับการ ไม่ใส่จุดทศนิยม
หาผลคูณของจํานวนเต็ม โดยที่ยังไมใส 2. ใส่จดุ ทศนิยมในผลคูณ โดยให้จา� นวนต�าแหน่งทศนิยมเท่ากับผลบวกของจ�านวนต�าแหน่ง
จุดทศนิยม ทศนิยมของตัวตั้งกับตัวคูณ ซึ่งผลคูณที่ได้เป็นจ�านวนบวก
2) ใส จุ ด ทศนิ ย มในผลคู ณ โดยให จํ า นวน
ตําแหนงทศนิยมเทากับผลบวกของจํานวน ตัวอย่างที่ 33

ตําแหนงทศนิยมของตัวตั้งกับตัวคูณ ซึ่ง จงหำผลคูณของ 1.234 × 2.1


ผลคูณที่ไดเปนจํานวนบวก วิธีท�ำ เนื่องจาก 1234 ×
2. ครูยกตัวอยางที่ 33 ในหนังสือเรียน หนา 78 2 21
1234 ตัวตั้ง 1.234 เป็นทศนิยม 3 ต�าแหน่ง
บนกระดาน พรอมกับถามคําถาม ดังนี้ ตัวคูณ 2.1 เป็นทศนิยม 1 ต�าแหน่ง
• ตัวตั้ง 1.234 เปนทศนิยมกี่ตําแหนง 24680 จะได้ผลคูณเป็นทศนิยม 4 ต�าแหน่ง
(แนวตอบ 3 ตําแหนง) 25914
• ตัวคูณ 2.1 เปนทศนิยมกี่ตําแหนง ดังนั้น 1.234 × 2.1 = 2.5914 ตอบ
(แนวตอบ 1 ตําแหนง)
• ผลคูณจะเปนทศนิยมกี่ตําแหนง ลองท�าดู
(แนวตอบ 4 ตําแหนง) จงหำผลคูณของ 4.963 × 0.47
ครูสรุปวา “ดังนั้น ผลคูณที่ได คือ 2.5914
ซึ่งเปนทศนิยม 4 ตําแหนง” (2) กำรคูณทศนิยมที่เป็นจ�ำนวนลบด้วยทศนิยมที่เป็นจ�ำนวนลบ
3. ครูใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” จากนั้นครูและ การคูณทศนิยมที่เป็นจ�านวนลบด้วยทศนิยมที่เป็นจ�านวนลบ ใช้หลักการเดียวกับ
การคูณจ�านวนเต็ม ดังนี้
นักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ
4. ครู อ ธิ บ ายถึ ง หลั ก การคู ณ ทศนิ ย มที่ เ ป น ลบ การคูณทศนิยมที่เป็นจ�านวนลบด้วยทศนิยมที่เป็นจ�านวนลบ ให้น�าค่าสัมบูรณ์ของ
ดวยทศนิยมที่เปนลบวา “ใชหลักการเดียวกับ ทศนิยมทั้งสองมาคูณกัน แล้วเขียนผลคูณเป็นจ�านวนบวก ใส่ต�าแหน่งจุดทศนิยม
การคูณจํานวนเต็มลบ นัน่ คือ ใหนาํ คาสัมบูรณ โดยให้จา� นวนต�าแหน่งทศนิยมของผลคูณเท่ากับผลบวกของจ�านวนต�าแหน่งทศนิยม
ของทศนิยมทัง้ สองมาคูณกัน แลวเขียนผลคูณ ของตัวตั้งกับตัวคูณทศนิยมซึ่งนับจากขวาไปซ้าย
เปนจํานวนบวก ใสจุดทศนิยมโดยใหจํานวน
ตําแหนงทศนิยมเทากับผลบวกของจํานวน
ตําแหนงทศนิยมของตัวตั้งกับตัวคูณ”

78

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูควรเนนยํ้าหลักการคูณทศนิยมที่เปนลบดวยทศนิยมที่เปนลบโดยใช จงหาคําตอบของ 1.27 × 1.3 มีคาเทาไร
หลักการเดียวกับการคูณจํานวนเต็มลบ นั่นคือ ใหนําคาสัมบูรณของทศนิยม (เฉลยคําตอบ
ทั้งสองมาคูณกัน แลวเขียนผลคูณเปนจํานวนบวก ใสจุดทศนิยมโดยใหจํานวน 127
×
ตําแหนงทศนิยมเทากับผลบวกของจํานวนตําแหนงทศนิยมของตัวตัง้ กับตัวคูณ 13
381
+
1270
1651
ดังนั้น 1.27 × 1.3 = 1.651)

T86
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
ตัวอย่างที่ 34 5. ครูยกตัวอยางที่ 34 ในหนังสือเรียน หนา 79
จงหำผลคูณของ (-2.39) × (-0.012) บนกระดาน
วิธีท�ำ เนื่องจาก ∙-2.39∙ = 2.39 และ ∙-0.012∙ = 0.012 6. ครูสรุปเปนกรณีทั่วไปสําหรับการคูณทศนิยม
239 × ¤³Ôµน‹ารÙ้ ที่เปนจํานวนลบดวยทศนิยมที่เปนจํานวนลบ
212 ให้ a, b แทนทศนิยมบวกใด ๆ ดังในกรอบ “คณิตนารู” ในหนังสือเรียน หนา
478 แล้ว (-a) × (-b) = a × b 79 แลวใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” จากนั้นครู
2399 และนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ
2868 7. ครูใหนกั เรียนศึกษาการคูณทศนิยมทีเ่ ปนบวก
ดังนั้น (-2.39) × (-0.012) = 0.02868 ตอบ ดวยทศนิยมที่เปนลบ หรือการคูณทศนิยม
ลองท�าดู
ที่เปนลบดวยทศนิยมที่เปนบวกจากตัวอยาง
ที่ 35 ขอ 1) ในหนังสือเรียน หนา 79
จงหำผลคูณของ (-5.36) × (-0.021)
8. ครูสรุปเปนกรณีท่ัวไปสําหรับการคูณทศนิยม
(3) กำรคูณทศนิยมที่เป็นจ�ำนวนบวกด้วยทศนิยมที่เป็นจ�ำนวนลบหรือกำรคูณทศนิยม ทีเ่ ปนจํานวนบวกดวยทศนิยมทีเ่ ปนจํานวนลบ
ที่เป็นจ�ำนวนลบด้วยทศนิยมที่เป็นจ�ำนวนบวก หรื อ การคู ณ ทศนิ ย มที่ เ ป น จํ า นวนลบด ว ย
การคูณทศนิยมในหัวข้อนี้ ใช้หลักการเดียวกับการคูณจ�านวนเต็ม ดังนี้ ทศนิยมที่เปนจํานวนบวกดังในกรอบ “คณิต
การคูณทศนิยมที่เป็นจ�านวนบวกด้วยทศนิยมที่เป็นจ�านวนลบหรือการคูณทศนิยม นารู” ในหนังสือเรียน หนา 79
ที่เป็นจ�านวนลบด้วยทศนิยมที่เป็นจ�านวนบวก ให้น�าค่าสัมบูรณ์ของทศนิยมทั้งสอง
มาคูณกัน แล้วเขียนผลคูณเป็นจ�านวนลบ ใส่ต�าแหน่งจุดทศนิยม โดยให้จ�านวน
ต�าแหน่งทศนิยมของผลคูณเท่ากับผลบวกของจ�านวนต�าแหน่งทศนิยมของตัวตั้งกับ
ตัวคูณทศนิยมซึ่งนับจากขวาไปซ้าย
ตัวอย่างที่ 35

จงหำผลคูณของทศนิยมในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) (-0.051) × 0.23 2) 2.96 × (-0.014)
วิธีท�ำ 1) เนื่องจาก ∙-0.051∙ = 0.051 และ ∙0.23∙ = 0.23
51 × ¤³Ôµน‹ารÙ้
23 ให้ a, b แทนทศนิยมบวกใด ๆ
153 แล้ว (-a) × b = -(a × b)
1029 และ a × (-b) = -(a × b)
1173
ดังนั้น (-0.051) × 0.23 = -0.01173 79

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


จงหาคําตอบของ 0.013 × 0.45 มีคาเทากับขอใด ครูใหนักเรียนพิจารณาขอความ “จํานวนตําแหนงทศนิยมของผลคูณ
1. 0.00585 เทากับผลบวกของจํานวนตําแหนงทศนิยมของตัวตั้งกับตัวคูณ” ซึ่งเปนขอสรุป
2. 0.00586 เกี่ยวกับการคูณทศนิยม นักเรียนควรจดจําเปนพิเศษ เพื่อใชในการตรวจสอบ
3. 0.00587 คําตอบ และควรตระหนักในความสมเหตุสมผล
4. 0.00588
(เฉลยคําตอบ ขอ 1. ถูก เพราะ
13
×
45
65
+
520
585
ดังนั้น 0.013 × 0.45 = 0.00585)

T87
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
9. ครูใหนกั เรียนศึกษาการคูณทศนิยมทีเ่ ปนบวก 2) เนื่องจาก ∙2.96∙ = 2.96 และ ∙-0.014∙ = 0.014
ดวยทศนิยมที่เปนลบ หรือการคูณทศนิยม 296 ×
ที่เปนลบดวยทศนิยมที่เปนบวกจากตัวอยางที่ 14
35 ขอ 2) ในหนังสือเรียน หนา 80 1184
2969
เข้าใจ (Understanding) 4144
1. ครูใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” ในหนังสือเรียน ดังนั้น 2.96 × (-0.014) = -0.04144 ตอบ
หนา 80 จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันเฉลย ลองท�าดู
คําตอบ จงหำผลคูณของทศนิยมในแต่ละข้อต่อไปนี้
2. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 2.2 ข ขอ 3. 1) (-0.049) × 0.34
แลวครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ 2) 4.95 × (-0.018)
3. ครูแจกใบงานที่ 2.13 เรื่อง การคูณทศนิยม
ใหนักเรียนทําเปนการบาน 4) กำรหำรทศนิยม
(1) กำรหำรทศนิยมที่เป็นจ�ำนวนบวก
รู้ (Knowing) ในระดับชัน้ ประถมศึกษานักเรียนได้เรียนรูก้ ารหารทศนิยมทีเ่ ป็นบวกด้วยจ�านวนนับ
1. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบใบงานที่ และการหารทศนิยมที่เป็นจ�านวนบวกด้วยทศนิยมที่เป็นจ�านวนบวกมาแล้ว ซึ่งผลหารที่ได้จะเป็น
2.13 เรื่อง การคูณทศนิยม ทศนิยมหรือจ�านวนเต็มบวก ดังต่อไปนี้
2. ครูกลาวถึงการหารทศนิยมดวยจํานวนนับที่ กำรหำรทศนิยมด้วยจ�ำนวนนับ
นักเรียนไดเรียนในระดับประถมแลววา “ใชวิธี การหารทศนิยมที่เป็นจ�านวนบวกด้วยจ�านวนนับโดยการตั้งหาร นิยมเขียนจุดทศนิยมของ
ตัง้ หารยาวหรือหารสัน้ และถาการหารไมลงตัว ตัวตั้งและผลหารเท่านั้น โดยต�าแหน่งของจุดทศนิยมของผลหารจะอยู่ตรงกับต�าแหน่งจุดทศนิยม
มีเศษเหลือใหใสจุดทศนิยมไวทายตัวตั้งแลว ของตัวตั้งเสมอ ส่วนจุดทศนิยมอื่น ๆ อาจไม่เขียนก็ได้ เช่น การหาผลหาร 363.15 ÷ 15 ดังนี้
เติม 0 หลังจุดทศนิยมนั้น (เติม 0 กี่ตัวก็ได 24.21
15 363.15
เพราะไมทําใหคาของทศนิยมเปลี่ยนแปลง) 30
แลวจึงทําการหารตอไปจนถึงตําแหนงของ 63
ทศนิยมที่ตองการ” จากนั้นใหนักเรียนศึกษา 60
การหารทศนิยมดวยจํานวนนับในหนังสือเรียน 31
30
หนา 80 0 15
0 15
0
ดังนั้น 363.15 ÷ 15 = 24.21
80

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูชี้แนะใหนักเรียนเชื่อมโยงความรูระหวางการหารทศนิยมกับการหาร 10 เทาของ -6.142 × (-0.12) มีคาเทาไร
จํานวนเต็มวา ใชหลักเกณฑการหารเดียวกัน เพราะวาทศนิยมสามารถเขียน (เฉลยคําตอบ เนื่องจาก -6.142  = 6.142
ในรูปเศษสวนไดและตัวสวนเปนจํานวนเต็ม 6142
12 ×
12284
+
61420
73704
ดังนั้น -6.142  × (-0.12) = -0.73704)

T88
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
ในบางกรณีทกี่ ารหารมีเศษทีย่ งั ไม่เป็นศูนย์ ให้เติมศูนย์ทตี่ วั ตัง้ แล้วหารต่อไปจนเศษเป็นศูนย์ 3. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 36 ในหนังสือ
ดังตัวอย่างต่อไปนี้ เรียน หนา 81 แลวทํา “ลองทําดู” จากนั้นครู
ตัวอย่างที่ 36 และนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ และครูถาม
จงหำผลหำรของ 35.01 ÷ 18 คําถาม ดังนี้
1.945 • การทํ า ตั ว หารให เ ป น จํ า นวนเต็ ม ทํ า ได
วิธีท�ำ 18 35.010 อยางไร
18 (แนวตอบ ถาตัวหารเปนทศนิยมหนึง่ ตําแหนง
17 0
16 2 ใหนํา 10 คูณที่ตัวหาร
81 ถาตัวหารเปนทศนิยมสองตําแหนง
72 ใหนํา 100 คูณที่ตัวหาร
90
90 ถาตัวหารเปนทศนิยมสามตําแหนง
0 ใหนํา 1,000 คูณที่ตัวหาร เปนเชนนี้ไป
ดังนั้น 35.01 ÷ 18 = 1.945 ตอบ เรื่อยๆ)
4. ครูอธิบายวิธีการหารทศนิยมที่เปนบวกดวย
ลองท�าดู
ทศนิ ย มที่ เ ป น บวก “ต อ งทํ า ตั ว หารให เ ป น
จงหำผลหำรของ 31.839 ÷ 15
จํานวนนับกอน โดยนํา 10, 100, 1000, …
กำรหำรทศนิยมด้วยทศนิยม คูณทั้งตัวตั้งและตัวหาร แลวใชหลักการหาร
การหารทศนิยมที่เป็นจ�านวนบวกด้วยทศนิยมที่เป็นจ�านวนบวก ต้องท�าตัวหารให้เป็น ทศนิยมดวยจํานวนนับ”
จ�านวนนับก่อน โดยน�า 10, 100, 1000, ... คูณทัง้ ตัวตัง้ และตัวหาร แล้วใช้หลักการหารทศนิยม 5. ครูยกตัวอยางที่ 37 ในหนังสือเรียน หนา 81
ด้วยจ�านวนนับ ซึง่ ผลหารที่ได้จะเป็นจ�านวนบวก ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 37

จงหำผลหำรของ 4.85 ÷ 0.05


วิธีท�ำ 4.85 × 100 485
0.05 × 100 = 5
97
5 485
45
35
35
0
ดังนั้น 4.85 ÷ 0.05 = 97 ตอบ
81

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


จงหาคําตอบของ 30.48 ÷ 12 มีคาเทากับขอใด ครูควรเนนยํ้าวิธีการหารทศนิยมที่เปนบวกดวยทศนิยมที่เปนบวก “ตอง
1. 2.56 2. 2.55 ทําตัวหารใหเปนจํานวนนับกอน โดยนํา 10, 100, 1000, … คูณทั้งตัวตั้ง
3. 2.54 4. 2.53 และตัวหาร แลวใชหลักการหารทศนิยมดวยจํานวนนับ” อีกทั้งครูอาจจะถาม
(เฉลยคําตอบ ขอ 3. ถูก เพราะ นักเรียนตอไปอีกเพื่อใหนักเรียนเกิดความรูที่ชัดแจงวา ทําไมเราถึงตองคูณทั้ง
2.54 ตัวตั้งและตัวหาร
12 30.48
24
64
60
048
48
0)

T89
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
6. ครูยกตัวอยางที่ 38 ในหนังสือเรียน หนา 82 ลองท�าดู
บนกระดาน จงหำผลหำรของ 34.32 ÷ 0.24
7. ครูสรุปวา “การหารทศนิยมที่เปนจํานวนบวก
ดวยทศนิยมที่เปนจํานวนบวก จะไดผลหาร
ตัวอย่างที่ 38
เปนจํานวนบวก”
8. ครูใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” (ทายตัวอยางที่ จงหำผลหำรของ 2.975 ÷ 8.5
37 และ 38) ในหนังสือเรียน หนา 82 จากนั้น วิธีท�ำ 2.975 × 10
8.5 × 10 = 85
29.75
ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ
0.35
85 29.75
255
425
425
0
ดังนั้น 2.975 ÷ 8.5 = 0.35 ตอบ
ลองท�าดู
จงหำผลหำรของ 6.279 ÷ 0.23

(2) กำรหำรทศนิยมที่เป็นจ�ำนวนลบด้วยทศนิยมที่เป็นจ�ำนวนลบ
การหารทศนิยมที่เป็นจ�านวนลบด้วยทศนิยมที่เป็นจ�านวนลบ ต้องท�าตัวหารให้
เป็นจ�านวนนับก่อน แล้วใช้หลักการหารทศนิยมด้วยจ�านวนนับ ดังนี้
การหารทศนิยมที่เป็นจ�านวนลบด้วยทศนิยมที่เป็นจ�านวนลบ ให้น�าค่าสัมบูรณ์ของ
ตัวตัง้ หารด้วยค่าสัมบูรณ์ของตัวหาร แล้วเขียนผลหารเป็นจ�านวนบวก และใส่จดุ ทศนิยม
ที่ผลหารให้ตรงกับจุดทศนิยมของตัวตั้ง

82

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ให a, b และ c เปนทศนิยมบวกใดๆ และ a > b > c จงพิจารณา
ก. ac > ab ข. ac > ba
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1. ก. และ ข. ถูก 2. ก. ถูก แต ข. ผิด
3. ก. ผิด แต ข. ถูก 4. ก. และ ข. ผิด
(เฉลยคําตอบ ขอ 2. เพราะ
สมมติ ให a = 0.5, b = 0.25 และ c = 0.05 และจะได b 0.25
a = 0.5 = 0.5
จะได ab = 0.25 0.5 = 2 c 0.05
a = 0.5 = 0.1
a = 0.5 = 10
c 0.05 ดังนั้น ac < ab เพราะฉะนั้น ข. ผิด)
ดังนั้น ac > ab เพราะฉะนั้น ก. ถูก

T90
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
ตัวอย่างที่ 39 9. ครูยกตัวอยางที่ 39 ในหนังสือเรียน หนา 83
จงหำผลหำรของ (-3.598) ÷ (-0.07) บนกระดาน แลวอธิบายวา “กอนที่จะทํา
ตัวสวนใหเปนจํานวนนับเพื่อตั้งหาร ใหหา
วิธีท�ำ (-3.598) ÷ (-0.07) = ∙-3.598∙
∙-0.07∙ คาสัมบูรณของทศนิยมที่เปนจํานวนลบกอน
= 3.598
0.07 ¤³Ôµน‹ารÙ้ เพือ่ ความสะดวกในการหาผลหาร” พรอมกับ
ให้ a, b แทนทศนิยมบวกใด ๆ ถามคําถาม ดังนี้
= 3.598 × 100
0.07 × 100 แล้ว (-a) ÷ (-b) = a ÷ b • คาสัมบูรณของ -3.598 และคาสัมบูรณ
= 359.8 ของ -0.07 เทากับเทาไร
7 (แนวตอบ -3.598  = 3.598 และ -0.07 
51.4
7 359.8 = 0.07)
35 • ตัวหารเปนทศนิยมกี่ตําแหนง
09 (แนวตอบ 2 ตําแหนง)
7 • ทําตัวหารใหเปนจํานวนนับไดอยางไร
28 (แนวตอบ นํา 100 คูณทั้งตัวตั้งและตัวหาร)
28
จากนั้ น ครู แ สดงวิ ธีทํ า อย า งละเอี ย ดบน
0
กระดาน แลวสรุปวา “การหารทศนิยมที่เปน
ดังนั้น (-3.598) ÷ (-0.07) = 51.4 ตอบ
จํานวนลบดวยทศนิยมทีเ่ ปนจํานวนลบ จะได
ลองท�าดู
ผลหารเปนจํานวนบวก”
จงหำผลหำรของทศนิยมในแต่ละข้อต่อไปนี้ 10. ครูสรุปเปนกรณีทวั่ ไปสําหรับการหารทศนิยม
1) (-2.776) ÷ (-0.04) ที่เปนจํานวนลบดวยทศนิยมที่เปนจํานวนลบ
2) (-7.845) ÷ (-0.15) ดั ง ในกรอบ “คณิ ต น า รู  ” ในหนั ง สื อ เรี ย น
หน า 83 แล ว ให นั ก เรี ย นทํ า “ลองทํ า ดู ”
(3) กำรหำรทศนิยมทีเ่ ป็นจ�ำนวนบวกด้วยทศนิยมทีเ่ ป็นจ�ำนวนลบหรือกำรหำรทศนิยม จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ
ที่เป็นจ�ำนวนลบด้วยทศนิยมที่เป็นจ�ำนวนบวก
การหารทศนิยมในหัวข้อนี้ ต้องท�าตัวหารให้เป็นจ�านวนเต็มก่อน แล้วใช้หลัก
การหารทศนิยมด้วยจ�านวนนับ ดังนี้

83

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


(-20.05) ÷ (-0.2) มีคาตรงกับขอใด ครูควรเนนยํ้าใหนักเรียนระมัดระวังการหารทศนิยม ในขั้นตอนตอไปนี้
1. 1.25 2. 10.025 3. 100.25 4. 1002.5 1. การนําจํานวนมาคูณเพื่อทําใหตัวหารเปนจํานวนเต็ม
(เฉลยคําตอบ ขอ 3. เพราะ 2. การหาผลหารในหลักตางๆ และการใสจุดทศนิยม
3. การหารในแตละครั้งจะตองมีผลหารเสมอ ถาตัวตั้งในการหารครั้ง
(-20.05) ÷ (-0.2) = -20.05
-0.2 

= 20.05 × 100 2005
0.2 × 100 = 20 ตอๆ ไป นอยกวาตัวหารจะตองไดผลหารเปน 0
0100.25 4. การเขียนคําตอบ (ผลหาร)
20 2005.00
20
0005 0
40
1 00
1 00
0)

T91
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
11. ครูใหนกั เรียนศึกษาการหารทศนิยมทีเ่ ปนลบ
การหารทศนิยมที่เป็นจ�านวนบวกด้วยทศนิยมที่เป็นจ�านวนลบ หรือการหารทศนิยม
ดวยทศนิยมที่เปนบวกจากตัวอยางที่ 40 ใน ที่เป็นจ�านวนลบด้วยทศนิยมที่เป็นจ�านวนบวก ให้น�าค่าสัมบูรณ์ของตัวตั้งหารด้วย
หนังสือเรียน หนา 84 จากนัน้ ครูและนักเรียน ค่าสัมบูรณ์ของตัวหาร แล้วเขียนผลหารเป็นจ�านวนลบ และใส่จุดทศนิยมที่ผลหาร
รวมกันสรุปเปนกรณีทั่วไปสําหรับการหาร ให้ตรงกับจุดทศนิยมของตัวตั้ง
ทศนิยมที่เปนลบดวยทศนิยมที่เปนบวกดัง
ในกรอบ “คณิตนารู” ตัวอย่างที่ 40
12. ครูใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” จากนั้นครูและ จงหำผลหำรของ (-0.299) ÷ 1.3
นักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ 1
วิธีท�ำ (-0.299) ÷ 1.3 = ∙-0.299∙
13. ครูใหนักเรียนศึกษาการหารทศนิยมที่เปน ∙1.3∙
บวกดวยทศนิยมที่เปนลบจากตัวอยางที่ 41 = 0.299 × 10
1.3 × 10 ¤³Ôµน‹ารÙ้
ในหนังสือเรียน หนา 84-85 จากนั้นครูและ ให้ a, b แทนทศนิยมบวกใด ๆ
นักเรียนรวมกันสรุปเปนกรณีทั่วไปสําหรับ = 2.99
13 แล้ว (-a) ÷ b = -(a ÷ b)
การหารทศนิ ย มที่ เ ป น บวกด ว ยทศนิ ย มที่ 0.23
เปนลบดังในกรอบ “คณิตนารู” ในหนังสือ 13 2.99
26
เรียน หนา 85 39
39
0
ดังนั้น (-0.299) ÷ 1.3 = -0.23 ตอบ

ลองท�าดู
จงหำผลหำรของ (-0.594) ÷ 1.8

ตัวอย่างที่ 41

จงหำผลหำรของ 2.208 ÷ (-0.12)


วิธีท�ำ 2.208 ÷ (-0.12) = ∙2.208∙
∙-0.12∙

= 2.208 × 100
0.12 × 100
= 220.8
12

84

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


1 (-0.299) ÷ 1.3 สามารถทําไดอีกวิธีหนึ่ง คือ การเลื่อนจุดทศนิยม ดังนี้ พิจารณาขอความที่กําหนดใหตอไปนี้
-0.299 = -0.299 ก. ถา (-a) ÷ b = -(a ÷ b) แลว a, b จะเปนทศนิยมบวกใดๆ
1.3 1.3 ข. ถา a, b เปนจํานวนใดๆ แลว (-a) ÷ b = -(a ÷ b)
= -2.99
13
ขอใดถูกตอง
1. ก. และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. และ ข. ผิด
(เฉลยคําตอบ ขอ 4. เนื่องจาก
ก. ผิด เพราะ ถา a = 1 และ b = 2
จะได (-1) ÷ 2 = -(1 ÷ 2) = -0.5
แต a, b ไมเปนทศนิยม
ข. ผิด เพราะ a, b เปนจํานวนใดๆ แต b เปนศูนยไมได)

T92
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เขาใจ (Understanding)
18.4 1. ครูใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” (ทายตัวอยาง
12 220.8 ¤³Ôµน‹ารÙ้ ที่ 41) ในหนังสือเรียน หนา 85 จากนั้นครู
12 ให้ a, b แทนทศนิยมบวกใด ๆ และนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ
100 แล้ว a ÷ (-b) = -(a ÷ b)
996 2. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 2.2 ข ขอ 4.
48 และใบงานที่ 2.14 เรื่ อ ง การหารทศนิ ย ม
48 เปนการบาน
0 3. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบแบบฝก
ดังนั้น 2.208 ÷ (-0.12) = -18.4 ตอบ ทักษะ 2.2 ข ขอ 4. และใบงานที่ 2.14
4. ครูใหนักเรียนจับคูศึกษาตัวอยางที่ 42 ใน
ลองท�าดู หนังสือเรียน หนา 85 แลวแลกเปลี่ยนความรู
จงหำผลหำรของทศนิยมในแต่ละข้อต่อไปนี้ กับคูของตนเอง
1) 5.904 ÷ (-0.72) 2) 7.812 ÷ (-0.63) 5. ครูใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” จากนั้นครูและ
นักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ “ลองทําดู”
ตัวอย่างที่ 42

จงหำผลลัพธ์ของ (-0.35) × 12.4


(-1.4)
วิธีท�ำ (-0.35) × 12.4
(-1.4) = (-0.35)(-1.4)
× (12.4 × 10)
× 10

= (-0.35) × 124
(-14) -0.35 ได้ผลหารเป็นจ�านวนบวก
-14
= 0.35 14× 124
0.35 × 124 62
= 0.35 7× 62 14 7
0.05
= 0.05 × 62 0.35 × 62
71
= 3.1
ดังนั้น (-0.35) × 12.4
(-1.4) = 3.1 ตอบ

ลองท�าดู

จงหำผลลัพธ์ของ (-0.78) × 10.8


(-5.4)

85

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


คาของ (-0.0555) × (-0.022)
-0.0011 เทากับขอใด การดําเนินการคูณและการหารเศษสวนเพื่อปองกันความเขาใจผิดที่จะ
1. 0.0111 เกิดขึน้ กับนักเรียน ครูอาจจะชีแ้ นะใหนกั เรียนทําการเปลีย่ นทศนิยมใหอยูใ นรูป
2. 0.111 ของจํานวนเต็มกอน แลวจึงดําเนินการเติมทศนิยมตามปกติ อีกทัง้ ครูอาจจะเพิม่
3. -1.11 เทคนิคหลักสังเกตของตําแหนงทศนิยมใหแกผูเรียน เชน ทศนิยมสองตําแหนง
4. -11.11 คูณกับทศนิยมสองตําแหนงจนไดทศนิยมสี่ตําแหนง (โดยตองนับจากขวาไป
ทางซาย) เปนเทคนิคการตรวจสอบตําแหนงทศนิยม
(เฉลยคําตอบ (-0.0555) × (-0.022)
-0.0011 = 0.001221
-0.011
= -1.11
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T93
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
1. ครูใหนกั เรียนทําแบบฝกทักษะ 2.2 ข ขอ 6.-8. แบบฝึกทักษะ 2.2 ข
เปนการบาน
ระดับ พื้นฐาน
2. ครูใหนกั เรียนจัดกลุม กลุม ละ 4 คน คละความ
สามารถทางคณิตศาสตร แลวทํากิจกรรม ดังนี้ 1. จงหาผลบวกของทศนิยมในแต่ละข้อต่อไปนี้
- ใหแตละกลุมสงตัวแทนมาตกลงกันวาจะ 1) (-18.76) + (-13.23) 2) (-29.91) + (-21.27)
เลือกแกปญหาแบบฝกทักษะ 2.2 ข ขอ 9. 3) (-15.67) + 17.23 4) 28.56 + (-38.78)
หรือขอ 10. 2. จงหาผลลบของทศนิยมในแต่ละข้อต่อไปนี้
- นั กเรี ยนแต ล ะคนวิ เ คราะห ว  า ป ญ หาการ 1) 68.49 - (-27.835) 2) (-43.781) - (-16.93)
หารทศนิยมทีเ่ ปนบวกดวยทศนิยมทีเ่ ปนลบ 3) (-39.72) - 24.031 4) 25.38 - 44.297
หรือการหารทศนิยมที่เปนลบดวยทศนิยม 3. จงหาผลคูณของทศนิยมในแต่ละข้อต่อไปนี้
ทีเ่ ปนบวก จะไดผลหารเปนจํานวนบวกหรือ 1) (-17.4) × (-0.96) 2) (-4.18) × (-6.43)
ลบทีก่ ลุม ของตนเองเลือกมีวธิ กี ารแกอยางไร 3) (-7.421) × 0.56 4) 6.72 × (-9.03)
จากนั้นแลกเปลี่ยนคําตอบกันภายในกลุม
4. จงหาผลหารของทศนิยมในแต่ละข้อต่อไปนี้
สนทนาซักถามจนเปนที่เขาใจรวมกัน
- นักเรียนแตละคนเขียนขั้นตอนการแสดงวิธี 1) (-0.3375) ÷ (-0.25) 2) (-0.5451) ÷ (-0.023)
คิดของกลุมตนเองอยางละเอียดลงในสมุด 3) (-9.13) ÷ (-1.1) 4) (-10.521) ÷ (-2.1)
- ใหตัวแทนกลุมมานําเสนอคําตอบหนาชั้น ระดับ กลาง
เรียน โดยเพื่อนกลุมที่เหลือคอยตรวจสอบ 5. จงหาผลลัพธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้
ความถูกตอง 1) (2.47 - 7.49) - (1.14 + 1.59) 2) [(-8.87) + 5.45] - [(-2.11) + 1.67]
3) (75.68 - 16.49) - (-11.73) 4) [(-5.76) + 12.77] - [(-14.65) - 13.21]
ขัน้ สรุป 5) [(-79.71) + 24.45] - (-17.68) 6) (-23.45) - [(-11.15) - 37.99]
ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ 6. จงหาผลลัพธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้
นักเรียน ดังนี้ 1) (2.8 × 4.6) ÷ (-2.3) 2) [0.5 × (-3.5)] ÷ 3.2
• การคู ณ ทศนิ ย มที่ เ ป น ลบด ว ยทศนิ ย มที่ 3) [(-6.25) × 5.5] ÷ 2.5 4) [(-7.49) × (-3)] ÷ 9.6
เปนลบ จะไดผลคูณเปนจํานวนบวกหรือลบ 5) [13.78 ÷ (-0.52)] × (-0.65) 6) [(-13.56) ÷ (-2.4)] × (0.72)
(แนวตอบ ไดผลคูณเปนจํานวนบวก) 7. จงหาผลลัพธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้
• หลักการหารทศนิยมดวยทศนิยม คืออะไร
1) 4.075 + (4.05 × 0.8)
(แนวตอบ ตองทําตัวหารใหเปนจํานวนนับ
2) [(-5.2) × 3.08] - 0.42
กอน โดยนํา 10, 100, 1000, … คูณทั้ง 3) (-8.5) - (6.2 ÷ 2.5)
ตัวตั้งและตัวหาร)
• การหารทศนิ ย มที่ เ ป น ลบด ว ยทศนิ ย มที่ 86
เปนลบ จะไดผลหารเปนจํานวนบวกหรือลบ
(แนวตอบ ไดผลหารเปนจํานวนบวก)

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


หลังจากครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของนักเรียนแลว ครูอาจ ปรีชาตองการตัดลวดออกเปน 5 ทอน ให 3 ทอนแรกยาว 1.54
ให นั ก เรี ย นแต ล ะคนเขี ย นผั ง มโนทั ศ น เพื่ อ สรุ ป ความรู  ร วบยอดเป น ของ เซนติเมตร อีก 2 ทอนสั้นกวา 3 ทอนแรกอยู 0.34 เซนติเมตร
นักเรียนเอง อีกทั้งครูอาจเพิ่มประเด็นคําถามใหนักเรียนไดไปสืบคนเพิ่มเติม เดิมลวดเสนนี้ยาวเทากับขอใด
เพื่อขยายและตอยอดความรูใหกับตนเองตอไป 1. 9.40 เซนติเมตร
2. 7.02 เซนติเมตร
3. 5.64 เซนติเมตร
4. 5.30 เซนติเมตร
(เฉลยคําตอบ ลวด 3 ทอนแรกยาว 1.54 เซนติเมตร
ลวด 2 ทอนหลังสั้นกวา 0.34 เซนติเมตร
เดิมลวดเสนนี้ยาวเทากับ (3 × 1.54) + 2 (1.54 - 0.34)
= 4.62 + 2.4
= 7.02 เซนติเมตร
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)

T94
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
1. ครูตรวจใบงานที่ 2.13-2.14
2. ครูตรวจแบบฝกทักษะ 2.2 ข
8. จงหาผลลัพธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้ 3. ครูประเมินการนําเสนอผลงาน
1) (8.125 × 1.2) - (3.12 ÷ 0.6) 4. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
2) (9.018 - 15.776) + (1.88 × 7) 5. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
3) [(-1.63) × 2.5] + [3.24 ÷ (-0.8)] 6. ครูสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค
4) [(-0.322) ÷ 0.02] - [(-5.2) × 3.08]
ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)
ระดับ ท้าทาย
การใชความรูเ ดิมฯ (Prior Knowledge)
9. ถ้าน�าทศนิยมหนึ่งจ�านวนมาบวกกับ (-0.05) ÷ (-0.08) แล้วได้ผลลัพธ์เป็นจ�านวนเต็มลบ
1. ครูกลาววา “เราทราบมาแลววาเศษสวนที่มี
ที่มีค่ามากที่สุด อยากทราบว่าทศนิยมที่น�ามาบวกเท่ากับเท่าไร
ตัวสวนเปน 10, 100, 1000, … สามารถเขียน
10. จงหาว่า (-0.875) × 3.4 บวกหรือลบกับ (-1.75) × (-1.8) แล้วได้ผลลัพธ์เป็นจ�านวนบวก ใหอยูในรูปทศนิยมหนึ่งตําแหนง ทศนิยมสอง
และมีผลลัพธ์เท่ากับเท่าไร ตําแหนง ทศนิยมสามตําแหนง ... ได และใน
ทํานองเดียวกัน เศษสวนที่มีตัวสวนไมเทากับ
4. ความสัมพันธ์ของเศษส่วนกับทศนิยม 10, 100, 1000, … ก็สามารถเขียนใหอยูในรูป
นักเรียนทราบมาแล้วว่า เศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็น 10, 100, 1000, ... สามารถเขียนให้อยู่ ทศนิยมไดเชนเดียวกัน”
ในรูปทศนิยมได้ดังตัวอย่างที่กล่าวไปแล้วในตอนต้นของเรื่องทศนิยม และในท� านองเดียวกัน 2. ครูทบทวนการหาเศษสวนใหเทากับเศษสวน
เศษส่วนทีม่ ตี วั ส่วนไม่เท่ากับ 10, 100, 1000, ... ก็สามารถเขียนให้อยู่ในรูปทศนิยมได้เช่นเดียวกัน ที่กําหนดให
ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 43
ขัน้ สอน
รู (Knowing)
จงเขียนเศษส่วนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปทศนิยม
1. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 43 ขอ 1) ใน
1) - 25 2) -2 34
หนังสือเรียน หนา 87
วิธีท�ำ 1) - 25 = - ( 25 ×× 22 )
= - 104
= -0.4
ดังนั้น - 25 = -0.4

87

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


ผลลัพธของ 48.6 × 1.2 เปนกี่เทาของผลลัพธของ 3.6 × 0.81 ครูอาจเชือ่ มโยงความรูข องนักเรียนในระหวางทีน่ กั เรียนกําลังศึกษาตัวอยาง
1. 10 ที่ 43 โดยการตั้งคําถามกับนักเรียนวา ทําไมจึงตองนํา 2 คูณทั้งตัวเศษและ
2. 15 ตัวสวน อีกทัง้ ถาหากครูนาํ จํานวนอืน่ ๆ ทีไ่ มใช 2 มาคูณจะไดหรือไม หรือจํานวน
3. 20 อื่นๆ ที่สามารถคูณไดมีอะไรอีก
4. 40
(เฉลยคําตอบ 48.6 × 1.2 58.32
3.6 × 0.81 = 2.916
= 20
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T95
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
2. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 43 ขอ 2) ใน 2) -2 34 = - 114
หนังสือเรียน หนา 88 จากนั้นทํา “ลองทําดู” = - 114 ×× 2525
ในหนังสือเรียน หนา 88 แลวครูและนักเรียน
รวมกันเฉลยคําตอบ = - 275
100
3. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 44 ในหนังสือ = -2.75
เรียน หนา 88 จากนั้นใหนักเรียนทํา “ลอง ดังนั้น -2 34 = -2.75 ตอบ
ทําดู” แลวครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ
ลองท�าดู
จงเขียนเศษส่วนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปทศนิยม
1) - 12
25 2) -3 25

การเขียนเศษส่วนให้อยู่ในรูปทศนิยมในตัวอย่างที่ 43 ใช้วธิ ที า� ให้ตวั ส่วนเท่ากับ 10 และ 100


นอกจากวิธีนี้แล้วก็สามารถเขียนเศษส่วนให้อยู่ในรูปทศนิยมได้โดยการตั้งหารดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 44

จงเขียน - 28
16 ให้อยู่ในรูปทศนิยม
วิธีท�ำ - 28
16 เขียนให้อยู่ในรูปทศนิยมได้ โดยน�า 16 ไปหาร 28 ดังนี้
1.75
16 28.00
16
12 0
11 2
80
80
0
28
จะได้ว่า 16 = 1.75
ดังนั้น - 28
16 = -1.75 ตอบ

ลองท�าดู
จงเขียน - 87
40 ให้อยู่ในรูปทศนิยม
88

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


เพื่อใหนักเรียนมีความเขาใจที่ชัดแจงเกี่ยวกับความสัมพันธของเศษสวน 73 มีคาเทากับขอใด
25
กับทศนิยม ครูอาจใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับสมบัติตางๆ ของเศษสวน 1. 0.73 2. 2.92
กับทศนิยมดวยการใหนกั เรียนเขียนผังมโนทัศน หรือครูอาจกําหนดเปนประเด็น 3. 14.6 4. 29.1
คําถามก็ไดวา “นอกจากทศนิยมที่มีความสัมพันธกับเศษสวนแลว จะมีจํานวน (เฉลยคําตอบ ขอ 2. ถูก เพราะ
ใดอีกหรือไมที่มีความสัมพันธกับเศษสวน” หรือประเด็นคําถามวา “จากเรื่อง 2.92
ระบบจํานวนเต็มทีเ่ รียนมาแลวนัน้ ในหนวย 1 มีความสัมพันธกบั เศษสวนหรือไม 25 73.00
อยางไร” เพื่อใหนักเรียนไดขยายความรูออกไปโดยเชื่อมโยงความรูเดิม 50
23 0
22 5
50
50
00 )

T96
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
ตัวอย่างที่ 45 4. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 45 ขอ 1)-2)
จงเขียนทศนิยมต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปเศษส่วน ในหนังสือเรียน หนา 89 จากนั้นทํา “ลอง
1) -3.8 2) -4.13 ทําดู” ในหนังสือเรียน หนา 89 แลวครูและ
8 นักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ
วิธีท�ำ 1) -3.8 = - 3810 = -3 10
2) -4.13 = - 413 13 เข้าใจ (Understanding)
100 = -4 100 ตอบ
1. ครูใหนักเรียนจับคูศึกษาการเขียนเศษสวน 17 9
ลองท�าดู
ในรูปทศนิยม ในหนังสือเรียน หนา 89 แลว
จงเขียนทศนิยมต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปเศษส่วน แลกเปลี่ยนความรูกับคูของตนเองจากนั้นครู
1) -4.75 2) -6.254
ถามคําถาม ดังนี้
• ทศนิยม 1.888… เรียกวาอะไร แลวถาเปน
ให้นักเรียนพิจารณาการเขียนเศษส่วน เช่น 179 ในรูปทศนิยมต่อไปนี้
ทศนิยมซํ้าคือเลขใด
1.888… (แนวตอบ ทศนิยมซํ้า, ซํ้าเลข 8)
9 17.000
9 2. ครูใหนักเรียนคูเดิมศึกษาตัวอยางทศนิยมซํ้า
80 อืน่ ๆ ในหนังสือเรียน หนา 90 แลวแลกเปลีย่ น
72 ความรูกับคูของตนเอง
การหารแต่ละครั้ง 80
เหลือเศษ 8 3. ครูกลาวสรุปวา “เศษสวนทีต่ วั เศษและตัวสวน
72 เปนจํานวนเต็ม ไมวาจะเปนจํานวนลบหรือ
80
72 จํ า นวนบวก ก็ ส ามารถเขี ย นให อ ยู  ใ นรู ป
8 ทศนิยมซํ้าได และในทางกลับกันก็สามารถ
เขียนทศนิยมซํ้าศูนยใหอยูในรูปเศษสวนได”
นักเรียนจะพบว่า การหารที่ได้นั้นไม่ลงตัวและไม่มีที่สิ้นสุด ซึ่งมีเศษจากการหารเท่ากับ
8 ทุกครั้ง ท�าให้ผลหารในต�าแหน่งถัดไปเป็น 8 เสมอ จึงท�าให้ทศนิยมที่ได้เป็นทศนิยมซ�้ำ ลงมือทํา (Doing)
นั่นคือ 179 = 1.888... เรียกทศนิยมนี้ว่า ทศนิยมซ�้า และเขียนแทนด้วย 1.8 อ่านว่า

1. ครูแจกใบงานที่ 2.15 ใหนักเรียนทํา แลวครู
หนึ่งจุดแปด แปดซ�้า และนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ
ตัวอย่างทศนิยมซ�้าอื่น ๆ เช่น 2. ครูใหนกั เรียนทําแบบฝกทักษะ 2.2 ค ขอ 1.-2.
- 334 = -0.121212... ทศนิยมนี้ซ�้าด้วย 12 ไม่สิ้นสุด จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ
• •
เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์เป็น -0.12 อ่านว่า ลบศูนย์จุดหนึ่งสอง หนึ่งสองซ�้า 3. ครูใหนักเรียนทํา Exercise 2.2C ขอ 1.-2.
• •
หรือเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ -0.121 อ่านว่า ลบศูนย์จุดหนึ่งสองหนึ่ง สองหนึ่งซ�้า ในแบบฝกหัดคณิตศาสตรเปนการบาน
89

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


ผลลัพธของ (0.185 ÷ 0.03) - (1.59 ÷ 0.9) เทากับขอใด หลังจากครูสอนทศนิยมซํา้ เรียบรอยแลว ครูอาจตัง้ ประเด็นคําถามเพิม่ เติม
1. 5.6 กับนักเรียนเพื่อขยายความรูใหกับนักเรียนอีกดวยวา “นอกจากทศนิยมซํ้าแลว

2. 5.46 จะมีทศนิยมแบบอื่นอีกหรือไมที่มีเศษจากการหารทุกครั้ง” โดยอาจใหนักเรียน

3. 4.46 รวมกันศึกษาเพิ่มเติมนอกหองเรียน ซึ่งอาจจะทําใหนักเรียนไดรูจักกับจํานวน
4. 4.4 อตรรกยะเพิ่มอีกดวย
(เฉลยคําตอบ 0.185 1.59
0.03 ฺ - 0.9 ฺ
= 6.16 - 1.76
= 4.4
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)

T97
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ
นักเรียน ดังนี้ - 137
330 = -0.4151515... ทศนิยมนี้ซ�้าด้วย 15 ไม่สิ้นสุด
• เศษสวนทีต่ วั เศษและตัวสวนเปนจํานวนเต็ม • •
เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์เป็น - 0.415 อ่านว่า ลบศูนย์จุดสี่หนึ่งห้า หนึ่งห้าซ�้า
สามารถเขียนใหอยูใ นรูปทศนิยมไดอยางไร 49
111 = 0.441441441... ทศนิยมนี้ซ�้าด้วย 441 ไม่สิ้นสุด
(แนวตอบ ใชวิธีทําตัวสวนใหเทากับ 10, 100, • •
เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์เป็น 0.441 อ่านว่า ศูนย์จุดสี่สี่หนึ่ง สี่สี่หนึ่งซ�้า
1000, ... หรือใชวิธีการตั้งหาร) • •
หรือเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ 0.4414 อ่านว่า ศูนย์จุดสี่สี่หนึ่งสี่ สี่หนึ่งสี่ซ�้า
• ทศนิยมซํ้า สามารถเขียนใหอยูในรูปใดได
ให้นักเรียนพิจารณาการเปลี่ยนเศษส่วน 12 เป็นทศนิยม ดังนี้
(แนวตอบ เศษสวน)
1 = 0.5
2
ขัน้ ประเมิน ทศนิยม เช่น 0.5 จัดว่าเป็นทศนิยมซ�้าเช่นเดียวกัน เพราะ 0.5 = 0.5000... ทศนิยมนี้

1. ครูตรวจใบงานที่ 2.15 ซ�้าด้วย 0 ไม่สิ้นสุด เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์เป็น 0.50 อ่านว่า ศูนย์จุดห้าศูนย์ ศูนย์ซ�้า แต่

2. ครูตรวจแบบฝกทักษะ 2.2 ค โดยทั่วไปแล้วนิยมเขียน 0.5 แทน 0.50


3. ครูตรวจ Exercise 2.2C เศษส่วนที่ตัวเศษและตัวส่วนเป็นจ�านวนเต็ม ไม่ว่าจะเป็นจ�านวนบวกหรือจ�านวนลบ
4. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล สามารถเขียนให้อยู่ในรูปทศนิยมซ�้าได้
5. ครูสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค
ในทางกลับกัน สามารถเปลี่ยนทศนิยมซ�้าให้เป็นเศษส่วนได้ แต่ในระดับชั้นมัธยมศึกษา
ขัน้ นํา (Concept Based Teaching) ปีที่ 1 นี้จะเปลี่ยนเฉพาะทศนิยมซ�้าศูนย์ ดังที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น
การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge) เช่น 0.56 = 100 56 = 14 , -2.37 = -2 37 เป็นต้น
25 100
ครูทบทวนความรูเ รือ่ งการบวก การลบ การคูณ
และการหารทศนิยม และขั้นตอนการวิเคราะห 5. การน�าความรู้เกี่ยวกับทศนิยมไปใช้ในชีวิตจริง
โจทยปญหา ในชีวติ ประจ�าวันนักเรียนจะพบสถานการณ์ตา่ ง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับทศนิยม เช่น การซือ้ - ขาย
สินค้าอุปโภคบริโภคต่าง ๆ น�้าหนักสิ่งของ และราคาน�้ามัน เป็นต้น ซึ่งนักเรียนต้องใช้ความรู้ของ
ขัน้ สอน ทศนิยมมาด�าเนินการทางคณิตศาสตร์ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
รู้ (Knowing) ตัวอย่างที่ 46

1. ครูทบทวนขั้นตอนการวิเคราะหโจทยปญหา กิตติมีเงิน 120 บำท น�ำไปซื้อไม้บรรทัดอลูมิเนียมขนำด 6 นิ้ว รำคำ 16 บำท ปำกกำลูกลื่น


2. ครูยกตัวอยางที่ 46 ในหนังสือเรียน หนา 90 รำคำ 3.75 บำท และกระดำษ A4 รำคำ 87.50 บำท กิตติจะเหลือเงินกี่บำท
บนกระดาน วิธีท�ำ กิตติจะเหลือเงิน เท่ากับ 120 - (16 + 3.75 + 87.50) บาท
= 120 - 107.25 บาท
= 12.75 บาท
ดังนั้น กิตติจะเหลือเงินเท่ากับ 12.75 บาท ตอบ
90

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูควรเปดโอกาสใหนกั เรียนในหองเรียนรวมกันตอบคําถามวา “เราสามารถ แมคาติดปายราคาสมกิโลกรัมละ 85 บาท องุนกิโลกรัมละ
จะนําความรูเ รือ่ ง ทศนิยมไปใชไดอยางไรบาง และนักเรียนพบเห็นจํานวนทศนิยม 165 บาท มังคุดกิโลกรัมละ 35 บาท วาณีซื้อสม 2 15 กิโลกรัม
อยูที่ไหนบางในชีวิตประจําวันของนักเรียน” (เพื่อใหนักเรียนไดเห็นประโยชน องุน 1.3 กิโลกรัม มังคุด 2.6 กิโลกรัม วาณีจายธนบัตรใบละ
และความสําคัญของการเรียนเรื่อง ทศนิยม) หารอยบาท จะไดรับเงินทอนตรงกับขอใด
1. 7.00 บาท 2. 7.50 บาท
3. 8.00 บาท 4. 8.50 บาท
(เฉลยคําตอบ วาณีซื้อผลไมเปนเงินเทากับ
(85 × 2.2 ) + (165 × 1.3 ) + (35 × 2.6 )
= 187 + 214.50 + 91
= 492.5
วาณีใหธนบัตรใบละหารอยบาท จะไดเงินทอนเทากับ
500 - 492.50 = 7.50 บาท
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)

T98
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
ลองท�าดู 3. ครูใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” ในหนังสือเรียน
กัลยำมีเงิน 250 บำท น�ำไปซื้อแฟมศิลปะ 30.25 บำท สีเทียน 65.75 บำท และสีน�้ำ หน า 91 แล วครู แ ละนั ก เรีย นร ว มกั น เฉลย
80.75 บำท กัลยำจะเหลือเงินกี่บำท คําตอบ
4. ครูยกตัวอยางที่ 47 ในหนังสือเรียน หนา 91
ตัวอย่างที่ 47 บนกระดาน และจากนั้นทํา “ลองทําดู” ใน
แม่ค้ำขำยน�้ำผลไม้จ�ำนวน 15 ขวด รำคำขวดละ 11.25 บำท ให้กับลูกค้ำคนหนึ่ง ถ้ำลูกค้ำคนนี้ หนังสือเรียน หนา 91 แลวครูและนักเรียน
จ่ำยเงินมำ 200 บำท อยำกทรำบว่ำแม่ค้ำต้องทอนเงินให้ลูกค้ำกี่บำท รวมกันเฉลยคําตอบ
วิธีท�ำ แม่ค้าขายน�้าผลไม้จ�านวน 15 ขวด
เข้าใจ (Understanding)
ราคาขวดละ 11.25 บาท
จะได้ ราคาน�้าผลไม้ทั้งหมด เท่ากับ 15 × 11.25 บาท 1. ครูแจกใบงานที่ 2.16 เรื่อง การนําความรู
= 168.75 บาท เกี่ยวกับทศนิยมไปใชในชีวิตจริง ใหนักเรียน
ลูกค้าจ่ายเงินมา 200 บาท ทํ า จากนั้ น ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น เฉลย
แม่ค้าต้องทอนเงินให้ลูกค้า เท่ากับ 200 - 168.75 บาท คําตอบใบงานที่ 2.16
= 31.25 บาท 2. ครูใหนักเรียนจับคูกันแลววิเคราะห “H.O.T.S.
ดังนั้น แม่ค้าต้องทอนเงินให้ลูกค้าเท่ากับ 31.25 บาท ตอบ คําถามทาทายการคิดขั้นสูง” ในหนังสือเรียน
หนา 91 จากนัน้ เขียนคําตอบจากการวิเคราะห
ลองท�าดู
ลงในสมุดของตนเอง จากนั้นครูและนักเรียน
สิตำมีเงินอยู่ 245 บำท น�ำเงินไปซื้อปำกกำ 15 ด้ำม รำคำด้ำมละ 15.25 บำท รวมกันเฉลยคําตอบ “H.O.T.S. คําถามทาทาย
อยำกทรำบว่ำสิตำเหลือเงินกี่บำท การคิดขั้นสูง”

ค�าถามทาทายการคิดขัน
้ สูง
จงพิจารณาประโยคต่อไปนี้ว่าเป็นจริงหรือเท็จ เพราะเหตุใด
1. ถ้า a และ b เป็นทศนิยมใด ๆ แล้ว
a÷b=b÷a
2. ถ้า a, b และ c เป็นทศนิยมใด ๆ แล้ว
(a ÷ b) ÷ c = a ÷ (b ÷ c)

91

กิจกรรม ทาทาย เฉลย H.O.T.S. คําถามท้าทายการคิดขั้นสูง


พอคาขายสงไขไกซื้อไขไกจากฟารมฟองละ 2.70 บาท จํานวน 1. เท็จ เพราะถาให a = 0.2 และ b = -0.1 แลว
30,000 ฟอง เขานํามาคัดแยกตามขนาด ดังนี้ จะไดวา a ÷ b คือ 0.2 ÷ (-0.1) = - 0.2
0.1 = -2 ดังนั้น a ÷ b = -2
ขนาดใหญจัดได 50 แผง
และ b ÷ a คือ (-0.1) ÷ (0.2) = - 0.1
0.2 = -0.5 ดังนั้น b ÷ a = -0.5
ขนาดกลางจัดได 300 แผง
ขนาดเล็กจัดได 200 แผง เพราะฉะนั้น a ÷ b b ÷ a
ถาพอคาตองการไดกําไรจากการขายสงในครั้งนี้ 9,000 บาท 2. เท็จ เพราะถาให a = 0.2, b = 0.1 และ c = -0.5 แลว
เขาควรจะตั้ ง ราคาขายไข ไ ก แ ต ล ะขนาดฟองละกี่ บ าท จึ ง จะ 2 = -4
จะไดวา (a ÷ b) ÷ c คือ (0.2 ÷ 0.1) ÷ (-0.5) = - 0.5
เหมาะสมตามขนาดและราคาตอแผงตองเปนจํานวนเต็ม (ไขไก ดังนั้น (a ÷ b) ÷ c = -4
1 แผง มี 30 ฟอง)
และจะไดวา a ÷ (b ÷ c) คือ 0.2 ÷ (0.1 ÷ (-0.5)) = - 0.2
0.2 = -1
ดังนั้น a ÷ (b ÷ c) = -1
เพราะฉะนั้น (a ÷ b) ÷ c a ÷ (b ÷ c)

T99
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
1. ครูใหนกั เรียนจัดกลุม กลุม ละ 4 คน คละความ กิจกรรม คณิตศาสตร์
สามารถทางคณิตศาสตร แลวทํากิจกรรม ดังนี้
- แตละกลุม รวมกันศึกษากิจกรรมคณิตศาสตร ให้นกั เรียนแก้โจทย์ปญ ั หาโดยใช้บาร์โมเดล (Bar model)
“การแกโจทยปญหาโดยใชบารโมเดล (Bar ตัวอย่าง ฟ้าใสปั่นจักรยานทางไกลไปท่องเที่ยวกับเพื่อน ๆ ที่จังหวัดนครนายก โดยในวันแรก
model)” ในหนังสือเรียน หนา 92 ปัน่ จักรยานได้ 49 ของระยะทางทัง้ หมด วันทีส่ องปัน่ จักรยานได้อกี 25 ของระยะทางทีเ่ หลือ ถ้ารวม
- นักเรียนแตละคนวิเคราะหวา ปญหาจาก สองวันฟ้าใสและเพือ่ น ๆ ปัน่ จักรยานได้ 73.8 กิโลเมตร จงหาว่าฟ้าใสและเพือ่ น ๆ ต้องปัน่ จักรยาน
คํ า ถามมี วิ ธีก ารแก อ ย า งไร จากนั้ น แลก ทั้งหมดกี่กิโลเมตรจึงจะถึงจังหวัดนครนายก
เปลี่ ย นคํ า ตอบกั น ภายในกลุ  ม สนทนา ระยะทางทั้งหมดที่ต้องปั่นจักรยานถึงจังหวัดนครนายก
ซักถามจนเปนที่เขาใจรวมกัน ภาพที่ 1
- นักเรียนแตละคนเขียนขั้นตอนแสดงวิธีคิด ระยะทางที่ปั่นจักรยานวันแรก ระยะทางที่เหลือ
ของกลุมตนเองอยางละเอียดลงในสมุด ระยะทางที่เหลือ
- ใหตัวแทนกลุมมานําเสนอคําตอบหนาชั้น ภาพที่ 2
เรียน โดยเพื่อนกลุมที่เหลือคอยตรวจสอบ
ระยะทางที่ปั่นจักรยานวันที่สอง
ความถูกตอง
จากภาพที่ 1 และภาพที่ 2 จะได้ว่า
ระยะทางทั้งหมดที่ต้องปั่นจักรยานถึงจังหวัดนครนายก
73.8
ภาพที่ 3
ระยะทางที่ปั่นจักรยานวันแรก ระยะทางที่
ปั่นจักรยานวันที่สอง
จากภาพที่ 3 จะได้ว่า
6 หน่วย เท่ากับ 73.8 กิโลเมตร
1 หน่วย เท่ากับ 73.86 = 12.3 กิโลเมตร
ดังนั้น ระยะทางทั้งหมดที่ฟ้าใสและเพื่อน ๆ ต้องปั่นจักรยานจนถึงจังหวัดนครนายก คือ
9 หน่วย เท่ากับ 12.3 × 9 = 110.70 กิโลเมตร
ค�าถาม
ต้นกล้าเข้าร่วมการแข่งขันปั่นจักรยานทางไกลจากกรุงเทพฯ ไปถึงจังหวัดเชียงใหม่ โดย
ในวันแรกปั่นจักรยานได้ 15 ของระยะทางทั้งหมด วันที่สองปั่นจักรยานได้อีก 125 ของระยะทาง
ที่เหลือ ถ้ารวมสองวันต้นกล้าปั่นจักรยานได้ระยะทาง 415.20 กิโลเมตร จงหาว่าในการแข่งขัน
จักรยานทางไกลครั้งนี้มีระยะทางทั้งหมดกี่กิโลเมตร
92

เฉลย กิจกรรมคณิตศาสตร์
ระยะทางทั้งหมด
ภาพที่ 1
วันแรกปนได 15 ระยะทางที่เหลือจากวันแรก
ภาพที่ 2
5
วันที่สองปนได 12 ระยะทางที่เหลือจากวันที่สอง
จากภาพที่ 1 และภาพที่ 2 จะไดวา
ระยะทางทั้งหมด
ภาพที่ 3
วันแรกปนได วันที่สองปนได
จากภาพที่ 3 จะไดวา 8 หนวย เทากับ 415.20 กิโลเมตร
1 หนวย เทากับ 415.20
8 = 51.9 กิโลเมตร
T100 ดังนั้น ระยะทางทั้งหมดตนกลาเขารวมการแขงขัน คือ 51.9 × 15 = 778.5 กิโลเมตร
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
แบบฝึกทักษะ 2.2 ค 2. ครูใหนกั เรียนทําแบบฝกทักษะ 2.2 ค ขอ 3.-10.
เปนการบาน โดยครูและนักเรียนวิเคราะห
ระดับ พื้นฐาน
แนวทางการดําเนินการแกโจทยปญ  หารวมกัน
1. จงเขียนเศษส่วนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปทศนิยม กอน
1) - 38 2) -4 34
3) - 118 4) - 379 ขัน้ สรุป
2. จงเขียนทศนิยมต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปเศษส่วน ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ
1) -0.78 2) -12.84 นักเรียน ดังนี้
• ขัน้ ตอนการวิเคราะหโจทยปญ  หา มีอะไรบาง
ระดับ กลาง
(แนวตอบ
3. จรวดล�าหนึง่ ถูกส่งขึน้ สูว่ งโคจรรอบโลกด้วยอัตราเร็ววินาทีละ 11.2 กิโลเมตร1 อยากทราบว่า 1) อานโจทยใหเขาใจ แลวพิจารณาวาโจทย
เมื่อเวลาผ่านไป 59.4 วินาที จรวดล�านี้จะเคลื่อนที่ได้ระยะทางกี่กิโลเมตร
ถามอะไร
4. วิภามีริบบิ้นยาว 50 เมตร ต้องการตัดเป็นเส้นสั้น ๆ ยาวเส้นละ 7.5 เมตร จงหาว่าวิภาตัด 2) สิ่งที่โจทยกําหนดใหมีอะไรบาง
ริบบิ้นได้ทั้งหมดกี่เส้น และจะเหลือริบบิ้นกี่เมตร
3) เลือกวิธีดําเนินการที่จะแกโจทยปญหา
5. กล่องบรรจุหนังสือใบหนึง่ เมือ่ ชัง่ รวมทัง้ กล่องและหนังสือจ�านวน 8 เล่ม จะหนัก 3.7 กิโลกรัม
แลวเขียนประโยคสัญลักษณ
ชั่งเฉพาะกล่องจะหนัก 0.5 กิโลกรัม ถ้าหนังสือแต่ละเล่มหนักเท่า ๆ กัน จงหาว่าหนังสือ
แต่ละเล่มหนักเล่มละกี 4) หาคําตอบ)
1 ่กิโลกรัม • การดํ า เนิ น การในการแก โ จทย ป  ญ หา
6. อารีขายหนังสือพิมพ์เก่า 103.5 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 1.50 บาท อารีน�าเงินที่ขายได้
ทั้งหมดมาซื้อหนังสือพิมพ์ใหม่วันละหนึ่งฉบับ ราคาฉบับละ 10 บาท จงหาว่าอารีจะซื้อ เกี่ยวกับทศนิยม มีอะไรบาง
หนังสือพิมพ์ได้กี่ฉบับและมีเงินเหลือกี่บาท (แนวตอบ การบวก การลบ การคูณ และ
7. ถ้าราคาขายส่งไข่ไก่ลดลงจากฟองละ 2.83 บาท เหลือฟองละ 2.75 บาท จงหาว่าถ้าขายไข่ การหาร)
ขนาดเดียวกันจ�านวน 1,155 ฟอง เมื่อราคาขายลดลงแล้วจะได้เงินน้อยกว่าเดิมกี่บาท
8. สนามรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปหนึ่งมีความยาวรอบรูปเป็น 74.6 เมตร จงหาว่าแต่ละด้านของ ขัน้ ประเมิน
รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสนี้ ยาวด้านละกี่เมตร 1. ครูตรวจใบงานที่ 2.16
9. สุดาหนัก 42.8 กิโลกรัม จงหา 2. ครูตรวจแบบฝกทักษะ 2.2 ค
1) น�้าหนักของแม่ของสุดา ซึ่งหนักมากกว่าสุดา 21.2 กิโลกรัม 3. ครูประเมินการนําเสนอผลงาน
2) น�้าหนักของพ่อของสุดา ซึ่งมีน�้าหนักเป็น 1.5 เท่าของน�้าหนักสุดา 4. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
10. ปูนน�้าหนักน้อยกว่าปอน 29.7 กิโลกรัม ถ้าทั้งสองคนมีน�้าหนักรวมกัน 115.9 กิโลกรัม 5. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
จงหาน�้าหนักของปูนและปอน 6. ครูสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค
1
จรวด. สืบค้นเมื่อ 10 มกราคม 2561, จาก http://www.lesa.biz/space-technology/rocket

93

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


รานคาซื้อสมุดมา 25 โหล ในราคาโหลละ 171 บาท นํามาขาย ครูอาจชี้แนะนักเรียนเพิ่มเติมถึงคําสําคัญที่จะบงบอกถึงการดําเนินการ
ในราคาเลมละ 18.50 บาท ถารานคาขายสมุดทั้งหมด 25 โหล หรือครูอาจจะใหนักเรียนทั้งหองเรียนรวมกันวิเคราะหกอนวา คําสําคัญใดบาง
จะไดกําไรเทาไร ที่บอกถึงการดําเนินการบวก หรือคําสําคัญใดบางบอกถึงการดําเนินการลบ
(เฉลยคําตอบ รานคาซื้อสมุดราคาโหลละ 171 บาท หรือคําสําคัญใดบางที่บอกการดําเนินการคูณและการดําเนินการหาร
สมุด 1 เลม ราคาเทากับ 171
12 = 14.25 บาท
นํามาขายในราคาเลมละ 18.50 บาท นักเรียนควรรู
จะไดกําไรเทากับ 18.50 - 14.25 = 4.25 บาท
รานคาซื้อสมุดมา 25 โหล เทากับ 300 เลม 1 หนังสือพิมพ ฉบับแรกของไทย คือ หนังสือพิมพบางกอกรีคอรเดอร
(The Recorder) หรือชือ่ ไทยวา หนังสือจดหมายเหตุ เปนหนังสือพิมพภาษาไทย
รานคาจะไดกําไร 4.25 × 300 = 1,275 บาท)
เลมแรก เขียนและพิมพโดยหมอบรัดเลย มิชชันนารีชาวอเมริกัน เนื้อหาการ
นําเสนอขาวทั้งตางประเทศและในประเทศเกี่ยวกับราคาสินคา เรื่องที่นาสนใจ
และเขียนบทความแบบวิพากษวิจารณ

T101
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใชความรูเ ดิมฯ (Prior Knowledge)
1
1. ครูกลาวเชือ่ มโยงวา “ในระดับชัน้ ประถมศึกษา 2.3 จ�านวนตรรกยะและสมบัติของจ�านวนตรรกยะ
นักเรียนไดเรียนรูจํานวนนับ เศษสวน และ
ทศนิยมที่เปนบวกมาแลว สวนในระดับชั้น 1. จ�านวนตรรกยะ
นี้ นั ก เรี ย นก็ ไ ด เ รี ย นรู  จํ า นวนเต็ ม เศษส ว น ในระดับชัน้ ประถมศึกษานักเรียนได้เรียนรูจ้ า� นวนนับ เศษส่วน และทศนิยมทีเ่ ป็นจ�านวนบวก
และทศนิยมที่เปนลบเพิ่มอีกดวย นอกจากนี้ มาแล้ว ส่วนในระดับชั้นนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้จ�านวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมที่เป็นจ�านวนลบ
นักเรียนยังรูวา เศษสวนและทศนิยมมีความ ซึ่งจ�านวนเต็มสามารถเขียนในรูปเศษส่วนได้และทศนิยมก็เขียนในรูปเศษส่วนได้เช่นเดียวกัน
สัมพันธกนั ดังนัน้ เศษสวนเขียนในรูปทศนิยม นักคณิตศาสตร์ได้เรียกจ�านวนเหล่านี้ว่า จ�ำนวนตรรกยะ
ได และเราก็สามารถเขียนทศนิยมรูปเศษสวน
ไดเชนกัน” จ�านวนตรรกยะ หมายถึง จ�านวนที่สามารถเขียนในรูปทศนิยมซ�้าหรือเศษส่วน ab
2. ครูกลาวเพิ่มเติมวา นักคณิตศาสตรไดเรียก เมื่อ a และ b เป็นจ�านวนเต็ม โดยที่ b ≠ 0
จํานวนเหลานี้วา “จํานวนตรรกยะ” นั่นคือ
จํานวนตรรกยะ หมายถึง จํานวนที่สามารถ 2. สมบัติของจ�านวนตรรกยะ
เขียนในรูปทศนิยมซํ้าหรือเศษสวน ab เมื่อ a 1) สมบัติของหนึ่งและศูนย์
และ b เปนจํานวนเต็ม โดยที่ b 0
(1) สมบัติของศูนย์
ขัน้ สอน 1. จ�านวนตรรกยะใด ๆ บวกด้วยศูนย์ หรือศูนย์บวกด้วยจ�านวนตรรกยะใด ๆ จะได้
รู (Knowing)
ผลบวกเท่ากับจ�านวนนั้น เช่น
(-5) + 0 = 0 + (-5) = -5
1. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางสมบัติของศูนย
3+0 = 0+3 = 35
ขอ 1. ในหนังสือเรียน หนา 94 5 5
2. ครูอธิบายเพิ่มเติม ดังนี้ “นักเรียนจะสังเกต (-2.46) + 0 = 0 + (-2.46) = -2.46
เห็นวา การบวกจํานวนตรรกยะใดๆ ดวยศูนย
หรือศูนยบวกดวยจํานวนตรรกยะใดๆ จะได a + 0 = 0 + a = a เมื่อ a แทนจ�านวนตรรกยะใด ๆ
ผลบวกเทากับจํานวนนั้น” แลวสรุปเปนกรณี 2. จ�านวนตรรกยะใด ๆ คูณด้วยศูนย์ หรือศูนย์คูณด้วยจ�านวนตรรกยะใด ๆ จะได้
ทั่วไปเหมือนในหนังสือเรียน หนา 94 สมบัติ ผลคูณเท่ากับศูนย์ เช่น
ของศูนย ขอ 1.
3. ให นั ก เรี ย นศึ ก ษาตั ว อย า งสมบั ติ ข องศู น ย (-5) × 0 = 0 × (-5) = 0
ขอ 2. ในหนังสือเรียน หนา 94 3×0 = 0×3 = 0
5 5
4. ครูอธิบายเพิ่มเติม ดังนี้ “นักเรียนจะสังเกต (-2.46) × 0 = 0 × (-2.46) = 0
เห็นวา การคูณจํานวนตรรกยะใดๆ ดวยศูนย
หรือศูนยคูณดวยจํานวนตรรกยะใดๆ จะได a × 0 = 0 × a = 0 เมื่อ a แทนจ�านวนตรรกยะใด ๆ
ผลคูณเทากับศูนย” แลวสรุปเปนกรณีทั่วไป
เหมือนในหนังสือเรียน หนา 94 สมบัติของ 94
ศูนย ขอ 2.

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


1 จํ า นวน (Number) เป น คํ า อนิ ย าม กล า วคื อ จํ า นวนเป น คํ า ที่ ไ ม มี จากโจทย (-1 37 ) + 0 ขอใดที่ใชสมบัติไดถูกตอง
ความหมาย แตเราจะใชจาํ นวนในการแสดงถึงปริมาณของสิง่ ของตางๆ จํานวน
มีดวยกันอยูหลายชนิด เชน จํานวนนับ จํานวนเต็ม เศษสวน ทศนิยม 1. 0 + (-1 37) 2. (-1 37) × 1

(-1 37)
3. 0 4. (-1 37) × (-1)

(เฉลยคําตอบ ขอ 1. เพราะ (-1 37) + 0 = 0 + (-1 37) สมบัติ


ของศูนย และเปนสมบัติการสลับที่ของการบวก)

T102
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
3. ศูนย์หารด้วยจ�านวนตรรกยะใด ๆ ที่ไม่ใช่ศูนย์ จะได้ผลหารเท่ากับศูนย์ เช่น 5. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางสมบัติของศูนย
0 ขอ 3. ในหนังสือเรียน หนา 95
-5 = 0 6. ครูอธิบายเพิ่มเติม ดังนี้ “นักเรียนจะสังเกต
0 ÷ 47 = 0
เห็นวา ศูนยหารดวยจํานวนตรรกยะใดๆ ที่
0 ÷ (-2.5) = 0 ไมใชศูนย จะไดผลหารเทากับศูนย” แลวสรุป
0 = 0 เมื่อ a แทนจ�านวนตรรกยะใด ๆ โดยที่ a ≠ 0 เปนกรณีทั่วไปเหมือนในหนังสือเรียน หนา 95
a
สมบัติของศูนย ขอ 3. และครูกลาวเนนยํ้า
4. ถ้าผลคูณของจ�านวนตรรกยะสองจ�านวนใด ๆ เท่ากับศูนย์ แล้วจ�านวนใดจ�านวน วาตัวหารตองไมเปนศูนย เพราะ a0 ไมมี
หนึ่งต้องเท่ากับศูนย์ กล่าวคือ ความหมายทางคณิ ต ศาสตร “นั ก เรี ย นจะ
เห็นวา การคูณจํานวนตรรกยะสองจํานวน
ถ้า a และ b แทนจ�านวนตรรกยะใด ๆ และ a × b = 0 แล้วจะได้ว่า a = 0 หรือ ใดๆ ถาผลคูณของจํานวนตรรกยะสองจํานวน
b=0 ใดๆ เทากับศูนย แลวจํานวนใดจํานวนหนึ่ง
(2) สมบัติของหนึ่ง ต อ งเท า กั บ ศู น ย ” แล ว สรุ ป เป น กรณี ทั่ ว ไป
เหมือนในหนังสือเรียน หนา 95 สมบัติของ
1. จ�านวนตรรกยะใด ๆ คูณด้วยหนึ่ง หรือหนึ่งคูณด้วยจ�านวนตรรกยะใด ๆ จะได้
ผลคูณเท่ากับจ�านวนนั้น เช่น ศูนย ขอ 4.
7. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางสมบัติของหนึ่ง
(-5) × 1 = 1 × (-5) = -5
ข อ 1. ในหนั ง สื อ เรี ย น หน า 95 จากนั้ น
3×1 = 1×3 = 35
5 5 ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น สรุ ป ว า “การคู ณ
(-2.46) × 1 = 1 × (-2.46) = -2.46 จํานวนตรรกยะใดๆ ดวยหนึ่ง หรือหนึ่งคูณ
ดวยจํานวนตรรกยะใดๆ จะไดผลคูณเทากับ
a × 1 = 1 × a = a เมื่อ a แทนจ�านวนตรรกยะใด ๆ
จํานวนนัน้ ” และขอ 2. ในหนังสือเรียน หนา 95
2. จ�านวนตรรกยะใด ๆ หารด้วยหนึ่ง จะได้ผลหารเท่ากับจ�านวนตรรกยะนั้น เช่น จากนัน้ ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวา “การหาร
(-5) ÷ 1 = -5 จํานวนตรรกยะใดๆ ดวยหนึ่ง จะไดผลหาร
3÷1 = 3 เทากับจํานวนตรรกยะนั้น”
5 5
(-2.46) ÷ 1 = -2.46
a ÷ 1 = a เมื่อ a แทนจ�านวนตรรกยะใด ๆ

95

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


(-1.38) × 1 ขอใดที่ใชสมบัติไดถูกตอง จากสมบัติของศูนยขอ 3. ครูอาจเนนยํ้านักเรียนดวยวาตัวหารจะตอง
1. 0 + (-1.38) ไมเปนศูนย เพราะถาตัวหารเปนศูนยจะไมมีความหมายทางคณิตศาสตร
2. 1 × (-1.38) และจากสมบัติของศูนยในขอ 4. ครูอาจอธิบายนักเรียนเพิ่มเติมดวยวาเราจะ
3. (-1.38)
0
นําสมบัติขอนี้ไปใชในการแกสมการพหุนามที่มีดีกรีสองขึ้นไป ซึ่งเราจะไดเรียน
4. (-1.38) × 1 ในบทเรียนตอๆ ไป
(เฉลยคําตอบ ขอ 2. เพราะ (-1.38) × 1 = 1 × (-1.38) สมบัติ
ของหนึ่ง และเปนสมบัติการสลับที่ของการคูณ)

T103
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
8. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางสมบัติการสลับที่ 2) สมบัติเกี่ยวกับการบวกและการคูณจ�านวนตรรกยะ
ในหนังสือเรียน หนา 96 จากนั้นครูสรุปวา (1) สมบัติการสลับที่
“จํ า นวนตรรกยะมี ส มบั ติ ก ารสลั บ ที่ สํ า หรั บ 1. จ�ำนวนตรรกยะมีสมบัติสลับที่ส�ำหรับกำรบวก เช่น
การบวกและสมบัติการสลับที่สําหรับการคูณ” (-5) + 3 = 3 + (-5) = -2
9. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาตั ว อย า งสมบั ติ ก าร
3 + (- 25 ) = (- 25 ) + 3 = 135
เปลี่ยนหมู ในหนังสือเรียน หนา 96 ขอ 1.
จากนั้นครูสรุปวา “จํานวนตรรกยะมีสมบัติ 7 + (- 1 ) = (- 1 ) + 7 = 65
5 5 5 5
การเปลี่ ย นหมู  สํ า หรั บ การบวกและสมบั ติ (-2.36) + (-1.4) = (-1.4) + (-2.36) = -3.76
การเปลี่ยนหมูสําหรับการคูณ”

ถ้ำ a และ b แทนจ�ำนวนตรรกยะใด ๆ แล้ว a + b = b + a

2. จ�ำนวนตรรกยะมีสมบัติสลับที่ส�ำหรับกำรคูณ เช่น
(-5) × 3 = 3 × (-5) = -15
2 2
3 × (- 5 ) = (- 5 ) × 3 = - 65
7 × (- 1 ) = (- 1 ) × 7 = - 257
5 5 5 5
(-2.36) × (-1.4) = (-1.4) × (-2.36) = 3.304

ถ้ำ a และ b แทนจ�ำนวนตรรกยะใด ๆ แล้ว a × b = b × a

(2) สมบัติการเปลี่ยนหมู่
1. จ�ำนวนตรรกยะมีสมบัติกำรเปลี่ยนหมู่ส�ำหรับกำรบวก เช่น
[4 + (-7)] + (-3) = 4 + [(-7) + (-3)] =
-6
2 3 2
[2 + (- 5 )] + 5 = 2 + [(- 5 ) + 5 ] 3 115
=
[75 + (- 15 )] + (- 25 ) = 75 + [(- 15 ) + (- 25 )] 45
=
[(-1.2) + (-3.5)] + (-4.5) = (-1.2) + [(-3.5) + (-4.5)] = -9.2
ถ้ำ a, b และ c แทนจ�ำนวนตรรกยะใด ๆ แล้ว (a + b) + c = a + (b + c)

96

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูควรเนนใหนักเรียนเห็นถึงประโยชนการใชสมบัติของการสลับที่และ จากโจทย [ 47 + (-1.5)] + 3 ขอใดที่ใชสมบัติไดถูกตอง
การเปลีย่ นหมูใ นการคํานวณ โดยครูอาจยกตัวอยางการดําเนินทีม่ คี วามซับซอน
ใหนักเรียนไดเห็นถึงความยากในการคํานวณ แตหากนักเรียนนําสมบัติการ 1. [47 + 1.5] + 3 2. [47 + (-1.5)] + 3
สลับที่และการเปลี่ยนหมูมาใช จะทําใหการดําเนินการในขอนั้นๆ งายขึ้น
3. 47 + [(-1.5) + 3] 4. [47 + (-1.5)] × 3

(เฉลยคําตอบ ขอ 3. เพราะ


[ 47 + (-1.5)] + 3 = 47 + [(-1.5) + 3] เปนสมบัติการ
เปลี่ยนหมู)

T104
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
2. จ�านวนตรรกยะมีสมบัติการเปลี่ยนหมู่ส�าหรับการคูณ เช่น 10. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาตั ว อย า งสมบั ติ ก าร
[4 × (-7)] × (-3) = 4 × [(-7) × (-3)] = 84 เปลี่ยนหมู ในหนังสือเรียน หนา 97 ขอ 2.
11. ครู ส รุ ป ว า “จํ า นวนตรรกยะมี ส มบั ติ ก าร
[2 × (- 25 )] × 35 = 2 × [(- 25 ) × 35 ] = - 12
25 เปลี่ ย นหมู  สํ า หรั บ การบวกและสมบั ติ ก าร
[75 × (- 15 )] × (- 25 ) = 75 × [(- 15 ) × (- 25 )] 14
= 125 เปลี่ยนหมูสําหรับการคูณ”
[(-1.2) × (-3.5)] × (-4.5) = (-1.2) × [(-3.5) × (-4.5)] = -18.9 12. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาตั ว อย า งของสมบั ติ
เกี่ยวกับการบวกและการคูณจํานวนตรรกยะ
ถ้า a, b และ c แทนจ�านวนตรรกยะใด ๆ แล้ว (a × b) × c = a × (b × c) ในหัวขอสมบัติการแจกแจง หนา 97
13. ครู แ ละนั ก เรี ย นช ว ยกั น สรุ ป ว า “จํ า นวน
(3) สมบัติกำรแจกแจง ตรรกยะมีสมบัตกิ ารแจกแจงระหวางการบวก
จ�านวนตรรกยะมีสมบัติการแจกแจงระหว่างการบวกและการคูณ เช่น และการคูณ”
3 × [4 + (-6)] = (3 × 4) + [3 × (-6)] = -6
2 3 3 2 3 24 เขาใจ (Understanding)
[2 + (- 5 )] × 5 = (2 × 5 ) + [(- 5 ) × 5 ] = 25
1 × [(- 1 ) + (- 2 )] = [1 × (- 1 )] + [1 × (- 2 )] 1. ครูแจกใบงานที่ 2.17 เรื่อง สมบัติของจํานวน
4 3 5 4 3 4 5 = - 11
60 ตรรกยะ ใหนกั เรียนทํา จากนัน้ ครูและนักเรียน
[2.3 + (-5.2)] × (-1.2) = [2.3 × (-1.2)] + [(-5.2) × (-1.2)] = 3.48 รวมกันเฉลยคําตอบใบงานที่ 2.17
2. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 2.3 ขอ 1. และ
ถ้า a, b และ c แทนจ�านวนตรรกยะใด ๆ แล้ว a × (b + c) = (a × b) + (a × c) Exercise 2.3 ขอ 1. ในแบบฝกหัดคณิตศาสตร
และ (b + c) × a = (b × a) + (c × a)
เปนการบาน
การหาผลลัพธ์การด�าเนินการทางคณิตศาสตร์ นักเรียนอาจจะเลือกใช้สมบัติใดสมบัติหนึ่ง 3. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบแบบฝก
ของจ�านวนตรรกยะ เพื่อท�าให้การค�านวณสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ทักษะ 2.3 ขอ 1. และ Exercise 2.3 ขอ 1.
4. ครูใหนักเรียนจับคูศึกษาตัวอยางที่ 48 ใน
ตัวอย่างที่ 48
หนังสือเรียน หนา 97 แลวแลกเปลี่ยนความรู
จงหำผลบวกของ (-8.5) + (-36.21) + (-13.5) กับคูของตนเอง จากนั้นใหนักเรียนแตละคน
วิธีท�ำ (-8.5) + (-36.21) + (-13.5) ทํา “ลองทําดู” ในหนังสือเรียน หนา 98
= (-8.5) + (-13.5) + (-36.21) (สมบัติการสลับที่ส�าหรับการบวก)
= [(-8.5) + (-13.5)] + (-36.21)
= (-22) + (-36.21)
= -58.21 ตอบ

97

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


จากโจทย [12 + (- 11 14
23 )] × 23 ขอใดที่ใชสมบัติไดถูกตอง
ครูอาจจะเพิ่มทักษะการคิดเลขเร็วโดยการใหนักเรียนไดนําสมบัติการ
แจกแจงไปใชในการคํานวณ เพือ่ ทําใหการดําเนินการงายขึน้ เชน (354 × 18) +
1. (12 × 14 11 14
23) + [(- 23) × 23] (646 × 18) = (354 + 646) × 18 = 1,000 × 18 และในการนําสมบัติการ
5
2. 23 แจกแจงไปใช ครูตองเนนยํ้ากับนักเรียนเสมอวาเปนการแจกแจงทางซาย
หรือการแจกแจงทางขวา นักเรียนตองใหความสําคัญดวย เชน (a + b) × c
3. [12 - (- 11 14
23)] × 23 จะมีความหมายวา (a × c) + (b × c) นักเรียนไมควรเขียนวา (c × a) +
4. 14 (c × b) ถึงแมวาคําตอบจะเทากัน เนื่องจากผิดความหมายทางคณิตศาสตร
23
(เฉลยคําตอบ ขอ 1. เพราะ
[12 + (- 11 14 14 11 14
23)] × 23 = (12 × 23) + [(- 23) × 23 ] เปนสมบัติ
การแจกแจง)

T105
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เขาใจ (Understanding)
5. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น เฉลยคํ า ตอบ “ลอง ลองท�าดู
ทําดู” จงหำผลบวกของ (-16.75) + (-42.38) + (-14.25)
6. ครูใหนักเรียนคูเดิมศึกษาตัวอยางที่ 49 ใน
หนังสือเรียน หนา 98 แลวแลกเปลี่ยนความรู
กับคูข องตนเอง จากนัน้ ใหนกั เรียนแตละคนทํา ตัวอย่างที่ 49

“ลองทําดู” จงหำผลลัพธ์ของ [(- 25) × 49] + [(- 25) × 56]


7. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น เฉลยคํ า ตอบ “ลอง วิธีท�ำ จากสมบัติการแจกแจงของจ�านวนตรรกยะ a × (b + c) = (a × b) + (a × c)
ทําดู”
จะได้ว่า [(- 25 ) × 49] + [(- 25 ) × 56] = (- 25 ) × (49 + 56)
8. ครูใหนักเรียนคูเดิมศึกษาตัวอยางที่ 50 ใน
หนังสือเรียน หนา 98 แลวแลกเปลี่ยนความรู = (-25 ) × 105
21
กับคูของตนเอง จากนั้นใหนักเรียนแตละคน = (-2)5 ×× 105
ทํา “ลองทําดู” แลวครูและนักเรียนรวมกัน 1 1
= (-2) × 21
เฉลยคําตอบ
= -42 ตอบ
ลองท�าดู

จงหำผลลัพธ์ของ [97 × (-76)] + [97 × (-85)]

ตัวอย่างที่ 50

จงหำผลคูณของ 203.14 × 1.2


วิธีท�ำ จากสมบัติการแจกแจงของจ�านวนตรรกยะ (b + c) × a = (b × a) + (c × a)
จะได้ว่า 203.14 × 1.2 = (200 + 3.14) × 1.2
= (200 × 1.2) + (3.14 × 1.2)
= 240.0 + 3.768
= 243.768 ตอบ
ลองท�าดู
จงหำผลคูณของ 325.12 × 1.3

98

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ขอใดมีผลลัพธเปนจํานวนเต็ม
1. (3 14 × 4.5) ÷ (1 15 - 0.75) 2. (2 12 ÷ 1 14) × (1 18 + 0.8)

3. 2.5 ÷ (3.12 2
0.8 - 1 5) 4. (7.5 × 34) - 1 78

(เฉลยคําตอบ 1. (3 14 × 4.5) ÷ (1 15 - 0.75) = (3.25 × 4.5) ÷ (1.2 - 0.75) = 14.625 0.45 = 32.5
2. (2 12 ÷ 1 14 ) × (1 18 + 0.8) = (1.25
2.5 × (1.125 + 0.8) = 2 × 1.925 = 3.85
)
3. 2.5 ÷ (3.9 - 1.4) = 2.5
2.5 = 1
4. (7.5 × 34 ) - 1 78 = 5.625 - 1.875 = 3.75
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T106
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เขาใจ (Understanding)
แบบฝึกทักษะ 2.3 9. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 2.3 ขอ 2.-4.
10. จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ
ระดับ พื้นฐาน
แบบฝกทักษะ 2.3 ขอ 2.-4.
1. จงหาผลลัพธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) (-12) + 0 2) 0 + (- 79 ) 3) 0.539 - 0
4) (-7 78 ) × 0 5) 0 ÷ 0.8905 6) 1 × (-21)
7) (- 258 ) ÷ 1 8) 1 × 5.481 9) (-19.28) ÷ 1

ระดับ กลาง

2. จงหาผลลัพธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) 43 + (-3 15 ) + (- 23 )
2) 12.5 × (-23.12) × 8
3) [(-36) × (-12)] + [(-36) × (-28)]
4) [(-17.8) × 15.36] + [(-17.8) × (-18.34)]
1
3. จงเติมจ�านวนตรรกยะใด ๆ ใน และ เพื่อให้แต่ละประโยคต่อไปนี้เป็นจริง
1) (-1.3) + (11.28 + 0.46) = (11.28 - ) + 0.46
2) (- 23 ) × (35 - ) = [(- 23 ) × 35 ] - [(- 23 ) × 14 ]
3) (-25) × 148 = [(-25) × ] - [(-25) × 2]
4) 57 × (-9.3) = (-9.3) × (67 + )
5) ( × 59 ) + [(-1.7) × ] = (-1.7) × 1
6) ( × 2.53) = [(- 112 ) × 2] + [(- 112 ) × ] + [(- 112 ) × 0.03]

4. จงหาผลลัพธ์ของ [115 × (- 139)] - [(- 139) × 112 ]

99

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู


[(4 × 13 12 13
25 ) + [(- 13 ) × 25 ]] คําตอบที่ถูกตองคือขอใด
1 และ เปนสัญลักษณที่ใชแทนจํานวนที่ยังไมทราบคา หรือเรียกวา
“ตัวไมทราบคาหรือตัวแปร” ซึ่งสามารถหาคาไดโดยอาศัยการดําเนินการของ
1. 2.6 2. 1.6 3. -2.6 4. -1.6
การบวก การลบ การคูณ และการหาร ภายใตสมบัติของการเทากัน หรือที่
(เฉลยคําตอบ ขอ 2. เพราะ เรียกวา “การแกสมการ”
[(4 × 13 12 13 12 13
25) + [(- 13) × 25 ]] = [4 + (- 13)] × 25
13 + - 12 × 13
= [( 41 ×× 13 ) ( 13)] 25
= [52 12
13 + (- 13)] ×
13
25
= 40 13
13 × 25
= 40
25 = 1.6)

T107
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
ครูใหนกั เรียนจัดกลุม กลุม ละ 4 คน คละความ คณิตศาสตรในชีวิตจริง
สามารถทางคณิตศาสตร แลวทํากิจกรรม ดังนี้
- ใหแตละกลุม ศึกษาสถานการณจาก “คณิต- นิสำสังเกตใบแจ้งค่ำไฟฟำเดือนกันยำยนพบว่ำ ใช้ไฟฟำจ�ำนวน 563 หน่วย คิดเปนค่ำ
ศาสตรในชีวิตจริง” ในหนังสือเรียน หนา พลังงำนไฟฟำ 2,367.00 บำท ซึ่งค่ำพลังงำนไฟฟำแต่ละหน่วยไม่เท่ำกัน ดังนี้
100 150 หน่วยแรก (1 - 150) เท่ำกับ 487.26 บำท
- จากนั้นใหนักเรียนแตละคนวิเคราะหวามี 250 หน่วยต่อไป (151 - 400) เท่ำกับ 1,055.45 บำท
วิธีการแกปญหาจาก “คณิตศาสตรในชีวิต และเกินกว่ำ 400 หน่วย (401 เปนต้นไป) เท่ำกับ 720.74 บำท
จริง” อยางไร แลวแลกเปลี่ยนคําตอบกัน อยำกทรำบว่ำ ถ้ำในเดือนตุลำคมนิสำใช้ไฟฟำจ�ำนวน 583 หน่วย นิสำจะเสียค่ำพลังงำน
ภายในกลุม สนทนาซักถามจนเปนที่เขาใจ ไฟฟำกี่บำท (ดูรูปใบแจ้งค่ำไฟฟำประกอบ)
รวมกัน
- นักเรียนแตละคนเขียนขั้นตอนแสดงวิธีคิด
ของกลุมตนเองอยางละเอียดลงในสมุด ใบแจงค่าไฟฟา ไม่ใช่ใบเสร็จรับเงิน
- สงตัวแทนกลุมมานําเสนอคําตอบหนาชั้น การไฟฟานครหลวงเขตบางใหญ่ (ติดต่อสอบถาม โทร. 1130 (Call Center) หรือ 0-2832-5274, 0-2832-5374)
สถำนที่ใช้ไฟฟำ 36/375 ม.8 ซ.เสนำสฤษดิ์เดช ถ.กท-นนท อ.เมือง
เรียน โดยเพื่อนกลุมที่เหลือคอยตรวจสอบ โปรดน�าเขาบัญชีก่อนวันที่ บัญชีธนาคาร/บัตรเครดิต เลขที่ รหัสเครื่องวัดฯ
ความถูกตอง 14 / 09 / 60 030210XXXX 94-026900-1
เลขที่ ประเภท ตัวคูณ วันที่จดเลขที่อ่ำน เลขอ่ำนครั้งหลัง เลขอ่ำนครั้งก่อน อัตรำค่ำไฟฟำผันแปร (Ft) สต./หน่วย
04988998 1.2 01 / 09 / 60 36 9473 -15.90
ค่าไฟฟาเดือนปจจุบัน
ค่าพลังงานไฟฟา 2,263.45 บำท จ�ำนวน 563 หน่วย
ค่ำบริกำร 38.22 บำท
(รวมค่ำไฟฟำและบริกำรฯ 2,301.67 บำท) ค่าพลังงานไฟฟา
ค่ำไฟฟำผันแปร (Ft) -89.52 บำท 150 หน่วยแรก (1 - 150) 487.26 บำท
ค่ำไฟฟำรวม 2,212.15 บำท 250 หน่วยต่อไป (151 - 400) 1,055.45 บำท
ภำษีมูลค่ำเพิ่ม 7% 154.85 บำท เกินกว่ำ 400 หน่วย (401 เปนต้นไป) 720.74 บำท
รวมเงิน 2,367.00 บำท รวมเปนเงิน 2,263.45 บาท
รวมเงิน 2,367.00 บาท

100

เฉลย คณิตศาสตร์ ในชีวิตจริง


จากใบแจงคาไฟฟาในเดือนกันยายน พบวา
คาพลังงานไฟฟา 150 หนวยแรก เทากับ 487.26 บาท
คาพลังงานไฟฟา 250 หนวยถัดไป เทากับ 1,055.45 บาท
พลังงานไฟฟาสวนที่เหลือ เทากับ 563 - (150 + 250) = 163 หนวย
∴ คาพลังงานไฟฟา 163 หนวย ราคาหนวยละ 720.74 ≈ 4.42 บาท
163
ถาเดือนตุลาคมนิสาใชไฟฟาจํานวน 583 หนวย
คาพลังงานไฟฟา 150 หนวยแรก เทากับ 487.26 บาท
คาพลังงานไฟฟา 250 หนวยตอไป เทากับ 1,055.45 บาท
พลังงานไฟฟาสวนที่เหลือ เทากับ 583 - (150 + 250) = 183 หนวย
∴ คาพลังงานไฟฟา 183 หนวย ราคาหนวยละประมาณ 183 × 4.42 = 808.86 บาท
นั่นคือ ถานิสาใชไฟฟา 583 หนวย จะเสียคาพลังงานไฟฟาประมาณ 487.26 + 1,055.45 + 808.86 = 2,351.57 บาท
ดังนั้น นิสาจะตองเสียคาพลังงานไฟฟา 2,351.57 บาท

T108
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
1. ครูใหนกั เรียนอานและศึกษา “สรุปแนวคิดหลัก”
สรุปแนวคิดหลัก ของหัวขอหลัก ในหนังสือเรียน หนา 101
2. ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ
เศษส่วน นักเรียน ดังนี้
จ�านวนทีเ่ ขียนในรูป ab เมือ่ a และ b เป็นจ�านวนเต็มใด ๆ โดยที่ b ≠ 0 เรียกว่า “เศษส่วน” • การบวกเศษสวนมีขั้นตอนอยางไร
(แนวตอบ เขียนตัวสวนของเศษสวนที่เปน
จ�ำนวนตรงข้ำมของเศษส่วน
ลบใหเปนจํานวนเต็มบวกกอน จากนั้นทํา
เมื่อ a และ b เป็นจ�านวนเต็มใด ๆ โดยที่ b ≠ 0 เขียนแทนจ�านวนตรงข้ามของ ab
ด้วยสัญลักษณ์ - ab ตัวสวนของทุกเศษสวนใหเทากัน แลวนํา
ตั ว เศษมาบวกกั น โดยที่ ตั ว ส ว นยั ง คง
เศษส่วนที่เท่ำกัน เทาเดิม)
ก�าหนดเศษส่วน ab โดยที่ b ≠ 0 เราสามารถหาเศษส่วนที่เท่ากันได้โดย • การบวกเศษสวนที่เปนลบดวยเศษสวนที่
1. การคูณ นั่นคือ ab = ab ×× cc เมื่อ c เป็นจ�านวนเต็มที่ไม่เท่ากับศูนย์ เปนลบ จะไดผลบวกเปนจํานวนบวกหรือลบ
2. การหาร นั่นคือ ab = ba ÷÷ cc เมื่อ c เป็นจ�านวนเต็มบวกที่เป็นตัวหารร่วมของ (แนวตอบ ไดผลบวกเปนจํานวนลบ)
a และ b • ข อ ตกลงของการลบเศษส ว น โดยอาศั ย
กำรบวก กำรลบ กำรคูณ และกำรหำรเศษส่วน การบวก เปนอยางไร
1. การบวกเศษส่วน มีขั้นตอนดังนี้ (แนวตอบ ตัวตั้ง - ตัวลบ = ตัวตั้ง + จํานวน
1) เขียนตัวส่วนของเศษส่วนที่เป็นลบให้เป็นจ�านวนเต็มบวกก่อน ตรงขามของตัวลบ)
2) ท�าตัวส่วนของทุกเศษส่วนให้เท่ากัน • ทศนิยมเขียนในรูปกระจายไดอยางไร
3) น�าตัวเศษมาบวกกัน โดยที่ตัวส่วนยังคงเท่าเดิม (แนวตอบ เขียนในรูปการบวกของเลขโดด
2. การลบเศษส่วน ใช้หลักการเดียวกับการลบจ�านวนเต็ม คือ ในหลักตางๆ คูณกับคาประจําหลัก)
ตัวตั้ง - ตัวลบ = ตัวตั้ง + จ�านวนตรงข้ามของตัวลบ
3. ก�าหนด ab และ dc เป็นเศษส่วน โดยที่ b, d ≠ 0
แล้ว ab × dc = ba ×× dc
และ ab ÷ dc = ab × dc เมื่อ c ≠ 0
ค่ำประจ�ำหลักของทศนิยม
ค่ำประจ�ำหลัก
จ�ำนวนเต็ม ทศนิยม
... หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย หลักส่วนสิบ หลักส่วนร้อย หลักส่วนพัน หลักส่วนหมื่น ...
... 100 10 1 1 1 1 1 ...
10 100 1,000 10,000
101

กิจกรรม สรางเสริม เกร็ดแนะครู


ใหนักเรียนสรางโจทยปญหาคณิตศาสตรที่เกี่ยวของกับการ การถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของนักเรียน เพื่อปองกันไมใหเกิด
ดําเนินชีวิตโดยใชความรูเรื่องเศษสวนในการสรางโจทยปญหา ความเขาใจที่ผิดพลาดกับหลักการการดําเนินการ ครูจะตองใหนักเรียนทุกคน
คนละ 5 ขอ พรอมทั้งแสดงวิธีทําโดยละเอียด ตอบคําถามทีค่ รูตงั้ เพือ่ ทีค่ รูจะไดแนใจวานักเรียนทุกคนมีความเขาใจทีถ่ กู ตอง
และพรอมที่จะนําความรูไปตอยอดในการเรียนเรื่องตางๆ ตอไป
กิจกรรม ทาทาย
ใหนักเรียนจับคูสรางโจทยปญหาคณิตศาสตรที่เกี่ยวของกับ
การดําเนินชีวิตโดยใชความรูเรื่องเศษสวนที่ตองใชการดําเนินทั้ง
การบวก การลบ การคูณ และการหารเศษสวน ในการดําเนินการ
คนละ 5 ขอ พรอมทั้งแสดงวิธีทําโดยละเอียดและสงใหเพื่อนที่
เปนคูของตนเองตรวจสอบความถูกตอง หลังจากนั้นใหเพื่อนนํา
สงครูและอธิบายกับครูวาเพื่อนทําถูกตองหรือไม และผิดอยางไร
ถาผิดจะแกไขใหถูกตองไดอยางไร

T109
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
3. ครูใหนกั เรียนอานและศึกษา “สรุปแนวคิดหลัก”
ของหัวขอหลัก ในหนังสือเรียน หนา 102
4. ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ
นักเรียน ดังนี้
• การเปรียบเทียบทศนิยมทีเ่ ปนบวก มีหลักการ กำรเปรียบเทียบทศนิยม
อยางไร กำรเปรียบเทียบทศนิยมที่เป็นจ�ำนวนบวก
(แนวตอบ 1. เขียนจํานวนทั้งสองไวบรรทัด 1. เขียนจ�านวนทั้งสองไว้บรรทัดละ 1 จ�านวน โดยให้จุดทศนิยมของแต่ละจ�านวนตรงกัน
ละ 1 จํานวน โดยใหจุดทศนิยมของแตละ 2. เปรียบเทียบเลขโดดในต�าแหน่งเดียวกันจากซ้ายไปขวา จ�านวนทีเ่ ลขโดดในต�าแหน่งนัน้
จํานวนตรงกัน มีค่ามากกว่าจะเป็นจ�านวนที่มากกว่า
กำรเปรียบเทียบทศนิยมที่เป็นจ�ำนวนลบ
2. เปรียบเทียบเลขโดดในตําแหนง ให้พิจารณาค่าสัมบูรณ์ของทศนิยมทั้งสองจ�านวน ดังนี้
เดียวกันจากซายไปขวา เลขโดดคูแรกที่ 1. ทศนิยมใดมีค่าสัมบูรณ์มากกว่า ทศนิยมนั้นจะมีค่าน้อยกว่าทศนิยมอีกจ�านวนหนึ่ง
ไมเทากันเลขโดดใดมีคา มากกวา ทศนิยมนัน้ 2. ถ้าค่าสัมบูรณ์ของทั้งสองทศนิยมเท่ากัน แสดงว่าทศนิยมทั้งสองเท่ากัน
จะมีคามากกวา) กำรบวก กำรลบ กำรคูณ และกำรหำรทศนิยม
• การเปรียบเทียบทศนิยมทีเ่ ปนลบ มีหลักการ
1) กำรบวกทศนิยม
อยางไร ก�าหนดให้ a และ b แทนทศนิยมบวกใด ๆ จะได้
(แนวตอบ 1. ทศนิ ย มใดที่ มี ค  า สั ม บู ร ณ a+b=a+b
มากกวา ทศนิยมนั้นจะมีคานอยกวา (-a) + (-b) = -(a + b)
2. ถ า ค า สั ม บู ร ณ ข องทศนิ ย ม a + (-b) = a - b เมื่อ a ≥ b
ทั้งสองมีคาเทากัน แสดงวาทศนิยมทั้งสอง a + (-b) = -(b - a) เมื่อ b > a
มีคาเทากัน) (-a) + b = -(a + b) เมื่อ a ≥ b
• การบวกและการลบทศนิ ย ม มี ห ลั ก การ (-a) + b = b - a เมื่อ b > a
สําคัญอยางไร 2) กำรลบทศนิยม
( แนวตอบ ต อ งตั้ ง จุ ด ทศนิ ย มของตั ว ตั้ ง ก�าหนดให้ a และ b แทนทศนิยมบวกใด ๆ จะได้
และตัวบวกหรือตัวลบใหตรงกัน จากนั้น a - b = a + จ�านวนตรงข้ามของ b นั่นคือ a - b = a + (-b)
นํ า ทศนิ ย มที่ อ ยู  ตํ า แหน ง เดี ย วกั น มาบวก 3) กำรคูณและกำรหำรทศนิยม
หรือลบกัน) ก�าหนดให้ a และ b แทนทศนิยมบวกใด ๆ จะได้
a×b=a×b a÷b=a÷b
(-a) × (-b) = a × b (-a) ÷ (-b) = a ÷ b
a × (-b) = -(a × b) a ÷ (-b) = -(a ÷ b)
(-a) × b = -(a × b) (-a) ÷ b = -(a ÷ b)

102

เกร็ดแนะครู กิจกรรม สรางเสริม


ครูอาจเปดโอกาสใหนักเรียนไดยกตัวอยางสถานการณในชีวิตประจําวัน ใหนักเรียนสรางโจทยปญหาคณิตศาสตรที่เกี่ยวของกับการ
ที่ตองใชความรูที่เกี่ยวกับทศนิยมในการดําเนินการ การบวก การลบ การคูณ ดําเนินชีวิตโดยใชความรูเรื่องทศนิยมในการสรางโจทยปญหา
และการหาร เชน การคํานวณคาสิ่งของที่มีมูลคาเปนหนวยสตางค เปนตน คนละ 5 ขอ พรอมทั้งแสดงวิธีทําโดยละเอียด

กิจกรรม ทาทาย
ใหนักเรียนจับคูสรางโจทยปญหาคณิตศาสตรที่เกี่ยวของกับ
การดําเนินชีวิตโดยใชความรูเรื่องทศนิยมที่ตองใชการดําเนินทั้ง
การบวก การลบ การคูณ และการหารทศนิยม ในการดําเนินการ
คนละ 5 ขอ พรอมทัง้ แสดงวิธที าํ โดยละเอียดและสงใหเพือ่ นทีเ่ ปน
คูของตนเองตรวจสอบความถูกตอง หลังจากนั้นใหเพื่อนนําสงครู
และอธิบายกับครูวา เพือ่ นทําถูกตองหรือไม และผิดอยางไร ถาผิด
จะแกไขใหถูกตองไดอยางไร

T110
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
5. ครูใหนกั เรียนอานและศึกษา “สรุปแนวคิดหลัก”
ของหัวขอหลัก ในหนังสือเรียน หนา 103
6. ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ
นักเรียน ดังนี้
จ�ำนวนตรรกยะ • จํานวนตรรกยะใดๆ บวกดวยศูนย หรือศูนย
จ�านวนตรรกยะ หมายถึง จ�านวนที่สามารถเขียนในรูปทศนิยมซ�้าหรือเศษส่วน ab บวกดวยจํานวนตรรกยะใดๆ จะไดผลบวก
เมื่อ a และ b เป็นจ�านวนเต็ม โดยที่ b ≠ 0 เทากับ
สมบัติของจ�ำนวนตรรกยะ (แนวตอบ ผลบวกเทากับจํานวนนั้นๆ)
1. สมบัติของหนึ่งและศูนย์ • จํานวนตรรกยะใดๆ คูณดวยศูนย หรือศูนย
ก�าหนดให้ a และ b แทนจ�านวนตรรกยะใด ๆ คูณดวยจํานวนตรรกยะใดๆ จะไดผลคูณ
1) สมบัติของศูนย์ เทากับ
a+0=0+a=a (แนวตอบ ผลคูณเทากับศูนย)
a×0=0×a=0 • ศูนยหารดวยจํานวนตรรกยะใดๆ ที่ไมใช
0 = 0 โดยที่ a ≠ 0 ศูนย จะไดผลหารเทากับ
a
ถ้า a × b = 0 แล้ว a = 0 หรือ b = 0 (แนวตอบ ผลหารเทากับศูนย)
2) สมบัติของหนึ่ง • จํานวนตรรกยะใดๆ คูณดวยหนึ่ง หรือหนึ่ง
a×1=1×a=a คูณดวยจํานวนตรรกยะใดๆ จะไดผลคูณ
a÷1=a เทากับ
2. สมบัติเกี่ยวกับกำรบวกและกำรคูณจ�ำนวนตรรกยะ (แนวตอบ ผลคูณเทากับจํานวนนั้นๆ)
ก�าหนดให้ a, b และ c แทนจ�านวนตรรกยะใด ๆ • จํานวนตรรกยะใดๆ หารดวยหนึ่ง จะได
1) สมบัติกำรสลับที่ ผลหารเทากับ
a+b=b+a (แนวตอบ ผลหารเทากับจํานวนนั้นๆ)
a×b=b×a • สมบัติเกี่ยวกับการบวกและการคูณจํานวน
2) สมบัติกำรเปลี่ยนหมู่ ตรรกยะที่นักเรียนไดเรียนรู ไดแกอะไรบาง
(a + b) + c = a + (b + c) ( แนวตอบ สมบั ติ ก ารสลั บ ที่ สมบั ติ ก าร
(a × b) × c = a × (b × c)
เปลี่ยนหมู และสมบัติการแจกแจง)
3) สมบัติกำรแจกแจง
7. ครูใหนักเรียนเขียนผังมโนทัศน ในหนังสือ
a × (b + c) = (a × b) + (a × c) เรียน หนา 101-103 หนวยการเรียนรูที่ 2
(b + c) × a = (b × a) + (c × a)
จํานวนตรรกยะ ลงในกระดาษ A4

103

กิจกรรม เสริมสรางคุณลักษณะอันพึงประสงค เกร็ดแนะครู


ใหนักเรียนจัดกลุม กลุมละ 5 คน โดยคละความสามารถทาง ครู ค วรเป ด โอกาสให นั ก เรี ย นได ส รุ ป แนวคิ ด สํ า คั ญ ของบทเรี ย นลง
คณิตศาสตร จากนั้นใหนักเรียนรวมกันศึกษาเพิ่มเติม เพื่อคนหา ผังมโนทัศนของตนเอง ตามความชื่นชอบของรูปแบบผังมโนทัศน หรือการให
ความเชื่อมโยงของหนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่องจํานวนเต็ม กับหนวย สีของผังมโนทัศน ตามจินตนาการของนักเรียนแตละคน เพื่อสงเสริมความคิด
การเรียนรูที่ 2 เรื่องจํานวนตรรกยะ วาความสัมพันธกันอยางไร สรางสรรค อีกทั้งครูอาจใหนักเรียนแตละคนไดนําเสนอผลงานของตนเอง
อีกทั้งใหนักเรียนศึกษาคนควาเพิ่มเติมดวยวา นอกจากจํานวน โดยการจัดแสดงไวที่ปายนิเทศในหองเรียน
ตรรกยะแลว ยังมีจํานวนอื่นๆ อีกหรือไม พรอมทั้งอธิบายลักษณะ
พอสังเขป แลวใหนักเรียนนําเสนอหนาชั้นเรียน โดยเปดโอกาส
ให นั ก เรี ย นทั้ ง ชั้ น เรี ย นร ว มกั น แสดงแนวคิ ด และอภิ ป รายอย า ง
เปดกวาง

T111
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
8. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะประจําหนวย
แบบฝึ ก ทั ก ษะ
การเรียนรูที่ 2 เปนการบาน
9. ครูถามคําถามเพื่อเนนยํ้าความคิดรวบยอด
ของนักเรียนอีกครั้ง ดังนี้
ประจ�าหน่วยการเรียนรู้ที่ 2
• การบวกและการลบทศนิ ย ม มี ห ลั ก การ 1. จงพิจารณาว่าในแต่ละข้อต่อไปนี้เป็นจริงหรือเท็จ
สําคัญอยางไร 1) 16
21 < 6
5 2) - 128 < - 139
(แนวตอบ ตองตั้งจุดทศนิยมของตัวตั้งและ 3) - 12 25 -5 11 3
ตั ว บวกหรื อ ตั ว ลบให ต รงกั น จากนั้ น นํ า 11 > - 14 4) 13 < -5 7
ทศนิยมที่อยูตําแหนงเดียวกันมาบวกหรือ 5) -2.1 < -2.2 6) -1.004 > -1.04
ลบกัน) 7) (-1.2) × (-0.8) = 9.6 8) (-27.5) ÷ (-1.1) = 25
• การคู ณ ทศนิ ย มที่ เ ป น บวกด ว ยทศนิ ย มที่ 2. จงหาผลลัพธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้
เปนลบ หรือการคูณทศนิยมที่เปนลบดวย
ทศนิยมที่เปนบวก จะไดผลคูณเปนจํานวน 1) (-1 45 ) + [(- 34 ) - (- 17
20)] 2) [(-2 12 ) ÷ (-2 23 )] ÷ (-3 34 )
บวกหรือลบ 3) [(- 23 ) - (-1 101 )] ÷ 56 4) 14 + [(- 34 ) × (-1 14 )]
(แนวตอบ ไดผลคูณเปนจํานวนลบ)
• การคู ณ ทศนิ ย มที่ เ ป น ลบด ว ยทศนิ ย มที่ 5) -(3.24 + 0.625) - (2.26 - 1.98) 6) 123.9 × (-0.04)
เปนลบ จะไดผลคูณเปนจํานวนบวกหรือลบ 7) (-0.0738) ÷ (-0.09) 11.6 × (-2)
8) (-3.2) × (-0.05)
(แนวตอบ ไดผลคูณเปนจํานวนบวก)
• การหารทศนิยมที่เปนบวกดวยทศนิยมที่ 9) [(-35.24) × (-0.5)] - 29.4 10) 0.11 + (25.3 - 9.68)
เปนลบ หรือการหารทศนิยมที่เปนลบดวย 3. จงหาผลลัพธ์ของ 2 34 - 7 18 - (-5 35 )
ทศนิยมที่เปนบวก จะไดผลหารเปนจํานวน
บวกหรือลบ 4. จงหาผลลัพธ์ของ [(- 14 ) - 4 23 ] - (2 56 + 1 23 )
(แนวตอบ ไดผลหารเปนจํานวนลบ) 5. จงหาผลลัพธ์ของ (59 - 1 23 ) ÷ (-1 23
• การหารทศนิ ย มที่ เ ป น ลบด ว ยทศนิ ย มที่ 27)
เปนลบ จะไดผลหารเปนจํานวนบวกหรือลบ 6. จงหาผลลัพธ์ของ (-125.17) - (-72.9) - 57.24
(แนวตอบ ไดผลหารเปนจํานวนบวก)
7. จงหาผลลัพธ์ของ
1) (-15.18) + (-49.99) - (-26.04)
2) 0.0084 × (-0.03) × (-0.78)
3) 2.53 × (-0.0057) ÷ 1.9

104

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


เพือ่ ประสิทธิภาพในการเรียนรูข องผูเ รียน ครูควรเนนยํา้ กับนักเรียนวาใหทาํ ผลลัพธของ 2 34 ×
6 + 5.25 ÷ 1.75 คือจํานวนในขอใด
2 11
แบบฝกทักษะประจําหนวยการเรียนรูที่ 2 ดวยตนเอง และหากมีขอสงสัย
1. 7 2. 8 3. 10 4. 20
หรือไมเขาใจใหคนหาคําตอบดวยตนเองกอน หากไมสามารถหาคําตอบดวย
ตนเองได ใหนักเรียนถามเพื่อน แลวถาเพื่อนไมสามารถตอบไดใหนํากลับมา (เฉลยคําตอบ ขอ 3. เพราะ
ถามครู เพื่อเปนการฝกใหนักเรียนแสวงหาความรูดวยตนเอง 2 34 × 2 11
6 + 5.25 ÷ 1.75 = 11 × 28 + 525 × 100
( 4 11) (100 175)
=7+3
= 10)

T112
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
10. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําถามในหนังสือ
เรียน หนา 40 ที่ไดถามไวในชั่วโมงแรกของ
8. จงหาผลลัพธ์ของ (-39 38 ) × (-1 153 ) ÷ 21
52 การเรียนในหนวยการเรียนรูที่ 2
9. ลุงเชาว์ซื้อไก่มาเลี้ยง 1,000 ตัว ปรากฏว่า เมื่อเวลาผ่านไป 1 สัปดาห์ ไก่ตายไป 101 ของ (แนวตอบ นิธิศตองปนจักรยานทั้งหมด 945
จ�านวนไก่ที่ซื้อมา และให้เพื่อนบ้านไป 15 ของจ�านวนไก่ที่ซื้อมา อยากทราบว่าลุงเชาว์เหลือ กิโลเมตร จึงจะถึงเสนชัย)
ไก่ทั้งหมดกี่ตัว
ขัน้ ประเมิน
10. โรงเรียนแห่งหนึ่งมีนักเรียนทั้งหมด 300 คน เป็นนักเรียนชาย 35 ของนักเรียนทั้งหมด 1. ครูตรวจผังมโนทัศน
ถ้า 23 ของนักเรียนชาย และ 16 ของนักเรียนหญิง เลือกเข้าชมรมเสริมทักษะคณิตศาสตร์ 2. ครูตรวจใบงานที่ 2.17
อยากทราบว่าจ�านวนนักเรียนที่เลือกเข้าชมรมเสริมทักษะคณิตศาสตร์มีกี่คน 3. ครูตรวจแบบฝกทักษะ 2.3
11. แม่ค้าซื้อมะม่วงมาจ�านวนหนึ่ง พบว่ามีมะม่วงเน่า 251 ของจ�านวนมะม่วงทั้งหมด แม่ค้า 4. ครูตรวจ Exercise 2.3
ขายมะม่วงไป 15 5. ครูตรวจแบบฝกทักษะประจําหนวยการเรียนรู
19 ของจ�านวนมะม่วงที่ไม่เน่า ต่อมาซื้อมะม่วงมาเพิ่มอีก 379 ผล ท�าให้
จ�านวนมะม่วงที่มีขณะนี้เท่ากับจ�านวนมะม่วงที่ซื้อมาครั้งแรก จงหาจ�านวนมะม่วงที่แม่ค้า ที่ 2
ซื้อมาครั้งแรก 6. ครูประเมินการนําเสนอผลงาน
7. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
12. ในชั่วโมงรักการอ่านสัปดาห์แรกสุดาอ่านหนังสือได้ 0.25 ของจ�านวนหน้าทั้งหมด และ 8. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
สัปดาห์ตอ่ มาสุดาอ่านได้อกี 0.4 ของจ�านวนหน้าทีเ่ หลือ รวมสองสัปดาห์สดุ าอ่านได้ 78 หน้า 9. ครูสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค
จงหาว่าหนังสือเล่มนี้มีทั้งหมดกี่หน้า
13. ในงานนิทรรศการวิชาการมีร้านขายหนังสือร้านหนึ่ง เมื่อวานร้านนี้ขายหนังสือได้ 49 ของ
หนังสือทัง้ หมด วันนีก้ อ่ นเทีย่ งวันขายหนังสือได้ 128 เล่ม และหลังเทีย่ งวันขายได้อกี 100 เล่ม
ถ้าทั้งสองวันร้านนี้ขายหนังสือได้ 500 เล่ม จงหาว่าร้านนี้เหลือหนังสือกี่เล่ม
14. 157 ของประชากรทั้งหมดของหมู่บ้านแห่งหนึ่งเป็นผู้ชาย จากการส�ารวจพบว่า 34 ของผู้ชาย
ทั้งหมดเป็นคนจีน 15 ของผู้ชายทั้งหมดเป็นคนไทย และจ�านวนผู้ชายที่เหลือเป็นคนอินเดีย
ถ้าหมู่บ้านแห่งนี้มีผู้ชายที่เป็นคนอินเดีย 14 คน จงหา
1) จ�านวนผู้ชายที่เป็นคนจีนในหมู่บ้านแห่งนี้
2) จ�านวนผู้หญิงทั้งหมดในหมู่บ้านแห่งนี้

105

กิจกรรม 21st Century Skills แนวทางการวัดและประเมินผล


ให นั ก เรี ย นแบ ง กลุ  ม ละ 5 คน คละความสามารถทาง ครูศึกษาเกณฑการวัดและการประเมินผล เพื่อประเมินผลงาน/ชิ้นงาน
คณิตศาสตร รวมกันคนหาขอสอบแขงขันเรื่องจํานวนตรรกยะ รายบุคคลและรายกลุมของนักเรียนจากใบประเมินของแผนการจัดการเรียนรู
จํ า นวน 10 ข อ โดยนั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม จะต อ งแสดงวิ ธีทํ า ในหนวยการเรียนรูที่ 2
โดยละเอียดดวยวิธีการของตนเอง และใชโปรแกรม PowerPoint
แสดงแนวคิ ด หน า ชั้ น เรี ย น หรื อ แนะนํ า การใช โ ปรแกรมทาง
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
แบบประเมินการนาเสนอผลงาน
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับ
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับ ระดับคะแนน

คณิตศาสตรที่สามารถใชในการคํานวณหรือแสดงวิธีทําในโจทย
ระดับคะแนน
การมี
การทางาน
ระดับคะแนน การแสดง การยอมรับฟัง ส่วนร่วมใน รวม
ลาดับ ลาดับ ชื่อ – สกุล ตามที่ได้รับ ความมีน้าใจ
รายการประเมิน ความคิดเห็น คนอื่น การปรับปรุง 20
ที่ 4 3 2 1 ที่ ของนักเรียน มอบหมาย
ผลงานกลุ่ม คะแนน

ที่กลุมของตนเองสืบคนมาไดหนาชั้นเรียน
1 เนื้อหาละเอียดชัดเจน     4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1
2 ความถูกต้องของเนื้อหา    
3 ภาษาที่ใช้เข้าใจง่าย    
4 ประโยชน์ที่ได้จากการนาเสนอ    
5 วิธีการนาเสนอผลงาน    

รวม

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
............/................./................

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
เกณฑ์การให้คะแนน
............/................./................
ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชัดเจน ให้ 4 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องบางส่วน ให้ 3 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็นส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 4 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องมาก ให้ 1 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครัง้ ให้ 2 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
18 - 20 ดีมาก เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
14 - 17 ดี ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10 - 13 พอใช้ 18 - 20 ดีมาก
ต่ากว่า 10 ปรับปรุง 14 - 17 ดี
10 - 13 พอใช้
ต่ากว่า 10 ปรับปรุง

T113
Chapter Overview

แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 1 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายความหมาย Concept - ตรวจใบงานที่ 3.1 - ทักษะการ 1. มีวินัย
การเขียนเลข พื้นฐาน คณิตศาสตร์ ของเลขยกก�ำลัง Based เรื่อง การเขียน เชือ่ มโยง 2. ใฝ่เรียนรู้
ยกก�ำลังที่มี ม.1 เล่ม 1 ที่มีเลขชี้ก�ำลังเป็น Teaching เลขยกก�ำลังที่มี 3. มุ่งมั่น
เลขชี้กำ� ลังเป็น - แบบฝึกหัด จ�ำนวนเต็มบวก (K) เลขชี้ก�ำลังเป็น ในการท�ำงาน
จ�ำนวนเต็มบวก คณิตศาสตร์ ม.1 2. เขียนแสดงขั้นตอน จ�ำนวนเต็มบวก
เล่ม 1 การหาค่าของเลข - ตรวจแบบฝึกทักษะ
2 - ใบงานที่ 3.1 เรื่อง ยกก�ำลังที่มีเลขชี้ก�ำลัง 3.1
ชั่วโมง การเขียนเลขยกกำ�ลัง เป็นจ�ำนวนเต็มบวกได้ - ตรวจ Exercise 3.1
ที่มีเลขชี้ก�ำ ลังเป็น (P) - ประเมินการน�ำเสนอ
จำ�นวนเต็มบวก 3. ใช้ความรู้ ทักษะ และ ผลงาน
กระบวนการทาง - สังเกตพฤติกรรม
คณิตศาสตร์ในการ การท�ำงานรายบุคคล
แก้ปัญหาได้อย่าง - สังเกตพฤติกรรม
เหมาะสม (P) การท�ำงานกลุ่ม
4. รับผิดชอบต่อหน้าที่ - สังเกตคุณลักษณะ
ที่ได้รับมอบหมาย (A) อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายวิธีการหา Concept - ตรวจใบงานที่ 3.2 - ทักษะการ 1. มีวินัย
การคูณ พื้นฐาน คณิตศาสตร์ ผลคูณของ Based เรื่อง การคูณ เชือ่ มโยง 2. ใฝ่เรียนรู้
เลขยกก�ำลัง ม.1 เล่ม 1 เลขยกก�ำลัง Teaching เลขยกก�ำลัง 3. มุ่งมั่น
เมื่อเลขชี้กำ� ลัง - แบบฝึกหัด เมื่อเลขชี้ก�ำลังเป็น เมื่อเลขชี้ก�ำลัง ในการท�ำงาน
เป็นจ�ำนวน คณิตศาสตร์ ม.1 จ�ำนวนเต็มบวกได้ (K) เป็นจ�ำนวนเต็มบวก
เต็มบวก เล่ม 1 2. เขียนแสดงขั้นตอน - ตรวจ Exercise 3.2
- ใบงานที่ 3.2 เรื่อง การหาผลคูณของ - ประเมินการน�ำเสนอ
2 การคูณเลขยกกำ�ลัง เลขยกก�ำลัง ผลงาน
ชั่วโมง เมื่อเลขชี้ก�ำ ลังเป็น เมื่อเลขชี้ก�ำลังเป็น - สังเกตพฤติกรรม
จำ�นวนเต็มบวก จ�ำนวนเต็มบวกได้ (P) การท�ำงานรายบุคคล
3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ - สังเกตพฤติกรรม
ที่ได้รับมอบหมาย (A) การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 3 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายวิธีการหา Concept - ตรวจใบงานที่ 3.3 - ทักษะการ 1. มีวินัย
การหาร พื้นฐาน คณิตศาสตร์ ผลหารของ Based เรื่อง การหาร เชื่อมโยง 2. ใฝ่เรียนรู้
เลขยกก�ำลัง ม.1 เล่ม 1 เลขยกก�ำลัง Teaching เลขยกกำ�ลัง 3. มุ่งมั่น
เมื่อเลขชี้กำ� ลัง - แบบฝึกหัด เมื่อเลขชี้ก�ำลังเป็น เมื่อเลขชี้ก�ำ ลัง ในการท�ำงาน
เป็นจ�ำนวน
เต็มบวก คณิตศาสตร์ ม.1 จ�ำนวนเต็มบวกได้ (K) เป็นจำ�นวนเต็มบวก
เล่ม 1 2. เขียนแสดงขั้นตอน - ตรวจแบบฝึกทักษะ
- ใบงานที่ 3.3 เรื่อง การหาผลหาร 3.2
2 การหารเลขยกกำ�ลัง ของเลขยกก�ำลัง - ตรวจ Exercise 3.2
ชั่วโมง เมื่อเลขชี้ก�ำ ลังเป็น เมื่อเลขชี้ก�ำลังเป็น
จำ�นวนเต็มบวก จ�ำนวนเต็มบวกได้ (P)

T114
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ - ประเมินการนำ�เสนอ
ที่ได้รับมอบหมาย (A) ผลงาน
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 4 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายความหมาย Concept - ตรวจใบงานที่ 3.4 - ทักษะการ 1. มีวินัย
การเขียนจ�ำนวน พืน้ ฐาน คณิตศาสตร์ ของจ�ำนวนที่มีค่า Based เรื่อง การเขียน เชือ่ มโยง 2. ใฝ่เรียนรู้
ในรูปสัญกรณ์ ม.1 เล่ม 1 มาก ๆ หรือทศนิยม Teaching จำ�นวนในรูปสัญกรณ์ 3. มุ่งมั่น
วิทยาศาสตร์ - ใบงานที่ 3.4 เรื่อง ทีม่ ีค่าน้อย ๆ ในรูป วิทยาศาสตร์ ในการท�ำงาน
การเขียนจำ�นวนในรูป สัญกรณ์วิทยาศาสตร์ - ตรวจแบบฝึกทักษะ
2 สัญกรณ์วิทยาศาสตร์ ได้ (K) 3.3
ชั่วโมง 2. ใช้ความรู้ ทักษะ และ - สังเกตพฤติกรรม
กระบวนการทาง การทำ�งานรายบุคคล
คณิตศาสตร์ในการ - สังเกตคุณลักษณะ
แก้ปัญหาได้อย่าง อันพึงประสงค์
เหมาะสม (P)
3. รับผิดชอบต่อหน้าที่
ที่ได้รับมอบหมาย (A)
แผนฯ ที่ 5 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายการน�ำความรู้ Concept - ตรวจใบงานที่ 3.5 - ทักษะการ 1. มีวินัย
การน�ำความรู้ พื้นฐาน คณิตศาสตร์ เกีย่ วกับเลขยกก�ำลัง Based เรื่อง การนำ�ความรู้ ประยุกต์ใช้ 2. ใฝ่เรียนรู้
เกี่ยวกับ ม.1 เล่ม 1 ไปใช้แก้ปัญหา Teaching เกี่ยวกับเลขยกกำ�ลัง ความรู้ 3. มุ่งมั่น
เลขยกก�ำลัง - ใบงานที่ 3.5 เรื่อง คณิตศาสตร์และ ไปใช้ในชีวิตจริง ในการท�ำงาน
ไปใช้ ในชีวิตจริง
การนำ�ความรู้เกี่ยวกับ ปัญหาในชีวิตจริง (K) - ตรวจแบบฝึกทักษะ
เลขยกกำ�ลังไปใช้ 2. เขียนแสดงขัน้ ตอน 3.4
2 ในชีวิตจริง การแก้ปัญหาทาง - ตรวจแบบฝึกทักษะ
ชั่วโมง คณิตศาสตร์เกี่ยวกับ ประจำ�หน่วยการ
เลขยกก�ำลังได้ (P) เรียนรู้ที่ 3
3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ - ประเมินการนำ�เสนอ
ที่ได้รับมอบหมาย (A) ผลงาน
- ตรวจผังมโนทัศน์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
เลขยกกำ�ลัง
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การทำ�งานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์

T115
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
หน่วยการเรียนรูที่
1. ครู แ จ ง จุ ด ประสงค ข องหน ว ยการเรี ย นรู  ใ ห
นักเรียนทราบ
2. ครู ก ระตุ  น ความสนใจของนั ก เรี ย น โดยให
นักเรียนดูภาพหนาหนวย จากนั้นครูอธิบาย
3 เลขยกก�าลัง
ขอมูลที่เกี่ยวกับแฟลชไดรฟ
3. ครูถามคําถามในหนังสือเรียน หนา 106 แลว
ใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ : ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น เฉลย
คําถามในหนังสือเรียน หนา 106 หลังเรียน
หนวยการเรียนรูที่ 3

แฟลชไดรฟ (Flash Drive) เปนอุปกรณ์ที่ใช้ในก�รเก็บ


ข้อมูลจ�กคอมพิวเตอร์ โดยทั่วไปจะมีคว�มจุหล�กหล�ย เช่น
128 MB, 256 MB, 512 MB, 1024 MB (1GB), 2048 (2GB) และ
4096 (4GB) เปนต้น ซึ่งในปจจุบันได้มีก�รพัฒน�คว�มจุเพิ่มขึ้น
เรื่อย ๆ เนือ่ งจ�กเปนที่นิยม ส�ม�รถเก็บข้อมูลได้ในปริม�ณม�ก
และพกพ�ได้สะดวก
ตัวชี้วัด Q.จ�กข้อมูล ทำ�ไมจึง
• เข้ำใจและใช้สมบัติของเลขยกก�ำลังที่มีเลขชี้ก�ำลังเป็นจ�ำนวนเต็มบวก ต้องผลิตแฟลชไดร์ฟ
ในกำรแก้ปญหำคณิตศำสตร์และปญหำในชีวิตจริง (ค 1.1 ม.1/2)
สาระการเรียนรูแกนกลาง
ต�มคว�มจุข้�งต้นเท่�นั้น
• เลขยกก�ำลังที่มีเลขชี้ก�ำลังเป็นจ�ำนวนเต็มบวก และ¢นÒ´¤ÇÒÁ¨Ø
เฉลย คําถามในหนังสือเรียน หน้า 106 • กำรน�ำควำมรู้เกี่ยวกับจ�ำนวนเต็ม จ�ำนวนตรรกยะ และเลขยกก�ำลัง
ไปใช้ในกำรแก้ปญหำ
áต่ÅФÇÒมจØมี¤ÇÒม
เนื่องจากขอมูลในคอมพิวเตอรจะถูกเก็บใน Êัม¾ัน¸กันอย่�งไร
ระบบเลขฐานสอง และแต ละขนาดความจุ ข อง
ขอมูลในคอมพิวเตอรเปนจํานวนที่อยูในรูปเลข
ยกกําลังที่มีฐานเปน 2

เกร็ดแนะครู
การเรียนการสอนหนวยการเรียนรูนี้ ครูควรยกตัวอยางการใชเลขยกกําลัง
ในชีวิตประจําวัน และเนนใหนักเรียนตระหนักถึงประโยชนของเลขยกกําลัง
ทั้งในดานการคํานวณและการเขียนแสดงจํานวนซึ่งเปนทักษะพื้นฐานในการ
ศึกษาวิชาคณิตศาสตรในระดับสูงขึ้นตอไป

T116
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
ควรรูก ่อนเรียน 4. ครูใหนกั เรียนศึกษา “ควรรูก อ นเรียน” ในหนังสือ
เรียน หนา 107 จากนั้นครูทบทวนความรูให
กำรเรียนเรื่องเลขยกก�ำลังให้มีควำมเข้ำใจได้ง่ำยขึ้น จ�ำเป็นต้องมีควำมรู้ในเรื่องต่อไปนี้ กับนักเรียน ดังนี้
1. ตัวประกอบ - ตั ว ประกอบของจํ า นวนนั บ ใดๆ คื อ
จํานวนนับที่หารจํานวนนับนั้นไดลงตัว
ตัวประกอบของจำ�นวนนับใด ๆ คือ จ�ำนวนนับที่หำรจ�ำนวนนับนั้นได้ลงตัว
- จํานวนเฉพาะ เปนจํานวนนับทีม่ ตี วั ประกอบ
1) จ�ำนวนนับที่หำร 10 ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 5 และ 10 เพียงสองตัวเทานั้น คือ 1 กับจํานวนนับนั้น
ดังนั้น 10 มีตัวประกอบสี่ตัว คือ 1, 2, 5 และ 10 - ตัวประกอบที่เปนจํานวนเฉพาะ เรียกวา
2) จ�ำนวนนับที่หำร 21 ลงตัว ได้แก่ 1, 3, 7 และ 21 ตัวประกอบเฉพาะ
ดังนั้น 21 มีตัวประกอบสี่ตัว คือ 1, 3, 7 และ 21 - การแยกตั ว ประกอบของจํ า นวนนั บ ใดๆ
2. จำ�นวนเฉพ�ะ เปนการเขียนจํานวนนับในรูปการคูณของ
จำ�นวนเฉพ�ะ เป็นจ�ำนวนนับที่มีตัวประกอบเพียงสองตัวเท่ำนั้น ตัวประกอบเฉพาะ
คือ 1 กับจ�ำนวนนับนั้น 5. ครูถามคําถาม ดังนี้
• วิธีแยกตัวประกอบทําไดอยางไรบาง
1) 2 เป็นจ�ำนวนเฉพำะ เพรำะมีตัวประกอบเพียงสองตัว คือ 1 และ 2 ( แนวตอบ นั ก เรี ย นอาจตอบว า ทํ า ได โ ดย
2) 10 ไม่เป็นจ�ำนวนเฉพำะ เพรำะมีตัวประกอบสี่ตัว คือ 1, 2, 5 และ 10 ตั้งหารสั้น หรือโดยใชแผนภาพตนไม)
3. ตัวประกอบเฉพ�ะ
ตัวประกอบที่เป็นจ�ำนวนเฉพำะ เรียกว่ำ ตัวประกอบเฉพ�ะ
1) 9 มีตัวประกอบ คือ 1, 3 และ 9
เนื่องจำก 3 เป็นจ�ำนวนเฉพำะ ดังนั้น 3 เป็นตัวประกอบเฉพำะของ 9
2) 25 มีตัวประกอบ คือ 1, 5 และ 25
เนื่องจำก 5 เป็นจ�ำนวนเฉพำะ ดังนั้น 5 เป็นตัวประกอบเฉพำะของ 25
4. ก�รแยกตัวประกอบ
ก�รแยกตัวประกอบของจำ�นวนนับใด ๆ เป็นกำรเขียนจ�ำนวนนับในรูปกำรคูณ
ของตัวประกอบเฉพำะ
1) 36 แยกตัวประกอบได้เป็น 36 = 2 × 2 × 3 × 3
2) 42 แยกตัวประกอบได้เป็น 42 = 2 × 3 × 7

107

กิจกรรม สรางเสริม เกร็ดแนะครู


ใหนักเรียนทบทวนการแยกตัวประกอบของจํานวนนับตอไปนี้ ครูเนนยํ้าเกี่ยวกับจํานวนเฉพาะ โดยใชการถามตอบ เชน
1) 16 2) 28 3) 100 • จํานวนใดตอไปนี้เปนจํานวนเฉพาะ
4) 144 5) 150 6) 300 2 5 7 15 21 39 41
แยกตัวประกอบได ดังนี้ (แนวตอบ 2, 5, 7 และ 41)
1) 2 × 2 × 2 × 2 2) 2 × 2 × 7 • จํานวน 1 ถึง 100 มีจํานวนใดเปนจํานวนเฉพาะบาง
3) 2 × 2 × 5 × 5 4) 2 × 2 × 2 × 2 × 3 × 3 (แนวตอบ 2, 3, 5, 7, 11, 13, 17, 19, 23, 29, 31, 37, 41, 43, 47, 53,
5) 2 × 3 × 5 × 5 6) 3 × 2 × 2 × 5 × 5 59, 61, 67, 71, 73, 79, 83, 89 และ 97)

T117
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
1. ครูใหนักเรียนอานเรื่อง การพับกระดาษรูป 3.1 การเขียนเลขยกก�าลังที่มีเลขชี้ก�าลัง
สี่เหลี่ยมผืนผา ในหนังสือเรียน หนา 108 เป็นจ�านวนเต็มบวก
เมื่อนักเรียนอานจบแลวครูถามคําถาม ดังนี้
• ถาพับกระดาษ 6 ครั้ง จะไดจํานวนเสนแบง กระดำษรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ำเป็นกระดำษที่มีควำมยำวของด้ำนตรงข้ำมยำวเท่ำกัน แต่ควำม
ของกระดาษกี่เสน ยำวด้ำนที่อยู่ติดกันยำวไม่เท่ำกัน และมุมทุกมุมเป็นมุมฉำก
(แนวตอบ 64 เสน) นักเรียนจะพบว่ำ เมื่อนักเรียนพับกระดำษรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ำ 1 ครั้ง ตำมแนวแกนสมมำตร
• ถาพับกระดาษ 7 ครั้ง จะไดจํานวนเสนแบง กระดำษจะถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนที่เท่ำกัน จำกนั้นถ้ำนักเรียนพัับกระดำษอีก 1 ครั้ง ตำมแนว
ของกระดาษกี่เสน แกนสมมำตร กระดำษจะถูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วนที่เท่ำกัน จำกนั้นถ้ำนักเรียนพับกระดำษอีก
1 ครั้ง ตำมแนวแกนสมมำตร กระดำษจะถูกแบ่งออกเป็น 8 ส่วนที่เท่ำกัน ถ้ำนักเรียนท�ำเช่นนี้
(แนวตอบ 128 เสน)
ไปเรื่อย ๆ นักเรียนจะได้ว่ำกระดำษถูกแบ่งออกเป็นส่วน ๆ จำกกำรพับกระดำษแต่ละครั้ง ดังนี้
• นักเรียนหาจํานวนเหลานั้นไดอยางไร
(แนวตอบ 64 ไดมาจาก 32 × 2 และ 128 จำ�นวนครั้งในก�รพับกระด�ษ จำ�นวนส่วนแบ่งของกระด�ษ
ไดมาจาก 64 × 2) ต�มแนวแกนสมม�ตร จ�กก�รพับกระด�ษแต่ละครั้งต�มแนวแกนสมม�ตร
จากนั้ น ครู ก ล า วว า “จํ า นวนเส น แบ ง ของ 1 2 = 2
กระดาษเพิ่มขึ้นเปนพหุคูณของ 2 หรือเกิด 2 2 × 2 = 4
จากการนํา 2 คูณกันหลายๆ ตัว ซึ่งขึ้นอยูกับ 3 2 × 2 × 2 = 8
จํานวนครั้งในการพับกระดาษ” 4 2 × 2 × 2 × 2 = 16
2. ครูอธิบายเพิ่มเติมวา “นักคณิตศาสตรจึงได 5 2 × 2 × 2 × 2 × 2 = 32
⋮ ⋮
มี ก ารกํ า หนดสั ญ ลั ก ษณ เพื่ อ แทนจํ า นวน
ทีเ่ กิดจากการคูณจํานวนซํา้ ๆ กัน” จากนัน้ ครู นักเรียนจะพบว่ำ จ�ำนวนส่วนแบ่งของกระดำษจำกกำรพับกระดำษในแต่ละครั้งตำมแนว
กลาวถึงบทนิยามของเลขยกกําลัง ในหนังสือ แกนสมมำตรจะมีจำ� นวนเพิม่ ขึน้ เป็นสองเท่ำของจ�ำนวนเดิมเสมอ ซึง่ จ�ำนวนส่วนแบ่งของกระดำษ
เรียน หนา 108 เกิดจำกกำรคูณ 2 ซ�้ำกันหลำย ๆ ตัว โดยมีจ�ำนวนมำกขึ้นเรื่อย ๆ ขึ้นอยู่กับจ�ำนวนครั้งในกำรพับ
ส�ำหรับวิชำคณิตศำสตร์จงึ มีกำรก�ำหนดสัญลักษณ์ เพือ่ แทนจ�ำนวนทีเ่ กิดจำกกำรคูณจ�ำนวนซ�ำ้ ๆ กัน
และได้ให้นิยำมไว้ ดังนี้
บทนิยาม
1 มบวก
ให้ a แทนจ�ำนวนใด ๆ และ n แทนจ�ำนวนเต็
“a ยกก�ำลัง n” หรือ “a ก�ำลัง n” เขียนแทนด้วย an มีควำมหมำย ดังนี้
an = a × a × a × ... × a
n ตัว
n ว่ำ เลขยกก�ำลังที่มี a เป็นฐำน และ n เป็นเลขชี้ก�ำลัง
เรียก a

108

นักเรียนควรรู กิจกรรม สรางเสริม


1 an มีขอสังเกตเกี่ยวกับการพิมพเลขยกกําลัง คือ เลขชี้กําลังอยูดานบน ใหนักเรียนเลือกจํานวนที่มี 3 หลัก 3 จํานวนที่สามารถเขียน
เยื้องไปทางขวา และใชตัวเลขที่มีขนาดเล็กกวาตัวเลขที่เปนฐาน เชน 32, 53, 45 ในรูปเลขยกกําลังที่มีฐานเปนจํานวนเฉพาะ
เปนตน

กิจกรรม ทาทาย
ใหนักเรียนหาจํานวนที่มี 3 หลัก มา 3 จํานวน ที่สามารถ
เขียนในรูปเลขยกกําลังที่มีฐานและเลขชี้กําลังเปนจํานวนเฉพาะ

T118
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
จงพิจำรณำเลขยกก�ำลังต่อไปนี้ 3. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางเลขยกกําลัง ใน
สัญลักษณ์ 34 อ่ำนว่ำ “สำมยกก�ำลังสี่” หรือ “สำมก�ำลังสี่” หนังสือเรียน หนา 109 จากนั้นครูถามคําถาม
34 มี 3 เป็นฐำน และมี 4 เป็นเลขชี้ก�ำลัง ดังนี้
34 แทน 3 × 3 × 3 × 3 • เลขยกกําลัง (-2)4 มีผลคูณเปนจํานวนบวก
34 = 81 หรือจํานวนลบ (แนวตอบ จํานวนบวก)
(-2)4 อ่ำนว่ำ “ลบสองทั้งหมดยกก�ำลังสี่” หรือ “ลบสองทั้งหมดก�ำลังสี่” • เลขยกกําลัง (-3)3 มีผลคูณเปนจํานวนบวก
(-2)4 มี -2 เป็1นฐำน และมี 4 เป็นเลขชี้ก�ำลัง หรือจํานวนลบ (แนวตอบ จํานวนลบ)
(-2)4 แทน (-2) × (-2) × (-2) × (-2) • เลขยกกําลังที่มีฐานเปนจํานวนลบ ผลคูณ
(-2)4 = 16
ทีไ่ ดจะมีความสัมพันธกบั เลขชีก้ าํ ลังอยางไร
(-3)3 อ่ำนว่ำ “ลบสำมทัง้ หมดยกก�ำลังสำม” หรือ “ลบสำมทัง้ หมดก�ำลังสำม” (แนวตอบ เลขยกกําลังทีม่ ฐี านเปนจํานวนลบ
(-3)3 มี -3 เป็นฐำน และมี 3 เป็นเลขชี้ก�ำลัง
(-3)3 แทน (-3) × (-3) × (-3) ถาเลขชี้กําลังเปนจํานวนคู ผลคูณที่ไดจะ
(-3)3 = -27 เป น บวก แต ถ  า เลขชี้ กํ า ลั ง เป น จํ า นวนคี่
2 ผลคูณที่ไดจะเปนลบ)
(12 ) อ่ำนว่ำ “เศษหนึ่งส่วนสองทั้งหมดยกก�ำลังสอง” หรือ “เศษหนึ่ง 4. ครูใหนักเรียนศึกษาขอควรระวัง ในหนังสือ
ส่วนสองทั้งหมดก�ำลังสอง”
2 เรียน หนา 109 จากนั้นครูถามคําถาม ดังนี้
(12 ) มี 12 เป็นฐำน และมี 2 เป็นเลขชี้ก�ำลัง • นักเรียนคิดวาเลขยกกําลัง -24 มีฐานเปน
2
(12 ) แทน (12 ) × (12 ) เทาไร (แนวตอบ 2)
2
(12 ) = 14 • เลขยกกําลัง -24 มีเลขชี้กําลังเปนเทาไร
3 (แนวตอบ 4)
(- 35 ) อ่ำนว่ำ “ลบเศษสำมส่วนห้ำทั้งหมดยกก�ำลังสำม” หรือ “ลบเศษสำม • เขียนในรูปผลคูณของฐานไดอยางไร
ส่วนห้ำทั้งหมดก�ำลังสำม”
3 (แนวตอบ -(2 × 2 × 2 × 2))
(- 35 ) มี - 35 เป็นฐำน และมี 3 เป็นเลขชี้ก�ำลัง • มีผลคูณเทากับเทาไร (แนวตอบ -16)
3
(- 35 ) แทน (- 35 ) × (- 35 ) × (- 35 ) ครูสรุปวา -24 = -(2 × 2 × 2 × 2) = -16
3
(- 35 ) = - 125
27 แลวครูกลาวถึงขอควรระวังวา เลขยกกําลัง
-24 ไมไดมีฐานเปน -2 ถาเลขยกกําลังชุดนี้
¢ŒÍ¤ÇÃÃÐÇѧ มีฐานเปน -2 จะเขียนไดในรูป (-2)4 ซึ่งมี
✘ ✔ ผลคูณเทากับ (-2) × (-2) × (-2) × (-2) = 16
-24 = (-2) × (-2) × (-2) × (-2) -24 = -(2 × 2 × 2 × 2)
= 16 = -16 ซึ่งมีคาไมเทากับ -24

เขาใจ (Understanding)
109
ครูใหนักเรียนทํา Exercise 3.1 ขอ 1. ในแบบ
ฝกหัดคณิตศาสตร เปนการบาน

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู


-35 ขอใดถูกตอง 1 (-2) ในเรื่องเลขยกกําลัง มีขอตกลงในทางคณิตศาสตรวา ตัวเลขที่ไมมี
1. เขียนแทนการคูณซํ้าของ (-3) จํานวน 5 ตัว เลขชี้กําลัง หมายถึงมี 1 เปนเลขชี้กําลัง
2. -3 เปนฐาน 5 เปนเลขชี้กําลัง
3. -35 เปนจํานวนตรงขามของ 35
4. ไมมีขอใดถูกตอง สื่อ Digital
(เฉลยคําตอบ จากบทนิยามของเลขยกกําลัง จะไดวา -35 เขียน เรียนรูเพิ่มเติมเรื่อง เลขยกกําลัง จากภาพยนตรสารคดีสั้น เรื่อง กระดาน
แทนการคูณซํ้าของ -(3 × 3 × 3 × 3 × 3) = -243 หมากรุกของจักรพรรดิ ไดที่ https://www.twig-aksorn.com/film/the-
ซึ่งจะไดวา มี 3 เปนฐาน และ 5 เปนเลขชี้กําลัง และมีจํานวน emperors-chess-board-8457/
ตรงขามของ -243 คือ -(-243)
นั่นคือ จํานวนตรงขามของ -243 คือ 243 = 35
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T119
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
1. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ Exercise ตัวอย่างที่ 1
3.1 ขอ 1. จงเขียนเลขยกกําลังตอไปน�้ใหอยูในรูปจํานวนเต็มหรือเศษสวนหรือทศนิยม
3
2. ครู ท บทวนบทนิ ย ามของเลขยกกํ า ลั ง ใน 1) 32 2) (-4)3 3) (- 12 ) 4) (0.7)3
หนังสือเรียน หนา 108
วิธีทํา การเขียนเลขยกกําลังใหอยูใ นรูปจํานวนเต็มหรือเศษสวนหรือทศนิยม ตองใชบทนิยาม
3. ครู ใ ห นั ก เรี ย นจั บ คู  ศึ ก ษาตั ว อย า งที่ 1 ใน เลขยกกําลัง ซึ่งทําไดดังนี้
หนั ง สื อ เรี ย น หน า 110 แล ว แลกเปลี่ ย น
1) จากบทนิยามเลขยกกําลัง จะไดวา 32 = 3 × 3 = 9
ความรูกับคูของตนเอง จากนั้นใหนักเรียน
2) จากบทนิยามเลขยกกําลัง จะไดวา (-4)3 = (-4) × (-4) × (-4) = -64
แตละคนทํา “ลองทําดู” 3
4. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น เฉลยคํ า ตอบ “ลอง 3) จากบทนิยามเลขยกกําลัง จะไดวา (- 12 ) = (- 12 ) × (- 12 ) × (- 12 ) = - 18
ทําดู” 4) จากบทนิยามเลขยกกําลัง จะไดวา (0.7)3 = 0.7 × 0.7 × 0.7 = 0.343 ตอบ
5. ครูยกตัวอยางที่ 2 ในหนังสือเรียน หนา 110 ลองทําดู
บนกระดาน พร อ มทั้ ง อธิ บ ายวิ ธีก ารเขี ย น จงเขียนเลขยกกําลังตอไปนี้ใหอยูในรูปจํานวนเต็มหรือเศษสวนหรือทศนิยม
จํ า นวนในรู ป ของเลขยกกํ า ลั ง ที่ มี ฐ านเป น 1) 92 2) (-5)4 3) (- 14 )
4
4) (0.3)3
จํานวนเฉพาะ 243, 9, 8 และ 4 แลวใหนกั เรียน
ทํา “ลองทําดู” จากนั้นครูและนักเรียนรวมกัน ตัวอย่างที่ 2
เฉลยคําตอบ จงเขียนจํานวนตอไปน�้ใหอยูในรูปเลขยกกําลังที่มีฐานเปนจํานวนเฉพาะ
1) 243 × 9 2) 82 × 42
เขาใจ (Understanding)
วิธีทํา การเขียนจํานวนใหอยูในรูปเลขยกกําลังที่มีฐานเปนจํานวนเฉพาะ ตองใชบทนิยาม
1. ครู แ จกใบงานที่ 3.1 เรื่ อ ง การเขี ย นเลข เลขยกกําลัง ซึ่งทําไดดังนี้
ยกกํ า ลั ง ที่ มี เ ลขชี้ กํ า ลั ง เป น จํ า นวนเต็ ม บวก 1) 243 × 9 = (3 × 3 × 3 × 3 × 3) × (3 × 3)
ใหนักเรียนทํา จากนั้นครูและนักเรียนรวมกัน = 3×3×3×3×3×3×3
เฉลยคําตอบใบงานที่ 3.1 = 37
2. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 3.1 ขอ 1.-2. 2) 82 × 42 = (8 × 8) × (4 × 4)
จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ = [(2 × 2 × 2) × (2 × 2 × 2)] × [(2 × 2) × (2 × 2)]
แบบฝกทักษะ 3.1 ขอ 1.-2. = 2×2×2×2×2×2×2×2×2×2
= 210 ตอบ
ลองทําดู
จงเขียนจํานวนตอไปนี้ใหอยูในรูปเลขยกกําลังที่มีฐานเปนจํานวนเฉพาะ
1) 42 × 32 2) 81 × 92
110

สื่อ Digital กิจกรรม สรางเสริม


เรียนรูเพิ่มเติมเรื่อง เลขยกกําลัง จากภาพยนตรสารคดีสั้น เรื่อง จํานวน ใหนกั เรียนเลือกจํานวน 4 หลัก และ 5 หลัก มา 3 จํานวนเขียน
ที่ใหญที่สุด ไดที่ https://www.twig-aksorn.com/film/the-biggest-number- ในรูปเลขยกกําลังมีฐานเปนจํานวนเฉพาะ
ever-8536/

กิจกรรม ทาทาย
ใหนักเรียนเลือกจํานวน 5 หลัก มา 3 จํานวน มาเขียนในรูป
เลขยกกําลังที่มีฐานและเลขชี้กําลังเปนจํานวนเฉพาะ

T120
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
แบบฝึกทักษะ 3.1 1. ครูใหนกั เรียนจัดกลุม กลุม ละ 4 คน คละความ
สามารถทางคณิตศาสตร แลวทํากิจกรรม ดังนี้
ระดับ พื้นฐาน
• ให นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ช ว ยกั น ทํ า แบบฝ ก
1. จงเขียนเลขยกก�ำลังต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปจ�ำนวนเต็มหรือทศนิยม ทักษะ 3.1 ขอ 6. โดยเขียนลงในสมุดของ
1) 35 2) 52 ตนเอง
3) (-7)3 4) (-2)5 • จากนัน้ ใหนกั เรียนแลกเปลีย่ นความรูภ ายใน
5) -52 6) -72 กลุม ของตนเอง และสนทนาซักถามเกีย่ วกับ
7) (-0.2)3 8) (-0.1)4 วิธีการคิดหาคําตอบ จนเปนที่เขาใจรวมกัน
1
2. จงเขียนจ�ำนวนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปเลขยกก�ำลังที่มีฐำนเป็
นเป็นจ�ำนวนเฉพำะ หรือผลคูณของ • ใหตัวแทนกลุมมานําเสนอคําตอบหนาชั้น
เลขยกก�ำลังโดยที่ฐำนของเลขยกก�ำลังแต่ละตัวเป็นจ�ำนวนเฉพำะ เรียน
1) 625 2) 729 2. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 3.1 ขอ 3.-5.
3) 24 × 32 4) 92 × 82 และ Exercise 3.1 ขอ 2.-3. ในแบบฝกหัด
5) 72 × 256 6) 27 × 92 คณิตศาสตรเปนการบาน
7) 1,024 8) 256 × 2,048
ระดับ กลาง
ขัน้ สรุป
3. จงเขียนจ�ำนวนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปเลขยกก�ำลังที่มีฐำนเท่ำกับ 3 หรือ -3 ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ
1) 243 2) 729 นักเรียน ดังนี้
3 • เลขยกกําลัง คืออะไร
4. ก�ำหนดให้ A = (-4)2, B = -43 และ C = (- 102 ) จงหำค่ำของ (แนวตอบ การคูณจํานวนซํ้าๆ กัน)
1) A + B 2) A + C • “a ยกกําลัง n” มีความหมายอยางไร
3) B + C 4) A - B (แนวตอบ an = a × a × a × ... × a)
5. จงเขียนจ�ำนวนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปเลขยกก�ำลังที่มีฐำนเป็นจ�ำนวนเฉพำะหรือผลคูณของ n ตัว
เลขยกก�ำลังโดยที่ฐำนของเลขยกก�ำลังแต่ละตัวเป็นจ�ำนวนเฉพำะ
3 2
1) 27 81× 3 2) 25 ×3625
5
ขัน้ ประเมิน
2
3) 128
4
× 43
4) 2 527 ×
4 1. ครูตรวจใบงานที่ 3.1
9 2. ครูตรวจแบบฝกทักษะ 3.1
ระดับ ท้าทาย 3. ครูตรวจ Exercise 3.1
3 2
6. (-3) × 102 เขียนให้อยู่ในรูปอย่ำงง่ำยได้อย่ำงไร 4. ครูประเมินการนําเสนอผลงาน
27 × (-5) 5. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
111 6. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
7. ครูสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู


ขอใดเปนผลคูณของ (-243) × 3,375 ซึ่งเขียนในรูปเลขยกกําลัง 1 จํานวนเฉพาะ (Prime Number) หมายถึง จํานวนเต็ม a ใด ๆ ซึ่ง a
1. (-3)5 × 53 ไม เ ท า กั บ ศู น ย และต อ งหารลงตั ว ด ว ย ±1 และ ±a เท า นั้ น เช น ±2,
2. 38 × (-5)3 ±3, ±5, ±7, ±11 เป น ต น (ส ว นมากมั ก จะกล า วถึ ง จํ า นวนเฉพาะที่ เ ป น

3. -38 × 53 จํานวนจริงบวกเทานั้น)
4. -(35 × 53)
(เฉลยคําตอบ (-243) × 3,375 = (-3)5 × (15)3
= -(35) × (3 × 5)3
= -35 × 33 × 53
= -38 × 53
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T121
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
ครู ท บทวนความหมายของเลขยกกํ า ลั ง ว า 3.2 การคูณและการหารเลขยกก�าลัง เมื่อเลขชี้ก�าลัง
an = a × a × a × … × a จากนั้นครูยกตัวอยาง เป็นจ�านวนเต็มบวก
n ตัว
เลขยกกํ า ลั ง แล ว ให นั ก เรี ย นเขี ย นในรู ป การ 1. การคูณเลขยกก�าลัง เมื่อเลขชี้ก�าลังเป็นจ�านวนเต็มบวก
คูณของฐานเปนจํานวนซํ้าๆ กัน ตามจํานวน จงพิจำรณำผลคูณของเลขยกก�ำลังต่อไปนี้
เลขชี้กําลัง 1) 34 × 33 = (3 × 3 × 3 × 3) × (3 × 3 × 3)
= 3 × 3 × 3 × 3 × 3 × 3 × 3
ขัน้ สอน = 37
รู้ (Knowing) = 34 + 3
1. ครูยกตัวอยางการหาผลคูณของเลขยกกําลัง 2) (-5)3 × (-5)2 = [(-5) × (-5) × (-5)] × [(-5) × (-5)]
34 × 33 ในหนังสือเรียน หนา 112 บนกระดาน = (-5) × (-5) × (-5) × (-5) × (-5)
= (-5)5
พรอมกับถามคําถาม ดังนี้
= (-5)3 + 2
• 34 เขียนในรูปการคูณของฐานเปนจํานวน 2 3
ซํ้าๆ กันไดอยางไร 3) (95 ) × (95 ) = (95 × 95 ) × (95 × 95 × 95 )
(แนวตอบ 3 × 3 × 3 × 3) = 95 × 95 × 95 × 95 × 95
• 33 เขียนในรูปการคูณของฐานเปนจํานวน 5
= (95 )
ซํ้าๆ กันไดอยางไร 2+3
(แนวตอบ 3 × 3 × 3) = ( 95 )
• 34 × 33 เขียนในรูปการคูณของฐานเปน 4) ให้ a แทนจ�ำนวนใด ๆ
จํานวนซํ้าๆ กันไดอยางไร a3 × a3 = (a × a × a) × (a × a × a)
(แนวตอบ 3 × 3 × 3 × 3 × 3 × 3 × 3) = a × a × a × a × a × a
• 34 × 33 เขียนในรูปเลขยกกําลังไดอยางไร = a6
(แนวตอบ 37) = a3 + 3
จากนั้นครูสรุปวา 34 × 33 = 37 มาจาก 34+3 จะเห็นว่ำ กำรคูณเลขยกก�ำลังที่มีฐำนเดียวกัน ผลคูณจะเป็นเลขยกก�ำลังที่มีฐำนเท่ำเดิม
2. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาตั ว อย า งการหาผลคู ณ และมีเลขชีก้ ำ� ลังเท่ำกับผลบวกของเลขชีก้ ำ� ลังของเลขยกก�ำลังทีน่ ำ� มำคูณกัน ซึง่ เป็นไปตำมสมบัติ
ของเลขยกกํ า ลั ง ข อ 2) 3) และ 4) ใน ของเลขยกก�ำลังดังนี้
หนังสือเรียน หนา 112 แลวครูและนักเรียน สมบัติ 1
รวมกันสรุปดังในกรอบ “สมบัติ 1” ในหนังสือ ก�ำหนดให้ a แทนจ�ำนวนใด ๆ และ m, n แทนจ�ำนวนเต็มบวก
เรียน หนา 112 ที่กําหนดให a แทนจํานวน am × an = am + n
ใดๆ และ m, n แทนจํานวนเต็มบวก 112
am × an = am+n

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


การเขียนเลขยกกําลังที่มีฐานเปนจํานวนลบ เศษสวน หรือทศนิยมจะตอง ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
ใสวงเล็บ “( )” ที่ฐานเพื่อใหเกิดความชัดเจน เพราะวาเลขยกกําลังที่มีฐาน 1. 23 × 23 = 29
เปนจํานวนลบจะเปนจํานวนบวกเมื่อเลขชี้กําลังเปนจํานวนคู และเปนจํานวน 2. 33 × 34 = 97
ลบเมื่อเลขชี้กําลังเปนจํานวนคี่ เชน 3. 44 × 42 = 46
2 4. 52 × 53 = 56
- 25 = -(2 5× 2) = -45
2 (เฉลยคําตอบ 1. ผิด เพราะ 23 × 23 = 23+3 = 26
แต (-25) = (-25) × (-25) = 25 4 2. ผิด เพราะ 33 × 34 = 33+4 = 37
3 3. ถูก เพราะ 44 × 42 = 44+2 = 46
และ (-25) = (- 25 ) × (- 25 ) × (- 25 ) = 125
-8
4. ผิด เพราะ 52 × 53 = 52+3 = 55
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T122
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
ตัวอย่างที่ 3 3. ครูยกตัวอยางที่ 3 ในหนังสือเรียน หนา 113
จงเขียนผลคูณของจำ�นวนในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่�งง่�ย บนกระดาน และแสดงการหาผลคู ณ ของ
จํ า นวนในรู ป เลขยกกํ า ลั ง แล ว ให นั ก เรี ย น
1) 34 × 32 2) (-2)3 × (-2)2
3 5 ทํา “ลองทําดู” จากนั้นครูและนักเรียนรวมกัน
3) (35 ) × (35 ) 4) p4 × p5 เมื่อ p แทนจ�ำนวนใด ๆ เฉลยคําตอบ “ลองทําดู”
วิธีทำ� ก ำรเขียนผลคูณของจ�ำนวนให้อยู่ในรูปอย่ำงง่ำย ต้องใช้สมบัติ 1 ของเลขยกก�ำลัง 4. ครู ใ ห นั ก เรี ย นจั บ คู  กั น แล ว ทํ า “Thinking
ดังนี้ Time” ในหนังสือเรียน หนา 113 พรอมทั้ง
1) จำกสมบัติ 1 ของเลขยกก�ำลัง จะได้ a = 3, m = 4 และ n = 2 ยกตัวอยางประกอบ โดยทําลงในสมุดของ
ดังนั้น 34 × 32 = 34 + 2 = 36 ตนเอง จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันเฉลย
2) จำกสมบัติ 1 ของเลขยกก�ำลัง จะได้ a = -2, m = 3 และ n = 2 คําตอบ “Thinking Time”
ดังนั้น (-2)3 × (-2)2 = (-2)3 + 2 = (-2)5
3) จำกสมบัติ 1 ของเลขยกก�ำลัง จะได้ a = 35 , m = 3 และ n = 5
3 5 3+5 8
ดังนั้น (35 ) × (35 ) = (35 ) = (35)
4) จำกสมบัติ 1 ของเลขยกก�ำลัง จะได้ a = p, m = 4 และ n = 5
ดังนั้น p4 × p5 = p4 + 5 = p9 ตอบ
ลองทําดู
จงเขียนผลคูณของจำ�นวนในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่�งง่�ย
1) 24 × 25 2) (-5)5 × (-5)2
3 8
3) (- 49 ) × (- 49 ) 4) b9 × b10 เมื่อ b แทนจ�ำนวนใด ๆ

Thinking Time
ให้ a แทนจ�ำนวนใด ๆ และ m, n, p แทนจ�ำนวนเต็มบวก
am × an × ap
มีผลคูณเป็นเท่ำใด

113

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เฉลย Thinking Time

ขอใดเปนผลลัพธของ (9 × 34) + (72 × 34) จากสมบัติ 1 ของเลขยกกําลัง am × an = am+n


1. 36 จะได am × an × ap = (am × an) × ap
2. 37 = am+n × ap
3. 38 = am+n+p
4. 39 ดังนั้น am × an × ap มีผลคูณเทากับ am+n+p
(เฉลยคําตอบ (9 × 34) + (72 × 34) = (9 + 72) × 34
= 81 × 34
= 34 × 34
= 38
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T123
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
5. ครูยกตัวอยางการหาผลคูณของเลขยกกําลัง จงพิจำรณำผลคูณของเลขยกก�ำลังต่อไปนี้
(36)2 ในหนังสือเรียน หนา 114 บนกระดาน 1) (36)2 = 36 × 36
แลวอธิบายวาใชสมบัติ 1 ชวยในการหาผลคูณ = 36 + 6 (สมบัติ 1)
ได ดังนี้ = 36 × 2
(36)2 = 36 × 36 = 36+6 = 36×2 2) ((-4)8)2 = (-4)8 × (-4)8
6. ครูใหนกั เรียนศึกษาตัวอยางการหาผลคูณของ = (-4)8 + 8 (สมบัติ 1)
เลขยกกําลังขอ 2) และ 3) ในหนังสือเรียน = (-4)8 × 2
หนา 114 แลวถามคําถาม ดังนี้ 3 3 3 3 3
• เลขชี้กําลังของผลคูณและเลขชี้กําลังของ 3) ((27 ) ) = (27 ) × (27 ) × (27 )
3 + 3 + 3
ตัวตั้งและตัวคูณมีความสัมพันธกันอยางไร = ( 27 ) (สมบัติ 1)
( แนวตอบ เลขชี้ กํ า ลั ง ของผลคู ณ เท า กั บ 3×3
ผลคูณของเลขชีก้ าํ ลังของตัวตัง้ และตัวคูณ) = ( 27 )
และนักเรียนรวมกันสรุปดังในกรอบ “สมบัติ 2” จำกข้อ 1) - 3) สรุปเป็นไปตำมสมบัติของเลขยกก�ำลังได้ ดังนี้
ในหนังสือเรียน หนา 114 ที่กําหนดให a
สมบัติ 2
แทนจํานวนใดๆ และ m, n แทนจํานวน
ก�ำหนดให้ a แทนจ�ำนวนใด ๆ และ m, n แทนจ�ำนวนเต็มบวก
เต็มบวก
(am)n = am n ×

(am)n = am×n
ตัวอย่างที่ 4
เข้าใจ (Understanding)
จงเขียนผลคูณของจำ�นวนในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่�งง่�ย
1. ครูยกตัวอยางที่ 4 ในหนังสือเรียน หนา 114-115 4 4 8 6
บนกระดาน และแสดงการหาผลคู ณ ของ 1) (38)4 × (39)3 2) ((- 29 ) ) × ((- 29 ) )
จํานวนในรูปเลขยกกําลัง 3) (a20)4 × (a30)3 เมื่อ a แทนจ�ำนวนใด ๆ
วิธีทำ� ก ำรเขียนผลคูณของจ�ำนวนให้อยู่ในรูปอย่ำงง่ำย ต้องใช้สมบัติ 1 และสมบัติ 2
ของเลขยกก�ำลัง ดังนี้
1) (38)4 × (39)3 = (38 × 4) × (39 × 3) (สมบัติ 2)
= 332 × 327
= 332 + 27
(สมบัติ 1)
= 359

114

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูควรยํ้านักเรียนใหมีความรอบคอบในการหาผลคูณของเลขยกกําลัง ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
ที่มีฐานเปนจํานวนเต็มลบ และใหนักเรียนใสใจกับสมบัติ 2 ของเลขยกกําลัง 1. (23)3 = 26
2
เนือ่ งจากสมบัติ 2 ของเลขยกกําลังจะสามารถทําใหการแกปญ
 หาเลขยกกําลังนัน้ 2. 23 = 25
3
สะดวกและงายขึ้น 3. 32 = 36
4. (34)2 = 38
(เฉลยคําตอบ 1. ผิด เพราะ (23)3 = 23×3 = 29
2
2. ผิด เพราะ 23 = 23×3 = 29
3
3. ผิด เพราะ 32 = 32×2×2 = 38
4. ถูก เพราะ (34)2 = 34×2 = 38
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)

T124
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
4 4 8 6 4 × 4 8×6
2) ((- 29 ) )
((- 29 ) ) = (- 29 ) × (- 29 )
× (สมบัติ 2) 2. ครูใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” ในหนังสือเรียน
16 48 หนา 115 จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันเฉลย
= (- 29 ) × (- 29 )
16 + 48 คําตอบ
= (- 29 ) (สมบัติ 1) 3. ครูใหนักเรียนทํา Exercise 3.2 ขอ 1. และ
64
= (- 29) ข อ 2. (ข อ ย อ ยที่ 1)-4)) ในแบบฝ ก หั ด
คณิตศาสตรเปนการบาน
3) (a20)4 × (a30)3 = a20×4 × a30×3 (สมบัติ 2)
= a80 × a90 รู้ (Knowing)
= a80 + 90
(สมบัติ 1) 1. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ Exercise
= a170 ตอบ
3.2 ขอ 1. และขอ 2. (ขอยอยที่ 1)-4))
ลองทําดู 2. ครูยกตัวอยางการหาผลคูณของเลขยกกําลัง
1
จงเขียนผลคูณของจำ�นวนในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่�งง่�ย (-3)3 × 53 ในหนังสือเรียน หนา 115 บน
1) ((-4)8)2 × ((-4)3)9
4 10 10 5
2) (( 37 ) ) × ((37 ) ) กระดาน พรอมกับถามคําถาม ดังนี้
• (-3)3 เขียนในรูปการคูณของฐานเปนจํานวน
3) (y4)7 × (y8)4 เมื่อ y แทนจ�ำนวนใด ๆ
ซํ้าๆ กันไดอยางไร
จงพิจำรณำผลคูณของเลขยกก�ำลังต่อไปนี้ (แนวตอบ (-3) × (-3) × (-3))
• 53 เขียนในรูปการคูณของฐานเปนจํานวน
1) (-3)3 × 53 = [(-3) × (-3) × (-3)] × (5 × 5 × 5)
= [(-3) × 5] × [(-3) × 5] × [(-3) × 5] ซํ้าๆ กันไดอยางไร
= [(-3) × 5]3 (แนวตอบ 5 × 5 × 5)
2 2
• (-3)3 × 53 เขียนในรูปการคูณของฐาน
2) (14 ) × (15 ) = (14 × 14 ) × (15 × 15 ) เปนจํานวนซํ้าๆ กันไดอยางไร
= (14 × 15 ) × (14 × 15 ) (แนวตอบ (-3) × (-3) × (-3) × 5 × 5 × 5)
2 จากนั้นครูอธิบายวา ถาจับกลุมการคูณใหม
= (14 × 15 ) เปน [(-3) × 5] จะได 3 กลุม ดังนี้
2
3) 32 × (29 ) = (3 × 3) × (29 × 29 ) (-3)3 × 53 = [(-3) × 5] × [(-3) × 5] ×
[(-3) × 5]
= (3 × 29 ) × (3 × 29 )
• [(-3) × 5] × [(-3) × 5] × [(-3) × 5]
2
= (3 × 29 ) เขียนในรูปเลขยกกําลังไดอยางไร
(แนวตอบ [(-3) × 5]3)
3. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาตั ว อย า งการหาผลคู ณ
115 ของเลขยกกําลังขอ 2) และ 3) ในหนังสือ
เรียน หนา 115

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู


คาของ [23(32 + 7)] + [43(23 - 10)] ตรงกับขอใด 1 รูปอยางงาย เปนการจัดรูปของผลลัพธที่ไดจากการดําเนินการของเลข
1. 28 ยกกําลังใหอยูในรูปเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มบวก และตัวฐานเดียวกันจะมี
2. 27 แคนิพจนเดียว เชน
3. 1 • 1-2 จะเขียนใหอยูในรูปอยางงายไดเปน 22 = 4
4. 0 2
(เฉลยคําตอบ [23(32 + 7)] + [43(23 - 10)] • 23 • 2 จะเขียนใหอยูในรูปอยางงายไดเปน 24
= [8(9 + 7)] + [64(8 - 10)]
= (8 × 16) + [64 × (-2)]
= 128 + (-128)
=0
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)

T125
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
4. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น สรุ ป ดั ง ในกรอบ จำกข้อ 1) - 3) สรุปเป็นไปตำมสมบัติของเลขยกก�ำลังได้ ดังนี้
“สมบั ติ 3” ในหนั ง สื อ เรี ย น หน า 116
สมบัติ 3
ที่กําหนดให a, b แทนจํานวนใดๆ และ m
ก�ำหนดให้ a, b แทนจ�ำนวนใด ๆ และ m แทนจ�ำนวนเต็มบวก
แทนจํานวนเต็มบวก am × bm = (a × b)m am × bm = (a × b)m
5. ครูยกตัวอยางที่ 5 ในหนังสือเรียน หนา 116
บนกระดาน และแสดงการหาผลคู ณ ของ ตัวอย่างที่ 5
จํ า นวนในรู ป เลขยกกํ า ลั ง แล ว ให นั ก เรี ย น จงเขียนผลคูณของจำ�นวนในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่�งง่�ย
ทํา “ลองทําดู” จากนั้นครูและนักเรียนรวมกัน 1) 34 × 54 2) (-4)3 × (-2)3
เฉลยคําตอบ 3) a9 × b9 เมื่อ a, b แทนจ�ำนวนใด ๆ
6. ครูยกตัวอยางการหาผลคูณของเลขยกกําลัง วิธีทำ� กำรเขียนผลคูณของจ�ำนวนให้อยู่ในรูปอย่ำงง่ำย ต้องใช้สมบัติ 3 ของเลขยกก�ำลัง
(910 × 75)3 ในหนังสือเรียน หนา 116 บน ดังนี้
กระดาน แลวอธิบายวา เราจะนําสมบัติ 2 1) 34 × 54 = (3 × 5)4 = 154 (สมบัติ 3)
และสมบัติ 3 มาชวยในการหาผลคูณ จากนั้น 3 3 3
2) (-4) × (-2) = [(-4) × (-2)] = 8 3 (สมบัติ 3)
ครูเขียนแสดงวิธีทําอยางละเอียดบนกระดาน 9 9 9 9
3) a × b = (a × b) = (ab) (สมบัติ 3) ตอบ
และเนนยํ้านักเรียนวาขั้นตอนใดใชสมบัติใด
7. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาตั ว อย า งการหาผลคู ณ ลองทําดู
ของเลขยกกําลังขอ 2) และ 3) ในหนังสือ จงเขียนผลคูณของจำ�นวนในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่�งง่�ย
เรียน หนา 116 แลวครูและนักเรียนรวมกัน 3 3
1) (45 ) × (10
16) 2) 510 × (-9)10
สรุปดังในกรอบ “สมบัติ 4” ในหนังสือเรียน
หนา 117 ที่กําหนดให a, b แทนจํานวนใดๆ 3) m5 × n5 เมื่อ m, n แทนจ�ำนวนใด ๆ
และ m, n, k แทนจํานวนเต็มบวก จงพิจำรณำผลคูณของเลขยกก�ำลังต่อไปนี้
(am × bn)k = am×k × bn×k
1) (910 × 75)3 = (910)3 × (75)3 (สมบัติ 3)
เขาใจ (Understanding) = 910 × 3 × 75 × 3 (สมบัติ 2)
1. ครูยกตัวอยางที่ 6 ในหนังสือเรียน หนา 117 2) ((-4)3 × 24)2 = ((-4)3)2 × (24)2 (สมบัติ 3)
บนกระดาน แลวใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” = (-4)3 × 2 × 24 × 2 (สมบัติ 2)
6 5 65
จากนั้นรวมกันเฉลยคําตอบ 3) (78 × (49 ) ) = (78)5 × ((49 ) ) (สมบัติ 3)
6 × 5
= 78 × 5 × (49 ) (สมบัติ 2)

116

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


x y3
ครูควรเนนยํ้ากับนักเรียนวา สมบัติ 3 การดําเนินการของฐานจะตอง คาของ (5 2 - 3 3) เมื่อ x = 2, y = 3 เทากับเทาไร
y -x
เปนการดําเนินการคูณ จะเปนการดําเนินการบวกหรือการดําเนินการลบไมได 1. -6
หารเป น การดํ า เนิ น การหาร ตั ว หารต อ งไม เ ท า กั บ ศู น ย พร อ มทั้ ง ครู ค วร 2. -8
ยกตัวอยางใหนักเรียนเห็นวา เมื่อ a, b แทนจํานวนใดๆ และ m แทนจํานวน 3. 6
เต็มบวก แลว 4. 8
(a × b)m = am × bm แต (a + b)m am + bm
(เฉลยคําตอบ โจทยกําหนดให x = 2, y = 3
เชน (2 × 3)2 = 22 × 32 = 36 x y3
และ (2 + 3)2 = 52 = 25 แต 22 + 32 = 13 แทนคา x = 2 และ y = 3 ใน (5 2 - 3 3)
y -x
2 3 3 3
ดังนั้น (a + b)m am + bm จะได (5 2 - 3 3) = (259 -- 27)
3 -2 8
= (-2)3

= -8
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)

T126
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
จำกข้อ 1) - 3) สรุปเป็นไปตำมสมบัติของเลขยกก�ำลังได้ ดังนี้ 2. ครูแจกใบงานที่ 3.2 เรื่อง การคูณเลขยกกําลัง
เมือ่ เลขชีก้ าํ ลังเปนจํานวนเต็มบวก ใหนกั เรียน
สมบัติ 4 ทํา จากนั้นรวมกันเฉลยคําตอบ
ก�ำหนดให้ a, b แทนจ�ำนวนใด ๆ และ m, n, k แทนจ�ำนวนเต็มบวก 3. ใหนักเรียนทํา Exercise 3.2 ขอ 2. (ขอยอยที่
(am × bn)k = am k × bn k
× ×

5)-12)) ในแบบฝกหัดคณิตศาสตรเปนการบาน
ตัวอย่างที่ 6 ลงมือทํา (Doing)
จงเขียนผลคูณของจำ�นวนในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่�งง่�ย ครูใหนกั เรียนจัดกลุม กลุม ละ 4 คน คละความ
37
1) (119 × (45 ) ) 2) ((-8)3 × 105)4 สามารถทางคณิตศาสตร แลวทํากิจกรรม ดังนี้
• ให นั ก เรี ย นร ว มกั น วิ เ คราะห “H.O.T.S.
3) (a4 × b6)8 เมื่อ a, b แทนจ�ำนวนใด ๆ
คํ า ถามท า ทายการคิ ด ขั้ น สู ง ” แล ว เขี ย น
วิธีทำ� กำรเขียนผลคูณของจ�ำนวนให้อยู่ในรูปอย่ำงง่ำย ต้องใช้สมบัติ 4 ของเลขยกก�ำลัง คําตอบจากการวิเคราะหลงในสมุดตนเอง
ดังนี้ • จากนัน้ ใหนกั เรียนแลกเปลีย่ นความรูภ ายใน
37 3 × 7
1) (119 × (45 ) ) = 119×7 × (45 ) (สมบัติ 4) กลุมของตนเอง จนเปนที่เขาใจรวมกัน
= 1163 × (45)
21 • ให ตั ว แทนกลุ  ม มานํ า เสนอคํ า ตอบหน า
ชั้นเรียน
2) ((-8)3 × 105)4 = (-8)3×4 × 105×4 (สมบัติ 4)
= (-8)12 × 1020 ขัน้ สรุป
3) (a4 × b6)8 = a4×8 × b6×8 (สมบัติ 4) ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ
= a32 × b48 ตอบ นักเรียน ดังนี้
ถากําหนดให a, b แทนจํานวนใดๆ และ
ลองทําดู
m, n แทนจํานวนเต็มบวก แลว
จงเขียนผลคูณของจำ�นวนในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่�งง่�ย • am × an มีคาเทากับเทาไร
34
1) (74 × (141 ) ) 2) ((-9)3 × 74)10 (แนวตอบ เทากับ am+n)
3) (a5 × b6)5 เมื่อ a, b แทนจ�ำนวนใด ๆ • (am)n มีคาเทากับเทาไร
(แนวตอบ เทากับ am×n)

คําถามทาทายการคิดขัน
้ สูง ขัน้ ประเมิน
ก�ำหนดให้ a แทนจ�ำนวนใด ๆ และ m, n แทนจ�ำนวนเต็มบวก 1. ครูตรวจใบงานที่ 3.2
n
am = (am)n 2. ครูตรวจ Exercise 3.2
นักเรียนคิดว่ำ ข้อควำมข้ำงต้นเป็นจริงหรือไม่ เพรำะเหตุใด 3. ครูประเมินการนําเสนอผลงาน
4. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
117 5. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
6. ครูสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เฉลย H.O.T.S. คําถามท้าทายการคิดขั้นสูง


ขอความขางตนไมเปนความจริง เพราะ
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1. 32 + 23 = 18 n ครั้ง
n
2. 72 + 62 = 42 am คือ am × m × ... × m
3. 53 - 72 = 76 และ (am)n คือ am×n = amn
3
4. 142 - 132 = 37 เชน 22 = 22×2×2 = 28 = 256
(เฉลยคําตอบ 1. ผิด เพราะ 32 + 23 =9+8 = 17 (22)3 = 22×3 = 26 = 64
3
2. ผิด เพราะ 72 + 62 = 49 + 36 = 85 นั่นคือ 22 (22)3
n
3. ถูก เพราะ 53 - 72 = 125 - 49 = 76 ดังนั้น am (am)n
4. ผิด เพราะ 142 - 132 = 196 - 169 = 27
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T127
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
1. ครูทบทวนการหารเศษสวน 2. การหารเลขยกก�าลัง เมื่อเลขชี้ก�าลังเป็นจ�านวนเต็มบวก
2. ครู ส นทนากั บ นั ก เรี ย นเพื่ อ ทบทวนสมบั ติ จงพิจำรณำผลหำรของเลขยกก�ำลังต่อไปนี้
ของการคูณเลขยกกําลัง เมื่อเลขชี้กําลังเปน 57 = 5 × 5 × 5 × 5 × 5 × 5 × 5
1) 5 × 5 × 5 × 5
จํานวนเต็มบวก 54
= 5 × 5 × 5
ขัน้ สอน = 53
รู้ (Knowing) 5 2
2) (199 ) ÷ (199 ) = (199 × 199 × 199 × 199 × 199 ) ÷ (199 × 199 )
1. ครูยกตัวอยางการหาผลหารของเลขยกกําลัง
= (199 × 199 × 199 × 199 × 199 ) × (199 × 199)
57 ในหนังสือเรียน หนา 118 บนกระดาน
54 = 199 × 199 × 199 × 199 × 199 × 199 × 199
พรอมกับถามคําถาม ดังนี้
= (199 × 199 × 199 ) × (199 × 199) × (199 × 199)
• 57 เขียนในรูปการคูณของฐานเปนจํานวน
ซํ้าๆ กันไดอยางไร = 199 × 199 × 199
(แนวตอบ 5 × 5 × 5 × 5 × 5 × 5 × 5) = (199 )
3
• 54 เขียนในรูปการคูณของฐานเปนจํานวน
ซํ้าๆ กันไดอยางไร 2 2
3) (- 45 ) ÷ (- 45 ) = [(- 45 ) × (- 45 )] ÷ [(- 45 ) × (- 45 )]
(แนวตอบ 5 × 5 × 5 × 5)
7 = (- 45 ) × (- 45 ) × (- 54 ) × (- 54 )
• 54 เขียนในรูปการคูณของฐานเปนจํานวน
5 = [(- 45 ) × (- 54 )] × [(- 45 ) × (- 54 )]
ซํ้าๆ กันไดอยางไร
= 1
(แนวตอบ 5 × 5 ×5 ×5 ×5 ×5 ×5 ×5 ×5 5 × 5)
7 4) ให้ a แทนจ�ำนวนใด ๆ ที่ไม่เท่ำกับศูนย์
• 54 เขียนในรูปเลขยกกําลังไดอยางไร a × a × a × a
a4 ÷ a6 = a × a
5 × a × a × a × a
(แนวตอบ 53)
= a ×1 a
2. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางการหาผลหาร
ของเลขยกกําลังขอ 2) 3) และ 4) ในหนังสือ = 12
เรียน หนา 118 จากนั้นครูกลาววา “จาก a
ตัวอยางขอ 1) และ 2) นักเรียนจะเห็นวา จำกข้อ 1) - 4) จะเห็นว่ำ กำรหำรเลขยกก�ำลังที่มีฐำนเป็นจ�ำนวนเดียวกันในข้อ 1) และ
ข้อ 2) จะมีผลหำรอยู่ในรูปเลขยกก�ำลัง แต่ข้อ 3) และข้อ 4) ผลหำรยังไม่อยู่ในรูปเลขยกก�ำลัง
มี ผ ลหารอยู  ใ นรู ป เลขยกกํ า ลั ง แต ข  อ 3)
ซึ่งต่อไปนี้จะพิจำรณำผลหำรของเลขยกก�ำลังที่มีฐำนเป็นจ�ำนวนเดียวกันดังนี้
และ 4) ผลหารที่ไดยังไมอยูในรูปเลขยกกําลัง
และในระดับชั้นนี้นักเรียนจะไดเรียนรูเฉพาะ 118
ผลหารของเลขยกกําลังที่มีฐานเปนจํานวน
เดียวกัน”

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


3
ครูควรใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นที่วา เพราะเหตุใดการคูณ คาของ [(32)2]-2 ÷ (32 ) เทากับขอใด
เลขยกกําลังจึงไมกําหนดขอความ “ฐานไมเทากับศูนย” กอน และครูควร 1. 316
เนนยํา้ กับนักเรียนในขอตกลงนี้ ทุกครัง้ ทีก่ ลาวถึงการหารเลขยกกําลัง เพราะวา 2. 3-16
ถาฐานเปน 0 จะทําใหคาของ เลขยกกําลังเปน 0 ซึ่งศูนยเปนตัวหารไมได 3. 30
เนื่องจากไมมีความหมายทางคณิตศาสตร 4. 0
(เฉลยคําตอบ [(32)2]-2 ÷ (32 ) = 3 8
3 -8
3
= 3-8-8
= 3-16
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)

T128
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
การพิจารณาผลหารของ am ÷ an เมื่อ a แทนจ�านวนใด ๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ และ m, n 3. ครูกลาวถึงการหาผลหารของ am ÷ an เมื่อ a
แทนจ�านวนเต็มบวก ซึ่งจะแบ่งการพิจารณาเป็น 3 กรณี ดังนี้ แทนจํานวนใดๆ ที่ไมเทากับศูนย และ m, n
กรณีที่ 1 m > n แทนจํานวนเต็มบวก ซึ่งแบงการพิจารณาเปน
m ตัว
am = a × a × a × ... × a 3 กรณี ดังนี้
an a × a × a × ... × a กรณีที่ 1 เมื่อ m > n
n ตัว
m
m - n ตัว am ÷ an = a n = am-n
= a × a × a × ... × a a
= am-n กรณีที่ 2 เมื่อ m = n
m
ดังนั้น a n = am-n m
am ÷ an = a n = a0
a a
กรณีที่ 2 m = n ซึ่ง a0 = 1
การหาผลหารในกรณีที่ 2 จะต้องใช้บทนิยามต่อไปนี้ กรณีที่ 3 เมื่อ m < n
m
บทนิยาม am ÷ an = a n = am-n
ก�าหนดให้ a แทนจ�านวนใด ๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ a
a0 = 1 ซึ่ง a-m = 1m
a
am = an = 1 m = n จากนั้นใหนักเรียนศึกษาการหาผลหารของ
an an am ÷ an เมื่อ a แทนจํานวนใดๆ ที่ไมเทากับ
จากบทนิยาม a0 = 1 ศูนย และ m, n แทนจํานวนเต็มบวกทัง้ 3 กรณี
m m
แต่จากการหาผลหาร a n ข้างต้น จะเห็นว่า a n = 1 ในหนังสือเรียน หนา 119-120
m
a a
นั่นคือ a n = a0
a
= an-n
= am-n m=n
m
ดังนั้น a n = am-n
a

119

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


ขอใดตอไปนี้ถูกตอง เมื่อ a และ b เปนจํานวนใดๆ ที่ a ครูควรอธิบายใหนักเรียนเขาใจที่มาของบทนิยาม a0 = 1 วา ถา a = 0
ไมเทากับศูนย จะได 00 ซึ่งเราไมสามารถนําบทนิยาม an มาหาคาได และ a0 เปนผล
2 จากการหารเลขยกกําลังที่ตัวตั้งและตัวหารมีเลขชี้กําลังเทากัน ซึ่งฐานของ
1. a a× a = a
-1
2. (a3)3 = a6
จํานวนทั้งสองตองไมเทากับ 0 เชน
2
3. a3 = (a3)2 4. a0 × b2 = b2 22 = 22-2 = 20 ซึ่งถาใชบทนิยาม a0 = 1 จะได 20 = 1
2 22
(เฉลยคําตอบ 1. ผิด เพราะ a a× a = a-1+2-1 = a0 = 1
-1
2
แตถาไมใชบทนิยาม จะไดวา 22 = 22 ×× 22 = 1 เชนกัน
2. ผิด เพราะ (a3)3 = a3×3 = a9 2
2
3. ผิด เพราะ a3 = a9 และ (a3)2 = a6
2
ซึ่ง a3 (a3)2
4. ถูก เพราะ a0 × b2 = 1 × b2 = b2
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)

T129
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
4. ครูถามคําถาม ดังนี้ กรณีที่ 3 m < n
• เลขชี้กําลังของผลหารและเลขชี้กําลังของ กำรหำผลหำรในกรณีที่ 3 จะต้องใช้บทนิยำมต่อไปนี้
ตัวตัง้ และตัวหารมีความสัมพันธกนั อยางไร
บทนิยาม
(แนวตอบ เลขชี้กําลังของผลหาร เทากับ
ก�ำหนดให้ a แทนจ�ำนวนใด ๆ ที่ไม่เท่ำกับศูนย์ และ m แทนจ�ำนวนเต็มบวก
ผลลบของเลขชี้กําลังของตัวตั้งกับตัวหาร)
am = 1-m หรือ a-m = 1m
แลวครูและนักเรียนรวมกันสรุปดังในกรอบ a a
“สมบั ติ 5” ในหนั ง สื อ เรี ย น หน า 120 m ตัว
ที่กําหนดให a แทนจํานวนใดๆ ที่ไมเทากับ am = a × a × a × ... × a
an a × a × a × ... × a
ศูนย และ m, n แทนจํานวนเต็มบวก n ตัว
am = am-n = a × a × a 1 × ... × a = n 1- m = a-(n - m) = am - n
an a
n - m ตัว
5. ครู ย กตั ว อย า งที่ 7 ในหนั ง สื อ เรี ย น หน า m
ดังนั้น a n = am - n
120-121 บนกระดาน แสดงการหาผลหาร a
ของจํานวนในรูปเลขยกกําลัง จะเห็นว่ำ กำรหำรเลขยกก�ำลังที่มีฐำนเป็นจ�ำนวนเดียวกันและฐำนไม่เท่ำกับศูนย์ ผลหำร
จะเป็นเลขยกก�ำลังที่มีฐำนเดิม และเลขชี้ก�ำลังเท่ำกับเลขชี้ก�ำลังของตัวตั้งลบด้วยเลขชี้ก�ำลัง
ของตัวหำร ซึ่งสรุปเป็นไปตำมสมบัติของเลขยกก�ำลังได้ ดังนี้
สมบัติ 5
ก�ำหนดให้ a แทนจ�ำนวนใด ๆ ที่ไม่เท่ำกับศูนย์ และ m, n แทนจ�ำนวนเต็มบวก
am = am - n
an
ตัวอย่างที่ 7

จงเขียนผลห�รของจำ�นวนในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่�งง่�ย
9
1) (20 20 9 b20
23) ÷ (23) 2) b16 เมื่อ b แทนจ�ำนวนใด ๆ ที่ไม่เท่ำกับศูนย์
วิธีทำ� กำรเขียนผลหำรของจ�ำนวนให้อยูใ่ นรูปอย่ำงง่ำย ต้องใช้สมบัต ิ 5 ของเลขยกก�ำลัง ดังนี้
1) จำกสมบัติ 5 จะได้ a = 20
23, m = 9 และ n = 9
9 9
ดังนั้น (20 20 20 9-9
23) ÷ (23) = (23) (สมบัติ 5)
0
= (20
23)
= 1
120

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


บทนิยามนี้ครูควรยํ้านักเรียนใหมีความระมัดระวังเกี่ยวกับฐาน a-n เมื่อ n ขอใดเปนผลลัพธของ (a2b3c4)-2 × (-a)3(-b)2c4
แทนจํานวนเต็มบวก a-n เปนเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มลบ 1. ab4c4 2. -(ab4c4)
ฐานจะตองไมเทากับ 0 เพราะวา a-n เปนผลที่เกิดจากการหารเลขยกกําลังที่ 3. - 14 4 4. 14 4
ตัวหารมีเลขชี้กําลังมากกวาตัวตั้ง ab c ab c
(เฉลยคําตอบ (a2b3c4)-2 × (-a3)(-b)2c4
= a-4b-6c-8 × (-a3)(b)2c4
= -(a)-1b-4c-4
= - 14 4
ab c
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T130
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
2) จำกสมบัติ 5 จะได้ a = b, m = 20 และ n = 16 6. ครูใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” ในหนังสือเรียน
20
ดังนั้น b16 = b20 - 16 (สมบัติ 5) หนา 121 จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันเฉลย
b 4 คําตอบ
= b ตอบ
7. ครูยกตัวอยางการหาผลหารของเลขยกกําลัง
ลองทําดู 74 ในหนังสือเรียน หนา 121 บนกระดาน
จงเขียนผลห�รของจำ�นวนในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่�งง่�ย 24
99 500 พรอมกับถามคําถาม ดังนี้
1) (800 800 88 2) (-40)439
100) ÷ (100) (-40) • 74 เขียนในรูปการคูณของฐานเปนจํานวน
300
a
3) 300 เมื่อ a แทนจ�ำนวนใด ๆ ที่ไม่เท่ำกับศูนย์ ซํ้าๆ กันไดอยางไร
a (แนวตอบ 7 × 7 × 7 × 7)
จงพิจำรณำผลหำรของเลขยกก�ำลังต่อไปนี้ • 24 เขียนในรูปการคูณของฐานเปนจํานวน
4
1) 74 = 7 × 7 × 7 × 7 ซํ้าๆ กันไดอยางไร
2 2 × 2 × 2 × 2 (แนวตอบ 2 × 2 × 2 × 2)
= 72 × 72 × 72 × 72 4
4 • 74 เขียนในรูปการคูณของฐานเปนจํานวน
= (72 ) 2
3 ซํ้าๆ กันไดอยางไร
2) (-5)3 = (-5) 3 ×× (-5) × (-5)
3 3 × 3 (แนวตอบ 72 ×× 72 ×× 72 ×× 72 )
= (- 3 ) × (- 3 ) × (- 53 )
5 5
3 จากนั้นครูอธิบายวา ถาจับกลุมการหารใหม
= (- 53 )
เปน 72 จะได 4 กลุม ดังนี้
3 3
3) (25 ) ÷ (49 ) = (25 × 25 × 25 ) ÷ (49 × 49 × 49 ) 74 = 7 × 7 × 7 × 7
= (25 × 25 × 25 ) × (94 × 94 × 94 ) 24 2 2 2 2
4
= (25 × 94 ) × (25 × 94 ) × (25 × 94 ) • 74 เขียนในรูปเลขยกกําลังไดอยางไร
2 4
= (25 × 94 )
3 (แนวตอบ (72) )
3
= (25 ÷ 49 ) 8. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางการหาผลหาร
ของเลขยกกําลังขอ 2) และ 3) ในหนังสือ
จำกข้อ 1) - 3) สรุปเป็นไปตำมสมบัติของเลขยกก�ำลังได้ ดังนี้
เรียน หนา 121 แลวครูและนักเรียนรวมกัน
สมบัติ 6 สรุปดังในกรอบ “สมบัติ 6” ในหนังสือเรียน
ก�ำหนดให้ a, b แทนจ�ำนวนใด ๆ ที่ b ≠ 0 และ m แทนจ�ำนวนเต็มบวก
am = a m หนา 121 ที่กําหนดให a, b แทนจํานวนใดๆ
bm ( b ) ที่ b 0 และ m แทนจํานวนเต็มบวก
121 am = a m
bm ( b )

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


2 3
คาของ 152 × 75 เทากับขอใด ครูควรใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นวา สมบัติ 6 จะชวยใหการคํานวณ
45 × 729 การคูณหรือการหารเลขยกกําลังรวดเร็วและสะดวกขึ้นไดจริงหรือไม และ a
6 6
1. 5-5 2. 56 กับ b ควรมีความสัมพันธกันอยางไร
3 3
6 6
3. 55 4. 35
3 5
2 3 2 3
(เฉลยคําตอบ 152 × 75 = (5 × 3) × 2(25 ×3 3)
45 × 729 (9 × 5) × 9
2 2 6 3
= 5 ×4 3 ×2 5 ×6 3
3 ×5 ×3
= 52+6-2 × 32+3-4-6
6
= 56 × 3-5 = 55
3
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T131
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
1. ครูยกตัวอยางที่ 8 ในหนังสือเรียน หนา 122 ตัวอย่างที่ 8
บนกระดาน และแสดงการหาผลหารของ จงเขียนผลห�รของจำ�นวนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่�งง่�ย เมื่อ a, b และ c แทนจำ�นวนใด ๆ
จํ า นวนในรู ป เลขยกกํ า ลั ง แล ว ให นั ก เรี ย น ที่ไม่เท่�กับศูนย์
ทํา “ลองทําดู” จากนั้นครูและนักเรียนรวมกัน 20 20
1) (9b)20 2) (10c )
b ÷c
20
เฉลยคําตอบ (3a)
2. ครูใหนักเรียนทํา Exercise 3.2 ขอ 3. ในแบบ วิธีทำ� กำรเขียนผลหำรของจ�ำนวนให้อยู่ในรูปอย่ำงง่ำย ต้องใช้สมบัติ 6 ของเลขยกก�ำลัง
ฝกหัดคณิตศาสตร จากนั้นครูและนักเรียน ดังนี้ 3 20
20
รวมกันเฉลยคําตอบ Exercise 3.2 ขอ 3. 1) (9b)20 = ( 9b
3a1 ) (สมบัติ 6)
(3a)
20
รู้ (Knowing) = ( 3ba )
20 20
1. ครูยกตัวอยางการหาผลหารของเลขยกกําลัง 2) (10c
b ) ÷ c = (10c ÷ c)
20
b (สมบัติ 6)
9 8
( 12
20
137 ) = (10c × 1)
ในหนังสือเรียน หนา 122 บนกระดาน b c
20
แลวอธิบายวาเราจะนําสมบัติ 2 และสมบัติ 6 = ( 10b ) ตอบ
มาชวยในการหาผลหาร จากนัน้ ครูเขียนแสดง
วิธีทําอยางละเอียดบนกระดาน และเนนยํ้า ลองทําดู
นักเรียนวาขั้นตอนใดใชสมบัติใด จงเขียนผลห�รของจำ�นวนในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่�งง่�ย เมื่อ a, b แทนจำ�นวนใด ๆ
2. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางการหาผลหาร ที่ b ≠ 0
ของเลขยกกําลังขอ 2) และ 3) ในหนังสือ 1) 247
7
2) a9
9 10
3) (- 38) ÷ b10
เรียน หนา 122-123 8 b
จงพิจำรณำผลหำรของเลขยกก�ำลังต่อไปนี้
9 8 98
1) ( 127 ) = (127)8 (สมบัติ 6)
13 (13 )
9 × 8
= 127 × 8 (สมบัติ 2)
13
4 3 43
2) ( (-5)10) = ((-5)10) 3 (สมบัติ 6)
(-9) ((-9) )
4 × 3
= (-5)10 × 3 (สมบัติ 2)
(-9)
122

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ใหนักเรียนสังเกตวา จํานวนใดในโจทยแทน a และ b รวมทั้งครูอธิบาย ขอใดไมถูกตอง
เพิ่มเติมดวยวา จํานวนทั้งสองมีความสัมพันธกันอยางไร รูปอยางงายจาก 1. a-4 = 14 เมื่อ a แทนจํานวนใดๆ ซึ่ง a ไมเทากับศูนย
สมบัติ 6 ควรจะเปนอยางไร a
2. (a ) = a10 เมื่อ a แทนจํานวนใดๆ ซึ่ง a ไมเทากับศูนย
5 5
3
3. a2 = a8 เมื่อ a แทนจํานวนใดๆ ซึ่ง a ไมเทากับศูนย
4. a0 = 1 เมื่อ a แทนจํานวนใดๆ ซึ่ง a ไมเทากับศูนย
(เฉลยคําตอบ 1. ถูก เนื่องจาก a-n = 1n
a
2. ผิด เนื่องจาก (am)n = a m×n
3. ถูก เนื่องจาก 23 = 2 × 2 × 2 = 8
3
ดังนั้น a2 = a8
4. ถูก เนื่องจากเปนบทนิยาม
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)

T132
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
2 34 24 34
3) ((17 ) (238 ) ) = ((17 ) ) ÷ ((238 ) )
÷ (สมบัติ 6) 3. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น สรุ ป ดั ง ในกรอบ
2 × 4 3 × 4 “สมบั ติ 7” ในหนั ง สื อ เรี ย น หน า 123
= (17 ) ÷ (238 ) (สมบัติ 2)
ที่กําหนดให a, b แทนจํานวนใดๆ ที่ b 0
จำกข้อ 1) - 3) สรุปเป็นไปตำมสมบัติของเลขยกก�ำลังได้ ดังนี้ และ m, n, k แทนจํานวนเต็มบวก
m k m×k
สมบัติ 7 (abn ) = abn×k
ก�ำหนดให้ a, b แทนจ�ำนวนใด ๆ ที่ b ≠ 0 และ m, n, k แทนจ�ำนวนเต็มบวก
am k am k
×
เขาใจ (Understanding)
( bn ) = bn k
×

1. ครูยกตัวอยางที่ 9 ในหนังสือเรียน หนา 123


ตัวอย่างที่ 9 บนกระดาน และแสดงการหาผลหารของ
จงเขียนผลห�รของจำ�นวนในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่�งง่�ย เมื่อ a, b แทนจำ�นวนใด ๆ จํ า นวนในรู ป เลขยกกํ า ลั ง แล ว ให นั ก เรี ย น
ที่ b ≠ 0 ทํา “ลองทําดู” จากนั้นครูและนักเรียนรวมกัน
8 11
1) ( (-204 ) )
9
2) ((2a) ÷ b5)2 เฉลยคําตอบ
b 2. ครูแจกใบงานที่ 3.3 เรือ่ ง การหารเลขยกกําลัง
วิธีทำ� กำรเขียนผลหำรของจ�ำนวนให้อยู่ในรูปอย่ำงง่ำย ต้องใช้สมบัติ 6 และสมบัติ 7 เมือ่ เลขชีก้ าํ ลังเปนจํานวนเต็มบวก ใหนกั เรียน
ของเลขยกก�ำลังดังนี้ ทํา จากนัน้ ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ
8 11 8 × 11
1) ( (-204 ) ) = (-204 ×) 11 (สมบัติ 7) ใบงานที่ 3.3
b b 88
= (-20)44
b
9 9 × 2
2) ((2a) ÷ b5)2 = ( 2a ) ÷ b5×2 (สมบัติ 7)
18
= a18 × 110 (สมบัติ 6)
2 b
18
= 18a 10 ตอบ
2 b
ลองทําดู
จงเขียนผลห�รของจำ�นวนในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่�งง่�ย เมื่อ a แทนจำ�นวนใด ๆ
ที่ไม่เท่�กับศูนย์
8 9 3
1) (a3) 2) ((4a) ÷ 32)10
4
123

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


ขอใดตอไปนี้มีคานอยที่สุด ครูช้ีแนะใหนักเรียนสังเกตการหาผลหารในรูปเลขยกกําลัง เมื่อฐานเปน
1. 10 × (10 × 10)0 จํานวนเดียวกัน และเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม ซึ่งความสัมพันธระหวาง
2. (10 × 10)-1 ÷ (10 × 10)0 เลขชี้กําลังของตัวตั้งกับตัวชี้กําลังของตัวหาร มี 3 กรณี ดังนี้
3. (10 + 10)0 + (10 × 10)0 1. เลขชี้กําลังของตัวตั้งมากกวาเลขชี้กําลังของตัวหาร
4. (10 × 100) - (100 × 10) 2. เลขชี้กําลังของตัวตั้งเทากับเลขชี้กําลังของตัวหาร
(เฉลยคําตอบ 1. 10 × (10 × 10)0 = 10 3. เลขชี้กําลังของตัวตั้งนอยกวาเลขชี้กําลังของตัวหาร
2. (10 × 10)-1 ÷ (10 × 10)0 = 1001 = 0.01
3. (10 + 10)0 + (10 × 10)0 = 1 + 1 = 2
4. (10 × 100) - (100 × 10) = 10 - 1,000 = -990
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)

T133
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
1. ครูใหนกั เรียนจัดกลุม กลุม ละ 4 คน คละความ กิจกรรม คณิตศาสตร์
สามารถทางคณิตศาสตร แลวทํากิจกรรม ดังนี้
• ให นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ร ว มกั น ศึ ก ษาและ ให้นกั เรียนทÓกิจกรรมต่อไปนี้
ทํากิจกรรมคณิตศาสตร ในหนังสือเรียน 1. จงเติมตัวเลขลงในช่องว่ำงให้สมบูรณ์
หนา 124 โดยเขียนคําตอบลงในสมุดของ 1) (32)3 = 32 ×
ตนเอง = 36
• จากนัน้ ใหนกั เรียนแลกเปลีย่ นความรูภ ายใน 2) (33)2 = 3 × 2
กลุมของตนเอง จนเปนที่เขาใจรวมกัน = 3
45
• ใหตัวแทนกลุมมานําเสนอคําตอบขอ 2.-4. 3) ((-10) ) = (-10)4 × 5
หนาชั้นเรียน โดยเพื่อนกลุมที่เหลือคอย = (-10)
54
ตรวจสอบความถูกตอง 4) ((-10) ) = (-10)5 × 4
• ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายขอสังเกต = (-10)
9 3 9×
ที่ไดจากกิจกรรม เพื่อนําไปสูขอสรุปของ 5) ((48) ) = (48)
เลขยกกําลัง ดังนี้ = (48)
กําหนดให a แทนจํานวนใดๆ และ m, n
39 ×
แทนจํานวนเต็มบวก จะไดวา 6) ((48) ) = (48)
(am)n = (an)m = (48)
27

47 4×
7) ((57 ÷ 38) ) = (57 ÷ 38)
= (57 ÷ 38)
74 ×
8) ((57 ÷ 38) ) = (57 ÷ 38)
28
= (57 ÷ 38)
2. จงหำว่ำเลขยกก�ำลังทีอ่ ยูใ่ นรูปอย่ำงง่ำยในข้อ 1) และข้อ 2) มีควำมสัมพันธ์กนั หรือไม่ อย่ำงไร
3. จงหำว่ำเลขยกก�ำลังทีอ่ ยูใ่ นรูปอย่ำงง่ำยในข้อ 7) และข้อ 8) มีควำมสัมพันธ์กนั หรือไม่ อย่ำงไร
4. กำ�หนดให้ a แทนจำ�นวนใด ๆ และ m, n แทนจำ�นวนเต็มบวก
(am)n = (an)m
นักเรียนคิดว่ำข้อควำมข้ำงต้นเป็นจริงหรือไม่ เพรำะเหตุใด
124

เฉลย กิจกรรมคณิตศาสตร์
3 9 3 × 9 27
1. 1) (32)3 = 32 × 3 6) ((48) ) = (48) = (48)
= 36 4 7 4× 7 28
7) ((57 ÷ 38) ) = (57 ÷ 38) = (57 ÷ 38)
2) (33)2 = 3 3 ×2
7 4 7 × 4 28
=36 8) ((57 ÷ 38) ) = (57 ÷ 38) = (57 ÷ 38)
3) ((-10)4)5 = (-10)4 × 5
2. มีความสัมพันธกัน โดยเลขชี้กําลังของขอ 2) เปนการสลับที่การคูณของเลขชี้กําลังขอ 1)
= (-10) 20 3. มีความสัมพันธกัน โดยเลขชี้กําลังของขอ 8) เปนการสลับที่การคูณของเลขชี้กําลังขอ 7)
4) ((-10)5)4 = (-10)5 ×4 4. ขอความขางตนเปนจริง เพราะจากความสัมพันธของขอ 1) กับขอ 2), ขอ 3) กับขอ 4),
= (-10) 20 ขอ 5) กับขอ 6) และขอ 7) กับขอ 8) จะเห็นวา เลขชี้กําลังของขอคู เปนการสลับที่การคูณ
9 3 9× 3 ของเลขชี้กําลังของขอคี่ และจากสมบัติการสลับที่สําหรับการคูณจํานวนเต็ม
5) ((48) ) = (48)
27
จะไดวา m × n = n × m ดังนั้น (am)n = (an)m
= (48)

T134
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
แบบฝึกทักษะ 3.2 2. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 3.2 (ขอยอยที่
เปนจํานวนคู) เปนการบาน
ระดับ พื้นฐาน

1. จงเขียนจ�ำนวนในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่ำงง่ำย ขัน้ สรุป


43 43
1) 810 × 820 2) (-30)5 ÷ (-30)89 3) (13 ) ÷ (13) 4) 30 ÷ 30
20 15
20
16 16 ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ
5) 1020 × (- 20 7 8 7) 9020 ÷ 310 8) 514 × 414
30 ) 6) (42) นักเรียน ดังนี้
2. จงเขียนจ�ำนวนในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่ำงง่ำย เมื่อ a, b และ c แทนจ�ำนวนใด ๆ ถากําหนดให a, b แทนจํานวนใดๆ ที่ b 0
ที่ไม่เท่ำกับศูนย์ และ m, n, k แทนจํานวนเต็มบวก แลว
1) (a6 × b40)4 2) (c8 ÷ a5)2 3) (b ÷ c)67 4) (ab)34 • am ÷ an โดยที่ a 0 มีคาเทากับเทาไร
7
5) (- ab ) 6) ( c4 )
9
7) (-a)4 ÷ b4 8) (b4)50 (แนวตอบ เทากับ am-n)
a m
• am มีคาเทากับเทาไร
ระดับ กลาง b m
(แนวตอบ เทากับ (ab) )
3. จงเขียนจ�ำนวนในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่ำงง่ำย m k
1) (73 × 104) × (75 × 103)10 2) (65)3 ÷ (-610) • (a n ) มีคาเทากับเทาไร
b m×k
(แนวตอบ เทากับ a n×k )
4 52
3) (9 × 43 × 54)4 ÷ (5 × 4)2 4) ( 112) × (11 )
13 13 b
4. จงเขียนจ�ำนวนในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่ำงง่ำย เมื่อ a, b และ c แทนจ�ำนวนใด ๆ
ที่ไม่เท่ำกับศูนย์ ขัน้ ประเมิน
4 6 4a2 )3
1) ( a5 ) ÷ ( -5b
3
2) (4b2 ) × (-ba )
3 1. ครูตรวจใบงานที่ 3.3
b a 2. ครูตรวจแบบฝกทักษะ 3.2
3 52 3 4) (9b8c7)2 ÷ (-3b2c2)4
3) (a b ) × (bc) 3. ครูตรวจ Exercise 3.2
5. จงเขียนจ�ำนวนในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปเลขยกก�ำลังที่มีฐำนเป็นจ�ำนวนเฉพำะ 4. ครูประเมินการนําเสนอผลงาน
24
1) (94)3 × (-34)2 23 )2
2) (45 ) ÷ ( 25 5. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
3) (103 × 152) × 204 4) (-15)2 × (-32)4 6. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
7. ครูสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค
ระดับ ท้าทาย

6. จงเขียนจ�ำนวนในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่ำงง่ำย เมื่อ a, b และ c แทนจ�ำนวนใด ๆ


ที่ไม่เท่ำกับศูนย์
8 33 4 9 3 2 22
1) (3a 3c 2) 2 × (5a2) 2) 8a b 3 ÷ (4a b 2)
(15a c ) 3b (2ac) (3ac)
125

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


2 5 -3 2 -2
คาของ (15a 3c) ÷ ( 5a -3b 5 ) เทากับเทาไร เมื่อ b และ c ครูชแี้ นะใหนกั เรียนสังเกตการคูณจํานวนเต็มลบทีม่ เี ลขชีก้ าํ ลังเปนจํานวนคี่
35b 21b c และจํานวนคู เชน (-2)2 กับ (-2)3 เปนตน ผลลัพธของจํานวนที่มีเลขชี้กําลัง
ไมเทากับ 0 เปนจํานวนคี่จะเปนจํานวนเต็มลบ และผลลัพธของจํานวนที่มีเลขชี้กําลัง
2 5 -3 2 -2
(เฉลยคําตอบ (15a 3c) ÷ ( 5a -3b 5) เปนจํานวนคูจะเปนจํานวนเต็มบวก
35b 21b c
5 10 5 -2 6 -10
= 3 a5 15c × (7 × -23) 6 b-4c
7b 5 ab
= 35-2 × 7-2-5 × 52 × a10-6 × b6-15+4 × c5-10

= 33 × 7-7 × 52 × a4b-5c-5
3 2 4
= 3 7× 55 5a )
7bc

T135
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
1
ครู ท บทวนสมบั ติ ข องการคู ณ และสมบั ติ 3.3 การเขียนจ�านวนในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร
ของการหารเลขยกกํ า ลั ง เมื่ อ เลขชี้ กํ า ลั ง เป น 2
ใน ค.ศ. 1642 เบลส์ ปำสกำล (Blaise Pascal) นักคณิตศำสตร์ชำวฝรั่งเศสได้ประดิษฐ์
จํานวนเต็มบวก เครื่องบวกเลขส�ำเร็จเป็นเครื่องแรก1
ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
1. ครูใหนักเรียนศึกษาเรื่อง การเขียนจํานวน
ในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร ในหนังสือเรียน
หนา 126 จากนั้นครูเขียนรูปทั่วไปของจํานวน
ในรูปสัญกรณวิทยาศาสตรบนกระดาน
2. ครูเขียน 1,250 = 1.25 × 103 บนกระดาน ปจจุบนั เครือ่ งคิดเลขได้รบั ควำมนิยมใช้กนั อย่ำงแพร่หลำยดังรูปข้ำงบน จำกรูปซ้ำยจะเห็นว่ำ
จากนั้นอธิบายวา “จาก 1,250 เปนจํานวนเต็ม บนหน้ำปดเครื่องคิดเลขเป็นกำรหำผลลัพธ์กำรคูณของ 458,965 × 20,000 ผลลัพธ์ที่แสดงใน
ที่มี 4 หลัก และมี 3 เปนเลขชี้กําลังของ เครื่องคิดเลขคือ 9,179,300,000 และจำกรูปขวำ บนหน้ำปดเครื่องคิดเลขเป็นกำรหำผลลัพธ์
ฐาน 10 ซึ่ ง มี ค  า น อ ยกว า จํ า นวนหลั ก ของ กำรคูณของ 458,965 × 25,000 แต่เครื่องคิดเลขไม่สำมำรถแสดงผลลัพธ์ได้ทุกต�ำแหน่ง ดังนั้น
จํานวนเต็มอยู 1 คา” ผลลัพธ์ที่แสดงบนหน้ำปดเครื่องคิดเลขจึงเป็น 1.1474125 × 1010 ซึ่งเรียกจ�ำนวนนี้ว่ำ จำ�นวน
3. ครู เ ขี ย น 25,034.27 = 2.503427 × 10 4 ที่เขียนในรูปสัญกรณ์วิทย�ศ�สตร์
บนกระดาน จากนัน้ อธิบายวา “จาก 25,034.27 จ�ำนวนในรูปสัญกรณ์วิทยำศำสตร์ คือ จ�ำนวนที่เขียนอยู่ในรูป A × 10n
เปนทศนิยม มีจํานวนเต็มอยู 5 หลัก และ เมื่อ 1 ≤ A < 10 และ n เป็นจ�ำนวนเต็ม
มี 4 เป น เลขชี้ กํ า ลั ง ของฐาน 10 ซึ่ ง มี ค  า
น อ ยกว า จํ า นวนหลั ก ของจํ า นวนเต็ ม อยู  จงพิจำรณำกำรเขียนจ�ำนวนต่อไปนี้ในรูปสัญกรณ์วิทยำศำสตร์
1 ค า ” แล ว ถามนั ก เรี ย นว า “จํ า นวนหลั ก 1) 1,250 = 1.25 × 103
ของจํานวนเต็มและเลขชี้กําลังของฐาน 10 1,250 เป็นจ�ำนวนเต็มที่มี 4 หลัก มี 3 เป็นเลขชี้ก�ำลังของฐำน 10
มีความสัมพันธกันอยางไร” 2) 30,523 = 3.0523 × 104
( แนวตอบ เลขชี้ กํ า ลั ง ของฐาน 10 จะเป น 30,523 เป็นจ�ำนวนเต็มที่มี 5 หลัก มี 4 เป็นเลขชี้ก�ำลังของฐำน 10
จํานวนเต็มบวก ที่มีคานอยกวาจํานวนหลัก 3) 25,034.27 = 2.503427 × 104
25,034.27 เป็นทศนิยม และมีส่วนที่เป็นจ�ำนวนเต็ม 5 หลัก มี 4 เป็นเลขชี้ก�ำลัง
ของสวนที่เปนจํานวนเต็มอยู 1 คา) ของฐำน 10
จะเห็นว่ำ กำรเขียนจ�ำนวนในข้อ 1) - 3) ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยำศำสตร์ เลขชี้ก�ำลัง
ของฐำน 10 จะเป็นจ�ำนวนเต็มบวก ซึ่งจะน้อยกว่ำจ�ำนวนหลักของส่วนที่เป็นจ�ำนวนเต็มอยู่ 1
1
วิวัฒน�ก�รคอมพิวเตอร์. สืบค้นเมื่อ 17 ตุลำคม 2560, http://www.gotoknow.org/posts/294827
126

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


1 สัญกรณวทิ ยาศาสตร (Scientifif ific Notation) เปนสัญลักษณทใี่ ชเขียนแทน ผลลัพธของ (-0.02)2 × (0.02)-2 × (-0.2)-1 เทากับขอใด
จํานวนในรูปการคูณ 10 ยกกําลัง กับจํานวนตั้งแต 1 ขึ้นไป แตไมถึง 10 1. -0.2
2 เบลส ปาสกาล (Blaise Pascal) นอกจากจะประดิษฐเครื่องบวกเลข 2. 0
สําเร็จเปนเครื่องแรกแลว ปาสกาล ยังมีผลงานอีกอยางหนึ่งที่เปนที่รูจักกันดี 3. -1
คือ สามเหลี่ยมปาสคาล ซึ่งเปนตัวเลขที่จัดทรงเปนรูปสามเหลี่ยม สามารถใช 4. -5
ในการคํานวณสัมประสิทธิ์ในทฤษฎีบททวินามได (เฉลยคําตอบ (-0.02)2 × (0.02)-2 × (-0.2)-1
1
= (0.02)2+(-2) × (- 0.2 )
= 1 × (-5)
= -5
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)

T136
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
ตัวอย่างที่ 10 1. ครูยกตัวอยางที่ 10 ขอ 1) จากหนังสือเรียน
จงเขียนจำ�นวนในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทย�ศ�สตร์ หนา 127 บนกระดาน และแสดงวิธีทําอยาง
1) 301,000,000 2) 49,000,000 3) 4,502,400 4) 543,200.49 ละเอียดทั้ง 2 วิธี (วิธีใชความรูเรื่องสมบัติการ
วิธีทำ� กำรเขียนจ�ำนวนให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยำศำสตร์ ท�ำได้ 2 วิธี ดังนี้ คูณของเลขยกกําลัง และวิธีใชความสัมพันธ
วิธีที่ 1 ใช้ควำมรู้เรื่องสมบัติกำรคูณของเลขยกก�ำลัง ระหวางจํานวนหลักของสวนที่เปนจํานวนเต็ม
1) 301,000,000 = 301 × 106 กับเลขชี้กําลังของฐาน 10) จากนั้นใหนักเรียน
= (3.01 × 102) × 106 ศึกษาตัวอยางที่ 10 ขอ 2)-4)
= 3.01 × 108
2) 49,000,000 = 49 × 106
= (4.9 × 10) × 106
= 4.9 × 107
3) 4,502,400 = 45,024 × 102
= (4.5024 × 104) × 102
= 4.5024 × 106
4) 543,200.49 = 5,432.0049 × 102
= (5.4320049 × 103) × 102
= 5.4320049 × 105
วิธีที่ 2 ใช้ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงจ�ำนวนหลักของส่วนที่เป็นจ�ำนวนเต็มกับเลขชี้ก�ำลัง
ของฐำน 10
1) 301,000,000 เป็นจ�ำนวนเต็มที่มี 9 หลัก
ดังนั้น เลขชี้ก�ำลังของฐำน 10 เป็น 8
จะได้ว่ำ 301,000,000 = 3.01 × 108
2) 49,000,000 เป็นจ�ำนวนเต็มที่มี 8 หลัก
ดังนั้น เลขชี้ก�ำลังของฐำน 10 เป็น 7
จะได้ว่ำ 49,000,000 = 4.9 × 107
3) 4,502,400 เป็นจ�ำนวนเต็มที่มี 7 หลัก
ดังนั้น เลขชี้ก�ำลังของฐำน 10 เป็น 6
จะได้ว่ำ 4,502,400 = 4.5024 × 106
4) 543,200.49 เป็นทศนิยมและมีส่วนที่เป็นจ�ำนวนเต็ม 6 หลัก
ดังนั้น เลขชี้ก�ำลังของฐำน 10 เป็น 5
จะได้ว่ำ 543,200.49 = 5.4320049 × 105 ตอบ
127

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET สื่อ Digital


4,600,000 เขียนในรูป A × 10n มากกวา (4 × 10)4 อยูเทาไร เรียนรูเพิ่มเติมเรื่อง เลขยกกําลัง จากภาพยนตรสารคดีสั้น เรื่อง ระบบการ
1. 4.66 × 104 วัดริกเตอร ไดที่ https://www.twig-aksorn.com/film/the-richter-scale-8535/
2. 4.35 × 104
3. 3.96 × 105
4. 2.04 × 106
(เฉลยคําตอบ 4,600,000 = 4.6 × 106
(4 × 10)4 = 2.56 × 106
(4.6 × 106) - (2.56 × 106) = 2.04 × 106
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)

T137
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
2. ครูใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” ในหนังสือเรียน ลองทําดู
หนา 128 ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ จงเขียนจำ�นวนในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทย�ศ�สตร์
3. ครูกลาววา “ในทางกลับกันเราสามารถเขียน 1) 428,000 2) 543,289,400.46 3) 453,200.496
จํานวนในรูปสัญกรณวิทยาศาสตรใหอยูใน
รูปจํานวนเต็มหรือทศนิยมที่มีคามากๆ ได” ตัวอย่างที่ 11
จากนั้นครูยกตัวอยางที่ 11 ขอ 1) ในหนังสือ จงเขียนจำ�นวนในรูปสัญกรณ์วิทย�ศ�สตร์ต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปจำ�นวนเต็มหรือทศนิยม
เรียน หนา 128 บนกระดาน พรอมทั้งแสดง 1) 4.5 × 107 2) 5.632 × 108 3) 9.84200364 × 105
วิธีทําอยางละเอียด วิธีทำ� กำรเขียนจ�ำนวนในรูปสัญกรณ์วิทยำศำสตร์ให้อยู่ในรูปจ�ำนวนเต็มหรือทศนิยม
4. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 11 ขอ 2)-3) ต้องใช้ควำมรู้เรื่องสมบัติกำรคูณของเลขยกก�ำลัง
แลวทํา “ลองทําดู” 1) เนื่องจำก 107 = 101 + 6 = 10 × 106
5. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น เฉลยคํ า ตอบ “ลอง ดังนั้น 4.5 × 107 = 4.5 × 10 × 106
ทําดู” = (4.5 × 10) × 106
6. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 3.3 ขอ 1. = 45 × 106
(ขอยอยที่ 1)-3)) ขอ 2. (ขอยอยที่ 1)-2) = 45,000,000
และ 3)) และ ขอ 4. (ขอยอยที่ 1)) เปน 2) เนื่องจำก 10 = 10 = 103 × 105
8 3 + 5
การบาน ดังนั้น 5.632 × 108 = 5.632 × 103 × 105
= (5.632 × 103) × 105
= 5,632 × 105
= 563,200,000
3) เนื่องจำก 9.84200364 = 984200.364 984200.364
100,000 = 105 = 984200.364 × 10
-5

ดังนั้น 9.84200364 × 105 = (984,200.364 × 10-5) × 105


= 984,200.364 × (10-5 × 105)
= 984,200.364 ตอบ
ลองทําดู
จงเขียนจำ�นวนในรูปสัญกรณ์วิทย�ศ�สตร์ต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปของจำ�นวนเต็มหรือทศนิยม
1) 482.000486 × 103 2) 4.9926 × 1011 3) 5.43 × 109

128

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


เรียนรูเ พิม่ เติมเรือ่ ง เลขยกกําลัง จากภาพยนตรสารคดีสนั้ เรือ่ ง อินเทอรเน็ต 0.000143
0.000000011 เขียนใหอยูใ นรูปสัญกรณวทิ ยาศาสตร ตรงกับขอใด
มีนํ้าหนักเทาไร ไดที่ https://www.twig-aksorn.com/film/what-does-the- 1. 1.3 × 103
internet-weigh-8572/ 2. 1.3 × 104
3. 1.3 × 10-3
4. 1.3 × 10-4
0.000143 = 143 × 10-6
(เฉลยคําตอบ 0.000000011
11 × 10-9
= 13 × 10-6-(-9)
= 13 × 103
= 1.3 × 104
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)

T138
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
จงพิจำรณำกำรเขียนจ�ำนวนต่อไปนี้ในรูปสัญกรณ์วิทยำศำสตร์ 1. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบแบบฝก
0.15 = 100 15 = 15 = (15) × ( 1 ) = 1.5 × 10-1 ทักษะ 3.3 ขอ 1. ที่ใหนักเรียนทําเปนการบาน
10 × 10 10 10 2. ครู ใ ห นั ก เรี ย นสั ง เกตจํ า นวนของศู น ย ห ลั ง
247 = 247 = (247) × ( 1 ) = 2.47 × 1 = 2.47 × 10-2
0.0247 = 10,000 100 × 100 100 100 (102) จุดทศนิยมและเลขชี้กําลังของฐาน 10 จาก
451 = (451) × ( 1 ) = 4.51 × 1 = 4.51 × 10-4 ตัวอยางในหนังสือเรียน หนา 129
0.000451 = 1,000,000 100 10,000 (104) 3. ครูเขียน 0.15 = 1.5 × 10-1 บนกระดาน
จำกกำรเขียนจ�ำนวนในรูปสัญกรณ์วิทยำศำสตร์ จะได้ว่ำ จากนั้นอธิบายวา “จาก 0.15 เปนทศนิยม
0.15 เป็นทศนิยมที่ไม่มีจ�ำนวน “0” หลังจุดทศนิยม เมื่อเขียนในรูปสัญกรณ์ ที่ไมมี 0 หลังจุดทศนิยม จึงไดวามี -1 เปน
วิทยำศำสตร์ มี -1 เป็นเลขชี้ก�ำลังของฐำน 10 เลขชี้ กํ า ลั ง ของฐาน 10 ซึ่ ง มี ค  า สั ม บู ร ณ
0.0247 เป็นทศนิยมที่มีจ�ำนวน “0” หลังจุดทศนิยม 1 ตัว เมื่อเขียนในรูปสัญกรณ์ มากกวาจํานวนของศูนยหลังจุดทศนิยมอยู
วิทยำศำสตร์ มี -2 เป็นเลขชี้ก�ำลังของฐำน 10
0.000451 เป็นทศนิยมที่มีจ�ำนวน “0” หลังจุดทศนิยม 3 ตัว เมื่อเขียนในรูปสัญกรณ์ 1 คา”
วิทยำศำสตร์ มี -4 เป็นเลขชี้ก�ำลังของฐำน 10 4. ครูเขียน 0.000451 = 4.51 × 10 -4 บน-
จะเห็นว่ำเมื่อเรำเขียนจ�ำนวนในรูปสัญกรณ์วิทยำศำสตร์ เลขชี้ก�ำลังของฐำน 10 จะเป็น กระดาน จากนั้นครูอธิบายวา “จาก 0.000451
จ�ำนวนเต็มลบ ซึ่งมีค่ำสัมบูรณ์มำกกว่ำจ�ำนวน “0” หลังจุดทศนิยมอยู่ 1 เป น ทศนิ ย มที่ มี 0 หลั ง จุ ด ทศนิ ย ม 3 ตั ว
จึ ง ได ว  า มี -4 เป น เลขชี้ กํ า ลั ง ของฐาน 10
ตัวอย่างที่ 12
ซึ่งมีคาสัมบูรณมากกวาจํานวนของศูนยหลัง
จงเขียนจำ�นวนในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทย�ศ�สตร์
จุดทศนิยมอยู 1 คา” แลวถามนักเรียนวา
1) 0.0016 2) 0.00000246 “จํ า นวนของศู น ย ห ลั ง จุ ด ทศนิ ย มและเลขชี้
วิธีทำ� กำรเขียนจ�ำนวนให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยำศำสตร์ ท�ำได้ 2 วิธี ดังนี้ กําลังของฐาน 10 มีความสัมพันธกันอยางไร”
วิธีที่ 1 ใช้ควำมรู้เรื่องสมบัติกำรคูณของเลขยกก�ำลัง ( แนวตอบ เลขชี้ กํ า ลั ง ของฐาน 10 จะเป น
1) 0.0016 16
= 10,000 จํานวนเต็มลบ ที่มีคาสัมบูรณมากกวาจํานวน
= 1.6 ×4 10 ของศูนยหลังจุดทศนิยมอยู 1 คา)
10
= 1.6 × 101 - 4 เข้าใจ (Understanding)
= 1.6 × 10-3
246 1. ครูยกตัวอยางที่ 12 ขอ 1) จากหนังสือเรียน
2) 0.00000246 = 100,000,000 หนา 129-130 บนกระดาน และแสดงวิธีทํา
2
= 2.46 ×8 10 อยางละเอียดทั้ง 2 วิธี (วิธีใชความรูเรื่อง
10 สมบั ติ ก ารคู ณ ของเลขยกกํ า ลั ง และวิ ธีใ ช
= 2.46 × 102 - 8
= 2.46 × 10-6 ความสัมพันธระหวางจํานวน “0” หลังจุด
ทศนิยมกับเลขชี้กําลังของฐาน 10)
129

กิจกรรม 21st Century Skills เกร็ดแนะครู


1. ใหนักเรียนจัดกลุม 9 กลุม แบงกันศึกษามูลคาของเงินใน ครูแนะนําวิธลี ดั นอกจากความสัมพันธของจํานวนของศูนยหลังจุดทศนิยม
สกุลเงินตางๆ ในกลุมประเทศอาเซียน ยกเวนประเทศไทย กับเลขชี้กําลังของฐาน 10 วา “การเขียนจํานวนทั้งสามตัวอยางขางตน ใหอยู
(กลุมละ 1 ประเทศไมซํ้ากัน) และเปรียบเทียบสกุลเงินของ ในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร ใชหลักการอีกหลักการหนึ่ง นั่นคือ เมื่อเลื่อน
ประเทศนั้นๆ กับสกุลเงินบาท ในมูลคา 1 บาท 50 บาท จุดทศนิยมไปทางขวา ตองคูณดวย 10 ที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มลบ
100 บาท 5,000 บาท 50,000 บาท 100,000 บาท และ ตามจํานวนครั้งในการเลื่อนจุดทศนิยมนั้น”
5 ลานบาท (ตอบใหอยูในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร)
2. ใหนกั เรียนแตละกลุม นําเสนอผลการศึกษาสกุลเงินของประเทศ
ทีไ่ ดรบั มอบหมายเปรียบเทียบกับสกุลเงินบาทในมูลคาทีก่ าํ หนด
โดยใชสื่อ PowerPoint หรือสื่ออิเล็กทรอนิกสอื่นๆ ตามความ
สนใจ

T139
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
2. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 12 ขอ 2) แลว วิธีที่ 2 ใช้ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงจ�ำนวน “0” หลังจุดทศนิยมกับเลขชี้ก�ำลังของฐำน 10
ใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” ในหนังสือเรียน 1) 0.0016 เป็นทศนิยมที่มีจ�ำนวน 0 หลังจุดทศนิยม 2 ตัว
หนา 130 จากนั้นรวมกันเฉลยคําตอบ ดังนั้น เลขชี้ก�ำลังของฐำน 10 เป็น -3
3. ครูกลาววา “ในทางกลับกันเราสามารถเขียน จะได้ว่ำ 0.0016 = 1.6 × 10-3
จํานวนในรูปสัญกรณวิทยาศาสตรใหอยูใน 2) 0.00000246 เป็นทศนิยมที่มีจ�ำนวน 0 หลังจุดทศนิยม 5 ตัว
รู ป ทศนิ ย มที่ มี ค  า น อ ยๆ ได ” จากนั้ น ครู ดังนั้น เลขชี้ก�ำลังของฐำน 10 เป็น -6
ยกตั ว อย า งที่ 13 ข อ 1) ในหนั ง สื อ เรี ย น จะได้ว่ำ 0.00000246 = 2.46 × 10-6 ตอบ
หนา 130 บนกระดาน พรอมทั้งแสดงวิธีทํา ลองทําดู
อยางละเอียด
จงเขียนจำ�นวนในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทย�ศ�สตร์
4. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 13 ขอ 2)-3) 1) 0.000496 2) 0.000040296 3) 0.009046
แลวทํา “ลองทําดู”
5. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น เฉลยคํ า ตอบ “ลอง ตัวอย่างที่ 13
ทําดู” จงเขียนจำ�นวนในรูปสัญกรณ์วิทย�ศ�สตร์ต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปทศนิยม
1) 2.57 × 10-3 2) 1.47 × 10-4 3) 9.434 × 10-5
วิธีทำ� กำรเขียนจ�ำนวนในรูปสัญกรณ์วิทยำศำสตร์ให้อยู่ในรูปทศนิยม ต้องใช้ควำมสัมพันธ์
ระหว่ำงจ�ำนวน 0 หลังจุดทศนิยมกับเลขชี้ก�ำลังของฐำน 10 ดังนี้
1) 2.57 × 10-3 มีเลขชี้ก�ำลังของฐำน 10 เป็น -3
ดังนั้น จ�ำนวน 0 หลังจุดทศนิยมมี 2 ตัว
จะได้ว่ำ 2.57 × 10-3 เขียนในรูปทศนิยมได้ คือ 0.00257
2) 1.47 × 10-4 มีเลขชี้ก�ำลังของฐำน 10 เป็น -4
ดังนั้น จ�ำนวน 0 หลังจุดทศนิยมมี 3 ตัว
จะได้ว่ำ 1.47 × 10-4 เขียนในรูปทศนิยมได้ คือ 0.000147
3) 9.434 × 10-5 มีเลขชี้ก�ำลังของฐำน 10 เป็น -5
ดังนั้น จ�ำนวน 0 หลังจุดทศนิยมมี 4 ตัว
จะได้ว่ำ 9.434 × 10-5 เขียนในรูปทศนิยมได้ คือ 0.00009434 ตอบ
ลองทําดู
จงเขียนจำ�นวนในรูปสัญกรณ์วิทย�ศ�สตร์ต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปทศนิยม
1) 5.545 × 10-6 2) 6.946 × 10-8
130

เกร็ดแนะครู กิจกรรม สรางเสริม


ครูควรอธิบายเพิ่มเติมวา การเลื่อนจุดทศนิยมจากทางซายไปทางขวา ใหนักเรียนหาผลลัพธของจํานวนที่กําหนด โดยเขียนในรูป
1 ตําแหนง หมายถึง หารจํานวนนั้นดวย 10 ถาหารจํานวนนั้นดวย 10 n สัญกรณวิทยาศาสตร
แสดงวา เลื่อนจุดไปทางขวา n ตําแหนงจะทําใหเลขชี้กําลังของ 10 ลดลง A. (2.1 × 109) - (1.3 × 109)
n ดวย B. (1.44 × 10-6) - (8.9 × 10-8)

กิจกรรม ทาทาย
ใหนักเรียนหาผลลัพธของจํานวนที่กําหนด โดยเขียนในรูป
สัญกรณวิทยาศาสตร
(1.3 × 103 + 41 × 102) + (1.5 × 10-1 + 2.1 × 10-2)

T140
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
แบบฝึกทักษะ 3.3 1. ครูแจกใบงานที่ 3.4 เรื่อง การเขียนจํานวน
ในรู ป สั ญ กรณ วิ ท ยาศาสตร ให นั ก เรี ย นทํ า
ระดับ พื้นฐาน
จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ
1. จงเขียนจ�ำนวนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยำศำสตร์ 2. ครู ใ ห นั ก เรี ย นทํ า แบบฝ ก ทั ก ษะ 3.3 เป น
1) 28,000,000 2) 26,870,000 การบาน
3) 40,700,540 4) 0.000082
5) 0.00006303 6) 0.000000203 ขัน้ สรุป
2. จงเขียนจ�ำนวนในรูปสัญกรณ์วิทยำศำสตร์ต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปจ�ำนวนเต็มหรือทศนิยม ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ
1) 8.4 × 102 2) 7.05 × 104 นักเรียน ดังนี้
3) 3.82 × 10-1 4) 9.0504 × 103 • จํานวนในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร คือ
-3
5) 7.123 × 10 6) 2.5 × 10-7 (แนวตอบ จํานวนที่เขียนอยูในรูป A × 10n
ระดับ กลาง เมื่อ 1 ≤ A < 10 และ n เปนจํานวนเต็ม)
• การเขียนจํานวนทีม่ คี า มากๆ ในรูปสัญกรณ
3. จงเขียนจ�ำนวนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยำศำสตร์
วิทยาศาสตร เปนอยางไร
1) (9 × 820) × 103 2) 0.04298 × 0.4
(แนวตอบ เลขชี้กําลังของฐาน 10 จะเปน
3) (4 × 230) × 50,000 4) 0.0004382 × 0.002
จํ า นวนเต็ ม บวก ที่ มี ค  า น อ ยกว า จํ า นวน
4. จงเขียนจ�ำนวนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปจ�ำนวนเต็มหรือทศนิยม หลักของสวนที่เปนจํานวนเต็มอยู 1 คา)
4 2 2
1) 8.1 × 103 2) 6.25 × 103 3) 1 × 103 • การเขียนจํานวนทีม่ คี า นอยๆ ในรูปสัญกรณ
9 × 10 5 × 10 4 × 10
3 2
วิทยาศาสตร เปนอยางไร
5. (0.09 × 10 ) เขียนให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยำศำสตร์ได้อย่ำงไร (แนวตอบ เลขชี้กําลังของฐาน 10 จะเปน
ระดับ ท้าทาย จํ า นวนเต็ ม ลบ ที่ มี ค  า สั ม บู ร ณ ม ากกว า
จํานวนของศูนยหลังจุดทศนิยมอยู 1 คา)
6. จงเขียนจ�ำนวนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยำศำสตร์
9
1) (9 × 816× 45) × 107 × 4 3 ขัน้ ประเมิน
10 10
( 5 4) (
2) 2 × 8 × × 109) × (4 × 2)
10 × 10 4 7 1. ครูตรวจใบงานที่ 3.4
5 × 10 2. ครูตรวจแบบฝกทักษะ 3.3
3) (50,000 × 2,000) × 3 1 4 5 × (7 × 8 × 6) 3. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
(10 × 10 )
4. ครูสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค

131

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET บูรณาการอาเซียน


แสงเดินทางดวยอัตราเร็ว 3 × 108 เมตรตอวินาที จงหาวา ประเทศอินโดนีเซีย เปนหมูเกาะที่ใหญท่ีสุดในโลก มีพื้นที่เปนอันดับ 1
ในเวลา 13 วัน แสงจะเดินทางไดระยะทางกี่เมตร ของอาเซียนและ 16 ของโลก โดยมีพื้นที่ประมาณ 1,919,440 ตร.กม. หรือ
1. 6.480 × 1012 2. 8.640 × 1012 1.91944 × 106 ตร.กม. และประเทศสิงคโปรเปนนครรัฐที่ตั้งอยูบนเกาะ
3. 1.296 × 1013 4. 2.592 × 1013 และเปนประเทศที่เล็กที่สุดในอาเซียน โดยมีพื้นที่ประมาณ 697 ตร.กม. หรือ
6.97 × 102 ตร.กม.
(เฉลยคําตอบ ใน 1 วัน จะมี 24 × 60 × 60 = 86,400 วินาที
และใน 13 วัน จะมี 13 × 86,400 วินาที
แสงเดินทางดวยอัตราเร็ว 3 × 108 เมตรตอวินาที
ดังนั้น ในเวลา 13 วัน
แสงจะเดินทางไดระยะทาง = 13 × 86,400 × 3 × 108 เมตร
= 8.640 × 1012 เมตร
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)

T141
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใชความรูเ ดิมฯ (Prior Knowledge)
ครู ท บทวนสมบั ติ ข องการคู ณ และการหาร 3.4 การน�าความรูเ กีย่ วกับเลขยกก�าลังไปใชในชีวติ จริง
เลขยกกําลัง เมื่อเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มบวก ในปีกำรศึกษำ 2559 วำรุณีได้รับเงินทุนกำรศึกษำจำกโรงเรียนเป็นจ�ำนวนเงิน 1,000 บำท
วำรุณีจึงน�ำเงินไปฝำกไว้กับสถำบันกำรเงินแห่งหนึ่งเพื่อเอำไว้เป็นทุนกำรศึกษำในอนำคต โดยได้
ขัน้ สอน ดอกเบี้ยร้อยละ 1.8 ต่อปี
รู (Knowing)
จงพิจำรณำกำรหำจ�ำนวนเงินเก็บในแต่ละปีของวำรุณี ดังต่อไปนี้
1. ครูยกตัวอยางการหาเงินเก็บในแตละปของ ปีที่ 1 วำรุณีมีเงิน 1,000 บำท
วารุ ณี ในหนั ง สื อ เรี ย น หน า 132 โดยครู 1.8 บำท ¤³ิตน่ÒรÙ้
สิ้นปีที่ 1 วำรุณีได้ดอกเบี้ย 1,000 × 100
อธิบายขัน้ ตอนการหาดอกเบีย้ ในแตละปอยาง อัตรำดอกเบี้ยเงินฝำก คือ
วำรุณีจะมีเงินเก็บรวม เท่ำกับ 1,000 + (1,000 × 100 1.8 ) ผลตอบแทนที่สถำบันกำรเงิน
ละเอียด และเนนยํ้าวา เมื่อสิ้นปที่ 1 เงินตน
1.8 ) บำท จ่ำยให้กับผู้ฝำกเงิน
และดอกเบี้ยที่ไดจากสิ้นปที่ 1 จะเปนเงินตน = 1,000 × (1 + 100
ในปที่ 2 และเมื่อสิ้นปที่ 2 เงินตนและดอกเบี้ย ดังนั้น สิ้นปีที่ 1 วำรุณีจะมีเงินเก็บรวม 1,000 × (1 + 100 1.8 ) บำท
ที่ไดจากสิ้นปที่ 2 จะเปนเงินตนในปที่ 3 เปน
ปีที่ 2 วำรุณีมีเงิน 1,000 × (1 + 100 1.8 ) บำท
เชนนี้ไปเรื่อยๆ เราเรียกการคิดดอกเบี้ยเชนนี้
วา “การคิดดอกเบี้ยทบตน” สิ้นปีที่ 2 วำรุณีได้ดอกเบี้ย (1,000 × (1 + 100 1.8 )) × 1.8 บำท
100
วำรุณจี ะมีเงินเก็บรวม เท่ำกับ (1,000 × (1 + 100 1.8 )) + ((1,000 × (1 + 1.8 )) × 1.8 )
100 100
1.8
= (1,000 × (1 + 100)) × (1 + 100) 1.8
= 1,000 × (1 + 100 1.8 )2 บำท
ดังนั้น สิ้นปีที่ 2 วำรุณีจะมีเงินเก็บรวม 1,000 × (1 + 100 1.8 )2 บำท
ปีที่ 3 วำรุณีมีเงิน 1,000 × (1 + 100 1.8 )2 บำท
สิ้นปีที่ 3 วำรุณีได้ดอกเบี้ย (1,000 × (1 + 100 1.8 )2) × 1.8 บำท
100
วำรุณจี ะมีเงินเก็บรวม เท่ำกับ (1,000 × (1 + 100 1.8 )2) + ((1,000 × (1 + 1.8 )2) × 1.8 )
100 100
2
= (1,000 × (1 + 100 1.8 ) ) × (1 + 1.8 )
100
3
= 1,000 × (1 + 100 1.8 ) บำท
ดังนั้น สิ้นปีที่ 3 วำรุณีจะมีเงินเก็บรวม 1,000 × (1 + 100 1.8 )3 บำท

132

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


กอนที่ครูจะอธิบายการหาดอกเบี้ยเงินฝาก ครูควรอธิบายกับนักเรียน ดังนี้ สายธารฝากเงินที่ธนาคารแหงหนึ่งเปนจํานวนเงิน 5,000 บาท
เงินตน คือ เงินทีเ่ รานําไปฝากกับสถาบันการเงิน หรือเงินทีเ่ รากูจ ากสถาบัน โดยสิ้นปที่หนึ่งสายธารมีเงิน 5,100 บาท อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก
การเงิน ตอปเทากับขอใดตอไปนี้
ดอกเบี้ย คือ เงินที่สถาบันการเงินตองจายใหแกเจาของเงินที่นํามาฝาก 1. 0.5 2. 1 3. 1.5 4. 2
หรือเงินที่ผูกูตองจายใหกับสถาบันการเงินที่ใหกู (เฉลยคําตอบ ขอ 4. เพราะ
อัตราดอกเบีย้ เงินฝาก คือ ผลตอบแทนทีส่ ถาบันการเงินจายใหกบั ผูฝ ากเงิน กําหนดให r แทนอัตราดอกเบี้ยเงินฝากตอป
เงินรวม คือ เงินตนรวมกับดอกเบี้ย r 1
5,100 = 5,000 (1 + 100
รอยละหรือเปอรเซ็นต คือ การเปรียบเทียบจํานวนใดจํานวนหนึ่งกับ 100
)
50
5,100 = 5,000 (100100+ r )
5,100 - 100 = r
50
∴ r = 2
ดังนั้น อัตราดอกเบี้ยเงินฝากตอป เทากับ 2
เพราะฉะนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)
T142
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
เมื่อท�ำเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ จะได้สูตรหำจ�ำนวนเงินเก็บของวำรุณีในแต่ละปี ดังนี้ 2. ครู ส นทนากั บ นั ก เรี ย นจนได ข  อ สรุ ป สู ต ร
ดอกเบี้ ย ทบต น แล ว อธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม ว า
สูตรดอกเบี้ยทบต้น “การหาจํานวนเงินเก็บในแตละปของวารุณี
r )t
A = P (1 + 100 เปนหนึ่งในตัวอยางของการนําเลขยกกําลัง
มาประยุกตใชในการแกปญหา”
เมื่อ A แทนเงินรวมเมื่อสิ้นปีที่ t 3. ครู ใ ห นั ก เรี ย นคํ า นวณหาจํ า นวนเงิ น เก็ บ ใน
P แทนเงินต้น แตละปของวารุณี โดยใชสูตรดอกเบี้ยทบตน
r แทนอัตรำดอกเบี้ยต่อปี แลวตรวจสอบคําตอบจากตัวอยางในหนังสือ
t แทนระยะเวลำเป็นปี เรียน หนา 132
กำรหำจ�ำนวนเงินเก็บในแต่ละปีของวำรุณเี ป็นหนึง่ ในตัวอย่ำงของกำรน�ำเลขยกก�ำลังมำ 4. ครูยกตัวอยางที่ 14 ในหนังสือเรียน หนา 133
ประยุกต์ใช้ในกำรแก้ปญหำ ซึ่งนักเรียนจะได้ศึกษำเพิ่มเติมดังตัวอย่ำงต่อไปนี้ พรอมแสดงวิธีทําอยางละเอียดบนกระดาน
5. ให นั ก เรี ย นทํ า “ลองทํ า ดู ” จากนั้ น ครู แ ละ
ตัวอย่างที่ 14 นักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ
สุธีฝ�กเงินที่ธน�ค�รแห่งหนึ�งเปนจำ�นวนเงิน 5,000 บ�ท โดยธน�ค�รให้ดอกเบี้ยเงินฝ�ก
ร้อยละ 0.35 ต่อปี จงห�ว่�เมื่อสิ้นปีที่ 2 สุธีจะมีเงินฝ�กในธน�ค�รแห่งนี้เปนจำ�นวนเงินกี่บ�ท
วิธีทำ� จำกสูตรดอกเบี้ยทบต้น A = P (1 + 100 r )t
จะได้ P = 5,000 บำท
r = 0.35
t = 2 2
ดังนั้น จ�ำนวนเงินฝำกของสุธีเมื่อสิ้นปีที่ 2 คือ 5,000 × (1 + 0.35
100 )
= (5 × 103) × (1.0035)2
= [5 × (1.0035)2] × 103
= 5.03506125 × 103
= 5,035.06125 บำท
ดังนั้น จ�ำนวนเงินฝำกของสุธีเมื่อสิ้นปีที่ 2 คือ 5,035.06125 บำท ตอบ
ลองทําดู
กฤติม�ฝ�กเงินเก็บไว้กับสถ�บันก�รเงินแห่งหนึ่งเปนจำ�นวนเงิน 2,000 บ�ท โดยได้ดอกเบี้ย
ร้อยละ 1.3 ต่อปี จงห�ว่�เมื่อสิ้นปีที่ 4 กฤติม�จะมีเงินเก็บจำ�นวนกี่บ�ท

133

กิจกรรม 21st Century Skills เกร็ดแนะครู


ให นั ก เรี ย นจั ด กลุ  ม กลุ ม ละ 5 คน คละความสามารถ ครูจะตองเนนยํ้ากับนักเรียนดวยวานักเรียนไมสามารถกระจายเลขชี้กําลัง
คณิ ต ศาสตร เ ปรี ย บเที ย บอั ต ราดอกเบี้ ย เงิ น ฝากของธนาคาร ที่อยูนอกวงเล็บเขามาในวงเล็บที่มีการดําเนินการบวกหรือการดําเนินการลบได
ในประเทศไทยที่ใหผลตอบแทนสูงสุดในการฝากเงิน 5,000 บาท และเนนยํ้าอีกวานักเรียนจะตองดําเนินการจํานวนที่อยูในวงเล็บใหเสร็จกอน
ในระยะเวลา 3 ป โดยใหนักเรียนเปรียบเทียบจาก 5 ธนาคาร แลวคอยยกกําลัง เชน (2 + 3)2 22 + 32 แต (2 + 3)2 = 52 = 25
แลวนําเสนอหนาชั้นเรียน

T143
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
6. ครูยกตัวอยางที่ 15 ในหนังสือเรียน หนา 134 ตัวอย่างที่ 15
พรอมแสดงวิธีทําอยางละเอียดบนกระดาน 1
ธาตุไฮโดรเจน 1 กรัม มีจาํ นวนอะตอมอยูป ระมาณ 6.02 × 1023 อะตอม1 จงหาวาธาตุไฮโดรเจน
จากนั้นใหนักเรียนจับคูศึกษาตัวอยางที่ 16 18 กรัม มีจํานวนอะตอมประมาณกี่อะตอม
แลวแลกเปลี่ยนความรูกับคูของตนเอง วิธีทํา ธาตุไฮโดรเจน 1 กรัม มีจํานวนอะตอมประมาณ 6.02 × 1023 อะตอม
7. ครู ใ ห นั ก เรี ย นแต ล ะคนทํ า “ลองทํ า ดู ” ใน ดังนั้น ธาตุไฮโดรเจน 18 กรัม มีจํานวนอะตอม
หนังสือเรียน หนา 134 แลวครูและนักเรียน ประมาณ 18 × 6.02 × 1023 อะตอม
รวมกันเฉลยคําตอบ = 108.36 × 1023 อะตอม
= 1.0836 × 102 × 1023 อะตอม
= 1.0836 × 1025 อะตอม
ดังนั้น ธาตุไฮโดรเจน 18 กรัม มีจํานวนอะตอมประมาณ 1.0836 × 1025 อะตอม ตอบ

ตัวอย่างที่ 16
2
เครื่องบินลําหนึ่งเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วประมาณ 9.05 × 102 กิโลเมตรตอชั่วโมง2 ถาให
เครื่องบินเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วดังกลาวนี้อยางสมํ่าเสมอในเวลา 11 ชั่วโมง จงหาวาเครื่องบิน
ลํานี้จะเคลื่อนที่ไดระยะทางประมาณกี่กิโลเมตร
วิธีทํา ระยะเวลา 1 ชั่วโมง เครื่องบินเคลื่อนที่ไดระยะทางประมาณ 9.05 × 102 กิโลเมตร
ดังนั้น ระยะเวลา 11 ชั่วโมง เครื่องบินเคลื่อนที่ไดระยะทาง
ประมาณ 11 × 9.05 × 102 กิโลเมตร
= 99.55 × 102 กิโลเมตร
= 9.955 × 103 กิโลเมตร
ดังนั้น เครื่องบินลํานี้จะเคลื่อนที่ไดระยะทางประมาณ 9.955 × 103 กิโลเมตร ตอบ
ลองทําดู
1. แกสไนโตรเจน 28 กรัม มีจํานวนโมเลกุลอยูประมาณ 6.02 × 1023 โมเลกุล3 จงหาวา
แกสไนโตรเจน 14 กรัม มีจํานวนโมเลกุลประมาณกี่โมเลกุล
2. ดาวเทียมดวงหนึ่งเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วประมาณ 2.7 × 104 กิโลเมตรตอชั่วโมง4 ถาให
ดาวเทียมเคลื่อนที่ดวยอัตราดังกลาวนี้อยางสมํ่าเสมอในเวลา 1 วัน จงหาวาดาวเทียม
ดวงนี้จะเคลื่อนที่ไดระยะทางประมาณกี่กิโลเมตร
1, 3
พงศธร นันทธเนศ และคณะ. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 - 6 เลม 2. พิมพครั้งที่ 2
(นนทบุรี : ไทยรมเกลา), 10.
2
Boeing 777-200. Retrieved October 18, 2017, from https://www.airlines-inform.com
4
ความเร็ว และความสูงของดาวเทียมในวงโคจร. สืบคนเมื่อ 18 ตุลาคม 2560, จาก http://www.tpa.or.th
134

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


1 อะตอม หมายถึ ง ส ว นที่ เ ล็ ก ที่ สุ ด ของธาตุ ซึ่ ง เข า ทํ า ปฏิ กิ ริ ย าเคมี ไ ด โลกอยูหางจากดวงอาทิตย 1.5 × 108 กิโลเมตร ดาวเนปจูน
อะตอมประกอบดวยอนุภาคมูลฐานที่สําคัญ คือ นิวเคลียสเปนแกนกลาง อยูหางจากดวงอาทิตย 4.456 × 109 กิโลเมตร โลกอยูหางจาก
และมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยูโดยรอบ เดิมเรียกวา ปรมาณู ดาวเนปจูนเปนระยะทางเทาไร
2 กิโลเมตร (Kilometre หรือเขียน Kilometer) เปนหนวยวัดในระบบ (เฉลยคําตอบ โลกอยูหางจากดวงอาทิตย 1.5 × 108 กิโลเมตร
เมตริก ที่มีคา ดังนี้ ดาวเนปจูนอยูหางจากดวงอาทิตย 4.456 × 109 กิโลเมตร
1 กิโลเมตร = 1000 เมตร ดังนั้น โลกอยูหางจากดาวเนปจูน = (4.456 × 109) - (1.5 × 108)
เขียนในรูปสัญกรณวิทยาศาสตรได 1 × 103 เมตร = (4.456 × 10 × 108) - (1.5 × 108)
1 กิโลเมตร = 100,000 เซนติเมตร = (44.56 × 108) - (1.5 × 108)
เขียนในรูปสัญกรณวิทยาศาสตรได 1 × 105 เซนติเมตร = (44.56 - 1.5) × 108
= 43.06 × 108
= 4.306 × 109 กิโลเมตร)

T144
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
แบบฝึกทักษะ 3.4 1. ครู แ จกใบงานที่ 3.5 เรื่ อ ง การนํ า ความรู 
เกี่ ย วกั บ เลขยกกํ า ลั ง ไปใช ใ นชี วิ ต จริ ง ให
ระดับ พื้นฐาน
นักเรียนทํา จากนั้นครูและนักเรียนรวมกัน
1. เวลำ 1 ไมโครวินำที เท่ำกับ 10-6 วินำที จงหำว่ำเวลำ 25 ไมโครวินำที เท่ำกับกี่วินำที เฉลยคําตอบใบงานที่ 3.5
2. ทำงดำรำศำสตร์นิยมใช้หน่วยวัดระยะทำงเป็นปีแสง โดยก�ำหนดว่ำ ระยะ 1 ปีแสง 2. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 3.4 ขอ 1.-4.
คือ ระยะที่แสงเคลื่อนที่ไปได้ในเวลำ 1 ปี ซึ่งมีค่ำประมำณ 1.5 × 108 กิโลเมตร1 เปนการบาน แลวรวมกันเฉลยคําตอบแบบฝก
จงเขียนระยะทำงที่แสงเคลื่อนที่ได้ในระยะเวลำต่อไปนี้ในรูปสัญกรณ์วิทยำศำสตร์ ทักษะ 3.4 ขอ 1.-4.
1) 2 ปี 2) 6 เดือน 3. ครูทบทวนสมบัติของการคูณและการหารเลข
ระดับ กลาง ยกกําลัง เมื่อเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มบวก
1 และสูตรดอกเบี้ยทบตน
3. แก๊สคำร์บอนไดออกไซด์ 44 กรัม มีจ�ำนวนโมเลกุลอยู่ 6.02 × 1023 อะตอม2 จงหำว่ำ
แก๊สคำร์บอนไดออกไซด์ 114.4 กรัม จะมีจ�ำนวนโมเลกุลกี่โมเลกุล 4. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 3.4 ขอ 5.-7.
จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ
4. ระยะทำงจำกดวงอำทิตย์ถึงดำวพุธประมำณ 5.68 × 107 กิโลเมตร3 แต่ระยะทำงจำกดวง
อำทิตย์ถึงดำวศุกร์ประมำณ 1.08 × 108 กิโลเมตร4 จงหำว่ำระยะทำงจำกดวงอำทิตย์ถึง
ดำวศุกร์มำกกว่ำระยะทำงจำกดวงอำทิตย์ถึงดำวพุธประมำณกี่กิโลเมตร
5. กำญจนำฝำกเงินกับธนำคำรแห่งหนึ่งเป็นจ�ำนวนเงิน 10,000 บำท โดยธนำคำรให้ดอกเบี้ย
ร้อยละ 0.75 ต่อ 6 เดือน จงหำว่ำเมือ่ สิน้ ปีที่ 4 กำญจนำจะมีเงินฝำกในธนำคำรเป็นจ�ำนวนเงิน
กี่บำท
2
6. ถ้ำ 1 อังสตรอมเท่ำกับ 10-10 เมตร และ 1 นำโนเมตรเท่ำกับ 10-9 เมตร จงหำว่ำ
1.2 อังสตรอมเท่ำกับกี่นำโนเมตร
ระดับ ท้าทาย

7. สันติต้องกำรฝำกเงินในธนำคำรเพื่อเป็นเงินเก็บในอนำคต โดยธนำคำรแรกให้ดอกเบี้ย
ร้อยละ 0.15 ต่อ 3 เดือน และธนำคำรที่สองให้ดอกเบี้ยร้อยละ 0.20 ต่อ 4 เดือน ถ้ำสันติ
ต้องกำรฝำกเงิน 100,000 บำท เป็นเวลำ 10 ปี จงหำว่ำสันติควรฝำกเงินที่ธนำคำรใดจึงจะ
มีเงินเก็บมำกที่สุด และจะมีเงินเก็บจ�ำนวนกี่บำทเมื่อสิ้นปีที่ 10
1
ASTRONOMICAL UNIT : หน่วยวัดระยะท�งด�ร�ศ�สตร์. สืบค้นเมื่อ 18 ตุลำคม 2560,
จำก http://www.sunflowercosmos.org/014-astronomical_unit.html
2
พงศธร นันทธเนศ และคณะ. หนังสือเรียนร�ยวิช�เพิ่มเติม เคมี ชั้นมัธยมศึกษ�ปีที่ 4 - 6 เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที่ 2
(นนทบุรี : ไทยร่มเกล้ำ), 10.
3-4
ด�วเคร�ะห์. สืบค้นเมื่อ 18 ตุลำคม 2560, จำก http://www.narit.or.th/index.php/astro/solsys/planets

135

กิจกรรม เสริมสรางคุณลักษณะอันพึงประสงค นักเรียนควรรู


ใหนักเรียนจัดกลุม กลุมละ 5 คน คละความสามารถทาง 1 คารบอนไดออกไซด (Carbon Dioxide) เปนชื่อแกสชนิดหนึ่ง ไมมีสี
คณิตศาสตรศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องเลขยกกําลัง ดังนี้ สูตรเคมี CO2 มีปรากฏในบรรยากาศ เกิดจากการเผาไหมโดยสมบูรณของธาตุ
1. ประวัติของเลขยกกําลัง คารบอนหรือสารอินทรีย เปนแกสหนักกวาอากาศและไมชวยการเผาไหม จึง
2. สรุปสาระสําคัญพรอมยกตัวอยางของเลขยกกําลัง ใชประโยชนในการดับเพลิง ใชในอุตสาหกรรมเครื่องดื่มอัดลม เชน นํ้าโซดา
3. ออกขอสอบเรือ่ ง เลขยกกําลัง 4 ตัวเลือก พรอมเฉลยละเอียด นํ้าหวาน ใชทํานํ้าแข็งแหง ซึ่งเปนตัวทําความเย็น
จํานวน 10 ขอ 2 อังสตรอม เปนหนวยที่ใชวัดระยะสั้นมากๆ
1 อังสตรอม มีคาเทากับ 10-10 เมตร ใชสัญลักษณวา A ํ

T145
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
ครูใหนกั เรียนจัดกลุม กลุม ละ 4 คน คละความ คณิตศาสตร์ในชีวิตจริง
สามารถทางคณิตศาสตร แลวทํากิจกรรม ดังนี้
• ครู ใ ห แ ต ล ะกลุ  ม ศึ ก ษาสถานการณ จ าก ก�รแพร่เชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ฮ่องกง (Hong Kong Flu) โดยก�รจ�ม
“คณิตศาสตรในชีวิตจริง” ในหนังสือเรียน ไข้หวัดใหญ่ฮ่องกง (Hong Kong Flu) เป็นกำรแพร่ระบำดของเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ เอช 3
หนา 136 เอ็น 2 โดยมีต้นก�ำเนิดมำจำกเกำะฮ่องกง ซึ่งสำมำรถติดเชื้อไวรัสนี้ได้จำกกำรจำมของผู้ปวยได้
• จากนั้นใหนักเรียนแตละคนวิเคราะหวา มี
วิ ธีก ารแก ป  ญ หาจาก “คณิ ต ศาสตร ใ น
ชีวิตจริง” อยางไร แลวแลกเปลี่ยนคําตอบ
กันภายในกลุม สนทนาซักถามจนเปนที่
เขาใจรวมกัน
• นักเรียนแตละคนเขียนขั้นตอนแสดงวิธีคิด
ของกลุมตนเองอยางละเอียดลงในสมุด
• สงตัวแทนกลุมมานําเสนอคําตอบหนาชั้น
เรียน โดยเพื่อนกลุมที่เหลือคอยตรวจสอบ
ความถูกตอง • กำรจำม 1 ครั้ง จะมีจ�ำนวนละอองเกิดขึ้นประมำณ 40,000 ละออง โดยละอองมีขนำด
เส้นผ่ำนศูนย์กลำง 0.5 ถึง 5 ไมโครเมตร และจะเต็มไปด้วยเชือ้ ไวรัสถ้ำบุคคลนัน้ อยูใ่ นระยะติดต่อ
• ละอองที่ออกมำจะมีควำมเร็วประมำณ 150 กิโลเมตรต่อชั่วโมง หรือประมำณ 42 เมตร
ต่อวินำที
• ระยะกำรกระจำยตัวของละอองไปได้ไกลถึง 30 เมตร
• เชือ้ ของไวรัสไข้หวัดใหญ่ทอี่ อกมำกับละอองน�ำ้ ทีเ่ กิดจำกกำรจำม เมือ่ เข้ำไปสูต่ วั คนภำยใน
ไม่กี่ชั่วโมง ไวรัสตัวนี้ก็สำมำรถลุกลำมถึงปอดอย่ำงรวดเร็ว ถ้ำเป็นเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ทั่วไป
จะใช้เวลำ 2 - 3 วัน แต่ไวรัสตัวนี้จะใช้เวลำภำยในไม่กี่ชั่วโมง หรือแค่ 1 - 2 วัน ผู้ปวยจะมีอำกำร
ทรุดลงอย่ำงรุนแรง ซึ่งเป็นสำเหตุให้คนไข้เสียชีวิตได้ ดังนั้น เพื่อปองกันกำรติดเชื้อไวรัสจึงควร
ล้ำงมือทุกครั้งเมื่อจับต้องสิ่งของต่ำง ๆ เช่น ลูกบิดประตู ปุมกดลิฟต์ ธนบัตร พื้นผิวโต๊ะ และ
เฟอร์นิเจอร์ เป็นต้น
ที่มำ : http://pr.moph.go.th/iprg/include/admin_hotnew/show_hotnew.php?idHot_new=98667
จำกข้อมูลข้ำงต้น ให้นักเรียนตอบค�ำถำมต่อไปนี้ในรูปสัญกรณ์วิทยำศำสตร์
1) ละอองหนึ่งละออง มีขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงกี่เมตร (1 ไมโครเมตร = 10-6 เมตร)
2) ถ้ำผู้ปวยคนหนึ่ง จำมติดต่อกัน 7 ครั้ง จะมีจ�ำนวนละอองที่เกิดขึ้นประมำณกี่ละออง

136

เฉลย คณิตศาสตร ในชีวิตจริง กิจกรรม 21st Century Skills


1) ละอองหนึ่งละอองมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 5 × 10-7 ถึง 5 × 10-6
ใหนักเรียนจัดกลุม กลุมละ 5 คน คละความสามารถทาง
เมตร
คณิตศาสตร แลวสรางโจทยปญหาที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวัน
2) การจาม 1 ครั้ง มีจํานวนละอองเกิดขึ้นประมาณ 40,000 ละออง
โดยตองใชความรูข องเรือ่ งเลขยกกําลังในการดําเนินการ พรอมทัง้
การจาม 7 ครั้ง จะมีจํานวนละอองเกิดขึ้นประมาณ 40,000 × 7 ละออง
แสดงวิธีทําโดยละเอียดลงในกระดาษ A4 อีกทั้งใหนักเรียนศึกษา
= 280,000 ละออง
การใชโปรแกรม Microsoft Excel ในการดําเนินการแกปญหา
ดังนั้น จามติดตอกัน 7 ครั้ง จะมีจํานวนละอองที่เกิดขึ้นประมาณ
จัดทําเปนใบความรู พรอมทั้งนําเสนอขั้นตอนการใชโปรแกรม
2.8 × 105 ละออง
Microsoft Excel ในการแกปญหาหนาชั้นเรียน

T146
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
1. ครูใหนกั เรียนอานและศึกษา “สรุปแนวคิดหลัก”
สรุปแนวคิดหลัก ในหนั ง สื อ เรี ย น หน า 137 แล ว เขี ย นผั ง
มโนทัศน หนวยการเรียนรูที่ 3 เลขยกกําลัง
การเขียนเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มบวก ลงในกระดาษ A4
การเขียนจ�านวนเต็มให้อยู่ในรูปเลขยกก�าลังที่มีเลขชี้ก�าลังเป็นจ�านวนเต็มบวกมีบทนิยาม 2. ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ
ดังต่อไปนี้ นักเรียน ดังนี้
ถากําหนดให a, b แทนจํานวนใดๆ ที่ b 0
บทนิยาม และ m, n, k แทนจํานวนเต็มบวกใดๆ แลว
ให้ a แทนจ�านวนใด ๆ และ n แทนจ�านวนเต็มบวก “a ยกก�าลัง n” หรือ “a ก�าลัง n” • am × an มีคาเทากับเทาไร
เขียนแทนด้วย an มีความหมาย ดังนี้ an = a × a × a × ... × a
n ตัว
(แนวตอบ เทากับ am+n)
• (am)n มีคาเทากับเทาไร
(แนวตอบ เทากับ am×n)
การคูณและการหารเลขยกกําลัง เมื่อเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มบวก
• am × bm มีคาเทากับเทาไร
การคูณและการหารเลขยกก�าลังที่มีฐานเป็นจ�านวนใด ๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ และมีเลขชี้ก�าลัง
(แนวตอบ เทากับ (a × b)m)
เป็นจ�านวนเต็มบวก ต้องใช้สมบัติของเลขยกก�าลังต่อไปนี้
• (am × bn)k มีคาเทากับเทาไร
ก�าหนดให้ a, b แทนจ�านวนใด ๆ ที่ b 0 และ m, n, k แทนจ�านวนเต็มบวกใด ๆ
(แนวตอบ เทากับ am×k × bn×k)
1. am × an = am+n 2. (am)n = am × n
• am ÷ an โดยที่ a 0 มีคาเทากับเทาไร
3. (a × b)m = am × bm 4. (am × bn)k = am × k × bn × k (แนวตอบ เทากับ am-n)
m m m
5. a n = am-n 6. am = (ab) • เมื่อ m = n แลว am ÷ an มีคาเทากับเทาไร
a b
a m k
a m×k
7. ( n ) = n × k (แนวตอบ เทากับ 1)
b b • เมื่อ m < n แลว am ÷ an มีคาเทากับเทาไร
(แนวตอบ เทากับ am-n)
การเขียนจํานวนในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร m
• am มีคาเทากับเทาไร
จ�านวนที่เขียนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ คือ จ�านวนที่เขียนในรูป A × 10n b m
เมื่อ 1 ≤ A < 10 และ n เป็นจ�านวนเต็ม (แนวตอบ เทากับ (ab) )
m k
การนําความรูเกี่ยวกับเลขยกกําลังไปใชในชีวิตจริง • ( a n ) มีคาเทากับเทาไร
b m×k
เลขยกก�าลังถูกน�าไปใช้ในหลาย ๆ สิ่งที่อยู่ในชีวิตจริง เช่น การค�านวณหาดอกเบี้ยเงินฝาก (แนวตอบ เทากับ a n×k )
b
ต่อป และการค�านวณจ�านวนอะตอมของธาตุ เป็นต้น • จํานวนในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร คือ
(แนวตอบ จํานวนที่เขียนอยูในรูป A × 10n
เมื่อ 1 ≤ A < 10 และ n เปนจํานวนเต็ม)
137

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. 1n = a-n เมื่อ a เปนจํานวนใดๆ และ n เปนจํานวนเต็มบวกใดๆ
a 2
ข. ถา 4m = A และ 4n = B แลว 24m-2n = AB
ขอใดถูกตอง
1. ก. และ ข. ถูก 2. ก. ถูก แต ข. ผิด 3. ก. ผิด แต ข. ถูก 4. ก. และ ข. ผิด
(เฉลยคําตอบ ขอ 3. เพราะ พิจารณา 24m-2n = 22(2m-n)
1 = a-n เมื่อ a เปนจํานวนใดๆ ที่ไมเทากับศูนย
an = 42m-n
นั่นคือ ก. ผิด เพราะตองระบุดวยวา a ตองไมเทากับศูนย 2m m2 2
= 4 n = (4 n) = AB
เนื่องจาก ถา a เปน 0 4 4 2
ดั ง นั น
้ ถ า 4 m = A และ 4n = B แล ว 24m-2n = A ถูกตอง
จะไดวา an = 0 นั่นคือ 10 ไมมีความหมายทางคณิตศาสตร นั น
่ คื อ ข. ถู ก ต อ ง
B
2
และถา 4m = A และ 4n = B แลว 24m-2n = AB เพราะฉะนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T147
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
3. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะประจําหนวย
แบบฝึ ก ทั ก ษะ
การเรียนรูที่ 3 เปนการบาน
4. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําถามในหนังสือ
เรียน หนา 106 ที่ไดถามไวในชั่วโมงแรก
ประจ�าหน่วยการเรียนรู้ที่ 3
(แนวตอบ เนื่องจากขอมูลในคอมพิวเตอรจะ 1. จงเขียนค�ำอ่ำนของเลขยกก�ำลังต่อไปนี ้ พร้อมทัง้ บอกว่ำมีจำ� นวนใดเป็นฐำน และมีจำ� นวนใด
ถูกเก็บในระบบเลขฐานสอง และแตละขนาด เป็นเลขชี้ก�ำลัง
ความจุของขอมูลในคอมพิวเตอร เปนจํานวน 1) 109 2) (-50)4
4
ที่อยูในรูปเลขยกกําลังที่มีฐานเปน 2) 3) (10
19) 4) 208
2. จงเขียนจ�ำนวนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่ำงง่ำย เมื่อ m, n และ p แทนจ�ำนวนใด ๆ ที่ี p ≠ 0
1) 32 × m2 2) (43)2
3) 109 × 104 4) 9m ÷ 3m
5) (mn)3 ÷ p3 6) (42 × 54)3
2 2
7) (23) × (49) 8) (-3)7 × (-9)7
3. จงเขียนจ�ำนวนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยำศำสตร์
1) 854,000 2) 4,984,000
3) 4,200,000,000 4) 589,000,000,000
5) 0.0000004832 6) 0.0041
7) 0.000000000978 8) 0.0000000001234
4. ธำตุแคลเซียม 20 กรัม มีจ�ำนวนอะตอมอยู่ประมำณ 6.02 × 1023 อะตอม1 จงหำว่ำ
ธำตุแคลเซียม 100 กรัม จะมีจ�ำนวนอะตอมประมำณกี่อะตอม
5. จงเขียนจ�ำนวนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปจ�ำนวนเต็มหรือทศนิยม
1) 0.00000421 × 102 2) 1.729 × 106
3) 0.060428 × 104 4) 9.1638 × 104
5) 0.423400042 × 105 6) 1.468 × 107
3
7) 0.4298341 × 10 8) 11.3 × 1020

1
พงศธร นันทธเนศ และคณะ. หนังสือเรียนร�ยวิช�เพิ่มเติม เคมี ชั้นมัธยมศึกษ�ปีที่ 4 - 6 เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที่ 2
(นนทบุรี : ไทยร่มเกล้ำ), 10.

138

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


คาของ [ 5 × -43 × -22 ] ตรงกับขอใด
กอนใหนกั เรียนทําแบบฝกทักษะประจําหนวยการเรียนรูท ี่ 3 ครูควรทบทวน -3 -2 6 -1

แนวคิดและวิธีการที่จะใชสําหรับแกโจทยปญหา โดยชี้แนะเกี่ยวกับขอควรระวัง 8×5 ×3


ในการแกโจทยที่มีทั้งจํานวนเต็มลบ และมีเลขชี้กําลังที่เปนจํานวนเต็มลบ 1. 120 2. 40
โดยจะตองนําความรูเรื่องระบบจํานวนเต็มมาใชคิดคํานวณ 3. 0.625 4. 0.025
(เฉลยคําตอบ [ 5 × 3-4 × 2-2 ]
-3 -2 6 -1
8×5 ×3
= [5-3-(-4) × 3-2-(-2) × 26-3]-1
= [5 × 30 × 23]-1
= 5-1 × 2-3
= 1 3
5×2
= 401 = 0.025
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)

T148
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
1. ครูตรวจใบงานที่ 3.5
2. ครูตรวจแบบฝกทักษะ 3.4
6. จ งเขียนจ�ำนวนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่ำงง่ำย เมื่อ a, b แทนจ�ำนวนใด ๆ ที่ไม่เท่ำกับศูนย์ 3. ครูตรวจแบบฝกทักษะประจําหนวยการเรียนรู
1) (ab4) × (a5b6) 2) (10a4b3) ÷ (8ab) ที่ 3
3) (-11a4b9)2
3 2 10
4) ( 5a 4b ) ÷ (25a8 )
2 4. ครูตรวจผังมโนทัศน
b ab 5. ครูประเมินการนําเสนอผลงาน
5) 18ab7 ÷ 2ab3 6) (-3a10b10) × 4a9b7 6. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
4 3 10 7 20 3 10
7) (8a5 ) ÷ (16a12 ) 8) (b5) ÷ (-4b 7a ) 7. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
b b a
8. ครูสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค
7. จงเขียนจ�ำนวนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยำศำสตร์
1) (4.8 × 1010) × (5.8 × 102) 2) (525 × 108) ÷ (5 × 109)
3) (3.57 × 103) + (2.43 × 104) 4) (11.48 × 105) - (2.54 × 104)
4
5) (4.2 × 103)4 6) 4.8 × 10 × 2 × 5
3 × 103
8. ก�ำหนด X = 4.8 × 1021, Y = 450,000,000,000 จงเขียนจ�ำนวนต่อไปนี้ในรูปสัญกรณ์
วิทยำศำสตร์
1) XY 2) XY
9. ร ัศมีของวงโคจรของโลกรอบดวงอำทิตย์ยำวประมำณ 1.496 × 108 กิโลมตร1 จงหำว่ำ
แสงจำกดวงอำทิตย์ต้องใช้เวลำกี่วินำทีจึงจะเคลื่อนที่มำถึงโลก เมื่อแสงมีอัตรำเร็วประมำณ
3 × 108 เมตรต่อวินำที2
10. พำรำมีเซียม (Paramecium) เป็นสิง่ มีชวี ติ ทีม่ ขี นำดเล็กโดยจัดอยูใ่ นจ�ำพวกสัตว์ทไี่ ม่มกี ระดูก
สันหลังและเป็นสัตว์เซลล์เดียวจ�ำพวกโปรโตซัว (Protozoa) โดยพำรำมีเซียม 1 ตัว จะมี
ขนำดประมำณ 50 - 30 ไมโครเมตร3 จงหำว่ำพำรำมีเซียม 1 ตัว จะมีขนำดประมำณกี่เมตร
(1 ไมโครเมตร = 10-6 เมตร)
11. จงหำว่ำตัวแปร n ในแต่ละข้อต่อไปนี้มีค่ำเท่ำไร
n3
1) (74n) = 49n 2) 310 - n = (93)n
7
1
ด�วเคร�ะห์. สืบค้นเมื่อ 18 ตุลำคม 2560, จำก http://www.narit.or.th/index.php/astro/solsys/planets
2
อัตร�เร็วแสงในตัวกล�งใด ๆ. สืบค้นเมือ่ 18 ตุลำคม 2560, จำก http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/62/light1/
ligh_5.htm
3
พ�ร�มีเซียม. สืบค้นเมื่อ 18 ตุลำคม 2560, จำก https://home.kku.ac.th/pracha/Paramecium.htm
139

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET แนวทางการวัดและประเมินผล


ดาวเสารมีเสนผานศูนยกลาง 1.20536 × 108 เมตร ดาวพุธ ครูศกึ ษาเกณฑการวัดและการประเมินผล เพือ่ ประเมินผลงาน/ชิน้ งานของ
มีเสนผานศูนยกลาง 4.88 × 106 เมตร เสนผานศูนยกลาง นักเรียนรายบุคคลและกลุม จากแบบประเมินของแผนการจัดการเรียนรูใ นหนวย
ดาวเสารยาวเปนกี่เทาของเสนผานศูนยกลางของดาวพุธ การเรียนรูที่ 3
(เฉลยคําตอบ นํ า เส น ผ า นศู น ย ก ลางดาวเสาร แ ละเส น ผ า น แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม

ศูนยกลางของดาวพุธ เปรียบเทียบโดยใชการหาร แบบประเมินการนาเสนอผลงาน

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับ


ระดับคะแนน
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับ
ระดับคะแนน

8
= 1.20536 × 10
การมี
การทางาน
ระดับคะแนน การแสดง การยอมรับฟัง ส่วนร่วมใน รวม
ลาดับ ลาดับ ชื่อ – สกุล ตามที่ได้รับ ความมีน้าใจ
รายการประเมิน ความคิดเห็น คนอื่น การปรับปรุง 20
ที่ 4 3 2 1 ที่ ของนักเรียน มอบหมาย
ผลงานกลุ่ม คะแนน

4.88 × 106
1 เนื้อหาละเอียดชัดเจน     4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1
2 ความถูกต้องของเนื้อหา    
3 ภาษาที่ใช้เข้าใจง่าย    

= 0.247 × 102
4 ประโยชน์ที่ได้จากการนาเสนอ    
5 วิธีการนาเสนอผลงาน    

รวม

= 24.7 เทา) ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน


............/................./................

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
เกณฑ์การให้คะแนน
............/................./................
ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชัดเจน ให้ 4 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องบางส่วน ให้ 3 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็นส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 4 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องมาก ให้ 1 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครัง้ ให้ 2 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
18 - 20 ดีมาก เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
14 - 17 ดี ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10 - 13 พอใช้ 18 - 20 ดีมาก
ต่ากว่า 10 ปรับปรุง 14 - 17 ดี
10 - 13 พอใช้
ต่ากว่า 10 ปรับปรุง

T149
Chapter Overview

แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์

แผนฯ ที่ 1 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายภาพหน้าตัด Concept - ตรวจแบบฝึกทักษะ 4.1 - ทักษะการ 1. มีวินัย


หน้าตัดของ พื้นฐาน คณิตศาสตร์ ของรูปเรขาคณิต Based - ตรวจ Exercise 4.1 สรุปอ้างอิง 2. ใฝ่เรียนรู้
รูปเรขาคณิต ม.1 เล่ม 1 สามมิติที่กำ� หนดให้ได้ Teaching - ประเมินการน�ำเสนอ 3. มุ่งมั่น
สามมิติ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 (K) ผลงาน ในการท�ำงาน
มิติสัมพันธ์ของ 2. เขียนภาพหน้าตัด - สังเกตพฤติกรรม
2 รูปเรขาคณิต ทเี่ กิดจากการใช้ระนาบ การท�ำงานรายบุคคล
ชั่วโมง - แบบฝึกหัด ตัดรูปเรขาคณิต - สังเกตพฤติกรรม
คณิตศาสตร์ ม.1 สามมิติได้ (P) การท�ำงานกลุ่ม
เล่ม 1 หน่วยการ 3. น�ำความรู้เรื่อง - สังเกตคุณลักษณะ
เรียนรู้ที่ 4 มิติสัมพันธ์ หน้าตัดของรูป อันพึงประสงค์
ของรูปเรขาคณิต เรขาคณิตสามมิติ
- มะนาวและแก้วมังกร ไปประยุกต์ใช้ในชีวิต
- ดินน�้ำมัน ประจ�ำวันได้ (A)
- โอเอซิส 4. รับผิดชอบต่อหน้าที่
ที่ได้รับมอบหมาย (A)

แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายภาพสองมิติ Concept - ตรวจแบบฝึกทักษะ 4.2 - ทักษะ 1. มีวินัย


ภาพสองมิติ พื้นฐาน คณิตศาสตร์ ที่เกิดจากการมอง Based - ตรวจ Exercise 4.2 การระบุ 2. ใฝ่เรียนรู้
ที่ได้จากการมอง ม.1 เล่ม 1 ด้านหน้า ด้านข้าง Teaching - ประเมินการน�ำเสนอ 3. มุ่งมั่น
รูปเรขาคณิต หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 และด้านบนของ ผลงาน ในการท�ำงาน
สามมิติ
มิติสัมพันธ์ของ รูปเรขาคณิตสามมิติ - สังเกตพฤติกรรม
รูปเรขาคณิต ได้ (K) การท�ำงานรายบุคคล
2 - แบบฝึกหัด 2. เขียนภาพสองมิติ - สังเกตพฤติกรรม
ชั่วโมง คณิตศาสตร์ ม.1 ที่เกิดจากการมอง การท�ำงานกลุ่ม
เล่ม 1 หน่วยการ ด้านหน้า ด้านข้าง - สังเกตคุณลักษณะ
เรียนรู้ที่ 4 มิติสัมพันธ์ และด้านบนของ อันพึงประสงค์
ของรูปเรขาคณิต รูปเรขาคณิตสามมิติ
- นอต ได้ (P)
3. เชื่อมโยงภาพสองมิติ
กับรูปเรขาคณิต
สามมิติได้ (P)
4. รับผิดชอบต่อหน้าที่
ที่ได้รับมอบหมาย (A)

T150
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์

แผนฯ ที่ 3 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายภาพสองมิติ Concept - ตรวจแบบฝึกทักษะ 4.3 - ทักษะการ 1. มีวินัย


รูปเรขาคณิต พื้นฐาน คณิตศาสตร์ ของรูปเรขาคณิต Based - ตรวจ Exercise 4.3 สรุปอ้างอิง 2. ใฝ่เรียนรู้
สามมิติที่ ม.1 เล่ม 1 สามมิติที่ประกอบขึ้น Teaching - ตรวจแบบฝึกทักษะประจำ� 3. มุ่งมั่น
ประกอบขึ้น
จากลูกบาศก์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 จากลูกบาศก์ได้ (K) หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ในการท�ำงาน
มิติสัมพันธ์ของ 2. เขียนภาพสองมิติ - ประเมินการนำ�เสนอ
2 รูปเรขาคณิต ของรูปเรขาคณิต
- แบบฝึกหัด สามมิติที่ประกอบขึ้น
ผลงาน
- ตรวจผังมโนทัศน์
ชั่วโมง
คณิตศาสตร์ ม.1 จากลูกบาศก์ได้ (P) หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
เล่ม 1 3. เชื่อมโยงภาพสองมิติ มิติสัมพันธ์ของ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 กับรูปเรขาคณิต รูปเรขาคณิต
มิติสัมพันธ์ของ สามมิติได้ (P) - สังเกตพฤติกรรม
รูปเรขาคณิต 4. รับผิดชอบต่อหน้าที่ การทำ�งานรายบุคคล
- รูบิก ที่ได้รับมอบหมาย (A) - สังเกตพฤติกรรม
- แก้วกระดาษ การทำ�งานกลุ่ม
- ลูกบาศก์ - สังเกตคุณลักษณะ
- QR Code เรื่อง อันพึงประสงค์
รูปเรขาคณิตสามมิติ
ที่ประกอบขึ้นจาก
ลูกบาศก์

T151
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
หน่วยการเรียนรูที่
1. ครู ก ล า วทั ก ทายกั บ นั ก เรี ย น แล ว แจ ง
จุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
2. ครู ก ระตุ  น ความสนใจของนั ก เรี ย น โดยให
นั ก เรี ย นดู ภ าพหน า หน ว ย จากนั้ น ครู ถ าม
4 มิติสัมพันธของ
รูปเรขาคณิต
คําถามในหนังสือเรียน หนา 140 แลวให
นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ : ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น เฉลย
คําถามในหนังสือเรียน หนา 140 หลังเรียน
หนวยการเรียนรูที่ 4

การห่อซูชิแล้วตัดเป็นชิ้น ๆ เพื่อให้ได้หน้าตัดมีรูปทรง
สวยงาม ดึงดูดใจผู้บริโภค ผู้ห่อซูชิจะต้องมีความคิดสร้างสรรค์
และความสามารถในการห่อ เช่น ถ้านักเรียนอยากได้หน้าซูชิเป็น
รูปดอกไม้ นักเรียนต้องวางข้าวสีชมพูทหี่ อ่ เป็นทรงกระบอกแล้วมา
ประกอบกันให้เป็นรูปดอกไม้บนกึ่งกลางของข้าวสีขาวที่อยู่บน
สาหร่ายและห่อให้กลมสวยงาม จากนั้นก็ตัดข้าวห่อสาหร่าย ซึ่ง
ท�าให้ได้หน้าซูชิเป็นรูปดอกไม้ตามที่ต้องการ
เฉลย คําถามในหนังสือเรียน หน้า 140 ตัวชี้วัด Q. การห่
นักเรียนคิดว่า
อซูชิต้องใช้
การหอซูชิมีความสัมพันธของรูปเรขาคณิต • เข้าใจและใช้ความรู้ทางเรขาคณิตในการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์
สองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติ เนื่องจากกอน
ระหว่างรูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติ
(ค 2.2 ม.1/2)
ควÒมÊัม¾ัน¸ระหว่Òง
ที่ จ ะห อ ซู ชิ เ ราต อ งรองซู ชิ ด  ว ยสาหร า ยที่ เ ป น รู ป สาระการเรียนรูแกนกลาง
รÙปเร¢Òค³ิตÊองมิติ
สี่ เ หลี่ ย มผื น ผ า ก อ นที่ จ ะทํ า การห อ ซู ชิ ใ ห เ ป น รู ป
• หน้าตัดของรูปเรขาคณิตสามมิติ และรÙปเร¢Òค³ิต
• ภาพที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง ด้านบนของรูปเรขาคณิต
ที่เราตองการเมื่อเราตัดซูชิ อีกทั้งเมื่อเราหอซูชิ สามมิติที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์ ÊÒมมิติหรือไม่
อย่างไร
แลวจะกลายเปนรูปทรงกระบอก ดังนั้น การหอ
ซู ชิ จึ ง มี ค วามสั ม พั น ธ ข องรู ป เรขาคณิ ต สองมิ ติ
และรูปเรขาคณิตสามมิติ

เกร็ดแนะครู
การเรียนการสอนของหนวยการเรียนนี้ ครูควรยกตัวอยางสิ่งของที่อยู
ใกลตัวและเกิดขึ้นในชีวิตประจําวันที่นักเรียนพบเห็นไดงายและเกี่ยวของกับ
ตัวนักเรียน เชน การหั่นผักและผลไมเพื่อใชในการประกอบการทําอาหาร
หรือครูอาจถามวา ในชีวิตประจําวันของเรามีอะไรบางที่เปนรูปเรขาคณิต
สองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติ

T152
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
ควรรูก้ ่อนเรียน 3. ครูใหนกั เรียนศึกษา “ควรรูก อ นเรียน” ในหนังสือ
1 เรียน หนา 141 เรื่อง ชนิดของรูปเรขาคณิต
รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติที่นักเรียนควรรู้จัก มีดังนี้ สองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติ จากนั้นครู
1. รูปเรขาคณิตสองมิติ ถามคําถามวา
รูปเรขาคณิตสองมิติแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ ตามลักษณะของด้านหรือขอบของรูป • รูปเรขาคณิตสองมิติมีลักษณะอยางไร
นั้น ๆ ได้แก่ ( แนวตอบ รู ป เรขาคณิ ต สองมิ ติ เป น รู ป
1) รูปหลายเหลี่ยม เรขาคณิ ต ที่ มี ค วามกว า งและความยาว
รูปหลายเหลีย่ มเป็นรูปปดทีเ่ กิดจากส่วนของเส้นตรงตัง้ แต่ 3 เส้นขึน้ ไป โดยมีจดุ ยอด สามารถมองไดเพียง 2 ดานเทานั้น)
เป็นจุดที่แตกต่างกันบนระนาบ เช่น • รูปเรขาคณิตสามมิติมีลักษณะอยางไร
( แนวตอบ รู ป เรขาคณิ ต สามมิ ติ เป น รู ป
เรขาคณิตที่มีความกวาง ความยาว และ
ความสูง (หรือความหนา) ซึ่งสามารถมอง
รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูปห้าเหลี่ยม รูปหกเหลี่ยม รูปเจ็ดเหลี่ยม
ได 3 ดาน)
2) รูปเรขาคณิตสองมิติที่มีขอบหรือด้านบางด้านเป็นเส้นโค้ง เช่น 4. ครูใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางรูปเรขาคณิต
สองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติ พรอมทั้ง
ชวยกันบอกลักษณะของรูปดังกลาว จากนั้น
ครูวาดรูปแสดงบนกระดาน
วงกลม วงรี รูปสามเหลี่ยมฐานโค้ง (แนวตอบ รู ป เรขาคณิ ต สองมิ ติ เช น รู ป
2. รูปเรขาคณิตสามมิติ สามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม วงกลม วงรี เปนตน
รูปเรขาคณิตสามมิติ เป็นรูปทรงที่สามารถวัดความกว้าง ความยาว และความหนาได้ รู ป เรขาคณิ ต สามมิ ติ เช น ทรงสี่ เ หลี่ ย ม
เช่น มุมฉาก ทรงกระบอก ทรงกลม เปนตน)

ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก กรวย ทรงกระบอก

ทรงกลม พีระมิดฐานห้าเหลี่ยม ปริซึมห้าเหลี่ยม

141

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู


รูปเรขาคณิตในขอใดเปนรูปเรขาคณิตสามมิติทั้งหมด 1 รูปเรขาคณิต (Geometric Figure) เปนรูปที่ประกอบดวย จุด เสนตรง
1. กรวยกรอกนํ้า ขันนํ้า รูปวงกลม เสนโคง ระนาบ ฯลฯ อยางนอยหนึ่งอยาง
2. ขวดยา ตะปู รูปสี่เหลี่ยมผืนผา • รูปเรขาคณิตหนึ่งมิติ (One Dimensional Geometric Figure) เชน
3. แตงโม เหรียญบาท หนังสือเรียนคณิตศาสตร ชั้น ม.1 จุด เสนตรง สวนของเสนตรง รังสี เปนตน
4. รูปใบไม ดินสอ ธนบัตร • รูปเรขาคณิตสองมิติ (Two Dimensional Geometric Figure) เชน
(เฉลยคําตอบ แตงโมเปนทรงกลม วงกลม รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม เปนตน
เหรียญบาทเปนทรงกระบอก • รูปเรขาคณิตสามมิติ (Three Dimensional Geometric Figure) เชน
หนังสือเรียนคณิตศาสตร ชั้น ม.1 เปนปริซึม ทรงกลม ลูกบาศก ปริซึม พีระมิด เปนตน
สี่เหลี่ยมผืนผา
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T153
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
1. ครูกลาวถึงหนาตัดของผลไมชนิดตางๆ ตาม 4.1 หนาตัดของรูปเรขาคณิตสามมิติ
ในหนังสือเรียน หนา 142 ที่แมคาและพอคา
ขายผลไมแบบรถเข็นหั่นผลไมเปนชิ้นเล็กๆ
และครูกลาววา หนาตัดของผลไมแตละชนิด
จะเป น รู ป เรขาคณิ ต สองมิ ติ ที่ มี ลั ก ษณะ
แตกตางกันไป โดยขึ้นอยูกับแนวในการตัด
และชนิดของผลไมนั้นๆ ซึ่งในที่นี้เราจะพูด
ถึงหนาตัดจากการตัด 2 แนว คือ แนวตั้งฉาก
กับพื้นราบ และแนวขนานกับพื้นราบเทานั้น
2. ครูนําผลมะนาว มาตัดใหนักเรียนดูทั้ง 2 แนว
คือ แนวตั้งฉากกับพื้นราบ และแนวขนานกับ
พื้นราบ แลวถามคําถามกับนักเรียนวา
• ถาตัดผลมะนาวในแนวตั้งฉากกับพื้นราบ
และแนวขนานกั บ พื้ น ราบ จะได ห น า ตั ด แม่ค้าและพ่อค้าที่ขายผลไม้แบบรถเข็นจะต้องมีการหั่นผลไม้เป็นชิ้น ๆ หน้าตัดของผลไม้
คลายรูปเรขาคณิตสองมิติใด ในแต่ละชิ้นจะเป็นรูปเรขาคณิตสองมิติที่มีลักษณะแตกต่างกันไป โดยขึ้นอยู่กับแนวในการตัดและ
( แนวตอบ ไม ว  า จะตั ด ในแนวตั้ ง ฉากกั บ ชนิดของผลไม้นั้น ๆ แต่ในที่นี้จะกล่าวถึงหน้าตัดจากการตัด 2 แนว คือ แนวตั้งฉากกับพื้นราบ
พื้ น ราบ หรื อ แนวขนานกั บ พื้ น ราบจะได
และแนวขนานกับพื้นราบ เช่น
หนาตัดคลายวงกลม)

มะนาว ตัดตามแนวตั้งฉากกับพื้นราบ หน้าตัดของผลมะนาวเมื่อตัดตามแนวตั้งฉากกับพื้นราบ


มีลักษณะคล้ายวงกลม

มะนาว ตัดตามแนวขนานกับพื้นราบ หน้าตัดของผลมะนาวเมื่อตัดตามแนวขนานกับพื้นราบ


มีลักษณะคล้ายวงกลม
142

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ขอใดกลาวไมถูกตอง
1. ใชระนาบตัดทรงกลมในแนวขนานกับฐานของทรงกลมหนาตัดที่ไดจะเปนวงกลม
2. ใชระนาบตัดมุมของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากจะไดหนาตัดเปนรูปสามเหลี่ยม
3. ใชระนาบตัดกรวยในแนวตั้งฉากกับฐานโดยตัดผานจุดยอดกรวยจะไดหนาตัดเปนรูปสามเหลี่ยม
4. ใชระนาบตัดพีระมิดฐานใดๆ ในแนวเอียงทํามุม 45 ํ กับฐานจะไดหนาตัดเปนรูปสี่เหลี่ยม
(เฉลยคําตอบ
1. ถูก เพราะใชระนาบตัดทรงกลม หนาตัดที่ไดจะเปนรูปวงกลม
2. ถูก เพราะใชระนาบตัดมุมของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก จะไดหนาตัดเปนรูปสามเหลี่ยม
3. ถูก เพราะใชระนาบตัดกรวยในแนวตั้งฉากกับฐานโดยใหตัดผานจุดยอดกรวย จะไดหนาตัดเปน
รูปสามเหลี่ยม
4. ผิด เพราะใชระนาบตัดพีระมิดในแนวเอียง 45 ํ หนาตัดที่ไดเปนรูปเหลี่ยมตามฐานของพีระมิด
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)

T154
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
3. ครู นํ า ผลแก ว มั ง กร มาตั ด ให นั ก เรี ย นดู ทั้ ง
2 แนว คือ แนวตั้งฉากกับพื้นราบและแนว
ขนานกับพื้นราบ แลวถามคําถามกับนักเรียน
วา
1
แก้วมังกร ตัดตามแนวตั้งฉากกับพื้นราบ หน้าตัดของผลแก้วมังกรเมื่อตัดตามแนวตั้งฉากกับ • ถาตัดผลแกวมังกรในแนวตัง้ ฉากกับพืน้ ราบ
พื้นราบมีลักษณะคล้ายวงกลม และแนวขนานกั บ พื้ น ราบ จะได ห น า ตั ด
คลายรูปเรขาคณิตสองมิติชนิดใด
(แนวตอบ ถาตัดในแนวตั้งฉากกับพื้นราบ
จะไดหนาตัดที่มีลักษณะคลายวงกลม แต
ถาตัดในแนวขนานกับพื้นราบจะไดหนาตัด
ที่มีลักษณะคลายวงรี)
แก้วมังกร ตัดตามแนวขนานกับพื้นราบ หน้าตัดของผลแก้วมังกรเมื่อตัดตามแนวขนานกับ จากนั้นใหนักเรียนอานสรุปการตัดผลมะนาว
พื้นราบมีลักษณะคล้ายวงรี
และผลแกวมังกร ในแนวตั้งฉากกับพื้นราบ
จากรูปข้างต้นจะเห็นว่า ไม่ว่าจะตัดผลมะนาวในแนวการตัดใดก็ตาม ภาพหน้าตัดที่ได้ และแนวขนานกับพืน้ ราบในหนังสือเรียน หนา
จะมีลกั ษณะคล้ายวงกลมเสมอ แต่ถา้ ตัดผลแก้วมังกร ภาพหน้าตัดทีไ่ ด้จะเป็นรูปเรขาคณิตสองมิติ 142-143
ที่มีลักษณะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับแนวการตัด 4. ครูใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางผลไมหรือ
สิ่ ง ของมา 10 อย า ง จากนั้ น ให นั ก เรี ย น
ค³ิตน่ÒรÙ้ ชวยกันลองใชจินตนาการวา “เมื่อตัดผลไม
หรือสิ่งของชนิดนั้น จะไดหนาตัดคลายรูป
เรขาคณิตสองมิติชนิดใด”
5. ครูสรุปใหนักเรียนฟงวา การตัดรูปเรขาคณิต
สามมิ ติ ต ามแนวต า งๆ อาจได ห น า ตั ด
ทรงสี่หน้า ลูกบาศก์ ทรงแปดหน้า ทรงสิบสองหน้า ทรงยี่สิบหน้า
(tetrahedron) (cube) (octahedron) (dodecahedron) (icosahedron) เหมือนกัน หรือหนาตัดตางกันก็ได

การตัดรูปเรขาคณิตสามมิตติ ามแนวการตัดต่าง ๆ จะได้ภาพหน้าตัดเป็นรูปเรขาคณิตสองมิติ


ซึ่งแบ่งหน้าตัดได้ 2 ลักษณะ คือ
1) ภาพหน้าตัดที่ได้จะเป็นรูปเรขาคณิตสองมิติชนิดเดียวกัน
2) ภาพหน้าตัดที่ได้จะเป็นรูปเรขาคณิตสองมิติต่างชนิดกัน
โดยมีรายละเอียด ดังนี้

143

กิจกรรม สรางเสริม เกร็ดแนะครู


ใหนักเรียนปฏิบัติตามกิจกรรมตอไปนี้ จากกิ จ กรรมสร า งเสริ ม และกิ จ กรรมท า ทาย เมื่ อ นั ก เรี ย นทํ า กิ จ กรรม
• นําผลไมมา 1 ชนิด และมีด 1 ดาม เสร็จแลว ครูควรคัดเลือกนักเรียนที่มีผลงานนาสนใจออกมานําเสนอ แลวให
• ใชมีดตัดผลไมตามแนวขวางและแนวตั้ง นักเรียนชวยกันสรุปรูปเรขาคณิตสามมิตทิ เี่ กิดจากการตัดทรงสามมิตดิ ว ยระนาบ
• บอกชื่อรูปเรขาคณิตของหนาตัด ตามแนวตั้งฉากกับพื้นราบ และขนานกับพื้นฐาน

กิจกรรม ทาทาย นักเรียนควรรู


ใหนักเรียนปฏิบัติตามกิจกรรมตอไปนี้ 1 แกวมังกร (Dragon fruit) เปนผลไมที่มีสารอาหารหลายชนิด เชน
• ปริซึมหาเหลี่ยม พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมและกรวย เลือกสราง โพแทสเซียม ฟอสฟอรัส แคลเซียม แมกนีเซียม วิตามินซี และเสนใย มีสรรพคุณ
รูปเรขาคณิตสามมิติที่กําหนด 1 รูป ชวยปองกันการอุดตันของหลอดเลือดหัวใจ ลดความดันโลหิต ปองกันมะเร็ง
• เขียนภาพแสดงการตัดรูปเรขาคณิตสามมิติที่เลือก โดยใช ลําไสใหญ และอื่นๆ
ระนาบตัดตามแนวนอน แนวตั้ง และแนวเอียง
• บอกชื่อรูปเรขาคณิตของหนาตัด

T155
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
1. ครูใหนกั เรียนจัดกลุม กลุม ละ 4 คน คละความ จงพิจารณาทรงกลมต่อไปนี้
สามารถทางคณิตศาสตร แลวทํากิจกรรม ดังนี้
- ใหนักเรียนแตละกลุมปนทรงกลม 2 อัน
จากดินนํ้ามัน แลวนํารูปเรขาคณิตสามมิติ
ทั้ ง สองมาตั ด ตามแนวตั้ ง ฉากกั บ พื้ น ราบ
และแนวขนานกับพื้นราบ
- แตละกลุมรวมกันวิเคราะหวา หนาตัดที่ได
เปนรูปเรขาคณิตสองมิติชนิดใด จากนั้น
วาดรูปเรขาคณิตสามมิติ และหนาตัดที่ได 1) ถ้าใช้ระนาบตัดทรงกลมในแนวตั้งฉากกับพื้นราบ จะได้หน้าตัดเป็นวงกลม
ลงสมุดของตนเอง

ระนาบตัดทรงกลมในแนวตั้งฉากกับพื้นราบ หน้าตัดเป็นวงกลม

2) ถ้าใช้ระนาบตัดทรงกลมในแนวขนานกับพื้นราบ จะได้หน้าตัดเป็นวงกลม

ระนาบตัดทรงกลมในแนวขนานกับพื้นราบ หน้าตัดเป็นวงกลม

144

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ขอใดกลาวถูกตองสมบูรณ
1. รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีหนาตัดเปนวงกลม เรียกวา ทรงกระบอก
2. รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเปนวงกลม มีจุดยอดที่ไมอยูบนระนาบเดียวกับฐาน เรียกวา กรวย
3. สูงเอียง จะมีเฉพาะพีระมิด
4. ลูกบาศกเปนปริซึมที่มีทุกหนาตัดเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
(เฉลยคําตอบ
1. ไมถูก เพราะทรงกระบอกเปนรูปเรขาคณิตสามมิติที่มีหนาตัดหรือฐานทั้งสองเปนรูปวงกลมที่มีขนาดเทากันและอยูใน
ระนาบที่ขนานกัน
2. ไมถกู เพราะกรวยเปนรูปเรขาคณิตสามมิตทิ มี่ ฐี านเปนวงกลม มีจดุ ยอดทีไ่ มอยูร ะนาบเดียวกับฐาน และเสนทีต่ อ ระหวาง
จุดยอดและจุดใดๆ บนขอบของฐานเปนสวนของเสนตรง
3. ไมถูก เพราะเสนที่ลากจากยอดแหลมของรูปเรขาคณิตสามมิติไปตั้งฉากกับขอบของฐาน เรียกวา สูงเอียง ซึ่งพีระมิด
และกรวยจะมีสูงเอียง
4. ถูก เพราะปริซึมทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก มีดานทุกดานยาวเทากัน เรียกวา ลูกบาศก

T156 ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)


นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
จงพิจารณาทรงกระบอกต่อไปนี้ 2. ครูใหนกั เรียนจัดกลุม กลุม ละ 4 คน คละความ
สามารถทางคณิตศาสตร แลวทํากิจกรรม ดังนี้
- ใหนักเรียนแตละกลุมปนทรงกระบอกจาก
ดิ น นํ้ า มั น 1 ชิ้ น แล ว นํ า รู ป เรขาคณิ ต
สามมิ ติ ทั้ ง สองมาตั ด ตามแนวตั้ ง ฉากกั บ
พื้นราบและแนวขนานกับพื้นราบ
- แตละกลุมรวมกันวิเคราะหวา หนาตัดที่ได
เปนรูปเรขาคณิตสองมิติชนิดใด จากนั้น
1) ถ้าใช้ระนาบตัดทรงกระบอกในแนวตัง้ ฉากกับพืน้ ราบ จะได้หน้าตัดเป็นรูปสีเ่ หลีย่ ม วาดรูปเรขาคณิตสามมิติ และหนาตัดของ
มุมฉาก รูปเรขาคณิตสามมิติแตละชนิดลงสมุดของ
ตนเอง
- เมื่ อ เสร็ จ แล ว ให นํ า ส ง ครู โดยครู ค อย
ตรวจสอบความถูกตอง
จากนั้นใหนักเรียนอานสรุปการตัดทรงกลม
และทรงกระบอก ในแนวตั้งฉากกับพื้นราบ
และแนวขนานกั บ พื้ น ราบในหนั ง สื อ เรี ย น
หนา 144-145
ระนาบตัดทรงกระบอกในแนวตั้งฉากกับพื้นราบ หน้าตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
3. ครูใหนักเรียนทํา Exercise 4.1 ขอ 1. ใน
แบบฝกหัดคณิตศาสตร จากนัน้ ครูและนักเรียน
รวมกันเฉลยคําตอบ
2) ถ้าใช้ระนาบตัดทรงกระบอกในแนวขนานกับพื้นราบ จะได้หน้าตัดเป็นวงกลม 4. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 4.1 ขอ 1. ใน
หนังสือเรียน หนา 148 เปนการบาน

ระนาบตัดทรงกระบอกในแนวขนานกับพื้นราบ หน้าตัดเป็นวงกลม

145

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET บูรณาการอาเซียน


ถาใชระนาบตัดทรงกระบอกตามแนวเอียง จะไดหนาตัดเปน
รูปเรขาคณิตสองมิติตรงกับขอใด
1. วงกลม
2. วงรี
3. รูปสามเหลี่ยม
4. รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ตราสัญลักษณอาเซียนประกอบดวยรวงขาว วงกลมสีแดง ขอบสีขาว
และนํ้าเงิน และตัวอักษรคําวา “ASEAN” ในที่นี้จะกลาวถึงความหมายของ
(เฉลยคําตอบ
รูปวงกลมสีแดง ขอบสีขาว และสีนํ้าเงิน วาพื้นที่วงกลมสีแดง ขอบสีขาว และ
ใชระนาบตัดทรงกระบอก
สีนํ้าเงินนั้น แสดงถึงความเปนเอกภาพของกลุมประชาคมอาเซียน
ตามแนวเอียงหนาตัดที่ได
จะเปนรูปวงรี ดังรูป
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)

T157
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
5. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบแบบฝก จงพิจารณาท่อนไม้ที่มีหน้าตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสต่อไปนี้
ทักษะ 4.1 ขอ 1.
6. ครูกลาวทบทวนการตัดรูปเรขาคณิตสามมิติ
ตามแนวการตัดตางๆ วา จะไดรูปหนาตัด
เปนรูปเรขาคณิตสองมิติที่มี 2 ลักษณะ คือ
1) ภาพหน า ตั ด ที่ ไ ด จ ะเป น รู ป เรขาคณิ ต
สองมิติชนิดเดียวกัน 1 2
1) ถ้าเลื่อยท่อนไม้นี้แบ่งออกเป็น 2 ท่อน โดยเลื่อยในแนวตั้งฉากกับความยาวของ
2) ภาพหน า ตั ด ที่ ไ ด จ ะเป น รู ป เรขาคณิ ต ท่อนไม้
สองมิติตางชนิดกัน
7. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาการเลื่ อ ยท อ นไม ใ น
หนั ง สื อ เรี ย น หน า 146 แล ว ตอบคํ า ถาม
“Thinking Time”
8. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ “Thinking
Time” จะได้ท่อนไม้สองท่อนที่มีหน้าตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเหมือนกัน
9. ครูใหนักเรียนทํา Exercise 4.1 ขอ 2.-3. ใน
แบบฝกหัดคณิตศาสตร แลวครูและนักเรียน
รวมกันเฉลยคําตอบ

2) ถ้าตัดท่อนไม้นี้ต่อไปในลักษณะเดิม จะได้ท่อนไม้ที่มีหน้าตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
เหมือนกันจ�านวนหลายท่อน และแต่ละท่อนมีความยาวสั้นลง

Thinking Time
เฉลย Thinking Time ถ้าน�าท่อนไม้ทมี่ หี น้าตัดเป็นรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั มาตัด โดยใช้เลือ่ ยตัดตัง้ ฉากกับความยาวจะได้หน้าตัด
ของท่อนไม้เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส แต่ถ้าใช้เลื่อยตัดให้ตั้งฉากกับความกว้างหรือความสูง นักเรียนคิดว่า
หนาตัดของไมจะมีลักษณะไมเปนรูปสี่เหลี่ยม หน้าตัดของท่อนไม้จะมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือไม่ เพราะเหตุใด
จั ตุ รั ส เพราะว า ไม ท  อ นนี้ มี ค วามยาวไม เ ท า กั บ
กั บ ความกว า งและความสู ง เมื่ อ ใช เ ลื่ อ ยตั ด ให
146
ตั้งฉากกับความกวางหรือความสูง จะไดหนาตัด
ของไมทอนนี้มีลักษณะเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา

นักเรียนควรรู กิจกรรม 21st Century Skills


1 เลื่อย (Saw) เปนเครื่องมือสําหรับตัด มีใบเลื่อยทําดวยเหล็กกลา ดาน จากคํ า ถามของ Thinking Time ครู อ าจให นั ก เรี ย นได ทํ า
ที่ใชเลื่อยมีคมเปนฟนจักๆ เลื่อยเปนเครื่องมือพื้นฐานที่สําคัญอีกอยางหนึ่ง กิจกรรมที่สงเสริมทักษะในศตวรรษที่ 21 กลาวคือ การใหนักเรียน
สําหรับงานชาง ปจจุบันมีใหเลือกมากมายหลายชนิดสามารถแบงไดตามวัสดุ ลงมือปฏิบัติจริง ในการเลื่อยไมใหตั้งฉากกับดานกวางหรือดานสูง
ที่นํามาตัด เชน เลื่อยไม เลื่อยโลหะ เปนตน เพื่อตอบคําถามของ Thinking Time โดยการใหนักเรียนจัดกลุม
2 ทอน หมายถึง สวนที่ตัดหรือทอนออกเปนตอนๆ เชน ทอนหัว ทอนกลาง กลุมละ 5 คน สรางสถานการณการเลื่อยไมใหตัดตั้งฉากกับ
ทอนหาง หรือลักษณนามเรียกสิ่งที่ตัดแบงหรือทอนออกเปนทอนๆ เชน ฟน ดานกวางหรือดานสูง จากคอมพิวเตอร ดวยการใชโปรแกรม
ทอนหนึ่ง ฟน 2 ทอน เปนตน The Geometer’s Sketchpad (GSP) สรางเปนแอนิเมชันของ
ไมที่ถูกเลื่อยออกเปนสองทอนนั้นแยกออกจากกัน แลวไดเปน
รูปเรขาคณิตสองมิติรูปใด จากนั้นนําเสนอหนาชั้นเรียน

T158
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
กิจกรรม คณิตศาสตร์ 1. ครูใหนักเรียนแบงกลุม 4 กลุมเทาๆ กัน แลว
ทํากิจกรรม ดังนี้
ให้นกั เรียนแบ่งกลุม่ กลุม่ ละ 4 - 5 คน แล้วช่วยกันทÓกิจกรรมต่อไปนี้ - ใหนักเรียนแตละกลุมชวยกันทํากิจกรรม
คณิตศาสตร ในหนังสือเรียน หนา 147
อุปกรณ์ โดยเขียนลงในสมุดของตนเอง
- จากนั้นครูสุมตัวแทนนักเรียนกลุมละ 1 คน
(4 กลุม) มานําเสนอผลงานพรอมทั้งบอก
หนาตัดที่ได ดังนี้
ตั ว แทนคนที่ 1 นํ า เสนอผลงานที่ ตั ด ใน
แนวตัง้ ฉากกับพืน้ ราบพรอมทัง้ บอกหนาตัด
ที่ได
โอเอซิส มีดคัตเตอร์ ตั ว แทนคนที่ 2 นํ า เสนอผลงานที่ ตั ด ใน
แนวขนานกับพื้นราบพรอมทั้งบอกหนาตัด
ที่ได
1. ให้นักเรียนตัดโอเอซิสให้มีความยาวด้านละ 8 เซนติเมตร ตั ว แทนคนที่ 3 นํ า เสนอผลงานที่ ตั ด ใน
แนวเสนทแยงมุมพรอมทั้งบอกหนาตัดที่ได
2. จงลองจินตนาการรูปหรือหน้าตัดที่ได้จากการตัดโอเอซิสด้วยมีดคัตเตอร์ตามแนวการตัด
ที่ก�าหนดให้ต่อไปนี้ ตั ว แทนคนที่ 4 นํ า เสนอผลงานที่ ตั ด มุ ม
1) ตัดในแนวตั้งฉากกับพื้นราบ ของโอเอซิสพรอมทั้งบอกหนาตัดที่ได
2) ตัดในแนวขนานกับพื้นราบ
3) ตัดในแนวเส้นทแยงมุม
4) ตัดมุมของโอเอซิส
3. ให้นักเรียนตัดโอเอซิสด้วยมีดคัตเตอร์ตามแนวการตัดที่ก�าหนดให้ในข้อ 2. พร้อมทั้ง
เขียนภาพหน้าตัดที่ได้จากการตัดโอเอซิส
4. จงเปรียบเทียบภาพหน้าตัดของโอเอซิสที่ตัดตามแนวการตัดต่าง ๆ กับภาพที่นักเรียน
จินตนาการไว้ ว่ามีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร

147

เฉลย กิจกรรมคณิตศาสตร์
3.3 ตัดโอเอซิสตามแนวเสนทแยงมุม
1. ตัดโอเอซิสดานละ 8 เซนติเมตร ดังนี้

8 ซม.

8 ซม. 8 ซม.
2. มีหลากหลายคําตอบตามจินตนาการของนักเรียนแตละคน ระนาบตัดโอเอซิสในแนวเสนทแยงมุม หนาตัดเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา
3. ตัดโอเอซิสตามแนวที่กําหนด ดังนี้ 3.4 ตัดมุมของโอเอซิส
3.1 ตัดโอเอซิสตามแนวตั้งฉากกับพื้นราบ

ระนาบตัดมุมของโอเอซิส หนาตัดเปนรูปสามเหลี่ยม
ระนาบตัดโอเอซิสในแนวตั้งฉากกับฐาน หนาตัดเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
3.2 ตัดโอเอซิสตามแนวขนานกับพื้นราบ 4. มีหลากหลายคําตอบตามจินตนาการของนักเรียนแตละคนที่ได
จินตนาการไวในขอ 2.

ระนาบตัดโอเอซิสในแนวขนานกับฐาน หนาตัดเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส T159


นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
2. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 4.1 ขอ 2.-3. แบบฝึกทักษะ 4.1
เปนการบาน
ระดับ พื้นฐาน

ขัน้ สรุป 1. จ งเขียนภาพและบอกชื่อหน้าตัดที่เกิดจากการใช้ระนาบตัดรูปเรขาคณิตสามมิติในลักษณะ


ต่างกันในแต่ละข้อต่อไปนี้
ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ
นักเรียนวา 1) 2)
• นักเรียนไดเรียนรูหนาตัดที่เกิดจากการตัด
2 แนว มีอะไรบาง
(แนวตอบ แนวตั้งฉากกับพื้นราบ และแนว
ขนานกับพื้นราบ)
• การตั ด รู ป เรขาคณิ ต สามมิ ติ ต ามแนว
การตั ด ต า งๆ จะได รู ป หน า ตั ด เป น รู ป 3) 4)
เรขาคณิ ต สองมิ ติ ที่ มี 2 ลั ก ษณะ คื อ
อะไรบาง
( แนวตอบ ภาพหน า ตั ด ที่ ไ ด จ ะเป น รู ป
เรขาคณิตสองมิติชนิดเดียวกัน และภาพ
หน า ตั ด ที่ ไ ด จ ะเป น รู ป เรขาคณิ ต สองมิ ติ
ตางชนิดกัน)
5) 6)

7) 8)

148

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูเนนยํา้ ลักษณะและคําศัพทเกีย่ วกับรูปเรขาคณิต เชน วงรี รูปสามเหลีย่ ม ถาใชระนาบตัดทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากตามแนวเฉียงโดยใหตัด
รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส รูปสี่เหลี่ยมผืนผา เปนตน และเนนยํ้าการตัดรูปเรขาคณิต จุดกึง่ กลางของดานกวาง ดานยาว และตัดที่ฐานตามแนวทแยง
สามมิติตองใชพื้นฐานความรูรูปเรขาคณิตสองมิติและทักษะคิดวิเคราะหผล หนาตัดที่ไดจะเปนรูปเรขาคณิตสองมิติตรงกับขอใด
ที่จะเกิดขึ้น 1. รูปสามเหลี่ยม 2. รูปสี่เหลี่ยมผืนผา
3. รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 4. รูปสี่เหลี่ยมคางหมู
(เฉลยคําตอบ จากขอความที่โจทยกําหนดสามารถสรางรูปได
ดังนี้

ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)

T160
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
1. ครูตรวจแบบฝกทักษะ 4.1
2. ครูตรวจ Exercise 4.1
ระดับ กลาง 3. ครูประเมินการนําเสนอผลงาน
2. จงเขียนภาพหน้าตัดที่เกิดจากการใช้ระนาบตัดรูปเรขาคณิตสามมิติที่ก�าหนดให้ 4. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
ตามแนวการตัดต่อไปนี้ 5. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
1) ตัดตามแนวขนานกับพื้นราบ 6. ครูสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค
2) ตัดตามแนวตั้งฉากกับพื้นราบ
(1) (2)

(3) (4)

ระดับ ท้าทาย

3. จ ากรูปทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ABCDEFGH
E F จงตอบค�าถามต่อไปนี้
H G 1) รูปสี่เหลี่ยม AEFB เป็นหน้าตัดที่เกิดจากการตัด
ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากในแนวการตัดใด
2) รูปสามเหลี่ยม DHC เป็นหน้าตัดที่เกิดจากการตัด
D C ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากในแนวการตัดใด
A B 3) รูปสามเหลี่ยม AGD เป็นหน้าตัดที่เกิดจากการตัด
ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากในแนวการตัดใด

149

กิจกรรม เสริมสรางคุณลักษณะอันพึงประสงค เกร็ดแนะครู


ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 คน ศึกษาภาพหนาตัดที่ไดจาก กอนใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 4.1 ครูควรสรางความเขาใจและเนนยํ้า
การตัดทรงกรวยตามแนวตางๆ จะไดเปนรูปเรขาคณิตชนิดใด เกี่ยวกับคําศัพท เชน บอกชื่อหนาตัด แนวขนานกับฐานกับแนวตั้งฉากกับฐาน
ไดบาง จงอธิบายรายละเอียดที่สําคัญพอสังเขป พรอมทั้งเขียน โดยอธิบายเพิ่ม เชน
ภาพประกอบทิศทางการตัด โดยกําหนดเวลาศึกษา 1 สัปดาห บอกชื่อหนาตัด หมายถึง บอกชื่อรูปเรขาคณิตของหนาตัด
จัดทําลงในกระดาษ A4 สงครูตามเวลาที่กําหนด อีกทั้งนําเสนอ
หนาชั้นเรียน
กําหนดภาพทรงกรวย ดังนี้

T161
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
ครูทบทวนความรูเรื่อง ความสัมพันธระหวาง 4.2 การอธิบายภาพสองมิติที่ ไดจากการมองดานหนา
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ และความรูเรื่อง ดานขาง และดานบนของรูปเรขาคณิตสามมิติ
หนาตัดของรูปเรขาคณิตสามมิติ
การมองวัตถุหรือรูปเรขาคณิตสามมิติต่าง ๆ ผู้มองอาจจะเห็นภาพเรขาคณิตสองมิติของ
รูปเรขาคณิตสามมิติรูปเดียวกันต่างกัน ขึ้นอยู่กับว่ามองวัตถุนั้น ๆ ด้านใด ซึ่งในที่นี้จะพิจารณา
ขัน้ สอน การมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน โดยการมองต้องมองในทิศทางหรือแนวตัง้ ฉากกับด้านนัน้ ๆ
รู้ (Knowing)
ด้านบน ด้านบน
1. ครูกลาววา “ในชีวติ ประจําวันเรามักพบสิง่ ของ
ทีเ่ ปนรูปทรงหรือรูปเรขาคณิตสามมิตอิ ยูเ สมอ
ซึ่งรูปเรขาคณิตสามมิติเหลานี้ เมื่อมองจาก ด้านข้าง
ด้านข้าง
ทางดานใดดานหนึ่งโดยใหแนวสายตาตั้งฉาก
กั บ ด า นที่ ม อง เราจะเห็ น เป น รู ป เรขาคณิ ต ด้านหน้า ด้านหน้า
สองมิ ติ ” ซึ่ ง การมองรู ป เรขาคณิ ต สามมิ ติ จงพิจารณารูปเรขาคณิตสามมิติต่อไปนี้
สามารถกําหนดมุมมองได 3 แบบ คือ
- การมองดานหนา (front view) เปนการ
มองวัตถุในดานที่อยูใกลผูมองมากที่สุด
- การมองดานขาง (side view) เปนการ ปริซึมสามเหลี่ยม ทรงกลม
มองวัตถุทางดานซายหรือทางดานขวาของ ถ้ามองปริซึมสามเหลี่ยมและทรงกลมที่วางเรียงบนระนาบดังรูปข้างบน จากการมอง
ผูมอง ด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน จะได้ภาพที่ได้จากการมอง ดังนี้
- การมองด า นบน (top view) เป น การ
มองวัตถุทอี่ ยูต าํ่ กวาผูม อง หรือเปนการมอง
จากที่สูงลงมา
ด้านหน้า ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง ภาพด้านบน
ปริซึมสามเหลี่ยม

ด้านหน้า ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง ภาพด้านบน


ทรงกลม
จากรูปเรขาคณิตสามมิตขิ า้ งต้น จะเห็นว่า รูปเรขาคณิตสามมิตบิ างรูปไม่วา่ จะมองด้านหน้า
ด้านข้าง หรือด้านบน จะได้ภาพสองมิติเหมือนกัน แต่รูปเรขาคณิตสามมิติบางรูป จะได้ภาพ
สองมิติแตกต่างกัน
150

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูควรเปดโอกาสใหนักเรียนไดทําความเขาใจกับขอความสามบรรทัดแรก จากรูปเรขาคณิตสามมิติที่กําหนดให
ของหนังสือเรียน หนา 150 จากนั้นครูขออาสาสมัครนักเรียน 2 คน แสดง ขอใดเขียนแสดงภาพสองมิติที่ไดจากการมอง
ความคิ ด เห็ น หรื อ ขยายความเข า ใจของนั ก เรี ย น ครู เ น น ยํ้ า กั บ นั ก เรี ย นว า ดานหนาไดถูกตอง
ภาพที่ไดจากการมองรูปเรขาคณิตสามมิติในแตละดานอาจจะเหมือนกันหรือ
1. 2.
แตกตางกัน ขึ้นอยูกับลักษณะและรูปรางของรูปเรขาคณิตสามมิตินั้น

3. 4.

(เฉลยคําตอบ กรวยเป น รู ป เรขาคณิ ต สามมิ ติ เมื่ อ มองจาก


ดานหนาจะมีลักษณะเปนรูปสามเหลี่ยม
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 1.)
T162
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
ภาพสองมิติที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบนของรูปเรขาคณิตสามมิติ 2. ครูหยิบแกวนํา้ (ทรงกระบอก) ขึน้ มา แลวถาม
จะไม่สามารถระบุชนิดของภาพสองมิตินั้นได้ แต่สามารถเขียนภาพแสดงได้ คําถามวา
จงพิจารณาการมองรูปเรขาคณิตสามมิติต่อไปนี้ • (ครูชี้แสดงการมองทางดานหนา) เมื่อมอง
แกวนํ้าทางดานหนา จะเห็นเปนรูปอะไร
(แนวตอบ รูปสี่เหลี่ยมผืนผา)
• (ครูชี้แสดงการมองทางดานขาง) เมื่อมอง
แกวนํ้าทางดานขาง จะเห็นเปนรูปอะไร
(แนวตอบ รูปสี่เหลี่ยมผืนผา)
• (ครูชี้แสดงการมองทางดานบน) เมื่อมอง
ด้านหน้า แกวนํ้าทางดานบน จะเห็นเปนรูปอะไร
ภาพที่ได้จากการมองรูปเรขาคณิตด้านหน้า ได้แก่ส่วนที่แรเงาตามรูปข้างล่างนี้ ภาพที่ได้ (แนวตอบ วงกลม)
จากการมองด้านหน้า เรียกว่า ภาพด้านหน้า 3. ครูวาดรูปใหนักเรียนดูบนกระดานประกอบ
การเฉลยคําตอบ
4. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาตั ว อย า งการมองรู ป
เรขาคณิตสามมิติในหนังสือเรียน หนา 151
จากนั้นครูบอกนักเรียนวา
- ภาพที่ไดจากการมองทางดานหนา เรียกวา
ภาพดานหนา
ภาพด้านหน้า
ทิศทางการมองด้านหน้า - ภาพที่ไดจากการมองทางดานขาง เรียกวา
ภาพดานขาง
ภาพที่ได้จากการมองรูปเรขาคณิตด้านข้าง ได้แก่ส่วนที่แรเงาตามรูปข้างล่างนี้ ภาพที่ได้
จากการมองด้านข้าง เรียกว่า ภาพด้านข้าง

ทิศทางการมอง
ด้านข้าง
ภาพด้านข้าง

151

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


รูปที่กําหนดเปนรูปที่เกิดจากการมองจากดานบนของรูปเรขาคณิตสามมิติในขอใด

1. 2. 3. 4.

(เฉลยคําตอบ เมื่อพิจารณาจากรูปที่กําหนดและทิศทางการมองจะไดรูปตรงกับขอ 2.
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)

T163
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
5. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาตั ว อย า งการมองรู ป ภาพที่ได้จากการมองรูปเรขาคณิตด้านบน ได้แก่ส่วนที่แรเงาตามรูปข้างล่างนี้ ภาพที่ได้
เรขาคณิตสามมิติในหนังสือเรียน หนา 152 จากการมองด้านบน เรียกว่า ภาพด้านบน
จากนั้ น ครู บ อกนั ก เรี ย นว า ภาพที่ ไ ด จ าก ทิศทางการมองด้านบน
การมองทางดานบน เรียกวา ภาพดานบน
6. ครูอธิบายเพิม่ เติมวา “การเขียนภาพเพือ่ แสดง
ลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติ นิยมเขียน
ภาพของรูปเรขาคณิตสามมิตินั้นกับภาพอีก
3 ภาพ คือ ภาพที่ไดจากการมองดานหนา
ภาพด้านบน
ดานขาง และดานบนไวดวยกัน”
ในการเขียนภาพเพือ่ แสดงลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิต ิ นิยมเขียนภาพของรูปเรขาคณิต
เข้าใจ (Understanding) สามมิตินั้นกับภาพอีก 3 ภาพ ที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบนไว้ด้วยกันภายใน
1. นักเรียนทํา “Thinking Time” โดยยกตัวอยาง กรอบรูปสี่เหลี่ยม ดังตัวอย่าง
พรอมทัง้ วาดรูปประกอบ (รูปเรขาคณิตสามมิติ
และภาพดานหนา ภาพดานขาง และภาพ
ดานบน)
2. ครูใหนักเรียนทํา Exercise 4.2 ขอ 1. ใน
แบบฝกหัดคณิตศาสตรเปนการบาน ภาพด้านบน

ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง

Thinking Time
นักเรียนคิดว่า สิง่ ของอะไรบ้างในชีวติ ประจ�าวันทีม่ ภี าพทีไ่ ด้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน
เฉลย Thinking Time
เหมือนกัน
ลู ก ฟุ ต บอล (หรื อ สิ่ ง ของที่ เ ป น ทรงกลม)
ลู ก เต า (หรื อ สิ่ ง ของที่ เ ป น ลู ก บาศก ) หรื อ อื่ น ๆ
152
(แนวคําตอบมีไดหลากหลายขึน้ อยูก บั ประสบการณ
ของนักเรียนแตละคน)

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูควรเพิ่มทักษะการสรางรูปเรขาคณิตสามมิติที่มีรูปรางแตกตางกัน รู ป เรขาคณิ ต สามมิ ติ ใ นข อ ใดมี ภ าพจากการมองด า นหน า
โดยใหนักเรียนฝกวาดรูปสามมิติ (Isometric) หรืออาจบูรณาการเชื่อมสาระ ดานบน ดานขาง ดังนี้
โดยเชิญครูผูสอนศิลปะที่มีความชํานาญการวาดรูปทรงสามมิติมาเปนวิทยากร

ดานหนา ดานบน ดานขาง

1. ทรงสามเหลี่ยมมุมฉาก 2. ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
3. พีระมิดฐานสี่เหลี่ยม 4. ปริซึมสามเหลี่ยม
(เฉลยคําตอบ รู ป พี ร ะมิ ด เมื่ อ มองจากด า นหน า และด า นข า ง
จะเปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วที่มียอดรวมกัน เมื่อมองจากดานบน
จะเปนรูปสี่เหลี่ยม
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T164
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
ตัวอย่างที่ 1 1. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ Exercise
จงเขียนภาพเพื่อแสดงลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ก�าหนดให้ โดยเขียนภาพที่ได้จาก 4.2 ขอ 1.
การมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน 2. ครู ท บทวนการมองรู ป เรขาคณิ ต สามมิ ติ
วิธีท�า ด า นหน า ด า นข า ง และด า นบน โดยการ
ถาม-ตอบ
3. ครูเตรียมอุปกรณตามตัวอยางที่ 1 ในหนังสือ
เรียน หนา 153 ประมาณ 10 ชิ้น จากนั้นครู
วาดรู ป เรขาคณิ ต สามมิ ติ บ นกระดาน แล ว
ส ง อุ ป กรณ ใ ห นั ก เรี ย นแบ ง กั น เพื่ อ มองภาพ
ภาพด้านหน้า ด า นหน า ด า นข า ง และด า นบน แล ว ให
ทิศทางการมองด้านหน้า นั ก เรี ย นแต ล ะคนวาดรู ป เรขาคณิ ต สามมิ ติ
ภาพดานหนา ภาพดานขาง และภาพดานบน
ลงสมุด โดยครูคอยตรวจสอบความถูกตอง
ภาพด้านข้าง 4. ครูใหนักเรียนตรวจสอบวา รูปที่ตนเองไดจาก
ทิศทางการมอง การมองทั้งสามดานเหมือนกับตัวอยางที่ 1
ด้านข้าง หรือไม จากหนังสือเรียน หนา 153
ทิศทางการมองด้านบน

ภาพด้านบน
เขียนภาพเพื่อแสดงลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติ ได้ดังนี้

ภาพด้านบน

ภาพด้
านหน้ า ภาพด้ านข้าง ตอบ

153

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


จากรูปที่กําหนด ภาพที่ไดจากการมองดานขางตรงกับขอใด

1. 2. 3. 4.

(เฉลยคําตอบ เมื่ อ มองรู ป เรขาคณิ ต สามมิ ติ จ ากด า นข า ง จะได รู ป สี่ เ หลี่ ย มมุ ม ฉาก 3 รู ป
เรียงตอกัน
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 1.)

T165
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
5. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 2 ในหนังสือ ตัวอย่างที่ 2
เรียน หนา 154 แลวครูตั้งคําถามตอไปนี้ จงเขียนภาพเพื่อแสดงลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ก�าหนดให้ โดยเขียนภาพที่ได้จาก
• ในตัวอยางที่ 2 นักเรียนสังเกตภาพทีไ่ ดจาก การมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน
การมองดานบน ไดอยางไร วิธีท�า
( แนวตอบ ภาพที่ ไ ด จ ากการมองด า นบน
จะเปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากติดกัน 3 รูป)
• นั ก เรี ย นสั ง เกตภาพที่ ไ ด จ ากการมอง
ดานหนาไดอยางไร
(แนวตอบ ภาพที่ไดจากการมองดานหนา
จะเป น ภาพสี่ เ หลี่ ย มมุ ม ฉากที่ มี ร  อ งลึ ก ภาพด้านหน้า
ตรงกลาง) ทิศทางการมอง
ด้านหน้า
• นั ก เรี ย นสั ง เกตภาพที่ ไ ด จ ากการมอง
ดานขางไดอยางไร
(แนวตอบ ภาพที่ไดจากการมองดานขาง ทิศทางการมอง ภาพด้านข้าง
จะเปนภาพสี่เหลี่ยมผืนผา) ด้านข้าง
ทิศทางการมองด้านบน

ภาพด้านบน
เขียนภาพเพื่อแสดงลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติ ได้ดังนี้

ภาพด้านบน

ภาพด้
านหน้ า ภาพด้
านข้าง ตอบ
154

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


กําหนดภาพที่ไดจากการมองทั้งสามดานของรูปเรขาคณิตรูปหนึ่ง ดังนี้

ดานบน ดานหนา ดานขาง


รูปเรขาคณิตสามมิติรูปใดตรงกับภาพที่กําหนด
1. 2. 3. 4.

(เฉลยคําตอบ จากภาพการมองดานบน มีรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 2 รูป มองดานหนา มีรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 3 รูป


และมองดานขาง มีรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 2 รูป จะตรงกับภาพในขอ 2.
T166 ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
ลองท�ำดู 1. ครูใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” ในหนังสือเรียน
จงเขียนภาพเพื่อแสดงลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ก�าหนดให้ โดยเขียนภาพที่ได้จาก หนา 155 แลวครูและนักเรียนรวมกันเฉลย
การมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน คําตอบ
2. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 4.2 ขอ 1.
1) 2)
จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ
3. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 4.2 ขอ 2.-4.
และ Exercise 4.2 ขอ 2.-3. ในแบบฝกหัด
คณิตศาสตรเปนการบาน
ด้านหน้า ด้านหน้า
3) 4)

ด้านหน้า ด้านหน้า

แบบฝึกทักษะ 4.2
ระดับ พื้นฐาน

1. จงเขียนภาพเพื่อแสดงลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ก�าหนดให้ โดยเขียนภาพที่ได้จาก
การมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน
1) 2)

ด้านหน้า ด้านหน้า
3) 4)

ด้านหน้า ด้านหน้า

155

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET

จากรูปเรขาคณิตสามมิติที่กําหนด รูปในขอใดเกิดจากการมองดานบน

1. 2.

3. 4.

(เฉลยคําตอบ เมื่อมองจากดานบนของพีระมิดฐานสี่เหลี่ยม จะไดภาพตรงกับขอ 3.


ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T167
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
ครูใหนกั เรียนจัดกลุม กลุม ละ 4 คน คละความ
สามารถทางคณิตศาสตร แลวทํากิจกรรม ดังนี้ ระดับ กลาง
- ครูวาดภาพดานหนา ภาพดานขาง และภาพ 2. จงตรวจสอบว่า ภาพที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบนของรูปเรขาคณิต
ดานบนของรูปเรขาคณิตสามมิตชิ นิดใดก็ได สามมิติในแต่ละข้อต่อไปนี้เป็นภาพที่ถูกต้องหรือไม่ ถ้าไม่ถูกต้องให้แก้ให้ถูกต้อง
บนกระดาน 3-4 ชนิด ภาพสองมิติที่มองเห็น
- นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ร ว มกั น วิ เ คราะห ว  า ข้อ รูปเรขาคณิตสามมิติ
ด้านหน้า (ก) ด้านข้าง (ข) ด้านบน (ค)
ภาพที่เกิดจากการมองดานตางๆ เปนการ
มองรูปเรขาคณิตสามมิติชนิดใด แลววาด
รู ป เรขาคณิ ต สามมิ ติ ช นิ ด นั้ น ลงสมุ ด ของ 1)
ตนเอง
- ใหตัวแทนกลุมออกมานําเสนอคําตอบหนา ด้านหน้า
ชัน้ เรียน โดยเพือ่ นกลุม ทีเ่ หลือคอยตรวจสอบ
ความถูกตอง
2)
หมายเหตุ : การวาดรู ป เรขาคณิ ต สามมิ ติ
เมื่อกําหนดภาพดานหนา ภาพดานขาง และ ด้านหน้า
ภาพดานบนให ไมไดกลาวไวในหนังสือเรียน
แต ค รู อ าจจั ด กิ จ กรรมนี้ เ พื่ อ ให นั ก เรี ย นได
เข า ใจและใช ค วามรู  ท างเรขาคณิ ต ในการ 3)
วิเคราะหความสัมพันธระหวางรูปเรขาคณิต
ด้านหน้า
สองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมากขึ้น

4)

ด้านหน้า

5)

ด้านหน้า

156

เกร็ดแนะครู กิจกรรม สรางเสริม


ใหนักเรียนปฏิบัติตามกิจกรรมตอไปนี้
การเขียนรูปเรขาคณิตสองมิติจากการมองดานตางๆ ของรูปเรขาคณิต
• บอกชื่อภาชนะที่มีรูปวงกลม 2 วงเปนสวนประกอบแตรัศมี
สามมิติ ครูควรเนนยํา้ ใหนกั เรียนพิจารณารูปเรขาคณิตสามมิตวิ า มีสว นประกอบ
ไมเทากันมา 2 ชื่อ
เปนรูปเรขาคณิตสองมิติชนิดใดบาง เชน มีสวนของเสนตรง ขอบเปนเสนโคง
• สรางรูปเรขาคณิตสามมิติของภาชนะในขอขางตน
มีหลายชั้น เปนตน แลวจึงเขียนรูปเรขาคณิตสองมิติตามที่มองเห็น
• เขียนภาพสองมิติที่มองดานหนา ดานขาง และดานบน

T168
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ
นักเรียนวา
• การมองรู ป เรขาคณิ ต สามมิ ติ สามารถ
3. จงเขียนภาพเพื่อแสดงลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ก�าหนดให้ โดยเขียนแทนที่ได้จาก กําหนดมุมมองได 3 แบบ คืออะไรบาง
การมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน (แนวตอบ การมองดานหนา ดานขาง และ
1) 2) ดานบน)
• การมองดานหนา (front view) เปนการมอง
วัตถุในดานใด
(แนวตอบ ดานที่อยูใกลผูมองมากที่สุด)
• การมองดานขาง (side view) เปนการมอง
ด้านหน้า ด้านหน้า
วัตถุในดานใด
(แนวตอบ ดานซายหรือดานขวาของผูมอง)
3) 4) • การมองดานบน (top view) เปนการมอง
วัตถุอยางไร
(แนวตอบ วัตถุที่อยูตํ่ากวาผูมอง หรือเปน
การมองจากที่สูงลงมา)
ด้านหน้า
ด้านหน้า
ขัน้ ประเมิน
ระดับ ท้าทาย
1. ครูตรวจแบบฝกทักษะ 4.2
4. จงเขียนภาพสองมิติที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบนของรูปเรขาคณิต 2. ครูตรวจ Exercise 4.2
สามมิติต่อไปนี้ 3. ครูประเมินการนําเสนอผลงาน
1) 2) 4. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
5. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
6. ครูสังเกตลักษณะอันพึงประสงค
ด้านหน้า ด้านหน้า

157

กิจกรรม ทาทาย เกร็ดแนะครู


การเขียนรูปเรขาคณิตสองมิติจากการมองดานตางๆ ของรูปเรขาคณิต
สามมิติ ครูควรเนนยํา้ ใหนกั เรียนพิจารณารูปเรขาคณิตสามมิตวิ า มีสว นประกอบ
เปนรูปเรขาคณิตหนึ่งมิติและรูปเรขาคณิตสองมิติชนิดใดบาง เชน มีสวนของ
เสนตรง ขอบเปนเสนโคง มีหลายชั้น เปนตน แลวจึงเขียนรูปเรขาคณิตสองมิติ
ภาพดานบน ภาพดานหนา ภาพดานขาง ตามที่มองเห็น
ใหนักเรียนสรางรูปทรงสามมิติจากรูปเรขาคณิตสองมิติที่ได
จากการมองภาพดานบน ภาพดานขาง และภาพดานหนา ตามที่
กําหนดให

T169
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
1
ครูทบทวนความรูเรื่อง ภาพสองมิติที่เกิดจาก 4.3 รูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก
การมองดานหนา ดานขาง และดานบนของรูป
เรขาคณิตสองมิติ โดยยกตัวอยางแกวกระดาษที่
เปนรูปกรวย แลวถามคําถามวา
• (ครูชที้ แี่ กวกระดาษดานหนา) ภาพทีไ่ ดจาก
การมองดานหนาเปนรูปอะไร
(แนวตอบ รูปสามเหลี่ยม)
• (ครูชี้ที่แกวกระดาษดานขาง) ภาพที่ไดจาก
การมองดานขางเปนรูปอะไร
(แนวตอบ รูปสามเหลี่ยม)
• (ครูชี้ที่แกวกระดาษดานบน) ภาพที่ไดจาก
การมองดานบนเปนรูปอะไร
(แนวตอบ วงกลม)

ขัน้ สอน “ลูกรูบิก” เป็นรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบจากลูกบาศก์ ซึ่งมีจ�านวนลูกบาศก์ในแต่ละ


รู้ (Knowing) ด้านเท่ากัน ลูกรูบกิ ทีป่ รากฏดังรูปประกอบด้วยลูกบาศก์เล็ก ๆ จ�านวน 27 ลูก หน้าแต่ละหน้าของ
1. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาเนื้ อ หาในหนั ง สื อ เรี ย น ลูกรูบิกจะมีสีที่แตกต่างกัน ก่อนการเล่นลูกรูบิก ลูกรูบิกในแต่ละหน้าจะมีหลายสี การเล่นลูกรูบิก
หนา 158 เกี่ยวกับลูกรูบิก แลวบอกวา ลูก จะต้องท�าการหมุนลูกรูบิกสลับไปมา ซึ่งจะท�าให้แต่ละหน้าของลูกรูบิกเป็นสีเดียวกัน แต่รูป
รูบกิ เปนตัวอยางหนึง่ ของรูปเรขาคณิตสามมิติ เรขาคณิตสามมิติที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์ในเรื่องนี้ ไม่ได้น�าลูกบาศก์ลูกเล็ก ๆ มาจัดเรียงให้
ที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก เป็นทรงลูกบาศก์เพียงอย่างเดียว ดังตัวอย่างต่อไปนี้
จงพิจารณาการจัดเรียงลูกบาศก์จ�านวน 10 ลูก ต่อไปนี้

158

เกร็ดแนะครู กิจกรรม สรางเสริม


ครูควรนําลูกบาศกหรือลูกเตามาจัดวางเรียงใหนักเรียนเห็นเปนรูปธรรม
และใหนักเรียน 3 คนออกมาเขียนภาพที่ไดจากการมองดานหนา ดานขาง
และดานบน ซึ่งจะไดตามหนังสือเรียน หนา 159

นักเรียนควรรู ดานหนา
1 ลูกบาศก (Cube) เปนรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบดวยรูปสี่เหลี่ยม
ความยาวดานเทากัน 6 รูป จากรูปที่กําหนด ใหนักเรียนเขียนภาพแสดงรูปเรขาคณิต
สองมิติที่ไดจากการมองดานหนา ดานขาง และดานบน

T170
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
นักเรียนทราบมาแล้วว่า การมองรูปเรขาคณิตสามมิติ สามารถก�าหนดมุมมองได้ 3 แบบ 2. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4-5 คน แลว
คือ มองทางด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน ทํากิจกรรม ดังนี้
มองด้านบน - ครูวาดรูปเรขาคณิตสามมิตดิ งั รูปในหนังสือ
เรียน หนา 159 บนกระดาน
- ครูแจกลูกบาศกใหกลุมละ 10 ลูก แลวให
แตละกลุมชวยกันเรียงลูกบาศกใหเปนรูป
เรขาคณิตสามมิติตามแบบที่ครูวาด
- นักเรียนแตละคนวิเคราะหวา ภาพที่ไดจาก
การมองดานหนา ดานขาง และดานบนของ
มองด้านหน้า มองด้านข้าง รูปเรขาคณิตสามมิตินี้เปนรูปอะไร
- แลกเปลี่ยนคําตอบกันภายในกลุม สนทนา
การจัดเรียงลูกบาศก์จ�านวน 10 ลูก ที่ก�าหนดดังภาพ สามารถเขียนแสดงภาพสองมิติ ซักถามจนเปนที่เขาใจรวมกัน
ซึ่งแสดงจ�านวนลูกบาศก์จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน ดังนี้ - วาดภาพดานหนา ภาพดานขาง และภาพ
ดานบนลงในสมุดของตนเอง
3. ครูกลาวถึงการมองภาพดานหนา ดานขาง และ
ดานบนของรูปเรขาคณิตสามมิตทิ ปี่ ระกอบขึน้
จากลู ก บาศก ว  า การเขี ย นรู ป เรขาคณิ ต
สองมิ ติ เพื่ อ แสดงรู ป เรขาคณิ ต สามมิ ติ ที่
ประกอบขึ้ นจากลูกบาศก เราจะเขียนเป น
ตารางรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ทีป่ รากฏในดานทีม่ อง
ภาพด้านข้าง และเพื่ อ ให ท ราบจํ า นวนลู ก บาศก ที่ เ รามอง
ไม เ ห็ น ในด า นที่ ม อง จึ ง เขี ย นตั ว เลขแสดง
จํานวนลูกบาศกกํากับไวในตาราง ซึ่งจะตอง
เขียนตามลําดับที่ของแถวและลําดับที่ของชั้น

ภาพด้านหน้า ภาพด้านบน

159

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


พิจารณาภาพตอไปนี้
ดานหนา ดานขาง ดานบน

จากภาพที่กําหนด สามารถเขียนเปนรูปเรขาคณิต 3 มิติ ไดตรงกับขอใด


1. 2. 3. 4.

(เฉลยคําตอบ พิจารณาภาพที่ไดจากการมองดานหนา ดานขาง และดานบน จะไดวา มี 3 แถว ดังนี้


แถวที่ 1 มี 1 ชั้น มีลูกบาศกจํานวน 1 ลูก แถวที่ 3 มี 1 ชั้น มีลูกบาศกจํานวน 1 ลูก
แถวที่ 2 มีลูกบาศกเรียงซอนกัน 2 ชั้น ซึ่งตรงกับภาพในขอ 4.
ชั้นที่ 1 มีลูกบาศกจํานวน 3 ลูกเรียงกัน ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)
ชั้นที่ 2 มีลูกบาศกจํานวน 1 ลูก
T171
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
4. ครูนําลูกบาศกมาตอกันดังรูปในหนังสือเรียน การเขียนรูปเรขาคณิตสองมิติ เพื่อแสดงรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์
หนา 160 แลวใหนักเรียนสงตัวแทนมา 3 คน จะเขียนเป็นตารางรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่ปรากฏในด้านที่มอง และเพื่อให้ทราบจ�านวนลูกบาศก์
ออกมาวาดภาพดานหนา ดานขาง และดาน ที่มองไม่เห็นในด้านที่มอง จึงเขียนตัวเลขแสดงจ�านวนลูกบาศก์ก�ากับไว้ในตาราง ซึ่งจะต้องเขียน
บนของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ครูประกอบขึ้น ตามล�าดับที่ของแถว และล�าดับที่ของชั้น
บนกระดาน จงพิจารณารูปเรขาคณิตสามมิติต่อไปนี้
5. ครูใหนักเรียนพิจารณารูปเรขาคณิตสามมิติ
ที่ครูประกอบขึ้น แลวถามคําถามวา
• (ครูชแี้ นวในการมอง) เมือ่ มองจากดานหนา
ของชั้นที่หนึ่ง แถวที่ 1, แถวที่ 2, แถวที่ 3
และแถวที่ 4 มีลูกบาศกกี่ลูก ตามลําดับ แถวที่ 1
(แนวตอบ 2 ลูก, 2 ลูก, 2 ลูก และ 1 ลูก แถวที่ 2
แถวที่ 3 แถวที่ 4
ตามลําดับ)
จากนั้ น ครู เ ขี ย นหมายเลขแสดงจํ า นวน ทิศทางการมองด้านหน้า
ลูกบาศกที่ไดจากการมองดานหนาลงบนภาพ
ดานหนา (ที่ตัวแทนนักเรียนออกมาวาดไว)
จากการมองรูปเรขาคณิตสามมิติที่ก�าหนดจากด้านหน้า จะมี 4 แถว แต่ละแถวมีจ�านวน
ลูกบาศก์ ดังนี้
• (ครูชแี้ นวในการมอง) เมือ่ มองจากดานหนา
แถวที่ 1 จัดเรียงลูกบาศก์ซ้อนกัน 2 ชั้น ชั้นละ 2 ลูก
ของชั้นที่สอง แถวที่ 1 และแถวที่ 2 มี
แถวที่ 2 จัดเรียงลูกบาศก์ซ้อนกัน 2 ชั้น โดยชั้นที่ 1 มีลูกบาศก์จ�านวน 2 ลูกเรียงกัน
ลูกบาศกกี่ลูก ตามลําดับ และชั้นที่ 2 มีลูกบาศก์จ�านวน 1 ลูก
(แนวตอบ 2 ลูก และ 1 ลูก ตามลําดับ) แถวที่ 3 มี 1 ชั้น และมีลูกบาศก์จ�านวน 2 ลูกเรียงกัน
จากนั้ น ครู เ ขี ย นหมายเลขแสดงจํ า นวน แถวที่ 4 มี 1 ชั้น และมีลูกบาศก์จ�านวน 1 ลูก
ลูกบาศกที่ไดจากการมองดานหนาลงบนภาพ นักเรียนเขียนภาพสองมิติจากการมองด้านหน้า และเขียนตัวเลขแสดงจ�านวนลูกบาศก์
ดานหนา (ที่ตัวแทนนักเรียนออกมาวาดไว) ในด้านที่มอง ได้ดังนี้

2 1
2 2 2 1
ภาพด้านหน้า ภาพด้านหน้า
ที่เขียนตัวเลขแสดงจ�านวนลูกบาศก์

160

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


รูปเรขาคณิตสามมิติที่กําหนดใหเขียนภาพสองมิติจากการมองดานหนาไดตรงกับขอใด

1
ดานหนา 1
1. 1 2. 1 3. 1 4. 1 1
3 1 1 1 2 2 3 3 2 1
1 1 2 5 1 1 1 4 1 5 3 1

(เฉลยคําตอบ รูปเรขาคณิตที่กําหนดประกอบดวย 3 แถว ดังนี้


แถวที่ 1 มี 1 ชั้น มีลูกบาศกจํานวน 1 ลูก
แถวที่ 2 มี 3 ชั้น ชั้นที่ 1 มีลูกบาศกจํานวน 4 ลูกเรียงกัน
ชั้นที่ 2 มีลูกบาศกจํานวน 3 ลูกเรียงกัน
ชั้นที่ 3 มีลูกบาศกจํานวน 1 ลูก
แถวที่ 3 มี 1 ชั้น มีลูกบาศกจํานวน 1 ลูก
T172 ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
6. ครูใหนักเรียนพิจารณารูปเรขาคณิตสามมิติ
ที่ครูประกอบขึ้น แลวถามคําถามวา
• (ครูชี้แนวในการมอง) เมื่อมองจากดานขาง
ของชั้นที่หนึ่ง แถวที่ 1 และแถวที่ 2 มี
ลูกบาศกกี่ลูก ตามลําดับ
แถวที่ 2 (แนวตอบ 3 ลูก และ 4 ลูก ตามลําดับ)
แถวที่ 1
จากนั้ น ครู เ ขี ย นหมายเลขแสดงจํ า นวน
ทิศทางการมองด้านข้าง
ลูกบาศกที่ไดจากการมองดานขางลงบนภาพ
จากการมองรูปเรขาคณิตสามมิติที่ก�าหนดจากด้านข้าง จะมี 2 แถว แต่ละแถวมีจ�านวน ดานขาง (ที่ตัวแทนนักเรียนออกมาวาดไว)
ลูกบาศก์ ดังนี้ • (ครูชี้แนวในการมอง) เมื่อมองจากดานขาง
แถวที่ 1 จัดเรียงลูกบาศก์ซ้อนกัน 2 ชั้น โดยชั้นที่ 1 มีลูกบาศก์จ�านวน 3 ลูกเรียงกัน ของชั้นที่สอง แถวที่ 1 และแถวที่ 2 มี
และชั้นที่ 2 มีลูกบาศก์จ�านวน 1 ลูก ลูกบาศกกี่ลูก ตามลําดับ
แถวที่ 2 จัดเรียงลูกบาศก์ซ้อนกัน 2 ชั้น โดยชั้นที่ 1 มีลูกบาศก์จ�านวน 4 ลูกเรียงกัน (แนวตอบ 1 ลูก และ 2 ลูก ตามลําดับ)
และชั้นที่ 2 มีลูกบาศก์จ�านวน 2 ลูกเรียงกัน จากนั้ น ครู เ ขี ย นหมายเลขแสดงจํ า นวน
นักเรียนเขียนภาพสองมิติจากการมองด้านข้าง และเขียนตัวเลขแสดงจ�านวนลูกบาศก์ ลูกบาศกที่ไดจากการมองดานขางลงบนภาพ
ในด้านที่มอง ได้ดังนี้ ดานขาง (ที่ตัวแทนนักเรียนออกมาวาดไว)

1 2
3 4
ภาพด้านข้าง ภาพด้านข้าง
ที่เขียนตัวเลขแสดงจ�านวนลูกบาศก์

ทิศทางการมองด้านบน

161

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


พิจารณาภาพ 2 3 1 1 1
2 1 2 1 1 2
1 1 3 3 1 2 2 3
ดานบน ดานหนา ดานขาง
รูปเรขาคณิตสามมิติในขอใดมีภาพดานบน ดานหนา และดานขางตรงกับขอมูลที่กําหนด
1. 2. 3. 4.

(เฉลยคําตอบ ดานหนา แถวที่ 1 มี 2 ชั้น ชั้นที่ 1 มีลูกบาศก 3 ลูกเรียงกัน ชั้นที่ 2 มีลูกบาศก 2 ลูกเรียงกัน
แถวที่ 2 มี 3 ชั้น ชั้นที่ 1 มีลูกบาศก 3 ลูกเรียงกัน ชั้นที่ 2 มีลูกบาศก 1 ลูก ชั้นที่ 3 มีลูกบาศก 1 ลูก
แถวที่ 3 มี 1 ชั้น มีลูกบาศก 1 ลูก
ดานขาง แถวที่ 1 มี 1 ชั้น มีลูกบาศก 2 ลูกเรียงกัน แถวที่ 2 มี 2 ชั้น ชั้นที่ 1 มีลูกบาศก 2 ลูกเรียงกัน
ชั้นที่ 2 มีลูกบาศก 1 ลูก แถวที่ 3 มี 3 ชั้น ชั้นที่ 1 มีลูกบาศก 3 ลูกเรียงกัน ชั้นที่ 2 มีลูกบาศก 2 ลูกเรียงกัน
ชั้นที่ 3 มีลูกบาศก 1 ลูก ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)
T173
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
7. ครูใหนักเรียนพิจารณารูปเรขาคณิตสามมิติ จากการมองรูปเรขาคณิตสามมิติที่ก�าหนดทางด้านบน เขียนภาพสองมิติและนับจ�านวน
ที่ครูประกอบขึ้น แลวถามคําถามวา ลูกบาศก์ที่วางซ้อนกันในแต่ละแนวทางด้านบนจนถึงด้านล่าง และเขียนตัวเลขแสดงจ�านวน
• (ครูชี้แนวในการมอง) เมื่อมองจากดานบน ลูกบาศก์ในด้านที่มอง ได้ดังนี้
มีลูกบาศกกี่ลูก ตามลําดับ 2 2 1 1
( แนวตอบ ครู ดู ก ารเขี ย นแสดงจํ า นวน
2 1 1
ลู ก บาศก เ มื่ อ มองจากด า นบนในหนั ง สื อ
ภาพด้านบน ภาพด้านบน
เรียน หนา 162) ที่เขียนตัวเลขแสดงจ�านวนลูกบาศก์
จากนั้ น ครู ใ ห นั ก เรี ย นตรวจสอบภาพที่ ไ ด
จากการมองดานหนา ดานขาง และดานบน จากตัวเลขที่แสดงจ�านวนลูกบาศก์จากภาพด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน น�ามาเขียน
จากหนังสือเรียน หนา 162 แสดงภาพทั้งหมด ได้ดังนี้
8. ครูใหขอสังเกตกับนักเรียนวา ไมวาภาพที่ได
จากการมองในดานใด ผลรวมของจํานวน
2 2 1 1
ลูกบาศกที่เกิดจากการมองในแตละดานจะมี
2 1 1
คาเทากัน จากนั้นใหนักเรียนลองตรวจสอบ
ผลบวกของจํานวนลูกบาศกทเี่ กิดจากการมอง ภาพด้านบน
ในแตละดาน
2 1 1 2
2 2 2 1 3 4
ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง

ตัวอย่างที่ 3

จงเขียนภาพแสดงรูปเรขาคณิตสองมิติที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน


พร้อมทั้งเขียนตัวเลขแสดงจ�านวนลูกบาศก์ที่เรียงกันในด้านที่มองก�ากับไว้ในตาราง

ด้านหน้า
162

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


จากรูปเรขาคณิตสามมิติที่กําหนด ภาพจากการมองดานขาง ดานบน
ตรงกับขอใด
1 1 1 1
1. 2 2 2 2 2. 1 1 1 1

4 1
3. 4 4. 1
ดานบน
(เฉลยคําตอบ รูปเรขาคณิตสามมิติที่กําหนด มีลูกบาศก
1 แถว 2 ชั้น แตละชั้นมีลูกบาศก 4 ลูกเรียงกัน เมื่อพิจารณา ดานขาง
จากการมองดานหนา ดานขาง และดานบน เขียนภาพดานขาง
ตรงกับขอ 3. ดานหนา
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T174
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
วิธีท�า เ ขียนภาพสองมิติที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบนของการจัดเรียง 1. ครูยกตัวอยางที่ 3 ในหนังสือเรียน หนา 162-
ลูกบาศก์ที่ก�าหนดให้ ได้ดังนี้ 163 บนกระดาน แล ว ใช ก ารถาม-ตอบ
กั บ นั ก เรี ย นเพื่ อ เขี ย นตั ว เลขแสดงจํ า นวน
2 1 1
ลูกบาศกที่เรียงกันในดานที่มองกํากับไวใน
3 1 1 1 2 1 2
ตาราง
ภาพด้ านหน้ า านข้า ง
ภาพด้ านบน
ภาพด้ ตอบ 2. ครูยกตัวอยางที่ 4 ในหนังสือเรียน หนา 163
บนกระดาน แลวใชการถาม-ตอบกับนักเรียน
ตัวอย่างที่ 4 เพื่ อ เขี ย นตั ว เลขแสดงจํ า นวนลู ก บาศก ที่
จงเขียนภาพแสดงรูปเรขาคณิตสองมิติที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน เรียงกันในดานที่มองกํากับไวในตาราง
พร้อมทั้งเขียนตัวเลขแสดงจ�านวนลูกบาศก์ที่เรียงกันในด้านที่มองก�ากับไว้ในตาราง

ด้านหน้า

วิธีท�า เ ขียนภาพสองมิติที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบนของการจัดเรียง


ลูกบาศก์ที่ก�าหนดให้ ได้ดังนี้
2 1
3 1 1 2 1 2 2
3 3 2 2 2 2 1
ภาพด้ านหน้ า ภาพด้า นข้าง ภาพด้านบน
ตอบ

163

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


จากภาพที่กําหนด ภาพในขอใดเปนภาพดานบนที่ถูกตอง
1 1
1. 2 2 2. 2 2
2 2 2 2 2 2 2 2
2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2
ดานหนา 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2

4 4 4 3 2 2 3 4 3 3 2 2
3. 4 4 5 3 2 2 4. 3 4 5 3 2 2

(เฉลยคําตอบ จากภาพที่กําหนดประกอบดวย 2 แถว ดังนี้


แถวที่ 1 มี 6 แถวยอย แตละแถวมีลูกบาศกซอนกัน 3, 4, 5, 3, 2, 2 ลูก ตามลําดับ
แถวที่ 2 มี 6 แถวยอย แตละแถวมีลูกบาศกซอนกัน 3, 4, 3, 3, 2, 2 ลูก ตามลําดับ
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)

T175
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
3. ครูใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” ในหนังสือเรียน ลองท�ำดู
หนา 164 และ Exercise 4.3 ขอ 1. ในแบบ จงเขียนภาพแสดงรูปเรขาคณิตสองมิติที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน
ฝกหัดคณิตศาสตรเปนการบาน พร้อมทั้งเขียนตัวเลขแสดงจ�านวนลูกบาศก์ที่เรียงกันในด้านที่มองก�ากับไว้ในตาราง
4. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ “ลองทําดู”
ในหนังสือเรียน หนา 164 และ Exercise 4.3 1)
ขอ 1.
5. ครู ใ ห นั ก เรี ย นจั บ คู  ศึ ก ษาตั ว อย า งที่ 5 ใน
หนังสือเรียน หนา 164-165 แลวแลกเปลี่ยน
ความรูกับคูของตนเอง
ด้านหน้า

2)

ด้านหน้า

ตัวอย่างที่ 5

จงเขียนภาพแสดงรูปเรขาคณิตสองมิติที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน


พร้อมทั้งเขียนตัวเลขแสดงจ�านวนลูกบาศก์ที่เรียงซ้อนกันในด้านที่มองก�ากับไว้ในตาราง

ด้านหน้า

164

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


จากภาพที่กําหนด ขอใดเปนภาพแสดงรูปเรขาคณิตสองมิติ
ที่ไดจากการมองดานหนา
1
1. 1 1 2. 3 1 1 1 1
5 5 2 1 1 1 1
ดานหนา
1 1
3. 2 4. 1 1
2 2 2 2 2 1 1

(เฉลยคําตอบ การมองภาพจากโจทยกําหนดใหทางดานหนา จะเปนรูปตัว L มีลูกบาศกเรียง


ติดตอกัน 5 ลูก
แถวที่ 1 มีลูกบาศก 3 ชั้น ชั้นที่ 1 และชั้นที่ 2 มีลูกบาศกเรียงกันชั้นละ 2 ลูก
ชั้นที่ 3 มีลูกบาศก 1 ลูก
แถวที่ 2 ถึงแถวที่ 5 มีลูกบาศกเรียงกันแถวละ 2 ลูก
T176 ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
วิธีท�า เ ขียนภาพสองมิติที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบนของการจัดเรียง 6. ครู ใ ห นั ก เรี ย นจั บ คู  ศึ ก ษาตั ว อย า งที่ 6 ใน
ลูกบาศก์ที่ก�าหนดให้ ได้ดังนี้ 3 หนั ง สื อ เรี ย น หน า 165 แล ว แลกเปลี่ ย น
1 1
ความรูกับคูของตนเอง
2
7. ใหนักเรียนแตละคนทํา “ลองทําดู” ในหนังสือ
3 1 1 1 2 1
เรียน หนา 165 จากนัน้ ครูและนักเรียนรวมกัน
1 4 2 3 2 1 1 1 1 1
เฉลยคําตอบ
ภาพด้
านหน้
า ภาพด้ านข้าง ภาพด้ านบน ตอบ 8. ครูสแกน QR Code เรื่อง รูปเรขาคณิตสาม
ตัวอย่างที่ 6 มิติที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก ใหนักเรียนดู
จงเขียนภาพแสดงรูปเรขาคณิตสองมิติที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน
พร้อมทั้งเขียนตัวเลขแสดงจ�านวนลูกบาศก์ที่เรียงซ้อนกันในด้านที่มองก�ากับไว้ในตาราง

ด้านหน้า
วิธีท�า
1 1 2 2 2 1
3 3 3 3 3 3 2 3 2 1
3 3 3 3 4 4 4 2 2 2 1
ภาพด้า นหน้า ภาพด้ านข้าง ภาพด้ านบน ตอบ
ลองท�ำดู
จงเขียนภาพแสดงรูปเรขาคณิตสองมิติที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน
พร้อมทั้งเขียนตัวเลขแสดงจ�านวนลูกบาศก์ที่เรียงกันในด้านที่มองก�ากับไว้ในตาราง
1)

ด้านหน้า

รูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก 165

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET สื่อ Digital


ถาภาพทั้งสามเปนดานของรูปเรขาคณิตรูปหนึ่งที่ประกอบขึ้น ครูเปดสื่อการเรียนรูเรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก
จากลูกบาศก มีดังนี้ จากหนังสือเรียน หนา 165 ดวยการสแกน QR Code
ภาพดานบน 1 ภาพดานหนา ภาพดานขาง
2 1 1
1 2 3 2 1 1 2 3 1
1 1 1 2 3 1 4 1 1

รูปเรขาคณิตสามมิติรูปนี้ประกอบดวยลูกบาศกทั้งหมดกี่ลูก
1. 10 ลูก 2. 11 ลูก 3. 12 ลูก 4. 13 ลูก
(เฉลยคําตอบ พิจารณาจากดานหนา
ชั้นที่ 1 ประกอบดวยลูกบาศก 7 ลูก
ชั้นที่ 2 ประกอบดวยลูกบาศก 4 ลูก
ชั้นที่ 3 ประกอบดวยลูกบาศก 1 ลูก
รวม 12 ลูก ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)
T177
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
9. ครูใหนักเรียนจับคูกันวิเคราะห “H.O.T.S. 2)
คําถามทาทายการคิดขั้นสูง” ในหนังสือเรียน
หนา 166 และสนทนาซักถามเกี่ยวกับวิธีการ
คิดหาคําตอบจนเปนทีเ่ ขาใจรวมกัน แลวตอบ
คําถามจากการวิเคราะหลงในสมุดของตนเอง
10. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวา จะดึงลูกบาศก
ออกมาไดมากที่สุดจํานวนกี่ลูก แลวทําให ด้านหน้า
ภาพทีไ่ ดจากการมองดานหนา ดานขาง และ
ดานบน ยังเปนรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ทีม่ คี วามยาว
ดานละ 3 เซนติเมตร
ค�ำถำมท้ำทำยกำรคิดขัน
้ สูง

ทรงลูกบาศก์ทสี่ ร้างจากทรงลูกบาศก์ทมี่ ขี นาด 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร จ�านวน 27 ลูก


ดังรูป เมื่อมองด้านหน้า (front view) ด้านข้าง (side view) และด้านบน (top view) ของ
ทรงลูกบาศก์นี้ นักเรียนจะได้รูปเรขาคณิตสามมิติเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวด้านละ
3 เซนติเมตร

ทรงลูกบาศก์

ถ้าให้นักเรียนดึงลูกบาศก์ลูกเล็กบางลูกออก นักเรียนคิดว่าจะดึงลูกบาศก์ออกได้
มากที่สุดจ�านวนกี่ลูกแล้วท�าให้ภาพที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน ยังเป็น
รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวด้านละ 3 เซนติเมตร

166

เฉลย H.O.T.S. คําถามท้าทายการคิดขั้นสูง กิจกรรม ทาทาย


สามารถดึงลูกบาศกลูกเล็กออกได 12 ลูก ดังรูป
ใหนักเรียนนําแนวคิดของ “H.O.T.S. คําถามทาทายการคิด
ขัน้ สูง” แกปญ
 หาทรงสามมิตซิ งึ่ มีปริมาตร 36 ลูกบาศกเซนติเมตร
ประกอบจากลูกบาศกขนาด 1 ลูกบาศกเซนติเมตร โดยดานกวาง
มี 3 ลูก ดานยาวมี 4 ลูก และวางซอนกัน 3 ชั้น
นักเรียนคิดวา สามารถนําลูกบาศกลูกเล็กออกบางสวนและ
ทําใหภาพที่ไดจากการมอง 2 ดานใดๆ เหมือนกันไดหรือไม
ทรงลูกบาศก ถาได จงแสดงภาพประกอบ
แลวจะไดภาพที่ไดจากการมอง ดังนี้

ภาพดานหนา ภาพดานขาง ภาพดานบน

T178
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
กิจกรรม คณิตศาสตร์ 1. ครูใหนกั เรียนจัดกลุม กลุม ละ 4 คน คละความ
สามารถทางคณิตศาสตร แลวทํากิจกรรม ดังนี้
ให้นกั เรียนแบ่งกลุม่ กล่มุ ละ 4 - 5 คน แล้วช่วยกันทÓกิจกรรมต่อไปนี้ - ใหนกั เรียนรวมกันศึกษากิจกรรมคณิตศาสตร
ในหนังสือเรียน หนา 167
อุปกรณ์ - ครูแจกลูกบาศกใหกลุมละ 20 ลูก แลวให
แตละกลุมชวยกันเรียงลูกบาศกใหเปนรูป
เรขาคณิตสามมิตติ ามจินตนาการขอ 1. และ
รวมกันตอบคําถามขอ 3. โดยเขียนคําตอบ
ลงในสมุดของตนเอง
- จากนัน้ ใหนกั เรียนแลกเปลีย่ นความรูภ ายใน
ลูกบาศก์ ตารางขนาด 4 × 4 กลุม ของตนเอง และสนทนาซักถามเกีย่ วกับ
วิธีการคิดคําตอบ จนเปนที่เขาใจรวมกัน
1. จงลองจินตนาการรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์ที่มีภาพด้านบน ดังนี้ - ให ตั ว แทนกลุ  ม มานํ า เสนอรู ป เรขาคณิ ต
สามมิติที่สรางและภาพที่ไดจากการมอง
ดานหนา ดานขาง และดานบน พรอมทั้ง
ตารางที่เขียนตัวเลขแสดงจํานวนลูกบาศก
ที่เรียงกันในดานที่มองแตละดาน หนาชั้น
เรียน โดยเพื่อนกลุมที่เหลือคอยตรวจสอบ
ความถูกตอง
2. จงใช้ลูกบาศก์สร้างรูปเรขาคณิตสามมิติตามจินตนาการในข้อที่ 1.
3. จงเขียนภาพแสดงรูปเรขาคณิตสองมิติที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน
พร้อมทั้งเขียนตัวเลขแสดงจ�านวนลูกบาศก์ที่เรียงกันในด้านที่มองก�ากับไว้ในตาราง

ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง ภาพด้านบน

167

เฉลย กิจกรรมคณิตศาสตร์
1. ภาพที่ไดจากการมองดานบน 3. เขียนภาพแสดงรูปเรขาคณิตสองมิติที่ไดจากการมองดานหนา ดานขาง ดานบน
และเขียนตัวเลขแสดงจํานวนลูกบาศกที่เรียงกันในดานที่มองได ดังนี้
1 1
2 1 2 1 3 2
2 2 2 2 4 1 3
2. สามารถใชลูกบาศกสรางรูปเรขาคณิตสามมิติ 1 3 2 3 4 3 2 1 1 1 1
ตามจินตนาการในขอ 1. ได ดังนี้ ภาพดานหนา ภาพดานขาง ภาพดานบน

ดานขาง
แถวที่ 4
แถวที่ 3
แถวที่ 2
แถวที่ 1
T179
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
2. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 4.3 ขอ 1.-2. แบบฝึกทักษะ 4.3
เปนรายบุคคล เมื่อเสร็จแลวครูสุมนักเรียน
ระดับ พื้นฐาน
ออกมาเขียนภาพที่ไดจากการมองดานหนา
ดานขาง และดานบน บนกระดานหนาชัน้ เรียน 1. จงเขียนภาพแสดงรูปเรขาคณิตสองมิติที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน
จํานวนคนละ 1 ภาพ เรียงตามลําดับขอยอย ของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ก�าหนดให้ ดังนี้
โดยครูและนักเรียนรวมกันตรวจสอบความ รูปเรขาคณิตสามมิติ
ภาพสองมิติที่มองเห็น
ถูกตอง ด้านหน้า ด้านข้าง ด้านบน
1)
ด้านหน้า
2)
ด้านหน้า
3)

ด้านหน้า
4)

ด้านหน้า
5)

ด้านหน้า

2. จงเขียนภาพแสดงรูปเรขาคณิตสองมิติที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน


พร้อมทั้งเขียนตัวเลขแสดงจ�านวนลูกบาศก์ที่เรียงกันในด้านที่มองก�ากับไว้ในตาราง
1) 2) 3)

ด้านหน้า ด้านหน้า ด้านหน้า

168

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ภาพดานขางของรูปเรขาคณิตสามมิติที่กําหนดใหตรงกับขอใด
1
1 1
1. 3 1 1 2. 2
1 1 2 5 1 2 2
1 1 2 2 3 1
ดานหนา
1 1
1 1
3. 1 1 4. 2
2 1 2 2
5 3 1 2 2

(เฉลยคําตอบ รูปสามมิติที่กําหนดประกอบดวย 3 แถว


แถวที่ 1 มี 5 ชั้น ชั้นที่ 1 มีลูกบาศก 5 ลูก เรียงกัน ชั้นที่ 2 มีลูกบาศก 2 ลูกเรียงกัน ชั้นที่ 3-ชั้นที่ 5
มีลูกบาศกชั้นละ 1 ลูก แถวที่ 2 มี 3 ชั้น ชั้นที่ 1 มีลูกบาศก 3 ลูกเรียงกัน ชั้นที่ 2 และชั้นที่ 3 มีลูกบาศก
T180 ชั้นละ 1 ลูก แถวที่ 3 มี 1 ชั้น มีลูกบาศก 1 ลูก ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
3. ครูใหนักเรียนจับคูกับเพื่อนดานขางรวมกัน
ระดับ กลาง ทําแบบฝกทักษะ 4.3 ขอ 3.-4. จากนั้นครูสุม
3. จงจับคู่รูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์ในแต่ละข้อต่อไปนี้ กับภาพที่ได้จาก ตัวแทนนักเรียน 3 คู ออกมาสรางรูปเรขาคณิต
การมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน สามมิติที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศกในแตละ
1) ก) ขอยอยของขอ 3. จากภาพที่ไดจากการมอง
ดานหนา ดานขาง และดานบน ทีโ่ จทยกาํ หนด
โดยครูและนักเรียนรวมกันตรวจสอบความ
ด้านหน้า ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง ภาพด้านบน ถูกตอง และครูสุมตัวแทนนักเรียนอีก 3 คู
หาจํ า นวนลู ก บาศก ที่ ถู ก ทาด ว ยสี นํ้ า เงิ น 1
2) ข)
หน า 2 หน า 3 หน า ตามลํ า ดั บ โดยครู
และเพื่อนรวมกันตรวจสอบความถูกตอง
ด้านหน้า ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง ภาพด้านบน
3) ค)

ด้านหน้า ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง ภาพด้านบน

4) จงเขียนภาพแสดงรูปเรขาคณิตสองมิติที่ได้จากการมอง
ด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน พร้อมทั้งเขียนตัวเลข
แสดงจ�านวนลูกบาศก์ที่เรียงกันในด้านที่มองก�ากับไว้
ในตาราง
ระดับ ท้าทาย
ด้านหน้า

4. ทรงลูกบาศก์ที่สร้างจากทรงลูกบาศก์ที่มีขนาด
1 ลูกบาศก์เซนติเมตร จ�านวน 27 ลูก ดังรูป
ถ้าใช้สีน�้าเงินทาทรงลูกบาศก์โดยรอบทุกหน้า
จงหาจ�านวนลูกบาศก์เล็กที่ถูกทาด้วยสีน�้าเงิน
1 หน้า 2 หน้า และ 3 หน้า ตามล�าดับ
ทรงลูกบาศก์

169

พิจารณาภาพตอไปนี้ ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ภาพดานหนา ภาพดานขาง ภาพดานบน
1 1 1
1 1 1 3 1
1 3 1 1 3 1 1
เกิดจากการนําลูกบาศกขนาด 1 หนวยมาประกอบกัน (เฉลยคําตอบ จากการมองภาพดานขางของ
เปนรูปเรขาคณิต 3 มิติ ตามขอใด รูปเรขาคณิตสองมิติจะมี 3 แถว แตละแถวมีจํานวน
ลูกบาศก ดังนี้
1. 2. แถวที่ 1 มีลูกบาศกจํานวน 1 ลูก
แถวที่ 2 มีลูกบาศกซอนกัน 3 ชั้น
ชั้นที่ 1 มีลูกบาศกจํานวน 3 ลูกเรียงกัน
ชั้นที่ 2 มี 1 ลูก
3. 4. ชั้นที่ 3 มี 1 ลูก
แถวที่ 3 มีลูกบาศก 1 ลูก
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)
T181
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
4. ครูใหนกั เรียนวิเคราะหปญ
 หาจากสถานการณ คณิตศาสตร์ในชีวิตจริง
ของ “คณิตศาสตรในชีวติ จริง” ในหนังสือเรียน
หน า 170 จากนั้ น ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น
อภิปรายคําตอบ โดยครูขออาสาสมัครนักเรียน
ที่ มี ค วามสามารถทางการวาดภาพออกมา
วาดภาพจําลองการตัดแตงโมเปนชิ้นๆ ตาม
ขัน้ ตอน ในแตละขัน้ ตอนทีเ่ พือ่ นๆ ในชัน้ เรียน
รวมกันอภิปรายคําตอบ พรอมทั้งเขียนอธิบาย
ในแตละขัน้ ตอนไวจนครบทุกขัน้ ตอน โดยวาด
ลงบนกระดาน หลังจากนัน้ ครูใหนกั เรียนเขียน
แตละขั้นตอนที่ไดรวมกันอภิปรายลงในสมุด
ของตนเอง เมื่อเสร็จแลวสงใหครูตรวจ

วันนี้เป็นวันสอบปลายภาควันสุดท้ายของปีการศึกษา 2559 วายุจึงได้ชวนเพื่อน ๆ ไปเลี้ยง


ฉลองที่บ้านของตนเอง โดยทุกคนจะต้องแบ่งกลุ่มเพื่อท�าหน้าที่ต่าง ๆ ดังนี้
1. ตกแต่งสถานที่
2. จัดเตรียมอาหาร
3. จัดเตรียมของหวาน
4. จัดเตรียมผลไม้
5. จัดเตรียมเครื่องดื่ม
ถ้ากล่มุ ของนักเรียนได้รบั มอบหมายให้ไปจัดเตรียมผลไม้ทมี่ อี ยูม่ ากมายหลายชนิดและหนึง่
ในนั้นคือแตงโม ซึ่งนักเรียนจะต้องตัดแตงโมเป็นชิ้น ๆ ดังรูปข้างบน นักเรียนจะมีขั้นตอนในการ
ตัดแตงโมอย่างไร ให้อธิบายพร้อมทั้งเขียนภาพประกอบในแต่ละขั้นตอน

170

เฉลย คณิตศาสตร์ ในชีวิตจริง


ขั้นที่ 1 แบงแตงโมออกเปน 2 สวน โดยการตัดแตงโมตามแนวขนาน ขั้นที่ 3 แบงแตงโมที่แบงไดในขั้นที่ 2 เปนชิ้น ชิ้นละเทาๆ กัน
กับพื้นราบ ดังรูป โดยการตัดแตงโมตามแนวตั้งฉากกับพื้นราบ ดังรูป
แลวจะไดแตงโมตามที่กิจกรรมตองการ

ขั้นที่ 2 แบงแตงโมที่แบงไดในขั้นที่ 1 ออกเปน 2 สวน โดยการตัดแตงโม


ตามแนวตั้งฉากกับพื้นราบ ดังรูป

T182
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
1. ครูใหนกั เรียนอานและศึกษา “สรุปแนวคิดหลัก”
สรุปแนวคิดหลัก ในหนังสือเรียน หนา 171
2. ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ
หน้าตัดของรูปเรขาคณิตสามมิติ นักเรียนวา
การตัดรูปเรขาคณิตสามมิติตามแนวการตัดต่าง ๆ นั้น นักเรียนจะได้ภาพหน้าตัดเป็นรูป • นักเรียนไดเรียนรูหนาตัดที่เกิดจากการตัด
เรขาคณิตสองมิติ ซึ่งแบ่งหน้าตัดได้ 2 ลักษณะ ดังนี้ 2 แนว ไดแกอะไรบาง
( แนวตอบ เมื่ อ ใช ร ะนาบตั ด รู ป เรขาคณิ ต
1) ภาพหน้าตัดที่ได้จะเป็นรูปเรขาคณิตสองมิติชนิดเดียวกัน
สามมิ ติ ใ นแนวตั้ ง ฉากกั บ พื้ น ราบ และ
แนวขนานกั บ พื้ น ราบ จะได ห น า ตั ด เป น
รูปเรขาคณิตสองมิติที่อาจเหมือนกันหรือ
แตกตางกัน)

ระนาบตัดทรงกลมในแนวตั้งฉากกับพื้นราบ หน้าตัดเป็นวงกลม

ระนาบตัดทรงกลมในแนวขนานกับพื้นราบ หน้าตัดเป็นวงกลม

2) ภาพหน้าตัดที่ได้จะเป็นรูปเรขาคณิตสองมิติต่างชนิดกัน

ระนาบตัดทรงกระบอกในแนวตั้งฉากกับพื้นราบ หน้าตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

ระนาบตัดทรงกระบอกในแนวขนานกับพื้นราบ หน้าตัดเป็นวงกลม

171

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


จากรูปเรขาคณิตสามมิติและภาพจากการมองดานตางๆ ขอใดมองภาพไดถูกตอง

1. 2. 3. 4.
1 2 2
2 3 3 1
2 1 2 2
1 1 1 3 3 1
3 2 1 3 3
ดานบน 1
ดานขาง ดานบน ดานขาง
(เฉลยคําตอบ
1. ไมถูก เพราะรูปเรขาคณิต 1 3. ถูก เพราะ 3 3 1 4. ไมถูก เพราะ 1 1
สามมิติเมื่อมองจากดานขาง 2 1 รูปเรขาคณิต 3 3 1 รูปเรขาคณิต 1 3 3
จะไดภาพ ดังนี้ 3 1 สามมิติเมื่อมองจาก 1 สามมิติเมื่อมองจาก
2. ไมถูก เพราะรูปเรขาคณิต ดานบนจะไดภาพ ดานขางจะไดภาพ
สามมิติเมื่อมองจากดานบน 1 2 2 ดังนี้ ดังนี้
จะไดภาพ ดังนี้ 1 1 1 ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)
T183
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
3. ครูใหนกั เรียนอานและศึกษา “สรุปแนวคิดหลัก”
ในหนังสือเรียน หนา 172
4. ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ
นักเรียนวา การอธิบายภาพสองมิติที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน
• การมองรู ป เรขาคณิ ต สามมิ ติ สามารถ การเขียนภาพเพือ่ แสดงลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิต ิ ทีไ่ ด้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง
กําหนดมุมมองได 3 แบบ คืออะไรบาง และด้านบน โดยการมองแต่ละด้านจะต้องมองในทิศทางหรือแนวตั้งฉากกับด้านนั้น ๆ ซึ่งจะได้
(แนวตอบ การมองดานหนา ดานขาง และ ภาพที่เป็นรูปเรขาคณิตสองมิติ ดังนี้
ดานบน)
• การเขี ย นรู ป เรขาคณิ ต สองมิ ติ เ พื่ อ แสดง
รู ป เรขาคณิ ต สามมิ ติ ที่ ป ระกอบขึ้ น จาก
ลูกบาศก เขียนไดอยางไร
(แนวตอบ เขียนเปนตารางรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ภาพด้านบน
ที่ ป รากฏในด า นที่ ม อง และเขี ย นตั ว เลข
แสดงจํานวนลูกบาศกกํากับไวในตาราง)
5. ครูใหนักเรียนเขียนผังมโนทัศน หนวยการ
เรี ย นรู  ที่ 4 มิ ติ สั ม พั น ธ ข องรู ป เรขาคณิ ต ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง
ลงในกระดาษ A4
รูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์
การเขียนรูปเรขาคณิตสองมิตเิ พือ่ แสดงรูปเรขาคณิตสามมิตทิ ปี่ ระกอบขึน้ จากลูกบาศก์ ซึง่ จะ
เขียนเป็นตารางรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่ปรากฏในด้านที่มอง และเขียนตัวเลขแสดงจ�านวนลูกบาศก์
ก�ากับไว้ในตาราง ดังนี้

ด้านหน้า

1
1 1 1 1 1 2
1 2 3 3 2 1 2 1 1
ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง ภาพด้านบน

172

เกร็ดแนะครู กิจกรรม 21st Century Skills


ครูควรเนนยํ้ากับนักเรียนวา ภาพสองมิติของรูปเรขาคณิตสามมิติจะ ใหนักเรียนจัดกลุม กลุมละ 5 คน สรางรูปเรขาคณิตสามมิติ
เปลี่ยนแปลงไปตามทิศทางการมอง นักเรียนตองมีความรอบคอบในการอาน ที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศกตามจินตนาการ จํานวน 5 รูป ดวย
โจทยวา โจทยกําหนดภาพดานใดให และตองวิเคราะหวาขอกําหนดเพียงพอ โปรแกรม GeoGebra โดยตองเขียนแสดงภาพดานหนา ดานขาง
ที่จะเขียนรูปเรขาคณิตสามมิติหรือไม หรือสามารถเขียนรูปเรขาคณิตสามมิติ และดานบนลงในกระดาษ อีกทั้งใหนักเรียนนําเสนอหนาชั้นเรียน
แตกตางกันไดหลายรูป โดยการหมุนภาพสามมิติตามทิศทางดังกลาว

T184
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
6. ครูและนักเรียนรวมกันวิเคราะหแนวทางการ
แบบฝึ ก ทั ก ษะ
ประจ�าหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แก ป  ญ หาแบบฝ ก ทั ก ษะประจํ า หน ว ยการ
เรียนรูที่ 4
7. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะประจําหนวย
1. จงเขียนภาพหน้าตัดที่เกิดจากการใช้ระนาบตัดทรงสี่หน้า ตามแนวตัดต่อไปนี้ การเรียนรูที่ 4 เปนการบาน
1) ตัดตามแนวขนานกับพื้นราบ
2) ตัดตามแนวตั้งฉากกับพื้นราบ
3) ตัดที่มุมใดมุมหนึ่ง

ทรงสี่หน้า
2. จงเขียนภาพเพื่อแสดงลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ก�าหนดให้แต่ละข้อต่อไปนี้
โดยเขียนภาพที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน
1) 2) 3)

ด้านหน้า ด้านหน้า ด้านหน้า

3. จงเขียนภาพการจัดเรียงลูกบาศก์ที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบนของ


รูปเรขาคณิตสามมิติที่ก�าหนดให้ต่อไปนี้

ด้านหน้า

173

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


จากรูปเรขาคณิตสามมิติ การมองภาพแสดงจํานวนลูกบาศกดานใดถูกตอง

1. 1 2. 1
1 1 2 2 2
2 2 2 1 3 2 2 3
ดานหนา ภาพดานขาง ภาพดานขาง

(เฉลยคําตอบ จากรูปเรขาคณิตสามมิติ เมื่อมองจากดานบน


3. 1 4. 3 2 1
แถวที่ 1 มีลูกบาศกเรียงติดตอกัน 3 ลูก
แถวที่ 2 และแถวที่ 3 มีลูกบาศกเรียงซอนกัน 2 ชั้น ชั้นละ 1 ลูก 1 2 2
แถวที่ 4 ลูกบาศกลูกที่ 1 มี 3 ชั้น ลูกบาศกลูกที่ 2 มี 2 ชั้น 2 2 1 2
ลูกบาศกลูกที่ 3 มีชั้นเดียว ภาพดานหนา 1 1 1
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)
ภาพดานบน

T185
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
8. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําถามในหนังสือ
เรียน หนา 140 ที่ครูไดถามไวในชั่วโมงที่ 1
(แนวตอบ การหอซูชิมีความสัมพันธของรูป 4. จงเขียนภาพหน้าตัดที่เกิดจากการใช้ระนาบตัดรูปเรขาคณิตสามมิติตามแนวการตัดต่อไปนี้
เรขาคณิ ต สองมิ ติ แ ละรู ป เรขาคณิ ต สามมิ ติ 1) ตัดตามแนวขนานกับพื้นราบ
เนื่องจากกอนที่จะหอซูชิเราตองรองซูชิดวย 2) ตัดตามแนวตั้งฉากกับพื้นราบ
สาหร า ยที่ เ ป น รู ป สี่ เ หลี่ ย มผื น ผ า ก อ นที่ จ ะ 3) ตัดท�ามุม 60 � กับพื้นราบ
ทําการหอซูชิใหเปนรูปที่เราตองการเมื่อเรา
ตัดซูชิ อีกทั้งเมื่อเราหอซูชิแลวจะกลายเปน
รูปทรงกระบอก ดังนั้น การหอซูชิจึงมีความ
สั ม พั น ธ ข องรู ป เรขาคณิ ต สองมิ ติ แ ละรู ป 5. จ งเขียนภาพเพื่อแสดงลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ก�าหนดให้ โดยเขียนภาพที่ได้จาก
เรขาคณิตสามมิติ) การมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน

ด้านหน้า

6. จงเขียนภาพแสดงรูปเรขาคณิตสองมิติที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน


พร้อมทัง้ เขียนตัวเลขแสดงจ�านวนลูกบาศก์ที่เรียงกันในด้านที่มองก�ากับไว้ในตาราง

ด้านหน้า

174

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ภาพดานบน ดานหนา และดานขางของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบจากลูกบาศก จะไดรูปเรขาคณิตสามมิติ
ตรงกับขอใด
1. 2.
1
1 1 1
4 1 1
2 1 1 2
1 1 2 1 1 1 1 5 1
ภาพดานบน ภาพดานขาง ภาพดานหนา 3. 4.
(เฉลยคําตอบ ดานบน
แถวที่ 1 มีชั้นเดียว มีลูกบาศกเรียงกัน 2 ลูก
แถวที่ 2 มีลูกบาศก 2 ลูกเรียงซอนกัน
แถวที่ 3 มีลูกบาศก 4 ลูกเรียงซอนกัน
แถวที่ 4 และแถวที่ 5 มีลูกบาศกแถวละ 1 ลูก
T186 ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
1. ครูตรวจแบบฝกทักษะ 4.3
2. ครูตรวจ Exercise 4.3
7. จากรูปพีระมิดฐานสี่เหลี่ยม จงตอบค�าถามต่อไปนี้ 3. ครูตรวจแบบฝกทักษะประจําหนวยการเรียนรู
K ที่ 4
1) รูปสี่เหลี่ยม EFGH เป็นหน้าตัดที่เกิดจาก 4. ครูประเมินการนําเสนอผลงาน
การตัดพีระมิดฐานสีเ่ หลีย่ มในแนวการตัดใด 5. ครูตรวจผังมโนทัศน หนวยการเรียนรูที่ 4
H G มิติสัมพันธของรูปเรขาคณิต
E JJ 2) รปู สีเ่ หลีย่ ม IJGF เป็นหน้าตัดทีเ่ กิดจากการ
F ตัดพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมในแนวการตัดใด 6. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
7. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
I 3) รูปสามเหลี่ยม IJG เป็นรูปสามเหลี่ยม
C 8. ครูสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค
D ชนิดใด

A B

8.

ทรงลูกบาศก์

ท รงลูกบาศก์ที่สร้างจากทรงลูกบาศก์ที่มีขนาด 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร จ�านวน 64 ลูก


มาวางต่อกันดังรูป แล้วใช้สเี หลืองทาทรงลูกบาศก์โดยรอบทุกหน้า จงหาจ�านวนลูกบาศก์เล็ก
ที่ถูกทาด้วยสีเหลือง 1 หน้า 2 หน้า และ 3 หน้า ตามล�าดับ

175

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET แนวทางการวัดและประเมินผล


วาดภาพการจัดเรียงลูกบาศกที่ไดจากการมองภาพที่กําหนดให ครูศึกษาเกณฑการวัดและการประเมินผล เพื่อประเมินผลงาน/ชิ้นงาน
ของนักเรียนรายบุคคลและกลุม จากแบบประเมินของแผนการจัดการเรียนรู
1 1 ในหนวยการเรียนรูที่ 4
1 2 1 2 3 2 1
1 2 2 2 4 3 1 1 2 1 แบบประเมินการนาเสนอผลงาน
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับ


ระดับคะแนน
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับ
ระดับคะแนน

ภาพดานหนา ภาพดานขาง ภาพดานบน


การมี
การทางาน
ระดับคะแนน การแสดง การยอมรับฟัง ส่วนร่วมใน รวม
ลาดับ ลาดับ ชื่อ – สกุล ตามที่ได้รับ ความมีน้าใจ
รายการประเมิน ความคิดเห็น คนอื่น การปรับปรุง 20
ที่ 4 3 2 1 ที่ ของนักเรียน มอบหมาย
ผลงานกลุ่ม คะแนน
1 เนื้อหาละเอียดชัดเจน     4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1
2 ความถูกต้องของเนื้อหา

(แนวตอบ จากภาพที่กําหนดจัดเรียงลูกบาศกได ดังนี้


   
3 ภาษาที่ใช้เข้าใจง่าย    
4 ประโยชน์ที่ได้จากการนาเสนอ    
5 วิธีการนาเสนอผลงาน    

รวม

1
ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
............/................./................

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
เกณฑ์การให้คะแนน
............/................./................

1 2
ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชัดเจน ให้ 4 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องบางส่วน ให้ 3 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็นส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 4 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องมาก ให้ 1 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครัง้ ให้ 2 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน

1 2 2 2
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

)
18 - 20 ดีมาก เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
14 - 17 ดี ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10 - 13 พอใช้ 18 - 20 ดีมาก
ต่ากว่า 10 ปรับปรุง 14 - 17 ดี
10 - 13 พอใช้
ต่ากว่า 10 ปรับปรุง

T187
Chapter Overview

แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 1 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายความสัมพันธ์ Concept - ตรวจใบงานที่ 5.1 - ทักษะการ 1. มีวินัย
แบบรูป พืน้ ฐาน คณิตศาสตร์ ของแบบรูปที่ Based เรื่อง แบบรูปและ หาแบบแผน 2. ใฝ่เรียนรู้
และความสัมพันธ์ ม.1 เล่ม 1 ก�ำหนดให้ได้ (K) Teaching ความสัมพันธ์ของจ�ำนวน 3. มุ่งมั่น
- ใบงานที่ 5.1 เรื่อง 2. อธิบายจ�ำนวนถัดไป - ตรวจแบบฝึกทักษะ 5.1 ในการท�ำงาน
3 แบบรูปและ หรือรูปถัดไปที่เกิดจาก - ประเมินการน�ำเสนอ
ชั่วโมง ความสัมพันธ์ แบบรูปที่มีความ ผลงาน
ของจำ�นวน สัมพันธ์ตามที่ - สังเกตพฤติกรรม
ก�ำหนดให้ได้ (K) การท�ำงานรายบุคคล
3. ใช้ความรู้ ทักษะ - สังเกตพฤติกรรม
และกระบวนการ การท�ำงานกลุ่ม
ทางคณิตศาสตร์ - สังเกตคุณลักษณะ
ในการแก้ปัญหา อันพึงประสงค์
ได้อย่างเหมาะสม (P)
4. รับผิดชอบต่อหน้าที่
ที่ได้รับมอบหมาย (A)

แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. แก้ปัญหาของสมการ Concept - ตรวจใบงานที่ 5.2 - ทักษะ 1. มีวินัย


ค�ำตอบของ พื้นฐาน คณิตศาสตร์ เชิงเส้นตัวแปรเดียวได้ Based เรื่อง สมการที่เป็นจริง การพิสูจน์ 2. ใฝ่เรียนรู้
สมการเชิงเส้น ม.1 เล่ม 1 (K) Teaching หรือสมการที่เป็นเท็จ ความจริง 3. มุ่งมัน่
ตัวแปรเดียว - แบบฝึกหัด 2. ใช้ความรู้ ทักษะ - ตรวจแบบฝึกทักษะ 5.2 ในการท�ำงาน
คณิตศาสตร์ ม.1 และกระบวนการ - ตรวจ Exercise 5.2
2 เล่ม 1 ทางคณิตศาสตร์ - ประเมินการน�ำเสนอ
ชั่วโมง - ใบงานที่ 5.2 เรื่อง ในการแก้ปัญหา ผลงาน
สมการที่เป็นจริง ได้อย่างเหมาะสม (P) - สังเกตพฤติกรรม
หรือสมการที่เป็นเท็จ 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ การท�ำงานรายบุคคล
ที่ได้รับมอบหมาย (A) - สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 3 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายสมบัติของ Concept - ตรวจแบบฝึกทักษะ 5.3 - ทักษะ 1. มีวินัย
สมบัติของ พื้นฐาน คณิตศาสตร์ การเท่ากันได้ (K) Based - สังเกตพฤติกรรม การพิสูจน์ 2. ใฝ่เรียนรู้
การเท่ากัน ม.1 เล่ม 1 2. ใช้ความรู้ ทักษะ Teaching การท�ำงานรายบุคคล ความจริง 3. มุ่งมัน่
และกระบวนการ - สังเกตพฤติกรรม ในการท�ำงาน
1 ทางคณิตศาสตร์ การท�ำงานกลุ่ม
ชั่วโมง ในการแก้ปัญหา - สังเกตคุณลักษณะ
ได้อย่างเหมาะสม (P) อันพึงประสงค์
3. รับผิดชอบต่อหน้าที่
ที่ได้รับมอบหมาย (A)

T188
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 4 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. ค�ำนวณค�ำตอบ Concept - ตรวจใบงานที่ 5.3 - ทักษะการ 1. มีวินัย
การแก้สมการ พื้นฐาน คณิตศาสตร์ ของสมการเชิงเส้น Based เรื่อง การแก้สมการ (1) ประยุกต์ใช้ 2. ใฝ่เรียนรู้
เชิงเส้น ม.1 เล่ม 1 ตัวแปรเดียวได้ (K) Teaching - ตรวจใบงานที่ 5.4 ความรู้ 3. มุ่งมัน่
ตัวแปรเดียว
- ใบงานที่ 5.3 เรื่อง 2. ใช้ความรู้ ทักษะ เรื่อง การแก้สมการ (2) ในการท�ำงาน
การแก้สมการ (1) และกระบวนการ - ตรวจแบบฝึกทักษะ
2 - ใบงานที่ 5.4 เรื่อง ทางคณิตศาสตร์ 5.4 ก-5.4 ค
ชั่วโมง การแก้สมการ (2) ในการแก้ปัญหา - ประเมินการน�ำเสนอ
ได้อย่างเหมาะสม (P) ผลงาน
3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ - สังเกตพฤติกรรม
ที่ได้รับมอบหมาย (A) การท�ำงานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 5 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายการน�ำความรู้ Concept - ตรวจใบงานที่ 5.5 - ทักษะการ 1. มีวินัย
การน�ำความรู้ พื้นฐาน คณิตศาสตร์ เกีย่ วกับสมการเชิง Based เรื่อง การน�ำความรู้ ตีความ 2. ใฝ่เรียนรู้
เกี่ยวกับสมการ ม.1 เล่ม 1 เส้นตัวแปรเดียวไปใช้ Teaching เกี่ยวกับสมการเชิงเส้น - ทักษะ 3. มุ่งมั่น
เชิงเส้น
ตัวแปรเดียวไปใช้ - ใบงานที่ 5.5 เรื่อง ในชีวิตจริงได้ (K) ตัวแปรเดียวไปใช้ กระบวนการ ในการท�ำงาน
ในชีวิตจริง การนำ�ความรู้เกี่ยวกับ 2. ใช้ความรู้ ทักษะ ในชีวิตจริง คิดแก้ปัญหา
สมการเชิงเส้น และกระบวนการ - ตรวจแบบฝึกทักษะ 5.5
2 ตัวแปรเดียวไปใช้ ทางคณิตศาสตร์ - ตรวจแบบฝึกทักษะประจ�ำ
ชั่วโมง ในชีวิตจริง ในการแก้ปัญหา หน่วยการเรียนรู้ที่ 5
ได้อย่างเหมาะสม (P) - ประเมินการน�ำเสนอ
3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ ผลงาน
ที่ได้รับมอบหมาย (A) - ตรวจผังมโนทัศน์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์

T189
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
หน่วยการเรียนรูที่
1. ครูกลาวทักทาย แลวแจงจุดประสงคการเรียนรู
ใหนักเรียนทราบ
2. ครู ก ระตุ  น ความสนใจของนั ก เรี ย น โดยให
นั ก เรี ย นดู ภ าพหน า หน ว ย จากนั้ น ครู ถ าม
5 สมการเชิงเสน
ตัวแปรเดียว
คําถามในหนังสือเรียน หนา 176 แลวให
นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ : ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น เฉลย
คําถามในหนังสือเรียน หนา 176 หลังเรียน
หนวยการเรียนรูที่ 5 เฉลยคําถาม หนา 176

วีณาขับรถบนถนนสายหนึ่งด้วยความเร็ว 80 กิโลเมตร
ต่อชั่วโมง เมื่อเวลา 10.00 น. และอีก 1 ชั่วโมงต่อมา นาวาขับรถ
ตามมาบนถนนสายเดียวกันด้วยความเร็ว 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

ตัวชี้วัด Q. จากสถานการณ์
• เข้าใจและใช้สมบัติของการเท่ากันและสมบัติของจำานวน
เพื่อวิเคราะห์และแก้ปัญหาโดยใช้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ข้างต้น นักเรียนคิดว่า
(ค 1.3 ม.1/1) ÇÕ³ÒáÅйÒÇÒ
สาระการเรียนรูแกนกลาง
• สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ¨Ð¢ÑºÃ¶·Ñ¹¡Ñ¹
• การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เมื่อเวลาเท่าใด
• การนำาความรู้เกี่ยวกับการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ไปใช้ในชีวิตจริง

เฉลย คําถามในหนังสือเรียน หน้า 176


ใหวีณาขับรถไดระยะทาง s กิโลเมตร ในเวลา t ชั่วโมง ดวยความเร็ว 80 กิโลเมตรตอชั่วโมง
จะไดวา วีณาขับรถไดระยะทาง s = 80t กิโลเมตร
และนาวาจะรถขับรถทันวีณาที่ระยะทาง s กิโลเมตรเทากัน แตในเวลาที่ชากวาวีณา 1 ชั่วโมง
ดวยความเร็ว 100 กิโลเมตรตอชั่วโมง จะไดวา นาวาขับรถไดระยะทาง s = 100(t - 1) กิโลเมตร
นั่นคือ นาวาจะขับรถทันวีณา เมื่อขับรถเปนเวลา 80t = 100(t - 1)
80t = 100t - 100
100 = 20t
∴t = 5
จะไดวา นาวาจะขับรถทันวีณา เมื่อขับรถเปนเวลา 5 ชั่วโมง
ดังนั้น นาวาจะขับรถทันวีณา ในเวลา 15 นาฬกา

T190
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
ควรรูก ่อนเรียน 3. ครูกลาวถึงความหมายของความสัมพันธวา
“ความสัมพันธ หมายถึง ความเกี่ยวของกัน”
ความสัมพันธ์ หมายถึง ความเกี่ยวข้อง เช่น นิดและหน่อง สัมพันธ์กันที่เป็นพี่น้องกัน แลวครูยกตัวอยางจํานวนสองจํานวน คือ 8
8 สัมพันธ์กับ 2 ที่ 8 มีค่ามากกว่า 2 กับ 2 และบอกนักเรียนวา “ความสัมพันธ คือ
3 และ 7 สัมพันธ์กันที่เป็นจำานวนเฉพาะเหมือนกัน 8 มากกว า 2” จากนั้ น ให นั ก เรี ย นลองยก
4 และ 6 สัมพันธ์กันที่เป็นจำานวนคู่เหมือนกัน ตัวอยางความสัมพันธของจํานวนทั้งสองนี้
5, 10, 15, ... สัมพันธ์กันที่เป็นจำานวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 5 เท่า ๆ กัน ( แนวตอบ ตั ว อย า งความสั ม พั น ธ ข องสอง
10, 8, 6, ... สัมพันธ์กันที่เป็นจำานวนที่ลดลงทีละ 2 เท่า ๆ กัน จํานวนนี้ เชน 2 หาร 8 ลงตัว, 8 เปนสี่เทา
แบบรูป เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่มีลักษณะสำาคัญบางอย่างร่วมกันอย่าง ของ 2 เปนตน)
มีเงื่อนไข ต้องใช้การสังเกต การวิเคราะห์ เพื่อหาเหตุผลมาสนับสนุนและหาบทสรุปเพื่ออธิบาย 4. ครูกลาวถึงแบบรูปวา “แบบรูปเปนการแสดง
ความสัมพันธ์นั้น ความสัมพันธของจํานวนหรือสิ่งตางๆ ที่มี
ในแบบรูปทางคณิตศาสตร์นกั เรียนมักจะได้เห็นการจัดลำาดับและการทำาซำา้ ๆ อย่างต่อเนือ่ ง ลักษณะสําคัญบางอยางรวมกันอยางมีเงือ่ นไข
เช่น 5, 10, 15, ..., 50 เป็นแบบรูปที่มีลำาดับของจำานวนเพิ่มขึ้นทีละ 5 ซำ้า ๆ กันอย่างต่อเนื่อง และเงื่ อ นไขดั ง กล า วสามารถเป น แนวทาง
จนถึง 50 เป็นต้น ในการหาจํานวนหรือสิ่งถัดไปได” จากนั้น
ครูยกตัวอยางความสัมพันธของแบบรูป เชน
การนับเพิ่ม เป็นการเรียงลำาดับจำานวนจากน้อยไปมาก จำานวนทางขวาจะมากกว่าจำานวน
ทางซ้ายที่อยู่ติดกันตามความสัมพันธ์ที่กำาหนด เช่น การนั บ เพิ่ ม ที ล ะเท า ๆ กั น หรื อ การนั บ ลด
ทีละเทาๆ กัน จากหนังสือเรียน หนา 177
• การเพิ่มขึ้นทีละ 7 5. ครูใหนักเรียนศึกษา “ควรรูกอนเรียน” ใน
7 14 21 28 35 หนังสือเรียน หนา 177 เพื่อทบทวนความรู
+7 +7 +7 +7

การนับลด เป็นการเรียงลำาดับจำานวนจากมากไปน้อย จำานวนทางขวาจะน้อยกว่าจำานวน


ทางซ้ายที่อยู่ติดกันตามความสัมพันธ์ที่กำาหนด เช่น
• การลดลงทีละ 10
80 70 60 50 40
-10 -10 -10 -10

177

กิจกรรม เสริมสรางคุณลักษณะอันพึงประสงค เกร็ดแนะครู


ใหนักเรียนจัดกลุม กลุมละ 4-5 คน คละความสามารถทาง การเรียนการสอนหนวยการเรียนรูนี้ ครูควรใชทักษะการหาแบบแผน
คณิตศาสตร จากนั้นใหศึกษา “ควรรูกอนเรียน” ในหนังสือเรียน ทักษะการพิสูจนความจริง ทักษะการตีความ และทักษะกระบวนการคิดแก
หนา 177 และศึกษาหนวยการเรียนรูท ี่ 5 สมการเชิงเสนตัวแปรเดียว ปญหา โดยใหนักเรียนสํารวจความสัมพันธของแบบรูป การสรางโจทยปญหา
ลวงหนา และครูใหนกั เรียนสรางสถานการณตวั อยางการนําความรู ทําความเขาใจปญหา และรูจ กั วางแผนแกปญ
 หาพรอมทัง้ การตรวจสอบคําตอบ
เรื่องสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวไปใชในชีวิตประจําวัน จํานวน 5 ไดอยางถูกตอง
สถานการณ พรอมทัง้ บอกประโยชนของสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว
กําหนดเวลา 2 สัปดาห

T191
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
การใชความรูเ ดิมฯ (Prior Knowledge)
6. ครูใหนักเรียนดูรูปภาพ หนา 178 และถาม 5.1 แบบรูปและความสัมพันธ
นักเรียนวา
• ดอกไม ทั้ ง สามดอกมี ลั ก ษณะเหมื อ นกั น
หรือแตกตางกันหรือไม อยางไร
(แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบไดหลากหลาย
ตามพื้นฐานความรูเดิม เชน เหมือนกัน
คือ มีกลีบดอก 3 ชั้น และอีกหนึ่งเปนเกสร
แตขนาดของกลีบดอกอาจจะไมเทากัน)
• ดอกไมในลายผาทอมีลักษณะเหมือนกัน
หรือคลายกันหรือไม อยางไร ถ้านักเรียนมองไปรอบ ๆ ตัว จะพบว่ามีแบบรูปในธรรมชาติและแบบรูปที่มนุษย์สร้างขึ้น
มากมาย เช่น แบบรูปของกลีบดอกไม้ แบบรูปของการทอผ้า และแบบรูปของการปูพื้นห้อง
(แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบไดหลากหลาย
ด้วยไม้ปาร์เกต์หรือแผ่นกระเบื้องให้เป็นลวดลายต่าง ๆ เป็นต้น ในที่นี้จะกล่าวถึงแบบรูปทาง
เชน ถาเปนผาทอของจริง จะเหมือนกัน
คณิตศาสตร์ซึ่งเป็นแบบรูปของจำานวน
ทุกอยางทั้งขนาดและลักษณะของดอก แต
ให้นักเรียนพิจารณาแบบรูปของจำานวนที่กำาหนดให้ต่อไปนี้ แล้วหาว่าจำานวนสามจำานวน
จากภาพจะมีลักษณะของดอกเหมือนกัน
ต่อไปควรเป็นจำานวนใด
และขนาดของดอกไมเทากัน) 1) 1, 3, 5, 7, ...
2) 17, 14, 11, 8, ...
ขัน้ สอน 3) 1, 4, 9, 16, ...
รู (Knowing)
แนวคิด การพิจารณาหาจำานวนสามจำานวนต่อไปของแบบรูปของจำานวนแต่ละชุดทีก่ าำ หนด
1. ครูเขียนแบบรูป 1, 3, 5, 7, ... บนกระดาน ให้อาจคิดได้หลากหลายวิธี ขึ้นอยู่กับเหตุผลที่นำามาอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างจำานวนต่าง ๆ ใน
แลวถามคําถามวา แบบรูป
• แบบรูป 1, 3, 5, 7, ... มีความสัมพันธกัน เช่น 1) 1, 3, 5, 7, ...
อยางไร - ถ้าเป็นแบบรูปของจำานวนนับที่มีความสัมพันธ์ โดยเพิ่มขึ้นทีละ 2
(แนวตอบ เพิม่ ขึน้ ทีละ 2 โดยมีจาํ นวนเริม่ ตน จะได้ว่า จำานวนสามจำานวนต่อไป คือ 9, 11, 13
คือ 1 จะไดแบบรูปเปน 1, 3, 5, 7, 9, 11, ... - ถา้ เป็นแบบรูปของจำานวนคีส่ จี่ าำ นวนเรียงกัน แล้วเรียงค่าของจำานวนคีท่ งั้ สีจ่ าำ นวน
หรื อ เป น จํ า นวนคี่ สี่ จํ า นวนแรกเรี ย งกั น จากน้อยไปมาก และมากไปน้อยสลับกัน
แลวเรียงคาของจํานวนคี่ทั้งสี่จํานวนจาก ซึ่งจะได้แบบรูปเป็น 1, 3, 5, 7, 7, 5, 3, 1, 1, 3, 5, 7, ...
นอยไปมาก และจากมากไปนอยสลับกัน จะได้ว่า จำานวนสามจำานวนต่อไปจาก 1, 3, 5, 7 คือ 7, 5, 3
จะไดแบบรูปเปน 1, 3, 5, 7, 7, 5, 3, 1,
1, 3, 5, 7, ...)
178

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET (เฉลยคําตอบ จํานวนแรกของแถวที่ 1 คือ 1


จํานวนแรกของแถวที่ 2 คือ 3 ซึ่งเกิดจากจํานวนแรกของ
แถว 1 1
แถวที่ 1 + 2 = 1 + 2
แถว 2 3 5
จํานวนแรกของแถวที่ 3 คือ 7 ซึ่งเกิดจากจํานวนแรกของ
แถว 3 7 9 11
แถวที่ 2 + 2 + 2 = 3 + 2 + 2
แถว 4 13 15 17
จํานวนแรกของแถวที่ 4 คือ 13 ซึ่งเกิดจากจํานวนแรกของ
... ... ... ... ...
แถวที่ 3 + 2 + 2 + 2 = 7 + 2 + 2 + 2
... ... ... ... ... ...
จะไดความสัมพันธวา จํานวนแรกของแถวที่ n ซึ่งเกิดจาก
จากตัวเลขที่ปรากฏในตารางเรียก 1, 3, 7, 13, ... จํานวนแรกของแถวที่ 1 + 2[1 + 2 + 3 + ... + (n - 1)]
วาเปนจํานวนแรกของแถวที่ 1, 2, 3, 4, ... ตามลําดับ แสดงวา จํานวนแรกของแถวที่ 10
จงหาจํานวนแรกของแถวที่ 10 วาเปนจํานวนใด = 1 + 2(1 + 2 + 3 + ... + 9)
1. 91 2. 93 = 1 + 2(45) = 91
3. 95 4. 97 จะไดวา จํานวนแรกของแถวที่ 10 คือ 91
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 1.)

T192
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
2) 17, 14, 11, 8, ... 2. ครูเขียนแบบรูป 17, 14, 11, 8, ... บนกระดาน
- ถ้าเป็นแบบรูปของจำานวนเต็มที่มีความสัมพันธ์ โดยลดลงทีละ 3 แลวถามคําถาม ดังนี้
จะได้ว่า จำานวนสามจำานวนต่อไป คือ 5, 2, -1 • แบบรูป 17, 14, 11, 8, ... มีความสัมพันธกนั
- ถ้าเป็นแบบรูปของจำานวนชุดนี้สี่จำานวนเรียงกันเป็นชุด ๆ ซึ่งจะได้แบบรูปเป็น อยางไร
17, 14, 11, 8, 17, 14, 11, 8, 17, 14, 11, 8, ... (แนวตอบ ลดลงทีละ 3 โดยมีจํานวนเริ่มตน
จะได้ว่า จำานวนสามจำานวนต่อไปจาก 17, 14, 11, 8 คือ 17, 14, 11 คือ 17 จะไดแบบรูปเปน 17, 14, 11, 8, 5,
3) 1, 4, 9, 16, ... 2, ... หรือเปนจํานวนสีจ่ าํ นวนซํา้ กันเรียงกัน
- ถ้าเป็นแบบรูปของจำานวนนับที่มีความสัมพันธ์ โดยเป็นการยกกำาลังสองของ เปนชุดๆ จะไดแบบรูปเปน 17, 14, 11, 8,
จำานวนนับตั้งแต่ 1 ไปเรื่อย ๆ 17, 14, 11, 8, ...)
จะได้ว่า 1, 4, 9, 16, ... คือ 12, 22, 32, 42, ... 3. ครูเขียนแบบรูป 1, 4, 9, 16, ... บนกระดาน
ดังนั้น จำานวนสามจำานวนต่อไป คือ 52, 62, 72 หรือ 25, 36, 49 แลวถามคําถาม ดังนี้
- ถ้าเป็นแบบรูปของจำานวนนับที่มีความสัมพันธ์ โดยจำานวนตั้งแต่จำานวนที่สี่ • แบบรูป 1, 4, 9, 16, ... มีความสัมพันธกัน
เป็นต้นไปเกิดจากผลบวกของจำานวนนับสามจำานวนทีอ่ ยูก่ อ่ นหน้าแล้วบวกด้วย 2 อยางไร
ซึ่งจะได้แบบรูปเป็น 1, 4, 9, 16, 31, 58, 107, ... (แนวตอบ ยกกําลังสองของจํานวนนับ คือ
ดังนั้น จำานวนสามจำานวนต่อไปจาก 1, 4, 9, 16 คือ 31, 58, 107 12, 22, 32, 42, ... จะไดแบบรูปเปน 1, 4, 9,
เพือ่ ให้เห็นความสัมพันธ์ของแบบรูปของจำานวนทีช่ ดั เจน อาจเขียนแบบรูปทัว่ ไปของความ 16, 25, 36, ... หรือจํานวนที่สี่ เปนตนไป
สัมพันธ์นั้นกำากับไว้ เช่น เกิดจากผลบวกของจํานวนนับสามจํานวนที่
จงหาจำานวนสามจำานวนถัดไปของแบบรูปของจำานวนแต่ละชุดต่อไปนี้ อยูกอนหนา แลวบวกดวย 2 จะไดแบบรูป
1) 2, 4, 6, 8, ..., 2n, ... เมื่อ n เป็นจำานวนนับ เปน 1, 4, 9, 16, 31, 58, 107, ...)
จะได้ว่าจำานวนสามจำานวนถัดไปที่ต่อจาก 8 คือ 10, 12, 14 4. ครูกลาวเพิ่มเติมวา จากแบบรูปขางตนเมื่อ
2) 13 , 16 , 19 , ..., 3n1 , ... เมื่อ n เป็นจำานวนนับ ต อ งการให เ ห็ น ความสั ม พั น ธ ที่ ชั ด เจนของ
จะได้ว่าจำานวนสามจำานวนถัดไปที่ต่อจาก 19 คือ 121 , 151 , 181 แบบรูป จึงควรบอกรูปทั่วไปในแบบรูปนั้นๆ
แบบรูปทีน่ กั เรียนพบในหน่วยการเรียนรูน้ ี้ บางแบบรูปอาจไม่ได้เขียนจำานวนใดจำานวนหนึง่ ดวย เชน
กำากับไว้ ทัง้ นีเ้ พือ่ ฝึกฝนให้นกั เรียนได้คดิ หาเหตุผลทีห่ ลากหลายในการหาความสัมพันธ์ของจำานวน 1) 1, 3, 5, 7, ..., 2n - 1, ... เมื่อ n เปน
ต่าง ๆ ในแบบรูป การนำาเสนอความสัมพันธ์ของจำานวนต่าง ๆ ในแบบรูปจากตัวอย่างต่าง ๆ เป็น จํานวนนับ
การนำาเสนอความสัมพันธ์แบบหนึ่งเท่านั้น นักเรียนอาจพบความสัมพันธ์อื่น ๆ อีก 2) 17, 14, 11, 8, ..., 20 - 3n, ... เมื่อ n
เปนจํานวนนับ
3) 1, 4, 9, 16, ..., n2 , ... เมื่อ n เปน
จํานวนนับ
179

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


สามจํานวนที่ถัดไปของ 14, 16, 18, 20 ตรงกับขอใด ครูควรชี้แนะใหนักเรียนสังเกตจํานวนในแตละขอและแตละบรรทัดวา
1. 21, 22, 23 มีลักษณะอยางไร เชน เพิ่มขึ้นหรือลดลงครั้งละเทากัน หรือเพิ่มขึ้น หรือลดลง
2. 22, 24, 26 ไมเทากัน และใหนักเรียนนําผลสรุปจากการดําเนินการตางๆ ของจํานวนมาใช
3. 23, 26, 28 เชน ผลบวกของจํานวนคูจะเปนจํานวนคู ผลคูณของจํานวนที่มีจํานวนคู
4. 24, 26, 28 จะเปนจํานวนคู ซึ่งตองลองทําประมาณ 3-4 จํานวน เพื่อจะไดมั่นใจวา
(เฉลยคําตอบ พิจารณาความสัมพันธระหวางจํานวนที่กําหนด ความสัมพันธที่สรุปถูกตอง
เปนแบบรูปที่เพิ่มขึ้นทีละ 2
14 +2 16 +2 18 +2 20 +2 22 +2 24 +2 26

ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)

T193
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
5. ครูใหนักเรียนจับคูศึกษาตัวอยางที่ 1 ขอ 1) ตัวอย่างที่ 1
และขอ 2) ในหนังสือเรียน หนา 180 แลว จงหาจำานวนสามจำานวนถัดไปของแต่ละแบบรูปทีส่ อดคล้องกับความสัมพันธ์ทกี่ าำ หนดให้ตอ่ ไปนี้
แลกเปลี่ยนความรูกับคูของตนเอง จากนั้น 1) 3, 6, 9, 12, ... 2) 0.1, 0.01, 0.001, 0.0001, ...
ให นั ก เรี ย นแต ล ะคนทํ า “Thinking Time” 1 2 3 4
3) 2 , 3 , 4 , 5 , ...
แล ว ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น เฉลยคํ า ตอบ
“Thinking Time” วิธีทำา 1) 3, 6, 9, 12, ...
พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างจำานวนต่าง ๆ ดังนี้
จำานวนนับในลำาดับที่ 1 เท่ากับ 3 หรือ 3 × 1
จำานวนนับในลำาดับที่ 2 เท่ากับ 6 หรือ 3 + 3 หรือ 3 × 2
จำานวนนับในลำาดับที่ 3 เท่ากับ 9 หรือ 6 + 3 หรือ 3 × 3
จำานวนนับในลำาดับที่ 4 เท่ากับ 12 หรือ 9 + 3 หรือ 3 × 4
จะได้ว่า 3, 6, 9, 12, ... เป็นแบบรูปของจำานวนนับที่มีความสัมพันธ์โดยเพิ่มขึ้น
ทีละ 3 หรือเป็นพหุคูณของ 3
ดังนั้น จำานวนสามจำานวนถัดไปของแบบรูปนี้ คือ 15, 18, 21
2) 0.1, 0.01, 0.001, 0.0001, ...
พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างจำานวนต่าง ๆ ดังนี้
จำานวนนับในลำาดับที่ 1 เท่ากับ 0.1 เกิดจาก 101 = 1 1
10
จำานวนนับในลำาดับที่ 2 เท่ากับ 0.01 เกิดจาก 100 1 = 12
10
จำานวนนับในลำาดับที่ 3 เท่ากับ 0.001 เกิดจาก 1,000 = 1 3
1
10
จำานวนนับในลำาดับที่ 4 เท่ากับ 0.0001 เกิดจาก 10,0001 = 14
10
จะได้ว่า 0.1, 0.01, 0.001, 0.0001, ... เป็นแบบรูปของจำานวนที่มีความสัมพันธ์
โดยการนำา 1 หารด้วย 10 ยกกำาลังจำานวนที่เป็นลำาดับที่
ดังนั้น จาำ นวนสามจำานวนถัดไปของแบบรูปนี้
คือ 0.00001, 0.000001, 0.0000001
Thinking Time
นักเรียนสามารถหาจำานวนสามจำานวนถัดไปของแบบรูปที่สอดคล้องกับความสัมพันธ์ 0.5, 0.25,
0.125, 0.0625 ได้อย่างไร

180

เฉลย Thinking Time


พิจารณาความสัมพันธระหวางจํานวนตางๆ ดังนี้
5 = (10 5 1 = 5
จํานวนในลําดับที่ 1 เทากับ 0.5 เกิดจาก 10 ) 10
25 = (10 5 2 = 25
จํานวนในลําดับที่ 2 เทากับ 0.25 เกิดจาก 100 ) 100
125 = 5 3 = 125
จํานวนในลําดับที่ 3 เทากับ 0.125 เกิดจาก 1,000 (10 ) 1,000
625 = 5 4 = 625
จํานวนในลําดับที่ 4 เทากับ 0.0625 เกิดจาก 10,000 (10 ) 10,000
จะไดวา 0.5, 0.25, 0.125, 0.0625, … เปนแบบรูปของจํานวนที่มีความสัมพันธ โดยการนํา 5 หารดวย 10 ทั้งหมดยกกําลังจํานวนที่เปนลําดับที่
ดังนั้น จํานวนสามจํานวนถัดไปของแบบรูปนี้ คือ 0.03125, 0.015625 และ 0.0078125

T194
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
3) 1 , 2 , 3 , 4 , ... 6. ครูใหนักเรียนคูเดิมศึกษาตัวอยางที่ 1 ขอ 3)
2 3 4 5
พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างจำานวนต่าง ๆ ดังนี้ ในหนังสือเรียน หนา 181 จากนั้นใหนักเรียน
จำานวนนับในลำาดับที่ 1 เท่ากับ 12 เกิดจาก 1 +1 1 แตละคนทํา “ลองทําดู” แลวครูและนักเรียน
รวมกันเฉลยคําตอบ
จำานวนนับในลำาดับที่ 2 เท่ากับ 23 เกิดจาก 2 +2 1 7. ครูกลาวเพิ่มเติมวา จากตัวอยางที่ 1 นักเรียน
จำานวนนับในลำาดับที่ 3 เท่ากับ 34 เกิดจาก 3 +3 1 สามารถหาจํานวนในลําดับตางๆ ได เมื่อ
เขียนความสัมพันธระหวางลําดับที่กับจํานวน
จำานวนนับในลำาดับที่ 4 เท่ากับ 45 เกิดจาก 4 +4 1
เหลานั้น จากนั้นครูยกตัวอยางแบบรูป 3, 6,
จะได้ว่า 12 , 23 , 34 , 45 , ... เป็นแบบรูปของจำานวนที่มีความสัมพันธ์ 9, 12, ... จากตัวอยางที่ 1 ขอ 1) บนกระดาน
โดยเศษส่วนแต่ละจำานวนมีตัวเศษเป็นจำานวนนับตั้งแต่ 1 ขึ้นไป และตัวส่วน แลวถามคําถาม ดังนี้
เป็นจำานวนนับที่มากกว่าตัวเศษอยู่ 1 • จากแบบรูป มีความสัมพันธแบบใด
ดังนั้น จำานวนสามจำานวนถัดไปของแบบรูปนี้ คือ 56 , 67 , 78 ตอบ (แนวตอบ เพิ่มขึ้นทีละ 3 หรือเปนพหุคูณ
ของ 3)
ลองทําดู • เขียนแบบรูปในรูปทั่วไปไดอยางไร
จงหาจำานวนสามจำานวนถัดไปของแต่ละแบบรูปที่สอดคล้องกับความสัมพันธ์ที่กำาหนดให้ (แนวตอบ 3, 6, 9, 12, ..., 3n, ... เมื่อ n
1) 4, 9, 14, 19, ... 2) 1.2, 1.4, 1.6, 1.8, ... เปนจํานวนนับ)
1 2 3 4
3) 4 , 5 , 6 , 7 , ... • จํานวนที่ 15 คือจํานวนใด
(แนวตอบ 3 × 15 = 45)
จากตัวอย่างที ่ 1 ข้อ 1) นักเรียนสามารถหาจำานวนในลำาดับที ่ 15 ได้ โดยเขียนความสัมพันธ์ • จํานวนที่ 20 คือจํานวนใด
ระหว่างลำาดับที่กับจำานวนเหล่านั้น ดังนี้ (แนวตอบ 3 × 20 = 60)
3, 6, 9, 12, ... เป็นแบบรูปของจำานวนที่มีความสัมพันธ์ โดยเพิ่มขึ้นครั้งละ 3 หรือ จากนั้นครูสรุปใหนักเรียนฟงวา “เมื่อเรารู
เป็นพหุคูณของ 3 สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ของแบบรูปได้ ดังนี้
แบบรู ป ในรู ป ทั่ ว ไปแล ว เราจะสามารถหา
จำานวนในลำาดับที่ 1 เท่ากับ 3 เกิดจาก 3 × 1
จํานวนในลําดับที่ตางๆ ได”
จำานวนในลำาดับที่ 2 เท่ากับ 6 เกิดจาก 3 × 2
จำานวนในลำาดับที่ 3 เท่ากับ 9 เกิดจาก 3 × 3
จำานวนในลำาดับที่ 4 เท่ากับ 12 เกิดจาก 3 × 4
จะเห็
1 นว่า เมื่อทราบลำาดับที่ใด ๆ สามารถบอกจำานวนในลำาดับที่นั้น ๆ ได้ ถ้ากำาหนดให้ n
เป็นตัวแปรแทนจำานวนนับใด ๆ ซึ่งแสดงลำาดับที่นั้น
นัน่ คือ แบบรูปของจำานวน 3, 6, 9, 12, ... สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ระหว่างลำาดับที่
กับจำานวนในลำาดับที่นั้น ๆ ได้เป็น 3n จะเรียก 3n ว่าเป็นความสัมพันธ์ระหว่างลำาดับที่กับจำานวน
ในลำาดับที่ n ดังนั้น จำานวนในลำาดับที่ 15 เท่ากับ 3 × 15 = 45 181

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู


, , , 69, 75, 81 จํานวนที่หายไปคือจํานวนในขอใด 1 ตัวแปร (Variable) เปนสัญลักษณที่แทนจํานวนใดๆ ที่กําหนดในโจทย
1. 49, 55, 61 2. 50, 56, 62 เชน x แทนจํานวนนับใดๆ y แทนจํานวนเต็มใดๆ เปนตน ซึ่งโดยทั่วไปนิยม
3. 51, 57, 63 4. 54, 59, 64 ใชตัวอักษรภาษาอังกฤษ เชน x, y, z แตในบางครั้งอาจจะใชตัวอักษรภาษา
(เฉลยคําตอบ นํา 75 - 69 จะเทากับ 6 อังกฤษตัวอื่นๆ ได
81 - 75 จะเทากับ 6
นั่นคือ จํานวนแตละจํานวนจะหางกัน 6
69 - 6 = 63
63 - 6 = 57
57 - 6 = 51
จะได 51, 57, 63
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T195
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
1. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 2 ในหนังสือ ตัวอย่างที่ 2
เรียน หนา 182-183 แลวครูถามคําถาม ดังนี้ จงหาจำานวนในลำาดับที่ 10 และเขียนความสัมพันธ์ระหว่างลำาดับที่กับจำานวนในลำาดับที่ n
• แบบรูป 4, 8, 12, 16, ... มีความสัมพันธกัน ของแบบรูปที่กำาหนดให้ต่อไปนี้
อยางไร 1) 4, 8, 12, 16, ... 2) 13 , 24 , 35 , 46 , ...
(แนวตอบ เพิ่มขึ้นทีละ 4 หรือเปนพหุคูณ วิธีทำา 1) 4, 8, 12, 16, ...
ของ 4) พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างจำานวนต่าง ๆ ดังนี้
• แบบรูป 4, 8, 12, 16, ... เขียนแบบรูปใน จำานวนนับในลำาดับที่ 1 เท่ากับ 4 เกิดจาก 4 × 1
รูปทั่วไปไดอยางไร จำานวนนับในลำาดับที่ 2 เท่ากับ 8 เกิดจาก 4 × 2
(แนวตอบ 4n เมื่อ n เปนจํานวนนับ) จำานวนนับในลำาดับที่ 3 เท่ากับ 12 เกิดจาก 4 × 3
• แบบรูป 13, 24, 35, 46, ... มีความสัมพันธกัน จำานวนนับในลำาดับที่ 4 เท่ากับ 16 เกิดจาก 4 × 4
อยางไร จะได้ว่า 4, 8, 12, 16, ... เป็นแบบรูปของจำานวนนับที่มีความสัมพันธ์โดยเพิ่มขึ้น
1
(แนวตอบ ตัวเศษเปนจํานวนนับตั้งแต 1 ทีละ 4 หรือเป็นพหุคูณของ 4
ขึ้นไป และตัวสวนเปนจํานวนนับที่มากกวา จะได้ว่า จำานวนในลำาดับที่ 10 เท่ากับ 4 × 10 = 40
ตัวเศษอยู 2) และความสัมพันธ์ระหว่างลำาดับที่กับจำานวนในลำาดับที่ n
เท่ากับ 4 × n = 4n
• แบบรูป 13 , 24 , 35 , 46 , ... เขียนแบบรูปใน ดังนั้น จำานวนในลำาดับที่ 10 เท่ากับ 40 และความสัมพันธ์ระหว่างลำาดับทีก่ บั จำานวน
รูปทั่วไปไดอยางไร ในลำาดับที่ n เท่ากับ 4n
(แนวตอบ 2 +n n เมื่อ n เปนจํานวนนับ)
2) 13 , 24 , 35 , 46 , ...
พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างจำานวนต่าง ๆ ดังนี้
จำานวนนับในลำาดับที่ 1 เท่ากับ 13 เกิดจาก 2 +1 1
จำานวนนับในลำาดับที่ 2 เท่ากับ 24 เกิดจาก 2 +2 2
จำานวนนับในลำาดับที่ 3 เท่ากับ 35 เกิดจาก 2 +3 3
จำานวนนับในลำาดับที่ 4 เท่ากับ 46 เกิดจาก 2 +4 4
จะได้ว่า 13 , 24 , 35 , 46 , ... เป็นแบบรูปของจำานวนที่มีความสัมพันธ์ โดยในแต่ละ
เศษส่วน ตัวเศษเป็นจำานวนนับตั้งแต่ 1 ขึ้นไป และตัวส่วนเป็นจำานวนนับที่มากกว่า
ตัวเศษอยู่ 2

182

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูเนนยํ้าความรูเกี่ยวกับพหุคูณ โดยใหนักเรียนยกตัวอยางพหุคูณของ ลําดับที่ 4 และ 8 ของความสัมพันธที่ 4 +n n คือขอใด
จํ า นวนนั บ และให นั ก เรี ย นร ว มกั น ตรวจสอบความถู ก ต อ งของพหุ คู ณ ของ
1. 13 และ 32 2. 12 และ 23
จํานวนนับตางๆ
3. 32 และ 13 4. 23 และ 12

นักเรียนควรรู (เฉลยคําตอบ ความสัมพันธ 4 +n n

1 พหุคูณ (Multiple) เปนจํานวนนับที่มีจํานวนนับใดๆ ที่ไมใชศูนย เปน ลําดัับที่ 4 = 4 +4 4 ลําดัับที่ 8 = 4 +8 8


ตัวคูณรวม เชน 8, 16, 24, 32, 40, … เปนพหุคูณของ 8 = 48 = 128

= 12 = 23
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)

T196
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
จำานวนในลำาดับที่ 10 เท่ากับ 10 2. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 3 ในหนังสือ
2 + 10
= 10 เรียน หนา 183
12 3. ครูใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” ในหนังสือเรียน
n
และความสัมพันธ์ระหว่างลำาดับที่กับจำานวนในลำาดับที่ n เท่ากับ 2 + n
หนา 183 และทําแบบฝกทักษะ 5.1 ขอ 1.
ดังนั้น จำานวนในลำาดับที่ 10 เท่ากับ 10
12 และความสัมพันธ์ระหว่างลำาดับที่ 4. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น เฉลยคํ า ตอบ “ลอง
กับจำานวนในลำาดับที่ n เท่ากับ 2 +n n ตอบ ทําดู” และแบบฝกทักษะ 5.1 ขอ 1.

ตัวอย่างที่ 3

จากแบบรูปที่กำาหนด จงหาจำานวนในลำาดับที่ 9 และเขียนความสัมพันธ์ระหว่างลำาดับที่


กับจำานวนในลำาดับที่ n
(1 × 4) + 1, (2 × 4) + 2, (3 × 4) + 3, (4 × 4) + 4, ...
วิธีทำา พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างจำานวนต่างๆ ดังนี้
จำานวนในลำาดับที่ 1 เท่ากับ (1 × 4) + 1
จำานวนในลำาดับที่ 2 เท่ากับ (2 × 4) + 2
จำานวนในลำาดับที่ 3 เท่ากับ (3 × 4) + 3
จำานวนในลำาดับที่ 4 เท่ากับ (4 × 4) + 4
จะได้ว่า (1 × 4) + 1, (2 × 4) + 2, (3 × 4) + 3, (4 × 4) + 4, ...
เป็นแบบรูปของจำานวนที่มีความสัมพันธ์ โดยจำานวนในวงเล็บเป็นพหุคูณของ 4
และจำานวนที่นำามาบวกเป็นจำานวนนับตั้งแต่ 1 ขึ้นไป
จะได้ว่า จำานวนในลำาดับที่ 9 เท่ากับ (9 × 4) + 9
จำานวนในลำาดับที่ n เท่ากับ (n × 4) + n = 4n + n
ดังนั้น จำานวนในลำาดับที่ 9 เท่ากับ (9 × 4) + 9 และความสัมพันธ์ระหว่างลำาดับที่
กับจำานวนในลำาดับที่ n เท่ากับ 4n + n ตอบ
ลองทําดู
จากแบบรูปทีก่ าำ หนด จงหาจำานวนในลำาดับที่ 10 และเขียนแสดงความสัมพันธ์ระหว่างลำาดับที่
กับจำานวนในลำาดับที่ n
1) 7, 14, 21, 28, ...
2) 15 , 28 , 113 , 144 , ...
3) (2 × 1) + 13 , (2 × 2) + 23 , (2 × 3) + 33 , (2 × 4) + 43 , ...
183

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


ลําดับที่ 6 และ 12 ของความสัมพันธที่ 7n คือขอใด ครูนาํ ตัวอยางที่ 3 เขียนในรูปตารางเพือ่ ใหนกั เรียนสังเกตความสัมพันธของ
1. 44 และ 86 ลําดับที่กับจํานวน ดังนี้
2. 84 และ 42 พจนที่ 1 2 3 4 5 ...
3. 86 และ 44
จํานวน (1 × 4) + 1 (2 × 4) + 2 (3 × 4) + 3 (4 × 4) + 4 (5 × 4) + 5
4. 42 และ 84
(เฉลยคําตอบ ลําดับที่ 6 เทากับ 7 × 6 = 42 จากนั้นครูเพิ่มเติมความรูแกนักเรียนวา “ความสัมพันธระหวางลําดับที่
ลําดับที่ 12 เทากับ 7 × 12 = 84 กับจํานวนในลําดับที่” เรียกวา รูปทั่วไปของแบบรูป หรือเรียกวา พจนที่ n
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)

T197
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
1. ครู ก ล า วทบทวนแบบรู ป และความสั ม พั น ธ ตัวอย่างที่ 4
ของจํานวน และกลาวถึงแบบรูปในรูปทัว่ ไปวา จงเขียนรูปถัดไปอีก 3 รูป ของแบบรูปต่อไปนี้
“เมือ่ เราทราบแบบรูปในรูปทัว่ ไป ก็จะสามารถ
หาจํานวนในลําดับที่ตางๆ ได”
2. ครู ว าดรู ป ไม ขี ด ไฟเรี ย งเป น แบบรู ป ตาม
ตัวอยางที่ 4 ในหนังสือเรียน หนา 184 แลว
รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3
ถามคําถาม ดังนี้
• จากแบบรูป มีความสัมพันธระหวางลําดับที่ วิธีทำา พิจารณาแบบรูปที่กำาหนดให้จะพบว่า
ของรูปกับจํานวนรูปสามเหลี่ยมอยางไร รูปที่ 1 มีจำานวนของรูปสามเหลี่ยม 1 รูป
(แนวตอบ รูปที่ 1 มีรูปสามเหลี่ยม 1 รูป รูปที่ 2 มีจำานวนของรูปสามเหลี่ยม 2 รูป
รูปที่ 2 มี รู ป สามเหลี่ ย ม 2 รู ป
รูปที่ 3 มีจำานวนของรูปสามเหลี่ยม 3 รูป
จะเห็นว่า เป็นแบบรูปที่เขียนแสดงเป็นแบบรูปของจำานวนได้
คือ รูปสามเหลี่ยมแบบหงายและควํ่าวาง
ดังนั้น รูปถัดไปอีก 3 รูป คือ รูปที่ 4 รูปที่ 5 และรูปที่ 6 จะมีจำานวนของรูปสามเหลี่ยม
ติดกัน โดยมีดานของรูปสามเหลี่ยมรวมกัน
4 รูป 5 รูป และ 6 รูป ตามลำาดับ ซึ่งเขียนรูปถัดไปอีกสามรูปได้ดังนี้
1 ดาน
รูปที่ 3 มี รู ป สามเหลี่ ย ม 3 รู ป
คือ รูปสามเหลี่ยมแบบหงายและควํ่าวาง
ติดกันสลับกันไป โดยดานของรูปสามเหลีย่ ม รูปที่ 4 รูปที่ 5
ที่อยูติดกันมีดานรวมกัน 1 ดาน)
• จากความสัมพันธที่นักเรียนบอก รูปที่ 4
รูปที่ 5 และรูปที่ 6 คือรูปใด
(แนวตอบ ใหครูวาดรูปที่ 4 รูปที่ 5 และ รูปที่ 6 ตอบ
รูปที่ 6 จากในหนังสือเรียน หนา 184)
จากตัวอย่างที่ 4 พิจารณาแบบรูปของจำานวนของรูปสามเหลี่ยม

จะได้แบบรูป คือ 1, 2, 3, ... และเขียนแสดงความสัมพันธ์ระหว่างลำาดับที่ของรูปกับ


จำานวนของรูปสามเหลี่ยม ดังตารางต่อไปนี้

184

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูควรใหนักเรียนรวมกันแสดงแนวคิด มุมมอง หรือขอสังเกตเกี่ยวกับการ กําหนดแบบรูปของจํานวน ดังนี้
เขียนรูปถัดไปในแบบรูปที่กําหนด เชน 1, 1, 2, 1, 2, 3, 1, 2, 3, 4, ...
1. ดูตารางกานไมขีดและจํานวนกานไมขีดที่เพิ่มขึ้นในแตละรูป จากแบบรูปขางตน ถาเขียนตอไปเรื่อยๆ ถึงพจนที่ 19 จะตรง
2. นับจํานวนรูปสามเหลี่ยมทั้งหมดในแตละรูปและการวางกานไมขีด กับจํานวนในขอใด
1. 1 2. 2
3. 3 4. 4
(เฉลยคําตอบ จากแบบรูปของจํานวน 1, 1, 2, 1, 2, 3,
1, 2, 3, 4, 1, 2, 3, 4, 5, 1, 2, 3, 4 , 5, 6
จะไดวาพจนที่ 19 จะตรงกับ 4
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)

T198
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)

ลำาดับที่ของรูป 1 2 3 4 5 ... n 3. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น สรุ ป ความสั ม พั น ธ


ระหว า งลํ า ดั บ ที่ ข องรู ป และจํ า นวนของรู ป
จำานวนของรูปสามเหลี่ยม 1 2 3 4 5 ... n สามเหลี่ยม (ดังตารางในหนังสือเรียน หนา
จากตารางจะพบว่า จำานวนของรูปสามเหลี่ยมเป็นจำานวนนับ 1, 2, 3, 4, ... ซึ่งจำานวน 185) แล ว ครู อ ธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม ว า “จํ า นวน
ของรูปสามเหลี่ยมเท่ากับจำานวนที่เป็นลำาดับที่ของรูป หรือกล่าวได้ว่าจำานวนของรูปสามเหลี่ยมมี รูปสามเหลี่ยมเทากับ n เราจะเรียก n วา
ความสัมพันธ์กับลำาดับที่ของรูป ในกรณีท่ียังไม่ได้กำาหนดลำาดับที่ของรูปจะสามารถบอกลำาดับที่ ตัวแปร”
ของรูปในรูปทัว่ ไปได้โดยนิยมใช้ตวั อักษรภาษาอังกฤษเช่น n แทนลำาดับที่ของรูปนั้น
จากตัวอย่างนี้จะเขียนความสัมพันธ์ระหว่างลำาดับที่ของรูปกับจำานวนของรูปสามเหลี่ยม เข้าใจ (Understanding)
ได้ว่า จำานวนของรูปสามเหลี่ยม เท่ากับ n เรียก n ว่า ตัวแปร ความสัมพันธ์ที่มีตัวแปร n ทำาให้ 1. ครูใหนักเรียนแตละคนทํา “Thinking Time”
สามารถบอกจำานวนของรูปสามเหลี่ยมเมื่อทราบลำาดับที่ของรูปหรือค่าของ n ได้ เช่น ลำาดับที่
ในหนังสือเรียน หนา 185 หลังจากนั้นครูและ
ของรูปที่ 100 หรือ n = 100 จะมีรูปสามเหลี่ยม 100 รูป เป็นต้น
นักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ “Thinking Time”
Thinking Time
ถ้านับจำานวนก้านไม้ขดี ของแต่ละรูปในแบบรูป แล้วพิจารณาว่าจำานวนก้านไม้ขดี ทีน่ บั ได้เป็นแบบรูป
หรือไม่
ถ้าให้ n แทนลำาดับที่ของรูป นักเรียนสามารถบอกจำานวนของก้านไม้ขีดเมื่อทราบลำาดับที่ของรูปได้
หรือไม่
ตัวอย่างที่ 5

จงเขียนรูปถัดไปอีก 3 รูป ของแบบรูปต่อไปนี้

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3


วิธีทำา พิจารณาแบบรูปที่กำาหนดให้ จะพบว่า
รูปที่ 1 มีจำานวนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสในแนวตั้งสามรูป
รูปที่ 2 มีจำานวนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสในแนวตั้ง 3 รูป และมีรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
ด้านซ้ายและด้านขวาด้านละ 1 รูป
รูปที่ 3 มีจำานวนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสในแนวตั้ง 3 รูป และมีรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
ด้านซ้ายและด้านขวาด้านละ 2 รูป
จะเห็นว่า จำานวนของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่เพิ่มขึ้นด้านซ้ายและด้านขวาจะน้อยกว่า
ลำาดับที่ของรูปอยู ่ 1
185

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เฉลย Thinking Time

10, 100, 1000, ... เปนแบบรูปที่มีความสัมพันธตรงกับขอใด ถานับจํานวนกานไมขีดในแตละแบบรูป สามารถพิจารณากานไมขีดเปน


แบบรูปได ดังนี้
1. 10n 2. 10n2
รูปที่ 1 มีกานไมขีด จํานวน 3 กาน
3. 1 n 4. 10n รูปที่ 2 มีกานไมขีด จํานวน 5 กาน
10
(เฉลยคําตอบ 10, 100, 1000, ... รูปที่ 3 มีกานไมขีด จํานวน 7 กาน
ลําดับที่ 1 101 = 10 รูปที่ 4 มีกานไมขีด จํานวน 9 กาน
ลําดับที่ 2 102 = 100 รูปที่ 5 มีกานไมขีด จํานวน 11 กาน
ลําดับที่ 3 103 = 1000 รูปที่ 6 มีกานไมขีด จํานวน 13 กาน
ลําดับที่ n ได 10 n ⋮ ⋮
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.) รูปที่ n มีกานไมขีด จํานวน 2n + 1 กาน
จะเห็นวา จํานวนกานไมขีดในแตละแบบรูป สามารถพิจารณากานไมขีด
เปนแบบรูปได
ดังนั้น จํานวนกานไมขีดในรูปที่ n จะมีกานไมขีดจํานวน 2n + 1 กาน

T199
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
2. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 5 ในหนังสือ ดังนั้น รูปถัดไปอีก 3 รูป คือ
เรียน หนา 185-186 แลวครูถามคําถามวา รูปที่ 4 มีจำานวนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสในแนวตั้ง 3 รูป และมีรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
• จากแบบรูป มีความสัมพันธระหวางลําดับที่ ด้านซ้ายและด้านขวาด้านละ 3 รูป
ของรูปกับจํานวนรูปสี่เหลี่ยมอยางไร รูปที่ 5 มีจำานวนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสในแนวตั้ง 3 รูป และมีรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
( แนวตอบ รู ป ที่ 1 มี รู ป สี่ เ หลี่ ย ม 3 รู ป , ด้านซ้ายและด้านขวาด้านละ 4 รูป
รูปที่ 2 มีรูปสี่เหลี่ยม 5 รูป, รูปที่ 3 มี รูปที่ 6 มีจำานวนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสในแนวตั้ง 3 รูป และมีรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
รูปสี่เหลี่ยม 7 รูป, รูปที่ 4 มีรูปสี่เหลี่ยม ด้านซ้ายและด้านขวาด้านละ 5 รูป
9 รูป, รูปที่ 5 มีรูปสี่เหลี่ยม 11 รูป และ ซึ่งเขียนรูปถัดไปอีกสามรูป ได้ดังนี้
รูปที่ 6 มีรูปสี่เหลี่ยม 13 รูป)
3. ครูใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” ในหนังสือเรียน
หนา 186 จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันเฉลย
คําตอบ
รูปที่ 4

รูปที่ 5

รูปที่ 6 ตอบ
ลองทําดู
จงเขียนรูปถัดไปอีก 3 รูป ของแบบรูปต่อไปนี้

รูปที่ 1
รูปที่ 2
รูปที่ 3

186

กิจกรรม ทาทาย
ใหนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนตอไปนี้

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3

1. พิจารณาความสัมพันธของการจัดเรียงรูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูนจากแบบรูปในรูปที่ 1 รูปที่ 2 และรูปที่ 3


2. สรางรูปที่ 4 และรูปที่ 5 ตามความสัมพันธของแบบรูปในขอ 1.
3. เขียนแบบรูปของจํานวนรูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูนทั้งหมดในรูปที่ 1 ถึงรูปที่ 6
4. เขียนความสัมพันธของแบบรูปของจํานวนรูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน
5. แสดงวิธีหาจํานวนรูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูนในรูปที่ 15
6. ถามีจํานวนรูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูนทั้งหมด 265 รูป จงแสดงวิธีการหาลําดับที่ของรูป
T200
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
กิจกรรม คณิตศาสตร์ 4. ใหนักเรียนทํากิจกรรมคณิตศาสตร ขอ 1. ใน
หนังสือเรียน หนา 187 แลวใหนักเรียนจับคู
ให้นกั เรียนจับคูก่ บั เพือ่ นแล้วช่วยกันทÓกิจกรรมต่อไปนี้ ศึกษากิจกรรมคณิตศาสตร ขอ 2. จากนั้น
1. จากแบบรูปในตัวอย่างที่ 5 จงพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างลำาดับที่ของรูปกับจำานวนของ รวมกันตอบคําถามขอ 1)-5) โดยเขียนคําตอบ
รูปสี่เหลี่ยมที่กำาหนดให้ในตาราง แล้วตอบคำาถามต่อไปนี้ ลงในสมุดของตนเอง
5. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบขอ 1)-5)
ลำาดับที่ของรูป 1 2 3 4 5 ... n ในกิจกรรมคณิตศาสตร ขอ 2.
จำานวนของ หรื3อ 5
หรื อ
7
หรื อ
9
หรื อ
11
หรื อ ...
รูปสี่เหลี่ยม 2 (1) + 1 2 (2) + 1 2(3) + 1 2(4 ) + 1 2(5) + 1

1) จงเขียนความสัมพันธ์ระหว่างลำาดับที่ของรูปกับจำานวนของรูปสี่เหลี่ยมในลำาดับที่ n
2) จำานวนของรูปสี่เหลี่ยมของรูปลำาดับที่ 8 เท่ากับเท่าใด
3) จำานวนของรูปสี่เหลี่ยมของรูปลำาดับที่ 25 เท่ากับเท่าใด
4) จำานวนของรูปสี่เหลี่ยมของรูปลำาดับที่ 100 เท่ากับเท่าใด
5) ลำาดับที่เท่าใดที่มีจำานวนของรูปสี่เหลี่ยม 141 รูป
2. จากรูป จงพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างลำาดับที่ของรูปกับความยาวรอบรูปตามแบบรูป
ที่กำาหนดให้ แล้วตอบคำาถามต่อไปนี้

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

ลำาดับที่ของรูป 1 2 3 4 ... n
ความยาวรอบรูป (หน่วย) 4 8 12 16 ...

1) จงเขียนความสัมพันธ์ระหว่างลำาดับที่ของรูปกับความยาวรอบรูปในลำาดับที่ n
2) ความยาวรอบรูปของรูปลำาดับที่ 10 เท่ากับเท่าใด
3) ความยาวรอบรูปของรูปลำาดับที่ 50 เท่ากับเท่าใด
4) ลำาดับของรูปที่เท่าใดที่มีความยาวรอบรูปเท่ากับ 176 หน่วย
5) ลำาดับของรูปที่เท่าใดที่มีความยาวรอบรูปเท่ากับ 480 หน่วย
187

เฉลย กิจกรรมคณิตศาสตร์
ขอ 1. สามารถตอบคําถามได ดังนี้ ขอ 2. สามารถตอบคําถามได ดังนี้
1) ความสัมพันธระหวางลําดับที่ของรูปกับจํานวนของรูปสี่เหลี่ยม 1) ความสัมพันธระหวางลําดับที่ของรูปกับความยาวรอบรูปในลําดับที่ n
ในลําดับที่ n คือ 2n + 1 คือ 4n
2) จํานวนของรูปสี่เหลี่ยมของรูปลําดับที่ 8 คือ 2(8) + 1 = 17 2) ความยาวรอบรูปของรูปลําดับที่ 10 คือ 4(10) = 40
3) จํานวนของรูปสี่เหลี่ยมของรูปลําดับที่ 25 คือ 2(25) + 1 = 51 3) ความยาวรอบรูปของรูปลําดับที่ 50 คือ 4(50) = 200
4) จํานวนของรูปสี่เหลี่ยมของรูปลําดับที่ 100 คือ 2(100) + 1 = 201 4) ลําดับของรูปที่เทาใดที่มีความยาวรอบรูปเทากับ 176 หนวย คือ 4n = 176
5) ลําดับที่เทาใดที่มีจํานวนของรูปสี่เหลี่ยม 141 รูป คือ 2n + 1 = 141 พิจารณา 4n = 176
พิจารณา 2n + 1 = 141 ∴ n = 44
∴ n = 70 ดังนั้น ลําดับของรูปที่ 44 จะมีความยาวรอบรูปเทากับ 176 หนวย
ดังนั้น ลําดับที่ที่มีจํานวนของรูปสี่เหลี่ยม 141 รูป คือ ลําดับที่ 70 5) ลําดับของรูปที่เทาใดที่มีความยาวรอบรูปเทากับ 480 หนวย คือ 4n = 480
พิจารณา 4n = 480
∴ n = 120
ดังนั้น ลําดับของรูปที่ 120 จะมีความยาวรอบรูปเทากับ 480 หนวย

T201
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
6. ครูกลาววา “จากกิจกรรมคณิตศาสตร ขอ 1. จากกิจกรรมคณิ ตศาสตร์ขอ้ 1. นักเรียนจะเห็นว่า ความสัมพันธ์ระหว่างล งลำาดับทีข่ องรูปกับ
1
นักเรียนจะเห็นวา ความสัมพันธระหวางลําดับ จจำานวนของรูปสี่เหลี่ยม ซึ่งเขียนอยู่ในรูปตัวแปร n คือ 2n + 1 สามารถหาจำานวนของรูปสี่เหลี่ยม
ที่ของรูปกับจํานวนของรูปสี่เหลี่ยม ซึ่งเขียน ในลำาดับที่นั้น ๆ ได้ โดยแทนค่าตัวแปร n ด้วยจำานวนที่แสดงลำาดับที่ ในทางกลับกัน ถ้าต้องการ
ในรูปตัวแปร n คือ 2n + 1 เราสามารถหา ทราบว่ารูปในลำาดับที่เท่าใดจะมีจำานวนของรูปสี่เหลี่ยมเท่ากับ 327 รูป นักเรียนจะหาคำาตอบนี้
จํานวนของรูปสี่เหลี่ยมในลําดับนั้นๆ ได โดย ได้หรือไม่ และหาได้อย่างไร
แทนคาตัวแปร n ดวยจํานวนที่แสดงลําดับที่” ก่อนทีน่ กั เรียนจะได้รวู้ ธิ หี าคำาตอบนี้ ต้องมาทำาความรูจ้ กั เรือ่ งสมการโดยศึกษาความหมาย
จากนั้นครูถามนักเรียน ดังนี้ ของคำาศัพท์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องสมการ ดังนี้
• ถ า ต อ งการทราบว า รู ป ในลํ า ดั บ ที่ เ ท า ไร 1. สมการ 2. สมการที่เป็นจริง
จะมีจํานวนของรูปสี่เหลี่ยมเทากับ 327 รูป 3. สมการที่เป็นเท็จ 4. สมการที่มีตัวไม่ทราบค่า
นักเรียนจะหาคําตอบนี้ไดหรือไม และหา สมการเป็นประโยคคณิตศาสตร์ที่แสดงการเท่ากันของจำานวน โดยใช้สัญลักษณ์ “ = ” บอก
ไดอยางไร การเท่ากัน
(แนวตอบ ได และหาไดจาก 2n + 1 = 327) ตัวอย่างของสมการ เช่น 2 + 3 = 5
7. ครูกลาวถึงคําศัพทตางๆ ที่เกี่ยวของกับเรื่อง 8 + 15 = 23
สมการ ดังนี้ 20 - 4 = 16
- สมการ เป น ประโยคสั ญ ลั ก ษณ ท าง สมการที่ยกตัวอย่างนี้เป็นสมการที่ไม่มีตัวไม่ทราบค่าหรือตัวแปร
คณิตศาสตรที่แสดงการเทากันของจํานวน สมการอาจมีตัวไม่ทราบค่าหรือตัวแปร เช่น
โดยใชสัญลักษณ “=” บอกการเทากัน x + 1 = 5 มี x เป็นตัวแปร
a - 7 = 21 มี a เป็นตัวแปร
- สมการที่เปนจริง คือ สมการที่ไมมีตัวแปร
3n - 2 = 4 มี n เป็นตัวแปร
เมื่อคํานวณแลวจะไดวา จํานวนที่อยูทาง
จะเห็นว่าสมการอาจมีหรือไม่มีตัวไม่ทราบค่าก็ได้
ซ า ยมื อ และขวามื อ ของเครื่ อ งหมาย “=”
มีคาเทากัน พิจารณาสมการที่มีตัวไม่ทราบค่า เช่น 2n +1 = 153
- สมการที่เปนเท็จ คือ สมการที่ไมมีตัวแปร ถ้าแทน n ด้วย 23 จะได้ 2(23) + 1 = 46 + 1
= 47 ทำาให้สมการเป็นเท็จ
เมื่อคํานวณแลวจะไดวา จํานวนที่อยูทาง
ถ้าแทน n ด้วย 76 จะได้ 2(76) + 1 = 152 + 1
ซ า ยมื อ และขวามื อ ของเครื่ อ งหมาย “=”
= 153 ทำาให้สมการเป็นจริง
มีคาไมเทากัน
จะเห็นว่า สมการทีม่ ตี วั แปร อาจจะเป็นสมการทีเ่ ป็นเท็จหรือสมการทีเ่ ป็นจริงก็ได้ ขึน้ อยูก่ บั
- จํ า นวนที่ แ ทนตั ว ไม ท ราบค า หรื อ แทนค า
ค่าของจำานวนที่แทนตัวแปรนั้น ๆ จะเรียก 76 ซึ่งเป็นจำานวนที่แทนค่าตัวแปรในสมการแล้วทำาให้
ตัวแปรในสมการแลวทําใหสมการเปนจริง สมการเป็นจริงว่า เป็นคำาตอบของสมการ และเรียก 23 ซึ่งเป็นจำานวนที่แทนค่าตัวแปรในสมการ
เรียกวา คําตอบของสมการ แล้วทำาให้สมการเป็นเท็จว่า ไม่เป็นคำาตอบของสมการ

188

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


1 ความสัมพันธระหวางลําดับทีข่ องรูปกับจํานวนของรูปสีเ่ หลีย่ ม จากแบบรูป จากสมการ 3(y - 4) = 2y - 8 จํานวนที่แทนคา y แลวทําให
ของจํานวนของรูปสี่เหลี่ยม 3, 5, 7, 9, 11, … เปนแบบรูปของจํานวนคี่และ สมการเปนจริงคือขอใด
มีการเพิ่มขึ้นครั้งละ 2 ซึ่งหารดวย 2 จะเหลือเศษ 1 จึงเขียนความสัมพันธ 1. 2 2. 4 3. 6 4. 8
ระหวางลําดับที่ของรูปกับจํานวนรูปสี่เหลี่ยม คือ 2n + 1 (เฉลยคําตอบ 3(y - 4) = 2y - 8
แทนคา y ดวย 2
3(2 - 4) 2×2-8
-6 -4 สมการเปนเท็จ
แทนคา y ดวย 4
3(4 - 4) = 2 × 4 - 8
3×0 = 8-8
0 = 0 สมการเปนจริง
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)

T202
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เขาใจ (Understanding)
จากกิจกรรมคณิตศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างลำาดับที่ของรูปกับจำานวนของรูปสี่เหลี่ยม 8. ครูยกตัวอยางสมการ 2n + 1 = 327 บน
เท่ากับ 2n + 1 และคำาถามที่ว่าถ้าต้องการทราบว่ารูปในลำาดับที่เท่าใดจะมีจำานวนของรูปสี่เหลี่ยม กระดาน จากนั้นถามคําถาม ดังนี้
เท่ากับ 327 รูป นักเรียนสามารถนำาความสัมพันธ์ 2n + 1 กับ 327 เขียนเป็นสมการได้ดังนี้ • ประโยคสั ญ ลั ก ษณ ข  า งต น เป น สมการ
2n + 1 = 327 เป็นสมการที่มีตัวแปร คือ n หรือไม เพราะเหตุใด
จะเห็นว่า 2n + 1 = 327 เป็นสมการที่มาจากแบบรูปซึ่งเขียนเป็นความสัมพันธ์ (แนวตอบ เปนสมการ เพราะมีเครื่องหมาย
โดยมี n เป็นตัวแปร “=”)
สำาหรับการหาคำาตอบของสมการนี้ นักเรียนอาจคาดเดาคำาตอบแล้วทดลองแทนค่าจนกว่า • สมการขางตนเปนสมการทีม่ ตี วั แปรหรือไม
จะได้สมการที่เป็นจริง หรือจัดรูปตามความสัมพันธ์และใช้ความหมายของสมการ ดังนี้ อยางไร
( แนวตอบ เป น สมการที่ มี ตั ว แปร และ
วิธีที่ 1 ใช้การคาดเดาคำาตอบ
ตัวแปร คือ n)
ถ้าคาดเดาว่า n = 162
• เมื่อนักเรียนลองแทนคาตัวแปรดวย 162
ลองแทนค่าจะได้ 2(162) + 1 = 324 + 1
= 325 ทำาให้สมการเป็นเท็จ จะไดสมการทีเ่ ปนจริงหรือสมการทีเ่ ปนเท็จ
ถ้าคาดเดาว่า n = 163 (แนวตอบ สมการที่เปนเท็จ)
ลองแทนค่าจะได้ 2(163) + 1 = 326 + 1 • เมื่อนักเรียนลองแทนคาตัวแปรดวย 163
= 327 ทำาให้สมการเป็นจริง จะไดสมการทีเ่ ปนจริงหรือสมการทีเ่ ปนเท็จ
ดังนั้น คำาตอบของสมการคือ 163 (แนวตอบ สมการที่เปนจริง)
นั่นคือ รูปในลำาดับที่ 163 จะมีจำานวนของรูปสี่เหลี่ยมเท่ากับ 327 รูป • คําตอบของสมการเปนเทาไร
(แนวตอบ n = 163)
วิธีที่ 2 จัดรูปตามความสัมพันธ์และใช้ความหมายของสมการ 9. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 5.1 ขอ 2.
จาก 2n + 1 = 326 + 1 เขียนในรูปการบวกของ 1
เมื่ อ เสร็ จ แล ว ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น เฉลย
= 2(163) + 1 เขียนในรูปการคูณของ 2
คําตอบ
จะได้ว่า n = 163
ดังนั้น รูปในลำาดับที่ 163 จะมีจำานวนของรูปสี่เหลี่ยมเท่ากับ 327 รูป 10. ครูกลาวทบทวน ดังนี้
- สมการเป น ประโยคที่ แ สดงการเท า กั น
• สมการเป็นประโยคที่แสดงการเท่ากันของจำานวน ของจํานวน ใชสัญลักษณ “=” เพื่อแสดง
ใช้สัญลักษณ์ “ = ” เพื่อแสดงการเท่ากัน การเทากัน
• สมการที่เป็นจริง คือ สมการที่มีจำานวนทางด้านซ้ายและมีจำานวนทางด้านขวา - สมการที่เปนจริง คือ สมการที่มีจํานวน
ของสัญลักษณ์ “ = ” มีค่าเท่ากัน ทางด า นซ า ยและมี จํ า นวนทางด า นขวา
• สมการอาจมีหรือไม่มีตัวแปร ของเครื่องหมาย “=” มีคาเทากัน
- สมการอาจจะมีตวั แปรหรือไมมตี วั แปรก็ได
189

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


จํานวนในขอใดมีความสัมพันธลดลงทีละ 3 ครูควรชี้แนะใหนักเรียนสังเกตแบบรูปของจํานวนที่เพิ่มครั้งละเทาๆ กัน
1. 14, 16, 18, 20 กับความสัมพันธระหวางลําดับที่กับจํานวน เชน
2. 29, 25, 20, 18 3, 5, 7, 9, 11, … กับ 2n + 1
3. 30, 28, 26, 24 3, 6, 9, 12, … กับ 3n
4. 45, 42, 39, 36 4, 8, 12, 16, … กับ 4n
(เฉลยคําตอบ 1. 14 +2 16 +2 18 +2 20 เพิ่มขึ้นทีละ 2 และใหนักเรียนสรุปความสัมพันธระหวางจํานวนที่เพิ่มขึ้นกับตัวแปร n

2. 29 -4 25 -5 20 -2 18 ลดลงไมเทากัน
3. 30 -2 28 -2 26 -2 24 ลดลงทีละ 2
4. 45 -3 42 -3 39 -3 36 ลดลงทีละ 3

ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)

T203
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
11. ใหนกั เรียนศึกษาตัวอยางที่ 6 ในหนังสือเรียน ตัวอย่างที่ 6
หนา 190-191 หลังจากนั้นครูถามคําถาม 1
กำาหนดตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำานวนเงินดอลลาร์ ซึ่งเป็นเงินของประเทศ
ดังนี้ สหรัฐอเมริกาและจำานวนเงินบาทไทยในวันหนึ่ง (กำาหนดให้ 1 ดอลลาร์สหรัฐ มีค่าประมาณ
• นักเรียนคิดวา ตารางแสดงความสัมพันธ 34 บาท) เป็นดังนี้
ระหว า งจํ า นวนเงิ น ดอลลาร แ ละจํ า นวน
เงินบาท มีความซับซอนหรือไม เพราะ จำานวนเงิน (ดอลลาร์) 1 2 3 4 ... 28 ... n
เหตุใด จำานวนเงิน (บาท) 34 68 102 136 ...
(แนวตอบ ไมซับซอน เพราะวาจํานวนเงิน (อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ 2 พ.ค. 2560)
ทัง้ สองสกุลเขียนเปนอัตราสวนได ซึง่ เทากับ 1) จงเขียนความสัมพันธ์ระหว่างจำานวนเงินดอลลาร์กับจำานวนเงินบาท ถ้าให้ n แทนจำานวน
1 ดอลลาร : 34 บาท หรืออัตราสวนเงิน เงินดอลลาร์
ดอลลารตอเงินบาท เทากับ 1 : 34) 2) ถ้ามีเงินจำานวน 28 ดอลลาร์ จะแลกเงินบาทได้กี่บาท
• วิธกี ารหาคําตอบในแตละขอยุง ยากหรือไม 3) ถ้ามีเงินบาท 238 บาท จงเขียนสมการและหาจำานวนเงินดอลลาร์ที่แลกได้
(แนวตอบ ไมยุงยาก) วิธีทำา 1) จากตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำานวนเงินดอลลาร์กับจำานวนเงินบาท
ที่กำาหนดให้ เขียนแสดงจำานวนบาทในรูปการคูณของ 34 กับจำานวนดอลลาร์ ได้
ดังตารางต่อไปนี้
จำานวนเงิน (ดอลลาร์) 1 2 3 4 ... n
34 68 102 136
จำานวนเงิน (บาท) เท่ากับ เท่ากับ เท่ากับ เท่ากับ ... 34 × n
34 × 1 34 × 2 34 × 3 34 × 4

ดังนั้น ความสัมพันธ์ระหว่างจำานวนเงินดอลลาร์กับจำานวนเงินบาท
เท่ากับ 34 × n = 34n เมื่อ n แทนจำานวนเงินดอลลาร์
2) จากความสัมพันธ์ในข้อ 1) หาจำานวนเงิน 28 ดอลลาร์ที่แลกเป็นเงินบาท
โดยแทนค่า n ในความสัมพันธ์ 34 × n ด้วย 28
จะได้ 34 × n = 34 × 28
= 952
ดังนั้น จำานวนเงิน 28 ดอลลาร์แลกเป็นเงินบาทได้ 952 บาท
3) หาจำานวนเงินที่แลกเป็นเงินดอลลาร์ โดยนำาความสัมพันธ์ในข้อ 1) และ
จำานวนเงิน 238 บาท เขียนสมการได้ ดังนี้
34 × n = 238
190

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


1 ดอลลาร (Dollas ; $) เปนชื่อสกุลเงินตราของสหรัฐอเมริกา หรือที่เรียกวา กําหนดตารางแสดงความสัมพันธระหวางลําดับที่กับจํานวน
ดอลลารสหรัฐ (USD) ดังนี้
ลําดับที่ 1 2 3 4 5 ... n
จํานวน 3 5 9 17 33 ...
บูรณาการอาเซียน
ใหนักเรียนจัดกลุม กลุม 9 คน คนควาเพิ่มเติม เรื่องอัตราแลกเปลี่ยน เขียนความสัมพันธระหวางลําดับที่กับจํานวนไดตามขอใด
เงินตราตางประเทศในประชาคมอาเซียน โดยใหจัดทําเปนใบความรู พรอมทั้ง ถาให n แทนลําดับที่
นําเสนอหนาชั้นเรียน 1. n + 2 2. 2n + 1 3. n2 + 1 4. 2n + 1
(เฉลยคําตอบ
1. n + 2 จะไดจํานวนของแบบรูปเปน 3, 4, 5, 6, 7, ...
2. 2n + 1 จะไดจํานวนของแบบรูปเปน 3, 5, 7, 9, 11, ...
3. n2 + 1 จะไดจํานวนของแบบรูปเปน 2, 5, 10, 17, 26, ...
4. 2n + 1 จะไดจํานวนของแบบรูปเปน 3, 5, 9, 17, 33, ...

T204 ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)


นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เขาใจ (Understanding)
ลองแทนค่า n ด้วย 7 จะได้ 12. ครูใหนักเรียนแตละคนทํา “ลองทําดู” ใน
34 × 7 = 238 ทำาให้สมการเป็นจริง หนั ง สื อ เรี ย น หน า 191 หลั ง จากนั้ น ครู
ดังนั้น จำานวนเงิน 238 บาท แลกเป็นเงินดอลลาร์ ได้ 7 ดอลลาร์ ตอบ และนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ
13. ครูกลาวสรุปวา “เราจะเรียกสมการ
ลองทําดู
2n + 1 = 327 และ 34 × n = 238
จงเขียนตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำานวนเงินยูโรกับจำานวนเงินบาทไทย วา สมการเชิงเสนตัวแปรเดียว”
ถ้าให้ n แทนจำานวนเงินยูโรและกำาหนด 1 ยูโร มีค่าประมาณ 37 บาท 14. ครูแจกใบงานที่ 5.1 เรื่อง แบบรูปและความ
(อัตราแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ ณ วันที่ 2 พ.ค. 2560)
สัมพันธของจํานวน ใหนักเรียนทํา จากนั้น
จากตัวอย่างข้างต้นที่ศึกษามาแล้ว นักเรียนจะเห็นว่า ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบใบงาน
สมการ 2n + 1 = 327 และ 34 × n = 238 เป็นสมการที่มีเลขชี้กำาลังของตัวแปร n ที่ 5.1
เท่ากันคือ 1 1
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จะเรียกสมการ 2n + 1 = 327 และ 34 × n = 238 ว่า สมการเชิ

แบบฝึกทักษะ 5.1
ระดับ พื้นฐาน
1. จงเขียนจำานวนถัดไปอีกสามจำานวนของแบบรูปที่กำาหนดให้ต่อไปนี้
1) 2, 4, 6, 8, ... 2) 10, 12, 14, ...
3) 5, 8, 11, ... 4) 9, 6, 3, 0, ...
5) 21, 18, 15, 12, ... 6) 1 × 2, 2 × 3, 3 × 4, 4 × 5, ...
7) 21, 15, 9, 3, ... 8) 1, 10, 100, 1000, ...
1 1 1
9) 1, 2 , 4 , 8 , ... 10) 1, 3, 9, 27, ...
2. จงเขียนรูปถัดไปอีกสามรูปของแต่ละแบบรูปต่อไปนี้
1)

2)

191

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู


40 44 48 56 จํานวนในขอใดมีความสัมพันธตาม 1 สมการเชิงเสน (Linear Equation) เปนสมการที่มีตัวแปรเพียง 1 ตัว
แบบรูปที่กําหนด และมีเลขชี้กําลังเทากับ 1 เชน
1. 50, 58 มีความสัมพันธแบบเพิ่มขึ้นทีละ 2 2x + 3 = 0 , 5x 2 - 7 = 4 เปนตน
2. 51, 61 มีความสัมพันธแบบเพิ่มขึ้นทีละ 3
3. 52, 60 มีความสัมพันธแบบเพิ่มขึ้นทีละ 4
4. 53, 61 มีความสัมพันธแบบเพิ่มขึ้นทีละ 5 สื่อ Digital
(เฉลยคําตอบ 40 44 48 56 จํานวนในแบบรูปเพิม่ ขึน้
เรียนรูเพิ่มเติมเรื่อง เศษสวน จากภาพยนตรสารคดีสั้น เรื่อง อัตราสวน :
ครั้งละ 4 เขียนเปน
การแลกเปลี่ยนเงินตางประเทศ ไดที่ https://www.twig-aksorn.com/film/
40 +4 44 +4 48 +4 52 +4 56 +4 60 ratios-currency-exchange-8454/
จํานวนที่หายไป คือ 52 และ 60 จึงเพิ่มขึ้นทีละ 4
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T205
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
15. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 5.1 ขอ 3.-6.
ในหนังสือเรียน หนา 192-193 เปนการบาน 3)
ลงมือทํา (Doing)
ครูใหนักเรียนจัดกลุม กลุมละ 4 คน คละ ระดับ กลาง
ความสามารถทางคณิตศาสตร แลวทํากิจกรรม 3. จงหาจ�านวนในล�าดับที่ 20 และเขียนความสัมพันธ์ระหว่างล�าดับที่กับจ�านวนในล�าดับที่ n
ดังนี้ ของแบบรูปที่ก�าหนดให้
- ใหนักเรียนแตละกลุมชวยกันทําแบบฝก 1) 3, 6, 9, 12, ...
ทักษะ 5.1 ขอ 7. โดยเขียนลงในสมุด 2) 12, 22, 32, 42, ...
ของตนเอง 3) 12 , 23 , 34 , 45, ...
- จากนั้ น ให นั ก เรี ย นแลกเปลี่ ย นความรู 
4) (4 × 1) + 1, (4 × 2) + 2, (4 × 3) + 3, (4 × 4) + 4, ...
ภายในกลุม ของตนเอง และสนทนาซักถาม 5) (1 + 1)2, (2 + 1)2, (3 + 1)2, (4 + 1)2, ...
เกี่ยวกับวิธีการหาคําตอบ จนเปนที่เขาใจ
4. จงพิจารณาแบบรูปที่ก�าหนดให้ แล้วตอบค�าถามต่อไปนี้
รวมกัน
(1 + 1) + 2, (2 + 2) + 2, (3 + 3) + 2, (4 + 4) + 2
- ให ตั ว แทนกลุ  ม มานํ า เสนอคํ า ตอบหน า
1) จงเขียนจ�านวนต่อไปอีก 6 จ�านวน จากแบบรูปที่ก�าหนด
ชั้ น เรี ย น โดยเพื่ อ นกลุ  ม ที่ เ หลื อ คอย 2) จงหาผลบวกของจ�านวนแต่ละจ�านวนในแบบรูป แล้วเขียนแบบรูปของผลบวกที่ได้
ตรวจสอบความถูกตอง 3) จงพิจารณาตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างล�าดับที่กับจ�านวนที่ก�าหนด แล้วเขียน
ความสัมพันธ์ระหว่างล�าดับที่ n และจ�านวน
ล�าดับที่ 1 2 3 4
จ�านวน (1 + 1) + 2 (2 + 2) + 2 (3 + 3) + 2 (4 + 4) + 2
5. จงพิจารณาตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างล�าดับทีแ่ ละจ�านวนทีก่ า� หนดให้ แล้วตอบค�าถาม
ต่อไปนี้
ล�าดับที่ 1 2 3 4 5 6
จ�านวน 5 4 3 0
1) จงเติมตารางให้สมบูรณ์
2) จงเขียนสมการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างล�าดับที่ n และจ�านวน
192

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


n
ในแบบฝกทักษะที่ 5.1 ครูควรชี้แนะโจทยขอ 2. ใหนักเรียนพิจารณารูป ความสัมพันธระหวางลําดับทีก่ บั จํานวนในลําดับที่ n เปน 10n+1
10
เรขาคณิตเปนแบบรูปของจํานวนและเขียนรูปถัดไป เชน ขอ 1) เปนรูปสี่เหลี่ยม จํานวนในลําดับที่ 4 คือขอใด
จัตุรัสโดยมีความยาวดาน 1, 2, 3, 4, 5, 6 เปนตน 1. 0.0001
2. 0.001
3. 0.01
4. 0.1
n
(เฉลยคําตอบ แบบรูปของความสัมพันธ n เปน 10n+1
4 10
10
จํานวนในลําดับที่ 4 คือ 5 = 0.1
10
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)

T206
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ
นักเรียน ดังนี้
6. ส มชายใช้เวลาอ่านหนังสือเล่มหนึ่งไปแล้ว 7 วัน แต่ยังอ่านไม่จบ และเขาบันทึกจำานวนวัน • แบบรูป คืออะไร
และจำานวนหน้าทั้งหมดที่อ่านได้ ดังตาราง (แนวตอบ เปนการแสดงความสัมพันธของ
สิง่ ตางๆ ทีม่ ลี กั ษณะสําคัญบางอยางรวมกัน
จำานวนวัน 1 2 3 4 5 6 ... n
อย า งมี เ งื่ อ นไข ต อ งใช ก ารสั ง เกต การ
จำานวนหน้าทั้งหมด 3 5 7 9 11 13 ... วิเคราะห เพื่อหาเหตุผลมาสนับสนุนและ
จงตอบคำาถามต่อไปนี้ หาบทสรุปเพื่ออธิบายความสัมพันธนั้น)
1) ให้พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างจำานวนวันและจำานวนหน้าทั้งหมดที่อ่านหนังสือได้ • ความสัมพันธ หมายถึงอะไร
ถ้าให้ n แทนจำานวนวัน จำานวนหน้าทั้งหมดที่อ่านได้ในเวลา n วัน เท่ากับเท่าใด (แนวตอบ ความเกีย่ วของ เชน นิดและหนอย
2) เมื่อสมชายอ่านหนังสือผ่านไป 12 วัน แต่ยังอ่านไม่จบ และยังเหลืออีก 8 หน้าที่ยัง มีความสัมพันธที่เปนพี่นองกัน)
ไม่ได้อ่าน จงหาว่าหนังสือเล่มนั้นมีกี่หน้า • สมการ คืออะไร
( แนวตอบ เป น ประโยคสั ญ ลั ก ษณ ท าง
ระดับ ท้าทาย
คณิตศาสตรที่แสดงการเทากันของจํานวน
7. จงพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างลำาดับที่ของรูป จำานวนรูปสี่เหลี่ยมที่แรเงา และจำานวน โดยใชสัญลักษณ “=” แสดงการเทากัน)
รูปสี่เหลี่ยมทั้งหมด แล้วตอบคำาถามต่อไปนี้ • สมการที่เปนจริง คืออะไร
(แนวตอบ สมการที่มีจํานวนทางดานซาย
และมีจํานวนทางดานขวาของเครื่องหมาย
“=” มีคาเทากัน)
รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4 • คําตอบของสมการ หมายถึงอะไร
รูปที่ 1 2 3 4 ... n (แนวตอบ จํานวนที่แทนตัวไมทราบคาหรือ
จำานวนรูปสี่เหลี่ยมที่แรเงา 2 4 6 8 แทนคาตัวแปรในสมการแลวทําใหสมการ
เปนจริง)
จำานวนรูปสี่เหลี่ยมทั้งหมด 4 6 8 10
1) รูปที่ n มีจำานวนรูปสี่เหลี่ยมที่แรเงากี่รูป ขัน้ ประเมิน
2) รูปที่ n มีจำานวนรูปสี่เหลี่ยมทั้งหมดกี่รูป 1. ครูตรวจใบงานที่ 5.1
3) รูปที่ 15 มีจำานวนรูปสี่เหลี่ยมที่แรเงากี่รูป 2. ครูตรวจแบบฝกทักษะ 5.1
4) รูปที่ 25 มีจำานวนรูปสี่เหลี่ยมทั้งหมดกี่รูป 3. ครูประเมินการนําเสนอผลงาน
5) จงเขียนสมการเพื่อหาว่ารูปลำาดับที่เท่าใด มีจำานวนรูปสี่เหลี่ยมที่แรเงาทั้งหมด 40 รูป 4. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
6) จงเขียนสมการเพื่อหาว่ารูปลำาดับที่เท่าใด มีจำานวนรูปสี่เหลี่ยมทั้งหมด 82 รูป 5. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
193 6. ครูสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


จากภาพที่กําหนด ครูควรใชคําถามเพื่อเนนยํ้าการเขียนรูปทั่วไปของแบบรูปของจํานวนใน
รูปที่ n จะมีจํานวนรูป โจทยขอตางๆ ในแบบฝกทักษะที่ 5.1 เชน
สี่เหลี่ยมจัตุรัสตรงกับ ขอ 6. แบบรูปของจํานวน 3, 5, 7, 9, 11, … มีความสัมพันธอยางไร
รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 ขอใด รูปทั่วไปเปนอยางไร
1. n 2. 2n 3. n + 4 4. n2 ขอ 7. แบบรูปของ 2, 4, 6, 8, … และแบบรูปของ 4, 6, 8, 10, …
มีความสัมพันธกันอยางไร เปนพหุคูณของจํานวนใด มีรูปทั่วไปเปนอยางไร
(เฉลยคําตอบ
รูปลําดับที่ 1 มีรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสความยาวดานละ 1 หนวย 1 รูป
รูปลําดับที่ 2 มีรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสความยาวดานละ 1 หนวย 4 รูป
รูปลําดับที่ 3 มีรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสความยาวดานละ 1 หนวย 9 รูป
รูปลําดับที่ n มีรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสความยาวดานละ 1 หนวย n2 รูป
ความสัมพันธระหวางลําดับที่ของรูปกับจํานวนรูปสี่เหลี่ยม
จัตุรัสทั้งหมดเปน n2
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)
T207
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
1. ครู ท บทวนความรู  เ รื่ อ งแบบรู ป และความ 5.2 คําตอบของสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว
สัมพันธ
2. ครูแจกใบงานที่ 5.2 เรือ่ ง สมการทีเ่ ปนจริงหรือ จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
สมการที่เปนเท็จ ใหนักเรียนทําเพื่อทบทวน ห้องเรียนห้องหนึง่ มีนกั เรียนอยูจ่ าำ นวนหนึง่ ต่อมามีนกั เรียนเข้ามาในห้องเรียนนีอ้ กี สองคน
ความรู  เมื่ อ นั ก เรี ย นทํ า เสร็ จ แล ว ครู แ ละ เมื่อนับจำานวนนักเรียนในห้องอีกครั้งหนึ่ง พบว่ามีนักเรียนทั้งหมดแปดคน
นักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบใบงานที่ 5.2 ถ้าให้เดิมมีนักเรียนในห้องอยู่ x คน จะเขียนประโยคสัญลักษณ์แทนข้อความดังกล่าวเป็น
สมการได้ดังนี้ x + 2 = 8 เป็นสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและมี x เป็นตัวแปร
ขัน้ สอน
รู้ (Knowing) จงพิจารณาประโยคภาษาต่อไปนี้
สองเท่าของจำานวนจำานวนหนึ่งรวมกับหนึ่งได้ผลลัพธ์เท่ากับห้า
1. ครูกลาวแนะนําสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว
ถ้าให้ a แทนจำานวนจำานวนหนึ่ง จะเขียนประโยคสัญลักษณ์แทนประโยคภาษาดังกล่าว
ดังนี้
เป็นสมการได้ ดังนี้ 2a + 1 = 5 เป็นสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและมี a เป็นตัวแปร
“สมการเชิงเสนตัวแปรเดียว คือ สมการที่
อยูในรูป ax + b = 0 เมื่อ a, b เปนจํานวน สมการที่อยู่ในรูป ax + b = 0 เมื่อ a, b เป็นจำานวนใด ๆ และ a ≠ 0 เรียกว่า
ใดๆ และ a 0” แลวยกตัวอยางสมการ “สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว”
ตอไปนี้บนกระดาน
1) x + 2 = 8 2) 2a + 1 = 5 พิจารณาสมการ x + 2 = 8
3) xy - 3 = 5 ถ้าแทนค่า x ด้วย 6 ในสมการ
จากนั้นครูถามคําถาม ดังนี้ จะได้ 6 + 2 = 8 ทำาให้สมการเป็นจริง
• สมการในขอใดบางที่เปนสมการเชิงเสน เรียก 6 ว่าเป็นคำาตอบของสมการ x + 2 = 8
ตัวแปรเดียว พิจารณาสมการ 2a + 1 = 5
(แนวตอบ สมการขอ 1) และขอ 2)) ถ้าแทนค่า a ด้วย 2 ในสมการ
2. จากสมการ x + 2 = 8 ครูลองใหนักเรียนแทน จะได้ (2 × 2) + 1 = 5 ทำาให้สมการเป็นจริง
คาตัวแปร ดังนี้ เรียก 2 ว่าเป็นคำาตอบของสมการ 2a + 1 = 5
• แทนคาตัวแปรดวย 5 จะไดสมการทีเ่ ปนจริง
หรือไม (แนวตอบ ไมเปนจริง) จำานวนที่แทนค่าของตัวแปรที่ปรากฏอยู่ในสมการ แล้วทำาให้สมการเป็นจริง เรียกว่า
• แทนคาตัวแปรดวย 6 จะไดสมการทีเ่ ปนจริง “คำาตอบของสมการ”
หรือไม (แนวตอบ เปนจริง)
จากนั้นครูบอกนักเรียนวา “จํานวนที่แทนคา
ของตัวแปรที่ปรากฏอยูในสมการ แลวทําให
สมการเปนจริง เรียกวา คําตอบของสมการ
ดังนั้น สมการ x + 2 = 8 มี 6 เปนคําตอบ
ของสมการ และสมการ 2a + 1 = 5 มี 2 เปน
194
คําตอบของสมการ”

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


5 ไมเปนคําตอบของสมการใด
1. x + 9 = 9 + x 2. 21
35 x = 3 3. 2x + 6 = -4 4. -12x = -60
(เฉลยคําตอบ 1. เปนคําตอบ เพราะ x + 9 = 9 + x 3. ไมเปนคําตอบ เพราะ 2x + 6 = -4
5+9 = 9+5 2x = -10
x = -5
2. เปนคําตอบ เพราะ 21
35 x = 3 35 4. เปนคําตอบ เพราะ -12x = -60
x = 3 × 21 x = -60
x = 5 -12
= 5
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T208
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
ตัวอย่างที่ 7 1. ครู ใ ห นั ก เรี ย นจั บ คู  ศึ ก ษาตั ว อย า งที่ 7 ใน
จงพิจารณาว่าจำานวนที่อยู่ในวงเล็บ [ ] ท้ายสมการ เป็นคำาตอบของสมการหรือไม่ หนั ง สื อ เรี ย น หน า 195 แล ว แลกเปลี่ ย น
1) x + 8 = 15 [7] 2) x - 6 = 13 [19] ความรูกับคูของตนเอง จากนั้นครูถามคําถาม
3) 3x = 21 [9] 4) x4 = 14 [60] วา
วิธีทำา 1) จากสมการ x + 8 = 15 • นักเรียนคิดวาตัวแปร x ที่ใหหาคา เหมือน
แทนค่า x ด้วย 7 ในสมการ เรือ่ งอะไรทีน่ กั เรียนเคยเรียนมาแลวในระดับ
จะได้ 7 + 8 = 15 ทำาให้สมการเป็นจริง ประถมศึกษา
ดังนั้น 7 เป็นคำาตอบของสมการ x + 8 = 15 (แนวตอบ เรื่องตัวไมทราบคา)
2) จากสมการ x - 6 = 13 แลวใหนักเรียนแตละคนทํา “ลองทําดู”
แทนค่า x ด้วย 19 ในสมการ 2. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น เฉลยคํ า ตอบ “ลอง
จะได้ 19 - 6 = 13 ทำาให้สมการเป็นจริง ทําดู”
ดังนั้น 19 เป็นคำาตอบของสมการ x - 6 = 13
3) จากสมการ 3x = 21
แทนค่า x ด้วย 9 ในสมการ
จะได้ 3 × 9 = 27 ทำาให้สมการเป็นเท็จ
ดังนั้น 9 ไม่เป็นคำาตอบของสมการ 3x = 21
4) จากสมการ x4 = 14
แทนค่า x ด้วย 60 ในสมการ
จะได้ 604 = 15 ทำาให้สมการเป็นเท็จ
x
ดังนั้น 60 ไม่เป็นคำาตอบของสมการ 4 = 14 ตอบ

ลองทําดู
จงพิจารณาว่าจำานวนที่อยู่ในวงเล็บ [ ] ท้ายสมการ เป็นคำาตอบของสมการหรือไม่
1) x + 20 = 28 [8]
2) x - 15 = 20 [45]
3) 4x = 56 [16]
x
4) 7 = 9 [63]

195

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


สมการในขอใดมีคําตอบเทากับคําตอบของสมการ 2 (2x 3- 5) = 6
1. 2x + 25 = 11 2. 4(x - 9) = 3x + 13 3. 3x 4- 7 = 2x 4. 32 x - 6 = 9
(เฉลยคําตอบ
2 (2x 3- 5) = 6 2. 4x - 36 = 3x + 13 4. 32 x - 6 = 9
2x - 5 = 9 x = 13 + 36 3x = 15
2
2x = 14 x = 49 x = 15 × 23
x = 7 x = 10
1. 2x + 25 = 11 3. 3x 4- 7 = x
2
2x = -14 6x - 14 = 4x
x = -7 2x = 14
x = 7
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T209
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เขาใจ (Understanding)
3. ใหนักเรียนคูเดิมศึกษาตัวอยางที่ 8 ในหนังสือ ตัวอย่างที่ 8
เรียน หนา 196 แลวแลกเปลี่ยนความรูกับคู จงหาคำาตอบของสมการต่อไปนี้ โดยวิธีลองแทนค่าตัวแปร
ของตนเอง จากนั้นใหนักเรียนแตละคนทํา 1) x + 4 = 14 2) 2x - 1 = 9
“ลองทําดู” แลวครูและนักเรียนรวมกันเฉลย วิธีทำา 1) จากสมการ x + 4 = 14
คําตอบ ลองแทนค่า x ด้วย 10 ในสมการ
4. ครูใหนักเรียนทํา Exercise 5.2 ขอ 1.-3. ใน จะได้ 10 + 4 = 14 ทำาให้สมการเป็นจริง
แบบฝกหัดคณิตศาสตรเปนการบาน ดังนั้น คำาตอบของสมการ x + 4 = 14 คือ 10
5. ครู ก ล า วทบทวนเกี่ ย วกั บ สมการเชิ ง เส น 2) จากสมการ 2x - 1 = 9
ตัวแปรเดียววา “สมการเชิงเสนตัวแปรเดียว ลองแทนค่า x ด้วย 5 ในสมการ
คือ สมการที่อยูในรูป ax + b = 0 เมื่อ a, b จะได้ 2(5) - 1 = 10 - 1
เปนจํานวนใดๆ และ a 0” = 9 ทำาให้สมการเป็นจริง
6. ครู ใ ห นั ก เรี ย นจั บ คู  ศึ ก ษาตั ว อย า งที่ 9 ใน ดังนั้น คำาตอบของสมการ 2x - 1 = 9 คือ 5 ตอบ
หนังสือเรียน หนา 196-197 แลวแลกเปลี่ยน
ลองทําดู
ความรูกับคูของตนเอง จากนั้นครูถามคําถาม
ดังนี้ จงหาคำาตอบของสมการต่อไปนี้ โดยวิธีลองแทนค่าตัวแปร
• จากตัวอยางที่ 9 ขอ 1) คําตอบของสมการ 1) x + 15 = 27 2) 3x + 1 = 34
เทากับเทาไร ตัวอย่างที่ 9
(แนวตอบ x = 6) จงหาคำาตอบของสมการต่อไปนี้ โดยวิธีลองแทนค่าตัวแปร
• จากตัวอยางที่ 9 ขอ 2) เปนสมการเชิงเสน 1) x + 4 = 10 2) x + 5 = 5 + x 3) x + 3 = x + 4
ตัวแปรเดียวหรือไม เพราะเหตุใด วิธีทำา 1) จากสมการ x + 4 = 10
(แนวตอบ เปนสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว ลองแทนค่า x ด้วย 6 ในสมการ
เพราะมีตัวแปรเพียงตัวเดียว) จะได้ 6 + 4 = 10 ทำาให้สมการเป็นจริง
• จากตัวอยางที่ 9 ขอ 2) คําตอบของสมการ ดังนั้น คำาตอบของสมการ x + 4 = 10 คือ 6
เทากับเทาไร 2) จากสมการ x + 5 = 5 + x
(แนวตอบ จํานวนใดๆ ทุกจํานวน) ลองแทนค่า x ด้วย -4 ในสมการ
• จากตัวอยางที่ 9 ขอ 3) ทําไมจึงไมมคี าํ ตอบ จะได้ x + 5 = (-4) + 5 = 1
ของสมการ และ 5 + x = 5 + (-4) = 1 ทำาให้สมการเป็นจริง
(แนวตอบ เพราะไมมีจํานวนใดๆ ที่แทน ลองแทนค่า x ด้วย 7 ในสมการ
จะได้ x + 5 = 7 + 5 = 12
คา x แลวทําใหสมการเปนจริง)
และ 5 + x = 5 + 7 = 12 ทำาให้สมการเป็นจริง
196

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


3 เปนคําตอบของสมการใด
1. 7(x + 6) = 21 2. 3(x - 4) = 2(x - 5) 3. 43 x + 5 = 9 4. 5x - 8 = 12
(เฉลยคําตอบ 1. ไมเปนคําตอบ เพราะ 7(x + 6) = 21 3. เปนคําตอบ เพราะ 4x + 5 = 9
3
x+6 = 21 4x = 4
7 3
x+6 = 3 x = 4 × 34
x = 3-6 x = 3
x = -3
2. ไมเปนคําตอบ เพราะ 3(x - 4) = 2(x - 5) 4. ไมเปนคําตอบ เพราะ 5x - 8 = 12
3x - 12 = 2x - 10 5x = 20
x = 2 x = 4
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T210
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
ลองแทนค่า x ด้วย 10 ในสมการ 7. ครู ใ ห นั ก เรี ย นแต ล ะคนทํ า “ลองทํ า ดู ” ใน
จะได้ x + 5 = 10 + 5 = 15 หนังสือเรียน หนา 197 แลวครูและนักเรียน
และ 5 + x = 5 + 10 = 15 ทำาให้สมการเป็นจริง รวมกันเฉลยคําตอบ
จะเห็นว่า เมื่อแทนค่า x ด้วยจำานวนที่ไม่เท่ากันสามจำานวน ในสมการ 8. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวา สมการเชิงเสน
x + 5 = 5 + x แล้วทำาให้สมการเป็นจริงเสมอ และจากสมการ x + 5 = 5 + x ตัวแปรเดียวสามารถจัดตามลักษณะคําตอบ
เป็นไปตามสมบัติการสลับที่สำาหรับการบวก ของสมการได 3 แบบ ดังนี้
ดังนั้น คำาตอบของสมการ x + 5 = 5 + x คือ จำานวนใด ๆ ทุกจำานวน
1) สมการที่มีจํานวนบางจํานวนเปนคําตอบ
3) จากสมการ x + 3 = x + 4
(ดังตัวอยางที่ 9 ขอ 1))
ลองแทนค่า x ด้วย -7 ในสมการ
จะได้ x + 3 = (-7) + 3 = -4 2) สมการที่มีคําตอบทุกจํานวนเปนคําตอบ
และ x + 4 = (-7) + 4 = -3 ทำาให้สมการเป็นเท็จ (ดังตัวอยางที่ 9 ขอ 2))
ลองแทนค่า x ด้วย 1 ในสมการ 3) สมการที่ ไ ม มี จํ า นวนใดเป น คํ า ตอบ
จะได้ x + 3 = 1 + 3 = 4 (ดังตัวอยางที่ 9 ขอ 3))
และ x + 4 = 1 + 4 = 5 ทำาให้สมการเป็นเท็จ
ลองแทนค่า x ด้วย 9 ในสมการ
จะได้ x + 3 = 9 + 3 = 12
และ x + 4 = 9 + 4 = 13 ทำาให้สมการเป็นเท็จ
จะเห็นว่า เมื่อแทนค่า x ด้วยจำานวนที่ไม่เท่ากันสามจำานวน ในสมการ
x + 3 = x + 4 แล้วทำาให้สมการเป็นเท็จเสมอ และจากสมบัติการบวกของจำานวน
สองจำานวนใด ๆ เมื่อตัวบวกเพิ่มขึ้นจะทำาให้ผลบวกเพิ่มขึ้นด้วย
จึงสรุปได้ว่า x + 4 ต้องมากกว่า x + 3
ดังนั้น ไม่มีคำาตอบของสมการ x + 3 = x + 4 ตอบ
ลองทําดู
จงหาคำาตอบของสมการต่อไปนี้ โดยวิธีแทนค่าตัวแปร
1) x + 9 = 15 2) x + x = 2x 3) x - 2 = x - 3

สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสามารถจัดตามลักษณะคำาตอบของสมการได้ 3 แบบ ดังนี้


1. สมการที่มีจำานวนบางจำานวนเป็นคำาตอบ
2. สมการที่มีจำานวนทุกจำานวนเป็นคำาตอบ
3. สมการที่ไม่มีจำานวนใดเป็นคำาตอบ

197

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


จํานวนที่กําหนดในวงเล็บในแตละขอ จํานวนในขอใดเปนคําตอบของสมการ
1. -6x 2+ 5 + 7 = 2 (2 12) 2. - 13 x + 24 = 4(x - 1) (5 25)
3. 12 x + 13 x + 14 x = x - 5 (- 12) 4. -5 + 45 x = - 12 (x - 2) (1 14)
(เฉลยคําตอบ การหาคําตอบใหแทนคาตัวแปรจะไดคําตอบของสมการ
1. -6x2+ 5 + 7 = 2 2. -13 (27 27 4. -5 + 45 ( 54 ) = -12 ( 54 - 2)
5 ) + 24 = 4 ( 5 - 1)
5 -9 + 24 = 4 22 -5 + 1 = -12 ( -34 )
-6 (2) + 5
+7=2 5 ( 5 )
2 111 = 88 สมการเปนเท็จ -4 = 38 สมการเปนเท็จ
-15 + 5 + 7 = 2 5 5
2 1 -1 + 1 -1 + 1 -1 = -1 - 5 ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 1.)
-5 + 7 = 2 3. ( )
2 2 3 2 4 2 ( ) ( ) 2
2 = 2 สมการเปนจริง -6 - 4 - 3 -11
= 2
24
-13 = -11 สมการเปนเท็จ
24 2
T211
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
9. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 5.2 ขอ 1.-2. แบบฝึกทักษะ 5.2
และทํา Exercise 5.2 ขอ 4. ในแบบฝกหัด
ระดับ พื้นฐาน
คณิตศาสตร จากนั้นครูและนักเรียนรวมกัน
เฉลยคําตอบ 1. จงพิจารณาว่าตัวแปรที่ปรากฏในสมการในแต่ละข้อต่อไปนี้ คืออะไร
10. ใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 5.2 ขอ 3.-6. 1) a + 7 = 9 2) 3 + x = 12 3) 5m = 18
เปนการบาน 4) 2a - 7 = 10 b + 1
5) 3 = 4 6) y +5 3 = 5
2. จงพิจารณาว่า สมการที่กำาหนดให้ในตารางเป็นสมการที่อยู่ในรูป ax + b = 0 เมื่อ a, b
ลงมือทํา (Doing) เป็นจำานวนใด ๆ และเมื่อ a ≠ 0 หรือไม่
ครูใหนักเรียนจัดกลุม กลุมละ 4 คน คละ
ความสามารถทางคณิตศาสตร แลวทํากิจกรรม ลำาดับที่ สมการ อยู่ในรูป ax + b = 0 ค่าของ a และ b เป็นตัสมการเชิ งเส้น
วแปรเดียว
ดังนี้
1 3x + 2 = 0 ✓ a = 3 และ b = 2 ✓
- ใหนักเรียนแตละกลุมชวยกันทําแบบฝก 1
2 2
ทักษะ 5.2 ขอ 7. โดยเขียนลงในสมุดของ x =4
ตนเอง 3 4x - 2 = 0
- จากนั้ น ให นั ก เรี ย นแลกเปลี่ ย นความรู  4 2x + 1 = 0
ภายในกลุม ของตนเอง และสนทนาซักถาม
5 7x - 5 = 0
เกี่ยวกับวิธีการหาคําตอบ จนเปนที่เขาใจ
รวมกัน 6 x-9 =0
- ให ตั ว แทนกลุ  ม มานํ า เสนอคํ า ตอบหน า 7 x2 = 9
ชั้ น เรี ย น โดยเพื่ อ นกลุ  ม ที่ เ หลื อ คอย 8 4x + 6 = 1
ตรวจสอบความถูกตอง
3. จงพิจารณาสมการ 2a = 22 แล้วตอบคำาถามต่อไปนี้
1) ตัวแปรในสมการที่กำาหนดคืออะไร
2) ถ้าแทน a ด้วย 10 จะได้สมการเป็นจริงหรือเท็จ
3) ถ้าแทน a ด้วย 11 จะได้สมการเป็นจริงหรือเท็จ
4) คำาตอบของสมการคือจำานวนใด

198

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


1 x2 = 4 คือ สมการกําลังสอง หรือเรียกอีกอยางวา พาราโบลา 3(x - 2) = -5(2x - 4) จงหาคาของ x
1. 0 2. 1
3. 2 4. 4
(เฉลยคําตอบ 3(x - 2) = -5(2x - 4)
3x - 6 = -10x + 20
3x + 10x = 20 + 6
13x = 26
x = 26
13 = 2
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T212
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ
นักเรียน ดังนี้
ระดับ กลาง • สมการที่มีจํานวนบางจํานวนเปนคําตอบ
4. จงพิจารณาว่าจำานวนที่ให้ไว้ในวงเล็บ [ ] ท้ายสมการ เป็นคำาตอบของสมการนั้นหรือไม่ เปนอยางไร
1) x + 3 = 29 [26] 2) a - 10 = 5 [15] (แนวตอบ เปนสมการทีม่ คี าํ ตอบเพียงคําตอบ
3) 2p = 106 [53] b
4) 6 = 21 [216] เดียว)
5) 3a + 5 = 20 [5] x
6) 3 + 2 = 10 [14] • สมการที่ มี คํ า ตอบทุ ก จํ า นวนเป น คํ า ตอบ
m y + 3 เปนอยางไร
7) 3 - 10 = 6 [48] 8) 4 = 2 [5]
(แนวตอบ เปนสมการที่เมื่อแทนคา x ดวย
9) w4 = 4.5 [18] 10) 3w - 4 = 6w + 4 [6]
จํานวนใดๆ แลวทําใหสมการเปนจริงเสมอ)
5. จงหาคำาตอบของสมการต่อไปนี้ โดยวิธีลองแทนค่าตัวแปร • สมการที่ไมมีจํานวนใดเปนคําตอบ เปน
1) 18 - x = 9 2) 124a = 31 อยางไร
3) 3y + 2 = 8 4) x +3 1 = 3 (แนวตอบ เปนสมการที่เมื่อแทนคา x ดวย
5) y - 3 = y - 3 6) a + a = 2a จํานวนใดๆ แลวทําใหสมการเปนเท็จเสมอ)
b
7) 2 = 10 8) 2x = 12
9) x - 4 = 4 - x 10) 3a - 8 = 10 ขัน้ ประเมิน
1. ครูตรวจใบงานที่ 5.2
ระดับ ท้าทาย
2. ครูตรวจแบบฝกทักษะ 5.2
6. จงหาคำาตอบของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวต่อไปนี้ โดยวิธีลองแทนค่าตัวแปร พร้อมทั้ง 3. ครูตรวจ Exercise 5.2
บอกว่าลักษณะคำาตอบของสมการเป็นแบบใด 4. ครูประเมินการนําเสนอผลงาน
ก. สมการที่มีจำานวนบางจำานวนเป็นคำาตอบ 5. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
ข. สมการที่มีจำานวนทุกจำานวนเป็นคำาตอบ 6. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
ค. สมการที่ไม่มีจำานวนใดเป็นคำาตอบ 7. ครูสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค
1) x + 7 = 24 2) 2x + 3 = 40
3) x + 8 = 8 + x 4) 3x = 2x + x
5) x - x = 0 6) x + 4 = x + 5
7) x - 3 = x - 4 8) 2x + 4x = 6x + 1
7. จงสร้างสมการที่มีลักษณะคำาตอบแบบ ก., ข. และ ค. ในแบบฝึกทักษะข้อที่ 6 มาอย่างละ
1 สมการ พร้อมทัง้ แสดงวิธตี รวจสอบลักษณะคำาตอบของสมการด้วยการลองแทนค่าตัวแปร
ในสมการ

199

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


จํานวนที่กําหนดไวใน [ ] ขอใดทําใหสมการเปนจริง
ก. 6 + x = 22 [15] ข. 4(x - 3) = 5(x + 2) [-22] ค. 3x - 28 = 2x
3 [12] ง. - 5x 6+ 6 = 3x 4- 4 [-14]
1. ขอ ก.-ข. เปนจริง 2. ขอ ข.-ค. เปนจริง 3. ขอ ค.-ง. เปนจริง 4. ขอ ก.-ง. เปนจริง
(เฉลยคําตอบ การหาคําตอบใหแทนคาตัวแปรจะไดคําตอบของสมการ
ก. ไมจริง เพราะ 6 + x = 22 [15 ] ค. จริง เพราะ 3x - 28 = 2x [12 ] ง. ไมจริง เพราะ - 5x + 6 = 3x 4- 4 [-14 ]
3 6
6 + 15 ≠ 22 2 (12) 5(-14) +6
3(12) - 28 = 3 - 6 ≠ 3(-14)4 - 4
21 ≠ 22 24
36 - 28 = 3 - (-64)
6 ≠ -464
ข. จริง เพราะ 4(x - 3) = 5(x + 2) [-22 ]
8= 8 32 -23
4(-22 - 3) = 5(-22 + 2) 3 ≠ 2
4(-25) = 5(-20) ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)
-100 = -100

T213
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
1. ครู ท บทวนความรู  เ รื่ อ งคํ า ตอบของสมการ 5.3 สมบัติของการเทากัน
เชิงเสนตัวแปรเดียว
การใช้สมบัติของการเท่ากันเป็นวิธีการหนึ่งที่นิยมใช้เพื่อหาคำาตอบของสมการ เนื่องจาก
2. ครูกลาววา “การใชสมบัติของการเทากันเปน
วิธกี ารหนึง่ ทีน่ ยิ มใชเพือ่ หาคําตอบของสมการ”
มีสมการบางสมการถ้าหาคำาตอบของสมการโดยวิธีการลองแทนค่าตัวแปรในสมการ อาจจะเสีย
เวลาและไม่สะดวก เพื่อความรวดเร็วและสะดวกในการหาคำาตอบของสมการ จะใช้สมบัติของ
การเท่ากันในการหาคำาตอบ ซึ่งสมบัติของการเท่ากันที่นักเรียนควรรู้จัก มีดังนี้
ขัน้ สอน
รู้ (Knowing) 1. สมบัติสมมาตร
1. ครูยกตัวอยางสมบัตสิ มมาตรจากหนังสือเรียน ให้นักเรียนตอบคำาถามต่อไปนี้
หนา 200 แลวถามคําถาม ดังนี้ (1) ถ้า x = 20 แล้วจะสรุปว่า 20 = x ได้หรือไม่
• ถา x = 20 แลวเราจะสรุปวา 20 = x (2) ถ้า -2a = 15 แล้วจะสรุปว่า 15 = -2a ได้หรือไม่
เชนเดียวกัน ไดหรือไม (แนวตอบ ได) (3) ถ้า 2x + 7 = x - 3 แล้วจะสรุปว่า x - 3 = 2x + 7 ได้หรือไม่
• ถา -2a = 15 แลวเราจะสรุปวา 15 = -2a นักเรียนสามารถสรุปข้อความทั้ง 3 ข้อ ว่า “ได้” และการสรุปข้อความดังกล่าวเป็นไปตาม
เชนเดียวกัน ไดหรือไม (แนวตอบ ได) สมบัติสมมาตร ซึ่งกล่าวว่า
• ถา 2x + 7 = x - 3 แลวจะสรุปวา x - 3 = ถ้า a = b แล้ว b = a เมื่อ a และ b แทนจำานวนใด ๆ
2x + 7 ไดหรือไม (แนวตอบ ได)
2. ครูกลาวสรุปวา ตัวอยางทั้ง 3 ตัวอยางขางตน 2. สมบัติถายทอด
เปนไปตามสมบัติสมมาตร ซึ่งกลาววา ให้นักเรียนตอบคำาถามต่อไปนี้
“ถา a = b แลว b = a เมื่อ a และ b แทน (1) ถ้า 4 = 3 + 1 และ 3 + 1 = 2 + 2 แล้วจะสรุปว่า 4 = 2 + 2 ได้หรือไม่
จํานวนใดๆ” (2) ถ้า 2 × 3 = 3 × 2 และ 3 × 2 = 6 แล้วจะสรุปว่า 2 × 3 = 6 ได้หรือไม่
3. ครูยกตัวอยางสมบัตถิ า ยทอดจากหนังสือเรียน (3) ถ้า a = b และ b = 8 แล้วจะสรุปว่า a = 8 ได้หรือไม่
หนา 200 แลวถามคําถาม ดังนี้
นักเรียนสามารถสรุปข้อความทั้ง 3 ข้อ ว่า “ได้” และการสรุปข้อความดังกล่าวเป็นไปตาม
• ถา 4 = 3 + 1 และ 3 + 1 = 2 + 2 แลว
สมบัติถ่ายทอด ซึ่งกล่าวว่า
เราจะสรุปวา 4 = 2 + 2 ไดหรือไม
(แนวตอบ ได) ถ้า a = b และ b = c แล้ว a = c เมื่อ a, b และ c แทนจำานวนใด ๆ
• ถา 2 × 3 = 3 × 2 และ 3 × 2 = 6 แลว
เราจะสรุปวา 2 × 3 = 6 ไดหรือไม 3. สมบัติการบวก
(แนวตอบ ได) จาก 5 + 1 = 6 ให้นักเรียนพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าเป็นจริงหรือไม่
• ถา a = b และ b = 8 แลวเราจะสรุปวา (1) (5 + 1) + 3 = 6 + 3
a = 8 ไดหรือไม (แนวตอบ ได) (2) (5 + 1) + 7 = 6 + 7
4. ครูกลาวสรุปวา ตัวอยางทั้ง 3 ตัวอยางขางตน (3) (5 + 1) + a = 6 + a เมื่อ a แทนจำานวนใด ๆ
เปนไปตามสมบัติถายทอด ซึ่งกลาววา
“ถา a = b และ b = c แลว a = c เมื่อ 200
a, b และ c แทนจํานวนใดๆ”

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


จากขอความ “การใชสมบัติของการเทากันเปนวิธีการหนึ่งที่นิยมใชเพื่อหา ขอใดหาคําตอบของสมการโดยใชสมบัติการบวก
คําตอบของสมการ เนื่องจากมีสมการบางสมการถาหาคําตอบของสมการ 1. ถา 3a = 12 แลว a = 4
โดยวิธีการลองแทนคาตัวแปรในสมการอาจจะเสียเวลาและไมสะดวก เพื่อ 2. ถา a2 = 2 แลว a = 4
ความรวดเร็วและสะดวกในการหาคําตอบของสมการ จะใชสมบัติของการ 3. ถา a + 1 = 5 แลว a = 4
เทากันในการหาคําตอบ” ครูควรกําหนดสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว แลวใช
4. ถา a - 3 = 1 แลว a = 4
การถาม-ตอบ หาคําตอบของสมการโดยการแทนคา เชน 3x 3- 7 = 7x 4+ 2
และ 2x 5- 3 + 5 +2 2x = 7 ซึ่งจะเสียเวลาและไมสะดวกในการลองแทนคา (เฉลยคําตอบ a-3 = 1
ดังนั้น ครูควรเชื่อมโยงการหาคําตอบของสมการโดยวิธีการลองแทนคามาสู นํา 3 บวกทั้งสองขาง
การใชสมบัติของการเทากัน เพื่อความรวดเร็วและสะดวกในการหาคําตอบของ a-3+3 = 1+3
สมการ a = 4
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)

T214
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
นักเรียนจะเห็นว่า ข้อความข้างต้นทั้ง 3 ข้อ เป็นจริง ซึ่งการสรุปข้อความดังกล่าวเป็น 5. ครูยกตัวอยางสมบัตกิ ารบวกจากหนังสือเรียน
ไปตาม สมบัติการบวก ซึ่งกล่าวว่า เมื่อจำานวนสองจำานวนเท่ากัน นำาจำานวนอีกจำานวนหนึ่ง หนา 200 แลวถามคําถาม ดังนี้
มาบวกแต่ละจำานวนที่เท่ากันนั้น ผลบวกจะเท่ากัน • ถา 5 + 1 = 6 แลว (5 + 1) + 3 = 6 + 3
จริงหรือไม
ถ้า a = b แล้ว a + c = b + c เมื่อ a, b และ c แทนจำานวนใด ๆ
(แนวตอบ จริง)
จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ • ถา 5 + 1 = 6 แลว (5 + 1) + 7 = 6 + 7
(1) จาก 8 = 8 จริงหรือไม
นำา -3 มาบวกกับจำานวนทั้งสองข้างของสมการ (แนวตอบ จริง)
จะได้ 8 + (-3) = 8 + (-3) • ถา 5 + 1 = 6 แลว (5 + 1) + a = 6 + a
สมการยังคงเป็นจริง คือ 5 = 5 จริงหรือไม
นักเรียนจะเห็นว่า 8 + (-3) = 8 + (-3) (แนวตอบ จริง)
มีความหมายเช่นเดียวกับ 8 - 3 = 8 - 3 6. ครูกลาวสรุปวา ตัวอยางทั้ง 3 ตัวอยางขางตน
(2) จาก 6 = 4 + 2 เปนไปตามสมบัติการบวก ซึ่งกลาววา
นำา -2 มาบวกกับจำานวนทั้งสองข้างของสมการ “ถา a = b แลว a + c = b + c เมื่อ a, b
จะได้ 6 + (-2) = (4 + 2) + (-2) และ c แทนจํานวนใดๆ”
สมการยังคงเป็นจริง คือ 4 = 4 7. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาตั ว อย า งการบวกด ว ย
นักเรียนจะเห็นว่า 6 + (-2) = (4 + 2) + (-2) จํานวนที่เปนลบ ในหนังสือเรียน หนา 201
มีความหมายเช่นเดียวกับ 6 - 2 = (4 + 2) - 2
จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันสรุปเปนกรณี
จำานวนที่นำามาบวกกับแต่ละจำานวนที่เท่ากัน อาจเป็นจำานวนลบก็ได้ ในกรณีที่บวกด้วย ทั่วไปวา
จำานวนลบ จะมีความหมายเหมือนกับการนำาจำานวนบวกมาลบออกจากจำานวนแต่ละจำานวนที่ “ถา a = b แลว a - c = b - c เมื่อ a, b
เท่ากัน คือ ถ้า a = b แล้ว a + (-c) = b + (-c) เมื่อ a, b และ c แทนจำานวนใด ๆ และ c แทนจํานวนใดๆ”
นั่นคือ a = b แล้ว a - c = b - c เมื่อ a, b และ c แทนจำานวนใด ๆ
4. สมบัติการคูณ
สมบัติการคูณกล่าวว่า เมื่อมีจำานวนสองจำานวนเท่ากัน นำาจำานวนอีกจำานวนหนึ่งมาคูณ
แต่ละจำานวนที่เท่ากันนั้น ผลคูณจะเท่ากัน เช่น

201

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


ประโยคในขอใดใชสมบัติการคูณ ครูควรเนนยํ้าใหนักเรียนระมัดระวังเกี่ยวกับจํานวนที่นํามาใชเกี่ยวกับ
1. ถา 3x = 2 แลว 3x + 3 = 2 + 3 การแกสมการ เชน สมบัติการบวก จํานวนที่นํามาบวกอาจจะเปนจํานวนบวก
2. ถา 4x = y แลว x = y + 4 หรื อ จํ า นวนลบก็ ไ ด ในทํ า นองเดี ย วกั น จํ า นวนที่ นํ า มาคู ณ หรื อ หารจะเป น
จํานวนบวกหรือจํานวนลบก็ได แตตองไมเปนศูนย (0)
3. ถา x - m = y - m แลว xy = 1
4. ถา 2x = 3y แลว 3x = 2y
(เฉลยคําตอบ ถา 2x = 3y
นํา 23 คูณทั้งสองขาง
x 2 2
2 × 3 = 3y × 3
x
3 = 2y
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)

T215
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู (Knowing)
8. ครูยกตัวอยางสมบัติการคูณจากหนังสือเรียน (1) จาก 3 = 155
หนา 202 บนกระดาน จากนั้นครูและนักเรียน นำา 5 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ
รวมกันสรุปเปนกรณีทั่วไปวา จะได้ 3 × 5 = 155 × 5
“ถา a = b แลว a × c = b × c เมื่อ a,
สมการยังคงเป็นจริง คือ 15 = 15
b และ c แทนจํานวนใดๆ”
9. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาตั ว อย า งการคู ณ ด ว ย (2) จาก 8 = 162
จํานวนที่เปนเศษสวน ในหนังสือเรียน หนา นำา 2 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ
202-203 จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันสรุป จะได้ 8 × 2 = 162 × 2
เปนกรณีทั่วไปวา สมการยังคงเป็นจริง คือ 16 = 16
“ถา a = b แลว a × c1 = b × c1 เมื่อ a, นักเรียนจะเห็นว่า ผลคูณจากข้อ (1) และข้อ (2) เป็นไปตาม สมบัติการคูณ ซึ่งกล่าวว่า
b และ c แทนจํานวนใดๆ ที่ c 0” จำานวนสองจำานวนเท่ากัน นำาจำานวนอีกจำานวนหนึ่งมาคูณแต่ละจำานวนที่เท่ากันนั้น ผลคูณจะ
เท่ากัน
ถ้า a = b แล้ว a × c = b × c เมื่อ a, b และ c แทนจำานวนใด ๆ
จำานวนที่นำามาคูณกับแต่ละจำานวนที่เท่ากัน อาจเป็นเศษส่วนก็ได้ ในกรณีที่คูณด้วย 1c
เมื่อ c แทน จำานวนใด ๆ ที่ c ≠ 0 จะมีความหมายเหมือนกับการนำาจำานวน c มาหารจำานวนแต่ละ
จำานวนที่เท่ากัน เช่น
(3) จาก 20 = 5 × 4
นำา 14 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ 1 × 20 = 1 × (5 × 4)
4 4
สมการยังคงเป็นจริง คือ 5 = 5
นักเรียนจะเห็นว่า 1 × 20 = 1 × (5 × 4)
4 4
มีความหมายเช่นเดียวกับ 4 = 5 ×4 4
20

202

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ขอใดเปนการใชสมบัติการเทากันตามลําดับในการแกสมการ 35 (x4 - 7) = 15
1. สมบัติการคูณ สมบัติการบวก สมบัติสมมาตร 2. สมบัตสิ มมาตร สมบัตกิ ารคูณ สมบัตกิ ารบวก
3. สมบัติการบวก สมบัติสมมาตร สมบัติการคูณ 4. สมบัติการคูณ สมบัติการบวก สมบัติการคูณ
3 x - 7 = 15
(เฉลยคําตอบ 5 (4 ) นํา 7 บวกทั้งสองขางจะได
5 x
นํา 3 คูณทั้งสองขาง 4 - 7 + 7 = 25 + 7
x
5 × 3 x - 7 = 15 5 4 = 32
3 5 (4 ) ×
3 นํา 4 คูณทั้งสองขาง
x
4 - 7 = 25 x
4 × 4 = 32 × 4
x = 128
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)

T216
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เขาใจ (Understanding)
(4) จาก 35 = 7 × 5 1. ครูใหนักเรียนจับคูศึกษาตัวอยางที่ 10 และ
น�า 15 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ “คณิตนารู” ในหนังสือเรียน หนา 203-204
แลวแลกเปลี่ยนความรูกับคูของตนเอง
จะได้ 15 × 35 = 15 × (7 × 5)
สมการยังคงเป็นจริง คือ 7 = 7
นักเรียนจะเห็นว่า 1 × 35 = 1 × (7 × 5)
5 5
มีความหมายเช่นเดียวกับ 5 = 7 ×5 5
35
นักเรียนจะเห็นว่า ผลคูณจากข้อ (3) และข้อ (4) เป็นไปตาม สมบัติการคูณ ซึ่งกล่าวว่า

การคูณด้วย 1c เมื่อ c แทนจ�านวนใด ๆ ที่ c ≠ 0


ถ้า a = b แล้ว a × 1c = b × 1c
จะได้ว่า ac = bc เมื่อ a, b และ c แทนจ�านวนใด ๆ ที่ c ≠ 0

ตัวอย่างที่ 10

จงพิจารณาว่าประโยคในแต่ละข้อต่อไปนี้เท่ากันโดยใช้สมบัติการบวกหรือสมบัติการคูณ
1) ถ้า a = b แล้ว a + 3 = b + 3
2) ถ้า n = 7 แล้ว n - 2 = 7 - 2
3) ถ้า 4x = 16 แล้ว 4x3 = 163
4) ถ้า x3 = 20 แล้ว x = 60
คณิตน่ารู้
วิธีท�า 1) เนื่องจาก a = b
ดังนั้น a + 3 = b + 3 จากข้อ 2) การบวกด้วย -2
ทั้งสองข้างของสมการ
ใช้สมบัติการบวก มีความหมายเช่นเดียวกันกับ
2) เนื่องจาก n = 7 น�า 2 มาลบออกทั้งสองข้าง
ดังนั้น n - 2 = 7 - 2 ของสมการ
1
ใช้สมบัติการบวก (บวกด้วย -2 ทั้งสองข้างของสมการ) จากข้อ 3) การคูณด้วย 3
ทั้งสองข้างของสมการ
3) เนื่องจาก 4x = 16 มีความหมายเช่นเดียวกันกับ
ดังนั้น 4x 16
3 = 3 น�า 3 มาหารทั้งสองข้าง
ของสมการ
ใช้สมบัติการคูณ (คูณด้วย 13 ทั้งสองข้างของสมการ)

203

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ขอใดใชสมบัติการถายทอด
1. ถา a + 3 = 3 + a แลว 3 + a = a + 3 2. ถา x + y = 7 และ 7 = 5 + 2 แลว x + y = 5 + 2
3. ถา m + 4 = 18 แลว m = 14 4. ถา 32 k = 27 แลว k = 18
(เฉลยคําตอบ
1. เปนสมบัติสมมาตร ถา a = b แลว b = a 4. เปนสมบัติการเทากันของการคูณ
ดังนั้น a + 3 = 3 + a แลว 3 + a = a + 3 3 k = 27
2. เปนสมบัติถายทอด ถา a = b และ b = c แลว a = c 2
2 × 3 k = 2 × 27
ดังนั้น x + y = 7 และ 7 = 5 + 2 แลว x + y = 5 + 2 3 2 3
3. เปนสมบัติการเทากันของการบวก k = 18
m + 4 = 18 แลว m + 4 + (-4) = 18 + (-4) ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)
m = 14

T217
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เขาใจ (Understanding)
2. ครู ใ ห นั ก เรี ย นแต ล ะคนทํ า “ลองทํ า ดู ” ใน 4) เนื่องจาก x = 20
3 Thinking Time
หนั ง สื อ เรี ย น หน า 204 เมื่ อ เสร็ จ แล ว ครู จะได้ x × 3 = 20 × 3 จงยกตัวอย่างมา 1 ประโยค
3
และนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ “ลองทําดู” หรือ x = 60 ที่ใช้ทั้งสมบัติการบวกและสมบัติ
3. ครูใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางคําตอบของ การคูณ
ใช้สมบัติการคูณ ตอบ
“Thinking Time” แลวครูเขียนบนกระดาน
ใหนักเรียนดูและตรวจสอบความถูกตอง ลองทําดู
4. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 5.3 ขอ 1. แลว จงพิจารณาว่าประโยคในแต่ละข้อต่อไปนี้เท่ากันโดยใช้สมบัติการบวกหรือสมบัติการคูณ
ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ 1) ถ้า a + 5 = b + 5 แล้ว a = b
2) ถ้า x - 3 = 9 - 3 แล้ว x = 9
ลงมือทํา (Doing) 3) ถ้า 8x = 16 แล้ว x = 2
1. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 5.3 ขอ 2.-4. 4) ถ้า x = 80 แล้ว x4 = 20
เปนการบาน
2. ครูใหนกั เรียนจับคูช ว ยกันทําแบบฝกทักษะ 5.3 แบบฝึกทักษะ 5.3
ขอ 5. โดยเขียนลงในสมุดของตนเอง แลวครู
และนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ ระดับ พื้นฐาน

1. จงพิจารณาว่าประโยคในแต่ละข้อต่อไปนีเ้ ท่ากันโดยใช้สมบัตกิ ารสมมาตร สมบัตกิ ารถ่ายทอด


สมบัติการบวก หรือสมบัติการคูณ
1) ถ้า x = y แล้ว x + 3 = y + 3
2) ถ้า x - 8 = 13 แล้ว x = 21
3) ถ้า m = 2n แล้ว m - 5 = 2n - 5
4) ถ้า 4p + 6 = 9 แล้ว 4p = 3
5) ถ้า a = b แล้ว 4a = 4b
6) ถ้า 2a = 3b แล้ว a = 6b
7) ถ้า 2x = 4y แล้ว x = 2y
8) ถ้า x = a + 1 แล้ว x3 = a +3 1
เฉลย Thinking Time 9) ถ้า (x + y) + 3 = z แล้ว (x + y) + 5 = z + 2
x 10) ถ้า 7x = y + 6 แล้ว x = y + 6
3-4 = 1 7
x
3-4+4 = 1 + 4 (สมบัติการบวก)
x 204
3×3 = 5 × 3 (สมบัติการคูณ)
∴x = 15

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


กอนใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 5.3 ครูควรเนนยํ้าใหนักเรียนอานคําสั่ง การหาคําตอบของสมการ 45 x = 32 ควรใชสมบัติในขอใด
โจทยแตละขออยางรอบคอบและสังเกตขอความโดยเฉพาะขอ 1. ซึ่งถาม 1. สมบัติถายทอด 2. สมบัติสมมาตร
เกี่ยวกับการนําสมบัติการเทากันตางๆ ไปใช นักเรียนควรสังเกตผลลัพธที่ได 3. สมบัติการบวก 4. สมบัติการคูณ
วา สอดคลองกับสมบัติใดๆ สําหรับขอ 2. เปนการใชความรูแบบยอนกลับ (เฉลยคําตอบ
1. สมบัตถิ า ยทอด ใชไมได เพราะสมบัตถิ า ยทอดตองมีสมการ
2 สมการ ซึ่งจํานวนหนึ่งตองมีความสัมพันธกัน
2. สมบัติสมมาตร ใชไมได เพราะสมบัติสมมาตรไมไดใช
เพื่อหาคําตอบของสมการได
3. สมบัติการบวก ใชไมได เพราะสมการที่กําหนดไมมีการ
ดําเนินการเกี่ยวกับการบวก
4. สมบัติการคูณ ใชได เพราะสมการที่กําหนดมีการดําเนิน
การเกี่ยวกับการคูณ
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)

T218
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ
นักเรียน ดังนี้
2. จงเติมจำานวนหรือตัวแปรลงในช่องว่างให้ถูกต้อง • สมบัติของการเทากันที่นักเรียนไดศึกษา
1) ถ้า x = y แล้ว 3x = ................................... มีสมบัติอะไรบาง
2) ถ้า a = 2x แล้ว 4a = ...................................
(แนวตอบ สมบัติสมมาตร สมบัติถายทอด
3) ถ้า a = 5b แล้ว 7a = ...................................
สมบัติการบวก และสมบัติการคูณ)
4) ถ้า 2x = 32 แล้ว x = ...................................
5) ถ้า x9 = 3 แล้ว x = ................................... • สมบัติสมมาตร กลาววาอยางไร
(แนวตอบ ถา a = b แลว b = a เมื่อ a
6) ถ้า x = 28 แล้ว x7 = ...................................
และ b แทนจํานวนใดๆ)
7) ถ้า a = b แล้ว ac = ................................... เมื่อ c ≠ 0
• สมบัติถายทอด กลาววาอยางไร
8) ถ้า x = 54 แล้ว x - 10 = ...................................
(แนวตอบ ถา a = b และ b = c แลว a = c
9) ถ้า 15 + 6 = x แล้ว ................................... = x + 4
เมื่อ a, b และ c แทนจํานวนใดๆ)
10) ถ้า a + 3 12 = 17 แล้ว a = ...................................
• สมบัติการบวก กลาววาอยางไร
ระดับ กลาง (แนวตอบ ถา a = b แลว a + c = b + c
3. จงเติมจำานวนหรือตัวแปรลงในช่องว่างให้ถูกต้อง เมื่อ a, b และ c แทนจํานวนใดๆ
1) ถ้า 23 x = 4 แล้ว x = ................................... และ ถา a = b แลว a - c = b - c
2) ถ้า 35 x = 18 แล้ว ................................... = 53 × 18 เมื่อ a, b และ c แทนจํานวนใดๆ)
3) ถ้า 56 x = 15 แล้ว x = ................................... • สมบัติการคูณ กลาววาอยางไร
4) ถ้า 4a + 10 = 30 แล้ว a = ................................... (แนวตอบ ถา a = b แลว a × c = b × c
5) ถ้า 5a + 6 = 11 แล้ว a = ................................... เมื่อ a, b และ c แทนจํานวนใดๆ
6) ถ้า 2x - 15 = 65 แล้ว x = ................................... และ ถา a = b แลว a × c1 = b × c1
7) ถ้า x2 + 6 = 10 แล้ว x = ................................... เมือ่ a, b และ c แทนจํานวนใดๆ ที่ c 0)
8) ถ้า 36x + 72 = 20 แล้ว x = ...................................
9) ถ้า a - 2 ขัน้ ประเมิน
3 = 8 แล้ว a = ...................................
10) ถ้า 12 - 3b = 6 แล้ว b = ................................... 1. ครูตรวจแบบฝกทักษะ 5.3
ระดับ ท้าทาย
2. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
3. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
4. ถ้า 17x3+ 5 = 30 แล้ว 2x11+ 1 มีค่าเท่ากับเท่าใด 4. ครูสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค
5. กำาหนด A = 12 × B × H, เมื่อ A, B และ H ไม่เท่ากับ 0 ใช้สมบัติของการเท่ากัน
จงหาค่าของ H ในรูปของ A และ B
205

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ถา 2x 2+ 1 + x +4 4 = x 6- 1 + 3x 3- 1 แลว x 9- 3 - x 11+ 2 ตรงกับขอใด
1. -1 2. -5 3. -16 4. -24
(เฉลยคําตอบ
2x + 1 + x + 4 = x - 1 + 3x - 1
2 4 6 3 แทนคา x = -24 ใน x 9- 3 - x 11 +2
4x + 2 + x + 4 = x - 1 + 6x - 2 จะได (-24) - 3 - (-24) + 2 = -27 - (-22)
4 6 9 11 9 11
6(5x + 6) = 4(7x - 3) = -3 - (-2)
30x + 36 = 28x - 12 = -3 + 2
30x - 28x = -12 - 36 = -1
2x = -48 นั่นคือ 2x 2+ 1 + x +4 4 = x 6- 1 + 3x 3- 1 แลว x 9- 3 - x 11
+ 2 = -1
x = -48 2 ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 1.)
x = -24

T219
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
ครู ท บทวนความรู  เ ดิ ม เรื่ อ งสมบั ติ ข องการ 5.4 การแกสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว
เทากัน ดังนี้
การแก้สมการ คือ การหาคำาตอบของสมการ
- สมบัติสมมาตร “ถา a = b แลว b = a
ในหัวข้อที่ 5.2 นักเรียนสามารถหาคำาตอบของสมการได้ โดยการลองแทนค่าของตัวแปร
เมื่อ a และ b แทนจํานวนใดๆ”
ที่ปรากฏอยู่ในสมการ ในหัวข้อนี้จะแสดงการใช้สมบัติของการเท่ากันเพื่อหาคำาตอบของสมการ
- สมบัติถายทอด “ถา a = b และ b = c
ดังตัวอย่างต่อไปนี้
แลว a = c เมื่อ a, b และ c แทนจํานวน
ใดๆ” ตัวอย่างที่ 11
- สมบัติการบวก “ถา a = b แลว a + c = จงแก้สมการ x - 18 = 21
b + c เมื่อ a, b และ c แทนจํานวนใดๆ”
วิธีทำา จาก x - 18 = 21
“ถา a = b แลว a - c = b - c เมื่อ a, b
นำา 18 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ
และ c แทนจํานวนใดๆ”
จะได้ x - 18 + 18 = 21 + 18
- สมบัติการคูณ “ถา a = b แลว a × c =
หรือ x = 39
b × c เมื่อ a, b และ c แทนจํานวนใดๆ”
ตรวจสอบคำาตอบ
“ถา a = b แลว a × c1 = b × c1 เมื่อ
แทน x ด้วย 39 ใน x - 18 = 39 - 18
a, b และ c แทนจํานวนใดๆ ที่ c 0”
= 21 ทำาให้สมการเป็นจริง
ดังนั้น คำาตอบของสมการ x - 18 = 21 คือ 39 ตอบ
ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
ตัวอย่างที่ 12
1. ครูยกตัวอยางที่ 11 ในหนังสือเรียน หนา 206
โดยแสดงวิ ธีทํ า อย า งละเอี ย ดบนกระดาน จงแก้สมการ x + 24 = 56
แลวใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 12 พรอมกับ วิธีทำา จาก x + 24 = 56
ใหนักเรียนสังเกตวาใชสมบัติของการเทากัน นำา 24 มาลบออกทั้งสองข้างของสมการ
มาช ว ยแก ส มการอย า งไร จากนั้ น ครู ถ าม จะได้ x + 24 - 24 = 56 - 24
คําถาม ดังนี้ หรือ x = 32
• ตัวอยางที่ 11 และตัวอยางที่ 12 ใชสมบัติ ตรวจสอบคำาตอบ
ของการเทากันขอใด แทน x ด้วย 32 ใน x + 24 = 32 + 24
(แนวตอบ สมบัติการบวก) = 56 ทำาให้สมการเป็นจริง
ดังนั้น คำาตอบของสมการ x + 24 = 56 คือ 32 ตอบ

206

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


กําหนดให a เปนคําตอบของสมการ 12 (3x - 8) + 13 (x + 12) = 33
b เปนคําตอบของสมการ 4(5 + 2x) - 10(2 - x) = -6
ab ตรงกับจํานวนในขอใด
1. 13 2. -6 3. 18 4. 6
(เฉลยคําตอบ
1 (3x - 8) + 1 (x + 12) = 33 4(5 + 2x) - 10(2 - x) = -6
2 3
3x - 4 + 1x + 4 = 33 20 + 8x - 20 + 10x = -6
2 3 18x = -6
3x + 1x = 33
2 3 x = - 13
11x
6 = 33 ∴ b คือ - 1
3
x = 18 แทนคา ab = (18) (- 13 ) = -6
∴ a คือ 18
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)
T220
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
ลองทําดู 2. ครูใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” ในหนังสือเรียน
จงแก้สมการต่อไปนี้ พร้อมทั้งแสดงวิธีตรวจสอบคำาตอบ หน า 207 จากนั้ น ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น
1) x + 48 = 107 2) x - 36 = 64 เฉลยคําตอบ
3. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 5.4 ก ขอ 1.
แบบฝึกทักษะ 5.4 ก จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ
4. ครูใหนกั เรียนทําแบบฝกทักษะ 5.4 ก ขอ 2.-5.
ระดับ พื้นฐาน เปนการบาน
1. จงแก้สมการต่อไปนี้ พร้อมทั้งแสดงวิธีตรวจสอบคำาตอบ
1) x - 15 = 21 2) x - 10 = 51
3) x + 28 = 46 4) x + 43 = 78
5) x - 0.2 = 0.8 6) x - 3.1 = 2.9
7) x + 5.6 = 10.6 8) x + 6.3 = 11.6
9) x - 12 = 52 10) x + 38 = 118
ระดับ กลาง

2. จงแก้สมการต่อไปนี้ พร้อมทั้งแสดงวิธีตรวจสอบคำาตอบ
1) 95 = y - 41 2) 48 = 7 + x
3) 5 = a - 92 4) 52 = x - 32
5) 15 - x = 7 6) 48 - x = 12
7) x - 5 = 5 7 1 8) 1 23 + x = 9
9) 1 35 = x - 0.2 10) 2 54 = x + 1
ระดับ ท้าทาย

3. ถ้า x + 2 = 3 25 และ y - 0.8 = 4 12 แล้ว x + y มีค่าเท่ากับเท่าใด


4. ถ้า x + y - z = y + z แล้ว x มีค่าเท่ากับเท่าใด เมื่อ z = 4
5. ถ้า x = w + z และ w = y - z แล้ว x มีค่าเท่ากับเท่าใด เมื่อ y = 1 และใช้สมบัติใด
ในการหาคำาตอบ

207

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


ถา 5x - 3 = 22 แลว x - 1 12 เทากับเทาไร ครูใหนกั เรียนอานคําสัง่ ในแบบฝกทักษะที่ 5.4 ก ใหรอบคอบพรอมแปลความ
และเขียนรายละเอียดที่ตองทํา เชน “จงแกสมการตอไปนี้ พรอมทั้งแสดงวิธี
1. 2 12 2. 3 12 ตรวจสอบคําตอบดวย” ซึ่งนักเรียนตองแสดงวิธีทําการใชสมบัติการเทากัน
3. 4 4. 5 หาคําตอบของสมการและแสดงวิธีตรวจสอบ โดยการแทนคาตัวแปร
(เฉลยคําตอบ 5x - 3 = 22
5x = 25
x = 5
จะไดวา x-1 = 5-3
1
2 2
= 7 = 31
2 2
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)

T221
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
5. ครูยกตัวอยางที่ 13 ในหนังสือเรียน หนา 208 ตัวอย่างที่ 13
โดยแสดงวิธีทําอยางละเอียดบนกระดาน แลว จงแก้สมการ 5x = 65
ให นั ก เรี ย นศึ ก ษาตั ว อย า งที่ 14 พร อ มกั บ วิธีทำา จาก 5x = 65
ใหนักเรียนสังเกตวาใชสมบัติของการเทากัน นำา 5 มาหารทั้งสองข้างของสมการ
มาช ว ยแก ส มการอย า งไร จากนั้ น ครู ถ าม จะได้ 5x = 65
คําถาม ดังนี้ 5 5
หรือ x = 13
• ตัวอยางที่ 13 และตัวอยางที่ 14 ใชสมบัติ ตรวจสอบคำาตอบ
ของการเทากันขอใด แทน x ด้วย 13 ใน 5x = 5 × 13
(แนวตอบ สมบัติการคูณ) = 65 ทำาให้สมการเป็นจริง
6. ครูใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” ในหนังสือเรียน ดังนั้น คำาตอบของสมการ 5x = 65 คือ 13 ตอบ
หน า 208 จากนั้ น ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น
เฉลยคําตอบ ตัวอย่างที่ 14
7. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 5.4 ข ขอ 1. จงแก้สมการ 12x = 13
จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ x
วิธีทำา จาก 12 = 13
8. ครูใหนกั เรียนทําแบบฝกทักษะ 5.4 ข ขอ 2.-3.
เปนการบาน นำา 12 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ x
12 × 12 = 13 × 12
หรือ x = 156
ตรวจสอบคำาตอบ
แทน x ด้วย 156 ใน x 156
12 = 12
= 13 ทำาให้สมการเป็นจริง
ดังนั้น คำาตอบของสมการ 12x = 13 คือ 156 ตอบ

ลองทําดู
จงแก้สมการต่อไปนี้ พร้อมทั้งแสดงวิธีตรวจสอบคำาตอบ
1) 8x = 72
2) 15x = 12

208

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


คําตอบของสมการในขอใดมีคานอยที่สุด
1. 3(x - 1) = 9 2. 2x + 56 = 13 3. 25 x + 5 = 1 4. 2x 4+ 3 = 2
(เฉลยคําตอบ
1. 3(x - 1 ) = 9 3. 2 x + 5 = 1 4. 2x + 3 = 2
5 4
x -1 = 3 2x = -4 นํา 4 คูณทั้งสองขาง
5
x = 4 x = -4 × 5 2x + 3 = 8
x 5 1 2
2. + = x = -10 2x = 5
2 6 3
x = 5
นํา 6 คูณทั้งสองขาง 2
3x + 5 = 2 ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)
3x = -3
x = -1

T222
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
แบบฝึกทักษะ 5.4 ข 1. ครูยกตัวอยางที่ 15 ในหนังสือเรียน หนา 209
โดยแสดงวิ ธีทํ า อย า งละเอี ย ดบนกระดาน
ระดับ พื้นฐาน
พรอมกับอธิบายเพิ่มเติมวา “การใชสมบัติ
1. จงแก้สมการต่อไปนี้ พร้อมทั้งแสดงวิธีตรวจสอบคำาตอบ ของการเทากันจะใชไดครัง้ ละ 1 สมบัตเิ ทานัน้
1) 8x = 104 2) x9 = 81 จะใชพรอมกันไมได”
3) 0.5x = 10 x = 55
4) 0.4
ระดับ กลาง

2. จงแก้สมการต่อไปนี้ พร้อมทั้งแสดงวิธีตรวจสอบคำาตอบ
1) 84 = 12x 2) 95 = 19x
x
3) 42 = 4 4) 53 = x7
5) 18 = 0.9x 6) 21 = 0.7x
7) 28 = 0.5 x 8) 55 = 0.4 x

ระดับ ท้าทาย

3. ถ้า 45 x = 3 12 และ 0.7y = 5 14 แล้ว xy มีค่าเท่ากับเท่าใด

ตัวอย่างที่ 15

จงแก้สมการ 3x - 4 = 17
วิธีทำา จาก 3x - 4 = 17 ข้อควรระวัง
นำา 4 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ การใช้ ส มบั ติ ข องการ
จะได้ 3x - 4 + 4 = 17 + 4 เท่ากันจะใช้ได้ครั้งละ 1
หรือ 3x = 21 สมบัตเิ ท่านัน้ จะใช้พร้อม
นำา 3 มาหารทั้งสองข้างของสมการ กันไม่ได้ เช่น ในตัวอย่างนี้
3x = 21 ใช้ ส มบั ติ ก ารบวกก่ อ น
จะได้ 3 3 แล้วจึงใช้สมบัติการคูณ
หรือ x = 7
ตรวจสอบคำาตอบ
แทน x ด้วย 7 ใน 3x - 4 = (3 × 7) - 4
= 17 ทำาให้สมการเป็นจริง
ดังนั้น คำาตอบของสมการ 3x - 4 = 17 คือ 7 ตอบ
209

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


6(x - 7) = 24 แลว x มีคาเทากับเทาไร ครูเนนยํ้ากับนักเรียนเพิ่มเติมถึงลําดับการใชสมบัติ โดยนักเรียนศึกษา
1. 3 2. 3 ประเด็นในกรอบขอควรระวัง แลวใหนักเรียนยกตัวอยางกรณีโจทยสมการ
3. 8 4. 11
เชิ ง เส น ตั ว แปรเดี ย วที่ ใ ห ส มบั ติ ก ารคู ณ ก อ นสมบั ติ ก ารบวก หรื อ ครู อ าจ
(เฉลยคําตอบ 6(x - 7 ) = 24
ยกตัวอยางของโจทยสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวที่ใหสมบัติการคูณกอนสมบัติ
x - 7 = 24
6 การบวก เชน 5x 3- 7 = 6 และ 2x 5- 3 = 5 +2 2x เปนตน อีกทั้งครูอาจชี้แนะ
x-7 = 4
ขอควรระวังเพิ่มเติมดวยวา นักเรียนจะไมสามารถตัดทอน 2 ที่เปนสัมประสิทธิ์
x = 4+7
x = 11 ของ x กั บ ตั ว ส ว น 2 ในลั ก ษณะนี้ 2x 5- 3 = 5 +2 2x ได หรื อ ถ า หาก
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.) จะตัดทอนควรแยกสวนออกจากกันกอน เชน 2x 5- 3 = 52 + 2x 2 จะได
2x - 3 = 5 + x เปนตน
5 2

T223
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
2. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 16 ในหนังสือ ตัวอย่างที่ 16
เรียน หนา 210 พรอมกับใหนักเรียนสังเกต จงแก้สมการ x5 + 3 = 12
วาใชสมบัติของการเทากันมาชวยแกสมการ x + 3 = 12
อยางไร จากนั้นครูถามคําถามวา
วิธีทำา จาก 5 Thinking Time
นำา 3 มาลบทั้งสองข้างของสมการ a-a = 0
• ตัวอยางที่ 15 และตัวอยางที่ 16 ใชสมบัติ
จะได้ x5 + 3 - 3 = 12 - 3 a + (-a) = 0
ของการเทากันขอใด หรือ x = 9 นั่นคือ a - a = a + (-a)
(แนวตอบ สมบัติการบวก และสมบัติการคูณ 5 ดังนั้น x5 + 3 - 3 = 12 - 3
นำา 5 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ เป็นการใช้สมบัติการบวก
ตามลําดับ) x×5 = 9×5
3. ครูใหนักเรียนตอบคําถาม “Thinking Time”
จะได้ 5 ใช่หรือไม่ เพราะเหตุใด
และทํา “ลองทําดู” ในหนังสือเรียน หนา 210 หรือ x = 45
จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ ตรวจสอบคำาตอบ
แทน x ด้วย 45 ใน x + 3 = 45 + 3
4. ครูยกตัวอยางที่ 17 ในหนังสือเรียน หนา 210- 5 5
211 โดยแสดงวิธีทําอยางละเอียดบนกระดาน = 9+3
พรอมทั้งเนนยํ้านักเรียนวาใชสมบัติของการ = 12 ทำาให้สมการเป็นจริง
x
ดังนั้น คำาตอบของสมการ 5 + 3 = 12 คือ 45 ตอบ
เทากันขอใด จากนั้นครูถามคําถามวา
• ตัวอยางที่ 17 ใชสมบัตขิ องการเทากันขอใด
ลองทําดู
(แนวตอบ สมบัติการคูณ และสมบัติการบวก
ตามลําดับ) จงแก้สมการต่อไปนี้ พร้อมทั้งแสดงวิธีตรวจสอบคำาตอบ
1) 4x + 9 = 13 2) 3x2 - 7 = 14

ตัวอย่างที่ 17

จงแก้สมการ x +6 3 = 41
วิธีทำา จาก x + 3 = 41
6
นำา 6 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ 6 × (x +6 3) = 6 × 41
หรือ x + 3 = 246
นำา 3 มาลบทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ x + 3 - 3 = 246 - 3
หรือ x = 243
เฉลย Thinking Time
เปนการใชสมบัติการบวก เพราะนําจํานวน -3 210
มาบวกจํานวนสองจํานวนเทากัน

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


การแกสมการที่มีความซับซอน คือ มีการดําเนินการทางจํานวนทั้งบวก 3x + 12 = 7x - 5 แลว x มีคาเทาใด
6 3
ลบ คูณ และหาร ครูควรชี้แนะใหนักเรียนพิจารณาผลลัพธของการดําเนินการ
1. -2 2. 0
แตละอยางทีก่ าํ หนดพรอมเลือกใชสมบัตกิ ารเทากันใหสอดคลองและเหมาะสม 2
3. 11 4. 2
(เฉลยคําตอบ 3x + 12 = 7x - 5
6 3
6 คูณทั้งสองขาง
6 × 3x + 12 = 6 (7x - 5 )
2
6 3
3x + 12 = 14x - 10
11 x = 22
11 11
x = 2
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)

T224
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
ตรวจสอบคำาตอบ 5. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 18 ในหนังสือ
แทน x ด้วย 243 ใน x + 3 = 243 + 3 เรียน หนา 211-212 พรอมกับใหนักเรียน
6 6
246 สังเกตวาใชสมบัติของการเทากันมาชวยแก
= 6
สมการอยางไร จากนั้นครูถามคําถามวา
= 41 ทำาให้สมการเป็นจริง • ตัวอยางที่ 18 ใชสมบัตขิ องการเทากันขอใด
ดังนั้น คำาตอบของสมการ x +6 3 = 41 คือ 243 ตอบ (แนวตอบ วิธีที่ 1 ใชสมบัติการคูณ และ
สมบัติการบวก ตามลําดับ แตวิธีที่ 2 นํา
ตัวอย่างที่ 18
สมบัตกิ ารแจกแจง มาชวยในการแกสมการ
ดวย กอนที่จะใชสมบัติการบวกและสมบัติ
จงแก้สมการ 3(x - 14) = 27
การคูณ ตามลําดับ)
วิธีทำา วิธีที่ 1 3(x - 14) = 27
นำา 3 มาหารทั้งสองข้างของสมการ
Thinking Time
a = 1, a ≠ 0
จะได้ 3(x 3- 14) = 273 a
a × 1a = 1, a ≠ 0
หรือ x - 14 = 9 นั่นคือ aa = a × 1a , a ≠ 0
นำา 14 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ
ดังนั้น 3(x 3- 14) = 273
จะได้ x - 14 + 14 = 9 + 14
เป็นการใช้สมบัติการคูณ
หรือ x = 23 ใช่หรือไม่ เพราะเหตุใด
วิธีที่ 2 3(x - 14) = 27
ใช้สมบัติการแจกแจง
จะได้ 3x - (3 × 14) = 27
หรือ 3x - 42 = 27
นำา 42 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ 3x - 42 + 42 = 27 + 42
หรือ 3x = 69
นำา 3 มาหารทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ 3x = 69
3 3
หรือ x = 23

เฉลย Thinking Time


211 เปนการใชสมบัติการคูณเพราะนําจํานวน
1 มาคูณจํานวนทั้งสองขางของสมการ
3

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


21(x + 1) = 3(3x + 7) แลว x เทากับเทาไร จากตัวอยางที่ 18 ครูชี้แนะใหนักเรียนพิจารณาแนวคิดจากวิธีที่ 1 และ
1. -4 วิธีที่ 2 โดยวิธีที่ 1 ใชการนํา 3 มาหารทั้งสองขางของสมการ สวนวิธีที่ 2
2. -3 ใชสมบัติการแจกแจง และควรแนะนํานักเรียนวา วิธีที่เหมาะสมจะเปนวิธีที่ 1
3. 0 เนื่องจากลดขั้นตอนการดําเนินการและทําใหคาคงตัวนอยลง
4. 4
(เฉลยคําตอบ 21(x + 1) = 3(3x + 7)
7(x + 1) = 3x + 7
4x = 0
x = 0
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T225
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
6. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 19 ในหนังสือ ตรวจสอบคำาตอบ
เรียนหนา 212 พรอมทั้งเนนยํ้าใหนักเรียน แทน x ด้วย 23 ใน 3(x - 14) = 3(23 - 14)
สังเกตวาในแตละขั้นตอนใชสมบัติของการ = 3(9)
เทากันขอใด = 27 ทำาให้สมการเป็นจริง
7. ครูใหนักเรียนตอบคําถาม “Thinking Time” ดังนั้น คำาตอบของสมการ 3(x - 14) = 27 คือ 23 ตอบ
และทํา “ลองทําดู” ในหนังสือเรียน หนา 212
จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ ตัวอย่างที่ 19

8. ครูแจกใบงานที่ 5.3 เรื่อง การแกสมการ (1) จงแก้สมการ 4(x 5+ 3) = 24


ใหนักเรียนทํา จากนั้นครูและนักเรียนรวมกัน วิธีทำา จาก 4(x + 3) = 24
5 T
hinking Time
เฉลยคําตอบ นำา 54 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ นักเรียนคิดว่าจะแก้สมการ
4(x + 3) = 24
จะได้ 54 × 4(x 5+ 3) = 54 × 24 5
โดยใช้สมบัติการแจกแจงได้
หรือ x + 3 = 30 หรือไม่ และการแก้สมการ
นำา 3 มาลบทั้งสองข้างของสมการ โดยใช้สมบัติการแจกแจงเป็น
จะได้ x + 3 - 3 = 30 - 3 วิธีทำาที่ยุ่งยากน้อยกว่าหรือ
หรือ x = 27 มากกว่าที่แสดงในตัวอย่าง
ตรวจสอบคำาตอบ
แทน x ด้วย 27 ใน 4(x + 3) = 4(27 + 3)
5 5
= 4(6)
= 24 ทำาให้สมการเป็นจริง
ดังนั้น คำาตอบของสมการ 4(x 5+ 3) = 24 คือ 27 ตอบ

ลองทําดู
จงแก้สมการต่อไปนี้ พร้อมทั้งแสดงวิธีตรวจสอบคำาตอบ
1) 2x 3+ 1 = 5
2) 6(x - 3) = 30
3) 3(x + 2)
7 = 18

212

เฉลย Thinking Time


ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET
4(x + 3) = 24 สามารถใชสมบัติการแจกแจงได และเปนวิธีที่ไมยุงยาก
5 -5x - 8 = -9x - 4 แลว x มีคาเทาไร
และสามารถใชสมบัติการแจกแจงแกสมการได ดังนี้ 1. -3
4(x + 3) = 24 2. 1
5 3. 0
5×( 4x + 12 = 5 × 24
5 ) 4. 3
4x + 12 - 12 = 120 - 12 (เฉลยคําตอบ -5x - 8 = -9x - 4
4x = 108 4x = 4
4 4
x = 27 x = 1
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)
ดังนั้น คําตอบของสมการ 4(x + 3) = 24 คือ 27
5

T226
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
ตัวอย่างที่ 20 9. ครูยกตัวอยางที่ 20 ในหนังสือเรียน หนา
จงแก้สมการ 7x + 8 = 5x - 4 213 โดยแสดงวิธที าํ อยางละเอียดบนกระดาน
พรอมกับเนนยํ้านักเรียนวาใชสมบัติของการ
วิธีทำา จาก 7x + 8 = 5x - 4
เทากันขอใดในแตละขัน้ ตอน แลวใหนกั เรียน
นำา 5x มาลบออกทั้งสองข้างของสมการ
ทํา “ลองทําดู” จากนัน้ ครูและนักเรียนรวมกัน
จะได้ 7x + 8 - 5x = 5x - 4 - 5x
เฉลยคําตอบ
หรือ 2x + 8 = -4
10. ครูทบทวนความรูเรื่องการหา ค.ร.น. แลวให
นำา 8 มาลบออกทั้งสองข้างของสมการ
นักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 21 ในหนังสือเรียน
จะได้ 2x + 8 - 8 = (-4) - 8
หนา 213-214 พรอมกับใหนักเรียนสังเกตวา
หรือ 2x = -12
ใชสมบัติของการเทากันมาชวยแกสมการ
นำา 2 มาหารทั้งสองข้างของสมการ
2x = -12 อยางไร แลวครูถามคําถามวา
จะได้ 2 2 • ตัวอยางที่ 21 ใชสมบัติของการเทากัน
หรือ x = -6 ขอใด
ตรวจสอบคำาตอบ (แนวตอบ สมบัติการบวก สมบัติการบวก
แทน x ด้วย -6 ใน 7x + 8 = 7(-6) + 8 = -34 และสมบัติการคูณ ตามลําดับ)
และ 5x - 4 = 5(-6) - 4 = -34 ทำาให้สมการเป็นจริง
ดังนั้น คำาตอบของสมการ 7x + 8 = 5x - 4 คือ -6 ตอบ
ลองทําดู
จงแก้สมการ 15x - 9 = 7x - 25

ตัวอย่างที่ 21

จงแก้สมการ 2x3 + 94 = x3 + 54
วิธีทำา จาก 2x + 9 = x + 5
3 4 3 4
x
นำา 3 มาลบออกทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ 2x3 + 94 - x3 = x3 + 54 - x3
หรือ x+9 = 5
3 4 4

213

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


คาของ x ในสมการ 3x - 15 = 5x + 15 - 8x เทากับเทาไร ตัวอยางที่ 21 ครูชี้แนะใหนักเรียนพิจารณา 3x ที่นํามาลบออกจากจํานวน
1. -5 ทั้งสองขางของสมการ พรอมอธิบายวา 3x เปนจํานวนที่มีคาเปลี่ยนแปลงไป
2. 0 ตามคาของ x จึงสามารถนํามาใชกับสมบัติการบวกได และครูเนนยํ้ากับ
3. 5 นักเรียนวา จํานวนที่นํามาบวกทั้งสองขางของสมการ หรือจํานวนที่นํามาคูณ
4. 6 ทั้งสองขางของสมการไมจําเปนตองเปนคาคงตัวเสมอไป
(เฉลยคําตอบ 3x - 15 = 5x + 15 - 8x
3x + 3x = 15 + 15
6x = 30
x = 5
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T227
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
11. ใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” ในหนังสือเรียน นำา 94 มาลบออกทั้งสองข้างของสมการ คณิตน่ารู้
หนา 214 จากนั้นครูและนักเรียนรวมกัน จะได้ x3 + 94 - 94 = 54 - 94 ในตัวอย่างที่ 21 นักเรียน
เฉลยคําตอบ x -4 สามารถแก้สมการได้อีก
หรือ 3 = 4
12. ครูแจกใบงานที่ 5.4 เรื่อง การแกสมการ (2) วิธีหนึ่งโดยการนำา ค.ร.น.
x = -1
ใหนกั เรียนทํา จากนัน้ ครูและนักเรียนรวมกัน 3 ของตัวส่วนมาคูณทั้งสอง
เฉลยคําตอบ นำา 3 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ ข้างของสมการเพื่อทำาให้
x × 3 = (-1) × 3 ตัวส่วนหมดไป
จะได้ 3
ลงมือทํา (Doing) หรือ x = -3
1. ครู ใ ห นั ก เรี ย นจั ด กลุ  ม 6 กลุ  ม เท า ๆ กั น ตรวจสอบคำาตอบ
คละความสามารถทางคณิตศาสตร แลวทํา แทน x ด้วย -3 ใน 2x3 + 94 = 2(3-3) + 94 = (-2) + 94
กิจกรรม ดังนี้
= 14
- รวมกันวิเคราะห “H.O.T.S. คําถามทาทาย
การคิดขั้นสูง” ในหนังสือเรียน หนา 214 และ x + 5 = (-3) + 5 = (-1) + 5
3 4 3 4 4
แลวเขียนวิธีการหาคําตอบลงในสมุดของ 1
= 4 ทำาให้สมการเป็นจริง
ตนเอง
- จากนั้ น ให นั ก เรี ย นแลกเปลี่ ย นความรู  ดังนั้น คำาตอบของสมการ 2x3 + 94 = x3 + 54 คือ -3 ตอบ
ภายในกลุม ของตนเอง และสนทนาซักถาม
ลองทําดู
เกี่ยวกับวิธีการคิดคําตอบจนเปนที่เขาใจ
รวมกัน จงแก้สมการในแต่ละข้อต่อไปนี้
- ให ตั ว แทนกลุ  ม มานํ า เสนอคํ า ตอบหน า 1) 7x5 - 13 = x5 + 23
ชั้ น เรี ย น โดยเพื่ อ นกลุ  ม ที่ เ หลื อ คอย 2) 4x 4- 5 = 6 - x
3
ตรวจสอบความถูกตอง

คําถามทาทายการคิดขัน
้ สูง
นักเรียนคิดว่า
1) ถ้า a, b, c และ d เป็นจำานวนเต็ม ซึ่ง a + b = 5, b + c = 10, b + d = 12
และ c + d = 16 แล้ว a, b, c และ d มีค่าเท่ากับเท่าใด
2) ถ้า a, b, c และ d เป็นจำานวนเต็ม ซึ่ง a × b = 6, b × c = 15, b × d = 18
และ c × d = 30 แล้ว a, b, c และ d มีค่าเท่ากับเท่าใด
214

เฉลย H.O.T.S. คําถามท้าทายการคิดขั้นสูง 2. พิจารณา a×b = 6 จะได b = 6


a
1. พิจารณา a + b = 5 จะได b = 5 - a 15
b × c = 15 จะได b =
b + c = 10 จะได b = 10 - c c
b + d = 12 จะได b = 12 - d b × d = 18 จะได b = 18
d
และ c + d = 16 จะได d = 16 - c และ c × d = 30 จะได d = 30
จากสมบัติถายทอด จะไดวา 5 - a = 10 - c = 12 - d c
จากสมบัติถายทอด จะไดวา 6 = 15 = 18
นั่นคือ 5 - a = 10 - c จะได c - a = 10 - 5 = 5 a c d
5 - a = 12 - d จะได d - a = 12 - 5 = 7 นั่นคือ แทนคา d = 30 ใน 15 = 18
แทนคา d = 16 - c ใน d - a = 7 จะได (16 - c) - a = 7 c c d
จะได 15 18
= 30 = 18c
a=9-c c 30
แทน a = 9 - c ใน c - a = 5 จะได c - (9 - c) = 5 c
∴c = 7 c2 = 450 = 25
18
แทนคา c = 7 ใน c - a = 5 จะได a = 2 ∴ c = 5, -5
แทนคา c = 7 ใน b = 10 - c จะได b = 3
แทนคา c = 7 ใน d = 16 - c จะได d = 9
ดังนั้น a = 2, b = 3, c = 7 และ d = 9
T228
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
แบบฝึกทักษะ 5.4 ค 2. ครูใหนักเรียนจัดกลุม กลุมละ 4 คน โดยคละ
ความสามารถทางคณิตศาสตร แลวทําแบบ
ระดับ พื้นฐาน
ฝกทักษะ 5.4 ค ดังนี้
1. จงแก้สมการต่อไปนี้ พร้อมทั้งแสดงวิธีตรวจสอบคำาตอบ - รวมกันวิเคราะห “สมบัติการเทากันที่ใช
1) 2y + 5 = 7 2) 4 - 3y = 19 ดํ า เนิ น การแก ส มการ” ในหนั ง สื อ เรี ย น
1
3) 3m + 5 = 5 7 4) 2p - 0.6 = 4.2 หนา 215 แลวเขียนวิธีการหาคําตอบลง
x
5) 3 + 1 = 4 ในสมุดของตนเอง
- จากนัน้ ใหนกั เรียนแลกเปลีย่ นความรูภ ายใน
ระดับ กลาง
กลุม ของตนเอง และสนทนาซักถามเกีย่ วกับ
2. จงแก้สมการต่อไปนี้ พร้อมทั้งแสดงวิธีตรวจสอบคำาตอบ วิธีการคิดคําตอบ จนเปนที่เขาใจรวมกัน
1) y +3 4 = 2 2) 2y - 7
3 = 9 - ใหตัวแทนกลุมมานําเสนอคําตอบหนาชั้น
3) 8(x - 2) = 72 4) 16(x - 1) = 256 เรียน โดยเพื่อนกลุมที่เหลือคอยตรวจสอบ
5) 4(x - 3) = 15 6) 7(x + 4) = 9 ความถูกตอง
7) 3 (x + 12 ) = 5 8) 6 ( 2x3 - 1) = 5
9) 2(x 7+ 3) = 13 10) 3(x 8- 1) = 10
11) 17x - 3 = 12x + 27 12) 27 x - 16 x = 8
13) 7m - 45 m = 93 10 14) 3 15 x - 67 = 25 x + 3
15) 2x3 + 74 = x6 - 52 16) 3x2 - 56 = 4x5 + 13

ระดับ ท้าทาย

3. ถ้า 5x + 3y = 3x + 5y แล้ว xy มีค่าเท่ากับเท่าใด


4. ถ้า 7x - 4y = 9y + 2x แล้ว 26y
5x มีค่าเท่ากับเท่าใด
2x - 5y = 1 แล้ว x 2 มีค่าเท่ากับเท่าใด
5. ถ้า 7x + 5y 2 (y)

215

เฉลย H.O.T.S. คําถามท้าทายการคิดขั้นสูง (ตอ)


แทนคา c = 5 ใน b × c = 15 จะได b = 3
แทนคา b = 3 ใน a × b = 6 จะได a = 2
แทนคา c = 5 ใน c × d = 30 จะได d = 6
ดังนั้น a = 2, b = 3, c = 5 และ d = 6
แทนคา c = -5 ใน b × c = 15 จะได b = -3
แทนคา b = -3 ใน a × b = 6 จะได a = -2
แทนคา c = -5 ใน c × d = 30 จะได d = -6
ดังนั้น a = -2, b = -3, c = -5 และ d = -6

T229
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
3. ครูใหนักเรียนจับคูกัน แลวทํากิจกรรม ดังนี้ กิจกรรม คณิตศาสตร์
(ครูแจกบัตรตัวแปรและบัตรตัวเลขใหนกั เรียน
แตละคู) ให้นกั เรียนจับคูก่ บั เพือ่ นแล้วช่วยกันแก้สมการโดยใช้บตั รตัวแปรและบัตรตัวเลข
- ใ ห  นั ก เ รี ย น แ ต  ล ะ คู  ศึ ก ษ า กิ จ ก ร ร ม บัตรตัวแปร เช่น x -x
คณิตศาสตร “การแกสมการโดยใชบัตร บัตรตัวเลข เช่น 1 2 3
ตัวแปรและบัตรตัวเลข” ตัวอยางที่ 1 ใน -1 -2 -3
หนังสือเรียน หนา 216 (ถานักเรียนคูใด
ตัวอย่างที่ 1 x + 3 = 5
มี ข  อ สงสั ย ให ค รู อ ธิ บ ายจนเข า ใจ) แล ว
x + 1 1 1 1 1 1 1 1
แก ส มการโดยใช บั ต รตั ว แปรและบั ต ร x+3=5
ตั ว เลข จากนั้ น ให นั ก เรี ย นร ว มกั น เฉลย
คําตอบ เพิ่มบัตรตัวเลข -1 -1 -1 ทั้งสองข้าง
- ใหนกั เรียนคูเ ดิมศึกษากิจกรรมคณิตศาสตร -1 -1 -1 -1 -1 -1 บวก -3 ทั้งสองข้างของสมการ
“การแกสมการโดยใชบัตรตัวแปรและบัตร x + 1 1 1 1 1 1 1 1 x+3-3=5-3
ตัวเลข” ตัวอยางที่ 2 ในหนังสือเรียน หนา
216-217 (ถ า นั ก เรี ย นคู  ใ ดมี ข  อ สงสั ย ให x 1 1 ค�าตอบของสมการ
ครู อ ธิ บ ายจนเข า ใจ) แล ว แก ส มการโดย x=2
ใชบัตรตัวแปรและบัตรตัวเลข จากนั้นให
ให้นักเรียนแก้สมการต่อไปนี้
นักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ 1) x + 2 = 7 2) x - 3 = 4 3) x - 2 = -3
ตัวอย่างที่ 2 (-3x) + 1 = 4
-x -x -x + 1 4
(-3x) + 1 = 4

เพิ่มบัตรตัวเลข -1 ทั้งสองข้าง
-1 บวก -1 ทั้งสองข้างของสมการ
-x -x -x + 1 4 -1 (-3x) + 1 - 1 = 4 - 1

-x -x -x 3
-3x = 3

216

เฉลย กิจกรรมคณิตศาสตร
ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET
1) เฉลยคําตอบ x = 5
จงหาคาของ x จากสมการ 5[(x + 2) - 3(x + 1)] = -8(2x + 6)
2) เฉลยคําตอบ x = 7
3) เฉลยคําตอบ x = -1 1. -43 2. -43
6
หมายเหตุ : ใหเฉลยโดยการใชบัตรตัวแปรและบัตรตัวเลข 43
3. 6 4. 43
(เฉลยคําตอบ 5[(x + 2) - 3(x + 1)] = -8(2x + 6)
5(x + 2 - 3x - 3) = -16x - 48
5(-2x - 1) = -16x - 48
-10x - 5 = -16x - 48
6x = -43
x = -43
6
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)

T230
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
4. ใหนักเรียนคูเดิมทํากิจกรรม ดังนี้ (โดยครู
สลับเครื่องหมายของบัตรทั้งสองข้าง
x x x -3 นำา -1 คูณทั้งสองข้างของสมการ แจกบัตรตัวแปรและบัตรตัวเลขใหนักเรียน
3x = -3 แตละคู)
- ใหนกั เรียนคูเ ดิมศึกษากิจกรรมคณิตศาสตร
x -1 คำาตอบของสมการ “การแกสมการโดยใชบัตรตัวแปรและบัตร
x = -1 ตั ว เลข” ตั ว อย า งที่ 3 ในหนั ง สื อ เรี ย น
ให้นักเรียนแก้สมการต่อไปนี้ หนา 217 (ถานักเรียนคูใดมีขอสงสัยให
1) 4x + 6 = 2 2) 5 - 3x = -7 3) 5x + 1 = 2x + 7 ครู อ ธิ บ ายจนเข า ใจ) แล ว แก ส มการโดย
ตัวอย่างที่ 3 2(2x + 3) = 3x - 5 ใชบัตรตัวแปรและบัตรตัวเลข จากนั้นให
นักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ
x x 3
x x 3 x x x -5 2(2x + 3) = 3x - 5
ขัน้ สรุป
x x x x 6 x x x -5 ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ
นำา 2 เข้าไปคูณทางซ้าย
ของสมการ 4x + 6 = 3x - 5 นักเรียน ดังนี้
• การแกสมการ คืออะไร
เพิ่มบัตรตัวแปร -x -x -x ทั้งสองข้าง (แนวตอบ การหาคําตอบของสมการ)
-x -x -x -x -x -x บวก -3x ทั้งสองข้างของสมการ • การหาคําตอบของสมการนอกจากการลอง
x x x x 6 x x x -5 4x - 3x + 6 = 3x - 3x - 5 แทนคาของตัวแปรแลว นักเรียนสามารถใช
วิธีการใดไดอีก
x 6 -5 ( แนวตอบ ใช ส มบั ติ ข องการเท า กั น มาแก
x + 6 = -5 สมการ เพื่อหาคําตอบ)
เพิ่มบัตรตัวเลข -6 ทั้งสองข้าง
-6
นำา -6 มาบวกทั้งสองข้าง ขัน้ ประเมิน
x 6 -5 -6 ของสมการ 1. ครูตรวจใบงานที่ 5.3-5.4
x + 6 - 6 = (-5) - 6 2. ครูตรวจแบบฝกทักษะ 5.4 ก-5.4 ค
x -11 คำาตอบของสมการ 3. ครูประเมินการนําเสนอผลงาน
x = -11 4. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
5. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
ให้นักเรียนแก้สมการต่อไปนี้ 6. ครูสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค
1) 3(x - 2) = x + 2 2) (-x) + 4 = 2(1 + x) 3) 2(2x - 1) = 3(x - 4)
217

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เฉลย กิจกรรมคณิตศาสตร


เฉลยคําตอบ
ถา 1x = x +2 1 แลว x2 + 3x มีคาตรงกับขอใด
1) x = -1
1. -2 3. 74 2) x = 4
2. - 89 4. 4 3) x = 2
หมายเหตุ : ใหเฉลยโดยใชบัตรตัวแปรและบัตรตัวเลข
(เฉลยคําตอบ
พิจารณา 1 = 2
x x+1 เฉลยคําตอบ
x + 1 = 2x 1) x = 4
∴x = 1 2) x = 23
แทน x = 1 ใน x + 3x จะได (1)2 + 3(1) = 4
2
3) x = -10
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)
หมายเหตุ : ใหเฉลยโดยใชบัตรตัวแปรและบัตรตัวเลข

T231
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Concept Based Teaching)


การใช้ความรูเ้ ดิมฯ (Prior Knowledge)
1. ครูทบทวนความรูเ ดิมเรือ่ งการแกสมการโดยใช 5.5 การนําความรูเกี่ยวกับสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว
สมบัติของการเทากันตางๆ ไปใชในชีวิตจริง
2. ครูทบทวนขั้นตอนการวิเคราะหโจทยปญหา
ดังนี้ มีปญั หาบางปัญหาสามารถแก้ปญั หาได้หลายวิธ ี ซึง่ ในแต่ละวิธอี าจจะมีความสะดวกยากง่าย
1) อานโจทยปญหาใหเขาใจวา โจทยกําหนด ต่างกัน สำาหรับปัญหาทางคณิตศาสตร์บางปัญหา สามารถเขียนความสัมพันธ์ของสิง่ ทีต่ อ้ งการหา
อะไรมาให โจทยตอ งการหาอะไร แลวสมมติ
ให้อยู่ในรูปของสมการและดำาเนินการหาคำาตอบตามลักษณะของสมการนั้นได้
ตัวแปรแทนจํานวนที่โจทยตองการหา ในการแก้โจทย์ปญั หาโดยใช้สมการ นักเรียนจะต้องอ่านโจทย์ปญั หาให้เข้าใจว่าโจทย์กาำ หนด
2) แกสมการเพื่อหาคําตอบ อะไรมาให้ และโจทย์ต้องการหาอะไร ให้สมมติตัวแปรแทนจำานวนที่โจทย์ต้องการหานั้น หรือ
จำานวนที่เกี่ยวข้องกับจำานวนที่โจทย์ต้องการหาและเขียนสมการจากสิ่งที่โจทย์กำาหนด แล้วแก้
3) ตรวจสอบคําตอบ
สมการเพื่อหาคำาตอบของสมการ
ขัน้ สอน ให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างการแก้โจทย์ปัญหาที่สามารถเขียนเป็นสมการได้ ดังตัวอย่าง
รู้ (Knowing) ต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 22
1. ครู ใ ห นั ก เรี ย นอ า นโจทย ตั ว อย า งที่ 22 ใน
หนังสือเรียน หนา 218 จากนั้นครูถามคําถาม แม่ให้เงินนุชมาจำานวนหนึง่ นุชแบ่งเงินออกเป็นสามส่วนเท่า ๆ กัน แล้วนำาเงินสองส่วนในสามส่วน
ดังนี้ ไปบริจาคช่วยเหลือผู้ประสบภัยนำ้าท่วม ถ้าจำานวนเงินที่นุชบริจาคเป็น 14 บาท อยากทราบว่า
• โจทยกําหนดอะไรมาให แม่ให้เงินนุชมากี่บาท
(แนวตอบ แมใหเงินนุชมาจํานวนหนึ่ง นุช วิธีทำา ให้ x แทนจำานวนเงินที่แม่ให้นุช
แบงเงินออกเปนสามสวนเทาๆ กัน แลวนํา แบ่งเงินออกเป็นสามส่วนเท่า ๆ กัน
เงินสองสวนในสามสวนไปบริจาคชวยเหลือ จะได้จำานวนเงินแต่ละส่วนเท่ากับ x ÷ 3 = x3 บาท
ผูประสบภัยนํ้าทวม และนุชบริจาคเงินไป และจำานวนเงินสองส่วนในสามส่วนเท่ากับ 2 ( x3 ) = 2x3 บาท
14 บาท) เนื่องจากจำานวนเงินสองส่วนในสามส่วนเท่ากับ 14 บาท
• โจทยตองการหาอะไร เขียนเป็นสมการได้ 2x3 = 14
(แนวตอบ แมใหเงินนุชมากี่บาท) นำา 32 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ
• สมมติตวั แปรแทนจํานวนทีโ่ จทยตอ งการหา จะได้ 3 × 2 x = 3 × 14
2 3 2
ไดอยางไร หรือ x = 21
(แนวตอบ ให x แทนจํานวนเงินที่แมใหนุช) ตรวจสอบคำาตอบ ถ้าแม่ให้เงินนุชมา 21 บาท
2. ครูแสดงวิธแี กสมการอยางละเอียดบนกระดาน นุชนำาเงินสองส่วนในสามส่วนไปบริจาค เท่ากับ 23 (21) = 14 บาท
แลวใหนักเรียนตรวจสอบคําตอบจากตัวอยาง ซึ่งเป็นจริงตามเงื่อนไขในโจทย์
ที่ 22 ในหนังสือเรียน หนา 218 ดังนั้น แม่ให้เงินนุชมา 21 บาท ตอบ
218

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


เจี๊ยบซื้อสมุดมาจํานวนหนึ่ง แลวนํามารวมกับสมุดที่มีอยูเดิมอีก 148 เลม จากนั้นแจกให
นักเรียน 43 คน คนละ 6 เลม ปรากฏวาแจกไดครบพอดี อยากทราบวาเจี๊ยบซื้อสมุดมาทั้งหมด
กี่บาท ถาหากสมุดราคาเลมละ 10 บาท
1. 1,000 บาท 2. 1,100 บาท 3. 1,200 บาท 4. 1,300 บาท
(เฉลยคําตอบ
กําหนดใหเจี๊ยบซื้อสมุดมา x เลม รวมกับสมุดที่มีอยูเดิมอีก 148 เลม
แสดงวา เจี๊ยบมีสมุดทั้งหมด x + 148 เลม
เมื่อนําไปแจกใหเด็กนักเรียน 43 คน จะไดคนละ 6 เลมพอดี
นั่นคือ เจี๊ยบมีสมุดทั้งหมด 43 × 6 = 258 เลม
จะไดวา x + 148 = 258
x = 258 - 148 = 110
ฉะนั้น เจี๊ยบซื้อสมุดมา 110 เลม คิดเปนเงิน 110 × 10 = 1,100 บาท
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 2.)

T232
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
รู้ (Knowing)
ตัวอย่างที่ 23 3. ครู ใ ห นั ก เรี ย นอ า นโจทย ตั ว อย า งที่ 23 ใน
เมื่อนำา 52 ไปลบออกจากจำานวนหนึ่ง แล้วหารผลลบด้วย 6 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 12 หนังสือเรียน หนา 219 จากนั้นครูถามคําถาม
จงหาจำานวนจำานวนนั้น ดังนี้
วิธีทำา ให้ x แทนจำานวนนั้น • โจทยกําหนดอะไรมาให
นำา 52 ไปลบออกจากจำานวนนั้น เขียนแทนด้วย x - 52 (แนวตอบ เมื่อนํา 52 ไปลบออกจากจํานวน
นำาผลลบไปหารด้วย 6 จะได้ x - 52 6 แต่ผลลัพธ์จากการหารเท่ากับ 12
หนึ่ง แลวหารผลลบดวย 6 จะไดผลลัพธ
x - 52
เขียนสมการได้ 6 = 12 เทากับ 12)
นำา 6 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ • โจทยตองการหาอะไร
(แนวตอบ จํานวนจํานวนนั้นคืออะไร)
จะได้ 6 × ( x - 526 ) = 6 × 12 • สมมติตวั แปรแทนจํานวนทีโ่ จทยตอ งการหา
หรือ x - 52 = 72 ไดอยางไร
นำา 52 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ
(แนวตอบ ให x แทนจํานวนนั้น)
จะได้ x - 52 + 52 = 72 + 52
หรือ x = 124 4. ครูแสดงวิธแี กสมการอยางละเอียดบนกระดาน
ตรวจสอบคำาตอบ ถ้าจำานวนนั้นเป็น 124 เมื่อนำา 52 ไปลบออกจากจำานวนนี้ แลวใหนักเรียนตรวจสอบคําตอบจากตัวอยาง
จะได้ 124 - 52 = 72 หารผลลบด้วย 6 จะได้ 72 ÷ 6 = 12 ที่ 23 ในหนังสือเรียน หนา 219
ซึ่งเป็นจริงตามเงื่อนไขในโจทย์
ดังนั้น จำานวนจำานวนนั้น คือ 124 ตอบ

ตัวอย่างที่ 24

อนันต์มีเงินเหรียญทั้งหมด 35 เหรียญ ซึ่งมีเหรียญสิบบาท จำานวน 2 เท่าของเหรียญห้าบาท


ถ้าจำานวนเหรียญทั้งหมดคิดเป็นเงิน 145 บาท อยากทราบว่ามีเหรียญบาท เหรียญห้าบาท
และเหรียญสิบบาทอย่างละกี่เหรียญ
วิธีทำา ให้มีเหรียญห้าบาท x เหรียญ คิดเป็นเงิน 5x บาท
มีเหรียญสิบบาทจำานวน 2 เท่าของเหรียญห้าบาท
แสดงว่า มีเหรียญสิบบาทจำานวน 2x เหรียญ คิดเป็นเงิน 10(2x) = 20x บาท
มีเหรียญทั้งหมดจำานวน 35 เหรียญ
แสดงว่า มีเหรียญบาทจำานวน 35 - x - 2x = 35 - (1 + 2)x
= 35 - 3x เหรียญ
จากโจทย์จำานวนเหรียญทั้งหมดคิดเป็นเงิน 145 บาท

219

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ถานํา 5 มาลบออกจากจํานวนๆ หนึ่ง และสามเทาของผลตางนั้นเทากับ 69 จงหาสี่เทาของ
จํานวนนั้นลบดวยจํานวนนั้น
1. 28 2. 69 3. 77 4. 84
(เฉลยคําตอบ
กําหนดให x เปนจํานวนๆ หนึ่ง นํา 5 ไปลบออกจากจํานวนๆ หนึ่ง
นั่นคือ x - 5 และ 3 เทาของผลตางนั้นเทากับ 69 นั่นคือ 3(x - 5) = 69
จะไดวา 3(x - 5) = 69
3x - 15 = 69
3x = 69 + 15
x = 84 = 28
3
เนื่องจากสี่เทาของจํานวนหนึ่งลบดวยจํานวนหนึ่ง คือ 4x - x = 3x = 3(28) = 84
นั่นคือ สี่เทาของจํานวนหนึ่งลบดวยจํานวนหนึ่งเทากับ 84
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)
T233
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
1. ใหนักเรียนทํา “ลองทําดู” ขอ 1.-2. ในหนังสือ เขียนสมการได้
เรียน หนา 220 แลวครูและนักเรียนรวมกัน 5x + 20x + (35 - 3x) = 145
เฉลยคําตอบ 5x + 20x - 3x + 35 = 145
2. ให นั ก เรี ย นจั บ คู  ศึ ก ษาตั ว อย า งที่ 24 ใน (5 + 20 - 3)x + 35 = 145
หนังสือเรียน หนา 219-220 แลวแลกเปลี่ยน 22x + 35 = 145
ความรูกับคูของตนเอง จากนั้นใหนักเรียนทํา นำา 35 ลบทั้งสองข้างของสมการ
“ลองทําดู” ขอ 3. ในหนังสือเรียน หนา 220 จะได้ 22x + 35 - 35 = 145 - 35
3. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ “ลองทําดู” 22x = 110
ขอ 3. นำา 22 หารทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ 22x = 110
22 22
หรือ x = 5
ตรวจสอบคำาตอบ
ถ้ามีเหรียญห้าบาท 5 เหรียญ จะเป็นเงิน 5(5) = 25 บาท
มีเหรียญสิบบาทเป็น 2 เท่าของเหรียญห้าบาท
แสดงว่ามีเหรียญสิบบาท 2(5) = 10 เหรียญ
จะเป็นเงิน 10(10) = 100 บาท
มีเหรียญบาท 35 - 5 - 10 = 20 เหรียญ จะเป็นเงิน 1(20) = 20 บาท
จำานวนเหรียญทั้งหมด คิดเป็นเงิน 25 + 100 + 20 = 145 บาท
ซึ่งเป็นจริงตามเงื่อนไขของโจทย์
ดังนั้น มีเหรียญบาท 20 เหรียญ เหรียญห้าบาท 5 เหรียญ และเหรียญสิบบาท
10 เหรียญ ตอบ
ลองทําดู
1. มานะมีเงินจำานวนหนึ่ง แบ่งเงินออกเป็นสามส่วนเท่า ๆ กัน แล้วนำาเงินหนึ่งส่วนใน
สามส่วนไปซื้อเสื้อผ้า ถ้ามานะเหลือเงิน 100 บาท อยากทราบว่าเดิมมานะมีเงินกี่บาท
2. เมื่อนำา 16 ไปลบออกจากจำานวนหนึ่ง แล้วหารผลลบด้วย 3 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 20
จงหาจำานวนจำานวนนั้น
3. วีณามีเงินเหรียญทั้งหมด 25 เหรียญ ซึ่งมีเหรียญห้าบาทเป็นจำานวน 3 เท่าของเหรียญ
สิบบาท ถ้าจำานวนเหรียญทั้งหมดคิดเป็นเงิน 88 บาท จงหาว่าวีณามีเหรียญบาท
เหรียญห้าบาท และเหรียญสิบบาทอย่างละกี่เหรียญ

220

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


เติลกับนํ้ามีเงินรวมกัน 48 บาท โดยเติลมีเงินมากกวา 2 เทาของเงินนํ้าอยู 6 บาทอยาก
ทราบวานํ้ามีเงินเทากับขอใด
1. 14 2. 18 3. 21 4. 27
(เฉลยคําตอบ ใหนํ้ามีเงิน x บาท
เติลกับนํ้ามีเงินรวมกัน 48 บาท เขียนเปนสมการไดเปน
เงินเติล + เงินนํ้า = 48
แตเติลมีเงินมากกวา 2 เทาของเงินนํ้าอยู 6 บาท
นั่นคือ เงินเติล = 2 เทาของเงินนํ้า + 6 = 2x + 6
จะไดวา (2x + 6) + x = 48
3x + 6 = 48
3x = 42
∴ x = 14
นั่นคือ นํ้ามีเงิน 14 บาท
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 1.)
T234
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
เข้าใจ (Understanding)
แบบฝึกทักษะ 5.5 4. ครู แ จกใบงานที่ 5.5 เรื่ อ ง การนํ า ความรู 
เกี่ยวกับสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวไปใชใน
ระดับ พื้นฐาน
ชีวติ จริง ใหนกั เรียนทํา จากนัน้ ครูและนักเรียน
1. จงเขียนข้อความต่อไปนี้ในรูปของตัวแปรที่กำาหนด รวมกันเฉลยคําตอบ
1) b หารด้วย 6 2) สี่เท่าของ x บวกด้วย 6 5. ใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 5.5 เปนการบาน
3) สามเท่าของ y คูณด้วย 10 4) a เท่าของ 10 รวมกับ b เท่าของ 20
2. จงเขียนสมการแทนข้อความที่กำาหนดให้ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) สองเท่าของจำานวนหนึ่งเท่ากับ 16 กำาหนดให้ x แทนจำานวนหนึ่ง
2) จำานวนหนึ่งมากกว่า 15 อยู่ 80 กำาหนดให้ y แทนจำานวนหนึ่ง
3) รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ารูปหนึ่งมีด้านยาว ยาว 12 เซนติเมตร และมีเส้นรอบรูปยาว
40 เซนติเมตร ถ้าให้ x แทนความยาวของด้านกว้างของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ารูปนี้
ระดับ กลาง

3. อ้อมมีผลไม้กองหนึ่งเป็นส้ม 27 ของผลไม้ทั้งหมด ถ้ามีส้ม 14 ผล ผลไม้กองนี้มีกี่ผล


4. เศษสี่ส่วนเก้าของจำานวนหนึ่งมากกว่า 2 อยู่ 10 จงหาจำานวนนั้น
5. ผลรวมของสองเท่าของจำานวนเต็มจำานวนหนึ่งกับ 12 มีค่าเท่ากับ 26 จงหาจำานวน
จำานวนนั้น
6. เมื่อ 6 ปีที่แล้ว บุตรมีอายุเป็นหนึ่งในสามของอายุบิดา ถ้าปัจจุบันบุตรมีอายุ 18 ปี
อยากทราบว่าปัจจุบันบิดามีอายุกี่ปี
7. จุ๊บแจงมีเงินเหรียญทั้งหมด 24 เหรียญ มีเหรียญบาทจำานวน 5 เท่าของเหรียญสิบบาท
ถ้าจำานวนเหรียญทัง้ หมดคิดเป็นเงิน 75 บาท อยากทราบว่ามีเหรียญบาทและเหรียญสิบบาท
อย่างละกี่เหรียญ
ระดับ ท้าทาย

8. แม่คา้ ซือ้ มะม่วงอกร่องและมะม่วงเขียวเสวยมาขายรวมกัน


60 กิโลกรัม มะม่วงอกร่องกิโลกรัมละ 60 บาท มะม่วง แนะแนวคิด
เขียวเสวยกิโลกรัมละ 50 บาท ถ้าอัตราส่วนระหว่างมะม่วง อัตราส่วน a ต่อ b คือ
อกร่องต่อมะม่วงเขียวเสวยเป็น 6 : 7 แม่ค้าซื้อมะม่วง a : b หรือ ba
แต่ละชนิดมาขายอย่างละกี่กิโลกรัม

221

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


พิชญามีเหรียญบาท เหรียญสองบาท และเหรียญหาบาทรวมกัน 20 เหรียญ เปนเงิน 47 บาท ถามีเหรียญ
สองบาทมากกวาเหรียญบาทอยู 6 เหรียญ ที่เหลือเปนเหรียญหาบาท ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง
1. มีเหรียญสองบาท คิดเปน 22 บาท 2. มีเหรียญหาบาท คิดเปน 20 บาท
3. มีเหรียญหาบาทมากกวาเหรียญบาท 1 เหรียญ 4. มีเหรียญหาบาทนอยกวาเหรียญสองบาท 7 เหรียญ
(เฉลยคําตอบ
ใหเหรียญบาทมีจํานวน x เหรียญ จะไดสมการ x + 2(x + 6) + 5(14 - 2x) = 47
เหรียญสองบาทมีจํานวน x + 6 เหรียญ x + 2x + 12 + 70 - 10x = 47
เหรียญหาบาทมีจํานวน 20 - (x + 6) - x -7x = -35
= 14 - 2x เหรียญ x = 5
ดังนั้น เหรียญบาทมีจํานวน 5 เหรียญ เปนเงิน 5 บาท เหรียญสองบาทมีจํานวน 11 เหรียญ เปนเงิน 22 บาท
เหรียญหาบาทมีจํานวน 4 เหรียญ เปนเงิน 20 บาท
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)

T235
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ลงมือทํา (Doing)
ครูใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 4 คน คละความ คณิตศาสตร์ในชีวิตจริง
สามารถทางคณิตศาสตร แลวทํากิจกรรม ดังนี้
- ให แ ต ล ะกลุ  ม ส ง ตั ว แทนมาตกลงกั น ว า นักเรียนสามารถนำาความรู้เกี่ยวกับสมการทางคณิตศาสตร์มาแก้ปัญหาสถานการณ์ใน
จะเลื อ กแก ป  ญ หาสถานการณ ใ ดจาก ชีวิตจริงได้ โดยการแปลงสถานการณ์นั้นให้เป็นสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และแทนสิ่งที่ต้องการ
“คณิตศาสตรในชีวิตจริง” ในหนังสือเรียน ทราบด้วยตัวแปร ซึ่งอาจเป็น “x” แล้วเขียนสมการที่เหมาะสมกับสถานการณ์นั้น ๆ ดังตัวอย่าง
หนา 222 สถานการณ์ที่ 1
- นักเรียนแตละคนวิเคราะหวาสถานการณ
ณิชาเลีย้ งไก่และเป็ดรวมกันในฟาร์ม โดย
ที่กลุมของตนเองเลือกมีวิธีการแกปญหา สองเท่าของจำานวนไก่มากกว่าจำานวนเป็ดอยู่
อย า งไร จากนั้ น แลกเปลี่ ย นคํ า ตอบกั น 24 ตัว ถ้าณิชาเลี้ยงเป็ด 100 ตัว จะมีไก่กี่ตัว
ภายในกลุม สนทนาซักถามจนเปนที่เขาใจ
รวมกัน ให้ไก่ในฟาร์มมีจำานวน x ตัว
- นักเรียนแตละคนเขียนขั้นตอนแสดงวิธีคิด สมการที่ใช้แก้ปัญหา คือ 2x - 100 = 24
ของกลุม ตนเองอยางละเอียดลงในสมุดของ
ตนเอง ให้นักเรียนเขียนสมการและหาคำาตอบจากสถานการณ์ต่อไปนี้
- ส ง ตั ว แทนกลุ  ม มานํ า เสนอคํ า ตอบหน า
สถานการณ์ที่ 2
ชั้ น เรี ย น โดยเพื่ อ นกลุ  ม ที่ เ หลื อ คอย
ตรวจสอบความถูกตอง
วีณาซื้อเสื้อ 3 ตัว ซึ่งแต่ละตัวมีราคา
เท่ากัน ถ้าวีณาจ่ายเงินไปทั้งหมด 420 บาท
อยากทราบว่าเสื้อราคาตัวละกี่บาท

สถานการณ์ที่ 3

อุดมมีอายุมากกว่าน้องชายของเขา 3 ปี
ถ้าน้องชายของอุดมอายุ 8 ปี อุดมมีอายุเท่าไร

222

เฉลย คณิตศาสตร ในชีวิตจริง


สถานการณที่ 1 ใหไกในฟารมมีจํานวน x ตัว สถานการณที่ 3 ใหอุดมมีอายุ x ป
และถาณิชาเลี้ยงเปด 100 ตัว จะมีไก 2x - 100 = 24 และอุดมมีอายุมากกวานองชายอยู 3 ป
2x = 124 จะไดวานองชายอุดม มีอายุ เทากับ x - 3 ป
x = 62 นั่นคือ ถานองชายอุดมมีอายุ 8 ป
ดังนั้น ถาณิชาเลี้ยงเปด 100 ตัว จะมีไก 62 ตัว อุดมจะมีอายุ x-3 = 8
สถานการณที่ 2 ใหจํานวนเสื้อที่วีณาซื้อ มีจํานวนตัวละ x บาท x = 11
และถาวีณาจายเงินไปทั้งหมด 420 บาท ซื้อเสื้อได 3 ตัว ดังนั้น ถานองชายอุดมมีอายุ 8 ป
จะไดวา 3x = 420 อุดมจะมีอายุ 11 ป
x = 140
ดังนั้น ถาวีณาจายเงินไปทั้งหมด 420 บาท
จะไดวาเสื้อราคาตัวละ 140 บาท

T236
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
1. ใหนักเรียนอานและศึกษา “สรุปแนวคิดหลัก”
สรุปแนวคิดหลัก ในหนั ง สื อ เรี ย น หน า 223 แล ว เขี ย นผั ง
มโนทัศน หนวยการเรียนรูที่ 5 สมการเชิงเสน
แบบรูปและความสัมพันธ์ ตัวแปรเดียว ลงในกระดาษ A4
• แบบรูปเป็นการแสดงความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่มีลักษณะสำาคัญบางอย่างร่วมกันอย่างมี 2. ครูถามคําถามเพื่อสรุปความรูรวบยอดของ
เงื่อนไข แบบรูปของจำานวนมักมีความสัมพันธ์ระหว่างลำาดับที่ของจำานวนกับจำานวนในแบบรูป นักเรียน ดังนี้
ซึ่งสามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปของตัวแปร แล้วแทนค่าตัวแปรเพื่อหาจำานวนในแบบรูป • สมการ คืออะไร
ในลำาดับที่เราต้องการได้ ( แนวตอบ เป น ประโยคสั ญ ลั ก ษณ ท าง
• สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว คือ สมการที่อยู่ในรูป ax + b = 0 เมื่อ a, b เป็นจำานวนใด ๆ และ คณิตศาสตรที่แสดงการเทากันของจํานวน
a≠0
โดยใชสัญลักษณ “=” แสดงการเทากัน)
คำาตอบของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว • สมการที่เปนจริง คืออะไร
• คำาตอบของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว คือ จำานวนที่แทนค่าตัวแปรในสมการแล้วทำาให้สมการ (แนวตอบ สมการที่มีจํานวนทางดานซาย
เป็นจริง และจํานวนทางดานขวาของเครื่องหมาย
• สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสามารถจัดตามลักษณะคำาตอบของสมการได้ 3 แบบ คือ
“=” มีคาเทากัน)
1) สมการที่มีจำานวนบางจำานวนเป็นคำาตอบ
2) สมการที่มีจำานวนทุกจำานวนเป็นคำาตอบ • คําตอบของสมการ หมายถึงอะไร
3) สมการที่ไม่มีจำานวนใดเป็นคำาตอบ (แนวตอบ จํานวนที่แทนตัวไมทราบคาหรือ
สมบัติของการเท่ากัน แทนคาตัวแปรในสมการแลวทําใหสมการ
เปนจริง)
• กำาหนดให้ a, b และ c แทนจำานวนใด ๆ
1) สมบัติสมมาตร ถ้า a = b แล้ว b = a • สมการที่มีจํานวนบางจํานวนเปนคําตอบ
2) สมบัติถ่ายทอด ถ้า a = b และ b = c แล้ว a = c เปนอยางไร
3) สมบัติการบวก ถ้า a = b แล้ว a + c = b + c (แนวตอบ เปนสมการที่มีเพียงคําตอบเดียว)
4) สมบัติการคูณ ถ้า a = b แล้ว a × c = b × c • สมการที่ มี คํ า ตอบทุ ก จํ า นวนเป น คํ า ตอบ
การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เปนอยางไร
• การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว คือ การหาคำาตอบของสมการ ซึ่งใช้สมบัติของการเท่ากัน (แนวตอบ เปนสมการที่เมื่อแทนคา x ดวย
การนำาความรู้เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวไปใช้ในชีวิตจริง จํานวนใดๆ แลวทําใหสมการเปนจริงเสมอ)
• สมการที่ไมมีคําตอบเปนอยางไร
• ขั้นตอนในการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการ มีดังนี้
1) อ่านโจทย์ให้เข้าใจ และสมมติจำานวนที่โจทย์ต้องการทราบค่าหรือจำานวนที่เกี่ยวข้องกับ (แนวตอบ เปนสมการที่เมื่อแทนคา x ดวย
สิ่งที่โจทย์ให้มาให้เป็นตัวแปร จํานวนใดๆ แลวทําใหสมการเปนเท็จเสมอ)
2) เขียนสมการจากสิ่งที่โจทย์กำาหนด • สมบัติของการเทากันที่นักเรียนไดศึกษา
3) แก้สมการหาค่าของตัวแปร มีสมบัติอะไรบาง
4) ตรวจสอบคำาตอบกับเงื่อนไขในโจทย์ (แนวตอบ สมบัติสมมาตร สมบัติถายทอด
สมบัติการบวก และสมบัติการคูณ)
223
• การแกสมการ คืออะไร
(แนวตอบ การหาคําตอบของสมการ)

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ขอความใดตอไปนี้ไมจริง เมื่อกําหนด a, b และ c เปนจํานวนนับ
1. ถา ac = b แลว c = ab 2. ถา a - c = a - b แลว b = c
3. ถา a = b และ b = c แลว a = c 4. ถา ac = bc แลว a b
(เฉลยคําตอบ
1. ถา ac = b นํา -1 คูณทั้งสองขาง
c
นํา b คูณทั้งสองขาง c = b เปนจริง
a×c = b×c 3. ถา a = b และ b = c แลว a = c
c b b เปนสมบัติถายทอดจึงเปนจริง
a = c เปนจริง 4. ถา ac = bc
b
2. a - c = a - b นํา c หารทั้งสองขาง
นํา a ลบทั้งสองขาง a = b เปนจริง
-c = -b ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 4.)

T237
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
3. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะประจําหนวย
แบบฝึ ก ทั ก ษะ
การเรียนรูที่ 5 เปนการบาน
ประจ�าหน่วยการเรียนรู้ที่ 5
1. จากแบบรูปที่กำาหนดในแต่ละข้อ จงหาจำานวนในลำาดับที่ 10 และเขียนความสัมพันธ์ระหว่าง
ลำาดับที่กับจำานวนในลำาดับที่ n
1) 2, 4, 8, 16, ... 2) 14, 11, 8, 5, ...
3) 1, 8, 27, 64, ... 4) 23 , 34 , 45 , 56 , ...
2. จงหาจำานวนอีกห้าจำานวนถัดไปของแบบรูปที่กำาหนดให้ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) 4, 7, 10, 13, ... 2) 3, 7, 11, 15, ...
3) 17, 15, 13, 11, ... 4) 8, 4, 2, 1, ...
5) -9, -12, -15, -18, ... 6) 43 , 2, 83 , 103 , ...
3. จงเขียนรูปสามรูปถัดไปของแต่ละแบบรูปต่อไปนี้

1) ●
● ●
● ● ●
● ● ●

2)

4. ขนาดการรับประทานยาขนานหนึ่ง คิดเทียบกับนำ้าหนักตัวของคนคือ ยา 2 มิลลิกรัมต่อ


นำ้าหนักตัว 15 กิโลกรัม (รับประทานยาได้ไม่เกิน 10 มิลลิกรัม)
1) จงเขียนตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณยาที่รับประทานกับนำ้าหนักตัวของคน
2) ถ้าให้ k แทนนำ้าหนักหน่วยเป็นกิโลกรัมของคนที่รับประทานยา จงเขียนความสัมพันธ์
ระหว่างปริมาณของยาที่รับประทานกับ k ซึ่งแทนนำ้าหนักตัวของคน
3) คนที่มีนำ้าหนัก 60 กิโลกรัม ต้องรับประทานยาขนานนี้กี่มิลลิกรัม
5. กำาหนดความสัมพันธ์ระหว่างระยะทางที่รถยนต์วิ่งได้กับเวลาที่ใช้ ถ้าให้ t แทนเวลาที่ใช้
ก. ระยะทางเท่ากับ 40 + 10t ข. ระยะทางเท่ากับ 40 - 10t
ค. ระยะทางเท่ากับ 10 + 40t ง. ระยะทางเท่ากับ 40t - 10
จงใช้ความสัมพันธ์ที่กำาหนดให้แต่ละข้อหาค่าของระยะทาง เมื่อ t = 2

224

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


รูปสามเหลี่ยมหนาจั่วรูปหนึ่งมีดานประกอบมุมยอดยาว x + 1 เซนติเมตร มีฐานยาว 2x - 6
เซนติเมตร ถาเสนรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมนี้ยาว 32 เซนติเมตร แลวดานประกอบมุมยอดยาว
กี่เซนติเมตร
1. 8 เซนติเมตร 2. 9 เซนติเมตร 3. 10 เซนติเมตร 4. 11 เซนติเมตร
(เฉลยคําตอบ รูปสามเหลี่ยมมีดานประกอบมุมยอดยาว x + 1 เซนติเมตร
ฐานยาว 2x - 6 เซนติเมตร
เสนรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมยาว 32 เซนติเมตร
เขียนสมการได
x + 1 + x + 1 + 2x - 6 = 32
4x - 4 = 32
4x = 36
x = 9
ดานประกอบมุมยอดยาวเทากับ 9 + 1 = 10 เซนติเมตร
ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.)
T238
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
4. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําถามในหนังสือ
เรียนหนา 176 ที่ไดถามไวในชั่วโมงแรกของ
6. จงใช้ความสัมพันธ์ระหว่าง A กับ B ต่อไปนี้ตรวจสอบว่าความสัมพันธ์ในข้อใด การเรียนในหนวยการเรียนรูที่ 5
ให้ค่า A = 95 เมื่อ B = 2 (แนวตอบ นาวาจะขั บ รถทั น วี ณ า เมื่ อ ขั บ รถ
1) A = 25 + 45B 2) A = 25 - 45B เปนเวลา 5 ชั่วโมง
3) A = 45 + 25B 4) A = 45 - 25B ดังนัน้ นาวาจะขับรถทันวีณา ในเวลา
7. จงแก้สมการต่อไปนี้ พร้อมทั้งแสดงวิธีตรวจสอบคำาตอบ 15 นาฬกา)
1) 6 = 12 + a 2) x - 7 = 16
ขัน้ ประเมิน
3) 2x - 8 = 7 - 3x 4) 32 - 2b = 40
1. ครูตรวจผังมโนทัศน หนวยการเรียนรูที่ 5
5) 18 m + 2 = 8 6) 12 (z + 1) = 9 2. ครูตรวจใบงานที่ 5.5
7) 2.5 + 12 y = 4y - 4.5 8) x3 - 25 = x5 + 2 3. ครูตรวจแบบฝกทักษะ 5.5
8. จงหาค่าของ P และ a 4. ครูตรวจแบบฝกทักษะประจําหนวยการเรียนรู
ที่ 5
1) I = P ×100
R × T เมื่อ R ≠ 0 และ T ≠ 0
5. ครูประเมินการนําเสนอผลงาน
2) 3b = 2a - 7 6. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
9. ค่าของ y2 - 1 จากสมการ 4(y - 3) = 16 เท่ากับเท่าใด 7. ครูสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
10. จากสมการ 2y + 12 = 5x - 8 เมื่อ y = 5 ค่าของ x เท่ากับเท่าใด 8. ครูสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค

11. สมศักดิ์วัดความยาวของห้องเรียนได้ความยาว 10 เมตร ถ้าความยาวรอบห้องเรียนเท่ากับ


36 เมตร จงเขียนสมการแล้วหาความกว้างของห้องเรียนนี้
12. รูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้ารูปหนึง่ มีดา้ นกว้างยาว 12 นิว้ และมีพนื้ ทีเ่ ท่ากับ 180 ตารางนิว้ เส้นรอบรูป
ของรูปสี่เหลี่ยมรูปนี้เท่ากับกี่นิ้ว
13. แปดเท่าของผลต่างระหว่างจำานวนหนึ่งกับ 7 มีผลลัพธ์เท่ากับ 32 ถ้าให้ x แทนจำานวนนั้น
จะเขียนสมการแทนประโยคภาษาที่กำาหนดให้ได้อย่างไร
14. ดารณีมีสมุดอยู่ 8 โหล ได้รับบริจาคมาอีกจำานวนหนึ่ง เมื่อนำาไปแจกให้นักเรียน 40 คน
ปรากฏว่านักเรียนได้รับแจกสมุดคนละ 3 เล่ม จงหาจำานวนสมุดที่ดารณีได้รับบริจาค โดยใช้
สมการ

225

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET แนวทางการวัดและประเมินผล


2x + 5 = 5 - x จงหาคาของ 7x ครูศกึ ษาเกณฑการวัดและการประเมินผล เพือ่ ประเมินผลงาน/ชิน้ งานของ
3 2
1. -25 2. -5 3. 5 4. 25 นักเรียนรายบุคคลและกลุม จากแบบประเมินของแผนการจัดการเรียนรูใ นหนวย
การเรียนรูที่ 5
(เฉลยคําตอบ 2x + 5 = 5 - x
3 2 แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม

2(2x + 5) = 3(5 - x) แบบประเมินการนาเสนอผลงาน

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับ


ระดับคะแนน
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับ
ระดับคะแนน

4x + 10 = 15 - 3x
การมี
การทางาน
ระดับคะแนน การแสดง การยอมรับฟัง ส่วนร่วมใน รวม
ลาดับ ลาดับ ชื่อ – สกุล ตามที่ได้รับ ความมีน้าใจ
รายการประเมิน ความคิดเห็น คนอื่น การปรับปรุง 20
ที่ 4 3 2 1 ที่ ของนักเรียน มอบหมาย
ผลงานกลุ่ม คะแนน

4x + 3x = 15 - 10
1 เนื้อหาละเอียดชัดเจน     4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1
2 ความถูกต้องของเนื้อหา    
3 ภาษาที่ใช้เข้าใจง่าย    
4 ประโยชน์ที่ได้จากการนาเสนอ    

7x = 5 5 วิธีการนาเสนอผลงาน

รวม
   

ดังนั้น คําตอบ คือ ขอ 3.) ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน


............/................./................

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
เกณฑ์การให้คะแนน
............/................./................
ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชัดเจน ให้ 4 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องบางส่วน ให้ 3 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็นส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 4 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องมาก ให้ 1 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครัง้ ให้ 2 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
18 - 20 ดีมาก เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
14 - 17 ดี ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10 - 13 พอใช้ 18 - 20 ดีมาก
ต่ากว่า 10 ปรับปรุง 14 - 17 ดี
10 - 13 พอใช้
ต่ากว่า 10 ปรับปรุง

T239
บรรณานุ ก รม
กนกวลี อุษณกรกุล, ปาจรีย์ วัชชวัลคุ และสุเทพ บุญซ้อน. (2561). หนังสือเรียนรายวิชาพืน้ ฐาน คณิตศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษา
ปีที่ 1 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ไทยร่มเกล้า จ�ำกัด.
จันทร์เพ็ญ ชุมคช, ทองดี กุลแก้วสว่างวงศ์, สมใจ ธนเกียรติมงคล และสายสุณี สุทธิจักษ์. (ม.ป.ป.). คู่มือครู หนังสือเรียน
รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ไทยร่มเกล้า
จ�ำกัด.
_______. (ม.ป.ป.). คู่มือครู หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที่ 4.
กรุงเทพมหานคร : บริษัท ไทยร่มเกล้า จ�ำกัด.
_______. (ม.ป.ป.). คู่มือครู หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 5.
กรุงเทพมหานคร : บริษัท ไทยร่มเกล้า จ�ำกัด.
_______. (ม.ป.ป.). คู่มือครู หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที่ 3.
กรุงเทพมหานคร : บริษัท ไทยร่มเกล้า จ�ำกัด.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2553). ศัพท์คณิตศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพมหานคร : นานมีบุ๊คส์
พับลิเคชั่นส์.
_______. (2554). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2542. กรุงเทพมหานคร : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.
ศศิเกษม สัทธรรมสกุล และกฤษฎิ์ อ่อนไสว. (2560). คู่มือเตรียมสอบ AKSORN พิชิต O-NET คณิตศาสตร์ ม.3.
กรุงเทพมหานคร : บริษัท ไทยร่มเกล้า จ�ำกัด.
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกัด.
_______. (2561). คู่มือการใช้หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น). สืบค้นเมื่อ 22 พฤษภาคม 2561,
จาก https://drive.google.com/drive/folders/12a0Y3CvLirAKeza_ClV_lwIrtdqMtcCR

T240

You might also like