You are on page 1of 194

คู่มือครู

Teacher Script

วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ม. 3
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
ตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด เล่ม 1
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ผูเรียบเรียงหนังสือเรียน ผูตรวจหนังสือเรียน บรรณาธิการหนังสือเรียน


นางสาวสุธารี คําจีนศรี รศ. ดร.ฤทธิ์ วัฒนชัยยิ่งเจริญ นางสาววราภรณ ทวมดี
นางภคพร จิตตรีขันธ ผศ. ดร.อารียา เอี่ยมบู
นางพัชรินทร แสนพลเมือง

ผูเรียบเรียงคูมือครู บรรณาธิการคูมือครู
นายณรงคชัย พงษธะนะ นางสาววราภรณ ทวมดี
นางสาวปณณณัท พึ่งพิง นางสาวจันจิรา รัตนนันทเดช

พิมพครั้งที่ 3
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
รหัสสินคา 2348032
คํ า แนะนํ า การใช้
คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1
จัดทําขึ้นสําหรับใหครูผูสอนใชเปนแนวทางวางแผนการจัดการเรียน
การสอน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการประกันคุณภาพ
ผูเ รียนตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
(สพฐ.)

ิ่ม คําแนะนําการใช ชวยสรางความเขาใจ เพื่อใชคูมือครูได


เพ นํา นํา สอน สรุป ประเมิน
โซน 1
อยางถูกตองและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ขัน้ นํา (5Es Instructional Model)
กระตุน ความสนใจ หน่วยการเรียนรู้ที่

เพิ่ม คําอธิบายรายวิชา แสดงขอบขายเนื้อหาสาระของรายวิชา


ซึง่ ครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั ตามทีห่ ลักสูตร
1. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน หนวย
การเรียนรูที่ 1 ระบบนิเวศ
2. ครูถามคําถาม Big Question เพื่อกระตุน
ความสนใจของนักเรียน โดยใหนกั เรียนรวมกัน
1 ระบบนิเวศ
อภิปรายแสดงความคิดเห็นอยางอิสระ
àÃ×Í¢¹¹éÓÁѹ
กําหนด Å‹Á¡ÅÒ§·ÐàÅ
มีผลตอระบบนิเวศ
ตนไม ทางทะเลอยางไร
ิ่ม Pedagogy ชวยสรางความเขาใจในกระบวนการออกแบบ
มีบทบาทเปนผูผลิตใน

เพ
ระบบนิเวศ สามารถ
เปลีย่ นพลังงานแสง
ใหเปนพลังงานเคมี
การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ไดอยางมี ในรูปของอาหาร

นํ้า
ประสิทธิภาพ เปนองคประกอบที่
ไมมีชีวิตในระบบนิเวศ
มีสวนสําคัญตอ
การดํารงชีวิต

ิ่ม Teacher Guide Overview ชวยใหเห็นภาพรวมของการ


ของสิ่งมีชีวิต

เพ
จั ด การเรี ย นการสอนทั้ ง หมดของรายวิ ช าก อ นที่ จ ะลงมื อ
แนวตอบ Big Question
สอนจริง คราบนํ้ามันที่ลอยอยูบนผิวนํ้าทะเลจะปดกั้น
การสังเคราะหดวยแสงของพืชนํ้าหรือแพลงกตอน
พื ช บางชนิ ด ทํ า หน า ที่ เ ป น ผู  ผ ลิ ต ในระบบนิ เ วศ ตัวชี้วัด

ิ่ม สงผลกระทบตอผูบ ริโภคตามลําดับ รวมทัง้ สารเคมี


เพ Chapter Overview ชวยสรางความเขาใจและเห็นภาพรวม
ว 1.1 ม.3/1 อธิบายปฏิสัมพันธขององคประกอบของระบบนิเวศที่ไดจากการสํารวจ
ทีป่ นเปอ นอยูใ นนํา้ มันอาจทําปฏิกริ ยิ ากับออกซิเจน ว 1.1 ม.3/2 อธิบายรูปแบบความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตรูปแบบตาง ๆ ในแหลงที่อยูเดียวกันที่ไดจากการสํารวจ
ว 1.1 ม.3/3 สรางแบบจําลองในการอธิบายการถายทอดพลังงานในสายใยอาหาร
ในนํ้ า ทํ า ให ป ริ ม าณออกซิ เ จนในนํ้ า ลดลงและ
ในการออกแบบแผนการจัดการเรียนรูแตละหนวยการเรียนรู เกิดการสะสมของสารพิษในโซอาหารที่เริ่มตั้งแต
ผูผลิต ผูบริโภคลําดับแรก ไปจนถึงผูบริโภคลําดับ
ว 1.1 ม.3/4
ว 1.1 ม.3/5
ว 1.1 ม.3/6
อธิบายความสัมพันธของผูผลิต ผูบริโภค และผูยอยสลายสารอินทรียในระบบนิเวศ
อธิบายการสะสมสารพิษในสิ่งมีชีวิตในโซอาหาร
ตระหนักถึงความสัมพันธของสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศ โดยไมทําลายสมดุลของระบบนิเวศ
สุดทาย
ิ่ม Chapter Concept Overview ช ว ยให เ ห็ น ภาพรวม
เพ
Concept และเนื้อหาสําคัญของหนวยการเรียนรู เกร็ดแนะครู
การเรี ย นการสอน เรื่ อ ง ระบบนิ เ วศ นั ก เรี ย นจะได ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ
องคประกอบของระบบนิเวศ ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ิ่ม ขอสอบเนนการคิด/ขอสอบแนว O-NET เพื่อเตรียม และการถ า ยทอดพลั ง งานในระบบนิ เ วศ ซึ่ ง เป น บทเรี ย นที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ
เพ การดํ า รงชี วิ ต ของมนุ ษ ย ม ากที่ สุ ด ดั ง นั้ น ครู ค วรจั ด การเรี ย นการสอนใน
รูปแบบหองเรียนธรรมชาติ คือ ใหนกั เรียนศึกษาระบบนิเวศทีอ่ ยูร อบตัว วิเคราะห
ความพรอมของผูเรียนสูการสอบในระดับตาง ๆ ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตในทองถิ่น และเพื่อใหเกิดความตระหนักถึงปญหา
ที่ตามมาเมื่อระบบนิเวศสูญเสียสภาวะสมดุล
โซน 3
ิ่ม st
เพ กิจกรรม 21 Century Skills กิจกรรมที่จะชวยพัฒนา โซน 2
ผูเรียนใหมีทักษะที่จําเปนสําหรับการเรียนรูและการดํารงชีวิต
ในโลกแหงศตวรรษที่ 21 T4

โซน 1 ช่วยครูจัด โซน 2 ช่วยครูเตรียมสอน


การเรียนการสอน
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหครูผูสอน ประกอบดวยองคประกอบตาง ๆ ที่เปนประโยชนสําหรับครู
โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรมอยางละเอียด เพื่อนําไปประยุกตใชจัดกิจกรรมการเรียนรูในชั้นเรียน
เพื่อใหนักเรียนบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามตัวชี้วัด เกร็ดแนะครู
ความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอสังเกต แนวทางการจัด
นํา สอน สรุป ประเมิน
กิจกรรม และอื่น ๆ เพื่อประโยชนในการจัดการเรียนการสอน
นักเรียนควรรู
ความรูเ พิม่ เติมจากเนือ้ หา สําหรับอธิบายเสริมเพิม่ เติมใหกบั นักเรียน
โดยใชหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 และแบบฝกหัดรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Materials) ประกอบการสอนและ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู เพื่อใหสอดคลองตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดของกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งคูมือครู
มีองคประกอบที่งายตอการใชงาน ดังนี้

โซน 1 นํา นํา สอน สรุป ประเมิน


โซน 3 ช่วยครูเตรียมนักเรียน
ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
Check for Understanding 3. ใหนักเรียนตรวจสอบความเขาใจของตนเอง ประกอบด ว ยแนวทางสํ า หรั บ การจั ด กิ จ กรรมและ
กอนเขาสูการเรียนการสอนจากกรอบ Check
พิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุดบันทึก

1. รามีบทบาทและหน้าที่เป็นผู้ผลิต
ถูก/ผิด for Understanding ในหนังสือเรียนรายวิชา
พืน้ ฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1
เสนอแนะแนวขอสอบ เพือ่ อํานวยความสะดวกใหแกครูผสู อน
2. พืชมีบทบาทเป็นผู้ผลิตในทุก ๆ ระบบนิเวศ หนวยการเรียนรูท่ี 1 เรื่อง องคประกอบของ
ุด

ระบบนิเวศ โดยบันทึกลงในสมุดประจําตัว
สม

กิจกรรม 21st Century Skills


3. ต้นไม้เป็นองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิตของระบบนิเวศ
ใน
ลง

นักเรียน
ทึ ก

4. แม่น�้าเป็นองค์ประกอบที่มีชีวิตของระบบนิเวศ
บั น

5. อุณหภูมิมีผลต่อการกระจายของสิ่งมีชีวิต 4. ใหนักเรียนทํากิจกรรม Engaging Activity


โดยพิจารณาภาพระบบนิเวศในทะเลและระบบ
นิเวศในปา ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน กิจกรรมที่ใหนักเรียนไดประยุกตใชความรูสรางชิ้นงาน หรือ
E ngaging ให้นักเรียนศึกษาภาพที่ 1 และภาพที่ 2 แล้วร่วมกันวิเคราะห์ว่า องค์ประกอบ
ที่อยู่ในภาพมีอะไรบ้าง และองค์ประกอบที่อยู่ในภาพมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
วิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ม.3 เล ม 1
หน ว ยการเรี ย นรู  ที่ 1 เรื่ อ ง องค ป ระกอบ ทํากิจกรรมรวบยอด เพือ่ ใหเกิดทักษะทีจ่ าํ เปนในศตวรรษที่ 21
Activity
ของระบบนิเวศ จากนั้นใหนักเรียนวิเคราะห
ภาพที่ 1 องคประกอบทีอ่ ยูใ นภาพวามีความสัมพันธกนั
อยางไร
ขอสอบเนนการคิด
ภาพที่ 2 ตัวอยางขอสอบที่มุงเนนการคิด มีทั้งปรนัย-อัตนัย พรอม
เฉลยอยางละเอียด
ขอสอบเนนการคิดแนว O-NET
ตัวอยางขอสอบที่มุงเนนการคิดวิเคราะหและสอดคลองกับ
ภาพที่ 1.1 ระบบนิเวศในทะเล (ภาพที่ 1) ระบบนิเวศในป่า (ภาพที่ 2)
ที่มา : คลังภาพ อจท.
แนวตอบ
1. ผิด
Check for Understanding
2. ถูก 3. ผิด
แนวขอสอบ O-NET มีทั้งปรนัย-อัตนัย พรอมเฉลยอยาง
ระบบนิเวศ 3 4. ผิด 5. ถูก ละเอียด
แนวตอบ Engaging Activity
ภาพที่ 1 ประกอบดวยปลาฉลาม ปลาทะเล นํ้าทะเล ปะการัง แสง
แพลงกตอน ความดัน อุณหภูมิ
กิจกรรมทาทาย
วิเคราะหความสัมพันธ ทะเลเปนแหลงที่อยูอาศัยและใชในการ
ดํารงชีวิตของปลาทะเล ปลาทะเลอาศัยปะการังและหินเปนที่หลบภัย
เสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรม เพือ่ ตอยอดสําหรับนักเรียน
ปลาฉลามกินปลาทะเลเปนอาหาร
ภาพที่ 2 ประกอบดวยตนไม อากาศ แสง อุณหภูมิ หญา ยีราฟ ชาง ที่เรียนรูไดอยางรวดเร็วและตองการทาทายความสามารถใน
กวาง แรด มาลาย สิงโต แรง
โซน 3 วิเคราะหความสัมพันธ สิ่งมีชีวิตตองการแรธาตุ ดิน อากาศ แสง
อุณหภูมิในการดํารงชีวิต ตนไมเปนผูผลิตที่อาศัยแสงและแรธาตุในดิน
ระดับที่สูงขึ้น
รวมทั้งสภาพอากาศในการเจริญเติบโต เพื่อผลิตพลังงานเคมีสะสมอยู
โซน 2
ในสวนตาง ๆ ของพืช ยีราฟ ชาง มาลายตางกินพืชเปนอาหาร สิงโต
กินยีราฟ ชาง มาลาย เมื่อสิงโตตายแรงจะกินซากสิงโต กิจกรรมสรางเสริม
เสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรมซอมเสริมสําหรับนักเรียน
T5
ที่ควรไดรับการพัฒนาการเรียนรู

หองปฏิบัติการ (วิทยาศาสตร) แนวทางการวัดและประเมินผล


คําอธิบายหรือขอเสนอแนะสิ่งที่ควรระมัดระวัง หรือขอควรปฏิบัติ เสนอแนะแนวทางการบรรลุผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนักเรียน
ตามเนื้อหาในบทเรียน ตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่หลักสูตรกําหนด
สื่อ Digital
แนะนําแหลงเรียนรูและแหลงคนควาจากสื่อ Digital ตาง ๆ
ค� ำ อธิ บ ายรายวิ ช า
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เวลาเรียน 120 ชั่วโมง / ปี

ศึกษาเกีย่ วกับระบบนิเวศ องค์ประกอบของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิง่ มีชวี ติ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน


ในระบบนิเวศ พันธุกรรม โครโมโซม ดีเอ็นเอ และยีน การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ความ
ผิดปกติทางพันธุกรรม การดัดแปรทางพันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ วัสดุในชีวิตประจ�ำวัน สมบัติทางกายภาพ
และการใช้ประโยชน์พอลิเมอร์ เซรามิก และวัสดุผสม ผลกระทบจากการใช้วัสดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามิก และวัสดุผสม
ปฏิกิริยาเคมี การเกิดปฏิกิริยาเคมี ประเภทของปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ�ำวัน ศึกษา วิเคราะห์ ปริมาณทาง
ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้ากับความต่างศักย์ กฎของโอห์ม ความต้านทาน
ตัวต้านทาน การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรมและแบบขนาน ชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่าย ไดโอด ทรานซิสเตอร์ ตัวเก็บประจุ
วงจรรวม การต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์ พลังงานไฟฟ้าและก�ำลังไฟฟ้า การค�ำนวณค่าไฟฟ้า วงจรไฟฟ้าในบ้าน อุปกรณ์ไฟฟ้า
และเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน การใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและปลอดภัย การเกิดคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ประโยชน์และการป้องกันอันตรายจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า การสะท้อนของแสงบนกระจก
เงาราบ การสะท้อนของแสงบนกระจกเงาโค้ง การหักเหของแสงผ่านเลนส์ การทดลองการหักเหของแสง การเกิดภาพจาก
เลนส์บาง ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับแสง เช่น รุ้ง มิราจ และการท�ำงานของทัศนอุปกรณ์ เช่น แว่นขยาย กระจกโค้งจราจร
การมองเห็นวัตถุ ความสว่างของแสง การโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ การเกิดฤดูกาล การเคลื่อนที่ปรากฏของ
ดวงอาทิตย์ การเกิดข้างขึ้นข้างแรม การเกิดน�้ำขึ้นน�้ำลง น�้ำเป็น น�้ำตาย เทคโนโลยีอวกาศ กล้องโทรทรรศน์ ดาวเทียม
และยานอวกาศ นักบินอวกาศ และโครงการส�ำรวจอวกาศ
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวิเคราะห์
การทดลอง การอภิปราย การอธิบาย และการสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และน�ำความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยม

ตัวชี้วัด
ว 1.1 ม.3/1 อธิบายปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบของระบบนิเวศที่ได้จากการส�ำรวจ
ว 1.1 ม.3/2 อธิบายรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตรูปแบบต่าง ๆ ในแหล่งที่อยู่เดียวกันที่ได้จากการส�ำรวจ
ว 1.1 ม.3/3 สร้างแบบจ�ำลองในการอธิบายการถ่ายทอดพลังงานในสายใยอาหาร
ว 1.1 ม.3/4 อธิบายความสัมพันธ์ของผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ในระบบนิเวศ
ว 1.1 ม.3/5 อธิบายการสะสมสารพิษในสิ่งมีชีวิตในโซ่อาหาร
ว 1.1 ม.3/6 ตระหนักถึงความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อมในระบบนิเวศ โดยไม่ท�ำลายสมดุลของระบบนิเวศ
ว 1.3 ม.3/1 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างยีน ดีเอ็นเอ และโครโมโซม โดยใช้แบบจ�ำลอง
ว 1.3 ม.3/2 อธิบายการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากการผสมโดยพิจารณาลักษณะเดียวที่แอลลีลเด่นข่มแอลลีลด้อยอย่างสมบูรณ์
ว 1.3 ม.3/3 อธิบายการเกิดจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของลูกและค�ำนวณอัตราส่วนการเกิดจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของรุ่นลูก
ว 1.3 ม.3/4 อธิบายความแตกต่างของการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส
ว 1.3 ม.3/5 บอกได้ว่าการเปลี่ยนแปลงของยีนหรือโครโมโซม อาจท�ำให้เกิดโรคทางพันธุกรรม พร้อมทั้งยกตัวอย่างโรคทางพันธุกรรม
ว 1.3 ม.3/6 ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้เรื่องโรคทางพันธุกรรม โดยรู้ว่าก่อนแต่งงานควรปรึกษาแพทย์เพื่อตรวจและวินิจฉัยภาวะเสี่ยง
ของลูกที่อาจเกิดโรคทางพันธุกรรม
ว 1.3 ม.3/7 อธิบายการใช้ประโยชน์จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม และผลกระทบที่อาจมีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมโดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้
ว 1.3 ม.3/8 ตระหนักถึงประโยชน์และผลกระทบของสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมที่อาจมีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม โดยการเผยแพร่ความรู้ที่ได้
จากการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีข้อมูลสนับสนุน
ว 1.3 ม.3/9 เปรียบเทียบความหลากหลายทางชีวภาพในระดับชนิดสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศต่าง ๆ
ว 1.3 ม.3/10 อธิบายความส�ำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อการรักษาสมดุลของระบบนิเวศและต่อมนุษย์
ว 1.3 ม.3/11 แสดงความตระหนักในคุณค่าและความส�ำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ โดยมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาความหลากหลาย
ทางชีวภาพ
ว 2.1 ม.3/1 ระบุสมบัตทิ างกายภาพและการใช้ประโยชน์วสั ดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามิก และวัสดุผสม โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และสารสนเทศ
ว 2.1 ม.3/2 ต ระหนักถึงคุณค่าของการใช้วสั ดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามิก และวัสดุผสม โดยเสนอแนะแนวทางการใช้วสั ดุอย่างประหยัดและคุม้ ค่า
ว 2.1 ม.3/3 อธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมี รวมถึงการจัดเรียงตัวใหม่ของอะตอมเมื่อเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยใช้แบบจ�ำลองและสมการข้อความ
ว 2.1 ม.3/4 อธิบายกฎทรงมวล โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
ว 2.1 ม.3/5 วิเคราะห์ปฏิกิริยาดูดความร้อน และปฏิกิริยาคายความร้อน จากการเปลี่ยนแปลงพลังงานความร้อนของปฏิกิริยา
ว 2.1 ม.3/6 อธิบายปฏิกิริยาการเกิดสนิมของเหล็ก ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ ปฏิกิริยาของกรดกับเบส และปฏิกิริยาของเบสกับโลหะ โดยใช้
หลักฐานเชิงประจักษ์ และอธิบายปฏิกริ ยิ าการเผาไหม้ การเกิดฝนกรด การสังเคราะห์ดว้ ยแสง โดยใช้สารสนเทศ รวมทัง้ เขียนสมการ
ข้อความแสดงปฏิกิริยาดังกล่าว
ว 2.1 ม.3/7 ระบุประโยชน์และโทษของปฏิกริ ยิ าเคมีทมี่ ตี อ่ สิง่ มีชวี ติ และสิง่ แวดล้อม และยกตัวอย่างวิธปี อ้ งกันและแก้ปญั หาจากปฏิกริ ยิ าเคมีทพี่ บ
ในชีวิตประจ�ำวัน จากการสืบค้นข้อมูล
ว 2.1 ม.3/8 ออกแบบวิธีแก้ปัญหาในชีวิตประจ�ำวัน โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมี โดยบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และ
วิศวกรรมศาสตร์
ว 2.3 ม.3/1 วเิ คราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้า และความต้านทาน และค�ำนวณปริมาณทีเ่ กีย่ วข้องโดยใช้สมการ V = IR
จากหลักฐานเชิงประจักษ์
ว 2.3 ม.3/2 เขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้า
ว 2.3 ม.3/3 ใช้โวลต์มิเตอร์ แอมมิเตอร์ในการวัดปริมาณทางไฟฟ้า
ว 2.3 ม.3/4 วิเคราะห์ความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าเมื่อต่อตัวต้านทานหลายตัวแบบอนุกรมและแบบขนานจากหลักฐาน
เชิงประจักษ์
ว 2.3 ม.3/5 เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้าแสดงการต่อตัวต้านทานแบบอนุกรมและขนาน
ว 2.3 ม.3/6 บรรยายการท�ำงานของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายในวงจรจากข้อมูลที่รวบรวมได้
ว 2.3 ม.3/7 เขียนแผนภาพและต่อชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายในวงจรไฟฟ้า
ว 2.3 ม.3/8 อธิบายและค�ำนวณพลังงานไฟฟ้าโดยใช้สมการ W = Pt รวมทั้งค�ำนวณค่าไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน
ว 2.3 ม.3/9 ตระหนักในคุณค่าของการเลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า โดยน�ำเสนอวิธีการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและปลอดภัย
ว 2.3 ม.3/10 สร้างแบบจ�ำลองที่อธิบายการเกิดคลื่นและบรรยายส่วนประกอบของคลื่น
ว 2.3 ม.3/11 อธิบายคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากข้อมูลที่รวบรวมได้
ว 2.3 ม.3/12 ตระหนักถึงประโยชน์และอันตรายจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า โดยน�ำเสนอการใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ และอันตรายจากคลื่นแม่เหล็ก
ไฟฟ้าในชีวิตประจ�ำวัน
ว 2.3 ม.3/13 ออกแบบการทดลองและด�ำเนินการทดลอง ด้วยวิธีที่เหมาะสมในการอธิบายกฎการสะท้อนของแสง
ว 2.3 ม.3/14 เขียนแผนภาพการเคลื่อนที่ของแสง แสดงการเกิดภาพจากกระจกเงา
ว 2.3 ม.3/15 อธิบายการหักเหของแสงเมื่อผ่านตัวกลางโปร่งใสที่แตกต่างกัน และอธิบายการกระจายแสงของแสงขาวเมื่อผ่านปริซึมจากหลักฐาน
เชิงประจักษ์
ว 2.3 ม.3/16 เขียนแผนภาพการเคลื่อนที่ของแสงแสดงการเกิดภาพจากเลนส์บาง
ว 2.3 ม.3/17 อธิบายปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับแสง และการท�ำงานของทัศนอุปกรณ์จากข้อมูลที่รวบรวมได้
ว 2.3 ม.3/18 เขียนแผนภาพการเคลื่อนที่ของแสง แสดงการเกิดภาพของทัศนอุปกรณ์และเลนส์ตา
ว 2.3 ม.3/19 อธิบายผลของความสว่างที่มีต่อดวงตาจากข้อมูลที่ได้จากการสืบค้น
ว 2.3 ม.3/20 วัดความสว่างของแสงโดยใช้อุปกรณ์วัดความสว่างของแสง
ว 2.3 ม.3/21 ตระหนักในคุณค่าของความรู้เรื่องความสว่างของแสงที่มีต่อดวงตา โดยวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาและเสนอแนะการจัดความสว่าง
ให้เหมาะสมในการท�ำกิจกรรมต่าง ๆ
ว 3.1 ม.3/1 อธิบายการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ด้วยแรงโน้มถ่วงจากสมการ F = (Gm1m2 )/r2
ว 3.1 ม.3/2 สร้างแบบจ�ำลองที่อธิบายการเกิดฤดู และการเคลื่อนที่ปรากฏของดวงอาทิตย์
ว 3.1 ม.3/3 สร้างแบบจ�ำลองที่อธิบายการเกิดข้างขึ้นข้างแรม การเปลี่ยนแปลงเวลาการขึ้นและตกของดวงจันทร์ และการเกิดน�้ำขึ้นน�้ำลง
ว 3.1 ม.3/4 อธิบายการใช้ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ และยกตัวอย่างความก้าวหน้าของโครงการส�ำรวจอวกาศจากข้อมูลที่รวบรวมได้

รวม 50 ตัวชี้วัด
Pedagogy
คูมือครูร�ยวิช�พื้นฐ�น
วิ
ทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ม.3 เล่ม 1 รวมถึงสื่อการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผู้จัดท�าได้ออกแบบการสอน (Instructional Design) อันเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้และ
เทคนิคการสอนที่เปียมด้วยประสิทธิภาพและมีความหลากหลายให้กับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบรรลุผลสัมฤทธิ์
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด รวมถึงสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนที่หลักสูตรก�าหนดไว้
โดยครูสามารถน�าไปใช้จัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งในรายวิชานี้ ได้น�ารูปแบบการสอนแบบสืบเสาะ
หาความรู้ (5Es Instructional Model) มาใช้ในการออกแบบการสอน ดังนี้

รูปแบบกำรสอนแบบสืบเสำะหำควำมรู้ (5Es Instructional Model)

ด้วยจุดประสงค์ของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ เพื่อช่วย
ุนความสนใจ
ให้ผู้เรียนได้พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ กระต
คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะส�าคัญในการค้นคว้าหาความรู้ และมี Eennggagement
1

สาํ xploration
ความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ ผู้จัดท�าจึงได้เลือกใช้ eEvvaluatio ล

รวจ

eE
ตรวจสอบ
n

และคนหา
รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู ้ (5Es Instructional Model) 2
5
ซึ่งเป็นขั้นตอนการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้มีโอกาสสร้าง
องค์ความรูด้ ว้ ยตนเองผ่านกระบวนการคิดและการลงมือท�า โดยใช้
5Es
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นเครื่องมือส�าคัญเพื่อการพัฒนา
bo 4 3

n
El a

tio
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะการเรียนรู้แห่ง ratio na
ขย

รู
คว pl
าม
n Ex ว
าย

ศตวรรษที่ 21 ามเ า ยค
ขาใจ อธิบ

วิธีสอน (Teaching Method)

ผู้จัดท�าเลือกใช้วิธีสอนที่หลากหลาย เช่น การทดลอง การสาธิต การอภิปรายกลุ่มย่อย เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้


รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งจะเน้นใช้วิธีสอน
โดยใช้การทดลองมากเป็นพิเศษ เนื่องจากเป็นวิธีสอนที่มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดองค์ความรู้จากประสบการณ์ตรงโดย
การคิดและการลงมือท�าด้วยตนเอง อันจะช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้และเกิดทักษะทางกระบวนการวิทยาศาสตร์ที่คงทน

เทคนิคกำรสอน (Teaching Technique)

ผูจ้ ดั ท�าเลือกใช้เทคนิคการสอนทีห่ ลากหลายและเหมาะสมกับเรือ่ งทีเ่ รียน เพือ่ ส่งเสริมวิธสี อนให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้


เช่น การใช้ค�าถาม การเล่นเกม การยกตัวอย่าง ซึ่งเทคนิคการสอนต่าง ๆ จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข
ในขณะที่เรียนและสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งได้พัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 อีกด้วย
Teacher Guide Overview
วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ม.3 เล่ ม  1
หน่วย เวลาที่
ตัวชี้วัด ทักษะที่ได้ การประเมิน สื่อที่ใช้
การเรียนรู้ ใช้
1. อธิบายปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบของ - ทักษะการวัด - ตรวจแบบทดสอบ - หนังสือเรียนรายวิชา
ระบบนิเวศที่ได้จากการส�ำรวจ (ว 1.1 ม.3/1) - ทักษะการสังเกต ก่อน-หลังเรียน พื้นฐานวิทยาศาสตร์และ
2. อธิบายรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต - ทักษะการทดลอง - ตรวจแบบฝึกหัด เทคโนโลยี ม.3 เล่ม 1
กับสิ่งมีชีวิตรูปแบบต่าง ๆ ในแหล่งที่อยู่ - ทักษะจ�ำแนกประเภท - ตรวจ Topic Questions - แบบฝึกหัดรายวิชา
เดียวกันที่ได้จากการส�ำรวจ (ว 1.1 ม.3/2) - ทักษะการจัดกระท�ำ - ตรวจ Unit Questions พื้นฐานวิทยาศาสตร์
3. สร้างแบบจ�ำลองในการอธิบายการถ่ายทอด และสื่อความหมาย - ตรวจใบงาน และเทคโนโลยี ม.3
พลังงานในสายใยอาหาร (ว 1.1 ม.3/3) ข้อมูล - ตรวจรายงาน เล่ม 1
4. อธิบายความสัมพันธ์ของผู้ผลิต ผู้บริโภค - ทักษะการ - ตรวจผังมโนทัศน์ - ใบงาน
1 และผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ในระบบนิเวศ ลงความเห็น 12 - ตรวจแบบจ�ำลอง - อปุ กรณ์ทใี่ ช้ปฏิบตั กิ จิ กรรม
ระบบนิเวศ (ว 1.1 ม.3/4) จากข้อมูล ชั่วโมง
- การน�ำเสนอผลงาน - ภาพยนตร์สารคดีสน้ั Twig
5. อธิบายการสะสมสารพิษในสิ่งมีชีวิต - ทกั ษะการตีความหมาย - การปฏิบัติกิจกรรม - QR Code
ในโซ่อาหาร (ว 1.1 ม.3/5) ข้อมูลและลงข้อสรุป - สังเกตพฤติกรรม - PowerPoint
6. ตระหนักถึงความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตและ - ทักษะการก�ำหนดและ การท�ำงานรายบุคคล - แบบทดสอบก่อนเรียน
สิ่งแวดล้อมในระบบนิเวศ โดยไม่ทำ� ลาย ควบคุมตัวแปร - สังเกตพฤติกรรม - แบบทดสอบหลังเรียน
สมดุลของระบบนิเวศ (ว 1.1 ม.3/6) - ทักษะการสร้าง การท�ำงานกลุ่ม
แบบจ�ำลอง - สังเกตความมีวินัย
ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น
ในการท�ำงาน
1. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างยีน ดีเอ็นเอ และ - ทักษะการทดลอง - ตรวจแบบทดสอบ - หนังสือเรียนรายวิชา
โครโมโซม โดยใช้แบบจ�ำลอง (ว 1.3 ม.3/1) - ทักษะการค�ำนวณ ก่อน-หลังเรียน พื้นฐานวิทยาศาสตร์และ
2. อธิบายการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม - ทักษะการระบุ - ตรวจแบบฝึกหัด เทคโนโลยี ม.3 เล่ม 1
จากการผสมโดยพิจารณาลักษณะเดียว - ทักษะการรวบรวม - ตรวจ Topic Questions - แบบฝึกหัดรายวิชา
ที่แอลลีลเด่นข่มแอลลีลด้อยอย่างสมบูรณ์ ข้อมูล - ตรวจ Unit Questions พื้นฐานวิทยาศาสตร์
(ว 1.3 ม.3/2) - ทักษะการเปรียบเทียบ - ตรวจใบงาน และเทคโนโลยี ม.3
3. อธิบายการเกิดจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของลูก - ทักษะการน�ำความรู้ - ตรวจรายงาน เล่ม 1
และค�ำนวณอัตราส่วนการเกิดจีโนไทป์และ ไปใช้ - ตรวจแผ่นพับ - ใบงาน
ฟีโนไทป์ของรุ่นลูก (ว 1.3 ม.3/3) - ทักษะการเชื่อมโยง - ตรวจผังมโนทัศน์ - อปุ กรณ์ทใี่ ช้ปฏิบตั กิ จิ กรรม
4. อธิบายความแตกต่างของการแบ่งเซลล์ - ทักษะการก�ำหนดและ - ตรวจแบบจ�ำลอง - ภาพยนตร์สารคดีสนั้  Twig
แบบไมโทซิสและไมโอซิส (ว 1.3 ม.3/4) ควบคุมตัวแปร - การน�ำเสนอผลงาน - QR Code
5. บอกได้ว่าการเปลี่ยนแปลงของยีนหรือ - ทักษะการสร้าง - การปฏิบัติกิจกรรม - PowerPoint
โครโมโซม อาจท�ำให้เกิดโรคทางพันธุกรรม แบบจ�ำลอง - สังเกตพฤติกรรม - แบบทดสอบก่อนเรียน
พร้อมทั้งยกตัวอย่างโรคทางพันธุกรรม การท�ำงานรายบุคคล - แบบทดสอบหลังเรียน
(ว 1.3 ม.3/5) - สังเกตพฤติกรรม
2 6. ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้เรื่อง 24 การท�ำงานกลุ่ม
พันธุกรรม โรคทางพันธุกรรม โดยรู้ว่าก่อนแต่งงานควร ชั่วโมง - สังเกตความมีวินัย
ปรึกษาแพทย์เพื่อตรวจและวินิจฉัยภาวะ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น
เสี่ยงของลูกที่อาจเกิดโรคทางพันธุกรรม ในการท�ำงาน
(ว 1.3 ม.3/6)
7. อธิบายการใช้ประโยชน์จากสิ่งมีชีวิตดัดแปร
พันธุกรรม และผลกระทบที่อาจมีต่อมนุษย์
และสิ่งแวดล้อมโดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้
(ว 1.3 ม.3/7)
8. ตระหนักถึงประโยชน์และผลกระทบของ
สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมที่อาจมีต่อมนุษย์
และสิ่งแวดล้อม โดยการเผยแพร่ความรู้ที่ได้
จากการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีข้อมูล
สนับสนุน (ว 1.3 ม.3/8)
9. เปรียบเทียบความหลากหลายทางชีวภาพ
ในระดับชนิดสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศต่าง ๆ
(ว 1.3 ม.3/9)
หน่วย
ตัวชี้วัด ทักษะที่ได้ เวลาที่ใช้ การประเมิน สื่อที่ใช้
การเรียนรู้
10.  อธิบายความส�ำคัญของความหลากหลาย
ทางชีวภาพที่มีต่อการรักษาสมดุลของ
ระบบนิเวศและต่อมนุษย์ (ว 1.3 ม.3/10)
11.  แสดงความตระหนักในคุณค่าและความ
ส�ำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ
โดยมี ส ่ ว นร่ ว มในการดู แ ลรั ก ษาความ
หลากหลายทางชีวภาพ (ว 1.3 ม.3/11)
1. ระบุสมบัตทิ างกายภาพและการใช้ประโยชน์ - ทักษะการสังเกต - ตรวจแบบทดสอบ - หนังสือเรียนรายวิชา
วั ส ดุ ป ระเภทพอลิ เ มอร์ เซรามิ ก และ - ทักษะการทดลอง ก่อน-หลังเรียน พื้นฐานวิทยาศาสตร์และ
วั ส ดุ ผ สม โดยใช้ ห ลั ก ฐานเชิ ง ประจั ก ษ์ - ทักษะการ - ตรวจแบบฝึกหัด เทคโนโลยี ม.3 เล่ม 1
และสารสนเทศ (ว 2.1 ม.3/1) ลงความเห็น - ตรวจ Topic Questions - แบบฝึกหัดรายวิชา
2. ตระหนักถึงคุณค่าของการใช้วัสดุประเภท จากข้อมูล - ตรวจ Unit Questions พื้นฐานวิทยาศาสตร์
พอลิเมอร์ เซรามิก และวัสดุผสม โดยเสนอ - ทักษะการตีความหมาย - ตรวจใบงาน และเทคโนโลยี ม.3
แนะแนวทางการใช้วัสดุอย่างประหยัดและ ข้อมูลและลงข้อสรุป - ตรวจรายงาน
3 เล่ม 1

วัสดุในชีวิต
คุ้มค่า (ว 2.1 ม.3/2) - ทักษะการก�ำหนดและ
ควบคุมตัวแปร 11 - ตรวจผังมโนทัศน์
- การน�ำเสนอผลงาน
- ใบงาน
- อปุ กรณ์ทใี่ ช้ปฏิบตั กิ จิ กรรม
ชั่วโมง - การปฏิบัติกิจกรรม - ภาพยนตร์สารคดีสั้น Twig
ประจำ�วัน - สังเกตพฤติกรรม - QR Code
การท�ำงานรายบุคคล - PowerPoint
- สังเกตพฤติกรรม - แบบทดสอบก่อนเรียน
การท�ำงานกลุ่ม - แบบทดสอบหลังเรียน
- สังเกตความมีวินัย
ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น
ในการท�ำงาน
1. อธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมี รวมถึง - ทักษะการวัด - ตรวจแบบทดสอบ - หนังสือเรียนรายวิชา
การจัดเรียงตัวใหม่ของอะตอมเมื่อเกิด - ทักษะการสังเกต ก่อน-หลังเรียน พืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และ
ปฏิกิริยาเคมี โดยใช้แบบจ�ำลองและ - ทักษะการทดลอง - ตรวจแบบฝึกหัด เทคโนโลยี ม.3 เล่ม 1
สมการข้อความ (ว 2.1 ม.3/3) - ทักษะการ - ตรวจ Topic Questions - แบบฝึกหัดรายวิชา
2. อธิบายกฎทรงมวลโดยใช้หลักฐานเชิง ลงความเห็น - ตรวจ Unit Questions พื้นฐานวิทยาศาสตร์
ประจักษ์ (ว 2.1 ม.3/4) จากข้อมูล - ตรวจใบงาน และเทคโนโลยี ม.3
3. วิเคราะห์ปฏิกิริยาดูดความร้อน และ - ทักษะการจัดกระท�ำและ - ตรวจผังมโนทัศน์ เล่ม 1
ปฏิกริ ยิ าคายความร้อน จากการเปลีย่ นแปลง สื่อความหมายข้อมูล - ตรวจป้ายนิเทศ - ใบงาน
พลังงานความร้อนของปฏิกิริยา - ทักษะการตีความหมาย - ตรวจแบบจ�ำลอง - อุปกรณ์ที่ใช้ปฏิบัติกิจกรรม
(ว 2.1 ม.3/5) ข้อมูลและลงข้อสรุป - การน�ำเสนอผลงาน - ภาพยนตร์สารคดีสั้น Twig
4. อธิบายปฏิกิริยาการเกิดสนิมของเหล็ก - ทักษะการก�ำหนดและ - การปฏิบัติกิจกรรม - QR Code
ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ ปฏิกิริยาของ ควบคุมตัวแปร - สังเกตพฤติกรรม - PowerPoint
กรดกับเบส และปฏิกิริยาของเบสกับโลหะ - ทักษะการสร้าง การท�ำงานรายบุคคล - แบบทดสอบก่อนเรียน
4 โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และอธิบาย แบบจ�ำลอง 13 - สังเกตพฤติกรรม - แบบทดสอบหลังเรียน
ปฏิกิริยาการเผาไหม้ การเกิดฝนกรด ชั่วโมง
การท�ำงานกลุ่ม
ปฏิกิริยาเคมี การสังเคราะห์ด้วยแสง โดยใช้สารสนเทศ - สังเกตความมีวินัย
รวมทัง้ เขียนสมการข้อความแสดงปฏิกริ ยิ า ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น
ดังกล่าว (ว 2.1 ม.3/6) ในการท�ำงาน
5. ระบุประโยชน์และโทษของปฏิกิริยาเคมี
ที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม และ
ยกตัวอย่างวิธีการป้องกันและแก้ปัญหาที่
เกิดจากปฏิกริ ยิ าเคมีทพี่ บในชีวติ ประจ�ำวัน
จากการสืบค้นข้อมูล (ว 2.1 ม.3/7)
6. ออกแบบวิธีแก้ปัญหาในชีวิตประจ�ำวัน
โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมี โดย
บูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์
(ว 2.1 ม.3/8)
สำรบั ญ

Chapter
Chapter Teacher
Chapter Title Overview
Concept
Script
Overview
หนวยก�รเรียนรูที่ 1 ระบบนิเวศ T2 T3 T4

• องค์ประกอบของระบบนิเวศ T5 -T13
• ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ T14 -T23
• การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ T24 -T31
ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 T32 -T39

หนวยก�รเรียนรูที่ 2 พันธุกรรม T40-T42 T43-T45 T46

• โครโมโซม ดีเอ็นเอ และยีน T47-T53


• การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม T54 -T64
• การแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิต T65-T71
• ความผิดปกติทางพันธุกรรม T72 -T78
• การดัดแปรทางพันธุกรรม T79 -T85
• ความหลากหลายทางชีวภาพ T86 -T92
ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 T93 -T101

หนวยก�รเรียนรูที่ 3 วัสดุในชีวิตประจ�ำวัน T102 T103 T104

• พอลิเมอร์ T105-T115
• เซรามิก T116-T123
• วัสดุผสม T124-T129
• ผลกระทบจากการใช้วัสดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามิก T130-T134
และวัสดุผสม
ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 T135-T143

หนวยก�รเรียนรูที่ 4 ปฏิกิริยำเคมี T144 T145 T146

• การเกิดปฏิกิริยาเคมี T147 -T156


• ประเภทของปฏิกิริยาเคมี T157 -T161
• ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน T162 -T174
ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 T175 -T181

STEM Project T182 -T183


บรรณำนุกรม T184
Chapter Overview
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช จ�ดประสงค ว�ธ�สอน ประเมิน ทักษะที่ได
การเร�ยนรู อันพึงประสงค
แผนฯ ที่ 1 - แบบทดสอบกอนเรียน 1. อธิบายปฏิสัมพันธของ 5Es - ตรวจแบบทดสอบ - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
องคประกอบ - หนังสือเรียนรายวิชา องคประกอบของระบบนิเวศ Instructional กอนเรียน - ทักษะการทดลอง - ใฝเรียนรู
ของระบบนิเวศ พื้นฐานวิทยาศาสตร ที่ไดจากการสํารวจได (K) Model - ตรวจแบบฝกหัด - ทักษะการสํารวจ - มุงมั่นใน
และเทคโนโลยี ม.3 2. จําแนกองคประกอบของ - ตรวจใบงาน เรื่อง คนหา การทํางาน
3 เลม 1 ระบบนิเวศที่ไดจากการ ระบบนิเวศจําลอง - ทักษะการกําหนด
ชั่วโมง - แบบฝกหัดรายวิชา สํารวจได (P) - การปฏิบัติกิจกรรม และควบคุมตัวแปร
พื้นฐานวิทยาศาสตร 3. มีความใฝเรียนรูแ ละมุงมั่น - สังเกตพฤติกรรม - ทักษะการ
และเทคโนโลยี ม.3 ในการทํางาน (A) การทํางานกลุม ลงความเห็น
เลม 1 - สังเกตความมีวินัย จากขอมูล
- QR Code ใฝเรียนรู และมุงมั่น - ทักษะการ
- ใบงาน ในการทํางาน ตีความหมาย
- PowerPoint ขอมูลและ
- ภาพยนตรสารคดีสั้น ลงขอสรุป
Twig
แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายนิยามของกลุม 5Es - ตรวจแบบฝกหัด - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
ความสัมพันธ พื้นฐานวิทยาศาสตร สิง่ มีชวี ติ และประชากรได (K) Instructional - ตรวจใบงาน เรื่อง - ทักษะการทดลอง - ใฝเรียนรู
ระหวางสิ่งมีชีวิต และเทคโนโลยี ม.3 2. อธิบายรูปแบบความสัมพันธ Model ความสัมพันธระหวาง - ทักษะการจําแนก - มุงมั่นใน
ในระบบนิเวศ เลม 1 ระหวางสิง่ มีชวี ติ กับสิง่ มีชวี ติ สิ่งมีชีวิต ประเภท การทํางาน
- แบบฝกหัดรายวิชา รูปแบบตาง ๆ ได (K) - การปฏิบัติกิจกรรม - ทักษะการ
3 พื้นฐานวิทยาศาสตร 3. จําแนกรูปแบบความสัมพันธ - สังเกตพฤติกรรม ลงความเห็น
ชั่วโมง และเทคโนโลยี ม.3 ของสิ่งมีชีวิตได (P) การทํางานกลุม จากขอมูล
เลม 1 4. ตระหนั ก ถึ ง ความสั ม พั น ธ - สังเกตความมีวินัย
- ใบงาน ระหวางสิง่ มีชวี ติ กับสิง่ มีชวี ติ ใฝเรียนรู และมุงมั่น
- อุปกรณการทดลอง ในระบบนิเวศ (A) ในการทํางาน
- PowerPoint
- ภาพยนตรสารคดีสั้น
Twig
แผนฯ ที่ 3 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายการถายทอดพลังงาน 5Es - ตรวจแบบฝกหัด - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
โซอาหารและ พื้นฐานวิทยาศาสตร จากผูผลิตไปยังผูบริโภค Instructional - ตรวจแบบจําลอง - ทักษะการทดลอง - ใฝเรียนรู
สายใยอาหาร และเทคโนโลยี ม.3 ลําดับตาง ๆ ได (K) Model สายใยอาหาร - ทักษะการ - มุงมั่นใน
เลม 1 2. อธิบายความสัมพันธของ - การปฏิบัติกิจกรรม ลงความเห็น การทํางาน
4 - แบบฝกหัดรายวิชา ผูผลิต ผูบริโภค และ - สังเกตพฤติกรรม จากขอมูล
ชั่วโมง พื้นฐานวิทยาศาสตร ผูยอยสลายสารอินทรีย การทํางานกลุม - ทักษะการสราง
และเทคโนโลยี ม.3 ในระบบนิเวศได (K) - สังเกตความมีวินัย แบบจําลอง
เลม 1 3. อธิบายการสะสมสารพิษ ใฝเรียนรู และมุงมั่น
- QR Code ในโซอาหาร ในการทํางาน
- บัตรภาพ 4. สรางแบบจําลอง
- ภาพประกอบการสอน การถายทอดพลังงาน
- PowerPoint ในสายใยอาหารได (P)
- ภาพยนตรสารคดีสั้น 5. ตระหนักถึงอันตรายจาก
Twig สารพิษที่สะสมในสิ่งมีชีวิต
ในโซอาหาร (A)
แผนฯ ที่ 4 - แบบทดสอบหลังเรียน 1. อธิบายแนวทางการรักษา 5Es - ตรวจแบบทดสอบ - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
สมดุลระบบนิเวศ - หนังสือเรียนรายวิชา สมดุลของระบบนิเวศได (K) Instructional หลังเรียน - ทักษะการ - ใฝเรียนรู
พื้นฐานวิทยาศาสตร 2. ออกแบบและเสนอวิธีการ Model - ตรวจแบบฝกหัด ลงความเห็น - มุงมั่นใน
2 และเทคโนโลยี ม.3 รักษาสมดุลของระบบนิเวศ - ตรวจผังมโนทัศน เรื่อง จากขอมูล การทํางาน
ชั่วโมง เลม 1 ได (P) ระบบนิเวศ - ทักษะการ
- แบบฝกหัดรายวิชา 3. ตระหนักถึงความสัมพันธ - ตรวจ Unit Questions ตีความหมายขอมูล
พื้นฐานวิทยาศาสตร ของสิง่ มีชวี ติ และสิง่ แวดลอม - สังเกตพฤติกรรม และลงขอสรุป
และเทคโนโลยี ม.3 ในระบบนิเวศ (A) การทํางานกลุม
เลม 1 4. มีความใฝเรียนรูและมุงมั่น - สังเกตความมีวินัย
- ภาพประกอบการสอน ในการทํางาน (A) ใฝเรียนรู และมุงมั่น
- บัตรภาพ ในการทํางาน
T2 - PowerPoint
Chapter Concept Overview
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
องคประกอบของระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
คือ กลุมสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูในบริเวณเดียวกันและมีความสัมพันธกันอยางเปนระบบ
องคประกอบที่มีชีวิต องคประกอบที่ไมมีชีวิต
ไดแก สิ่งมีชีวิตทุกชนิดในระบบนิเวศ เชน แรธาตุ นํ้า แกสตาง ๆ แสงสวาง ความชื้น
ซึ่งมีบทบาทที่แตกตางกัน ดังนี้ ความเค็มของดินและนํ้า อุณหภูมิ
ผูผลิต ผูบริโภค ผูยอยสลายสารอินทรีย
สิ่งมีชีวิตที่สามารถ สิ่งมีชีวิตที่ไมสามารถสราง
สรางอาหารเองได อาหารเองได อาศัยการ
เชน พืช ผลิตเอนไซมออกมายอย
ผูบริโภคพืช ผูบริโภคสัตว ซากสิ่งมีชีวิตและดูดซึม
เปนอาหาร เชน เห็ด รา

ผูบริโภคทั้งพืชและสัตว ผูบริโภคซากสัตว

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
รูปแบบความสัมพันธ ลักษณะความสัมพันธ ตัวอยางสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต ภาวะอิงอาศัย ความสัมพันธของสิง่ มีชวี ติ 2 ชนิด ซึง่ ฝาย - เหาฉลามกับปลาฉลาม
(+, 0) หนึ่งไดประโยชน (ผูอาศัย) อีกฝายหนึ่ง - นกทํารังบนตนไมใหญ
ไมไดและไมเสียประโยชน (ผูใหอาศัย) - กลวยไมกับตนไมใหญ
ภาวะพึ่งพากัน ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด ที่ได - ไลเคน (รากับสาหราย)
(+, +) ประโยชนรวมกัน แยกออกจากกันไมได - โพรโทซัวในลําไสปลวก
ประชากร ภาวะปรสิต ความสัมพันธของสิง่ มีชวี ติ 2 ชนิด ซึง่ ฝาย - พยาธิในลําไสใหญของ
(+, -) ปรสิต (parasite) ไดประโยชน อาจอยู คน
ภายนอกหรือภายในรางกายอีกฝายซึง่ เปน - กาฝากกับตนไมใหญ
ผูถูกอาศัย (host) จะเสียประโยชน - เห็บและหมัดบนตัวสุนัข
ภาวะการลาเหยื่อ ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด ซึ่ง - เสือลากวาง
กลุมสิ่งมีชีวิต (+, -) ฝายที่เปนผูลา (predator) ไดประโยชน - นกกินหนอน
สวนอีกฝายที่เปนเหยื่อ (prey) จะเสีย - ตนกาบหอยแครง
ประโยชน เพราะเปนอาหารของผูลา กับแมลง

การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ ผูบริโภคลําดับที่ 3
• โซ อ าหาร ความสั ม พั น ธ ข องสิ่ ง มี ชี วิ ต ในบริ เ วณเดี ย วกั น ที่ มี
การถายทอดพลังงานผานการกินตอกันเปนทอด ๆ เริ่มจากผูผลิต ผูบริโภคลําดับที่ 2
ไปยังผูบริโภค โดยปริมาณพลังงานที่ถายทอดไปตามโซอาหาร
จะลดลงไปทีละขั้นตามลําดับของผูบริโภคที่สูงขึ้น ผูบริโภคลําดับที่ 1
• สายใยอาหาร สิง่ มีชวี ติ ไมไดกนิ เหยือ่ เพียงชนิดเดียว แตกนิ มากกวา
1 ชนิด ทําใหเกิดการถายทอดพลังงานผานการกินที่ซับซอน ผูผลิต
มากขึ้น
T3
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (5Es Instructional Model)


กระตุน ความสนใจ หน่วยการเรียนรู้ที่

1. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน หนวย
การเรียนรูที่ 1 ระบบนิเวศ
2. ครูถามคําถาม Big Question เพื่อกระตุน
ความสนใจของนักเรียน โดยใหนกั เรียนรวมกัน
1 ระบบนิเวศ
อภิปรายแสดงความคิดเห็นอยางอิสระ
àÃ×Í¢¹¹éÓÁѹ
Å‹Á¡ÅÒ§·ÐàÅ
มีผลตอระบบนิเวศ
ตนไม ทางทะเลอยางไร
มีบทบาทเปนผูผลิตใน
ระบบนิเวศ สามารถ
เปลีย่ นพลังงานแสง
ใหเปนพลังงานเคมี
ในรูปของอาหาร

นํ้า
เปนองคประกอบที่
ไมมีชีวิตในระบบนิเวศ
มีสวนสําคัญตอ
การดํารงชีวิต
ของสิ่งมีชีวิต

แนวตอบ Big Question


คราบนํ้ามันที่ลอยอยูบนผิวนํ้าทะเลจะปดกั้น
การสังเคราะหดวยแสงของพืชนํ้าหรือแพลงกตอน ตัวชี้วัด
พื ช บางชนิ ด ทํ า หน า ที่ เ ป น ผู  ผ ลิ ต ในระบบนิ เ วศ ว 1.1 ม.3/1 อธิบายปฏิสัมพันธขององคประกอบของระบบนิเวศที่ไดจากการสํารวจ
ว 1.1 ม.3/2 อธิบายรูปแบบความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตรูปแบบตาง ๆ ในแหลงที่อยูเดียวกันที่ไดจากการสํารวจ
สงผลกระทบตอผูบ ริโภคตามลําดับ รวมทัง้ สารเคมี ว 1.1 ม.3/3 สรางแบบจําลองในการอธิบายการถายทอดพลังงานในสายใยอาหาร
ทีป่ นเปอ นอยูใ นนํา้ มันอาจทําปฏิกริ ยิ ากับออกซิเจน ว 1.1 ม.3/4 อธิบายความสัมพันธของผูผลิต ผูบริโภค และผูยอยสลายสารอินทรียในระบบนิเวศ
ในนํ้ า ทํ า ให ป ริ ม าณออกซิ เ จนในนํ้ า ลดลงและ ว 1.1 ม.3/5 อธิบายการสะสมสารพิษในสิ่งมีชีวิตในโซอาหาร
ว 1.1 ม.3/6 ตระหนักถึงความสัมพันธของสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศ โดยไมทําลายสมดุลของระบบนิเวศ
เกิดการสะสมของสารพิษในโซอาหารที่เริ่มตั้งแต
ผูผลิต ผูบริโภคลําดับแรก ไปจนถึงผูบริโภคลําดับ
สุดทาย

เกร็ดแนะครู
การเรี ย นการสอน เรื่ อ ง ระบบนิ เ วศ นั ก เรี ย นจะได ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ
องคประกอบของระบบนิเวศ ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
และการถ า ยทอดพลั ง งานในระบบนิ เ วศ ซึ่ ง เป น บทเรี ย นที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ
การดํ า รงชี วิ ต ของมนุ ษ ย ม ากที่ สุ ด ดั ง นั้ น ครู ค วรจั ด การเรี ย นการสอนใน
รูปแบบหองเรียนธรรมชาติ คือ ใหนกั เรียนศึกษาระบบนิเวศทีอ่ ยูร อบตัว วิเคราะห
ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตในทองถิ่น และเพื่อใหเกิดความตระหนักถึงปญหา
ที่ตามมาเมื่อระบบนิเวศสูญเสียสภาวะสมดุล

T4
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
Check for Understanding 3. ใหนักเรียนตรวจสอบความเขาใจของตนเอง
พิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุดบันทึก กอนเขาสูการเรียนการสอนจากกรอบ Check
ถูก/ผิด for Understanding ในหนังสือเรียนรายวิชา
1. รามีบทบาทและหน้าที่เป็นผู้ผลิต พืน้ ฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1
2. พืชมีบทบาทเป็นผู้ผลิตในทุก ๆ ระบบนิเวศ หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง องคประกอบของ

มุ ด
3. ต้นไม้เป็นองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิตของระบบนิเวศ ระบบนิเวศ โดยบันทึกลงในสมุดประจําตัว

นส
งใล
นักเรียน

ทึ ก
4. แม่น�้าเป็นองค์ประกอบที่มีชีวิตของระบบนิเวศ

บั น
5. อุณหภูมิมีผลต่อการกระจายของสิ่งมีชีวิต 4. ใหนักเรียนทํากิจกรรม Engaging Activity
โดยพิจารณาภาพระบบนิเวศในทะเลและระบบ
นิเวศในปา ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
E ngaging ให้นักเรียนศึกษาภาพที่ 1 และภาพที่ 2 แล้วร่วมกันวิเคราะห์ว่า องค์ประกอบ
ที่อยู่ในภาพมีอะไรบ้าง และองค์ประกอบที่อยู่ในภาพมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
วิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ม.3 เล ม 1
หน ว ยการเรี ย นรู  ที่ 1 เรื่ อ ง องค ป ระกอบ
Activity
ของระบบนิเวศ จากนั้นใหนักเรียนวิเคราะห
ภาพที่ 1 องคประกอบทีอ่ ยูใ นภาพวามีความสัมพันธกนั
อยางไร

ภาพที่ 2

ภาพที่ 1.1 ระบบนิเวศในทะเล (ภาพที่ 1) ระบบนิเวศในป่า (ภาพที่ 2)


ที่มา : คลังภาพ อจท. แนวตอบ Check for Understanding
ระบบนิเวศ 3 1. ผิด 2. ถูก 3. ผิด
4. ผิด 5. ถูก

แนวตอบ Engaging Activity


ภาพที่ 1 ประกอบดวยปลาฉลาม ปลาทะเล นํ้าทะเล ปะการัง แสง
แพลงกตอน ความดัน อุณหภูมิ
วิเคราะหความสัมพันธ ทะเลเปนแหลงที่อยูอาศัยและใชในการ
ดํารงชีวิตของปลาทะเล ปลาทะเลอาศัยปะการังและหินเปนที่หลบภัย
ปลาฉลามกินปลาทะเลเปนอาหาร
ภาพที่ 2 ประกอบดวยตนไม อากาศ แสง อุณหภูมิ หญา ยีราฟ ชาง
กวาง แรด มาลาย สิงโต แรง
วิเคราะหความสัมพันธ สิ่งมีชีวิตตองการแรธาตุ ดิน อากาศ แสง
อุณหภูมิในการดํารงชีวิต ตนไมเปนผูผลิตที่อาศัยแสงและแรธาตุในดิน
รวมทั้งสภาพอากาศในการเจริญเติบโต เพื่อผลิตพลังงานเคมีสะสมอยู
ในสวนตาง ๆ ของพืช ยีราฟ ชาง มาลายตางกินพืชเปนอาหาร สิงโต
กินยีราฟ ชาง มาลาย เมื่อสิงโตตายแรงจะกินซากสิงโต

T5
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. ครูถามคําถาม Key Question Key 1 องคประกอบของระบบนิเวศ
2. ใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 5-6 คน ตามความ Question สภาพแวดล อ มบนโลกในแต ล ะพื้ น ที่ มี ค วามแตกต า งกั น
สมัครใจ เพื่อทํากิจกรรม สํารวจระบบนิเวศ แหลงทีอ่ ยูอ าศัยสําคัญ บางพืน้ ทีม่ สี ภาพเปนปาไม บางพืน้ ทีม่ สี ภาพเปนทะเลทราย บางพืน้ ที่
ในทองถิน่ กับสิง่ มีชวี ติ อยางไร มีสภาพเปนทะเล หรือบางพื้นที่มีสภาพเปนภูเขา ซึ่งในแตละพื้นที่
3. ใหสมาชิกภายในกลุมแบงหนาที่และความ จะพบทัง้ สิง่ มีชวี ติ และสิง่ ไมมชี วี ติ ทีม่ คี วามสัมพันธกนั อยางเปนระบบ
รับผิดชอบกัน ดังนี้ มาอาศัยอยูรวมกันเปนระบบนิเวศ (ecosystem)
- สมาชิกคนที่ 1-2 : ทํ า หน า ที่ เ ตรี ย มวั ส ดุ สภาพแวดลอมบนโลกมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอยูตลอดเวลา บางบริเวณเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางชา ๆ
อุปกรณ จึงไมสงผลกระทบตอความสัมพันธของสิ่งมีชีวิต แตบางบริเวณเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางกะทันหันและรุนแรง อาจ
- สมาชิกคนที่ 3-4 : ทําหนาที่อานวิธีปฏิบัติ สงผลกระทบตอความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตซึ่งมีอิทธิพลตอสมดุลของระบบนิเวศ
กิจกรรมและนํามาอธิบายใหสมาชิกภายใน
กลุมฟง
กิจกรรม
- สมาชิกคนที่ 5-6 : ทําหนาที่บันทึกผลการ
สํารวจระบบนิเวศในทองถิ่น
ทํากิจกรรม
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
จุดประสงค - การวัด
- การสังเกต
- การจําแนกประเภท
อธิบายปฏิสัมพันธขององคประกอบของระบบนิเวศที่ไดจากการสํารวจได - การจัดกระทําและสื่อความหมาย
ขอมูล
- การตีความหมายขอมูล
วัสดุอปุ กรณ และลงขอสรุป
จิตวิทยาศาสตร
1. แทงแกว 7. อุปกรณเครื่องเขียน - ความสนใจใฝรู
- ความรับผิดชอบ
2. แวนขยาย 8. สไลดและแผนปดสไลด - การทํางานรวมกับผูอื่นได
3. สมุดบันทึก 9. กลองจุลทรรศนแบบใชแสง อยางสรางสรรค
4. ขวดพลาสติก 10. กระดาษยูนิเวอรซัลอินดิเคเตอร
5. กระจกนาฬกา 11. มาตรความสวางหรือลักซมิเตอร
6. เทอรมอมิเตอร

วิธปี ฏิบตั ิ
1. ใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 5-6 คน แลวรวมกันสํารวจพืน้ ทีแ่ หลงนํา้ หรือบนบก โดยกําหนดขอบเขตบริเวณทีศ่ กึ ษาและบันทึก
สภาพแวดลอมทั่วไปของบริเวณที่สํารวจ

แนวตอบ Key Question


แหลงทีอ่ ยูอ าศัยเปนแหลงทีใ่ ชในการดํารงชีวติ 4
และเปนทีห่ ลบภัยของสิง่ มีชวี ติ

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอธิบายเพิ่มเติมวา นอกจากมาตรวัดความสวางหรือลักซมิเตอร ซึ่งเปน ขอใดคือเครื่องมือตรวจวัดความเขมแสง
อุปกรณที่วัดความเขมแสงของแหลงนํ้าแลว ยังมีเซคคิดิสก (secchi-disc) เปน 1. ลักซมิเตอร
อุ ป กรณ ที่ ใ ช วั ด การส อ งผ า นของแสงลงสู  แ หล ง นํ้ า โดยหย อ นเซคคิ ดิ ส ก 2. พีเอชมิเตอร
ทีผ่ กู ติดกับเชือก ซึง่ ทําเครือ่ งหมายบอกระยะความยาวไวแลวลงในแหลงนํา้ จนถึง 3. ไฮกรอมิเตอร
จุดทีเ่ ริม่ มองไมเห็น เซคคิดสิ กอา นคาความลึกจากเครือ่ งหมายบนเสนเชือกแลว 4. เทอรมอมิเตอร
ปลอยเสนเชือกลงไปอีกเล็กนอย จากนัน้ ยกขึน้ ชาๆ จนเริม่ มองเห็นแผนเซคคิดสิ ก (วิเคราะหคําตอบ ลักซมิเตอร คือ อุปกรณที่ใชวัดปริมาณของ
แสงและความเขมแสงที่สามารถมองเห็นไดดวยตาเปลา มีหนวย
หองปฏิบติการ เปนลักซ ดังนั้น ตอบขอ 1.)
 à·¤¹Ô¤ ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ
ครูแนะนําเกี่ยวกับการทํากิจกรรม หากดินบริเวณที่สํารวจคอนขางแข็ง
ควรใชวัสดุที่เปนแทงปลายแหลมแทงลงไปในดินกอนที่จะใชเทอรมอมิเตอร
เสียบลงไปในดิน เพื่อปองกันไมใหเทอรมอมิเตอรแตกหักหรือชํารุด

T6
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
4. ใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันกําหนดปญหา
2. สํารวจองคประกอบที่ไมมีชีวิต โดยปฏิบัติ ดังนี้
2.1 วัดอุณหภูมิโดยใชเทอรมอมิเตอรจุมลงในนํ้าหรือวัดอุณหภูมิที่ผิวดิน แลวบันทึกคาอุณหภูมิที่อานได และตั้ ง สมมติ ฐ าน จากนั้ น ร ว มกั น ปฏิ บั ติ
2.2 วัดความเปนกรด-เบสโดยใชแทงแกวจุมลงในนํ้าหรือนําดินระดับผิวประมาณ 50 กรัม ใสลงในภาชนะและเติมนํ้ากลั่น กิจกรรมตามขั้นตอน
โดยใชแทงแกวคนใหเขากัน แลวแตะลงบนกระดาษยูนิเวอรซัลอินดิเคเตอร เทียบสีมาตรฐาน แลวบันทึกคา pH ที่อานได 5. ใหนกั เรียนแตละกลุม รวมกันแลกเปลีย่ นความรู
2.3 วัดความเขมแสงโดยใชมาตรความสวางหรือลักซมิเตอร และวิ เ คราะห ผ ลการปฏิ บั ติ กิ จ กรรม แล ว
3. สํารวจองคประกอบทีม่ ชี วี ติ โดยบันทึกสิง่ มีชวี ติ ทีพ่ บ พรอมระบุชอื่ อภิปรายผลรวมกัน
รูปราง ลักษณะ จํานวน หรือตักแหลงนํา้ ตัวอยางใสขวดพลาสติก
6. ให นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ออกมานํ า เสนอผล
เพือ่ นํามาศึกษาโดยใชแวนขยายหรือกลองจุลทรรศน บันทึกลงใน
สมุดบันทึก การปฏิบัติกิจกรรมหนาชั้นเรียน ในระหวาง
ที่นักเรียนนําเสนอ ครูคอยใหขอเสนอแนะ
เพิม่ เติม เพือ่ ใหนกั เรียนมีความเขาใจทีถ่ กู ตอง
7. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายผลกิจกรรม
เพื่อใหไดขอสรุปวา ระบบนิเวศประกอบดวย
องคประกอบที่ไมมีชีวิตและองคประกอบที่
มีชีวิตซึ่งมีความสัมพันธกัน
8. ครูถามคําถามทายกิจกรรม
ภาพที่ 1.2 กิจกรรมสํารวจองคประกอบที่ไมมีชีวิตและมีชีวิตของระบบนิเวศในทองถิ่น
ที่มา : คลังภาพ อจท.
คําถามทายกิจกรรม
1. ยกตัวอยางองคประกอบที่พบในบริเวณที่สํารวจ
2. สิ่งมีชวี ิตที่พบมีความสัมพันธกับสิ่งมีชีวิตในบริเวณที่สํารวจอยางไร
3. สิ่งมีชวี ิตที่พบมีความสัมพันธกับสิ่งไมมีชีวิตในบริเวณที่สํารวจอยางไร
แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม
อภิปรายผลกิจกรรม
1. ขึน้ อยูก บั ผลกิจกรรม ตัวอยางเชน องคประกอบ
จากการสํารวจระบบนิเวศตาง ๆ ในทองถิ่น จะพบสิ่งมีชีวิตชนิดตาง ๆ มาอาศัยอยูรวมกัน เรียกวา กลุมสิ่งมีชีวิต (community) ทีไ่ มมชี วี ติ เชน แสง นํา้ แกสคารบอนไดออกไซด
และสิง่ ไมมชี วี ติ เชน แสง ดิน หิน นํา้ อากาศ อุณหภูมิ กลุม สิง่ มีชวี ติ ในแหลงทีอ่ ยูเ ดียวกันจะมีความสัมพันธกนั และมีความสัมพันธ
กับสิ่งไมมีชีวิตดวย ตัวอยางเชน พืชตองการแสง นํ้า และแกสคารบอนไดออกไซดในปริมาณที่เหมาะสม เพื่อใชในกระบวนการ แก ส ออกซิ เ จน อุ ณ หภู มิ หิ น ดิ น และ
ผลิตอาหาร ปลาอาศัยอยูในนํ้าและใชหินเปนที่หลบภัย เรียกบริเวณตาง ๆ ที่เปนที่อยูอาศัยของสิ่งมีชีวิตวา แหลงที่อยู (habitat) องคประกอบที่มีชีวิต เชน ปลา นก มนุษย
ประกอบกับองคประกอบทางกายภาพทีเ่ หมาะสมตอการดํารงชีวติ ดังนัน้ ระบบนิเวศ คือ หนวยของความสัมพันธระหวางสิง่ มีชวี ติ แมลง จุลินทรียที่อยูในดินหรือนํ้า
กับสิ่งแวดลอม ทั้งที่เปนสิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต ในแหลงที่อยูอาศัยแหลงใดแหลงหนึ่ง
2. ขึ้นอยูกับผลกิจกรรม ตัวอยางเชน การกินกัน
เปนอาหาร
จากกิจกรรมจะพบวา ระบบนิเวศในแตละพืน้ ทีต่ า งประกอบไปดวยองคประกอบ 2 ประเภท คือ องคประกอบที่ 3. ขึ้นอยูกับผลกิจกรรม ตัวอยางเชน สิ่งไมมีชีวิต
ไมมีชีวิตและองคประกอบที่มีชีวิต
เปนปจจัยในการดํารงชีวิตใหกับสิ่งมีชีวิต เชน
ระบบนิเวศ 5 สิ่งมีชีวิตตองการนํ้า แกส อุณหภูมิที่เหมาะตอ
การดํารงชีวิต

ขอสอบเนน การคิด ตารางบันทึก กิจกรรม

ขอใดหมายถึงกลุมสิ่งมีชีวิต องคประกอบที่ไมมีชีวิต
1. ตนมะพราวจํานวน 500 ตน เครื่องมือ ดิน แหลงนํ้า
2. มดหลายตัวที่ทํารังอยูบนตนมะพราว เทอรมอมิเตอร
3. ตนมะพราวที่มีทั้งผึ้งงานและนางพญาผึ้ง ารสํารวจ
กระดาษยูนิเวอรซัลอินดิเคเตอร ูกบั ผลก
4. ตนมะพราวที่มีทั้งมด งู นก ลิง ที่มาอาศัยอยูรวมกัน
ลักซมิเตอร ขึ้นอย
(วิเคราะหคําตอบ กลุมสิ่งมีชีวิต คือ สิ่งมีชีวิตชนิดตางๆ ที่มา
อาศัยอยูรวมกัน ดังนั้น ตอบขอ 4.) องคประกอบที่มีชีวิต
สิ่งมีชีวิต รูปรางและลักษณะ จํานวน

รสํา รวจ
ูกับผลกา
ขึ้นอย

T7
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
9. ใหนักเรียนแบงกลุมเดิมจากการทํากิจกรรม 1.1 องค์ประกอบที่ ไม่มีชีวิต
สํารวจระบบนิเวศในทองถิ่น แลวใหสมาชิก องคประกอบที่ไม่มีชีวิต (abiotic component) เป็นส่วนที่ท�าให้ระบบนิเวศเกิดความสมดุล ซึ่งมีอิทธิพลต่อ
การด�ารงชีวิตและการกระจายของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ หากขาดองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิตเหล่านี้ สิ่งมีชีวิต
ภายในกลุมแบงหนาที่ออกเปน 2 ฝาย ดังนี้ จะไม่สามารถด�ารงชีวิตอยู่ได้ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้
ฝายที่ 1 : ศึกษาองคประกอบที่ไมมีชีวิตและ
1. อนินทรียสาร (inorganic substance) เป็นสารที่ได้จากธรรมชาติ มีดังนี้
องคประกอบที่มีชีวิต จากหนังสือ แร่ธาตุ พืชและสัตว์แต่ละชนิดมีความต้องการแร่ธาตุต่าง ๆ ในปริมาณที่แตกต่างกัน เช่น พืชต้องการ
เรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียมในปริมาณมาก ในขณะที่ธาตุแคลเซียม แมกนีเซียม ก�ามะถัน เป็นธาตุที่
และเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 พืชต้องการในปริมาณน้อย แต่ขาดไม่ได้ หากขาดแร่ธาตุเหล่านี้ พืชจะเป็นโรคและตายในที่สุด
หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง แกสต่าง ๆ เช่น แกสออกซิเจน แกสคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นแกสที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการหายใจ
องคประกอบของระบบนิเวศ หรือ ของสิ่งมีชีวิต โดยทั่วไปสิ่งมีชีวิตจะหายใจเอาแกสออกซิเจนเข้าสู่ร่างกาย ยกเว้นแบคทีเรียบางชนิด แล้วปล่อย
จากแหลงการเรียนรูอื่นๆ เชน แกสคาร์บอนไดออกไซด์กลับคืนสู่สิ่งแวดล้อม ขณะเดียวกันพืชจะน�าแกสคาร์บอนไดออกไซด์ไปใช้ในกระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสง แล้วปล่อยแกสออกซิเจนออกทางปากใบ นอกจากนี้ พืชบางชนิดอาศัยแบคทีเรียช่วยตรึง
อินเทอรเน็ต
แกสไนโตรเจนในบรรยากาศให้กลายเป็นสารประกอบไนโตรเจน เพื่อให้พืชสามารถน�าไปใช้ประโยชน์ได้
ฝายที่ 2 : เตรียมอุปกรณ ไดแก กระดาษ A4
นํ้า เป็นปจจัยก�าหนดสภาพแวดล้อม ความอุดมสมบูรณ์ ลักษณะและชนิดของระบบนิเวศ สิ่งมีชีวิต
อุปกรณเครื่องเขียน และสีไม
ขัน้ สอน ทุกชนิดล้วนจ�าเป็นต้องอาศัยน�้าในการด�ารงชีวิต เนื่องจากน�้าเป็นที่อยู่อาศัยและเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
อธิบายความรู บางชนิด เช่น ปลาอาศัยอยู่ในน�้า ยุงใช้น�้าเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ และสิ่งมีชีวิตต้องการน�้าเพื่อใช้อุปโภคและบริโภค

10. สมาชิกในฝายที่ 1 รวมกันสรุปและอธิบาย


ภาพที่ 1.3 ในแต่ละวันสิ่งมีชีวิตต้องการน�้าในปริมาณที่เหมาะสม
ความรูเกี่ยวกับองคประกอบของระบบนิเวศ ที่มา : คลังภาพ อจท.
ใหกับสมาชิกฝายที่ 2 เขาใจ

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครู อ าจทบทวนความแตกต า งระหว า งอิ น ทรี ย สารกั บ อนิ น ทรี ย สารว า ขอใดคือสวนประกอบที่ไมมีชีวิตที่เปนแหลงพลังงานสําคัญ
อินทรียสาร คือ สารประกอบที่ประกอบดวยธาตุคารบอนเปนองคประกอบหลัก ของระบบนิเวศ
และมีธาตุอนื่ เปนองคประกอบรวม เชน H, N, O, P, S, Cl, Br ยกเวนสารประกอบ 1. นํ้า
ของธาตุคารบอนบางชนิด เชน CO3, HCO3, CO2, CaC2, HCN, เพชร, แกรไฟต 2. ดิน
จัดเปนอนินทรียสาร สวนอนินทรียสาร คือ สารประกอบที่ไมมีธาตุคารบอน 3. พืช
เปนองคประกอบ แตประกอบดวยธาตุตางๆ เชน S, O, Cl, Na, Mg, Al 4. แสง
(วิเคราะหคําตอบ แสงเปนแหลงพลังงานสําคัญของโลก พืช คือ
สื่อ Digital สิ่งมีชีวิตที่สามารถเปลี่ยนพลังงานแสงใหกลายเปนพลังงานเคมี
ในรูปของอาหารสะสมตามสวนตางๆ ของพืช เมื่อสัตวกินพืช
ให นั ก เรี ย นศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม จาก
ภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง ปจจัย พลังงานจะถูกถายทอดไปยังสัตวกินพืช ดังนั้น ตอบขอ 4.)
ทีไ่ มมชี วี ติ ในระบบนิเวศ (https://www.
twig-aksorn.com/film/abiotic-fac-
tors-in-ecosystems-8102/)

T8
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
2. อินทรียสาร (organic substance) เป็นสารที่ได้จากสิ่งมีชีวิต เช่น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน 11. ครูตั้งประเด็นถามคําถามนักเรียน ดังนี้
ซึ่งได้จากการเน่าเปอยและผุพังของซากพืชซากสัตว์ แล้วทับถมกลายเป็นฮิวมัส
• ฮิวมัสมีอทิ ธิพลตอสิง่ มีชวี ติ ชนิดใด อยางไร
3. สภาพแวดล้อมทางกายภาพ (physical environment) ท�าให้สิ่งมีชีวิตมีการปรับตัวให้เข้ากับ (แนวตอบ ฮิวมัสมีอิทธิพลตออินทรียวัตถุ
สภาพแวดล้อม และมีอิทธิพลต่อการกระจายของสิ่งมีชีวิต ตัวอย่างเช่น
แสงสว่าง แสงจากดวงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานส�าคัญของโลก โดยพืชสามารถเปลี่ยนพลังงานแสง ในดิน บงบอกวาดินมีความอุดมสมบูรณ
ให้กลายเป็นพลังงานเคมีในรูปของอาหารด้วยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง และได้แกสออกซิเจนซึ่งจ�าเป็น ของธาตุอาหาร ทําใหพืชเจริญเติบโตดี)
ต่อกระบวนการหายใจของสิ่งมีชีวิต นอกจากนี้ แสงยังเป็นตัวก�าหนดพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตอีกด้วย เช่น การหุบ • นักเรียนคิดวา แสงมีอิทธิพลตอจํานวน
และบานของดอกไม้ การเปด-ปดปากของใบพืช สิง่ มีชวี ติ ในระบบนิเวศหรือไม จงยกตัวอยาง
ประกอบ
(แนวตอบ ตัวอยางเชน ระบบนิเวศชายฝง
ยอมมีจํานวนสิ่งมีชีวิตมากกวาระบบนิเวศ
ในทะเลนํ้าลึก)
• เพราะเหตุใดดินหรือแหลงนํา้ ในแตละพืน้ ที่
จึงมีคาความเปนกรด-เบสไมเทากัน
(แนวตอบ เพราะในแตละพืน้ ทีต่ า งมีปริมาณ
ภาพที่ 1.4 นกฮูกออกหากินเวลากลางคืน ภาพที่ 1.5 ดอกทานตะวันหันหน้าเข้าหาแสง แรธาตุที่ละลายในดินและในนํ้าไมเทากัน
ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท. ประกอบกับกิจกรรมของสิง่ มีชวี ติ ทีอ่ าศัยอยู
แตกตางกัน)
ความเปนกรด-เบสของดินและนํ้า สภาพความเป็นกรด-เบสในดินหรือน�้าแต่ละแห่งจะมีค่าไม่เท่ากัน
ขึน้ อยูก่ บั ปริมาณแร่ธาตุตา่ ง ๆ ทีอ่ ยูใ่ นดิน โดยสิง่ มีชวี ติ แต่ละชนิดต้องอาศัยอยูใ่ นสภาพทีม่ คี วามเป็นกรด-เบสทีเ่ หมาะสม
จึงจะด�ารงชีวิตอยู่ได้ เช่น พืชส่วนใหญ่เจริญได้ดีในดินที่มีสภาพเป็นกลาง

ภาพที่ 1.6 พืชไม่สามารถเจริญเติบโตได้ในดินที่มีสภาพเป็นกรด ภาพที่ 1.7 การพ่นยาฆ่าแมลงมีส่วนท�าให้สิ่งแวดล้อมในดินและน�้า


ที่มา : คลังภาพ อจท. ปนเปอน
ที่มา : คลังภาพ อจท.

ระบบนิเวศ 7

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


ขอใดไมใชองคประกอบทีท่ าํ ใหสงิ่ มีชวี ติ ชนิดเดียวกันมีลกั ษณะ ใหนกั เรียนศึกษาเพิม่ เติมจากภาพยนตรสารคดีสนั้ Twig เรือ่ ง ระบบนิเวศคือ
แตกตางกัน อะไร ? (https://www.twig-aksorn.com/film/what-is-an-ecosystem-8082/)
1. แสง
2. อากาศ
3. อุณหภูมิ
4. ความเปนกรด-ดาง
(วิเคราะหคาํ ตอบ แสง อุณหภูมิ ความชืน้ ความเปนกรด-ดาง เปน
ปจจัยทางกายภาพที่มีอิทธิพลตอการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต ทําให
สิ่งมีชีวิตมีความหลากหลายในระบบนิเวศ ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T9
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
12. ใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันวิเคราะหผลที่ ความเค็มของดินและนํ้า ความเค็มมีอิทธิพลอย่างมากกับสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่บริเวณผิวน�้า ตัวอย่างเช่น
ป่าชายเลนเป็นบริเวณชายฝงทะเลที่มีการเปลี่ยนแปลงความเค็มตลอดเวลา ในเวลาน�้าลงระดับความเค็มของดิน
ไดจากกิจกรรม สํารวจระบบนิเวศในทองถิ่น
ในป่าชายเลนจะมากขึ้น และจะลดลงเมื่อมีน�้าจากแม่1น�้าไหลมาปะปนกับน�้าทะเล พืชที่เจริญในดินเค็มหรือ
เพื่อจําแนกวาเปนองคประกอบประเภทใด ดินที่มีค่าการน�าไฟฟาของสารละลายที่สกัดจากดินที่อิ่มตัวด้วยน�้ามากกว่า 2 เดซิซีเมนส์ต่อเมตร ที่อุณหภูมิ 25
และสิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ สํ า รวจได มี บ ทบาทอย า งไร องศาเซลเซียส จะส่งผลให้พืชมีล�าต้นแคระแกร็น ใบไหม้ และตายในที่สุด
ในระบบนิเวศ โดยบันทึกผลลงในกระดาษ A4 กระแสลม มีอิทธิพลต่อการผสมพันธุ์ของพืช การแพร่กระจายพันธุ์พืช และการคายน�้าของพืช
พรอมตกแตงชิ้นงานใหสวยงาม
13. ครูสุมตัวแทนนักเรียนของแตละกลุมออกมา
นําเสนอชิ้นงานหนาชั้นเรียน ในระหวางที่
นั ก เรี ย นนํ า เสนอ ครู ค อยให ข  อ เสนอแนะ
เพิ่มเติม เพื่อใหนักเรียนทุกคนมีความเขาใจ
ที่ตรงกัน
14. ครูถามคําถามในหนังสือเรียนรายวิชาพืน้ ฐาน ภาพที่ 1.8 สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในป่าชายเลนต้องปรับตัวให้ทนต่อ ภาพที่ 1.9 เกสรดอกหญ้าพัดไปตามลมไปยังพื้นที่ต่าง ๆ
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 หนา 8 ความเค็มได้
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ที่มา : คลังภาพ อจท.

ความชื้น เป็นปริมาณไอน�้าที่มีอยู่ในอากาศ ซึ่งแตกต่างกันไปตามแต่ละพื้นที่ของโลก เช่น พื้นที่ที่


อยู่ในเขตร้อนจะมีความชื้นสูง เนื่องจากเป็นบริเวณที่มีฝนตกชุก ในขณะที่พื้นที่อยู่ในเขตหนาวจะมีความชื้นต�่า
โดยความชื้นมีผลต่อการระเหยของน�้าในร่างกายของสิ่งมีชีวิต ท�าให้สิ่งมีชีวิตมีการปรับตัวเพื่อรักษาสมดุลของน�้า
ภายในร่างกาย เช่น กระบองเพชรในทะเลทรายลดรูปจากใบกลายเป็นหนาม
อุณหภูมิ เป็นปจจัยที่ควบคุมการเจริญเติบโต การสืบพันธุ์
และการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิต นอกจากนี้ อุณหภูมิยังมีผลต่อ
การปรับตัวทั้งด้านโครงสร้างและพฤติ
2 กรรมของสิ่งมีชีวิต
แนวตอบ คําถาม
เช่น การปรับตัวของสิ่งมีชีวิตในทะเลทราย การจ�าศีลของ
1. อนินทรียสารเปนสารประกอบทีไ่ มมธี าตุคารบอน สัตว์บางชนิดในช่วงฤดูหนาว
เปนองคประกอบ ยกเวนสารประกอบของธาตุ
คารบอนบางชนิด เชน CO3, HCO3, CO2, CaC2, 1. อนินทรียสารแตกตางกับอินทรียสารอยางไร
HCN, เพชร, แกรไฟต สวนอินทรียสารเปน 2. องคประกอบที่ไมมีชีวิตมี
ภาพที่ 1.10 การปรับตัวด้านโครงสร้างของหมีขั้วโลก คือ มีขนหนา ความสําคัญกับสิ่งมีชีวิต
สารประกอบที่มีธาตุคารบอนเปนองคประกอบ และยาวปกคลุมร่างกาย ในระบบนิเวศอยางไร
2. องคประกอบที่ไมมีชีวิตเปนปจจัยในการดํารง ที่มา : คลังภาพ อจท.
ชีวิตใหกับสิ่งมีชีวิต
HOTS
(คําถามทาทายการคิดขั้นสูง)
แนวตอบ H.O.T.S. หากระบบนิเวศไม่มีองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต ระบบนิเวศจะเปนอย่างไร
สิง่ มีชวี ติ ไมสามารถดํารงชีวติ อยูไ ด เนือ่ งจาก
สิ่งมีชีวิตไมมีแหลงอาหาร แหลงพลังงาน และ 8
แหลงหลบภัย

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


1 คาการนําไฟฟาของสารละลายทีส่ กัดจากดินทีอ่ มิ่ ตัว (Electrical Conduc ขอใดคืออิทธิพลทีม่ ผี ลทําใหนกเปดนํา้ อพยพจากตอนเหนือของ
tivity; EC) เปนวิธีที่นิยมใชวัดความเค็มของดินหรือวัดปริมาณเกลือที่ละลายได ประเทศจีนเขามาในประเทศไทยในชวงเดือนธันวาคม
ในดิน มีหนวยเปนเดซิซเี มนสตอ เมตร (dS/m) โดยทัว่ ไปนิยมวัดคาการนําไฟฟา 1. อุณหภูมิ
ของนํา้ หรือสารละลายทีส่ กัดไดจากดินทีอ่ มิ่ ตัวทีอ่ ณ
ุ หภูมิ 25 องศาเซลเซียส หรือ 2. ความชื้น
ไอออนตางๆ ทีส่ กัดไดจากดิน เนือ่ งจากความเขมขนหรือปริมาณเกลือทีล่ ะลาย 3. แสงสวาง
ในดินจะแปรผันตามความชื้นของดิน 4. สัญชาตญาณ
2 การปรับตัวของสิ่งมีชีวิต (adaptation) การเปลี่ยนแปลงหรือปรับเปลี่ยน (วิเคราะหคําตอบ การอพยพยายถิ่นของนกเปดนํ้ามักเกิดขึ้น
ลักษณะของสิ่งมีชีวิตใหเหมาะสมกับแหลงที่อยูอาศัยหรือสิ่งแวดลอมเพื่อให เปนประจําในชวงฤดูหนาว โดยจะบินเขามาในประเทศทีม่ ีอากาศ
อยูรอดและดํารงเผาพันธุตอไปได โดยรูปแบบการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต มีดังนี้ อบอุนและมีอาหาร ดังนั้น ตอบขอ 1.)
1. การปรับตัวดานรูปราง ลักษณะของสิง่ มีชวี ติ เชน การพรางตัวของกิง้ กา
2. การปรับตัวทางดานสรีรวิทยา เชน ใบกระบองเพชรเปลี่ยนเปนหนาม
3. การปรั บ ตั ว ด า นพฤติ ก รรม เช น ปลาแซมอนว า ยทวนนํ้ า ไปวางไข
ในลําธารนํ้าจืด

T10
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
1.2 องคประกอบที่มีชีวิต 15. ใหนักเรียนศึกษาภาพที่ 1.11 แลวครูถาม
องคประกอบที่มีชีวิต (biotic component) ไดแก สิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่อาศัยอยูในระบบนิเวศนั้น เชน พืช คําถามนักเรียน ดังนี้
จุลินทรีย สัตว โดยสิ่งมีชีวิตแตละชนิดมีความสัมพันธกับสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นและสิ่งแวดลอม • จงยกตัวอยางสิ่งมีชีวิตที่เห็นในภาพ
(แนวตอบ พืช ยีราฟ มาลาย ชาง แรง)
• สิ่งมีชีวิตที่เห็นในภาพมีบทบาทและหนาที่
อยางไร
(แนวตอบ พืช ทําหนาที่เปนผูผลิต
ยีราฟ มาลาย ชาง ทําหนาที่
เปนผูบริโภคพืช
แรง ทําหนาที่เปนผูบริโภคซากสัตว)
16. ใหนักเรียนแตละคนสืบคนและศึกษาขอมูล
เพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ บทบาทของสิ่ ง มี ชี วิ ต ใน
ระบบนิเวศจาก QR Code เรื่อง บทบาทของ
สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
17. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนซักถามเนื้อหาเกี่ยว
กับเรื่อง องคประกอบของระบบนิเวศ และ
ใหความรูเ พิม่ เติม โดยครูอาจใช PowerPoint
เรื่อง องคประกอบของระบบนิเวศ
18. ใหนักเรียนตอบคําถาม Topic Questions
เรื่ อ ง องค ป ระกอบของระบบนิ เ วศ จาก
หนังสือเรียนรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี ม.3 เลม 1 หนวยการเรียนรูที่ 1
ภาพที่ 1.11 สัตวปาที่มาอาศัยอยูในพื้นที่เดียวกัน
ที่มา : คลังภาพ อจท. เรื่อง องคประกอบของระบบนิเวศ ลงในสมุด
ประจําตัวนักเรียน
จากภาพที่ 1.11 จะเห็นวา ปาแอฟริกาใตประกอบ ยกตั ว อย า งสิ่ ง มี ชี วิ ต ในภาพที่ 1.11
19. ให นั ก เรี ย นทํ า แบบฝ ก หั ด รายวิ ช าพื้ น ฐาน
ไปดวยองคประกอบที่ไมมีชีวิตและองคประกอบที่มีชีวิต ที่มีบทบาทเปนผูผลิต ผูบริโภค และ วิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ม.3 เล ม 1
ผูยอยสลายสารอินทรีย ตามลําดับ
โดยองค ป ระกอบที่ มี ชี วิ ต ต า งมี บ ทบาทและหน า ที่ เรื่อง องคประกอบของระบบนิเวศ
ที่แตกตางกัน บางชนิดมีบทบาทเปนผูผลิต บางชนิด
มี บ ทบาทเป น ผู  บ ริ โ ภค และบางชนิ ด มี บ ทบาทเป น
ผูยอยสลายสารอินทรีย
บทบาทของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ ระบบนิเวศ 9

กิจกรรม สรางเสริม สื่อ Digital


ใหนกั เรียนสืบคนสิง่ มีชวี ติ ทีท่ าํ หนาทีเ่ ปนผูผ ลิตนอกเหนือจาก ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจาก QR Code เรื่อง บทบาทของสิ่งมีชีวิต
พืช โดยใหนักเรียนรวบรวมขอมูล แลวบันทึกลงในสมุดประจําตัว ในระบบนิเวศ
นักเรียน พรอมนําเสนอหนาชั้นเรียน

กิจกรรม ทาทาย
ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน สืบคนขอมูลเพิ่มเติมวา
มนุ ษ ย มี ก ารนํ า ความรู  จ ากสมบั ติ ข องผู  ย  อ ยสลายสารอิ น ทรี ย 
มาใชประโยชนอยางไรบาง จากนั้นใหนักเรียนรวบรวมขอมูล
และจัดทํารายงาน พรอมนําเสนอหนาชั้นเรียน

T11
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
20. ครูกําหนดปญหาเกี่ยวกับราคาไขไกที่แพง สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศมีบทบาทที่แตกตางกัน พลังงาน
ดังนี้ แสง
ขึ้นในปจจุบัน โดยใหนักเรียนออกแบบระบบ
นิเวศของฟารมไกจาํ ลอง โดยใชระบบอินทรีย 1. ผูผลิต (producer) คือ สิ่งมีชีวิตที่สามารถ
สรางอาหารเองได ไดแก พืชและจุลินทรียบางชนิด เชน พลังงาน
หรือระบบเลี้ยงไกแบบธรรมชาติ โดยจําแนก แพลงกตอนพืช ไซยาโนแบคทีเรีย ผูผลิตมีบทบาท
องคประกอบของระบบนิเวศ พรอมอธิบาย สําคัญมากตอระบบนิเวศ ทําหนาที่เปลี่ยนพลังงานแสง พลังงาน
ความสัมพันธระหวางองคประกอบภายใน จากดวงอาทิตยไปเปนพลังงานเคมีในรูปของอาหารดวย พลังงาน
ระบบนิเวศลงในใบงาน เรื่อง ระบบนิเวศ กระบวนการสังเคราะหดวยแสง แลวถายทอดพลังงาน
จําลอง ไปสูผูบริโภคผานการกินกันเปนทอด ๆ
2. ผูบริโภค (consumer) คือ สิ่งมีชีวิตที่
ไมสามารถสรางอาหารไดเอง จําเปนตองมีการบริโภค
สิ่งมีชีวิตชนิดอื่น แบงออกเปน 4 ประเภท ดังนี้ ภาพที่ 1.12 ผูผลิตเปลี่ยนพลังงานแสงใหเปนพลังงานเคมี
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ผูบริโภคพืช (herbivore)
เปนผูบริโภคที่กินพืช
เปนอาหาร เชน ชาง ผูบริโภคสัตว (carnivore)
มา วัว ควาย
กวาง เปนผูบริโภคที่กิน
สัตวเปนอาหาร
เชน สิงโต เสือ
ฉลาม

ผูบริโภคทั้งพืชและสัตว (omnivore)
เปนผูบริโภคที่กินทั้งพืช
และสัตวเปนอาหาร
เชน มนุษย
ไก เปด
ผูบริโภคซากสัตว (scavenger)
เปนผูบริโภคที่กิน
ซากสัตวเปนอาหาร
เชน แรง ไสเดือน
ภาพที่ 1.13 ผูบริโภคทั้ง 4 ประเภท
ที่มา : คลังภาพ อจท.

10

เกร็ดแนะครู กิจกรรม 21st Century Skills


ครูอาจแนะนํานักเรียนเพิ่มเติมวา หมอขาวหมอแกงลิงเปนพืชชนิดพิเศษ ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน ออกแบบองคประกอบ
ที่ทําหนาที่เปนผูผลิตเหมือนกับพืชทั่วไป และยังทําหนาที่เปนผูบริโภคสัตว ของระบบนิเวศภายในตูเลี้ยงปลาลงในกระดาษ A4 พรอมเสนอ
อีกดวย เนื่องจากสวนปลายของใบเปลี่ยนแปลงไปเปนกับดักแมลงที่ภายใน ปฏิสมั พันธระหวางองคประกอบในระบบนิเวศหนาชัน้ เรียน จากนัน้
มีนาํ้ ยอยหรือเอนไซม เมือ่ แมลงหรือสัตวขนาดเล็กตกลงไปจะถูกเอนไซมของพืช รวบรวมขอมูลที่ไดมาจัดองคประกอบภายในตูปลาและเลี้ยงปลา
ยอยใหเปนสารอาหารที่จําเปนกับพืช

สื่อ Digital
ให นั ก เรี ย นศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม จาก
ภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง ปจจัย
ที่มีชีวิตในระบบนิเวศ (https://www.
twig-aksorn.com/film/biotic-factors-
in-ecosystems-8101/)

T12
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น สรุ ป องค ป ระกอบ
3. ผูยอยสลายสารอินทรีย (decomposer) ของระบบนิ เ วศ ซึ่ ง ควรได ข  อ สรุ ป ร ว มกั น ว า
คือ สิ่งมีชีวิตที่ไมสามารถสรางอาหารไดเอง ตองอาศัย
ระบบนิเวศประกอบไปดวยองคประกอบ 2 ประเภท
การยอยสลายซากสิ่งมีชีวิตอื่นโดยผลิตเอนไซมออก
มายอยซากสิ่งมีชีวิตใหเปนสารชีวโมเลกุลขนาดเล็ก คื อ องค ป ระกอบที่ ไ ม มี ชี วิ ต และองค ป ระกอบ
แลวดูดซึมนําไปใชเปนอาหาร อีกสวนหนึง่ ปลอยกลับคืน ที่ มี ชี วิ ต ที่ มี ป ฏิ สั ม พั น ธ กั น โดยองค ป ระกอบ
สูธรรมชาติ ตัวอยางผูยอยสลายสารอินทรีย เชน รา ทีไ่ มมชี วี ติ เปนปจจัยทีส่ าํ คัญในการดํารงชีวติ ของ
แบคทีเรีย สิง่ มีชวี ติ และองคประกอบทีม่ ชี วี ติ มีความสัมพันธ
ปจจุบันมนุษยไดนําผูยอยสลายสารอินทรียมา กับองคประกอบทีม่ ชี วี ติ เชน การกินของสิง่ มีชวี ติ
รับประทานเปนอาหาร เชน เห็ดชนิดตาง ๆ หรือนํา สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศจึงมีบทบาทที่แตกตางกัน
แบคที เ รี ย บางชนิ ด มาใช ป ระโยชน ใ นอุ ต สาหกรรม ภาพที่ 1.14 เห็ดเปนอาหารที่มนุษยนําไปบริโภค คือ ผูผลิต ผูบริโภค และผูยอยสลายสารอินทรีย
การผลิตอาหาร เชน นมเปรี้ยว โยเกิรต นํ้าสมสายชู ที่มา : คลังภาพ อจท.
นอกจากนี้ สารบางชนิดที่ผลิตไดจากรามีฤทธิ์เปนยา เชน เพนิซิลลินผลิตไดจากราเพนิซิลเลียม แตผูยอยสลาย ขัน้ ประเมิน
สารอินทรียบางชนิดกอใหเกิดอันตราย เชน ทําใหอาหารเนาเสีย ทําใหเกิดโรคในมนุษย ตรวจสอบผล

Application
1. ตรวจแบบทดสอบกอนเรียน หนวยการเรียนรู
ที่ 1 ระบบนิเวศ
Activity 2. ตรวจแบบฝกหัดรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร
ไขไกเปนอาหารที่อุดมไปดวยสารอาหารที่มีความจําเปนตอรางกาย อยางนอยควรรับประทานไขไก และเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 เรื่อง องคประกอบ
วันละ 1-2 ฟอง ในปจจุบันราคาไขไกสูงขึ้น ใหนักเรียนนําความรู เรื่อง องคประกอบของระบบนิเวศ ของระบบนิเวศ
มาสรางฟารมไกระบบอินทรียหรือระบบเลี้ยงไกแบบธรรมชาติ เพื่อดําเนินชีวิตตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
โดยใหนักเรียนออกแบบระบบนิเวศฟารมไกจําลอง แลวจําแนกองคประกอบของระบบนิเวศ พรอมอธิบาย
3. ตรวจใบงาน เรื่อง ระบบนิเวศจําลอง
ความสัมพันธระหวางองคประกอบภายในระบบนิเวศ พรอมนําเสนอในรูปแบบที่นาสนใจ 4. ตรวจสอบผลการปฏิ บั ติ กิ จ กรรม สํ า รวจ
ระบบนิเวศในทองถิ่น
5. ตรวจคํ า ตอบ Topic Questions ในสมุ ด
ประจําตัวนักเรียน
Topic Questions
6. ตรวจผั ง มโนทั ศ น เรื่ อ ง องค ป ระกอบของ
คําชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ ระบบนิเวศ
1. สนามหญาจัดเปนระบบนิเวศหรือไม อยางไร 7. สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุมและจากการ
2. แสงจากดวงอาทิตยสําคัญตอระบบนิเวศอยางไร
นําเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรม
3. องคประกอบของระบบนิเวศประกอบดวยอะไรบาง
8. ประเมิ น คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค โดย
4. ผูบริโภคซากสัตวแตกตางจากผูยอยสลายสารอินทรียอยางไร
สั ง เกตความมี วิ นั ย ใฝ เ รี ย นรู  และมุ  ง มั่ น
5. ผูยอยสลายสารอินทรียมีความสําคัญตอระบบนิเวศอยางไร
ในการทํางาน
ระบบนิเวศ 11

แนวตอบ Topic Questions แนวทางการวัดและประเมินผล


1. เปนระบบนิเวศ เนื่องจากสนามหญาประกอบดวยองคประกอบที่ไมมี
ครูวัดและประเมินผลความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง องคประกอบของระบบ
ชีวิต ไดแก อนินทรียสาร อินทรียสาร และสภาพแวดลอมทางกายภาพ
นิเวศ ไดจากการทําผังมโนทัศน เรื่อง องคประกอบของระบบนิเวศ โดยศึกษา
เชน ความชื้น บรรยากาศ และองคประกอบที่มีชีวิตที่มีบทบาทและ
เกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
หนาที่แตกตางกัน ไดแก ผูผลิต เชน หญา ผูบริโภค เชน แมลงตางๆ
ที่อยูในแผนการจัดการเรียนรูประจําหนวยการเรียนรูที่ 1
และผูยอยสลายสารอินทรีย เชน จุลินทรียและแบคทีเรียที่อยูในดิน
2. เปนแหลงพลังงาน แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)

3. องคประกอบที่ไมมีชีวิต เชน ดิน นํ้า หิน แรธาตุ แสง อุณหภูมิ รายการประเมิน


แบบประเมินผลงานแผนผังมโนทัศน์
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน

ลาดับที่
4 3
ระดับคุณภาพ
2 1

องคประกอบที่มีชีวิต เชน พืช สัตว มนุษย จุลินทรีย


1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ที่กาหนด
2 ความถูกต้องของเนื้อหา
3 ความคิดสร้างสรรค์
4 ความเป็นระเบียบ

4. ผูบริโภคซากสัตวจะบริโภคซากสิ่งมีชีวิตโดยตรง แตผูยอยสลายสาร
รวม
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
............../................./................
เกณฑ์ประเมินแผนผังมโนทัศน์
ระดับคะแนน

อินทรียจะปลอยเอนไซมออกมายอยซากสิ่งมีชีวิตจนกลายเปนโมเลกุล
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
1. ผลงานตรงกับ ผล งา น สอดค ล้ องกั บ ผ ล ง า น ส อด ค ล้ อ งกั บ ผลงานสอดคล้ อ งกั บ ผลงานไม่ ส อดคล้ อ ง
จุดประสงค์ที่ จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ บ า ง กับจุดประสงค์
กาหนด ประเด็น

ขนาดเล็กกอนดูดซึมนําไปใชเปนสารอาหารเพือ่ ดํารงชีวติ และบางสวน


2. ผลงานมีความ เนื้ อ หาสาระของผลงาน เนื้ อ หาสาระของผลงาน เ นื้ อ ห า ส า ร ะ ข อ ง เ นื้ อ ห า ส า ร ะ ข อ ง
ถูกต้องของ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ผลงานถูกต้องเป็นบาง ผลงานไม่ถูกต้องเป็น
เนื้อหา ประเด็น ส่วนใหญ่
3. ผลงานมีความคิด ผ ล ง า น แ ส ด ง อ อ ก ถึ ง ผลงานมี แ นวคิ ด แปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผ ล ง า น ไ ม่ แ ส ด ง
สร้างสรรค์ ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ใหม่ แ ต่ ยั ง ไม่ เ ป็ น ระบบ แ ต่ ยั ง ไ ม่ มี แ น ว คิ ด แนวคิดใหม่

ที่เหลือจะปลอยกลับคืนสูธรรมชาติ
แปลกใหม่และเป็นระบบ แปลกใหม่
4. ผลงานมีความ ผ ล ง า น มี ค ว า ม เ ป็ น ผลงานส่ ว นใหญ่ มี ค วาม ผลงานมี ค วามเป็ น ผลงานส่ ว นใหญ่ ไ ม่
เป็น ระเบียบ ระเบี ย บแสดงออกถึ ง เ ป็ น ร ะ เ บี ย บ แ ต่ ยั ง มี ร ะ เ บี ย บ แ ต่ มี เป็นระเบียบและมีข้อ
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย ข้อบกพร่องบางส่วน บกพร่องมาก

5. ทําใหเกิดการหมุนเวียนของสารหรือวัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14-16 ดีมาก
11-13 ดี
8-10 พอใช้
ต่ากว่า 7 ปรับปรุง

T13
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (5Es Instructional Model)


กระตุน ความสนใจ
1. ใหนักเรียนตรวจสอบความเขาใจของตนเอง Check for Understanding
กอนเขาสูการเรียนการสอนจากกรอบ Check พิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุดบันทึก
for Understanding ในหนังสือเรียนรายวิชา ถูก/ผิด

พืน้ ฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 1. ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นกับสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันเท่านั้น


หน ว ยการเรี ย นรู  ที่ 1 เรื่ อ ง ความสั ม พั น ธ 2. ราเป็นปรสิตที่อยู่บนผิวหนังมนุษย์ซึ่งก่อให้เกิดโรคผิวหนัง

ม ุ ด
ระหวางสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ โดยบันทึก


3. สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันในรูปแบบการกินกันเป็นอาหาร

น ส
ง ใ


ลงในสมุดประจําตัวนักเรียน

ท ึ ก
4. ดอกไม้ไม่ได้ประโยชน์จากผึ้งที่มาดูดกินน�้าหวานจากเกสร


บ ั น
2. ใหนักเรียนทํากิจกรรม Engaging Activity 5. กล้วยไม้ช่วยดูดซึมธาตุอาหารให้กับต้นไม้ใหญ่ ส่วนต้นไม้ใหญ่ให้ร่มเงา
โดยพิจารณาภาพรังตอบนตนไมและกาฝาก
บนตนไม จากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
วิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ม.3 เล ม 1
หน ว ยการเรี ย นรู  ที่ 1 เรื่อง ความสัมพันธ E ngaging ให้นกั เรียนพิจารณาต้นไม้ ในภาพที่ 1 และภาพที่ 2 แล้วตอบค�าถามว่า เพราะเหตุใด
ต้นไม้ทั้ง 2 ต้น จึงมีลักษณะแตกต่างกัน
Activity
ระหว า งสิ่ ง มี ชี วิ ต ในระบบนิ เ วศ จากนั้ น ครู
ตัง้ ประเด็นถามคําถามกระตุน ความคิดนักเรียน
วา เพราะเหตุใดตนไมทั้ง 2 ตน จึงมีลักษณะ
ภาพที่ 1
แตกตางกัน

ภาพที่ 2

ภาพที่ 1.15 รังต่อบนต้นไม้ (ภาพที่ 1) และกาฝากบนต้นไม้ (ภาพที่ 2)


แนวตอบ Check for Understanding ที่มา : คลังภาพ อจท.
1. ผิด 2. ถูก 3. ถูก 12
4. ผิด 5. ผิด

แนวตอบ Engaging Activity


ภาพที่ 1 รังตอบนตนไม
วิเคราะหความสัมพันธ รังตอไมทาํ อันตรายหรือสงผลกระทบกับตนไม
ตนไมจึงเจริญเติบโตไดอยางปกติ
ภาพที่ 2 กาฝากบนตนไม
วิเคราะหความสัมพันธ กาฝากใชรากแทงเขาไปยังทอลําเลียงนํา้ และ
อาหารของพืช คอยแยงอาหาร ทําใหตน ไมไมมอี าหารเพียงพอตอการเจริญ
เติบโต
ดังนั้น ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตที่มาอาศัยอยูบนตนไมแตกตางกัน
สงผลใหตนไมในภาพที่ 1 และภาพที่ 2 มีลักษณะที่แตกตางกัน

T14
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
Key 2 ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิต 1. ครูถามคําถาม Key Question
Question ในระบบนิเวศ 2. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 6 คน
เพราะเหตุใดเหาฉลาม ในธรรมชาติกลุมสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศลวนมีความสัมพันธ 3. ใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันศึกษากิจกรรม
จึงอยูร ว มกับปลาฉลามได ระหวางสิ่งมีชีวิตดวยกันทั้งทางตรงและทางออม โดยสิ่งมีชีวิตแตละ สํารวจรูปแบบความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิต
ชนิดไมสามารถดํารงชีวิตแบบอิสระได เชน ถึงแมวาพืชจะเปน ภายในโรงเรียน โดยครูใชรูปแบบการเรียนรู
สิ่งมีชีวิตที่สามารถสรางอาหารเองได แตจําเปนตองพึ่งพาสัตว แบบร ว มมื อ มาจั ด กระบวนการเรี ย นรู  โดย
หรือแมลงชวยผสมเกสรและแพรกระจายเมล็ด กํ า หนดให ส มาชิ ก แต ล ะคนภายในกลุ  ม
สิง่ มีชวี ติ ชนิดเดียวกันทีม่ าอาศัยอยูร ว มกันในชวงเวลาเดียวกัน เรียกวา ประชากร (population) เมือ่ ประชากร มีบทบาทหนาที่ของตนเอง ดังนี้
ของสิ่งมีชีวิตหลาย ๆ ชนิด มาอาศัยอยูในแหลงที่อยูเดียวกันเปนกลุมสิ่งมีชีวิต (community) ซึ่งสิ่งมีชีวิตแตละชนิด - สมาชิ ก คนที่ 1-2 ทํ า หน า ที่ เ ตรี ย มวั ส ดุ
ตางก็มีรูปแบบความสัมพันธท่ีแตกตางกัน โดยความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศอาจทําใหสิ่งมีชีวิต อุปกรณที่ใชในการปฏิบัติกิจกรรม สํารวจ
บางชนิดไดประโยชนหรือเสียประโยชน หรือไมมีผลตอการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตนั้นเลยก็ได รูปแบบความสัมพันธระหวางสิง่ มีชวี ติ ภายใน
โรงเรียน
กิจกรรม - สมาชิ ก คนที่ 3 ทํ า หน า ที่ อ  า นวิ ธีป ฏิ บั ติ
สํารวจรูปแบบความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตภายในโรงเรียน กิ จ กรรมและนํ า มาอธิ บ ายให ส มาชิ ก ใน
กลุมฟง
จุดประสงค
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
- การสังเกต
- สมาชิกคนที่ 4 ทําหนาที่ศึกษาและสืบคน
อธิบายรูปแบบความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตที่ไดจากการสํารวจได
- การจําแนกประเภท
- การลงความเห็นจากขอมูล
ขอมูลเกี่ยวกับรูปแบบความสัมพันธระหวาง
จิตวิทยาศาสตร สิ่งมีชีวิตภายในโรงเรียน
วัสดุอปุ กรณ - ความสนใจใฝรู
- ความรับผิดชอบ - สมาชิกคนที่ 5-6 ทําหนาที่สํารวจสิ่งมีชีวิต
1. แวนขยาย 3. กลองถายรูป
2. สมุดบันทึก 4. อุปกรณเครื่องเขียน
- การทํางานรวมกับผูอื่นได
อยางสรางสรรค
ภายในโรงเรียนใหไดมากที่สุดและบันทึกผล
ลงในสมุดประจําตัวนักเรียน
วิธปี ฏิบตั ิ
4. เมือ่ สมาชิกในกลุม ทําหนาทีข่ องตนเองแลว ให
1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน แลวรวมกันสํารวจพื้นที่ภายในโรงเรียน โดยกําหนดขอบเขตบริเวณที่ศึกษา เชน สระนํ้า
ในโรงเรียน สวนพฤกษศาสตรในโรงเรียน
สมาชิกคนที่ 4 อธิบายทฤษฎีหรือรูปแบบความ
2. สังเกตและบันทึกวา มีสิ่งมีชีวิตคูใดบางที่มีความสัมพันธกัน สั ม พั น ธ ร ะหว า งสิ่ ง มี ชี วิ ต ให ส มาชิ ก ในกลุ  ม
3. รวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอ มูล เพือ่ ระบุความสัมพันธของสิง่ มีชวี ติ จากขอ 2. วา สิง่ มีชวี ติ ชนิดใดไดประโยชน สิง่ มีชวี ติ ชนิดใด เขาใจ
เสียประโยชน หรือสิ่งมีชีวิตชนิดไมไดรับและไมเสียประโยชน
คําถามทายกิจกรรม แนวตอบ Key Question
1. ในบริเวณที่สํารวจสิ่งมีชีวิตคูใดบางที่มีความสัมพันธกัน เหาฉลามไมไดสรางความเดือดรอนใหกบั ปลา
2. จากขอ 1. สิ่งมีชีวิตชนิดใดไดประโยชน เสียประโยชน หรือไมไดรับและไมเสียประโยชนจากการอยูรวมกัน ฉลามและยังไดรบั เศษอาหารทีเ่ หลือจากการกินของ
ปลาฉลาม ในขณะทีป่ ลาฉลามก็ไมไดรบั และไมเสีย
ระบบนิเวศ 13 ประโยชน เหาฉลามกับปลาฉลามจึงสามารถอยูร ว ม
กันได

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


ขอใดอธิบายความหมายของประชากรไดถูกตองที่สุด ครูอาจนําเขาสูบทเรียนโดยใชภาพที่หาไดจากหนังสือ นิตยสาร ปฏิทิน
1. สัตวนํ้าในมหาสมุทร โปสเตอร หรือวีดิทัศนเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในรูปแบบตางๆ
2. สัตวทั้งหมดในสวนสัตว มาแสดงใหนกั เรียนวิเคราะหความสัมพันธระหวางสิง่ มีชวี ติ ในภาพ จากนัน้ ครูอาจ
3. กบและปลาบริเวณริมสระนํ้าในโรงเรียน ถามคําถามเพื่อนําเขาสูการอภิปรายความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในภาพ เชน
4. ตนขาวโพดจํานวน 1,000 ตน ในไรขาวโพด สิ่งมีชีวิตในภาพคูใดมีความสัมพันธกันอยางไร
(วิเคราะหคาํ ตอบ ประชากร คือ สิง่ มีชวี ติ ชนิดเดียวกันทีม่ าอาศัย
ตารางบันทึก กิจกรรม
อยูบริเวณเดียวกัน ในชวงเวลาเดียวกัน ดังนั้น ตอบขอ 4.)
บริเวณที่สํารวจภายในโรงเรียน :
สิ่งมีชีวิตที่ 1 สิ่งมีชีวิตที่ 2 ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิต

ารส ํารวจ
ูกบั ผลก
ขึ้นอย

T15
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
5. นักเรียนแตละกลุมรวมกันกําหนดปญหาและ อภิปรายผลกิจกรรม
ตั้งสมมติฐาน จากนั้นรวมกันปฏิบัติกิจกรรม
สิ่งมีชีวิตที่มาอยูรวมกันจะมีความสัมพันธกันในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง โดยแบงออกเปน 3 ลักษณะ ไดแก ความสัมพันธ
ตามขั้นตอนจากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน แบบทั้ง 2 ฝายไดรับประโยชน (+, +) ความสัมพันธแบบฝายใดฝายหนึ่งเสียประโยชน (+, -) และความสัมพันธแบบฝายหนึ่ง
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 ไดรับประโยชน และอีกฝายหนึ่งไมไดรับและไมเสียประโยชน (+, 0)
6. นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ออกมานํ า เสนอผลการ
ปฏิ บั ติ กิ จ กรรมหน า ชั้ น เรี ย น ในระหว า งที่
จากกิจกรรมจะเห็นวา สิ่งมีชีวิตชนิดตาง ๆ ที่มาอยูรวมกันในบริเวณหนึ่งจะมีความสัมพันธกันในรูปแบบใด
นั ก เรี ย นนํ า เสนอ ครู ค อยให ข  อ เสนอแนะ
รูปแบบหนึ่ง โดยรูปแบบความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตแบงออกเปนประเภทตาง ๆ ดังนี้
เพิม่ เติม เพือ่ ใหนกั เรียนมีความเขาใจทีถ่ กู ตอง
1. ภาวะอิงอาศัย (commensalism) เปนความสัมพันธของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด ที่มาอยูรวมกัน โดยฝายที่
7. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายผลการปฏิบัติ ขออิงอาศัยจะไดประโยชน (+) สวนอีกฝายที่เปนผูใหอาศัยจะไมไดรับและไมเสียประโยชน (0) มีเครื่องหมายแสดง
กิจกรรม สํารวจรูปแบบความสัมพันธระหวาง ความสัมพันธเปน (+, 0) ตัวอยางเชน
สิ่งมีชีวิตภายในโรงเรียน เพื่อใหไดขอสรุปวา นกทํารังอยูบนตนไมสูง เนื่องจากความสูงของตนไม
สิ่ ง มี ชี วิ ต ไม ส ามารถอยู  อ ย า งโดดเดี่ ย วได ชวยปองกันอันตรายจากสัตวใหญและใหความรมเย็นแกนกได
จํ า เป น ต อ งมี ค วามสั ม พั น ธ กั บ สิ่ ง มี ชี วิ ต อื่ น โดยไมสงผลกระทบตอตนไม ดังนั้น ตนไมจึงไมไดรับและไมเสีย
ประโยชน แตในบางกรณีตนไมอาจไดรับประโยชนจากนกที่ชวย
เพื่ อ ประโยชน ใ นการดํ า รงชี วิ ต ซึ่ ง ความ
กินหนอนหรือแมลงที1่มากัดกินใบไมเปนอาหาร
สัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตมีหลายรูปแบบ เหาฉลามเปนปลาชนิดหนึ่งเกาะติดอยูกับปลาฉลาม
8. ครูถามคําถามทายกิจกรรม โดยใชอวัยวะบริเวณหัวดูดติดกับหนังปลาฉลาม ซึ่งไมไดสราง
ความเดือดรอนใหกับปลาฉลาม แตเหาฉลามจะไดรับประโยชน ภาพที่ 1.16 นก (+) ทํารังบนตนไมสูง (0)
จากการกินเศษอาหารที่เหลือของปลาฉลาม ที่มา : คลังภาพ อจท.

แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม
ภาพที่ 1.17 เหาฉลาม (+) กับปลาฉลาม (0)
1. ขึ้นอยูกับผลกิจกรรม ตัวอยางเชน พืชกับมนุษย ที่มา : คลังภาพ อจท.
2. ขึ้นอยูกับผลกิจกรรม ตัวอยางเชน ดอกไมกับ 14
ผีเสื้อ นกทํารังบนตนไม แมวกับหนู

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 เหาฉลาม (shark sucker) เปนปลาทะเลกระดูกแข็ง มีลําตัวเพรียวยาว สิ่ ง มี ชี วิ ต คู  ใ ดที่ มี ค วามสั ม พั น ธ กั น เหมื อ นกั บ ความสั ม พั น ธ
ลั ก ษณะทั่ ว ไปคล า ยกั บ ปลาช อ นทะเล แต บ ริ เ วณด า นบนของหั ว มี อ วั ย วะ ของเฟนเกาะบนตนไมใหญ
สําหรับดูดติด ลําตัวมีสีเทาอมดํา มีแถบสีดําขอบสีขาวพาดตามความยาวของ 1. หมัดกับสุนัข 2. รากับสาหราย
ลําตัวตั้งแตหัวจนถึงหาง พบไดทั่วไปตามแนวปะการัง มักเกาะติดหรือวายอยู 3. กาฝากกับตนไมใหญ 4. พลูดางกับตนไมใหญ
กับปลาฉลาม เตาทะเล กระเบนราหู หรือปลาขนาดใหญอื่นๆ (วิเคราะหคําตอบ
1. หมัดกับสุนัขเปนความสัมพันธแบบภาวะปรสิต
2. รากับสาหรายเปนความสัมพันธแบบภาวะพึ่งพากัน
3. กาฝากกับตนไมใหญเปนความสัมพันธแบบภาวะปรสิต
4. พลูดางกับตนไมใหญเปนความสัมพันธแบบภาวะอิงอาศัย
ซึ่งเปนรูปแบบความสัมพันธที่เหมือนเฟนกับตนไมใหญ
ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T16
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
2. ภาวะพึ่งพากัน (mutualism) เปนความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด ที่มาอยูรวมกัน แลวพึ่งพา 9. ใหนักเรียนแบงกลุมออกเปน 4 กลุม กลุมละ
อาศัยซึ่งกันและกัน ตางฝายตางไดประโยชนรวมกัน โดยสิ่งมีชีวิตตองอยูรวมกันตลอดไป ไมสามารถแยกจากกันได
เทาๆ กัน และสงตัวแทนกลุมออกมาจับสลาก
มีเครื่องหมายแสดงความสัมพันธเปน (+, +) ตัวอยางเชน
หมายเลข 1-4 โดยแตละหมายเลขมีขอความ
ไลเคน ลักษณะความสัมพันธของสิ่งมีชีวิต ดังนี้
คือ ความสัมพันธระหวางรากับสาหรายที่อาศัย - หมายเลข 1 สิ่งมีชีวิตตองดํารงชีวิตอยูดวย
อยูรวมกัน โดยสาหรายสามารถสรางอาหารไดเอง กันตลอดเวลา ไมสามารถแยก
จากการสังเคราะหดวยแสง แตไมสามารถดํารงชีวิต จากกันได
อยูไ ดหากไมมคี วามชืน้ จึงจําเปนตองอาศัยความชืน้
- หมายเลข 2 สิ่งมีชีวิตดํารงชีวิตอยูไดอยาง
จากรา สวนราไดประโยชนจากการดูดซึมอาหาร
ที่สาหรายสรางขึ้น อิสระ ถามาอยูร ว มกันตางฝาย
จะใหประโยชนซึ่งกันและกัน
ภาพที่ 1.18 ไลเคน
ที่มา : คลังภาพ อจท. - หมายเลข 3 สิ่ ง มี ชี วิ ต ต อ งอาศั ย สิ่ ง มี ชี วิ ต
อื่ น เพื่ อ การดํ า รงชี วิ ต โดย
โพรโทซัวในลําไสปลวก สิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ ม าอาศั ย จะก อ ให
ปลวกเปนสิง่ มีชวี ติ ทีไ่ มสามารถสรางเอนไซมเซลลูเลส เกิดโรค
ไปยอยสลายไมที่กินเขาไปได แตในลําไสปลวกมี - หมายเลข 4 สิ่งมีชีิวิตดํารงชีวิตอยูไดดวย
โพรโทซัวชนิดไทรโคนิมฟา (Trichonympha) ที่สราง
เอนไซมเซลลูเลสมาชวยยอยสลายไมใหเปนอาหาร การลาสิ่งมีชีวิตอื่นเปนอาหาร
ของปลวกได สวนโพรโทซัวในลําไสปลวกจะไดรับ
สารอาหารจากการยอยสลายไม
ภาพที่ 1.19 โพรโทซัวในลําไสปลวก
ที่มา : คลังภาพ อจท.

ไรโซเบียมกับพืชตระกูลถั่ว
เปนแบคทีเรียที่อาศัยอยูในรากพืชตระกูลถั่ว ทําให
เซลลของรากพืชเพิ่มจํานวนมากขึ้นจนมีลักษณะ
เปนปม โดยไรโซเบียมสามารถตรึงแกสไนโตรเจน
ในอากาศมาสรางแอมโมเนียมและสารอินทรียอื่น ๆ
ใหพืชสามารถนําไปใชประโยชนได สวนไรโซเบียม
จะไดรับอาหารและแหลงที่อยูอาศัยจากพืช

ภาพที่ 1.20 ไรโซเบียมในปมรากพืชตระกูลถั่ว


ที่มา : https://www.ispotnature.org/

ระบบนิเวศ 15

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET สื่อ Digital


สิ่งมีชีวิตคูใดที่มีความสัมพันธกันเหมือนกับความสัมพันธของ ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง ไลเคน
แบคทีเรียในปมรากถั่ว สิง่ มีชวี ติ สําหรับบงชี้ (https://www.twig-aksorn.com/film/lichen-indicator-
1. ไลเคน species-8071/)
2. ควายกับนกเอี้ยง
3. ดอกไมกับนกฮัมมิง
4. แบคทีเรียในลําไสใหญของมนุษย
( วิเคราะหคําตอบ ความสั ม พั น ธ ข องแบคที เ รี ย ในปมรากถั่ ว
เป น ความสั ม พั น ธ แ บบภาวะพึ่ ง พากั น ซึ่ ง เป น ความสั ม พั น ธ
เหมือนกับไลเคน (รากับสาหราย) ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T17
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
10. ใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันสืบคนขอมูล 3. ภาวะปรสิต (parasitism) เป็นความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่มาอยู่ร่วมกัน แล้วฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์
แต่อีกฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์ มีเครื่องหมายความสัมพันธ์เป็น (+, -) โดยฝ่ายที่ได้ประโยชน์ เรียกว่า ปรสิต (parasite)
เกี่ ย วกั บ ความสั ม พั น ธ ข องสิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ ก ลุ  ม
ส่วนฝ่ายที่เสียประโยชน์ เรียกว่า ผู้ถูกอาศัย (host) ซึ่งปรสิตอาจอาศัยอยู่ภายในหรือภายนอกร่างกายของผู้ถูกอาศัย
ตนเองจับสลากได จากหนังสือเรียนรายวิชา ก็ได้
พื้ น ฐานวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ม.3 1) ปรสิตภายใน คือ ปรสิตทีอ่ าศัยและเกาะกินอยูภ่ ายในร่างกายของผูถ้ กู อาศัย ตัวอย่างเช่น พยาธิตวั ตืด
เลม 1 หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง ความ พยาธิใบไม้ตับ จุลินทรีย์บางชนิด เช่น แบคทีเรียในกระเพาะอาหารของคน รวมทั้งไวรัสที่สามารถเพิ่มจ�านวนได้
สัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ หรือ เมื่อเข้าไปในร่างกายของผู้ถูกอาศัย ท�าให้สิ่งมีชีวิตที่เป็นผู้ถูกอาศัยติดเชื้อและตายในที่สุด
แหล ง การเรี ย นรู  อื่ น ๆ เช น อิ น เทอร เ น็ ต
หองสมุด พรอมยกตัวอยางสิ่งมีชีวิตที่มีรูป
แบบความสัมพันธนั้นมาอยางนอย 5 คู คนหรือสัตว์เลีย้ งลูกด้วยน�า้ นม
พยาธิใบไม้ตับ
11. ครูถามคําถาม H.O.T.S. ที่กินเนื้อปลาน�้าจืดที่ปรุงไม่สุกจะรับ
เอาตัวอ่อนของพยาธิใบไม้ตับที่อยู่
ในระยะติดต่อเข้าสู่ร่างกาย ท�าให้
ท่อน�้าดีติดเชื้อ โดยพยาธิใบไม้ตับจะ
เจริญเป็นตัวเต็มวัยและเพิ่มจ�านวน
ภาพที่ 1.21 ตัวเต็มวัยของพยาธิใบไม้ตับ
อาศัยอยู่ในท่อทางเดินน�้าดีของคน มาก หากมีพยาธิใบไม้ตับสะสมอยู่
ที่มา : คลังภาพ อจท. จ�านวนมาก จะท�าให้เกิดการติดเชื้อ
เรื้อรังและตับเสียหายมากขึ้น
พยาธิตัวตืด คนที่รับประทานเนื้อหมู และ
เนื้อวัวที่ปรุงไม่สุกจะรับเอาตัวอ่อน
ของพยาธิตัวตืดเข้าไป โดยตัวอ่อน
ภาพที่ 1.22 ตัวเต็มวัยของพยาธิ ของพยาธิตัวตืดจะเคลื่อนที่ออกจาก
ตัวตืดอาศัยอยู่ในล�าไส้เล็กของคน ล�าไส้ไปฟกตัวตามอวัยวะต่าง ๆ เช่น
ที่มา : คลังภาพ อจท. ตา กล้ามเนื้อ หัวใจ ผู้ป่วยที่ติดเชื้อ
จากพยาธิตวั ตืดมักมีอาการไม่รนุ แรง
แต่การแพร่กระจายของตัวอ่อนอาจ
ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนทีร่ นุ แรง
ถึงขั้นเสียชีวิตได้

แนวตอบ H.O.T.S.
แบคทีเรียในลําไสใหญของมนุษยมีทั้งรูปแบบ HOTS
(คําถามทาทายการคิดขั้นสูง)
ความสัมพันธทเี่ ปนแบบภาวะปรสิต เชน แบคทีเรีย
ในกลุม Salmonella spp. ทีก่ อ ใหเกิดโรคอุจจาระ แบคทีเรียในล�าไส้มนุษย์มีความสัมพันธ์กับมนุษย์ในรูปแบบใดบ้าง
ร ว ง และรู ป แบบความสั ม พั น ธ ที่ เ ป น แบบภาวะ
อิงอาศัย เชน แบคทีเรียในกลุม Lactobacillus spp. 16
ชวยกระตุน ระบบยอยอาหาร ทําใหขบั ถายไดดี

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ใหนกั เรียนศึกษาเพิม่ เติมจากภาพยนตรสารคดีสนั้ Twig เรือ่ ง พยาธิตดื วัว รูปแบบความสัมพันธคูใดมีสัญลักษณความสัมพันธที่เหมือนกัน
(https://www.twig-aksorn.com/fif ilm/beef-tapeworms-part-1-7908/) 1. ภาวะปรสิต-ภาวะอิงอาศัย
2. ภาวะพึ่งพากัน-ภาวะปรสิต
3. ภาวะปรสิต-ภาวะการลาเหยื่อ
4. ภาวะการแกงแยงแขงขัน-ภาวะการลาเหยื่อ
(วิเคราะหคําตอบ
ภาวะพึ่งพากันมีสัญลักษณความสัมพันธ คือ (+, +)
ภาวะอิงอาศัยมีสัญลักษณความสัมพันธ คือ (+, 0)
ภาวะการแกงแยงแขงขันมีสัญลักษณความสัมพันธ คือ (-, -)
ภาวะปรสิตและภาวะการลาเหยือ่ มีสญ
ั ลักษณความสัมพันธ คือ
(+, -) ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T18
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
2) ปรสิตภายนอก คือ ปรสิตที่อาศัยและเกาะกินอยูภายนอกรางกายของผูถูกอาศัย ตัวอยางเชน ไร 12. ครูสุมเรียกตัวแทนของนักเรียนแตละกลุม
เห็บ หมัด เหา ซึ่งเปนปรสิตของคนและสัตว สวนเพลี้ยและกาฝากจะเปนปรสิตของพืช
ออกมานําเสนอขอมูลหนาชั้นเรียน
เห็บและหมัด 13. ใหนักเรียนกลุมอื่นที่ไมไดนําเสนอจดบันทึก
เปนปรสิตขนาดเล็กทีเ่ กาะบนผิวหนังสัตว แลวดูดเลือด ขอมูลที่เพื่อนมานําเสนอลงในสมุดประจําตัว
เปนอาหาร หากบนรางกายมีเห็บและหมัดจํานวนมาก นักเรียน แลวนํามาสงครูผูสอน
จะสงผลใหเกิดการอักเสบบริเวณผิวหนัง และติดเชื้อ
14. เมือ่ ตัวแทนนักเรียนแตละกลุม นําเสนอขอมูล
บริเวณทีเ่ กิดรอยแผล นอกจากนี้ นํา้ ลายของหมัดมีสาร
ที่กอใหเกิดการแพ จึงทําใหสัตวมีอาการคันและขนรวง จบแลว ใหนักเรียนแตละกลุมสืบคนความ
สั ม พั น ธ ข องสิ่ ง มี ชี วิ ต นอกเหนื อ จากความ
ภาพที่ 1.23 เห็บและหมัดทําใหเกิดโรคผิวหนังในสุนัข สัมพันธแบบภาวะอิงอาศัย ภาวะพึ่งพากัน
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ภาวะปรสิต และภาวะการลาเหยื่อ แลวสรุป
เพลี้ย ลงในสมุดประจําตัวนักเรียน
เปนปรสิตทีม่ ปี ากเปนงวง สามารถเจาะเขาไปยังทอลําเลียง
อาหารของพืชเพือ่ ดูดกินนํา้ เลีย้ งเชนเดียวกับตนกาฝาก
ที่ เ กาะติ ด กั บ พื ช ชนิ ด อื่ น และใช ร ากแทงทะลุ เ ข า ไป
ในเปลื อ กไม จ นถึ ง ท อ ลํ า เลี ย งนํ้ า และธาตุ อ าหาร
เพื่อแยงอาหาร ทําใหพืชที่ถูกอาศัยเจริญเติบโตชา
และตายในที่สุด
ภาพที่ 1.24 เพลี้ยใชงวงเจาะกินนํ้าเลี้ยง
ที่มา : คลังภาพ อจท.

ภาพที่ 1.25 กาฝากใชรากแยงอาหารจากตนไม


ที่มา : คลังภาพ อจท.
ระบบนิเวศ 17

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET สื่อ Digital


จากขอมูลตอไปนี้ ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจากภาพยนตรสารคดีส้ัน Twig เรื่อง พืชปรสิต
ก. เหาฉลามกับปลาฉลาม (https://www.twig-aksorn.com/film/parasitic-plants-8059/)
ข. กลวยไมกับตนไมใหญ
ค. ดอกไมกับผีเสื้อ
ง. แบคทีเรียในลําไสใหญของมนุษย
สิง่ มีชวี ติ ในขอใดทีม่ คี วามสัมพันธเชนเดียวกับ “นกทํารังบนตนไม”
1. ขอ ก. และ ข. 2. ขอ ข. และ ค.
3. ขอ ค. และ ง. 4. ขอ ก. และ ง.
(วิเคราะหคําตอบ เหาฉลามกับปลาฉลามและกลวยไมกับตนไม
ใหญ มีความสัมพันธแบบภาวะอิงอาศัย ซึ่งเปนความสัมพันธเชน
เดียวกับนกทํารังบนตนไม ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T19
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
15. ใหนักเรียนศึกษารูปแบบความสัมพันธของ 4. ภาวะการล่าเหยื่อ (predation) เป็นความสัมพันธ์ที่ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ เรียกว่า ผู้ล่า (predator) และ
อีกฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์ เรียกว่า เหยื่อ (prey) มีเครื่องหมายแสดงความสัมพันธ์เป็น (+, -) เช่น สิงโตกับม้าลาย
สิ่งมีชีวิตในกรอบ Science Focus
กบกับแมลง นกกับหนอน
16. ครูถามนักเรียนวา นอกเหนือจากรูปแบบ
ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตที่มีอยูในหนังสือ
เรี ย นรายวิ ช าพื้ น ฐานวิ ท ยาศาสตร แ ละ
เทคโนโลยี ม.3 เลม 1 หนวยการเรียนรูที่ 1
เรื่อง ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในระบบ
นิเวศแลว นักเรียนคนใดมีขอมูลเพิ่มเติม
นอกเหนือจากนีใ้ หยกมือ แลวออกมานําเสนอ
หนาชั้นเรียน
17. ครูถามคําถามทดสอบความเขาใจของนักเรียน
ดังนี้
• รู ป แบบความสั ม พั น ธ ข องสิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ มี
เครื่องหมาย + หมายถึงอะไร ภาพที่ 1.26 เสือชีตาห์ (+) ล่ากวาง (-)
ที่มา : คลังภาพ อจท.
(แนวตอบ สิ่งมีชีวิตที่ไดรับประโยชน)
• รู ป แบบความสั ม พั น ธ ข องสิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ มี
ถ้าในระบบนิเวศมีผู้ล่าจ�านวนมาก จะท�าให้
เครื่องหมาย - หมายถึงอะไร เหยื่อมีจ�านวนลดลงและเกิดการแก่งแย่งแข่งขันกัน
(แนวตอบ สิ่งมีชีวิตที่เสียประโยชน) ระหว่างผู้ล่าชนิดเดียวหรือต่างชนิดกัน ส่งผลให้ผู้ล่า
• รู ป แบบความสั ม พั น ธ ข องสิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ มี มีจ�านวนลดลง แต่ในทางกลับกัน ถ้าเหยื่อมีจ�านวน
เครื่องหมาย 0 หมายถึงอะไร เพิม่ มากขึ1น้ จะท�าให้เกิดการควบคุมกันเองระหว่างจ�านวน
(แนวตอบ สิ่งมีชีวิตที่ไมไดรับและไมเสีย ประชากรของผู้ล่ากับเหยื่อ ระบบนิเวศจึงมีจ�านวนผู้ล่า
และเหยื่อที่อยู่ในสภาวะสมดุล
ประโยชน)
ภาพที่ 1.27 หมีต่อสู้กันเพื่อแย่งชิงอาหาร
ที่มา : คลังภาพ อจท.

Science
Focus ภาวะการแก่งแย่งแข่งขัน
ภาวะการแก่งแย่งแข่งขัน (competition) เป็นความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต 2 ฝ่าย ที่ต้องการทรัพยากรเดียวกัน
ในการด�ารงชีวิต ท�าให้สิ่งมีชีวิตทั้ง 2 ฝ่าย เสียประโยชน์ มีเครื่องหมายความสัมพันธ์เป็น (-, -) แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ คือ
การแก่งแย่งแข่งขันระหว่างสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน (intraspecific competition) และการแก่งแย่งแข่งขันระหว่างสิ่งมีชีวิตคนละชนิด
(interspecific competition)

18

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูอธิบายเพิ่มเติมวา ผูลามักบริโภคเนื้อสัตวเปนอาหาร แตบางครั้งอาจ ในการศึ ก ษาเต า ญี่ ปุ  น ในแหล ง นํ้ า ของไทย พบว า มี ก าร
บริโภคพืชดวย เนือ่ งจากวิวฒ
ั นาการเพือ่ การอยูร อดของสัตว จึงมีการเปลีย่ นแปลง กระจายพั น ธุ  ไ ด ดี เจริ ญ เติ บ โตเร็ ว กิ น ไข ป ลาและไข เ ต า นา
สภาพการทํางานของกระเพาะอาหารใหสามารถยอยเพียงแตเนื้อสัตว มีเขี้ยว เป น อาหาร ป จ จุ บั น มนุ ษ ย มั ก จั บ เต า ญี่ ปุ  น มาเป น สั ต ว เ ลี้ ย ง
แหลมคม ฟนหนาคม เพือ่ กัดและฉีกเนือ้ ออกเปนชิน้ ๆ เปนจํานวนมาก จากสิ่งที่คนพบ นักเรียนคิดวา จํานวนสิ่งมีชีวิต
ในระบบนิเวศนี้จะเปนอยางไร
1. ปลาและเตานามีจํานวนลดลง
นักเรียนควรรู 2. ปลาและเตานามีจํานวนเพิ่มขึ้น
1 จํานวนประชากร จํานวนประชากรในพืน้ ทีห่ นึง่ ณ เวลาหนึง่ เรียกวา ขนาด 3. ปลามีจํานวนเพิ่มขึ้น แตเตานามีจํานวนลดลง
ของประชากร ซึง่ การเปลีย่ นแปลงขนาดของประชากรคํานวณไดจากผลรวมสุทธิ 4. ปลามีจํานวนลดลง แตเตานามีจํานวนเพิ่มขึ้น
ระหวางอัตราการเกิด อัตราการตาย การยายถิ่นเขา และการยายถิ่นออก โดย (วิเคราะหคําตอบ เตาญี่ปุนมีจํานวนลดลง ทําใหปลาและเตานา
มีขดี ความสามารถของสิง่ แวดลอมในพืน้ ทีน่ นั้ เปนตัวกําหนดใหการเปลีย่ นแปลง เจริญแพรพันธุเพิ่มขึ้น ดังนั้น ตอบขอ 2.)
เปนไปตามอัตราที่เหมาะสม ถาพิจารณาจํานวนประชากรในพื้นที่ 1 หนวย
เรียกวา ความหนาแนนของประชากร

T20
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
จากที่ไดศึกษามาแลว สิ่งมีชีวิตในแหลงที่อยูตาง ๆ ไมสามารถดํารงชีวิตอยูไดอยางโดดเดี่ยว แตจะมี 18. ครูเตรียมสลากชื่อสิ่งมีชีวิตตางๆ ไดแก รา
ความสัมพันธระหวางสิง่ มีชวี ติ ชนิดเดียวกันและสิง่ มีชวี ติ ตางชนิดไมรปู แบบใดก็รปู แบบหนึง่ ซึง่ มีหลากหลายรูปแบบ
นกเอี้ยง เหาฉลาม ปลาฉลาม กาฝาก ควาย
เพื่อประโยชนในการดํารงชีวิตและการอยูรอดของสิ่งมีชีวิต
ตนไม มนุษย สาหราย และนก จากนั้น
ให นั ก เรี ย นแต ล ะคนจั บ สลากชื่ อ สิ่ ง มี ชี วิ ต
นั ก เรี ย นที่ จั บ สลากได ชื่ อ สิ่ ง มี ชี วิ ต ชนิ ด
เดียวกันใหมารวมกลุมกัน
19. ครูอธิบายขอมูลเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจ
เกี่ ย วกั บ ประชากรและกลุ  ม สิ่ ง มี ชี วิ ต ว า
นักเรียนแตละคนที่ถือสลากชื่อสิ่งมีชีวิตลวน
เปนสิ่งมีชีวิต เมื่อนักเรียนมารวมกลุมกัน
ในแหล ง ที่ อ ยู  เ ดี ย วกั น และเวลาเดี ย วกั น
ภาพที่ 1.28 ประชากรมดชวยขนใบไมไปไวในรัง ภาพที่ 1.29 ผึ้งที่มาดูดกินนํ้าหวานชวยผสมเกสรใหกับดอกไม เรียกวา ประชากร ดังนั้น ในหองเรียนนี้จึง
ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท.
ประกอบดวยประชากรของสิ่งมีชีวิตหลาย
ชนิดมาอยูรวมกัน เรียกวา กลุมสิ่งมีชีวิต
Science
Focus ภาวะการไดรับประโยชนรวมกัน 20. ใหนักเรียนแตละคนที่ถือสลากชื่อสิ่งมีชีวิต
ภาวะการไดรบั ประโยชนรว มกัน (cooperation) เปนความสัมพันธระหวางสิง่ มีชวี ติ 2 ชนิด ทีม่ าอยูร ว มกัน โดยทีต่ า งฝายตางได ตางกันจับคูกัน แลวระบุความสัมพันธของ
ประโยชนซงึ่ กันและกัน แตสามารถแยกออกจากกันไดโดยไมสง ผลกระทบกับการดํารงชีวติ ของอีกฝาย มีเครือ่ งหมายความสัมพันธ สิ่งมีชีวิต
เปน (+, +) ตัวอยางเชน 21. ครูสุมเรียกนักเรียน 5-10 คู ออกมาอธิบาย
ควายกับนกเอีย้ ง นกเอีย้ งไดกนิ แมลงบนผิวหนังควายเปนอาหาร สวนควายจะไดประโยชนจากนกเอีย้ งทีช่ ว ยลดจํานวนแมลง
ที่เปนปรสิต ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิต
มดดํากับเพลี้ย เพลี้ยไดประโยชนจากการที่มดดําพาไปดูดนํ้าเลี้ยงที่ตนไม สวนมดดําจะไดรับนํ้าหวานจากเพลี้ย 22. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนซักถามเนื้อหาเกี่ยว
แมลงกับดอกไม แมลงจะดูดนํ้าหวานจากเกสรดอกไมเปนอาหาร สวนดอกไมจะไดประโยชนจากแมลงในการชวยผสมเกสร กับเรื่อง ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตใน
ระบบนิเวศ และใหความรูเพิ่มเติม โดยครู
อาจใช PowerPoint เรื่อง ความสัมพันธ
ระหวางสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ

ภาพที่ 1.30 ควายกับนกเอี้ยง ภาพที่ 1.31 มดดํากับเพลี้ย


ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : https://pxhere.com/da/photo/1047393

ระบบนิเวศ 19

กิจกรรม สรางเสริม สื่อ Digital


ใหนักเรียนสืบคนขอมูลเพิ่มเติม เรื่อง ความสัมพันธระหวาง ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง ภาวะพึ่งพิง
สิง่ มีชวี ติ ในระบบนิเวศ หรือทบทวนความรูจ ากทีเ่ รียน แลวนําความรู ซึ่งกันและกัน : ภาวะปรสิต (https://www.twig-aksorn.com/film/symbiosis-
มาเชื่อมโยงกับชีวิตประจําวันของนักเรียน โดยการยกตัวอยาง parasitism-8097/)
รูปแบบความสัมพันธอยางนอย 4 รูปแบบ ลงในสมุดประจําตัว
นักเรียน

กิจกรรม ทาทาย
ใหนักเรียนสํารวจสิ่งมีชีวิตในปาชายเลนอยางนอย 4 คู แลว
นํ า ความรู  จ ากที่ เ รี ย นมาวิ เ คราะห ค วามสั ม พั น ธ ข องสิ่ ง มี ชี วิ ต
ลงในกระดาษ A4 และนําเสนอในรูปแบบที่นาสนใจ

T21
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
กิจกรรม
23. ใหนักเรียนแบงกลุมเดิมทํากิจกรรม ความ
ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิต
สัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิต จากหนังสือเรียน
รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
ม.3 เล ม 1 หน ว ยการเรี ย นรู  ที่ 1 เรื่ อ ง จุดประสงค - การสังเกต
- การวัด
ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ อธิบายความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดได - การคํานวณ
- การตีความหมายขอมูล
แลวใหสมาชิกภายในกลุมแบงหนาที่ ดังนี้ วัสดุอปุ กรณ และลงขอสรุป
จิตวิทยาศาสตร
- สมาชิ ก คนที่ 1-2 ทํ า หน า ที่ เ ตรี ย มวั ส ดุ 1. นํ้า 5. แผนอะลูมิเนียมฟอยล - ความรับผิดชอบ
อุปกรณที่ใชในการปฏิบัติกิจกรรม 2. หลอดหยดสาร 6. ปลาหางนกยูง 4-6 ตัว - ความสนใจใฝรู
- การทํางานรวมกับผูอื่นได
- สมาชิกคนที่ 3-4 ทําหนาที่อานวิธีปฏิบัติ 3. สาหรายหางกระรอก 7. เครือ่ งวัดคา pH (pH meter) อยางสรางสรรค
4. ขวดรูปชมพู 4 ขวด
กิจกรรมและอธิบายใหสมาชิกในกลุมฟง
- สมาชิกคนที่ 5-6 ทําหนาที่บันทึกผลการ วิธปี ฏิบตั ิ
ปฏิบตั กิ จิ กรรมลงในสมุดประจําตัวนักเรียน 1. ใหนักเรียนเตรียมชุดทดลอง 4 ชุด ดังนี้
24. ให นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น อภิ ป รายผล
การปฏิบัติกิจกรรม ความสัมพันธระหวาง ชุดทดลองที่ 1 เทนํ้า ชุดทดลองที่ 2 เทนํ้าใส
ใสขวดรูปชมพู และใส ขวดรูปชมพู และใสสาหราย
สิ่งมีชีวิต เพื่อใหไดขอสรุปรวมกันวา จาก ปลาหางนกยูง 2-3 ตัว หางกระรอกลงไป
กิ จ กรรม ปลาต อ งอาศั ย นํ้ า และสาหร า ย
ในการดํารงชีวติ เทานัน้ รูปแบบความสัมพันธ
จึงเปนแบบภาวะพึ่งพากัน แตในธรรมชาติ
ปลาอาศัยอยูร ว มกับสิง่ มีชวี ติ อืน่ ดังนัน้ รูปแบบ ชุดทดลองที่ 3 ทําเหมือน ชุดทดลองที่ 4 ทําเหมือน
ความสั ม พั น ธ จึ ง เป น แบบภาวะการได รั บ ชุดทดลองที่ 2 แลวนํา ชุดทดลองที่ 2 และใส
แผนอะลูมิเนียมฟอยลมาหุม ปลาหางนกยูง 2-3 ตัว
ประโยชนรวมกัน
25. ครูถามคําถามทายกิจกรรม
26. ใหนักเรียนตอบคําถาม Topic Questions ภาพที่ 1.32 กิจกรรมความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิต
ที่มา : คลังภาพ อจท.
27. ให นั ก เรี ย นทํ า แบบฝ ก หั ด รายวิ ช าพื้ น ฐาน
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 เรื่อง 2. นําชุดทดลองทั้ง 4 ชุด ไปวัดคา pH โดยใชเครื่องวัดคา pH จุมลงในนํ้า อานคาและบันทึกผล
ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ 3. เมือ่ เวลาผานไป 2 ชั่วโมง นําชุดทดลองทั้ง 4 ชุด ไปวัดคา pH อีกครั้งหนึ่ง

คําถามทายกิจกรรม
แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม 1. เมื่อเวลาผานไป คา pH ที่วัดไดจากชุดทดลองทั้ง 4 ชุด เปนอยางไร
1. คา pH ของชุดการทดลองที่ 1 และ 3 มีคา ลดลง 2. ความสัมพันธระหวางปลากับสาหรายหางกระรอกเปนความสัมพันธรูปแบบใด
สวนคา pH ของชุดการทดลองที่ 2 และ 4
มีคาเทาเดิม 20
2. ภาวะพึ่งพากัน

หองปฏิบั ติการ กิจกรรม 21st Century Skills


 à·¤¹Ô¤ ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน สืบคนขอมูลเพิ่มเติม
กอนใชงานเครือ่ งวัดคา pH จําเปนตองปรับเทียบมาตรฐาน (calibration) เกี่ ย วกั บ ความสั ม พั น ธ ร ะหว า งสิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ มี ภ าวะเป น กลาง
โดยการปรับเทียบกับสารละลายบัฟเฟอรมาตรฐาน สวนใหญนิยมปรับเทียบ (neutralism) และภาวะตอตาน (antibiosis) และใหนักเรียนแตละ
ชวง pH ดวยสารละลายบัฟเฟอร 2 คา ที่มีคาครอบคลุมในชวงที่ตองการวัด กลุมเลือกบริเวณสํารวจสิ่งมีชีวิตมา 1 บริเวณ โดยบริเวณนั้น
ตองมีรูปแบบความสัมพันธของสิ่งมีชีวิต 2-3 รูปแบบ ดังนี้
ตารางบันทึก กิจกรรม - ภาวะอิงอาศัยหรือภาวะเกื้อกูล - ภาวะพึ่งพากัน
ชุดทดลอง คา pH คา pH (เมื่อเวลาผานไป 2 ชั่วโมง) - ภาวะการไดรับประโยชนรวมกัน - ภาวะปรสิต
- ภาวะการแกงแยงแขงขัน - ภาวะการลาเหยื่อ
1
- ภาวะเปนกลาง - ภาวะตอตาน
2 กรรม
ย ก
 ู บ
ั ผลกิจ แลวใหนักเรียนแตละกลุมบันทึกคูสิ่งมีชีวิตพรอมระบุความ
3 ขึ้นอ สัมพันธลงในกระดาษ A4 และนําเสนอในรูปแบบที่นาสนใจ
4

T22
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ

อภิปรายผลกิจกรรม 28. ครูกําหนดปญหาวา ในปจจุบันโรคไขเลือด


จากกิจกรรม พบวา เมื่อเวลาผานไป 2 ชั่วโมง คา pH ที่วัดไดจากชุดทดลองที่ 1 และ 3 จะลดลง เนื่องจากในชุดทดลองที่ 1
ออกมักแพรระบาดในชวงฤดูฝน ใหนักเรียน
จะมีปริมาณแกสคารบอนไดออกไซดเพิ่มขึ้นจากการหายใจของปลาหางนกยูง สวนชุดการทดลองที่ 3 สาหรายหางกระรอก ออกแบบสิ่งมีชีวิตในบอนํ้าเพื่อแกไขปญหา
หายใจและปล อ ยแก ส คาร บ อนไดออกไซด ไ ด ต ามปกติ แต ไ ม ส ามารถนํ า แก ส คาร บ อนไดออกไซด ไ ปใช ใ นกระบวนการ บอนํ้าขังกลางแจงที่ถูกปลอยทิ้งราง จาก
สังเคราะหดวยแสงได ปริมาณแกสคารบอนไดออกไซดจึงไมลดลง ซึ่งแกสคารบอนไดออกไซดจะทําปฏิกิริยากับนํ้าเกิดเปน กิจกรรม Application Activity ในหนังสือ
กรดคารบอนิก จึงทําใหคา pH ลดลง สวนคา pH ทีว่ ดั ไดจากชุดทดลองที่ 2 และ 4 ไมลดลงไปจากเดิม เนือ่ งจากสาหรายหางกระรอก
ในชุดทดลองที่ 2 ใชแกสคารบอนไดออกไซดในการสังเคราะหดว ยแสง และชุดทดลองที่ 4 เกิดการแลกเปลีย่ นแกสระหวางปลาหางนกยูง เรี ย นรายวิ ช าพื้ น ฐานวิ ท ยาศาสตร แ ละ
กับสาหรายหางกระรอก โดยสาหรายหางกระรอกนําแกสคารบอนไดออกไซดที่ไดจากกระบวนการหายใจของปลาหางนกยูงไปใช เทคโนโลยี ม.3 เลม 1 หนวยการเรียนรูที่
ในการสังเคราะหดวยแสง และไดผลผลิตเปนแกสออกซิเจนใหกับปลาหางนกยูง ดังนั้น ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตดวยกัน 1 เรื่อง ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตใน
และสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอมจึงเปนสิ่งสําคัญในการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต
ระบบนิเวศ ลงในใบงาน เรื่อง ความสัมพันธ
ระหว า งสิ่ ง มี ชี วิ ต พร อ มอธิ บ ายรู ป แบบ
ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิต
Application ขัน้ สรุป
Activity
โรคไขเลือดออกเปนโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสเดงกี โดยมียุงลายเปนพาหะนําโรค โรคไขเลือดออก
นักเรียนและครูรวมกันสรุปวา ความสัมพันธ
มักแพรระบาดในชวงฤดูฝน เนื่องจากยุงลายจะวางไขตามภาชนะใสนํ้าหรือบอที่มีนํ้าขัง ซึ่งปจจุบันมีจํานวน ระหวางสิง่ มีชวี ติ ในระบบนิเวศลวนมีรปู แบบความ
ผูปวยที่เปนไขเลือดออกและเสียชีวิตเพิ่มขึ้นทุกป หากวันหนึ่งนักเรียน พบวา บอนํ้ากลางแจงหลังโรงเรียน สัมพันธที่แตกตางกัน เชน ภาวะอิงอาศัย ภาวะ
ที่ถูกปลอยทิ้งราง มีนํ้าทวมขังและพบลูกนํ้าจํานวนมาก ใหนักเรียนนําความรูเรื่องรูปแบบความสัมพันธ พึง่ พากัน ภาวะปรสิต ภาวะการลาเหยือ่ ภาวะการ
ของสิง่ มีชวี ติ มาประยุกตใชในการปองกันการแพรระบาดของโรคไขเลือดออก โดยใหนกั เรียนออกแบบสิง่ มีชวี ติ แกงแยงแขงขัน ภาวะการไดรับประโยชนรวมกัน
ในบอนํ้าและอธิบายรูปแบบความสัมพันธ
ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
1. ตรวจแบบฝกหัดรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร
Topic Questions และเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 เรื่อง ความสัมพันธ
คําชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ ระหวางสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
1. ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตอื่นมีความสําคัญอยางไร 2. ตรวจใบงาน เรื่ อ ง ความสั ม พั น ธ ร ะหว า ง
2. ทําไมปลวกจึงสามารถกินไมเปนอาหารได สิ่งมีชีวิต
3. ภาวะพึ่งพากันแตกตางกับภาวะการไดรับประโยชนรวมกันหรือไม อยางไร 3. ตรวจสอบผลการปฏิบตั กิ จิ กรรม ความสัมพันธ
4. ผูลาแตกตางกับปรสิตอยางไร ระหวางสิ่งมีชีวิตภายในโรงเรียน
5. ผูใหอาศัยในภาวะอิงอาศัยกับภาวะปรสิตแตกตางกันหรือไม อยางไร 4. ตรวจคําตอบ Topic Questions

ระบบนิเวศ 21

แนวตอบ Topic Questions แนวทางการวัดและประเมินผล


1. มีความสําคัญตอการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตซึ่งมีหลายรูปแบบ เชน
ครูวัดและประเมินผลความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง ความสัมพันธระหวาง
การกินกันเปนอาหาร การพึง่ พากัน การอิงอาศัยกัน การไดรบั ประโยชน
สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ ไดจากกิจกรรม ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตภายใน
รวมกัน
โรงเรียน โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินการปฏิบัติ
2. ในลําไสปลวกมีโพรโทซัวชนิดไตรโคนิมฟาทีส่ ามารถผลิตเอนไซมยอ ย
กิจกรรมที่อยูในแผนการจัดการเรียนรูประจําหนวยการเรียนรูที่ 1
สลายเซลลูโลสในไมใหกับปลวกได
3. แตกตางกัน สิ่งมีชีวิตที่มีรูปแบบความสัมพันธแบบภาวะพึ่งพากัน เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติกิจกรรม
แบบประเมินการปฏิบัติกจิ กรรม

จะไม ส ามารถแยกออกจากกั น หรื อ ดํ า รงชี วิ ต อย า งอิ ส ระได แต


ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับ 1. การปฏิบัติ ทากิจกรรมตามขั้นตอน ทากิจกรรมตามขั้นตอน ต้องให้ความช่วยเหลือ ต้องให้ความช่วยเหลือ
ระดับคะแนน กิจกรรม และใช้อุปกรณ์ได้อย่าง และใช้อุปกรณ์ได้อย่าง บ้างในการทากิจกรรม อย่างมากในการทา

สิง่ มีชวี ติ ทีม่ รี ปู แบบความสัมพันธแบบภาวะการไดรบั ประโยชนรว มกัน


ถูกต้อง ถูกต้อง แต่อาจต้อง และการใช้อุปกรณ์ กิจกรรม และการใช้
ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน ได้รับคาแนะนาบ้าง อุปกรณ์
4 3 2 1 2. ความ มีความคล่องแคล่ว มีความคล่องแคล่ว ขาดความคล่องแคล่ว ทากิจกรรมเสร็จไม่
1 การปฏิบัติการทากิจกรรม คล่องแคล่ว ในขณะทากิจกรรมโดย ในขณะทากิจกรรมแต่ ในขณะทากิจกรรมจึง ทันเวลา และทา
2 ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัติกิจกรรม ในขณะปฏิบัติ ไม่ต้องได้รับคาชี้แนะ ต้องได้รับคาแนะนาบ้าง ทากิจกรรมเสร็จไม่ อุปกรณ์เสียหาย

จะดํารงชีวิตไดอยางอิสระ
3 การบันทึก สรุปและนาเสนอผลการทากิจกรรม กิจกรรม และทากิจกรรมเสร็จ ทันเวลา
และทากิจกรรมเสร็จ
ทันเวลา
รวม ทันเวลา
3. การบันทึก สรุป บันทึกและสรุปผลการ บันทึกและสรุปผลการ ต้องให้คาแนะนาในการ ต้องให้ความช่วยเหลือ
และนาเสนอผล ทากิจกรรมได้ถูกต้อง ทากิจกรรมได้ถูกต้อง บันทึก สรุป และ อย่างมากในการบันทึก
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน

4. ผูลาตองฆาเหยื่อเปนอาหาร ในขณะที่ปรสิตไดอาหารจากสิ่งมีชีวิต
การปฏิบัติ รัดกุม นาเสนอผลการ แต่การนาเสนอผลการ นาเสนอผลการทา สรุป และนาเสนอผล
................./................../.................. กิจกรรม ทากิจกรรมเป็นขั้นตอน ทากิจกรรมยังไม่เป็น กิจกรรม การทากิจกรรม
ชัดเจน ขั้นตอน

ที่เปนผูถูกอาศัย (host)
5. ผู  ใ ห อ าศั ย ในภาวะอิ ง อาศั ย จะไม ไ ด รั บ และไม เ สี ย ประโยชน (0)
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10-12 ดีมาก
7-9 ดี

ขณะที่ผูใหอาศัยในภาวะปรสิตจะเสียประโยชน (-)
4-6 พอใช้
0-3 ปรับปรุง

T23
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (5Es Instructional Model)


กระตุน ความสนใจ
1. ใหนักเรียนตรวจสอบความเขาใจของตนเอง Check for Understanding
กอนเขาสูการเรียนการสอนจากกรอบ Check พิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุดบันทึก
for Understanding ในหนังสือเรียนรายวิชา ถูก/ผิด

พืน้ ฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 1. พืชท�ำหน้ำที่เป็นผู้ผลิตในโซ่อำหำร


หน ว ยการเรี ย นรู  ที่ 1 เรื่ อ ง การถ า ยทอด 2. สิ่งมีชีวิตมีกำรกินต่อกันเป็นทอด ๆ ในรูปแบบโซ่อำหำร

มุ ด
พลังงานในระบบนิเวศ โดยบันทึกลงในสมุด 3. ผู้บริโภคพืชเป็นผู้บริโภคล�ำดับสุดท้ำยเสมอ

นส
ลงใ
ประจําตัวนักเรียน

ทึ ก
4. สัตว์ที่กินอำหำรได้มำกกว่ำ 1 ชนิด จะอยู่รอดได้มำกกว่ำสัตว์ที่กินอำหำรได้เพียงชนิดเดียว

บั น
2. ใหนกั เรียนทํากิจกรรม Engaging Activity โดย 5. ระดับพลังงำนที่ถ่ำยทอดจำกผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคล�ำดับสุดท้ำยจะเพิ่มขึ้น ตำมล�ำดับ
พิจารณาภาพทัง้ หมด 9 ภาพ จากหนังสือเรียน
รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ให้นักเรียนเรียงล�ำดับกำรกินของสิ่งมีชีวิตจำกภำพที่ก�ำหนดให้ โดยน�ำหมำยเลข
ม.3 เลม 1 หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง การ
ถ า ยทอดพลั ง งานในระบบนิ เ วศ จากนั้ น E ngaging บนภำพมำจัดเรียงล�ำดับให้หมำยเลขของผู้ที่ถูกกินอยู่ต�ำแหน่งทำงซ้ำยมือ แล้ว
เขียนสัญลักษณ์ แทนกำรกิน โดยให้หัวลูกศรชี้ไปทำงหมำยเลขของผู้บริโภค
Activity
เลื อ กหมายเลขที่ อ ยู  ใ ต ภ าพมาเรี ย งลํ า ดั บ ภาพที่ 1
การกิ น ตามความคิ ด ของนั ก เรี ย น แล ว ให
ภาพที่ 2 ภาพที่ 3
นั ก เรี ย นเขี ย นสั ญ ลั ก ษณ ลู ก ศรแทนการกิ น
โดยใหหวั ลูกศรชีไ้ ปทางหมายเลขของผูบ ริโภค
3. ครูสุมนักเรียน 2-3 คน ออกมาเขียนคําตอบ
ของตนเองหนาชั้นเรียน โดยใหเพื่อนในชั้น
เรียนรวมกันพิจารณาวาคําตอบถูกตองหรือไม ภาพที่ 4 ภาพที่ 5 ภาพที่ 6
จากนั้นนักเรียนและครูรวมกันอภิปรายจาก
การทํ า กิ จ กรรม Engaging Activity ว า
ในธรรมชาติสงิ่ มีชวี ติ ชนิดหนึง่ สามารถบริโภค
สิ่งมีชีวิตอื่นไดมากกวา 1 ชนิด สิ่งมีชีวิตจึงมี
ความสัมพันธที่มีความซับซอน ภาพที่ 7 ภาพที่ 8 ภาพที่ 9

ภาพที่ 1.33 สิ่งมีชีวิตชนิดต่ำง ๆ


ที่มา : คลังภาพ อจท.
แนวตอบ Check for Understanding
1. ถูก 2. ถูก 3. ผิด 22
4. ถูก 5. ผิด

แนวตอบ Engaging Activity


สามารถเขียนไดหลายรูปแบบ ตัวอยางเชน

1 3 5

1 3 6

1 3 8

1 3 2 6

1 9 4 8

T24
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
Key 3 การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ 1. ครูถามคําถาม Key Question
Question การถ่ายทอดพลังงานเป็นรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสิง่ มีชวี ติ 2. ครู ตั้ ง ประเด็ น ถามคํ า ถามกระตุ  น ความคิ ด
พลังงานทีม่ นุษยใชทาํ ทีส่ า� คัญอย่างหนึง่ ในระบบนิเวศ เนือ่ งจากพลังงานสามารถเปลีย่ นจาก นักเรียนวา ถาสิ่งมีชีวิตไมมีการกินกันเปน
กิจกรรมมาจากแหลงใด รูปหนึ่งไปเป็นอีกรูปหนึ่งได้ และสามารถถ่ายทอดจากสิ่งมีชีวิตหนึ่ง ทอดๆ จะสงผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตในระบบ
และถายทอดมาสูม นุษย ไปยังสิง่ มีชวี ติ หนึง่ ได้โดยการกินอาหาร ซึง่ หากพิจารณาถึงจุดเริม่ ต้น นิ เ วศอย า งไร ให นั ก เรี ย นแต ล ะคนร ว มกั น
ไดอยางไร ของอาหารที่สัตว์กินเข้าไป จะพบว่าเป็นพืช อภิปรายแสดงความคิดเห็นอยางอิสระโดย
ยังไมเฉลยวาถูกหรือผิด
3.1 โซ่อาหาร
(แนวตอบ สิง่ มีชวี ติ นัน้ ในระบบนิเวศจะมีโอกาส
แสงจากดวงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานที่ส�าคัญของโลก โดยมีพืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่สามารถเปลี่ยนพลังงานแสง
ให้กลายเป็นพลังงานเคมีเก็บสะสมในรูปของอาหารตามส่วนต่าง ๆ ของพืช เมือ่ สัตว์มากินพืช พลังงานจะถูกถ่ายทอด สู ญ พั น ธุ  ม ากกว า สิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ กิ น สิ่ ง มี ชี วิ ต อื่ น
ต่อไป ท�าให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ ตัวอย่างเช่น ภาพที่ 1.34 ไดหลากหลายกวา นอกจากนี้ ในระบบนิเวศ
นั้นจะไมมีการถายทอดพลังงาน)
3. ใหนักเรียนศึกษาภาพที่ 1.34 จากนั้นครูถาม
นักเรียนวา สิ่งมีชีวิตในภาพมีความสัมพันธ
กันอยางไร
(แนวตอบ มีความสัมพันธแบบการกินกันเปน
ทอดๆ ตัวอยางเชน เริ่มตนจากพืชเปนผูผลิต
ควายกินพืช สิงโตกินควายเปนอาหาร)

ภาพที่ 1.34 สิงโตล่าควายเป็นอาหาร


ที่มา : คลังภาพ อจท.

จากภาพจะเห็นว่า พืชท�าหน้าทีเ่ ป็นผูผ้ ลิต และมีผบู้ ริโภคมากกว่า 1 ชนิด กินต่อกันเป็นล�าดับ คือ ควายทีก่ นิ พืช
จัดเป็นผู้บริโภคล�าดับที่ 1 สิงโตกินควายจัดเป็นผู้บริโภคล�าดับที่ 2 เมื่อสิงโตตายลงจะมีแร้งมากินซากสิงโตจัดเป็น
ผู้บริโภคซากสัตว์ ซึ่งเป็นผู้บริโภคล�าดับสุดท้าย เรียกความสัมพันธ์ลักษณะนี้ว่า โซ่อาหาร (food chain)
แนวตอบ Key Question
ระบบนิเวศ 23 พลังงานทีม่ นุษยใชทาํ กิจกรรมมาจากดวงอาทิตย
และถายทอดพลังงานผานการกินกันเปนลําดับ

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับการถายทอดพลังงาน ครูแนะนําเพิ่มเติมวา โซอาหารแบงออกเปน 4 ประเภท ดังนี้
1. ผูผลิตเปนจุดเริ่มตนของโซอาหารทุกชนิด 1. โซอาหารแบบผูลา (predator chain) เริ่มจากผูผลิตคือพืช ตามดวย
2. ผูบริโภคลําดับที่ 1 สวนใหญเปนผูบริโภคพืช ผูบริโภคลําดับตางๆ การถายทอดพลังงานจึงประกอบดวยผูลา (predator)
3. ระบบนิเวศที่มีสายใยอาหารคอนขางซับซอน ระบบนิเวศ และเหยื่อ (prey)
นั้นมีความสมดุล 2. โซอาหารแบบปรสิต (parasitic chain) เริ่มจากผูถูกอาศัย (host)
4. จุลินทรียมีบทบาทเปนผูยอยสลายสารอินทรีย แตไมมีสวน ถายทอดพลังงานไปยังปรสิต (parasite) และตอไปยังปรสิตลําดับที่สูงกวา
ในการถายทอดพลังงานในโซอาหาร (hyperparasite) โดยภายในโซอาหารนี้จะใชการเกาะกินซึ่งกันและกัน
( วิ เ คราะห คํ า ตอบ ผู  ผ ลิ ต ไม ไ ด เ ป น จุ ด เริ่ ม ต น ของโซ อ าหาร 3. โซอาหารแบบเศษอินทรีย (detritus chain) เริม่ จากซากพืชหรือซากสัตว
ทุกชนิด เชน โซอาหารแบบปรสิตเริ่มจากผูถูกอาศัย โซอาหาร (detritus) หรือสิ่งที่ไมมีชีวิตถูกผูบริโภคซากสิ่งมีชีวิตกัดกิน และผูบริโภคซาก
แบบเศษอินทรียเริ่มจากซากพืชหรือซากสัตว ดังนั้น ตอบขอ 1.) สิ่งมีชีวิตอาจถูกกินตอโดยผูบริโภคสัตวอีกทอด
4. โซอาหารแบบผสม (mixed chain) เปนการถายทอดพลังงานระหวาง
สิ่งมีชีวิตหลายๆ ประเภท อาจมีทั้งแบบผูลาและปรสิต เชน จากผูผลิตไปยัง
ผูบริโภคพืช ไปยังปรสิต

T25
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
4. นักเรียนแบงกลุมออกเปน 3 กลุม แลวรวม ลําดับการกินของสิง่ มีชวี ติ จากภาพที่ 1.34 สามารถเขียนเปนแผนภาพโซอาหาร เริม่ จากผูผ ลิตอยูท างดานซาย
และตามดวยผูบริโภคลําดับที่ 1 ผูบริโภคลําดับที่ 2 ผูบริโภคลําดับที่ 3 ตอไปเรื่อย ๆ จนถึงผูบริโภคลําดับสุดทาย
กันศึกษาขอมูลเกี่ยวกับเรื่อง โซอาหารและ
และเขียนลูกศรแทนการถายทอดพลังงาน โดยใหหัวลูกศรชี้ไปทางผูลาและปลายลูกศรหันไปทางเหยื่อ ดังภาพ
การเขียนแผนภาพโซอาหาร จากหนังสือเรียน
รายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3
เลม 1 หนวยการเรียนรูท ี่ 1 เรือ่ ง การถายทอด
พลังงานในระบบนิเวศ ครูกาํ หนดและเขียนชือ่
สิง่ มีชวี ติ บนกระดานใหนกั เรียนแตละกลุม ดังนี้
- กลุม ที่ 1 : มนุษย แซมอน แพลงกตอน
สัตว ปลาฉลาม แพลงกตอนพืช ผูผลิต ผูบริโภคลําดับที่ 1 ผูบริโภคลําดับที่ 2 ผูบริโภคลําดับที่ 3
- กลุม ที่ 2 : กะหลํ่าปลี เหยี่ยว หนอน งู ผูบริโภคพืช ผูบริโภคสัตว ผูบริโภคซากสัตว
นกกระจอก ภาพที่ 1.35 ตัวอยางโซอาหาร
- กลุม ที่ 3 : แมว สิงโต หนู สุนัขจิ้งจอก ที่มา : คลังภาพ อจท.
ขาวโพด พลังงานทีไ่ ดจากการกินตอกันเปนทอด ๆ จะถายทอดจากผูผ ลิตไปยังผูบ ริโภค ตามลําดับ แตปริมาณพลังงาน
5. ใหนักเรียนแตละกลุมวิเคราะหสิ่งมีชีวิตที่ครู ที่ถายทอดไปตามโซอาหารจะลดลงไปทีละขั้นตามลําดับของผูบริโภคที่สูงขึ้น เนื่องจากผูบริโภคไมสามารถกินพืช
กําหนดให และรวมกันเขียนแผนภาพโซอาหาร หรือสัตวไดหมดทุกสวน มีบางสวนที่ไมสามารถกินได เชน กระดูก เนื้อไมแข็ง และผูบริโภคไมสามารถยอยอาหาร
ลงในกระดาษ A4 วาดภาพระบายสีสิ่งมีชีวิต ทุกชนิดที่กินได เชน มนุษยไมมีเอนไซมที่ใชยอยเซลลูโลสในพืชใบเขียว จึงถูกขับออกมาเปนกากทางรูทวารหนัก
พรอมตกแตงใหสวยงาม รวมไปถึงอาหารที่ผูบริโภคกินเขาไป บางสวนถูกเปลี่ยนเปนพลังงานที่ใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน แตบางสวน
ถูกถายโอนสูสิ่งแวดลอมในรูปของพลังงานความรอน
อธิบายความรู
Science
6. ใหตวั แทนกลุม ของแตละกลุม นําเสนอโซอาหาร
Focus พีระมิดพลังงาน
ของตนเอง โดยครูประเมินความถูกตองของ การถายทอดพลังงานทางโซอาหาร ผูบริโภค
โซ อ าหารและอธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม ให นั ก เรี ย น ของสิ่งมีชีวิตเขียนไดเปนพีระมิดพลังงาน ลําดับที่ 3 10 จูล
เกิดความเขาใจทีต่ รงกัน ที่แสดงถึงอัตราการถายทอดพลังงานซึ่ง ผูบริโภค
เปนไปตามกฎสิบเปอรเซ็นต (law of ten ลําดับที่ 2 100 จูล
percent) กลาวคือ ผูบ ริโภคจะไดรบั พลังงาน
เพี ย ง 10% จากอาหารที่ บ ริ โ ภค และ ผูบริโภค 1,000 จูล
ลักษณะของพีระมิดพลังงานจะเปนหัวตั้ง ลําดับที่ 1
เสมอ และใชหนวยเปนพลังงานตอหนวย
พื้นที่ ผูผลิต 10,000 จูล

ภาพที่ 1.36 พีระมิดพลังงาน


ที่มา : คลังภาพ อจท. พลังงานแสง 1,000,000 จูล

24

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจากภาพยนตรสารคดีส้ัน Twig เรื่อง หวงโซ โซอาหารหนึ่งประกอบดวยนก งู ขาว หนอน และแบคทีเรีย
อาหารคืออะไร ? (https://www.twig-aksorn.com/film/what-is-a-food- สิ่งมีชีวิตในขอใดมีโอกาสไดรับการถายทอดพลังงานมากที่สุด
chain-8092/) 1. งู
2. นก
3. หนอน
4. แบคทีเรีย
(วิเคราะหคําตอบ ปริมาณพลังงานที่ถายทอดไปตามโซอาหาร
จะลดลงที ล ะขั้ น ตามลํ า ดั บ ของผู  บ ริ โ ภคลํ า ดั บ ที่ สู ง ขึ้ น ซึ่ ง โซ
อาหารในระบบนิเวศนี้ หนอนเปนผูบริโภคพืช จึงจัดเปนผูบริโภค
ลําดับที่ 1 ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T26
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
นอกจากพลังงานทีส่ ะสมอยูใ่ นรูปของอาหารแล้ว สารพิษทีป่ นเปอ นสูส่ งิ่ แวดล้อมซึง่ มาจากโรงงานอุตสาหกรรม 7. ครูสุมเรียกนักเรียน 1-2 คน ออกมาอธิบาย
หรือการพ่นยาฆ่าแมลงของเกษตรกรจะถ่ายทอดผ่านล�าดับการกินต่อกันเป็นทอด ๆ ด้วยเช่นกัน โดยปริมาณสารพิษ
เกี่ยวกับสายใยอาหาร
ทีส่ ะสมในโซ่อาหารจะเพิม่ ขึน้ ไปทีละขัน้ ตามล�าดับของผูบ้ ริโภคทีส่ งู ขึน้ และจะสะสมมากทีส่ ดุ ในผูบ้ ริโภคล�าดับสุดท้าย
ซึ่งส่วนใหญ่ คือ มนุษย์ 8. ครู อ ธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม ให นั ก เรี ย นเข า ใจว า ใน
ธรรมชาติสงิ่ มีชวี ติ ไมไดกนิ สิง่ มีชวี ติ เพียงชนิด
เดียว แตสามารถกินสิ่งมีชีิวิตอื่นไดมากกวา
1 ชนิด ทําใหเกิดการกินที่ซับซอน หรือมี
โซอาหารมากกวาหลายโซอาหาร เรียกวา
สายใยอาหาร
9. ครูตงั้ ประเด็นถามคําถามกระตุน ความคิดของ
นักเรียนวา หากสิ่งมีชีวิตที่ครูกําหนดใหกับ
แตละกลุม อยูใ นระบบนิเวศเดียวกันจะเกิดการ
กินที่ซับซอน ใหนักเรียนเขียนแผนภาพสายใย
อาหารของระบบนิเวศนี้

ผู้บริโภคลําดับที่ 4
มาก น้อย

ผู้บริโภคลําดับที่ 3

ผู้บริโภคลําดับที่ 2

ผู้บริโภคลําดับที่ 1
น้อย มาก

ปริมาณสารพิษ ปริมาณพลังงาน
ผู้ผลิต

ภาพที่ 1.37 เปรียบเทียบการถ่ายทอดปริมาณสารพิษและพลังงานในโซ่อาหาร


ที่มา : คลังภาพ อจท.
ระบบนิเวศ 25

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


งู
หากสายใยอาหารนี้ปนเปอน ให นั ก เรี ย นศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม จาก
สารพิษ สิ่งมีชีวิตใดจะมีสารพิษ ภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง การ
คน สะสมในรางกายมากที่สุด สะสมสารพิษในหวงโซอาหาร (https://
กบ 1. งู www.twigaksorn.com/film/bioac-
กวาง 2. คน cumulation-in-food-chains-8095/)
เสือ 3. เสือ
ตั๊กแตน 4. กวาง
พืช ให นั ก เรี ย นศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม จาก
ภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง ปรอท
(วิเคราะหคาํ ตอบ ปริมาณสารพิษทีถ่ า ยทอดไปตามโซอาหารหรือ
ในหวงโซอาหาร (https://www.twig-
สายใยอาหารจะเพิ่มขึ้นทีละขั้นตามลําดับของผูบริโภคลําดับที่สูง
aksorn.com/film/factpack-mercury
ขึน้ และจะสะสมอยูใ นรางกายของผูบ ริโภคลําดับสุดทายมากทีส่ ดุ
-in-food-chains-8198/)
ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T27
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
10. นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น อภิ ป รายเพื่ อ ให ไ ด 3.2 สายใยอาหาร
ข อ สรุ ป ว า สายใยอาหารของระบบนิ เ วศ ในธรรมชาติผูลาไมไดกินเหยื่อเพียงชนิดเดียว แตกินมากกวา 1 ชนิด ขณะเดียวกันผูลาอาจตกเปนเหยื่อ
ของผูลาชนิดอื่นอีกหลายชนิด ทําใหเกิดการถายทอดพลังงานผานการกินที่ซับซอนมากขึ้น เรียกความสัมพันธนี้วา
สามารถเขียนไดจากการนําโซอาหารของ สายใยอาหาร (food web)
แตละกลุมมาเชื่อมโยงกัน ดังนี้
- โซอาหารกลุมที่ 1 : แพลงก ต อนพื ช 1. จากภาพที่ 1.38 สิ่งมีชีวิตเริ่มตนของสายใยอาหารนี้เปน
แพลงก ต อนสั ต ว ผูผลิต
สิ่งมีชีวิตพวกใด
แซมอน ปลาฉลาม ผูบริโภคลําดับที่ 1 2. จากภาพที่ 1.38 ถาไมมีสิงโตในระบบนิเวศ
จะสงผลกระทบตอกระตายหรือไม อยางไร
มนุษย ผูบริโภคลําดับที่ 2
3. จากภาพที่ 1.38 ถายีราฟลดจํานวนลงจะสงผล
ผูบริโภคลําดับที่ 3
- โซอาหารกลุมที่ 2 : กระหลํ่าปลี หนอน ผูบริโภคซากสัตว
กระทบตอสุนัขจิ้งจอกหรือไม เพราะเหตุใด

นกกระจอก งู ผูยอยสลาย
เหยี่ยว
- โซอาหารกลุมที่ 3 : ขาวโพด หนู
แมว สุนัขจิ้งจอก
สิงโต
แผนภาพสายใยอาหาร

มนุษย เหยี่ยว สิงโต

ปลาฉลาม งู สุนัขจิ้งจอก

แซมอน นกกระจอก แมว

แพลงกตอนสัตว หนอน หนู

แพลงกตอนพืช กะหลํ่าปลี ขาวโพด


แนวตอบ คําถาม
1. พืช
2. ไม ส  ง ผลกระทบ เนื่ อ งจากมี ผู  บ ริ โ ภคอื่ น กิ น
ภาพที่ 1.38 ตัวอยางสายใยอาหาร
กระตายเปนอาหาร เชน งู สุนัขจิ้งจอก ที่มา : คลังภาพ อจท.
3. ไม ส  ง ผลกระทบ เนื่ อ งจากสุ นั ข จิ้ ง จอกกิ น
สิง่ มีชวี ติ อืน่ นอกเหนือจากยีราฟได เชน กระตาย 26 สายใยอาหาร
กวาง

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจาก QR Code เรื่อง สายใยอาหาร พิจารณาสายใยอาหาร แลวตอบคําถามตอไปนี้
กระตาย
หญา ตั๊กแตน กบ งู
หนอน นก
ถ า จํ า นวนประชากรกบลดลงจะส ง ผลต อ การเปลี่ ย นแปลง
จํานวนประชากรสิ่งมีชีวิตชนิดใดมากที่สุด
1. งู 2. หนอน
3. กระตาย 4. ตั๊กแตน
(วิเคราะหคําตอบ จํานวนประชากรกบที่ลดลงจะทําใหจํานวน
ประชากรตั๊ ก แตนเพิ่ ม ขึ้ น แต ไ ม ส  ง ผลต อ จํ า นวนประชากรงู
เนื่องจากงูกินสิ่งมีชีวิตอื่นเปนอาหารได และไมเกี่ยวของใดๆ
กับจํานวนประชากรกระตายและหนอน ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T28
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
เมื่อจํานวนสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศเกิดการเปลี่ยนแปลง เชน ถาสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งมีจํานวนลดลงหรือ 11. ครูตงั้ ประเด็นถามคําถามใหนกั เรียนคิดตอไป
เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว จะสงผลกระทบโดยตรงตอผูบริโภคที่กินสิ่งมีชีวิตชนิดนั้นหรือถูกสิ่งมีชีวิตชนิดนั้นกิน และ
วา ปริมาณพลังงานทีถ่ า ยทอดจากผูผ ลิตไปยัง
อาจสงผลกระทบทางออมตอสิ่งมีชีวิตอื่นในโซอาหารหรือสายใยอาหาร ในกรณีที่ผูบริโภคสามารถกินสิ่งมีชีวิตอื่น
ไดหลายชนิดอาจไมสงผลกระทบตอผูบริโภคมากนัก ตัวอยางเชน ภาพที่ 1.38 จะพบวา สิงโตเปนผูบริโภคที่กิน ผูบริโภคจะมากขึ้นหรือนอยลง
สิง่ มีชวี ติ อืน่ ไดหลายชนิด ถายีราฟมีจาํ นวนลดลง สิงโตสามารถกินกระตาย กวาง หรือสุนขั จิง้ จอกแทนได แตในกรณี 12. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 6 คน ศึกษา
ที่ผูบริโภคกินอาหารไดนอยชนิดหรือกินเฉพาะอยาง หากสิ่งมีชีวิตที่เปนอาหารมีจํานวนลดลง จะสงผลกระทบ กิจกรรม จําลองการถายทอดพลังงานใน
ตอผูบริโภคชนิดนั้นถึงขั้นสูญพันธุได เชน ถาพืชสูญพันธุจะสงผลกระทบโดยตรงตอผูบริโภคพืช สายใยอาหาร จากหนั ง สื อ เรี ย นรายวิ ช า
พื้ น ฐานวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ม.3
กิจกรรม เลม 1 หนวยการเรียนรูท ี่ 1 เรือ่ ง การถายทอด
จําลองการถายทอดพลังงานในสายใยอาหาร พลังงานในระบบนิเวศ
13. ให ส มาชิ ก แต ล ะคนภายในกลุ  ม มี บ ทบาท
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
จุดประสงค - การสังเกต หนาที่ของตนเอง ดังนี้
- การจําแนกประเภท
อธิบายการถายทอดพลังงานในสายใยอาหารได - การจัดกระทําและสื่อความหมาย - สมาชิกคนที่ 1-2 ทําหนาที่เตรียมวัสดุ
ขอมูล
- การสรางแบบจําลอง อุปกรณที่ใชในการปฏิบัติกิจกรรม
วัสดุอปุ กรณ จิตวิทยาศาสตร
- ความสนใจใฝรู
- สมาชิกคนที่ 3-4 ทําหนาที่อานวิธีปฏิบัติ
1. เทปใส 4. กระดาษ A4 สีขาว - ความรับผิดชอบ กิจกรรมและอธิบายใหสมาชิกในกลุมฟง
2. กรรไกร 5. กระดาษสี เชน สีแดง สีนํ้าเงิน สีเหลือง สีสม - การทํางานรวมกับผูอื่นได
3. สมุดบันทึก 6. อุปกรณเครื่องเขียน เชน ดินสอ ยางลบ ไมบรรทัด อยางสรางสรรค - สมาชิ ก คนที่ 5-6 ทํ า หน า ที่ บั น ทึ ก ผล
การปฏิบัติกิจกรรมลงในสมุดประจําตัว
ดานที่ 4
วิธปี ฏิบตั ิ นักเรียน
1. ใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 5-6 คน แลวรวมกัน 14. นักเรียนแตละกลุมรวมกันปฏิบัติกิจกรรม
สํารวจสิ่งมีชีวิตในโรงเรียน ตามขั้ น ตอน เพื่ อ สร า งแบบจํ า ลองการ
ประ
รอย

2. เขียนแผนผังสายใยอาหารทีแ่ สดงความสัมพันธ ถายทอดพลังงานในสายใยอาหาร


ตาม
ผูบริโภคลําดับที่ 2

ตัด
ผูบริโภคลําดับที่ 1

ของสิ่งมีชีวิตในโรงเรียนลงในสมุดบันทึก
15. ใหนักเรียนแตละกลุมออกมานําเสนอผลการ
ลําดับที่ 3
ผูบริโภค
ผูผลิต

3. ออกแบบและสรางแบบจําลองการถายทอด ดานที่ 1 ดานที่ 3


ปฏิบัติกิจกรรมหนาชั้นเรียน ในระหวางที่
พลังงานในสายใยอาหาร ดังภาพที่ 1.39 แมว งู
นั ก เรี ย นนํ า เสนอ ครู ค อยให ข  อ เสนอแนะ
4. นําเสนอและอธิบายแบบจําลองการถายทอด นก กบ
พลังงานในสายใยอาหารของสิ่งมีชีวิตใน เพิ่มเติม
หนอน แมลง
โรงเรียน 16. ครูถามคําถามทายกิจกรรม
ตนไม หญา
ดานที่ 2
ภาพที่ 1.39 ตัวอยางวิธีสรางแบบจําลองการถายทอดพลังงานในสายใยอาหาร
ที่มา : คลังภาพ อจท.

ระบบนิเวศ 27

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET ตารางบันทึก กิจกรรม

ในระบบนิเวศพบสิง่ มีชวี ติ ไดแก หนอน นก หญา งู และเหยีย่ ว ประเภทของสิ่งมีชีวิต


สิ่งมีชีวิต
จะเขียนความสัมพันธโซอาหารไดอยางไร ที่สํารวจได ผูบริโภค ผูบริโภค ผูบริโภค
ผูผลิต
1. หญา นก หนอน งู เหยี่ยว ลําดับที่ 1 ลําดับที่ 2 ลําดับที่ 3
2. หญา หนอน นก งู เหยี่ยว
3. หญา งู เหยี่ยว นก หนอน

4. หญา เหยี่ยว งู หนอน นก รสํารว
ย ก
 ู บ
ั ผลกา
(วิเคราะหคาํ ตอบ โซอาหารเริม่ ตนจากหญาเปนผูผ ลิต หนอนเปน ขึ้นอ
ผูบริโภคพืช จัดเปนผูบริโภคลําดับที่ 1 นกเปนผูบริโภคทั้งพืช
และสัตว จัดเปนผูบริโภคลําดับที่ 2 งูเปนผูบริโภคสัตว จัดเปน
ผูบริโภคลําดับที่ 3 และเหยี่ยวเปนผูบริโภคลําดับสุดทาย ดังนั้น
ตอบขอ 2.)

T29
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
17. ให นั ก เรี ย นสื บ ค น ข อ มู ล เพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ
ประเภทของโซอาหาร แลววิเคราะหภาพ คําถามทายกิจกรรม
ที่ 1.38 ในหนั ง สื อ เรี ย นรายวิ ช าพื้ น ฐาน 1. สิ่งมีชีวิตเริ่มตนของสายใยอาหารเปนสิ่งมีชีวิตชนิดใด
2. ผูบ ริโภคลําดับที่ 1 มักเปนสิ่งมีชีวิตประเภทใด
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 และ 3. ปริมาณพลังงานในสายใยอาหารที่ถูกถายทอดไปตามลําดับขั้นเปนอยางไร
เขียนโซอาหารพรอมระบุประเภทโซอาหาร
ลงในกระดาษ A4 อภิปรายผลกิจกรรม

ขัน้ สรุป จากกิจกรรม จะพบวา ในธรรมชาติสงิ่ มีชวี ติ ชนิดหนึง่ สามารถกินสิง่ มีชวี ติ ไดหลายชนิด การถายทอดพลังงานจึงมีความซับซอน
ในรูปแบบสายใยอาหาร โดยมีพชื เปนผูร เิ ริม่ ของสายใยอาหาร เนือ่ งจากพืชเปนผูผ ลิตทีส่ ามารถสรางอาหารเองไดดว ยกระบวนการ
นั ก เ รี ย น แ ล ะ ค รู ร  ว ม กั น ส รุ ป เ กี่ ย ว กั บ สังเคราะหดวยแสง เมื่อสัตวมากินพืชพลังงานจะถูกถายทอดไปยังผูบริโภคลําดับที่ 1 ซึ่งเปนสิ่งมีชีวิตประเภทผูบริโภคพืช
ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศวา (herbivore) หรือเปนผูบริโภคทั้งพืชและสัตว (omnivore) และพลังงานจะถูกถายทอดตอไปยังผูบริโภคลําดับสูงขึ้น แตปริมาณ
พลังงานที่ถูกถายทอดผานการกินจะลดลงตามลําดับขั้นของการบริโภค
ความสั ม พั น ธ ร ะหว า งสิ่ ง มี ชี วิ ต ในระบบนิ เ วศ
ลวนมีรูปแบบความสัมพันธที่แตกตางกัน เชน
ภาวะอิงอาศัย ภาวะพึง่ พากัน ภาวะปรสิต ภาวะการ เมื่อผูผลิตและผูบริโภคตายลงกลายเปนซากสิ่งมีชีวิต จะมีจุลินทรียที่อาศัยอยูในดินหรือนํ้าตามธรรมชาติ
ซึ่งมีบทบาทเปนผูยอยสลายสารอินทรีย ทําหนาที่ยอยสลายซากพืชซากสัตวเหลานี้ใหกลายเปนอนินทรียสารคืนสู
ลาเหยือ่ ภาวะการแกงแยงแขงขัน ภาวะการไดรบั ธรรมชาติ แลวพืชสามารถดูดซึมนําไปใชได ดังนัน้ ในระบบนิเวศจําเปนตองมีกระบวนการถายทอดพลังงานทีเ่ กิดขึน้
ประโยชนรวมกัน พรอมกับการหมุนเวียนสารเปนวัฏจักร ซึ่งแบงออกไดเปน 2 ลักษณะ คือ วัฏจักรของสารที่มีการหมุนเวียนสาร
โดยไมผานบรรยากาศ เชน วัฏจักรฟอสฟอรัส วัฏจักรแคลเซียม และวัฏจักรที่มีการหมุนเวียนสารผานบรรยากาศ
ขัน้ ประเมิน เชน วัฏจักรของนํา้ วัฏจักรไนโตรเจน วัฏจักรคารบอน และในระบบนิเวศหนึง่ ลวนประกอบดวยองคประกอบทีไ่ มมชี วี ติ
ตรวจสอบผล และองคประกอบที่มีชีวิต ซึ่งมีความสัมพันธกันอยางเหมาะสม ระบบนิเวศจึงจะอยูในสภาวะสมดุล (equilibrium)
1. ตรวจแบบฝกหัดรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร
Science
และเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 เรื่อง การถายทอด Focus วัฏจักรคารบอน CO2
พลังงานในระบบนิเวศ วัฏจักรคารบอน (carbon cycle) เปนวัฏจักรที่ประกอบ
2. ตรวจแผนภาพโซอาหาร ไปดวยแกสคารบอนไดออกไซดซึ่งมีความสําคัญตอพืช โดย
3. ตรวจสอบผลการปฏิบัติกิจกรรม พืชนําแกสคารบอนไดออกไซดไปใชในกระบวนการสังเคราะห การเผาไหม
ดวยแสง เพื่อสรางเปนสารประกอบอินทรียเก็บสะสมอยูใน
4. สั ง เกตพฤติ ก รรมการทํ า งานกลุ  ม และจาก สวนตาง ๆ ของพืช เมื่อสิ่งมีชีวิตอื่นกินเขาไป คารบอนจะถูก
การหายใจ
การนําเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรม ถายทอดผานการกินกันเปนลําดับ เมื่อสิ่งมีชีวิตตายลงจะถูก
ผูยอยสลายสารอินทรียยอยสลาย สวนหนึ่งจะสลายไปเปน
แกสคารบอนไดออกไซดสูบรรยากาศ และสวนที่ไมยอยสลาย
จะทับถมกลายเปนพลังงานเชือ้ เพลิง นอกจากนี้ แกสคารบอน-
ซากพืชซากสัตว
ไดออกไซดยังไดจากกระบวนการหายใจของสิ่งมีชีวิตดวย
แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม ภาพที่ 1.40 วัฏจักรคารบอน
ที่มา : คลังภาพ อจท.
1. สิง่ มีชวี ติ ทีส่ รางอาหารเองได เชน พืช
2. ผูบ ริโภคพืช 28
3. ลดลง

แนวทางการวัดและประเมินผล ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูวัดและประเมินผลความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง สายใยอาหาร ไดจาก พิจารณาภาพการหมุนเวียนของวัฏจักรคารบอน
กิจกรรม จําลองการถายทอดพลังงานในสายใยอาหาร โดยศึกษาเกณฑการวัด ก CO2 ในอากาศ ข
และประเมินผลจากแบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรมที่อยูในแผนการจัดการ พืช สัตว ค
เรียนรูประจําหนวยการเรียนรูที่ 1 ผูยอยสลาย
ตาย สารอินทรีย ตาย
แบบประเมินการปฏิบัติกจิ กรรม
ประเด็นที่ประเมิน
4
เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติกิจกรรม

3
ระดับคะแนน
2 1
ก ข และ ค คือกระบวนการใด ตามลําดับ
1. หายใจทั้งหมด
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับ 1. การปฏิบัติ ทากิจกรรมตามขั้นตอน ทากิจกรรมตามขั้นตอน ต้องให้ความช่วยเหลือ ต้องให้ความช่วยเหลือ
ระดับคะแนน กิจกรรม และใช้อุปกรณ์ได้อย่าง และใช้อุปกรณ์ได้อย่าง บ้างในการทากิจกรรม อย่างมากในการทา
ถูกต้อง ถูกต้อง แต่อาจต้อง และการใช้อุปกรณ์ กิจกรรม และการใช้
ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน ได้รับคาแนะนาบ้าง อุปกรณ์
4 3 2 1

2. สังเคราะหดวยแสงทั้งหมด
2. ความ มีความคล่องแคล่ว มีความคล่องแคล่ว ขาดความคล่องแคล่ว ทากิจกรรมเสร็จไม่
1 การปฏิบัติการทากิจกรรม คล่องแคล่ว ในขณะทากิจกรรมโดย ในขณะทากิจกรรมแต่ ในขณะทากิจกรรมจึง ทันเวลา และทา
2 ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัติกิจกรรม ในขณะปฏิบัติ ไม่ต้องได้รับคาชี้แนะ ต้องได้รับคาแนะนาบ้าง ทากิจกรรมเสร็จไม่ อุปกรณ์เสียหาย
3 การบันทึก สรุปและนาเสนอผลการทากิจกรรม กิจกรรม และทากิจกรรมเสร็จ ทันเวลา
และทากิจกรรมเสร็จ
ทันเวลา
รวม

3. หายใจ สังเคราะหดวยแสง และหายใจ


ทันเวลา
3. การบันทึก สรุป บันทึกและสรุปผลการ บันทึกและสรุปผลการ ต้องให้คาแนะนาในการ ต้องให้ความช่วยเหลือ
และนาเสนอผล ทากิจกรรมได้ถูกต้อง ทากิจกรรมได้ถูกต้อง บันทึก สรุป และ อย่างมากในการบันทึก
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
การปฏิบัติ รัดกุม นาเสนอผลการ แต่การนาเสนอผลการ นาเสนอผลการทา สรุป และนาเสนอผล
................./................../.................. กิจกรรม ทากิจกรรมเป็นขั้นตอน ทากิจกรรมยังไม่เป็น กิจกรรม การทากิจกรรม

4. สังเคราะหดวยแสง หายใจ และหายใจ


ชัดเจน ขั้นตอน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน
10-12
ระดับคุณภาพ
ดีมาก
(วิเคราะหคําตอบ พืชตรึง CO2 ใชในการสังเคราะหดวยแสง (ก)
7-9
4-6
0-3
ดี
พอใช้
ปรับปรุง
สัตวหายใจปลอย CO2 (ข) และจุลินทรียยอยสลายซากสิ่งมีชีวิต
และหายใจปลอย CO2 (ค) ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T30
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (5Es Instructional Model)


กระตุน ความสนใจ
โดยทั่วไประบบนิเวศจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ทําใหปริมาณ สัดสวน และการกระจายของผูผลิต 1. ครูเปดขาวเกี่ยวกับไฟปาที่เกิดขึ้นกับประเทศ
ผูบริโภค และผูยอยสลายสารอินทรียเปลี่ยนแปลงไปเล็กนอย ระบบนิเวศก็สามารถปรับสภาพใหเขาสูสภาวะสมดุล
ออสเตรเลีย เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2562
ไดใหม แตถาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นสงผลกระทบที่
รุนแรงมาก เชน การเกิดไฟปาเปนบริเวณกวาง ความสมดุล แล ว ร ว มกั น อภิ ป รายถึ ง ความเสี ย หายและ
ของระบบนิเวศนั้นจะถูกทําลายลง ทําใหระบบนิเวศ ผลกระทบที่เกิดขึ้น
สูญเสียความสมดุล ดังนั้น เราจึงควรตระหนักถึงความ 2. ใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นอยาง
สัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศ อิสระวา เหตุการณไฟปาที่เกิดขึ้นในประเทศ
โดยไมทาํ ลายระบบนิเวศ เชน ไมทาํ ลายปา ซึง่ เปนทีอ่ ยูอ าศัย ออสเตรเลียสงผลกระทบตอสมดุลของระบบ
ของสิง่ มีชวี ติ ไมทาํ ลายสายใยอาหารดวยการลาสัตว รวมทัง้
ควบคุม ปองกัน และกําจัดหรือแกไขปญหามลพิษ นิเวศอยางไร
ในสิง่ แวดลอมเพือ่ ไมใหเกิดการสะสมสารพิษในโซอาหาร 3. ครูเกริ่นนําวา นอกเหนือจากไฟปาแลว ยังมี
ภาพที่ 1.41 สภาพพื้นที่หลังเกิดไฟปา
ที่มา : คลังภาพ อจท.
สาเหตุอนื่ ทีท่ าํ ใหระบบนิเวศเสียสมดุล โดยครู
เตรียมบัตรภาพจํานวน 5 ใบ ไดแก การสราง
Application เขือ่ น คนลาสัตว ควันจากโรงงานอุตสาหกรรม
Activity นํ้ า เสี ย ที่ ถู ก ปล อ ยจากโรงงานอุ ต สาหกรรม
ปะการังเปนทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญของบริเวณชายฝงทะเล ซึ่งเปนที่อยูอาศัยของพืชและสัตว และนํ้ามันรั่วไหลกลางทะเล มาใหนักเรียน
จํานวนมาก เปนแหลงอาหารเพือ่ การเจริญเติบโต เปนแหลงเพาะพันธุ วางไข และหลบภัย อีกทัง้ ปะการังมีสว น ศึกษา
ชวยรักษาสภาพสมดุลธรรมชาติของบริเวณชายฝง ปจจุบนั แนวปะการังมีความเสือ่ มโทรมลงมาก สาเหตุสว นใหญ
มาจากการกระทําของมนุษยและภัยทางธรรมชาติ สงผลใหสิ่งมีชีวิตในทะเลบางชนิดตายลงและเริ่มสูญพันธุ
ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน แลวรวมกันระดมความคิดออกแบบกิจกรรมฟนฟูสภาพแวดลอม
ทางทะเล โดยตระหนักถึงความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม จากนั้นนําเสนอแนวทางการดูแลรักษา
ระบบนิเวศตามแนวชายฝงทะเล

Topic Questions
คําชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
1. สิ่งมีชีวิตที่เปนผูริเริ่มในโซอาหารเปนสิ่งมีชีวิตประเภทใด
2. ผูบริโภคลําดับที่ 1 ในโซอาหารเปนสิ่งมีชีวิตประเภทใด
3. จงเรียงลําดับปริมาณพลังงานในสิง่ มีชวี ติ ในโซอาหารจากมากไปนอย โดยเริม่ จากพืช หนอน ไก คน
4. จงเรียงลําดับปริมาณสารพิษที่สะสมในสิ่งมีชีวิตในโซอาหารจากนอยไปมาก โดยเริ่มจากแพลงกตอนพืช
แพลงกตอนสัตว ปลาเล็ก ปลาใหญ คน
5. ระบบนิเวศที่อยูในสภาวะสมดุลเปนอยางไร

ระบบนิเวศ 29

แนวตอบ Topic Questions เกร็ดแนะครู


1. พืช
ครูอาจใหนกั เรียนเปรียบเทียบความแตกตางระหวางการหมุนเวียนสารและ
2. ผูบริโภคพืช
การถายทอดพลังงาน โดยครูอธิบายเพิม่ เติมใหนกั เรียนฟงวา การหมุนเวียนสาร
3. พืช > หนอน > ไก > คน
เปนวัฏจักร คือ มีการเปลี่ยนแปลงของสารในระบบนิเวศหมุนเวียนเปนวงจร
4. คน > ปลาใหญ > ปลาเล็ก > แพลงกตอนสัตว > แพลงกตอนพืช
สวนการถายทอดพลังงานผานการกินนั้นไมไดหมุนเวียนเปนวัฏจักร และ
5. ระบบนิเวศที่ประกอบดวยองคประกอบที่ไมมีชีวิตและองคประกอบ
แต ล ะลํ า ดั บ ขั้ น มี พ ลั ง งานบางส ว นสู ญ เสี ย ในรู ป พลั ง งานความร อ นออกสู 
ที่มีชีวิต ซึ่งมีความสัมพันธกันอยางเหมาะสม
สิ่งแวดลอม

T31
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
F u n
1. ใหนกั เรียนแบงกลุม ออกเปน 5 กลุม ตามความ
สมัครใจของนักเรียน Science Activity สวนขวดแก้วจ�าลอง
2. ให นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ส ง ตั ว แทนออกมา
รับบัตรภาพ โดยกลุมที่ 1 2 3 4 และ 5 วัสดุอปุ กรณ
1. ถ่าน
รับบัตรภาพที่ 1 2 3 4 และ 5 ตามลําดับ 2. มอส
3. ใหนกั เรียนแตละกลุม สํารวจบัตรภาพ พรอมทัง้ 3. ช้อน
อธิบายวา การกระทําทีเ่ กิดขึน้ ทําใหระบบนิเวศ 4. หินสี
5. กรวด
เสียสมดุลอยางไร 6. ดินร่วน
4. นักเรียนแตละกลุม รวมกันศึกษาคนควาขอมูล 7. อุปกรณ์ตกแต่ง
จากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร 8. ตุกตาสัตว์ขนาดเล็ก
9. ต้นไม้ขนาดเล็กหลายสายพันธุ์
และเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 หนวยการเรียนรูที่ ภาพที่ 1.42 สวนขวดแก้วจ�าลอง
10. ขวดแก้วหรือขวดโหลรูปทรงต่าง ๆ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
1 ระบบนิเวศ หรือแหลงการเรียนรูอื่นๆ เชน
วิธที าํ
อินเทอรเน็ต และออกแบบกิจกรรมทีช่ ว ยรักษา
1. น� า ขวดแก้ ว มาท� า ความสะอาด 3. ใส่ดินลงในขวดแก้วให้สูงประมาณ
สมดุลของระบบนิเวศจากบัตรภาพ และเทหินลงในขวดแก้วให้สูงขึ้นมา 2-3 นิว้ ขึน้ อยูก่ บั ขนาดของสวนขวด
5. ใหสมาชิกภายในกลุมรวมกันอภิปรายแสดง จากก้นขวดประมาณหนึ่ง และความยาวของรากต้นไม้ ค่อย ๆ
ความคิดเห็น จากนั้นใหแตละกลุมรวบรวม กดดินให้แน่น เพื่อไล่ลมและปรับ
หน้าดินให้เท่ากัน
ขอมูลทีไ่ ดจากการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
ลงในกระดาษ A4
2. ผสมกรวดเข้ากับถ่านขนาด 1 ก�ามือ 4. ขุดหลุมเล็ก ๆ และใส่ต้นไม้ลงไปใน
แล้วเทลงในขวดแก้วในข้อ 1. จากนัน้ หลุมที่ขุดไว้ แล้วตกแต่งด้วยตุกตา
ปูมอสให้ทั่ว สัตว์ขนาดเล็ก และหินสี เพื่อให้เกิด
ความสวยงาม

ภาพที่ 1.43 วิธีท�าสวนขวดแก้วจ�าลอง


ที่มา : คลังภาพ อจท.
หลักการทางวิทยาศาสตร
สวนขวดแก้วจ�าลอง คือ การจ�าลองการอยูร่ ว่ มกันเป็นระบบนิเวศของต้นไม้ขนาดเล็กหลายสายพันธุใ์ นบริเวณหนึง่ โดยต้นไม้
แต่ละชนิดต้องการดิน ความชื้น แสง น�้า อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต โดยมอสจะท�าหน้าที่เสมือนเป็นฟองน�้า
ช่วยดูดซับน�้าส่วนเกิน ท�าให้รากไม้ไม่จมน�้า จะเห็นว่า องค์ประกอบของระบบนิเวศประกอบด้วยองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิตและ
องค์ประกอบที่มีชีวิต ซึ่งองค์ประกอบที่มีชีวิตในระบบนิเวศจะมีปฏิสัมพันธ์กัน และมีปฏิสัมพันธ์กับองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต
โดยองค์ประกอบดังกล่าวต้องมีความสัมพันธ์กันอย่างเหมาะสม ระบบนิเวศจึงจะอยู่ในสภาวะสมดุลและอยู่รอดต่อไปได้

30

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


พิจารณาสายใยอาหารที่กําหนดให
กุง นก แมลง ไก
แพลงกตอนพืช ปลาเล็ก ปลาใหญ คน พืช เหยี่ยว
หมึก หนอน นก
แผนภาพ ก. แผนภาพ ข.
ขอใดถูกตอง
1. แผนภาพ ก. มีจํานวนโซอาหารเทากับแผนภาพ ข.
2. แผนภาพ ก. มีจํานวนโซอาหารนอยกวาแผนภาพ ข. จํานวน 1 โซอาหาร
3. แผนภาพ ก. มีจํานวนโซอาหารมากกวาแผนภาพ ข. จํานวน 1 โซอาหาร
4. แผนภาพ ก. มีจํานวนโซอาหารมากกวาแผนภาพ ข. จํานวน 2 โซอาหาร
(วิเคราะหคําตอบ สายใยอาหารในแผนภาพ ก. และแผนภาพ ข. ประกอบดวยโซอาหารจํานวน 6 โซอาหาร
ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T32
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
Science in Real Life 6. ให นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ออกมานํ า เสนอ
จุลชีวนิเวศในรางกายมนุษย ผลกระทบที่ มี ต  อ ระบบนิ เ วศและแนวทาง
การอนุรกั ษระบบนิเวศใหสมดุลหนาชัน้ เรียน
ในร า งกายมนุ ษ ย มี จุ ล ชี พ หลายสายพั น ธุ  อ าศั ย ในระหว า งที่ นั ก เรี ย นนํ า เสนอ ครู ค อยให
อยูร วมกันเปนระบบนิเวศตามอวัยวะตาง ๆ เชน ผิวหนัง
ขอเสนอแนะเพิ่มเติม
เหงื อ ก ฟ น รวมไปถึ ง ทางเดิ น อาหาร ตั้ ง แต ป าก
หลอดอาหาร ลําไสเล็ก ลําไสใหญ ดังนั้น รางกายมนุษย 7. ใหนักเรียนและครูรวมกันอภิปรายผลจาก
จึ ง มี แ บคที เ รี ย และจุ ล ชี พ หลายชนิ ด อยู  ร วมกั น เป น การนําเสนอผลกระทบทีม่ ตี อ ระบบนิเวศและ
จุลชีวนิเวศ (microbiome) โดยรางกายเริ่มสะสมจุลชีพ แนวทางการอนุรักษระบบนิเวศใหสมดุล
เหลานี้ตั้งแตแรกเกิด และจะคอย ๆ เพิ่มจํานวนและ 8. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนซักถามเนื้อหาเกี่ยว
เปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแวดลอม กับเรื่อง สมดุลระบบนิเวศ และใหความรู
ปจจุบันเทคโนโลยีมีความกาวหนามากขึ้น ทําให ภาพที่ 1.44 นักวิทยาศาสตรเลีย้ งเชือ้ แบคทีเรียเพือ่ นํามาศึกษาและวิจยั
เพิ่มเติมจากคําถามของนักเรียน โดยครูใช
นักวิทยาศาสตร ท ราบว า ร า งกายมนุ ษ ย ม ี แ บคที เ รี ย ที่มา : คลังภาพ อจท.
1 PowerPoint ในการอธิบายเพิ่มเติม
ประจําถิ่นอาศัยอยู ไมกอใหเกิดโรค สวนใหญจะมีความสัมพันธกับมนุษยแบบการอยูรวมกันอยางเกื้อกูลกัน
แตเมื่อใดที่ระบบนิเวศของจุลชีพบนรางกายถูกทําลาย จะทําใหแบคทีเรียกอโรคมีจํานวนมากกวา สงผลใหรางกาย 9. ใหนักเรียนตรวจสอบความเขาใจของตนเอง
ติดเชื้อและเปนโรคได จากกรอบ Self Check จากหนังสือเรียน
รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ม.3 เลม 1 หนวยการเรียนรูที่ 1 ระบบนิเวศ
แบคทีเรียในชองปาก โดยบันทึกลงในสมุดประจําตัวนักเรียน
เชน Streptococcus salivarius 10. ให นั ก เรี ย นตอบคํ า ถาม Unit Questions
เรื่อง ระบบนิเวศ จากหนังสือเรียนรายวิชา
แบคทีเรียบนผิวหนัง พื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม
เชน Staphylococcus epidermidis 1 หนวยการเรียนรูที่ 1 ระบบนิเวศ ลงใน
สมุดประจําตัวนักเรียน
แบคทีเรียในทางเดินอาหาร 11. ให นั ก เรี ย นทํ า แบบฝ ก หั ด รายวิ ช าพื้ น ฐาน
เชน Escherichia coli วิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ม.3 เล ม 1
หนวยการเรียนรูที่ 1 ระบบนิเวศ
แบคทีเรียบริเวณทางเดินปสสาวะ 12. ใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน หนวย
เชน Corynebacterium aurimucosum การเรียนรูที่ 1 ระบบนิเวศ

ภาพที่ 1.45 แบคทีเรียหลายชนิดอาศัยอยูรวมกันตามอวัยวะตาง ๆ


ที่มา : คลังภาพ อจท.

ระบบนิเวศ 31

กิจกรรม สรางเสริม เกร็ดแนะครู


ใหนักเรียนสืบคนขอมูล เรื่อง พีระมิดการถายทอดพลังงาน ครูอาจใหความรูเพิ่มเติมวา โรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เชน อหิวาตกโรค
รวบรวมขอมูล แลวสรุปลงในกระดาษ A4 ตกแตงใหสวยงาม และ โรคปอดบวม วัณโรค โรคคอตีบ โรคฉี่หนู โรคบาดทะยัก โรคไอกรน โรคซิฟลิส
นําเสนอหนาชั้นเรียน โรคไขรากสาดนอย โรคกาฬโรค

นักเรียนควรรู
กิจกรรม ทาทาย 1 แบคทีเรียประจําถิ่น คือ จุลินทรียที่พบตามสวนตางๆ ของรางกาย เชน
ผิวหนัง ชองปาก กระเพาะอาหาร ลําไสเล็ก ลําไสใหญ อวัยวะเพศ แตจะ
ใหนกั เรียนเขียนสายใยอาหารจากอาหารทีน่ กั เรียนรับประทาน
ไมพบในระบบเลือดและระบบนํ้าเหลือง จุลินทรียประจําถิ่นอาจมีความสัมพันธ
1 มื้ อ โดยเขี ย นเป น โซ อ าหาร และนํ า แต ล ะโซ อ าหารมา
กั บ มนุ ษ ย แ บบภาวะอิ ง อาศั ย หรื อ แบบภาวะพึ่ ง พากั น ก็ ไ ด แต ใ นบางคนที่
เชื่อมตอกันเปนสายใยอาหารลงในกระดาษ A4 พรอมนําเสนอ
มีภูมิคุมกันตํ่า เชื้อแบคทีเรียเหลานี้จะกอใหเกิดโรคได เรียกวา เชื้อโรคฉวย
ในรูปแบบที่นาสนใจ
โอกาส

T33
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
13. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน ตาม Summary
ความสมัครใจ โดยใหแตละกลุมทํากิจกรรม ระบบนิเวศ
Application Activity เพื่อระดมความคิด Ãкº¹ÔàÇÈ
¤×Í ¡ÅØ‹ÁÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ·ÕèÍÒÈÑÂÍÂÙ‹
ออกแบบกิจกรรม ฟนฟูสภาพแวดลอมทาง
ทะเล และนําเสนอแนวทางการดูแลรักษา
ͧ¤»ÃСͺ 㹺ÃÔàdzà´ÕÂǡѹáÅÐÁÕ¤ÇÒÁ

ระบบนิเวศตามแนวชายฝงทะเล
¢Í§Ãкº¹ÔàÇÈ ÊÑÁ¾Ñ¹¸¡Ñ¹ áÅÐÊÑÁ¾Ñ¹¸¡Ñº
ÊÔè§äÁ‹ÁÕªÕÇÔµã¹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ
¹Ñé¹ æ Í‹ҧ໚¹Ãкº
ͧ¤»ÃСͺ·Õè ÁÕªÕÇÔµ
“¼ÙŒ¼ÅÔµ” ¾×ª ͧ¤»ÃСͺ·Õè äÁ‹ÁÕªÕÇÔµ
“¼ÙŒºÃÔâÀ¤” [ ͹Թ·ÃÕÂÊÒà ]
¼ÙŒºÃÔâÀ¤¾×ª ઋ¹ ¡Ãе‹Ò - áË¸ÒµØ ઋ¹ N, P, K
¼ÙŒºÃÔâÀ¤ÊѵǏ ઋ¹ àÊ×Í - ᡍʵ‹Ò§ æ ઋ¹ CO2 , O2 , N2
¼ÙŒºÃÔâÀ¤·Ñ駾תáÅÐÊѵǏ ઋ¹ ¤¹ - ¹íéÒ
¼ÙŒºÃÔâÀ¤«Ò¡ÊѵǏ ઋ¹ áÃŒ§

“¼ÙŒÂ‹ÍÂÊÅÒÂÊÒÃÍÔ¹·ÃՏ ” [ ÍÔ¹·ÃÕÂÊÒÃ]
ÃÒ áº¤·ÕàÃÕ - «Ò¡¾×ª«Ò¡ÊѵǏ

[ ÊÀÒ¾áÇ´ÅŒÍÁ·Ò§¡ÒÂÀÒ¾]
- áʧÊÇ‹Ò§ - ÍسËÀÙÁÔ
- ¤ÇÒÁ໚¹¡Ã´-àºÊ - ¤ÇÒÁª×é¹
- ¤ÇÒÁà¤çÁ - ¡ÃÐáÊÅÁ

32

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจากภาพยนตรสารคดีส้ัน Twig เรื่อง หวงโซ พิจารณากราฟที่กําหนดให
อาหารในมหาสมุทร (https://www.twig-aksorn.com/film/oceanic-food- พืช
ชวงเวลา A จนกระทั่ง
chain-8094/) จํานวน หอยทาก
B สามารถสรุ ป ได ห รื อ
ไม ว  า กบและหอยทาก
กบ
มีความสัมพันธรูปแบบใด
A B เวลา

1. ภาวะปรสิต 2. ภาวะอิงอาศัย
3. ภาวะพึ่งพากัน 4. ภาวะการลาเหยื่อ
(วิเคราะหคําตอบ กบและหอยทากมีความสัมพันธกันแบบภาวะ
การลาเหยือ่ สังเกตไดจากชวงเวลา A ผูล า มีจาํ นวนประชากรลดลง
ในขณะทีเ่ หยือ่ มีจาํ นวนประชากรเพิม่ ขึน้ สลับกันเชนนี้ จึงเกิดการ
ควบคุมกันเอง ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T34
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น สรุ ป เกี่ ย วกั บ สมดุ ล
¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ ¢Í§ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ ã¹Ãкº¹ÔàÇÈ ระบบนิ เ วศ เพื่ อ ให ไ ด ข  อ สรุ ป ร ว มกั น ว า สิ่ ง มี
ÃٻẺ ÅѡɳРµÑÇÍ‹ҧ ชี วิ ต ในระบบนิ เ วศล ว นมี ก ลไกในการปรั บ ตั ว
¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ ¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ เนื่ อ งจากสิ่ ง มี ชี วิ ต ต า งก็ มี บ ทบาทและหน า ที่ ที่
+,+
ÀÒÇоÖ觾ҡѹ
¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸¢Í§ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ 2 ª¹Ô´
·Õèä´Œ»ÃÐ⪹Ã‹ÇÁ¡Ñ¹ ¢Ò´¨Ò¡¡Ñ¹äÁ‹ä´Œ
• äÅह (ÃҡѺÊÒËËÒÂ)
• â¾Ãâ·«ÑÇã¹ÅíÒäÊŒ»ÅÇ¡
• Ấ·ÕàÃÕÂã¹»ÁÃÒ¡¶ÑèÇ
แตกตางกัน กลาวคือ สิ่งมีชีวิตบางชนิดทําหนาที่
เปนผูผลิต ผูบริโภค หรือผูยอยสลายสารอินทรีย
(mutualism) ทําใหเกิดการหมุนเวียนสารเปนวัฏจักรไปพรอม

+,ð
ÀÒÇÐÍÔ§ÍÒÈÑÂ
¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸¢Í§ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ 2 ª¹Ô´
½†ÒÂ˹Öè§ä´Œ»ÃÐ⪹ (¼ÙŒÍÒÈÑÂ)
ÍÕ¡½†ÒÂ˹Öè§äÁ‹ä´ŒáÅÐäÁ‹àÊÕ»ÃÐ⪹
• àËÒ©ÅÒÁ¡Ñº»ÅÒ©ÅÒÁ
• ¹¡·íÒÃѧº¹µŒ¹äÁŒ
• ¡ÅŒÇÂäÁŒ¡ÑºµŒ¹äÁŒãËÞ‹
กั บ การถ า ยทอดพลั ง งาน ทํ า ให ร ะบบนิ เ วศ
เกิดความสมดุล
(commensalism) (¼ÙŒãËŒÍÒÈÑÂ)
ขัน้ ประเมิน
+,-
ÀÒÇлÃÊÔµ
¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸¢Í§ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ 2 ª¹Ô´
½†Ò»ÃÊÔµ (parasite) ä´Œ»ÃÐ⪹ ÍÒ¨ÍÂÙ‹
ÀÒ¹͡ËÃ×ÍÍÂÙ‹ÀÒÂã¹ÍÕ¡½†ÒÂ˹Ö觫Öè§à»š¹
• ¾ÂÒ¸Ôã¹ÅíÒäÊŒ¤¹
• ¡Ò½Ò¡¡ÑºµŒ¹äÁŒãËÞ‹
• àËçºáÅÐËÁÑ´º¹µÑÇÊعѢ
ตรวจสอบผล
1. ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน หนวยการเรียนรู
(parasitism) ¼ÙŒ¶Ù¡ÍÒÈÑ (host) ¨ÐàÊÕ»ÃÐ⪹
ที่ 1 ระบบนิเวศ
+,-
ÀÒÇСÒÃÅ‹ÒàËÂ×èÍ
¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸¢Í§ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ 2 ª¹Ô´
½†Ò·Õè໚¹¼ÙŒÅ‹Ò (predator) ä´Œ»ÃÐ⪹
ʋǹÍÕ¡½†Ò·Õè໚¹àËÂ×èÍ (prey)
• àÊ×ÍÅ‹Ò¡ÇÒ§
• ¹¡¡Ô¹Ë¹Í¹
• µŒ¹¡ÒºËÍÂá¤Ã§¡ÑºáÁŧ
2. ตรวจแบบฝกหัดรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 หนวยการเรียนรู
(predation) ¨ÐàÊÕ»ÃÐ⪹ à¾ÃÒÐ໚¹ÍÒËÒâͧ¼ÙŒÅ‹Ò ที่ 1 ระบบนิเวศ
ÊÒÂãÂÍÒËÒà 3. ตรวจการตอบคําถามจาก Topic Questions
â«‹ÍÒËÒà ⫋ÍÒËÒ÷ÕèÁÕ¤ÇÒÁ«Ñº«ŒÍ¹ÁÒ¡¢Öé¹ Self Check และ Unit Questions ในหนังสือ
¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸¢Í§ÊÔè§ÁÕªÕÇԵ㹺ÃÔàdz เรี ย นรายวิ ช าพื้ น ฐานวิ ท ยาศาสตร แ ละ
à´ÕÂǡѹ·ÕèÁÕ¡Òö‹Ò·ʹ¾Åѧ§Ò¹¼‹Ò¹ เทคโนโลยี ม.3 เลม 1 หนวยการเรียนรูที่ 1
¡ÒáԹµ‹Í¡Ñ¹à»š¹·Í´ æ ઋ¹
ËÞŒÒ = ¼ÙŒ¼ÅÔµ ระบบนิเวศ ในสมุดประจําตัวนักเรียน
µÑê¡áµ¹ = ¼ÙŒºÃÔâÀ¤ÅíҴѺ·Õè 1 4. ประเมิ น ผลการออกแบบกิ จ กรรม ฟ  น ฟู
¡º = ¼ÙŒºÃÔâÀ¤ÅíҴѺ·Õè 2 สภาพแวดลอมทางทะเล
§Ù = ¼ÙŒºÃÔâÀ¤ÅíҴѺ·Õè 3 5. ตรวจผังมโนทัศน เรื่อง ระบบนิเวศ
àËÂÕèÂÇ = ¼ÙŒºÃÔâÀ¤ÅíҴѺÊØ´·ŒÒ 6. สั ง เกตพฤติ ก รรมการตอบคํ า ถามและ
â´Â»ÃÔÁÒ³¾Åѧ§Ò¹·Õè¶Ù¡¶‹Ò·ʹ พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
¨ÐÅ´Å§ä»·Õ Å Ð¢Ñé ¹ µÒÁÅí Ò ´Ñ º ¢Í§ 7. สั ง เกตพฤติ ก รรมการทํ า งานกลุ  ม จากการ
¼ÙŒºÃÔâÀ¤·ÕèÊÙ§¢Öé¹
นําเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหนาชั้นเรียน
8. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยสังเกต
ความมีวนิ ยั ใฝเรียนรู และมุง มัน่ ในการทํางาน
ระบบนิเวศ 33

กิจกรรม 21st Century Skills แนวทางการวัดและประเมินผล


ใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 5-6 คน สํารวจระบบนิเวศภายใน ครูวดั และประเมินผลความเขาใจในเนือ้ หา เรือ่ ง ระบบนิเวศ ไดจากการทํา
ชุมชนของนักเรียน แลวจัดทําเปนรายงาน โดยมีองคประกอบ ดังนี้ ผังมโนทัศน เรื่อง ระบบนิเวศ โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจาก
- องคประกอบของระบบนิเวศในชุมชน แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ที่อยูในแผนการจัดการเรียนรูประจํา
- ชนิดของสิ่งมีชีวิตและบทบาทและหนาที่ของสิ่งมีชีวิตแตละ หนวยการเรียนรูที่ 1
ชนิด แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)

- รูปแบบความสัมพันธของสิง่ มีชวี ติ ในชุมชน ลาดับที่ รายการประเมิน


แบบประเมินผลงานแผนผังมโนทัศน์
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
ระดับคุณภาพ

- โซอาหาร
4 3 2 1
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ที่กาหนด
2 ความถูกต้องของเนื้อหา
3 ความคิดสร้างสรรค์
4 ความเป็นระเบียบ

- สายใยอาหร
รวม
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
............../................./................
เกณฑ์ประเมินแผนผังมโนทัศน์

- พีระมิดการถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
1. ผลงานตรงกับ ผล งา น สอดค ล้ องกั บ ผ ล ง า น ส อด ค ล้ อ งกั บ ผลงานสอดคล้ อ งกั บ ผลงานไม่ ส อดคล้ อ ง
จุดประสงค์ที่ จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ บ า ง กับจุดประสงค์
กาหนด ประเด็น

- แนวทางการดูแลรักษาสมดุลของระบบนิเวศในชุมชนใหยงั่ ยืน
2. ผลงานมีความ เนื้ อ หาสาระของผลงาน เนื้ อ หาสาระของผลงาน เ นื้ อ ห า ส า ร ะ ข อ ง เ นื้ อ ห า ส า ร ะ ข อ ง
ถูกต้องของ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ผลงานถูกต้องเป็นบาง ผลงานไม่ถูกต้องเป็น
เนื้อหา ประเด็น ส่วนใหญ่
3. ผลงานมีความคิด ผ ล ง า น แ ส ด ง อ อ ก ถึ ง ผลงานมี แ นวคิ ด แปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผ ล ง า น ไ ม่ แ ส ด ง
สร้างสรรค์ ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ใหม่ แ ต่ ยั ง ไม่ เ ป็ น ระบบ แ ต่ ยั ง ไ ม่ มี แ น ว คิ ด แนวคิดใหม่
แปลกใหม่และเป็นระบบ แปลกใหม่
4. ผลงานมีความ ผ ล ง า น มี ค ว า ม เ ป็ น ผลงานส่ ว นใหญ่ มี ค วาม ผลงานมี ค วามเป็ น ผลงานส่ ว นใหญ่ ไ ม่
เป็น ระเบียบ ระเบี ย บแสดงออกถึ ง เ ป็ น ร ะ เ บี ย บ แ ต่ ยั ง มี ร ะ เ บี ย บ แ ต่ มี เป็นระเบียบและมีข้อ
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย ข้อบกพร่องบางส่วน บกพร่องมาก

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14-16 ดีมาก
11-13 ดี
8-10 พอใช้
ต่ากว่า 7 ปรับปรุง

T35
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Self Check


1. ถูก 2. ผิด 3. ถูก
4. ผิด 5. ผิด 6. ผิด Self Check
7. ถูก 8. ถูก 9. ถูก ให้นักเรียนตรวจสอบความเข้าใจ โดยพิจารณาข้อความว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด หากพิจารณาข้อความ
10. ถูก ไม่ถูกต้อง ให้กลับไปทบทวนเนื้อหาตามหัวข้อที่กําหนดให้
ถูก/ผิด ทบทวนหัวข้อ

1. ระบบนิเวศประกอบด้วยองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิตกับองค์ประกอบที่มีชีวิต 1.

2. แสงสว่างเป็นองค์ประกอบทางเคมีที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช 1.1

3. พืชบางชนิดมีบทบาทเป็นทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค เช่น ต้นกาบหอยแครง


1.2
หม้อข้าวหม้อแกงลิง

4. ผู้บริโภคซากสัตว์ท�าหน้าที่หมุนเวียนสารกลับคืนสู่วัฏจักรธรรมชาติ 1.2

5. ต้นไม้กับคนมีความสัมพันธ์กันแบบภาวะอิงอาศัย 2.

ุด
สม
ใน
6. เหาฉลามกับปลาฉลามมีความสัมพันธ์กันแบบได้ประโยชน์ร่วมกัน 2.

ลง
ทึ ก
บั น
7. การระบาดของแมลงศัตรูพืช ท�าให้เกษตรกรต้องใช้วิธีก�าจัดแมลงศัตรูพืช
ทางชีวภาพ โดยให้สิ่งมีชีวิตอื่นมากินแมลง เรียกความสัมพันธ์แบบนี้ว่า 2.
ภาวะการล่าเหยื่อ

8. ถ้าในระบบนิเวศหนึ่งมีพืช หนอน นก แมว เหยี่ยว ในการถ่ายทอดพลังงาน


ผ่านการกิน หนอนจะได้รับปริมาณพลังงานมากที่สุด เนื่องจากหนอนเป็น 3.
ผู้บริโภคล�าดับที่ 1

9. ถ้าสารพิษตะกั่วเกิดรั่วไหลออกสู่ทะเล ร่างกายมนุษย์จะมีสารพิษตะกั่วสะสม
3.
อยู่มากที่สุด

10. การกระท�าของมนุษย์ เช่น ตัดไม้ทา� ลายป่า การล่าสัตว์ การใช้ยาฆ่าแมลงก�าจัด


3.
ศัตรูพืช เป็นสาเหตุที่ท�าลายสมดุลของระบบนิเวศ

34

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ตนมะมวงหนาบานของนายมานะมีหนอนที่เกิดจากไขผีเสื้อมากินใบออน ทําใหใบของตนมะมวงมีรูเปนจํานวนมาก
มานะสังเกตเห็นอีกวามีนกจํานวนมากบินมาเกาะตนมะมวงและทํารังอยูบนตนมะมวง ทั้งนกและลูกนกตางสงเสียงรอง
รบกวนการนอนของมานะเปนเวลาหลายวัน จนกระทัง่ วันสุดสัปดาหมนี ามาเยีย่ มทีบ่ า น แมวของเธอไมเขาบานมานะเลย
แตกลับนอนอยูใตตนมะมวงทั้งวัน จากเหตุการณดังกลาว สามารถเขียนเปนโซอาหารไดแบบใด
1. แมว นก หนอน มะมวง
2. มะมวง นก หนอน แมว
3. หนอน มะมวง นก แมว
4. มะมวง หนอน นก แมว
(วิเคราะหคําตอบ ตนมะมวงเปนผูผลิต ซึ่งเปนสิ่งมีชีวิตริเริ่มในโซอาหาร หนอนเปนผูบริโภคพืช จัดเปนผูบริโภคลําดับ
ที่ 1 นกเปนผูบริโภคทั้งพืชและสัตว จัดเปนผูบริโภคลําดับที่ 2 แมวเปนผูบริโภคสัตว จัดเปนผูบริโภคลําดับที่ 3 หรือ
ผูบริโภคลําดับสุดทาย ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T36
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Unit Questions

Unit Questions 1. 1.1 แสงสวาง มีผลตอการสังเคราะหดวยแสง


ของพืช กําหนดการหุบและบานของดอกไม
คําชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ การคายนํ้าของพืช และมีอิทธิพลตอการ
1. อธิบายความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสภาพแวดลอมตอไปนี้ ออกหาอาหารของสัตว
1.1 แสงสวาง 1.2 ความชื้น 1.3 อุณหภูมิ
1.4 ความเปนกรด-เบสของดิน 1.5 ความเค็ม 1.2 ความชืน้ มีผลตอการดํารงชีวติ ของสิง่ มีชวี ติ
2. สิ่งมีชีวิตประเภทใดควรมีปริมาณมากที่สุดในระบบนิเวศ บางชนิด เชน เชื้อรา
3. สิ่งมีชีวิตประเภทใดทําใหระบบนิเวศเกิดการหมุนเวียนสาร 1.3 อุณหภูมิ มีผลตอพฤติกรรม ลักษณะและ
4. อธิบายบทบาทของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศที่กําหนดใหตอไปนี้ รู ป ร า งของสิ่ ง มี ชี วิ ต รวมทั้ ง การหุ บ และ
4.1 กิ้งกือ 4.2 แบคทีเรีย 4.3 มนุษย บานของดอกไมบางชนิด
4.4 ตนกาบหอยแครง 4.5 หนอน 1.4 ความเปนกรด-เบส มีผลตอการเจริญของ
5. พิจารณาความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตและระบุรูปแบบความสัมพันธที่กําหนดใหตอไปนี้ พืช โดยพืชจะเจริญไดดีในดินที่มีคาความ
5.1 กิ้งกาเปลี่ยนสีตัวเปนสีเขียวซอนตัวอยูในพุมไม เพื่ออําพรางตัวจากศัตรู
5.2 แบคทีเรียในปมรากถั่วตรึงไนโตรเจนจากอากาศเพื่อเปนธาตุอาหารใหแกพืช สวนแบคทีเรียไดรับ เปนกรด-เบสที่เหมาะสม
คารโบไฮเดรตจากรากพืช 1.5 ความเค็ ม มี ผ ลต อ การปรั บ ตั ว ของ
5.3 นกฮัมมิงดูดกินนํ้าหวานจากเกสรดอกไม และชวยผสมเกสรใหดอกไม สิง่ มีชวี ติ ทําใหสงิ่ มีชวี ติ มีรปู ราง พฤติกรรม
5.4 พยาธิตัวตืดอาศัยอยูที่ผนังลําไสของมนุษย คอยดูดสารอาหารภายในลําไสของมนุษย และสรีรวิทยาที่เปลี่ยนแปลงไปตามสภาพ
5.5 พลูดางเลื้อยไปพันตามลําตนของตนไมเพื่อใหไดรับแสงมากขึ้น
6. นกเอี้ยงที่เกาะอยูบนหลังควาย ชวยจิกกินเห็บที่เกาะอยูตามตัวควาย นกเอี้ยงกับควายมีความสัมพันธกัน
แวดลอม
ในรูปแบบใด และเห็บกับควายมีความสัมพันธกันในรูปแบบใด 2. พืช
7. อธิบายความแตกตางระหวางความสัมพันธของดอกไมกับผีเสื้อ กับความสัมพันธระหวางโพรโทซัวในลําไส 3. เห็ด รา แบคทีเรีย
ปลวกกับปลวก
8. ไลเคนคืออะไร มีรูปแบบความสัมพันธแบบใด
4. 4.1 ผูบริโภคซากพืช
9. ประชากรและกลุมสิ่งมีชีวิตเกี่ยวของหรือสัมพันธกันอยางไร 4.2 ผูยอยสลายสารอินทรีย
10. ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตรูปแบบใด มีสวนชวยควบคุมจํานวนประชากรในระบบนิเวศ 4.3 ผูบริโภคทั้งพืชและสัตว
11. เขียนเครื่องหมายแสดงความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตที่กําหนดใหในตารางตอไปนี้ 4.4 ผูผลิตและผูบริโภคสัตว
ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิต เครื่องหมายแสดงความสัมพันธ 4.5 ผูบริโภคพืชและผูบริโภคซากสัตว
เหาฉลามกับปลาฉลาม 5. 5.1 ภาวะอิงอาศัย
กาฝากกับตนไมใหญ 5.2 ภาวะพึ่งพากัน
5.3 ภาวะการไดรับประโยชนรวมกัน
มุ ด

รากับสาหราย
นส
งใ

กลวยไมกับตนไมใหญ 5.4 ภาวะปรสิต



ทึ ก
บั น

หมอขาวหมอแกงลิงกับแมลง 5.5 ภาวะอิงอาศัย


มดดํากับเพลี้ยออน
6. นกเอี้ยงกับควายมีความสัมพันธกันแบบภาวะ
ระบบนิเวศ 35 การไดรบั ประโยชนรว มกัน ขณะทีเ่ ห็บและควาย
มีความสัมพันธกันแบบภาวะปรสิต

7. ความสัมพันธระหวางดอกไมกับผีเสื้อเปนแบบภาวะการไดรับประโยชนรวมกัน ตางฝายตางแยกกันดํารงชีวิตไดอยางอิสระ สวนความสัมพันธของ


โพรโทซัวในลําไสปลวกเปนแบบภาวะพึ่งพากัน ไมสามารถแยกจากกันหรือดํารงชีวิตไดอยางอิสระ

T37
นํา สอน สรุป ประเมิน

8. ไลเคน คื อ ความสั ม พั น ธ ร ะหว า งรากั บ


สาหราย ซึง่ มีความสัมพันธแบบภาวะพึง่ พากัน
9. ประชากร คือ สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันที่อาศัย
12. โซ่อาหารแตกต่างกับสายใยอาหารอย่างไร
อยูบริเวณเดียวกัน ในชวงเวลาเดียวกัน เมื่อ
13. พิจารณาโซ่อาหารที่ก�าหนดให้ แล้วตอบค�าถามต่อไปนี้
ประชากรของสิง่ มีชวี ติ หลายชนิดมาอาศัยอยู
รวมกัน มีความสัมพันธกัน ณ บริเวณใด
ภาพที่ 1.46 โซ่
1.46 อาหาร
บริเวณหนึ่ง เรียกวา กลุมสิ่งมีชีวิต ที่มา : คลังภาพ อจท.
10. ภาวะการลาเหยื่อ
13.1 สิ่งมีชีวิตชนิดใดในโซ่อาหารเมื่อลดจ�านวนลงจะส่งผลกระทบต่องูโดยตรง
11. 13.2 ถ้าประชากรเหยี่ยวมีจ�านวนมากขึ้น ประชากรของสิ่งมีชีวิตชนิดใดจะมีจ�านวนลดลงบ้าง
ความสัมพันธ เครื่องหมายแสดง 13.3 ถ้าประชากรเหยี่ยวมีจ�านวนลดลง ประชากรของสิ่งมีชีวิตชนิดใดจะมีจ�านวนเพิ่มขึ้นบ้าง
ของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ 13.4 จงเปรียบเทียบปริมาณพลังงานที่ถูกถ่ายทอดผ่านกระบวนการกินเริ่มจากพืชไปยังเหยี่ยว
13.5 ถ้ามีการสะสมสารพิษในโซ่อาหาร จงเรียงล�าดับปริมาณสารพิษที่สะสมในร่างกายของสิ่งมีชีวิตจาก
เหาฉลามกับปลาฉลาม (+, 0) มากไปน้อย
ตนไมใหญกับกาฝาก (+, -) 14. พิจารณาสายใยอาหารที่ก�าหนดให้ แล้วตอบค�าถามต่อไปนี้
รากับสาหราย (+, +)
สิงโต
สุนัขจิ้งจอก
กลวยไมกับตนไมใหญ (+, 0) เหยี่ยว
หมอขาวหมอแกงลิง (+, -)
กับแมลง
มดดํากับเพลี้ยออน (+, +) กระต่าย

12. สายใยอาหารเปนการถายทอดพลังงานผาน แพะ


การกินที่มีความซับซอนมากกวาโซอาหาร
13. 13.1 หนูและเหยี่ยว งู
13.2 พืชและงู
พืช
13.3 พืชและงู หนู

13.4 พืช > หนู > งู > เหยี่ยว ภาพที่ 1.47 สายใยอาหาร
ที่มา : คลังภาพ อจท.
13.5 เหยี่ยว > งู > หนู > พืช
14.1 สิ่งมีชีวิตชนิดใดเป็นทั้งผู้บริโภคล�าดับที่ 1 และล�าดับที่ 2 เพราะเหตุใด
14. 14.1 หนู เพราะเปนผูบริโภคทั้งพืชและสัตว
14.2 สิ่งมีชีวิตล�าดับแรกในโซ่อาหารต้องเป็นพืชเสมอหรือไม่
14.2 ไมจาํ เปนตองเปนพืชเสมอไป ขึน้ อยูก บั 14.3 ถ้าประชากรเหยี่ยวมีจ�านวนลดลง ประชากรของสิ่งมีชีวิตชนิดใดจะมีจ�านวนเพิ่มขึ้น
ประเภทของโซอาหาร 14.4 ถ้าประชากรกระต่ายมีจ�านวนลดลงจะส่งผลกระทบต่อสิงโตหรือไม่ อย่างไร
14.3 งู
14.4 ไมสง ผลกระทบตอสิงโต เนือ่ งจากสิงโต 36
สามารถกินสิ่งมีชีวิตอื่นเปนอาหารได
เชน แพะ สุนัขจิ้งจอก

T38
นํา สอน สรุป ประเมิน

15. 15.1 ตนไม เปนผูผลิต


ตั๊กแตน เปนผูบริโภคพืช
หนอน เปนผูบริโภคพืช
15. พิจารณากลุมสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศของปาแหงหนึ่ง แลวตอบคําถามตอไปนี้
นกกางเขน เปนผูบริโภคทั้งพืชและสัตว
ตนไม ตั๊กแตน หนอน นกกางเขน กบ กบ เปนผูบริโภคสัตว
กระตาย งู เหยี่ยว ไสเดือน แบคทีเรียในดิน กระตาย เปนผูบริโภคพืช
15.1 สิ่งมีชีวิตแตละชนิดมีบทบาทอยางไร งู เปนผูบริโภคสัตว
15.2 จงเขียนแผนภาพโซอาหารของสิ่งมีชีวิตที่อยูในระบบนิเวศนี้มา 1 โซอาหาร เหยี่ยว เปนผูบริโภคสัตว
15.3 จงเขียนสายใยอาหารของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศนี้ ไสเดือน เปนผูบริโภคซากพืช
15.4 ถาประชากรตั๊กแตนมีจํานวนลดลง จะสงผลกระทบโดยตรงตอประชากรของสิ่งมีชีวิตชนิดใด แบคทีเรียในดิน เปนผูยอยสลาย
15.5 ถาไมมีแบคทีเรียในดิน จะสงผลกระทบตอระบบนิเวศอยางไร สารอินทรีย
16. พิจารณาสายใยอาหารที่กําหนดให
15.2 ขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครู ตัวอยางเชน
ฉ ง จ ต น ไม ตั๊ ก แตน กบ งู
เหยี่ยว
ก ข ค 15.3
ไสเดือน
ภาพที่ 1.48 สายใยอาหาร
ที่มา : คลังภาพ อจท. หญา หนอน นกกางเขน
สิ่งมีชีวิตชนิดใดเปนผูผลิต ผูบริโภคพืช ผูบริโภคสัตว และผูบริโภคทั้งพืชและสัตว ตามลําดับ
17. ระบบนิเวศ A ประกอบดวยสิ่งมีชีวิต 10 ชนิด และระบบนิเวศ B ประกอบดวยสิ่งมีชีวิตมากกวา 30 ชนิด
เมื่อเวลาผานไปสภาพแวดลอมเปลี่ยนแปลง ระบบนิเวศใดจะรักษาสมดุลไดดีที่สุด เพราะเหตุใด ตั๊กแตน กระตาย เหยี่ยว
18. จงอธิบายความสัมพันธระหวางจํานวนประชากรพืช หนอน และนก ณ เวลาตาง ๆ พรอมใหเหตุผลประกอบ
พืช
กบ งู แบคทีเรีย
จํานวน หนอน ในดิน
15.4 กบ
นก
15.5 เมื่อสิ่งมีชีวิตตายลงจะไมมีผูยอยสลาย
สารอินทรีย สงผลใหระบบนิเวศไมเกิด
เวลา
ภาพที่ 1.49 กราฟแสดงความสัมพันธของจํานวนประชากรพืช หนอน และนก
การหมุนเวียนสาร
ที่มา : คลังภาพ อจท. 16. สิ่งมีชีวิต ก และ จ เปนผูผลิต
19. เมื่อเกิดไฟปา จะสงผลกระทบตอระบบนิเวศในปาอยางไร สิ่งมีชีวิต ข และ ฉ เปนผูบริโภคพืช
20. ยกตัวอยางวิธีดูแลรักษาสมดุลของระบบนิเวศมา 3 ตัวอยาง สิ่งมีชีวิต ค เปนผูบริโภคสัตว
สิ่งมีชีวิต ง เปนผูบริโภคทั้งพืชและสัตว
ระบบนิเวศ 37

17. ระบบนิ เ วศ B เพราะระบบนิ เ วศที่ มี สิ่ ง มี ชี วิ ต หลายชนิ ด จะมี ส ายใยอาหารที่ มี ค วามซั บ ซ อ นมากกวา จึงรักษาสมดุลไดดีกวา เพราะสิ่งมีชีวิต
ชนิดใดสูญพันธุไปจากระบบนิเวศ จะมีสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นมาทดแทนได
18. ในชวงเวลาเริ่มตน ประชากรนกเพิ่มจํานวนขึ้น ในขณะที่ประชากรหนอนมีจํานวนลดลง เนื่องจากนกกินหนอนเปนอาหาร เมื่อหนอนลดจํานวนลง
จะเห็นวา พืชซึ่งเปนผูผลิตมีจํานวนเพิ่มขึ้น เมื่อเวลาผานไป ประชากรนกจะมีจํานวนมากกวาประชากรหนอนมาก อาหารของนกจึงไมเพียงพอ สงผล
ใหประชากรนกลดลง เมือ่ ประชากรนกลดลง หนอนจะแพรพนั ธุเ พิม่ จํานวนประชากรมากขึน้ ขณะเดียวกัน พืชซึง่ เปนอาหารของหนอนจะมีจาํ นวนลดลง
19. ไฟปาทําใหสิ่งมีชีวิตตายลงเปนจํานวนมาก ทําใหระบบนิเวศถูกทําลายลง สงผลใหระบบนิเวศสูญเสียความสมดุล
20. 1. ชวยกันปลูกปา
2. ไมลาสัตวปา
3. ปองกันและหาแนวทางการกําจัดมลพิษ เพื่อไมใหมลพิษปนเปอนสูสิ่งแวดลอม

T39
Chapter Overview
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์

แผนฯ ที่ 1 - แบบทดสอบก่อนเรียน 1. อธิบายรูปแบบความสัมพันธ์ แบบบรรยาย - ตรวจแบบทดสอบ - ทักษะการทดลอง - มีวินัย


โครโมโซม - หนังสือเรียนรายวิชา ระหว่างโครโมโซม ดีเอ็นเอ (Lecture ก่อนเรียน - ทักษะการ - ใฝ่เรียนรู้
ดีเอ็นเอ และยีน พื้นฐานวิทยาศาสตร์ และยีนได้ (K) Method) - ตรวจแบบฝึกหัด ลงความเห็น - มุ่งมั่นใน
และเทคโนโลยี ม.3 2. สร้างแบบจ�ำลองแสดงความ - ตรวจสมุดประจ�ำตัว จากข้อมูล การท�ำงาน
4 เล่ม 1 สัมพันธ์ระหว่างโครโมโซม นักเรียน - ทักษะการก�ำหนด
ชั่วโมง - แบบฝึกหัดรายวิชา ดีเอ็นเอ และยีนได้ (P) - ตรวจแบบจ�ำลอง และควบคุมตัวแปร
พื้นฐานวิทยาศาสตร์ 3. ตระหนักถึงความส�ำคัญของ โครโมโซม - ทักษะการสร้าง
และเทคโนโลยี ม.3 โครโมโซม ดีเอ็นเอ และยีน - การปฏิบัติกิจกรรม แบบจ�ำลอง
เล่ม 1 ในร่างกายสิ่งมีชีวิต (A) - สังเกตพฤติกรรม
- อุปกรณ์การทดลอง 4. มีความใฝ่เรียนรู้และมุ่งมั่น การท�ำงานรายบุคคล
- PowerPoint ในการท�ำงาน (A) - สังเกตพฤติกรรม
- ภาพประกอบการสอน การท�ำงานกลุ่ม
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น - สังเกตความมีวินัย
Twig ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น
ในการท�ำงาน

แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายการถ่ายทอดลักษณะ แบบบรรยาย - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการทดลอง - มีวินัย


การศึกษา พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ทางพันธุกรรมจากการ (Lecture - ตรวจสมุดประจ�ำตัว - ทักษะการ - ใฝ่เรียนรู้
พันธุศาสตร์ และเทคโนโลยี ม.3 ทดลองของเมนเดลได้ (K) Method) นักเรียน ตีความหมายข้อมูล - มุ่งมั่นใน
ของเมนเดล เล่ม 1 2. ค�ำนวณอัตราส่วนของลูก - ตรวจใบงาน เรื่อง และลงข้อสรุป การท�ำงาน
- แบบฝึกหัดรายวิชา รุ่นที่ 2 ซึ่งเป็นไปตามการ การศึกษาพันธุศาสตร์ - ทักษะการก�ำหนด
3 พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ทดลองของเมนเดลได้ (P) ของเมนเดล และควบคุมตัวแปร
ชั่วโมง และเทคโนโลยี ม.3 3. ตระหนักถึงความส�ำคัญของ - การปฏิบัติกิจกรรม
เล่ม 1 การศึกษาพันธุศาสตร์ของ - สังเกตพฤติกรรม
- ใบงาน เมนเดล (A) การท�ำงานรายบุคคล
- อุปกรณ์การทดลอง 4. มีความใฝ่เรียนรู้และมุ่งมั่น - สังเกตพฤติกรรม
- PowerPoint ในการท�ำงาน (A) การท�ำงานกลุ่ม
- ภาพประกอบการสอน - สังเกตความมีวินัย
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น
Twig ในการท�ำงาน

T40
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์

แผนฯ ที่ 3 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายการเกิดจีโนไทป์และ 5Es - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการทดลอง - มีวินัย


การถ่ายทอดยีน พืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ฟีโนไทป์ของลูกได้ (K) Instructional - ตรวจแบบจ�ำลองยีน - ทักษะการ - ใฝ่เรียนรู้
บนโครโมโซม และเทคโนโลยี ม.3 2. ค�ำนวณอัตราส่วนการเกิด Model บนโครโมโซม ลงความเห็น - มุ่งมั่นใน
เล่ม 1 จีโนไทป์และฟีโนไทป์ของ - การปฏิบัติกิจกรรม จากข้อมูล การท�ำงาน
4 - แบบฝึกหัดรายวิชา รุ่นลูกได้ (P) - สังเกตพฤติกรรม - ทักษะการก�ำหนด
ชั่วโมง พื้นฐานวิทยาศาสตร์ 3. ตระหนักถึงความส�ำคัญของ การท�ำงานกลุ่ม และควบคุมตัวแปร
และเทคโนโลยี ม.3 การถ่ายทอดลักษณะทาง - สังเกตความมีวินัย
เล่ม 1 พันธุกรรม (A) ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น
- PowerPoint 4. มีความใฝ่เรียนรู้และมุ่งมั่น ในการท�ำงาน
- ภาพประกอบการสอน ในการท�ำงาน (A)
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น
Twig

แผนฯ ที่ 4 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายความแตกต่างของ 5Es - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการทดลอง - มีวินัย


การแบ่งเซลล์ พื้นฐานวิทยาศาสตร์ การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส Instructional - ตรวจใบงาน เรื่อง - ทักษะการสังเกต - ใฝ่เรียนรู้
ของสิ่งมีชีวิต และเทคโนโลยี ม.3 และไมโอซิสได้ (K) Model การแบ่งเซลล์ของ - ทักษะการ - มุ่งมั่นใน
เล่ม 1 2. เปรียบเทียบความแตกต่าง สิ่งมีชีวิต ตีความหมายข้อมูล การท�ำงาน
3 - แบบฝึกหัดรายวิชา ของการแบ่งเซลล์แบบ - การปฏิบัติกิจกรรม และลงข้อสรุป
ชั่วโมง พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ไมโทซิสและไมโอซิสได้ (P) - สังเกตพฤติกรรม - ทักษะการ
และเทคโนโลยี ม.3 3. ตระหนักถึงความส�ำคัญของ การท�ำงานกลุ่ม ลงความเห็น
เล่ม 1 การแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิต - สังเกตความมีวินัย จากข้อมูล
- QR Code (A) ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น - ทักษะการก�ำหนด
- ใบงาน 4. มีความใฝ่เรียนรู้และมุ่งมั่น ในการท�ำงาน และควบคุมตัวแปร
- อุปกรณ์การทดลอง ในการท�ำงาน (A)
- PowerPoint
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น
Twig

แผนฯ ที่ 5 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายและยกตัวอย่างโรค 5Es - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการทดลอง - มีวินัย


ความผิดปกติ พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ที่เกิดจากความผิดปกติทาง Instructional - ตรวจใบงาน เรื่อง - ทักษะการ - ใฝ่เรียนรู้
ทางพันธุกรรม และเทคโนโลยี ม.3 พันธุกรรมได้ (K) Model โรคทางพันธุกรรม ลงความเห็น - มุ่งมั่นใน
เล่ม 1 2. วิเคราะห์และเสนอแนวทาง - การปฏิบัติกิจกรรม จากข้อมูล การท�ำงาน
4 - แบบฝึกหัดรายวิชา การป้องกันภาวะเสี่ยงของ - สังเกตพฤติกรรม - ทักษะการก�ำหนด
ชั่วโมง พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ลูกที่เกิดมาเป็นโรคทาง การท�ำงานกลุ่ม และควบคุมตัวแปร
และเทคโนโลยี ม.3 พันธุกรรมได้ (P) - สังเกตความมีวินัย
เล่ม 1 3. ตระหนักถึงประโยชน์ของ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น
- ใบงาน ความรู้เรื่องโรคทาง ในการท�ำงาน
- อุปกรณ์การทดลอง พันธุกรรม (A)
- ภาพประกอบการสอน 4. มีความใฝ่เรียนรู้และมุ่งมั่น
- PowerPoint ในการท�ำงาน (A)
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น
Twig

T41
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์

แผนฯ ที่ 6 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายการใช้ประโยชน์จาก 5Es - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการทดลอง - มีวินัย


สิ่งมีชีวิตดัดแปร พืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม Instructional - ตรวจสมุดประจ�ำตัว - ทักษะการ - ใฝ่เรียนรู้
พันธุกรรม และเทคโนโลยี ม.3 และผลกระทบที่อาจมีต่อ Model นักเรียน ตีความหมายข้อมูล - มุ่งมั่นใน
เล่ม 1 มนุษย์และสิง่ แวดล้อมได้ (K) - ตรวจรายงาน เรื่อง และลงข้อสรุป การท�ำงาน
4 - แบบฝึกหัดรายวิชา
พื้นฐานวิทยาศาสตร์
2. เปรียบเทียบประโยชน์และ สิ่งมีชีวิตดัดแปร - ทักษะการ
ผลกระทบของสิ่งมีชีวิต พันธุกรรม ลงความเห็น
ชั่วโมง และเทคโนโลยี ม.3 ดัดแปรพันธุกรรมได้ (P) - ตรวจแผ่นพับ เรื่อง จากข้อมูล
เล่ม 1 3. ตระหนักถึงประโยชน์และ สิ่งมีชีวิตดัดแปร
- อุปกรณ์การทดลอง - ทักษะการก�ำหนด
ผลกระทบของสิ่งมีชีวิต พันธุกรรม และควบคุมตัวแปร
- ภาพประกอบการสอน ดัดแปรพันธุกรรมทีอ่ าจมีตอ่ - การปฏิบัติกิจกรรม
- PowerPoint มนุษย์และสิ่งแวดล้อม (A) - สังเกตพฤติกรรม
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น 4. มีความใฝ่เรียนรู้และมุ่งมั่น การท�ำงานรายบุคคล
Twig ในการท�ำงาน (A) - สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตความมีวินัย
ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น
ในการท�ำงาน

แผนฯ ที่ 7 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายความส�ำคัญของ 5Es - ตรวจแบบทดสอบ - ทักษะการทดลอง - มีวินัย


ความหลากหลาย พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ความหลากหลายทางชีวภาพ Instructional หลังเรียน - ทักษะการสังเกต - ใฝ่เรียนรู้
ทางชีวภาพ และเทคโนโลยี ม.3 ที่มตี ่อการรักษาสมดุลของ Model - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการ - มุ่งมั่นใน
เล่ม 1 ระบบนิเวศและต่อมนุษย์ได้ - ตรวจสมุดประจ�ำตัว ตีความหมายข้อมูล การท�ำงาน
2 - แบบฝึกหัดรายวิชา
พื้นฐานวิทยาศาสตร์
(K) นักเรียน และลงข้อสรุป
2. เปรียบเทียบความหลากหลาย - ตรวจผังมโนทัศน์ - ทักษะการ
ชั่วโมง และเทคโนโลยี ม.3 ทางชีวภาพระดับชนิดของ เรื่อง ความหลาก ลงความเห็น
เล่ม 1 สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศต่าง ๆ หลายทางชีวภาพ
- อุปกรณ์การทดลอง จากข้อมูล
ได้ (P) - การปฏิบัติกิจกรรม - ทักษะการก�ำหนด
- ภาพประกอบการสอน 3. ตระหนักถึงคุณค่าและความ - สังเกตพฤติกรรม
- PowerPoint และควบคุมตัวแปร
ส�ำคัญของความหลากหลาย การท�ำงานรายบุคคล
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น ทางชีวภาพ (A) - สังเกตพฤติกรรม
Twig 4. มีความใฝ่เรียนรู้และมุ่งมั่น การท�ำงานกลุ่ม
ในการท�ำงาน (A) - สังเกตความมีวินัย
ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น
ในการท�ำงาน

T42
Chapter Concept Overview
โครโมโซม ดีเอ็นเอ และยีน
สิง่ มีชวี ติ ทุกชนิดมีสารทีเ่ กีย่ วข้องกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม คือ โครโมโซม ประกอบด้วยดีเอ็นเอและโปรตีน โดยบางส่วน
ของช่วงสายดีเอ็นเอ เรียกว่า ยีน ท�าหน้าที่ควบคุมและก�าหนดลักษณะทางพันธุกรรมต่าง ๆ

นิวเคลียส
ร่างกายมนุษย์มีจ�านวนโครโมโซม 46 เซลล์
แท่ง หรือ 23 คู่
คู่ที่ 1-22 เรียกว่า โครโมโซมร่างกาย
หรือออโตโซม
ยีน
คู่ที่ 23 เรียกว่า โครโมโซมเพศ โครโมโซม

ดีเอ็นเอ
44+XY 44+XX

การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
• การศึกษาพันธุศาสตรของเมนเดล เมนเดลเป็นผู้ศึกษาวิชาด้านพันธุศาสตร์โดยท�าการทดลองกับต้นถั่วลันเตา จนกระทั่งสามารถอธิบาย
หลักการการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมได้ จนได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งวิชาพันธุศาสตร์
×
กลีบดอก รุ่นพ่อแม่
เกสรเพศเมีย ดอกถั่วลันเตาสีม่วงพันธุ์แท้ ดอกถั่วลันเตาสีขาวพันธุ์แท้

ลูกรุ่นที่ 1 ; F1
ลักษณะเด่น
กลีบเลี้ยง เกสรเพศผู้
ดอกถั่วลันเตาสีม่วงพันธุ์ทาง
ต้นถั่วลันเตามีคุณสมบัติ ดังนี้
- วงจรชีวิตสั้น ลูกรุ่นที่ 2 ; F2
- มีดอกสมบูรณ์เพศ
- มีลักษณะทางพันธุกรรมที่แตกต่างกัน
อย่างชัดเจน ลักษณะด้อย
- ลักษณะของดอกเอื้อต่อการผสมภายใน
ดอกเดียวกัน อัตราส่วนของดอกสีม่วง : ดอกสีขาวประมาณ 3 : 1

• การถายทอดยีนบนโครโมโซม โครโมโซมที่อยู่กันเป็นคู่และมีการจัดเรียงต�าแหน่งยีน (โลคัส) ที่เหมือนกัน เรียกว่า ฮอมอโลกัสโครโมโซม


ซึ่งยีน 1 คู่ ท�าหน้าที่ควบคุมลักษณะของสิ่งมีชีวิตเพียง 1 ลักษณะ โดยรูปแบบของยีน เรียกว่า แอลลีล (allele) เมื่อเขียนแทนด้วย
สัญลักษณ์ เรียกว่า จีโนไทป์ (genotype) และเรียกลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่แสดงออกว่า ฟีโนไทป์ (phenotype)
โลคัส
แอลลีลเด่น : ตัวอักษรภาษาอังกฤษ
P r T ตัวพิมพ์ใหญ่
ฮอมอโลกัส แอลลีลด้อย : ตัวอักษรภาษาอังกฤษ
โครโมโซม
P r ตัวพิมพ์เล็ก
t

ฮอมอไซกัสจีโนไทป์ เฮเทอโรไซกัสจีโนไทป์
(PP) (Tt)
T43
การแบงเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้

• การแบงเซลลแบบไมโทซิส (mitosis)
- เพิ่มจ�านวนเซลล์ร่างกาย
- ได้เซลล์ใหม่จ�านวน 2 เซลล์ เจริญเติบโต
- เซลล์ใหม่มีจ�านวนโครโมโซมเท่ากับเซลล์ตั้งต้น
- ไม่เกิดการครอสซิงโอเวอร์

• การแบงเซลลแบบไมโอซิส (meiosis) ไมโอซิส


- เพิ่มจ�านวนเซลล์สืบพันธุ์
ไซโกต
- ได้เซลล์ใหม่จ�านวน 4 เซลล์
- เซลล์ใหม่มจี า� นวนโครโมโซมลดลงเป็นครึง่ หนึง่ ของเซลล์ตงั้ ต้น
- มีการครอสซิงโอเวอร์หรือแลกเปลี่ยนชิ้นส่วนยีน ท�าให้เกิด เซลล์อสุจิ เซลล์ไข่
ความหลากหลายทางพันธุกรรม ปฏิสนธิ
ไมโทซิส

ความผิดปกติทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมเกิดจากความผิดปกติของโครโมโซม เช่น รูปร่าง
โครงสร้าง จ�านวนโครโมโซมเปลีย่ นแปลงไปจากปกติ โรคทางพันธุกรรมสามารถ
ถ่ายทอดจากรุ่นพ่อแม่ไปสู่รุ่นลูกหรือรุ่นหลานได้
• ความผิดปกติของออโตโซม
- กลุ่มอาการพาทัวเกิดจากโครโมโซมร่างกายคู่ที่ 13 เกินมา 1 แท่ง
- กลุ่มอาการดาวน์เกิดจากโครโมโซมร่างกายคู่ที่ 21 เกินมา 1 แท่ง กลุ่มอาการดาวน์
- กลุม่ อาการเอ็ดเวิรด์ เกิดจากโครโมโซมร่างกายคูท่ ี่ 18 เกินมา 1 แท่ง
- กลุม่ อาการคริดชู าเกิดจากแขนข้างสัน้ ของโครโมโซมคูท่ ี่ 5 ขาดหายไป
• ความผิดปกติของโครโมโซมเพศ
- กลุ่มอาการเทิร์นเนอร์เป็นความผิดปกติที่พบในเพศหญิง โดยมี
โครโมโซม X ขาดหายไป 1 แท่ง
- กลุม่ อาการทริปเปลเอกซ์เป็นความผิดปกติทพี่ บในเพศหญิงโดยอาจ
มีโครโมโซมเพศเป็นแบบ XXX หรือ XXXX กลุ่มอาการเทิร์นเนอร์
- กลุ่มอาการไคลน์เฟลเตอร์เป็นความผิดปกติที่พบในเพศชาย โดย
มีโครโมโซม X เกินมา อาจมีโครโมโซมเพศเป็นแบบ XXY หรือ
XXXY
- กลุ่มอาการดับเบิลวายเป็นความผิดปกติที่พบในเพศชาย เกิดจาก
การที่มีโครโมโซม Y เกินมาจากปกติ ท�าให้มีโครโมโซมเพศเป็น
แบบ XYY
• ความผิดปกติของยีน เช่น โรคผิวเผือก ภาวะนิ้วเกิน โรคธาลัสซีเมีย ภาวะนิ้วเกิน
ภาวะตาบอดสี โรคฮีโมฟีเลีย

T44
การดัดแปรทางพันธุกรรม
การดัดแปรทางพันธุกรรมต้องอาศัยความรู้ทางพันธุศาสตร์และใช้เทคโนโลยีทางพันธุวิศวกรรม โดยการน�ายีนของสิ่งมีชีวิตหนึ่ง
ที่มีลักษณะทางพันธุกรรมที่ต้องการ ใส่เข้าไปในสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง เพื่อให้แสดงลักษณะทางพันธุกรรมตามต้องการ เรียกสิ่งมีชีวิตนี้ว่า
สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม (genetically modified organisms; GMOs) ซึ่งน�าไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ เช่น

ดานการแพทย ดานการเกษตร ดานอุตสาหกรรม

การผลิตฮอร์โมนอินซูลินที่สกัดได้ การตัดต่อยีนในมะเขือเทศเพือ่ ชะลอ การปรับปรุงพันธุว์ วั เพือ่ เพิม่ คุณภาพ


จากแบคทีเรีย แทนการสกัดฮอร์โมน การเน่าเสียหลังจากเก็บเกี่ยว ของผลิตภัณฑ์ให้ดีขึ้น
อินซูลินจากตับอ่อนของสัตว์

ความหลากหลายทางชีวภาพ
• ความหลากหลายทางชีวภาพมี 3 ระดับ ดังนี้

ความหลากหลายของระบบนิเวศ ความหลากหลายของชนิดสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางพันธุกรรม

• ความหลากหลายทางชีวภาพมีความส�าคัญต่อการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ โดยระบบนิเวศทีม่ คี วามหลากหลายทางชีวภาพสูงจะรักษา


สมดุลได้ดีกว่าระบบนิเวศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพต�่า

ป า่ ดิบชืน้ มีความหลากหลายชนิดของสิง่ มีชวี ติ มากกว่าทะเลทราย เนือ่ งจากป่าดิบชืน้ มีสภาพภูมอิ ากาศและภูมปิ ระเทศทีเ่ หมาะสมต่อการ
ด�ารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ขณะที่ทะเลทรายมีสภาพอากาศร้อนและแห้งแล้ง ป่าดิบชื้นจึงมีความสมดุลของระบบนิเวศมากกว่าทะเลทราย
• ความหลากหลายทางชีวภาพยังมีความส�าคัญต่อมนุษย์ในด้านต่าง ๆ เช่น เป็นแหล่งอาหาร ใช้ท�ายารักษาโรค สร้างที่อยู่อาศัย
ท�าเครื่องนุ่งห่ม เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมต่าง ๆ ดังนั้น เราจึงควรร่วมกันดูแลรักษาความหลากหลายทางชีวภาพให้ยั่งยืน

T45
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Lecture Method)


การเตรียมการบรรยาย หนวยการเรียนรูที่

1. ครูเตรียมแบบทดสอบกอนเรียน หนวยการ
เรียนรูที่ 2 พันธุกรรม
2. ครูเตรียมภาพโครโมโซมหรือใชภาพโครโมโซม
ที่มีรูปรางตางๆ เพื่อใหนักเรียนทํากิจกรรม
2 พันธุกรรม
Engaging Activity ในหนังสือเรียนรายวิชา
พืน้ ฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1
·ÓäÁ´ÕàÍç¹àÍ
หนวยการเรียนรูที่ 2 เรื่อง โครโมโซม ดีเอ็นเอ ดีเอ็นเอ
ÊÒÂÂÒÇจึงสามารถ
อยู่ในเซลล์ที่มี
และยีน สารพั น ธุ ก รรมที่ กํ า หนดลั ก ษณะ
3. ครูเตรียมอุปกรณที่ใชทํากิจกรรม โครงสราง ทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต ขนาดเล็กได้
มีลักษณะเปนเกลียวคู
สารที่เกี่ยวของกับการถายทอดลักษณะทาง
พั น ธุ ก รรมและกิ จ กรรม สร า งแบบจํ า ลอง
โครโมโซม
4. ครู เ ตรี ย มข อ มู ล เกี่ ย วกั บ จํ า นวนโครโมโซม
ในรางกายของสิ่งมีชีวิตชนิดตางๆ เพื่อให
โรคธาลัสซีเมีย
นักเรียนเปรียบเทียบจํานวนโครโมโซมซึ่งอาจ
ความผิดปกติของยีนที่ควบคุมการ
ทําในรูปของตารางและมีภาพของสิ่งมีชีวิต สังเคราะหโปรตีนซึง่ เปนสวนประกอบ
ชนิดนั้นประกอบความเขาใจ ของเซลลเม็ดเลือดแดง

ตัวชี้วัด
ว 1.3 ม.3/1 อธิบำยควำมสัมพันธ์ระหว่ำงยีน ดีเอ็นเอ และโครโมโซม โดยใช้แบบจ�ำลอง
ว 1.3 ม.3/2 อธิบำยกำรถ่ำยทอดลักษณะทำงพันธุกรรมจำกกำรผสมโดยพิจำรณำลักษณะเดียวที่แอลลีลเด่นข่มแอลลีลด้อยอย่ำงสมบูรณ์
ว 1.3 ม.3/3 อธิบำยกำรเกิดจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของลูกและค�ำนวณอัตรำส่วนกำรเกิดจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของรุ่นลูก
ว 1.3 ม.3/4 อธิบำยควำมแตกต่ำงของกำรแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส
ว 1.3 ม.3/5 บอกได้ว่ำกำรเปลี่ยนแปลงของยีนหรือโครโมโซม อำจท�ำให้เกิดโรคทำงพันธุกรรม พร้อมทั้งยกตัวอย่ำงโรคทำงพันธุกรรม
ว 1.3 ม.3/6 ตระหนักถึงประโยชน์ของควำมรูเ้ รือ่ งโรคทำงพันธุกรรม โดยรูว้ ำ่ ก่อนแต่งงำนควรปรึกษำแพทย์เพือ่ ตรวจและวินจิ ฉัยภำวะเสีย่ งของลูกทีอ่ ำจเกิด
โรคทำงพันธุกรรม
ว 1.3 ม.3/7 อธิบำยกำรใช้ประโยชน์จำกสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม และผลกระทบที่อำจมีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมโดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้
แนวตอบ Big Question ว 1.3 ม.3/8 ตระหนักถึงประโยชน์และผลกระทบของสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมที่อำจมีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม โดยกำรเผยแพร่ควำมรู้ที่ได้จำกกำรโต้แย้ง
ทำงวิทยำศำสตร์ ซึ่งมีข้อมูลสนับสนุน
รางกายมนุษยมีกลไกซึ่งทําใหดีเอ็นเอที่มีสาย ว 1.3 ม.3/9 เปรียบเทียบควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพในระดับชนิดสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศต่ำง ๆ
ยาวสามารถขดตัวอยูในเซลลที่มีขนาดเล็กได โดย ว 1.3 ม.3/10 อธิบำยควำมส�ำคัญของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพที่มีต่อกำรรักษำสมดุลของระบบนิเวศและต่อมนุษย์
ว 1.3 ม.3/11 แสดงควำมตระหนักในคุณค่ำและควำมส�ำคัญของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ โดยมีส่วนร่วมในกำรดูแลรักษำควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ
ดีเอ็นเอจะขดพันกับกอนโปรตีนและขดตัวพันกัน
หลายระดับ จนกระทั่งกลายเปนแทงโครโมโซมอยู
ภายในนิวเคลียสของเซลลสิ่งมีชีวิตได

เกร็ดแนะครู
การเรียนการสอน เรื่อง พันธุกรรม ครูควรจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับ
ลักษณะทางพันธุกรรม โดยใหนักเรียนทํากิจกรรม เชน ใหนักเรียนนําภาพถาย
ครอบครัวของนักเรียนแตละคนมาวิเคราะหวา นักเรียนมีลักษณะใบหนา
คล า ยกั บ พ อ หรื อ แม โดยลั ก ษณะที่ เ หมื อ นกั น คื อ อะไร จากนั้ น ครู ถ าม
คํ า ถามกระตุ  น ความคิ ด ของนั ก เรี ย นเพื่ อ นํ า เข า สู  บ ทเรี ย นว า ลั ก ษณะทาง
พันธุกรรมสามารถถายทอดจากพอแมมาสูล กู ไดอยางไร สารพันธุกรรมคืออะไร
และมีลักษณะอยางไร

T46
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
การเตรียมการบรรยาย
Check for Understanding 5. ใหนกั เรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน หนวยการ
พิจารณาขอความตามความเขาใจของนักเรียนวาถูกหรือผิด แลวบันทึกลงในสมุดบันทึก เรียนรูที่ 2 พันธุกรรม
ถูก/ผิด 6. ใหนักเรียนตรวจสอบความเขาใจของตนเอง
1. สารพันธุกรรมของมนุษยบรรจุอยูภายในนิวเคลียส กอนเขาสูการเรียนการสอนจากกรอบ Check
2. สีของกลีบดอกเปนลักษณะทางพันธุกรรมของพืช for Understanding ในหนังสือเรียนรายวิชา

มุ ด
3. ลูกไดรับลักษณะทางพันธุกรรมจากพอและแม พืน้ ฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1

นส
งใ

หนวยการเรียนรูที่ 2 เรื่อง โครโมโซม ดีเอ็นเอ

ทึ ก
4. ความสูงและสีผิวเปนลักษณะทางพันธุกรรมของมนุษย

บั น
5. การสืบพันธุแบบอาศัยเพศ ทําใหลูกมีลักษณะเหมือนพอและแมทุกประการ และยีน โดยบันทึกลงในสมุดประจําตัวนักเรียน
7. ใหนักเรียนทํากิจกรรม Engaging Activity
โดยจั บ คู  ห มายเลขใต ภ าพโครโมโซมที่
E ngaging พิจารณาภาพที่กําหนดให แลวใหนักเรียนจับคูหมายเลขใตภาพที่เหมือนกัน
เหมือนกันจากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 หนวย
Activity
การเรียนรูที่ 2 เรื่อง โครโมโซม ดีเอ็นเอ และ
ยีน
8. ครูสรุปหลังทํากิจกรรมวา ภาพที่นักเรียนใช
ทํากิจกรรม เรียกวา โครโมโซม ซึ่งมีความ
เกี่ ย วข อ งกั บ การถ า ยทอดลั ก ษณะทาง
ภาพที่ 1 ภาพที่ 2 ภาพที่ 3 ภาพที่ 4 พั น ธุ ก รรมของสิ่ ง มี ชี วิ ต โดยในธรรมชาติ
โครโมโซมจะอยูกันเปนคู เรียกวา ฮอมอโลกัส
โครโมโซม

ภาพที่ 5 ภาพที่ 6 ภาพที่ 7 ภาพที่ 8

ภาพที่ 9 ภาพที่ 10 ภาพที่ 11 ภาพที่ 12


ภาพที่ 2.1 จําลองรูปรางโครโมโซมของสิ่งมีชีวิต แนวตอบ Check for Understanding
ที่มา : คลังภาพ อจท.
พันธุกรรม 39 1. ถูก 2. ถูก 3. ถูก
4. ถูก 5. ผิด

แนวตอบ Engaging Activity


ภาพที่ 1 คูกับภาพที่ 12
ภาพที่ 2 คูกับภาพที่ 3
ภาพที่ 4 คูกับภาพที่ 9
ภาพที่ 5 คูกับภาพที่ 7
ภาพที่ 6 คูกับภาพที่ 11
ภาพที่ 8 คูกับภาพที่ 10

T47
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
การบรรยาย
1. ครูถามคําถาม Key Question Key 1 โครโมโซม ดีเอ็นเอ และยีน
2. ครูถามคําถามนักเรียน ดังนี้ Question สิ่งมีชีวิตทุกชนิดประกอบด้วยเซลล์ซึ่งมีส่วนประกอบส�ำคัญ
• ยกตัวอยางลักษณะทีถ่ า ยทอดทางพันธุกรรม ออร์แกเนลล์ใดทีเ่ กีย่ วข้อง 3 ส่วน คือ นิวเคลียส ไซโทพลำซึม และเยื่อหุ้มเซลล์ โดยส่วน
ของพืชมีอะไรบาง กับการถ่ายทอดลักษณะ ประกอบที่มีควำมเกี่ยวข้องกับกำรถ่ำยทอดลักษณะทำงพันธุกรรม
ทางพันธุกรรม คือ นิวเคลียส ซึ่งเป็นออร์แกเนลล์ที่มีหน้ำที่ควบคุมกำรท�ำงำนของ
(แนวตอบ เชน สีของเมล็ด ลักษณะของเมล็ด
ความสูงของลําตน สีของกลีบดอก) เซลล์ เนื่องจำกภำยในมีสำรพันธุกรรมบรรจุอยู่
• ยกตัวอยางลักษณะทีถ่ า ยทอดทางพันธุกรรม เมื่อน�ำเซลล์ไปศึกษำภำยใต้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง จะพบว่ำ ภำยในนิวเคลียสมีโครงสร้ำงที่สำมำรถ
ของสัตวมีอะไรบาง ย้อมติดสีได้ดี ซึ่งโครงสร้ำงนี้มีควำมเกี่ยวข้องกับกำรถ่ำยทอดลักษณะทำงพันธุกรรม
(แนวตอบ เชน สีขน สีตา ลักษณะขน ลักษณะ
ใบหู) กิจกรรม
• ยกตัวอยางลักษณะทีถ่ า ยทอดทางพันธุกรรม ศึกษาโครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ของมนุษยมีอะไรบาง
(แนวตอบ เชน สีตา สีผม ลักษณะของหนังตา จุดประสงค์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
- กำรสังเกต
ลักษณะการหอลิ้น ลักษณะติ่งหู ลักษณะ อธิบำยโครงสร้ำงสำรที่อยู่ภำยในนิวเคลียสได้ - กำรตีควำมหมำยข้อมูล
และลงข้อสรุป
การมีลักยิ้ม) วัสดุอปุ กรณ์ จิตวิทยาศาสตร์
- ควำมสนใจใฝ่รู้
3. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน เพื่อทํา 1. สไลด์ถำวรของนิวเคลียสในเซลล์ปลำยรำกหอมที่ย้อมสีอะซิโตออร์ซินหรืออะซีโตคำร์มีน - ควำมรับผิดชอบ
- กำรท�ำงำนร่วมกับผู้อื่นได้
กิจกรรม ศึกษาโครงสรางที่เกี่ยวของกับการ 2. กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง อย่ำงสร้ำงสรรค์
ถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
วิธปี ฏิบตั ิ
4. ครูถามคําถามทายกิจกรรม
1. ใ ห้นกั เรียนแบ่งกลุม่ กลุม่ ละ 5-6 คน แล้วร่วมกันสังเกตและศึกษำลักษณะของสิง่ ทีป่ รำกฏในนิวเคลียสของเซลล์ปลำยรำกหอม
ภำยใต้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง จำกนั้นวำดภำพสิ่งที่เห็นและบรรยำยโครงสร้ำงของสำรที่อยู่ภำยในนิวเคลียส
2. สืบค้นและรวบรวมข้อมูล เพื่อระบุว่ำสำรที่อยู่ภำยในนิวเคลียสคืออะไร

ค�าถามท้ายกิจกรรม
1. สำรที่อยู่ภำยในนิวเคลียสมีลักษณะเป็นอย่ำงไร
2. สำรที่อยู่ภำยในนิวเคลียสคืออะไร
แนวตอบ Key Question
อภิปรายผลกิจกรรม
นิวเคลียส
จำกกิจกรรม เมือ่ ใช้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงส่องดูสไลด์ถำวรของนิวเคลียสในเซลล์ปลำยรำกหอม จะพบว่ำ ส่วนทีอ่ ยูภ่ ำยใน
นิวเคลียสบำงเซลล์มีลักษณะคล้ำยกับเส้นใยขนำดเล็กพันกัน ซึ่งเรียกว่ำ โครมาทิน (chromatin) มักพบขณะที่เซลล์ยังไม่เกิด
แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม กระบวนกำรแบ่งเซลล์ และพบว่ำส่วนที่อยู่ภำยในนิวเคลียสบำงเซลล์มีลักษณะเป็นแท่งหดสั้น เรียกว่ำ โครโมโซม (chromosome)

1. บางเซลลมีลักษณะเปนเสนใยยาวพันกันและ
บางเซลลมีลักษณะเปนแทง 40
2. โครโมโซม

ตารางบันทึก กิจกรรม ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูแสดงภาพตัวอยางของสไลดถาวรของนิวเคลียสในเซลลปลายรากหอม ลักษณะในขอใดไมสามารถถายทอดผานทางพันธุกรรมได
แลวใหขอมูลทางวิชาการเพื่อใหนักเรียนสืบคนและนําไปเปรียบเทียบกับภาพ 1. ความรู
ที่เห็นภายใตกลองจุลทรรศน เพื่อระบุสารที่อยูภายในนิวเคลียสใหถูกตอง 2. การมีลักยิ้ม
3. ลักษณะติ่งหู
ตัวอยางภาพสไลดถาวรของ 4. ลักษณะของหนังตา
ภาพที่เห็นภายใตกลองจุลทรรศน
เซลลปลายรากหอม
(วิเคราะหคําตอบ การมีลกั ยิม้ ลักษณะติง่ หู ลักษณะของหนังตา
โครมาทิด เปนลักษณะทางพันธุกรรมทีส่ ามารถถายทอดตอไปยังรุน ลูกหลาน
ได ดังนั้น ตอบขอ 1.)
ก รรม
ย ก
 ู บ
ั ผลกิจ
ขึ้นอ

โครโมโซม โครมาทิน

T48
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
การบรรยาย
โครโมโซม (chromosome) ประกอบด้วยสำรพันธุกรรมและโปรตีน โดยบำงช่วงของสำรพันธุกรรมท�ำหน้ำที่ 5. ครูอธิบายวา สิ่งที่นักเรียนเห็นภายใตกลอง
ควบคุมและก�ำหนดลักษณะทำงพันธุกรรมต่ำง ๆ ของสิ่งมีชีวิต เช่น ลักษณะสีตำของมนุษย์ ลักษณะใบของพืช
จุลทรรศน เรียกวา โครโมโซม เมือ่ ผานกระบวน
ลักษณะขนของสัตว์
สิ่ ง มี ชี วิ ต ชนิ ด เดี ย วกั น จะมี จ� ำ นวนโครโมโซม การแบ ง เซลล แ ล ว โครโมโซมจะมี ลั ก ษณะ
ในร่ำงกำยเท่ำกัน แต่สิ่งมีชีวิตต่ำงชนิดกันอำจมีจ�ำนวน เปนแทง แตบางเซลลที่ยังไมผานกระบวนการ
โครโมโซมในร่ำงกำยเท่ำกันหรือไม่เท่ำกัน เนื่องจำก นักเรียนคิดว่า สิ่งมีชีวิตต่างชนิดกัน แบงเซลลจะมีลักษณะเปนเสนใยยาวพันกัน
สิง่ มีชวี ติ แต่ละชนิดมีลกั ษณะทีแ่ ตกต่ำงกัน ตัวอย่ำงจ�ำนวน จะมีจ�านวนโครโมโซมเท่ากันหรือไม่
เรียกวา โครมาทิน
โครโมโซมของเซลล์ร่ำงกำยของสิ่งมีชีวิตชนิดต่ำง ๆ 6. ใหนักเรียนศึกษาภาพในหนังสือเรียนรายวิชา
แสดงดังตำรำงที่ 2.1
พืน้ ฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1
ตารางที่ 2.1 จ�ำนวนโครโมโซมของเซลล์ร่ำงกำยของสิ่งมีชีวิตชนิดต่ำง ๆ หรือตารางแสดงจํานวนโครโมโซมของเซลล
ชนิดของสิ่งมีชีวิต จ�านวนโครโมโซม (แท่ง)
ร า งกายของสิ่ ง มี ชี วิ ต ชนิ ด ต า งๆ แล ว ถาม
แมลงหวี่ 8
คําถามนักเรียน ดังนี้
แมลงวัน 12
• สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีจํานวนโครโมโซมเทากัน
ถั่วลันเตำ 14
ข้ำวโพด 20
ไดหรือไม
ข้ำว 24
( แนวตอบ อาจเท า กั น หรื อ ไม เ ท า กั น ก็ ไ ด
มะเขือเทศ 24 ภาพที่ 2.2 ชิมแปนซีมีจ�ำนวนโครโมโซม แต ส่ิ ง มี ชี วิ ต ชนิ ด เดี ย วกั น จะมี จํ า นวน
กบ 26
ใกล้เคียงกับมนุษย์ โครโมโซมเทากันเสมอ)
ที่มา : คลังภาพ อจท.
หมู 38 • จํานวนโครโมโซมของสิ่งมีชีวิตสัมพันธกับ
ปลำกัด 42 ขนาดของสิ่งมีชีวิตหรือไม
หนู 40 (แนวตอบ ไมสัมพันธ ตัวอยางเชน ยูกลีนา
มนุษย์ 46 เปนสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กกวามนุษย แตมี
ชิมแปนซี 48 จํานวนโครโมโซมมากกวาจํานวนโครโมโซม
สุนัข 78 ภาพที่ 2.3 ยูกลีนำมีจ�ำนวนโครโมโซม ในรางกายมนุษย)
ไก่ 78
90 แท่ง
ที่มา : คลังภาพ อจท.
• จํานวนโครโมโซมในรางกายมนุษยมีเทาใด
(แนวตอบ 46 แทง หรือ 23 คู)
จำกตำรำง จะเห็นว่ำ โดยทั่วไปสิ่งมีชีวิตจะมี
จ� ำ นวนโครโมโซมเป็ น เลขคู ่ และจ� ำ นวนโครโมโซม
ไม่สัมพันธ์กับขนำดของสิ่งมีชีวิต เช่น มนุษย์มีจ�ำนวน จงยกตัวอย่างเซลล์ร่างกาย
โครโมโซม 46 แท่ง ในขณะที่สุนัขมีจ�ำนวนโครโมโซม ของมนุษย์มาอย่างน้อย 3 ตัวอย่าง
78 แท่ง หรือกบมีจ�ำนวนโครโมโซม 26 แท่ง ในขณะที่ แนวตอบ คําถาม
ปลำกัดมีจ�ำนวนโครโมโซม 42 แท่ง 1. สิง่ มีชวี ติ ตางชนิดอาจมีจาํ นวนโครโมโซมเทากัน
หรือไมเทากันได
พันธุกรรม 41 2. ตัวอยางเชน เซลลเยื่อบุขางแกม เซลลประสาท
เซลลเม็ดเลือดแดง

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


สารพันธุกรรมของมนุษยบรรจุอยูในออรแกเนลลใด ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจาก QR Code 3D เรื่อง โครโมโซม
1. ไรโบโซม
2. นิวเคลียส
3. กอลจิบอดี
4. คลอโรพลาสต
(วิเคราะหคําตอบ นิวเคลียส คือ เปนออรแกเนลลที่มีหนาที่
โครโมโซม
www.aksorn.com/interactive3D/RK922
ควบคุมการทํางานของเซลล และภายในนิวเคลียสมีสารพันธุกรรม
บรรจุอยู ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T49
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
การบรรยาย
7. ครูอธิบายวา การศึกษาจํานวนและขนาดของ เพือ่ ท�ำกำรศึกษำจ�ำนวนและรูปร่ำงของโครโมโซมของมนุษย์ดว้ ยกำรน�ำเซลล์รำ่ งกำย เช่น เซลล์เม็ดเลือดขำว
ชนิดลิมโฟไซต์ มำศึกษำและถ่ำยภำพโครโมโซมภำยใต้กล้องจุลทรรศน์ แล้วจัดเรียงโครโมโซมหรือเรียกว่ำ กำรท�ำ
โครโมโซมเปนคู เรียกวา แครีโอไทป ซึง่ เปนวิธี แครีโอไทป์ (karyotype) ซึ่งเป็นกำรศึกษำจ�ำนวนและขนำดของโครโมโซมเป็นคู่ ๆ
ทีแ่ พทยมกั ใชในการวินจิ ฉัยโรคทางพันธุกรรม
โดยโครโมโซมของมนุษยแบงเปน 2 ประเภท
คือ โครโมโซมรางกาย หรือเรียกวา ออโตโซม
จะมีขนาดและรูปรางของโครโมโซมเทากัน 1 2 3 4 5 6

และโครโมโซมเพศซึ่งอาจมีขนาดและรูปราง
เทากันจะเปนเพศหญิง แตถามีขนาดตางกัน 7 8 9 10 11 12
จะเปนเพศชาย
8. ใหนักเรียนศึกษาการจัดเรียงโครโมโซมของ 13 14 15 16 17 18
มนุษยเพศหญิงและเพศชายในหนังสือเรียน
รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 19 20 21 22 23
ม.3 เลม 1 หนวยการเรียนรูท ี่ 2 เรือ่ ง โครโมโซม
ดีเอ็นเอ และยีน

1 2 3 4 5 6

7 8 9 10 11 12

13 14 15 16 17 18

19 20 21 22 23

ภาพที่ 2.4 กำรจัดเรียงโครโมโซมของมนุษย์เพศชำยและเพศหญิง


ที่มา : คลังภาพ อจท.
มนุษย์มีจ�ำนวนโครโมโซม 46 แท่ง จัดเป็นคู่ 23 คู่ โดยคู่ที่ 1-22 จะมีรูปร่ำงและขนำดเท่ำกันทั้งในเพศชำย
และเพศหญิง เรียกว่ำ ออโตโซม (autosome) ส่วนคูท่ ี่ 23 เรียกว่ำ โครโมโซมเพศ (sex chromosome) โดยในเพศชำย
โครโมโซมทั้ง 2 แท่ง จะมีขนำดไม่เท่ำกัน แท่งที่มีขนำดใหญ่กว่ำ เรียกว่ำ โครโมโซม X ส่วนแท่งที่มีขนำดเล็กกว่ำ
เรียกว่ำ โครโมโซม Y เขียนสัญลักษณ์ได้เป็น XY ส่วนในเพศหญิง โครโมโซมทั้ง 2 แท่ง จะมีขนำดเท่ำกัน คือ
โครโมโซม X ทั้งคู่ จึงเขียนสัญลักษณ์ได้เป็น XX

42

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับรูปรางของโครโมโซมวา โครโมโซมมีรูปราง ขอใดหมายถึงออโตโซม
คลายกับปาทองโก ประกอบดวยแขนหรือรยางคทั้ง 2 ขาง แตละขาง เรียกวา 1. โครโมโซมคูที่ 1-20
โครมาทิด และมีจุดเชื่อมติดกัน เรียกวา เซนโทรเมียร เมื่อใชตําแหนงของ 2. โครโมโซมคูที่ 1-21
เซนโทรเมียรเปนเกณฑ จะแบงรูปรางของโครโมโซมออกไดเปน 4 ชนิด ดังนี้ 3. โครโมโซมคูที่ 1-22
1. เมตาเซนตริก (metacentric) เปนโครโมโซมที่มีแขนยื่นออกมาจาก 4. โครโมโซมคูที่ 1-23
เซนโทรเมียรเทากัน หรือเกือบเทากัน 2 ขาง (วิเคราะหคําตอบ มนุษยมีจํานวนโครโมโซมในรางกาย 46 แทง
2. ซับเมตาเซนตริก (submetacentric) เปนโครโมโซมที่มีแขนยื่นออกมา หรือ 23 คู โดยโครโมโซมคูที่ 1-22 คือ โครโมโซมรางกายหรือ
จากเซนโทรเมียรไมเทากัน 2 ขาง เรียกวา ออโตโซม ดังนั้น ตอบขอ 3.)
3. อะโครเซนตริก (acrocentric) เปนโครโมโซมทีม่ ลี กั ษณะเปนแทง โดยมี
เซนโทรเมียรอยูใกลกับปลายขางใดขางหนึ่ง ทําใหเห็นโครโมโซมเปนสวน
เล็กๆ ยื่นออกมาจากเซนโทรเมียร
4. เทโลเซนตริก (telocentric) เปนโครโมโซมที่มีลักษณะเปนแทง โดยมี
เซนโทรเมียรอยูตอนปลายสุดของโครโมโซม

T50
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
การบรรยาย
จะเห็นวา เซลลรางกายของสิ่งมีชีวิตจะมีโครโมโซมอยูกันเปนคู หรือมีจํานวน 2 ชุด แตเซลลสืบพันธุของ 9. ครูถามความคิดเห็นของนักเรียนวา นักเรียน
สิ่งมีชีวิตจะมีโครโมโซมเพียงครึ่งหนึ่งของเซลลรางกาย หรือมีโครโมโซมเพียง 1 ชุด ดังนั้น เซลลรางกายของมนุษย
มีโครโมโซมจํานวน 46 แทง หรือ 23 คู และเซลลสืบพันธุของมนุษยมีโครโมโซมจํานวน 23 แทง ดังภาพที่ 2.5
คิ ด ว า จํ า นวนโครโมโซมของเซลล อ สุ จิ
กับเซลลเยื่อบุผิวขางแกมของนักเรียนจะมี
พอ แม จํานวนโครโมโซมเทากันหรือไม
(แนวตอบ ไมเทากัน โดยเซลลอสุจจิ ะมีจาํ นวน
โครโมโซมเป น ครึ่ ง หนึ่ ง ของเซลล เ ยื่ อ บุ ผิ ว
ขางแกม)
10. ให นั ก เรี ย นศึ ก ษาภาพจํ า นวนโครโมโซม
ก อ นและหลั ง การปฏิ ส นธิ แล ว สุ  ม เรี ย ก
นักเรียน 2-3 คน ออกมาอธิบายหนาชั้น
เรียน โดยครูคอยเสริมขอมูลเพิ่มเติมเพื่อให
เพศชายมีจํานวน เพศหญิงมีจํานวน นักเรียนเกิดความเขาใจที่ตรงกัน
โครโมโซม 46 แทง โครโมโซม 46 แทง

การปฏิสนธิ

เซลลอสุจิมีจํานวน เซลลไขมีจํานวน
โครโมโซม 23 แทง โครโมโซม 23 แทง

ไซโกต
(โครโมโซม 46 แทง หรือ 23 คู)

ภาพที่ 2.5 จํานวนโครโมโซมกอนและหลังการปฏิสนธิ


ที่มา : คลังภาพ อจท.

พันธุกรรม 43

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


สามีภรรยาคูหนึ่งมีบุตรเพศชาย เซลลสืบพันธุของพอและแม ให นั ก เรี ยนศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม จากภาพยนตร ส ารคดี สั้น Twig เรื่อ ง การ
ควรมีโครโมโซมเปนอยางไร ตามลําดับ ถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม : ตอนที่ 1 (https://www.twigaksorn.com/fi
1. 22 แทง + X และ 22 แทง + Y film/inheritance-part-1-7936/)
2. 22 แทง + X และ 22 แทง + X
3. 23 แทง + X และ 23 แทง + Y
4. 23 แทง + Y และ 23 แทง + Y
(วิเคราะหคําตอบ มนุษยมีโครโมโซม 46 แทง หรือ 23 คู โดยคู
ที่ 23 คือ โครโมโซมเพศ ถาเปนเพศชายจะมีโครโมโซม XY และ
เพศหญิงจะมีโครโมโซม XX โดยธรรมชาติโครโมโซมจะอยูกัน
เป น คู  แ ละแยกออกจากกั น ไปอยู  ใ นเซลล สื บ พั น ธุ  แ ละกลั บ มา
รวมกันอยางอิสระหลังการปฏิสนธิ ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T51
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
การบรรยาย
11. ให นั ก เรี ย นแบ ง กลุ  ม กลุ  ม ละ 5-6 คน จากภาพที่ 2.5 จะพบวา จํานวนโครโมโซมของลูกครึง่ หนึง่ ไดมาจาก Science in Real Life
เซลลสืบพันธุของพอ และอีกครึ่งหนึ่งไดมาจากเซลลสืบพันธุของแม ดังนั้น เซลลรางกายของมนุษยมีจํานวน
ทํ า กิ จ กรรม สร า งแบบจํ า ลองโครโมโซม ลูกจึงไดรับสารพันธุกรรมที่อยูภายในโครโมโซมจากพอและแม ทําใหลูกมี โครโมโซม 46 แทง หากจํานวนโครโมโซม
จากวั ส ดุ ที่ ค รู เ ตรี ย มให ในหนั ง สื อ เรี ย น ลักษณะและรูปรางคลายกับพอและแม เกินหรือขาดหายไป จะทําใหรา งกายเกิด
รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ความผิดปกติและพิการได
ม.3 เล ม 1 หน ว ยการเรี ย นรู  ที่ 2 เรื่ อ ง
โครโมโซม ดีเอ็นเอ และยีน กิจกรรม
12. ครูถามคําถามทายกิจกรรม สรางแบบจําลองโครโมโซม

ขัน้ สรุป จุดประสงค ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร


- การจัดกระทําและสื่อความหมาย
ครู สุ  ม เลื อ กแบบจํ า ลองโครโมโซมที่ มี อธิบายโครงสรางพื้นฐานของโครโมโซมได ขอมูล
- การสรางแบบจําลอง
ความสมบูรณหรือใชแบบจําลองที่ครูสรางเอง จิตวิทยาศาสตร
- ความสนใจใฝรู
มาอภิปรายเพือ่ ใหไดขอ สรุปวา โครงสรางพืน้ ฐาน วัสดุอปุ กรณ - ความรับผิดชอบ
- การทํางานรวมกับผูอื่นได
ของโครโมโซมประกอบดวยดีเอ็นเอและยีน ซึ่ง 1. เชือก 4. ลวดกํามะหยี่ อยางสรางสรรค
ดีเอ็นเอมีลักษณะเปนเกลียวคูสายยาว โดยชวง 2. ลูกปด 5. อุปกรณเครื่องเขียน
ความยาวหนึ่งของสายดีเอ็นเอ คือ ยีน ซึ่งเปน 3. ดินนํา้ มัน
ข อ มู ล ทางพั น ธุ ก รรมที่ มี ผ ลต อ ลั ก ษณะทาง
พันธุกรรมของสิง่ มีชวี ติ ดังนัน้ รางกายของมนุษย วิธปี ฏิบตั ิ
จึ ง มี ก ลไกในการเก็ บ พั น ธุ ก รรมเหล า นี้ ไ ด จ าก 1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน แลวรวมกันสืบคนขอมูลเกี่ยวกับโครงสรางของโครโมโซม
การขดพันกันระหวางสายดีเอ็นเอกับกอนโปรตีน 2. รวบรวมขอมูลที่สืบคนได แลวนํามาออกแบบและสรางแบบจําลองโครโมโซมจากวัสดุที่กําหนดให
แลวขดพันกันอีกหลายระดับจนกระทั่งกลายเปน 3. ใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมานําเสนอแบบจําลองหนาชั้นเรียน
แทงโครโมโซม
คําถามทายกิจกรรม
1. โครงสรางของโครโมโซมประกอบดวยอะไรบาง
2. โครโมโซมมีความสําคัญกับกระบวนการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมอยางไร

อภิปรายผลกิจกรรม
แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม จากกิจกรรม พบวา โครโมโซมของสิ่งมีชีวิตประกอบดวยสารประกอบ 2 ชนิด คือ ดีเอ็นเอ (DNA) และโปรตีน โดยดีเอ็นเอ
มีลักษณะเปนเสนยาวขดพันอยูรอบ ๆ โปรตีน และจะขดตัวเพิ่มขึ้นจนกระทั่งกลายเปนแทง
1. โปรตีนและดีเอ็นเอ
2. โครโมโซมเป น ที่ อ ยู  ข องสารพั น ธุ ก รรม โดย
ธรรมชาติ โ ครโมโซมจะอยู  กั น เป น คู  แ ละจะ
แยกจากกันไปอยูในเซลลสืบพันธุเพื่อถายทอด 44
ลักษณะทางพันธุกรรมตอไปยังรุนลูก

ตารางบันทึก กิจกรรม ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


โครงสราง รูปรางและลักษณะ วัสดุที่เลือกใช ขอใดจัดเรียงลําดับองคประกอบทีอ่ ยูภ ายในนิวเคลียสของเซลล
ตั้งแตหนวยใหญไปหนวยเล็กไดถูกตอง
โครโมโซม คลายปาทองโก 1. ดีเอ็นเอ โครโมโซม ยีน
2. โครโมโซม ดีเอ็นเอ ยีน
งนัก เรียน
ดีเอ็นเอ เสนเกลียวคู ิพนิจขอ 3. โครโมโซม ยีน ดีเอ็นเอ
ูกับดุลย 4. ยีน โครโมโซม ดีเอ็นเอ
ขึ้นอย
(วิเคราะหคําตอบ ยีนเปนชวงความยาวหนึง่ ของสายดีเอ็นเอและ
ชวงหนึ่งของความยาว ดีเอ็นเอขดพันกับกอนโปรตีนหลายระดับ จนกระทัง่ กลายเปนแทง
ยีน
ของเสนเกลียวคู โครโมโซม ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T52
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
1. ให นั ก เรี ย นทํ า แบบฝ ก หั ด รายวิ ช าพื้ น ฐาน
จากกิจกรรมสรางแบบจําลองโครโมโซม พบวา โครงสรางพื้นฐานของโครโมโซมประกอบดวยดีเอ็นเอ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 เรื่อง
และยีน ซึ่งโครโมโซมเกิดจากการขดพันกันระหวางดีเอ็นเอและโปรตีนเปนเสนยาว และมีการขดพันกันอีกหลาย
ระดับจนกระทัง่ กลายเปนแทงโครโมโซม โดยดีเอ็นเอเปนสารพันธุกรรมทีก่ าํ หนดลักษณะทางพันธุกรรมของสิง่ มีชวี ติ โครโมโซม ดีเอ็นเอ และยีน
ซึง่ ดีเอ็นเอในเซลลรา งกายของมนุษยแตละเซลลมคี วามยาวมาก และแตละชวงความยาวของดีเอ็นเอ คือ ขอมูลทาง 2. ใหนักเรียนตรวจสอบความเขาใจของนักเรียน
พันธุกรรมที่มีผลตอลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต เรียกวา หนวยพันธุกรรมหรือยีน (gene) ดังภาพ โดยตอบคําถาม Topic Questions ลงใน
สมุดประจําตัวนักเรียน
ดีเอ็นเอ ยีนหรือหนวยพันธุกรรม
เปนโมเลกุลที่มีลักษณะเปนเกลียวคู ทําหนาที่ คือ ชวงความยาวหนึ่งของสายดีเอ็นเอ 3. ใหนักเรียนตอบคําถาม H.O.T.S. โดยเขียน
เก็บขอมูลทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต ทีท่ าํ หนาทีก่ าํ หนดลักษณะทางพันธุกรรม คําตอบลงในสมุดประจําตัวนักเรียน
ของสิ่งมีชีวิต 4. ตรวจแบบฝกหัดรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 เรื่อง โครโมโซม
ดีเอ็นเอ และยีน
5. ตรวจคําตอบ Topic Questions เรือ่ ง โครโมโซม
ดีเอ็นเอ และยีน ในสมุดประจําตัวนักเรียน
กอนโปรตีน 6. ตรวจการตอบคํ า ถาม H.O.T.S. ในสมุ ด
ประจําตัวนักเรียน
7. ใหนักเรียนประเมินวิธีการสอนของครูผูสอน
โดยใหนักเรียนเขียนขอเสนอแนะเกี่ยวกับวิธี
การสอน เพือ่ ครูจะไดนาํ ขอเสนอแนะไปปรับใช
ดีเอ็นเอพันรอบ
กอนโปรตีน
กับการสอนในครั้งตอไป

โครโมโซม
โครโมโซมของสิ่งมีชีวิตที่อยูกันเปนคู เรียกวา ฮอมอโลกัสโครโมโซม ซึ่งเปนโครโมโซมที่มีการ
จัดเรียงยีนบนคูโ ครโมโซมทีเ่ หมือนกัน โดยยีนทีอ่ ยูบ นฮอมอโลกัสโครโมโซมมีรปู แบบทีแ่ ตกตางกัน
เรียกรูปแบบของยีนวา แอลลีล
แนวตอบ H.O.T.S.
ภาพที่ 2.6 ความสัมพันธระหวางโครโมโซม ดีเอ็นเอ และยีน
โครโมโซม
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ยี น เป น หน ว ยพั น ธุ ก รรมที่ อ ยู  บ นช ว งความ
HOTS ยาวหนึ่งของสายดีเอ็นเอ ทําหนาที่ควบคุมและ
(คําถามทาทายการคิดขั้นสูง) กําหนดลักษณะทางพันธุกรรมของสิง่ มีชวี ติ ดีเอ็นเอ
โครโมโซม ดีเอ็นเอ และยีน มีความสัมพันธกันอยางไร จึ ง ทํ า หน า ที่ เ ก็ บ สารพั น ธุ ก รรมของสิ่ ง มี ชี วิ ต
เนื่องจากดีเอ็นเอเปนเกลียวคูที่มีสายยาว รางกาย
ของสิง่ มีชวี ติ จึงมีกลไกการเก็บสายดีเอ็นเอดวยการ
ขดพันกับกอนโปรตีนและขดพันกันอีกหลายระดับ
พันธุกรรม 45 จนกระทั่ ง กลายเป น แท ง โครโมโซม โครโมโซม
จึงเปนที่อยูของสารพันธุกรรม

กิจกรรม สรางเสริม แนวทางการวัดและประเมินผล


ให นั ก เรี ย นศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ โครงสร า งของดี เ อ็ น เอ โดยให ครูวดั และประเมินผลความเขาใจในเนือ้ หา เรือ่ ง โครโมโซม ดีเอ็นเอ และยีน
นักเรียนสืบคนขอมูลและรวบรวมขอมูล แลววาดภาพโครงสราง ไดจากการทํากิจกรรม เรื่อง สรางแบบจําลองโครโมโซม โดยศึกษาเกณฑการ
ของดีเอ็นเอและระบุองคประกอบของดีเอ็นเอลงในกระดาษ A4 วั ด และประเมิ น ผลจากแบบประเมิ น การปฏิ บั ติ กิ จ กรรมที่ อ ยู  ใ นแผนการ
ตกแตงใหสวยงาม พรอมนําเสนอหนาชั้นเรียน จัดการเรียนรูประจําหนวยการเรียนรูที่ 2

เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติกิจกรรม
แบบประเมินการปฏิบัติกจิ กรรม
ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับ 1. การปฏิบัติ ทากิจกรรมตามขั้นตอน ทากิจกรรมตามขั้นตอน ต้องให้ความช่วยเหลือ ต้องให้ความช่วยเหลือ

กิจกรรม ทาทาย
ระดับคะแนน กิจกรรม และใช้อุปกรณ์ได้อย่าง และใช้อุปกรณ์ได้อย่าง บ้างในการทากิจกรรม อย่างมากในการทา
ถูกต้อง ถูกต้อง แต่อาจต้อง และการใช้อุปกรณ์ กิจกรรม และการใช้
ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน ได้รับคาแนะนาบ้าง อุปกรณ์
4 3 2 1 2. ความ มีความคล่องแคล่ว มีความคล่องแคล่ว ขาดความคล่องแคล่ว ทากิจกรรมเสร็จไม่
1 การปฏิบัติการทากิจกรรม คล่องแคล่ว ในขณะทากิจกรรมโดย ในขณะทากิจกรรมแต่ ในขณะทากิจกรรมจึง ทันเวลา และทา
2 ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัติกิจกรรม ในขณะปฏิบัติ ไม่ต้องได้รับคาชี้แนะ ต้องได้รับคาแนะนาบ้าง ทากิจกรรมเสร็จไม่ อุปกรณ์เสียหาย
3 การบันทึก สรุปและนาเสนอผลการทากิจกรรม กิจกรรม และทากิจกรรมเสร็จ ทันเวลา
และทากิจกรรมเสร็จ
ทันเวลา
รวม ทันเวลา

ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน สืบคนขอมูลเพิ่มเติม


3. การบันทึก สรุป บันทึกและสรุปผลการ บันทึกและสรุปผลการ ต้องให้คาแนะนาในการ ต้องให้ความช่วยเหลือ
และนาเสนอผล ทากิจกรรมได้ถูกต้อง ทากิจกรรมได้ถูกต้อง บันทึก สรุป และ อย่างมากในการบันทึก
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
การปฏิบัติ รัดกุม นาเสนอผลการ แต่การนาเสนอผลการ นาเสนอผลการทา สรุป และนาเสนอผล
................./................../.................. กิจกรรม ทากิจกรรมเป็นขั้นตอน ทากิจกรรมยังไม่เป็น กิจกรรม การทากิจกรรม
ชัดเจน ขั้นตอน

เกี่ยวกับระยะการขดตัวของสายดีเอ็นเอจนกระทั่งเปนโครโมโซม
รวบรวมขอมูล แลวบันทึกลงในสมุดบันทึก และนําเสนอในรูปแบบ
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10-12 ดีมาก
7-9 ดี

ที่นาสนใจ
4-6 พอใช้
0-3 ปรับปรุง

T53
นํานํา สอน
สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Lecture Method)


การเตรียมการบรรยาย
1. ครูเตรียมภาพเด็กและผูใหญหลายภาพมาให Check for Understanding
นักเรียนทํากิจกรรม Engaging Activity พิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุดบันทึก
2. ครูเตรียมภาพประกอบการสอน ถูก/ผิด

3. ครูจัดทําใบงาน เรื่อง การศึกษาพันธุศาสตร 1. บิดำแห่งวิชำพันธุศำสตร์ คือ เกรกอร์ โยฮันน์ เมนเดล


ของเมนเดล 2. กำรทดลองของเมนเดลผสมต้นถั่วลันเตำดอกสีม่วงพันธุ์แท้กับดอกสีขำวพันธุ์แท้ จะปรำกฏ
ดอกสีขำวในลูกรุ่นที่ 1

มุ ด
นส
งใ
3. สัตว์ชนิดเดียวกันจะมีรูปร่ำงและลักษณะเหมือนกันทุกประกำร
ขัน้ สอน


ทึ ก
บั น
การบรรยาย 4. รูปแบบของยีน เรียกว่ำ แอลลีล
5. ลักษณะด้อย คือ ลักษณะที่ปรำกฏในทุก ๆ รุ่นของสิ่งมีชีวิต
1. ใหนักเรียนตรวจสอบความรูของตนเองกอน
เข า สู  ก ารเรี ย นการสอนจากกรอบ Check
for Understanding ในหนังสือเรียนรายวิชา
พื้ น ฐานวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ม.3
E ngaging ให้นักเรียนพิจารณาภาพเด็กและผู้ใหญ่ที่กําหนดให้ แล้วจับคู่หมายเลขของภาพ
เด็กกับผู้ใหญ่ที่มีแนวโน้มเปนครอบครัวเดียวกันให้ถูกต้อง
Activity
เลม 1 หนวยการเรียนรูที่ 2 เรื่อง การถายทอด
ลักษณะทางพันธุกรรม โดยบันทึกลงในสมุด
ประจําตัวนักเรียน
2. ใหนักเรียนทํากิจกรรม Engaging Activity
โดยใหนักเรียนพิจารณาภาพเด็กและผูใหญ
ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 หนวยการเรียนรูท ี่ 2 ภาพที่ 1 ภาพที่ 2 ภาพที่ 3
เรื่ อ ง การถ า ยทอดลั ก ษณะทางพั น ธุ ก รรม
จากนั้ น ให นั ก เรี ย นจั บ คู  ห มายเลขใต ภ าพ
เด็ ก กั บ ผู  ใ หญ ที่ มี แ นวโน ม เป น ครอบครั ว
เดียวกัน

ภาพที่ 4 ภาพที่ 5 ภาพที่ 6


ภาพที่ 2.7 เด็กและผู้ใหญ่เชื้อชำติต่ำง ๆ
แนวตอบ Check for Understanding ที่มา : คลังภาพ อจท.

1. ถูก 2. ผิด 3. ผิด 46


4. ถูก 5. ผิด

แนวตอบ Engaging Activity


ภาพที่ 1 คูกับภาพที่ 6
ภาพที่ 2 คูก ับภาพที่ 4
ภาพที่ 3 คูก ับภาพที่ 5

T54
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
การบรรยาย
Key 2 การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม 3. ใหนักเรียนสํารวจตนเองและครูถามคําถาม
Question สิ่งมีชีวิตทุกชนิดไดรับขอมูลทางพันธุกรรมจากพอและแม นักเรียน ดังนี้
เพราะเหตุใดเด็กทีเ่ กิดจาก ซึ่งสิ่งมีชีวิตที่สืบพันธุแบบอาศัยเพศจะมีลักษณะ รูปราง และหนาตา - นักเรียนคนใดมีหนังตา 2 ชั้นบาง
พอและแมทมี่ หี นังตา ที่ไมเหมือนกับพอแม แตจะคลายคลึงกับพอ หรือคลายคลึงกับแม - นักเรียนคนใดมีหนังตาชั้นเดียวบาง
2 ชัน
้ ทัง้ 2 คน จึงมี หรือคลายคลึงทั้งพอและแม หรืออาจจะไมเหมือนทั้งพอและแม 4. ครูสุมเรียกตัวแทนนักเรียนที่มีหนังตา 2 ชั้น
หนังตาชัน้ เดียว แตอาจเหมือนกับสิ่งมีชีวิตรุนกอนหนาก็ได และหนังตาชัน้ เดียว 1 คน ตามลําดับ แลวถาม
มนุษยเริม่ แสวงหาขอเท็จจริงเกีย่ วกับกลไกการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตัง้ แตชว งปลายคริสตศตวรรษ นักเรียนวา พอและแมของนักเรียนมีลักษณะ
ที่ 19 ซึ่งไดมีการคนพบขอเท็จจริงเกี่ยวกับการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมหลายประการ แตการคนพบที่นําไปสู หนังตาเหมือนกับนักเรียนหรือไม
การศึกษาเกี่ยวกับพันธุศาสตร คือ การคนพบของเกรกอร โยฮันน เมนเดล 5. ครูถามคําถาม Key Question
6. ครูแจกใบงาน เรือ่ ง การศึกษาพันธุศาสตรของ
2.1 การศึกษาพันธุศาสตรของเมนเดล เมนเดล และใหนักเรียนศึกษาคําชี้แจงและ
เกรกอร โยฮันน เมนเดล เปนชาวออสเตรีย เกิดในป พ.ศ. 2365
ในวัยเด็กเมนเดลมีความสนใจในการศึกษาเปนอยางมากจึงไดเขาศึกษา
ตอบคําถามลงในใบงาน ตอนที่ 1
ที่โบสถในกรุงบรีนน ซึ่งปจจุบัน คือ เมืองเบอรโน ในสาธารณรัฐเช็ก 7. ครูบรรยายประวัตขิ องเกรกอร โยฮันน เมนเดล
และในเวลาต อ มาเมนเดลได เ ข า ศึ ก ษาต อ ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เวี ย นนา พอสังเขปจากใบงาน ตอนที่ 2
ประเทศออสเตรีย หลังจากสําเร็จการศึกษาจึงกลับมาเปนครูสอนวิชา 8. ใหนั กเรีย นเติ มคํา ลงในชอ งว างให สมบูรณ
วิทยาศาสตร และดัดแปลงที่ดินดานหลังโบสถใหเปนแปลงทดลองดาน หลังจากที่ครูบรรยายจบแลว
พฤกษศาสตรควบคูไปกับงานดานศาสนา เมนเดลเริ่มศึกษาดานพันธุศาสตร
โดยทํ า การทดลอง จนสามารถอธิ บ ายหลั ก การการถ า ยทอดลั ก ษณะ
ทางพันธุกรรมได เขาจึงไดรับการยกยองวาเปนบิดาแหงวิชาพันธุศาสตร
เมนเดลเลือกใชถั่วลันเตา (Pisum sativum L.) มาใชในการทดลอง
เนื่องจากถั่วลันเตามีลักษณะที่เหมาะสมหลายประการ ดังนี้ ภาพที่ 2.8 เกรกอร โยฮันน เมนเดล
ที่มา : www.pinterest.com
- เปนพืชที่ปลูกงาย เจริญเติบโตเร็ว ใหลูกและหลานจํานวนมาก
และมีวงจรชีวิตสั้น
- เปนพืชที่มีหลายพันธุ และมีลักษณะทางพันธุกรรมที่แตกตางกัน กลีบดอก
อยางชัดเจน 1
- มีดอกเปนดอกสมบูรณเพศ และมีลักษณะพิเศษที่ทําใหเกิดการ
ผสมพันธุภายในดอกเดียวกัน โอกาสที่จะเกิดการผสมขามตนจึงตํ่ามาก
ซึ่งเหมาะสมตอการควบคุมการทดลอง เกสรเพศเมีย
เกสรเพศผู
ภาพที่ 2.9 ดอกของตนถั่วลันเตาเปนดอกสมบูรณเพศ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
แนวตอบ Key Question
เพราะทั้งพอและแมมียีนที่ควบคุมลักษณะ
พันธุกรรม 47 หนังตาแบบเฮเทอโรไซกัสจีโนไทป ลูกจึงไดรับ
ยีนดอยจากพอและแมทําใหลูกมีหนังตาชั้นเดียว

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


นักวิทยาศาสตรทานใดที่ไดรับการยกยองใหเปนบิดาแหงวิชา 1 ดอกสมบูรณเพศ คือ ดอกไมที่มีทั้งเกสรเพศผูและเกสรเพศเมียอยูใน
พันธุศาสตร ดอกเดียวกัน เชน ชบา พูระหง ถั่ว พริก พุทธรักษา ขาว มะเขือ ซึ่งดอก
1. ชาลส ดารวิน ครบสวนหรือดอกสมบูรณ จัดเปนดอกสมบูรณเพศเสมอ
2. วิลเลียม ฮารวีย
3. เกรกอร เมนเดล
4. ดีมีตรี เมนเดเลเยฟ สื่อ Digital
(วิเคราะหคําตอบ เกรกอร เมนเดล มีความสนใจในวิชาพันธุ
ให นั ก เรี ย นศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม จาก
ศาสตรและเปนผูคนพบหลักการสําคัญของการถายทอดลักษณะ
ภาพยนตรสารคดีสน้ั Twig เรือ่ ง เมนเดล
ทางพันธุกรรม เขาจึงไดรับการยกยองใหเปนบิดาแหงวิชาพันธุ
และการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ศาสตร ดังนั้น ตอบขอ 3.)
(https://www.twigaksorn.com/fifilm/
mendel-and-inheritance-7940/)

T55
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
การบรรยาย
9. ครูอธิบายเพิ่มเติมวา เมนเดลเลือกศึกษา ในกำรทดลองกำรถ่ำยทอดลักษณะทำงพันธุกรรม เมนเดลเลือกศึกษำลักษณะของต้นถั่วลันเตำที่มีควำม
แตกต่ำงกันอย่ำงชัดเจนเป็นคู่ ซึ่งมีจ�ำนวน 7 ลักษณะ ดังภำพ
วิ ช าพั น ธุ ศ าสตร โ ดยทดลองกั บ ถั่ ว ลั น เตา
เพราะถั่ ว ลั น เตามี ลั ก ษณะที่ เ หมาะสม รูปร่างของเมล็ด รูปร่างของฝก ตําแหน่งของดอก
หลายประการ คือ ปลูกงาย เจริญเติบโตเร็ว
ใหลูกและหลานจํานวนมาก มีลักษณะทาง
พันธุกรรมแตกตางกันอยางชัดเจน และมี เรียบ ขรุขระ
ดอกสมบูรณเพศ ซึง่ เหมาะสมตอการควบคุม
การผสมพันธุได สีของเมล็ด ฝักอวบ ฝักแฟบ
เกิดที่ล�ำต้น เกิดที่ยอด
10. ครูอธิบายตอไปวา ลักษณะของถั่วลันเตาที่
เมนเดลเลือกนํามาศึกษา ไดแก รูปรางของ
เมล็ด สีของเมล็ด รูปรางของฝก สีของฝก ความสูงของลําต้น
สีเหลือง สีเขียว สีของฝก
สีของดอก ตําแหนงของดอก และความสูง
ของลําตน ซึง่ นักเรียนจะเห็นไดจากในใบงาน
สีของดอก
หลังจบการบรรยาย ใหนักเรียนทําใบงาน
ตอนที่ 3
สีม่วง สีขำว สีเหลือง สีเขียว สูง เตี้ย

ภาพที่ 2.10 ลักษณะของถั่วลันเตำที่เมนเดลเลือกศึกษำ


ที่มา : คลังภาพ อจท.

หลังจำกนั้น เมนเดลเลือกพิจำรณำศึกษำทีละลักษณะ ตัวอย่ำงเช่น สีของดอก โดยกำรน�ำต้นถั่วลันเตำที่มี


ลักษณะตำมต้องกำรไปปลูกและผสมพันธุ์ภำยในดอกเดียวกัน เมื่อต้นถั่วลันเตำออกฝัก จึงน�ำเมล็ดไปปลูกและ
คัดเลือกต้นทีม่ ลี กั ษณะเหมือนรุน่ พ่อแม่มำผสมพันธุภ์ ำยในดอกเดียวกันต่อไปอีกหลำยรุน่ จนกระทัง่ เมล็ดทีน่ ำ� ไปเพำะ
ได้ต้นถั่วลันเตำที่มีลักษณะเหมือนรุ่นพ่อแม่ทุกต้น เรียกว่ำ ต้นถั่วลันเตาพันธุ์แท้

Science
Focus การถายเรณู
กำรถ่ำยเรณูแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1. การถ่ายเรณูภายในดอกเดียวหรือต้นเดียวกัน (self pollination) เป็นกำรถ่ำยเรณูไปยังยอดเกสรเพศเมียภำยในดอกเดียวกัน
หรือคนละดอกแต่อยู่ต้นเดียวกัน
2. การถ่ายเรณูข้ามต้น (cross pollination) เป็นกำรถ่ำยเรณูจำกดอกของพืชต้นหนึ่งไปยังยอดเกสรเพศเมียของพืช
อีกต้นหนึ่ง

48

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับลักษณะทางพันธุกรรมที่ถูกควบคุมโดยยีน 1 คู ขอใดไมใชลกั ษณะของถัว่ ลันเตาทีเ่ มนเดลเลือกนํามาใชในการ
วาแบงออกไดเปน 2 แบบ ดังนี้ ทดลองการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
1. พันธุแท (homozygous) คือ ลักษณะของคูยีนที่เหมือนกัน ซึ่งอาจเปน 1. รูปรางของใบ
ยีนที่มีลักษณะเดนทั้งคู เชน TT, RR หรือแสดงลักษณะดอยทั้งคู เชน tt, rr 2. รูปรางของเมล็ด
2. พันธุทาง (heterozygous) คือ ลักษณะของคูยีนที่แตกตางกัน โดยมี 3. ตําแหนงของดอก
ยีนเดน 1 ยีน และยีนดอย 1 ยีน เชน Tt, Rr หากแอลลีลเดนขมแอลลีลดอย 4. ความสูงของลําตน
อยางสมบูรณ สิ่งมีชีวิตจะแสดงลักษณะเดน (วิเคราะหคําตอบ ถั่ ว ลั น เตาเป น พื ช ที่ เ มนเดลเลื อ กใช ใ นการ
ทดลอง เนื่องจากมีลักษณะที่แตกตางกันอยางชัดเจน 7 ลักษณะ
ไดแก รูปรางของเมล็ด สีของเมล็ด รูปรางของฝก สีของฝก
สีของดอก ตําแหนงของดอก และความสูงของลําตน ดังนั้น
ตอบขอ 1.)

T56
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
การบรรยาย
จากนั้นเมนเดลจึงทดลองผสมตนถั่วลันเตาดอกสีมวงพันธุแทกับตนถั่วลันเตาดอกสีขาวพันธุแท ซึ่งได 11. ใหนักเรียนศึกษาภาพขั้นตอนการทดลอง
ผลการทดลอง ดังภาพที่ 2.11
ของเมนเดลจากหนั ง สื อ เรี ย นรายวิ ช าพื้ น
1 2 ฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1
ตัดเกสรเพศผูที่ไมตองการ ใชพกู นั แตะละอองเรณูจากดอกสีขาวไปวางบนยอด
เกสรเพศเมียของดอกสีมว ง หนวยการเรียนรูท่ี 2 เรื่อง การศึกษาพันธุ
ศาสตรของเมนเดล
ดอกสีขาว 12. ครู อ ธิ บ ายต อ ไปว า เมนเดลเลื อ กศึ ก ษา
การถ า ยทอดลั ก ษณะทางพั น ธุ ก รรมโดย
ดอกสีมวง พิจารณาเพียงลักษณะเดียว ตัวอยางเชน
ในภาพที่ 2.11 เมนเดลเลือกศึกษาสีของ
กลีบดอก ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้
3 - ขั้นตอนที่ 1 เพาะตนถั่วลันเตาพันธุแท
เมือ่ ตนถัว่ ลันเตาดอกสีมว งออกฝก เก็บเกีย่ วเมล็ด
เพื่อนําไปปลูก โดยการนํ า ต น ถั่ ว ลั น เตามาผสมพั น ธุ 
ภายในดอกเดียวกัน แลวนําเมล็ดไปเพาะ
ทําเชนนี้จนกวารุนลูกทุกตนจะมีลักษณะ
4
ไดตนถั่วลันเตารุนลูกดอกสีมวงทุกตน แลวปลอย เหมือนตนพอแมทุกประการ
ลูกรุนที่ 1 (รุน F1) ใหตนถั่วลันเตารุนลูกแตละตนผสมพันธุภายใน - ขั้นตอนที่ 2 ผสมพันธุขามตนระหวาง
ดอกเดียวกัน จากนัน้ เก็บเกีย่ วเมล็ดแลวนําไปปลูก
ต น ถั่ ว ลั น เตาพั น ธุ  แ ท ด อกสี ม  ว งกั บ ต น
ถั่วลันเตาพันธุแทดอกสีขาว แลวนําเมล็ด
ไปเพาะ พบว า ต น ถั่ ว ลั น เตาทุ ก ต น
มีดอกสีมวง
ลูกรุนที่ 2 (รุน F2) - ขั้นตอนที่ 3 หลังจากนั้นนําตนถั่วลันเตา
รุน ลูกมาผสมกันเอง แลวนําเมล็ดไปเพาะ
พบวา มีตนถั่วลันเตาดอกสีขาวปรากฏ
ดอกสีมวง 705 ตน ดอกสีขาว 224 ตน ร อ ยละ 25 จากต น ถั่ ว ลั น เตาทั้ ง หมด
ส ว นร อ ยละ 75 เป น ต น ถั่ ว ลั น เตาที่ มี
ดอกสีมวง : ดอกสีขาว มีอัตราสวนประมาณ 3 : 1
ดอกสีมวง เมนเดลไดสรุปการทดลองวา
ภาพที่ 2.11 การทดลองของเมนเดลเพื่อศึกษาการถายทอดลักษณะสีดอกในถั่วลันเตา
ที่มา : คลังภาพ อจท. ลักษณะที่ปรากฏในลูกรุนที่ 1 เรียกวา
ลักษณะเดน สวนลักษณะที่ไมปรากฏใน
เมนเดลเรียกลักษณะที่ปรากฏในลูกรุนที่ 1 (ตนถั่วลันเตาดอกสีมวง) วา ลักษณะเดน และเรียกลักษณะ ลูกรุนที่ 1 แตมาปรากฏในลูกรุนที่ 2
ที่ไมปรากฏในลูกรุนที่ 1 แตมาปรากฏในลูกรุนที่ 2 (ตนถั่วลันเตาดอกสีขาว) วา ลักษณะดอย
เรียกวา ลักษณะดอย
พันธุกรรม 49

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


จากการทดลองผสมตนถั่วลันเตาดอกสีมวงกับตนถั่วลันเตา ครู อ าจชี้ ใ ห นั ก เรี ย นเห็ น วิ ธีก ารทํ า งานของเมนเดล ซึ่ ง เกี่ ย วข อ งกั บ
ดอกสีขาว ลูกรุนที่ 1 จะมีลักษณะทางพันธุกรรมอยางไร กระบวนการสืบเสาะหาความรู จากนั้นครูอาจอธิบายเพิ่มเติมวา ในขั้นตอน
1. ลักษณะเดนพันธุแท การทดลองของเมนเดล สาเหตุที่เมนเดลตองตัดเกสรเพศผูออกในระหวาง
2. ลักษณะดอยพันธุแท การผสมต น ถั่ ว ลั น เตาดอกสี ม  ว งกั บ ดอกสี ข าวก อ นที่ จ ะใช พู  กั น ผสมเกสร
3. ลักษณะเดนพันธุทาง เพราะตองการปองกันการผสมพันธุระหวางเกสรเพศผูกับเกสรเพศเมียภายใน
4. ลักษณะดอยพันธุทาง ดอกเดียวกัน
(วิเคราะหคําตอบ จากการทดลองของเมนเดล ลูกรุนที่ 1 ที่เกิด
จากการผสมระหว า งต น ถั่ ว ลั น เตาดอกสี ม  ว งกั บ ต น ถั่ ว ลั น เตา
ดอกสีขาว จะไดลูกที่มีดอกสีมวงทุกตน ซึ่งเปนลักษณะเดนที่มี
รูปแบบของยีนเปนแบบพันธุทาง (Pp) ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T57
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
1. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายคําตอบเพื่อให
ไดขอสรุปวา จากการศึกษาพันธุศาสตรของ เมือ่ เมนเดลทดลองผสมพันธุต น ถัว่ ลันเตาและศึกษาพิจารณาลักษณะอืน่ ๆ อีก 6 ลักษณะ โดยทําการทดลอง
เชนเดียวกับการพิจารณาสีดอกของตนถั่วลันเตา ก็ใหผลการทดลองเชนเดียวกัน คือ ตนถั่วลันเตาแตละลักษณะ
เมนเดล ทําใหทราบวา สิง่ มีชวี ติ มีการถายทอด ลวนมีอัตราสวนระหวางลักษณะเดนตอลักษณะดอยประมาณ 3 : 1 สามารถสรุปได ดังตารางที่ 2.2
ลั ก ษณะทางพั น ธุ ก รรมจากพ อ แม ไ ปยั ง ลู ก
โดยผ า นทางเซลล สื บ พั น ธุ  และลั ก ษณะที่ ตารางที่ 2.2 ผลการทดลองศึกษาการถายทอดลักษณะของตนถั่วลันเตา โดยพิจารณาลักษณะเดียว
แสดงออกของสิ่งมีชีวิตถูกควบคุมโดยหนวย ลักษณะของพอและแมพันธุแทที่ใชผสม
ลักษณะที่ปรากฏ
ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมที่เรียกวา ยีน ลูกรุนที่ 1 ลูกรุนที่ 2
ซึง่ อยูก นั เปนคูแ ละจะแยกออกจากกันไปอยูใ น
เมล็ดเรียบ 5,474 ตน
เซลลสืบพันธุเพศผูและเซลลสืบพันธุเพศเมีย เมล็ดขรุขระ 1,850 ตน
และกลับมารวมกันอยางอิสระ หลังผานการ เมล็ดเรียบ เมล็ดขรุขระ เมล็ดเรียบทุกตน
ปฏิสนธิ
2. ครูกลาวสรุปวา ลักษณะเดน คือ ลักษณะที่ เมล็ดสีเหลือง 6,022 ตน
เมล็ดสีเขียว 2,001 ตน
มีโอกาสปรากฏในรุนลูกทุกรุน ซึ่งถูกควบคุม เมล็ดสีเหลือง เมล็ดสีเขียว เมล็ดสีเหลืองทุกตน
โดยยีนเดน สวนลักษณะดอย คือ ลักษณะ
ที่มีโอกาสปรากฏในรุนลูกตอไปไดนอยกวา ดอกสีมวง 705 ตน
ซึ่งถูกควบคุมโดยยีนดอย ดังนั้น สิ่งมีชีวิตจึง ดอกสีขาว 224 ตน
ดอกสีมวง ดอกสีขาว ดอกสีมวงทุกตน
มียนี ทีท่ าํ หนาทีค่ วบคุมลักษณะทางพันธุกรรม
ของสิ่งมีชีวิต ฝกอวบ 882 ตน
ฝกแฟบ 299 ตน
ฝกอวบ ฝกแฟบ ฝกอวบทุกตน

ฝกสีเขียว 428 ตน


ฝกสีเหลือง 152 ตน
ฝกสีเหลือง ฝกสีเขียว ฝกสีเขียวทุกตน

ดอกเกิดที่ลําตน 651 ตน


ดอกเกิดที่ยอด 207 ตน
ดอกเกิดที่ลําตน ดอกเกิดที่ยอด ดอกเกิดที่ลําตนทุกตน

ตนสูง 787 ตน


ตนเตี้ย 277 ตน
ตนสูง ตนเตี้ย ตนสูงทุกตน

50

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับประเภทของลักษณะทางพันธุกรรมวา แบงออก ขอใดสรุปถูกตองเกี่ยวกับการทดลองผสมถั่วลันเตาดอกสีมวง
เปน 2 ประเภท ดังนี้ กับถั่วลันเตาดอกสีขาวของเมนเดล
1. ลักษณะทางพันธุกรรมทีม่ คี วามแปรผันตอเนือ่ ง (continuous variation) 1. ลูกรุนที่ 2 มีลักษณะเดนทั้งหมด
เปนลักษณะทางพันธุกรรมที่ไมสามารถแยกความแตกตางไดอยางชัดเจน เชน 2. ลูกรุนที่ 1 มีลักษณะดอยทั้งหมด
สีผวิ ความสูง นํา้ หนัก ลักษณะเหลานีถ้ กู ควบคุมดวยยีนหลายคู ยีนจึงมีอทิ ธิพล 3. ลูกรุนที่ 1 มีทั้งลักษณะเดนและลักษณะดอย
ตอการควบคุมลักษณะดังกลาวนอยกวาสิ่งแวดลอม 4. ลูกรุนที่ 2 มีทั้งลักษณะเดนและลักษณะดอย
2. ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแปรผันไมตอเนื่อง (discontinuous (วิเคราะหคําตอบ จากการทดลองของเมนเดล ลักษณะทีป่ รากฏ
variation) เปนลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแตกตางกันอยางชัดเจน เชน ในลูกรุนที่ 1 เรียกวา ลักษณะเดน และเมื่อนําลูกรุนที่ 1 มา
การหอลิ้นได ลักษณะของหนังตา ลักษณะเหลานี้ถูกควบคุมดวยยีนนอยคู ผสมกัน จะไดลูกรุนที่ 2 ที่มีอัตราสวนของลักษณะเดน : ลักษณะ
ยีนจึงมีอิทธิพลตอการควบคุมลักษณะดังกลาวมากกวาสิ่งแวดลอม ดอย ประมาณ 3 : 1 ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T58
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
1. ให นั ก เรี ย นตรวจสอบความรู  ห ลั ง เรี ย นใน
จำกกำรทดลอง เมนเดลได้อธิบำยผลกำรทดลองที่เกิดขึ้นว่ำ สิ่งมีชีวิตมีหน่วยควบคุมลักษณะแต่ละลักษณะ ใบงาน ตอนที่ 4
ที่สำมำรถถ่ำยทอดจำกพ่อและแม่ไปยังรุ่นต่อไปได้ โดยเขำตั้งสมมติฐำนว่ำ หน่วยควบคุมลักษณะมีอยู่เป็นคู่
เมื่อสิ่งมีชีวิตสร้ำงเซลล์สืบพันธุ์ หน่วยดังกล่ำวจะแยกออกจำกกันไปอยู่ในเซลล์สืบพันธุ์
2. ให นั ก เรี ย นทํ า แบบฝ ก หั ด รายวิ ช าพื้ น ฐาน
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 เรื่อง
ก�ำหนดให้ และ เป็นหน่วยควบคุมลักษณะเดียวกัน 2 รูปแบบ การศึกษาพันธุศาสตรของเมนเดล
3. ใหนักเรียนตอบคําถาม H.O.T.S. ลงในสมุด
ประจํ า ตั ว นั ก เรี ย น จากนั้ น ครู ต รวจสมุ ด
ประจําตัวนักเรียน
4. ใหนักเรียนประเมินวิธีการสอน โดยครูอาจ
ถามนักเรียนหรือใหนกั เรียนเขียนขอเสนอแนะ
เกีย่ วกับวิธกี ารสอน เพือ่ ครูจะไดนาํ ขอเสนอแนะ
เซลล์สืบพันธุ์ ไปปรับใชกับการสอนในครั้งตอไป
เซลล์ร่างกาย

เซลล์ร่างกาย

เซลล์สืบพันธุ์
เซลล์ร่างกาย
ภาพที่ 2.12 กำรถ่ำยทอดยีนของพ่อและแม่ไปสู่ลูก
ที่มา : คลังภาพ อจท.

ภำยหลังกำรทดลองของเมนเดล มีนักวิทยำศำสตร์หลำยท่ำน
HOTS
(ค�าถามท้าทายการคิดขั้นสูง)
น�ำกำรทดลองของเมนเดลมำศึกษำเพิ่มเติม จนค้นพบว่ำ หน่วยพันธุกรรม ต้นมะนำวในสวนมีทั้งต้นสูง
ที่ควบคุมลักษณะดังกล่ำวเรียกว่ำ ยีน (gene) โดยลักษณะที่แสดงออกของ และต้นเตี้ย ลักษณะควำมสูง
สิ่งมีชีวิตจะถูกควบคุมโดยยีน 1 คู่ จึงสรุปได้ว่ำ ลักษณะเด่นซึ่งปรำกฏ แนวตอบ H.O.T.S.
ของต้นใดถูกควบคุมโดยยีนด้อย
ในทุก ๆ รุ่นถูกควบคุมโดยยีนเด่น (dominant gene) และลักษณะด้อยที่มี มีวิธีสังเกตอย่างไร สั ง เกตและจดบั น ทึ ก จํ า นวนของมะนาวที่ มี
โอกำสปรำกฏในรุ่นต่อไปได้น้อยจะถูกควบคุมโดยยีนด้อย (recessive gene) ลําตนสูงและมะนาวทีม่ ลี าํ ตนเตีย้ แลวนํามาเปรียบ
เทียบกัน ซึ่งลักษณะเดนที่ถูกควบคุมโดยยีนเดน
พันธุกรรม 51 จะมีโอกาสปรากฏลักษณะออกมาใหเห็นมากกวา
ลักษณะที่ถูกควบคุมโดยยีนดอย

กิจกรรม สรางเสริม แนวทางการวัดและประเมินผล


ให นั ก เรี ย นสื บ ค น ข อ มู ล เกี่ ย วกั บ ลั ก ษณะทางพั น ธุ ก รรม ครูวดั และประเมินผลความเขาใจในเนือ้ หา เรือ่ ง การศึกษาพันธุศาสตรของ
ของมนุ ษ ย ที่ ค วบคุ ม โดยยี น เด น และยี น ด อ ย รวบรวมข อ มู ล เมนเดล ไดจากการทําใบงาน เรือ่ ง การศึกษาพันธุศาสตรของเมนเดล โดยศึกษา
พรอมสรุปและยกตัวอยางลงในสมุดประจําตัวนักเรียน เกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
ที่อยูในแผนการจัดการเรียนรูประจําหนวยการเรียนรูที่ 2
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่


ตรงกับระดับคะแนน
ระดับคะแนน

กิจกรรม ทาทาย
ลาดับที่ รายการประเมิน
3 2 1
1 การแสดงความคิดเห็น   
2 การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น   
3 การทางานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย   
4 ความมีนาใจ   
5 การตรงต่อเวลา   

ให นั ก เรี ย นแบ ง กลุ  ม กลุ  ม ละ 5-6 คน สํ า รวจลั ก ษณะ รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน

ทางพันธุกรรม เชน การมีลักยิ้ม ลักษณะหนังตา ลักษณะเสนผม


............/.................../................

เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน

การมีติ่งหู การหอลิ้นได ลักษณะสันจมูกของเพื่อนในโรงเรียน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง


ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครัง
ให้
ให้
2 คะแนน
1 คะแนน

อยางนอยจํานวน 30 คน จากนั้นรวบรวมขอมูลและวิเคราะหวา เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ


ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

ลั ก ษณะดั ง กล า วเป น ลั ก ษณะเด น หรื อ ลั ก ษณะด อ ย พร อ มทั้ ง


14–15 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

ใหเหตุผลประกอบ
T59
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (5Es Instructional Model)


กระตุน ความสนใจ
1. ครูนาํ ภาพฮอมอโลกัสโครโมโซมมาใหนกั เรียน 2.2 การถ่ายทอดยีนบนโครโมโซม
ศึกษา และครูถามคําถามนักเรียนวา สิ่งที่อยู ยีนเป็นส่วนหนึ่งของดีเอ็นเอซึ่งอยู่บนโครโมโซม โดยโครโมโซมจะอยู่เป็นคู่ และเรียกโครโมโซมที่มีการจัด
ในภาพคืออะไร เรียงต�าแหน่งยีนที่เหมือนกันว่า ฮอมอโลกัสโครโมโซม (homologous chromosome) ต�าแหน่งยีนบนฮอมอโลกัส
โครโมโซม เรียกว่า โลคัส (locus) ซึ่งแต่ละโลคัสจะมียีนที่ควบคุมลักษณะของสิ่งมีชีวิตเพียง 1 ลักษณะ ซึ่งแต่ละยีน
(แนวตอบ ฮอมอโลกัสโครโมโซม) มีรูปแบบของยีนที่ต่างกัน เรียกว่า แอลลีล (allele) ซึ่งแต่ละโลคัสของฮอมอโลกัสโครโมโซมจะมีแอลลีลที่มีรูปแบบ
2. ครู เ ตรี ย มอุ ป กรณ ส ร า งแบบจํ า ลองยี น บน เหมือนหรือแตกต่างกัน ในกรณีที่ฮอมอโลกัสโครโมโซมมีแอลลีลที่มีรูปแบบที่แตกต่างกัน แอลลีลหนึ่งอาจข่ม
โครโมโซม ไดแก หลอดกาแฟและยางรัดผม อีกแอลลีลหนึ่ง เรียกแอลลีลที่ข่มว่า แอลลีลเด่น (dominant allele) ส่วนแอลลีลที่ถูกข่ม เรียกว่า แอลลีลด้อย
จํานวน 4 สี (recessive allele)
3. ใหนักเรียนแบงกลุมออกเปน 2 กลุม เพื่อทํา นักพันธุศาสตร์จงึ ได้กา� หนดสัญลักษณ์แทนแอลลีล โดยไม่ได้มกี ารก�าหนดรูปแบบทีต่ ายตัว อาจใช้ตวั อักษรแรก
กิจกรรมตอไป ของลักษณะเด่นเป็นภาษาอังกฤษและพิมพ์เป็นตัวเอน โดยอักษรตัวพิมพ์ใหญ่แทนแอลลีลเด่น และอักษร
ตัวพิมพ์เล็กแทนแอลลีลด้อย ตัวอย่างเช่น P แทนแอลลีลที่ควบคุมลักษณะกลีบดอกสีม่วง และ p แทนแอลลีลที่
ขัน้ สอน ควบคุมลักษณะกลีบดอกสีขาว แต่เนื่องจากยีนที่ควบคุมลักษณะของสิง่ มีชวี ติ อยูก่ นั เป็นคูบ่ นโครโมโซม ท�าให้ยนี มี
หลายรูปแบบ ได้แก่ PP Pp และ pp เรียกรูปแบบของยีนที่ปรากฏเป็นคู่ว่า จีโนไทป์ (genotype) ซึ่งยีนที่มีคู่แอลลีล
สํารวจคนหา
เหมือนกัน เรียกว่า ฮอมอไซกัสจีโนไทป์ (homozygous genotype) ซึ่งแบ่งเป็น 2 แบบ คือ ฮอมอไซกัส โดมิแนนท์
1. ใหนักเรียนแตละกลุมศึกษาขอมูลเกี่ยวกับยีน (homozygous dominant) หรือเด่นพันธุ์แท้ และฮอมอไซกัส รีเซสซีฟ (homozygous recessive) หรือด้อยพันธุ์แท้
บนโครโมโซมจากหนังสือเรียนรายวิชาพืน้ ฐาน และยีนทีม่ คี แู่ อลลีลต่างกัน เรียกว่า เฮเทอโรไซกัสจีโนไทป์ (heterozygous genotype) หรือเรียกอีกอย่างว่า พันธุท์ าง
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 และเรียกลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่แสดงออกว่า ฟีโนไทป์ (phenotype)
2. ให แ ต ล ะกลุ  ม สร า งแบบจํ า ลองฮอมอโลกั ส
โครโมโซมจากอุปกรณที่ครูเตรียมให โดยมี โลคัสของยีนที่ควบคุม โลคัสของยีนที่ควบคุม โลคัสของยีนที่ควบคุม
เงื่อนไข ดังนี้ ลักษณะสีของกลีบดอก ลักษณะของเมล็ด ลักษณะความสูงของล�าต้น
- แบบจําลองที่ 1 : มียีนรูปแบบเดียวกัน
P r t
ควบคุมลักษณะของสิ่งมีชีวิต 1 ลักษณะ
- แบบจํ า ลองที่ 2 : มี ยี น รู ป แบบต า งกั น ฮอมอโลกัส
โครโมโซม
ควบคุมลักษณะของสิ่งมีชีวิต 1 ลักษณะ
P r T
- แบบจําลองที่ 3 : มียีนควบคุมลักษณะของ
สิ่งมีชีวิต 2 ลักษณะ โดยที่ยีนมีรูปแบบ แอลลีลเด่น แอลลีลด้อย

เดียวกัน จีโนไทป์ PP rr Tt
(ฮอมอไซกัส โดมิแนนท์) (ฮอมอไซกัส รีเซสซีฟ) (เฮเทอโรไซกัส)
- แบบจําลองที่ 4 : มียีนควบคุมลักษณะของ
สิ่งมีชีวิต 2 ลักษณะ โดยที่ยีนมีรูปแบบ ฟีโนไทป์ กลีบดอกสีม่วง เมล็ดขรุขระ ต้นสูง
ตางกัน ภาพที่ 2.13 ฮอมอโลกัสโครโมโซม
ที่มา : คลังภาพ อจท.
3. ครูสุมเรียกตัวแทนนักเรียน 2-3 คู ออกมา
นําเสนอแบบจําลอง
52
4. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายแบบจําลอง

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอธิบายเพิ่มเติมวา ลักษณะเดนสมบูรณ (complete dominant) กําหนดใหแอลลีล T คือ ยีนที่ควบคุมลักษณะตนสูง และ
หมายถึง การขมของลักษณะเดนตอลักษณะดอยเปนไปอยางสมบูรณ ทําให แอลลีล t คือ ยีนที่ควบคุมลักษณะตนเตี้ยซึ่งเปนลักษณะดอย
ฟโนไทปของฮอมอไซกัสจีโนไทปและเฮเทอโรไซกัสจีโนไทปเหมือนกัน เชน ขอใดคือจีโนไทปของตนเตี้ย ตนสูงพันธุแท และตนสูงพันธุทาง
TT จะมีฟโนไทปเหมือนกับ Tt ทุกประการ ซึ่งนอกเหนือจากกฎของเมนเดลแลว ตามลําดับ
ยังมีลักษณะเดนไมสมบูรณ (incomplete dominant) ซึ่งเปนการขมกันอยาง 1. TT, Tt, tt
ไมสมบูรณ ทําใหมีการแสดงออกของยีนทั้งสองแบบผสมกัน สงผลใหฟโนไทป 2. Tt, TT, tt
ของเฮเทอโรไซกัสจีโนไทปไมเหมือนกับฟโนไทปของฮอมอไซกัสจีโนไทป เชน 3. tt, Tt, TT
การผสมดอกไมสีแดงกับดอกไมสีขาวไดดอกไมสีชมพู 4. tt, TT, Tt
(วิเคราะหคําตอบ ยี น มั ก อยู  กั น เป น คู  จึ ง มี รู ป แบบของยี น ได
หลายแบบ ซึ่งรูปแบบของยีนที่เหมือนกัน เรียกวา ฮอมอไซกัส
จีโนไทปหรือพันธุแท และรูปแบบของยีนที่แตกตางกัน เรียกวา
เฮเทอโรไซกัสจีโนไทปหรือพันธุทาง ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T60
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
กิจกรรม
5. ให นั ก เรี ย นแบ ง กลุ  ม กลุ  ม ละ 5-6 คน
โอกาสการเข้าคู่ของยีน
ทํากิจกรรม โอกาสการเขาคูของยีน โดยให
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สมาชิกภายในกลุมวางแผนกันแบงภาระและ
จุดประสงค์ - กำรสังเกต หนาที่รับผิดชอบในการทํากิจกรรม
- กำรค�ำนวณ
ค�ำนวณอัตรำส่วนของจีโนไทป์และฟีโนไทป์จำกกำรจ�ำลองกำรเข้ำคู่ของยีนได้ 6. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายผลกิจกรรม
จิตวิทยาศาสตร์
- ควำมสนใจใฝ่รู้
- ควำมรับผิดชอบ เพื่อใหไดขอสรุปวา ลูกปดแทนยีนที่ควบคุม
วัสดุอปุ กรณ์ - กำรท�ำงำนร่วมกับผู้อื่นได้
อย่ำงสร้ำงสรรค์ ลักษณะของสิ่งมีชีวิต 1 ลักษณะ โดยสีของ
1. สมุดบันทึก 3. ลูกปัดสีแดง จ�ำนวน 100 เม็ด ลูกปดแทนรูปแบบของยีน เรียกวา แอลลีล
2. กล่องพลำสติก จ�ำนวน 2 ใบ 4. ลูกปัดสีขำว จ�ำนวน 100 เม็ด
จากการจําลองการเขาคูกันของลูกปดเปรียบ
เสมือนการมาเขาคูกันหลังการปฏิสนธิ โดย
วิธปี ฏิบตั ิ
แอลลี ล หนึ่ ง ได จ ากพ อ และแอลลี ล หนึ่ ง ได
1. ให้นกั เรียนแบ่งกลุม่ กลุม่ ละ 5-6 คน แล้วให้นกั เรียนแต่ละกลุม่ น�ำลูกปัดสีขำวและสีแดงอย่ำงละ 50 เม็ด ใส่ลงในกล่องพลำสติก
ใบที่ 1 และใบที่ 2 จำกนั้นเขย่ำกล่องพลำสติกทั้ง 2 ใบ
จากแม
2. สุ่มหยิบลูกปัดจำกกล่องพลำสติกทั้ง 2 ใบ มำกล่องละ 1 เม็ด พร้อมกัน แล้วบันทึกผล จำกนั้นใส่ลูกปัดกลับลงไปใน 7. ครูถามคําถามทายกิจกรรม
กล่องพลำสติกทั้ง 2 ใบ
3. สุ่มหยิบลูกปัดจำกกล่องพลำสติกทั้ง 2 ใบ เหมือน ข้อ 2. อีก 99 ครั้ง แล้วค�ำนวณว่ำ ในกำรหยิบลูกปัด 100 ครั้ง หยิบได้ลูกปัด
สีแดงทั้ง 2 เม็ด จ�ำนวนกี่ครั้ง หยิบได้ลูกปัดสีแดงและสีขำวอย่ำงละ 1 เม็ด จ�ำนวนกี่ครั้ง และหยิบได้ลูกปัดสีขำวทั้ง 2 เม็ด
จ�ำนวนกี่ครั้ง จำกนั้นหำอัตรำส่วนอย่ำงต�่ำของจ�ำนวนครั้งในกำรหยิบได้ลูกปัดทั้ง 3 แบบ

ค�าถามท้ายกิจกรรม
1. อัตรำส่วนอย่ำงต�่ำที่แต่ละกลุ่มค�ำนวณได้เท่ำกับเท่ำใด
2. ถำ้ ลูกปัดสีแดงแทนแอลลีลเด่นทีค่ วบคุมลักษณะเด่น และลูกปัดสีขำวแทนแอลลีลด้อยทีค่ วบคุมลักษณะด้อย อัตรำส่วนจีโนไทป์
เป็นอย่ำงไร
3. จำกข้อ 2. อัตรำส่วนฟีโนไทป์ของลักษณะเด่นต่อลักษณะด้อยเป็นอย่ำงไร

อภิปรายผลกิจกรรม
จำกกิจกรรม กำรหยิบลูกปัดจำกกล่องพลำสติกใบที่ 1 และใบที่ 2 เปรียบเสมือนกำรเข้ำคู่กันของยีนที่มำจำกเซลล์สืบพันธุ์
เพศผู้และเพศเมียมำรวมกันได้เซลล์ร่ำงกำยที่มียีนอยู่ร่วมกันเป็นคู่ โดยอัตรำส่วนในกำรหยิบได้ลูกปัดทั้ง 3 แบบ (จีโนไทป์) แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม
ได้แก่ แดง-แดง แดง-ขำว และขำว-ขำว เป็นประมำณ 1 : 2 : 1 เนื่องจำกลูกปัดสีแดงเป็นแอลลีลเด่น กำรเข้ำคู่กันของลูกปัด 1. ควรได ลู ก ป ด คู  สี แ ดง-แดง แดง-ขาว และ
สีแดงกับสีขำวจึงแสดงออกมำเป็นลักษณะเด่น ดังนั้น อัตรำส่วนที่แสดงออกของลักษณะเด่น : ลักษณะด้อย (ฟีโนไทป์) จึงเป็น
ประมำณ 3 : 1 ขาว-ขาว ในอัตราสวนประมาณ 1 : 2 : 1
2. ควรไดจโี นไทปทมี่ ี 3 แบบ คือ แดง-แดง แดง-ขาว
และขาว-ขาว ซึ่งมีอัตราสวนเปน 1 : 2 : 1
พันธุกรรม 53 3. ฟโนไทปของลักษณะเดน : ลักษณะดอย คือ
3:1

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET ตารางบันทึก กิจกรรม

ถานักเรียนตองการตนถั่วลันเตารุนลูกที่มีลักษณะเมล็ดกลม สีของลูกปดที่หยิบได จํานวนครั้ง


ทั้ ง หมด ควรเลื อ กผสมพั น ธุ  ต  น ถั่ ว ลั น เตาแบบใด กํ า หนดให แดง-แดง
เมล็ดกลมเปนลักษณะเดนและเมล็ดขรุขระเปนลักษณะดอย กรรม
1. เมล็ดขรุขระ X เมล็ดขรุขระ
แดง-ขาว ขึ้นอยูกับผลกิจ
2. เมล็ดกลมพันธุแท X เมล็ดขรุขระ ขาว-ขาว
3. เมล็ดขรุขระ X เมล็ดกลมพันธุทาง รวม 100
4. เมล็ดกลมพันธุทาง X เมล็ดกลมพันธุทาง
(วิเคราะหคําตอบ
กําหนดให R เปนแอลลีลที่ควบคุมลักษณะเมล็ดกลม
r เปนแอลลีลที่ควบคุมลักษณะเมล็ดขรุขระ
เซลลสืบพันธุ RR X rr
จีโนไทปของลูก R r
ฟโนไทปของลูก คือ เมล็ดกลม Rr
ดังนั้น ตอบขอ 2.)
T61
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
8. ใหนักเรียนจับคูกับเพื่อนศึกษาการคํานวณ เมื่อสิ่งมีชีวิตมีกำรสร้ำงเซลล์สืบพันธุ์ แอลลีลที่เป็นคู่กันในแต่ละฮอมอโลกัสโครโมโซมจะแยกออกจำกกัน
ไปสูเ่ ซลล์สบื พันธุแ์ ต่ละเซลล์ ดังนัน้ จำกกิจกรรมกำรเข้ำคูก่ นั ของลูกปัดเปรียบเสมือนกำรเข้ำคูข่ องแอลลีลภำยหลัง
อัตราสวนจีโนไทปและฟโนไทปจากหนังสือ
กำรปฏิสนธิ โดยลักษณะของพ่อและแม่จะถ่ำยทอดไปยังรุ่นลูกผ่ำนทำงเซลล์สืบพันธุ์ โดยเซลล์สืบพันธุ์แต่ละเซลล์
เรี ย นรายวิ ช าพื้ น ฐานวิ ท ยาศาสตร แ ละ มีเพียง 1 แอลลีล จะมำเข้ำคูก่ บั แอลลีลทีต่ ำ� แหน่งเดียวกันของอีกเซลล์สบื พันธุห์ นึง่ จนเกิดเป็นจีโนไทป์และฟีโนไทป์
เทคโนโลยี ม.3 เลม 1 หนวยการเรียนรูที่ 2 ในรุ่นลูก
เรื่อง การถายทอดยีนบนโครโมโซม กำรถ่ำยทอดลักษณะทำงพันธุกรรมสำมำรถเขียนเป็นแผนภำพได้ โดยแผนภำพจะช่วยให้ค�ำนวณหำ
9. ครูสุมเรียกนักเรียนออกมา 2-3 คู ออกมา อัตรำส่วนทำงจีโนไทป์ได้ง่ำยขึ้น และท�ำนำยกำรเกิดจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของรุ่นลูกได้
อธิบายการคํานวณหาอัตราสวนจีโนไทปและ
ตัวอย่างที่ 2.1 เมื่อผสมพันธุ์ต้นมะเขือเทศผลสีแดงพันธุ์ทำงกับต้นมะเขือเทศผลสีเหลืองพันธุ์แท้เข้ำด้วยกัน
ฟโนไทปจากการผสมพอพันธุและแมพันธุ จงเขียนแผนภำพเพื่อหำจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของรุ่นลูก โดยก�ำหนดให้ R แทนแอลลีลเด่น
ที่มีจีโนไทปตางกัน ทีค่ วบคุมลักษณะผลสีแดง และ r แทนแอลลีลด้อยทีค่ วบคุมลักษณะผลสีเหลือง โดยทีแ่ อลลีลเด่น
10. ใหนักเรียนฝกเขียนแผนภาพการถายทอด ข่มแอลลีลด้อยอย่ำงสมบูรณ์
ลั ก ษณะทางพั น ธุ ก รรมของการผสมพั น ธุ 
ระหว า งต น ถั่ ว ลั น เตาที่ มี ลั ก ษณะต า งกั น
ดังนี้
×
• การผสมพันธุร ะหวางตนถัว่ ลันเตาตนสูง TT
กับตนเตี้ย tt จะไดรุนลูกที่มีจีโนไทปและ มะเขือเทศผลสีแดง มะเขือเทศผลสีเหลือง
ฟโนไทปอยางไร Rr rr
(แนวตอบ จะไดรุนลูกที่มีจีโนไทปแบบ Tt
ทั้งหมด คิดเปนอัตราสวน 100% รุนลูก
จึงมีลักษณะเปนตนสูงทุกตน) เซลล์สืบพันธุ์ R r r r
• การผสมพันธุระหวางตนถั่วลันเตาเมล็ด
เรียบ Rr กับเมล็ดขรุขระ rr จะไดรุนลูก จีโนไทป์รุ่นลูก Rr Rr rr rr
ที่มีจีโนไทปและฟโนไทปอยางไร
(แนวตอบ จะไดรุนลูกที่มีจีโนไทปแบบ Rr
ฟีโนไทป์รุ่นลูก
คิดเปนอัตราสวน 50% และ rr คิดเปน
อัตราสวน 50% รุนลูกจึงมีลักษณะเมล็ด
เรียบและเมล็ดขรุขระ) อัตรำส่วนของจีโนไทป์ Rr : rr คือ 1 : 1
อัตรำส่วนฟีโนไทป์ผลสีแดง : ผลสีเหลือง คือ 1 : 1
ภาพที่ 2.14 แผนภำพแสดงกำรผสมพันธุ์ต้นมะเขือเทศผลสีแดงพันธุ์ทำงกับต้นมะเขือเทศผลสีเหลืองพันธุ์แท้
ที่มา : คลังภาพ อจท.

54

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอธิบายเพิ่มเติมวา นอกจากนี้ ยังมีวิธีการหาอัตราสวนของจีโนไทปและ กําหนดให G คือ แอลลีลเดนควบคุมลักษณะเมล็ดสีเขียว และ
ฟโนไทปโดยพิจารณาเพียงลักษณะเดียวโดยใชตารางพันเนตต ซึ่งทําไดโดยนํา g คือ แอลลีลดอยควบคุมลักษณะเมล็ดสีเหลือง ถาใหถั่วลันเตา
เซลลสืบพันธุเพศผูมาจัดเรียงในตารางตามแนวตั้ง และเซลลสืบพันธุเพศเมีย ตนพอและตนแมมีจีโนไทปแบบ GG และ Gg ตามลําดับ รุนลูก
มาจัดเรียงในตารางตามแนวนอน แลวเอาเซลลสืบพันธุในแตละชองมารวมกัน จะมีอัตราสวนจีโนไทปแบบใด
ผลรวมของเซลลสืบพันธุทั้ง 2 ชอง ในแตละชองจะเปนจีโนไทปที่ไดจากการ 1. GG : gg = 1 : 1 2. Gg : gg = 3 : 1
ปฏิสนธิ จากนั้นใหนําจีโนไทปหรือฟโนไทปที่เหมือนกันมารวมกัน เพื่อนํา 3. GG : Gg = 1 : 1 4. GG : Gg : gg = 1 : 2 : 1
ไปคํานวณเปนอัตราสวน ตัวอยางเชน ผสมพันธุตนถั่วลันเตาเมล็ดกลม (RR) (วิเคราะหคําตอบ GG X Gg
และเมล็ดขรุขระ (rr)
เซลลสืบพันธุ G G G g
เซลลสืบพันธุตนถั่วลันเตาเมล็ดกลม
R R
เซลลสืบพันธุตนถั่วลันเตาเมล็ดขรุขระ
จีโนไทปของรุนลูก GG Gg GG Gg
r Rr Rr อัตราสวนของจีโนไทป GG : Gg คือ 1 : 1
r Rr Rr ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T62
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
ตัวอย่างที่ 2.2 จงเขียนแผนภำพแสดงจีโนไทป์และฟีโนไทป์ในลูกรุ่นที่ 1 และ 2 ของกำรทดลองของเมนเดล 11. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายวา เพราะ
เมื่อผสมต้นถั่วลันเตำดอกสีม่วงพันธุ์แท้กับต้นถั่วลันเตำดอกสีขำวพันธุ์แท้เข้ำด้วยกัน เหตุ ใ ดดอกของต น ถั่ ว ลั น เตาสี ข าวจึ ง มา
ก�ำหนดให้ P แทนแอลลีลเด่นที่ควบคุมกลีบดอกสีม่วง และ p แทนแอลลีลด้อยที่ควบคุม ปรากฏในลูกรุน ที่ 2 แตไมปรากฏในลูกรุน ที่ 1
กลีบดอกสีขำว โดยที่แอลลีลเด่นข่มแอลลีลด้อยอย่ำงสมบูรณ์
ทั้ ง ที่ พ  อ พั น ธุ  แ ละแม พั น ธุ  เ ป น ดอกสี ม  ว ง
พันธุแทและดอกสีขาวพันธุแท
× 12. ให นั ก เรี ย นทํ า แบบฝ ก หั ด รายวิ ช าพื้ น ฐาน
ถั่วลันเตำดอกสีม่วง ถั่วลันเตำดอกสีขำว
PP pp วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1
เรื่อง การถายทอดยีนบนโครโมโซม
13. ใหนักเรียนศึกษาขอมูลเพิ่มเติมจาก Power
เซลล์สืบพันธุ์ P P p p Point เรื่อง การถายทอดยีนบนโครโมโซม
14. ใหนักเรียนตอบคําถาม Topic Questions
ลูกรุ่นที่ 1
จีโนไทป์รุ่นที่ 1 Pp Pp Pp Pp ลงในสมุดประจําตัวนักเรียน แลวนํามาสง
ครูผูสอน
ฟีโนไทป์รุ่นที่ 1
ขยายความเข้าใจ

× 15. ครูกําหนดสถานการณใหนักเรียนผสมพันธุ
หนู ท ดลองให ไ ด ลู ก ที่ มี ข นสี ดํ า พั น ธุ  ท าง
Pp Pp และลูกหนูขนสีขาวในคอกเดียวกัน โดยให
นักเรียนออกแบบและวิเคราะหวา ควรใช
เซลล์สืบพันธุ์ P p P p พ อ พั น ธุ  แ ละแม พั น ธุ  ที่ มี จี โ นไทป แ บบใด
โดยวาดแผนภาพการถายทอดลักษณะทาง
ลูกรุ่นที่ 2 พันธุกรรมลงในกระดาษ A4 และคํานวณ
จีโนไทป์รุ่นที่ 2 PP Pp Pp pp อัตราสวนของจีโนไทปและฟโนไทป พรอม
นําเสนอหนาชั้นเรียน
ฟีโนไทป์รุ่นที่ 2

อัตรำส่วนของจีโนไทป์ PP : Pp : pp คือ 1 : 2 : 1
อัตรำส่วนฟีโนไทป์ของดอกสีม่วง : ดอกสีขำว คือ 3 : 1
ภาพที่ 2.15 แผนภำพแสดงกำรผสมพันธุ์ต้นถั่วลันเตำดอกสีม่วงพันธุ์แท้กับต้นถั่วลันเตำดอกสีขำวพันธุ์แท้
ที่มา : คลังภาพ อจท.

พันธุกรรม 55

กิจกรรม ทาทาย สื่อ Digital


ใหนักเรียนทํานายอัตราสวนจีโนไทปและฟโนไทปของการ ใหนกั เรียนศึกษาเพิม่ เติมจากภาพยนตรสารคดีสนั้ Twig เรือ่ ง การถายทอด
ทดลองของเมนเดล เมื่อผสมตนถั่วลันเตาดอกสีมวงพันธุแทกับ ลักษณะทางพันธุกรรม : ตอนที่ 2 (https://www.twig-aksorn.com/film/
ตนถั่วลันเตาดอกสีขาวพันธุแทเขาดวยกันโดยใชตารางพันเนตต inheritance-part-2-7937/)
ลงในสมุดประจําตัวนักเรียน กําหนดให P แทนแอลลีลเดนที่
ควบคุมลักษณะกลีบดอกสีมวง และ p แทนแอลลีลดอยที่ควบคุม
ลั ก ษณะกลี บ ดอกสี ข าว โดยที่ แ อลลี ล เด น ข ม แอลลี ล ด อ ย
อยางสมบูรณ

T63
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
นักเรียนและครูรวมกันสรุป เรื่อง พันธุศาสตร
เพื่ อ ให ไ ด ข  อ สรุ ป ว า ยี น หรื อ หน ว ยพั น ธุ ก รรม จากการเขียนแผนภาพ สามารถอธิบายได้ว่า เพราะเหตุใดลักษณะด้อยจึงปรากฏในลูกรุ่นที่ 2 แต่ไม่ปรากฏ
ในลูกรุ่นที่ 1 เนื่องจากต้นถั่วลันเตาที่มีดอกสีม่วงพันธุ์แท้และดอกสีขาวพันธุ์แท้สร้างเซลล์สืบพันธุ์ที่มีรูปแบบยีนได้
อยูบนโครโมโซม ซึ่งโครโมโซมในรางกายมนุษย เพียงแบบเดียว คือ แอลลีล P และแอลลีล p ตามล�าดับ ท�าให้ลูกรุ่นที่ 1 ได้รับยีนจากต้นพ่อและแม่ จึงมีดอกสีม่วง
จะอยูกันเปนคู เรียกวา ฮอมอโลกัสโครโมโซม พันธุ์ทางทุกต้น เมื่อน�าลูกรุ่นที่ 1 มาผสมกันเอง จะพบว่า ลูกรุ่นที่ 2 มีจีโนไทป์ได้ 3 แบบ คือ PP Pp และ pp
และจะแยกออกจากกั น ไปอยู  ใ นเซลล สื บ พั น ธุ  ในอัตราส่วน 1 : 2 : 1 และมีอัตราส่วนของฟีโนไทป์ดอกสีม่วง : ดอกสีขาวเป็น 3 : 1 เนื่องจากแอลลีลเด่นที่ควบคุม
สงผลใหยนี ทีอ่ ยูบ นโครโมโซมแยกออกจากกันดวย กลีบดอกสีม่วงข่มแอลลีลด้อยที่ควบคุมดอกสีขาวอย่างสมบูรณ์
เมื่อผานการปฏิสนธิแลว ยีนจะกลับมาเขาคูกัน
อีกครั้งหนึ่ง Application
Activity
ขัน้ ประเมิน หนูเป็นสัตว์ท่ีนิยมน�ามาใช้ทดลองในห้องปฏิบัติการ ถ้าในห้องปฏิบัติการของนักเรียนต้องการลูกหนู
ตรวจสอบผล ขนสีด�าพันธุ์ทาง 1 ตัว กับลูกหนูขนสีขาว 1 ตัว ในคอกเดียวกัน โดยไม่มีหนูขนสีด�าพันธุ์แท้อยู่ในคอกเลย
1. ตรวจแบบจําลองยีนบนโครโมโซม ให้นักเรียนน�าความรู้ที่ได้จากการทดลองของเมนเดล และการถ่ายทอดยีนบนโครโมโซมมาออกแบบแผนผัง
การถ่ายทอดยีนของหนูทดลอง เพื่อให้ได้จีโนไทป์และฟีโนไทป์ของรุ่นลูกตามต้องการ จากนั้นวิเคราะห์
2. ตรวจแบบฝกหัดรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร และรวบรวมข้อมูลเพื่อเลือกพ่อพันธุ์และแม่พันธุ์ โดยระบุว่า หนูที่จะน�ามาใช้เป็นพ่อพันธุ์และแม่พันธุ์ควรมี
และเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 เรื่อง การถายทอด สีขนและจีโนไทป์แบบใด
ยีนบนโครโมโซม
3. ตรวจคํ า ตอบ Topic Questions เรื่ อ ง
การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ในสมุด Topic Questions
ประจําตัวนักเรียน ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
4. ตรวจสอบผลการปฏิบัติกิจกรรม โอกาสการ
1. จงเรียงล�าดับขนาดของโครโมโซม ดีเอ็นเอ และยีนจากเล็กไปใหญ่
เขาคูของยีน
2. การท�าแครีโอไทป์คืออะไร
5. สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม จากการ 3. เซลล์สบื พันธุข์ องสิง่ มีชวี ติ ชนิดหนึง่ มีจา� นวนโครโมโซม 16 คู ่ สิง่ มีชวี ติ ชนิดนีจ้ ะมีจา� นวนโครโมโซมร่างกายกีแ่ ท่ง
ทํางานในชั้นเรียน 4. แมลงชนิดหนึ่งในเซลล์ปีกมีจ�านวนโครโมโซม 32 แท่ง เซลล์สืบพันธุ์จะมีจ�านวนโครโมโซมกี่คู่
6. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยสังเกต 5. มนุษย์เพศชายและเพศหญิงมีโครโมโซมที่เหมือนหรือแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
ความมีวนิ ยั ใฝเรียนรู และมุง มัน่ ในการทํางาน 6. เพราะเหตุใดเมนเดลจึงเลือกต้นถั่วลันเตามาใช้ในการศึกษาลักษณะทางพันธุกรรม
7. จงยกตัวอย่างลักษณะเด่นและลักษณะด้อยของต้นถั่วลันเตามาอย่างน้อย 5 ลักษณะ
8. เมนเดลเตรียมต้นถั่วลันเตาพันธุ์แท้ได้อย่างไร
9. จากการทดลองของเมนเดลลักษณะที่ไม่ปรากฏในลูกรุ่นที่ 1 แต่มาปรากฏในลูกรุ่นที่ 2 เรียกว่าอะไร
10. การผสมพันธุส์ นุ ขั 2 ตัว ทีม่ ขี นสีดา� พันธุท์ างเข้าด้วยกัน ลูกสุนขั จะมีโอกาสมีขนสีอะไรบ้าง ก�าหนดให้แอลลีล B
ควบคุมลักษณะขนสีด�า และแอลลีล b ควบคุมลักษณะขนสีขาว โดยแอลลีลเด่นข่มแอลลีลด้อยอย่างสมบูรณ์

56

แนวทางการวัดและประเมินผล แนวตอบ Topic Questions


1. ยีน ดีเอ็นเอ โครโมโซม
ครูวดั และประเมินผลความเขาใจในเนือ้ หา เรือ่ ง การศึกษาพันธุศาสตรของ
2. การศึกษาจํานวนและรูปรางของโครโมโซมเปนคูในนิวเคลียส
เมนเดล ไดจากการทํากิจกรรม เรื่อง โอกาสการเขาคูของยีน โดยศึกษาเกณฑ
3. 64 แทง
การวัดและประเมินผลจากแบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรมที่อยูในแผนการ
4. 8 คู
จัดการเรียนรูประจําหนวยการเรียนรูที่ 2
5. มนุษยเพศชายและเพศหญิงจะมีโครโมโซมคูที่ 1-22 เหมือนกัน แต
ตางกันที่โครโมโซมคูที่ 23 โดยเพศหญิงจะมีโครโมโซมเปน XX และ
เพศชายจะมีโครโมโซมเปน XY
เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติกิจกรรม
แบบประเมินการปฏิบัติกจิ กรรม
ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับ 1. การปฏิบัติ ทากิจกรรมตามขั้นตอน ทากิจกรรมตามขั้นตอน ต้องให้ความช่วยเหลือ ต้องให้ความช่วยเหลือ
ระดับคะแนน กิจกรรม และใช้อุปกรณ์ได้อย่าง และใช้อุปกรณ์ได้อย่าง บ้างในการทากิจกรรม อย่างมากในการทา

6. ปลูกงาย เจริญเติบโตเร็ว วงจรชีวิตสั้น มีลักษณะทางพันธุกรรมที่


ถูกต้อง ถูกต้อง แต่อาจต้อง และการใช้อุปกรณ์ กิจกรรม และการใช้
ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน ได้รับคาแนะนาบ้าง อุปกรณ์
4 3 2 1 2. ความ มีความคล่องแคล่ว มีความคล่องแคล่ว ขาดความคล่องแคล่ว ทากิจกรรมเสร็จไม่
1 การปฏิบัติการทากิจกรรม คล่องแคล่ว ในขณะทากิจกรรมโดย ในขณะทากิจกรรมแต่ ในขณะทากิจกรรมจึง ทันเวลา และทา
2 ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัติกิจกรรม ในขณะปฏิบัติ ต้องได้รับคาแนะนาบ้าง ทากิจกรรมเสร็จไม่ อุปกรณ์เสียหาย

แตกตางกันอยางชัดเจน และมีดอกสมบูรณเพศ
ไม่ต้องได้รับคาชี้แนะ
3 การบันทึก สรุปและนาเสนอผลการทากิจกรรม กิจกรรม และทากิจกรรมเสร็จ ทันเวลา
และทากิจกรรมเสร็จ
ทันเวลา
รวม ทันเวลา
3. การบันทึก สรุป บันทึกและสรุปผลการ บันทึกและสรุปผลการ ต้องให้คาแนะนาในการ ต้องให้ความช่วยเหลือ
และนาเสนอผล ทากิจกรรมได้ถูกต้อง ทากิจกรรมได้ถูกต้อง บันทึก สรุป และ อย่างมากในการบันทึก
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน

7. ลักษณะเดน เชน เมล็ดเรียบ เมล็ดสีเหลือง ดอกสีมว ง ตนสูง ฝกอวบ


การปฏิบัติ รัดกุม นาเสนอผลการ แต่การนาเสนอผลการ นาเสนอผลการทา สรุป และนาเสนอผล
................./................../.................. กิจกรรม ทากิจกรรมเป็นขั้นตอน ทากิจกรรมยังไม่เป็น กิจกรรม การทากิจกรรม
ชัดเจน ขั้นตอน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ลักษณะดอย เชน เมล็ดขรุขระ เมล็ดสีเขียว ดอกสีขาว ตนเตีย้ ฝกแฟบ
8. นําตนถัว่ ลันเตาทีม่ ลี กั ษณะตามตองการมาผสมกันภายในดอกเดียว
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10-12 ดีมาก
7-9 ดี
4-6 พอใช้
0-3 ปรับปรุง

กันหลายรุน จนกระทัง่ ไดลกู ทีม่ ลี กั ษณะเหมือนตนพอแมทกุ ประการ


9. ลักษณะดอย
T64 10. โอกาสที่ลูกสุนัขจะมีขนสีดํารอยละ 75 และมีขนสีขาวรอยละ 25
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (5Es Instructional Model)


กระตุน ความสนใจ
Check for Understanding 1. ครูเตรียมภาพการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต
พิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุดบันทึก มาใหนักเรียนศึกษาและถามคําถามกระตุน
ถูก/ผิด ความสนใจของนักเรียน
1. สิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องมีกำรแบ่งเซลล์
2. เซนทริโอลเป็นออร์แกเนลล์ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในขณะแบ่งเซลล์

มุ ด
3. นิวเคลียสท�ำหน้ำที่ควบคุมกระบวนกำรต่ำง ๆ ที่เกิดขึ้นภำยในเซลล์

นส
งใ

ทึ ก
4. เซลล์ของสิ่งมีชีวิตแต่ละเซลล์ประกอบด้วย 1 นิวเคลียสเท่ำนั้น

บั น
5. โครโมโซมประกอบด้วย 2 โครมำทิด

จากภาพ ทําไมตนไมจึงมีขนาดใหญขึ้น
ให้นกั เรียนพิจารณาภาพการแบ่งเซลล์ของเซลล์ชนิดหนึง่ แล้วระบุวา่ เซลล์ชนิดนัน้
E ngaging คือเซลล์อะไร จํานวนเซลล์และโครโมโซมหลังการแบ่งเซลล์เมื่อเทียบกับเซลล์ (แนวตอบ เพราะตนไมมีการแบงเซลล ทําให
ตนไมมีขนาดใหญขึ้น)
Activity ตั้งต้นเปนอย่างไร
2. ใหนักเรียนตรวจสอบความเขาใจของตนเอง
กอนเขาสูการเรียนการสอนจากกรอบ Check
for Understanding ในหนังสือเรียนรายวิชา
พืน้ ฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1
หนวยการเรียนรูที่ 2 เรื่อง การแบงเซลลของ
สิ่ ง มี ชี วิ ต โดยบั น ทึ ก ลงในสมุ ด ประจํ า ตั ว
นักเรียน
3. ใหนักเรียนทํากิจกรรม Engaging Activity
โดยใหนักเรียนพิจารณาภาพ แลวตอบคําถาม
จากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 หนวยการเรียนรูท ี่ 2
เรื่อง การแบงเซลลของสิ่งมีชีวิต

ภาพที่ 2.16 กำรแบ่งเซลล์ของเซลล์ชนิดหนึ่ง


ที่มา : คลังภาพ อจท. แนวตอบ Check for Understanding
พันธุกรรม 57 1. ถูก 2. ถูก 3. ถูก
4. ผิด 5. ถูก

แนวตอบ Engaging Activity


เซลลสืบพันธุ (เซลลอสุจิ) โดยหลักการแบงเซลลสืบพันธุจะไดเซลลใหม
จํานวน 4 เซลล ซึ่งแตละเซลลมีจํานวนโครโมโซมเปนครึ่งหนึ่งของเซลล
ตั้งตน

T65
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ครูถามคําถาม Key Question Key 3 การแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
2. ครูแจกใบงาน เรือ่ ง การแบงเซลลของสิง่ มีชวี ติ Question สิ่ ง มี ชี วิ ต ทุ ก ชนิ ด จะมี ก ำรแบ่ ง เซลล์ เ พื่ อ เพิ่ ม จ� ำ นวนเซลล์
3. ให นั ก เรี ย นแต ล ะคนตรวจสอบความรู  ข อง เพราะเหตุใดเซลล์สบื พันธุ์ ในร่ำงกำย ท�ำให้สิ่งมีชีวิตมีกำรเจริญเติบโต และมีกำรแบ่งเซลล์
ตนเอง โดยทําใบงาน ตอนที่ 1 จึงมีจา� นวนโครโมโซมเปน เพื่อสร้ำงเซลล์สืบพันธุ์ไว้ส�ำหรับกำรสืบพันธุ์ โดยกำรแบ่งเซลล์ของ
ครึง่ หนึง่ ของเซลล์รา่ งกาย สิ่งมีชีวิตมี 2 ขั้นตอน คือ กำรแบ่งนิวเคลียส (karyokinesis) และ
4. ใหนกั เรียนสืบคนขอมูลและศึกษากระบวนการ
แบ ง เซลล แ บบไมโทซิ ส จากหนั ง สื อ เรี ย น กำรแบ่งไซโทพลำซึม (cytokinesis)
รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กำรแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิตแบ่งออกได้เป็น 2 แบบ คือ กำรแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและกำรแบ่งเซลล์
ม.3 เลม 1 หนวยการเรียนรูที่ 2 เรื่อง การแบง แบบไมโอซิส
เซลลแบบไมโทซิส หรือศึกษาจาก QR Code
3.1 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
เรื่อง การแบงเซลลแบบไมโทซิส
ไมโทซิส (mitosis) เป็นกำรแบ่งนิวเคลียสเพื่อเพิ่มปริมำณเซลล์ร่ำงกำย (somatic cell) ของสิ่งมีชีวิต
โดยในเซลล์ร่ำงกำยจะมีจ�ำนวนโครโมโซมอยู่ 2 ชุด (2n) เมื่อผ่ำนกระบวนกำรแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสจนสมบูรณ์
จะได้เซลล์ลูกจ�ำนวน 2 เซลล์ ที่มีจ�ำนวนโครโมโซมเท่ำเดิม ท�ำให้มีจ�ำนวนเซลล์ในร่ำงกำยเพิ่มขึ้น แต่มีลักษณะ
ทำงพันธุกรรมเหมือนเดิมทุกประกำร

การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส (mitosis)

1. อินเตอร์เฟส (interphase)
เป็นระยะที่เซลล์เตรียมพร้อมก่อนเริ่มแบ่งนิวเคลียสและไซโทพลำซึม
ด้วยกำรสังเครำะห์สำรต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนกำรแบ่งเซลล์
และมีกำรจ�ำลองตัวของดีเอ็นเอ ท�ำให้โครโมโซมจำกเดิม 1 แท่ง 1
มี 1 โครมำทิด กลำยเป็น 2 โครมำทิด ยึดติดกันด้วยเซนโทเมียร์
โดยเซลล์ในระยะนี้จะมีนวิ เคลียสขนำดใหญ่ และเห็นนิวคลีโอลัสชัดเจน

แนวตอบ Key Question


เพราะถาไมมกี ารลดจํานวนโครโมโซมในเซลล 2. โพรเฟส (prophase)
สื บ พั น ธุ  ใ ห เ หลื อ เป น ครึ่ ง หนึ่ ง หลั ง การปฏิ ส นธิ เป็นระยะที่เห็นนิวเคลียสได้ชัดเจน เยื่อหุ้มนิวเคลียสยังไม่สลำย แต่
ระหวางเซลลอสุจิกับเซลลไข กลายเปนไซโกต นิวคลีโอลัสสลำยตัวไป โครมำทินจะขดตัวกลำยเป็นโครโมโซมที่สั้นลง
จะมี จํ า นวนโครโมโซมเพิ่ ม ขึ้ น เป น 2 เท า ของ และมีขนำดใหญ่ขึ้น เซนโทรโซมทั้ง 2 ชุด (แต่ละชุดประกอบด้วย
เซลลปกติ (4n) สงผลใหเซลลเกิดความผิดปกติ เซนทริโอล 2 อัน วำงตัวในแนวตั้งฉำกกัน) อยู่ในไซโทพลำซึม
เคลือ่ นห่ำงออกจำกกันและมีกำรสร้ำงเส้นใยสปนเดิล (mitotic spindle)
หรื อ เกิ ด โรคทางพั น ธุ ก รรมได ดั ง นั้ น สิ่ ง มี ชี วิ ต
จึงตองมีกระบวนการแบงเซลลที่ทําใหโครโมโซม
ลดลงเป น ครึ่ ง หนึ่ ง ของเซลล เ ดิ ม เรี ย กว า การ 58
แบงเซลลแบบไมโอซิส

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 เซนโทเมียร เปนบริเวณรอยคอดของโครโมโซม อาจอยูต รงกลางหรือคอน ขอใดเปนการแบงเซลลแบบไมโทซิส
ไปทางปลาย ซึง่ เปนบริเวณทีใ่ หเสนใยสปนเดิลมายึดเกาะขณะเกิดการแบงเซลล 1. ไดเซลลใหม 1 เซลล เหมือนเดิมทุกประการ
นอกจากนี้ ตําแหนงของเซนโทรเมียรยังใชแบงประเภทของโครโมโซมได 2. ไดเซลลใหม 2 เซลล เหมือนเดิมทุกประการ
3. ไดเซลลใหม 3 เซลล มีจํานวนโครโมโซมลดลงครึ่งหนึ่ง
ของเซลลตั้งตน
สื่อ Digital 4. ไดเซลลใหม 4 เซลล มีจํานวนโครโมโซมลดลงครึ่งหนึ่ง
ของเซลลตั้งตน
ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจาก QR Code 3D เรื่อง การแบงเซลลแบบ
(วิเคราะหคําตอบ ภายหลังการแบงเซลลแบบไมโทซิสจะไดเซลล
ไมโทซิส
ใหมจํานวน 2 เซลล ซึ่งแตละเซลลมีจํานวนโครโมโซมเทาเดิม
เหมือนกับเซลลตั้งตนทุกประการ ดังนั้น ตอบขอ 2.)

การแบงเซลลแบบไมโทซิส
www.aksorn.com/interactive3D/RK924

T66
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
5. ให นั ก เรี ย นจั บ คู  กั บ เพื่ อ น แล ว แลกเปลี่ ย น
ความรู  แ ละอภิ ป รายเกี่ ย วกั บ การแบ ง เซลล
3. เมทาเฟส (metaphase) แบบไมโทซิส จากนั้นใหนักเรียนทําใบงาน
เปนระยะที่เยื่อหุมนิวเคลียสสลายตัว เสนใยสปนเดิลเขาไปยึดกับไคนี-
เรื่อง การแบงเซลลของสิ่งมีชีวิต ตอนที่ 2
โทคอรซึ่งเปนโปรตีนที่อยูบริเวณเซนโทรเมียร เมื่อเซนโทรโซมเคลื่อนที่
เสนใยสปนเดิลจะดึงใหโครโมโซมเคลื่อนตัวมาเรียงกันอยูที่บริเวณ
กลางเซลลในแนวระนาบ เรียกวา เมทาเฟสเพลท จึงทําใหมองเห็น
โครโมโซมชัดเจนที่สุดในระยะนี้

4. แอนาเฟส (anaphase)

เปนระยะที่โครโมโซมถูกดึงใหแยกออกจากกันไปในทิศทางตรงขามกัน
ไปยังขั้วเซลล ทําใหโครโมโซมแยกออกเปน 2 กลุม ซึ่งแตละกลุม
จะมีโครโมโซมที่เกิดขึ้นใหมซึ่งประกอบดวย 1 โครมาทิด

5. เทโลเฟส (telophase)

เมื่อโครโมโซมแยกออกเปน 2 กลุมที่ขั้วเซลล แลวจะหยุดการเคลื่อนที่


เสนใยสปนเดิลจะสลายตัว มีการสังเคราะหเยือ่ หุม นิวเคลียสและนิวคลีโอลัส
ขึ้นอีกครั้ง โครมาทิดจะคลายตัวและยืดตัวออกเปนโครมาทินที่มีลักษณะ
เปนเสนบาง ๆ
ภาพที่ 2.17 ขั้นตอนการแบงเซลลแบบไมโทซิส
ที่มา : www.macmillanhighered.com

เมื่อเซลลแบงนิวเคลียสเรียบรอยแลว จะมีการแบงไซโทพลาซึม ซึ่งจะแตกตางกันในเซลลสัตวกับเซลลพืช


ดังนี้
- เซลลสตั วเยือ่ หุม เซลลจะคอดเขาหากัน แลวแยกออกไดเซลลลกู จํานวน 2 เซลล โดยแตละเซลลจะมีจาํ นวน
โครโมโซมเทากับเซลลตั้งตน
- เซลลพืชจะสรางแผนกันเซลลตรงกลางเซลล แลวขยายไปยังผนังเซลล จากนั้นเซลลพืชจะสรางเซลลูโลส
ไปสะสมที่แผนกันเซลล

การแบงเซลลแบบไมโทซิส พันธุกรรม 59

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งมีจํานวนโครโมโซม 24 คู ในการศึกษา ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจาก QR Code เรื่อง การแบงเซลลแบบไมโทซิส
การแบงเซลลในระยะเมทาเฟสของกระบวนการแบงเซลลแบบ
ไมโทซิส จะมีโครมาทิดจํานวนกี่เสน
1. 12 เสน
2. 24 เสน
3. 48 เสน
4. 96 เสน
(วิเคราะหคําตอบ การแบงเซลลแบบไมโทซิส ในระยะเมทาเฟส
โครโมโซมจะมาเรี ย งอยู  บ ริ เ วณกึ่ ง กลางเซลล ซึ่ ง โครโมโซม
ในระยะนี้มี 2 โครมาทิด การแบงเซลลของสิ่งมีชีวิตในระยะนี้
จะมีโครมาทิด 24 × 2 = 48 เสน ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T67
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
กิจกรรม
6. ให นั ก เรี ย นแบ ง กลุ  ม กลุ  ม ละ 3-4 คน
ศึกษาการแบงเซลลแบบไมโทซิสของเซลลรากหอม
ทํากิจกรรม ศึกษาการแบงเซลลแบบไมโทซิส
ของเซลลรากหอม แลวใหนกั เรียนเปรียบเทียบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
ภาพที่เห็นภายใตกลองจุลทรรศนกับใบงาน จุดประสงค - การสังเกต
- การตีความหมายขอมูล
ตอนที่ 2 และระบุวา ภาพที่เห็นภายใตกลอง อธิบายและระบุขั้นตอนการแบงเซลลแบบไมโทซิสได และลงขอสรุป
จิตวิทยาศาสตร
จุลทรรศนอยูในขั้นตอนใดของการแบงเซลล วัสดุอปุ กรณ - ความสนใจใฝรู
แบบไมโทซิส ลงในใบงาน ตอนที่ 2 1. สมุดบันทึก
- ความรับผิดชอบ
- การทํางานรวมกับผูอื่นได
7. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายผลที่ไดจาก 2. กลองจุลทรรศนแบบใชแสง อยางสรางสรรค

การทํากิจกรรม เพื่อใหไดขอสรุปวา การแบง 3. สไลดถาวรของเซลลรากหอม


เซลลแบบไมโทซิสเปนการแบงนิวเคลียสเพื่อ วิธปี ฏิบตั ิ
เพิ่มปริมาณเซลลรางกาย หลังการแบงเซลล 1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-4 คน แลวสงตัวแทนกลุมมารับสไลดถาวรของเซลลรากหอม
แบบไมโทซิสจะไดเซลลใหมเพิ่มขึ้นเปน 2 เทา 2. นําสไลดถาวรมาศึกษาดวยกลองจุลทรรศนแบบใชแสง โดยใชเลนสใกลวัตถุที่มีกําลังขยายตํ่าสุด เลือกบริเวณในสไลดที่เห็น
นิวเคลียสลักษณะตาง ๆ แลวจึงใชเลนสที่มีกําลังขยายสูงขึ้น
ของเซลลตั้งตน โดยแตละเซลลจะมีจํานวน
3. สังเกตความแตกตางของแตละเซลล แลววาดภาพที่สังเกตไดลงในสมุดบันทึก
โครโมโซมเทาเดิม 4. สืบคนขอมูลเพิ่มเติมและรวบรวมขอมูลที่ไดนําเสนอหนาชั้นเรียน
8. ครูถามคําถามทายกิจกรรม
คําถามทายกิจกรรม
1. จํานวนเซลลหลังการแบงเซลลแบบไมโทซิสจะมีปริมาณเทาใด เมื่อเทียบกับเซลลตั้งตน
2. จํานวนโครโมโซมหลังการแบงเซลลแบบไมโทซิสจะมีปริมาณเทาใด เมื่อเทียบกับเซลลตั้งตน
3. เพราะเหตุใดเซลลของสิ่งมีชีวิตจึงตองมีการแบงเซลลแบบไมโทซิส

อภิปรายผลกิจกรรม
จากกิจกรรม พบวา เมื่อศึกษาการแบงเซลลแบบไมโทซิสของเซลลรากหอมดวยกลองจุลทรรศนแบบใชแสง จะสังเกตเห็น
นิวเคลียสของแตละเซลลมีลักษณะที่แตกตาง 5 ลักษณะ คือ มองเห็นเปนเสนใยพันกัน เรียกระยะนี้วา อินเตอรเฟส มองเห็น
เสนใยเริ่มหดกลายเปนแทงโครโมโซม เรียกระยะนี้วา โพรเฟส มองเห็นโครโมโซมมาเรียงกันอยูบริเวณกลางเซลล เรียกระยะนี้วา
เมทาเฟส มองเห็นแทงโครโมโซมเริ่มแยกออกจากกัน เรียกระยะนี้วา แอนาเฟส และมองเห็นโครโมโซมที่แยกออกจากกันไปอยู
คนละฝงบริเวณขั้วเซลล เรียกระยะนี้วา เทโลเฟส ภายหลังการแบงเซลลแบบไมโทซิส เซลลจะมีจํานวนเพิ่มขึ้นเปน 2 เทา
ของเซลลตั้งตน แตโครโมโซมในแตละเซลลจะมีจํานวนเทาเดิม
แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม
1. เพิ่มขึ้นเปน 2 เทาของเซลลตั้งตน
2. มีจาํ นวนเทากับเซลลตั้งตน HOTS
(คําถามทาทายการคิดขั้นสูง)
3. เพื่อเจริญเติบโต
เซลลชนิดหนึ่งมีจํานวนโครโมโซม 16 คู หลังการแบงเซลลแบบไมโทซิสจะไดจํานวนโครโมโซมกี่แทง

แนวตอบ H.O.T.S. 60
32 แทง

ตารางบันทึก กิจกรรม ขอสอบเนน การคิด


ภาพที่เห็นภายใตกลองจุลทรรศน ระยะของการแบงเซลล ถาไมมีการแบงไซโทพลาซึมภายหลังจากการแบงเซลลแบบ
ไมโทซิส เซลลจะเปนอยางไร

ลกิจกรรม 1. เซลลจะมีหลายนิวเคลียส

 ู บ
ั ผ 2. มีการจําลองดีเอ็นเอมากกวา 3 ครั้ง
ขนึ้ อย
3. มีการสรางเยื่อหุมนิวเคลียสหลายชั้น
4. จํานวนโครโมโซมจะเพิ่มขึ้นเปน 2 เทา
(วิเคราะหคําตอบ ภายหลั ง การแบ ง เซลล แ บบไมโทซิ ส หรื อ
หลังการแบงเซลลระยะเทโลเฟส โครมาทิดที่ถูกเสนใยสปนเดิล
ดึงมาอยูบริเวณขั้วเซลล 2 ฝง หากไมมีการแบงไซโทพลาซึม
โครโมโซมจะเพิ่มขึ้นเปน 2 เทา ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T68
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
3.2 การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส 9. ใ ห  นั ก เ รี ย น สื บ ค  น ข  อ มู ล แ ล ะ ศึ ก ษ า
ไมโอซิส (meiosis) เป็นกำรแบ่งนิวเคลียสเพือ่ ลดจ�ำนวนโครโมโซมลงครึง่ หนึง่ ซึง่ เป็นกำรแบ่งเซลล์เพือ่ สร้ำง กระบวนการแบ ง เซลล แ บบไมโอซิ ส จาก
เซลล์สบื พันธุข์ องทัง้ สัตว์และพืช และได้เซลล์ลกู จ�ำนวน 4 เซลล์ กระบวนกำรแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสจะมีกำรแบ่งเซลล์
ต่อเนื่องกัน 2 รอบ คือ ไมโอซิส I (meiosis I) และไมโอซิส II (meiosis II)
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 หนวยการเรียนรู
การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส I (meiosis I) ที่ 2 เรื่อง การแบงเซลลแบบไมโอซิส
10. ใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ นอีกคนหนึง่ โดยไมซาํ้
1. อินเตอร์เฟส I (interphase I) กับคูเดิมจากชั่วโมงที่แลว เพื่อแลกเปลี่ยน
เป็นระยะที่เซลล์เตรียมพร้อมก่อนเริ่มแบ่งนิวเคลียสและไซโทพลำซึม ความรูและอภิปรายเกี่ยวกับการแบงเซลล
ด้วยกำรสังเครำะห์สำรต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนกำรแบ่งเซลล์ และ แบบไมโอซิส จากนั้นใหนักเรียนลงมือทํา
มีกำรจ�ำลองตัวของดีเอ็นเอได้โครโมโซมที่มี 2 โครมำทิด ใบงาน เรื่อง การแบงเซลลของสิ่งมีชีวิต
2. โพรเฟส I (prophase I) ตอนที่ 3
เป็นระยะทีโ่ ครโมโซมทีเ่ ป็นฮอมอโลกัสโครโมโซมจะเรียงตัวอยูก่ นั เป็นคู ่ ซึง่ แต่ละคูข่ อง
ฮอมอโลกัสโครโมโซมจะมี 4 โครมำทิด และเกิดกำรไขว้กันของโครมำทิด เรียกว่ำ
ครอสซิงโอเวอร์ (crossing over) ท�ำให้เกิดกำรแลกเปลี่ยนชิ้นส่วนของโครมำทิด
สำรพันธุกรรมจึงถูกแลกเปลี่ยนไปด้วย
3. เมทาเฟส I (metaphase I)
เป็นระยะที่เส้นใยสปนเดิลยึดเกำะกับฮอมอโลกัสโครโมโซม เมื่อเซนโทรโซมที่สร้ำง
เส้นใยสปนเดิลเคลือ่ นที ่ เส้นใยสปนเดิลจะดึงให้โครโมโซมมำเรียงตัวอยูเ่ ป็นคูต่ รงบริเวณ
กึ่งกลำงเซลล์
4. แอนาเฟส I (anaphase I)
เป็นระยะที่มีกำรแยกโครโมโซมออกจำกกัน คล้ำยกับกำรแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส แต่
เป็นกำรแยกโครโมโซมที่เข้ำคู่ออกจำกกันไปยังขั้วเซลล์ ท�ำให้โครโมโซมแบ่งออกเป็น
2 กลุ่ม อยู่บริเวณขั้วเซลล์ ซึ่งแต่ละกลุ่มจะมีโครโมโซมที่มี 2 โครมำทิด

5. เทโลเฟส I (telophase I)
เป็นระยะที่มีกำรสร้ำงเยื่อหุ้มนิวเคลียสและนิวคลีโอลัสขึ้นมำใหม่ แต่ละ
โครโมโซมจะมี 2 โครมำทิด ซึ่งจ�ำนวนโครโมโซมระยะนี้จะลดลงเป็น
ครึ่งหนึ่งของเซลล์เริ่มต้น
ภาพที่ 2.18 ขั้นตอนกำรแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส I
ที่มา : www.macmillanhighered.com
พันธุกรรม 61

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


ขอใดคือลักษณะของเซลลใหมที่ไดหลังจากแบงเซลลแบบ ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจาก QR Code 3D เรื่อง การแบงเซลลแบบ
ไมโอซิส ไมโอซิส
1. ทําใหมีเซลลใหมทดแทนเซลลเดิมที่ชํารุด
2. ทําใหเซลลมีจํานวนโครโมโซมลดลงเปนครึ่งหนึ่ง
3. ทําใหสิ่งมีชีวิตมีจํานวนโครโมโซมเพิ่มขึ้นในทุกรุน
4. ทําใหเซลลใหมมีจํานวนโครโมโซมเพิ่มขึ้นเปน 4 เทา
การแบงเซลลแบบไมโอซิส
(วิเคราะหคําตอบ ภายหลังการแบงเซลลแบบไมโอซิส เซลลใหม www.aksorn.com/interactive3D/RK923
แตละเซลลจะมีจํานวนโครโมโซมลดลงเปนครึ่งหนึ่งของเซลลเดิม
ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T69
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
11. ครูสุมเรียกนักเรียน 2-3 คน ออกมาอธิบาย การแบงเซลลแบบไมโอซิส II (meiosis II)
ความแตกตางของการแบงเซลลแบบไมโทซิส
และไมโอซิส หลังจากการแบงเซลลแบบไมโอซิส I เรียบรอยแลว เซลลจะแบงเซลลแบบไมโทซิส II ตอเนื่องโดยไมมีการ
12. ให นั ก เรี ย นทํ า แบบฝ ก หั ด รายวิ ช าพื้ น ฐาน จําลองโครโมโซม
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 1. โพรเฟส II (prophase II)

เรื่อง การแบงเซลลของสิ่งมีชีวิต เปนระยะที่เห็นนิวเคลียสไดชัดเจน เยื่อหุมนิวเคลียสยังไมสลาย แต


13. ให นั ก เรี ย นตรวจสอบความเข า ใจโดย นิวคลีโอลัสสลายตัวไป เซนโทรโซมที่อยูในไซโทพลาซึมเริ่มมีการสราง
เสนใยสปนเดิลใหมอีกครั้ง
ทําใบงาน เรื่อง การแบงเซลลของสิ่งมีชีวิต
ตอนที่ 4 2. เมทาเฟส II (metaphase II)
เป น ระยะที่ เ ยื่ อ หุ  ม นิ ว เคลี ย สสลายตั ว เส น ใยสป น เดิ ล เข า ไปยึ ด กั บ
ไคนีโทคอรบริเวณเซนโทรเมียร เมื่อเซนโทรโซมเคลื่อนที่ จะดึงให
โครโมโซมเคลื่อนตัวมาเรียงกันอยูบริเวณกึ่งกลางเซลล
3. แอนาเฟส II (anaphase II)
เปนระยะที่โครโมโซมถูกดึงใหแยกออกจากกันไปในทิศทางตรงขามกัน
ไปยังขั้วเซลล ทําใหโครโมโซมแยกออกเปน 2 กลุม ซึ่งโครโมโซมของ
แตละกลุมจะมีโครมาทิดเพียง 1 เสน
4. เทโลเฟส II (telophase II)
เมื่อโครโมโซมแยกออกเปน 2 กลุมที่ขั้วเซลลแลว จะหยุดการเคลื่อนที่
เสนใยสปนเดิลจะสลายตัว มีการสังเคราะหเยือ่ หุม นิวเคลียสและนิวคลีโอลัส
ขึน้ อีกครัง้ โครมาทิดจะคลายตัวและยืดตัวออกเปนโครมาทินทีม่ ลี กั ษณะ
เปนเสนบาง ๆ

หลังจากการแบงเซลลแบบไมโอซิส II เรียบรอยแลว เซลลจะมีการ


แบงไซโทพลาซึมเชนเดียวกับไมโทซิสไดเซลลลูกจํานวน 4 เซลล โดยแตละ
เซลลมีจํานวนโครโมโซมเทากับครึ่งหนึ่งของเซลลตั้งตน

ภาพที่ 2.19 ขั้นตอนการแบงเซลลแบบไมโอซิส II


ที่มา : www.macmillanhighered.com

62 การแบงเซลลแบบไมโอซิส

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจาก QR Code เรื่อง การแบงเซลลแบบไมโอซิส ขอใดกลาวถูกตองเกีย่ วกับการแบงเซลลในระยะแอนาเฟส I และ
แอนาเฟส II
ขอ แอนาเฟส I แอนาเฟส II
1. โครโมโซมมี 1 โครมาทิด โครโมโซมมี 2 โครมาทิด
2. โครโมโซมมี 4 โครมาทิด โครโมโซมมี 2 โครมาทิด
3. มีการแยกโครโมโซมได้ 2 โครมาทิด มีการแยกฮอมอโลกัสโครโมโซม
4. มีการแยกฮอมอโลกัสโครโมโซม มีการแยกโครโมโซมได้ 2 โครมาทิด

(วิเคราะหคําตอบ การแบงเซลลระยะแอนาเฟส I เสนใยสปนเดิล


จะดึ ง แยกฮอมอโลกั ส โครโมโซมหรื อ โครโมโซมที่ ม าเข า คู  กั น
ให แ ยกออกจากกั น โครโมโซมในระยะนี้ จ ะมี 2 โครมาทิ ด
ซึ่ ง แตกต า งกั บ ระยะแอนาเฟส II เส น ใยสป น เดิ ล จะดึ ง แยก
โครมาทิ ด ออกจากกั น ทํ า ให โ ครโมโซมในระยะนี้ มี เ พี ย ง 1
โครมาทิด ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T70
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
กิจกรรม
14. ใหนักเรียนแบงกลุมทํากิจกรรม ศึกษาการ
ศึกษาการแบงเซลลแบบไมโอซิสของอับเรณูของดอกกุยชาย
แบงเซลลแบบไมโอซิสของอับเรณูของดอก
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร กุยชาย แลวเปรียบเทียบภาพที่เห็นภายใต
จุดประสงค - การสังเกต กลองจุลทรรศนกับใบงาน ตอนที่ 3
- การตีความหมายขอมูล
อธิบายและระบุขั้นตอนการแบงเซลลแบบไมโอซิสได และลงขอสรุป 15. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายผลที่ไดจาก
จิตวิทยาศาสตร
วัสดุอปุ กรณ - ความสนใจใฝรู การทํากิจกรรม
1. สมุดบันทึก - ความรับผิดชอบ
- การทํางานรวมกับผูอื่นได 16. ครูถามคําถามทายกิจกรรม
2. กลองจุลทรรศนแบบใชแสง อยางสรางสรรค
3. สไลดถาวรของอับเรณูของดอกกุยชาย ขยายความเข้าใจ
วิธปี ฏิบตั ิ 17. ใหนักเรียนสืบคนขอมูลเพิ่มเติมและอธิบาย
1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-4 คน แลวสงตัวแทนกลุมมารับสไลดถาวรของอับเรณูของดอกกุยชาย เกี่ยวกับการแบงเซลลของดาวทะเล
2. นําสไลดถาวรมาศึกษาดวยกลองจุลทรรศนแบบใชแสง โดยใชเลนสใกลวัตถุที่มีกําลังขยายตํ่าสุด เลือกบริเวณในสไลดที่เห็น
นิวเคลียสลักษณะตาง ๆ แลวจึงใชเลนสที่มีกําลังขยายสูงขึ้น
3. สังเกตความแตกตางของแตละเซลล แลววาดภาพที่สังเกตไดลงในสมุดบันทึก
ขัน้ สรุป
4. สืบคนขอมูลเพิ่มเติม และรวบรวมขอมูลที่ไดนําเสนอหนาชั้นเรียน ใหนักเรียนสรุปความรูเปนตารางเปรียบเทียบ
ความแตกตางระหวางการแบงเซลลแบบไมโทซิส
คําถามทายกิจกรรม
1. จํานวนเซลลหลังการแบงเซลลแบบไมโอซิสจะมีปริมาณเทาใด เมื่อเทียบกับเซลลตั้งตน
กับการแบงเซลลแบบไมโอซิสลงในกระดาษ A4
2. จํานวนโครโมโซมหลังการแบงเซลลแบบไมโอซิสจะมีปริมาณเทาใด เมื่อเทียบกับเซลลตั้งตน
3. เพราะเหตุใดเซลลของสิ่งมีชีวิตจึงตองมีการแบงเซลลแบบไมโอซิส ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
อภิปรายผลกิจกรรม 1. ตรวจใบงาน เรื่อง การแบงเซลลของสิ่งมีชีวิต
จากกิจกรรม พบวา เมือ่ ศึกษาการแบงเซลลแบบไมโอซิสของอับเรณูของดอกกุยชายดวยกลองจุลทรรศนแบบใชแสง จะสังเกตเห็น 2. ตรวจแบบฝกหัดวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ลักษณะของเซลลในอับเรณูของดอกกุยชายมีขนาดแตกตางกัน และนิวเคลียสของแตละเซลลกจ็ ะมีลกั ษณะทีแ่ ตกตางกัน บางเซลล
มองเห็นโครโมโซมอยูก นั เปนคู ซึง่ แตละคูม ี 4 โครมาทิด เนือ่ งจากเซลลอยูใ นขัน้ ตอนการแบงเซลลแบบไมโอซิส I ขณะทีบ่ างเซลล
ม.3 เลม 1 เรื่อง การแบงเซลลของสิ่งมีชีวิต
มองเห็นโครโมโซมที่มี 2 โครมาทิด เนื่องจากเซลลอยูในขั้นตอนการแบงเซลลแบบไมโอซิส II เมื่อเปรียบเทียบลักษณะนิวเคลียส 3. ตรวจสอบผลการปฏิบัติกิจกรรม ศึกษาการ
ของเซลลดังกลาว พบวา เซลลมีจํานวนโครโมโซมลดลงเปนครึ่งหนึ่งของเซลลตั้งตน แบงเซลลแบบไมโทซิสของเซลลรากหอม และ
กิจกรรม ศึกษาการแบงเซลลแบบไมโอซิสของ
HOTS อับเรณูของดอกกุยชาย
(คําถามทาทายการคิดขั้นสูง)

เซลลสืบพันธุของแมลงชนิดหนึ่งหลังการแบงเซลลแบบไมโอซิส I มีจํานวนโครโมโซม
18 แทง ภายหลังการแบงเซลลแบบไมโอซิส II เซลลสืบพันธุจะมีจํานวนโครโมโซมกี่คู แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม
1. เพิ่มขึ้นเปน 4 เทาของเซลลตั้งตน
พันธุกรรม 63 2. มีจาํ นวนลดลงเปนครึ่งหนึ่ง
3. เพื่อสรางเซลลสืบพันธุ

กิจกรรม สรางเสริม แนวทางการวัดและประเมินผล


ใหนักเรียนทบทวนความรู เรื่อง การแบงเซลลของสิ่งมีชีวิต ครูวดั และประเมินผลความเขาใจในเนือ้ หา เรือ่ ง การแบงเซลลของสิง่ มีชวี ติ
โดยเปรียบเทียบความแตกตางระหวางการแบงเซลลแบบไมโทซิส ไดจากการทําใบงาน เรื่อง การแบงเซลลของสิ่งมีชีวิต โดยศึกษาเกณฑการวัด
กับการแบงเซลลแบบไมโอซิส โดยอาจนําเสนอในรูปแบบตาราง และประเมินผลจากแบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคลที่อยูในแผน
หรือในรูปแบบที่นักเรียนเขาใจลงในกระดาษ A4 พรอมนําเสนอ การจัดการเรียนรูประจําหนวยการเรียนรูที่ 2
หนาชั้นเรียน
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่


ตรงกับระดับคะแนน
ระดับคะแนน

กิจกรรม ทาทาย
ลาดับที่ รายการประเมิน
3 2 1
1 การแสดงความคิดเห็น   
2 การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น   
3 การทางานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย   
4 ความมีนาใจ   
5 การตรงต่อเวลา   

ใหนักเรียนวาดกราฟแสดงจํานวนโครโมโซมของเซลลใน รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน

ระยะตางๆ กระบวนการแบงเซลลแบบไมโทซิสและการแบงเซลล
............/.................../................

เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน

แบบไมโอซิสลงในกระดาษกราฟ พรอมนําเสนอหนาชั้นเรียน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง


ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครัง
ให้
ให้
2 คะแนน
1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T71
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (5Es Instructional Model)


กระตุน ความสนใจ
1. ใหนักเรียนตรวจสอบความรูของตนเองกอน Check for Understanding
เขาสูการเรียนการสอนจากกรอบ Check for พิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุดบันทึก
Understanding ในหนั ง สื อ เรี ย นรายวิ ช า ถูก/ผิด

พืน้ ฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 1. ภำวะตำบอดสีมีแมลงหวี่เป็นพำหะน�ำโรค


หนวยการเรียนรูที่ 2 เรื่อง ความผิดปกติทาง 2. โรคธำลัสซีเมียเป็นโรคที่ติดต่อผ่ำนทำงสำยเลือดได้

มุ ด
พั น ธุ ก รรม โดยบั น ทึ ก ลงในสมุ ด ประจํ า ตั ว 3. โรคทำงพันธุกรรมทุกโรคส่งผลให้ร่ำงกำยมีรูปร่ำงผิดปกติ

นส
ลงใ
นักเรียน

ทึ ก
4. กลุ่มอำกำรดำวน์เป็นควำมผิดปกติที่เกิดขึ้นกับออโตโซม

บั น
2. ใหนักเรียนทํากิจกรรม Engaging Activity 5. กำรเปลี่ยนแปลงของยีนและโครโมโซมเป็นสำเหตุท�ำให้เกิดโรคทำงพันธุกรรม
โดยให นั ก เรี ย นส ง ลู ก บอลตามจั ง หวะเพลง
เมื่อเพลงหยุดแลว ลูกบอลอยูที่นักเรียนคนใด พิจารณาภาพการทําแครี โอไทปของเด็กคนที่ 1 และ 2 ที่กําหนดให้ และจากการ
ใหนักเรียนคนที่ถือลูกบอลยืนขึ้นเสนอคําตอบ
จากการทํากิจกรรม Engaging Activity จาก E ngaging วินิจฉัยของแพทย์ พบว่า เด็กคนหนึ่งปวยเปนโรคทางพันธุกรรม นักเรียนคิดว่า
เด็กคนใดปวยเปนโรคทางพันธุกรรม
Activity
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี ม.3 เลม 1 หนวยการเรียนรูที่ 2 เด็กคนที่ 1
เรื่อง ความผิดปกติทางพันธุกรรม
3. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายผลกิจกรรม 1 2 3 4 5
Engaging Activity เพื่ อ ให ไ ด ข  อ สรุ ป ว า
รางกายมนุษยปกติมีโครโมโซม 23 คู หรือ 6 7 8 9 10 11 12
46 แทง หากโครโมโซมในรางกายมีจํานวน
เพิม่ ขึน้ หรือลดลงไปจากปกติ สงผลใหรา งกาย 13 14 15 16 17 18 เด็กคนที่ 2
เกิดความผิดปกติหรือเปนโรคทางพันธุกรรม
19 20 21 22 23
1 2 3 4 5

6 7 8 9 10 11 12

13 14 15 16 17 18

19 20 21 22 23

ภาพที่ 2.20 กำรท�ำแครีโอไทป์ของเด็กคนที่ 1 และเด็กคนที่ 2


แนวตอบ Check for Understanding ที่มา : คลังภาพ อจท.

1. ผิด 2. ผิด 3. ผิด 64


4. ถูก 5. ถูก

แนวตอบ Engaging Activity


เด็กคนที่ 1 ปวยเปนโรคทางพันธุกรรม เนื่องจากจํานวนโครโมโซม
ในรางกายของเด็กคนที่ 1 มากกวาในรางกายคนปกติ 1 แทง โดยรางกาย
คนปกติจะมีจํานวนโครโมโซมเทากับ 46 แทง

T72
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
Key 4 ความผิดปกติทางพันธุกรรม 1. ครูแจกใบงาน เรื่อง โรคทางพันธุกรรม แลว
Question สิง่ มีชวี ติ ทุกชนิดจะมีลกั ษณะทีค่ ลายกับสิง่ มีชวี ติ ชนิดเดียวกัน ใหนักเรียนศึกษาคําชี้แจงในตอนที่ 1 เพื่อ
เพราะเหตุใดโรคธาลัสซีเมีย และมีลักษณะที่แตกตางจากสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น เนื่องมาจากการ ตรวจสอบความรูข องตนเอง กอนเขาสูบ ทเรียน
ซึง่ เปนโรคทางพันธุกรรม ถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ซึ่งถาหากเกิดความผิดปกติขึ้นกับ 2. ให นั ก เรี ย นแบ ง กลุ  ม แล ว ให แ ต ล ะกลุ  ม
จึงเกิดขึน้ กับเด็กบางคน ยีนหรือโครโมโซม จะสงผลใหเกิดความผิดปกติขึ้นกับรางกายของ ทํากิจกรรม โรคทางพันธุกรรม ในหนังสือเรียน
เทานัน
้ สิ่งมีชีวิต เรียกวา โรคทางพันธุกรรม รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
โรคทางพันธุกรรมเปนโรคที่เกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรม ซึ่งสามารถถายทอดจากรุนพอแมไปสู ม.3 เล ม 1 หน ว ยการเรี ย นรู  ที่ 2 เรื่ อ ง
รุนลูกและรุนหลานได โดยโรคทางพันธุกรรมบางโรคจะสงผลใหรางกายมีรูปรางและลักษณะผิดปกติไปจากเดิม ความผิดปกติทางพันธุกรรม
แตบางโรคจะไมสงผลใหรางกายมีรูปรางและลักษณะผิดปกติ แตจะสงผลใหอวัยวะในรางกายทํางานผิดปกติ
อธิบายความรู้
กิจกรรม 3. ครู สุ  ม เรี ย กตั ว แทนกลุ  ม กลุ  ม ละ 2-3 คน
โรคทางพันธุกรรม ออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน
4. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายผลกิจกรรม
จุดประสงค ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
- การสังเกต เพื่ อ ให ไ ด ข  อ สรุ ป ว า โรคทางพั น ธุ ก รรมมี
สืบคนและอธิบายสาเหตุที่ทําใหเกิดโรคทางพันธุกรรมได - การตีความหมายขอมูล
และลงขอสรุป สาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงของโครโมโซม
วัสดุอปุ กรณ จิตวิทยาศาสตร และยีน หรืออาจเกิดจากสภาวะแวดลอมและ
- ความสนใจใฝรู
1. สมุดบันทึก 2. อุปกรณเครื่องเขียน - ความรับผิดชอบ สามารถถ า ยทอดความผิ ด ปกติ นี้ ต  อ ไปยั ง
- การทํางานรวมกับผูอื่นได
วิธปี ฏิบตั ิ อยางสรางสรรค รุนลูกหลานได
5. ครูถามคําถามทายกิจกรรม
1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน แลวรวมกันสืบคนขอมูลเกี่ยวกับโรคทางพันธุกรรมอยางนอย 2-3 โรค
2. รวบรวมขอมูลและวิเคราะหสาเหตุที่ทําใหเกิดโรคทางพันธุกรรม บันทึกขอมูล แลวนําเสนอหนาชั้นเรียน
คําถามทายกิจกรรม
1. โรคทางพันธุกรรมไดแกโรคอะไรบาง
2. สาเหตุใดบางที่ทําใหเกิดโรคทางพันธุกรรม

อภิปรายผลกิจกรรม แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม


จากกิจกรรม พบวา โรคทางพันธุกรรมเปนโรคที่เกิดจากความผิดปกติของยีนหรือโครโมโซม แบงออกไดเปน 3 ประเภท 1. กลุมอาการดาวน กลุมอาการพาทัว กลุมอาการ
ไดแก ความผิดปกติของออโตโซม เชน กลุมอาการดาวน ความผิดปกติของโครโมโซมเพศ เชน กลุมอาการไคลนเฟลเตอร
และความผิดปกติของยีน เชน โรคฮีโมฟเลีย นอกจากนี้ ยังมีสาเหตุมาจากสภาพแวดลอมภายนอก เชน สารเคมี ควันบุหรี่
เอ็ ด เวิ ร  ด ภาวะตาบอดสี โรคผิ ว เผื อ ก โรค
ซึ่งเปนสารกอมะเร็ง รังสีอัลตราไวโอเลต หรือสารอะฟลาทอกซินที่สรางจากราชนิดหนึ่งปนเปอนอยูในอาหาร สงผลใหยีน ธาลัสซีเมีย
เปลี่ยนแปลงไปจากปกติ กอใหเกิดการกลายหรือมิวเทชัน (mutation) แลวสามารถถายทอดไปยังรุนลูกหลานตอไปได 2. รูปรางและจํานวนโครโมโซมรางกายผิดปกติ
รูปรางและจํานวนโครโมโซมเพศผิดปกติ และ
พันธุกรรม 65 ความผิ ด ปกติ ที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ ยี น บนโครโมโซม
รางกายและโครโมโซมเพศ

ขอสอบเนน การคิด ตารางบันทึก กิจกรรม


ความผิดปกติของโครโมโซม
ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับโรคทางพันธุกรรม
โครโมโซมที่ผิดปกติ จํานวนโครโมโซม (แทง)
1. สามารถรักษาใหหายได ชื่อโรค
ลักษณะ
2. มักแสดงอาการใหเห็นชัดเจน ลักษณะที่ ผิดปกติที่พบ
คูที่ ออโตโซม โครโมโซมเพศ
ผิดปกติ
3. เปนโรคที่ติดตอผานทางนํ้าลายหรือสารคัดหลั่ง
4. เกิดจากความผิดปกติของยีนหรือโครโมโซม น
ารสืบค
(วิเคราะหคําตอบ โรคทางพันธุกรรมเกิดจากความผิดปกติของ อ ย ก
 ู ับผลก
ข นึ้
ยีนหรือโครโมโซม ซึ่งเปนโรคที่เปนโดยกําเนิดผานทางกรรมพันธุ
บางโรคทํ า ให ท ารกที่ เ กิ ด มามี ชี วิ ต อยู  ไ ด ไ ม น านหรื อ บางโรค ความผิดปกติของยีน
กอใหเกิดความผิดปกติของรางกายตลอดชีวติ หรือทําใหเกิดภาวะ ชนิดของโครโมโซม ลักษณะ
ผิดปกติของระบบอวัยวะในรางกาย ไมสามารถรักษาใหหายขาดได ชื่อโรค สาเหตุของความผิดปกติ
ที่มียีนผิดปกติ ผิดปกติที่พบ
ดังนั้น ตอบขอ 4.) น
ลกา รสืบค
ขึ้นอ ยูกับผ

T73
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
6. ครู อ ธิ บ ายให นั ก เรี ย นเข า ใจว า โรคทาง 4.1 ความผิดปกติของออโตโซม
พั น ธุ ก รรมเกิ ด จากความผิ ด ปกติ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ความผิดปกติของออโตโซมเปนความผิดปกติทเี่ กิดจากการเปลีย่ นแปลงโครงสรางหรือจํานวนของโครโมโซม
สงผลใหเกิดโรคทางพันธุกรรมที่แตกตางกัน ดังนี้
กับโครโมโซมและยีน โดยโครโมโซมรางกาย
มีจํานวนผิดปกติ แบงออกไดเปน 2 ประเภท 1. โครโมโซมรางกายมีจํานวนผิดปกติ ตัวอยางเชน
คือ จํานวนโครโมโซมเกินมามากกวาปกติและ กลุมอาการพาทัว (Patau syndrome)
จํานวนโครโมโซมขาดหาย เกิดจากโครโมโซมคูที่ 13 เกินมา 1 แทง ทําใหเด็กที่เกิดมา
7. ครูถามนักเรียนวา โรคทางพันธุกรรมที่เกิด ตาเล็ก ปากแหวง เพดานโหว สมองพิการ หัวใจและไตผิดปกติ
ใบหูผิดปกติ ปญญาออน อาจมีอวัยวะภายในกลับซายขวากัน
จากความผิดปกติของยีนสามารถเกิดขึน้ ไดกบั มักเสียชีวิตหลังจากคลอดไมกี่เดือน
โครโมโซมประเภทใดบาง
(แนวตอบ โครโมโซมรางกายและโครโมโซมเพศ) กลุมอาการดาวน (Down syndrome)
8. ใหนักเรียนศึกษาคําชี้แจงและทําใบงาน เรื่อง เกิดจากโครโมโซมคูที่ 21 เกินมา 1 แทง ทําใหเด็กที่เกิดมา
โรคทางพันธุกรรม ตอนที่ 2 มีคอสั้นกวาง ทายทอยแบน จมูกเล็กและแฟบ ตาหาง และหางตา
ชี้ ข้ึ น ลิ้ น โตคั บ ปาก ลํ า ตั ว และนิ้ ว มื อ สั้ น ลายนิ้ ว มื อ ผิ ด ปกติ
ปญญาออน

กลุมอาการเอ็ดเวิรด (Edwards syndrome)


เกิดจากโครโมโซมคูที่ 18 เกินมา 1 แทง สวนใหญเกิดขึ้นกับ
ทารกเพศหญิง ทําใหเด็กที่เกิดมามีศีรษะเล็ก คางเล็ก มือกําแนน
และมีน้ิวเกยกัน หัวใจและปอดพิการ ทายทอย โหนก และใบหู
ผิดรูปและตํ่ากวาปกติ สวนมากมักเสียชีวิตกอนอายุครบ 1 ป

กลุมอาการ
1 2 3 4 5 6
พาทัว
7 8 9 10 11 12 กลุมอาการ
เอ็ดเวิรด
13 14 15 16 17 18

19 20 21 22 XX หรือ XY
ภาพที่ 2.21 โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากโครโมโซมรางกาย
มีจํานวนผิดปกติ
กลุมอาการดาวน ที่มา : คลังภาพ อจท.
66

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจยกตัวอยางโรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของออโตโซม ขอใดไมใชสาเหตุที่ทําใหเกิดโรคทางพันธุกรรม
นอกจากกลุมอาการดาวน กลุมอาการเอ็ดเวิรด กลุมอาการพาทัว และกลุม 1. ยีนบนออโตโซมผิดปกติ
อาการคริดูชาแลว ยังมีกลุมอาการพราเดอร-วิลลี (Prader-Willi syndrome) 2. จํานวนโครโมโซมผิดปกติ
ซึ่งเปนโรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของออโตโซมเชนกัน คือ 3. โครงสรางของโครโมโซมผิดปกติ
เกิดความผิดปกติขึ้นกับโครโมโซมคูที่ 15 ทําใหผูปวยมีรูปรางอวนมาก มือและ 4. จํานวนเซลลในรางกายของสิ่งมีชีวิต
เทาเล็ก กินจุ ปญญาออน มีพฤติกรรมแปลกๆ เชน พูดชา รวมทั้งเปนออทิสติก (วิเคราะหคําตอบ โรคทางพันธุกรรมเกิดจากความผิดปกติของ
รวมดวย ยีนหรือโครโมโซม ซึ่งอาจเกิดจากการเปลี่ยนแปลงจํานวนหรือ
โครงสรางของโครโมโซมในรางกายของสิง่ มีชวี ติ หรืออาจเกิดจาก
ความผิดปกติของยีนบนออโตโซมหรือยีนบนโครโมโซมเพศ ทําให
สิ่งมีชีวิตมีความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับรางกายแตกตางกัน ดังนั้น
ตอบขอ 4.)

T74
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
2. โครโมโซมมีรูปรางผิดปกติ เชน กลุมอาการคริดูชา (Cri du Chat syndrome) เกิดจากแขนขางสั้น 9. ครูถามคําถามทบทวนความรูของนักเรียน
ของโครโมโซมคูที่ 5 ขาดหายไป ทําใหเด็กที่เกิดมามีศีรษะเล็กกวาปกติ ใบหนากลม ใบหูตํ่ากวาปกติ ตาหาง
ปญญาออน มีเสียงรองแหลมเล็กคลายเสียงแมวรอง กลุมอาการนี้จึงมีอีกชื่อที่เรียกวา กลุมอาการเสียงคลายแมว ดังนี้
(cat cry syndrome) • โรคทางพั น ธุ ก รรมที่ เ กิ ด จากจํ า นวน
โครโมโซมเกิ น มามากกว า ปกติ ได แ ก
โรคอะไรบาง และโครโมโซมคูใดเกินมา
1 2 3 4 5 ( แนวตอบ กลุ  ม อาการดาวน เ กิ ด จาก
โครโมโซมคูท ี่ 21 เกินมา 1 แทง กลุม อาการ
6 7 8 9 10 11 12
พาทัวเกิดจากโครโมโซมคูที่ 13 เกินมา
1 แท ง กลุ  ม อาการเอ็ ด เวิ ร  ด เกิ ด จาก
13 14 15 16 17 18 โครโมโซมคูที่ 18 เกินมา 1 แทง)
• โรคทางพั น ธุ ก รรมที่ เ กิ ด จากจํ า นวน
19 20 21 22 23 โครโมโซมขาดหายไปไดแกโรคอะไรบาง
ภาพที่ 2.22 กลุมอาการคริดูชามีสาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงโครงสรางของโครโมโซม และเกิดขึ้นกับโครโมโซมคูใด
ที่มา : diawoltodo.comunidades.net/cri-du-chat
(แนวตอบ กลุมอาการคริดูชาเกิดจากแขน
4.2 ความผิดปกติของโครโมโซมเพศ ขางสั้นของโครโมโซมคูที่ 5 ขาดหายไป
ความผิดปกติของโครโมโซมเพศเปนความผิดปกติทเี่ กิดขึน้ กับโครโมโซมคูท ี่ 23 ซึง่ เปนโครโมโซมทีก่ าํ หนดเพศ 1 แทง)
ของมนุษย ซึ่งจะสงผลใหรางกายและระบบสืบพันธุมีความผิดปกติ ดังนี้ 10. ครูอธิบายตอไปวา นอกจากความผิดปกติ
1. ความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับโครโมโซม X ตัวอยางเชน ที่เกิดขึ้นกับโครโมโซมรางกายแลว โรคทาง
1) กลุมอาการเทิรนเนอร (Turner syndrome) เปนความผิดปกติที่เกิดจากโครโมโซม X ขาดหายไป พันธุกรรมยังเกิดจากความผิดปกติที่เกิดขึ้น
1 แทง ในเพศหญิง ทําให1เพศหญิงมีรูปรางเตี้ย มีแผ2นหลังคลายปกจากตนคอลงมาจรดหัวไหล คอสั้น กับโครโมโซมเพศ ซึ่งแบงออกไดเปนความ
และตนคอกวางกวาปกติ รังไขไมเจริญ ทําใหไมมีประจําเดือนและเปนหมัน
ผิดปกติที่เกิดขึ้นกับโครโมโซม X และความ
ผิดปกติที่เกิดขึ้นกับโครโมโซม Y
1 2 3 4 5 6

7 8 9 10 11 12

13 14 15 16 17 18

19 20 21 22 23

ภาพที่ 2.23 กลุมอาการเทิรนเนอรเกิดขึ้นเฉพาะเพศหญิง


ที่มา : www.msdmanuals.com
พันธุกรรม 67

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ขอใดคือโรคทางพันธุกรรมทีเ่ กิดจากความผิดปกติของโครโมโซมเพศ 1 รังไข คือ อวัยวะขนาดเล็กที่อยูบริเวณปกมดลูกทั้ง 2 ขาง มีหนาที่ในการ
1. กลุมอาการดาวน สรางฮอรโมนตางๆ ของผูหญิงใหสมดุล โดยเฉพาะฮอรโมนอีสโทรเจนที่ชวย
2. กลุมอาการคริดูชา กระตุนการมีประจําเดือน โดยทุกๆ เดือนรังไขจะผลิตไขและไขจะเคลื่อนที่
3. กลุมอาการเอ็ดเวิรด เขาสูทอนําไข เรียกวา การตกไข (ovulation)
4. กลุมอาการไคลนเฟลเตอร 2 ประจําเดือน คือ เลือดที่ออกจากชองคลอด เนื่องจากมีการหลุดลอก
(วิเคราะหคําตอบ โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของ ของเยื่อบุมดลูกตามธรรมชาติ ตลอดระยะเวลาที่รังไขมีความเจริญและไขสุก
ออโตโซม เชน กลุมอาการดาวน กลุมอาการคริดูชา กลุมอาการ กลาวคือ ชวงอายุประมาณ 10-18 ป หรือโดยเฉลี่ยอายุประมาณ 13 ป ไปจนถึง
เอ็ดเวิรด แตกลุมอาการไคลนเฟลเตอรเปนโรคทางพันธุกรรมที่ อายุประมาณ 45-55 ป
เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมเพศ ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T75
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
11. ครูอธิบายโดยสรุปใหนักเรียนเขาใจ ดังนี้ 2) กลุม อาการทริปเปลเอกซ (triple X syndrome) เปนความผิดปกติ
ทีเ่ กิดจากโครโมโซม X เกินมา 1 แทง ในเพศหญิง โครโมโซมคูท ี่ 23 จึงมีจโี นไทป
- ความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับโครโมโซม X
แบบ XXX เรียกผูปวยกลุมนี้วา ซูเปอรฟเมล (super female) ผูปวย
สามารถเกิ ด ขึ้ น ได ทั้ ง ในเพศชายและ จะมีลักษณะภายนอกเหมือนผูหญิงทั่วไป ไมเปนหมัน กระดูกหนาอกโคง
เพศหญิ ง โดยถ า เกิ ด ขึ้ น กั บ เพศหญิ ง เล็กนอย เทาแบน ปญญาออน ในบางรายจะมีนิ้วกอยโกงงอ
เนื่ อ งจากโครโมโซม X ขาดหายไป
1 แทง จะทําใหเกิดกลุมอาการเทิรนเนอร ภาพที่ 2.24 ผูปวยกลุมอาการทริปเปลเอกซบางรายมีนิ้วกอยโกงงอ
ทําใหเพศหญิงมีรูปรางเตี้ย ตนคอกวาง ที่มา : bunkyo.info

เป น หมั น แต ถ  า โครโมโซม X เกิ น มา


3) กลุมอาการไคลนเฟลเตอร (Klinefelter syndrome) เปนความผิดปกติที่เกิดขึ้นจากโครโมโซม X
1 แท ง จะทํ า ให เ กิ ด กลุ  ม อาการ เกินมา 1 แทง ในเพศชาย ทําใหเพศชายมีรูปรางและลักษณะคลายกับเพศหญิง เชน หนาอกโต สะโพกผาย รูปราง
ทริปเปลเอกซหรือเรียกผูปวยกลุมนี้วา สูงกวาปกติ อัณฑะและองคชาตมีขนาดเล็กผิดปกติ เปนหมัน และปญญาออน
ซูเปอรฟเมล ซึ่งผูปวยกลุมนี้จะมีรูปราง
เหมือนผูห ญิงทัว่ ไป ไมเปนหมัน แตผปู ว ย
บางรายจะเกิ ด ความผิ ด ปกติ ที่ แ สดง
1 2 3 4 5
ให เ ห็ น เช น นิ้ ว ก อ ยโก ง งอ กระดู ก
หนาอกโคงเล็กนอย เทาแบน สวนใน
เพศชาย ถาโครโมโซม X เกินมา 1 แทง 6 7 8 9 10 11 12

จะทําใหเกิดกลุมอาการไคลนเฟลเตอร
13 14 15 16 17 18
ทําใหเพศชายมีรูปรางคลายกับเพศหญิง
และเปนหมัน
19 20 21 22 23
- ความผิ ด ปกติ ที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ โครโมโซม
Y จะเกิ ด ขึ้ น ในเฉพาะเพศชาย เช น ภาพที่ 2.25 กลุมอาการไคลนเฟลเตอรเกิดขึ้นเฉพาะเพศชาย
ที่มา : www.semanticscholar.org/paper/chromosomal-syndromes.-shiang
โครโมโซม Y เกิ น มา 1 แท ง ทํ า ให
เกิ ด กลุ  ม อาการที่ เ รี ย กว า กลุ  ม อาการ
2. ความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับโครโมโซม Y ไดแก กลุมอาการเอกซวายวายหรือ
ดับเบิลวาย เรียกผูป ว ยกลุม นีว้ า ซูเปอรเมน ดับเบิลวาย (double Y syndrome) เปนความผิดปกติที่เกิดจากโครโมโซม Y เกินมา 1 แทง
ทํ า ให ผู  ป  ว ยมี รู ป ร า งสู ง ใหญ ก ว า ปกติ ทําใหโครโมโซมคูที่ 23 มีจีโนไทปแบบ XYY เรียกผูปวยกลุมนี้วา ซูเปอรเมน (super men)
ไมเปนหมัน มีอารมณรุนแรง ทําใหผูปวยมีรูปรางสูงกวาปกติ ไมเปนหมัน มีอารมณราย โมโหงาย และมีแนวโนมเปนอาชญากร

ภาพที่ 2.26 ลักษณะคนกลุมอาการดับเบิลวาย


ที่มา : คลังภาพ อจท.

68

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับโรคเซลลเม็ดเลือดแดงรูปเคียว (sickle cell ข อ ใดเป น โรคทางพั น ธุ ก รรมที่ เ กิ ด จากความผิ ด ปกติ บ น
disease หรือ sickle cell disorder เรียกยอวา SCD) เปนโรคเลือดทางพันธุกรรม โครโมโซมเพศ
ที่เกิดจากความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับโครโมโซมคูที่ 11 ทําใหเกิดความผิดปกติ 1. โรคผิวเผือก
ในการสรางเซลลเม็ดเลือดแดง สงผลใหเซลลเม็ดเลือดแดงมีรูปรางผิดปกติ 2. ภาวะนิ้วเกิน
มีชีวิตสั้นกวาปกติ และจะไปอุดตันตามหลอดเลือด ทําใหเกิดภาวะเสี่ยงตางๆ 3. โรคธาลัสซีเมีย
ตามมา ผูปวยจะมีอาการปวดรุนแรงนานเปนสัปดาห และมีภาวะโลหิตจาง 4. ภาวะตาบอดสี
ซึ่ ง เป น ภาวะที่ เ ซลล เ ม็ ด เลื อ ดแดงไม ส ามารถขนส ง ออกซิ เ จนไปเลี้ ย งตาม (วิเคราะหคําตอบ โรคทางพันธุกรรมทีเ่ กิดจากความผิดปกติของ
สวนตางๆ ของรางกายใหเพียงพอกับความตองการ ทําใหมีอาการออนเพลีย ยีนบนออโตโซม เชน โรคผิวเผือก ภาวะนิ้วเกิน โรคธาลัสซีเมีย
และหายใจหอบ แตภาวะตาบอดสีเปนโรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติ
ของยีนบนโครโมโซมเพศ ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T76
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
4.3 ความผิดปกติของยีน 12. ครูถามคําถามนักเรียน ดังนี้
ความผิดปกติของยีนที่อยูบนออโตโซมและโครโมโซมเพศ ทําใหเกิดความผิดปกติ ดังนี้ • ภาวะตาบอดสีเกิดจากสาเหตุใด
1. ความผิดปกติของยีนบนออโตโซม ตัวอยางเชน (แนวตอบ เกิดจากความผิดปกติของยีน
โรคผิวเผือก (albinism) บนโครโมโซมเพศ ทําใหเซลลรูปกรวย
เปนความผิดปกติของแอลลีลดอยของยีนที่ควบคุม ทํางานผิดปกติ)
การสรางเม็ดสีเมลานินในรางกาย ทําใหรางกายมี • โรคฮีโมฟเลียเกิดจากสาเหตุใด
ผิ ว สี ข าวซี ด ผมสี ข าว ตาสี ข าว ม า นตาสี เ ทา (แนวตอบ เกิดจากความผิดปกติของยีนบน
และโปรงแสง รูมานตาสะทอนแสงออกมาเปนสีแดง โครโมโซมเพศ ทําใหโปรตีนทีเ่ กีย่ วของกับ
รางกายออนแอ และติดเชื้อไดงายกวาคนทั่วไป การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ)
ภาพที่ 2.27 ลักษณะของสีผิวและสีมานตาของคนที่เปนโรคผิวเผือก 13. ให นั ก เรี ย นตรวจสอบความรู  ห ลั ง เรี ย นใน
ที่มา : คลังภาพ อจท. ใบงาน เรื่อง โรคทางพันธุกรรม ตอนที่ 3
14. ให นั ก เรี ย นทํ า แบบฝ ก หั ด รายวิ ช าพื้ น ฐาน
ภาวะนิ้วเกิน (polydactyly) วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1
เปนความผิดปกติของแอลลีลเดน ทําใหมือและเทามีนิ้วมากกวา 5 นิ้ว เรื่อง ความผิดปกติทางพันธุกรรม
ซึง่ เปนความผิดปกติตงั้ แตกาํ เนิด และนิว้ ทีเ่ กินมามักจะเปนติง่ เนือ้ ไมมกี ระดูก 15. ใหนักเรียนตรวจสอบความเขาใจของตนเอง
หรือมีกระดูกขนาดเล็กกวาปกติ โดยตอบคําถาม Topic Questions ลงในสมุด
ประจําตัวนักเรียน
ภาพที่ 2.28 ลักษณะมือของคนที่ปวยเปนภาวะนิ้วเกิน
ที่มา : คลังภาพ อจท. ขยายความเข้าใจ
16. ครู กํ า หนดป ญ หาว า ครอบครั ว หนึ่ ง มี พ  อ
เป น พาหะโรคธาลั ส ซี เ มี ย และแม เ ป น
โรคธาลัสซีเมีย (thalassemia) โรคธาลัสซีเมีย แตลกู ทีเ่ กิดจากสามีภรรยาคูน ี้
เปนความผิดปกติของแอลลีลดอยของยีนที่ควบคุม มีสุขภาพดีและกําลังจะแตงงานกับหญิงที่
การสรางโปรตีนเฮโมโกลบินในเซลลเม็ดเลือดแดง ปวยเปนโรคธาลัสซีเมีย จงทํานายวาลูกที่
ทําใหเกิดภาวะโลหิตจาง และเซลลเม็ดเลือดแดงลําเลียง
เกิดมาจะมีโอกาสปวยเปนโรคทางพันธุกรรม
ออกซิเจนไดนอยลง หากมีอาการรุนแรงอาจทําให
หัวใจวายและเสียชีวิตได รอยละเทาไร และนักเรียนจะใหคําแนะนํา
อยางไร บันทึกลงในสมุดประจําตัวนักเรียน
ภาพที่ 2.29 รูปรางเซลลเม็ดเลือดแดงของคนปกติ (ภาพซาย)
เปรียบเทียบกับของคนที่ปวยเปนโรคธาลัสซีเมีย (ภาพขวา)
ที่มา : คลังภาพ อจท.

พันธุกรรม 69

กิจกรรม สรางเสริม เกร็ดแนะครู


ให นั ก เรี ย นนํ า ความรู  เ กี่ ย วกั บ เรื่ อ ง โรคทางพั น ธุ ก รรม ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับโรคภาวะพรองเอนไซม จี-6-พีดี (G-6-PD) หรือ
มาวิเคราะหแลวรวมกันหาแนวทางการปองกันภาวะเสี่ยงตอการ โรคแพถั่วปากอา ซึ่งเปนโรคที่เกิดจากความผิดปกติของยีน G-6-PD ที่อยูบน
เกิดโรคทางพันธุกรรม โดยจัดทําเปนแผนพับที่ใหความรูเกี่ยวกับ โครโมโซมเพศ คือ โครโมโซม X โดย G-6-PD เปนชือ่ ยอของเอนไซม glucose-6-
โรคทางพันธุกรรมและขอควรปฏิบัติตนที่ถูกตอง phosphate dehydrogenase ซึ่งเปนเอนไซมที่มีอยูในเซลลเม็ดเลือดแดง
ชวยปองกันไมใหเซลลเม็ดเลือดแดงถูกทําลายจากสารอนุมูลอิสระ หากเกิด
ความผิดปกติขึ้นกับยีนนี้ จะทําใหผูปวยมีอาการซีด เหลือง หรือเปนดีซาน
สงผลใหปสสาวะนอยและมีสีคลายกับนํ้าอัดลมหรือนํ้าปลา อาจนําไปสูภาวะ
กิจกรรม ทาทาย ไตวายเฉียบพลันได
ใหนกั เรียนสืบคนขอมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับโรคทางพันธุกรรมอืน่
นอกเหนือจากในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี ม.3 เลม 1 เชน โรคฮันติงตัน กลุมอาการมารแฟน
โรคซิสติกไฟโบรซิส สรุปลงในสมุดประจําตัวนักเรียน แลวออกมา
นําเสนอหนาชั้นเรียน

T77
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
นักเรียนและครูรว มกันสรุป เรือ่ ง ความผิดปกติ
ทางพั น ธุ ก รรม เพื่ อ ให ไ ด ข  อ สรุ ป ว า โรคทาง 2. ความผิดปกติของยีนบนโครโมโซมเพศ ตัวอย่างเช่น
1) ภาวะตาบอดสี (colour blindness) เป็นความผิดปกติทเี่ กิดขึน้
พันธุกรรมบางโรคอาจมีการถายทอดจากพอแม บนแอลลี ล ด้ อ ยของยี น บนโครโมโซม X ท� า ให้ เ ซลล์ รู ป กรวยซึ่ ง เป็ น
ไปสู  รุ  น ลู ก ได ดั ง นั้ น ก อ นแต ง งานหรื อ ก อ น เซลล์ประสาทในม่านตาเกิดความผิดปกติ จึงท�าให้ผปู้ ว่ ยมองเห็นสีบางสี เช่น
มีบุตรควรปองกันโดยการตรวจเลือดเพื่อวินิจฉัย สีแดง น�้าเงิน เขียว แตกต่างไปจากคนปกติ
ภาวะเสี่ยงของลูกที่อาจเกิดโรคทางพันธุกรรม 2) โรคฮีโมฟีเลีย (hemophilia) เป็นความผิดปกติที่เกิดขึ้นบน
แลวใหนกั เรียนสรุปเปนผังมโนทัศนลงในกระดาษ แอลลีลด้อยของยีนบนโครโมโซม X ท�าให้การสร้างโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับ ภาพที่ 2.30 แผ่นทดสอบตาบอดสี
อิชิฮะระ ซึ่งคนสายตาปกติจะมองเห็น
A4 สงครูผูสอน แลวนําเสนอในรูปแบบที่นาสนใจ การแข็งตัวของเลือดเกิดความผิดปกติ ส่งผลให้เมื่อผู้ป่วยโรคฮีโมฟีเลียเกิด เป็นหมายเลข 12
บาดแผล จะท�าให้เลือดไหลนานกว่าปกติ ที่มา : คลังภาพ อจท.

ขัน้ ประเมิน จะเห็นว่า โรคทางพันธุกรรมสามารถถ่ายทอดจากรุน่ พ่อแม่ไปสูร่ นุ่ ลูกหรือรุน่ หลานได้ ซึง่ ในปัจจุบนั ประเทศไทย
ตรวจสอบผล เด็กที่เกิดมาเป็นโรคทางพันธุกรรมมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น เพื่อป้องกันปัญหาที่เกิดขึ้น ควรหลีกเลี่ยงการแต่งงาน
ระหว่างเครือญาติ เพราะการแต่งงานระหว่างเครือญาติชว่ ยเพิม่ โอกาสในการถ่ายทอดยีนทีผ่ ดิ ปกติไปยังร่นุ ลูกได้มาก
1. ตรวจใบงาน เรื่อง โรคทางพันธุกรรม หลีกเลีย่ งการอยูใ่ นสภาวะแวดล้อมทีท่ า� ให้เสีย่ งต่อการได้รบั สารเคมีหรือสารก่อกลายพันธุ์ รวมทัง้ คูส่ มรสก่อนแต่งงาน
2. ตรวจแบบฝกหัดรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ควรเข้ารับการตรวจเลือด เพื่อให้แพทย์วินิจฉัยภาวะเสี่ยงของลูกที่อาจมีโอกาสเป็นโรคทางพันธุกรรม
และเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 เรื่อง ความผิดปกติ
ทางพันธุกรรม Application
3. ตรวจรายงาน เรื่อง โรคทางพันธุกรรม Activity
4. ตรวจผังมโนทัศน เรื่อง ความผิดปกติทาง ถ้าผลการตรวจเลือดของลูกพี่ลูกน้องของนักเรียน พบว่า พ่อของเขาเป็นพาหะของโรคธาลัสซีเมีย
พันธุกรรม และแม่เป็นโรคธาลัสซีเมีย เขากลับมีสุขภาพดี แต่ไม่เคยตรวจเลือดมาก่อน วันหนึ่งเขาก�าลังจะแต่งงาน
5. ตรวจสอบผลการปฏิ บั ติ กิ จ กรรม โรคทาง กับผู้หญิงที่ป่วยเป็นโรคธาลัสซีเมีย นักเรียนจะน�าความรู้ที่ได้จากการศึกษาการถ่ายทอดยีนบนโครโมโซม
และโรคทางพันธุกรรมมาช่วยท�านายว่า หลานของนักเรียนทีเ่ กิดมาจะมีโอกาสป่วยเป็นโรคธาลัสซีเมียได้หรือไม่
พันธุกรรม และจะมีวิธีแนะน�าลูกพี่ลูกน้องของนักเรียนอย่างไร เพื่อให้เขาตระหนักถึงภาวะเสี่ยงของลูกที่อาจเกิด
6. สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม การทํางาน มาเป็นโรคธาลัสซีเมีย
รายบุคคล
7. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยสังเกต
ความมีวนิ ยั ใฝเรียนรู และมุง มัน่ ในการทํางาน Topic Questions
ค�าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
1. โรคทางพันธุกรรมเป็นโรคที่เกิดจากความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับสิ่งใดบ้าง
2. โรคที่เกิดจากความผิดปกติบนออโตโซมได้แก่โรคอะไรบ้าง
3. ถ้าพ่อเป็นคนปกติแต่งงานกับแม่ที่เป็นโรคผิวเผือก โอกาสที่ลูกจะเป็นโรคผิวเผือกมีกี่เปอร์เซ็นต์
4. ภาวะตาบอดสีเป็นความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเซลล์ชนิดใด
5. เพศใดมีโอกาสเกิดโรคฮีโมฟีเลียได้มากกว่ากัน เพราะเหตุใด

70

แนวทางการวัดและประเมินผล แนวตอบ Topic Questions


1. โครโมโซมและยีน
ครู วั ด และประเมิ น ผลความเข า ใจในเนื้ อ หา เรื่ อ ง ความผิ ด ปกติ ท าง
2. กลุมอาการดาวน กลุมอาการพาทัว กลุมอาการเอ็ดเวิรด
พันธุกรรม ไดจากการทําผังมโนทัศน เรื่อง ความผิดปกติทางพันธุกรรม
3. ลู ก จะไม ป  ว ยเป น โรคผิ ว เผื อ ก แต ลู ก ทุ ก คนมี โ อกาสเป น พาหะ
โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน
โรคผิวเผือก
(รวบยอด) ที่อยูในแผนการจัดการเรียนรูประจําหนวยการเรียนรูที่ 2
4. เซลลรูปกรวย
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
5. เพศชาย เพราะมีโครโมโซม X เพียง 1 แทง จึงมีโอกาสเปนโรค
ฮีโมฟเลียไดมากกวา
แบบประเมินผลงานแผนผังมโนทัศน์
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
ระดับคุณภาพ
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ที่กาหนด
2 ความถูกต้องของเนื้อหา
3 ความคิดสร้างสรรค์
4 ความเป็นระเบียบ
รวม
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
............../................./................
เกณฑ์ประเมินแผนผังมโนทัศน์
ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
1. ผลงานตรงกับ ผล งา น สอดค ล้ องกั บ ผ ล ง า น ส อด ค ล้ อ งกั บ ผลงานสอดคล้ อ งกั บ ผลงานไม่ ส อดคล้ อ ง
จุดประสงค์ที่ จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ บ า ง กับจุดประสงค์
กาหนด ประเด็น
2. ผลงานมีความ เนื้ อ หาสาระของผลงาน เนื้ อ หาสาระของผลงาน เ นื้ อ ห า ส า ร ะ ข อ ง เ นื้ อ ห า ส า ร ะ ข อ ง
ถูกต้องของ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ผลงานถูกต้องเป็นบาง ผลงานไม่ถูกต้องเป็น
เนื้อหา ประเด็น ส่วนใหญ่
3. ผลงานมีความคิด ผ ล ง า น แ ส ด ง อ อ ก ถึ ง ผลงานมี แ นวคิ ด แปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผ ล ง า น ไ ม่ แ ส ด ง
สร้างสรรค์ ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ใหม่ แ ต่ ยั ง ไม่ เ ป็ น ระบบ แ ต่ ยั ง ไ ม่ มี แ น ว คิ ด แนวคิดใหม่
แปลกใหม่และเป็นระบบ แปลกใหม่
4. ผลงานมีความ ผ ล ง า น มี ค ว า ม เ ป็ น ผลงานส่ ว นใหญ่ มี ค วาม ผลงานมี ค วามเป็ น ผลงานส่ ว นใหญ่ ไ ม่
เป็น ระเบียบ ระเบี ย บแสดงออกถึ ง เ ป็ น ร ะ เ บี ย บ แ ต่ ยั ง มี ร ะ เ บี ย บ แ ต่ มี เป็นระเบียบและมีข้อ
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย ข้อบกพร่องบางส่วน บกพร่องมาก

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14-16 ดีมาก
11-13 ดี
8-10 พอใช้
ต่ากว่า 7 ปรับปรุง

T78
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (5Es Instructional Model)


กระตุน ความสนใจ
Check for Understanding 1. ให นั ก เรี ย นตรวจสอบความรู  ข องตนเอง
พิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุดบันทึก กอนเขาสูการเรียนการสอนจากกรอบ Check
ถูก/ผิด for Understanding ในหนังสือเรียนรายวิชา
1. สิ่งมีชีวิตที่น�ำมำดัดแปรพันธุกรรมคือพืชเท่ำนั้น พืน้ ฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1
2. สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมเกิดจำกกระบวนกำรทำงธรรมชำติ หนวยการเรียนรูที่ 2 เรื่อง การดัดแปรทาง

มุ ด
3. ปัจจุบันทุกประเทศต่ำงยอมรับและเลือกบริโภคสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม พั น ธุ ก รรม โดยบั น ทึ ก ลงในสมุ ด ประจํ า ตั ว

นส
งใ

นักเรียน

ทึ ก
4. พืชดัดแปรพันธุกรรมเกิดจำกกำรน�ำยีนจำกแบคทีเรียไปแทรกลงในโครโมโซมของพืช

บั น
5. มนุษย์ใช้ประโยชน์จำกสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมในด้ำนกำรแพทย์ เช่น ผลิตวัคซีน 2. ครู ถ ามนั ก เรี ย นว า นั ก เรี ย นรู  จั ก สิ่ ง มี ชี วิ ต
ดั ด แปรพั น ธุ ก รรมหรื อ ไม แล ว ให นั ก เรี ย น
ยกตัวอยางสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
E ngaging พิจารณาภาพที่กําหนดให้ แล้วให้นักเรียนวิเคราะห์ว่า ภาพใดเปนสตรอว์เบอร์รี
และมะเขือเทศ GMOs ตามลําดับ
(แนวตอบ ขึ้นอยูกับคําตอบของนักเรียนและ
ดุลยพินิจของครู)
Activity
3. ใหนักเรียนทํากิจกรรม Engaging Activity
โดยพิจารณาภาพและเลือกภาพทีเ่ ปนสิง่ มีชวี ติ
ดัดแปรพันธุกรรมจากหนังสือเรียนรายวิชา
พืน้ ฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1
หนวยการเรียนรูที่ 2 เรื่อง การดัดแปรทาง
พันธุกรรม
4. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลกิจกรรม
ภาพที่ 1 ภาพที่ 2 Engaging Activity เพื่ อ ให ไ ด ข  อ สรุ ป ว า
สิ่ ง มี ชี วิ ต ดั ด แปรพั น ธุ ก รรม มี ลั ก ษณะและ
รูปรางแตกตางไปจากปกติ เนือ่ งจากมียนี ของ
สิ่ ง มี ชี วิ ต อื่ น แทรกอยู  จากกระบวนการ
เทคโนโลยีชีวภาพของมนุษย

ภาพที่ 3 ภาพที่ 4
ภาพที่ 2.31 สตรอว์เบอร์รีและมะเขือเทศ
ที่มา : คลังภาพ อจท. แนวตอบ Check for Understanding
พันธุกรรม 71 1. ผิด 2. ผิด 3. ผิด
4. ถูก 5. ถูก

แนวตอบ Engaging Activity


ภาพที่ 1 และภาพที่ 4 ตามลําดับ

T79
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ครูถามคําถาม Key Question Key 5 การดัดแปรทางพันธุกรรม
2. ใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 5-6 คน โดยแตละ Question ปัจจุบันมนุษย์มีการน�าความรู้ทางด้านพันธุศาสตร์เกี่ยวกับ
กลุมทํากิจกรรม สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม สิง่ มีชวี ติ ดัดแปรพันธุกรรม กระบวนการถ่ายทอดลั
1 กษณะทางพันธุกรรมประกอบกับการใช้
โดยใหสมาชิกภายในกลุม แบงภาระและหนาที่ แตกต่ำงจำกสิง่ มีชวี ติ เทคโนโลยีชีวภาพมาประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์สิ่งมีชีวิตให้ได้
รับผิดชอบในการสืบคนขอมูลเกีย่ วกับสิง่ มีชวี ติ ในธรรมชำติอย่ำงไร สิ่งมีชีวิตสายพันธุ์ใหม่ที่มีสมบัติและลักษณะตามต้องการ และก่อให้
ดัดแปรพันธุกรรม เกิดประโยชน์ได้หลากหลาย
3. ให นั ก เรี ย นรวบรวมข อ มู ล แล ว จั ด ทํ า เป น 2
สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม คือ สิ่งมีชีวิตที่ถูกดัดแปรพันธุกรรมโดยอาศัยกระบวนการทางพันธุวิศวกรรม
รายงาน เรื่ อ ง สิ่ ง มี ชี วิ ต ดั ด แปรพั น ธุ ก รรม โดยการเปลีย่ นแปลงพันธุกรรมของสิง่ มีชวี ติ เช่น การน�ายีนของสิง่ มีชวี ติ ชนิดหนึง่ ทีม่ ลี กั ษณะทางพันธุกรรมทีต่ อ้ งการ
พรอมนําเสนอหนาชั้นเรียน โดยมีประเด็น ใส่เข้าไปในสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่งเพื่อให้แสดงลักษณะทางพันธุกรรมตามที่ต้องการ
ในการนําเสนอ ดังนี้
- สิ่งมีชีวิตที่นํามาดัดแปรพันธุกรรมคืออะไร กิจกรรม
- ประโยชน แ ละโทษจากสิ่ ง มี ชี วิ ต ดั ด แปร สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
พันธุกรรม
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
จุดประสงค์ - การตีความหมายข้อมูล
และลงข้อสรุป
อธิบายการใช้ประโยชน์จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมได้ จิตวิทยาศาสตร์
แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม - ความสนใจใฝ่รู้
- ความรับผิดชอบ
1. พืช สัตว แบคทีเรีย วัสดุอปุ กรณ์ - การท�างานร่วมกับผู้อื่นได้
อย่างสร้างสรรค์
2. ดานการแพทย ดานการเกษตร ดานอุตสาหกรรม 1. สมุดบันทึก
ดานสิ่งแวดลอม 2. อุปกรณ์เครื่องเขียน
3. สงผลกระทบตอความปลอดภัยของผูบ ริโภคและ วิธปี ฏิบตั ิ
สงผลกระทบตอความหลากหลายทางชีวภาพ
ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน แล้วร่วมกันสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมมาอย่างน้อย 2 ชนิด
เนื่องจากมีสายพันธุใหมที่เหนือกวาสายพันธุ จากนั้นรวบรวมข้อมูลและร่วมกันอภิปรายถึงประโยชน์ที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อมนุษย์
ดั้งเดิมในธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม แล้วส่งตัวแทนกลุ่มออกมาน�าเสนอหน้าชั้นเรียน

ค�ำถำมท้ำยกิจกรรม
1. ยกตัวอย่างสิ่งมีชีวิตที่มนุษย์น�ามาดัดแปรพันธุกรรม
2. มนุษย์น�าสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมมาใช้ประโยชน์ในด้านใดบ้าง
แนวตอบ Key Question 3. ยกตัวอย่างผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้ประโยชน์จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมที่มีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
สิ่ ง มี ชี วิ ต ดั ด แปรพั น ธุ ก รรมมี ยี น หรื อ สาร
พั น ธุ ก รรมที่ สิ่ ง มี ชี วิ ต ในธรรมชาติ ไ ม มี ทํ า ให
สิ่ ง มี ชี วิ ต ดั ด แปรพั น ธุ ก รรมแสดงลั ก ษณะพิ เ ศษ 72
ที่แตกตางไปจากธรรมชาติ

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


1 เทคโนโลยีชีวภาพ เปนเทคโนโลยีซึ่งนําเอาความรูทางดานตางๆ ของ ขอใดคือสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
วิทยาศาสตร รวมทั้งกระบวนการทางพันธุวิศวกรรมมาประยุกตใชกับสิ่งมีชีวิต 1. แตงโมไรเมล็ด
ชิ้นสวนของสิ่งมีชีวิต หรือผลผลิตของสิ่งมีชีวิต เพื่อเปนประโยชนตอมนุษย 2. กลวยที่ผานการฉายรังสีแกมมา
ในดานตางๆ เชน ดานการเกษตร ดานอาหาร ดานสิ่งแวดลอม ดานการแพทย 3. กลวยไมที่ไดจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
2 พันธุวศิ วกรรม กระบวนการทีน่ าํ ความรูต า งๆ ทีไ่ ดจากการศึกษาชีววิทยา 4. แบคทีเรียที่สามารถผลิตฮอรโมนอินซูลิน
ระดับโมเลกุลหรืออณูชีววิทยา (molecular biology) นํามาประยุกตใชในการ (วิเคราะหคําตอบ สิ่ ง มี ชี วิ ต ดั ด แปรพั น ธุ ก รรมเป น สิ่ ง มี ชี วิ ต ที่
ตัดตอยีนหรือเคลื่อนยายยีนจากสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งใสเขาไปในยีนของสิ่งมีชีวิต ผานกระบวนการตัดตอพันธุกรรมหรือไดรับยีนจากสิ่งมีชีวิตอื่น
อีกชนิดหนึ่ง ทําใหสิ่งมีชีวิตนั้นแสดงคุณสมบัติตามตองการ ทําใหสงิ่ มีชวี ติ นัน้ แสดงลักษณะตามทีต่ อ งการ เชน แบคทีเรียไดรบั
ยีนที่สังเคราะหฮอรโมนอินซูลินจากมนุษย ทําใหแบคทีเรียที่ไดรับ
การตัดตอพันธุกรรมสามารถผลิตฮอรโมนอินซูลินได ดังนั้น
ตอบขอ 4.)

T80
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้

อภิปรายผลกิจกรรม 4. ครูสุมเรียกตัวแทนกลุม กลุมละ 2 คน ออกมา


นําเสนอหนาชั้นเรียน
สิง่ มีชวี ติ ทีม่ นุษยนาํ มาดัดแปรพันธุกรรมมีทงั้ พืชและสัตว โดยอาศัยความรูท างเทคโนโลยีชวี ภาพหรือพันธุวศิ วกรรมในการตัดตอ
ยีนของสิ่งมีชีวิต เพื่อใหสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมมีลักษณะตามที่ตองการ และกอใหเกิดประโยชนทั้งทางดานการแพทย 5. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายผลกิจกรรม
ดานการเกษตร และดานอุตสาหกรรม แตเนื่องจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมเปนสิ่งมีชีวิตที่มีพันธุกรรมแตกตางไปจากธรรมชาติ เพื่อใหไดขอสรุปตรงกันวา สิ่งมีชีวิตดัดแปร
ซึง่ อาจสงผลกระทบตอคนในสังคม ความปลอดภัยตอผูบ ริโภค รวมถึงการเปนพาหะของสารพิษ และการแพรกระจายของสิง่ มีชวี ติ พันธุกรรม คือ สิ่งมีชีวิตที่มีการเปลี่ยนแปลง
ดัดแปรพันธุกรรมซึ่งสงผลกระทบตอความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในธรรมชาติ
พันธุกรรมโดยมนุษย ซึ่งเปนกระบวนการที่
นอกเหนื อ ไปจากการเปลี่ ย นแปลงตาม
จากกิจกรรม จะเห็นวา สิ่งมีชีวิตที่มนุษยนํามาดัดแปรพันธุกรรมมีทั้งพืชและสัตว เรียกสิ่งมีชีวิตที่ผานการ
ธรรมชาติ โดยมนุษยจะใชเทคโนโลยีชีวภาพ
เปลี่ยนแปลงพันธุกรรมดวยพันธุวิศวกรรมวา สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม หรือจีเอ็มโอ (Genetically Modified
Organisms; GMOs) ซึ่งสามารถนํามาใชประโยชนในดานตาง ๆ ดังนี้ และกระบวนการทางพันธุวิศวกรรมถายทอด
1. ดานการแพทย เปนการใชความรูทางพันธุวิศวกรรม เพื่อสราง ยีนที่มีลักษณะตามตองการจากสิ่งมีชีวิตหนึ่ง
ผลิตภัณฑทางเภสัชกรรม ตัวอยางเชน ถายโอนไปยังสิ่งมีชีวิตหนึ่ง เพื่อใหสิ่งมีชีวิต
1) การผลิตฮอรโมนอินซูลิน เพื่อรักษาผูปวยโรคเบาหวาน ชนิดนั้นเกิดการแสดงออกของยีนที่ตองการ
ประเภทขาดฮอรโมนอินซูลิน ทําใหผูปวยมีระดับนํ้าตาลในเลือดสูงผิดปกติ และลักษณะดังกลาวสามารถถายทอดไปยัง
โดยนักวิทยาศาสตรอาศัยความรูทางพันธุวิศวกรรมตัดตอยีนที่ควบคุม รุนตอไปได
การสรางฮอรโมนอินซูลนิ ของมนุษยมาใสใหกบั เซลลแบคทีเรียผานกระบวน
6. ครูถามคําถามทายกิจกรรม
การทางพันธุวิศวกรรม จนกระทั่งแบคทีเรียสามารถผลิตฮอรโมนอินซูลินได
แลวนําไปเพาะเลี้ยงเพื่อเพิ่มจํานวนแบคทีเรียใหมากพอที่จะนํามาสกัด ภาพที่ 2.32 แพทยฉีดฮอรโมนอินซูลิน
ใหกับผูปวยโรคเบาหวาน
และผลิตฮอรโมนอินซูลิน สามารถนําไปรักษาผูปวยโรคเบาหวานได ที่มา : คลังภาพ อจท.
1 2
ตัดตอดีเอ็นเอของคนที่มียีนควบคุมการสรางฮอรโมนอินซูลินมาใสลงในพลาสมิด นําไปเพาะเลี้ยงในถังหมัก เพื่อเพิ่ม
ของแบคทีเรีย สามารถทําใหแบคทีเรียผลิตฮอรโมนอินซูลินได จํ า นวนเซลล แ บคที เ รี ย ที่ มี ยี น สร า ง
ฮอรโมนอินซูลินใหมากขึ้น
มนุษย

ถังหมัก

แบคทีเรียผลิตฮอรโมนอินซูลิน
แบคทีเรีย 3
สกัดฮอรโมนอินซูลิน เพื่อนํา
พลาสมิด ไปรักษาผูปวยโรคเบาหวาน
ภาพที่ 2.33 การผลิตฮอรโมนอินซูลินจากแบคทีเรีย
ที่มา : คลังภาพ อจท.
พันธุกรรม 73

ขอสอบเนน การคิด ตารางบันทึก กิจกรรม

ขอใดไมใชลักษณะของสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม ประโยชน


1. สามารถตานทานโรคได
2. ใหผลผลิตที่มีคุณภาพดีขึ้น
กรรม
3. สามารถตานทานยาปราบศัตรูพืชได
ย ก
 ู บ
ั ผลกิจ
4. มีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนพอแมทุกประการ ขึ้นอ
(วิเคราะหคําตอบ สิง่ มีชวี ติ ทีผ่ า นกระบวนการดัดแปรพันธุกรรม
จะมีลกั ษณะทางพันธุกรรมทีแ่ ตกตางไปจากสิง่ มีชวี ติ ในธรรมชาติ
ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T81
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้ 1
7. ให นั ก เรี ย นจั บ คู  กั บ เพื่ อ นศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ 2) การผลิ ต วั ค ซี น ป้ อ งกั น โรคตั บ อั ก เสบบี ในอดี ต ใช้ วั ค ซี น ที่ มี ไ วรั ส สายพั น ธุ ์ ที่ ไ ม่ ก ่ อ โรคมาฉี ด
ให้กับคน เพื่อกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกัน แต่ในปัจจุบันเทคโนโลยีมีความก้าวหน้ามากขึ้น นักวิทยาศาสตร์
ประเด็นการโตแยงทางวิทยาศาสตรเกี่ยวกับ จึงน�าหลักการทางพันธุวศิ วกรรมมาผลิตโปรตีน แล้วผลิตเป็นวัคซีนฉีดเข้าไปในร่างกายเพือ่ ไปกระตุน้ ภูมคิ มุ้ กันแทน
สิง่ มีชวี ติ ดัดแปรพันธุกรรม แลวรวบรวมขอมูล การใช้ไวรัสท�าให้มีความปลอดภัยมากขึ้น
เพื่ อ จั ด ทํ า แผ น พั บ เกี่ ย วกั บ ประโยชน แ ละ
ผลกระทบของสิ่ ง มี ชี วิ ต ดั ด แปรพั น ธุ ก รรม
โดยนําขอมูลที่ไดจากการสืบคนมาสนับสนุน
แลวนําไปเผยแพรใหกบั คนในครอบครัวหรือคน
ในชุมชน
8. ให นั ก เรี ย นทํ า แบบฝ ก หั ด รายวิ ช าพื้ น ฐาน
วิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ม.3 เล ม 1
เรื่อง การดัดแปรทางพันธุกรรม
ภาพที่ 2.34 วัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบบี ภาพที่ 2.35 รูปร่างจ�าลองของไวรัส ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิด
9. ใหนักเรียนตรวจสอบความเขาใจของตนเอง ที่มา : คลังภาพ อจท. โรคตับอักเสบบี
โดยตอบคําถาม Topic Questions ลงในสมุด ที่มา : คลังภาพ อจท.

ประจําตัวนักเรียน 2. ด้านการเกษตร เป็นการใช้ความรู้ทางพันธุวิศวกรรมมาปรับปรุงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเพื่อเพิ่มปริมาณ


และคุณภาพของผลผลิต ตัวอย่างเช่น
1) การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ สัตว์ที่ได้รับการเปลี่ยนแปลงยีนให้มีคุณลักษณะตามที่ต้องการ เรียกว่า
สัตว์ดดั แปรพันธุกรรม (transgenic animal) ท�าได้โดยการแยกเซลล์ไข่ทไี่ ด้รบั การผสมแล้วออกจากเพศเมีย และน�าส่งยีนที่
ต้องการเข้าไปในนิวเคลียสของเซลล์ไข่ ท�าให้ยนี ดังกล่าวแทรกเข้าไปในนิวเคลียส จากนัน้ น�าเซลล์ไข่ทไี่ ด้รบั การถ่ายยีน
ใส่กลับเข้าไปในท่อน�าไข่ของสัตว์เพศเมีย เพือ่ ให้ลกู ทีเ่ กิดมามีลกั ษณะตามทีต่ อ้ งการ เช่น การสร้างพันธุไ์ ก่ตา้ นไวรัส
การปรับปรุงพันธุ์สุกรให้เจริญเติบโตเร็วกว่าปกติ เพื่อช่วยลดต้นทุนและเพิ่มปริมาณผลผลิต แต่สุกรอาจป่วยเป็น
โรคหัวใจ โรคตับอักเสบ และโรคไตได้ ดังนั้น จึงต้องมีการศึกษาวิจัย และพัฒนาต่อไป

ภาพที่ 2.36 สุกรดัดแปรพันธุกรรมเพื่อให้เจริญเติบโตเร็วกว่าปกติ ภาพที่ 2.37 วัวดัดแปรพันธุกรรมเพือ่ ให้ววั ผลิตน�า้ นมทีม่ คี ณุ ภาพดีขนึ้
ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท.
74

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 วัคซีน คือ เชื้อโรคที่ถูกทําใหตายหรือออนแอลงโดยวิธีตางๆ แลวนําเขาสู การประยุ ก ต ใ ช เ ทคโนโลยี ชี ว ภาพโดยอาศั ย กระบวนการ
รางกายทางใดทางหนึ่ง เชน ฉีด หยอด เพื่อกระตุนใหรางกายสรางภูมิคุมกัน ทางพันธุวิศวกรรมมาใชในเชิงเภสัชกรรมเพื่อผลิตโปรตีนที่ใช
รักษาโรคใด
1. โรคผิวเผือก
สื่อ Digital 2. โรคเบาหวาน
3. โรคธาลัสซีเมีย
ให นั ก เรี ย นศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม จาก 4. ภาวะตาบอดสี
ภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง เซลล
(วิเคราะหคําตอบ เบาหวานเปนโรคที่เกิดจากความบกพรอง
ตนกําเนิดเพื่อการรักษา (https://www.
ของฮอร โ มนอิ น ซู ลิ น ที่ ไ ม ส ามารถรั ก ษาระดั บ นํ้ า ตาลในเลื อ ด
twigaksorn.com/fifilm/therapeutic-
จึงมีการประยุกตใชเทคโนโลยีชีวภาพโดยอาศัยกระบวนการทาง
stem-cells-7946/)
พันธุวิศวกรรมตัดตอพันธุกรรมใหแบคทีเรียผลิตฮอรโมนอินซูลิน
แทนการสกัดฮอรโมนอินซูลินจากตับออนของสัตวเพื่อใชรักษา
ผูปวยโรคเบาหวาน ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T82
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
2) การปรับปรุงพันธุพืช การดัดแปรพันธุกรรมของพืชทําไดงายกวาสัตว โดยการนํายีนที่ตองการจาก 10. ครู กํ า หนดสถานการณ เ กี่ ย วกั บ ป จ จุ บั น
สิ่งมีชีวิตหนึ่งไปเพิ่มจํานวนยีนดวยแบคทีเรีย จากนั้นนําไปผานกระบวนการทางพันธุวิศวกรรม แลวใสยีนเขาไปใน
เซลลพืชเรียกพืชที่ผานการดัดแปรทางพันธุกรรมวา พืชดัดแปรพันธุกรรมหรือพืชทรานสเจนิก (transgenic plant) ประเทศสหรัฐอเมริกาอนุญาตใหมีการปลูก
เชน มะเขือเทศชะลอการสุก ขาวโพดตานทานแมลงศัตรูพืช ขาวทนเค็ม ขาวสีทอง (เปนพันธุขาวที่ถูกตัดแตง และจําหนายแอปเปล GMOs ซึง่ มีคณ ุ สมบัติ
พันธุกรรมใหสังเคราะหสารบีตาแคโรทีนได เพื่อใชเปนอาหารในแหลงพื้นที่ที่ขาดแคลนวิตามินเอ) มะละกอตานโรค พิ เ ศษสามารถชะลอการเน า เสี ย ถ า หาก
ฝายตานทานแมลง แอปเปลเนาเสียชา
วันหนึ่งประเทศไทยจะมีการนําเขาแอปเปล
สายพันธุน ี้ นักเรียนจะสนับสนุนใหเกษตรกร
ปลูกและจําหนายหรือไม โดยใหนักเรียน
แบงกลุมออกเปน 2 กลุม รวบรวมขอมูล
เกี่ ย วกั บ การโต แ ย ง ทางวิ ท ยาศาสตร ห รื อ
นําความรูที่ไดจากการศึกษา เรื่อง สิ่งมีชีวิต
ดัดแปรพันธุกรรม มาโตวาทีภายใตญัตติ
ควรใหมีการปลูกและวางจําหนายแอปเปล
ภาพที่ 2.38 มะเขือเทศ GMOs สามารถชะลอการสุกได ภาพที่ 2.39 ขาวโพด GMOs สามารถสรางโปรตีนชนิดหนึง่ ทีเ่ ปนพิษ GMOs หรือไม โดยใหนักเรียนแสดงความ
ที่มา : คลังภาพ อจท. ตอแมลงศัตรูพืชได
ที่มา : คลังภาพ อจท. คิดเห็นลงในสมุดประจําตัวนักเรียน แลว
นํามาสงครูผูสอน

ภาพที่ 2.40 ขาวสีทองสามารถสังเคราะหสารบีตาแคโรทีน ภาพที่ 2.41 แอปเปล GMOs สามารถทนทานตอแมลงและมีระยะ


ซึ่งเปนสารตั้งตนของวิตามินเอได เวลาในการเนาเสียชาลง
ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท.

Science
Focus การโคลนยีน
การโคลนยีน (gene cloning) เป1นการเพิ่มจํานวนของยีน แบงออกไดเปน 2 วิธี ดังนี้
1. การโคลนโดยอาศัยพลาสมิดของแบคทีเรีย คือ การนําดีเอ็นเอที่สนใจจากสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่งมาตัดตอใสพลาสมิด
ซึ่งเปนดีเอ็นเอของแบคทีเรีย แลวใสกลับเขาไปในแบคทีเรีย จากนั้นจึงนําไปเพาะเลี้ยงเพื่อเพิ่มจํานวน 2
2. การโคลนโดยอาศัยเทคนิคการทํา PCR คือ การเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอในหลอดทดลองดวยเครื่องเทอรมอไซเคิล
(thermocycler) ที่สามารถปรับอุณหภูมิและจํานวนรอบได
พันธุกรรม 75

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม 1 พลาสมิด คือ สารพันธุกรรมของแบคทีเรียอยูในรูปของวงกลม (Circular
1. ขาวสีทองเปนพืชดัดแปรพันธุกรรมที่สามารถสราง DNA) สามารถจําลองตัวเองได
วิตามินเอได 2 เทอรมอไซเคิล เปนเครื่องที่ใชเพิ่มจํานวนสายดีเอ็นเอ สามารถปรับ
2. ฝาย Bt เปนพืชดัดแปรพันธุกรรมที่สามารถผลิต อุณหภูมิไดตามขั้นตอนในกระบวนการทํา PCR
สารพิษทําลายหนอนเจาะ
3. ปลามาลายเรืองแสงเปนสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
ที่มียีนเรืองแสงของแมงกะพรุน สื่อ Digital
4. มะเขือเทศเปนพืชดัดแปรพันธุกรรมที่สามารถผลิต
ฮอรโมนเอทิลีนชวยชะลอการสุกได ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจาก
ภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง
(วิเคราะหคําตอบ ฮอรโมนเอทิลีนเปนฮอรโมนพืชที่เรงการสุก
การดัดแปลงพันธุกรรม (https://
ของผลไม ซึ่งมะเขือเทศดัดแปรพันธุกรรมที่ผานการตัดตอยีน
www.twigaksorn.com/fi f ilm/
มีผลทําใหเอนไซมทํางานผิดปกติ เนื้อของมะเขือเทศจึงมีความ
genetic-modification-7943/)
แข็งแรงมากขึ้น ชวยชะลอการเนาเสียใหชาลงหลังจากเก็บเกี่ยว
ดังนั้น ตอบขอ 4.)
T83
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
นักเรียนและครูรวมกันสรุป เรื่อง ประโยชน
และผลกระทบของสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมที่มี ความกาวหนาของเทคโนโลยีชีวภาพ
ตอมนุษยและสิ่งแวดลอม โดยสรุปความรูลงใน ในอดีตกาล
สมุดประจําตัวนักเรียน พรอมนําเสนอในรูปแบบ คนพบหลักฐานที่บงบอกวา มนุษยมีการคัดเลือก พ.ศ. 2516
พันธุพืชและพันธุสัตว
ที่นาสนใจ มีการพัฒนาพันธุวิศวกรรมจนกระทั่งสรางแบคทีเรีย
E. coli ทีแ่ สดงยีนของแบคทีเรีย Salmonella
typhimurium ออกมาได
พ.ศ. 2517
สรางหนูดัดแปรพันธุกรรมไดเปนครั้งแรก พ.ศ. 2518
มีการประชุมเกี่ยวกับความปลอดภัยของสิ่งมีชีวิต
พ.ศ. 2523 ดัดแปรพันธุกรรมที่ประเทศสหรัฐอเมริกา
ศาลอนุมัติใหผลิตสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
พ.ศ. 2525
องคกร FDA ยอมรับการผลิตฮอรโมนอินซูลิน
พ.ศ. 2535 จากแบคทีเรีย E. coli
อาหาร GMOs ชนิดแรก คือ มะเขือเทศ
ดัดแปรพันธุกรรม
พ.ศ. 2538
พ.ศ. 2539 มีการสรางพืชดัดแปรพันธุกรรมที่ตานทาน
มีการสรางพืชดัดแปรพันธุกรรมที่ตานทาน แมลงศัตรูพืชได
สารเคมีกําจัดวัชพืชได

พ.ศ. 2543
พ.ศ. 2552
มีการผลิตพันธุข า วสีทอง เพือ่ แกปญ หา
มีการพัฒนาสัตวดัดแปรพันธุกรรมให โรคขาดแคลนวิตามินเอในบางพืน้ ที่
สามารถผลิตวัคซีนปองกันโรค
จากนํ้านมแพะไดเปนครั้งแรก
ภาพที่ 2.42 ความกาวหนาของเทคโนโลยีชีวภาพ
ที่มา : คลังภาพ อจท.

จากภาพ จะเห็นวา มนุษยมีความสนใจศึกษาวิชาพันธุศาสตรตั้งแตในอดีต ประกอบกับวิทยาการทางดาน


เทคโนโลยีชีวภาพ โดยเฉพาะพันธุวิศวกรรมมีความกาวหนาและไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่องมาจนถึงปจจุบัน
เพื่อทําใหคุณภาพของอาหาร ยา และเทคโนโลยีทางการแพทยดีขึ้น จึงเปนประโยชนทั้งทางดานโภชนาการ
ดานการแพทย ดานการเกษตร แตเนื่องจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมเปนสิ่งมีชีวิตที่ถูกสรางขึ้น ซึ่งแตกตาง
จากสิ่งมีชีวิตธรรมชาติ โดยประชาชนสวนใหญใหความสําคัญกับสุขภาพและตระหนั 1 กถึงความปลอดภั 2 ยจาก
การบริโภคอาหารที่ผลิตจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม ซึ่งอาจกอใหเกิดสารภูมิแพหรือสารกอมะเร็ง ดังนั้น
ในปจจุบนั อาหารทีว่ างจําหนายในหางสรรพสินคา จะมีฉลากระบุวา เปนอาหารประเภท GMOs เพือ่ สิทธิในการตัดสินใจ
เลือกซื้อของผูบริโภค
76

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 สารภูมิแพ คือ สารที่ทําใหผูปวยเกิดอาการของโรคภูมิแพ ซึ่งอาจเปน ขอใดไมใชผลกระทบที่เกิดจากการสรางสิ่งมีชีวิต GMOs
สารที่รางกายไดรับโดยการฉีด กิน หายใจ หรือสัมผัส มีทั้งสารกอภูมิแพ 1. กอใหเกิดอันตรายตอผูบริโภค
ในบาน เชน ไรฝุน แมลงสาบ ขนของสัตว เชือ้ รา และสารกอภูมแิ พนอกบาน เชน 2. ทําใหสิ่งมีชีวิตบางชนิดสูญพันธุ
เกสรดอกหญา ควัน และฝุนตางๆ รวมถึงสารกอภูมิแพในอาหารบางประเภท 3. ทําใหเกิดความหลากหลายทางชีวภาพ
เชน อาหารทะเล 4. ทําใหระบบนิเวศสูญเสียสมดุลธรรมชาติ
2 สารกอมะเร็ง คือ สารที่เปนสาเหตุหรือกระตุนทําใหเกิดมะเร็ง โดย (วิเคราะหคําตอบ สิ่ ง มี ชี วิ ต GMOs เป น สิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ ม นุ ษ ย
สารเหล า นี้ จ ะไปทํ า ให ดี เ อ็ น เอในร า งกายเปลี่ ย นแปลง ส ง ผลให ร  า งกาย สรางขึ้น จึงมีลักษณะพิเศษที่แตกตางไปจากธรรมชาติ ซึ่งมี
เกิดความผิดปกติ สวนใหญสารกอมะเร็งเปนสารเคมีในโรงงานอุตสาหกรรม ลักษณะเดนเหนือกวาสายพันธุด งั้ เดิม ทําใหพชื หรือสัตวลดจํานวน
ควันไอเสีย ควันบุหรี่ หรือมาจากเชือ้ ราบางชนิด รวมทัง้ สารทีป่ นเปอ นในอาหาร ลงหรือสูญพันธุ สงผลใหระบบนิเวศสูญเสียความสมดุล และ
เชน สารไทรามีน (ดินประสิว) ปจจุบันยังไมสามารถสรุปไดวา ผลิตภัณฑจากสิ่งมีชีวิต GMOs
มีความปลอดภัยตอการบริโภคหรือไม ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T84
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
นอกจากนี้ ประชาชนสวนใหญยังกังวลวา สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมอาจสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม 1. ตรวจแบบฝกหัดรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร
เชน การถายยีนตานทานโรค ยีนตานทานแมลง ไปยังวัชพืชที่อยูใกลเคียง ทําใหวัชพืชมีความแข็งแรง จึงยาก และเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 เรื่อง การดัดแปร
ตอการควบคุม และการแพรกระจายของพืชดัดแปรพันธุกรรมอาจทําใหความสมดุลของระบบนิเวศสูญเสียไป รวมทัง้
ทางพันธุกรรม
อาจสงผลกระทบตอความหลากหลายทางชีวภาพอีกดวย
2. ตรวจรายงาน เรือ่ ง สิง่ มีชวี ติ ดัดแปรพันธุกรรม
จากทีไ่ ดศกึ ษามาแลว สิง่ มีชวี ติ ดัดแปรพันธุกรรม
3. ตรวจคํ า ตอบ Topic Questions ในสมุ ด
มีทั้งประโยชนและผลกระทบตอมนุษยและสิ่งแวดลอม
ปจจุบนั ทัว่ โลกยังคงมีความกังวลเกีย่ วกับความปลอดภัย ประจําตัวนักเรียน
ของสิง่ มีชวี ติ ดัดแปรพันธุกรรม บางประเทศจึงไมยอมรับ 4. ตรวจแผนพับ เรือ่ ง สิง่ มีชวี ติ ดัดแปรพันธุกรรม
และตอตานผลิตภัณฑ GMOs ในขณะที่บางประเทศ 5. ตรวจการสรุปความรู เรื่อง ประโยชนและ
อนุญาตใหวางจําหนายผลิตภัณฑ GMOs ได แตไม ผลกระทบของสิ่ ง มี ชี วิ ต ดั ด แปรพั น ธุ ก รรม
รับรองดานความปลอดภัย ดังนั้น เราจึงจําเปนตอง ที่มีตอมนุษยและสิ่งแวดลอม
ติดตามและศึกษาผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ ตอสิง่ มีชวี ติ อืน่ และ ภาพที่ 2.43 ประชาชนในประเทศแคนาดาไมยอมรับและประทวง 6. ตรวจสอบผลการปฏิ บั ติ กิ จ กรรม สิ่ ง มี ชี วิ ต
สิ่งแวดลอมอยางตอเนื่อง จนกวาจะไดขอสรุปที่ชัดเจน บริษัทที่ผลิตพืช GMOs
ดัดแปรพันธุกรรม
ที่มา : คลังภาพ อจท.
7. สั ง เกตพฤติ ก รรมการทํ า งานกลุ  ม และ
Application พฤติ ก รรมการทํ า งานรายบุ ค คล จากการ
Activity ทํางานในชั้นเรียน
ปจจุบันประเทศสหรัฐอเมริกาอนุญาตใหปลูกและจําหนายแอปเปล GMOs ซึ่งเปนสายพันธุที่ผานการ 8. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยสังเกต
ตัดตอพันธุกรรม เพื่อใหเมื่อปอกเปลือกแอปเปลทิ้งไว เนื้อแอปเปลจะเปลี่ยนเปนสีน้ําตาลชาลง และยังชวย ความมีวนิ ยั ใฝเรียนรู และมุง มัน่ ในการทํางาน
ชะลอการเนาเสียไดอีกดวย ถาหากจะนําแอปเปลสายพันธุนี้เขามาปลูกในประเทศไทย นักเรียนจะสนับสนุน
ใหเกษตรกรปลูกและจําหนายแอปเปลสายพันธุนี้หรือไม ใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น โดยใชความรู
ที่ไดจากการศึกษา เรื่อง ประโยชนและผลกระทบของสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม

Topic Questions
คําชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
1. สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมคืออะไร
2. จงยกตัวอยางประโยชนของพืชดัดแปรพันธุกรรมมาอยางนอย 3 ตัวอยาง
3. เพราะเหตุใดในปจจุบนั มนุษยจงึ เลือกทีจ่ ะสังเคราะหฮอรโมนอินซูลนิ จากกระบวนการพันธุวศิ วกรรมแทนการสกัด
ฮอรโมนอินซูลินจากตับออนของสัตว
4. เพราะเหตุใดในปจจุบันมนุษยจึงเลือกที่จะผลิตวัคซีนปองกันโรคตับอักเสบบี จากกระบวนการพันธุวิศวกรรม
5. สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมสงผลกระทบตอสิ่งมีชีิวิตอื่นและสิ่งแวดลอมอยางไร

พันธุกรรม 77

แนวตอบ Topic Questions แนวทางการวัดและประเมินผล


1. สิง่ มีชวี ติ ทีเ่ กิดจากการนํายีนของสิง่ มีชวี ติ อืน่ มาแทรกลงในดีเอ็นเอของ
ครูวดั และประเมินผลความเขาใจในเนือ้ หา เรือ่ ง การดัดแปรทางพันธุกรรม
สิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่งดวยกระบวนการทางพันธุวิศวกรรมของมนุษย
ไดจากการทํากิจกรรม เรือ่ ง สิง่ มีชวี ติ ดัดแปรพันธุกรรม โดยศึกษาเกณฑการวัด
ทําใหสิ่งมีชีวิตชนิดนั้นแสดงลักษณะตามความตองการ
และประเมินผลจากแบบประเมินการปฏิบตั กิ จิ กรรมทีอ่ ยูใ นแผนการจัดการเรียนรู
2. เชน มะเขือเทศชะลอการสุก ขาวสีทอง มะละกอตานทานโรค
ประจําหนวยการเรียนรูที่ 2
3. การผลิ ต ฮอร โ มนอิ น ซู ลิ น จากกระบวนการทางพั น ธุ วิ ศ วกรรม
จะได ป ริ ม าณที่ ม ากกว า การสกั ด ฮอร โ มนอิ น ซู ลิ น จากตั บ อ อ น แบบประเมินการปฏิบัติกจิ กรรม
เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติกิจกรรม

ของสัตว และไมเปนการฆาสัตวจาํ นวนมากเพือ่ ใหไดฮอรโมนอินซูลนิ


ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับ 1. การปฏิบัติ ทากิจกรรมตามขั้นตอน ทากิจกรรมตามขั้นตอน ต้องให้ความช่วยเหลือ ต้องให้ความช่วยเหลือ
ระดับคะแนน กิจกรรม และใช้อุปกรณ์ได้อย่าง และใช้อุปกรณ์ได้อย่าง บ้างในการทากิจกรรม อย่างมากในการทา
ถูกต้อง ถูกต้อง แต่อาจต้อง และการใช้อุปกรณ์ กิจกรรม และการใช้
ระดับคะแนน

ในปริมาณที่เพียงพอกับความตองการ
ลาดับที่ รายการประเมิน ได้รับคาแนะนาบ้าง อุปกรณ์
4 3 2 1 2. ความ มีความคล่องแคล่ว มีความคล่องแคล่ว ขาดความคล่องแคล่ว ทากิจกรรมเสร็จไม่
1 การปฏิบัติการทากิจกรรม คล่องแคล่ว ในขณะทากิจกรรมโดย ในขณะทากิจกรรมแต่ ในขณะทากิจกรรมจึง ทันเวลา และทา
2 ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัติกิจกรรม ในขณะปฏิบัติ ไม่ต้องได้รับคาชี้แนะ ต้องได้รับคาแนะนาบ้าง ทากิจกรรมเสร็จไม่ อุปกรณ์เสียหาย
3 การบันทึก สรุปและนาเสนอผลการทากิจกรรม กิจกรรม และทากิจกรรมเสร็จ ทันเวลา

4. เพราะมีความปลอดภัยมากกวา เนื่องจากไวรัสกอโรคที่ออนฤทธิ์
และทากิจกรรมเสร็จ
ทันเวลา
รวม ทันเวลา
3. การบันทึก สรุป บันทึกและสรุปผลการ บันทึกและสรุปผลการ ต้องให้คาแนะนาในการ ต้องให้ความช่วยเหลือ
และนาเสนอผล ทากิจกรรมได้ถูกต้อง ทากิจกรรมได้ถูกต้อง บันทึก สรุป และ อย่างมากในการบันทึก
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
การปฏิบัติ รัดกุม นาเสนอผลการ แต่การนาเสนอผลการ นาเสนอผลการทา สรุป และนาเสนอผล

ยังคงสามารถกอใหเกิดโรคไดอยู
................./................../.................. กิจกรรม ทากิจกรรมเป็นขั้นตอน ทากิจกรรมยังไม่เป็น กิจกรรม การทากิจกรรม
ชัดเจน ขั้นตอน

5. สิง่ มีชวี ติ ดัดแปรพันธุกรรมอาจทําใหสงิ่ มีชวี ติ สายพันธุเ ดิมในธรรมชาติ เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

สูญพันธุ และสงผลใหระบบนิเวศสูญเสียความสมดุล ช่วงคะแนน


10-12
7-9
4-6
ระดับคุณภาพ
ดีมาก
ดี
พอใช้
0-3 ปรับปรุง

T85
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (5Es Instructional Model)


กระตุน ความสนใจ
1. ใหนักเรียนตรวจสอบความรูของตนเองกอน Check for Understanding
เขาสูการเรียนการสอนจากกรอบ Check for พิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุดบันทึก
Understanding ในหนั ง สื อ เรี ย นรายวิ ช า ถูก/ผิด

พืน้ ฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 1. แต่ละพื้นที่บนโลกมีควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพที่เหมือนกัน


หนวยการเรียนรูที่ 2 เรื่อง ความหลากหลาย 2. กำรสืบพันธุ์แบบไม่อำศัยเพศท�ำให้เกิดควำมหลำกหลำยทำงพันธุกรรม

ม ุ ด
ทางชีวภาพ ลงในสมุดประจําตัวนักเรียน


3. ควำมหลำกหลำยของชนิดสิ่งมีชีวิตท�ำให้ระบบนิเวศเกิดควำมสมดุล

น ส
ง ใ


2. ใหนักเรียนทํากิจกรรม Engaging Activity

ท ึ ก
4. มนุษย์ใช้ประโยชน์จำกควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพมำกที่สุด


บ ั น
โดยพิ จ ารณาความแตกต า งระหว า งภาพ 5. กำรท�ำลำยป่ำมีผลท�ำให้ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพลดลง
2 ภาพ และเปรียบเทียบความหลากหลาย
ทางชีวภาพ จากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
วิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ม.3 เล ม 1
หนวยการเรียนรูที่ 2 เรื่อง ความหลากหลาย E ngaging ให้ นั ก เรี ย นพิ จ ารณาภาพที่ 1 และภาพที่ 2 แล้ ว วิ เ คราะห์ ว ่ า ภาพใดมี
ความหลากหลายของชนิดสิ่งมีชีวิตมากกว่ากัน พร้อมให้เหตุผลประกอบ
Activity
ทางชีวภาพ
3. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายผลที่ไดจาก
การทํากิจกรรม Engaging Activity ภาพที่ 1
4. ครูถามคําถามกระตุน ความคิดของนักเรียนวา
เพราะเหตุ ใ ดความหลากหลายของชนิ ด
สิง่ มีชวี ติ จึงมีผลกับความสมดุลของระบบนิเวศ
(แนวตอบ เพราะระบบนิเวศที่มีส่ิงมีชีวิตหลาย
ชนิด ทําใหสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งสามารถเลือก
ภาพที่ 2
กินสิ่งมีชีวิตอื่นได ทําใหอัตราการรอดชีวิต
สูง สงผลใหระบบนิเวศไมสญ ู เสียความสมดุล)

ภาพที่ 2.44 พื้นที่ต่ำง ๆ บนโลก


แนวตอบ Check for Understanding ที่มา : คลังภาพ อจท.
1. ผิด 2. ผิด 3. ถูก 78
4. ถูก 5. ถูก

แนวตอบ Engaging Activity


ภาพที่ 2 มีความหลากหลายของชนิดสิ่งมีชีวิตมากกวาภาพที่ 1
เนื่องจากมีปจจัยแวดลอมทางกายภาพที่สมบูรณและมีความเหมาะสม
ในการดํารงชีวิตและการกระจายพันธุของสิ่งมีชีวิตมากกวา สงผลให
ระบบนิเวศในภาพที่ 2 มีการรักษาสมดุลไดดีกวาภาพที่ 1 ดวย

T86
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
Key 6 ความหลากหลายทางชีวภาพ 1. ครูถามคําถาม Key Question
Question โลกประกอบด้วยพื้นที่ต่าง ๆ ที่มีสภาพแวดล้อมแตกต่างกัน 2. ใหนกั เรียนแบงกลุม กลุมละ 3-4 คน สืบคน
ระบบนิเวศทีม่ คี วาม ท�าให้มีความหลากหลายทางระบบนิเวศ โดยในแต่ละระบบนิเวศ ขอมูลเกี่ยวกับระบบนิเวศในประเทศไทยตาม
หลากหลายทางชีวภาพสูง จะมีสิ่งมีชีวิตหลายชนิดอาศัยอยู่ ซึ่งสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดล้วนมีความ ภูมิภาคตางๆ เชน ปาไม อาวไทย ทะเล
เปนอยางไร หลากหลายทางพันธุกรรม ดังนัน้ จึงกล่าวได้วา่ โลกมีความหลากหลาย ปาชายเลน ทะเลสาบ โดยเลือกขอมูลที่จะ
ทางชีวภาพ ศึกษามาอยางนอย 2 ระบบนิเวศ
ความหลากหลายทางชีวภาพ (biodiversity) แบ่งออกได้เป็น 3 ระดับ ได้แก่ ความหลากหลายของระบบนิเวศ 3. ใหแตละกลุมสืบคนขอมูลเกี่ยวกับชนิดและ
ความหลากหลายของชนิดสิ่งมีชีวิต และความหลากหลายทางพันธุกรรม สายพันธุของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศที่นักเรียน
1. ความหลากหลายของระบบนิเวศ (ecosystem diversity) คือ ความหลากหลายของลักษณะพื้นที่ เลือกมาศึกษารวบรวมขอมูล แลวใหนักเรียน
ในแต่ละภูมิภาคของโลกที่แตกต่างกัน รวมทั้งสภาพภูมิอากาศ ลักษณะภูมิประเทศ ท�าให้ระบบนิเวศในแต่ละพื้นที่ แตละคนสรุปขอมูลลงในกระดาษ A4
มีความหลากหลาย เช่น ประเทศไทยตั้งอยู่ในโซนร้อนเหนือเส้นศูนย์สูตรเล็กน้อยและอยู่ติดกับทะเล ท�าให้
มีระบบนิเวศที่แตกต่างกันตามแต่ละภูมิภาค เช่น ภาคเหนือมีเทือกเขาสูง มีป่าไม้ เป็นแหล่งต้นน�้าล�าธาร 4. ใหนักเรียนรวมกลุมใหม โดยมีสมาชิกที่มา
ภาคกลางเป็นที่ราบลุ่มแม่น�้า ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นที่ราบสูงขนาดใหญ่ ภาคใต้เป็นเทือกเขาสูงสลับกับ จากกลุ  ม อื่ น ที่ ไ ม ใ ช ส มาชิ ก ภายในกลุ  ม เดิ ม
พื้นที่ราบและชายฝง จึงท�าให้มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ในประเทศไทยหลายชนิด คิดเป็น 1 ใน 3 ของสิ่งมีชีวิตบนโลก แลกเปลี่ยนขอมูลเกี่ยวกับความหลากหลาย
ดังนั้น ประเทศไทยถูกจัดอันดับให้เป็นประเทศที่อยู่ในพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงเป็นอันดับต้น ๆ ทางชีวภาพของประเทศไทยที่นักเรียนสืบคน
ของโลก ได แลวสรุปขอมูลลงในสมุดประจําตัวนักเรียน

แนวตอบ Key Question

ภาพที่ 2.45 ความหลากหลายของระบบนิเวศในประเทศไทย


ระบบนิเวศนั้นจะมีสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิด
ที่มา : คลังภาพ อจท. และอาศัยอยูรวมกันเปนจํานวนมาก และมีความ
พันธุกรรม 79 หลากหลายทางพันธุกรรม สงผลใหเกิดความสมดุล
ของระบบนิเวศ

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET สื่อ Digital


ขอใดไมจัดวาเปนองคประกอบของความหลากหลายทางชีวภาพ ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง ความ
1. ความหลากหลายทางพันธุกรรม หลากหลายทางชีวภาพคืออะไร ? (https://www.twig-aksorn.com/fifilm/
2. ความหลากหลายของระบบนิเวศ what-is-biodiversity-8129/)
3. ความหลากหลายของชนิดสิ่งมีชีวิต
4. ความหลากหลายของสารเคมีตางๆ รอบตัวสิ่งมีชีวิต
(วิเคราะหคําตอบ ความหลากหลายทางชี ว ภาพเป น ผลเนื่ อ ง
มาจากวิ วั ฒ นาการ ทํ า ให สิ่ ง มี ชี วิ ต ในป จ จุ บั น มี ห ลายชนิ ด
หลายประเภท โดยความหลากหลายทางชีวภาพเกิดจากการ
แปรผันทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต ทําใหเกิดความหลากหลาย
ทางพันธุกรรม เมื่อเวลาผานไป สงผลใหเกิดความหลากหลาย
ของชนิดสิ่งมีชีวิต เนื่องจากสิ่งมีชีวิตมีการปรับตัวใหเหมาะสมกับ
สภาพแวดล อ มหรื อ ระบบนิ เ วศที่ มี ค วามหลากหลาย ดั ง นั้ น
ตอบขอ 4.)

T87
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
5. ครู สุ  ม เลื อ กตั ว แทนกลุ  ม ออกมานํ า เสนอ 2. ความหลากหลายของชนิดสิ่งมีชีวิต (species diversity) คือ ความหลากหลายของชนิดสิ่งมีชีวิต
หนาชั้นเรียน ทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ทีห่ นึง่ ซึง่ เป็นความแปรผันทีเ่ กิดขึน้ ในระดับกลุม่ ของสิง่ มีชวี ติ พิจารณาได้จากความหลากหลายของสิง่ มีชวี ติ
ในระบบนิเวศ 2 ลักษณะ คือ จ�านวนชนิดของสิ่งมีชีวิตต่อหน่วยพื้นที่ (species richness) และความสม�่าเสมอ
6. นักเรียนและครูรวมกันอภิปราย เพื่อใหได ของชนิดสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ (species evenness) ตัวอย่างเช่น บริเวณป่าดิบชื้นที่มีความอุดมสมบูรณ์
ข อ สรุ ป ว า ประเทศไทยตั้ ง อยู  ใ นโซนร อ น เหมาะแก่การด�ารงชีวิตและการกระจายพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต เมื่อเทียบกับขั้วโลกเหนือที่มีอุณหภูมิต�่ามาก จึงท�าให้
เหนือเสนศูนยสูตร จึงมีลักษณะภูมิประเทศ บริเวณป่าดิบชื้นรักษาสมดุลของระบบนิเวศได้ดีกว่า ดังนั้น ความหลากหลายของชนิดสิ่งมีชีวิตจึงขึ้นอยู่กับ
และลั ก ษณะอากาศที่ เ หมาะสมต อ การ ความแตกต่างของลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศของแต่ละพื้นที่บนโลก
ดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตและการกระจายพันธุ
โดยแต ล ะภู มิ ภ าคของประเทศไทยต า งก็
มี ลั ก ษณะภู มิ ป ระเทศที่ แ ตกต า งกั น ทํ า ให
ระบบนิ เ วศในแต ล ะพื้ น ที่ แ ตกต า งกั น ด ว ย
พื้นที่ใดมีความหลากหลายของชนิดสิ่งมีชีวิต
ยอมทําใหสงิ่ มีชวี ติ ชนิดนัน้ มีความหลากหลาย
ทางพันธุกรรม

ภาพที่ 2.46 ความหลากหลายของชนิดสิ่งมีชีวิตแต่ละพื้นที่บนโลก


ที่มา : คลังภาพ อจท.

Science
Focus การปรับตัวของสิ่งมีชีวิต
การปรับตัว (adaptation) คือ กระบวนการทีส่ ง่ิ มีชวี ติ มีการเปลีย่ นแปลงหรือปรับลักษณะบางประการให้เข้ากับสภาพแวดล้อม
เพื่อความอยู่รอด สามารถสืบพันธุ์และด�ารงเผ่าพันธุ์ต่อไปได้ การปรับตัวแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
1. การปรับตัวแบบชั่วคราว เป็นการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะไปชั่วคราว ซึ่งเกิดขึ้นในระยะเวลาสั้น ๆ เช่น การเปลี่ยนสี
ของจิ้งจกตามสภาพแวดล้อมเพื่ออ�าพรางตัว
2. การปรับตัวแบบถาวร เป็นการปรับเปลี่ยนภายในร่างกาย โดยการเปลี่ยนแปลงจะถ่ายทอดผ่านทางพันธุกรรมไปยัง
รุ่นลูกหลานให้ปรับตัวอยู่ในสภาพแวดล้อมนั้นได้ ได้แก่ การปรับตัวทางด้านรูปร่าง การปรับตัวทางด้านโครงสร้าง และการปรับตัว
ทางด้านพฤติกรรม เช่น ใบของต้นกระบองเพชรเปลี่ยนเป็นหนามเพื่อลดการคายน�้า

80

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมวา จํานวนชนิดของสิ่งมีชีวิตจะเพิ่มขึ้นหรือลดลง ปาชายเลนของประเทศไทยมีพรรณไม 74 ชนิด กุง 15 ชนิด
ขึ้นอยูกับลักษณะทางภูมิศาสตร ภูมิประเทศ สภาพอากาศของแตละพื้นที่ ปลา 72 ชนิด ปู 30 ชนิด หอยฝาเดียว 22 ชนิด หอยสองฝา
โดยพื้ น ที่ ที่ อ ยู  ใ นเขตร อ นและพื้ น ที่ ใ นทะเล จะมี ค วามหลากหลายของ 4 ชนิด นก 88 ชนิด สัตวเลีย้ งลูกดวยนํา้ นม 35 ชนิด สัตวเลือ้ ยคลาน
ชนิดสิ่งมีชีวิตสูง และความหลากหลายของชนิดสิ่งมีชีวิตจะลดลงในพื้นที่ 25 ชนิด แมลง 38 ชนิด จากขอความขางตน ปาชายเลนมีความ
ที่มีความผันแปรของอากาศสูง เชน ทะเลทราย หลากหลายทางชีวภาพระดับใด
1. พันธุกรรม
2. ระบบนิเวศ
3. สิ่งแวดลอม
4. ชนิดของสิ่งมีชีวิต
(วิเคราะหคําตอบ ปาชายเลนในประเทศไทยมีสิ่งมีชีวิตหลาย
ชนิด เชน กุง ปลา ปู หอยฝาเดียว หอยสองฝา นก ดังนั้น ตอบ
ขอ 4.)

T88
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
3. ความหลากหลายทางพันธุกรรม (genetic diversity) คือ ความหลากหลายของหนวยพันธุกรรมหรือ 7. ครู ถ ามคํ า ถามเพื่ อ ทดสอบความเข า ใจของ
ยีน (gene) ที่มีอยูในสิ่งมีชีวิตแตละชนิด ซึ่งเปนความแปรผันทางพันธุกรรมที่เกิดขึ้นในระดับประชากรของสิ่งมีชีวิต
นักเรียน ดังนี้
ชนิดเดียวกัน ตัวอยางเชน สุนัขมีหลากหลายสายพันธุที่มีลักษณะที่แตกตางกัน แตก็ลวนเปนสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน
• ความหลากหลายทางชี ว ภาพมี กี่ ร ะดั บ
อะไรบาง
(แนวตอบ 3 ระดับ ไดแก ความหลากหลาย
ของระบบนิเวศ ความหลากหลายของชนิด
สิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางพันธุกรรม)
• จงเปรียบเทียบความหลากหลายของระบบ
ภาพที่ 2.47 สุนัขสายพันธุตาง ๆ
นิเวศในประเทศไทยกับประเทศอียิปต
ที่มา : คลังภาพ อจท. (แนวตอบ ประเทศไทยมีความหลากหลาย
โดยสิ่งมีชีวิตที่สืบพันธุแบบอาศัยเพศจะเกิดความหลากหลายทางพันธุกรรมมากกวาสิ่งมีชีวิตที่สืบพันธุ ทางชีวภาพมากกวา เนื่องจากประเทศไทย
แบบไมอาศัยเพศ เนื่องจากขั้นตอนการแบงเซลลสืบพันธุของสิ่งมีชีวิตจะเกิดกลไกการแลกเปลี่ยนชิ้นสวนยีน ตั้ ง อยู  ใ กล บ ริ เ วณเส น ศู น ย สู ต รและเป น
เรียกวา การครอสซิงโอเวอร (crossing over) ทําใหสิ่งมีชีวิตที่เกิดมามีลักษณะคลายกับพอแม แตไมเหมือนกัน ประเทศที่อยูใกลกับมหาสมุทรแปซิฟกและ
ทุกประการ ดังภาพ ทะเลอันดามัน จึงทําใหมีความหลากหลาย
ของระบบนิ เ วศสู ง และประเทศไทยมี
สภาพแวดลอมที่เหมาะสมตอการแพรพันธุ
และการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต ดังนั้น
ประเทศไทยจึ ง มี ค วามหลากหลายทาง
ชีวภาพมากกวาประเทศอียปิ ตซงึ่ เปนประเทศ
ที่ มี อ ากาศร อ นในตอนกลางวั น และมี
ภาพที่ 2.48 ความหลากหลายทางพันธุกรรมของสุนัข
ที่มา : คลังภาพ อจท.
อากาศหนาวในตอนกลางคื น พื้ น ที่
สวนมากเปนทะเลทราย จึงไมเหมาะแกการ
นอกจากการสืบพันธุแบบอาศัยเพศแลว ปจจัยภายนอก 1 เชน สารเคมี สภาพแวดลอม อาหาร ยังเปนสาเหตุ เจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต)
ทําใหยีนหรือหนวยพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตเกิดการกลายพันธุ (mutation)
( แลวถายทอดไปยังรุนลูกหลานตอไปได

HOTS
(คําถามทาทายการคิดขั้นสูง)
จงเปรียบเทียบความหลากหลายทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตระหวาง แนวตอบ H.O.T.S.
สาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงินกับสาหรายหางกระรอก
สาหรายหางกระรอกเปนสิ่งมีชีวิตที่สืบพันธุ
แบบอาศัยเพศ จึงมีความหลากหลายทางพันธุกรรม
พันธุกรรม 81 มากกวาสาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงินซึ่งเปนสิ่งมีชีวิต
ที่สืบพันธุแบบไมอาศัยเพศ

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ขอใดไมใชสาเหตุที่ทําใหเกิดความหลากหลายทางพันธุกรรม 1 การกลายพันธุ (mutation) คือ การเปลีย่ นแปลงสภาพของสิง่ มีชวี ติ ทําให
ของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นมาใหมมีลักษณะแตกตางจากปกติ ซึ่งการกลายพันธุที่เกิดขึ้น
1. การเกิดมิวเทชัน ในสิ่ ง มี ชี วิ ต มี 2 ระดั บ คื อ ระดั บ โครโมโซม และระดั บ ยี น หรื อ ดี เ อ็ น เอ
2. การครอสซิงโอเวอร โดยการกลายพันธุอาจเกิดขึ้นไดกับเซลลรางกายและเซลลสืบพันธุ หากการ
3. การสืบพันธุแบบอาศัยเพศ กลายพันธุเ กิดขึน้ กับเซลลสบื พันธุ ความผิดปกติทเี่ กิดขึน้ นีจ้ ะถูกถายทอดตอไป
4. การสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศ ยังลูกหลานได
(วิเคราะหคําตอบ การเกิ ด มิ ว เทชั น คื อ การกลายพั น ธุ  ห รื อ
การผ า เหล า ซึ่ ง อาจเกิ ด จากสภาพแวดล อ มหรื อ เกิ ด จากสาร
กอกลายพันธุ แลวถายทอดความผิดปกตินี้ตอไปยังรุนลูกหลาน
และสิง่ มีชวี ติ ทีส่ บื พันธุแ บบอาศัยเพศ จะสรางเซลลสบื พันธุโ ดยการ
แลกเปลี่ยนชิ้นสวนยีน หรือเรียกวา การครอสซิงโอเวอร ทําให
สิ่งมีชีวิตมีความหลากหลายทางพันธุกรรม ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T89
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
8. ให นั ก เรี ย นแบ ง กลุ  ม กลุ  ม ละ 5-6 คน จะเห็นวา ความหลากหลายทางชีวภาพทั้ง 3 ระดับนี้ มีความสัมพันธกัน และไมสามารถแยกออกจากกันได
ดังนั้น หากเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ระดับใดระดับหนึ่ง จะสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับอื่นดวย เชน ถาความ
ทํากิจกรรม สํารวจชนิดพืชภายในโรงเรียน
หลากหลายทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตลดลง จะสงผลใหความหลากหลายของชนิดสิ่งมีชีวิตลดลงดวย
9. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายผลที่ไดจาก
การทํากิจกรรม เพื่อใหไดขอสรุปวา ภายใน กิจกรรม
โรงเรียนมีระบบนิเวศหลายระบบนิเวศ เชน สํารวจชนิดของพืชภายในโรงเรียน
สระนํ้า สวนพฤกษศาสตร จึงพบพืชหลาย
ชนิ ด แต ล ะชนิ ด อาจมี ห ลายสายพั น ธุ  จุดประสงค ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
- การสังเกต
ซึ่งพืชบางชนิดนํามาใชประกอบอาหาร เชน สํารวจความหลากหลายของพืชภายในโรงเรียน - การตีความหมายขอมูล
และลงขอสรุป
ผักชี ผักกาด นอกจากนี้ พืชบางชนิดสามารถ วัสดุอปุ กรณ จิตวิทยาศาสตร
นํามาทอเปนเครื่องนุงหม เชน ฝาย หรือ 1. สมุดบันทึก
- ความสนใจใฝรู
- ความรับผิดชอบ
ใช ทํ า ยารั ก ษาโรค เช น ว า นหางจระเข 2. อุปกรณเครื่องเขียน - การทํางานรวมกับผูอื่นได
อยางสรางสรรค
หรื อ นํ า ส ว นประกอบของพื ช บางชนิ ด มา วิธปี ฏิบตั ิ
สร า งที่ อ ยู  อ าศั ย เช น ใบต น จาก ต น ไผ 1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน แลวรวมกันสํารวจชนิดของพืชภายในโรงเรียน และบันทึกชื่อพืชลงในสมุดบันทึก
ดั ง นั้ น จะเห็ น ว า ความหลากหลายของ โดยใหแตละกลุมเลือกสํารวจในบริเวณที่แตกตางกัน
2. เปรียบเทียบรายชื่อพืชที่กลุมตนเองบันทึกไดกับเพื่อนกลุมอื่น แลวรวมกันเขียนรายชื่อพืชทั้งหมดภายในโรงเรียน เพื่อนํามา
ชนิ ด พื ช มี ค วามสํ า คั ญ ต อ การดํ า รงชี วิ ต อภิปรายถึงความหลากหลายของพืชภายในโรงเรียน
ของมนุษย 3. เลือกพืชจํานวน 2-3 ชนิด แลวนํามาสืบคนขอมูลเกี่ยวกับประโยชนในดานตาง ๆ จากนั้นรวบรวมขอมูลแลวสงตัวแทนออกมา
นําเสนอขอมูลหนาชั้นเรียน
10. ครูถามคําถามทายกิจกรรม
คําถามทายกิจกรรม
1. จากการสํารวจ ชนิดของพืชที่รวบรวมไดมีกี่ชนิด อะไรบาง
2. พืชที่สํารวจไดมีประโยชนอยางไร

อภิปรายผลกิจกรรม
จากกิจกรรม พบวา ภายในโรงเรียนมีพืชหลากหลายชนิด ซึ่งมีลักษณะและรูปรางที่แตกตางกัน พืชเปนสิ่งมีชีวิตที่มีบทบาท
เปนผูผลิตและมีความสําคัญตอสิ่งมีชีวิตอื่นในระบบนิเวศ เชน มนุษยนําสิ่งมีชีวิตชนิดตาง ๆ มาประกอบอาหาร ใชทํายารักษาโรค
ใชสรางแหลงที่อยูอาศัย ใชทําเครื่องนุงหม ใชทําวัตถุดิบในอุตสาหกรรมตาง ๆ

Science
Focus อาณาจักรพืช
สิ่งมีชีวิตที่อยูในอาณาจักรนี้ คือ พืช ซึ่งแบงออกไดเปน 2 กลุม ดังนี้
1. พืชไมมีทอลําเลียง ไดแก มอส ลิเวอรเวิรต และฮอรนเวิรต
2. พืชมีทอลําเลียง จําแนกออกไดเปน 2 กลุม คือ พืชที่ไมมีเมล็ด เชน เฟน หวายทะนอย หญาถอดปลอง และพืชที่มีเมล็ด
แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม ซึ่งจะแบงยอยออกไดอีก 2 กลุม คือ พืชที่มีเมล็ดเปลือย เชน สน แปะกวย และพืชที่มีเปลือกหุมเมล็ด ไดแก พืชมีดอก เชน
สาหรายหางกระรอก ชบา
1. ขึ้นอยูกับผลการสํารวจของนักเรียน
2. ใชเปนอาหาร นําไปสรางแหลงที่อยูอาศัย 82
ใชทําเครื่องนุงหม และทํายารักษาโรค

ตารางบันทึก กิจกรรม ขอสอบเนน การคิด


ชื่อพืช ลักษณะของพืช การนําไปใชประโยชน ขอใดเปนการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติที่ดีที่สุด
1. การบุกเบิกปาชายเลนเพื่อเพิ่มพื้นที่เพาะเลี้ยงสัตวนํ้า
ตามชายฝง
ารสํารวจ
ูกบั ผลก 2. การเพิ่มผลผลิตของเกษตรกร โดยใชปุยเคมีในปริมาณ
ขึ้นอย มากติดตอกัน
3. การปฏิบัติตามผังเมืองเพื่อรองรับการขยายตัวของ
ประชากรที่เพิ่มมากขึ้น
4. การไมตัดไมทําลายปา เพื่อเปนการรักษาตนนํ้าลําธาร
และแหลงที่อยูอาศัยของสิ่งมีชีวิต
(วิเคราะหคาํ ตอบ ปาไมเปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติทสี่ าํ คัญของ
สิ่งมีชีวิต การไมตัดไมทําลายปา จึงเปนการอนุรักษทรัพยากร
ธรรมชาติที่ดีที่สุด ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T90
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
มนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของระบบนิเวศที่มีกำรใช้ประโยชน์จำกควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพมำกกว่ำสิ่งมีชีวิต 11. ครูอธิบายตอไปวา มนุษยเปนสิ่งมีชีวิตที่ใช
ชนิดอื่น
ประโยชนจากความหลากหลายทางชีวภาพ
มากที่สุด การกระทําของมนุษยก็เปนภัย
คุ ก คามต อ ความหลากหลายทางชี ว ภาพ
เชนกัน ดังนั้น เราจึงควรตระหนักถึงคุณคา
สิง่ มีชวี ติ และสิง่ แวดลอม โดยรวมกันอนุรกั ษ
พันธุสิ่งมีชีวิตไมใหสูญพันธุ ชวยกันปลูกปา
ทดแทน รณรงคไมใหตดั ไมทาํ ลายปา รวมทัง้
ภาพที่ 2.49 ว่ำนหำงจระเข้น�ำมำท�ำเป็นยำสมุนไพร ภาพที่ 2.50 ผักและผลไม้น�ำมำบริโภคเป็นอำหำร ตระหนั ก ถึ ง การกระทํ า ที่ ส  ง ผลกระทบต อ
ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท.
สิ่ ง แวดล อ ม และควรร ว มมื อ กั น แก ไ ข
ควบคุมไมใหมลพิษหรือสารเคมีปนเปอนสู
สิ่งแวดลอม

ภาพที่ 2.51 ต้นไผ่น�ำมำสร้ำงที่อยู่อำศัย ภาพที่ 2.52 เส้นใยฝ้ำยน�ำไปปันแล้วทอเป็นเครื่องนุ่งห่ม


ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท.

ในขณะทีม่ นุษย์ใช้ประโยชน์จำกควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพเพือ่ ตอบสนองควำมต้องกำรในกำรด�ำรงชีวติ นัน้


ขณะเดียวกันกำรกระท�ำของมนุษย์ก็มีส่วนท�ำลำยระบบนิเวศ โดยปัจจัยที่คุกคำมต่อควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ
มีดังนี้
1. การลดลงของพื้นที่ปา มีสำเหตุมำจำกกำรเพิ่มขึ้นของจ�ำนวนประชำกร ท�ำให้เกิดกำรบุกรุกพื้นที่ป่ำ
และตัดไม้ท�ำลำยป่ำเพื่อสร้ำงถนน สร้ำงเขื่อน สร้ำงบ้ำนเรือน หรือท�ำเกษตรกรรม ส่งผลให้พืชและสัตว์จ�ำนวนมำก
ลดจ�ำนวนลงจนอำจสูญพันธุ์ได้
ภาพที่ 2.53 กำรสร้ำงเขื่อนท�ำให้พื้นที่ของป่ำลดลง
ที่มา : คลังภาพ อจท.

พันธุกรรม 83

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดคือสาเหตุที่ทําใหความหลากหลายทางชีวภาพลดลง ครูอธิบายเพิ่มเติมวา การลักลอบตัดไมหรือการเกิดไฟปาที่เกิดขึ้นจาก
1. สิ่งมีชีวิตอื่นอพยพเขามาอาศัยเพิ่มขึ้น ธรรมชาติมีผลทําใหตนไมมีจํานวนลดลง การสังเคราะหดวยแสงจึงลดลงดวย
2. สิ่งมีชีวิตอื่นอพยพออกจากแหลงที่อยูเดิม สงผลใหบรรยากาศมีปริมาณของแกสคารบอนไดออกไซดเพิ่มขึ้น ปจจุบัน
3. สิ่งมีชีวิตเพิ่มจํานวนประชากรมากกวาเดิม อุณหภูมเิ ฉลีย่ ของโลกจึงเพิม่ สูงขึน้ ทําใหเกิดการเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศของโลก
4. สิ่งแวดลอมถูกทําลาย ทําใหมีสภาพเปลี่ยนไปจากเดิม ดังนั้น เราจึงตองรวมกันอนุรักษปาไม รณรงคไมใหมีการตัดไมทําลายปา และ
(วิเคราะหคําตอบ สิ่ ง แวดล อ มถู ก ทํ า ลาย ทํ า ให สิ่ ง มี ชี วิ ต ลด ปลูกจิตสํานึกใหตระหนักถึงคุณคาและประโยชนของปาไม
จํ า นวนลง เนื่ อ งจากไม มี แ หล ง ที่ อ ยู  อ าศั ย สภาพแวดล อ มที่
เปลี่ยนแปลงไปไมเหมาะสมตอการดํารงชีวิต ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T91
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
12. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปราย และวิเคราะห 2. แหล่งน�ำ้ เสือ่ มโทรม มีสาเหตุมาจากการท�าประมงอย่างต่อเนือ่ ง การปล่อยน�า้ เสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
ท�าให้สิ่งแวดล้อมปนเปื้อนส่งผลกระทบโดยตรงต่อสัตว์น�้า ปริมาณสัตว์น�้าในแหล่งน�้าลดน้อยลง และเกิดการสะสม
ขอมูลที่ไดจากการสํารวจความหลากหลาย สารพิษในโซ่อาหาร 1
ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศและความสําคัญ 3. กำรรุกรำนของสิง่ มีชวี ติ มีสาเหตุมาจากสิง่ มีชวี ติ ต่างถิน่ อพยพเข้ามาแย่งทีอ่ ยูอ่ าศัยของสิง่ มีชวี ติ ประจ�าถิน่
ของความหลากหลายทางชี ว ภาพ แล ว ท�าให้เกิดภาวะแข่งขันแย่งชิงอาหาร และท�าให้สิ่งมีชีวิตประจ�าถิ่นลดจ�านวนลง โดยบางชนิดถึงขั้นสูญพันธุ์
รวมกันเสนอแนวทางการรักษาสมดุลของ ดังนัน้ เพือ่ เป็นการรักษาความหลากหลายทางชีวภาพให้ยงั่ ยืน เราจึงควรร่วมกันอนุรกั ษ์พนั ธุพ์ ชื และพันธุส์ ตั ว์
ระบบนิเวศ หรือกิจกรรมที่มีสวนชวยดูแล ทีห่ ายากหรือใกล้สญู พันธุ์ ร่วมกันรณรงค์และต่อต้านการบุกรุกและใช้ประโยชน์จากพืน้ ทีธ่ รรมชาติ จัดกิจกรรมทีช่ ว่ ย
รักษาความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งควบคุมและก�าจัดมลพิษไม่ให้ปนเปื้อนสู่สิ่งแวดล้อม
รั ก ษาความหลากหลายทางชี ว ภาพมา
4 กิจกรรม โดยครูบันทึกกิจกรรมที่นักเรียน
เสนอบนกระดาน
13. ใหนักเรียนแบงกลุมออกเปน 4 กลุม แลว
สงตัวแทนกลุม ออกมาจับสลากเลือกกิจกรรม
ที่ครูเขียนบนกระดาน

ภำพที่ 2.54 น�้าเน่าเสียเนื่องจากโรงงานอุตสาหกรรม ภำพที่ 2.55 การปลูกป่าชายเลนเป็นกิจกรรมที่ช่วยรักษา


ท�าให้สัตว์น�้าตายเป็นจ�านวนมาก ความหลากหลายทางชีวภาพ
ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท.

Application
Activity
ให้นักเรียนส�ารวจความหลากหลายทางชีวภาพภายในชุมชนของนักเรียน แล้วรวบรวมข้อมูลที่ได้จาก
การส�ารวจมาวิเคราะห์ว่า บริเวณใดมีความหลากหลายทางชีวภาพมากที่สุดและน้อยที่สุด ตามล�าดับ จากนั้น
ให้นักเรียนใช้ความรู้ที่ได้จากการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ มาน�าเสนอแนวทางการรักษาความ
หลากหลายทางชีวภาพภายในชุมชนให้ยั่งยืน

Topic Questions
ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
1. ความหลากหลายทางชีวภาพแบ่งออกได้เป็นกี่ระดับ อะไรบ้าง
2. ความหลากหลายทางชีวภาพมีความส�าคัญต่อมนุษย์อย่างไร
3. จงเปรียบเทียบความหลากหลายทางชีวภาพในป่ากับนาข้าว
4. แต่ละพื้นที่บนโลกมีความหลากหลายทางชีวภาพเหมือนกันหรือไม่ อย่างไร
5. นักเรียนจะช่วยรักษาความหลากหลายทางชีวภาพของป่าได้อย่างไร

84

นักเรียนควรรู แนวตอบ Topic Questions


1. มี 3 ระดับ ไดแก ความหลากหลายของระบบนิเวศ ความหลากหลาย
1 สิ่งมีชีวิตตางถิ่น คือ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่ไมเคยปรากฏในถิ่นฐานนั้นๆ ของชนิดสิ่งมีชีวิต และความหลากหลายทางพันธุกรรม
มากอน แตถูกนําเขามาโดยวิธีใดๆ จากถิ่นฐานอื่น บางชนิดสามารถดํารงชีวิต 2. เปนแหลงอาหาร แหลงที่อยูอาศัย ใชเปนยารักษาโรค และใชทํา
และมี ก ารแพร ก ระจายได ดี จ นกลายเป น ชนิ ด พั น ธุ  ต  า งถิ่ น ที่ รุ ก ราน ทํ า ให เครื่องนุงหม
สิ่งมีชีวิตประจําถิ่นมีความเสี่ยงตอการสูญพันธุ สงผลตอความหลากหลายทาง 3. ปามีความหลากหลายทางชีวภาพสูงกวา เพราะปามีจํานวนชนิดของ
ชีวภาพจากโรคและสารพิษทีต่ ดิ มากับสิง่ มีชวี ติ ตางถิน่ และอาจทําใหระบบนิเวศ สิ่งมีชีวิตมากกวานาขาว
เกิดการเปลี่ยนแปลง 4. แตกต า งกั น เนื่ อ งจากในแต ล ะพื้ น ที่ มี ส ภาพแวดล อ มและสภาพ
ภูมิอากาศที่แตกตางกัน
5. ไมตัดไมทําลายปา ไมลาสัตวที่ใกลสูญพันธุ

T92
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
F u n
14. ใหสมาชิกภายในกลุมรวมกันปรึกษากันและ
Science Activity สกัดดีเอ็นเอจากสตรอวเบอรรี
วางแผนทํากิจกรรมนอกเวลาเรียน
15. ใหนักเรียนแตละกลุมทํากิจกรรม และทํา
วัสดุอปุ กรณ แผนพับเสนอแผนการทํากิจกรรมที่มีสวน
1. เกลือ ชวยรักษาความหลากหลายทางชีวภาพให
2. นํ้ากลั่น ยั่งยืน
3. ถุงซิปล็อก 16. ครูสุมตัวแทนกลุมออกมานําเสนอผลงาน
4. ผาขาวบาง
5. ชอนตักสาร 17. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลการทํา
6. แอลกอฮอล กิจกรรม
7. แกวนํ้า 2 ใบ
8. นํ้ายาลางจาน
ภาพที่ 2.56 ดีเอ็นเอของสตรอวเบอรรี 9. ไมเสียบลูกชิ้น
ที่มา : คลังภาพ อจท. 10. สตรอวเบอรรี 2-3 ผล
วิธที าํ
1. ใสสตรอวเบอรรีลงในถุงซิปล็อก 2-3 ผล แลวเติมนํ้าลงในถุงเล็กนอย ล็อกปากถุง แลวใชนิ้วมือกดสตรอวเบอรรีใหละเอียด
จนกลายเปนของเหลว
2. นําผาขาวบางมากรองแยกกากออกจากของเหลวในขอ 1. แลวนําของเหลวที่กรองไดใสลงในแกวนํ้า
3. เติมนํ้ายาลางจาน เกลือ และนํ้ากลั่นลงในแกวนํ้าในขอ 2. แลวคนใหเขากัน โดยพยายามอยาใหเกิดฟอง
4. รินแอลกอฮอลลงในแกวนํ้าในขอ 3. แลวนําไมเสียบลูกชิ้นพันเสนใยดีเอ็นเอที่สกัดได

ภาพที่ 2.57 ใชนิ้วกดสตรอวเบอรรีใหเปนของเหลว ภาพที่ 2.58 เติมนํ้ายาลางจาน เกลือ และนํ้ากลั่น แลวคนใหเขากัน


ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท.

หลักการทางวิทยาศาสตร
ดีเอ็นเอเปนสารพันธุกรรมที่พบในสิ่งมีชีวิต โดยดีเอ็นเอมีลักษณะเปนสายยาว บางสวนของสายดีเอ็นเอ คือ ยีนที่ควบคุม
ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต ดังนั้น สิ่งมีชีวิตจึงมีกลไกการเก็บสารพันธุกรรมที่มีลักษณะเปนสายยาวนี้ดวยการขดตัว
เปนโครโมโซม แลวถายทอดไปยังรุนลูกหลานได

พันธุกรรม 85

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


เมื่ อ ศึ ก ษาการแบ ง เซลล ข องสิ่ ง มี ชี วิ ต ด ว ยกล อ งจุ ล ทรรศน ครูอาจใหคําแนะนําเพิ่มเติมเกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในขณะสกัด
ในขณะแบงเซลลจะมองเห็นโครโมโซมเปนเสนหนา เกิดจากการ ดีเอ็นเอวา นํ้ายาลางจานเปนสารลดแรงตึงผิว ทําหนาที่ทําลายผนังเซลล
ขดตัวของโครงสรางใด เกลือทําหนาที่ตกตะกอนโปรตีน และแอลกอฮอลทําหนาที่ตกตะกอนดีเอ็นเอ
1. โปรตีน โดยแอลกอฮอลที่นํามาใชสกัดควรมีอุณหภูมิที่เย็นจัด เนื่องจากการถายเท
2. ดีเอ็นเอ ความรอนของดีเอ็นเอทีม่ นี าํ้ หนักเบา ทําใหดเี อ็นเอลอยตัวสูงขึน้ และลอยอยูเ หนือ
3. โครมาทิน ชั้นรอยตอของสารละลาย
4. สารพันธุกรรม
(วิเคราะหคําตอบ โครมาทิ น คื อ สายดี เ อ็ น เอที่ พั น รอบก อ น
โปรตีนและขดตัวอีกหลายระดับ ทําใหโครมาทินมีรปู รางคลายกับ
ลูกปดที่มาเรียงตอๆ กัน และขดตัวแนนจนกระทั่งกลายเปน
แทงโครโมโซม ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T93
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
18. ให นั ก เรี ย นทํ า แบบฝ ก หั ด รายวิ ช าพื้ น ฐาน Science in Real Life
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 เรื่อง การเจาะนํ้าครํ่าในหญิงตั้งครรภ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
19. ให นั ก เรี ย นตรวจสอบความเข า ใจ โดย การเจาะนํา้ ครํา่ (amniocentesis) คือ การตรวจหาความ
ตอบคําถาม Topic Questions ลงในสมุด ผิดปกติของโครโมโซมของทารกในครรภกอนคลอด เพื่อให
ประจําตัวนักเรียน คูสามีภรรยามีสวนรวมในการตัดสินใจเกี่ยวกับการตั้งครรภ
ซึ่งความผิดปกติของโครโมโซมมีทั้งจํานวน รูปราง และ
ยีนบนโครโมโซม โดยที่พบมากที่สุด คือ กลุมอาการดาวน
ซึง่ เปนความผิดปกติทเี่ กิดจากโครโมโซมรางกายคูท ี่ 21 เกินมา
1 แทง ทําใหเด็กที่เกิดมามีรูปรางหนาตาผิดปกติ สติปญญา
ไมสมประกอบ 1
ภาพที่ 2.59 การอัลตราซาวนดทารกในครรภ
โดยทัว่ ไปแพทยจะเจาะนํา้ ครํา่ ก็ตอ เมือ่ มารดาทีต่ งั้ ครรภ ที่มา : คลังภาพ อจท.
มีอายุ 35 ปขึ้นไป หรืออัลตราซาวนดแลวพบวาทารกมี 2
ความผิดปกติ หรือบิดามารดาเปนคูเสี่ยงที่จะใหกําเนิดทารกเปนโรคธาลัสซีเมียอยางรุนแรง การเจาะนํ้าครํ่า
จะทําในชวงเวลาที่มีปริมาณนํ้าครํ่ามากเพียงพอ คือ ประมาณอายุครรภที่ 17-18 สัปดาห บางกรณีอาจทําใน
อายุครรภมากกวานี้

แพทยจะอัลตราซาวนดกอน เพื่อยืนยันอายุครรภ ดูทาของ แพทยจะทานํ้ายาฆาเชื้อบริเวณหนาทอง แลวใชเข็มแทง


ทารก ตําแหนงที่รกเกาะ และเลือกตําแหนงที่เหมาะสม ผานผนังหนาทองและผนังมดลูกจนถึงแองนํ้าครํ่า แลวดูด
สําหรับการเจาะ นํา้ ครํา่ ออกมาประมาณ 4 ชอนชา (20 ซีซ)ี เพือ่ นําไปวินจิ ฉัย
ตรวจหาความผิดปกติของทารกในครรภ

ภาพที่ 2.60 การเจาะนํา้ ครํา่ ตองกระทําโดยสูตแิ พทยทชี่ าํ นาญและภายใตสภาวะปลอดเชือ้ โรค


ที่มา : คลังภาพ อจท.

86

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


1 การอัลตราซาวนด (ultrasound) เปนการตรวจโดยใชคลืน่ เสียงความถีส่ งู หนูตะเภาคูหนึ่งใหกําเนิดลูกจํานวน 50 ตัว โดยมีสีดํา 25 ตัว
เกินระดับที่หูของคนเราจะไดยิน ซึ่งไมกอใหเกิดอันตรายใดๆ จึงเปนที่ใชกัน และสีขาว 25 ตัว (กําหนดให B เปนแอลลีลเดนที่ควบคุมลักษณะ
อยางกวางขวางในการตรวจเบื้องตนและการตรวจวินิจฉัยทั่วไป โดยเฉพาะ ขนสีดํา และ b เปนแอลลีลดอยที่ควบคุมลักษณะขนสีขาว โดย
ทารกในครรภ แอลลีลเดนขมแอลลีลดอยอยางสมบูรณ) หนูตะเภาคูนี้ควรมี
2 นํา้ ครํา่ (amniotic ffl luid) เปนของเหลวใสสีเหลืองออนทีอ่ ยูล อ มรอบทารก จีโนไทปแบบใด
ในครรภ สวนประกอบของนํ้าครํ่า ประกอบดวยนํ้า 98% และสารตางๆ 2% 1. BB × bb 2. BB × Bb
ซึ่งจะมีเซลลของทารกที่หลุดออกมาปนอยูดวย 3. BB × BB 4. Bb × bb
(วิเคราะหคําตอบ Bb × bb

B b b b

Bb Bb bb bb
อัตราสวนหนูตะเภาขนสีดํา : ขนสีขาว คือ 50 : 50
ดังนั้น ตอบขอ 4.)
T94
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
Summary 20. ใหนักเรียนสรุปความรูที่ไดจากการศึกษา
พันธุกรรม หนวยการเรียนรูที่ 2 เปนผังมโนทัศน เรื่อง
พันธุกรรม แลวนํามาสงครูผูสอน
â¤ÃâÁâ«Á ´ÕàÍç¹àÍ áÅÐ ÂÕ¹ 21. ให นั ก เรี ย นทํ า แบบทดสอบหลั ง เรี ย น
หนวยการเรียนรูที่ 2 พันธุกรรม
´ÕàÍç¹àÍ ÂÕ¹ ËÃ×Í Ë¹‹Ç¾ѹ¸Ø¡ÃÃÁ
໚¹âÁàÅ¡ØÅ·ÕÁè ÅÕ ¡Ñ ɳÐ໚¹à¡ÅÕÂǤً ·íÒ˹ŒÒ·Õàè ¡çº¢ŒÍÁÙÅ ª‹Ç§¤ÇÒÁÂÒÇ˹Ö觢ͧÊÒ´ÕàÍç¹àÍ·Õè·íÒ˹ŒÒ·Õè¡íÒ˹´ ขยายความเข้าใจ
·Ò§¾Ñ¹¸Ø¡ÃÃÁ¢Í§ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ Åѡɳзҧ¾Ñ¹¸Ø¡ÃÃÁ¢Í§ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ
22. ใหนกั เรียนทํากิจกรรม Application Activity
โดยใหนักเรียนสํารวจความหลากหลายทาง
ชีวภาพในชุมชนของนักเรียน แลวรวบรวม
¹ÔÇà¤ÅÕÂÊ ขอมูลมาวิเคราะหวา บริเวณใดรักษาสมดุล
â¤ÃâÁâ«Á
ÊÔè § ÁÕ ªÕ ÇÔ µ ª¹Ô ´ à´Õ Â Ç¡Ñ ¹ ¨ÐÁÕ ¨í Ò ¹Ç¹ ทางระบบนิ เ วศได ดี ที่ สุ ด พร อ มนํ า เสนอ
â¤ÃâÁâ«Á෋ҡѹ ʋǹÊÔè§ÁÕªÕÇÔµµ‹Ò§ª¹Ô´ à«Åŏ แนวทางการดูแลรักษาความหลากหลายทาง
ÍÒ¨ÁÕ ¨í Ò ¹Ç¹â¤ÃâÁâ«Áà·‹ Ò ¡Ñ ¹ ËÃ× Í ชีวภาพภายในชุมชนใหยั่งยืน
äÁ‹à·‹Ò¡Ñ¹
â¤ÃâÁâ«Á ´ÕàÍç¹àÍ

¡Òö‹Ò·ʹÅѡɳзҧ ¾Ñ¹¸Ø¡ÃÃÁ
- ºÔ´ÒáË‹§ÇԪҾѹ¸ØÈÒʵÏ ¤×Í à¡Ã¡ÍÏ âÂÎѹ¹ àÁ¹à´Å
- àÁ¹à´ÅÈÖ¡ÉҾѹ¸ØÈÒʵÏâ´Â·´Åͧ¼ÊÁ¶ÑÇè ÅѹàµÒ¾Ñ¹¸ØᏠ·Œ áŌǾԨÒóÒÅѡɳÐà´ÕÂÇ â´ÂáÍÅÅÕÅà´‹¹¢‹ÁáÍÅÅÕÅ´ŒÍÂ
Í‹ҧÊÁºÙó »ÃСͺ¡Ñº¹Ñ¡ÇÔ·ÂÒÈÒʵÏËÅÒ·‹Ò¹¹íÒä»ÈÖ¡ÉÒµ‹Í¨¹ä´Œ¢ŒÍÊÃØ» ´Ñ§ÀÒ¾
¼ÊÁ¢ŒÒÁµŒ¹ P ¤×Í áÍÅÅÕÅà´‹¹ ¤Çº¤ØÁ
PP pp Åѡɳд͡ÊÕÁÇ‹ §
p ¤×Í áÍÅÅÕÅ´ŒÍ ¤Çº¤ØÁ
´Í¡ÊÕÁ‹Ç§¾Ñ¹¸Øá·Œ ´Í¡ÊÕ¢ÒǾѹ¸Øá·Œ
Åѡɳд͡ÊÕ¢ÒÇ
¼ÊÁÀÒÂã¹µŒ¹à´ÕÂǡѹ
Pp ÅѡɳÐà´‹¹
Å١Ëع·Õè 1 (F1)
´Í¡ÊÕÁ‹Ç§¾Ñ¹¸Ø·Ò§

ÅѡɳдŒÍÂ
Å١Ëع·Õè 2 (F2) PP Pp pP pp
ÍѵÃÒʋǹ¨Õâ¹ä·»Š PP : Pp : pp ¤×Í 1 : 2 : 1
ÍѵÃÒʋǹ¿‚â¹ä·»Š¢Í§´Í¡ÊÕÁ‹Ç§ : ´Í¡ÊÕ¢ÒÇ 3 : 1

พันธุกรรม 87

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูในแนวปะการัง จัดเปนความหลากหลาย ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง การอนุรักษ
ทางชีวภาพในระดับใด (https://www.twigaksorn.com/fifilm/conservation-8103/)
1. ความหลากหลายทางพันธุกรรม
2. ความหลากหลายของระบบนิเวศ
3. ความหลากหลายของชนิดสิ่งมีชีวิต
4. ความหลากหลายของสารรอบตัวสิ่งมีชีวิต
(วิเคราะหคําตอบ แนวปะการังเปนบริเวณที่มีความหลากหลาย
ทางชีวภาพสูงทีส่ ดุ ในทะเล มีสตั วนาํ้ หลายชนิดอาศัยอยู จึงมีความ
หลากหลายของชนิดสิ่งมีชีวิต ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T95
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
1. นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น สรุ ป เรื่ อ ง ความ
หลากหลายทางชี ว ภาพ ให ไ ด ข  อ สรุ ป ว า ¡ÒÃẋ§à«Åŏ ¢Í§ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ
ความหลากหลายทางชีวภาพ หมายถึง การมี
สิ่งมีชีวิตหลายชนิดอยูในระบบนิเวศ สามารถ
แบงออกเปน 3 ระดับ คือ ความหลากหลาย
¨íҹǹâ¤ÃâÁâ«Á
46 á·‹§
¡Òà ẋ§à«Åŏ
ของระบบนิเวศ ความหลากหลายของชนิด ẺäÁâ·«ÔÊ [ mitosis ]
สิง่ มีชวี ติ และความหลากหลายทางพันธุกรรม - à¾×èÍà¾ÔèÁ¨íҹǹà«ÅŏËҧ¡ÒÂ
- ¨íҹǹâ¤ÃâÁâ«Á෋ҡѺà«ÅŏµÑ駵Œ¹
จากนั้นใหนักเรียนสรุปเปนผังมโนทัศน เรื่อง - ä´Œà«ÅŏÅÙ¡¨íҹǹ 2 à«Åŏ
¡ÒÃẋ§à«Åŏ ¡ÒÃẋ§à«Åŏ
ความหลากหลายทางชี ว ภาพ ลงในสมุ ด
ประจําตัวนักเรียน พรอมนําเสนอในรูปแบบ
ẺäÁâÍ«ÔÊ áººäÁâ·«ÔÊ áººäÁâÍ«ÔÊ [ meiosis ]
- à¾×èÍÊÌҧà«ÅŏÊ׺¾Ñ¹¸Ø
+ =
»¯Ôʹ¸Ô
ที่นาสนใจ - à¡Ô´¡ÒÃáÅ¡à»ÅÕ蹪Ôé¹Ê‹Ç¹ÂÕ¹ ·íÒãËŒà¡Ô´
2. ให นั ก เรี ย นสรุ ป ความรู  ห ลั ง เรี ย นเป น ผั ง ¤ÇÒÁËÅÒ¡ËÅÒ¢ͧÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ
มโนทัศน เรื่อง พันธุกรรม ลงในกระดาษ A4 à«ÅŏÍÊØ¨Ô à«Åŏ䢋 ¨íҹǹ - ¨íҹǹâ¤ÃâÁâ«ÁŴŧ໚¹¤ÃÖè§Ë¹Öè§
¨íҹǹâ¤ÃâÁâ«Á ¨íҹǹâ¤ÃâÁâ«Á â¤ÃâÁâ«Á ¢Í§à«ÅŏµÑ駵Œ¹
พรอมนําเสนอในรูปแบบที่นาสนใจ - ä´Œà«ÅŏÅÙ¡¨íҹǹ 4 à«Åŏ
23 á·‹§ 23 á·‹§ 46 á·‹§

¤ÇÒÁ¼Ô´»¡µÔ·Ò§ ¾Ñ¹¸Ø¡ÃÃÁ ¡ÅØ‹ÁÍÒ¡ÒÃ


¤ÃÔ´ÙªÒ

¡ÅØ‹ÁÍÒ¡ÒÃ
1 2 3 4 5 6 àÍç´àÇÔÏ´

¡ÅØ‹ÁÍÒ¡ÒÃ 7 8 9 10 11 12
¾Ò·ÑÇ
13 14 15 16 17 18 ¡ÅØ‹ÁÍÒ¡ÒÃ
ËÃ×Í ´ÑºàºÔÅÇÒÂ
19 20 21 22 XX XY

¡ÅØ‹ÁÍÒ¡ÒÃ
¡ÅØ‹ÁÍÒ¡Òà ¡ÅØ‹ÁÍÒ¡Òà ä¤Å¹à¿ÅàµÍÏ
¡ÅØ‹ÁÍÒ¡ÒÃ
´Òǹ ·ÃԻແÅàÍ¡« à·ÔϹà¹ÍÏ

88

เกร็ดแนะครู กิจกรรม สรางเสริม


หลังจากจบการเรียนการสอนหนวยการเรียนรูที่ 2 พันธุกรรม ครูอาจ ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-4 คน สรุปความรูที่ไดจาก
ใหนักเรียนจับคู หรือแบงกลุม กลุมละ 2-3 คน แลวใหนักเรียนรวมกันอภิปราย หน ว ยการเรี ย นรู  ที่ 2 พั น ธุ ก รรม ทั้ ง หมดลงในกระดาษ A4
แลกเปลี่ ย นความรู  ซึ่ ง กั น และกั น แล ว ร ว มกั น สรุ ป ความรู  เ ป น ผั ง มโนทั ศ น แลวนําเสนอหนาชั้นเรียน โดยมีหัวขอ ดังนี้
แลวสงตัวแทนมานําเสนอหนาชั้นเรียน • โครโมโซม ดีเอ็นเอ ยีน
• การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
• การแบงเซลลของสิ่งมีชีวิต
• ความผิดปกติทางพันธุกรรม
• การดัดแปรทางพันธุกรรม
• ความหลากหลายทางชีวภาพ

T96
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
¡ÒôѴá»Ã·Ò§ ¾Ñ¹¸Ø¡ÃÃÁ 1. ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน หนวยการเรียนรู
ã¹Í´Õµ¡ÒÅ ที่ 2 พันธุกรรม
¤Œ¹¾ºËÅÑ¡°Ò¹·Õ躋§ºÍ¡Ç‹Ò Á¹ØɏÁÕ¡Òà ¾.È. 2516 2. ตรวจแบบฝกหัดรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร
¤Ñ´àÅ×Í¡¾Ñ¹¸Ø¾×ªáÅоѹ¸ØÊѵǏ
ÁÕ¡ÒþѲ¹Ò¾Ñ¹¸ØÇÔÈÇ¡ÃÃÁ¨¹¡ÃзÑè§ÊÌҧẤ·ÕàÃÕ และเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 เรือ่ ง ความหลากหลาย
E. coli ·ÕèáÊ´§ÂÕ¹¢Í§áº¤·ÕàÃÕ Salmonella
typhimurium ÍÍ¡ÁÒä´Œ
ทางชีวภาพ
¾.È. 2517
3. ตรวจการตอบคําถาม Topic Questions และ
ÊÌҧ˹ٴѴá»Ã¾Ñ¹¸Ø¡ÃÃÁ䴌໚¹¤ÃÑé§áá ¾.È. 2518
Unit Questions จากหนังสือเรียนรายวิชา
ÁÕ ¡ ÒûÃÐªØ Á à¡Õè Â Ç¡Ñ º ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ Â ¢Í§ÊÔè § ÁÕ ªÕ ÇÔ µ
¾.È. 2523 ´Ñ´á»Ã¾Ñ¹¸Ø¡ÃÃÁ·Õè»ÃÐà·ÈÊËÃÑ°ÍàÁÃÔ¡Ò พืน้ ฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1
ÈÒÅ͹ØÁѵÔãËŒ¼ÅÔµÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ´Ñ´á»Ã¾Ñ¹¸Ø¡ÃÃÁ หน ว ยการเรี ย นรู  ที่ 2 พั น ธุ ก รรม ในสมุ ด
¾.È. 2525 ประจําตัวนักเรียน
¾.È. 2535 ͧ¤¡Ã FDA ÂÍÁÃѺ¡ÒüÅÔµ 4. ตรวจผังมโนทัศน เรื่อง ความหลากหลายทาง
ÍÒËÒà GMOs ª¹Ô´áá ¤×Í ÁÐà¢×Íà·È ÎÍÏâÁ¹ÍÔ¹«ÙÅÔ¹¨Ò¡áº¤·ÕàÃÕ E. coli
´Ñ´á»Ã¾Ñ¹¸Ø¡ÃÃÁ ชีวภาพ ในสมุดประจําตัวนักเรียน
¾.È. 2538 5. ตรวจผังมโนทัศน เรื่อง พันธุกรรม
¾.È. 2539 ÁÕ¡ÒÃÊÌҧ¾×ª´Ñ´á»Ã¾Ñ¹¸Ø¡ÃÃÁ·Õ赌ҹ·Ò¹
ÁÕ¡ÒÃÊÌҧ¾×ª´Ñ´á»Ã¾Ñ¹¸Ø¡ÃÃÁ·Õ赌ҹ·Ò¹
6. ตรวจแผนพับทีน่ าํ เสนอกิจกรรมทีม่ สี ว นในการ
áÁŧÈѵÃپת䴌
ÊÒÃà¤ÁÕ¡íҨѴÇѪ¾×ªä´Œ ชวยรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ
¾.È. 2552
¾.È. 2543 7. ตรวจสอบผลการปฏิบัติกิจกรรม สํารวจพืช
ÁÕ¡ÒþѲ¹ÒÊѵǏ´Ñ´á»Ã¾Ñ¹¸Ø¡ÃÃÁãËŒ ÁÕ¡ÒüÅÔµ¾Ñ¹¸Ø¢ŒÒÇÊշͧ à¾×èÍá¡Œ»˜ÞËÒ ภายในโรงเรียน
âä¢Ò´á¤Å¹ÇÔµÒÁÔ¹àÍ㹺ҧ¾×é¹·Õè
ÊÒÁÒö¼ÅÔµÇѤ«Õ¹»‡Í§¡Ñ¹âä 8. สั ง เกตพฤติ ก รรมการทํ า งานกลุ  ม และ
¨Ò¡¹íéÒ¹Áá¾Ð䴌໚¹¤ÃÑé§áá
พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
¤ÇÒÁËÅÒ¡ËÅÒ ·Ò§ªÕÇÀÒ¾ 9. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยสังเกต
ความมีวนิ ยั ใฝเรียนรู และมุง มัน่ ในการทํางาน
¤ÇÒÁËÅÒ¡ËÅÒ·ҧªÕÇÀÒ¾ÁÕ 3 ÃдѺ ´Ñ§¹Õé

¤ÇÒÁËÅÒ¡ËÅÒ¢ͧÃкº¹ÔàÇÈ ¤ÇÒÁËÅÒ¡ËÅÒ¢ͧª¹Ô´ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ ¤ÇÒÁËÅÒ¡ËÅÒ·ҧ¾Ñ¹¸Ø¡ÃÃÁ

พันธุกรรม 89

กิจกรรม 21st Century Skills แนวทางการวัดและประเมินผล


ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน สืบคนขอมูลเกี่ยวกับ ครูวัดและประเมินผลความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง ความหลากหลายทาง
กิ จ กรรมหรื อ โครงการที่ มี จุ ด ประสงค เ พื่ อ อนุ รั ก ษ ป  า ไม เช น ชีวภาพ ไดจากการทําผังมโนทัศน เรือ่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ โดยศึกษา
กิจกรรมกวาดใบไม ทําแนวกันไฟเพื่อปองกันไฟปา กิจกรรม เกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) ทีอ่ ยู
ลองเรือเก็บขยะตามรอยพอ แลวใหนักเรียนแตละกลุมดําเนิน ในแผนการจัดการเรียนรูประจําหนวยการเรียนรูที่ 2
กิจกรรมตามขอมูลที่นักเรียนสนใจ บันทึกภาพและจัดทํารายงาน
เพื่ออธิบายรายละเอียดของกิจกรรมหรือโครงการวา กิจกรรมนั้น แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
แบบประเมินผลงานแผนผังมโนทัศน์
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน

มีสวนชวยรักษาความสมดุลของระบบนิเวศอยางไร
ระดับคุณภาพ
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ที่กาหนด
2 ความถูกต้องของเนื้อหา
3 ความคิดสร้างสรรค์
4 ความเป็นระเบียบ
รวม
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
............../................./................
เกณฑ์ประเมินแผนผังมโนทัศน์
ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
1. ผลงานตรงกับ ผล งา น สอดค ล้ องกั บ ผ ล ง า น ส อด ค ล้ อ งกั บ ผลงานสอดคล้ อ งกั บ ผลงานไม่ ส อดคล้ อ ง
จุดประสงค์ที่ จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ บ า ง กับจุดประสงค์
กาหนด ประเด็น
2. ผลงานมีความ เนื้ อ หาสาระของผลงาน เนื้ อ หาสาระของผลงาน เ นื้ อ ห า ส า ร ะ ข อ ง เ นื้ อ ห า ส า ร ะ ข อ ง
ถูกต้องของ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ผลงานถูกต้องเป็นบาง ผลงานไม่ถูกต้องเป็น
เนื้อหา ประเด็น ส่วนใหญ่
3. ผลงานมีความคิด ผ ล ง า น แ ส ด ง อ อ ก ถึ ง ผลงานมี แ นวคิ ด แปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผ ล ง า น ไ ม่ แ ส ด ง
สร้างสรรค์ ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ใหม่ แ ต่ ยั ง ไม่ เ ป็ น ระบบ แ ต่ ยั ง ไ ม่ มี แ น ว คิ ด แนวคิดใหม่
แปลกใหม่และเป็นระบบ แปลกใหม่
4. ผลงานมีความ ผ ล ง า น มี ค ว า ม เ ป็ น ผลงานส่ ว นใหญ่ มี ค วาม ผลงานมี ค วามเป็ น ผลงานส่ ว นใหญ่ ไ ม่
เป็น ระเบียบ ระเบี ย บแสดงออกถึ ง เ ป็ น ร ะ เ บี ย บ แ ต่ ยั ง มี ร ะ เ บี ย บ แ ต่ มี เป็นระเบียบและมีข้อ
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย ข้อบกพร่องบางส่วน บกพร่องมาก

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14-16 ดีมาก
11-13 ดี
8-10 พอใช้
ต่ากว่า 7 ปรับปรุง

T97
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Self Check


1. ผิด 2. ผิด 3. ผิด
4. ถูก 5. ผิด 6. ผิด Self Check
7. ผิด 8. ผิด 9. ถูก ให้นักเรียนตรวจสอบความเข้าใจ โดยพิจารณาข้อความว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด หากพิจารณาข้อความ
10. ถูก ไม่ถูกต้อง ให้กลับไปทบทวนเนื้อหาตามหัวข้อที่ก�าหนดให้
ถูก/ผิด ทบทวนหัวข้อ

1. จ�ำนวนโครโมโซมของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดขึ้นอยู่กับขนำดของสิ่งมีชีวิต 1.

2. โครโมโซมเพศชำยประกอบด้วยโครโมโซม 2 แท่ง ที่มีขนำดเท่ำกัน 1.

3. เมนเดลค้นพบว่ำ ลักษณะด้อยจะปรำกฏในลูกรุ่นที่ 1 แต่ไม่ปรำกฏในลูก


2.
รุ่นที่ 2

4. ในเซลล์ร่ำงกำยยีนจะอยู่เป็นคู่บนโครโมโซม และแยกออกจำกกันเมื่ออยู่ใน
2.
เซลล์สืบพันธุ์

5. กำรทดลองของเมนเดล เมื่อพิจำรณำสีกลีบดอกของถั่วลันเตำที่แอลลีลเด่น

ุด
สม
ข่มแอลลีลด้อยอย่ำงสมบูรณ์ จะได้อัตรำส่วนของฟีโนไทป์ของดอกสีม่วง : 2.

ใน
ลง
ทึ ก
ดอกสีขำว เป็น 1 : 3

บั น
6. กำรแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสท�ำให้สิ่งมีชีวิตมีควำมหลำกหลำยทำงพันธุกรรม 3.

7. กลุ่มอำกำรพำทัวเกิดจำกควำมผิดปกติบนโครโมโซมเพศ 4.

8. ภำวะตำบอดสีเกิดจำกจ�ำนวนโครโมโซมร่ำงกำยเกินมำ 1 แท่ง 4.

9. มนุษย์ใช้ประโยชน์จำกสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมในกำรผลิตวัคซีน 5.

10. บริเวณที่มีควำมหลำกหลำยของสิ่งมีชีวิตมำก จะช่วยรักษำสมดุลของ


6.
ระบบนิเวศได้ดี

90

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


คูสามีภรรยาคูหนึ่งมีรางกายปกติ เมื่อไปตรวจเลือดที่โรงพยาบาล พบวา ภรรยาเปนพาหะเนื่องจากมียีนธาลัสซีเมีย
แฝงอยู ซึ่งมีจีโนไทปเปนแบบ Aa อยากทราบวา ลูกของสามีภรรยาคูนี้จะมีโอกาสปวยเปนโรคธาลัสซีเมียรอยละเทาใด
กําหนดให a เปนแอลลีลดอยที่ทําใหเกิดโรคธาลัสซีเมีย
(วิเคราะหคําตอบ สามี ภรรยา
AA × Aa

A A A a

AA Aa AA Aa

ลูกของสามีภรรยาคูนี้ไมมีโอกาสปวยเปนโรคธาลัสซีเมีย แตมีโอกาสเปนพาหะโรคธาลัสซีเมียรอยละ 50)

T98
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Unit Questions

Unit Questions 1. ยีน เปนชวงความยาวหนึ่งของสายดีเอ็นเอ ซึ่ง


ยีนทําหนาที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมของ
คําชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ สิง่ มีชวี ติ ดีเอ็นเอจึงทําหนาทีเ่ ก็บสารพันธุกรรม
1. จงอธิบายความสัมพันธระหวางยีน ดีเอ็นเอ และโครโมโซม ของสิ่งมีชีวิต และจะขดพันกับกอนโปรตีนและ
2. พิจารณาภาพการจัดเรียงโครโมโซมของสิ่งมีชีวิต A แลวตอบคําถามตอไปนี้ ขดพันกันอีกหลายระดับจนกระทั่งกลายเปน
โครโมโซม ดังนั้น โครโมโซมจึงเปนที่อยูของ
2.1 สิ่งมีชีวิต A คืออะไร หนวยพันธุกรรม
1 2 3 4 5
2.2 เซลลสืบพันธุของสิ่งมีชีวิต A คืออะไร 2. 2.1 มนุษย
และทราบไดอยางไร 2.2 เซลลอสุจิ ทราบไดจากโครโมโซมคูที่ 23
6 7 8 9 10 11 12
2.3 การจัดเรียงโครโมโซม ดังภาพ เรียกอีก ซึ่งบงบอกวาเปนเพศชาย
อยางหนึ่งวาอะไร
13 14 15 16 17 18 2.3 แครีโอไทป
19 20 21 22 23 3. เด็กชาย A และเด็กหญิง B มีจํานวนโครโมโซม
ภาพที่ 2.61 การจัดเรียงโครโมโซมของสิง่ มีชวี ติ A ในรางกายเทากัน คือ 46 แทง หรือ 23 คู โดย
ที่มา : คลังภาพ อจท. โครโมโซมคูที่ 1-22 จะมีรูปรางและขนาดเทา
3. เด็กชาย A กับเด็กหญิง B มีจํานวนโครโมโซมรางกายเหมือนหรือแตกตางกันหรือไม อยางไร กัน แตจะแตกตางกันทีโ่ ครโมโซมคูท ี่ 23 ซึง่ เปน
4. การศึกษาสารพันธุกรรมของเซลลรากหอมดวยกลองจุลทรรศน ตองนําเซลลรากหอมไปยอมสีดวยสีอะไร โครโมโซมเพศ โดยเพศชายจะมีโครโมโซมที่มี
5. จงเปรียบเทียบจํานวนโครโมโซมของเซลลเยื่อบุผิวขางแกมกับเซลลอสุจิ ขนาดตางกัน คือ โครโมโซม XY สวนเพศหญิง
จะมีโครโมโซมที่มีขนาดเทากัน คือ โครโมโซม
6. การศึกษาพันธุกรรมของถั่วลันเตาของเมนเดลมีความสําคัญตอความรูทางพันธุศาสตรอยางไร
XX
7. เพราะเหตุใดเมนเดลจึงเลือกศึกษาการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของตนถั่วลันเตา
4. สียอมอะซีโตคารมีน
8. จงยกตัวอยางลักษณะเดนและลักษณะดอยของตนถั่วลันเตามา 3 ตัวอยาง 5. จํ า นวนโครโมโซมของเซลล อ สุ จิ จ ะมี จํ า นวน
9. เพราะเหตุใดในการผสมพันธุตนถั่วลันเตาดอกสีมวงกับดอกสีขาว จึงตองตัดเกสรเพศผูของดอกสีมวงออก โครโมโซมเปนครึ่งหนึ่งของเซลลเยื่อบุผิวขาง
กอนนําพูกันไปผสมเกสร
แกม
10. พิจารณาภาพโครโมโซมของตนถั่วลันเตาที่กําหนดให แลวตอบคําถามตอไปนี้ 6. ทําใหทราบวาสิ่งมีชีวิตมียีนที่ทําหนาที่กําหนด
10.1 เมื่อกําหนดใหยีนคูหนึ่งควบคุมความสูงของตน ลักษณะตางๆ ในสิ่งมีชีวิต
ถั่วลันเตา แอลลีล T แทนแอลลีลเดนที่ควบคุม
T t ลักษณะตนสูง และแอลลีล t แทนแอลลีลดอยควบคุม 7. เพราะตนถั่วลันเตามีวงจรชีวิตสั้น มีลักษณะ
ลักษณะตนเตี้ย ตนถั่วลันเตาจะมีจีโนไทปและ แตกตางกันอยางชัดเจน และมีดอกสมบูรณเพศ
ฟโนไทปอยางไร
ภาพที่ 2.62 โครโมโซมของตนถัว่ ลันเตา
ที่มา : คลังภาพ อจท. 10.2 เซลลสืบพันธุของตนถั่วลันเตาจะมียีนแบบใดบาง 8. ลักษณะเดน เชน เมล็ดเรียบ เมล็ดสีเหลือง
ดอกสีมวง ตนสูง ฝกอวบ
พันธุกรรม 91 ลักษณะดอย เชน เมล็ดขรุขระ เมล็ดสีเขียว
ดอกสีขาว ตนเตี้ย ฝกแฟบ

9. เพื่อปองกันการผสมพันธุระหวางเกสรเพศผูกับเกสรเพศเมียภายในดอกเดียวกัน
10. 10.1 ตนถั่วลันเตาจะมีจีโนไทปแบบ Tt และมีฟโนไทปเปนตนสูง
10.2 T หรือ t

T99
นํา สอน สรุป ประเมิน

12. สิง่ มีชวี ติ ตองมีการเจริญเติบโตและสรางเซลล


สืบพันธุเพื่อดํารงเผาพันธุ
13. หมายเลข 1 คือ การแบงเซลลแบบไมโอซิส 11. ก�ำหนดให้ลักษณะหนังตำถูกควบคุมด้วยยีน 1 คู่ ซึ่งมีรูปแบบของยีน ดังนี้
หมายเลข 2 คือ การแบงเซลลแบบไมโทซิส A เป็นแอลลีลเด่นที่ก�ำหนดลักษณะกำรมีหนังตำสองชั้น
14. หมายเลข 1 เปนการแบงเซลลแบบไมโทซิส a เป็นแอลลีลด้อยที่ก�ำหนดลักษณะกำรมีหนังตำชั้นเดียว
เพื่อเพิ่มจํานวนเซลลในรางกายของสิ่งมีชีวิต 11.1 คนที่มีหนังตำสองชั้น จะมีรูปแบบยีนแบบใดบ้ำง ถ้ำแอลลีลเด่นข่มแอลลีลด้อยอย่ำงสมบูรณ์
ภายหลังการแบงเซลลจะไดเซลลใหมจาํ นวน 11.2 เซลล์สืบพันธุ์ของคนที่มีหนังตำสองชั้นพันธุ์ทำง จะมียีนรูปแบบใดบ้ำง
11.3 หำกพ่อมีหนังตำสองชั้นพันธุ์ทำง แต่แม่มีหนังตำชั้นเดียว ลูกจะมีจีโนไทป์และฟีโนไทป์แบบใดบ้ำง
เปน 2 เทาของเซลลเดิม ซึ่งแตละเซลลมี ถ้ำแอลลีลเด่นข่มแอลลีลด้อยอย่ำงสมบูรณ์
จํานวนโครโมโซมเทาเดิม สวนการแบงเซลล
แบบไมโอซิสเปนการแบงเซลลเพือ่ สรางเซลล 12. เพรำะเหตุใดสิ่งมีชีวิตจึงต้องมีกำรแบ่งเซลล์
สืบพันธุ ภายหลังการแบงเซลล จะไดเซลล 13. พิจำรณำภำพที่ก�ำหนดให้ แล้วระบุว่ำ หมำยเลข 1 และหมำยเลข 2 เป็นกำรแบ่งเซลล์ประเภทใด
ใหมจาํ นวนเปน 4 เทาของเซลลเดิม ซึง่ แตละ
เซลลมีจํานวนโครโมโซมลดลงเปนครึ่งหนึ่ง
ของเซลลเดิม
15. 15.1 กลุมอาการพาทัว
15.2 กลุมอาการคริดูชา
15.3 โรคผิวเผือก โรคธาลัสซีเมีย
15.4 กลุมอาการเทิรนเนอร 1 2
15.5 กลุมอาการดาวน กำรปฏิสนธิ

ภาพที่ 2.63 กำรแบ่งเซลล์กอ่ นและหลังกำรปฏิสนธิของมนุษย์


ที่มา : คลังภาพ อจท.

14. จำกข้อ 13. กำรแบ่งเซลล์แบบหมำยเลข 1 และหมำยเลข 2 เหมือนหรือแตกต่ำงกันหรือไม่ อย่ำงไร


15. พิจำรณำข้อควำมที่ก�ำหนดให้ แล้วระบุโรคทำงพันธุกรรมให้ถูกต้อง
15.1 โครโมโซมคู่ที่ 13 เกินมำ 1 แท่ง
15.2 ผู้ป่วยจะมีเสียงร้องคล้ำยแมว
15.3 ควำมผิดปกติทำงพันธุกรรมที่เกิดขึ้นกับยีนด้อย
15.4 ผู้ป่วยที่มีโครโมโซม X เพียง 1 แท่ง
15.5 โครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมำ 1 แท่ง

92

11. 11.1 2 แบบ คือ AA หรือ Aa


11.2 A หรือ a
11.3 พอ × แม
Aa aa

A a a a

Aa aa Aa aa

รุนลูกจะมีอัตราสวนจีโนไทป Aa : aa คือ 1 : 1
รุนลูกจะมีอัตราสวนฟโนไทปของหนังตาสองชั้น : หนังตาชั้นเดียว คือ 1 : 1

T100
นํา สอน สรุป ประเมิน

16. 16.1 เพศชาย


16.2 กลุมอาการดับเบิลวาย
16.3 ผูปวยจะมีรูปรางสูงกวาปกติ
16. ก�ำหนดให้กำรจัดเรียงโครโมโซมของผู้ป่วย ดังภำพ
17. ผูปวยทางพันธุกรรมที่มีสาเหตุมาจากความ
ผิดปกติของโครโมโซมจะมีลักษณะ รูปราง
และการทํ า งานของอวั ย วะภายในร า งกาย
1 2 3 4 5
บางอวัยวะผิดปกติ เชน กลุมอาการดาวน
แต ผู  ป  ว ยทางพั น ธุ ก รรมที่ มี ส าเหตุ ม าจาก
6 7 8 9 10 1112 12
ความผิดปกติของยีน จะมีลักษณะภายนอก
13 14 15 16 17 18 ปกติ แตการทํางานของอวัยวะภายในรางกาย
19 20 21 22 23 บางอวัยวะผิดปกติ เชน ภาวะตาบอดสี ซึ่ง
ภาพที่ 2.64 กำรจัดเรียงโครโมโซมของผูป้ ว่ ย การวินิจฉัยโรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ผิ ด ปกติ ข องโครโมโซมทํ า ได โ ดยการทํ า
16.1 ผู้ป่วยเป็นเพศใด แครีโอไทป และการระบุโรคทางพันธุกรรมที่
16.2 ผูป้ ่วยป่วยเป็นโรคใด เกิดจากความผิดปกติของยีน ทําไดโดยการ
16.3 ผูป้ ่วยมีรูปร่ำงและลักษณะของร่ำงกำยผิดปกติอย่ำงไร
ตรวจเลือด หรือติดตามการถายทอดลักษณะ
17. กลุ่มอำกำรที่เกิดจำกควำมผิดปกติของออโตโซมแตกต่ำงจำกควำมผิดปกติของยีนอย่ำงไร และมีวิธีวินิจฉัย ทางพันธุกรรมจากรุนสูรุน
อย่ำงไร
18. สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมกอใหเกิดประโยชน
18. ระบุประโยชน์และผลกระทบของสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
ทั้งทางดานการแพทย ดานการเกษตร และ
19. เปรียบเทียบควำมหลำกหลำยของชนิดสิง่ มีชวี ติ ในบริเวณ A และบริเวณ B บริเวณใดจะรักษำสมดุลทำงระบบนิเวศ ด า นอุ ต สาหกรรม แต เ นื่ อ งจากสิ่ ง มี ชี วิ ต
ได้มำกกว่ำ เพรำะเหตุใด
ดัดแปรพันธุกรรมเปนสิ่งมีชีวิตที่มีพันธุกรรม
แตกตางไปจากธรรมชาติ ซึง่ อาจสงผลกระทบ
ตอสุขภาพของคนในสังคม ความปลอดภัยตอ
การบริโภค รวมถึงการเปนพาหะของสารพิษ
และความสมดุลของระบบนิเวศ
19. บริ เ วณ A เนื่ อ งจากเป น บริ เ วณที่ มี ค วาม
อุดมสมบูรณ จึงมีสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิด
ภาพที่ 2.65 สิง่ มีชวี ติ บริเวณ A ภาพที่ 2.66 สิง่ มีชวี ติ บริเวณ B อาศัยอยูบ ริเวณ A ทําใหระบบนิเวศในบริเวณ A
ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท. มีสายใยอาหารที่ซับซอนมากกวาบริเวณ B
20. เสนอแนวทำงกำรดูแลรักษำควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพภำยในท้องถิ่นมำอย่ำงน้อย 3 ข้อ เมื่อสิ่งมีชีวิตที่เปนอาหารในบริเวณ A ตายลง
จะไมสงผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตอื่นในสายใย
พันธุกรรม 93 อาหาร ดังนั้น ระบบนิเวศบริเวณ A จึงมีความ
สมดุลมากกวาบริเวณ B

20. 1. ไมทําลายแหลงที่อยูอาศัย เชน ไมตัดไมทําลายปา


2. ไมลาสัตวสายพันธุหายาก
3. ควบคุมและกําจัดสารพิษไมใหปนเปอนสูสิ่งแวดลอม

T101
Chapter Overview
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 1 - แบบทดสอบก่อนเรียน 1. ระบุสมบัติทางกายภาพของ 5Es - ตรวจแบบทดสอบ - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
พอลิเมอร์ - หนังสือเรียนรายวิชา วัสดุประเภทพอลิเมอร์ได้ (K) Instructional ก่อนเรียน - ทักษะการทดลอง - ใฝ่เรียนรู้
พื้นฐานวิทยาศาสตร์ 2. เลือกใช้วสั ดุประเภทพอลิเมอร์ Model - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการ - มุ่งมั่นใน
4 และเทคโนโลยี ม.3
เล่ม 1
ไปใช้ประโยชน์ได้อย่าง
เหมาะสม (P)
- ตรวจผังมโนทัศน์
เรื่อง พอลิเมอร์
ตีความหมายข้อมูล
และลงข้อสรุป
การท�ำงาน
ชั่วโมง - แบบฝึกหัดรายวิชา 3. ตระหนักถึงคุณค่าของการใช้ - ประเมินการออกแบบ - ทักษะการก�ำหนด
พื้นฐานวิทยาศาสตร์ วัสดุประเภทพอลิเมอร์ (A) อุปกรณ์ เพื่ออ�ำนวย และควบคุมตัวแปร
และเทคโนโลยี ม.3 4. มีความใฝ่เรียนรู้และมุ่งมั่น ความสะดวกในชีวิต
เล่ม 1 ในการท�ำงาน (A) ประจ�ำวัน
- อุปกรณ์การทดลอง - การปฏิบัติกิจกรรม
- QR Code - สังเกตพฤติกรรม
- บัตรภาพ การท�ำงานกลุ่ม
- PowerPoint - สังเกตความมีวินัย
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น
Twig ในการท�ำงาน
แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. ระบุสมบัติทางกายภาพของ บรรยาย - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
เซรามิก พื้นฐานวิทยาศาสตร์ เซรามิกได้ (K) (Lecture - ตรวจใบงาน เรื่อง - ทักษะการ - ใฝ่เรียนรู้
และเทคโนโลยี ม.3 2. เลือกใช้วัสดุประเภทเซรามิก Method) เซรามิก ตีความหมายข้อมูล - มุ่งมั่นใน
2 เล่ม 1
- แบบฝึกหัดรายวิชา
ไปใช้ประโยชน์ได้อย่าง
เหมาะสม (P)
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
และลงข้อสรุป การท�ำงาน
ชั่วโมง พื้นฐานวิทยาศาสตร์ 3. ตระหนักถึงคุณค่าของการใช้ - สังเกตความมีวินัย
และเทคโนโลยี ม.3 เซรามิก (A) ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น
เล่ม 1 4. มีความใฝ่เรียนรู้และมุ่งมั่น ในการท�ำงาน
- ใบงาน ในการท�ำงาน (A)
- PowerPoint
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น
Twig
แผนฯ ที่ 3 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. ระบุสมบัติทางกายภาพของ บรรยาย - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการ - มีวินัย
วัสดุผสม พื้นฐานวิทยาศาสตร์ วัสดุผสมได้ (K) (Lecture - ตรวจผังมโนทัศน์ ตีความหมายข้อมูล - ใฝ่เรียนรู้
และเทคโนโลยี ม.3 2. เลือกวัสดุผสมไปใช้ประโยชน์ Method) เรื่อง วัสดุผสม และลงข้อสรุป - มุ่งมัน่ ใน
2 เล่ม 1
- แบบฝึกหัดรายวิชา
ได้อย่างเหมาะสม (P)
3. ตระหนักถึงคุณค่าของการ
- ประเมินการน�ำเสนอ
ผลงาน
การท�ำงาน
ชั่วโมง พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ใช้วัสดุผสม (A) - สังเกตพฤติกรรม
และเทคโนโลยี ม.3 4. มีความใฝ่เรียนรู้และมุ่งมั่น การท�ำงานกลุ่ม
เล่ม 1 ในการท�ำงาน (A) - สังเกตความมีวินัย
- PowerPoint ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น ในการท�ำงาน
Twig
แผนฯ ที่ 4 - แบบทดสอบหลังเรียน 1. อธิบายสมบัติของวัสดุ 5Es - ตรวจแบบทดสอบ - ทักษะการ - มีวินัย
ผลกระทบจาก - หนังสือเรียนรายวิชา ประเภทพอลิเมอร์ เซรามิก Instructional หลังเรียน ตีความหมายข้อมูล - ใฝ่เรียนรู้
การใช้วัสดุ พื้นฐานวิทยาศาสตร์ และวัสดุผสมได้ (K) Model - ตรวจแบบฝึกหัด และลงข้อสรุป - มุ่งมั่นใน
ประเภทพอลิเมอร์ และเทคโนโลยี ม.3 2. ใช้วัสดุประเภทพอลิเมอร์ - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง การท�ำงาน
เซรามิก และ เล่ม 1 เซรามิก และวัสดุผสมได้ วัสดุในชีวิตประจ�ำวัน
วัสดุผสม - แบบฝึกหัดรายวิชา อย่างคุ้มค่า (P) - ประเมินการออกแบบ
พื้นฐานวิทยาศาสตร์ 3. ตระหนักถึงคุณค่าของการ วัสดุในชีวิตประจ�ำวัน
3 และเทคโนโลยี ม.3
เล่ม 1
ใช้วัสดุประเภทพอลิเมอร์
เซรามิก และวัสดุผสม (A)
- ตรวจแบบฝึกหัดจาก
Unit Questions
ชั่วโมง - บัตรภาพ 4. มีความใฝ่เรียนรู้และมุ่งมั่น - สังเกตพฤติกรรม
- QR Code ในการท�ำงาน (A) การท�ำงานกลุ่ม
- PowerPoint - สังเกตความมีวินัย
ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น
ในการท�ำงาน

T102
Chapter Concept Overview
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
พอลิเมอร
เปนสารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ ซึ่งเกิดจากโมเลกุลขนาดเล็ก เรียกวา มอนอเมอร มาสรางพันธะโคเวเลนตตอกัน
• ประเภทของพอลิเมอร พิจารณาจากเกณฑในการจําแนก ดังนี้
- ลักษณะการเกิด แบงออกเปน 2 ชนิด ไดแก พอลิเมอรธรรมชาติและพอลิเมอรสังเคราะห
- ชนิดของมอนอเมอร แบงออกเปน 2 ชนิด ดังนี้
โฮโมพอลิเมอร โคพอลิเมอร

• สมบัติทางกายภาพ ขึ้นอยูกับโครงสรางของพอลิเมอร โดยโครงสรางของพอลิเมอรแบงออกเปน 3 แบบ ดังนี้

พอลิเมอรแบบเสน พอลิเมอรแบบกิง่ พอลิเมอรแบบรางแห


• การใชประโยชนของวัสดุประเภทพอลิเมอร ไดแก พลาสติก ยาง และเสนใย ซึ่งนิยมนําไปทําผลิตภัณฑที่ใชในชีวิตประจําวัน

เซรามิก เซรามิกดั้งเดิม
ผลิตภัณฑที่ทําจากวัตถุดิบในธรรมชาติ เชน ดิน หิน ทราย นํามาผสมแลวนําไปเผา
• วัตถุดิบที่ใชในอุตสาหกรรมเซรามิก ไดแก วัตถุดิบหลัก (ดิน เฟลดสปาร และควอรตซ)
และวัตถุดิบเสริม (แรและสารประกอบออกไซด)
• การขึ้นรูปผลิตภัณฑ ทําได 2 วิธี ไดแก การเทแบบและการใชแปนหมุน
• การเผาและเคลือบ มี 2 ขั้นตอน คือ การเผาดิบเพื่อใหผลิตภัณฑคงรูป ไมแตกชํารุด
และการเผาเคลือบ โดยการนํามาเคลือบนํ้ายาแลวนําไปใหความรอน
• การใชประโยชนวัสดุประเภทเซรามิก เชน ผลิตภัณฑจากแกว ปูนซีเมนต
เซรามิกสมัยใหม
วัสดุผสม
วัสดุที่ประกอบดวยวัสดุ 2 ประเภทขึ้นไป โดยองคประกอบนั้นไมละลายเขาดวยกัน ทําใหมีสมบัติเฉพาะตามที่ตองการ
• สมบัติทางกายภาพของวัสดุผสม ประกอบดวยวัสดุ 2 ประเภท ดังภาพ • การใชประโยชนของวัสดุผสม
- วัสดุผสมจากธรรมชาติ
เชน กระดูก ไม
- วัสดุผสมจากการสังเคราะห
วัสดุพื้นหรือเมทริกซ วัสดุเสริมหรือ เชน คอนกรีต ไฟเบอรกลาสส
วัสดุผสม
ตัวเสริมแรง

ผลกระทบจากการใชวัสดุประเภทพอลิเมอร เซรามิกและวัสดุผสม
• ผลกระทบจากการใชวัสดุประเภทพอลิเมอร เซรามิกและวัสดุผสม
วัสดุประเภทพอลิเมอรสังเคราะหยอยสลายยาก จึงเกิดการสะสมขยะในสิ่งแวดลอมจํานวนมาก
หากนํามาเผาจะกอใหเกิดมลพิษทางดิน นํ้า อากาศ ทําใหสภาพแวดลอมถูกทําลาย และสงผล
กระทบตอรางกายของสิ่งมีชีวิต ดังนั้น เราจึงควรหันมาใชผลิตภัณฑจากธรรมชาติ ชวยกัน
คัดแยกขยะกอนทิ้ง และทิ้งขยะลงถังใหถูกประเภท เพื่อลดปริมาณขยะ ใชถุงผาแทนถุงพลาสติก

T103
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (5Es Instructional Model)


กระตุน ความสนใจ หน่วยการเรียนรู้ที่

1. ใหนกั เรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน หนวยการ


เรียนรูที่ 3 วัสดุในชีวิตประจําวัน
2. ครู ส นทนาเกี่ ย วกั บ วั ส ดุ ป ระเภทพอลิ เ มอร
ในชีวิตประจําวัน
3 วัสดุในชีวติ ประจําวัน
3. ครูถามนักเรียนวา นักเรียนรูจักวัสดุประเภท ¼ÅÔµÀѳ±
พอลิเมอรหรือไม อยางไร พอลิเมอร ·ÕÍè ÂÙË ͺµÑÇ
(แนวตอบ ขึ้นอยูกับคําตอบของนักเรียนและ ประกอบดวยมอนอเมอรจํานวน เชน ถุงพลาสติก
ดุลยพินิจของครู) มากมาสร า งพั น ธะโคเวเลนต แกวนํ้า ผลิตมาจาก
ตอกัน วัสดุใด
4. ครูถามคําถาม Big Question

วัสดุผสม
เกิดจากวัสดุ 2 ชนิดมารวมกัน
โดยมีองคประกอบทางเคมี
แตกตางกัน และ
ไมละลายรวมเปน
เนื้อเดียวกัน

ตัวชี้วัด
ว 2.1 ม.3/1 ระบุสมบัตทิ างกายภาพและการใชประโยชนวสั ดุประเภทพอลิเมอร เซรามิก และวัสดุผสม โดยใชหลักฐานเชิงประจักษ
และสารสนเทศ
ว 2.1 ม.3/2 ตระหนักถึงคุณคาของการใชวัสดุประเภทพอลิเมอร เซรามิก และวัสดุผสม โดยเสนอแนะแนวทางการใชวัสดุ
แนวตอบ Big Question อยางประหยัดและคุมคา

ถุงพลาสติกผลิตมาจากพอลิเมอรสังเคราะห
แกวนํ้าผลิตมาจากเซรามิก

เกร็ดแนะครู
การเรี ย นการสอน เรื่ อ ง วั ส ดุ ใ นชี วิ ต ประจํ า วั น นั ก เรี ย นจะได ศึ ก ษา
เกี่ยวกับวัสดุประเภทพอลิเมอร เซรามิก และวัสดุผสม ซึ่งเปนวัสดุที่ใชมาก
ในชีวิตประจําวัน ดังนั้น ครูควรจัดการเรียนการสอนดวยการนําตัวอยาง
ผลิตภัณฑหรือวัสดุตัวอยางมาใหนักเรียนสังเกตสมบัติทางกายภาพ แลวให
นักเรียนรวมกันอภิปรายถึงขอดีและขอเสีย รวมทั้งตระหนักถึงคุณคาและ
ผลกระทบจากการใชวัสดุประเภทพอลิเมอร เซรามิกและวัสดุผสม

T104
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
Check for Understanding 5. ใหนักเรียนตรวจสอบความรูของตนเองกอน
พิจารณาขอความตามความเขาใจของนักเรียนวาถูกหรือผิด แลวบันทึกลงในสมุดบันทึก เข า สู  ก ารเรี ย นการสอนจากกรอบ Check
ถูก/ผิด for Understanding ในหนังสือเรียนรายวิชา
1. พอลิเมอรเปนสารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ พืน้ ฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1
2. เมื่อพิจารณาตามลักษณะการเกิด สามารถแบงพอลิเมอรออกได 2 ประเภท คือ โฮโมพอลิเมอร หนวยการเรียนรูที่ 3 เรื่อง พอลิเมอร
และโคพอลิเมอร

มุ ด
6. ใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 5 คน ทํากิจกรรม

นส
งใ
3. พลาสติก คือ ผลิตภัณฑที่ไดจากการสังเคราะหพอลิเมอร


Engaging Activity โดยใหนักเรียนแตละกลุม

ทึ ก
บั น
4. พลาสติกที่สามารถนําไปหลอมเหลวแลวนํากลับมาใชใหมได เรียกวา เทอรมอพลาสติก ร ว มกั น ศึ ก ษาขั้ น ตอนการทํ า กิ จ กรรมจาก
5. ยางธรรมชาตินิยมนํามาทํายางรถยนต หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี ม.3 เลม 1 หนวยการเรียนรูที่ 3
เรื่อง พอลิเมอร
E ngaging ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 คน แลวทํากิจกรรมตอไปนี้
7. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลงานทีไ่ ดจาก
การทํากิจกรรม Engaging Activity
Activity
ครูแจกลวดเสียบกระดาษสีตา ง ๆ ใหแตละกลุม ดังนี้ สีแดง สีมว ง สีเหลือง และสีเขียว สีละ 5 ตัว แลวกําหนดโจทย
ใหนักเรียน ดังนี้

1 นําลวดเสียบกระดาษสีแดงมาตอเรียงกัน
2 นําลวดเสียบกระดาษสีมวงและสีเหลืองมาตอเรียงสลับกันไป
3 นําลวดเสียบกระดาษสีเขียว สีเหลือง และสีมวงมาตอเรียงสลับกันไป

แลวใหนักเรียนรวมกันวิเคราะหวา การตอลวดเสียบกระดาษสีแดง การตอลวดเสียบกระดาษสีมวงและสีเหลือง


และการตอลวดเสียบกระดาษสีเขียว สีเหลือง และสีมว ง การตอลวดเสียบกระดาษแตละแบบมีการจัดเรียงตัวแตกตางกัน
หรือไม อยางไร

ภาพที่ 3.1 ลักษณะการตอลวดเสียบกระดาษ


ที่มา : คลังภาพ อจท. แนวตอบ Check for Understanding
วัสดุในชีวิตประจําวัน 95 1. ถูก 2. ผิด 3. ถูก
4. ถูก 5. ผิด

แนวตอบ Engaging Activity


การต อ ลวดเสี ย บกระดาษสี แ ดงเหมื อ นกั น เรี ย กว า โฮโมพอลิ เ มอร
ซึ่งเกิดจากมอนอเมอรชนิดเดียวกันมาเรียงตอกันเปนสายยาว และการ
ตอลวดเสียบกระดาษ 2-3 สี มาเรียงตอกัน เรียกวา โคพอลิเมอรหรือ
พอลิเมอรรว ม ซึง่ เกิดจากมอนอเมอรมากกวา 1 ชนิดตอกันซํา้ ๆ เปนสายยาว

T105
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ใหนักเรียนตอบคําถาม Key Question Key 1 พอลิเมอร์
2. ใหนักเรียนสืบคนขอมูลเกี่ยวกับความหมาย Question พอลิ เ มอร์ ( polymer ) เป็ น สารที่ มี โ มเลกุ ล ขนาดใหญ่
ประเภทของพอลิ เ มอร จากหนั ง สื อ เรี ย น ในชีวติ ประจ�ำวัน มีมวลโมเลกุลตัง้ แต่ 10,000 ขึน้ ไป ซึง่ เกิดจากสารโมเลกุลเล็กทีเ่ รียกว่1า
รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สำมำรถพบพอลิเมอร์ได้ มอนอเมอร์ (monomer) มารวมตัวกันด้วยการสร้างพันธะโคเวเลนต์
ม.3 เลม 1 หนวยการเรียนรูท ี่ 3 เรือ่ ง พอลิเมอร ในผลิตภัณฑ์อะไรบ้ำง ต่อกัน ซึ่งพอลิเมอร์ส่วนใหญ่ได้จากการสังเคราะห์สารประกอบ
หรือแหลงการเรียนรูอื่นๆ เชน อินเทอรเน็ต ไฮโดรคาร์บอน (สารประกอบอินทรีย์ท่ีมีธาตุคาร์บอนและธาตุ
ไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบ) ซึ่งค�าว่า พอลิเมอร์ มาจากรากศัพท์ภาษากรีกว่า Poly แปลว่า จ�านวนมาก
รวบรวมขอมูล แลวสรุปลงในสมุดประจําตัว
และ Meros แปลว่า ส่วนหรือหน่วย
นักเรียน
3. ใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ น หรือแบงกลุม กลุม ละ มอนอเมอร์ พอลิเมอร์
3 คน รวมกันแลกเปลี่ยนขอมูลที่ไดจากการ 2
พอลิเมอไรเซชัน
สืบคน และอภิปรายเพื่อใหเกิดความเขาใจ

ภาพที่ 3.2 ลักษณะของมอนอเมอร์และพอลิเมอร์


ที่มา : คลังภาพ อจท.

การเรียกชื่อของพอลิเมอร์ท�าได้โดยเรียกชื่อหน่วยย่อยหรือมอนอเมอร์ที่เป็นองค์ประกอบของพอลิเมอร์
แล้วเติมค�าว่า พอลิ- น�าหน้าชื่อของมอนอเมอร์นั้น เช่น พอลิเมอร์ที่มีเอทิลีนเป็นมอนอเมอร์ เรียกว่า พอลิเอทิลีน
พอลิเมอร์ที่มีสไตรีนเป็นมอนอเมอร์ เรียกว่า พอลิสไตรีน พอลิเมอร์ที่มีไวนิลคลอไรด์เป็นมอนอเมอร์ เรียกว่า
พอลิไวนิลคลอไรด์

เอทิลีน เอทิลีน พอลิเอทิลีน

ภาพที่ 3.3 การเรียกชื่อพอลิเมอร์ที่มีเอทิลีนเป็นมอนอเมอร์


ที่มา : คลังภาพ อจท.

พอลิเมอร์สามารถเกิดขึน้ ได้เองตามธรรมชาติ เช่น ไหม ฝ้าย ยางธรรมชาติ และเกิดจากมนุษย์สงั เคราะห์ขนึ้ จาก


ผลิตภัณฑ์ทไี่ ด้จากการกลัน่ ปิโตรเลียม เช่น พลาสติก ไนลอน ซิลโิ คน ซึง่ ในปัจจุบนั พอลิเมอร์เข้ามามีบทบาทต่อการ
ด�ารงชีวติ ของมนุษย์อย่างมาก โดยถูกน�ามาใช้ในกระบวนการอุตสาหกรรมต่างๆ รวมทัง้ น�ามาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ
เช่น ขวดน�า้ ผลิตมาจากพลาสติก ถุงมือแพทย์ผลิตมาจากยางธรรมชาติ ยางรถยนต์ผลิตมาจากยางสังเคราะห์ เสือ้ ผ้า
ผลิตมาจากเส้นใยธรรมชาติและเส้นใยสังเคราะห์
แนวตอบ Key Question
กลองโฟม ขวดนํ้าพลาสติก ยางรถยนต จาน 96
หรือชามพลาสติก ทอประปา

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 พันธะโคเวเลนต (covalent bond) เปนพันธะเคมีที่เกิดจากอะตอม ขอใดเปนมอนอเมอรของพอลิเอทิลีน
ของอโลหะมีการนําอิเล็กตรอนมาใชรวมกัน เกิดเปนสารประกอบโคเวเลนต 1. เอทิล
ซึ่งอาจเกิดจากอะตอมของอโลหะชนิดเดียวกันหรือตางชนิดกันก็ได 2. เอทิลีน
2 พอลิเมอไรเซซัน (polymerization) คือ กระบวนการทางเคมีทสี่ ารโมเลกุล 3. เอทานอล
เล็กหลายๆ โมเลกุล (อาจมีตั้งแต 1,000-10,000 โมเลกุล) เกิดปฏิกิริยารวม 4. เอทิลแอลกอฮอล
ตัวกันภายใตอุณหภูมิและความดันสูง ไดสารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ เรียกวา (วิเคราะหคําตอบ พอลิ เ อทิ ลี น เป น สารโมเลกุ ล ขนาดใหญ ที่
พอลิเมอร เกิดจากโมเลกุลของเอทิลนี หลายๆ โมเลกุลมาตอกัน ดังนัน้ ตอบ
ขอ 2.)

T106
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1.1 ประเภทของพอลิเมอร 4. ครู เ ตรี ย มภาพตั ว อย า งผลิ ต ภั ณ ฑ ป ระเภท
พอลิเมอร มีอยูม ากมายหลายชนิด แตละชนิดจะมีสมบัตแิ ละการเกิดทีแ่ ตกตางกัน ซึง่ สามารถจําแนกประเภท พอลิ เ มอร เช น ยางรถยนต ถุ ง มื อ แพทย
ของพอลิเมอรโดยพิจารณาเกณฑในการจําแนกได ดังนี้
ทอพีวีซี นํ้านม
1. พิจารณาตามลักษณะการเกิด สามารถจําแนกพอลิเมอรออกไดเปน 2 ประเภท ดังนี้ 5. ครูนําภาพผลิตภัณฑตัวอยางมาใหนักเรียน
พอลิเมอรธรรมชาติ (natural polymer) พอลิเมอรสังเคราะห (synthetic polymer) พิจารณาวาเปนผลิตภัณฑพอลิเมอรประเภทใด
• เปนพอลิเมอรที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ • เปนพอลิเมอรที่เกิดขึ้นจากการสังเคราะห 6. ครูสมุ เรียกนักเรียน 2-3 คน โดยครูถามคําถาม
• ตัวอยางเชน โปรตีน ไหม เซลลูโลส แปง • เกิดจากการนํามอนอเมอรมาผานกระบวน นักเรียนตอไปนี้
ยางธรรมชาติ กรดนิวคลีอิก การสังเคราะหพอลิเมอร เรียกวา ปฏิกิริยา • นํา้ นมเปนพอลิเมอรประเภทใด เมือ่ พิจารณา
พอลิเมอไรเซชัน ลักษณะการเกิดเปนเกณฑ
• ตัวอยางเชน พลาสติก ไนลอน
(แนวตอบ พอลิเมอรธรรมชาติ)
ภาพที่ 3.4 ฝายเปนพอลิเมอร ภาพที่ 3.5 เม็ดพลาสติกนําไป • ถุ ง มื อ แพทย เ ป น ผลิ ต ภั ณ ฑ พ อลิ เ มอร
ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ สังเคราะหเปนผลิตภัณฑตาง ๆ ประเภทใด เมื่อพิจารณาลักษณะการเกิด
ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท.
เปนเกณฑ
(แนวตอบ พอลิเมอรธรรมชาติ)
2. พิจารณาตามชนิดของมอนอเมอร สามารถจําแนกพอลิเมอรออกไดเปน 2 ประเภท ดังนี้ • ทอ PVC เปนผลิตภัณฑพอลิเมอรประเภทใด
เมื่อพิจารณาลักษณะการเกิดและชนิดของ
โฮโมพอลิเมอร หรือ พอลิเมอรเอกพันธุ โคพอลิเมอร หรือ พอลิเมอรรวม พอลิเมอรเปนเกณฑ ตามลําดับ
(homopolymer) (copolymer)
(แนวตอบ พอลิเมอรสังเคราะห และโฮโม
• เปนพอลิเมอรที่ประกอบดวยมอนอเมอร • เปนพอลิเมอรที่ประกอบดวยมอนอเมอร
ชนิดเดียวกัน ตางชนิดกัน พอลิเมอร ตามลําดับ)
1 2
• ตัวอยางเชน แปง เซลลูโลส ไกลโคเจน • ตัวอยางเชน โปรตีน พอลิเอสเทอร ไนลอน 6,6
พอลิเอทิลีน ยางเอสบีอาร

ภาพที่ 3.6 โครงสรางของ ภาพที่ 3.7 โครงสรางของ


พอลิเมอรประเภทโฮโมพอลิเมอร พอลิเมอรประเภทโคพอลิเมอร
ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท.

1. พอลิเมอรและมอนอเมอรแตกตางกัน
อยางไร
2. สารตั้งตนที่ใชในการสังเคราะห
พอลิเมอรไดมาจากอะไร
แนวตอบ คําถาม
1. พอลิเมอรมีขนาดโมเลกุลใหญกวา ซึ่งเกิดจาก
วัสดุในชีวิตประจําวัน 97 มอนอเมอรที่เปนโมเลกุลขนาดเล็กมาตอกัน
2. มอนอเมอร

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


สารในขอใดเปนพอลิเมอรรวม 1 ไกลโคเจน เปนพอลิเมอรที่มีมอนอเมอรเปนนํ้าตาลกลูโคสประมาณ
1. แปง 10,000-30,000 โมเลกุล มาเชื่อมตอกันเปนสายยาวหรือโซหลัก และมีการ
2. โปรตีน แตกกิ่งกานสาขามากกวาแปงและอะไมโลเพกติน ไกลโคเจนพบเฉพาะใน
3. เซลลูโลส เซลลสัตว แตไมพบในเซลลพืช
4. ไกลโคเจน 2 ไนลอน หรือพอลิเอไมด คือ พอลิเมอรที่ไดจากปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน
(วิเคราะหคําตอบ แป ง ไกลโคเจน เซลลู โ ลส จั ด เป น โฮโม ของเอไมดและกรดอินทรีย และมีการเติมสารเติมแตงเพื่อทําใหมีสมบัติดีขึ้น
พอลิเมอร เนื่องจากมีกลูโคสเปนมอนอเมอร แตโปรตีนจัดเปน เพื่อใชทดแทนเสนใยธรรมชาติ
พอลิเมอรรวม เนื่องจากมีกรดอะมิโนชนิดตางๆ เปนมอนอเมอร
ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T107
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
7. ครู ถ ามคํ า ถามเพื่ อ ทบทวนความเข า ใจของ 1.2 สมบัติทางกายภาพของพอลิเมอร
นักเรียน ดังนี้ สมบัตทิ างกายภาพของพอลิเมอรขนึ้ อยูก บั โครงสรางของพอลิเมอร ซึง่ โครงสรางของพอลิเมอรแบงออกเปน
3 แบบ ดังนี้
• พอลิเมอรคืออะไร
( แนวตอบ สารประกอบที่ มี โ มเลกุ ล ขนาด พอลิเมอรแบบเสน (linear polymer)
ใหญและมีมวลโมเลกุลมาก ประกอบดวย • เกิดจากมอนอเมอรสรางพันธะโคเวเลนตตอกันเปนสายยาว
หนวยเล็กๆ ของสารทีเ่ หมือนกันหรือตางกัน โซพอลิเมอรเรียงชิดมากกวาโครงสรางแบบอื่น ๆ
มาเชื่อมตอกันดวยพันธะโคเวเลนต) • มีแรงยึดเหนีย่ วตอกันสูง มีความหนาแนนและจุดหลอมเหลวสูง
มีลักษณะแข็งและเหนียว เชน พอลิไวนิลคลอไรด (PVC)
• หากพิจารณาการเกิดของพอลิเมอร สามารถ
พอลิโพรพิลีน (PP) พอลิสไตรีน (PS) พอลิเอทิลีนชนิด
แบงพอลิเมอรออกไดเปนกี่ชนิด อะไรบาง ความหนาแนนสูง (HDPE)
(แนวตอบ 2 ชนิด ไดแก พอลิเมอรธรรมชาติ
และพอลิเมอรสังเคราะห)
พอลิเมอรแบบกิง่ (branched polymer)
• หากพิจารณามอนอเมอรภายในโครงสราง
• โครงสรางจะมีกงิ่ แยกออกไปจากโซหลัก อาจจะเปนกิง่ สัน้ หรือ
พอลิเมอร สามารถแบงพอลิเมอรออกไดเปน กิ่งยาวก็ได ทําใหโซหลักเรียงตัวอยูหางกัน
กี่ชนิด อะไรบาง • มีความหนาแนนและจุดหลอมเหลวตํ่า สามารถยืดหยุนได
(แนวตอบ 2 ชนิด ไดแก โฮโมพอลิเมอรและ แตความเหนียวตํา่ เมือ่ รอนจะออนตัว แตเมือ่ เย็นลงจะแข็งตัว
โคพอลิเมอร) เชน พอลิเอทิลีนชนิดความหนาแนนตํ่า (LDPE)
• หากพิ จ ารณาโครงสร า งของพอลิ เ มอร
สามารถแบงพอลิเมอรออกไดเปนกีป่ ระเภท
อะไรบาง
( แนวตอบ 3 ประเภท ได แ ก พอลิ เ มอร
แบบเสน พอลิเมอรแบบกิ่ง และพอลิเมอร
พอลิเมอรแบบรางแห (network polymer)
แบบรางแห)
• เกิดจากการเชือ่ มโยงกันของพอลิเมอรแบบเสนและพอลิเมอร
แบบกิ่งในลักษณะเปนรางแห
• มีจดุ หลอมเหลวสูง มีความแข็ง แตเปราะหักงาย เมือ่ ขึน้ รูปแลว
ไมสามารถหลอมหรือเปลี่ยนแปลงรูปรางได เชน เมลามีน
เบเคอไลต

ภาพที่ 3.8 โครงสรางของพอลิเมอรแบบตาง ๆ


ที่มา : คลังภาพ อจท.

98

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครู อ าจแนะนํ า ความรู  เ พิ่ ม เติ ม ให กั บ นั ก เรี ย นว า เมื่ อ นํ า พอลิ เ มอร ไ ป โครงสร า งของพอลิ เ มอร แ บบใด เมื่ อ ได รั บ ความร อ นแล ว
ฉายรังสีแกมมา พลังงานจากรังสีจะถูกถายโอนไปสูพอลิเมอร ซึ่งพลังงานนี้ จะไมสามารถหลอมเหลวหรือเปลี่ยนแปลงรูปรางได
สามารถเหนี่ ย วนํ า ให เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงทางเคมี หรื อ การเปลี่ ย นแปลง 1. โครงสรางแบบกิ่ง
ทางโครงสรางของพอลิเมอร ตัวอยางเชน เมื่อนําพอลิเมอรแบบกิ่งไปฉายรังสี 2. โครงสรางแบบเสน
ทําใหหมูฟ ง กชนั บางสวนหลุดจากสายโซของพอลิเมอร และกลายเปนจุดเริม่ ตน 3. โครงสรางแบบรางแห
ของการเกิดพอลิเมอรใหม ทําใหเกิดเปนพอลิเมอรเสนใหมทเี่ กาะอยูบ นพอลิเมอร 4. โครงสรางแบบกิ่งและแบบรางแห
เสนเดิม ซึ่งเปนวิธีการเปลี่ยนแปลงพื้นผิวของพอลิเมอร (วิเคราะหคําตอบ พอลิ เ มอร แ บบร า งแหมี จุ ด หลอมเหลวสู ง
เมื่อนําไปขึ้นรูปจะไมสามารถหลอมหรือเปลี่ยนแปลงรูปรางได
ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T108
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
กิจกรรม
8. ให นั ก เรี ย นแบ ง กลุ  ม กลุ  ม ละ 5-6 คน
การตรวจสอบสมบัติทางกายภาพบางประการของพอลิเมอร
ทํากิจกรรม การตรวจสอบสมบัตทิ างกายภาพ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร บางประการของพอลิเมอร ในหนังสือเรียน
จุดประสงค - การสังเกต รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
- การจําแนกประเภท
เพื่อตรวจสอบสมบัติทางกายภาพของพอลิเมอร - การตีความหมายขอมูล ม.3 เลม 1 หนวยการเรียนรูท ี่ 3 เรือ่ ง พอลิเมอร
และลงขอสรุป
วัสดุอปุ กรณ จิตวิทยาศาสตร โดยให ส มาชิ ก ภายในกลุ  ม แบ ง ภาระและ
1. พอลิเมอรชนิดตาง ๆ 2. นํ้า
- ความสนใจใฝรู
- การทํางานรวมกับผูอื่นได หนาที่รับผิดชอบ
- ถุงใสอาหารชนิดใส 3. บีกเกอร อยางสรางสรรค
- ขวดนํ้าชนิดขุน 4. มีดหรือกรรไกร
- ขวดนํ้าชนิดใส 5. ตะปูหรือเข็มหมุด
- ขวดนมเปรี้ยว
- จานชนิดบาง

วิธปี ฏิบตั ิ
1. ตัดพอลิเมอรแตละชนิดใหมีขนาด 5 cm × 5 cm 2. ทดสอบความแข็งโดยการกดหรือบีบ
5 cm

5 cm

3. ทดสอบความยืดหยุนโดยการดึง บิด หรือพับ 4. ทดสอบการขีดขวนโดยใชตะปูหรือเข็มหมุดขีด

5. ทดสอบความหนาแนน ดังนี้
1) ใสนํ้า 20 cm3 ในบีกเกอร 2) หยอนชิน้ พอลิเมอรแตละชนิดลงในนํา้ สังเกตการจมหรือลอยของพอลิเมอร
นํ้า พอลิเมอร

นํ้า

ภาพที่ 3.9 การทดลองตรวจสอบสมบัติทางกายภาพบางประการของพอลิเมอร


ที่มา : คลังภาพ อจท.

วัสดุในชีวิตประจําวัน 99

ขอสอบเนน การคิด ตารางบันทึก กิจกรรม

ขอใดเปนสาเหตุที่ทําใหพลาสติกแตละชนิดมีสมบัติตางกัน สมบัติทางกายภาพ
1. มีโครงสรางตางกัน พอลิเมอร การจมหรือลอย
ที่นํามาทดสอบ ความทนตอการ
2. มีมอนอเมอรที่เปนองคประกอบตางกัน ความแข็ง ความยืดหยุน
ขีดขวน
ของพอลิเมอร
3. มีกระบวนการผลิตจากเม็ดพลาสติกที่ตางชนิดกัน ในนํ้า
4. ขอ 1. และ 2. ถูกตอง ถุงใสอาหารชนิดใส ออน ยืดหยุนเล็กนอย เกิดรอย ลอย
(วิเคราะหคําตอบ พอลิเมอรมคี วามแข็งและความยืดหยุน ตางกัน ขวดนํ้าชนิดขุน ออน ไมยืดหยุน เกิดรอย จม
เนื่องจากมีโครงสรางและองคประกอบของมอนอเมอรตางกัน ขวดนํ้าชนิดใส แข็ง ไมยืดหยุน เกิดรอย จม
ดังนั้น ตอบขอ 4.) ขวดนมเปรี้ยว ออน ไมยืดหยุน เกิดรอย จม
จานชนิดบาง แข็ง ไมยืดหยุน เกิดรอย ลอย

T109
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
9. นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น อภิ ป รายหลั ง ทํ า
ค�าถามท้ายกิจกรรม
กิจกรรม เพื่อใหไดขอสรุปวา พอลิเมอร
1. พอลิเมอร์แต่ละชนิดมีสมบัติแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
แตละชนิดมีสมบัติทางกายภาพที่แตกตาง 2. พอลิเมอร์ใดมีความหนาแน่นมากที่สุด เพราะเหตุใด
กัน บางชนิดยืดหยุน บางชนิดแข็ง บางชนิด
มีความหนาแนนสูง จึงทําใหวัสดุพอลิเมอร
ถูกนํามาใชประโยชนไดหลากหลาย เชน อภิปรายผลกิจกรรม
พลาสติ ก บางชนิ ด ใช ทํ า ท อ นํ้ า บางชนิ ด จากการท�ากิจกรรม พบว่า พอลิเมอร์แต่ละชนิดจะมีความแข็งและความยืดหยุ่นแตกต่างกัน พอลิเมอร์ที่มีเนื้ออ่อนเมื่อขีด
ด้วยตะปูหรือเข็มหมุดจะเป็นรอยง่ายกว่าพอลิเมอร์ที่มีเนื้อแข็ง พอลิเมอร์ที่มีความหนาแน่นมากจะทนต่อการขีดข่วนและมี
ใช ทํ า ที่ หุ  ม สายไฟฟ า บางชนิ ด นํ า มาใช
ความแข็งมากกว่าพอลิเมอร์ที่มีความหนาแน่นน้อย การลอยหรือจมของพอลิเมอร์ในน�้า จะบอกให้ทราบถึงความหนาแน่นของ
หออาหาร พอลิเมอร์โดยประมาณ เมื่อท�าการหย่อนพอลิเมอร์ลงในน�้า (น�้ามีความหนาแน่น 1.00 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร) พอลิเมอร์ที่มี
10. ครูถามคําถามทายกิจกรรม ความหนาแน่นน้อยกว่าน�้าจะลอยน�้า ส่วนพอลิเมอร์ที่มีความหนาแน่นมากกว่าน�้าจะจมน�้า ดังตารางที่ 3.1

ตารางที่ 3.1 ความหนาแน่นและการจมหรือลอยในน�้าของพอลิเมอร์บางชนิด

ชนิดของพอลิเมอร์ ความหนาแน่น การจมหรือลอยในน�้า


(กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร)

พอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต 1.35-1.38 จมน�้า

พอลิเอทิลีนชนิดความหนาแน่นสูง 0.94-0.97 ลอยน�้า

พอลิไวนิลคลอไรด์ 1.32-1.42 จมน�้า

พอลิเอทิลีนชนิดความหนาแน่นต�่า 0.91-0.92 ลอยน�้า

พอลิโพรพิลีน 0.90-0.91 ลอยน�้า

พอลิสไตรีน 0.90-0.91 ลอยน�้า

แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม พอลิเอไมด์ 1.13-1.35 จมน�้า


1. แตกตางกัน เชน พอลิเมอรที่มีเนื้อออนจะถูก
พอลิคาร์บอเนต 1.20-1.22 จมน�้า
ขี ด ข ว นได ง  า ย พอลิ เ มอร บ างชนิ ด ที่ มี ค วาม
หนาแนนมาก จะมีความแข็งและทนตอการ พอลิแลกติกแอซิด 1.25-1.26 จมน�้า
ขีดขวนมากกวาพอลิเมอรที่มีความหนาแนน
นอย 100
2. พอลิเมอรที่จมนํ้า

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจอธิบายเพิม่ เติมวา สมบัตทิ างกายภาพของพอลิเมอรมคี วามสัมพันธ พอลิเมอรในขอใดมีความหนาแนนตํ่ากวาความหนาแนนของนํ้า
กับโครงสรางของพอลิเมอร ตัวอยางเชน พอลิเมอรที่มีโครงสรางเปนสายโซสั้น 1. พอลิเอไมด
จะมีแรงกระทําระหวางโมเลกุลนอย ทําใหพอลิเมอรมีสมบัติเปนของเหลว 2. พอลิโพรพิลีน
หนืด เชน ซิลิโคนเหลว สวนพอลิเมอรที่มีโครงสรางแบบสายโซที่ขดเปนเกลียว 3. พอลิคารบอเนต
จะมีความยืดหยุนสูงคลายกับสปริง สามารถยืดหดได จึงมีสมบัติเปนยาง เชน 4. พอลิแลกติกแอซิด
ยางพารา พอลิเมอรที่มีโครงสรางแบบโซตรง โมเลกุลจะอยูชิดกัน แรงกระทํา (วิเคราะหคําตอบ พอลิ โ พรพิ ลี น มี ค วามหนาแน น ประมาณ
ระหวางโมเลกุลจึงมากขึ้น พอลิเมอรจึงมีสมบัติเปนของแข็ง เหนียว และ 0.90-0.91 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร มีคาตํ่ากวาความหนาแนน
ทนทาน เชน ถวย ชามพลาสติก พอลิเมอรที่มีโครงสรางแบบโซกิ่ง โมเลกุล ของนํ้า จึงลอยนํ้าได ดังนั้น ตอบขอ 2.)
จะเรียงตัวหางกัน แรงกระทําระหวางโมเลกุลจึงนอยลง ทําใหพอลิเมอรมสี มบัติ
เปนของแข็ง แตหลอมเหลวงาย และพอลิเมอรที่มีโครงสรางแบบรางแห ทําให
พอลิเมอรมสี มบัตเิ ปนของแข็ง ไมยดื หยุน และเมือ่ ไดรบั ความรอนจะไมสามารถ
หลอมเหลว และไมสามารถเปลีย่ นแปลงรูปรางได จึงไมสามารถนํากลับมาหลอม
เพื่อนํากลับมาใชใหมไดอีกครั้ง

T110
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1.3 การใชประโยชนวัสดุประเภทพอลิเมอร 11. ครู เ ป ด สื่ อ Youtube (https://www.
พอลิเมอร์แต่ละชนิดมีโครงสร้างทีแ่ ตกต่างกัน จึงมีสมบัตทิ ตี่ า่ งกัน ดังนัน้ พอลิเมอร์สามารถน�าไปใช้ประโยชน์ youtube.com/watch?v=H0-R6im6JCU)
ได้หลายรูปแบบ ดังนี้ 12. ใหนกั เรียนศึกษาสือ่ Youtube และอธิบายวา
1. พลาสติก (plastic) เป็นพอลิเมอร์สังเคราะห์ที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมาก พลาสติก เมื่ อ พลาสติ ก โดนความร อ นจะอ อ นตั ว ลง
แต่ละชนิดจะมีสมบัติที่แตกต่างกันไปตามโครงสร้างการเชื่อมต่อของมอนอเมอร์ และลักษณะของมอนอเมอร์ที่เป็น
องค์ประกอบ หากพิจารณาลักษณะของพลาสติกเมือ่ ได้รบั ความร้อน สามารถแบ่งพลาสติกออกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
และมีรูปรางที่เปลี่ยนแปลงไป แตเมื่อเย็นลง
จะกลับมาแข็งตัวเชนเดิม เรียกพลาสติก
ประเภทนี้วา เทอรมอพลาสติก
เทอร์มอพลาสติก (thermoplastic)
13. ครูถามนักเรียนวา นักเรียนจะเลือกกลอง
• มีโครงสร้างแบบเส้นและแบบกิ่ง
พลาสติกใสอาหารประเภทใดที่สามารถนํา
• เมื่อได้รับความร้อนจะอ่อนตัว และเมื่อเย็นลง
จะแข็งตัว เขาไมโครเวฟเพื่ออุนอาหาร
• น�าไปหลอมเหลว เพื่อน�ากลับมาใช้ใหม่ได้ (แนวตอบ พลาสติกเทอรมอเซต)
ภาพที่ 3.10 ผลิตภัณฑ์จากพอลิเมอร์ประเภทเทอร์มอพลาสติก • ตัวอย่างเช่น เทฟลอน ไนลอน 14. ใหนักเรียนสืบคนขอมูลเกี่ยวกับพลาสติก
ที่มา : คลังภาพ อจท.
พอลิไวนิลคลอไรด์ พอลิเอทิลีน พอลิโพรพิลีน ประเภทเทอร ม อพลาสติ ก และพลาสติ ก
เทอร ม อเซต บั น ทึ ก ลงในสมุ ด ประจํ า ตั ว
พลาสติกเทอร์มอเซต (thermosetting plastic)
นักเรียน รวบรวมขอมูล แลวนําขอมูลมา
• มีโครงสร้างแบบร่างแห
• เมื่อขึ้นรูปด้วยความร้อนหรือแรงดันแล้ว
วิเคราะหเปรียบเทียบความแตกตาง
ไม่สามารถน�ากลับมาขึ้นรูปใหม่ได้อีก 15. ครู สุ  ม ตั ว แทนนั ก เรี ย นเพื่ อ นํ า เสนอข อ มู ล
• ทนความร้อนและความดันได้ดี หนาชั้นเรียน
• หากมีอุณหภูมิสูงมาก จะแตกและไหม้เป็นเถ้า 16. ครูคอยเสริมและเพิม่ เติมขอมูลใหกบั ตัวแทน
• ตัวอย่างเช่น เมลามีน ซิลิโคน พอลิยูรีเทน นักเรียนที่ออกมานําเสนอ

ภาพที่ 3.11 ผลิตภัณฑ์จากพอลิเมอร์ประเภท


พลาสติกเทอร์มอเซต
ที่มา : คลังภาพ อจท.
Science
Focus กระบวนการผลิตเม็ดพลาสติก
กระบวนการผลิตเม็ดพลาสติกเริ่มจากการน�าสารประกอบไฮโดรคาร์บอน (สารประกอบที่มีคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็น
องค์ประกอบหลัก) ทีม่ ขี นาดเล็ก มาท�าปฏิกริ ยิ ากันจนได้เป็นสายโซ่ยาว เรียกว่า พอลิเมอร์ โดยพอลิเมอร์ทสี่ งั เคราะห์ได้จะถูกน�าไป
ขึ้นรูปเป็นเม็ดพลาสติก และผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ต่อไป ตัวอย่างเช่น การผลิตเม็ดพลาสติกพอลิเอทิลีน เริ่มต้นจากการน�า
แกสเอทิลีนมาเติมตัวเร่งปฏิกิริยาที่เหมาะสม โมเลกุลขนาดเล็ก ๆ ของแกสเอทิลีนจ�านวนมากจะเข้ามาต่อกันเป็นโมเลกุลยาว
ได้เป็นพอลิเอทิลีนที่มีสมบัติเหมาะสมส�าหรับน�าไปขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น ขวด ถุง ของเล่นเด็ก

วัสดุในชีวิตประจําวัน 101

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


ขอใดเปนผลิตภัณฑที่ผลิตมาจากเทอรมอพลาสติก ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจาก QR Code 3D เรื่อง ไนลอน
1. โฟม
2. สายไฟ
3. ทอพีวีซี
4. เทปกาว
(วิเคราะหคําตอบ ท อ พี วี ซี ทํ า มาจากพอลิ ไ วนิ ล คลอไรด ซึ่ ง ไนลอน
เป น พลาสติ ก ประเภทเทอร ม อพลาสติ ก เมื่ อ ได รั บ ความร อ น www.aksorn.com/interactive3D/RK932
แลวจะออนตัวลง สามารถนําไปหลอมเพื่อนํากลับมาใชใหมได
ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T111
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
17. ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจวา พอลิเมอร พลาสติกถูกนํามาใชผลิตเครือ่ งใชตา ง ๆ ในบาน ไมวา จะเปนเสือ้ ผา ของเลนเด็ก วัสดุกอ สราง ฉนวนกันความรอน
และผลิตภัณฑอื่น ๆ อีกมากมาย เนื่องจากพลาสติกมีสมบัติพิเศษหลายประการ เชน มีความเหนียว ทําให
ตางมีโครงสรางและสมบัติทางกายภาพที่ คงรูปได ทนตอสารเคมี ทนตอความรอน ทนตอความชื้น จึงสามารถปรับใหเหมาะสมกับการใชงานที่แตกตางกัน
แตกตางกัน จึงทําใหพอลิเมอรถูกนํามาใช ไดอยางหลากหลาย
ประโยชนไดแตกตางกัน
18. ให นั ก เรี ย นสื บ ค น ข อ มู ล เกี่ ย วกั บ การใช พอลิเอทิลีน (polyethylene)
ประโยชนของวัสดุประเภทพอลิเมอร แลว • มอนอเมอร คือ เอทิลีน
สรุปลงในสมุดประจําตัวนักเรียน • มีลักษณะเหนียว ใส ทนตอสารเคมี
นํ้าผานไมได ไมทนความรอน
19. ให นั ก เรี ย นศึ ก ษาข อ มู ล เพิ่ ม เติ ม จาก QR • นําไปใชทําถุงบรรจุของเย็น ถุงขยะ
Code เรื่อง การใชประโยชนของพลาสติก ของเลนเด็ก ดอกไมพลาสติก

ภาพที่ 3.12 ของเลนเด็กผลิตจากพอลิเอทิลีน


ที่มา : คลังภาพ อจท.

พอลิสไตรีน (polystyrene)
• มอนอเมอร คือ สไตรีน
• มีลักษณะแข็ง แตเปราะ ไมทนตอ
ตัวทําละลายอินทรีย ทนตอกรด-เบส
ไมนําไฟฟา ไมทนความรอน
• นําไปใชทําชิ้นสวนของตูเย็น ตลับเทป
กลองใส โฟมบรรจุอาหาร วัสดุลอยนํ้า
ภาพที่ 3.13 โฟมสําหรับบรรจุอาหารผลิตจากพอลิสไตรีน
ที่มา : คลังภาพ อจท.

พอลิไวนิลคลอไรด (polyvinylchloride)
• มอนอเมอร คือ ไวนิลคลอไรด
• มีลักษณะแข็ง คงรูป ทนตอ
ความชื้น ทนตอสารเคมี
• นําไปใชทําทอพีวีซี กระเบื้องปูพื้น
ฉนวนหุมสายไฟฟา ภาชนะบรรจุสารเคมี
ภาพที่ 3.14 ทอพีวีซีผลิตจากพอลิไวนิลคลอไรด
ที่มา : คลังภาพ อจท.

102 การใชประโยชนของพอลิเมอร

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ให นั ก เรี ย นศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม ขอใดคือพอลิเมอรที่นํามาใชทําถุงขยะ ภาชนะ ดอกไมพลาสติก
จาก QR Code เรื่อง การใช 1. พอลิสไตรีน
ประโยชนของพอลิเมอร 2. พอลิเอทิลีน
3. พอลิไวนิลคลอไรด
4. พอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต
(วิเคราะหคําตอบ
1. พอลิสไตรีนนํามาใชทาํ โฟมบรรจุอาหาร วัสดุลอยนํา้ กลองใส
ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจาก QR Code 3D เรื่อง โฟม 2. พอลิ เ อทิ ลี น นํ า มาใช ทํ า ถุ ง ขยะ ภาชนะ ฟ ล  ม ถ า ยภาพ
ดอกไมพลาสติก
3. พอลิไวนิลคลอไรดนํามาใชทําทอพีวีซี ฉนวนหุมสายไฟ
4. พอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลตนํามาใชทําแห อวน ขวดนํ้าอัดลม
โฟม ดังนั้น ตอบขอ 2.)
www.aksorn.com/interactive3D/RK931

T112
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
พอลิเตตระฟลูออโรเอทิลีน
(polytetrafluoroethylene) หรือเทฟลอน
20. ครูสุมเรียกนักเรียน 2 คน ออกมานําเสนอ
การใชประโยชนของวัสดุประเภทพอลิเมอร
• มอนอเมอร คือ เตตระฟลูออโรเอทิลีน
• มีลักษณะเหนียว ทนสารเคมี ทนความรอน หนาชั้นเรียน
ผิวลื่น ทนแรงกระแทก 21. ครูแจกบัตรภาพเกีย่ วกับวัสดุในชีวติ ประจําวัน
• นําไปใชเคลือบภาชนะดานใน 1ไมใหอาหาร ตางๆ ใหกับนักเรียนแตละคน และครูถาม
ติดภาชนะ ฉนวนไฟฟา ปะเก็น แหวนลูกสูบ ภาพที่ 3.15 เทฟลอนเคลือบกระทะผลิต
จากพอลิเตตระฟลูออโรเอทิลีน นักเรียนวา วัสดุในบัตรภาพเปนวัสดุชนิดใด
ลูกปนในเครื่องยนต
ที่มา : คลังภาพ อจท. มีมอนอเมอรชนิดใด และมีสมบัตเิ ปนอยางไร
22. ครูและนักเรียนรวมกันระบุชนิดและสมบัติ
Science in Real Life
เมลามีน เปนพลาสติกเทอรมอเซต
ทางกายภาพจากวัสดุในบัตรภาพ
ที่มีสารฟอรมาลดิไฮดเปนองค2ประกอบ 23. ให นั ก เรี ย นทํ า แบบฝ ก หั ด รายวิ ช าพื้ น ฐาน
พอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต
(polyethylene terephthalate) หรือที่รูจักกันในชื่อ ฟอรมาลิน เมลามีน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 เรื่อง
นิยมนํามาทําภาชนะใสอาหาร ดังนั้น
• มอนอเมอร คือ ไดเมทิลเทเรฟทาเลต หากนําภาชนะเมลามีนเขาเตาไมโครเวฟ
พอลิเมอร
กับเอทิลีนไกลคอล หรือนําอาหารที่ปรุงดวยความรอนสูง
• มีลักษณะแข็ง งายตอการยอมสี ทนความชื้น เสร็จใหม ๆ ใสในภาชนะ หรือใสนํ้ารอน
เหนียว ทนตอการขัดถู มาก ๆ จะทําใหมกี ารซึมของสารฟอรมาล-
• นําไปใชทําเสนใย แห อวน ขวดนํ้าอัดลม ดิไฮดออกมา ถาออกมาในปริมาณมาก
ภาพที่ 3.16 ขวดนํ้าผลิตจาก ขวดนํ้าดื่มชนิดแข็งและใส จะเปนอันตรายตอผูบริโภคได
พอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต
ที่มา : คลังภาพ อจท.

พอลิเมลามีนฟอรมาลดิไฮด
(polymelamine formaldehyde) หรือเมลามีน
• มอนอเมอร คือ เมลามีนกับฟอรมาลดิไฮด
• มีลักษณะทนความรอน ทนนํ้า ทนสารเคมี
• นําไปใชทําเครือ่ งใชในครัว ชอน สอม ตะเกียบ
จาน ชาม

1. ผลิตภัณฑชนิดหนึง่ มีสมบัตเิ หนียว ใส ทนตอ


สารเคมี นํา้ ผานไมได ไมทนความรอน ผลิตภัณฑนี้
ผลิตมาจากพอลิเมอรชนิดใด
ภาพที่ 3.17 เมลามีนผลิตจาก
2. ถานําสไตรีนมารวมกับ
พอลิเมลามีนฟอรมาลดิไฮด
ไวนิลคลอไรดเปนพอลิเมอร
ที่มา : คลังภาพ อจท.
พอลิเมอรนี้จะมีสมบัติอยางไร
แนวตอบ คําถาม
วัสดุในชีวิตประจําวัน 103 1. พอลิเอทิลีน
2. มีลักษณะแข็ง ทนตอสารเคมี ไมนําไฟฟา

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ขอใดคือผลิตภัณฑที่มีมอนอเมอรเปนเมลามีนกับฟอรมาลดิไฮด 1 ปะเก็ น คื อ วั ส ดุ ที่ มี ลั ก ษณะเป น แผ น ใช ป ระกอบในชิ้ น ส ว นเพื่ อ กั้ น
1. นํ้าหอม ระหวางหนาผิวสัมผัสของวัสดุ 2 ชิ้นที่จะนํามาประกบติดกัน ทําหนาที่ปองกัน
2. ตะเกียบ การรั่วไหลของของเหลว หรือการรั่วไหลของอากาศ
3. ลูกเหม็น 2 ฟอรมาลิน คือ สารละลายซึ่งมีแกสฟอรมาลดิไฮดละลายอยูรอยละ 40
4. คอนกรีต นํามาใชเปนนํ้ายาฆาเชื้อโรคและนํ้ายาดองศพ
(วิเคราะหคําตอบ เมลามีนฟอรมาลดิไฮดเปนมอนอเมอรของ
พอลิ เ มลามี น ฟอร ม าลดิ ไ ฮด ซึ่ ง นํ า ไปใช ทํ า เครื่ อ งใช ใ นครั ว
เชน ชอน สอม ตะเกียบ ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T113
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเข้าใจ
24. ใหนกั เรียนนําความรู เรือ่ ง สมบัตทิ างกายภาพ 2. ยาง (rubber) เปนพอลิเมอรที่มีความยืดหยุนสูง จึงทําเปนรูปรางตาง ๆ ไดงาย มีความทนทานมาก
นํามาทําเครื่องมือเครื่องใชตาง ๆ ไดหลายชนิด เชน ยางรถ ลูกบอล รองเทา ยางลบ โดยยางแบงออกไดเปน
และการใช ป ระโยชน ข องวั ส ดุ พ อลิ เ มอร 2 ชนิด ดังนี้
มาออกแบบอุปกรณ เพือ่ อํานวยความสะดวก 1) ยางธรรมชาติ (natural rubber) เปนพอลิเมอรที่ประกอบ
ในชีวติ ประจําวัน 1 ชนิด โดยระบุวสั ดุประเภท ดวยธาตุคารบอนและไฮโดรเจน เรียกวา พอลิไอโซพรีน (polyisoprene) มี
พอลิ เ มอร ที่ เ ลื อ กนํ า มาอธิ บ ายสมบั ติ ท าง มอนอเมอรเปนไอโซพรีน (isoprene) นํ้ายางสดจะมีลักษณะขน สีขาวขุน
กายภาพ และให เ หตุ ผ ลที่ เ ลื อ กนํ า มาใช คลายนํ้านม เมื่อแยกเนื้อยางออกมาจากนํ้ายางจะเรียกวา ยางดิบ
ลงในกระดาษ A4 ตกแตงใหสวยงาม และ ตัวอยางยางธรรมชาติ เชน ยางพารา ซึ่งเปนยางที่ไดจาก
นําเสนอหนาชั้นเรียน ตนยางพารา มีสมบัติตานทานตอแรงดึงสูง ทนตอการขัดถู ยืดหยุนไดดี
และไมละลายนํา้ แตขอ เสีย คือ เมือ่ อยูใ นบริเวณทีม่ อี ณุ หภูมติ าํ่ กวาอุณหภูมหิ อ ง
จะมีความแข็งและเปราะ ไมทนตอตัวทําละลายอินทรียและนํ้ามันเบนซิน
การใชประโยชนจากยางธรรมชาติ ไดแก การนํามาใชทําถุงมือแพทย ภาพที่ 3.18 นํ้ายางจากตนยางพารา
ถุงยางอนามัย ฟองนํ้าสําหรับที่นอนและหมอน ที่มา : คลังภาพ อจท.
2) ยางสังเคราะห (synthetic rubber) เปนพอลิเมอรที่สังเคราะหขึ้นจากมอนอเมอรที่ไดจากการกลั่น
ปโตรเลียม ยางสังเคราะหมีความทนทานตอการขัดถูและการสึกกรอน มีความยืดหยุนแมมีอุณหภูมิตํ่า ทนตอนํ้ามัน
และตัวทําละลายอินทรีย

ภาพที่ 3.19 พอลิสไตรีนบิวทาไดอีน (polystyrene butadiene) หรือ ภาพที่ 3.20 พอลิบิวทาไดอีน (polybutadiene) หรือยางบีอาร
ยางเอสบีอาร (SBR) นํามาใชทํายางรถยนต พื้นรองเทา สายพาน นํามาใชทํายางรถยนต ยางลอเครื่องบิน
ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท.

HOTS
(คําถามทาทายการคิดขั้นสูง)

ยางธรรมชาติไมทนตอตัวทําละลายอินทรีย
นักเรียนจะมีวิธีการปรับปรุงยางธรรมชาติอยางไรใหมีสมบัติที่ดีขึ้น
แนวตอบ H.O.T.S.
ทําไดโดยกระบวนการวัลคาไนเซชันดวยการ 104
เติมกํามะถันลงในยางธรรมชาติ

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูแนะนําเกี่ยวกับวัสดุที่ใชทําหนากากอนามัยวา สวนใหญผลิตมาจาก ข อ ใดคื อ เกณฑ ที่ ใ ช ใ นการแยกพลาสติ ก ออกเป น เทอร ม อ
ผาสปนดบอนดซ่ึงเปนเสนใยสังเคราะหจากพอลิโพรพิลีน มีสมบัติยืดหยุน พลาสติกและพลาสติกเทอรมอเซต
นํ้าหนักเบา ทนตอแรงดึง ไมดูดซับนํ้า จึงนิยมนํามาผลิตหนากากอนามัยและ 1. ความหนาแนน
เย็บเปนแบบจีบ 2-3 ชั้น เพื่อใหผูใชหายใจไดสะดวกขึ้น หนากากอนามัยมี 2. ความคงทนตอกรด-เบส
2 ดาน คือ ดานหนึ่งมีสมบัติชวยดูดซับและกักเก็บของเหลวไดดี อีกดานหนึ่ง 3. การละลายในตัวทําละลายอินทรีย
มักมีสีและเคลือบสารที่ปองกันการซึมผานของนํ้า สารคัดหลั่ง การใชงานจึง 4. การเปลี่ยนแปลงเมื่อไดรับความรอน
ควรหันดานที่มีสีไปทางดานนอก ชวยลดโอกาสการแพรกระจายของเชื้อไวรัส (วิเคราะหคําตอบ เทอร ม อพลาสติ ก เป น พลาสติ ก ที่ เ มื่ อ ได รั บ
โคโรนาสายพันธุใหม 2019 ได ความรอนแลวจะหลอมเหลว และกลับมาแข็งตัวใหมอีกครั้งเมื่อ
เย็นตัวลง สวนพลาสติกเทอรมอเซตเปนพลาสติกที่เมื่อไดรับ
ความรอนที่สูงมากเกินไป จะแตกหักและไมสามารถคืนรูปทรงได
ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T114
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น สรุ ป ความรู  เ กี่ ย วกั บ
3. เสนใย (fibre) เปนพอลิเมอรที่มีโครงสรางโมเลกุลเปนเสนยาว จึงเหมาะสําหรับการนํามารีดและปน สมบัติทางกายภาพและการใชประโยชนของวัสดุ
เปนเสนดาย สามารถจําแนกประเภทและลักษณะของเสนใยได ดังนี้
ประเภทพอลิเมอร แลวใหนกั เรียนสรุปความเขาใจ
เสนใยธรรมชาติ เปนผังมโนทัศน เรือ่ ง พอลิเมอร ลงในกระดาษ A4
• เสนใยจากพืช คือ เสนใยเซลลูโลส ไดจากสวนตาง ๆ ของพืช เชน ฝาย นุน ลินิน พรอมนําเสนอในรูปแบบที่นาสนใจ
ปาน ปอ โดยเสนใยที่นํามาใชมากที่สุด คือ ฝาย
• เสนใยจากสัตว คือ เสนใยโปรตีน เชน ขนแกะ ขนแพะ รังไหม
ขัน้ ประเมิน
ขอดี ดูดซับนํ้าไดดี ระบายอากาศไดดี ตรวจสอบผล
ขอจํากัด เมื่อถูกความชื้นจะขึ้นราไดงาย เมื่อไดรับความรอนจะหดตัว 1. ตรวจแบบทดสอบกอนเรียน หนวยการเรียนรู
ภาพที่ 3.21 เสนใยฝาย
ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่ 3 วัสดุในชีวิตประจําวัน
เสนใยกึง่ สังเคราะห
2. ตรวจแบบฝกหัดรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 เรื่อง พอลิเมอร
• เซลลูโลสแอซีเตต เกิดจากปฏิกิริยาระหวางเซลลูโลสกับกรดแอซีติกเขมขน โดยมี
กรดแอซีติกเปนตัวเรงปฏิกิริยามีสมบัติคลายเซลลูโลส 3. ตรวจผังมโนทัศน เรื่อง พอลิเมอร
• เรยอนมีสมบัติคลายขนสัตว ไหม ลินิน หรือฝาย 4. ตรวจสมุดประจําตัวนักเรียน
ขอดี นํ้าหนักเบา ไมดูดซับความรอน ดูดซับเหงื่อไดดี 5. ตรวจสอบผลการปฏิ บั ติ กิ จ กรรม การ
ภาพที่ 3.22 เสนใยเรยอน ตรวจสอบสมบั ติ ท างกายภาพบางประการ
ที่มา : คลังภาพ อจท. ของพอลิเมอร
เสนใยสังเคราะห 6. สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม จากการทํา
• พอลิเอไมด เชน ไนลอน 6 ไนลอน 6,6 เปนพอลิเมอรที่เกิดจากปฏิกิริยาระหวาง
กิจกรรมในชั้นเรียน
เอมีนกับกรดคารบอกซิลิก 7. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยสังเกต
• พอลิเอสเทอร เชน ดาครอน เปนพอลิเมอรระหวางเอทิลีนไกลคอลกับไดเมทิล ความมีวนิ ยั ใฝเรียนรู และมุง มัน่ ในการทํางาน
เทเรฟทาเลต
ขอดี นํ้าหนักเบา ทนตอจุลินทรีย ทนตอเชื้อรา แบคทีเรีย ไมยบั งาย
ภาพที่ 3.23 เสนใยไนลอน ไมดดู ซับนํา้ ทนตอสารเคมี ซักงาย และแหงเร็ว
ที่มา : คลังภาพ อจท.

Science
Focus แรใยหิน
แรใยหิน (asbestos) เปนแรที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ มีลักษณะเปนเสนใยละเอียด ประกอบดวยธาตุแมกนีเซียม เหล็ก ซิลิเกต
และธาตุอื่น ๆ มีสมบัติทนไฟ ไมนําความรอนและไฟฟา ทนกรด-เบสไดดี นํามาใชเปนสวนผสมในผลิตภัณฑหลายชนิด
เชน ผาเบรก ฉนวนกันความรอน กระเบื้องมุงหลังคา ฝาเพดาน แตแรใยหินเปนเสนใยขนาดเล็ก ฟุงกระจายไดงายในอากาศ
กอใหเกิดอันตรายตอรางกายหากสูดดมหรือกิน เชน โรคปอดอักเสบ โรคมะเร็งปอด

วัสดุในชีวิตประจําวัน 105

กิจกรรม สรางเสริม แนวทางการวัดและประเมินผล


ใหนักเรียนสืบคนขอมูลเกี่ยวกับเสนใยตางๆ ที่นํามาผลิตผา ครูวัดและประเมินผลความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง วัสดุในชีวิตประจําวัน
แลวใหนักเรียนสรุปขอมูลลงในกระดาษ A4 และนําเสนอขอมูล ไดจากการทําผังมโนทัศน เรือ่ ง พอลิเมอร โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผล
หนาชั้นเรียน จากแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ที่อยูในแผนการจัดการเรียนรู
ประจําหนวยการเรียนรูที่ 3
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
แบบประเมินผลงานแผนผังมโนทัศน์
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
ระดับคุณภาพ
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1

กิจกรรม ทาทาย
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ที่กาหนด
2 ความถูกต้องของเนื้อหา
3 ความคิดสร้างสรรค์
4 ความเป็นระเบียบ
รวม
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
............../................./................
เกณฑ์ประเมินแผนผังมโนทัศน์

ใหนักเรียนนําความรูเกี่ยวกับประเภทของเสนใยที่นํามาผลิต
ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
1. ผลงานตรงกับ ผล งา น สอดค ล้ องกั บ ผ ล ง า น ส อด ค ล้ อ งกั บ ผลงานสอดคล้ อ งกั บ ผลงานไม่ ส อดคล้ อ ง
จุดประสงค์ที่ จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ บ า ง กับจุดประสงค์

เสื้อผา โดยใหนักเรียนวิเคราะหสมบัติของเสนใยที่นํามาใชทอ
กาหนด ประเด็น
2. ผลงานมีความ เนื้ อ หาสาระของผลงาน เนื้ อ หาสาระของผลงาน เ นื้ อ ห า ส า ร ะ ข อ ง เ นื้ อ ห า ส า ร ะ ข อ ง
ถูกต้องของ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ผลงานถูกต้องเป็นบาง ผลงานไม่ถูกต้องเป็น
เนื้อหา ประเด็น ส่วนใหญ่
3. ผลงานมีความคิด ผ ล ง า น แ ส ด ง อ อ ก ถึ ง ผลงานมี แ นวคิ ด แปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผ ล ง า น ไ ม่ แ ส ด ง

เปนเสื้อผา และเลือกใชประเภทของเสื้อผาใหเหมาะสม
สร้างสรรค์ ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ใหม่ แ ต่ ยั ง ไม่ เ ป็ น ระบบ แ ต่ ยั ง ไ ม่ มี แ น ว คิ ด แนวคิดใหม่
แปลกใหม่และเป็นระบบ แปลกใหม่
4. ผลงานมีความ ผ ล ง า น มี ค ว า ม เ ป็ น ผลงานส่ ว นใหญ่ มี ค วาม ผลงานมี ค วามเป็ น ผลงานส่ ว นใหญ่ ไ ม่
เป็น ระเบียบ ระเบี ย บแสดงออกถึ ง เ ป็ น ร ะ เ บี ย บ แ ต่ ยั ง มี ร ะ เ บี ย บ แ ต่ มี เป็นระเบียบและมีข้อ
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย ข้อบกพร่องบางส่วน บกพร่องมาก

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14-16 ดีมาก
11-13 ดี
8-10 พอใช้
ต่ากว่า 7 ปรับปรุง

T115
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Lecture Method)


การเตรียมการบรรยาย
1. ครูเตรียมภาพกิจกรรม Engaging Activity Check for Understanding
2. ภาพตัวอยางผลิตภัณฑทที่ าํ จากเซรามิกเพือ่ ใช พิจารณาขอความตามความเขาใจของนักเรียนวาถูกหรือผิด แลวบันทึกลงในสมุดบันทึก
ประกอบการสอน ถูก/ผิด

3. ครูเตรียมขอมูลเกี่ยวกับเซรามิก สมบัติทาง 1. เซรามิก (ceramic) เปนผลิตภัณฑที่ทําจากวัตถุดิบในธรรมชาติ เชน ดิน หิน ทราย


กายภาพ วั ต ถุ ดิ บ ในการทํ า เซรามิ ก และ 2. ดินเปนองคประกอบหลักในการทําผลิตภัณฑเซรามิก

มุ ด
กระบวนการผลิตวัสดุประเภทเซรามิก

นส
3. การขึ้นรูปโดยการเทแบบ นิยมใชทําไห โอง หรือกระถาง

งใล
4. ครูเตรียมตัวอยางวัสดุประเภทเซรามิก เชน

ทึ ก
4. แกวโอปอลนิยมนําไปใชทําเครื่องประดับและพลอยเทียม

บั น
หม อ ดิ น เผา แจกั น ดิ น เผา แก ว นํ้ า จาน 5. ปูนซีเมนตขาวเหมาะสําหรับนําไปใชในงานกอสรางที่ไมรับนํ้าหนักมาก เชน งานกอ งานฉาบ
กระเบื้อง กระเบื้องปูพื้น กระจกใส

ขัน้ สอน
การบรรยาย E ngaging ใหนักเรียนพิจารณาภาพตอไปนี้ แลวรวมกันวิเคราะหวา ผลิตภัณฑหมายเลขใด
ทําจากเซรามิก และนักเรียนใชเกณฑใดในการจําแนก
Activity
1. ใหนักเรียนตรวจสอบความรูของตนเองกอน
เขาสูการเรียนการสอนจากกรอบ Check for
Understanding ในหนั ง สื อ เรี ย นรายวิ ช า
พื้ น ฐานวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ม.3
เลม 1 หนวยการเรียนรูที่ 3 เรื่อง เซรามิก
โดยบันทึกลงในสมุดประจําตัวนักเรียน
2. ใหนักเรียนทํากิจกรรม Engaging Activity ภาพที่ 1 ภาพที่ 2 ภาพที่ 3
โดยใหนักเรียนพิจารณาภาพ แลววิเคราะห
วา ภาพใดเปนผลิตภัณฑเซรามิก จากหนังสือ
เรี ย นรายวิ ช าพื้ น ฐานวิ ท ยาศาสตร แ ละ
เทคโนโลยี ม.3 เลม 1 หนวยการเรียนรูที่ 3
เรื่อง เซรามิก

ภาพที่ 4 ภาพที่ 5 ภาพที่ 6


ภาพที่ 3.24 ผลิตภัณฑในชีวิตประจําวันที่ผลิตจากวัสดุชนิดตาง ๆ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
แนวตอบ Check for Understanding
1. ถูก 2. ถูก 3. ผิด 106
4. ผิด 5. ผิด

แนวตอบ Engaging Activity


ภาพที่ 1 ภาพที่ 2 และภาพที่ 6 โดยจําแนกจากสมบัติของเซรามิก
ที่มีความแข็ง แตเปราะไมนําไฟฟาและไมนําความรอน

T116
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
การบรรยาย
Key 2 เซรามิก 3. ครูถามคําถาม Key Question
Question เซรามิก มีความหมายเดิมว่า ศิลปะเกี่ยวกับเครื่องปันดินเผา 4. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเซรามิก แลว
ผลิตภัณฑ์รอบตัวใดบ้ำง มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกว่า เครามอส (keramos) แปลว่า ถามคําถามนักเรียนเกีย่ วกับเซรามิกวา เซรามิก
ทีเ่ ปนเซรำมิก ผลิตภัณฑ์ที่ท�าจากดินโดยผ่านกระบวนการเผาให้ความร้อน คืออะไร
( แนวตอบ ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ทํ า จากวั ต ถุ ดิ บ ใน
ธรรมชาติ เชน ดิน หิน ทราย แรธาตุตางๆ
ดังนั้น เซรามิก จึงหมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ท�าจากวัตถุดิบในธรรมชาติ เช่น ดิน หิน ทราย และแร่ธาตุต่าง ๆ นํามาผสมกันแลวขึ้นเปนรูปทรงตางๆ แลว
น�ามาผสมกันแล้วขึ้นเป็นรูปทรงต่าง ๆ แล้วน�าไปเผาเพื่อให้คงรูป ท�าให้มีโครงสร้างที่แข็งแรง ทนต่อการสึกกร่อน
แต่มีความเปราะ เป็นฉนวนความร้อนและฉนวนไฟฟ้า เซรามิกถูกน�าไปใช้ในการผลิตเครื่องใช้ต่าง ๆ เช่น ถ้วย ชาม นําไปเผาเพื่อใหคงรูป)
แก้ว แจกัน อิฐ ปูนซีเมนต์ เครื่องสุขภัณฑ์ กระเบื้อง รวมทั้งน�ามาใช้ในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์
การสื่อสาร และอวกาศ ในปัจจุบันสามารถจ�าแนกประเภทของเซรามิกออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้

เซรามิกแบบดั้งเดิม (traditional ceramics)


เป็นเซรามิกทีป่ ระกอบด้วยดิน ซิลกิ า และเฟลด์สปาร์ เซรามิก
ดั้งเดิมน�ามาใช้ท�าวัสดุทนไฟ ซีเมนต์ เครื่องสุขภัณฑ์
กระเบื้อง อิฐ จาน ชาม เครื่องปันดินเผา เครื่องลายคราม

ภาพที่ 3.25 จาน ชาม ท�ามาจากเซรามิกแบบดั้งเดิม


ที่มา : คลังภาพ อจท.

เซรามิกสมัยใหม่ (advanced ceramics)


เป็นเซรามิกทีผ่ า่ นกระบวนการท�าให้มคี วามบริสทุ ธิส์ งู และมี
การควบคุมองค์ประกอบทางเคมี ได้แก่ คาร์ไบด์ (carbides)
อะลูมนิ า (alumina) เซอร์โคเนีย (zirconia) เซรามิกสมัยใหม่
นิ ย มน� า ไปใช้ ง านในทางด้ า นวิ ศ วกรรม เช่ น ผลิ ต
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในโทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์
ท� า วั ส ดุ ฉ นวนของหั ว เที ย น ท� า อุ ป กรณ์ ท างการแพทย์
เช่น กระดูกเทียม ฟันปลอม ท�าผิวของกระสวยอวกาศ ภาพที่ 3.26 วีเนียร์ (veneers) เป็นฟันปลอมชนิดหนึ่ง
ที่ท�าจากเซรามิกสมัยใหม่ ใช้ในการเคลือบผิวฟัน
ที่มา : คลังภาพ อจท.

วัสดุในชีวิตประจําวัน 107 แนวตอบ Key Question


ชามกระเบื้อง แจกัน หมอดินเผา แกว

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


ขอใดไมใชผลิตภัณฑที่ทําจากเซรามิก ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจากภาพยนตรสารคดีสั้น twig เรื่อง วัตถุที่
1. กระจก แข็งแกรง (https://www.twigaksorn.com/fifilm/glossary/strong-material-
2. ชามตราไก 7137/)
3. ยางรถยนต
4. กระถางตนไม
(วิเคราะหคําตอบ กระจก ชามตราไก กระถางต น ไม เป น
ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ทํ า จากเซรามิ ก ส ว นยางรถยนต เ ป น พอลิ เ มอร
สังเคราะห ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T117
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
การบรรยาย
5. ให นั ก เรี ย นสื บ ค น และศึ ก ษาความหมาย 2.1 สมบัติทางกายภาพของเซรามิก
ประเภท และวั ต ถุ ดิ บ ของเซรามิ ก จาก สมบัติของผลิตภัณฑเซรามิก จะขึ้นอยูกับวัตถุดิบที่ใชในอุตสาหกรรมเซรามิก การขึ้นรูปของผลิตภัณฑ
และการเผาและเคลือบผลิตภัณฑ
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี ม.3 เลม 1 หนวยการเรียนรูที่ 3 1. วัตถุดิบที่ใชในอุตสาหกรรมเซรามิก แบงออกเปน 2 กลุมใหญ ๆ คือ
1) วัตถุดิบหลัก เปนวัตถุดิบที่ใชเปนสวนผสมหลักในการปนขึ้นรูปผลิตภัณฑ จึงใชในปริมาณมาก
เรื่อง เซรามิก แลวบันทึกลงในสมุดประจําตัว
ไดแก ดิน เฟลดสปาร และควอรตซ
นักเรียน
6. ครูแจกใบงาน เรื่อง เซรามิก ใหกับนักเรียน วัตถุดิบหลักในการทําเซรามิก
แลวใหนักเรียนจับคูกับเพื่อนรวมกันอภิปราย
ขอมูลเพื่อทําใบงาน ตอนที่ 1 แลวนํามาสง ดิน

ภายในเวลาที่ครูกําหนด เปนวัตถุดิบหลักในการผลิตเซรามิก แบงเปน 2 ประเภท ดังนี้


ดินเหนียว • ดินเหนียวมีองคประกอบทางเคมีที่สําคัญ คือ สารประกอบ
ออกไซดของซิลคิ อนและอะลูมเิ นียม คลายกับทีพ่ บในดินขาว
แตดินเหนียวมีสิ่งเจือปนอื่น ๆ ในปริมาณมากกวา
• ดินเหนียวมีความเหนียวและแข็งแรงมากกวาดินขาว
ดินขาว ดินขาวบริสทุ ธิม์ แี รเคโอลิไนต (kaolinite; Al2O3 •2SiO2 •2H2O)
มีองคประกอบทางเคมีที่สําคัญ คือ สารประกอบออกไซด
ภาพที่ 3.27 ลักษณะของดินเหนียว ของซิลิคอนและอะลูมิเนียม
และดินขาว
ที่มา : คลังภาพ อจท.
เฟลดสปาร (feldspar) หรือแรฟน
 มา
เปนสารประกอบในกลุม ซิลเิ กต ใชมากในอุตสาหกรรมเซรามิก มีธาตุ
โซเดียม โพแทสเซียม และแคลเซียมเปนองคประกอบ ในอุตสาหกรรม
เซรามิกจะใชเฟลดสปารผสมในเนื้อดินทําใหเกิดการหลอมเหลว
ที่อุณหภูมิตํ่า เกิดการเปลี่ยนแปลงเปนเนื้อแกว ทําใหเซรามิกมี
ความโปรงใส พบไดในหลายจังหวัดของประเทศไทย เชน ตาก อุทยั ธานี
1
ภาพที่ 3.28 เฟลดสปารหรือแรฟนมา
ที่มา : คลังภาพ อจท.

ควอรตซ (quartz) หรือแรเขีย


้ วหนุมาน
มีองคประกอบหลัก คือ ซิลิกา สวนใหญมีลักษณะใส ไมมีสี ชวยใหผลิตภัณฑเซรามิก
เกิดความแข็งแรง ไมโคงงอ และทําใหผลิตภัณฑกอนเผาและหลังเผาหดตัวนอย

ภาพที่ 3.29 ควอรตซหรือแรเขี้ยวหนุมาน


ที่มา : คลังภาพ อจท.
108

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 แรฟนมา เปนแรประกอบหินที่สําคัญที่สุดชนิดหนึ่ง เปนกลุมซิลิเกตที่มี ขอใดไมใชวัตถุดิบหลักที่ใชในการผลิตเซรามิก
โพแทสเซียม โซเดียม และแคลเซียมเปนสวนประกอบสําคัญ ผลึกอยูในระบบ 1. หินปูน
โมโนคลินิก และไตรคลินิก มีรอยแยกแนวเรียบ 2 แนว ตั้งฉากหรือเกือบ 2. ดินขาว
ตั้งฉากกัน ความแข็งในระบบ Mohs scale มีคาประมาณ 6 ความถวงจําเพาะ 3. ควอรตซ
มีคาประมาณ 2.55-2.75 4. ดินเหนียว
(วิเคราะหคําตอบ วัตถุดิบหลักที่ใชในการผลิตเซรามิก ไดแก ดิน
เฟลดสปาร และควอรตซ ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T118
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
การบรรยาย
2) วัตถุดิบเสริม เปนวัตถุดิบที่ชวยเสริมใหผลิตภัณฑมีคุณภาพสูงขึ้น ไดแก แรดิกไคต แรโดโลไมต 7. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน แลว
และสารประกอบออกไซด
ครูนําผลิตภัณฑเซรามิก เชน หมอดินเผา
1 แรดิกไคต 2 แรโดโลไมตหรือหินตะกอน 3 สารประกอบออกไซด จานกระเบื้อง แกวนํ้า มาใหนักเรียนแตละ
กลุมรวมกันตรวจสอบลักษณะทางกายภาพ
เชน ลักษณะของเนือ้ วัสดุ การยอมใหแสงผาน
เสียงที่เกิดจากการเคาะวัสดุ แลวบันทึกผล
ลงใบงาน ตอนที่ 2
ภาพที่ 3.30 แรธาตุตาง ๆ เปนวัตถุดิบเสริม ชวยใหผลิตภัณฑมีคุณภาพสูงขึ้น 8. ใหนักเรียนแตละกลุมออกมานําเสนอใบงาน
ที่มา : คลังภาพ อจท. โดยครูคอยใหคาํ แนะนําเพิม่ เติม หากนักเรียน
• มีองคประกอบเหมือนดิน แตมโี ครงสราง • มีองคประกอบหลัก คือ แคลเซียม • อะลู มิ เ นี ย มออกไซด ห รื อ อะลู มิ น า คนใดมีขอสงสัย ใหตัวแทนนักเรียนนําเสนอ
ผลึกแตกตางกัน แมกนีเซียมคารบอเนต (Al2O3) ใชผสมทําผลิตภัณฑที่ทนไฟ
• มีปริมาณอะลูมินาที่เปนองคประกอบ • ใชผสมกับเนือ้ ดินเพือ่ ลดจุดหลอมเหลว • ซิ ลิ ค อนไดออกไซด ( SiO 2 ) และ
จบกอน แลวจึงยกมือและถามคําถาม
แตกต า งกั น ส ง ผลให ผ ลิ ต ภั ณ ฑ มี ของวัตถุดบิ โบรอนไตรออกไซด (B2O3) ใชผสมทํา
สมบัติแตกตางกันไป ผลิตภัณฑที่เปนเนื้อแกว
• สแตนนิกออกไซด (SnO2) และสังกะสี
ออกไซด (ZnO) ใชเคลือบเพื่อทําให
ผลิตภัณฑทึบแสง

2. การขึน้ รูปผลิตภัณฑ มีอยูห ลายวิธี ขึน้ อยูก บั ชนิด รูปราง คุณภาพ และสมบัตขิ องผลิตภัณฑทตี่ อ งการ
สวนใหญจะนิยมใชวิธีการเทแบบและการใชแปนหมุน ซึ่งมีหลักการ ดังนี้
1) การเทแบบ เปนการขึ้นรูปโดยนําดินมาผสมกับนํ้า แลวเทลงในแบบที่มีรูปรางตาง ๆ ตามที่ตองการ
การขึ้นรูปวิธีนี้เหมาะสําหรับการผลิตแจกัน ขวด และเครื่องสุขภัณฑ

เทนํ้าดินลงในแบบ ผลิตภัณฑหลังแกะ
แบบที่ประกอบแลว ตัดแตง ออกจากแบบ
ผลิตภัณฑ

เทนํ้าดินที่เหลือออกจากแบบ

ภาพที่ 3.31 การขึ้นรูปโดยการเทแบบ


ที่มา : คลังภาพ อจท.
วัสดุในชีวิตประจําวัน 109

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดเปนวัตถุดิบเสริมที่ชวยใหผลิตภัณฑเซรามิกมีสมบัติ ครูอาจแนะนําเพิ่มเติมวา การเทแบบโดยการนําดินมาผสมกับนํ้าใหได
ทึบแสงและทนไฟได เปนนํา้ ดินขนๆ เรียกวา นํา้ สลิป (slip) ซึง่ การเทแบบมี 2 ลักษณะ คือ การเทแบบ
1. สแตนนิกออกไซด โดยใหนํ้าดินจับตัวอยูในแบบ เรียกวา Solid Casting เหมาะกับการเทแบบ
2. ซิลิคอนไดออกไซด สินคาที่มีความหนาและแบบที่มีรูปทรงแปลกๆ และการเทแบบโดยมีการเทนํ้า
3. อะลูมิเนียมออกไซด ดินที่เหลือทิ้ง เรียกวา Drain Casting เหมาะกับสินคาที่ตองการใหมีผนังบาง
4. ถูกทั้งขอ 1. และ 3. และมีความหนาสมํ่าเสมอ
(วิเคราะหคําตอบ อะลูมิเนียมออกไซดหรืออะลูมินาเปนวัตถุดิบ
ที่ชวยเสริมใหผลิตภัณฑเซรามิกทนไฟได และสแตนนิกออกไซด
ชวยใหเซรามิกมีสมบัติทึบแสง ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T119
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
การบรรยาย
9. ครูนําผลิตภัณฑเซรามิกตัวอยาง เชน หมอ 2) การใชแปนหมุน เป็นการขึ้นรูปโดยการ
วางดินบนแป้น แล้วหมุนแป้นและใช้มือปันดินให้ได้
ดินเผา จานกระเบื้อง แกวนํ้า มาใหนักเรียน รูปทรงตามทีต่ อ้ งการ นิยมใช้ในการขึน้ รูปผลิตภัณฑ์ทมี่ ี
ร ว มกั น อภิ ป รายลั ก ษณะและสมบั ติ ท าง ลักษณะเป็นทรงกลมหรือทรงกระบอก เช่น ไห โอ่ง
กายภาพ เพือ่ ใหไดขอ สรุปวา เซรามิกมีรปู ทรง กระถาง แจกัน การขึ้นรูปวิธีนี้ต้องอาศัยผู้ปันที่มีความ
ที่แตกตางกัน โดยสมบัติทั่วไปของเซรามิก ช�านาญ จึงจะสามารถปันได้รูปทรงที่สวยงาม
จะแข็ง เปราะ ทนตอการสึกกรอน ผลิตภัณฑ์ทข่ี นึ้ รูปแล้วจะต้องน�ามาเก็บไว้
ตัวอยางเชน ในที่ร่ม เพื่อให้เนื้อดินแห้งอย่างช้า ๆ แล้วน�ามาท�าให้
ผิวเรียบ จากนั้นน�าไปตากหรืออบที่อุณหภูมิ 40-60
- เครื่องปนดินเผา : มีเนื้อละเอียด มีสีนํ้าตาล
องศาเซลเซียส เพื่อให้ผลิตภัณฑ์แห้งและป้องกันการ ภาพที่ 3.32 การขึ้นรูปโดยการใช้แป้นหมุน
แดง ทึบแสง เมือ่ เคาะแลวเสียงจะไมกงั วาน แตกร้าวเมื่อน�าไปเผา ที่มา : คลังภาพ อจท.
- จานกระเบือ้ ง : มีเนือ้ ละเอียด สีขาว ทึบแสง
3. การเผาและเคลือบผลิตภัณฑ์ มี 2 ขั้นตอน ดังนี้
เมื่อเคาะแลวเสียงจะกังวาน
- แกวนํา้ : มีเนือ้ ละเอียด ใส บางชนิดมีหลายสี ขั้นตอนที่ 1 การเผาดิบ ขั้นตอนที่ 2 การเผาเคลือบ
โปรงใส เมื่อเคาะแลวเสียงจะกังวาน เป็ น ขั้ น ตอนแรก ท� า ได้ โ ดยการเพิ่ ม อุ ณ หภู มิ ข อง ผลิตภัณฑ์เซรามิกส่วนใหญ่จะต้องผ่านการเคลือบผิว
เตาเผาให้สูงขึ้นอย่างช้า ๆ และสม�่าเสมอ โดยใช้เวลา เพื่อให้เกิดความสวยงาม มีผิวมัน แวววาว คงทนต่อ
ทีเ่ หมาะสม เพือ่ ให้ผลิตภัณฑ์คงรูป ไม่แตกช�ารุด ผลิตภัณฑ์ การขีดข่วน และมีสมบัติตามที่ต้องการ การเผาเคลือบ
เซรามิกบางชนิดเมื่อผ่านการเผาดิบแล้ว สามารถน�าไป ท�าได้โดยน�าผลิตภัณฑ์เ1ซรามิกที่ผ่านการเผาดิบแล้ว
ใช้งานได้โดยไม่ต้องเคลือบผิว เช่น อิฐ กระถางต้นไม้ มาเคลือบผิวด้วยน�า้ เคลือบ ซึง่ เป็นสารผสมระหว่างซิลเิ กต
ตุ่มใส่น�้า กับสารช่วยหลอมเหลว และสารเพิม่ คุณภาพอืน่ ๆ หลังจากนัน้
น�าไปให้ความร้อน เพือ่ ให้นา�้ เคลือบหลอมละลายรวมเป็น
เนื้อเดียวกับเนื้อดิน

ภาพที่ 3.33 กระถางต้นไม้ที่ผ่านกระบวนการเผาดิบ ภาพที่ 3.34 ถ้วย ชาม ที่ผ่านกระบวนการเผาดิบและเผาเคลือบ


ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท.

วัตถุดิบหลักที่น�ำมำใช้ในกำรผลิต
เซรำมิกควรมีสมบัติอยำงไร

แนวตอบ คําถาม 110


จุดหลอมเหลวตํ่า

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 นํ้าเคลือบ คือ สารประกอบของอะลูมินา ซิลิกา และสารที่ชวยใหละลาย ขอใดเปนเซรามิกทีต่ อ งผานกระบวนการเผาดิบและเผาเคลือบ
เมือ่ ผานความรอน จะใหลกั ษณะใสคลายกับแกว นํา้ เคลือบทัว่ ไปมีความแวววาว กอนนํามาใชงาน
หากนําผลิตภัณฑไปชุบนํ้าเคลือบแลว สามารถมองเห็นเนื้อดินของผลิตภัณฑ 1. อิฐ
เรียกวา เคลือบใส แตถาเคลือบแลว ผิวไมเปนมันวาว เรียกวา เคลือบดาน และ 2. ไสกรองนํ้า
ถาชุบนํ้าเคลือบแลว มองไมเห็นเนื้อดิน เรียกวา เคลือบทึบ 3. แจกันเซรามิก
4. กระถางตนไม
(วิเคราะหคําตอบ อิฐ ไสกรองนํ้า กระถางตนไม เปนเซรามิก
ที่ ผ  า นกระบวนการเผาดิ บ แล ว นํ า ไปใช ง านได โ ดยไม ต  อ ง
นําไปเคลือบผิว แตแจกันทีผ่ า นการเผาดิบแลวนิยมนํามาเคลือบผิว
เพื่อใหเกิดความสวยงาม มีผิวมัน แวววาว คงทนตอการขีดขวน
กอนนําไปใชงาน ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T120
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
การบรรยาย
2.2 การใชประโยชนวัสดุประเภทเซรามิก 10. ครู อ ธิ บ ายให นั ก เรี ย นเข า ใจเพิ่ ม เติ ม ว า
ผลิตภัณฑที่ทําจากวัสดุประเภทเซรามิก ที่นํามาใชในชีวิตประจําวันมีอยูหลายชนิด ดังนี้ แกวเปนผลิตภัณฑเซรามิก หากจําแนกตาม
1. ผลิตภัณฑแกว ทํามาจากทรายแกวหรือซิลิกาผสมกับโซดาแอช หินปูน โดโลไมต และเศษแกว องคประกอบทางเคมี สมบัติ และการนําไป
แกวมีลักษณะโปรงแสง แกสซึมผานไดยาก มีความแข็งแรง ทนตอแรงดันไดดี บางชนิดสามารถทนตอสภาพ ใชประโยชน จะแบงแกวออกเปน 5 ประเภท
ความเปนกรด-เบสไดดี
และมีสมบัตทิ แี่ ตกตางกัน เชน แกวโซดาไลม
แกวนิยมนํามาใชเปนวัสดุในการผลิตภาชนะ
และเครือ่ งใชตา ง ๆ เครือ่ งประดับ สวนประกอบของอาคาร นิยมนํามาเปาแกวใหเปนรูปทรงตางๆ แกว
และสิ่งกอสราง สามารถจําแนกประเภทของแกวตาม โบโรซิลิเกตนิยมนํามาใชเปนภาชนะสําหรับ
องคประกอบทางเคมี สมบัติ และการนําไปใชประโยชน ไมโครเวฟ หรือเครื่องแกวในหองปฏิบัติการ
ไดดังตารางที่ 3.2 ทางวิทยาศาสตร แกวคริสตัลนิยมนํามาทํา
เปนเครื่องประดับ แกวโอปอลนิยมนํามาทํา
กระจกเงา กระจกสะทอน กระจกนิรภัย
และแก ว ควอรตซ นิ ย มนํ า มาทํ า อุ ป กรณ
ภาพที่ 3.35 แกวนํ้าทําจากแกวโซดาไลม ภาพที่ 3.36 เครือ่ งแกวในหองปฏิบตั กิ ารทางวิทยาศาสตร
ที่มา : คลังภาพ อจท. ทําจากแกวโบโรซิลิเกต วิทยาศาสตรบางชนิด นอกจากแกวนํ้าแลว
ที่มา : คลังภาพ อจท. ป จ จุ บั น ยั ง มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ เ ซรามิ ก ที่ ต รงกั บ
ตารางที่ 3.2 ประเภทของแกว สมบัติ และการนําไปใชประโยชน ความตองการหลากหลาย เชน กระดูกเทียม
ประเภท สมบัติ การนําไปใชประโยชน เสนใยแกวนําแสง เซลลแสงอาทิตย
แกวโซดาไลม - ไมทนตอกรด-เบส แกวนํ้า ขวดนํ้า กระจกแผน ใชกับงาน
- SiO2 รอยละ 71-75 โดยมวล - แตกงายเมื่อไดรับความรอน เปาแกวใหเปนรูปทรงตาง ๆ
- Na2O รอยละ 12-16 โดยมวล
- CaO รอยละ 10-15 โดยมวล
แกวโบโรซิลิเกต - ทนตอการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิไดดี ภาชนะสําหรับเตาไมโครเวฟ
- SiO2 รอยละ 70-80 โดยมวล - ทนตอการกัดกรอนของสารเคมี เครื่องแกวในหองปฏิบัติการ
- B2O3 รอยละ 7-15 โดยมวล ทางวิทยาศาสตร
- Na2O รอยละ 4-8 โดยมวล
- Al2O3 รอยละ 2-7 โดยมวล
แกวคริสตัล - เมื่อมีแสงมากระทบจะเห็นประกาย เครื่องประดับ เพชรและพลอยเทียม
- SiO2 รอยละ 54-65 แวววาวสวยงาม
- K2O และออกไซดของตะกัว่ มีออกไซด
ของตะกั่วมากกวารอยละ 24 โดยมวล
แกวโอปอล - มีความขุน โปรงแสง หลอมและขึ้นรูป กระจกเงา กระจกสะทอนแสง
- เติม NaF หรือ Ca2F ลงไป ไดงาย กระจกนิรภัย
แกวควอรตซหรือซิลิกาบริสุทธิ์ - ทนกรด-เบส อุปกรณวิทยาศาสตรบางชนิด
- ในการผลิตทางอุตสาหกรรม จะใช SiCl4 - ทนไฟ ไมแตกงายเมือ่ เผาในไฟทีร่ อ นจัด
หรือผลึกควอรตซบริสทุ ธิเ์ ปนสารตัง้ ตน
วัสดุในชีวิตประจําวัน 111

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


แกวประเภทใดที่นํามาทําเปนภาชนะสําหรับไมโครเวฟ ครู อ าจแนะนํ า เพิ่ ม เติ ม ว า แก ว ที่ มี ค วามบริ สุ ท ธิ์ สู ง สามารถนํ า มาทํ า
1. แกวโอปอล เปนเสนใยแกวนําแสง (Fiber Optic) ซึ่งมีขนาดเล็ก นํ้าหนักเบา เสนใย
2. แกวควอรตซ แกวนําแสงทําหนาที่เปนตัวกลางของสัญญาณแสงชนิดหนึ่ง โดยเสนใยแกว
3. แกวโซดาไลม นําแสงที่ดีควรนําแสงจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งได โดยสูญเสียสัญญาณแสง
4. แกวโบโรซิลิเกต นอยที่สุด จึงนิยมนําเสนใยแกวนําแสงมาทําเปนสายเคเบิลในการใหบริการ
(วิเคราะหคําตอบ แ ก  ว โ บ โ ร ซิ ลิ เ ก ต มี ส ม บั ติ ท น ต  อ ก า ร อินเทอรเน็ตแทนสายทองแดง
เปลี่ ย นแปลงอุ ณ หภู มิ ไ ด ดี ทนต อ การกั ด กร อ นของสารเคมี
แกวประเภทนีจ้ งึ นิยมนํามาใชทาํ เปนภาชนะสําหรับไมโครเวฟและ
เครื่องแกวในหองปฏิบัติการ ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T121
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
นักเรียนและครูรวมกันสรุปวา เซรามิกเปน
วัสดุที่ผลิตจากดิน หิน ทราย และแรธาตุตางๆ 2. ปูนซีเมนต (cement) เปนวัสดุกอสรางที่ชวยยึดสวนผสมตาง ๆ ที่ใชในการกอสราง และสรางผลึกแข็ง
ที่ยึดอนุภาคตาง ๆ เปนผลิตภัณฑที่ไดจากการบดปูนเม็ด ซึ่งเกิดจากการเผาสวนผสมตาง ๆ ไดแก แคลเซียม
จากธรรมชาติ และสวนมากผลิตภัณฑเซรามิก คารบอเนต (CaCO3) ซิลกิ า (SiO2) อะลูมนิ า (Al2O3) และออกไซดจากเหล็ก ในสัดสวนทีเ่ หมาะสมจนรวมตัวสุกพอดี
จะผานกระบวนการเผาที่อุณหภูมิสูงเพื่อใหได
เนื้อสารที่แข็งแรง โดยเซรามิกสามารถทําเปน วัตถุดิบที่ใชในการผลิตปูนซีเมนต แบงออกเปน 4 กลุม
รูปทรงตางๆ ได ซึ่งสมบัติทั่วไปของเซรามิก คือ วัตถุดิบเนื้อปูน เปนสวนประกอบหลัก มีอยูร อ ยละ วัตถุดิบเนื้อดิน ประกอบดวยซิลกิ า อะลูมนิ า และ
80 โดยมวลของสวนผสมกอน ออกไซดของเหล็ก มีประมาณ
แข็งแตเปราะ สามารถทนตอการสึกกรอนได การเผา วัตถุดิบที่ใชอาจจะเปน รอยละ 15-18 โดยมวล วัตถุดิบ
และเนื่ อ งจากเซรามิ ก ประกอบด ว ยวั ต ถุ ดิ บ ที่ หินปูน ดินสอพองหรือดินมารล ที่ใชสวนใหญ คือ หินดินดาน
แตกตางกัน ทําใหมสี มบัตทิ แี่ ตกตางกัน และสมบัติ หินออน หินชอลก โดยหินปูนเปน
วัตถุดิบที่นิยมใชมากที่สุด
ที่แตกตางกันนี้จึงสามารถนําไปใชประโยชนได หินปูน หินดินดาน
หลากหลาย เชน เครื่องปนดินเผา กระถางตนไม วัตถุดิบปรับคุณภาพ ประกอบดวยเนื้อปูน อะลูมินา สารเติมแตง เปนวัตถุดิบที่เติมลงไปในปูนเม็ด
ซิลิกา หรือออกไซดของเหล็ก ภายหลังการเผา เพื่อปรับสมบัติ
เครื่องกระเบื้อง ถวยชาม สุขภัณฑ แกว กระจก ในปริมาณสูง ใชเมื่อมีสวนผสม บางประการ เชน เติมยิปซัมลงไป
แกวนํ้า บางชนิดตํ่ากวามาตรฐาน เพือ่ ทําใหปนู ทีผ่ สมนํา้ แลวแข็งตัว
ชา เติมหินปูนบดลงไปเพื่อเพิ่ม
แรยิปซัม เนื้อปูน
แรบอกไซต
ภาพที่ 3.37 วัตถุดิบที่ใชในการผลิตปูนซีเมนต
ที่มา : คลังภาพ อจท.
เมื่อนําปูนซีเมนตมาผสมกับนํ้าจะไดเปนผลึกแข็ง (CaSO4 • 2H2O) ซึ่งทนตอแรงอัดสูง จึงใชเปนวัสดุ
ประสานในการกอสราง และเมือ่ ผสมปูนซีเมนตกบั กรวด ทราย และหิน จะทําใหเกาะตัวแนนเปนคอนกรีต ปูนซีเมนต
สามารถแบงประเภทตามการใชงานได ดังนี้
ประเภทปูนซีเมนต
ปูนซีเมนตปอรตแลนด ไดจากการบดปูนเม็ดกับยิปซัม ปูนซีเมนตปอรตแลนดแบงออกเปน 5 ประเภท ดังนี้
1. ปูนซีเมนตปอรตแลนดธรรมดา ใชในงานกอสรางทั่วไป
2. ปูนซีเมนตปอรตแลนดเสริม ใชในงานโครงสรางขนาดใหญ
3. ปูนซีเมนตปอรตแลนดประเภทใหกําลังอัดสูงเร็ว ใชในงานทําเสาเข็ม พื้นสําเร็จรูป
4. ปูนซีเมนตปอรตแลนดประเภทเกิดความรอนตํ่า นําไปใชในการทําเขื่อนกั้นนํ้า
5. ปูนซีเมนตปอรตแลนดประเภททนซัลเฟตไดสูง ใชในงานกอสรางที่มีดินเค็มปนอยู
ปูนซีเมนตผสม มี แ รงอั ด ตํ่ า กว า ปู น ซี เ มนต ปูนซีเมนตขาว มี วั ต ถุ ดิ บ หลั ก คื อ ปู น ขาว
ธรรมดาเล็กนอย เนือ่ งจากการ ลักษณะของปูนซีเมนตที่ไดจะ
เติมทรายหรือหินปูนละเอียด มีสีขาว นิยมใชในงานตกแตง
ลงไป เหมาะสําหรับใชในงาน อาคาร เพือ่ ใหเกิดความสวยงาม
กอสรางที่ไมรับนํ้าหนักมาก
เชน งานกอ งานฉาบ เทพื้น
ภาพที่ 3.38 ประเภทของปูนซีเมนต แบงออกเปน 3 ประเภท
ที่มา : คลังภาพ อจท.
112

เกร็ดแนะครู กิจกรรม สรางเสริม


ครูอาจแนะนําเพิ่มเติมวา ปูนซีเมนตทําหนาที่เปนตัวประสาน นิยมนําไป ให นั ก เรี ย นสื บ ค น ข อ มู ล เกี่ ย วกั บ ประเภทของปู น ซี เ มนต
ผสมกับวัสดุอื่นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใหดียิ่งขึ้น จึงมีหลายแบบ ดังนี้ ไดแก ปูนซีเมนตปอรตแลนด ปูนซีเมนตผสม และปูนซีเมนตขาว
1. ซีเมนตเพสต (Cement Paste) คือ สวนผสมของปูนซีเมนตกับนํ้า และ แลวสรุปความแตกตางของปูนซีเมนตทั้ง 3 ประเภท โดยจัดทํา
อาจมีสารผสมเพิ่ม หรือนํ้ายาผสมคอนกรีต เรียกอีกอยางวา “นํ้าปูน” มักใช เปนตารางสรุปลงในกระดาษ A4 พรอมนําเสนอหนาชั้นเรียน
ในงานซอมแซมรอยแตกราว
2. มอรตาร (Mortar) คือ สวนผสมของซีเมนตเพสตกับทราย หรือเรียกวา
“ปูนทราย” มักใชสําหรับงานกออิฐ ฉาบปูน ปูกระเบื้อง รวมถึงงานตกแตง
3. คอนกรีต (Concrete) คือ สวนผสมของมอรตารกับหินหรือกรวด และ
อาจมีสารผสมเพิ่มหรือนํ้ายาผสมคอนกรีตดวย ใชสําหรับงานหลอโครงสราง
และผลิตภัณฑคอนกรีต เชน เสาไฟฟา เสาเข็ม ทอ เสา คาน แผนพื้น รวมถึง
สิ่งกอสราง เชน บาน อาคาร ถนน สะพาน

T122
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
1. ให นั ก เรี ย นทํ า แบบฝ ก หั ด รายวิ ช าพื้ น ฐาน
Application วิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ม.3 เล ม 1
Activity เรื่อง เซรามิก
2. ใหนักเรียนตรวจสอบความเขาใจของนักเรียน
ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 คน แลวรวมกันสืบคนขอมูลเกี่ยวกับพอลิเมอรและเซรามิก จากแหลง
โดยตอบคําถาม Topic Questions ลงในสมุด
เรียนรูตาง ๆ เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต เมื่อรวบรวมขอมูลแลว ใหแตละกลุมรวมกันอภิปรายและสรุปขอมูล
ประจําตัวนักเรียน
ที่ไดจากการสืบคนใหมีความเขาใจตรงกัน จากนั้นใหแตละกลุมชวยกันออกแบบผลิตภัณฑตาง ๆ ดังนี้
3. ตรวจแบบฝกหัดรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร
- เสื้อผาที่มีคุณสมบัติระบายอากาศไดดี นํ้าหนักเบา และใสแลวสบายตัว และเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 เรื่อง เซรามิก
- แจกันที่มีลวดลายสวยงาม แข็งแรง และไมแตกหักงาย
4. ตรวจใบงาน เรื่อง เซรามิก
- แกวกาแฟรูปทรงสวยงาม แข็งแรง ไมแตกหักงาย และทนความรอนสูง
5. ตรวจคํ า ตอบ Topic Questions ในสมุ ด
โดยระบุชนิดของวัสดุที่นํามาใช พรอมทั้งบอกเหตุผลในการเลือกใชวัสดุชนิดนั้น แลวนําเสนอผล ประจํ า ตั ว นั ก เรี ย น เพื่ อ ประเมิ น ความรู 
การออกแบบผลิตภัณฑในรูปแบบที่นาสนใจ เชน โปสเตอร หนังสือเลมเล็ก ความเขาใจของนักเรียน
6. ใหนักเรียนประเมินวิธีการสอนของครูผูสอน
โดยครูใหนักเรียนเขียนขอเสนอแนะเกี่ยวกับ
วิธกี ารสอนเพือ่ ครูจะไดนาํ ขอเสนอแนะไปปรับ
ใชกับการสอนในครั้งตอไป
Topic Questions
คําชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
1. พอลิเมอรและมอนอเมอรคืออะไร แตกตางกันอยางไร
2. พอลิเมอรสามารถจําแนกตามลักษณะการเกิดออกเปนกี่ประเภท อะไรบาง
3. พอลิเมอรที่มีลักษณะแข็ง เหนียว และทนทานมีโครงสรางเปนแบบใด
4. พอลิเมลามีนฟอรมาลดิไฮดหรือเมลามีน ซึ่งใชทําถวยชามและภาชนะใสอาหาร มีโครงสรางพอลิเมอรแบบใด
5. พลาสติกสามารถจําแนกตามเกณฑการเปลี่ยนแปลงเมื่อไดรับความรอนออกเปนกี่ประเภท อะไรบาง
6. เพราะเหตุใดจึงมีการสังเคราะหยางสังเคราะหขึ้นมาใชแทนยางธรรมชาติ
7. วัตถุดิบที่ใชในการผลิตเซรามิกจําแนกออกเปนกี่ประเภท อะไรบาง
8. การขึ้นรูปผลิตภัณฑแบบใชแปนหมุนเหมาะสําหรับผลิตภัณฑประเภทใด
9. ควรนําเซรามิกไปผานกระบวนการใดกอนนําไปเผาเคลือบ
10. ยกตัวอยางผลิตภัณฑเซรามิกที่ตองผานการเผาดิบและเผาเคลือบกอนนําไปใชงาน

วัสดุในชีวิตประจําวัน 113

แนวตอบ Topic Questions แนวทางการวัดและประเมินผล


1. พอลิเมอรเปนสารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ ซึ่งเกิดจากสารโมเลกุลเล็ก
ครูวัดและประเมินผลความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง เซรามิก ไดจากการ
เรียกวา มอนอเมอร มารวมตัวกันดวยกระบวนการพอลิเมอไรเซชัน
ทํางานกลุมในชั้นเรียน โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบสังเกต
2. 2 ประเภท คือ พอลิเมอรธรรมชาติและพอลิเมอรสังเคราะห
พฤติกรรมการทํางานกลุมที่อยูในแผนการจัดการเรียนรูประจําหนวยการเรียนรู
3. พอลิเมอรแบบเสน
ที่ 3
4. พอลิเมอรแบบรางแห
5. 2 ประเภท คือ เทอรมอพลาสติกและพลาสติกเทอรมอเซต แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม

6. เนือ่ งจากยางสังเคราะหมคี วามทนทานตอการขัดถูและการสึกกรอน


คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่
ตรงกับระดับคะแนน
การมี
การแสดง การทางาน ส่วนร่วมใน
การยอมรับ ความมี

มี ค วามยื ด หยุ  น ทนต อ นํ้ า มั นและตั ว ทํ า ละลายอิ น ทรี ย  ม ากกว า


ความ ตามที่ได้รับ การ รวม
ชื่อ–สกุล ฟังคนอื่น น้าใจ
ลาดับที่ คิดเห็น มอบหมาย ปรับปรุง 15
ของนักเรียน
ผลงานกลุ่ม คะแนน

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1

ยางธรรมชาติ
7. 2 ประเภท คือ วัตถุดิบหลักและวัตถุดิบเสริม
8. ไห โอง กระถาง แจกัน ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
............./.................../...............

9. การเผาดิบ เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่่าเสมอ
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง
ให้
ให้
3 คะแนน
2 คะแนน

10. ถวย ชาม


ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ปรับปรุง

T123
ต่่ากว่า 8
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Lecture Method)


การเตรียมการบรรยาย
1. ครูเตรียมภาพประกอบการสอน Check for Understanding
2. ครู เ ตรี ย มข อ มู ล หรื อ เนื้ อ หาที่ ใ ช บ รรยาย พิจารณาขอความตามความเขาใจของนักเรียนวาถูกหรือผิด แลวบันทึกลงในสมุดบันทึก
เกี่ยวกับวัสดุผสม เชน ไม กระดูก อางอาบนํ้า ถูก/ผิด

ชิ้นสวนของยานพาหนะ ใบพัดเฮลิคอปเตอร 1. วัสดุผสม คือ วัสดุที่ประกอบดวยวัสดุตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป


3. ครู เ ตรี ย มภาพที่ ใ ช ทํ า กิ จ กรรม Engaging 2. เมือ่ นําวัสดุ 2 ชนิดมาผสมเขาดวยกัน จะทําใหไดวัสดุที่มีสมบัติตามที่ตองการ

มุ ด
Activity

นส
3. คอนกรีตประกอบดวยซีเมนต หิน และทรายเทานั้น

งใล
ทึ ก
4. ตุกตาปูนปลาสเตอรไมจัดเปนวัสดุผสม

บั น
ขัน้ สอน 5. การผสมผงแปง นํ้าตาลทราย และนํ้ากะทิเขาดวยกันเพื่อทําขนม จัดเปนวัสดุผสม
การบรรยาย
1. ใหนักเรียนตรวจสอบความรูของตนเองกอน
เขาสูการเรียนการสอนจากกรอบ Check for
Understanding ในหนั ง สื อ เรี ย นรายวิ ช า
E ngaging ใหนักเรียนพิจารณาวัสดุตอไปนี้ แลวระบุวา วัสดุหมายเลขใดคือวัสดุผสม
(composite materials) และบอกวาใชเกณฑใดในการจําแนก
Activity
พืน้ ฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1
หนวยการเรียนรูท ี่ 3 เรือ่ ง วัสดุผสม โดยบันทึก
ลงในสมุดประจําตัวนักเรียน
2. ใหนักเรียนทํากิจกรรม Engaging Activity
โดยใหนักเรียนพิจารณาภาพ แลววิเคราะหวา
ภาพใดเปนวัสดุผสม จากหนังสือเรียนรายวิชา
พืน้ ฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1
หนวยการเรียนรูที่ 3 เรื่อง วัสดุผสม ภาพที่ 1 ภาพที่ 2 ภาพที่ 3

ภาพที่ 4 ภาพที่ 5 ภาพที่ 6


ภาพที่ 3.39 วัสดุและอุปกรณที่ผลิตจากวัสดุชนิดตาง ๆ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
แนวตอบ Check for Understanding
1. ถูก 2. ถูก 3. ผิด 114
4. ผิด 5. ผิด

แนวตอบ Engaging Activity


ภาพที่ 1 และภาพที่ 5 โดยจําแนกจากองคประกอบของวัสดุผสมที่มี
มากกวา 2 ชนิด แตไมละลายเปนเนื้อเดียวกัน ทําใหมองเห็นองคประกอบได
อยางชัดเจน

T124
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
การบรรยาย
Key 3 วัสดุผสม 3. ครูถามคําถาม Key Question
Question จากการศึกษาเกี่ยวกับพอลิเมอร์และเซรามิก ท�าให้พบว่า 4. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับวัสดุผสม และ
วัสดุผสมมีลกั ษณะ มีผลิตภัณฑ์บางชนิดที่เกิดจากการรวมตัวของพอลิเมอร์กับเซรามิก ใหนกั เรียนแสดงความคิดเห็นวา วัสดุผสมเกิด
เปนอยำงไร หรือพอลิเมอร์กับวัสดุชนิดอื่น หรือเซรามิกกับวัสดุชนิดอื่น ท�าให้ จากการผสมของวัสดุชนิดใดบาง
ได้วัสดุที่มีความแข็งแรง ทนทาน และมีสมบัติเฉพาะตามที่ต้องการ ( แนวตอบ เกิ ด จากวั ส ดุ พ อลิ เ มอร ผ สมกั บ
เรียกว่า วัสดุผสม เซรามิก วัสดุพอลิเมอรกับวัสดุชนิดอื่น วัสดุ
ในปัจจุบนั วัสดุผสมเข้ามามีบทบาทต่อชีวติ ประจ�าวันเป็นอย่างมาก เนือ่ งจากวัสดุผสมเป็นวัสดุทรี่ วมสมบัตเิ ด่น เซรามิกกับวัสดุชนิดอื่น)
ของวัสดุแต่ละชนิดเข้าด้วยกัน เช่น วัสดุประเภทพลาสติกเสริมแรงด้วยเส้นใย เป็นการรวมวัสดุประเภทพอลิเมอร์ 5. ครูถามคําถามทบทวนความรูเ ดิมของนักเรียน
และเส้นใยเข้าด้วยกัน ท�าให้วัสดุผสมที่ได้มีสมบัติแข็งแรงและน�้าหนักเบา ดังนี้
ดังนั้น วัสดุผสม คือ วัสดุที่ประกอบด้วยวัสดุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป ที่มีองค์ประกอบทางเคมีแตกต่างกัน • พอลิเมอรคืออะไร
สามารถมองเห็นองค์ประกอบได้ เช่น คอนกรีต ประกอบด้วยซีเมนต์ หิน ทราย และน�้ามาผสม หรือการสร้างพันธะ ( แนวตอบ สารประกอบที่ มี โ มเลกุ ล ขนาด
ซึ่งวัสดุผสมที่เกิดขึ้นจะมีสมบัติแตกต่างไปจากวัสดุเดิม เช่น ความแข็งแรง น�้าหนัก การทนต่อการสึกกร่อน ใหญ และมีมวลโมเลกุลมาก ประกอบดวย
การน�าไฟฟ้า โดยที่องค์ประกอบนั้นจะต้องไม่ละลายเข้าด้วยกัน หนวยเล็กๆ ของสารทีอ่ าจจะเหมือนกันหรือ
นอกจากนี้ พบว่า วัสดุผสมสามารถพบได้ในธรรมชาติอีกด้วย เช่น ไม้ เป็นวัสดุผสมที่พบในธรรมชาติ ตางกันมาเชื่อมตอกันดวยพันธะโคเวเลนต)
ซึ่งเกิดจากการรวมกันของเซลลูโลสกับลิกนิน ท�าให้ไม้มีสมบัติแข็งแรง • เซรามิกคืออะไร
( แนวตอบ ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ทํ า จากวั ต ถุ ดิ บ ใน
ธรรมชาติ เชน ดิน หิน ทราย แรธาตุตางๆ
นํ า มาผสมกั น แล ว ขึ้ น เป น รู ป ทรงต า งๆ
แลวนําไปเผาเพื่อใหคงรูป)
6. ใหนักเรียนศึกษาเกี่ยวกับสมบัติทางกายภาพ
ของวัสดุผสมในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
วิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ม.3 เล ม 1
หนวยการเรียนรูที่ 3 เรื่อง วัสดุผสม แลวให
นักเรียนสรุปความเขาใจลงในสมุดประจําตัว
นักเรียน

ภาพที่ 3.40 ถนนคอนกรีตจัดเป็นวัสดุผสม


ประกอบด้วย ซีเมนต์ หิน ทราย และน�้า แนวตอบ Key Question
ที่มา : คลังภาพ อจท. 115
วัสดุในชีวิตประจําวัน
วัสดุผสมเปนวัสดุที่รวมสมบัติเดนของวัสดุ
แตละชนิดเขาดวยกัน

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดไมใชองคประกอบของถนนคอนกรีต การเรียนการสอน เรื่อง วัสดุผสม ครูอาจกําหนดสถานการณตางๆ
1. นํ้า เกี่ยวกับการใชประโยชนของวัสดุผสมในชีวิตประจําวัน เพื่อใหนักเรียนรวมกัน
2. ดิน อภิปรายและเขาใจเกี่ยวกับวัสดุผสมวา มีสมบัติแตกตางจากวัสดุทั่วไปอยางไร
3. หิน โดยครู อ าจใช ก ระบวนการเรี ย นการสอนให นั ก เรี ย นรู  จั ก เลื อ กใช วั ส ดุ ผ สม
4. ทราย อยางเหมาะสม โดยใหนักเรียนคํานึงถึงจุดประสงคในการใชงาน สมบัติ และ
(วิเคราะหคําตอบ ถนนคอนกรีตเปนวัสดุผสมทีป่ ระกอบดวยหิน ความคุมคา รวมทั้งผลกระทบที่มีตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม
ทราย นํ้า และซีเมนต ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T125
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
การบรรยาย
7. ให นั ก เรี ย นจั บ คู  กั บ เพื่ อ นเพื่ อ แลกเปลี่ ย น 3.1 สมบัติทางกายภาพของวัสดุผสม
ข อ มู ล และร ว มกั น อภิ ป รายถึ ง สมบั ติ ท าง สมบัติของวัสดุผสม จะขึ้นอยูกับวัสดุที่นํามาใชประกอบกันเปนวัสดุผสม โดยวัสดุผสมจะตองประกอบดวย
กายภาพของวั ส ดุ ผ สม แล ว ให นั ก เรี ย น วัสดุ 2 แบบ ดังนี้
ร ว มกั น แสดงความเห็ น เกี่ ย วกั บ การนํ า 1. วัสดุพื้นหรือเมทริกซ (matrix) เปนวัสดุที่ลักษณะของเนื้อวัสดุมีความตอเนื่องและลอมรอบอีกวัสดุไว
วัสดุผสมไปใชประโยชนไดเหมาะสม โดย ทําหนาที่ในการถ
1 ายทอดแรงกระทํา โดยวัสดุที่นํามาใชเปนวัสดุพื้นอาจเปนพอลิเมอร เซรามิก โลหะ คารบอน
คํานึงถึงสมบัติทางกายภาพ และแกรไฟต โดยวัสดุที่นํามาทําเปนวัสดุพื้นจะใหสมบัติที่แตกตางกัน เชน โลหะจะมีความแข็งและความเหนียวสูง
8. ครูสุมเรียกนักเรียน 2-3 คน สรุปสมบัติและ แตมีนํ้าหนักมากและเปนสนิมไดงาย พอลิเมอรจะมีนํ้าหนักเบาแตมีความแข็งตํ่า ไมทนความรอน และไมนําไฟฟา
การใชประโยชนของวัสดุผสมหนาชั้นเรียน เซรามิกจะมีความแข็งสูงแตเปราะ ทนตอการสึกกรอน และทนความรอนไดดี
9. ครู อ ธิ บ ายให นั ก เรี ย นเข า ใจว า วั ส ดุ ผ สม 2. วัสดุเสริมหรือตัวเสริมแรง (reinforcement material) เปนวัสดุที่เพิ่มสมบัติใหกับวัสดุพื้น โดยจะ
ประกอบดวยวัสดุ 2 แบบ คือ วัสดุพื้นหรือ ฝงตัวอยูในวัสดุพื้น ซึ่งอาจจะอยูในรูปของเสนใย อนุภาค แผนหรือชิ้นเล็ก ๆ
เมทริกซ และวัสดุเสริมหรือตัวเสริมแรง ทําให ดังนัน้ การนําวัสดุตา งชนิดกันมาผสมกัน จึงทําใหผลิตภัณฑทไี่ ดมสี มบัตพิ เิ ศษทีไ่ ดจากขอดีของวัสดุแตละชนิด
มีสมบัติพิเศษตามวัสดุที่มาผสม โดยวัสดุ เชน คอนกรีตเสริมเหล็กเปนวัสดุผสมที2่ใหความแข็ง (ไดจากสมบัติของคอนกรีตที่เปนเซรามิก) และความเหนียว
ผสมสวนมากจะมีความแข็ง ทนทาน ดังนั้น (ไดจากสมบัติของเหล็ก3) ไฟเบอรกลาสสเปนวัสดุที่มีนํ้าหนักเบา (ไดจากสมบัติของพอลิเมอร) และมีความแข็งแรง
วัสดุผสมจึงนําไปใชประโยชนไดหลากหลาย (ไดจากสมบัติของใยแกว)
10. ครูนาํ ภาพไมและภาพเสนใยแกวหรือไฟเบอร
วัสดุเสริมหรือตัวเสริมแรง
กลาสส มาใหนักเรียนรวมกันตอบคําถามวา วัสดุผสม
เปนวัสดุผสมประเภทเดียวกันหรือไม อยางไร
(แนวตอบ ไมเปนวัสดุผสมจากธรรมชาติ สวน
ไฟเบอรกลาสสหรือเสนใยแกวเปนวัสดุผสม
จากการสังเคราะห)
+
วัสดุพื้นหรือเมทริกซ
=
ภาพที่ 3.41 ลักษณะของวัสดุผสม
ที่มา : คลังภาพ อจท.

HOTS
(คําถามทาทายการคิดขั้นสูง)
ถาหากใชวัสดุพื้นเปนพอลิเมอรและวัสดุเสริมเปนเซรามิก วัสดุผสมที่ ไดควรมีสมบัติเปนอยางไร
แนวตอบ H.O.T.S.
มีนํ้าหนักเบา ทนตอความรอน มีความแข็ง 116
แตเปราะ ทนตอการสึกกรอน

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 แกรไฟต คือ อัญรูปหนึ่งของคารบอน มีโครงสรางเปนผลึกโคเวเลนต ขอใดคือองคประกอบในไมที่จัดเปนวัสดุพื้น
รางตาขาย มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูง นําไฟฟาได 1. ลิกนิน
2 ไฟเบอร ก ลาสส คื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ พ ลาสติ ก ที่ มี ใ ยแก ว เป น วั ส ดุ เ สริ ม 2. ไฟเบอร
มีนํ้าหนักเบา ทนทานตอการอัดกระแทก นิยมใชทําเรือ โตะ และเกาอี้ 3. เซลลูโลส
4. เฮมิเซลลูโลส
3 ใยแกว คือ เสนใยที่ทําจากแกว นํามาใชประโยชนตางๆ เชน ใชเปนวัสดุ
เสริมในไฟเบอรกลาสส (วิเคราะหคําตอบ ไมประกอบดวยเซลลูโลส ทําหนาทีเ่ ปนวัสดุพนื้
และมีลิกนินกับเฮมิเซลลูโลส ทําหนาที่เปนวัสดุเสริม ดังนั้น ตอบ
ขอ 3.)

T126
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
การบรรยาย
3.2 การใชประโยชนวัสดุประเภทวัสดุผสม 11. ครูอธิบายวา ไมเปนอีกหนึ่งตัวอยางที่จัดวา
วัสดุผสมสามารถจําแนกได 2 ประเภท คือ วัสดุผสมจากธรรมชาติและวัสดุผสมจากการสังเคราะห ซึง่ สามารถ เปนวัสดุผสม ซึง่ เกิดจากการผสมสาร 4 ชนิด
นํามาใชประโยชนไดแตกตางกัน ดังนี้ ได แ ก เส น ใยเซลลู โ ลส สารกึ่ ง เซลลู โ ลส
1. วัสดุผสมจากธรรมชาติ ไดจากการรวมตัวของสารที่อยูในธรรมชาติ ตัวอยางเชน
1 ลิกนิน และสารสกัดจากธรรมชาติ โดยมี
1) กระดูก (bone) เปนวัสดุผสมชนิดหนึง่ ซึง่ มีองคประกอบ คือ คอลลาเจนประมาณรอยละ 20 แคลเซียม ลิกนินกับสารกึ่งเซลลูโลสทําหนาที่เปนตัว
ฟอสเฟตประมาณรอยละ 69 นํา้ ประมาณรอยละ 9 และสวนประกอบอืน่ ๆ เชน โปรตีน นํา้ ตาล ไขมัน การจัดเรียงตัว ประสาน ทําใหองคประกอบในไมเกิดการ
ภายในกระดูกจะมีคอลลาเจนซึ่งอยูในรูปไมโครไฟเบอรเปนวัสดุพื้น โดยมีลักษณะเหมือนตาขาย และมีแคลเซียม เชื่อมตอกัน ไมจึงมีลวดลายที่สวยงาม และ
ฟอสเฟตเปนวัสดุเสริมที่ทําใหกระดูกแข็งแรง ซึ่งแคลเซียมฟอสเฟตจะอยูในรูปของผลึกไฮดรอกซีอะพาไทต มีความแข็งแรงทนทาน
มีรปู รางเปนแผนหรือเข็ม ฝงตัวขนานอยูก บั คอลลาเจน ทําใหทศิ ทางสวนใหญของผลึกอยูใ นแนวแกนยาวของไฟเบอร 12. ครูนาํ ภาพตัวอยางอุปกรณประเภทวัสดุผสม
ทําใหแรที่เปนสวนประกอบของกระดูกรวมตัวกับผลึกไฮดรอกซีอะพาไทต สงผลใหกระดูกมีสมบัติเชิงกลที่ดี
ในชีวิตประจําวันมาใหนักเรียนศึกษา แลว
2) ไม (wood) เปนวัสดุที่นิยมใชในงานกอสราง เชน สรางอาคารบานเรือน ทําเฟอรนิเจอร ขอดีของไม อธิ บ ายให นั ก เรี ย นเข า ใจว า วั ส ดุ เ หล า นี้
คื อ มี ล2วดลายที่ ส วยงาม มี ค วามแข็ ง นํ้ า หนั ก เบา ไม ป ระกอบด ว ยองค ป ระกอบหลั ก 4 ชนิ ด ได แ ก
ไมวา จะเปนเรือ ถังนํา้ อางอาบนํา้ ตุก ตาสนาม
เซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส ลิกนิน และสารสกัดจากธรรมชาติ ซึ่งเซลลูโลสจะทําหนาที่เปนวัสดุพื้นและมีลิกนิน
สวนประกอบของยานพาหนะ อุปกรณกีฬา
กับเฮมิเซลลูโลสเปนวัสดุเสริม ทําหนาที่เปนตัวประสาน ทําใหองคประกอบในไมเกิดการเชื่อมกัน
ล ว นเกิ ด จากการผสมของเส น ใยแก ว กั บ
วัสดุพอลิเมอร โดยเสนใยแกวทําหนาที่เปน
ตัวเสริมแรง ซึง่ มีสมบัตทิ มี่ คี วามแข็ง ทนแรง
ดึงไดสูง ไมเปนสนิม ทนตอการสึกกรอน
และเปนฉนวนความรอน ขณะที่สมบัติของ
พอลิเมอรสวนใหญทนตอความรอนไมได
นําไฟฟาไมได เปราะ แตมีความยืดหยุนสูง
ลิกนิน
จึงสามารถนํามาขึ้นรูปเปนรูปทรงตางๆ ได
เซลลูโลส สงผลใหอุปกรณเหลานี้มีความแข็ง ทนตอ
เฮมิเซลลูโลส ความรอน

เซลลพืช

ภาพที่ 3.42 การรวมกันของเสนใยเซลลูโลสและลิกนินในเซลลพืช


ที่มา : คลังภาพ อจท.
วัสดุในชีวิตประจําวัน 117

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


กระดูกประกอบดวยคอลลาเจนรอยละ 20 แคลเซียมฟอสเฟต 1 คอลลาเจน คือ สารในกลุมพอลิเพปไทด ซึ่งเปนโปรตีนชนิดหนึ่งที่พบใน
รอยละ 69 และนํ้ารอยละ 9 และสวนประกอบอื่นๆ เชน โปรตีน รางกายมากที่สุด และเปนสวนประกอบของผิวหนัง เสนผม และเล็บ
ไขมัน นํ้าตาล องคประกอบในขอใดจัดเปนวัสดุพื้น 2 เซลลูโลส คือ พอลิเมอรสายตรงที่ประกอบดวยกลูโคส ซึ่งเปนมอนอเมอร
1. ไขมัน หลายโมเลกุลมาเรียงตอกันดวยพันธะไกลโคซิดกิ มีสตู รทางเคมี คือ (C6H10O5)n
2. โปรตีน โดยเซลลูโลสเปนสวนประกอบสําคัญในผนังเซลลพืช
3. คอลลาเจน
4. แคลเซียมฟอสเฟต
(วิเคราะหคําตอบ คอลลาเจนในกระดูกมีลกั ษณะเหมือนตาขาย สื่อ Digital
ทําหนาที่เปนวัสดุพื้น และมีแคลเซียมฟอสเฟตทําหนาที่เปนวัสดุ
ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจาก QR Code 3D เรื่อง ไม
เสริม ชวยทําใหกระดูกแข็งแรง ดังนั้น ตอบขอ 3.)

ไม
www.aksorn.com/interactive3D/RK933
T127
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
นักเรียนและครูรวมกันสรุปเกี่ยวกับวัสดุผสม
เพื่อใหไดขอสรุปวา วัสดุผสมเปนวัสดุที่เกิดจาก 2. วัสดุผสมจากการสังเคราะห ไดจากการนําวัสดุชนิดตาง ๆ มาสังเคราะหรวมกัน เกิดเปนวัสดุผสมที่มี
สมบัติแตกตางไปจากเดิม และมีสมบัติเฉพาะตามที่ตองการ ตัวอยางเชน
วัสดุตั้งแต 2 ประเภท ที่มีสมบัติแตกตางกัน
1) คอนกรีต (concrete) เปนวัสดุผสมที่ประกอบดวยหิน ทราย ปูนซีเมนต และนํ้า
มารวมตั ว กั น โดยวั ส ดุ ผ สมประกอบด ว ยวั ส ดุ
หินลูกรังและกอนหิน
2 แบบ คือ วัสดุพื้นหรือเมทริกซ และวัสดุเสริม ปูนซีเมนต จะตองมีความสะอาด แข็ง ทนทาน
หรือตัวเสริมแรง ทําใหมีสมบัติพิเศษตามวัสดุ วัสดุผงละเอียดเม็ดเล็กสีเทา เมื่อ หินมุมแหลมจะใหความแข็งแรงได
ผสมกับนํา้ ในปริมาณมากพอสมควร ดีกวาหินที่มีความกลม
ที่มาผสม โดยวัสดุผสมสวนมากจะมีความแข็ง แลวทิ้งไวใหแหงจะเกิดการแข็งตัว
ทนทาน ดังนั้น วัสดุผสมจึงนําไปใชประโยชนได อาจเรียกวา ไฮดรอลิกซีเมนต (hy- ทราย
หลากหลายขึ้นอยูกับสมบัติของวัสดุที่นํามาผสม draulic cement) เพราะตองใชนํ้า เป น แร ข นาดเล็ ก ทรายเป น
เช น เสื้ อ กั น ฝนที่ เ กิ ด จากการผสมระหว า งผ า ผสมและแข็งตัวในนํา้ ได ปูนซีเมนต ตัวเติมเต็มในชองวางขนาดเล็ก ๆ
ปอร ต แลนด เ ป น ปู น ซี เ มนต ที่ ใ ช ระหว า งหิ น ขนาดใหญ ช ว ยลด
กับยาง คอนกรีตเสริมเหล็กเกิดจากการผสมวัสดุ ในการกอสรางมากที่สุด ชองวางในเนื้อคอนกรีตลง และลด
ระหวางคอนกรีตกับเหล็ก นอกจากนี้ วัสดุผสม ปญหาการไมรวมตัวของคอนกรีต
ขณะเกิดการแข็งตัว
ยังแบงออกไดเปน 2 ประเภท ตามประเภทของ ภาพที่ 3.43 องคประกอบของการทําคอนกรีต
ที่มา : คลังภาพ อจท.
วัสดุผสม คือ วัสดุผสมจากธรรมชาติ และวัสดุ
ผสมจากการสังเคราะห เมือ่ นํานํา้ ผสมกับปูนซีเมนต จะทําใหเกิดเจล
ของแข็ง ทําหนาที่ยึดเหนี่ยวอนุภาคของทรายและหิน
ใหตดิ กัน สงผลใหวสั ดุมคี วามแข็งแรง ดังนัน้ หากตองการ
ใหหินและทรายเชื่อมประสานกันไดดี จะตองมีปริมาณ
ปูนซีเมนตมากพอที่จะหุมผิวของอนุภาคหินและทราย
ไดหมด ซึ่งโดยปกติควรใชปูนซีเมนตปริมาณรอยละ 15
โดยปริมาตรของของแข็งในคอนกรีต คอนกรีตถูกนําไปใช
ประโยชนในการกอสรางสะพาน อาคาร เขือ่ น กําแพง ถนน
ภาพที่ 3.44 คอนกรีตเสริมเหล็กเปนคอนกรีตทีม่ กี ารใสเหล็กไวภายใน
และเมื่อใสเหล็กไวภายในคอนกรีตจะมีความแข็งแรง เพื่อเพิ่มความแข็งแรง
มากขึ้น เรียกคอนกรีตชนิดนี้วา คอนกรีตเสริมเหล็ก ที่มา : คลังภาพ อจท.
(reinforced concrete)

ภาพที่ 3.45 คอนกรีตถูกนําไปใชในการกอสราง


เขื่อน เพื่อใหเขื่อนมีความมั่นคงและแข็งแรง
118 ที่มา : คลังภาพ อจท.

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจแนะนําเพิ่มเติมเกี่ยวกับเหล็กเสริมคอนกรีตวา เหล็กทําหนาที่ ขอใดคือวัสดุผสม
รับแรงดึง ขณะที่คอนกรีตทําหนาที่รับแรงอัด โดยชนิดของเหล็กที่นํามาใชกับ 1. นาก
งานคอนกรีตเสริมเหล็ก มีดังนี้ 2. ทองคํา
1. เหล็กเสนกลม (round bar) คือ เหล็กเสนที่มีพื้นที่ภาคตัดขวาง 3. นํ้าเกลือ
เปนรูปกลม มีผิวเรียบเกลี้ยง 4. คอนกรีต
2. เหล็กรีดซํ้า (re-rolled round bar) คือ เหล็กเสนกลมอีกชนิดหนึ่งที่ (วิเคราะหคําตอบ นาก ทองคํา และนํ้าเกลือ จัดเปนสารละลาย
นํามาใชกับงานกอสรางขนาดเล็กและขนาดกลาง ซึ่งเกิดจากสารตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป มาละลายรวมเปนเนื้อเดียวกัน
3. เหล็กขอออย (deformed bar) คือ เหล็กเสนที่มีพื้นที่ภาคตัดขวาง สวนคอนกรีตเปนวัสดุผสมที่เกิดจากวัสดุตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป
เปนรูปกลม มีบั้ง และอาจมีครีบที่ผิว เพื่อเสริมกําลังยึดระหวางเหล็กเสน ที่ มี อ งค ป ระกอบทางเคมี แ ตกต า งกั น โดยที่ อ งค ป ระกอบนั้ น
กับเนื้อคอนกรีต จะตองไมละลายเขาดวยกัน ทําใหวสั ดุผสมมีสมบัตแิ ตกตางไปจาก
วัสดุเดิม ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T128
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
1. ให นั ก เรี ย นทํ า แบบฝ ก หั ด รายวิ ช าพื้ น ฐาน
2) ไฟเบอรกลาสส (fiberglass) คือ เสนใยของแกวที่ปนใหเปน Science in Real Life
เสื้อกันฝนไดผลิตขึ้นครั้งแรกโดย วิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ม.3 เล ม 1
เสนละเอียดบาง ๆ มีสว นผสม คือ ทรายแกวหรือซิลกิ าเปนสารสรางแกว และ เรื่อง วัสดุผสม
ชาลส แมกอินทอช นักเคมีชาวสกอต
โซดาแอชกับหินปูนเปนสารชวยลดจุดหลอมเหลว นํามาใชเปนวัสดุเสริมแรง เปนการนําเสนใยยางมารวมกับเสนใยฝาย 2. ให นั ก เรี ย นสรุ ป ความรู  เ ป น ผั ง มโนทั ศ น
ในพอลิเมอร ไฟเบอรกลาสสถูกนําไปใชกันอยางกวางขวาง เชน หลังคา โดยรวมกันเปนชั้น ๆ จัดเปนวัสดุผสม
รถกระบะ อางอาบนํา้ เรือ ชิน้ สวนเครือ่ งบินเล็ก ถังนํา้ ขนาดใหญ เพราะไฟเบอร อีกชนิดหนึ่ง ยางจะมีสมบัติปองกันนํ้า เรื่อง วัสดุผสม ลงในกระดาษ A4 นําเสนอ
กลาสสมีความแข็งแรง สามารถใชงานในอุณหภูมิสูงได เมื่อโดนความรอน สวมใสแลวไมสบาย สวนเสนใยฝาย สวมใส ในรูปแบบที่นาสนใจ แลวนํามาสงครูผูสอน
ไมเกิดการหดตัวหรือยืดตัวงาย ทนตอการกัดกรอน ทนตอแรงกระแทก
สบาย แต ไ ม ป  อ งกั น นํ้ า ซึ่ ง ป จ จุ บั น 3. ให นั ก เรี ย นตอบคํ า ถาม H.O.T.S. โดยให
เสือ้ กันฝนทํามาจากพอลิเมอรสงั เคราะห
เปนฉนวนความรอนทีด่ ี แตไฟเบอรกลาสสมกั จะเกิดการขัดสีในตัวเอง ทําให ทําใหไดเสื้อกันฝนที่มีสมบัติทั้งสวมใส
นั ก เรี ย นเขี ย นคํ า ตอบลงในสมุ ด ประจํ า ตั ว
พื้นผิวไดรับความเสียหาย จึงทําใหแรงยึดเหนี่ยวระหวางพื้นผิวของไฟเบอร สบายและปองกันนํ้าได นักเรียน
กลาสสกับพอลิเมอรตํ่า 4. ตรวจแบบฝกหัดรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร
นอกจากตัวอยางที่กลาวมา วัสดุผสมจากการสังเคราะหยังถูกนํามาใชในชีวิตประจําวันอีกมากมาย เชน และเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 เรื่อง วัสดุผสม
นําไปทําเปนสวนประกอบของรถยนต สวนประกอบของเรือ สวนประกอบของเครื่องบิน ไมเทนนิส ไมเบสบอล 5. ตรวจผังมโนทัศน เรื่อง วัสดุผสม
สวนประกอบของหมวกนิรภัย สวนประกอบของกังหันลม 6. ตรวจคํ า ตอบ H.O.T.S. ในสมุ ด ประจํ า ตั ว
นักเรียน
7. ใหนักเรียนประเมินวิธีการสอนของครูผูสอน
โดยครูใหนักเรียนเขียนขอเสนอแนะเกี่ยวกับ
วิธกี ารสอนเพือ่ ครูจะไดนาํ ขอเสนอแนะไปปรับ
ใชกับการสอนในครั้งตอไป

ภาพที่ 3.46 เคฟลารนิยมนํามาทําอุปกรณตกแตงรถยนต เชน ภาพที่ 3.47 เสนใยคารบอนนํามาทําปกเครื่องบิน


ฝากระโปรงหนา ฝากระโปรงทาย อุปกรณตกแตงรอบคัน ที่มา : คลังภาพ อจท.
ที่มา : คลังภาพ อจท.

นักเรียนคิดวา ไฟเบอรกลาสส
สามารถนําไปผลิตเปน
ผลิตภัณฑใดไดอีกบาง
ภาพที่ 3.48 เรือผลิตมาจากไฟเบอรกลาสส
ที่มา : คลังภาพ อจท.

วัสดุในชีวิตประจําวัน 119 แนวตอบ คําถาม


หลังคาบานโปรงแสง กระถางตนไม

กิจกรรม สรางเสริม แนวทางการวัดและประเมินผล


ให นั ก เรี ย นสื บ ค น และยกตั ว อย า งวั ส ดุ ผ สมนอกเหนื อ ครูวัดและประเมินผลความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง วัสดุผสม ไดจากการ
จากหนั ง สื อ เรี ย นรายวิ ช าพื้ น ฐานวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ทําผังมโนทัศน เรื่อง วัสดุผสม โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจาก
ม.3 เลม 1 อยางนอย 5 ตัวอยาง ลงในกระดาษ A4 ระบุ แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ที่อยูในแผนการจัดการเรียนรู
ส ว นประกอบที่ เ ป น วั ส ดุ พื้ น หรื อ เมทริ ก ซ และวั ส ดุ เ สริ ม หรื อ ประจําหนวยการเรียนรูที่ 3
ตัวเสริมแรง พรอมนําเสนอหนาชั้นเรียน
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
แบบประเมินผลงานแผนผังมโนทัศน์
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
ระดับคุณภาพ
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ที่กาหนด
2 ความถูกต้องของเนื้อหา
3 ความคิดสร้างสรรค์
4 ความเป็นระเบียบ
รวม
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
............../................./................
เกณฑ์ประเมินแผนผังมโนทัศน์
ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
1. ผลงานตรงกับ ผล งา น สอดค ล้ องกั บ ผ ล ง า น ส อด ค ล้ อ งกั บ ผลงานสอดคล้ อ งกั บ ผลงานไม่ ส อดคล้ อ ง
จุดประสงค์ที่ จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ บ า ง กับจุดประสงค์
กาหนด ประเด็น
2. ผลงานมีความ เนื้ อ หาสาระของผลงาน เนื้ อ หาสาระของผลงาน เ นื้ อ ห า ส า ร ะ ข อ ง เ นื้ อ ห า ส า ร ะ ข อ ง
ถูกต้องของ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ผลงานถูกต้องเป็นบาง ผลงานไม่ถูกต้องเป็น
เนื้อหา ประเด็น ส่วนใหญ่
3. ผลงานมีความคิด ผ ล ง า น แ ส ด ง อ อ ก ถึ ง ผลงานมี แ นวคิ ด แปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผ ล ง า น ไ ม่ แ ส ด ง
สร้างสรรค์ ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ใหม่ แ ต่ ยั ง ไม่ เ ป็ น ระบบ แ ต่ ยั ง ไ ม่ มี แ น ว คิ ด แนวคิดใหม่
แปลกใหม่และเป็นระบบ แปลกใหม่
4. ผลงานมีความ ผ ล ง า น มี ค ว า ม เ ป็ น ผลงานส่ ว นใหญ่ มี ค วาม ผลงานมี ค วามเป็ น ผลงานส่ ว นใหญ่ ไ ม่
เป็น ระเบียบ ระเบี ย บแสดงออกถึ ง เ ป็ น ร ะ เ บี ย บ แ ต่ ยั ง มี ร ะ เ บี ย บ แ ต่ มี เป็นระเบียบและมีข้อ
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย ข้อบกพร่องบางส่วน บกพร่องมาก

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14-16 ดีมาก
11-13 ดี
8-10 พอใช้
ต่ากว่า 7 ปรับปรุง

T129
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (5Es Instructional Model)


กระตุน ความสนใจ
1. ใหนักเรียนตรวจสอบความรูของตนเองกอน Check for Understanding
เข า สู  ก ารเรี ย นการสอนจากกรอบ Check พิจารณาขอความตามความเขาใจของนักเรียนวาถูกหรือผิด แลวบันทึกลงในสมุดบันทึก
for Understanding ในหนังสือเรียนรายวิชา ถูก/ผิด

พื้ น ฐานวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ม.3 1. non-biodegradable คือ ผลิตภัณฑที่ยอยสลายไดดวยวิธีทางชีววิทยา


เลม 1 หนวยการเรียนรูที่ 3 เรื่อง ผลกระทบ 2. การนํากลับมาใชใหมหรือการแปรรูปใหม (recycle) เปนการนําผลิตภัณฑพอลิเมอรที่เคยผานการ
ใชงานแลว มาผานการแปรรูปเปนผลิตภัณฑใหม เพื่อนํากลับมาใชงานอีกครั้งหนึ่ง

มุ ด
จากการใชวัสดุประเภทพอลิเมอร เซรามิก

นส
งใ
3. สมาคมอุตสาหกรรมพลาสติกกําหนดสัญลักษณเพื่อแสดงประเภทของพลาสติกไว 6 ประเภท


และวัสดุผสม

ทึ ก
บั น
2. ใหนักเรียนทํากิจกรรม Engaging Activity 4. พลาสติกหมายเลข 2 คือ พอลิเอทิลีนชนิดความหนาแนนสูง (HDPE)
โดยให นั ก เรี ย นร ว มกั น วิ เ คราะห แ ละแสดง 5. ถังขยะสีแดงใชสําหรับทิ้งขยะรีไซเคิลหรือขยะที่นํามาแปรรูปได
ความคิดเห็นวา จากภาพ เกิดปญหาอะไร
ส ง ผลกระทบอย า งไรต อ สิ่ ง แวดล อ ม และ
มีแนวทางในการปองกันและแกไขปญหานี้ E ngaging ใหนักเรียนพิจารณาภาพตอไปนี้ แลวรวมกันวิเคราะหวา ปญหาที่เกิดขึ้นสงผล
กระทบอยางไรตอสิ่งแวดลอม และมีแนวทางในการแกไขปญหานี้ไดอยางไร
ไดอยางไร จากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน Activity
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 หนวย
การเรียนรูที่ 3 เรื่อง ผลกระทบจากการใชวัสดุ ภาพที่ 1
ประเภทพอลิเมอร เซรามิกและวัสดุผสม

ภาพที่ 2

ภาพที่ 3.49 ปญหาขยะบริเวณทะเล


แนวตอบ Check for Understanding ที่มา : คลังภาพ อจท.
1. ผิด 2. ถูก 3. ผิด 120
4. ถูก 5. ผิด

แนวตอบ Engaging Activity


ภาพที่ 1 สงผลกระทบตอระบบนิเวศในทะเล และทําใหเกิดการสะสม
สารพิษในโซอาหาร แนวทางการแกปญหา คือ ไมควรทิ้งขยะลงในทะเล
ควรคัดแยกขยะกอนทิ้ง และทิ้งลงถังขยะใหถูกประเภท
ภาพที่ 2 สงผลกระทบกับสิ่งมีชีวิตในทะเล เมื่อสิ่งมีชีวิตในทะเล
กินพลาสติกเขาไป จะเปนอันตรายถึงชีวิต และอาจทําใหสิ่งมีชีวิตในทะเล
สูญพันธุ แนวทางการปองกัน คือ หันมาใชวัสดุที่ผลิตจากธรรมชาติ เชน
พลาสติกที่ยอยสลายได

T130
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
Key 4 ผลกระทบจากการใชวัสดุประเภท 1. ครูถามคําถาม Key Question
Question พอลิเมอร เซรามิกและวัสดุผสม 2. ครูสํารวจความรูเดิมของนักเรียน โดยถาม
ผลกระทบจากการ ในปจจุบันมีการใชผลิตภัณฑตาง ๆ ซึ่งไดจากพอลิเมอร คําถามนักเรียน ดังนี้
ใชพลาสติกมีอะไรบาง สังเคราะหและวัสดุผสมที่ไดจากการสังเคราะหกันอยางกวางขวาง • ยกตัวอยางวัสดุในชีวิตประจําวันที่จัดเปน
ซึ่งผลิตภัณฑเหลานี้ไมสามารถยอยสลายไดดวยวิธีทางชีววิทยา วัสดุประเภทพอลิเมอร
(non-biodegradable) จึงเกิดการสะสมของขยะตกคางอยูใ นสิง่ แวดลอม (แนวตอบ โฟม พลาสติก ยาง ไนลอน แปง
ยากตอการกําจัด เมื่อนํามาเผาจะกอใหเกิดควันที่เปนพิษออกสูบรรยากาศ หากนําไปฝงดินก็จะทําใหดิน ยางรถยนต)
เสื่อมสภาพ สงผลใหสิ่งแวดลอมถูกทําลายลง • ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากขยะมูลฝอยไดแก
ปจจุบนั จึงมีการรณรงคเกีย่ วกับแนวทางการใชพอลิเมอรสงั เคราะหอยางคุม คา และสงผลกระทบตอสิง่ แวดลอม อะไรบาง
นอยที่สุด โดยมี 3 แนวทาง ดังนี้ (แนวตอบ ภาวะโลกรอน มลพิษปนเปอนสู
สิ่งแวดลอม)
3. ครูเตรียมอุปกรณตะกรา 4 สี ไดแก ตะกรา
การลดการใช (reduce) การใชซํ้า (reuse) การนํากลับมาใชใหม
(recycle) สีเขียว สีเหลือง สีฟา และสีแดง และเตรียม
เปนการลดหรือใชผลิตภัณฑพอลิเมอร เป น การนํ า ผลิ ต ภั ณ ฑ พ อลิ เ มอร
สั ง เคราะห ใ ห น  อ ยลง อาจใช วั ส ดุ สังเคราะหที่ผานการใชงานแลว แต เป น การนํ า ผลิ ต ภั ณ ฑ พ อลิ เ มอร บัตรภาพขยะตางๆ
หรือบรรจุภัณฑจากธรรมชาติแทน ยังมีคุณภาพดีกลับมาใชงานอีกครั้ง สังเคราะหที่เคยผานการใชงานแลว 4. ใหนักเรียนแบงกลุมออกเปน 4 กลุม และ
บรรจุภัณฑจากพอลิเมอรสังเคราะห เชน การใชกระดาษใหครบทัง้ 2 หนา มาผ า นการแปรรู ป เป น ผลิ ต ภั ณ ฑ ครู แ จกอุ ป กรณ ที่ เ ตรี ย มไว ใ ห กั บ นั ก เรี ย น
หรือใชบรรจุภัณฑที่มีความคงทน ใหม เพื่อนํากลับมาใชงานอีกครั้ง
สามารถนํากลับมาใชใหมได เชน ใช หนึ่ ง โดยเฉพาะพลาสติ ก ซึ่ ง เป น
แตละกลุม
ถุงผาแทนการใชถุงพลาสติก ผลิตภัณฑที่ใชกันอยางแพรหลาย 5. ใหนักเรียนรวมกันวิเคราะหบัตรภาพ แลว
รวมกันสืบคนขอมูล และรวบรวมขอมูลที่ได
มาใชในการคัดแยกขยะในบัตรภาพวา ควร
ทิ้งลงในตะกราสีใด โดยตะกราแตละสีแทน
ถังขยะแตละประเภท

ภาพที่ 3.50 แนวทางการใชพอลิเมอรสังเคราะหอยางคุมคา


ที่มา : คลังภาพ อจท. แนวตอบ Key Question
วัสดุในชีวิตประจําวัน 121 กอใหเกิดมลพิษตอสิ่งแวดลอม ทําใหเกิด
ปญหาตอสุขภาพรางกายของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


แนวทางการใชพอลิเมอรสังเคราะหระหวางการใชซํ้าแตกตาง ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง มลพิษ : ดิน
กับการนํากลับมาใชใหมอยางไร (https://www.twig-aksorn.com/fifilm/pollution-land-8119/)
1. การใชซํ้าตองนําพอลิเมอรสังเคราะหมาแปรรูปเปน
ผลิตภัณฑใหม
2. การนํากลับมาใชใหมตองนําพอลิเมอรสังเคราะห
มาแปรรูปเปนผลิตภัณฑใหม
3. การใชซํ้าตองนําพอลิเมอรสังเคราะหมาปรับปรุงคุณภาพ
ใหดีขึ้นกอนนํากลับมาใชใหม
4. การนํากลับมาใชใหมตองนําพอลิเมอรสังเคราะห
มาปรับปรุงคุณภาพกอนนํากลับมาใชใหม
(วิเคราะหคําตอบ การใชซํ้า คือ การนําผลิตภัณฑพอลิเมอร
สังเคราะหที่ผานการใชงานแลว แตยังมีคุณภาพดีกลับมาใชงาน
อีกครั้ง การนํากลับมาใชใหม เปนการนําผลิตภัณฑพอลิเมอร
ที่เคยผานการใชงานแลวมาผานการแปรรูปเปนผลิตภัณฑใหม
ดังนั้น ตอบขอ 2.)
T131
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
6. ครู สุ  ม เรี ย กตั ว แทนแต ล ะกลุ  ม ออกนํ า เสนอ สมาคมอุตสาหกรรมพลาสติกแหงสหรัฐอเมริกาไดมีการกําหนดสัญลักษณ เพื่อแสดงประเภทของพลาสติก
การคัดแยกขยะในบัตรภาพ ที่สามารถนํากลับมาแปรรูปใหมได ดังนี้
7. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายวา ปจจุบัน หมายเลข 1 โพลิเอทิลนี เทเรฟทาเลต (polyethylene terephthalate; PETE; PET)
ผลิตภัณฑบางผลิตภัณฑที่ไดจากพอลิเมอร เชน ขวดนํ้า ขวดนํ้าอัดลม ขวดนํ้ามัน
เซรามิ ก และวั ส ดุ ผ สมก อ ให เ กิ ด มลพิ ษ ต อ
สิ่ ง แวดล อ ม เนื่ อ งจากย อ ยสลายค อ นข า ง
ยาก ยากตอการกําจัด หากนําไปฝงกลบดิน หมายเลข 2 โพลิเอทิลนี ชนิดความหนาแนนสูง (high density polyethylene; HDPE)

สารเคมี ใ นวั ส ดุ อ าจทํ า ให ดิ น เสื่ อ มสภาพ เชน ขวดโยเกิรต ขวดบรรจุผงซักฟอก ขวดยาสระผม
แตพลาสติกบางประเภทสามารถนํากลับมา
ใชใหมได ดังนั้น หากเรารวมมือกันคัดแยก
หมายเลข 3 โพลิไวนิลคลอไรด (polyvinyl chloride; PVC; V)
ขยะก็อาจเปนแนวทางหนึง่ ทีช่ ว ยลดผลกระทบ
จากการใช ป ระโยชน ข องวั ส ดุ ป ระเภท เชน ทอนํ้าประปา สายยางใส แผนฟลมสําหรับหออาหาร
พอลิเมอร เซรามิก และวัสดุผสม โดยถังขยะ
แบงออกไดเปนประเภทตางๆ ดังนี้ หมายเลข 4 โพลิเอทิลีนชนิดความหนาแนนตํ่า (low density polyethylene; LDPE)
- ถังขยะสีเขียว : สําหรับขยะที่ยอยสลายได เชน ฟลมหออาหารและหอของ ถุงเย็นสําหรับบรรจุอาหาร
กลายเปนปุย เชน เปลือกผลไม ใบไม
- ถังขยะสีเหลือง : สําหรับขยะทีร่ ไี ซเคิล หรือ
ขยะที่นําไปแปรรูปได หมายเลข 5 โพลิโพรพิลีน (polypropylene; PP)
- ถั ง ขยะสี ฟ  า : สํ า หรั บ ขยะที่ ย  อ ยสลาย เชน ภาชนะบรรจุอาหาร เชน กลอง ชาม จาน ถัง ตะกรา
ยาก เชน โฟมเปอนอาหาร ซองบะหมี่
กึ่งสําเร็จรูป
หมายเลข 6 โพลิสไตรีน (polystyrene; PS)
- ถังขยะสีแดง : สําหรับขยะอันตรายหรือ
ขยะมีพิษ เชน ถานไฟฉาย หลอดไฟฟา เชน ภาชนะบรรจุของใชตาง ๆ หรือโฟมบรรจุอาหาร

หมายเลข 7 OTHER

ไมไดมกี ารระบุชอื่ จําเพาะ ซึง่ ไมใชพลาสติก 6 ชนิด ทีก่ ลาวมา เชน โพลิคารบอเนต (poly-
carbonate; PC) ใชทาํ โคมไฟฟา โคมไฟหนาของรถยนต ใบพัดเรือ ชิน้ สวนอิเล็กทรอนิกส
ภาพที่ 3.51 สัญลักษณแสดงประเภทของพลาสติก 7 ประเภท
ที่มา : คลังภาพ อจท.

122 สัญลักษณแสดงประเภทของพลาสติก

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจาก QR Code เรื่อง สัญลักษณแสดงประเภท สั ญ ลั ก ษณ แ สดงประเภทพลาสติ ก บนขวดยาสระผมและ
ของพลาสติก ฟลมหออาหารเปนหมายเลขใด ตามลําดับ
1. หมายเลข 1 และหมายเลข 2
2. หมายเลข 2 และหมายเลข 4
3. หมายเลข 3 และหมายเลข 5
4. หมายเลข 4 และหมายเลข 7
(วิเคราะหคําตอบ ขวดยาสระผมเป น พลาสติ ก ประเภทพอลิ
เอทิลีนชนิดความหนาแนนสูง สัญลักษณ คือ หมายเลข 2 และ
ฟ ล  ม ห อ อาหารเป น พลาสติ ก ประเภทพอลิ เ อทิ ลี น ชนิ ด ความ
หนาแนนตํ่า สัญลักษณ คือ หมายเลข 4 ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T132
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
การใชผลิตภัณฑที่ยอยสลายไมได เชน พลาสติก โฟม แกว ซึ่งมีปริมาณการใชงานมากจึงเกิดขยะมูลฝอย 8. ครู อ ธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม ว า เราควรร ว มกั น ลด
สูงขึ้นตามไปดวย สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม กอใหเกิดมลพิษทางนํ้า ดินเสื่อมสภาพ สงกลิ่นเหม็นรบกวน รวมทั้ง
เปนแหลงที่อยูอาศัยของสัตวที่เปนพาหะนําโรค ซึ่งนอกจากการลดการใชผลิตภัณฑ การใชซํ้าหรือการนําไปแปรรูป
การใช ผ ลิ ต ภั ณ ฑ พ อลิ เ มอร สั ง เคราะห
การคัดแยกขยะ โดยทิ้งขยะลงในถังขยะใหถูกประเภท จึงเปนอีกแนวทางในการแกปญหาดังกลาวที่ทําไดงาย แลวหันไปใชผลิตภัณฑพอลิเมอรจากธรรมชาติ
และสามารถรวมกันทําได ไมวาจะเปนระดับชุมชน ระดับจังหวัด จนถึงระดับประเทศ โดยถังขยะสําหรับคัดแยกขยะ แทน หรือใชผลิตภัณฑพอลิเมอรอยางประหยัด
แบงออกเปนประเภทตาง ๆ ดังนี้ หากสามารถนํากลับมาใชใหมไดและยังคง
คุณภาพดีอยู ควรใชผลิตภัณฑซํ้า และถา
ผลิ ต ภั ณ ฑ พ อลิ เ มอร สั ง เคราะห ที่ เ คยผ า น
การใชงานแลว สามารถแปรรูปเปนผลิตภัณฑ
ถังขยะสีเขียว
ใหมได ควรนํากลับมาใชงานอีกครั้งหนึ่ง
สําหรับขยะที่ยอยสลาย สามารถนําไปหมักเปนปุย เชน
เศษผัก เปลือกผลไม เศษอาหาร ใบไม

ถังขยะสีเหลือง
สําหรับขยะรีไซเคิลหรือขยะที่นําไปแปรรูปได เชน แกว
กระดาษ กระปองเครื่องดื่ม ขวดพลาสติก

ถังขยะสีฟา
สําหรับขยะทีย่ อ ยสลายยากและไมคมุ คาสําหรับการนํากลับ
มาใชประโยชนใหม เชน หอพลาสติกใสขนม ซองบะหมี่
กึ่งสําเร็จรูป โฟมบรรจุอาหาร

ถังขยะสีแดง
สําหรับขยะอันตรายหรือขยะที่มีพิษตอสิ่งมีชีวิตและ
สิ่งแวดลอม เชน หลอดไฟฟา ถานไฟฉาย กระปองสเปรย
กระปองยาฆาแมลง
ภาพที่ 3.52 ถังขยะสําหรับคัดแยกขยะประเภทตาง ๆ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
วัสดุในชีวิตประจําวัน 123

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดคือขยะที่ควรทิ้งลงในถังขยะสีแดง ครูอาจใหนกั เรียนแบงกลุม เลนเกมแยกขยะกอนทิง้ ลงถัง เพือ่ ปลูกจิตสํานึก
1. โฟมบรรจุอาหาร ใหชวยลดปริมาณขยะในสิ่งแวดลอม โดยครูอาจนําบัตรภาพขยะตางๆ มา
2. กระปองเครื่องดื่ม ใหนักเรียนแยกประเภท และรวมกันวิเคราะหวา ควรทิ้งลงถังขยะประเภทใด
3. กระปองยาฆาแมลง หลังทํากิจกรรมครูอาจใหนักเรียนสรุปความรูของตนเอง โดยทําเปนแผนพับ
4. ซองบะหมี่กึ่งสําเร็จรูป แจกคนในชุมชน เพื่อรณรงคและสงเสริมใหคนในชุมชนชวยกันลดปริมาณขยะ
(วิเคราะหคําตอบ โฟมบรรจุอาหารและซองบะหมี่กึ่งสําเร็จรูป ในพื้นที่
ควรทิ้งลงถังขยะสีฟา กระปองเครื่องดื่มควรทิ้งลงถังขยะสีเหลือง
และกระปองยาฆาแมลงควรทิง้ ลงถังขยะสีแดง ดังนัน้ ตอบขอ 3.)

T133
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
9. ให นั ก เรี ย นทํ า แบบฝ ก หั ด รายวิ ช าพื้ น ฐาน Application
Activity
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1
เรื่ อ ง ผลกระทบจากการใช วั ส ดุ ป ระเภท ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 คน แลวรวมกันสืบคนขอมูลเกี่ยวกับการใชประโยชนของวัสดุผสม
พอลิเมอร เซรามิกและวัสดุผสม ในชีวิตประจําวัน เชน นําไปใชเปนสวนประกอบของเครื่องบิน แลวใหนําเสนอโดยระบุวา ใชวัสดุผสมอะไรบาง
เปนสวนประกอบ ตัวอยางเชน
10. ใหนักเรียนศึกษาขอมูลเพิ่มเติมจาก Power
Point เรื่ อ ง ผลกระทบจากการใช วั ส ดุ
ประเภทพอลิเมอร เซรามิกและวัสดุผสม ไฟเบอรกลาสส

11. ใหนักเรียนตอบคําถาม Topic Questions อะลูมิเนียม


1
ลงในสมุดประจําตัวนักเรียน แลวนํามาสง เคฟลาร
2
ครูผูสอน เสนใยคารบอน

12. ใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน หนวย


การเรียนรูที่ 3 วัสดุในชีวิตประจําวัน ภาพที่ 3.53 การระบุวัสดุที่ใชเปนสวนประกอบของเครื่องบิน
ที่มา : คลังภาพ อจท.

Topic Questions
คําชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
1. วัสดุผสมคืออะไร
2. วัสดุผสมประกอบดวยองคประกอบใดบาง
3. วัสดุเสริมแรงมีความสําคัญอยางไรตอวัสดุผสม
4. ยกตัวอยางวัสดุผสมประเภทวัสดุผสมจากการสังเคราะห
5. กระดูกเปนวัสดุผสมที่มีองคประกอบใดเปนวัสดุพื้น และองคประกอบใดเปนวัสดุเสริม
6. อธิบายความหมายของคําวา non-biodegradable
7. การนํายางรถยนตเกาทีไ่ มไดใชแลวมาทําเปนเกาอีน้ งั่ ในสวน เปนแนวทางในการใชพอลิเมอรสงั เคราะหอยางไร
8. ระบุประเภทของพลาสติกที่สามารถนํากลับมาใชใหมได (recycle)
9. ถังขยะสีฟาใชสําหรับทิ้งขยะประเภทใด
10. บอกแนวทางในการคัดแยกขยะ และการใชผลิตภัณฑพอลิเมอรสังเคราะหใหคุมคา

124

นักเรียนควรรู แนวตอบ Topic Questions


1. วัสดุทปี่ ระกอบดวยวัสดุตงั้ แต 2 ชนิดขึน้ ไป ทีม่ อี งคประกอบทางเคมี
1 เคฟลาร เปนพอลิเมอรสังเคราะหที่มีความแข็งมากกวาเหล็ก 5 เทา แตกตางกัน
เมือ่ เทียบกับเหล็กทีม่ นี าํ้ หนักเทากัน โดยเคฟลารมสี มบัตทิ ที่ นตอสารเคมี ทนตอ 2. วัสดุพื้นหรือเมทริกซ และวัสดุเสริมหรือตัวเสริมแรง
ความรอน มักนําไปใชทําเกราะกันกระสุน ชุดนักแขงรถ ไมเทนนิส เรือแคนู 3. ชวยเพิ่มคุณสมบัติใหกับวัสดุพื้น ทําใหวัสดุผสมมีสมบัติพิเศษ
2 เสนใยคารบอน หรือไฟเบอรแกรไฟต เปนวัสดุทางวิทยาศาสตรทมี่ คี ารบอน 4. คอนกรีต ไฟเบอรกลาสส
เปนองคประกอบรอยละ 90 ซึ่งคุณสมบัติเดนของเสนใยคารบอน คือ แข็งแรง 5. วัสดุพื้น คือ คอลลาเจน และวัสดุเสริม คือ แคลเซียมฟอสเฟต
ทนตอแรงดึง นํา้ หนักเบา ทนตอสารเคมี ทนตออุณหภูมสิ งู อัตราการขยายตัวตํา่ 6. ยอยสลายไมไดดวยวิธีทางชีววิทยา
ณ อุณหภูมสิ งู จึงนิยมนํามาใชในอุตสาหกรรมการบิน วิศวกรรม และการแขงขัน 7. การนํากลับมาใชใหม (recycle)
8. พอลิเอทิลนี เทเรฟทาเลต พอลิเอทิลนี ชนิดความหนาแนนสูง พอลิไวนิล
กีฬา
คลอไรด พอลิเอทิลีนความหนาแนนตํ่า พอลิโพรพิลีน พอลิสไตรีน
และพลาสติกอื่นๆ เชน พอลิคารบอเนต
9. ขยะทีย่ อ ยสลายยากและไมคมุ คาตอการนํากลับมาใชประโยชนใหม
10. ควรทิ้งขยะลงถังใหถูกประเภท เชน ถังขยะสีเขียวสําหรับขยะยอย
สลายได ถังขยะสีเหลืองสําหรับขยะรีไซเคิล และใชพอลิเมอร
สังเคราะหอยางคุมคา ไดแก การลดการใช การใชซํ้า และการ
T134 นํากลับมาใชใหม
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
F u n
13. ให นั ก เรี ย นแบ ง กลุ  ม กลุ  ม ละ 5-6 คน
Science Activity หนอนหรรษา
ทํากิจกรรม Science Activity เรื่อง หนอน
วัสดุอปุ กรณ หรรษา ในหนั ง สื อ เรี ย นรายวิ ช าพื้ น ฐาน
1. ปเปตต วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1
2. นํ้ากลั่น หนวยการเรียนรูที่ 3 วัสดุในชีวิตประจําวัน
3. บีกเกอร 14. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายผลกิจกรรม
4. หลอดฉีดยา
เพื่อใหไดขอสรุปวา หนอนหรรษาเกิดจาก
5. สีผสมอาหาร
โมเลกุลของโซเดียมอัลจิเนตที่มาเชื่อมตอ
6. 1 (CaCl2)
แคลเซียมคลอไรด
กั น เป น สายยาว โดยมี แ คลเซี ย มไอออน
7. โซเดียมอัลจิเนต (C6H9NaO7)
ภาพที่ 3.54 พอลิเมอรที่มีลักษณะเปนเจลคลายหนอน
ที่มา : https://www.stevespanglerscience.com/lab/experiments/instant-worms-polymer/ เกาะกั บ สายพอลิ เ มอร ก ลายเป น สายโซ
พอลิเมอรขนาดใหญ
วิธที าํ
1. ใสโซเดียมอัลจิเนตจํานวน 2 กรัม ลงในนํ้ากลั่นปริมาตร 100 มิลลิลิตร แลวคนอยางสมํ่าเสมอ (อาจจะใชเครื่องปนชวย
ในการเตรียมสารละลาย)
2. หยดสีผสมอาหารลงในสารละลายโซเดียมอัลจิเนต (หมายเหตุ การทดลองจะใหผลดีมากขึน้ เมือ่ เตรียมสารละลายกอน 1 วัน)
3. ใสแคลเซียมคลอไรดจํานวน 2 กรัม ลงในนํ้ากลั่นปริมาตร 100 มิลลิลิตร คนจนสารละลายละลายหมด
4. หยดสารผสมระหวางโซเดียมอัลจิเนตกับสีผสมอาหารลงในสารละลายแคลเซียมคลอไรด โดยใชหลอดฉีดยาหรือปเปตต จะได
พอลิเมอรที่มีลักษณะคลายหนอนหรืออาจจะใชหลอดหยด จะไดพอลิเมอรลักษณะคลายไขปลา

ภาพที่ 3.55 วิธีทําหนอนหรรษา


ที่มา : https://www.stevespanglerscience.com/lab/experiments/instant-worms-polymer/

หลักการทางวิทยาศาสตร
เมื่อเติมโซเดียมอัลจิเนตลงในสารละลายแคลเซียม
คลอไรด ไอออนของแคลเซียม (Ca2+) จะไปเกาะอยูกับสาย
พอลิเมอรของโซเดียมอัลจิเนต เกิดการทําปฏิกิริยาเชื่อมโยง
ระหวางโมเลกุลจนเปนสายโซพอลิเมอรขนาดใหญ ทําใหได ภาพที่ 3.56 แคลเซียมไอออนเกาะกับสายพอลิเมอรของโซเดียม
อัลจิเนต เกิดเปนสายโซขนาดใหญ ไดพอลิเมอรที่มีลักษณะเปนเจล
พอลิเมอรที่มีลักษณะเปนเจล ที่มา : คลังภาพ อจท.

วัสดุในชีวิตประจําวัน 125

กิจกรรม ทาทาย นักเรียนควรรู


หลั ง จากนั ก เรี ย นทํ า กิ จ กรรม Science Activity เรื่ อ ง 1 อัลจิเนต หรือแอลจิน เปนพอลิแซ็กคาไรดซงึ่ เปนอนุพนั ธของนํา้ ตาล ไดแก
หนอนหรรษา ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและ กรดแมนนูโรนิก (D-mannuronic acid) กรดกูลโู รนิก (guluronic acid) สกัดได
เทคโนโลยี ม.3 เลม 1 หนวยการเรียนรูที่ 3 วัสดุในชีวิตประจําวัน จากผนังเซลลของสาหรายสีนาํ้ ตาล (brown algae) เชน Macrocystis pyrifera,
แลวใหนักเรียนนําความรู เรื่อง พอลิเมอร มาตอบคําถามตอไปนี้ Laminaria digitata, Laminaria hyperborea และผานกระบวนการทําใหแหง
- มอนอเมอรของหนอนหรรษาคืออะไร จึงมีลักษณะเปนผง
- หนอนหรรษาเปนพอลิเมอรประเภทใด หากพิจารณาตาม
ลักษณะการเกิด
- หนอนหรรษาเปนพอลิเมอรประเภทใด หากพิจารณาตาม
ชนิดของมอนอเมอร
- ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันที่เกิดขึ้นเปนปฏิกิริยาแบบใด

T135
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
15. ครูเตรียมกลองโฟม 2 ใบ ดังนี้ Science in Real Life
ตัวอยางกลองโฟมใบที่ 1 วัสดุทางเลือกสําหรับบรรจุภัณฑ

ป ญ หาขยะมู ล ฝอยในประเทศไทย ถื อ เป น ป ญ หา


สิง่ แวดลอมทีส่ าํ คัญ เนือ่ งจากมีการใชบรรจุภณั ฑจากพลาสติก
เปนจํานวนมาก ไมมีการจัดการขยะที่ไดมาตรฐาน กอให
ตัวอยางกลองโฟมใบที่ 2 เกิดปญหาขยะลนเมือง และยังกอใหเกิดปญหามลพิษ เชน
ปรากฏการณเรือนกระจก ซึ่งมีสาเหตุจากขยะที่มารวมกัน
เปนจํานวนมาก เกิดการปลอยแกสมีเทน แกสซัลเฟอร
และแกสคารบอนไดออกไซดออกมา นอกจากนี้ ยังสงผลให ภาพที่ 3.57 ปญหาขยะลนเมือง เกิดจากมีขยะ
16. ครูนํากลองโฟม 2 ใบ มาใหนักเรียนรวมกัน เกิดปญหาขยะในทองทะเล สงผลกระทบตอสภาพแวดลอม จํานวนมากและเปนขยะที่ยากตอการยอยสลาย
อภิปราย โดยครูถามคําถาม ดังนี้ และการดํารงชีวิตของสัตวในทะเล เชน กลองโฟม ถุงพลาสติก
ที่มา : คลังภาพ อจท.
• กลองโฟมใบที่ 1 และ 2 ผลิตมาจากอะไร
(แนวตอบ ใบที่ 1 พอลิสไตรีน
ใบที่ 2 ทําจากพืช เชน ออย
ขาวโพด มันสําปะหลัง) พลาสติกที่ยอยสลายได
คือ พอลิเมอรหรือพลาสติกทีส่ ามารถยอยสลายได (biodegradable)
• กลองโฟมใบใดยอยสลายได ผลิตมาจากพืช ซึง่ จะมีสมบัตคิ ลายคลึงกับพลาสติกสังเคราะหทวั่ ไป
(แนวตอบ กลองโฟมใบที่ 2) แตพลาสติกชนิดนี้สามารถยอยสลายไดเอง
17. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม จากกรอบ
Science in Real Life ในหนังสือเรียนรายวิชา ภาพที่ 3.58 ถุงพลาสติกที่สามารถยอยสลายไดเอง
พื้ น ฐานวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ม.3 ทีม่ า : https://www.retailresource.com/product/60698/
Biodegradable-Plastic-Bags-with-TDPA-Additive
เลม 1 เรือ่ ง วัสดุทางเลือกสําหรับบรรจุภณ ั ฑ
18. ครูอธิบายเพิม่ เติมวา นอกจากแนวทางในการ
วัสดุจากธรรมชาติ
ใชพอลิเมอรอยางคุมคา และแนวทางการ
สามารถนํามาผลิตเปนบรรจุภัณฑสําหรับบรรจุอาหารได ซึ่ง
คัดแยกขยะเพื่อลดปริมาณขยะในพื้นที่แลว ทําใหมีความปลอดภัยตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม เชน การ
ยังมีอีกแนวทางหนึ่ง คือ พลาสติกยอยสลาย แปรรูปรากเห็ดแลวนํามาขึน้ รูปเปนบรรจุภณั ฑ กลองใสอาหาร
ได ซึ่งเปนพลาสติกที่สามารถยอยสลายได จากชานออย จานชามอาหารจากใบไม
ภาพที่ 3.59 กลองใสอาหารจากชานออย
ดวยจุลินทรียหรือผานกระบวนการหมัก ซึ่ง ที่มา : คลังภาพ อจท.
ไมหลงเหลือสารพิษตกคางในสภาพแวดลอม

126

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับพลาสติกยอยสลายไดวา พลาสติกที่ผลิต เพราะเหตุใดจึงไมนาํ พอลิเมอรทใี่ ชทาํ ทอพีวซี มี าทําเปนภาชนะ
จากธรรมชาติ เช น อ อ ย ข า วโพด มั น สํ า ปะหลั ง สามารถย อ ยสลายได บรรจุอาหาร
โดยจุลินทรียในธรรมชาติ กลายเปนคารบอนไดออกไซด นํ้า และมวลชีวภาพ 1. หลอมเหลวงายที่อุณหภูมิตํ่า
ภายใตอุณหภูมิและความชื้นที่เหมาะสม หรือนําไปผานกระบวนการหมักทาง 2. มอนอเมอรเปนสารพิษที่อันตรายตอรางกาย
ชีวภาพภายในระยะเวลาไมเกิน 180 วัน ถึง 1 ป ผลทีไ่ ดจะไมมสี ว นของพลาสติก 3. เมื่อถูกความรอนจะสลายใหแกสเรือนกระจก
และไมหลงเหลือสารพิษตกคางอยูในสภาพแวดลอม 4. สีที่ฉาบบนทอพีวีซีไมคงทน อาจหลุดออกมาปนกับอาหาร
(วิเคราะหคําตอบ มอนอเมอร ข องพอลิ ไ วนิ ล คลอไรด ที่ ใ ช ทํ า
ทอพีวีซี คือ ไวนิลคลอไรด ซึ่งเปนสารเคมีอันตราย จึงไมนิยม
นํามาทําเปนภาชนะบรรจุอาหาร ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T136
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเข้าใจ
Summary 19. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 คน แลว
วัสดุในชีวิตประจําวัน รวมกันสืบคนขอมูลเกีย่ วกับการใชประโยชน
ของวั ส ดุ ผ สมในชี วิ ต ประจํ า วั น แล ว ให
¾ÍÅÔàÁÍÏ นั ก เรี ย นออกแบบวั ส ดุ ใ นชี วิ ต ประจํ า วั น ที่
ÅѡɳР໚¹ÊÒ÷ÕèÁÕâÁàÅ¡ØÅ¢¹Ò´ãËÞ‹ à¡Ô´¨Ò¡ÊÒÃâÁàÅ¡ØÅàÅç¡
·ÕèàÃÕÂ¡Ç‹Ò Á͹ÍàÁÍÏ ÁÒÊÌҧ¾Ñ¹¸Ðâ¤àÇàŹµµ‹Í¡Ñ¹
เอือ้ ประโยชนตอ การดํารงชีวติ ลงในกระดาษ
A4 แล ว ระบุ ว  า ใช วั ส ดุ ผ สมอะไรบ า ง
¢Í§¾ÍÅÔàÁÍÏ เปนสวนประกอบ พรอมนําเสนอในรูปแบบ
ÊÁºÑµÔ·Ò§¡ÒÂÀÒ¾¢Í§ ¾ÍÅÔàÁÍÏ ที่นาสนใจ
»ÃÐàÀ·¢Í§ ¾ÍÅÔàÁÍÏ ¢Öé¹ÍÂÙ‹¡Ñºâ¤Ã§ÊÌҧ¢Í§¾ÍÅÔàÁÍÏ
ẋ§µÒÁÅѡɳСÒÃà¡Ô´ â¤Ã§ÊÌҧẺàÊŒ¹ ÊÒÂâ«‹àÃÕ§ªÔ´¡Ñ¹
¤ÇÒÁ˹Òṋ¹ÊÙ§ á¢ç§áÅÐà˹ÕÂÇ
¾ÍÅÔàÁÍϸÃÃÁªÒµÔ ÊÒÁÒöà¡Ô´¢Öé¹àͧ
µÒÁ¸ÃÃÁªÒµÔ ઋ¹ ệ§ â»ÃµÕ¹ ÂÒ§¸ÃÃÁªÒµÔ
â¤Ã§ÊÌҧẺ¡Ôè§ ÁÕ¡Ôè§á¡ÍÍ¡ÁÒ
¾ÍÅÔàÁÍÏÊѧà¤ÃÒÐˏ à¡Ô´¢Ö鹨ҡ¡ÒÃÊѧà¤ÃÒÐˏ¢Í§ ¤ÇÒÁ˹Òṋ¹µíèÒ Â×´ËÂØ‹¹ä´Œ
Á¹Øɏ ઋ¹ ¾ÅÒʵԡ ä¹Å͹ ¤ÇÒÁà˹ÕÂǵíèÒ
ẋ§µÒÁª¹Ô´¢Í§Á͹ÍàÁÍÏ
âÎâÁ¾ÍÅÔàÁÍÏ ¾ÍÅÔàÁÍÏ·Õè»ÃСͺ´ŒÇÂÁ͹ÍàÁÍÏ â¤Ã§ÊÌҧẺËҧáË ÊÒÂâ«‹àª×èÍÁ¡Ñ¹
ª¹Ô´à´ÕÂǡѹ ઋ¹ ệ§ à«ÅÅÙâÅÊ ä¡Åâ¤à¨¹ ໚¹Ã‹Ò§áË á¢ç§ ᵋà»ÃÒЧ‹ÒÂ
⤾ÍÅÔàÁÍÏ ¾ÍÅÔàÁÍÏ·Õèà¡Ô´¨Ò¡Á͹ÍàÁÍÏ
µ‹Ò§ª¹Ô´¡Ñ¹ ઋ¹ â»ÃµÕ¹ ä¹Å͹ 6,6
¡ÒÃ㪌»ÃÐ⪹ ÇÑÊ´Ø»ÃÐàÀ·¾ÍÅÔàÁÍÏ
¾ÅÒʵԡ ÂÒ§ àÊŒ¹ãÂ
¾ÍÅÔàÍ·ÔÅÕ¹ 㪌·íÒ ÂÒ§¸ÃÃÁªÒµÔ ¹íÒÁÒÃÕ´áÅл˜›¹à»š¹
¶Ø§ãÊ‹¢Í§àÂç¹ ãªŒ·íҶاÁ×Íᾷ àÊŒ¹´ŒÒ 㪌·íÒà¤Ã×èͧ
¶Ø§¢ÂÐ ¢Í§àÅ‹¹à´ç¡ ¶Ø§Âҧ͹ÒÁÑ ¹Ø‹§Ë‹Á
¾ÍÅÔÊäµÃÕ¹ 㪌·íÒ ÂÒ§Êѧà¤ÃÒÐˏ ઋ¹
ªÔé¹Ê‹Ç¹¢Í§µÙŒàÂç¹ ÂÒ§ºÕÍÒÏ 㪌·íÒÂҧö¹µ
â¿ÁºÃèØÍÒËÒà ÂҧŌÍà¤Ã×èͧºÔ¹
¾ÍÅÔäǹÔŤÅÍäô 㪌·íÒ ÂÒ§àÍʺÕÍÒÏ 㪌·íÒ
·‹Í¹íéÒ»ÃÐ»Ò ¡ÃÐàº×éͧ»Ù¾×é¹ Âҧö¹µ ¾×é¹Ãͧ෌Ò

วัสดุในชีวิตประจําวัน 127

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET สื่อ Digital


ขอใดจัดเปนพอลิเมอรธรรมชาติทั้งหมด ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง ไนลอน
1. ไกลโคเจน ไขมัน ซิลิโคน (https://www.twig-aksorn.com/fifilm/invention-of-nylon-8183/)
2. แปง เซลลูโลส พอลิสไตรีน
3. ยางพารา พอลิเอทิลีน เทฟลอน
4. โปรตีน พอลิไอโซพรีน กรดนิวคลีอิก
(วิเคราะหคําตอบ
ขอ 1. ไม ถู ก ต อ ง เพราะซิ ลิ โ คนเป น พอลิ เ มอร สั ง เคราะห
สวนไขมันไมใชพอลิเมอร
ขอ 2. ไมถูกตอง เพราะพอลิสไตรีนเปนพอลิเมอรสังเคราะห
แปงและเซลลูโลสเปนพอลิเมอรธรรมชาติ
ขอ 3. ไมถกู ตอง เพราะพอลิเอทิลนี และเทฟลอนเปนพอลิเมอร
สังเคราะห สวนยางพาราเปนพอลิเมอรธรรมชาติ
ขอ 4. ถูกตอง เพราะโปรตีน พอลิไอโซพรีน และกรดนิวคลีอิก
เปนพอลิเมอรธรรมชาติ ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T137
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
นักเรียนและครูรว มกันอภิปราย เรือ่ ง ผลกระทบ
จากการใชวัสดุประเภทพอลิเมอร เซรามิก และ
วั ส ดุ ผ สม เพื่ อ ให ไ ด ข  อ สรุ ป ว า วั ส ดุ ป ระเภท à«ÃÒÁÔ¡ ¼ÅÔµÀѳ±·Õè·íÒ¨Ò¡Çѵ¶Ø´Ôºã¹¸ÃÃÁªÒµÔ ઋ¹
´Ô¹ ËÔ¹ ·ÃÒ áË¸ÒµØ ¹íÒÁÒ¼ÊÁ¡Ñ¹¢Öé¹ÃÙ»
พอลิเมอร เซรามิก และวัสดุผสม ลวนมีสมบัติ áŌǹíÒä»à¼Ò
ที่แตกตางกันและนํามาใชประโยชนที่แตกตาง
กั น โดยพลาสติ ก เป น ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ถู ก นํ า มาใช ÊÁºÑµÔ·Ò§¡ÒÂÀÒ¾ ¢Í§à«ÃÒÁÔ¡
ประโยชนในชีวิตประจําวันเปนสวนใหญ ดังนั้น
เราจึงควรเลือกใชพลาสติกใหตรงกับวัตถุประสงค Çѵ¶Ø´Ôº·Õè㪌ã¹ÍصÊÒË¡ÃÃÁà«ÃÒÁÔ¡ ¡ÒâÖé¹ÃÙ»¼ÅÔµÀѳ±
Çѵ¶Ø´ÔºËÅÑ¡ 䴌ᡋ ´Ô¹ à¿Å´Ê»ÒÏ áÅФÇÍõ« ¡ÒÃà·áºº ໚¹¡ÒâÖé¹ÃÙ»â´Â¡ÒùíÒ´Ô¹ÁÒ¼ÊÁ¡Ñº¹íéÒ
ของการใชงานและคํานึงถึงความปลอดภัยตอ áÅŒÇà·Å§ã¹áººÃÙ»·Ã§µ‹Ò§ æ àËÁÒÐÊíÒËÃѺ¡ÒüÅÔµ
สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม ควรเลือกใชพลาสติกที่ Çѵ¶Ø´ÔºàÊÃÔÁ ª‹ÇÂãËŒ¼ÅÔµÀѳ±à«ÃÒÁÔ¡ÁդسÀÒ¾ÊÙ§¢Öé¹
ᨡѹ ¢Ç´ à¤Ã×èͧÊØ¢Àѳ±
ä´Œ á ¡‹ áË ´Ô ¡ 䤵 áË â ´âÅäÁµ áÅÐ
สลายตัวงายและสามารถนํากลับมาใชใหมได ÊÒûÃСͺÍÍ¡ä«´
โดยผานการรีไซเคิลหรือการใชซาํ้ เพือ่ ลดปริมาณ
ขยะซึ่งเปนตนเหตุหนึ่งของปญหาสิ่งแวดลอม ¡ÒÃà¼ÒáÅÐà¤Å×ͺ¼ÅÔµÀѳ±
จากนั้ น ให นั ก เรี ย นสรุ ป ความรู  ใ นรู ป แบบ
¢Ñ鹵͹·Õè 1 ¡ÒÃà¼Ò´Ôº ໚¹¢Ñ鹵͹áá ·íÒä´Œ
ผังมโนทัศน เรื่อง วัสดุในชีวิตประจําวัน ลงใน â´Â¡ÒÃà¾ÔèÁÍسËÀÙÁԢͧàµÒà¼ÒãËŒÊÙ§¢Öé¹Í‹ҧªŒÒ æ
กระดาษ A4 พรอมนําเสนอในรูปแบบที่นาสนใจ áÅÐÊÁíèÒàÊÁÍ à¾×èÍãËŒ¼ÅÔµÀѳ±¤§ÃÙ» äÁ‹áµ¡ªíÒÃØ´

¢Ñ鹵͹·Õè 2 ¡ÒÃà¼Òà¤Å×ͺ ໚¹¡ÒùíÒà«ÃÒÁÔ¡ ¡ÒÃ㪌ệ¹ËÁع ໚¹¡ÒâÖé¹ÃÙ»


·Õ輋ҹ¡ÒÃà¼Ò´Ôº áÅŒÇÁÒà¤Å×ͺ´ŒÇ¹íéÒÂÒà¤Å×ͺ â´Â¡ÒÃÇÒ§´Ô¹º¹á»‡¹ áÅŒÇËÁع
à¾×èÍãËŒà¡Ô´¤ÇÒÁÊǧÒÁ ÁÕ¼ÔÇÁѹ áÇÇÇÒÇ ·¹µ‹Í ệ¹ 㪌Á×Í»˜œ¹´Ô¹ãˌ䴌ÃÙ»·Ã§·Õè
¡Òâմ¢‹Ç¹ µŒÍ§¡ÒÃ

¡ÒÃ㪌»ÃÐ⪹ÇÑÊ´Ø»ÃÐàÀ·à«ÃÒÁÔ¡
¼ÅÔµÀѳ±á¡ŒÇ »Ù¹«ÕàÁ¹µ
á¡ŒÇâ«´ÒäÅÁ 㪌·íÒ á¡ŒÇâºâëÔÅÔࡵ 㪌·íÒà¤Ã×èÍ§á¡ŒÇ »Ù¹«ÕàÁ¹µ àÁ×è͹íÒ»Ù¹«ÕàÁ¹µÁÒ¼ÊÁ¡Ñº¹íéÒ
ᡌǹíéÒ ¢Ç´¹íéÒ ã¹ËŒÍ§»¯ÔºÑµÔ¡Ò÷ҧÇÔ·ÂÒÈÒʵÏ ¨Ðä´Œ¼ÅÖ¡¢Í§á¢ç§ 㪌໚¹ÇÑÊ´Ø
¡ÃШ¡á¼‹¹ »ÃÐÊҹ㹧ҹ¡‹ÍÊÌҧ

128

เกร็ดแนะครู กิจกรรม สรางเสริม


ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับพลาสติกชีวภาพวา ไบโอพลาสติกหรือ ให นั ก เรี ย นสํ า รวจวั ส ดุ ภ ายในบ า น แล ว ยกตั ว อย า งวั ส ดุ
พลาสติกชีวภาพเปนพลาสติกที่ถูกคิดคนดวยมนุษย เพื่อทดแทนพลาสติก มา 10 ตัวอยาง และจําแนกประเภทของวัสดุ พรอมระบุสมบัติ
ประเภทใชครั้งเดียวแลวทิ้ง โดยเฉพาะบรรจุภัณฑที่เกี่ยวของกับอาหาร เชน ทางกายภาพของวัสดุชนิดนั้นลงในกระดาษ A4 พรอมนําเสนอ
ถุงบรรจุอาหาร เนื่องจากไบโอพลาสติกใชเวลาในการยอยสลายนอยกวา หนาชั้นเรียน
พลาสติ ก ทั่ ว ไป แต อ ย า งไรก็ ต าม ไบโอพลาสติ ก ที่ ส ามารถย อ ยสลายได
ก็ยังคงตองใชระยะเวลานานเชนเดียวกับพลาสติกทั่วไป หรือยอยสลายได
ภายใต ส ภาวะควบคุ ม ซึ่ ง ต อ งจํ า เป น ต อ งมี ก ารคั ด แยกขยะประเภทนี้ ก  อ น
แลวสงไปใหโรงงานที่รับกําจัด ไบโอพลาสติก ดังนั้น มนุษยก็ยังคงเปนตัวแปร กิจกรรม ทาทาย
สําคัญในการจัดการกับปญหาที่เกิดขึ้นกับขยะพลาสติก โดยเฉพาะการคัดแยก ให นั ก เรี ย นแบ ง กลุ  ม กลุ  ม ละ 5-6 คน ระดมความคิ ด
ประเภทขยะใหถูกประเภท เพื่อลดปริมาณขยะ และปองกันไมใหขยะปนเปอน ทํ า กิ จ กรรมหรื อ โครงการที่ มี ส  ว นช ว ยลดปริ ม าณขยะมู ล ฝอย
สูสิ่งแวดลอม ในพืน้ ทีภ่ ายในโรงเรียน หรือลดปญหาผลกระทบจากวัสดุประเภท
พอลิเมอร เซรามิก และวัสดุผสม แลวใหนักเรียนจัดกิจกรรมจริง
พรอมกับสรุปผลเปนรายงาน และนําเสนอหนาชั้นเรียน

T138
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
1. ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน หนวยการเรียนรู
ÇÑʴؼÊÁ ÇÑÊ´Ø·Õè»ÃСͺ´ŒÇÂÇÑÊ´Ø 2 ª¹Ô´¢Öé¹ä»
·ÕèÁÕͧ¤»ÃСͺ·Ò§à¤ÁÕᵡµ‹Ò§¡Ñ¹ ที่ 3 วัสดุในชีวิตประจําวัน
â´Â·Õèͧ¤»ÃСͺ¹Ñé¹äÁ‹ÅÐÅÒÂࢌҴŒÇ¡ѹ 2. ตรวจแบบฝกหัดรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 เรื่อง ผลกระทบ
ÊÁºÑµÔ·Ò§¡ÒÂÀÒ¾ ¢Í§ÇÑʴؼÊÁ จากการใชวัสดุประเภทพอลิเมอร เซรามิก
และวัสดุผสม
ÇÑʴؾ×é¹ ËÃ×ÍàÁ·ÃÔ¡« ·íÒ˹ŒÒ·Õè㹡Òö‹Ò·ʹ 3. ตรวจคําตอบ Topic Questions ในสมุดประจําตัว
áç¡ÃзíÒ ÇÑÊ´Ø·Õè¹íÒÁÒ·íÒ໚¹ÇÑʴؾ×é¹ àª‹¹
¾ÍÅÔàÁÍÏ à«ÃÒÁÔ¡ âÅËÐ ¤ÒϺ͹ á¡Ã俵
ÇÑÊ´ØàÊÃÔÁ ËÃ×͵ÑÇàÊÃÔÁáç ໚¹ÇÑÊ´Ø·Õèà¾ÔèÁ นักเรียน เพื่อประเมินความรูความเขาใจของ
ÊÁºÑµÔãËŒ¡ÑºÇÑʴؾ×é¹ â´ÂÇÑÊ´ØàÊÃÔÁÍҨ໚¹
àÊŒ¹ã ͹ØÀÒ¤ Ἃ¹ ËÃ×ͪÔé¹àÅç¡ æ
นักเรียน
4. ประเมินการออกแบบวัสดุในชีวิตประจําวันที่
¡ÒÃ㪌»ÃÐ⪹ÇÑÊ´Ø»ÃÐàÀ·ÇÑʴؼÊÁ เอื้อประโยชนตอการดํารงชีวิต
5. สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุมจากการทํา
กิจกรรมในชั้นเรียนและการทํางานรายบุคคล
ÇÑʴؼÊÁ¨Ò¡¸ÃÃÁªÒµÔ ÇÑʴؼÊÁ¨Ò¡¡ÒÃÊѧà¤ÃÒÐˏ 6. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยสังเกต
¡Ãд١ ¨Ñ´àÃÕ§µÑÇ â´Â·Õè äÁŒ ¨Ñ´àÃÕ§µÑÇ â´Âà«ÅÅÙâÅÊ ¤Í¹¡ÃÕµ »ÃСͺ´ŒÇ ä¿àºÍÏ¡ÅÒÊʏ »ÃСͺ´ŒÇ ความมีวนิ ยั ใฝเรียนรู และมุง มัน่ ในการทํางาน
¤ÍÅÅÒਹ໚¹ÇÑʴؾ×é¹ ·íÒ˹ŒÒ·Õè໚¹ÇÑʴؾ×é¹ áÅÐÁÕ ËÔ¹ ·ÃÒ »Ù¹«ÕàÁ¹µ àÊŒ¹ãÂá¡ŒÇÃÇÁ¡Ñº¾ÍÅÔàÁÍÏ
áÅÐÁÕÇÑÊ´ØàÊÃÔÁ໚¹ ÅÔ¡¹Ô¹à»š¹ÇÑÊ´ØàÊÃÔÁ áÅйíÒé àÁ×Íè ¹íÒé ¼ÊÁ¡Ñº ¹ÔÂÁ¹íÒä»ãªŒÍ‹ҧ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§
á¤Åà«ÕÂÁ¿ÍÊ࿵ ·íÒãËŒ ·íÒ˹ŒÒ·Õè»ÃÐÊÒ¹ãËŒ »Ù¹«ÕàÁ¹µ ¨Ð·íÒãËŒà¡Ô´¼ÅÖ¡ ઋ¹ ËÅѧ¤Òö¡ÃкР͋ҧÍÒº¹íÒé
¡Ãд١ÁÕÊÁºÑµÔàªÔ§¡Å·Õè´Õ ͧ¤»ÃСͺã¹äÁŒàª×èÍÁ¡Ñ¹ ¢Í§á¢ç§ÂÖ´à˹ÕÂè Ç͹ØÀÒ¤ ʋǹ»ÃСͺ¢Í§àÃ×Í ªÔé¹Ê‹Ç¹
¢Í§·ÃÒÂáÅÐËÔ¹ãËŒµ´Ô ¡Ñ¹ ¢Í§à¤Ã×èͧºÔ¹
àÁ×Íè ãÊ‹àËÅç¡äÇŒÀÒÂã¹ ¨Ð
àÃÕÂ¡Ç‹Ò ¤Í¹¡ÃÕµàÊÃÔÁàËÅç¡

á¹Ç·Ò§¡ÒÃ㪌 ¾ÍÅÔàÁÍÏÊѧà¤ÃÒÐˏ Í‹ҧ¤ØŒÁ¤‹Ò


REDUCE Recycle
REUSE
Reduce Reuse
RECYCLE á»ÃÃٻ㪌ãËÁ‹ ઋ¹ ¹íÒ
¢Ç´¾ÅÒʵԡ·Õè㪌áÅŒÇ
Å´¡ÒÃ㪌 ઋ¹ 㪌¶Ø§¼ŒÒá·¹ 㪌«íéÒ àª‹¹ 㪌¡ÃдÒÉãËŒ¤Ãº ÁÒËÅÍÁ¹íÒ仼ÅÔµàÊ×éÍ
¶Ø§¾ÅÒʵԡ ·Ñé§ 2 ˹ŒÒ

วัสดุในชีวิตประจําวัน 129

กิจกรรม 21st Century Skills แนวทางการวัดและประเมินผล


ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน สืบคนขาวเกี่ยวกับ ครูวัดและประเมินผลความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง วัสดุในชีวิตประจําวัน
วิ ท ยาการเทคโนโลยี ที่ นํ า เอาวั ส ดุ ป ระเภทพอลิ เ มอร เซรามิ ก ไดจากการทําผังมโนทัศน เรื่อง วัสดุในชีวิตประจําวัน โดยศึกษาเกณฑการ
หรือวัสดุผสมมาประยุกตใชใหเกิดประโยชนในชีวิตประจําวัน วัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) ทีอ่ ยูใ นแผนการ
โดยใหนักเรียนรวมกันสรุปขอมูลลงในกระดาษ A4 แลวนําเสนอ จัดการเรียนรูประจําหนวยการเรียนรูที่ 3
หน า ชั้ น เรี ย น ตั ว อย า งข า ว เช น จี น พั ฒ นารถไฟใต ดิ น จาก
“เสนใยคารบอน” ที่มีคุณสมบัติเดน คือ มีความทนทานและ แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
แบบประเมินผลงานแผนผังมโนทัศน์

ประหยั ด พลั ง งานมากกว า เดิ ม เนื่ อ งจากเส น ใยคาร บ อนเป น


คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
ระดับคุณภาพ
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ที่กาหนด
2 ความถูกต้องของเนื้อหา

พอลิเมอรชนิดหนึ่งที่มีความทนทานสูง ทนตอการผุกรอนและรังสี 3
4
ความคิดสร้างสรรค์
ความเป็นระเบียบ
รวม
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน

อัลตราไวโอเลตไดดกี วาโลหะ ทําใหตโู ดยสารของขบวนรถไฟใตดนิ


............../................./................
เกณฑ์ประเมินแผนผังมโนทัศน์
ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1

มีอายุการใชงานที่ยาวนานกวา
1. ผลงานตรงกับ ผล งา น สอดค ล้ องกั บ ผ ล ง า น ส อด ค ล้ อ งกั บ ผลงานสอดคล้ อ งกั บ ผลงานไม่ ส อดคล้ อ ง
จุดประสงค์ที่ จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ บ า ง กับจุดประสงค์
กาหนด ประเด็น
2. ผลงานมีความ เนื้ อ หาสาระของผลงาน เนื้ อ หาสาระของผลงาน เ นื้ อ ห า ส า ร ะ ข อ ง เ นื้ อ ห า ส า ร ะ ข อ ง
ถูกต้องของ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ผลงานถูกต้องเป็นบาง ผลงานไม่ถูกต้องเป็น
เนื้อหา ประเด็น ส่วนใหญ่
3. ผลงานมีความคิด ผ ล ง า น แ ส ด ง อ อ ก ถึ ง ผลงานมี แ นวคิ ด แปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผ ล ง า น ไ ม่ แ ส ด ง
สร้างสรรค์ ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ใหม่ แ ต่ ยั ง ไม่ เ ป็ น ระบบ แ ต่ ยั ง ไ ม่ มี แ น ว คิ ด แนวคิดใหม่
แปลกใหม่และเป็นระบบ แปลกใหม่
4. ผลงานมีความ ผ ล ง า น มี ค ว า ม เ ป็ น ผลงานส่ ว นใหญ่ มี ค วาม ผลงานมี ค วามเป็ น ผลงานส่ ว นใหญ่ ไ ม่
เป็น ระเบียบ ระเบี ย บแสดงออกถึ ง เ ป็ น ร ะ เ บี ย บ แ ต่ ยั ง มี ร ะ เ บี ย บ แ ต่ มี เป็นระเบียบและมีข้อ
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย ข้อบกพร่องบางส่วน บกพร่องมาก

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14-16 ดีมาก
11-13 ดี
8-10 พอใช้
ต่ากว่า 7 ปรับปรุง

T139
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Self Check


1. ถูก 2. ผิด 3. ผิด
4. ผิด 5. ถูก 6. ถูก Self Check
7. ผิด 8. ถูก 9. ถูก ใหนักเรียนตรวจสอบความเขาใจ โดยพิจารณาขอความวาถูกหรือผิด แลวบันทึกลงในสมุด หากพิจารณาขอความ
10. ผิด ไมถูกตอง ใหกลับไปทบทวนเนื้อหาตามหัวขอที่กําหนดให
ถูก/ผิด ทบทวนหัวขอ

1. พอลิเมอรเปนสารโมเลกุลขนาดใหญ เกิดจากมอนอเมอรจาํ นวนมากมารวมกัน


1.
โดยการสรางพันธะโคเวเลนต

2. โปรตีน พอลิเอสเทอร และยางเอสบีอาร จัดเปนโฮโมพอลิเมอร 1.1

3. พอลิเมอรที่มีโครงสรางแบบโซตรง จะมีความยืดหยุนสูง ความหนาแนนตํ่า


1.2
จุดหลอมเหลวตํ่า และมีความเปราะกวาโครงสรางแบบโซกิ่ง

4. เสนใยกึ่งสังเคราะหเกิดจากการนําเสนใยจากพืชและเสนใยจากสัตวมารวมกัน 1.3

5. เซรามิกจําแนกออกไดเปน 2 ประเภท คือ เซรามิกแบบดั้งเดิมและเซรามิก


2.
สมัยใหม

ุด
สม
ใน
ลง
ทึ ก
6. แกวโซดาไลมมีสมบัติไมทนกรด-เบส จึงไมควรนํามาใชบรรจุสารเคมี 2.3

บั น
7. ปูนซีเมนตปอรตแลนด เหมาะสําหรับนําไปใชในงานกอสรางที่ไมตอ งการ
2.3
นํา้ หนักมาก เชน งานกอ งานฉาบ

8. วัสดุผสม คือ วัสดุที่ประกอบดวยวัสดุตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป โดยมีองคประกอบ


3.
ทางเคมีที่แตกตางกันและไมละลายเปนเนื้อเดียวกัน

9. ไฟเบอรกลาสส นิยมนําไปทําหลังคารถกระบะ อางอาบนํา้ สวนประกอบของเรือ


3.2
ชิ้นสวนของเครื่องบิน ถังนํ้าขนาดใหญ

10. ลดการใช (reduce) เปนการนําผลิตภัณฑพอลิเมอรสงั เคราะหทผี่ า นการ


4.
ใชงานแลว แตยังมีคุณภาพดีกลับมาใชงานอีกครั้ง

130

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ใหนักเรียนพิจารณาผลิตภัณฑพลาสติกที่กําหนดให ดังรูปตอไปนี้

ผลิตภัณฑหมายเลข 1 ผลิตภัณฑหมายเลข 2 ผลิตภัณฑหมายเลข 3

จงระบุสัญลักษณแสดงประเภทของพลาสติกที่สามารถนํากลับมาแปรรูปบนผลิตภัณฑพลาสติกหมายเลข 1-3
(วิเคราะหคําตอบ
ผลิตภัณฑหมายเลข 1 เปนพลาสติกประเภทพอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต สัญลักษณ คือ
ผลิตภัณฑหมายเลข 2 เปนพลาสติกชนิดอื่น สัญลักษณ คือ
ผลิตภัณฑหมายเลข 3 เปนพลาสติกประเภทพอลิไวนิลคลอไรด สัญลักษณ คือ )

T140
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Unit Questions

Unit Questions 1. ปฏิกริ ยิ าพอลิเมอไรเซชัน ซึง่ เกิดจากมอนอเมอร


มารวมกันดวยการสรางพันธะโคเวเลนตตอกัน
คําชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ โดยพอลิเมอรสวนใหญไดจากการสังเคราะห
1. พอลิเมอรสังเคราะหเกิดการรวมตัวกันไดอยางไร สารประกอบไฮโดรคารบอน
2. เพราะเหตุใดมนุษยจึงคิดคนพอลิเมอรสังเคราะหขึ้น 2. มนุ ษ ย สั ง เคราะห พ อลิ เ มอร ใ ห มี ส มบั ติ ต าม
3. พอลิเมอรสังเคราะหและพอลิเมอรธรรมชาติแตกตางกันอยางไร ตองการเพื่อนํามาใชประโยชนตางๆ ในชีวิต
ประจําวัน เชน พลาสติก ไนลอน
4. ใชโครงสรางของพอลิเมอร ก. - ค. ตอบคําถามตอไปนี้
3. พอลิเมอรธรรมชาติเปนพอลิเมอรที่เกิดขึ้นเอง
ตามธรรมชาติ แต พ อลิ เ มอร สั ง เคราะห
ก. เปนพอลิเมอรที่เกิดจากมนุษยสังเคราะหขึ้น
4. 4.1 ก. และ ข. คือ พอลิเมอรแบบเสนและ
พอลิ เ มอร แ บบกิ่ ง เนื่ อ งจากเมื่ อ ได รั บ
ความรอนจะออนตัว และเมือ่ อุณหภูมลิ ดลง
จะแข็งตัว จึงงายตอการนําไปหลอมและ
นํากลับไปใชใหม
ข.
4.2 ค. คือ พอลิเมอรแบบรางแหหรือพลาสติก
เทอร ม อเซต เนื่ อ งจากโครงสร า งของ
พลาสติกประเภทนี้เกิดจากการเชื่อมโยง
ระหวางพอลิเมอรแบบเสนกับพอลิเมอร
แบบรางแห จึงทําใหมีจุดหลอมเหลวสูง
ค. มีความแข็ง แตเปราะงาย เมื่อขึ้นรูปแลว
ไมสามารถหลอมเหลวหรือเปลี่ยนแปลง
ภาพที่ 3.60 โครงสรางของพอลิเมอรในแบบตาง ๆ รูปรางได
ที่มา : คลังภาพ อจท.
4.3 ก. ข. และ ค. ตามลําดับ
4.1 พอลิเมอรใดที่สามารถนํามาหลอมเหลวเพื่อนํากลับมาใชใหมได
4.2 พอลิเมอรใดเมื่อไดรับความรอนแลวจะไมหลอมเหลวและไมสามารถเปลี่ยนรูปรางได 5. เทอร ม อพลาสติ ก เมื่ อ ได รั บ ความร อ นจะ
4.3 เรียงลําดับความหนาแนนของพอลิเมอรจากมากไปนอย หลอมเหลว ไมแข็งแรง มีโครงสรางเปนแบบเสน
5. เทอรมอพลาสติกและพลาสติกเทอรมอเซตมีสมบัติทางกายภาพและโครงสรางแตกตางกันอยางไร และแบบกิง่ สวนพลาสติกเทอรมอเซต เมือ่ ไดรบั
ความรอนจะไมหลอมเหลว แตถา หากมีอณ ุ หภูมิ
สูงมาก จะแตกและไหมเปนเถา มีความแข็งแรง
และมีโครงสรางเปนแบบรางแห
วัสดุในชีวิตประจําวัน 131

T141
นํา สอน สรุป ประเมิน

6. ยางธรรมชาติมีสมบัติตานทานตอแรงดึงสูง
ทนตอการขัดถู ยืดหยุนไดดี ไมละลายนํ้า
มีความแข็ง แตเปราะ เมื่ออุณหภูมิตํ่ากวา
6. ระบุสมบัติของยางธรรมชาติและการนําไปใชประโยชน
อุณหภูมหิ อ งจะไมทนตอตัวทําละลายอินทรีย
และนํ้ามันเบนซิน จึงนิยมนํามาใชทําถุงมือ 7. ระบุขอดีและขอเสียของเสนใยธรรมชาติและเสนใยสังเคราะห
แพทย ถุงยางอนามัย 8. เซรามิกคืออะไร
7. 9. วัตถุดิบหลักที่ใชในการผลิตเซรามิกมีอะไรบาง และมีสมบัติอยางไร
ประเภท
ขอดี ขอเสีย 10. วัตถุดิบหลักชนิดใด ที่ชวยใหผลิตภัณฑเซรามิกเกิดความแข็งแรง ไมโคงงอ และทําใหผลิตภัณฑกอนเผา
เสนใย
และหลังเผาหดตัวไดนอยลง
ดูดซับนํ้าและ ขึ้นรางายในที่ชื้น
เสนใย 11. การขึ้นรูปผลิตภัณฑดวยการเทแบบเหมาะสําหรับผลิตภัณฑประเภทใด
ระบายนํ้าไดดี เมื่อถูกความรอน
ธรรมชาติ
จะหดตัว 12. แกวชนิดใดเหมาะสําหรับนําไปใชงานในหองปฏิบัติการวิทยาศาสตรและมีสมบัติอยางไร
นํ้าหนักเบา ยอยสลายยาก 13. วัตถุดิบที่ใชในการผลิตปูนซีเมนตมีกี่ประเภท และอะไรบาง
ทนตอจุลินทรีย ระบายความรอน
14. อธิบายความแตกตางระหวางปูนซีเมนตปอรตแลนด ปูนซีเมนตผสม และปูนซีเมนตขาว
เสนใย ไมยับงาย ไมดี
สังเคราะห ไมดูดนํ้า ทนตอ 15. ถาตองการนําปูนซีเมนตไปตกแตงอาคาร ควรเลือกใชปูนซีเมนตประเภทใด
สารเคมี ซักงาย 16. ถาตองการผลิตวัสดุผสมชนิดหนึ่ง โดยใหวัสดุผสมนั้นมีนํ้าหนักเบา แตมีความแข็งแรง ไมเปราะ ทนตอการ
แหงแร็ว สึกกรอน และทนความรอนไดดี ควรเลือกใชวัสดุชนิดใดบาง เพราะเหตุใด
8. เซรามิก คือ ผลิตภัณฑที่ทําจากวัตถุดิบ 17. ยกตัวอยางวัสดุผสมในชีวิตประจําวัน พรอมทั้งระบุชนิดของวัสดุที่นํามาเปนสวนประกอบของวัสดุนั้น
ในธรรมชาติ เชน ดิน หิน ทราย แรธาตุ
18.
ตางๆ นํามาผสมกันแลวขึ้นเปนรูปทรง
ตางๆ แลวนําไปเผาเพื่อใหคงรูป
9. ดิน เฟลดสปารหรือแรฟนมา ควอรตซหรือ
6 ภาพที่ 3.61 สัญลักษณของพลาสติกหมายเลข 6
ที่มา : คลังภาพ อจท.
แรเขี้ยวหนุมาน
10. ควอรตซหรือแรเขี้ยวหนุมาน จากภาพคือสัญลักษณของพลาสติกที่นําไปใชทําผลิตภัณฑใด
11. แจกัน ขวด หรือเครื่องสุขภัณฑ 19. การใชผลิตภัณฑพอลิเมอรทําใหเกิดผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมหรือไม อยางไร
12. แกวโบโรซิลิเกต
13. 3 ประเภท ไดแก ปูนซีเมนตปอรตแลนด
ปูนซีเมนตผสม และปูนซีเมนตขาว

132

T142
นํา สอน สรุป ประเมิน

14. ปูนซีเมนตปอรตแลนดไดจากการบดปูนเม็ด
กั บ ยิ ป ซั ม ปู น ซี เ มนต ผ สมมี ก ารเติ ม ทราย
หรือหินปูนละเอียดลงไป และปูนซีเมนตขาว
20. พิจารณาภาพ แลวจับคูภาพใหตรงกับขอความตอไปนี้
มีวัตถุดิบหลัก คือ ปูนขาว
15. ปูนซีเมนตขาว
16. วัสดุประเภทพอลิเมอร เพราะนํา้ หนักเบา ผสม
กับวัสดุประเภทเซรามิก เพราะมีความแข็งแรง
ทนความรอนได
ผาไหม ฟนปลอม
ก. ข. 17. พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยมีแนวการ
ตอบ เชน เสื้อกันฝนเกิดจากนํ้ายางธรรมชาติ
ผสมกับผา ยางรถยนตเกิดจากยางสังเคราะห
ผสมกับถาน
18. โฟมบรรจุอาหารหรือภาชนะบรรจุของใช
โครงของไมแบดมินตัน ถุงมือแพทย
19. ส ง ผลกระทบต อ สิ่ ง มี ชี วิ ต และสิ่ ง แวดล อ ม
ค. ง. โดยเฉพาะผลิตภัณฑจากพอลิเมอรสังเคราะห
เช น พลาสติ ก จะย อ ยสลายยากและยาก
ตอการกําจัด
20. 20.1 ง.
20.2 ก.
20.3 จ.
แห เสื้อกันฝน
20.4 ข.
จ. ฉ.
ภาพที่ 3.62 ผลิตภัณฑที่ผลิตจากวัสดุตาง ๆ 20.5 ค.
ที่มา : คลังภาพ อจท. 20.6 ฉ.
20.1 ผลิตภัณฑที่ไดจากพอลิเมอรที่มีมอนอเมอรเปนไอโซพรีน
20.2 ผลิตภัณฑที่ไดจากเสนใยธรรมชาติ
20.3 ผลิตภัณฑที่ไดจากพอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต
20.4 ผลิตภัณฑที่ไดจากเซรามิก
20.5 ผลิตภัณฑที่ไดจากวัสดุผสมกัน ทําใหมีนํ้าหนักเบา แข็งแรง และยืดหยุนได
20.6 ผลิตภัณฑที่ไดจากวัสดุ 2 ชนิดรวมตัวกัน แลวเรียงซอนกันเปนชั้น ๆ

วัสดุในชีวิตประจําวัน 133

T143
Chapter Overview
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช จ�ดประสงค ว�ธ�สอน ประเมิน ทักษะที่ได
การเร�ยนรู อันพึงประสงค
แผนฯ ที่ 1 - แบบทดสอบกอนเรียน 1. อธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมี 5Es - ตรวจแบบทดสอบ - ทักษะการทดลอง - มีวินัย
ปฏิกิริยาเคมี - หนังสือเรียนรายวิชา ได (K) Instructional กอนเรียน - ทักษะการ - ใฝเรียนรู
พื้นฐานวิทยาศาสตร 2. สรางแบบจําลองการจัดเรียง Model - ตรวจแบบฝกหัด ลงความเห็น - มุงมั่นใน
3 และเทคโนโลยี ม.3
เลม 1
ตัวใหมของอะตอมเมื่อเกิด
ปฏิกิริยาเคมีได (P)
- ตรวจใบงาน เรื่อง
การเปลี่ยนแปลง
จากขอมูล
- ทักษะการ
การทํางาน
ชั่วโมง - แบบฝกหัดรายวิชา 3. มีความใฝเรียนรูแ ละมุงมั่น ของสาร ตีความหมายขอมูล
พื้นฐานวิทยาศาสตร ในการทํางาน (A) - ตรวจแบบจําลอง และลงขอสรุป
และเทคโนโลยี ม.3 อะตอม - ทักษะการกําหนด
เลม 1 - การปฏิบัติกิจกรรม และควบคุมตัวแปร
- QR Code - สังเกตความมีวินัย - ทักษะการสราง
- ใบงาน ใฝเรียนรู และมุงมั่น แบบจําลอง
ในการทํางาน
แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายปฏิกิริยาเคมีซึ่งเปน แบบบรรยาย - ตรวจแบบฝกหัด - ทักษะการ - มีวินัย
การเขียน พื้นฐานวิทยาศาสตร ไปตามกฎทรงมวลได (K) (Lecture - สังเกตพฤติกรรม ตีความหมายขอมูล - ใฝเรียนรู
สมการเคมี และเทคโนโลยี ม.3 2. เขียนสมการขอความซึ่ง Method) การทํางานกลุม และลงขอสรุป - มุงมั่นใน
เลม 1 เกิดจากปฏิกิริยาเคมีที่เกิด - สังเกตความมีวินัย การทํางาน
3 - แบบฝกหัดรายวิชา
พื้นฐานวิทยาศาสตร
ขึ้นได (P)
3. มีความใฝเรียนรูและมุงมั่น
ใฝเรียนรู และมุงมั่น
ในการทํางาน
ชั่วโมง และเทคโนโลยี ม.3 ในการทํางาน (A)
เลม 1
แผนฯ ที่ 3 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายปฏิกิริยาดูดและ ทดลอง - ตรวจแบบฝกหัด - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
ประเภทของ พื้นฐานวิทยาศาสตร คายความรอนได (K) (Experimental - การปฏิบัติกิจกรรม - ทักษะการทดลอง - ใฝเรียนรู
ปฏิกิริยาเคมี และเทคโนโลยี ม.3 2. วิเคราะหประเภทของ Method) - สังเกตพฤติกรรม - ทักษะการ - มุงมั่นใน
เลม 1 ปฏิกิริยาเคมีจากการเปลี่ยน การทํางานกลุม ลงความเห็น การทํางาน
2 - แบบฝกหัดรายวิชา
พื้นฐานวิทยาศาสตร
แปลงพลังงานความรอน
ของปฏิกิริยาเคมีได (P)
- สังเกตความมีวินัย
ใฝเรียนรู และมุงมั่น
จากขอมูล
- ทักษะการกําหนด
ชั่วโมง และเทคโนโลยี ม.3 3. มีความใฝเรียนรูและมุงมั่น ในการทํางาน และควบคุมตัวแปร
เลม 1 ในการทํางาน (A)
แผนฯ ที่ 4 - หนังสือเรียนรายวิชา 1. อธิบายปฏิกริ ยิ าเคมีทเี่ กิดขึน้ ทดลอง - ตรวจแบบฝกหัด - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
ชนิดของ พื้นฐานวิทยาศาสตร ในชีวิตประจําวันได (K) (Experimental - การปฏิบัติกิจกรรม - ทักษะการทดลอง - ใฝเรียนรู
ปฏิกิริยาเคมี และเทคโนโลยี ม.3 2. เขียนสมการขอความแสดง Method) - สังเกตพฤติกรรม - ทักษะการ - มุงมั่นใน
เลม 1 ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น การทํางานกลุม ลงความเห็น การทํางาน
3 - แบบฝกหัดรายวิชา
พื้นฐานวิทยาศาสตร
ในชีวิตประจําวันได (P)
3. ตระหนักถึงความสําคัญ
- สังเกตความมีวินัย
ใฝเรียนรู และมุงมั่น
จากขอมูล
- ทักษะการ
ชั่วโมง และเทคโนโลยี ม.3 ของปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น ในการทํางาน ตีความหมายขอมูล
เลม 1 ในชีวิตประจําวัน (A) และลงขอสรุป
- QR Code
แผนฯ ที่ 5 - แบบทดสอบหลังเรียน 1. ระบุประโยชนและโทษของ 5Es - ตรวจแบบทดสอบ - ทักษะการจัดกระทํา - มีวินัย
ประโยชน - หนังสือเรียนรายวิชา ปฏิกิริยาเคมีที่มีตอสิ่งมีชีวิต Instructional หลังเรียน และสื่อความหมาย - ใฝเรียนรู
และโทษของ พื้นฐานวิทยาศาสตร และสิ่งแวดลอมได (K) Model - ตรวจแบบฝกหัด ขอมูล - มุงมั่นใน
ปฏิกิริยาเคมี และเทคโนโลยี ม.3 2. ยกตัวอยางวิธีการปองกัน - ตรวจผังมโนทัศน การทํางาน
เลม 1 และแกปญหาที่เกิดจาก เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี
2 - แบบฝกหัดรายวิชา
พื้นฐานวิทยาศาสตร
ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิต
ประจําวันได (K)
- ตรวจปายนิเทศ
- Unit Questions
ชั่วโมง และเทคโนโลยี ม.3 3. ออกแบบวิธีปองกันและ - สังเกตพฤติกรรม
เลม 1 แกปญหาที่เกิดจาก การทํางานกลุม
- PowerPoint ปฏิกิริยาเคมีได (P) - สังเกตความมีวินัย
- ภาพประกอบการสอน 4. ตระหนักถึงประโยชนและ ใฝเรียนรู และมุงมั่น
- ภาพยนตรสารคดีสั้น โทษของปฏิกิริยาเคมีที่มี ในการทํางาน
Twig ตอสิ่งมีชีวิต (A)

T144
Chapter Concept Overview
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
การเกิดปฏิกิริยาเคมี
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของสารที่ทําใหเกิดสารชนิดใหมซึ่งมีสมบัติแตกตางไปจากสารเดิม
สารตั้งตน (reactant) สามารถเขียนแทนดวยประโยคสัญลักษณ เรียกวา สมการเคมี ดังนี้
อาจประกอบดวยสารเพียงชนิดเดียว หรือ สารตั้งตน ผลิตภัณฑ
ตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป หากสารตั้งตนและผลิตภัณฑมีมากกวา 1 ชนิด จะเขียนได ดังนี้
สารตั้งตน A + สารตั้งตน B ผลิตภัณฑ C + ผลิตภัณฑ D
และถาปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นในภาชนะปด มวลรวมของสารทั้งหมด
ผลิตภัณฑ (product) กอนเกิดปฏิกริ ยิ าจะเทากับมวลรวมของสารทัง้ หมดหลังเกิดปฏิกริ ยิ า
สารใหมที่เกิดขึ้นหลังจากเกิดปฏิกิริยาเคมี ซึ่งเปนไปตามกฎทรงมวล
ซึ่งมีสมบัติแตกตางไปจากสารตั้งตน

• ประเภทของปฏิกิริยาเคมี
แบงออกไดเปน 2 ประเภท ตามอุณหภูมิของสารละลายที่เปลี่ยนแปลงไป
ปฏิกิริยาดูดความรอน (endothermic reaction) ปฏิกิริยาคายความรอน (exothermic reaction)
- ระบบจะดูดพลังงานความรอนเขาไปมากกวา - ระบบจะคายพลังงานความรอนออกมามากกวา
คายพลังงานความรอน ดูดพลังงานความรอน
- สารตั้งตนมีพลังงานตํ่ากวาผลิตภัณฑ - สารตั้งตนมีพลังงานสูงกวาผลิตภัณฑ
- เมื่อสัมผัสภาชนะจะรูสึกเย็น - เมื่อสัมผัสภาชนะจะรูสึกรอน

• ชนิดของปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน
ปฏิกิริยาเคมี สารตั้งตน ผลิตภัณฑ
การเผาไหมแบบสมบูรณ สารประกอบไฮโดรคารบอน + แกสออกซิเจน แกสคารบอนไดออกไซด + นํ้า + พลังงาน
สารประกอบไฮโดรคารบอน + แกสออกซิเจน แกสคารบอนมอนอกไซด + นํ้า + พลังงาน +
การเผาไหมแบบไมสมบูรณ
(ไมเพียงพอ) เขมาควัน
การเกิดสนิมของเหล็ก เหล็ก + นํ้า + แกสออกซิเจน สนิมของเหล็ก
กรดกับโลหะ กรด + โลหะ เกลือของโลหะ + แกสไฮโดรเจน
กรดกับเบส กรด + เบส เกลือของโลหะ + นํ้า
เบสกับโลหะบางชนิด เบส + โลหะบางชนิด (Al, Zn) เกลือของเบส + แกสไฮโดรเจน
กรดกับสารประกอบคารบอเนต กรด + สารประกอบคารบอเนต เกลือของโลหะ + แกสคารบอนไดออกไซด + นํ้า
นํ้าฝน + ออกไซดของไนโตรเจน นํ้าฝนที่มีสมบัติเปนกรด
การเกิดฝนกรด
หรือออกไซดของซัลเฟอร (กรดซัลฟวริกหรือกรดไนตริก)
การสังเคราะหดวยแสงของพืช แกสคารบอนไดออกไซด + นํ้า นํ้าตาลกลูโคส + แกสออกซิเจน

ประโยชนและโทษของปฏิกิริยาเคมี
• ประโยชนของปฏิกิริยาเคมี • โทษของปฏิกิริยาเคมี
- ชวยปรับสภาพนํ้าเสียดวยปฏิกิริยาเคมี - เกิดแกสที่สงผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม
- สรางพลังงานความรอนโดยปฏิกิริยาการเผาไหม - ทําลายวัสดุที่ทําจากโลหะและหินปูน
- การตกตะกอนของไอออนของโลหะหนักบางชนิด

T145
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (5Es Instructional Model)


กระตุน ความสนใจ หนวยการเรียนรูที่

1. ใหนกั เรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน หนวยการ


เรียนรูที่ 4 ปฏิกิริยาเคมี
2. ครูสนทนาเกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นใน
ชีวิตประจําวัน
4 ปฏิกริ ยิ าเคมี
3. ครูถามคําถาม Big Question กิจกรรมต่าง ๆ
ของมนุษย์เกี่ยวข้อง
กับ»¯Ô¡ÔÃÔÂÒà¤ÁÕ
สารตั้งต้น
สารที่เขาทําปฏิกิริยากัน อย่างไร
อาจประกอบดวยสารเพียง
ชนิดเดียว หรือตั้งแต 2 ชนิด
ขึ้นไป

ผลิตภัณฑ์
สารใหมที่เกิดจากปฏิกิริยา
เคมี ซึ่งมีสมบัติแตกตาง
จากสารตั้งตน

ตัวชี้วัด
ว 2.1 ม.3/3 อธิบายการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี รวมถึงการจัดเรียงตัวใหม่ของอะตอมเมือ่ เกิดปฏิกริ ยิ าเคมี โดยใช้แบบจ�าลองและสมการ
ข้อความ
ว 2.1 ม.3/4 อธิบายกฎทรงมวล โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
ว 2.1 ม.3/5 วิเคราะห์ปฏิกิริยาดูดความร้อน และปฏิกิริยาคายความร้อน จากการเปลี่ยนแปลงพลังงานความร้อนของปฏิกิริยา
ว 2.1 ม.3/6 อธิบายปฏิกิริยาการเกิดสนิมของเหล็ก ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ ปฏิกิริยาของกรดกับเบส และปฏิกิริยาของเบส
กับโลหะ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และอธิบายปฏิกิริยาการเผาไหม้ การเกิดฝนกรด การสังเคราะห์ด้วยแสง
โดยใช้สารสนเทศ รวมทั้งเขียนสมการข้อความแสดงปฏิกิริยาดังกล่าว
ว 2.1 ม.3/7 ระบุประโยชน์และโทษของปฏิกิริยาเคมีที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม และยกตัวอย่างวิธีการป้องกันและแก้ปัญหา
แนวตอบ Big Question
ที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจ�าวัน จากการสืบค้นข้อมูล
ในชีวิตประจําวัน มนุษยทํากิจกรรมที่เกี่ยวของ ว 2.1 ม.3/8 ออกแบบวิธีแก้ปัญหาในชีวิตประจ�าวัน โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมี โดยบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
กั บ ปฏิ กิ ริ ย าเคมี ห รื อ กิ จ กรรมที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การ เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์
เปลี่ยนแปลงทางเคมีอยูเสมอ เชน การทําอาหาร
การยอยอาหาร การเผาไหมเชื้อเพลิง การหายใจ

เกร็ดแนะครู
การเรียนการสอน เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี นักเรียนจะไดศึกษาเกี่ยวกับการ
เกิดปฏิกิริยาเคมี โดยกอนเขาสูบทเรียนครูอาจทบทวนความรูพื้นฐานเกี่ยวกับ
การเปลี่ ย นแปลงของสารที่ นั ก เรี ย นพบเห็ น ในชี วิ ต ประจํ า วั น โดยครู อ าจ
ใหนักเรียนยกตัวอยางสถานการณที่เกิดขึ้นรอบตัวนักเรียน หรือใหนักเรียน
ยกตัวอยางสถานการณที่นักเรียนคิดวาเกิดปฏิกิริยาเคมี นอกจากนี้ ครูควรเนน
ใหนักเรียนทบทวนความรู เรื่อง ชื่อและสูตรทางเคมีของสารในชีวิตประจําวัน
ซึ่งเปนสิ่งจําเปนในการเขียนสมการเคมี

T146
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
Check for Understanding 4. ใหนักเรียนตรวจสอบความรูของตนเองกอน
พิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุดบันทึก เข า สู  ก ารเรี ย นการสอนจากกรอบ Check
ถูก/ผิด for Understanding ในหนังสือเรียนรายวิชา
1. สารที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางเคมีจะมีสมบัติแตกต่างจากสารเดิม พืน้ ฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1
2. เมื่อสารเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีแล้วจะไม่สามารถเปลี่ยนกลับเป็นสารเดิมได้ หนวยการเรียนรูท ี่ 4 เรือ่ ง การเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี

มุ ด
5. ใหนักเรียนทํากิจกรรม Engaging Activity

นส
3. การเปลี่ยนสถานะของสารเป็นการเปลี่ยนแปลงทางเคมีประเภทหนึ่ง

งใ

โดยใหนักเรียนศึกษาภาพ แลวระบุวาภาพใด

ทึ ก
4. ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีสารตั้งต้นตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป มาท�าปฏิกิริยากัน

บั น
5. การเกิดปฏิกิริยาเคมีก่อให้เกิดสารชนิดใหม่ขึ้นเสมอ เกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าเคมี ในหนั ง สื อ เรี ย นรายวิ ช า
พืน้ ฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1
หนวยการเรียนรูท ี่ 4 เรือ่ ง การเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี
E ngaging พิจารณาภาพที่ก�าหนดให้ แล้วระบุว่าการเปลี่ยนแปลงของสารในภาพใดเปนการ
เกิดปฏิกิริยาเคมี
6. ใหนักเรียนจับคูกับเพื่อนเพื่อแลกเปลี่ยนความ
คิดเห็น
Activity
7. ครูสุมเรียกนักเรียน 2-3 คน เสนอคําตอบ
8. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายคําตอบจาก
ภาพที่ 1 การละลายของน�้าแข็ง ภาพที่ 2 การเผาไหม้ของถ่านไม้
กิจกรรม Engaging Activity

ภาพที่ 3 การเกิดสนิมเหล็ก ภาพที่ 4 การเดือดของน�า้

ภาพที่ 4.1 ภาพส�าหรับกิจกรรม Engaging Activity


ที่มา : คลังภาพ อจท.
แนวตอบ Check for Understanding
ปฏิกิริยาเคมี 135 1. ถูก 2. ถูก 3. ผิด
4. ผิด 5. ถูก

แนวตอบ Engaging Activity


ภาพที่ 2
ภาพที่ 3

T147
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. ใหนักเรียนตอบคําถาม Key Question Key 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
2. ใหนักเรียนศึกษา เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี Question หากสังเกตสารต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากปรากฏการณ์ธรรมชาติ
จากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ปฏิกริ ยิ าเคมี และกิจกรรมของมนุษย์ จะพบว่า สารมีการเปลี่ยนแปลงและท�าให้
และเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 หนวยการเรียนรูท ี่ 4 เกิดขึน
้ ได้อย่างไร เกิดสารใหม่ขึ้นตลอดเวลา เช่น การสุกของผลไม้ การเผาไหม้
เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี ของเชื้อเพลิง การเกิดสนิมของเหล็ก ซึ่งกระบวนการเปลี่ยนแปลง
3. ครู เ ตรี ย มสารละลายและอุ ป กรณ ที่ ใ ช ทํ า ของสารที่ท�าให้เกิดสารชนิดใหม่ที่มีสมบัติแตกต่างจากสารเดิม
เรียกว่า การเกิดปฏิกิริยาเคมี
กิจกรรม การเกิดปฏิกิริยาเคมี ตามหนังสือ
เรี ย นรายวิ ช าพื้ น ฐานวิ ท ยาศาสตร แ ละ ปฏิกริ ยิ าเคมี (chemical reaction) เป็นกระบวนการ
เทคโนโลยี ม.3 เลม 1 หนวยการเรียนรูที่ 4 ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร ท�าให้เกิด
เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี สารชนิดใหม่ซงึ่ มีสมบัตเิ ปลีย่ นแปลงไปจากเดิม การเกิด
ปฏิกิริยาเคมีประกอบด้วยสาร 2 กลุ่ม คือ สารที่เข้าท�า
ปฏิกิริยากัน เรียกว่า สารตั้งต้น (reactant) ซึ่งอาจ
ประกอบด้วยสารเพียงชนิดเดียว หรือตั้งแต่ 2 ชนิด
ขึน้ ไปท�าปฏิกริ ยิ ากัน และสารชนิดใหม่ทเี่ กิดขึน้ เรียกว่า
ผลิตภัณฑ์ (product) ซึ่งเป็นสารที่มีสมบัติแตกต่างไป ภาพที่ 4.2 ปฏิกิริยาเคมีเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร
จากสารตั้งต้น ท�าให้เกิดสารชนิดใหม่ที่มีสมบัติเปลี่ยนแปลงไป
ที่มา : คลังภาพ อจท.

กิจกรรม
การเกิดปฏิกิริยาเคมี

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
จุดประสงค์ - การสังเกต
- การทดลอง
ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแปลงของสารที่สังเกตได้เมื่อเกิดปฏิกิริยาเคมี - การลงความเห็นจากข้อมูล
จิตวิทยาศาสตร์
- ความสนใจใฝ่รู้
วัสดุอปุ กรณ์ - ความรอบคอบ

1. ที่ตั้งหลอดทดลอง 7. สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.1 mol/dm3


2. หลอดทดลองขนาดกลาง จ�านวน 4 หลอด 8. สารละลายด่างทับทิมเข้มข้น 0.1 mol/dm3
3. ช้อนตักสารเบอร์ 1 9. สารละลายเลด (II) ไนเตรตเข้มข้น 0.1 mol/dm3
4. หลอดหยด 10. สารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์เข้มข้น 0.1 mol/dm3
5. ผงฟู 11. สารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตเข้มข้น 0.1 mol/dm3
แนวตอบ Key Question 6. น�้าส้มสายชูกลั่นเข้มข้น 5% v/v 12. กรดซิตริก
สารตั้ ง ต น ที่ เ ข า ทํ า ปฏิ กิ ริ ย ากั น จะเกิ ด การ
เปลี่ยนแปลงทางเคมี แลวเกิดเปนสารใหมซึ่งมี 136
สมบัติแตกตางไปจากสารตั้งตน

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจแนะนําเพิ่มเติมเกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมีวา หากพิจารณาสถานะของ แกสออกซิเจนทําปฏิกิริยากับแกสไฮโดรเจนไดของเหลวใส
สารตัง้ ตนทีเ่ ขาทําปฏิกริ ยิ า จะแบงปฏิกริ ยิ าเคมีออกเปน 2 ประเภท คือ ปฏิกริ ยิ า ไมมีสี รส และกลิ่น เรียกแกสออกซิเจนและแกสไฮโดรเจนที่เขา
เนือ้ เดียว (homogeneous reaction) เปนปฏิกริ ยิ าทีส่ ารตัง้ ตนมีสถานะเดียวกัน ทําปฏิกิริยาวาอยางไร
มาทําปฏิกิริยากัน เชน การนํากรดไฮโดรคลอริกที่มีสถานะเปนของเหลว 1. เอนไซม
ผสมกับนํ้าปูนใส และปฏิกิริยาเนื้อผสม (heterogeneous reaction) เปน 2. สารตั้งตน
ปฏิกริ ยิ าทีส่ ารตัง้ ตนมีสถานะแตกตางกันมาทําปฏิกริ ยิ ากัน เชน การนําแทงเหล็ก 3. ผลิตภัณฑ
ที่มีสถานะเปนของแข็งจุมลงในกรดไฮโดรคลอริกซึ่งมีสถานะเปนของเหลว 4. ตัวเรงปฏิกิริยาเคมี
(วิเคราะหคําตอบ สารที่เขาทําปฏิกิริยาอาจมีเพียง 1 ชนิด หรือ
ตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป เรียกวา สารตั้งตน ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T148
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
4. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน ทํา
วิธปี ฏิบตั ิ
กิจกรรม การเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี ในหนังสือเรียน
1. เตรียมหลอดทดลอง 4 หลอด แตละหลอดทําการทดลองแตกตางกัน ดังนี้
- หลอดทดลองที่ 1 ใสสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดดปริมาตร 2 ลูกบาศกเซนติเมตร แลวหยดสารละลายเลด (II) ไนเตรต
รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ทีละหยดจนครบ 5 หยด ม.3 เลม 1 หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่อง การเกิด
- หลอดทดลองที่ 2 ใสผงฟู 1 ชอนเบอร 1 แลวหยดนํ้าสมสายชูลงไป 20 หยด ปฏิ กิ ริ ย าเคมี โดยให ส มาชิ ก ภายในกลุ  ม
- หลอดทดลองที่ 3 ใสสารละลายดางทับทิมปริมาตร 2 ลูกบาศกเซนติเมตร แลวหยดสารละลายกรดไฮโดรคลอริกทีละหยด แบงภาระและหนาที่รับผิดชอบ
จนครบ 20 หยด
- หลอดทดลองที่ 4 ใสสารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนตปริมาตร 2 ลูกบาศกเซนติเมตร แลวเติมกรดซิตริกครึ่งชอน
5. นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น อภิ ป รายหลั ง ทํ า
เบอร 1 กิ จ กรรม เพื่ อ ให ไ ด ข  อ สรุ ป ว า หลั ง เกิ ด
2. สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นของสารในหลอดทดลองกอนและหลังการเติมสาร แลวบันทึกผลการทดลอง ปฏิกิริยาเคมีจะทําใหสารบางชนิดมีอุณหภูมิ
เปลีย่ นแปลงไป บางสารเกิดฟองแกส บางสาร
มีสีที่เปลี่ยนแปลงไป บางสารเกิดตะกอน
6. ครูถามคําถามทายกิจกรรม
อธิบายความรู
7. ใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ นรวมกันอธิบายความรู
เกี่ยวกับเรื่อง ปฏิกิริยาเคมี
หลอดทดลองที่ 1 หลอดทดลองที่ 2 หลอดทดลองที่ 3 หลอดทดลองที่ 4
8. ครูสมุ เรียกนักเรียน 2 คน ออกมาหนาชัน้ เรียน
ภาพที่ 4.3 กิจกรรมการเกิดปฏิกิริยาเคมี อธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ที่มา : คลังภาพ อจท.

คําถามทายกิจกรรม
1. สารในหลอดทดลองทั้ง 4 หลอด มีการเปลี่ยนแปลงอยางไร
2. หลอดทดลองใดบางทีเ่ กิดปฏิกิริยาเคมีขึ้น และทราบไดอยางไร
แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม
อภิปรายผลกิจกรรม 1. หลอดทดลองที่ 1 เกิ ด ตะกอนสี เ หลื อ ง
จากกิจกรรม พบวา หลอดทดลองทัง้ 4 หลอด มีการเปลีย่ นแปลงเกิดขึน้ ดังนี้ หลอดทดลองที่ 1 เมือ่ ผสมสารละลายโพแทสเซียม หลอดทดลองที่ 2 เกิดฟองแกส หลอดทดลอง
ไอโอไดดกับสารละลายเลด (II) ไนเตรตจะเกิดตะกอนสีเหลือง หลอดทดลองที่ 2 เมื่อเติมนํ้าสมสายชูลงในผงฟูจะไดสารละลาย ที่ 3 สีของสารละลายเปลี่ยนเปนไมมีสี และ
ไมมีสี และมีฟองแกสเกิดขึ้น หลอดทดลองที่ 3 เมื่อหยดสารละลายกรดไฮโดรคลอริกลงในสารละลายดางทับทิม สีของสารละลาย หลอดทดลองที่ 4 อุณหภูมิของสารละลาย
ดางทับทิมจะจางหายไป และหลอดทดลองที่ 4 เมื่อเติมกรดซิตริกลงในสารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต อุณหภูมิของ
ลดลง
สารละลายจะลดลง
2. หลอดทดลองทั้ง 4 หลอด เกิดปฏิกิริยาเคมี
เนื่ อ งจากสั ง เกตเห็ น ตะกอน เกิ ด ฟองแก ส
ปฏิกิริยาเคมี 137 สีของสารละลายเปลี่ยนแปลง รวมทั้งอุณหภูมิ
ของสารที่เปลี่ยนแปลงไป

ขอสอบเนน การคิด ตารางบันทึก กิจกรรม

ขอใดไมใชขอสังเกตเมื่อสารเกิดปฏิกิริยาเคมี หลอดทดลอง กอนเติมสาร หลังเติมสาร


1. เกิดตะกอน 1 สารละลายใส ไมมีสี เกิดตะกอนสีเหลือง
2. เกิดสารใหม 2 ผงสีขาว เกิดฟองแกส ไดสารละลายใส ไมมีสี
3. เกิดฟองแกส 3 สารละลายสีมวง สารละลายใส ไมมีสี
4. เกิดการระเหย เกิดฟองแกส อุณหภูมิของสารละลาย
(วิเคราะหคําตอบ สารที่เขาทําปฏิกิริยากันแลวเกิดปฏิกิริยาเคมี 4 สารละลายใส ไมมีสี
ลดลง
จะมีการเปลีย่ นแปลงและไดสารใหมทมี่ สี มบัตแิ ตกตางไปจากเดิม
สังเกตไดจากการเปลี่ยนสีของสาร การเกิดตะกอน การเกิดฟอง
แกส การระเบิดหรือเกิดประกายไฟ การเปลีย่ นแปลงอุณหภูมิ สวน
การระเหยเปนการเปลี่ยนสถานะของสารจากของเหลวใหกลาย
เปนแกส ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T149
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
9. นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น อภิ ป รายเกี่ ย วกั บ จากกิจกรรม จะเห็นวา การเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีการเปลี่ยนแปลงและมีสารใหมที่มีสมบัติแตกตางไปจาก
สารเดิมเกิดขึ้น ซึ่งสังเกตได ดังนี้
ปฏิ กิ ริ ย าเคมี โดยครู อ าจใช แ บบจํ า ลอง - การเปลี่ยนสีของสาร เชน การเปลี่ยนสีของสารละลายไอโอดีนในการทดสอบแปง ซึ่งเปลี่ยนจากสีนํ้าตาล
อะตอมประกอบการอธิบายการจัดเรียงตัว เปนสีนํ้าเงินแกมมวง
ใหมของอะตอมเมื่อสารเกิดปฏิกิริยาเคมี - การเกิดตะกอน เชน สารละลายเลด (II) ไนเตรตและสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดดเปนของเหลวใส
10. ใหนักเรียนทําใบงาน เรื่อง การเปลี่ยนแปลง ไมมีสี เมื่อผสมกันแลวจะเกิดตะกอนสีเหลือง
ของสาร แลวใหนักเรียนลงมือทําใบงาน - การเกิดฟองแกส เชน กรดไฮโดรคลอริกผสมกับหินปูนจะเกิดฟองแกสขึ้น
- การระเบิดหรือเกิดประกายไฟ เชน ใสโลหะ
ขยายความเขาใจ โซเดียมลงในนํ้าจะเกิดประกายไฟขึ้น
- การเปลี่ ย นแปลงของอุ ณ หภู มิ เช น เติ ม เราสามารถสังเกตไดอยางไรวา
11. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-4 คน ยก
กรดซิตริกลงในสารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต มีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น
ตัวอยางปฏิกิริยาเคมีและสรางแบบจําลอง ทําใหอุณหภูมิของสารละลายลดลง
การจัดเรียงตัวใหมของอะตอมเมื่อสารเกิด การเปลีย่ นแปลงเหลานีแ้ สดงใหเห็นวามีปฏิกริ ยิ า
ปฏิกิริยาเคมี เคมีเกิดขึ้น ซึ่งทําใหไดสารใหมที่มีสมบัติแตกตางจากสารเดิม โดยอาจเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางใดอยางหนึ่ง
หรือหลายอยางขึ้นพรอมกัน
ขัน้ สรุป
นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น สรุ ป ความรู  เ กี่ ย วกั บ
การเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าเคมี เ ป น ผั ง มโนทั ศ น ล งใน
กระดาษ A4 พรอมนําเสนอในรูปแบบที่นาสนใจ

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล ภาพที่ 4.5 การเกิดประกายไฟของดอกไมไฟ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
1. ตรวจแบบทดสอบกอนเรียน
2. ตรวจใบงาน เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของสาร
3. ตรวจแบบฝกหัดรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 เรื่อง การเกิด
ปฏิกิริยาเคมี
4. ตรวจผังมโนทัศน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี
5. ตรวจแบบจํ า ลองการจั ด เรี ย งตั ว ใหม ข อง
อะตอม ภาพที่ 4.4 การเกิดฟองแกสของยาลดกรด ภาพที่ 4.6 การเกิดสนิมของวัสดุที่ทําจากโลหะ
ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท.
6. ตรวจสอบผลการปฏิ บั ติ กิ จ กรรม การเกิ ด
ปฏิกิริยาเคมี
138 การเกิดปฏิกิริยาเคมี

แนวทางการวัดและประเมินผล กิจกรรม สรางเสริม


ครูวัดและประเมินผลความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี ไดจากการ ให นั ก เรี ย นสํ า รวจปฏิ กิ ริ ย าเคมี ใ นชี วิ ต ประจํ า วั น และ
ทํากิจกรรม เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผล ยกตัวอยางปฏิกิริยาเคมี 2-3 ปฏิกิริยา ระบุวิธีสังเกตที่ทําใหเห็น
จากแบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรมที่อยูในแผนการจัดการเรียนรูประจําหนวย แนชัดวาเกิดปฏิกิริยาเคมี พรอมนําเสนอหนาชั้นเรียน
การเรียนรูที่ 4

เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติกิจกรรม
แบบประเมินการปฏิบัติกจิ กรรม
ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับ 1. การปฏิบัติ ทากิจกรรมตามขั้นตอน ทากิจกรรมตามขั้นตอน ต้องให้ความช่วยเหลือ ต้องให้ความช่วยเหลือ

กิจกรรม ทาทาย
ระดับคะแนน กิจกรรม และใช้อุปกรณ์ได้อย่าง และใช้อุปกรณ์ได้อย่าง บ้างในการทากิจกรรม อย่างมากในการทา
ถูกต้อง ถูกต้อง แต่อาจต้อง และการใช้อุปกรณ์ กิจกรรม และการใช้
ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน ได้รับคาแนะนาบ้าง อุปกรณ์
4 3 2 1 2. ความ มีความคล่องแคล่ว มีความคล่องแคล่ว ขาดความคล่องแคล่ว ทากิจกรรมเสร็จไม่
1 การปฏิบัติการทากิจกรรม คล่องแคล่ว ในขณะทากิจกรรมโดย ในขณะทากิจกรรมแต่ ในขณะทากิจกรรมจึง ทันเวลา และทา
2 ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัติกิจกรรม ในขณะปฏิบัติ ไม่ต้องได้รับคาชี้แนะ ต้องได้รับคาแนะนาบ้าง ทากิจกรรมเสร็จไม่ อุปกรณ์เสียหาย
3 การบันทึก สรุปและนาเสนอผลการทากิจกรรม กิจกรรม และทากิจกรรมเสร็จ ทันเวลา
และทากิจกรรมเสร็จ
ทันเวลา
รวม ทันเวลา

ใหนกั เรียนสืบคนขอมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับนํา้ อัดลม แลวระบุวา


3. การบันทึก สรุป บันทึกและสรุปผลการ บันทึกและสรุปผลการ ต้องให้คาแนะนาในการ ต้องให้ความช่วยเหลือ
และนาเสนอผล ทากิจกรรมได้ถูกต้อง ทากิจกรรมได้ถูกต้อง บันทึก สรุป และ อย่างมากในการบันทึก
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
การปฏิบัติ รัดกุม นาเสนอผลการ แต่การนาเสนอผลการ นาเสนอผลการทา สรุป และนาเสนอผล
................./................../.................. กิจกรรม ทากิจกรรมเป็นขั้นตอน ทากิจกรรมยังไม่เป็น กิจกรรม การทากิจกรรม

ทําไมนํ้าอัดลมที่บรรจุอยูในขวดจึงไมเกิดฟองแกส แตเมื่อเปดฝา
ชัดเจน ขั้นตอน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ขวดแลวจึงมีฟองแกสเกิดขึ้น รวบรวมขอมูลที่ไดจากการสืบคน
แลวบันทึกลงในกระดาษ A4 พรอมนําเสนอขอมูลหนาชั้นเรียน
10-12 ดีมาก
7-9 ดี
4-6 พอใช้
0-3 ปรับปรุง

T150
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Lecture Method)


การเตรียมการบรรยาย
การเกิดปฏิกิริยาเคมีสามารถเขียนแสดงดวยประโยคสัญลักษณ ดังนี้ 1. ครูเตรียมใบงาน เรื่อง สมการเคมี
สารตั้งตน ผลิตภัณฑ 2. ครูเตรียมอุปกรณใชประกอบการสอน เรื่อง
กฎทรงมวล คือ ดินนํ้ามัน 3 สี ปนเปนรูป
หากมีสารตั้งตนมากกวา 1 ชนิด ใหใชเครื่องหมายบวกคั่นระหวางสารแตละสาร และถาผลิตภัณฑมีมากกวา ทรงกลมสีละ 10 กอน
1 ชนิด ใหใชเครื่องหมายบวกคั่นระหวางสารแตละชนิดเชนกัน ดังนี้
3. ครูเตรียมใบความรูเกี่ยวกับการละลายนํ้าของ
สารตั้งตน A + สารตั้งตน B ผลิตภัณฑ C + ผลิตภัณฑ D สาร
4. ครูเตรียมภาพประกอบการสอนเพื่อทบทวน
ประโยคสัญลักษณทแี่ ทนปฏิกริ ยิ าเคมีทแี่ สดงการทําปฏิกริ ยิ าของสารตัง้ ตนและเกิดผลิตภัณฑดงั กลาว เรียกวา
สมการเคมี (chemical equation) เชน ปฏิกิริยาระหวางแกสไฮโดรเจนกับแกสออกซิเจน ไดนํ้าเปนผลิตภัณฑ
ความรู  เ ดิ ม ของนั ก เรี ย นเกี่ ย วกั บ การเกิ ด
เขียนแทนดวยสมการเคมี ดังนี้ ปฏิกริ ยิ าเคมี เชน ภาพสนิมเหล็ก ภาพการเกิด
ฟองแกสเมื่อหยอนเหล็กลงไปในสารละลาย
แกสไฮโดรเจน + แกสออกซิเจน นํ้า กรด
หลังการเกิดปฏิกิริยาเคมี อะตอมทั้งหมดของสารตั้งตนไมมีการสูญหายไป แตมีการจัดเรียงตัวใหมและเกิด
พันธะเคมีไดเปนผลิตภัณฑ ดังนี้

+ = อะตอมของไฮโดรเจน
อะตอมของออกซิเจน

แกสไฮโดรเจน แกสออกซิเจน นํ้า

ภาพที่ 4.7 การจัดเรียงตัวใหมของอะตอมไฮโดรเจนและออกซิเจนกลายเปนนํ้า


ที่มา : คลังภาพ อจท.

Science
Focus การเกิดพันธะเคมี
พันธะเคมี (chemical bond) เปนแรงยึดเหนี่ยวระหวางอะตอมของสาร ซึ่งทําใหอะตอมตาง ๆ เขามาอยูรวมกันเปนโมเลกุล
โดยแรงยึดเหนี่ยวที่เกิดขึ้นอาจเกิดขึ้นจากอะตอมมีการถายโอนอิเล็กตรอนวงนอกสุดใหกัน หรือนําอิเล็กตรอนวงนอกสุดมาใช
รวมกัน ซึ่งในการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีการสลายพันธะของสารตั้งตน และมีการสรางพันธะใหมเกิดเปนผลิตภัณฑที่มีสมบัติ
แตกตางไปจากเดิม

ปฏิกิริยาเคมี 139

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


พิจารณาสมการเคมีที่กําหนดให ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมีวา สารตั้งตนที่เขาทําปฏิกิริยากัน
2O2 (g) + สาร A นํ้า (l) + สาร B ไมจําเปนตองเกิดปฏิกิริยาทุกครั้งเสมอไป แตจะเกิดปฏิกิริยาเคมีก็ตอเมื่อ
สาร A และสาร B ควรเปนสารใด ตามลําดับ มีเงื่อนไข ดังตอไปนี้
1. H2 และ O2 1. ทิศทางการชนของอะตอมของสารตั้งตนตองอยูในทิศทางที่เหมาะสม
2. C และ CO2 เพราะถาหากโมเลกุลของสารตั้งตนชนกันผิดทิศทาง จะไมทําใหเกิดผลิตภัณฑ
3. N2 และ NO2 2. พลังงานหลังการชนตองมีคาอยางนอยเทากับพลังงานกอกัมมันต ซึ่ง
4. CH4 และ CO2 เปนคาพลังงานนอยที่สุดที่ทําใหสารตั้งตนเกิดปฏิกิริยาเคมี
(วิเคราะหคําตอบ จากโจทย ตัวเลือกที่เปนไปได คือ CH4 และ
CO2 เนื่องจากปฏิกิริยาการเผาไหมแกสมีเทน (สาร A) โดยมีแกส
ออกซิเจนเพียงพอ จะไดผลิตภัณฑเปนแกสคารบอนไดออกไซด
(สาร B) และนํ้า ดังสมการ 2O2 (g) + CH4 (g) 2H2O (l) +
CO2 (g) ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T151
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
การบรรยาย
1. ให นั ก เรี ย นทํ า แบบทดสอบความรู  เรื่ อ ง ตัวอย่างสมการเคมีและการจัดเรียงตัวของอะตอมของสารก่อนและหลังการเกิดปฏิกิริยา เช่น
- ปฏิกิริยาระหว่างธาตุคาร์บอนกับแก๊สออกซิเจน ได้ผลิตภัณฑ์เป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
สมการเคมี ในใบงาน ตอนที่ 1
2. ครูสนทนากับนักเรียนวา การเกิดปฏิกิริยา ธาตุคาร์บอน + แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
เคมีทําใหสารเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
สงผลใหสารตั้งตนเปลี่ยนแปลงและเกิดสาร
ใหม เรียกวา ผลิตภัณฑ ซึ่งมีสมบัติแตกตาง
+ อะตอมของออกซิเจน
อะตอมของคาร์บอน

ไปจากเดิม โดยสารทีเ่ กิดปฏิกริ ยิ าเคมีสามารถ ธาตุคาร์บอน แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์


สังเกตได ดังนี้ มีตะกอนเกิดขึ้น เกิดฟองแกส ภาพที่ 4.8 การจัดเรียงตัวใหม่ของอะตอมคาร์บอนและออกซิเจนกลายเป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
อุณหภูมิเปลี่ยนแปลง สีเปลี่ยน ซึ่งนักเรียน ที่มา : คลังภาพ อจท.
รูหรือไมวา ปฏิกิริยาเคมีสามารถเขียนเปน - ปฏิกิริยาระหว่างแก๊สมีเทนกับแก๊สออกซิเจน ได้ผลิตภัณฑ์เป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์กับน�้า
สมการขอความได แก๊สมีเทน + แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ + น�้า
3. ใหนักเรียนศึกษาหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 เกีย่ วกับ
การเขียนสมการเคมี อะตอมของไฮโดรเจน
4. ใหนักเรียนจับคูกับเพื่อน แลวรวมกันอธิบาย + + อะตอมของออกซิเจน
อะตอมของคาร์บอน
การเขียนสมการเคมีใหเพื่อนเขาใจ
5. ครูสุมเรียกนักเรียน 2-3 คน ออกมาเขียน
ขั้นตอนการเขียนสมการเคมี แก๊สมีเทน แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ น�้า
ภาพที่ 4.9 การจัดเรียงตัวใหม่ของอะตอมคาร์บอน ออกซิเจน และไฮโดรเจนกลายเป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และน�้า
ที่มา : คลังภาพ อจท.

จากตัวอย่างสมการเคมีข้างต้น จะเห็นว่า อะตอมของธาตุในสารตั้งต้นมีการจัดเรียงตัวใหม่ได้เป็นผลิตภัณฑ์


โดยอะตอมของธาตุแต่ละธาตุก่อนและหลังการเกิดปฏิกิริยาจะต้องมีจ�านวนเท่ากัน จึงสามารถสรุปหลักการเขียน
สมการเคมี ดังนี้
1. เขียนสารตัง้ ต้นไว้ทางด้านซ้ายมือของสมการ โดยมีลกู ศร เขียนไว้ระหว่างกลาง หัวลูกศรชีไ้ ปยัง
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปฏิกิริยา ซึ่งเขียนไว้ทางด้านขวามือของปฏิกิริยา
2. เขียนสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ด้วยสูตรเคมี และเขียนสถานะของสารแต่ละชนิดด้วยอักษรย่อไว้ด้านข้าง
ดังนี้ สารที่อยู่ในสถานะของแข็ง (solid) เขียนแทนด้วย (s) สารที่อยู่ในสถานะของเหลว (liquid) เขียนแทนด้วย (l)
สารที่อยู่ในสถานะแก๊ส (gas) เขียนแทนด้วย (g) และสารที่อยู่ในรูปสารละลาย (aqueous) เขียนแทนด้วย (aq)
3. ดุลจ�านวนอะตอมของธาตุแต่ละธาตุในสารตัง้ ต้นและผลิตภัณฑ์ให้มจี า� นวนเท่ากัน โดยน�าตัวเลขทีเ่ หมาะสม
เติมด้านหน้าสูตรเคมีในสมการ และนับจ�านวนอะตอมของธาตุทั้ง 2 ด้าน ให้มีจ�านวนเท่ากัน

140

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูใหคําแนะนําเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีการดุลสมการเคมี ดังนี้ ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับการเขียนสมการเคมี
1. หลังจากเขียนสมการเคมีเบื้องตนแลว ใหพิจารณาสมการเคมีคราวๆ 1. (s) แทนสถานะของสารที่เปนของแข็ง
กอนวา มีธาตุอิสระหรือไม หากมีธาตุอิสระใหดุลเปนลําดับสุดทาย 2. (aq) แทนสถานะของสารที่ละลายนํ้าได
2. เริ่มตนดุลจํานวนอะตอมของธาตุตางๆ ในโมเลกุลใหญที่สุดใหเทากัน 3. (g) แทนสถานะของสารที่ระเหยเปนแกสได
กอน (ถาในโมเลกุลนี้มีธาตุอิสระอยูดวยยังไมตองดุลธาตุอิสระ) หลังจากนั้น 4. (l) แทนสถานะของสารที่เปนของเหลวละลายนํ้าได
จึงดุลอะตอมของธาตุที่เล็กลง ตามลําดับ (วิเคราะหคําตอบ (s) แทนสถานะของสารที่เปนของแข็ง (l) แทน
3. เมื่อดุลอะตอมของธาตุตางๆ หมดแลว จึงดุลอะตอมของธาตุอิสระ สถานะของสารทีเ่ ปนของเหลว (g) แทนสถานะของสารทีเ่ ปนแกส
(ถามี) และ (aq) แทนสารที่อยูในรูปของสารละลาย ดังนั้น ตอบขอ 1.)
4. บางกรณีอาจจะตองทําจํานวนอะตอมของธาตุทางซายและทางขวาของ
สมการใหเปนเลขคู เพื่อสะดวกในการดุลสมการเคมี

T152
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
การบรรยาย
ตัวอยางที่ 4.1 เขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาระหว่างแผ่นโลหะแมกนีเซียม (Mg) กับสารละลายกรดไฮโดร- 6. ครูเขียนสมการเคมีระหวางนํา้ ทําปฏิกริ ยิ าเคมี
คลอริก (HCl) ได้ผลิตภัณฑ์เป็นสารละลายแมกนีเซียมคลอไรด์ (MgCl2) และแก๊สไฮโดรเจน กับกรดคารบอนิก โดยใชดนิ นํา้ มันรูปทรงกลม
(H2)
สีแดงแทนอะตอมของไฮโดรเจน ดินนํ้ามัน
วิธีท�า เขียนสมการเคมี ดังนี้ รู ป ทรงกลมสี ฟ  า แทนอะตอมของออกซิ เ จน
Mg (s) + HCl (aq) MgCl2 (aq) + H2 (g) และดินนํ้ามันรูปทรงกลมสีเขียวแทนอะตอม
จากสมการเคมี จะเห็นว่า จ�านวนอะตอมของ H และ Cl ในสมการด้านซ้ายและขวาไม่เท่ากัน ของคารบอน แลวแสดงแบบจําลองการเกิด
จึงต้องดุลสมการให้เท่ากัน โดยเติม 2 หน้า HCl เพื่อท�าให้ H และ Cl มีจ�านวนเท่ากันทั้ง 2 ด้าน ปฏิกิริยาเคมีระหวางแกสไฮโดรเจนกับแกส
จึงเขียนสมการเคมีใหม่ได้ ดังนี้
ออกซิเจนไดนํ้าเปนผลิตภัณฑ
Mg (s) + 2HCl (aq) MgCl2 (aq) + H2 (g)
7. ครูถามคําถาม H.O.T.S.

ตัวอยางที่ 4.2 เขียนสมการเคมีของปฏิกิริยาระหว่างแก๊สมีเทน (CH4) กับแก๊สออกซิเจน (O2) ได้ผลิตภัณฑ์


เป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และน�้า (H2O)
วิธีท�า เขียนสมการเคมี ดังนี้
CH4 (g) + O2 (g) CO2 (g) + H2O (l)
จากสมการเคมี จะเห็นว่า จ�านวนอะตอมของ H และ O ในสมการด้านซ้ายและขวาไม่เท่ากัน จึงต้อง
ดุลสมการให้เท่ากัน โดยเติม 2 หน้า H2O เพื่อท�าให้ H มีจ�านวนเท่ากันทั้ง 2 ด้าน และเติม 2 หน้า O2
เพื่อท�าให้ O มีจ�านวนเท่ากันทั้ง 2 ด้าน จึงเขียนสมการเคมีใหม่ได้ ดังนี้
CH4 (g) + 2O2 (g) CO2 (g) + 2H2O (l)

อะตอมของธาตุแต่ละธาตุก่อนและหลังการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะต้องมีจ�านวนเท่ากัน แสดงให้เห็นว่า
มวลรวมของสารตั้งต้นก่อนเกิดปฏิกิริยาเคมีและมวลรวมของผลิตภัณฑ์หลังเกิดปฏิกิริยาเคมีจะต้องมีค่าเท่ากัน
ซึ่งเป็นไปตามกฎทรงมวล (law of conservation of mass)

HOTS
(ค�าถามท้าทายการคิดขั้นสูง)
จงเขียนสมการเคมีของปฏิกิริยาระหว่างโซเดียมฟอสเฟต (Na3PO4) กับแคลเซียมคลอไรด์ (CaCl2)
ได้ผลิตภัณฑ์เปนแคลเซียมฟอสเฟต (Ca3(PO4)2) และโซเดียมคลอไรด์ (NaCl)

แนวตอบ H.O.T.S.
ปฏิกิริยาเคมี 141 2Na3PO4 (aq) + 3CaCl2 (aq) Ca3(PO4)2
(s) + 6NaCl (aq)

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


การเปลี่ยนแปลงแบบใดเปนไปตามกฎทรงมวล ครูอาจใหนกั เรียนเขียนสมการเคมีและครูอาจใหคาํ แนะนํานักเรียนวา การ
1. มวลของสารตั้งตนกอนเกิดปฏิกิริยาเคมีมากกวามวลของ เขียนสมการเคมีตองเขียนสถานะของสารกํากับไวเสมอ ดังนั้น นักเรียนจําเปน
ผลิตภัณฑหลังเกิดปฏิกิริยาเคมี ตองรูความสามารถในการละลายนํ้าของสาร โดยสารชนิดใดที่ละลายนํ้าได
2. มวลของสารตั้งตนกอนเกิดปฏิกิริยาเคมีนอยกวามวลของ จะอยูในรูปของสารละลาย (aq) หรือสารชนิดใดไมละลายนํ้าจะมีสถานะเปน
ผลิตภัณฑหลังเกิดปฏิกิริยาเคมี ของแข็ง (s) ซึ่งมีหลักในการพิจารณา ดังนี้
3. มวลของสารตั้งตนกอนเกิดปฏิกิริยาเคมีเทากับมวลของ 1. สารประกอบทีป่ ระกอบดวยไอออน Na+, K+, NH4+ สามารถละลายนํา้ ได
ผลิตภัณฑหลังเกิดปฏิกิริยาเคมี 2. สารประกอบไนเตรต (NO3- ) และแอซีเตต (CH3COO-) สามารถละลาย
4. มวลของสารตั้งตนกอนเกิดปฏิกิริยาเคมีไมเทากับมวลของ นํ้าได
ผลิตภัณฑหลังเกิดปฏิกิริยาเคมี 3. สารประกอบคลอไรด (Cl-) และซัลเฟต (SO42-) สวนใหญสามารถละลาย
(วิเคราะหคาํ ตอบ ปฏิกริ ยิ าเคมีทเี่ กิดขึน้ ในระบบปด มวลของสาร นํ้าได ยกเวน AgCl, PbCl2, Hg2Cl2, BaSO4, PbSO4 และ CaSO4 ไมละลายนํ้า
ตั้งตนกอนเกิดปฏิกิริยาเคมีเทากับมวลของผลิตภัณฑหลังเกิด 4. สารประกอบคารบอเนต (CO32-) ฟอสเฟต (PO43-) ซัลไฟด (S2-) และ
ปฏิกิริยาเคมี ซึ่งเปนไปตามกฎทรงมวล ดังนั้น ตอบขอ 3.) ไฮดรอกไซด (OH-) สวนใหญไมละลายนํ้า ยกเวน LiOH, NaOH, KOH, NH3,
Na2HPO4 และ NaH2PO4 สามารถละลายนํ้าได

T153
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
การบรรยาย
กิจกรรม
8. ให นั ก เรี ย นแบ ง กลุ  ม กลุ  ม ละ 3-4 คน
มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทํ า กิ จ กรรม มวลกั บ การเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าเคมี
ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 หนวยการเรียนรูท ี่ 4 จุดประสงค - การวัด
- การสังเกต
เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยใหสมาชิก ทดลองและอธิบายผลรวมมวลของสารตั้งตนที่เขาทําปฏิกิริยาเคมีกับผลรวมมวลของ - การทดลอง
ผลิตภัณฑที่เกิดขึ้น - การลงความเห็นจากขอมูล
ภายในกลุมแบงภาระและหนาที่รับผิดชอบ จิตวิทยาศาสตร
9. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายผลกิจกรรม วัสดุอปุ กรณ - ความสนใจใฝรู
- ความรอบคอบ
เพื่อใหไดขอสรุปวา ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นใน 1. เครื่องชั่ง
2. กระบอกตวง
ระบบปด มวลรวมของสารตั้งตนเทากับมวล 3. เม็ดหินปูนขนาดเล็ก
รวมของผลิตภัณฑ ซึ่งเปนไปตามกฎทรงมวล 4. บีกเกอรขนาด 250 cm3
5. หลอดทดลองขนาดกลาง 2 หลอด
6. หลอดทดลองขนาดใหญ 1 หลอด พรอมจุกยาง
7. สารละลายโซเดียมซัลเฟตเขมขน 0.1 mol/dm3
8. สารละลายแบเรียมคลอไรดเขมขน 0.1 mol/dm3
9. สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเขมขน 0.1 mol/dm3
วิธปี ฏิบตั ิ
ตอนที่ 1
1. ชัง่ บีกเกอรทบี่ รรจุหลอดทดลองทัง้ 2 หลอด โดยหลอดทดลองที่ 1 บรรจุสารละลายแบเรียมคลอไรดปริมาตร 5 ลูกบาศกเซนติเมตร
และหลอดทดลองที่ 2 บรรจุสารละลายโซเดียมซัลเฟตปริมาตร 5 ลูกบาศกเซนติเมตร แลวบันทึกมวลที่ชั่งได
2. เทสารละลายในหลอดทดลองที่ 1 ลงในหลอดทดลองที่ 2 แลววางหลอดทดลองเปลาไวในบีกเกอรตามเดิม สังเกต
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในหลอดทดลอง
3. ชั่งบีกเกอรที่บรรจุหลอดทดลองทั้ง 2 หลอดอีกครั้ง แลวเปรียบเทียบกับมวลที่ชั่งไดในครั้งแรก
หลอดทดลองที่ 1

หลอดทดลองที่ 1 หลอดทดลองที่ 2
หลอดทดลองที่ 2
250 250 250 250 250 250 250 250 250
200 200 200 200 200 200 200 200 200
150 150 150 150 150 150 150 150 150
100 100 100 100 100 100 100 100 100
สารละลาย 50 สารละลาย
50 50 50 50 50 50 50 50

แบเรียมคลอไรด โซเดียมซัลเฟต

ภาพที่ 4.10 กิจกรรมมวลกับการเกิดปฏิกิริยา


ที่มา : คลังภาพ อจท.

142

ตารางบันทึก กิจกรรม ขอสอบเนน การคิด


ตอนที่ 1
พิจารณาปฏิกิริยาเคมีที่ 1 ซึ่งเกิดขึ้นในระบบปด และปฏิกิริยา
ผลรวมมวลกอนเกิดปฏิกิริยาเคมี ผลรวมมวลหลังเกิดปฏิกิริยาเคมี เคมีที่ 2 ซึ่งเกิดขึ้นในระบบเปด โดยสาร A ทําปฏิกิริยากับสาร
B ไดผลิตภัณฑเปนสาร C และแกส D

ิจกรรม ปฏิกิริยา อัตราสวนนํ้าหนักของสาร


อ ย ก
 ู ับผลก เคมีที่ สาร A สาร B สาร C แกส D
ขนึ้
1 4 3 5 ?
2 3 4 4 1
หมายเหตุ มวลรวมของหลอดทดลองที่ 1 และ 2 กอนเกิดปฏิกิริยาเคมี
จากตาราง แกส D ที่เกิดขึ้นในปฏิกิริยาเคมีที่ 1 ควรเปนเทาใด
ควรมีคาใกลเคียงหรือเทากับมวลรวมของหลอดทดลองที่ 1 และ 2 หลังเกิด
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4
ปฏิกิริยาเคมี
( วิ เ คราะห คํ า ตอบ ปฏิ กิ ริ ย าเคมี ที่ 1 เกิ ด ขึ้ น ในระบบป ด
มวลรวมก อ นเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าเคมี มี ค  า เท า กั บ มวลรวมผลิ ต ภั ณ ฑ
หลังเกิดปฏิกิริยาเคมี ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T154
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
การบรรยาย

ตอนที่ 2
10. ครูถามคําถามทายกิจกรรม
1. ชั่งบีกเกอรที่ใสเม็ดหินปูน 2-3 เม็ด พรอมหลอดทดลองขนาดใหญที่บรรจุสารละลายกรดไฮโดรคลอริกปริมาตร 10 ลูกบาศก 11. ครูอธิบายเพิม่ เติมวา ในการเขียนสมการเคมี
เซนติเมตร ที่ปดจุกยางไว แลวบันทึกมวลที่ชั่งได นักเรียนควรมีความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับการ
2. ใสเม็ดหินปูนในขอ 1. ลงในหลอดทดลองที่บรรจุกรดไฮโดรคลอริกและปดจุกยางทันที สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ละลายนํ้าของสาร โดยสารประกอบบางชนิด
ในหลอดทดลอง
3. ตั้งหลอดทดลองทิ้งไวจนปฏิกิริยาสิ้นสุด จากนั้นชั่งบีกเกอรและหลอดทดลองพรอมจุกยางอีกครั้ง แลวเปรียบเทียบกับมวล
ละลายนํ้าได บางชนิดละลายนํ้าไมได
ที่ชั่งไดในครั้งแรก 12. ครูแจกใบความรู เรือ่ ง การละลายนํา้ ของสาร
โดยใหนกั เรียนจับคูห รือจับกลุม กับเพือ่ น 3-4
คน แลวรวมกันศึกษาและทําความเขาใจกัน
ภายในกลุม
250 250250
200 200200
250 250250
200 200200
250 250250
200 200200
13. ใหนักเรียนและครูรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับ
การละลายนํ้าของสารกอนเริ่มตนบทเรียน
150 150150 150 150150 150 150150
100 100100
สารละลาย 100 100100 100 100100

เม็ดหินปูน 50 50 50 กรดไฮโดรคลอริก 50 50 50 50 50 50

14. ใหนักเรียนทําใบงาน ตอนที่ 2 และ 3

ภาพที่ 4.11 กิจกรรมมวลกับการเกิดปฏิกิริยา


ที่มา : คลังภาพ อจท.

คําถามทายกิจกรรม
1. มวลของสารกอนเกิดปฏิกิริยาและหลังเกิดปฏิกิริยามีคาเทากันหรือไม อยางไร
2. ถาไมปดจุกยางหลอดทดลองในกิจกรรมตอนที่ 2 มวลของสารที่ชั่งไดกอนเกิดปฏิกิริยาและหลังเกิดปฏิกิริยามีคาแตกตางกัน
หรือไม เพราะเหตุใด

อภิปรายผลกิจกรรม
จากกิจกรรมตอนที่ 1 พบวา เมื่อผสมสารละลายโซเดียมซัลเฟตกับสารละลายแบเรียมคลอไรดจะมีตะกอนสีขาวขุนเกิดขึ้น
ซึง่ มวลรวมของสารทัง้ 2 ชนิด ทีบ่ รรจุอยูใ นหลอดทดลองกอนเกิดปฏิกริ ยิ ามีคา เทากับมวลของผลิตภัณฑทเี่ กิดขึน้ หลังเกิดปฏิกริ ยิ า
จากกิจกรรมตอนที่ 2 พบวา เมื่อใสเม็ดหินปูนลงในสารละลายกรดไฮโดรคลอริกจะมีฟองแกสเกิดขึ้น และเม็ดหินปูนมีขนาด
เล็กลง ซึ่งมวลรวมของเม็ดหินปูนและสารละลายกรดไฮโดรคลอริกกอนเกิดปฏิกิริยามีคาเทากับมวลรวมของผลิตภัณฑที่เกิดขึ้น
หลังเกิดปฏิกิริยา
จากกิจกรรมทั้ง 2 ตอน พบวา มวลรวมของสารตั้งตนเทากับมวลรวมของผลิตภัณฑ ซึ่งเปนไปตามกฎทรงมวล
แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม
1. เทากัน เนื่องจากปฏิกิริยาเกิดขึ้นในระบบปด
ปฏิกิริยาเคมี 143 2. แตกตางกัน เนื่องจากแกสที่เกิดขึ้นบางสวนจะ
ออกสูสิ่งแวดลอม

ขอสอบเนน การคิด ตารางบันทึก กิจกรรม


ตอนที่ 2
ขอใดดุลสมการของปฏิกริ ยิ าเคมีระหวางแคลเซียมคารบอเนต
กับกรดไฮโดรคลอริกไดถูกตอง ผลรวมมวลกอนใสเม็ดหินปูน ผลรวมมวลหลังใสเม็ดหินปูน
1. CaCO3 (s) + 2HCl (aq) CaCl2 (aq) + CO2 (g)
+ H2O (l)
ิจกรรม
2. CaCO3 (s) + 6HCl (aq) CaCl2 (aq) + CO2 (g)
อ ย ก
 ู ับผลก
+ 3H2O (l) ขนึ้
3. 2CaCO3 (s) + HCl (aq) 2CaCl2 (aq) + CO (g)
+ H2O (l) หมายเหตุ เนื่องจากปฏิกิริยาเกิดขึ้นในระบบปด ดังนั้น ผลมวลรวมกอนใส
4. 3CaCO3 (s) + 6HCl (aq) 3CaCl2 (aq) + CO (g) เม็ดหินปูนลงในหลอดทดลองควรมีคาใกลเคียงหรือเทากับผลมวลรวมหลัง
+ H2O (l) ใสเม็ดหินปูนลงในหลอดทดลองที่บรรจุกรดไฮโดรคลอริก
(วิเคราะหคําตอบ สมการแสดงปฏิ กิ ริ ย าเคมี ที่ เ กิ ด ขึ้ น คื อ
CaCO3 (s) + 2HCl (aq) CaCl2 (aq) + CO2 (g) + H2O (l)
ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T155
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น สรุ ป หลั ก การเขี ย น
สมการเคมีวา ปฏิกิริยาเคมีสามารถเขียนดวย จากกิจกรรมข้างต้น จะเห็นได้ว่า ผลรวมมวลของสารตั้งต้นมีค่าเท่ากับผลรวมมวลของผลิตภัณฑ์เสมอ
ซึง่ เป็นไปตามกฎทรงมวลทีก่ ล่าวว่า “ในปฏิกริ ยิ าเคมีใด ๆ มวลของสารก่อนเกิดปฏิกริ ยิ าจะเท่ากับมวลของสารหลังเกิด
สัญลักษณ โดยจะเขียนสารตัง้ ตนทางซายมือแลว ปฏิกิริยา” ดังสมการ
เขียนลูกศรแทนการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี และหัวลูกศร
ชีไ้ ปทางผลิตภัณฑ หากมีสารตัง้ ตนหรือผลิตภัณฑ มวลของสารทั้งหมดก่อนเกิดปฏิกิริยา = มวลของสารทั้งหมดหลังเกิดปฏิกิริยา
มากกวา 1 ตัว จะใชเครือ่ งหมายบวกคัน่ และเขียน
สถานะของสารแตละชนิดดวยตัวอักษรยอไวดา น ในกรณีที่ผลิตภัณฑ์เป็นแก๊ส หากท�าปฏิกิริยา
ในภาชนะปิด มวลของสารก่อนเกิดปฏิกิริยาจะเท่ากับ
ขาง โดยมวลรวมของสารตั้งตนกอนเกิดปฏิกิริยา
มวลของสารหลั ง เกิ ด ปฏิ กิ ริ ย า แต่ ห ากท� า ปฏิ กิ ริ ย า
เคมีและมวลรวมของผลิตภัณฑหลังเกิดปฏิกิริยา ในภาชนะเปิด มวลของสารก่อนเกิดปฏิกิริยาจะมากกว่า
เคมีจะตองมีคาเทากันซึ่งเปนไปตามกฎทรงมวล มวลของสารหลังเกิดปฏิกิริยา เนื่องจากแก๊สที่เป็น
ผลิตภัณฑ์จะแพร่ออกสู่ภายนอกภาชนะ
ขัน้ ประเมิน
1. ให นั ก เรี ย นทํ า แบบฝ ก หั ด รายวิ ช าพื้ น ฐาน
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 เรื่อง 1. กฎทรงมวลเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาเคมี
การเกิดปฏิกิริยาเคมี อย่างไร
2. มวลของผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น
2. ใหนักเรียนทําใบงาน เรื่อง สมการเคมี ตอนที่ ในภาชนะเปิดและภาชนะปิด
4 เพื่อประเมินความรูหลังเรียน ภาพที่ 4.12 แก๊สที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีในภาชนะเปิดจะแพร่ออก แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
สู่ภายนอก
3. ตรวจแบบฝกหัดรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ที่มา : คลังภาพ อจท.
และเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 เรื่อง การเกิด
ปฏิกิริยาเคมี Science
Focus ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
4. ตรวจใบงาน เรื่อง สมการเคมี
ปฏิกิริยาเคมีบางปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นอย่างช้า ๆ แต่บางปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นผลจากปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้
5. ตรวจสอบผลการปฏิบัติกิจกรรม มวลกับการ 1. สมบัตขิ องสารตัง้ ต้น สารตัง้ ต้นแต่ละชนิดมีความไวต่อการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมีแตกต่างกัน เช่น ปฏิกริ ยิ าเคมีของดอกไม้ไฟ
เกิดปฏิกิริยาเคมี ที่เกิดการลุกไหม้กับแก๊สออกซิเจนในอากาศเกิดขึ้นเร็ว เพราะสมบัติของสารตั้งต้นที่ใช้ท�าดอกไม้ไฟเป็นสารไวไฟ ปฏิกิริยาจึงเกิด
6. ใหนักเรียนประเมินวิธีการสอนของครูผูสอน ได้เร็ว แต่ปฏิกิริยาการเกิดสนิมของเหล็กที่เกิดจากเหล็กท�าปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจนในอากาศจะเกิดช้ามาก
โดยครูใหนักเรียนเขียนขอเสนอแนะเกี่ยวกับ 2. ความเข้มข้นของสารตัง้ ต้น ความเร็วของปฏิกริ ยิ าแปรผันตามความเข้มข้นของสารตัง้ ต้น เมือ่ สารตัง้ ต้นมีความเข้มข้นสูง
อนุภาคของสารมีโอกาสชนกันมาก ปฏิกิริยาจึงเกิดขึ้นเร็ว
วิ ธีก ารสอนเพื่ อ ให ค รู ไ ปปรั บ ใช กั บ การสอน
3. พื้นที่ผิวของสารตั้งต้น หากสารตั้งต้นมีพื้นที่ผิวมาก สารจะเข้าท�าปฏิกิริยากันได้มาก ปฏิกิริยาจึงเกิดขึ้นเร็ว
ในครั้งตอไป 4. อุณหภูมิของระบบ หากระบบมีอุณหภูมิสูง อนุภาคของสารเคลื่อนที่ได้เร็ว ปฏิกิริยาจึงเกิดขึ้นเร็ว
5. ตัวเร่งปฏิกิริยา ปฏิกิริยาเคมีที่มีตัวเร่งปฏิกิริยาจะท�าให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้น
6. ตัวหน่วงปฏิกิริยา ปฏิกิริยาเคมีที่มีตัวหน่วงปฏิกิริยาจะท�าให้ปฏิกิริยาเกิดช้าลง

144

แนวทางการวัดและประเมินผล กิจกรรม ทาทาย


ครูวัดและประเมินผลความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี ได ใหนักเรียนยกตัวอยางปฏิกิริยาเคมี 1 ปฏิกิริยา ระบุสาร
จากการทํากิจกรรม เรื่อง มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยศึกษาเกณฑการวัด ตั้งตนและผลิตภัณฑ พรอมทั้งเขียนสมการเคมีจากปฏิกิริยา
และประเมินผลจากแบบประเมินกิจกรรมปฏิบตั กิ จิ กรรมทีอ่ ยูใ นแผนการจัดการ แลวใหนักเรียนรวบรวมขอมูลสรางแบบจําลองการดุลสมการเคมี
เรียนรูประจําหนวยการเรียนรูที่ 4 จากวัสดุทเี่ หมาะสม เชน ดินนํา้ มัน ไมบรรทัด ตัวอยางแบบจําลอง
เชน การดุลสมการเคมีของปฏิกิริยาเคมีระหวางแผนโลหะสังกะสี
แบบประเมินการปฏิบัติกจิ กรรม
ประเด็นที่ประเมิน
4
เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติกิจกรรม

3
ระดับคะแนน
2 1
กับกรดไฮโดรคลอริก
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับ 1. การปฏิบัติ ทากิจกรรมตามขั้นตอน ทากิจกรรมตามขั้นตอน ต้องให้ความช่วยเหลือ ต้องให้ความช่วยเหลือ
ระดับคะแนน กิจกรรม และใช้อุปกรณ์ได้อย่าง และใช้อุปกรณ์ได้อย่าง บ้างในการทากิจกรรม อย่างมากในการทา
ถูกต้อง ถูกต้อง แต่อาจต้อง และการใช้อุปกรณ์ กิจกรรม และการใช้
ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน ได้รับคาแนะนาบ้าง อุปกรณ์
Zn
1 การปฏิบัติการทากิจกรรม
4 3 2 1 2. ความ
คล่องแคล่ว
มีความคล่องแคล่ว มีความคล่องแคล่ว ขาดความคล่องแคล่ว
ในขณะทากิจกรรมโดย ในขณะทากิจกรรมแต่ ในขณะทากิจกรรมจึง
ทากิจกรรมเสร็จไม่
ทันเวลา และทา ไมบรรทัด Cl
H
2
3
ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัติกิจกรรม
การบันทึก สรุปและนาเสนอผลการทากิจกรรม
ในขณะปฏิบัติ
กิจกรรม
ไม่ต้องได้รับคาชี้แนะ ต้องได้รับคาแนะนาบ้าง ทากิจกรรมเสร็จไม่
และทากิจกรรมเสร็จ ทันเวลา
อุปกรณ์เสียหาย
Cl Cl ดินนํ้ามัน
และทากิจกรรมเสร็จ
ทันเวลา
รวม
3. การบันทึก สรุป
ทันเวลา
บันทึกและสรุปผลการ บันทึกและสรุปผลการ ต้องให้คาแนะนาในการ ต้องให้ความช่วยเหลือ Zn H
และนาเสนอผล ทากิจกรรมได้ถูกต้อง ทากิจกรรมได้ถูกต้อง บันทึก สรุป และ อย่างมากในการบันทึก
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
................./................../..................
การปฏิบัติ
กิจกรรม
รัดกุม นาเสนอผลการ
ทากิจกรรมเป็นขั้นตอน
ชัดเจน
แต่การนาเสนอผลการ
ทากิจกรรมยังไม่เป็น
ขั้นตอน
นาเสนอผลการทา
กิจกรรม
สรุป และนาเสนอผล
การทากิจกรรม กอนดุลสมการเคมี H

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ Cl Cl
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ H H H
10-12 ดีมาก Zn Cl Cl Zn
7-9
4-6
ดี
พอใช้
H
0-3 ปรับปรุง

หลังดุลสมการเคมี

T156
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Experimental Method)


เตรียมการทดลอง
Check for Understanding 1. ครู เ ตรี ย มอุ ป กรณ ที่ ใ ช ทํ า กิ จ กรรม ได แ ก
พิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุดบันทึก เทอร ม อมิ เ ตอร กระบอกตวงวั ด ปริ ม าตร
ถูก/ผิด บีกเกอรขนาด 250 cm3 แทงแกวคนสาร
1. พลังงานความร้อนมีบทบาทในการเกิดปฏิกิริยาเคมี ช อ นตั ก สารเบอร 1 โซเดี ย มไฮโดรเจน
2. การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสารไม่นับว่ามีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น คารบอเนต 1 กระปุก แผนโลหะแมกนีเซียม

มุ ด
และสารละลายกรดไฮโดรคลอริ ก เข ม ข น

นส
3. ในระหว่างการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีการถ่ายโอนความร้อนเกิดขึ้น

งใ

1 mol/dm3

ทึ ก
4. อุณหภูมิของสารก่อนเกิดปฏิกิริยาจะเท่ากับอุณหภูมิของสารหลังเกิดปฏิกิริยาเสมอ

บั น
5. สารตั้งต้นจะเปลี่ยนเป็นผลิตภัณฑ์ก็ต่อเมื่อมีพลังงานความร้อนมากพอในการสลายพันธะ 2. ครูใหนกั เรียนนับเลข 1-5 หรือ 1-6 เรียงตอกัน
แลวแตความเหมาะสมของจํานวนนักเรียนใน
ชัน้ เรียน โดยนักเรียนทีน่ บั หมายเลขเหมือนกัน
E ngaging ให้นักเรียนตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของสารละลายต่อไปนี้
ใหอยูกลุมเดียวกัน
3. ครูเตรียมเนือ้ หาเกีย่ วกับประเภทของปฏิกริ ยิ า
Activity
เคมี
ขั้นตอนที่ 1 4. ใหนักเรียนตรวจสอบความรูของตนเองกอน
เตรียมบีกเกอร์ 2 ใบ แต่ละใบบรรจุน�้ากลั่นปริมาตร 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร เข า สู  ก ารเรี ย นการสอนจากกรอบ Check
for Understanding ในหนังสือเรียนรายวิชา
100 100 100 100
80
60
40
80 80
60 60
40 40
แล้วใช้มือสัมผัสบีกเกอร์
80
60
40
20 20 20 20
พืน้ ฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1
หน ว ยการเรี ย นรู  ที่ 4 เรื่ อ ง ประเภทของ
ขั้นตอนที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
โซเดียม
ไฮดรอกไซด์
ใส่โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) 2 กรัม ลงในบีกเกอร์ท ่ี 1 คนให้ละลายจนหมด 5. ใหนักเรียนทํากิจกรรม Engaging Activity
100
80
100
80
แล้วใช้มือสัมผัสบีกเกอร์ เปรียบเทียบความรู้สึกร้อน-เย็นก่อนและหลังใส่ โดยใหนักเรียนศึกษาภาพ แลวเปรียบเทียบ
โซเดียมไฮดรอกไซด์
60 60
40 40
20 20

อุณหภูมขิ องบีกเกอรใบที่ 1 และ 2 หลังเติมสาร


บีกเกอร์ที่ 1
ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร
ขั้นตอนที่ 3 และเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 หนวยการเรียนรู
โซเดียม ใส่โซเดียมคลอไรด์ (NaCl) 2 กรัม ลงในบีกเกอร์ที่ 2 คนให้ละลายจนหมด ที่ 4 เรื่อง ประเภทของปฏิกิริยาเคมี
คลอไรด์
100
80
100
80
แล้วใช้มือสัมผัสบีกเกอร์ เปรียบเทียบความรู้สึกร้อน-เย็นก่อนและหลังใส่
60 60
40
20
40
20 โซเดียมคลอไรด์
บีกเกอร์ที่ 2
ภาพที่ 4.13 การตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของสารละลาย
ที่มา : คลังภาพ อจท. แนวตอบ Check for Understanding
ปฏิกิริยาเคมี 145 1. ถูก 2. ผิด 3. ถูก
4. ผิด 5. ถูก

แนวตอบ Engaging Activity


เมื่อใชมือสัมผัสบีกเกอรใบที่ 1 หลังเติมโซเดียมไฮดรอกไซด จะรูสึกรอนขึ้น
เมื่อใชมือสัมผัสบีกเกอรใบที่ 2 หลังเติมโซเดียมคลอไรด จะรูสึกปกติ

T157
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ทดลอง
1. ครูถามคําถาม Key Question Key 2 ประเภทของปฏิกิริยาเคมี
2. ให นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ศึ ก ษาข อ มู ล เกี่ ย วกั บ Question การเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานความร้อน
ประเภทของปฏิ กิ ริ ย าเคมี ใ นหนั ง สื อ เรี ย น เพราะเหตุใดผลิตภัณฑ์ เกิดขึน้ เสมอ สังเกตได้จากการเปลีย่ นแปลงอุณหภูมขิ องสารก่อนเกิด
รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ของปฏิกริ ยิ าเคมีบางชนิด ปฏิกิริยาและหลังเกิดปฏิกิริยา ซึ่งอุณหภูมิอาจเพิ่มขึ้นหรือลดลง
ม.3 เลม 1 หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่อง ประเภท จึงมีอณ
ุ หภูมแิ ตกต่าง จากเดิม เนือ่ งจากมีการถ่ายโอนความร้อนระหว่างระบบกับสิง่ แวดล้อม
จากสารตัง้ ต้น
ของปฏิกิริยาเคมี หรือแหลงการเรียนรูอื่นๆ
เชน อินเทอรเน็ต
3. ใหแตละกลุม สงตัวแทนนักเรียน 2 คน ออกมา การเกิดปฏิกิริยาเคมีประกอบด้วย 2 ขั้นตอน
รับอุปกรณที่ใชทํากิจกรรม การเปลี่ยนแปลง ได้แก่ การดูดพลังงานเพื่อสลายพันธะของสารตั้งต้น
พลังงานความรอนของปฏิกิริยา และการคายพลังงานเพื่อสร้างพันธะของผลิตภัณฑ์ เช่น
ปฏิกิริยาการเผาไหม้เชื้อเพลิงซึ่งมีธาตุคาร์บอนเป็น
องค์ประกอบ เมือ่ คาร์บอนท�าปฏิกริ ยิ ากับแก๊สออกซิเจน
จะได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ไอน�้า และพลังงาน
เป็นผลิตภัณฑ์ ซึ่งก่อนเกิดปฏิกิริยาต้องให้ความร้อน
กับเชื้อเพลิงจ�านวนหนึ่ง เพื่อให้เชื้อเพลิงมีพลังงาน
มากพอที่จะเกิดปฏิกิริยาได้ และหลังเกิดปฏิกิริยาแล้ว
จะมีพลังงานความร้อนถูกปล่อยออกมามากกว่าพลังงาน
ความร้อนทีใ่ ห้ในตอนแรก แสดงว่า ปฏิกริ ยิ าการเผาไหม้
ภาพที่ 4.14 ปฏิกริ ยิ าการเผาไหม้เชือ้ เพลิงมีความร้อนถูกคายออกมา
เชื้ อ เพลิ ง มี พ ลั ง งานที่ ค ายออกมามากกว่ า พลั ง งาน มากกว่าความร้อนที่ดูดเข้าไป
ที่ดูดเข้าไป ที่มา : คลังภาพ อจท.

Science
Focus ระบบและการเปลี่ยนแปลง
การศึกษาการเปลี่ยนแปลงของสารในการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีการก�าหนดขอบเขตของการศึกษา ซึ่งมีองค์ประกอบส�าคัญ
2 ส่วน ดังนี้
1. ระบบ (system) หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ในขอบเขตที่ต้องการศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
- ระบบเปิด เป็นระบบที่มีการถ่ายเทมวลและพลังงานความร้อนให้กับสิ่งแวดล้อม เช่น การหายใจ การเผาไหม้ของ
เชื้อเพลิง การใส่โลหะลงในสารละลายกรดแล้วเกิดฟองแก๊ส
- ระบบปิด เป็นระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานความร้อน แต่ไม่มีการถ่ายเทมวลให้กับสิ่งแวดล้อม เช่น การระเหิด
ของเกล็ดไอโอดีนในภาชนะปิด
แนวตอบ Key Question 2. สิ่งแวดล้อม (surrounding) หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่นอกเหนือจากขอบเขตที่ต้องการศึกษา แต่มีความเกี่ยวข้องกับระบบ
เช่น มีการถ่ายโอนความร้อนระหว่างระบบกับสิ่งแวดล้อม
เพราะสารที่เกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีการถายโอน
ความรอนระหวางระบบกับสิ่งแวดลอม ซึ่งอาจเพิ่ม
ขึ้นหรือลดลงไปจากเดิม ขึ้นอยูกับประเภทของ 146
ปฏิกิริยาเคมี

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ให นั ก เรี ย นศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม จากภาพยนตร ส ารคดี สั้ น Twig เรื่ อ ง การ ขอใดอธิบายความหมายของระบบปดไดถูกตอง
เปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยา (https://www.twig-aksorn.com/fifif ilm/ 1. ระบบที่เกิดการถายเทมวลและพลังงานความรอนใหกับ
heat-transport-8317/) สิ่งแวดลอม
2. ระบบที่ไมเกิดการถายเทมวลและพลังงานความรอนใหกับ
สิ่งแวดลอม
3. ระบบที่เกิดการถายเทมวล แตไมถายเทพลังงานความรอน
ใหกับสิ่งแวดลอม
4. ระบบที่ไมเกิดการถายเทมวล แตถายเทพลังงานความรอน
ใหกับสิ่งแวดลอม
( วิ เ คราะห คํ า ตอบ ระบบป ด เป น ระบบที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลง
พลั ง งานความร อ น แต ไ ม มี ก ารถ า ยเทมวลให กั บ สิ่ ง แวดล อ ม
ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T158
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ทดลอง
กิจกรรม
4. ให ส มาชิ ก ภายในกลุ  ม แบ ง ภาระและหน า ที่
การเปลี่ยนแปลงพลังงานความรอนของปฏิกิริยา
รับผิดชอบภายในกลุม
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร 5. ใหนักเรียนตั้งสมมติฐาน กําหนดตัวแปรตน
จุดประสงค - การวัด ตัวแปรตาม ตัวแปรควบคุม รวมทั้งออกแบบ
- การสังเกต
ศึกษาการเปลี่ยนแปลงพลังงานความรอนของปฏิกิริยาดูดความรอนและคายความรอน - การทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลองลงในสมุดประจําตัว
- การลงความเห็นจากขอมูล
วัสดุอปุ กรณ จิตวิทยาศาสตร นักเรียน
1. กระบอกตวง 5. แทงแกวคนสาร
- ความสนใจใฝรู
- ความรอบคอบ 6. ครูสมุ เรียกตัวแทนกลุม ออกมานําเสนอผลการ
2. เทอรมอมิเตอร 6. แผนโลหะแมกนีเซียม ทดลองหนาชั้นเรียน
3. ชอนตักสาร เบอร 1 7. โซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต ขัน้ สอน
4. บีกเกอรขนาด 100 cm3 2 ใบ 8. สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเขมขน 1 mol/dm3 อภิปรายผลการทดลอง

วิธปี ฏิบตั ิ 7. ให นั ก เรี ย นทุ ก กลุ  ม ร ว มกั น อภิ ป รายผลการ


1. เทสารละลายกรดไฮโดรคลอริกลงในบีกเกอร 2 ใบ ใบละ 25 ลูกบาศกเซนติเมตร ทดลองวา เหมือนหรือแตกตางกันหรือไม แลว
2. วัดอุณหภูมิของสารละลายกรดไฮโดรคลอริกในบีกเกอรทั้ง 2 ใบ แลวบันทึกผล จึงรวมกันอภิปรายผลกิจกรรมไปพรอมกับครู
3. นําแผนโลหะแมกนีเซียมใสลงในบีกเกอรที่ 1 และเติมโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต 1 ชอน ลงในบีกเกอรที่ 2 เพื่อใหไดขอสรุปวา ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นใน
4. คนสารละลายในบีกเกอรทั้ง 2 ใบ วัดอุณหภูมิของสารละลายอีกครั้ง แลวบันทึกผล บี ก เกอร ที่ 1 เป น ปฏิ กิ ริ ย าคายความร อ น
แผนโลหะ
แมกนีเซียม
โซเดียมไฮโดรเจน
คารบอเนต
เนื่องจากหลังเกิดปฏิกิริยาเคมีในบีกเกอรที่ 1
อุณหภูมิเพิ่มขึ้น ขณะที่ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น
100
80
60
100100
80 80
60 60
100
80
60
100 100
80 80
60 60
100
100
8080
6060
100
100
8080
6060
100
100
80
80
60
60
100100
8080
6060
100
100
8080
6060
100
80
60
100100
8080
6060
100
100
8080
6060
100
80
60
100
100
8080
6060
100
80
60
100
100
8080
6060
100100
8080
6060
100100
8080
6060
ในบีกเกอรที่ 2 เปนปฏิกิริยาดูดความรอน
100
80
60
40
20
40 40
20 20
40
20
40 40
20 20
4040
2020
4040
2020
40
40
20
20
4040
2020
4040
2020
40
20
4040
2020
4040
2020
40
20
4040
2020
40
20
4040
2020
4040
2020
4040
2020 เนื่องจากหลังเกิดปฏิกิริยาเคมีในบีกเกอรที่ 2
40
20

บีกเกอรที่ 1 บีกเกอรที่ 2 บีกเกอรที่ 1 บีกเกอรที่ 2 บีกเกอรที่ 1 บีกเกอรที่ 2 บีกเกอรที่ 1 บีกเกอรที่ 2 อุณหภูมิลดตํ่าลง


ภาพที่ 4.15 กิจกรรมการเปลี่ยนแปลงพลังงานความรอนของปฏิกิริยา
ที่มา : คลังภาพ อจท.

คําถามทายกิจกรรม
1. อุณหภูมิของสารละลายในบีกเกอรทั้ง 2 ใบ เปลี่ยนแปลงหรือไม อยางไร
2. ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในบีกเกอรทั้ง 2 ใบ เปนปฏิกิริยาดูดความรอนหรือคายความรอน เพราะเหตุใด

อภิปรายผลกิจกรรม
แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม
จากกิจกรรม พบวา สารละลายในบีกเกอรที่ 1 มีอณุ หภูมสิ งู ขึน้ แสดงวา ปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ คายความรอนออกมา สวนสารละลาย
ในบีกเกอรที่ 2 มีอุณหภูมิลดลง แสดงวา ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นดูดความรอนเขาไป 1. เปลีย่ นแปลง โดยหลังเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี อุณหภูมิ
ของบีกเกอรใบที่ 1 และ 2 มีอุณหภูมิสูงขึ้น
และลดลง ตามลําดับ
ปฏิกิริยาเคมี 147 2. บีกเกอรใบที่ 1 และ 2 เปนปฏิกริ ยิ าคายความรอน
และปฏิกิริยาดูดความรอน ตามลําดับ

ขอสอบเนน การคิด ตารางบันทึก กิจกรรม

ขอใดเปนปฏิกิริยาคายความรอน อุณหภูมิของ อุณหภูมิของ


1. นํ้าแข็งละลาย บีกเกอร สารละลาย HCl สารละลาย HCl
2. การเผาไหมของเชื้อเพลิง กอนเติมสาร (º ํC) หลังเติมสาร (º ํC)
3. การเผาผลาญพลังงานในรางกาย ใบที่ 1
ผลกิจกรรม
4. ขอ 2. และ 3. ถูกตอง ใบที่ 2 ข นึ้ อยูกับ
(วิเคราะหคําตอบ การเผาไหมของเชื้อเพลิงและการเผาผลาญ หมายเหตุ หลังใสแผนโลหะลงในสารละลายในบีกเกอรใบที่ 1 ควรมีอุณหภูมิ
พลังงานในรางกายมีความรอนถูกคายออกมามากกวาความรอน สูงขึน้ ขณะทีห่ ลังใสโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนตลงในสารละลายในบีกเกอร
ที่ดูดเขาไป ดังนั้น ตอบขอ 4.) ใบที่ 2 ควรมีอุณหภูมิลดลง

T159
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น สรุ ป ว า อุ ณ หภู มิ
ของสารที่เปลี่ยนแปลงไปเกิดจากการถายโอน จากกิจกรรม จะเห็นว่า อุณหภูมิของสารละลายเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งเกิดจากการถ่ายโอนความร้อนระหว่าง
การเกิดปฏิกิริยาเคมี สามารถแบ่งประเภทของปฏิกิริยาตามอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงได้ 2 รูปแบบ ดังนี้
ความรอนระหวางเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยปฏิกิริยา
1. ปฏิกิริยาดูดความร้อน (endothermic reaction) เป็นปฏิกิริยาที่ระบบดูดพลังงานความร้อนเข้าไปสลาย
ดู ด ความร อ นเป น ปฏิ กิ ริ ย าที่ ร ะบบดู ด พลั ง งาน พันธะมากกว่าคายพลังงานความร้อนออกมาเพือ่ สร้างพันธะ สารตัง้ ต้นมีพลังงานต�า่ กว่าผลิตภัณฑ์ ท�าให้สงิ่ แวดล้อม
ความรอนเขาไปเพื่อสลายพันธะ ทําใหสารตั้งตน มีอุณหภูมิลดลง ดังภาพที่ 4.16
มีพลังงานตํ่ากวาผลิตภัณฑ เมื่อสัมผัสกับสาร
หลังเกิดปฏิกิริยาเคมีจะรูสึกเย็น สวนปฏิกิริยา พลังงานที่ดูดเข้า > พลังงานที่คายออก
คายความรอนเปนปฏิกิริยาที่ระบบคายพลังงาน
ความร อ นเพื่ อ สร า งพั น ธะ ทํ า ให ส ารตั้ ง ต น

พลังงาน
มี พ ลั ง งานสู ง กว า ผลิ ต ภั ณ ฑ เมื่ อ สั ม ผั ส สาร
หลังเกิดปฏิกิริยาเคมีจะรูสึกรอน ผลิตภัณฑ์

สารตั้งต้น
การด�าเนินไปของปฏิกิริยา
ภาพที่ 4.16 กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานความร้อนในปฏิกิริยาดูดความร้อน
ที่มา : คลังภาพ อจท.

2. ปฏิกริ ยิ าคายความร้อน (exothermic reaction)


เป็นปฏิกิริยาที่ระบบดูดพลังงานความร้อนเข้าไปสลาย เราสังเกตได้อย่างไรว่า
พันธะน้อยกว่าคายพลังงานความร้อนออกมาเพื่อสร้าง ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเป็นปฏิกิริยา
พันธะ สารตั้งต้นมีพลังงานสูงกว่าผลิตภัณฑ์ จึงปล่อย ดูดความร้อนหรือคายความร้อน
เพราะเหตุใด
พลังงานความร้อนออกสู่สิ่งแวดล้อม ท�าให้อุณหภูมิ
สูงขึ้น ดังภาพที่ 4.17

พลังงานที่ดูดเข้า < พลังงานที่คายออก

สารตั้งต้น
พลังงาน

ผลิตภัณฑ์

การด�าเนินไปของปฏิกิริยา
ภาพที่ 4.17 กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานความร้อนในปฏิกิริยาคายความร้อน
ที่มา : คลังภาพ อจท.
แนวตอบ คําถาม
สังเกตอุณหภูมขิ องสารละลายทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป 148
หลังเกิดปฏิกิริยาเคมี

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ให นั ก เรี ย นศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม จากภาพยนตร ส ารคดี สั้ น Twig เรื่ อ ง การ ขอความใดกลาวถูกตองเกีย่ วกับการเปลีย่ นแปลงพลังงานความ
เปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยา (https://www.twigaksorn.com/fif ilm/ รอนของปฏิกิริยาเคมี
energy-change-of-reactions-8252/) 1. การเกิดปฏิกิริยาเคมีไมมีผลตอการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
2. อุณหภูมิที่ลดลงหลังเกิดปฏิกิริยาเคมี เปนผลมาจาก
ปฏิกิริยาดูดความรอน
3. อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นหลังเกิดปฏิกิริยาเคมี เปนผลมาจาก
ปฏิกิริยาดูดความรอน
4. อุณหภูมิที่ลดลงหลังเกิดปฏิกิริยาเคมี เปนผลมาจาก
ปฏิกิริยาคายความรอน
(วิเคราะหคําตอบ ปฏิกิริยาดูดความรอนเปนปฏิกิริยาที่ระบบดูด
พลั ง งานความร อ นเข า ไปสลายพั น ธะมากกว า คายพลั ง งาน
ความรอนออกมาเพื่อสรางพันธะ สารตั้งตนมีพลังงานตํ่ากวา
ผลิตภัณฑ ทําใหสิ่งแวดลอมมีอุณหภูมิลดลง ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T160
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
Application 1. ตรวจแบบฝกหัดรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 เรื่อง ประเภทของ
Activity
ปฏิกิริยาเคมี
ใหนักเรียนทํากิจกรรมตอไปนี้ 2. ตรวจคําตอบ Topic Questions ในสมุดประจํา
1. แบงกลุม 5 กลุม สืบคนขอมูล เรื่อง ปจจัยที่มีผลตอการเกิดปฏิกิริยาเคมี เพื่อศึกษาปจจัยตาง ๆ ที่มีผลตอ
การเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยแตละกลุมจับสลากเลือกปจจัย กลุมละ 1 ปจจัย ดังนี้
ตัวนักเรียน
- กลุมที่ 1 ความเขมขนของสารตั้งตน - กลุมที่ 2 พื้นที่ผิวของสารตั้งตน 3. ตรวจสอบผลการปฏิ บั ติ กิ จ กรรม การ
- กลุมที่ 3 อุณหภูมิของระบบ - กลุมที่ 4 ตัวเรงปฏิกิริยา เปลี่ยนแปลงพลังงานความรอนของปฏิกิริยา
- กลุมที่ 5 ตัวหนวงปฏิกิริยา 4. สั ง เกตพฤติ ก รรมการทํ า งานกลุ  ม จากการ
2. แตละกลุมออกแบบการทดลอง เรื่อง ปจจัยที่มีผลตอการเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยในแผนการทดลองจะตองมี
องคประกอบ ดังนี้
ทํางานในชั้นเรียน
- ปญหา - สมมติฐาน 5. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยสังเกต
- ตัวแปรตนและตัวแปรตาม - วัสดุอุปกรณและสารเคมี ความมีวนิ ยั ใฝเรียนรู และมุง มัน่ ในการทํางาน
- วิธีการทดลอง - วิเคราะหและสรุปผลการทดลอง
3. แตละกลุมทําการทดลอง โดยใชวัสดุอุปกรณและสารเคมีในหองปฏิบัติการของโรงเรียน และนําเสนอ
ผลการทดลองหนาชั้นเรียน

Topic Questions
คําชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
1. การเปลี่ยนแปลงลักษณะใดที่แสดงวาสารเกิดปฏิกิริยาขึ้น พรอมยกตัวอยางประกอบ
2. จงเขียนสมการเคมีของปฏิกิริยาตอไปนี้ พรอมดุลสมการเคมีใหถูกตอง
- ปฏิกิริยาระหวางแผนโลหะโซเดียมกับนํ้า ไดผลิตภัณฑเปนโซเดียมไฮดรอกไซด (NaOH) และแกสไฮโดรเจน
- ปฏิกิริยาระหวางแกสโพรเพน (C3H8) กับแกสออกซิเจน ไดผลิตภัณฑเปนแกสคารบอนไดออกไซดและนํ้า
- ปฏิกิริยาระหวางโซเดียมไฮดรอกไซด (NaOH) กับกรดซัลฟวริก (H2SO4) ไดผลิตภัณฑเปนโซเดียมซัลเฟต
(Na2SO4) และนํ้า
3. นําแคลเซียมคารบอเนต (CaCO3) ทําปฏิกิริยากับกรดซัลฟวริก (H2SO4) ไดแคลเซียมซัลเฟต (CaSO4)
แกสคารบอนไดออกไซด และนํ้าเปนผลิตภัณฑ หากปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นในระบบเปด มวลของผลิตภัณฑจะมีคา
แตกตางจากสารตั้งตนหรือไม อยางไร
4. เพราะเหตุใดการเกิดปฏิกิริยาเคมีจึงมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานความรอนอยูเสมอ
5. นําโพแทสเซียมไฮโดรเจนคารบอเนต (KHCO3) ใสลงในสารละลายกรดซัลฟวริกเจือจาง พบวา สารละลาย
กรดซัลฟวริกมีอุณหภูมิลดลง ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเปนปฏิกิริยาดูดความรอนหรือคายความรอน เพราะเหตุใด

ปฏิกิริยาเคมี 149

แนวตอบ Topic Questions แนวทางการวัดและประเมินผล


1. การเปลี่ยนสี การเกิดตะกอน การเกิดฟองแกส การเกิดประกายไฟ
ครูวัดและประเมินผลความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง ประเภทของปฏิกิริยาเคมี
การเปลีย่ นแปลงอุณหภูมิ ตัวอยางเชน การจุม แทงโลหะลงในสารละลาย
ไดจากการทํากิจกรรม เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานความรอนของปฏิกิริยา
กรดหรือเบสจะเกิดฟองแกสไฮโดรเจน
โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรม
2. - 2Na (s) + 2H2O (l) 2NaOH (aq) + H2 (g)
ที่อยูในแผนการจัดการเรียนรูประจําหนวยการเรียนรูที่ 4
- C3H8 (g) + 5O2 (g) 3CO2 (g) + 4H2O (l)
- 2NaOH (aq) + H2SO4 (aq) Na2SO4 (aq) + 2H2O (l) เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติกิจกรรม

3. แตกตาง เนือ่ งจากปฏิกริ ยิ าเกิดขึน้ ในระบบเปด แกสคารบอนไดออกไซด


แบบประเมินการปฏิบัติกจิ กรรม
ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับ 1. การปฏิบัติ ทากิจกรรมตามขั้นตอน ทากิจกรรมตามขั้นตอน ต้องให้ความช่วยเหลือ ต้องให้ความช่วยเหลือ
ระดับคะแนน กิจกรรม และใช้อุปกรณ์ได้อย่าง และใช้อุปกรณ์ได้อย่าง บ้างในการทากิจกรรม อย่างมากในการทา

ซึง่ เปนผลิตภัณฑทเี่ กิดขึน้ จากปฏิกริ ยิ าเคมีระหวางแคลเซียมคารบอเนต


ถูกต้อง ถู กต้ อ ง แต่ อ าจต้ อ ง และการใช้อุปกรณ์ กิจกรรม และการใช้
ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน ได้รับคาแนะนาบ้าง อุปกรณ์
4 3 2 1 2. ความ มีความคล่องแคล่ว มีความคล่องแคล่ว ขาดความคล่องแคล่ว ทากิจกรรมเสร็จไม่
1 การปฏิบัติการทากิจกรรม คล่องแคล่ว ในขณะทากิจกรรมโดย ในขณะทากิจกรรมแต่ ในขณะทากิจกรรมจึง ทันเวลา และทา
2 ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัติกิจกรรม ในขณะปฏิบัติ ต้องได้รับคาแนะนาบ้าง ทากิจกรรมเสร็จไม่ อุปกรณ์เสียหาย

กับกรดคารบอนิก จึงออกสูส งิ่ แวดลอม


ไม่ต้องได้รับคาชี้แนะ
3 การบันทึก สรุปและนาเสนอผลการทากิจกรรม กิจกรรม และทากิจกรรมเสร็จ ทันเวลา
และทากิจกรรมเสร็จ
ทันเวลา
รวม ทันเวลา
3. การบันทึก สรุป บันทึกและสรุปผลการ บันทึกและสรุปผลการ ต้องให้คาแนะนาในการ ต้องให้ความช่วยเหลือ
และนาเสนอผล ทากิจกรรมได้ถูกต้อง ทากิจกรรมได้ถูกต้อง บันทึก สรุป และ อย่างมากในการบันทึก

4. การเกิดปฏิกริ ยิ าเคมีนนั้ ระบบจะดูดพลังงานความรอนเขาไปเพือ่ สลาย


ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
การปฏิบัติ รัดกุม นาเสนอผลการ แต่การนาเสนอผลการ นาเสนอผลการทา สรุป และนาเสนอผล
................./................../.................. กิจกรรม ทากิจกรรมเป็นขั้นตอน ทากิจกรรมยังไม่เป็น กิจกรรม การทากิจกรรม
ชัดเจน ขั้นตอน

พันธะ และมีการคายพลังงานเพือ่ สรางพันธะ ทําใหอณ ุ หภูมขิ องสารหลัง


เกิดปฏิกริ ยิ าเคมีเปลีย่ นแปลงไป
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10-12 ดีมาก
7-9 ดี

5. ปฏิกริ ยิ าดูดความรอน เนือ่ งจากเปนปฏิกริ ยิ าทีร่ ะบบดูดพลังงานเขาไป


4-6 พอใช้
0-3 ปรับปรุง

เพื่อสลายพันธะของสารตั้งตนมากกวาคายพลังงานออกมาเพื่อสราง
พันธะของผลิตภัณฑ สารจึงมีอณ ุ หภูมลิ ดลง
T161
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (Experimental Method)


เตรียมการทดลอง
1. ครูเตรียมเนื้อหาเกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมีตางๆ Check for Understanding
2. ครูเตรียมวีดิทัศนประกอบการสอน พิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุดบันทึก
3. ครูเตรียมอุปกรณการทดลอง ถูก/ผิด

4. ใหนักเรียนตรวจสอบความรูของตนเองกอน 1. ปฏิกิริยาเคมีสามารถพบได้ในชีวิตประจ�าวัน
เขาสูการเรียนการสอนจากกรอบ Check for 2. การหายใจและการย่อยอาหารเป็นปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในร่างกายของมนุษย์

ม ุ ด
Understanding ในหนั ง สื อ เรี ย นรายวิ ช า


น ส
3. ปฏิกิริยาเคมีไม่สามารถเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ แต่จะเกิดขึ้นเมื่อถูกกระตุ้นเท่านั้น

ง ใ


พืน้ ฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.3 เลม 1

ท ึ ก

4. มนุษย์สามารถประยุกต์ใช้ประโยชน์จากการเกิดปฏิกิริยาเคมีได้

บ ั น
หน ว ยการเรี ย นรู  ที่ 4 เรื่ อ ง ปฏิ กิ ริ ย าเคมี 5. ปฏิกิริยาเคมีก่อให้เกิดผลเสียต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมอยู่เสมอ
ในชีวิตประจําวัน
5. ใหนกั เรียนทํากิจกรรม Engaging Activity โดย
ใหนักเรียนศึกษาภาพ แลวอธิบายประโยชน
และโทษที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาเคมีในภาพจาก E ngaging พิจารณาภาพที่กา� หนดให้ แล้วอธิบายประโยชน์หรือโทษทีเ่ กิดขึน้ จากปฏิกริ ยิ าเคมี
เหล่านี้
Activity
ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 หนวยการเรียนรู ภาพที่ 1 การเผาไหม้เชื้อเพลิงของรถยนต์ ภาพที่ 2 การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ที่ 4 เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน
6. เตรียม Flowchart หรือขั้นตอนการทดลอง
ใหกับนักเรียนทุกกลุม

ภาพที่ 3 การเกิดหินงอกหินย้อย ภาพที่ 4 การเกิดสนิมของวัสดุทที่ า� จากโลหะ

ภาพที่ 4.18 ภาพส�าหรับกิจกรรม Engaging Activity


ที่มา : คลังภาพ อจท.
แนวตอบ Check for Understanding
1. ถูก 2. ถูก 3. ผิด 150
4. ถูก 5. ผิด

แนวตอบ Engaging Activity


ภาพที่ 1 : การเผาไหมเชื้อเพลิงของรถยนต
ประโยชน คือ เปนแหลงพลังงานในการขับเคลื่อนเครื่องยนต
โทษ คือ ผลิตภัณฑที่เกิดจากการเผาไหม คือ แกสคารบอนไดออกไซด
ซึ่งจะมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและระบบทางเดินหายใจของ
สิ่งมีชีวิต
ภาพที่ 2 : การสังเคราะหดวยแสงของพืช
ประโยชน คือ เปนกระบวนการผลิตอาหารของพืชและเปนแหลงพลังงาน
ใหกับสิ่งมีชีวิตอื่น
ภาพที่ 3 : การเกิดหินงอกหินยอย
ประโยชน คือ เปนปรากฏการณที่ทําใหเกิดความงดงามทางธรรมชาติ ใช
เปนสถานทีท่ อ งเทีย่ ว ชวยกระตุน เศรษฐกิจดานการทองเทีย่ ว
ภาพที่ 4 : การเกิดสนิมของวัสดุที่ทําจากโลหะ
โทษ คือ ทําใหวัสดุผุกรอนและมีความแข็งแรงลดลง

T162
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
เตรียมการทดลอง
Key 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน 7. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น สนทนาเกี่ ย วกั บ
Question รอบ ๆ ตัวเรามีปฏิกริ ยิ าเคมีเกิดขึน้ อยูต ลอดเวลา ปฏิกริ ยิ าเคมี ปฏิกริ ยิ าเคมีทเี่ กิดขึน้ รอบตัวเรา เชน ปฏิกริ ยิ า
ปฏิกริ ยิ าเคมีมคี วามสําคัญ บางชนิดเกิดขึ้นไดเอง แตบางชนิดตองไดรับการกระตุนจึงจะเกิด การเผาไหม ปฏิกิริยาการเกิดฝนกรด การ
ตอการดํารงชีวติ ของมนุษย ปฏิกิริยาได ปฏิกิริยาเคมีหลายชนิดสามารถนํามาใชประโยชน สังเคราะหดวยแสงของพืช
อยางไร ในชีวิตประจําวัน ทั้งดานอุตสาหกรรม ดานเกษตรกรรม และดาน 8. ครูเปดวีดิทัศนเกี่ยวกับปฏิกิริยาการเผาไหม
การแพทย ในทางตรงกันขามปฏิกิริยาเคมีบางชนิดก็สงผลกระทบ ปฏิกิริยาการเกิดฝนกรด และการสังเคราะห
ตอการดํารงชีวิตของมนุษยและสิ่งแวดลอมเชนกัน
ดวยแสงของพืช เพื่อใหนักเรียนศึกษาหรือ
3.1 ชนิดของปฏิกิริยาเคมี ในชีวิตประจําวัน ทบทวนความรูเดิม หรือจาก QR Code เรื่อง
ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจําวันมีหลายชนิด ดังนี้ ปฏิกิริยาการเผาไหม
1. ปฏิกิริยาการเผาไหม (combustion reaction) เปนปฏิกิริยาเคมีระหวางสารกับแกสออกซิเจน สารที่ 9. ครูถามคําถามทบทวนความรูของนักเรียน
เกิดปฏิกิริยาการเผาไหมสวนใหญเปนสารที่มีธาตุคารบอน (C) และไฮโดรเจน (H) เปนองคประกอบ เชน แกสมีเทน • ปฏิกิริยาการเผาไหมแบงออกไดเปน
(CH4) แกสโพรเพน (C3H8) แกสบิวเทน (C4H10) ปฏิกิริยาการเผาไหมแบงออกเปน 2 ประเภท ดังนี้ กี่ประเภท
1) ปฏิกิริยาการเผาไหมแบบสมบูรณ เกิดขึ้นเมื่อการเผาไหมมีปริมาณแกสออกซิเจนมากเพียงพอ (แนวตอบ 2 ประเภท คือ ปฏิกิริยาการเผา
ไดผลิตภัณฑเปนแกสคารบอนไดออกไซด นํ้า และพลังงาน เชน การเผาไหมแกสมีเทนหรือแกสโพรเพนในสภาวะ
ที่มีแกสออกซิเจนเพียงพอ ดังสมการ
ไหมแบบสมบูรณและปฏิกิริยาการเผาไหม
แบบไมสมบูรณ)
CH4 (g) + 2O2 (g) CO2 (g) + 2H2O (l) + พลังงาน
• ฝนกรดเกิดขึ้นไดอยางไร
แกสมีเทน แกสออกซิเจน แกสคารบอนไดออกไซด นํ้า
( แนวตอบ นํ้ า ฝนรวมตั ว กั บ ออกไซด ข อง
C3H8 (g) + 5O2 (g) 3CO2 (g) + 4H2O (l) + พลังงาน ไนโตรเจนหรือออกไซดของซัลเฟอร ทําให
แกสโพรเพน แกสออกซิเจน แกสคารบอนไดออกไซด นํ้า
นํ้าฝนมีสมบัติเปนกรด)
Science in Real Life 10. ครูถามคําถาม Key Question
2) ปฏิกริ ยิ าการเผาไหมแบบไมสมบูรณ เกิดขึน้ เมือ่ การเผาไหม เขม า ควั น จากการเผาไหม แ บบ
มีปริมาณแกสออกซิเจนที1่เขาทําปฏิกิริยาไมเพียงพอ ไดผลิตภัณฑเปน 2 เปนสาเหตุทาํ ให
ไมสมบูรณของเครือ่ งยนต
แกสคารบอนมอนอกไซด นํ้า และพลังงาน รวมทั้งเกิดเขมาควัน เชน เกิดฝุนละออง PM 2.5 เกินคามาตรฐาน
การเผาไหมแกสมีเทนหรือแกสโพรเพนในสภาวะทีม่ แี กสออกซิเจนไมเพียงพอ ซึ่งเปนอันตรายตอสุขภาพของผูที่สูดดม
เขาสูรางกาย เชน เกิดโรคมะเร็งปอด
ดังสมการ
2CH4 (g) + 3O2 (g) 2CO (g) + 4H2O (l) + พลังงาน + เขมาควัน
แกสมีเทน แกสออกซิเจน แกสคารบอนมอนอกไซด นํ้า
แนวตอบ Key Question
2C3H8 (g) + 7O2 (g) 6CO (g) + 8H2O (l) + พลังงาน + เขมาควัน
แกสโพรเพน แกสออกซิเจน แกสคารบอนมอนอกไซด นํ้า การทํางานของระบบในรางกายลวนเกี่ยวของ
กับปฏิกิริยาเคมี และมนุษยยังใชประโยชนจาก
ปฏิ กิ ริ ย าเคมี ใ นด า นอุ ต สาหกรรม การเกษตร
ปฏิกิริยาการเผาไหม ปฏิกิริยาเคมี 151 การแพทย เพื่อตอบสนองตอความตองการ และ
อํานวยความสะดวกตอการดําเนินชีวิตประจําวัน

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ขอใดคือผลิตภัณฑที่ไดจากปฏิกิริยาการเผาไหมแบบสมบูรณ 1 แกสคารบอนมอนอกไซด คือ แกสที่ไมมีสีและกลิ่น เมื่อสูดดมเขาไป
1. ใหแกส O2 และ H2 และพลังงานความรอน จะรวมตัวกับเฮโมโกลบินในเซลลเม็ดเลือดแดงไดมากกวาออกซิเจนถึง 200-250
2. ใหแกส O3 และ H2O และพลังงานความรอน เทา ซึ่งเปนอันตรายตอรางกาย
3. ใหแกส CO2 และ H2 และพลังงานความรอน
2 PM 2.5 คือ ฝุนละอองขนาดเล็กไมเกิน 2.5 ไมครอน ขนจมูกของมนุษย
4. ใหแกส CO2 และ H2O และพลังงานความรอน
ไมสามารถกรองได จึงแพรกระจายเขาสูระบบทางเดินหายใจ และเปนพาหะนํา
( วิเคราะหคําตอบ ปฏิ กิ ริ ย าการเผาไหม แ บบสมบู ร ณ เ กิ ด ขึ้ น สารอื่นๆ เชน โลหะหนัก สารกอมะเร็งอื่นๆ เขาสูรางกายดวย
เมื่อมีออกซิเจนมากเพียงพอมาทําปฏิกิริยาเคมีกับสารประกอบ
ไฮโดรคารบอน ไดผลิตภัณฑเปนแกสคารบอนไดออกไซด (CO2)
นํ้า (H2O) และพลังงานความรอน ดังนั้น ตอบขอ 4.) สื่อ Digital
ให นั ก เรี ย นศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม จาก
QR Code เรื่อง ปฏิกิริยาการเผาไหม

T163
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ทดลอง
1. ใหนกั เรียนสุม หยิบสลากหมายเลข 1-3 2. การเกิดสนิมของเหล็ก เปนปฏิกิริยาเคมีระหวางเหล็ก นํ้า และแกสออกซิเจน ไดผลิตภัณฑเปนสนิม
ของเหล็ก ดังสมการ
2. นั ก เรี ย นที่ จั บ หมายเลขเดี ย วกั น ให อ ยู  ก ลุ  ม
เดียวกัน โดยแตละกลุม จะไดรบั มอบหมายให 4Fe (s) + 3O2 (g) + 3H2O (l) 2Fe2O3• 3H2O (s)
เหล็ก แกสออกซิเจน นํ้า สนิมของเหล็ก
ทําการทดลองทีแ่ ตกตางกัน ดังนี้
- หมายเลข 1 ปฏิกริ ยิ าของกรดกับโลหะ
- หมายเลข 2 ปฏิกริ ยิ าของกรดกับเบส กิจกรรม
- หมายเลข 3 ปฏิกริ ยิ าของเบสกับโลหะ การเกิดสนิมของตะปูเหล็ก

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
จุดประสงค - การสังเกต
- การทดลอง
ศึกษาการเกิดสนิมของตะปูเหล็ก - การลงความเห็นจากขอมูล
จิตวิทยาศาสตร
วัสดุอปุ กรณ - ความสนใจใฝรู
- ความรอบคอบ
1. บีกเกอรขนาด 250 cm3 3 ใบ 4. วาสลีน
2. ตะปูเหล็ก 3 ตัว 5. นํ้ากลัน่
3. กระดาษทราย
วิธปี ฏิบตั ิ
1. นําตะปูเหล็กทั้ง 3 ตัว มาขัดผิวใหสะอาดดวยกระดาษทราย
2. นําตะปูเหล็กตัวที่ 1 วางในบีกเกอรเปลา นําตะปูเหล็กตัวที่ 2 มาเคลือบผิวดวยวาสลีน วางลงในบีกเกอร แลวเติมนํ้ากลั่น
ลงไปใหทวมตะปู และนําตะปูเหล็กตัวที่ 3 วางลงในบีกเกอรในแนวตั้งใหหัวตะปูอยูดานบน แลวเติมนํ้ากลั่นลงไปใหทวม
ครึ่งหนึ่งของตะปู
3. ตั้งทิ้งไวประมาณ 1 วัน สังเกตและบันทึกผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

250 250 250 250 250 250 250 250 250 250 250 250
200 200 200 200 200 200 200 200 200 200 200 200
150 150 150 150 150 150 150 150 150 150 150 150
100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100
50 50 50 50 50 50 50 50 50 50 50 50

ตะปูเหล็กตัวที่ 1 ตะปูเหล็กตัวที่ 2 ตะปูเหล็กตัวที่ 3

ภาพที่ 4.19 กิจกรรมการเกิดสนิมของตะปูเหล็ก


ที่มา : คลังภาพ อจท.

152

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา คนสวนใหญมักเขาใจผิดวา ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับการเกิดสนิม
โรคบาดทะยักมักเกิดจากโลหะแหลมคมที่เปนสนิมบาด แตในความเปนจริง 1. สนิมเหล็กเกิดขึ้นไดกับโลหะทุกชนิด
ไมเปนเชนนัน้ เสมอไป โดยโรคบาดทะยักเกิดจากเชือ้ แบคทีเรียชนิดหนึง่ ทีอ่ าศัย 2. แกสตางๆ ในอากาศสามารถทําใหเกิดสนิมเหล็กได
อยูในดิน หรือในสถานที่ที่สกปรก และสิ่งของที่สกปรก มักจะเขาสูรางกาย 3. นํ้าและออกซิเจนคือปจจัยสําคัญที่ทําใหเกิดสนิมเหล็ก
ของมนุษยไดทางบาดแผล และเมื่อเชื้อนี้เขาสูรางกายจะทําใหเกิดการชักหรือ 4. แกสคารบอนไดออกไซดเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหเกิดสนิม
เกร็ง เนื่องจากแบคทีเรียชนิดนี้จะสรางสารพิษที่มีผลตอระบบประสาท ทําให เหล็ก
เกิดอาการชักเกร็ง (วิเคราะหคําตอบ สนิมเหล็กเกิดจากปฏิกิริยาเคมีระหวางเหล็ก
กับนํ้าและแกสออกซิเจนในอากาศ โดยสนิมเหล็กจะไมเกิดขึ้นกับ
โลหะทุกชนิด ตัวอยางเชน สเตนเลสหรือเหล็กกลาทีเ่ กิดจากโลหะ
ผสมระหวางเหล็ก (Fe) กับโครเมียม (Cr) จะไมเกิดสนิมเหล็ก
ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T164
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ทดลอง
3. ใหแตละกลุมสงตัวแทน กลุมละ 1-2 คน
คําถามทายกิจกรรม
มาศึ ก ษาตั ว อย า งชุ ด สาธิ ต การทดลอง
1. ตะปูเหล็กในบีกเกอรใดเกิดสนิมบาง และเกิดมากนอยตางกันหรือไม อยางไร
2. ตะปูเหล็กในบีกเกอรใดไมเกิดสนิม เพราะเหตุใด
การเกิดสนิมเหล็ก ออกแบบตาราง และบันทึก
ผลการทดลอง เพื่อนํากลับไปอภิปรายผลกับ
อภิปรายผลกิจกรรม เพื่อนในกลุมของตนเอง
จากกิจกรรม พบวา ตะปูเหล็กทีอ่ ยูใ นบีกเกอรเปลาไมเกิดสนิม ตะปูเหล็กทีท่ าดวยวาสลีนจะไมสมั ผัสกับนํา้ และอากาศจึงไมเกิดสนิม
แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม
สวนตะปูเหล็กที่แชในนํ้าจะเกิดสนิมบริเวณรอยตอระหวางนํ้ากับอากาศ เนื่องจากตะปูเหล็กทําปฏิกิริยากับนํ้าและแกสออกซิเจน
ในอากาศ ไดผลิตภัณฑเปนสนิมของเหล็ก ดังสมการ 1. ตะปูเหล็กตัวที่ 1 เกิดสนิมเหล็กมากบริเวณรอย
4Fe (s) + 3O2 (g) + 3H2O (l) 2Fe2O3• 3H2O (s) ตอระหวางนํ้าและอากาศ และตะปูเหล็กตัวที่ 3
เหล็ก แกสออกซิเจน นํ้า สนิมของเหล็ก อาจเกิดสนิมเล็กนอย เมือ่ เวลาผานไประยะหนึง่
เนื่องจากตะปูเหล็กตัวที่ 3 ทําปฏิกิริยาเคมีกับ
แกสออกซิเจนและความชื้นในอากาศ
2. ตะปูเหล็กตัวที่ 2 เพราะตะปูเหล็กไมสัมผัสกับ
1. ปฏิกิริยาการเผาไหมแบบไมสมบูรณใหผลิตภัณฑแตกตางจากการเผาไหมแบบสมบูรณ
อยางไร นํ้าและอากาศ
2. ปฏิกิริยาเคมีใดบางที่เกิดจากสารตาง ๆ ทําปฏิกิริยากับแกสออกซิเจน พรอมเขียน
สมการเคมีประกอบ แนวตอบ คําถาม
1. ปฏิ กิ ริ ย าการเผาไหม แ บบไม ส มบู ร ณ เ กิ ด ขึ้ น
Science in Real Life เมื่ อ การเผาไหม มี ป ริ ม าณแก ส ออกซิ เ จน
3. ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ เปนปฏิกิริยาเคมีระหวางกรด สารปรุงรสที่มีสมบัติเปนกรด เชน ไมเพียงพอ กอใหเกิดแกสคารบอนมอนอกไซด
กับโลหะ ไดผลิตภัณฑเปนเกลือของโลหะและแกสไฮโดรเจน เชน นํา้ สมสายชู นํา้ มะนาว ควรบรรจุในภาชนะ และเกิ ด เขม า ขึ้ น แต ป ฏิ กิ ริ ย าการเผาไหม
- ปฏิกิริยาระหวางสังกะสีกับกรดไฮโดรคลอริก ไดผลิตภัณฑ ทีเ่ ปนแกวและหลีกเลีย่ งการบรรจุในภาชนะ
เปนซิงคคลอไรดและแกสไฮโดรเจน ดังสมการ ที่เปนโลหะ เนื่องจากสามารถกัดกรอน แบบสมบูรณจะไมกอใหเกิดเขมาและใหแกส
โลหะ ทําใหมกี ารปนเปอ นโลหะในอาหารได คารบอนไดออกไซด
2. ตัวอยางเชน ปฏิกิริยาการเกิดสนิมของเหล็ก
Zn (s) + 2HCl (aq) ZnCl2 (aq) + H2 (g) สมการเคมี 4Fe (s) + 3O2 (g) + 3H2O (l)
สังกะสี กรดไฮโดรคลอริก ซิงคคลอไรด แกสไฮโดรเจน 2Fe2O3•3H2O (s)
- ปฏิกิริยาระหวางแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริก ไดผลิตภัณฑเปนแมกนีเซียมคลอไรดและ ตัวอยางเชน ปฏิกิริยาการเผาไหมแบบสมบูรณ
แกสไฮโดรเจน ดังสมการ สมการเคมี CH4 (g) + 2O2 (g)
Mg (s) + 2HCl (aq) MgCl2 (aq) + H2 (g) CO2 (g) + 2H2O (l) + พลังงาน
แมกนีเซียม กรดไฮโดรคลอริก แมกนีเซียมคลอไรด แกสไฮโดรเจน ตัวอยางเชน ปฏิกิริยาการเผาไหมแบบไม
สมบูรณ
ปฏิกิริยาเคมี 153
สมการเคมี 2CH4 (g) + 3O2 (g)
2CO (g) + 4H2O (l) + พลังงาน
+ เขมา

ขอสอบเนน การคิด ตารางบันทึก กิจกรรม

หากนํานํ้าสมสายชูเทลงในภาชนะที่ทําจากโลหะ เมื่อตั้งทิ้ง ตัวอยางตะปู การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น


ระยะหนึ่ง พบวา มีฟองแกสเกิดขึ้น อยากทราบวา ฟองแกสที่ ตะปูตัวที่ 1 เกิดสนิมเหล็กเล็กนอย
เกิดขึ้นเปนแกสชนิดใด ตะปูตัวที่ 2 ไมเปลี่ยนแปลง
1. แกสซัลเฟอร
ตะปูตัวที่ 3 เกิดสนิมบริเวณรอยตอระหวางนํ้าและอากาศ
2. แกสออกซิเจน
3. แกสไฮโดรเจน
4. แกสคารบอนไดออกไซด
(วิเคราะหคําตอบ นํ้าสมสายชูที่บรรจุอยูในภาชนะโลหะจะเกิด
ปฏิกิริยาเคมีระหวางกรดกับโลหะ ทําใหเกิดเกลือของโลหะและ
แกสไฮโดรเจน ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T165
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ทดลอง
4. ใหสมาชิกที่เหลือของแตละกลุมสงตัวแทนอีก 4. ปฏิกริ ยิ าของกรดกับเบสหรือปฏิกริ ยิ าการสะเทิน (neutralization reaction) เป็นปฏิกริ ยิ าเคมีระหว่าง
กรดกับเบส ได้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือของโลหะและน�้า เช่น
2 คน มารับอุปกรณและ flowchart แสดง
ขัน้ ตอนการทดลอง - ปฏิกิริยาระหว่างกรดไฮโดรคลอริกกับโซเดียมไฮดรอกไซด์ ได้ผลิตภัณฑ์เป็นโซเดียมคลอไรด์และน�้า
ดังสมการ
5. ใหสมาชิกในกลุมรวมกันวางแผน แบงภาระ
หนาที่ที่ไดรับมอบหมาย รวมทั้งศึกษาขอมูล HCl (aq) + NaOH (aq) NaCl (aq) + H2O (l)
กรดไฮโดรคลอริก โซเดียมไฮดรอกไซด์ โซเดียมคลอไรด์ น�้า
เพิม่ เติมเกีย่ วกับปฏิกริ ยิ าเคมีทกี่ ลุม ของตนเอง
ตองทดลองในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน - ปฏิกิริยาระหว่างกรดไนตริกกับแคลเซียมไฮดรอกไซด์ ได้ผลิตภัณฑ์เป็นแคลเซียมไนเตรตและน�้า
วิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ม.3 เล ม 1 ดังสมการ
หนวยการเรียนรูท ี่ 4 เรือ่ ง ชนิดของปฏิกริ ยิ าเคมี 2HNO3 (aq) + Ca(OH)2 (s) Ca(NO3)2 (s) + 2H2O (l)
ในชีวิตประจําวัน หรือแหลงการเรียนรูอื่นๆ กรดไนตริก แคลเซียมไฮดรอกไซด์ แคลเซียมไนเตรต น�้า
เชน อินเทอรเน็ต 1 2
6. ใหสมาชิกในกลุมแลกเปลี่ยนความรูใหเกิด - ปฏิกริ ยิ าระหว่างกรดไฮโดรคลอริกกับแอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ ได้ผลิตภัณฑ์เป็นแอมโมเนียมคลอไรด์
ความเขาใจตรงกันหลังทําการทดลองเสร็จสิน้ และน�้า ดังสมการ
7. ครู สุ  ม เรี ย กตั ว แทนกลุ  ม ออกมานํ า เสนอผล HCl (aq) + NH4OH (aq) NH4Cl (aq) + H2O (l)
การทดลอง ในระหวางทีต่ วั แทนกลุม นําเสนอ กรดไฮโดรคลอริก แอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ แอมโมเนียมคลอไรด์ น�้า
ใหกลุม อืน่ จดบันทึกผลการทดลอง
5. ปฏิกิริยาของเบสกับโลหะบางชนิด เป็น แก๊สที่เกิดขึ้นจากการท�าปฏิกิริยา
ปฏิกิริยาเคมีระหว่างเบสกับโลหะบางชนิด เช่น สังกะสี ของกรดหรือเบสกับโลหะ
อะลูมิเนียม ได้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือของโลหะและแก๊ส เป็นแก๊สชนิดใด
ไฮโดรเจน เช่น
- ปฏิกิริยาระหว่างสังกะสีกับโซเดียมไฮดรอกไซด์ ได้ผลิตภัณฑ์เป็นโซเดียมซิงค์เคตและแก๊สไฮโดรเจน
ดังสมการ
Zn (s) + 2NaOH (aq) Na2ZnO2 (s) + H2 (g)
สังกะสี โซเดียมไฮดรอกไซด์ โซเดียมซิงค์เคต แก๊สไฮโดรเจน

- ปฏิกิริยาระหว่างอะลูมิเนียม โซเดียมไฮดรอกไซด์ และน�้า ได้ผลิตภัณฑ์เป็นโซเดียมอะลูมิเนตและ


แก๊สไฮโดรเจน ดังสมการ
2Al (s) + 2NaOH (aq) + 2H2O (l) 2NaAlO2 (s) + 3H2 (g)
อะลูมิเนียม โซเดียมไฮดรอกไซด์ น�้า โซเดียมอะลูมิเนต แก๊สไฮโดรเจน

แนวตอบ คําถาม 154


แกสไฮโดรเจน (H2)

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 แอมโมเนี ย เป น สารที่ ม นุ ษ ย นํ า ไปใช เ ป น ส ว นผสมในยาดม ซึ่ ง เป น ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับปฏิกิริยาการสะเทิน
ประโยชนทางการแพทย โดยใหผูที่เปนลมหรือผูที่กําลังวิงเวียนศีรษะสูดดม 1. หลังเกิดปฏิกิริยาจะไดผลิตภัณฑเปนนํ้าเกิดขึ้นเสมอ
แอมโมเนียจะมีฤทธิ์ไปกระตุนอวัยวะในระบบทางเดินหายใจ สงผลใหเกิด 2. ปฏิกิริยาการสะเทินเปนปฏิกิริยาเคมีระหวางกรดกับเบส
การระคายเคืองตอเยื่อบุจมูกและหลอดอาหาร ชวยกระตุนศูนยการควบคุม 3. หลังเกิดปฏิกิริยาจะไดผลิตภัณฑเปนเกลือของโลหะเกิด
การหายใจในกานสมอง ทําใหหายใจดีขึ้น ขึ้นเสมอ
2 แอมโมเนียมคลอไรด เปนยาชวยปรับสภาพเลือดที่มีความเปนเบสมาก 4. ปฏิกิริยาการสะเทินชวยปรับสภาพนํ้าเสียใหเปนกลางกอน
เกินไป ทําใหเลือดกลับสูส ภาวะสมดุล โดยเพิม่ ความเปนกรดหรือทําใหเปนกรด ปลอยสูสิ่งแวดลอม
นํามาใชรักษาภาวะเลือดเปนเบสจากกระบวนการเผาผลาญ ทําใหมีระดับ (วิเคราะหคําตอบ ปฏิกิริยาเคมีระหวางกรดกับเบส หรือปฏิกิริยา
คลอไรดในเลือดตํ่า และอาจใชรักษาโรคอื่นตามดุลยพินิจของแพทย การสะเทิน จะไดผลิตภัณฑเปนเกลือของโลหะและนํ้าหรือเกลือ
ของโลหะเพียงชนิดเดียว ซึง่ ประโยชนของปฏิกริ ยิ าการสะเทินนํามา
ใชปรับสภาพนํ้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T166
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อภิปรายผลการทดลอง
กิจกรรม
8. ให นั ก เรี ย นทุ ก กลุ  ม ร ว มกั น อภิ ป รายผลการ
ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ เบสกับโลหะ และกรดกับเบส
ทดลองก อ น แล ว จึ ง ร ว มกั น อภิ ป รายผล
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร กิจกรรมไปพรอมกับครู เพื่อใหไดขอสรุปวา
จุดประสงค - การสังเกต ปฏิกริ ยิ าเคมีระหวางกรดหรือเบสกับโลหะ จะมี
- การทดลอง
ศึกษาการเกิดปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ เบสกับโลหะ และกรดกับเบส - การลงความเห็นจากขอมูล ฟองแกสไฮโดรเจนเกิดขึ้น แตปฏิกิริยาเคมี
จิตวิทยาศาสตร
วัสดุอปุ กรณ - ความสนใจใฝรู ระหวางกรดกับเบส หรือเรียกวา ปฏิกิริยา
1. กระบอกตวง 5. สารละลายกรดซัลฟวริก 0.2 mol/dm3
- ความรอบคอบ
การสะเทิน จะไมมีฟองแกสเกิดขึ้น แตจะได
2. บีกเกอรขนาด 100 cm3 3 ใบ 6. สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเขมขน 0.2 mol/dm3 ผลิตภัณฑเปนเกลือ
3. แผนโลหะสังกะสีขนาด 2 ซม. × 2 ซม. 7. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซดเขมขน 0.2 mol/dm3
4. แผนโลหะแมกนีเซียมขนาด 2 ซม. × 2 ซม. 8. สารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด 0.2 mol/dm3

วิธปี ฏิบตั ิ
1. เตรียมสารละลายในบีกเกอรทั้ง 3 ใบ ดังนี้
บีกเกอรที่ 1 สารละลายกรดไฮโดรคลอริก ปริมาตร 25 ลูกบาศกเซนติเมตร
บีกเกอรที่ 2 สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด ปริมาตร 25 ลูกบาศกเซนติเมตร
บีกเกอรที่ 3 สารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด ปริมาตร 25 ลูกบาศกเซนติเมตร
2. ใสแผนโลหะแมกนีเซียมลงในบีกเกอรที่ 1 แผนโลหะสังกะสีลงในบีกเกอรที่ 2 และเทสารละลายกรดซัลฟวริก ปริมาตร
25 ลูกบาศกเซนติเมตร ลงในบีกเกอรที่ 3
3. สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในบีกเกอรทั้ง 3 ใบ
กรดซัลฟวริก
สารละลาย สารละลาย สารละลาย แผนโลหะ แผนโลหะ
กรดไฮโดรคลอริก โซเดียมไฮดรอกไซด แคลเซียมไฮดรอกไซด แมกนีเซียม สังกะสี

100 100100 100100100 100100100


100100 100100
100 100
100 100100
100 100 100100 100
80 80 80 80 80 80 80 80 8080 80 808080 8080 808080 80 80 80 80
60 60 60 60 60 60 60 60 6060 60 606060 6060 606060 60 60 60 60
40 40 40 40 40 40 40 40 4040 40 404040 4040 404040 40 40 40 40
20 20 20 20 20 20 20 20 2020 20 202020 2020 202020 20 20 20 20

บีกเกอรที่ 1 บีกเกอรที่ 2 บีกเกอรที่ 3 บีกเกอรที่ 1 บีกเกอรที่ 2 บีกเกอรที่ 3


ภาพที่ 4.20 กิจกรรมปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ เบสกับโลหะ และกรดกับเบส
ที่มา : คลังภาพ อจท.
คําถามทายกิจกรรม
1. สารในบีกเกอรทั้ง 3 ใบ มีการเปลี่ยนแปลงอยางไร
2. จงเขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในบีกเกอรทั้ง 3 ใบ
3. ฟองแกสที่เกิดขึ้นคือแกสชนิดใด
4. ตะกอนที่เกิดขึ้นเปนสารชนิดใด

ปฏิกิริยาเคมี 155

กิจกรรม สรางเสริม ตารางบันทึก กิจกรรม

ใหนักเรียนสืบคนขอมูลเกี่ยวกับกรดแกและกรดออน จากนั้น การทดลอง หลังเกิดปฏิกิริยาเคมี


ใหนักเรียนรวบรวมขอมูล แลวจัดทําเปนรายงานหรือสรุปลงใน บีกเกอรใบที่ 1 : HCl + Mg มีฟองแกสเกิดขึ้น
กระดาษ A4 พรอมนําเสนอหนาชั้นเรียน บีกเกอรใบที่ 2 : NaOH + Zn เกิดตะกอนและมีฟองแกสเกิดขึ้น
บีกเกอรใบที่ 3 : H2SO4 + Ca(OH)2 เกิดตะกอนสีขาว
กิจกรรม ทาทาย
ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-4 คน ทําการทดลองเกี่ยวกับ
ความแรงของกรด โดยใหนักเรียนเตรียมบีกเกอร 2 ใบ ใบที่ 1
บรรจุกรดไฮโดรคลอริก และใบที่ 2 บรรจุนํ้าสมสายชู แลวหยอน
ลวดแมกนีเซียมที่มีขนาดเทากันลงในบีกเกอรใบที่ 1 และ 2 ใบละ
1 ชิน้ สังเกตการกรอนของลวดแมกนีเซียม และอัตราการเกิดฟอง
แกส บันทึกผลและวิเคราะหผลการทดลอง เพื่อเปรียบเทียบ
ความแรงของกรด เพื่อระบุวา กรดชนิดใดมีความแรงมากกวากัน

T167
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
1. นักเรียนและครูรว มกันสรุปผลการทดลอง ดังนี้
- ผลการศึกษาชุดสาธิตการทดลองการเกิด อภิปรายผลกิจกรรม
สนิ ม ของตะปู เ หล็ ก คื อ ตะปู เ หล็ ก เมื่ อ จากกิจกรรม พบว่า เมื่อใส่แผ่นโลหะแมกนีเซียมลงในบีกเกอร์ที่ 1 ที่บรรจุสารละลายกรดไฮโดรคลอริกจะเกิดฟองแก๊สขึ้น
ทํ า ปฏิ กิ ริ ย ากั บ นํ้ า และแก ส ออกซิ เ จน ซึ่งเกิดจากการท�าปฏิกิริยาของโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริก ได้ผลิตภัณฑ์เป็นแมกนีเซียมคลอไรด์และแก๊สไฮโดรเจน
ไดผลิตภัณฑเปนสนิมของเหล็ก ดังสมการ
- ผลการทดลองของกลุมที่ 1 คือ เมื่อใสแผน Mg (s) + 2HCl (aq) MgCl2 (aq) + H2 (g)
โลหะลงในสารละลายกรด จะเกิดฟองแกส แมกนีเซียม กรดไฮโดรคลอริก แมกนีเซียมคลอไรด์ แก๊สไฮโดรเจน

ผุดออกมาจากแทงโลหะ เมือ่ ใส่แผ่นโลหะสังกะสีลงในบีกเกอร์ที่ 2 ที่บรรจุสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์จะเกิดฟองแก๊สขึน้ ซึง่ เกิดจากการท�าปฏิกริ ยิ า


- ผลการทดลองของกลุมที่ 2 คือ เมื่อเติม ของโลหะสังกะสีกับโซเดียมไฮดรอกไซด์ ได้ผลิตภัณฑ์เป็นโซเดียมซิงค์เคตและแก๊สไฮโดรเจน ดังสมการ
สารละลายกรดลงในสารละลายเบส จะเกิด Zn (s) + 2NaOH (aq) Na2ZnO2 (s) + H2 (g)
ตะกอนเกลือ สังกะสี โซเดียมไฮดรอกไซด์ โซเดียมซิงค์เคต แก๊สไฮโดรเจน

- ผลการทดลองของกลุมที่ 3 คือ เมื่อใสแผน เมื่อเทสารละลายกรดซัลฟิวริกลงในบีกเกอร์ที่ 3 ที่บรรจุสารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์จะเกิดตะกอนสีขาวขึ้น ซึ่งเกิด


โลหะลงในสารละลายเบส จะเกิดฟองแกส จากการท�าปฏิกิริยาของกรดซัลฟิวริกกับแคลเซียมไฮดรอกไซด์ ได้ผลิตภัณฑ์เป็นแคลเซียมซัลเฟตและน�้า ดังสมการ
ผุดออกมาจากแทงโลหะ H2SO4 (aq) + Ca(OH)2 (aq) CaSO4 (s) + 2H2O (l)
2. ใหนักเรียนแตละคนสรุปผลการทดลองเปน กรดซัลฟิวริก แคลเซียมไฮดรอกไซด์ แคลเซียมซัลเฟต น�้า

สมการเคมี พร อ มทั้ ง ระบุ ส ารตั้ ง ต น และ


ผลิตภัณฑลงในสมุดประจําตัวนักเรียน แลว
นํามาสงครูภายหลัง
6. ปฏิกริ ยิ าของกรดกับสารประกอบคาร์บอเนต เป็นปฏิกริ ยิ าเคมีระหว่างกรดกับสารประกอบคาร์บอเนต
ได้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือของโลหะ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และน�้า เช่น
- ปฏิกิริยาระหว่างแคลเซียมคาร์บอเนตหรือหินปูนกับกรดซัลฟิวริก ได้ผลิตภัณฑ์เป็นแคลเซียมซัลเฟต
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และน�้า ดังสมการ

CaCO3 (s) + H2SO4 (aq) CaSO4 (s) + CO2 (g) + H2O (l)
แคลเซียมคาร์บอเนต กรดซัลฟิวริก แคลเซียมซัลเฟต แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ น�้า
1
- ปฏิกิริยาระหว่างแมกนีเซียมคาร์บอเนตกับกรดไฮโดรคลอริก ได้ผลิตภัณฑ์เป็นแมกนีเซียมคลอไรด์
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และน�้า ดังสมการ

MgCO3 (s) + 2HCl (aq) MgCl2 (aq) + CO2 (g) + H2O (l)
แมกนีเซียมคาร์บอเนต กรดไฮโดรคลอริก แมกนีเซียมคลอไรด์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ น�้า

156

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 แมกนีเซียมคารบอเนต เปนสารทีม่ นุษยนาํ ไปใชเปนสวนผสมในยาลดกรด ปฏิกิริยาใดเปนสาเหตุใหสิ่งกอสรางที่ทําจากหินปูนสึกกรอน
ซึ่งเปนประโยชนในทางการแพทย โดยใชรักษาโรคกระเพาะ โดยแมกนีเซียม 1. ปฏิกิริยาการสะเทิน
คารบอเนตมีสมบัตเิ ปนเบส ชวยปรับสภาพความเปนกรดภายในกระเพาะอาหาร 2. ปฏิกิริยาการเผาไหม
ใหมีความเปนกลางมากขึ้น เนื่องจากกระเพาะอาหารหลั่งกรดมากเกินไป 3. ปฏิกิริยาระหวางเบสกับสารประกอบแคลเซียม
4. ปฏิกิริยาระหวางกรดกับสารประกอบคารบอเนต
(วิเคราะหคาํ ตอบ ปฏิกริ ยิ าระหวางกรดกับสารประกอบคารบอเนต
จะไดผลิตภัณฑเปนเกลือของโลหะ แกสคารบอนไดออกไซด และ
นํ้า ทําใหหินปูนเกิดการสึกกรอน ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T168
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
1. ตรวจแบบฝกหัดรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร
7. การเกิดฝนกรด เปนปฏิกิริยาเคมีระหวางนํ้าฝนกับออกไซดของไนโตรเจน (NOX) หรือออกไซด และเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 เรื่อง ชนิดของ
ของซัลเฟอร (SOX) ทําใหนํ้าฝนมีสมบัติเปนกรด เชน
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน
- ฝนกรดที่เกิดจากออกไซดของไนโตรเจน เชน แกสไนตริกออกไซด (NO) แกสไนโตรเจนไดออกไซด
(NO2) แกสไนตรัสออกไซด (N2O) ทําใหเกิดกรดไนตริก (HNO3) ดังตัวอยาง 2. ตรวจคํ า ตอบ Topic Questions ในสมุ ด
ประจํ า ตั ว นั ก เรี ย น เพื่ อ ประเมิ น ความรู 
2NO (g) + O2 (g) 2NO2 (g)
แกสไนตริกออกไซด แกสออกซิเจน แกสไนโตรเจนไดออกไซด ความเขาใจของนักเรียน
3NO2 (g) + H2O (l) 2HNO3 (aq) + NO (g) 3. ตรวจสอบผลการปฏิบตั กิ จิ กรรม ปฏิกริ ยิ าของ
แกสไนโตรเจนไดออกไซด นํ้า กรดไนตริก แกสไนตริกออกไซด กรดกับโลหะ กรดกับเบส และเบสกับโลหะ
4. สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุมจากการทํา
- ฝนกรดทีเ่ กิดจากออกไซดของซัลเฟอร เชน แกสซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) แกสซัลเฟอรไตรออกไซด
(SO3) ทําใหเกิดกรดซัลฟวริก (H2SO4) ดังตัวอยาง กิจกรรมและนําเสนอผลการทดลอง
5. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยสังเกต
2SO2 (g) + O2 (g) 2SO3 (g)
แกสซัลเฟอรไดออกไซด แกสออกซิเจน แกสซัลเฟอรไตรออกไซด ความมีวนิ ยั ใฝเรียนรู และมุง มัน่ ในการทํางาน
SO3 (g) + H2O (l) H2SO4 (aq)
แกสซัลเฟอรไตรออกไซด นํ้า กรดซัลฟวริก

8. การสังเคราะหดวยแสงของพืช (photosynthesis) เปนปฏิกิริยาเคมีระหวางแกสคารบอนไดออกไซด


กับนํา้ ไดผลิตภัณฑเปนนํา้ ตาลกลูโคสและแกสออกซิเจน โดยมีแสงชวยในการเกิดปฏิกริ ยิ าและมีคลอโรฟลลเปนสารสี
ชวยดูดกลืนพลังงานแสง ดังสมการ
6CO2 (g) + 6H2O (l) แสง C6H12O6 (aq) + 6O2 (g)
คลอโรฟลล
แกสคารบอนไดออกไซด นํ้า กลูโคส แกสออกซิเจน

1. จงยกตัวอยางแกส 3 ชนิด ที่เปนสาเหตุทําใหเกิดฝนกรด


2. ปจจัยที่ทําใหเกิดปฏิกิริยาการสังเคราะหดวยแสงของพืชประกอบดวยอะไรบาง
แนวตอบ คําถาม
1. แกสไนตริกออกไซด (NO)
Science แกสไนโตรเจนไดออกไซด (NO2 )
Focus การสังเคราะหดวยแสง แกสซัลเฟอรไดออกไซด (SO2 )
การสังเคราะหดวยแสงเปนกระบวนการสรางอาหารของพืชและสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวบางชนิด มีออรแกเนลลสําคัญ คือ 2. แสง, คลอโรฟลล, แกสคารบอนไดออกไซด
คลอโรพลาสต (chloroplast) ซึ่งภายในมีคลอโรฟลล (chlorophyll) เปนสารสีที่ทําหนาที่ดูดกลืนพลังงานแสง ปจจัยสําคัญใน
กระบวนการสังเคราะหดว ยแสงประกอบดวยแสง แกสคารบอนไดออกไซด นํา้ และคลอโรฟลล จะไดนาํ้ ตาลกลูโคสและแกสออกซิเจน (CO2 ), นํ้า (H2O)
เปนผลิตภัณฑ ซึ่งแกสออกซิเจนที่ไดถูกนําไปใชในกระบวนการหายใจของสิ่งมีชีวิต

ปฏิกิริยาเคมี 157 การสังเคราะหดวยแสง


www.aksorn.com/interactive3D/RK941

กิจกรรม สรางเสริม แนวทางการวัดและประเมินผล


ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน สืบคนขอมูลเกี่ยวกับ ครูวัดและประเมินผลความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง ชนิดของปฏิกิริยาเคมี
ปฏิกิริยาเคมีระหวางสารละลายไอโอดีนกับแปง แลวใหนักเรียน ไดจากการทํากิจกรรม การเกิดสนิมของตะปูเหล็ก และกิจกรรม ปฏิกิริยา
แตละกลุมทดสอบแปงในใบพืช โดยครูเตรียมใบพืช 2 ใบ ที่ผาน ของกรดกั บ โลหะ เบสกั บ โลหะ และกรดกั บ เบส โดยศึ ก ษาเกณฑ ก ารวั ด
การตมในนํ้าเดือดและแอลกอฮอลแลว โดยใบที่ 1 ไมไดรับแสง และประเมินผลจากแบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรมที่อยูในแผนการจัดการ
เปนเวลา 1 วัน และใบที่ 2 ไดรับแสงเปนเวลาอยางนอย 3 ชั่วโมง เรียนรูประจําหนวยการเรียนรูที่ 4
แลวใหนักเรียนหยดสารละลายไอโอดีน สังเกตสีของสารละลาย
แลวรวมกันอภิปรายผลการทดลองเกีย่ วกับการสังเคราะหดว ยแสง แบบประเมินการปฏิบัติกจิ กรรม

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับ


ประเด็นที่ประเมิน

1. การปฏิบัติ
4
เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติกิจกรรม

3
ระดับคะแนน
2
ทากิจกรรมตามขั้นตอน ทากิจกรรมตามขั้นตอน ต้องให้ความช่วยเหลือ
1
ต้องให้ความช่วยเหลือ

ของพืช
ระดับคะแนน กิจกรรม และใช้อุปกรณ์ได้อย่าง และใช้อุปกรณ์ได้อย่าง บ้างในการทากิจกรรม อย่างมากในการทา
ถูกต้อง ถูกต้อง แต่อาจต้อง และการใช้อุปกรณ์ กิจกรรม และการใช้
ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน ได้รับคาแนะนาบ้าง อุปกรณ์
4 3 2 1 2. ความ มีความคล่องแคล่ว มีความคล่องแคล่ว ขาดความคล่องแคล่ว ทากิจกรรมเสร็จไม่
1 การปฏิบัติการทากิจกรรม คล่องแคล่ว ในขณะทากิจกรรมโดย ในขณะทากิจกรรมแต่ ในขณะทากิจกรรมจึง ทันเวลา และทา
2 ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัติกิจกรรม ในขณะปฏิบัติ ไม่ต้องได้รับคาชี้แนะ ต้องได้รับคาแนะนาบ้าง ทากิจกรรมเสร็จไม่ อุปกรณ์เสียหาย
3 การบันทึก สรุปและนาเสนอผลการทากิจกรรม กิจกรรม และทากิจกรรมเสร็จ ทันเวลา
และทากิจกรรมเสร็จ
ทันเวลา
รวม ทันเวลา
3. การบันทึก สรุป บันทึกและสรุปผลการ บันทึกและสรุปผลการ ต้องให้คาแนะนาในการ ต้องให้ความช่วยเหลือ
และนาเสนอผล ทากิจกรรมได้ถูกต้อง ทากิจกรรมได้ถูกต้อง บันทึก สรุป และ อย่างมากในการบันทึก
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
การปฏิบัติ รัดกุม นาเสนอผลการ แต่การนาเสนอผลการ นาเสนอผลการทา สรุป และนาเสนอผล
................./................../.................. กิจกรรม ทากิจกรรมเป็นขั้นตอน ทากิจกรรมยังไม่เป็น กิจกรรม การทากิจกรรม
ชัดเจน ขั้นตอน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10-12 ดีมาก
7-9 ดี
4-6 พอใช้
0-3 ปรับปรุง

T169
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา (5Es Instructional Model)


กระตุน ความสนใจ
1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมี 3.2 ประโยชน์และโทษของปฏิกิริยาเคมี
ในชีวิตประจําวัน เชน ปฏิกิริยาการเกิดสนิม ปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นในสิ่งแวดล้อมอยู่ตลอดเวลา ปฏิกิริยาเคมีหลายชนิดสามารถน�ามาประยุกต์ใช้ประโยชน์
ในการด�ารงชีวิตของมนุษย์ได้ แต่หากมนุษย์ใช้ปฏิกิริยาเคมีโดยขาดความรอบคอบก็อาจก่อให้เกิดผลเสียได้เช่นกัน
ของเหล็ก ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ ปฏิกิริยา
ระหวางกรดกับเบส ปฏิกิริยาของเบสกับโลหะ 1. ประโยชน์ของปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยาเคมีถูกน�ามาประยุกต์ใช้ประโยชน์ในกระบวนการต่าง ๆ ดังนี้
ปฏิกิริยาการเผาไหม ปฏิกิริยาการเกิดฝนกรด การปรับสภาพน�้าทิ้งของโรงงานอุตสาหกรรม
การสังเคราะหดวยแสงของพืช อาศัยปฏิกิริยาของกรดกับเบส โดยปรับสภาพน�้าทิ้งที่มีสมบัตเิ ป็นกรด
2. ครูถามคําถามกระตุนความคิดของนักเรียน หรือเบสให้เป็นกลางก่อนปล่อยลงสูแ่ หล่งน�า้ ธรรมชาติ
วา ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวันมี ภาพที่ 4.21 น�้าทิ้งของโรงงานอุตสาหกรรมมีสมบัติเป็นกรดหรือเบสจึงควรปรับสภาพให้
เป็นกลางก่อนปล่อยสู่แหล่งน�้าธรรมชาติ
ประโยชนและโทษตอสิง่ มีชวี ติ และสิง่ แวดลอม ที่มา : คลังภาพ อจท.
อยางไร การสร้างพลังงานความร้อน
(แนวตอบ ขึ้นอยูกับคําตอบของนักเรียนและ พลังงานความร้อนจากปฏิกริ ยิ าเผาไหม้ถกู น�าไปใช้ในการหุงต้มอาหาร
การท�างานของเครื่องยนต์และเครื่องจักร และการผลิตกระแสไฟฟ้า
ดุลยพินิจของครู)
3. ครูนําภาพประกอบการสอนเกี่ยวกับผูไดรับ ภาพที่ 4.22 พลังงานความร้อนจากปฏิกิริยาการเผาไหม้น�ามาใช้หุงต้มอาหาร
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ความเสี ย หายจากสารเคมี เช น ภาพแผล
การสร้างแก๊สออกซิเจนและน�้าตาลกลูโคส
พุพองเมื่อผิวหนังโดนกรด ภาพสิ่งกอสราง
จากปฏิกิริยาการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ซึ่งแก๊สออกซิเจนจ�าเป็น
ที่ไดรับผลกระทบจากฝนกรดมาใหนักเรียน ต่อกระบวนการหายใจของสิ่งมีชีวิต ส่วนน�้าตาลกลูโคสถูกเปลี่ยนเป็น
ศึกษา รวมทั้งภาพผลิตภัณฑ เชน สบู ซึ่งเปน พลังงาน แป้ง และสารประกอบอื่น ๆ ที่จ�าเป็นต่อการด�ารงชีวิตของ
ผลิตภัณฑที่ไดจากปฏิกิริยาเคมีระหวางไขมัน สิ่งมีชีวิต
กับสารละลายเบส ไดเปนสบู (เกลือของกรด ภาพที่ 4.23 การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชเพื่อสร้างน�้าตาลกลูโคสและแก๊สออกซิเจน
ไขมัน) กับกลีเซอรอล ที่มา : คลังภาพ อจท.
การตกตะกอนไอออนของโลหะหนักบางชนิด
เช่น ปรอท แคดเมียม ตะกั่ว ออกจากน�้าทิ้งของโรงงานอุตสาหกรรม
ก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน�้าธรรมชาติ
ภาพที่ 4.24 การตกตะกอนไอออนของโลหะหนักจากน�้าทิ้งของโรงงานอุตสาหกรรม
ที่มา : คลังภาพ อจท.

การเกิดหินงอกหินย้อย
เกิดจากปฏิกิริยาของกรดกับสารประกอบคาร์บอเนต เช่น หินปูน
หรือแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่ท�าให้เกิด
ความงดงามของธรรมชาติและเป็นสถานที่ท่องเที่ยว
ภาพที่ 4.25 หินงอกหินย้อยเกิดจากปฏิกิริยาของกรดกับสารประกอบคาร์บอเนต
ที่มา : คลังภาพ อจท.
158

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูใหคําแนะนําเพิ่มเติมเกี่ยวกับการตกตะกอนของโลหะหนักบางชนิด นํ้าเสียจากโรงงานแหงหนึ่งมีฤทธิ์กัดกรอนโลหะทําใหเกิดฟอง
ดวยวิธีการใชสารเคมีวา เปนวิธีดั้งเดิมที่ใชตกตะกอนโลหะหนักที่ละลาย แกสผุดขึ้นมาเปนสาย เมื่อนํานํ้าเสียจากโรงงานนี้มาตรวจสอบ
อยู  ด  ว ยสารเคมี ที่ มี ส มบั ติ เ ป น เบส เช น โซเดี ย มไฮดรอกไซด (NaOH) สารเบื้องตน โดยการเติมสารละลายแบเรียมไฮดรอกไซด พบวา
แคลเซียมไฮดรอกไซด (Ca(OH)2) และโลหะบางชนิดมีความเปนพิษสูงและ เกิดตะกอนสีขาว นํ้าเสียจากโรงงานนี้มีสวนประกอบของสาร
ละลายนํ้าไดดี เชน Cr6+ จึงตองทําใหอยูในรูปที่ไมมีพิษ คือ Cr3+ ดวยสารเคมี ชนิดใด
และตกตะกอนใหอยูในรูป Cr(OH)3 ซึ่งขอเสียของวิธีนี้ คือ กรณีที่มีโลหะหนัก 1. HCl 2. HNO3
หลายชนิดปนอยูในนํ้าเสีย ตองตกตะกอนทีละชนิด ใชเวลานาน และตองนํา 3. NaOH 4. H2SO4
กากตะกอนไปฝงกลบ ซึง่ มีโอกาสทีก่ ากตะกอนเหลานีจ้ ะปะปนไปกับขยะชุมชน (วิเคราะหคําตอบ
1. 2HCl (aq) + Ba(OH)2 (aq) BaCl2 (aq) + 2H2O (l)
2. 2HNO3 (aq) + Ba(OH)2 (aq) Ba(NO3)2 (aq) + 2H2O (l)
3. NaOH (aq) + Ba(OH)2 (aq) NaOH (aq) + Ba(OH)2 (aq)
4. H2 SO4 (aq) + Ba(OH)2 (aq) BaSO4 (s) + 2H2O (l)
ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T170
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
2. โทษของปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยาเคมีบางชนิดทําใหเกิดผลิตภัณฑที่กอใหเกิดผลเสียตอสิ่งมีชีวิตและ 4. ครูนําฉลากของผลิตภัณฑสารเคมี เชน นํ้ายา
สิ่งแวดลอม ดังนี้
1 ล า งห อ งนํ้ า มาให นั ก เรี ย นศึ ก ษาคํ า เตื อ น
ฝนกรด วิธีแกไขเบื้องตนเมื่อไดรับอันตรายที่เปนผล
นํ้าฝนที่มีคาเปนกรด เกิดจากแกสบางชนิดในอากาศ มาจากปฏิ กิ ริ ย าเคมี แล ว อภิ ป รายร ว มกั น
เชน แกสซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) แกสไนโตรเจน- เพื่อใหไดขอสรุปวา เคมีภัณฑมีทั้งประโยชน
ไดออกไซด (NO2) ทําปฏิกิริยากับนํ้า ทําใหมีสมบัติ
เปนกรด สงผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม และโทษ ดั ง นั้ น นั ก เรี ย นจึ ง จํ า เป น ต อ งมี
เชน เกิดอันตรายตอระบบหายใจและเนื้อเยื่อของ ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น
รางกายสิ่งมีชีวิต ทําลายสิ่งปลูกสรางที่มีโลหะและ เพื่ อ นํ า ไปประยุ ก ต ใ ช ใ ห เ กิ ด ประโยชน แ ละ
หินปูนเปนองคประกอบ ดินขาดความอุดมสมบูรณ หลีกเลี่ยงอันตรายจากปฏิกิริยาเคมี รวมทั้ง
พืชเจริญเติบโตชาและตาย แหลงนํา้ นิง่ มีความเปนกรด ภาพที่ 4.26 การไดรบั ฝนกรดในปริมาณมากทําใหพชื เจริญ สามารถวางแนวทางปองกันอันตรายที่เกิดขึ้น
สงผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู เติบโตชาและตายในที่สุด
ที่มา : คลังภาพ อจท. จากปฏิกิริยาเคมีได
แกสคารบอนมอนอกไซด
เปนแกสทีเ่ กิดจากปฏิกริ ยิ าการเผาไหมแบบไมสมบูรณ
เชน การเผาไหมของเครื่องยนตและเครื่องจักรใน
โรงงานอุต2สาหกรรม เมื่อเขาสูรางกายจะเขาจับกับ
เฮโมโกลบินของเซลลเม็ดเลือดแดง ทําใหประสิทธิภาพ
การลําเลียงแกสออกซิเจนลดลง หากไดรบั ปริมาณมาก
อาจเปนอันตรายถึงชีวิตได
ภาพที่ 4.27 การปลอยเขมาควันจากการเผาไหม
แบบไมสมบูรณ ซึ่งประกอบดวยแกสคารบอนมอนอกไซดและเขมาควัน
ที่มา : คลังภาพ อจท.

สนิมเหล็ก
เกิดจากปฏิกริ ยิ าระหวางโลหะ นํา้ และแกสออกซิเจน
ทํ า ให โ ลหะเกิ ด สนิ ม และผุ ก ร อ นง า ย เช น วั ส ดุ
หรือโครงสรางที่มีเหล็กเปนสวนผสม เมื่อสัมผัส
กั บ ความชื้ น ในอากาศจะทํ า ให เ กิ ด การผุ ก ร อ น
และมีความแข็งแรงลดลง อาจสงผลกระทบตอสิง่ มีชวี ติ
ที่อาศัยอยูบริเวณใกลเคียง หากเกิดการพังทลาย
ของโครงสรางดังกลาว
ภาพที่ 4.28 การเกิดสนิมเหล็กทําใหวัสดุหรือโครงสราง
ที่มีเหล็กเปนองคประกอบผุกรอนงาย
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ปฏิกิริยาเคมี 159

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


แกสชนิดใดเปนพิษตอรางกายมากที่สุด 1 ฝนกรด คือ นํ้าฝนที่มีคา pH ตํ่ากวา 5.6 สวนใหญมักพบฝนกรดในเขต
1. แกสซัลเฟอรไดออกไซด อุตสาหกรรม สงผลกระทบตอพืช เนือ่ งจากฝนกรดจะทําปฏิกริ ยิ ากับธาตุอาหาร
2. แกสคารบอนมอนอกไซด ที่อยูในดิน ทําใหพืชไมสามารถดูดซึมธาตุอาหารในดินไปใชได และฝนกรด
3. แกสคารบอนไดออกไซด ยังทําใหแหลงนํ้ามีความเปนกรดเพิ่มขึ้น สงผลกระทบตอระบบนิเวศ
4. แกสไนโตรเจนไดออกไซด
2 เฮโมโกลบิน เปนโปรตีนภายในเซลลเม็ดเลือดแดง ประกอบดวยโปรตีน
(วิเคราะหคําตอบ แกสคารบอนมอนอกไซดเปนแกสพิษที่จับกับ 4 สายมาเชื่อมตอกัน และมีองคประกอบที่สําคัญ คือ ฮีม (heme) ที่มีธาตุเหล็ก
เซลลเม็ดเลือดแดงไดดีกวาแกสออกซิเจน สงผลใหประสิทธิภาพ เปนองคประกอบ ทําหนาที่จับและปลอยออกซิเจน เซลลเม็ดเลือดแดงจึงทํา
ในการลําเลียงแกสออกซิเจนลดลง ซึ่งเปนอันตรายถึงชีวิตหาก หนาที่ลําเลียงออกซิเจนจากปอดไปยังสวนตางๆ ของรางกาย
สูดดมในปริมาณมาก ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T171
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. ให นั ก เรี ย นศึ ก ษาประโยชน แ ละโทษของ ปรากฏการณ์เรือนกระจก
ปฏิกิริยาเคมีในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ปรากฏการณ์ทแี่ ก๊สลอยไปสะสมบนชัน้ บรรยากาศ แก๊สเรือนกระจกทีส่ า� คัญ
วิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ม.3 เล ม 1 ได้แก่ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) แก๊สคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFCs)
แก๊สมีเทน (CH4) และแก๊สไนตรัสออกไซด์ (N2O) ซึ่งเกิดจากกิจ1กรรม
หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่อง ประโยชนและโทษ ของมนุษย์ เมือ่ โลกได้รบั พลังงานจากดวงอาทิตย์ รังสีอลั ตราไวโอเลต (UV)
ของปฏิกิริยาเคมี ที่มีพลังงานสูงจะทะลุผ่านชั้นแก๊สเรือนกระจกมายังโลก 2เมื่อผิวโลกร้อนขึ้น
ภาพที่ 4.29 แก๊สที่เกิดจากโรงงาน
2. ใหนักเรียนจับคูกับเพื่อนอภิปรายประโยชน จะคายพลังงานความร้อนออกมาในรูปรังสีอินฟราเรดซึ่งมีพลังงานต�่า อุตสาหกรรมเป็นสาเหตุหนึง่ ทีท่ า� ให้
และโทษของปฏิกิริยาเคมีลงในกระดาษ A4 ไม่สามารถทะลุผา่ นชัน้ แก๊สเรือนกระจกออกไปได้ ท�าให้โลกมีอณุ หภูมสิ งู ขึน้ เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก
ที่มา : คลังภาพ อจท.
3. ครูสุมเรียกนักเรียน 2-3 คู เสนอตัวอยางของ
ประโยชนและโทษของปฏิกิริยาเคมี หมอกควัน
เกิดจากการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลในปริมาณมาก โดยเฉพาะในเขตอุตสาหกรรมและเมืองใหญ่ ๆ ที่มี
การจราจรหนาแน่น รวมถึงควันที่เกิดจากไฟป่า ท�าให้เกิดแก๊สต่าง ๆ เช่น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
(CO2) แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2)
ฝุ่นละอองขนาดเล็ก แก๊สเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อการด�ารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม เช่น
การเข้ า จั บ กั บ เฮโมโกลบิ น ของแก๊ ส คาร์ บ อนมอนอกไซด์ ท� า ให้ เ ซลล์ เ ม็ ด เลื อ ดแดงล� า เลี ย ง
แก๊ ส ออกซิ เ จนได้ ล ดลง การรวมตั ว ของแก๊ ส ไนโตรเจนไดออกไซด์
หรื อ แก๊ ส ซั ล เฟอร์ ไ ดออกไซด์ กั บ ไอน�้ า ในอากาศกลายเป็ น ฝนกรด
รวมทั้งฝุ่นละอองขนาดเล็กที่บดบังการมองเห็นอาจท�าให้เกิดอันตรายต่อ
การจราจรในท้องถนนและบนท้องฟ้า

ภาพที่ 4.30 การเกิดหมอกควันส่งผลกระทบ ปฏิกิริยาเคมีมีประโยชน์และโทษ


ต่อการขับขี่ยานพาหนะ ต่อการด�ารงชีวิตของมนุษย์อย่างไร
ที่มา : คลังภาพ อจท.

Science
Focus ผลกระทบจากปรากฏการณ์เรือนกระจก
ปรากฏการณ์เรือนกระจก (greenhouse effect) เป็นปรากฏการณ์ทโี่ ลกมีอณุ หภูมสิ งู ขึน้ เนือ่ งจากพลังงานความร้อนทีเ่ กิดขึน้
จากกิจกรรมต่าง ๆ ภายในโลกไม่สามารถทะลุผ่านชั้นแก๊สเรือนกระจกออกไปได้ ซึ่งเป็นสาเหตุส�าคัญที่ท�าให้เกิดภาวะโลกร้อน
(global warming) อุณหภูมิของโลกที่สูงขึ้นส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ตัวอย่างเช่น
- ระดับน�้าทะเลเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกที่เพิ่มขึ้น ท�าให้น�้าแข็งขั้วโลกละลายและไหลลงสู่มหาสมุทร
แนวตอบ คําถาม มากกว่าปกติ ระดับน�า้ ทะเลจึงเพิม่ สูงขึน้ เกิดการกัดเซาะและพังทลายของชายฝัง่ ส่งผลกระทบต่อแหล่งทีอ่ ยูอ่ าศัยและแหล่งอาหาร
ของสิ่งมีชีวิตบริเวณขั้วโลก
ตัวอยางเชน ปฏิกิริยาการเผาไหม - ปะการังฟอกสี สีของปะการังเกิดจากสาหร่ายเซลล์เดียวที่อาศัยอยู่ในเนื้อเยื่อของปะการัง เมื่ออุณหภูมิของน�้าเพิ่มขึ้น
ประโยชน : ก อ ให เ กิ ด พลั ง งานในการขั บ เคลื่ อ น ท�าให้สาหร่ายเซลล์เดียวตาย ปะการังจึงตายและกลายเป็นสีขาว
เครื่องยนต
โทษ : กอใหเกิดมลพิษทางอากาศและสงผลกระทบ 160
ตอสิ่งมีชีวิต

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 รังสีอัลตราไวโอเลต หรือรังสีเหนือมวง เปนรังสีคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่เกิด ปฏิกิริยาเคมีในขอใดเปนสาเหตุทําใหเกิดภาวะโลกรอน
จากการแผรังสีของดวงอาทิตย ซึ่งมีความยาวคลื่นอยูในชวง 100-400 nm 1. การเกิดสนิมเหล็ก
ความถี่ 1,015-1,217 Hz ซึ่งมองไมเห็นดวยตาเปลา 2. การสังเคราะหดวยแสง
2 รังสีอินฟราเรด หรือรังสีใตแดง หรือรังสีความรอน มีความยาวคลื่นอยู 3. การเผาไหมแบบสมบูรณ
ในชวง 750 nm-1 mm มีความถี่ในชวง 300 GHz-430 THz ปจจุบันมีการนํา 4. ปฏิกิริยาเคมีระหวางกรดกับโลหะ
คลื่นรังสีอินฟราเรดมาใชประโยชนในการสรางกลองอินฟราเรดที่สามารถมอง (วิเคราะหคาํ ตอบ ผลิตภัณฑทเี่ กิดจากปฏิกริ ยิ าการสังเคราะหดว ย
เห็นวัตถุในความมืดได แสงและปฏิกริ ยิ าเคมีระหวางกรดกับโลหะจะไดแกสออกซิเจนและ
แกสไฮโดรเจน ตามลําดับ ซึง่ ไมเกีย่ วของกับการเกิดภาวะโลกรอน
แตผลิตภัณฑทเี่ กิดจากปฏิกริ ยิ าการเผาไหมแบบสมบูรณ คือ แกส
คารบอนไดออกไซด ซึ่งเปนแกสเรือนกระจกที่เปนสาเหตุที่ทําให
เกิดภาวะโลกรอน ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T172
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
กิจกรรม
4. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-4 คน ทํา
การปองกันและแกไขปญหาที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมี
กิจกรรม การปองกันและแกไขปญหาที่เกิด
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
จากปฏิกิริยาเคมี โดยใหสมาชิกภายในกลุม
จุดประสงค - การสังเกต แบงภาระและหนาที่รับผิดชอบ
- การจัดกระทําและสื่อความหมาย
อธิบายและยกตัวอยางปญหาที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน และบอกแนวทาง ขอมูล 5. ครูสุมตัวแทนกลุมออกมานําเสนอปายนิเทศ
การปองกันและแกไขปญหาที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมี จิตวิทยาศาสตร
- ความสนใจใฝรู 6. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายผลกิจกรรม
- ความรับผิดชอบ
- การทํางานรวมกับผูอื่นได เพื่ อ ให ไ ด ข  อ สรุ ป ว า ปฏิ กิ ริ ย าเคมี ที่ พ บใน
วิธปี ฏิบตั ิ อยางสรางสรรค
ชี วิ ต ประจํ า วั น มี ทั้ ง ประโยชน แ ละโทษต อ
1. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4-5 คน สืบคนขอมูลเกี่ยวกับปญหาที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมี สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม ดังนั้น เราจึงตอง
ในชีวิตประจําวัน กลุมละ 1 ปญหา โดยมีรายละเอียด ดังนี้
- สาเหตุของปญหาที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน ระมัดระวังผลจากปฏิกิริยาเคมี ตลอดจนรูจัก
- แนวทางการปองกันและแกไขปญหาที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน วิธปี อ งกันและแกปญ  หาทีเ่ กิดจากปฏิกริ ยิ าเคมี
2. นักเรียนแตละกลุมจัดทํารายงานและปายนิเทศ เรื่อง ปญหาที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน ที่พบในชีวิตประจําวัน รวมทั้งรวมกันรณรงค
3. นักเรียนแตละกลุมนําเสนอปายนิเทศหนาชั้นเรียน และปลูกจิตสํานึกใหคํานึงถึงผลกระทบที่มี
ตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม
คําถามทายกิจกรรม 7. ครูถามคําถามทายกิจกรรม
นักเรียนมีแนวทางปองกันและแกไขปญหาที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวันไดอยางไร

อภิปรายผลกิจกรรม
จากกิจกรรม พบวา ปฏิกิริยาเคมีบางชนิดกอใหเกิดปญหาและผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม จึงควรมีแนวทางแกไข
หรือปองกันปญหาเพื่อลดผลกระทบที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาเคมีดังกลาว เชน ปฏิกิริยาการเผาไหมแบบไมสมบูรณเปนปฏิกิริยา แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม
ทีเ่ กิดขึน้ จากกิจกรรมตาง ๆ ของมนุษย เชน การเผาไหมในเครือ่ งยนตหรือเครือ่ งจักรในโรงงานอุตสาหกรรม การผลิตกระแสไฟฟา
โดยใชถานหิน การเผาขยะมูลฝอยหรือวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรในที่โลงแจง กิจกรรมเหลานี้เปนการเผาไหมในสภาวะที่มี ตัวอยางสาเหตุของปญหาทีเ่ กิดจากปฏิกริ ยิ าเคมี
แกสออกซิเจนไมเพียงพอ จึงไดผลิตภัณฑเปนแกสคารบอนมอนอกไซดและเขมาควัน ซึ่งสงผลทําใหเกิดมลพิษทางอากาศ ในชีวติ ประจําวันและแนวทางการปองกันและแกไข
เปนอันตรายตอสุขภาพ และเปนสาเหตุสาํ คัญทีท่ าํ ใหเกิดปรากฏการณเรือนกระจก ดังนัน้ จึงควรมีแนวทางปองกันและแกไขปญหา ปญหา
ที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาเคมีดังกลาว เชน ใชเครื่องยนตหรือเครื่องจักรที่กอใหเกิดมลพิษนอย สงเสริมการใชระบบขนสงสาธารณะ
สงเสริมการใชพลังงานหมุนเวียน ปรับปรุงระบบการกําจัดขยะมูลฝอยและวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร สนับสนุนการใชเทคโนโลยี 1. การเกิดสนิมของเหล็ก เนื่องจากโลหะที่มี
การเกษตร รณรงคและประชาสัมพันธใหประชาชนมีสวนรวมในการปองกันและแกไขปญหามลพิษทางอากาศ เหล็ ก เป น องค ป ระกอบทํ า ปฏิ กิ ริ ย ากั บ นํ้ า และ
ออกซิ เ จนในอากาศ เพื่ อ ป อ งกั น การเกิ ด สนิ ม
ของเหล็ ก อาจนํ า เหล็ ก มาเคลื อ บผิ ว หรื อ ชุ บ
ดวยโลหะอื่น เชน ดีบุก สังกะสี
2. การกรอนของโลหะเนื่องจากกรดหรือเบส
ปฏิกิริยาเคมี 161 เชน ใชบรรจุภัณฑทําความสะอาดที่เปนพลาสติก
หรือใชบรรจุภัณฑที่เปนแกวบรรจุนํ้าสมสายชู

ขอสอบเนน การคิด ตารางบันทึก กิจกรรม

ขอใดไมใชแนวทางการแกปญหาที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมี ตัวอยางการสืบคนขอมูล
1. ใชวัสดุที่ทําจากเหล็กในที่รม แนวทางการปองกัน
สาเหตุ
2. ใชขวดแกวบรรจุสารเคมีที่เปนกรด และแกไขปญหา
3. ใชสารเคมีปรับสภาพดินใหเปนกลาง ฝนกรด เกิ ด จากแก ส ซั ล เฟอร ไ ด ลดปริมาณแกสที่เปนสาเหตุทําใหเกิด
4. ใชพลังงานหมุนเวียนแทนการเผาไหมเชื้อเพลิง ออกไซดหรือแกสไนโตรเจนไดออกไซด ฝนกรด เชน แกสซัลเฟอรไดออกไซด
(วิเคราะหคําตอบ ทุกตัวเลือกเปนแนวทางการแกไขปญหาที่เกิด ที่มาจากโรงงานอุตสาหกรรมรวมกับ ไนโตรเจนไดออกไซดที่ปลอยมาจาก
จากปฏิกริ ยิ าเคมี ยกเวนการใชวสั ดุทที่ าํ จากเหล็กในทีร่ ม เนือ่ งจาก นํ้าฝนในอากาศ ทําใหนํ้าฝนมีสมบัติ โรงงานอุ ต สาหกรรม โรงงานไฟฟ า
เหล็กยังคงสัมผัสอากาศและความชื้นในอากาศ ทําใหเกิดสนิม เปนกรด มีฤทธิก์ ดั กรอน สงผลกระทบ ยานพาหนะ รวมทั้งชวยกันประหยัด
ตอสิง่ ปลูกสราง อาคาร พืชผลทางการ พลังงาน หรือใชพลังงานทดแทน แทน
เหล็กขึ้นได ดังนั้น ตอบขอ 1.)
เกษตร รวมทัง้ เปนอันตรายตอสิง่ มีชวี ติ การใชพลังงานจากการเผาไหมเชือ้ เพลิง
นอกจากนี้ การทาสี ห รื อ ใช ส ารอื่ น ที่
เคลือบทาวัสดุหรือสิง่ ปลูกสราง สามารถ
ปองกันผลกระทบและความเสียหายได

T173
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
8. ให นั ก เรี ย นยกตั ว อย า งการประยุ ก ต ใ ช จากที่กล่าวมา จะเห็นว่า ปฏิกิริยาเคมีหลายชนิดสามารถน�ามาประยุกต์ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ�าวันได้
แต่ปฏิกิริยาเคมีบางชนิดก็ส่งผลกระทบต่อการด�ารงชีวิตของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมเช่นกัน ดังนั้น จึงควรมีวิธีการ
ปฏิ กิ ริ ย าเคมี ใ นชี วิ ต ประจํ า วั น คนละ 1 ควบคุมการเกิดปฏิกิริยาเคมีอย่างเหมาะสม เพื่อป้องกันผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต
ปฏิ กิ ริ ย า นอกเหนื อ จากในหนั ง สื อ เรี ย น
รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ม.3 เล ม 1 หน ว ยการเรี ย นรู  ที่ 4 เรื่ อ ง
Application
Activity
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน
9. ครูสุมเรียกนักเรียน 2-3 คน ยกตัวอยางการ นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-7 คน น�าความรู้เกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมีมาบูรณาการกับคณิตศาสตร์
เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์ เพือ่ ปรับปรุงผลิตภัณฑ์หรือสร้างนวัตกรรมทีใ่ ช้แก้ปญั หาทีเ่ กิดขึน้ จากปฏิกริ ยิ าเคมี
ประยุกตใชปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน โดยมีขั้นตอน ดังนี้
10. ให นั ก เรี ย นทํ า แบบฝ ก หั ด รายวิ ช าพื้ น ฐาน 1. ระบุปัญหาในชีวิตประจ�าวันที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาเคมี
วิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ม.3 เล ม 1 2. รวบรวมข้อมูลและแนวคิดเกีย่ วกับปฏิกริ ยิ าเคมี เพือ่ น�าไปสูก่ ารปรับปรุงผลิตภัณฑ์หรือสร้างนวัตกรรม
เรื่อง ประโยชนและโทษของปฏิกิริยาเคมี 3. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหาที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมี โดยปรับปรุงผลิตภัณฑ์หรือสร้างนวัตกรรม
พร้อมเชื่อมโยงกับความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์
4. วางแผนและด�าเนินการแก้ปัญหา
5. ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงผลิตภัณฑ์หรือนวัตกรรมที่สร้างขึ้น
6. น�าเสนอผลิตภัณฑ์หรือนวัตกรรมที่สร้างขึ้นเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาเคมี
นักเรียนแต่ละกลุ่มจัดท�ารูปเล่มรายงานและป้ายนิเทศเพื่อใช้ประกอบการน�าเสนอหน้าชั้นเรียน

Topic Questions
ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�าถามต่อไปนี้
1. การเผาไหม้แก๊สมีเทนในสภาวะที่มีแก๊สออกซิเจนไม่เพียงพอก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
อย่างไร อธิบายพร้อมเขียนสมการเคมีประกอบ
2. วัสดุที่ท�าจากเหล็กจะผุกร่อนง่ายกว่าปกติหากเปียกฝนอยู่บ่อยครั้ง เพราะเหตุใด
3. หินงอกหินย้อยเกิดจากปฏิกิริยาเคมีของสารชนิดใด อธิบายพร้อมเขียนสมการเคมีประกอบ
4. เพราะเหตุใดจึงนิยมใช้บรรจุภัณฑ์ที่เป็นแก้วบรรจุน�้าส้มสายชู และหากใช้บรรจุภัณฑ์ที่เป็นโลหะจะส่งผลกระทบ
อย่างไร
5. โรงงานผลิตปุ๋ยแห่งหนึ่งใช้กรดซัลฟิวริกในกระบวนการผลิต ท�าให้น�้าทิ้งที่ปล่อยออกมาจากโรงงานมีสมบัติ
เป็นกรด ซึ่งเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม นักเรียนมีวิธีการแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยใช้ประโยชน์จาก
ปฏิกิริยาเคมีอย่างไร

162

เกร็ดแนะครู แนวตอบ Topic Questions


1. กอใหเกิดปฏิกริ ยิ าการเผาไหมแบบไมสมบูรณ ดังสมการ
ครูอาจใหคําแนะนํานักเรียนเพิ่มเติมเกี่ยวกับการทํากิจกรรม Application
2CH4 (g) + 3O2 (g) 2CO (g) + 4H2O (l) + พลังงาน + เขมา
Activity โดยครูอาจยกตัวอยางแนวคิดเกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมีที่มีประโยชนใน
ควัน โดยแกสคารบอนมอนอกไซดและเขมาควันกอใหเกิดผลกระทบตอ
ชีวิตประจําวัน เชน ยาลดกรดที่มีสวนผสมของสารประกอบไฮดรอกไซดที่
ระบบทางเดินหายใจของสิง่ มีชวี ติ และสงผลกระทบตอสิง่ แวดลอม
มี ส มบั ติ เ ป น เบสช ว ยสะเทิ น กรดในกระเพาะอาหาร แท ง สลายท อ อุ ด ตั น
2. เหล็กทําปฏิกริ ยิ ากับแกสออกซิเจนและนํา้ ในอากาศ
ที่มีสวนผสมของเอนไซมชวยยอยสิ่งสกปรกและไขมันที่อุดตันในทอระบายนํ้า
3. ปฏิกริ ยิ าของกรดกับสารประกอบคารบอเนต ดังสมการ
การปลูกพืชนํ้าอาศัยกระบวนการสังเคราะหดวยแสงเพิ่มปริมาณออกซิเจน
CaCO3 (s) + H2CO3 (aq) Ca(HCO3)2 (aq)
ใหกับนํ้าเพื่อแกปญหานํ้าเสีย
Ca(HCO3)2 (aq) CaCO3 (s) + H2O (l) + CO2 (g)
4. นํา้ สมสายชูหรือกรดแอซีตกิ จะทําปฏิกริ ยิ ากับโลหะ ทําใหบรรจุภณ
ั ฑ
ถูกกัดกรอนเปนเกลือของโลหะและมีฟองแกสเกิดขึน้
5. เติมสารเคมีที่มีสมบัติเปนเบสเพื่อใหเกิดปฏิกิริยาการสะเทิน ทําให
นํา้ ทิง้ มีคา pH เปนกลาง

T174
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
F u n
11. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน ทํา
Science Activity ภูเขาไฟระเบิด
กิจกรรม Fun Science Activity เรือ่ ง ภูเขาไฟ
วัสดุอปุ กรณ
ระเบิด โดยใหนกั เรียนแบงภาระและหนาทีก่ นั
1. นํ้าเปลา 7. กระบอกตวง
ภายในกลุม
2. ดินนํ้ามัน 8. สีผสมอาหาร 12. ใหนักเรียนแตละกลุมทํากิจกรรม Fun Sci-
3. นํ้าสมสายชู 9. นํ้ายาลางจาน ence Activity เรื่อง ภูเขาไฟระเบิด
4. กระดาษแข็ง 10. แทงแกวคนสาร
5. ขวดรูปชมพู ขนาด 500 cm3 11. ชอนตักสาร เบอร 1
อธิบายความรู
6. เบกกิงโซดาหรือโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต (NaHCO3)
13. ครูสมุ ตัวแทนกลุม ออกมานําเสนอผลกิจกรรม
ภาพที่ 4.31 ภูเขาไฟจําลอง 14. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกีย่ วกับลาวา
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ทีอ่ อกมาจากปลองภูเขาไฟ ซึง่ เปนการจําลอง
วิธที าํ การเกิดปฏิกิริยาเคมี
1. นําขวดรูปชมพูมาทําเปนภูเขาไฟ โดยใชดินนํ้ามันกอรอบขวด แลวนํามาวางบน
กระดาษแข็ง 15. ครูถามคําถามสรุปกิจกรรม ดังนี้
2. ผสมเบกกิงโซดา 10 ชอน สีผสมอาหาร นํ้าเปลาปริมาตร 50 ลูกบาศกเซนติเมตร • ลาวาทีพ่ งุ ออกมาจากปลองภูเขาไฟเปนการ
และนํ้ายาลางจานปริมาตร 25 ลูกบาศกเซนติเมตร ใชแทงแกวคนสารใหเขากัน จําลองปฏิกิริยาเคมีชนิดใด
แลวเทลงในปลองภูเขาไฟ
3. เทนํ้าสมสายชูปริมาตร 25 ลูกบาศกเซนติเมตร ลงไปในปลองภูเขาไฟ สังเกต ( แนวตอบ ปฏิ กิ ริ ย าระหว า งกรดกั บ สาร
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ประกอบคารบอเนต ไดผลิตภัณฑเปนเกลือ
ของโลหะ นํา้ และแกสคารบอนไดออกไซด)
ภาพที่ 4.32 จําลองการเกิดภูเขาไฟ
• สารตั้งตนของปฏิกิริยานี้คืออะไร
ที่มา : https://www.youtube.com/ (แนวตอบ เบกกิงโซดาและนํ้าสมสายชู)
watch?v=t0FVaq2LVtE
• จากกิจกรรม ทําไมลาวาจึงพุงออกมาจาก
หลักการทางวิทยาศาสตร
ปลองภูเขาไฟได
ลาวาทีอ่ อกจากปลองภูเขาไฟจําลองเกิดจากปฏิกริ ยิ าเคมีระหวางเบกกิงโซดาหรือโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนตกับนํา้ สมสายชู
หรือกรดแอซีติก ไดผลิตภัณฑเปนกรดคารบอนิกและโซเดียมแอซิเตต ดังสมการ (แนวตอบ เพราะแกสคารบอนไดออกไซด
NaHCO3 (s) + CH3COOH (aq) H2CO3 (aq) + CH3COONa (aq) ซึ่งเปนผลิตภัณฑ กอใหเกิดแรงดันเพิ่มขึ้น
โซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต กรดแอซีติก กรดคารบอนิก โซเดียมแอซิเตต ภายในปลองภูเขาไฟ ทําใหลาวาถูกดันและ
แตกรดคารบอนิกไมเสถียร จึงแตกตัวเปนแกสคารบอนไดออกไซดและนํ้า ดังสมการ พุงออกมาจากปลองภูเขาไฟ)
H2CO3 (aq) CO2 (g) + H2O (l)
กรดคารบอนิก แกสคารบอนไดออกไซด นํ้า
แกสคารบอนไดออกไซดท่ีเกิดขึ้นจะสรางแรงดันในขวดรูปชมพูดันของเหลวภายในใหออกมา ซึ่งมีลักษณะคลายลาวา
ของภูเขาไฟ (สีจากสีผสมอาหารและฟองจากนํ้ายาลางจาน)

ปฏิกิริยาเคมี 163

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดไมใชผลิตภัณฑจากปฏิกิริยาระหวางกรดไฮโดรคลอริก ครูใหคําแนะนําเพิ่มเติมระหวางที่นักเรียนทํากิจกรรม ภูเขาไฟระเบิดวา
(HCl) กับโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต (NaHCO3) หลังจากนักเรียนสรางภูเขาไฟจําลองเสร็จแลว นักเรียนอาจใชปเปตตหรือ
1. นํ้า หลอดฉีดยาดูดสีผสมอาหารมาผสมกับนํ้าสมสายชู โดยคาดคะเนปริมาณ
2. เกลือแกง นํ้าสมสายชูใหเกินครึ่งขวดรูปชมพู เพราะถาใสนํ้าสมสายชูปริมาณนอยเกินไป
3. แกสไฮโดรเจน จะทําใหลาวาที่ออกมาจากปลองภูเขาไฟไมสูงและมีปริมาณนอย
4. แกสคารบอนไดออกไซด
(วิเคราะหคําตอบ จากโจทยเขียนสมการเคมีไดเปน
NaHCO3 (s) + HCl (aq) NaCl (aq) + H2CO3 (aq)
แตเนื่องจาก H2CO3 ไมเสถียรจะสลายตัวให H2O และ CO2
ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T175
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
16. ใหนักเรียนศึกษา Science in Real Life Science in Real Life
เรื่อง ปฏิกิริยาการสลายตัวของผงฟู จาก ปฏิกิริยาการสลายตัวของผงฟู
หนั ง สื อ เรี ย นรายวิ ช าพื้ น ฐานวิ ท ยาศาสตร
และเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 หนวยการเรียนรู ผงฟู (baking powder) ประกอบดวยโซเดียม-
ไฮโดรเจนคารบอเนต (sodium hydrogen carbonate;
ที่ 4 ปฏิกิริยาเคมี จากนั้นใหนักเรียนสรุป
NaHCO3) สารทีม่ สี มบัตเิ ปนกรด และแปง ผงฟูถกู นํามา
ประโยชน ข องปฏิ กิ ริ ย าเคมี ข องโซเดี ย ม ใชในการทําขนมหลายชนิด เชน ขนมถวยฟู ขนมตาล
ไฮโดรเจนคารบอเนตนอกเหนือจากในหนังสือ ขนมสาลี่ เคก ขนมปง เพื่อทําใหขนมขึ้นฟู โดยเมื่อ
เรียนลงในกระดาษ A4 พรอมนําเสนอหนา ใหความรอนกับผงฟู โซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต
ชั้นเรียน ในผงฟูจะสลายตัว ไดโซเดียมคารบอเนต (Na2CO3) ภาพที่ 4.33 ผงฟูชว ยทําใหขนมปงขึน้ ฟูดนู า รับประทาน
ที่มา : คลังภาพ อจท.
17. ใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน หนวย แกสคารบอนไดออกไซด (CO2) และไอนํา้ เปนผลิตภัณฑ
ดังนั้น เมื่อนําขนมที่ใสผงฟูไปอบ แกสคารบอนไดออกไซดที่ไดจากปฏิกิริยาจะขยายตัวและแทรกผานเขาไปใน
การเรียนรูที่ 4 ปฏิกิริยาเคมี เนื้อขนม ทําใหเกิดโพรงอากาศกระจายตัวทั่วทั้งกอนของขนม ขนมจึงขึ้นฟูดูนารับประทาน
18. ใหนักเรียนตรวจสอบความรูของตนเองจาก นอกจากนี้ โซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนตยังถูกนํามาใชในการดับไฟปา โดยเมื่อโปรยผงโซเดียมไฮโดรเจน-
กรอบ Self Check และตอบคําถาม Unit คารบอเนตจากเครือ่ งบินลงเหนือบริเวณทีเ่ กิดไฟปา ความรอนจากไฟปาจะทําใหโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนตสลายตัว
Questions ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ใหแกสคารบอนไดออกไซดซ่ึงหนักกวาอากาศ และไปปกคลุมไมใหเชื้อเพลิงตาง ๆ ไดรับแกสออกซิเจน จึงชะลอ
วิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ม.3 เล ม 1 หรือหยุดการเกิดไฟปาได
หนวยการเรียนรูที่ 4 ปฏิกิริยาเคมี ลงใน
สมุดประจําตัวนักเรียน เพื่อประเมินความรู
ความเขาใจของนักเรียน

ขยายความเขาใจ
19. ให นั ก เรี ย นแบ ง กลุ  ม กลุ  ม ละ 5-7 คน
เลือกกําหนดปญหาจากปฏิกิริยาเคมีในชีวิต
ประจําวันของตนเอง แลวใหนกั เรียนวิเคราะห
สถานการณ และนําความรู เรื่อง ประโยชน
และโทษของปฏิกิริยาเคมีมาบูรณาการกับ
วิทยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยี และ 2NaHCO3 (s) ความรอน Na2CO3 (s) + H2O (g) + CO2 (g)
วิศวกรรมศาสตร เพื่อวางแผน ออกแบบวิธี โซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต โซเดียมคารบอเนต นํ้า แกสคารบอนไดออกไซด

การแกปญหา ปรับปรุงผลิตภัณฑ หรือสราง ภาพที่ 4.34 ปฏิกิริยาการสลายตัวของโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต


นวัตกรรมทีใ่ ชแกปญ  หาทีเ่ กิดขึน้ จากปฏิกริ ยิ า ที่มา : คลังภาพ อจท.
เคมีได
164

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจแนะนํานักเรียนเพิ่มเติมวา เบกกิงโซดากับผงฟูมีความแตกตางกัน พิจารณาสมการที่กําหนดให
โดยเบกกิงโซดามีชอื่ เรียกทางเคมีวา โซเดียมไบคารบอเนต (NaHCO3) มีสมบัติ 2C3H8 (g) + 7O2 (g) สาร Y + 8H2O (l) + พลังงาน + เขมาควัน
เปนเบส เมื่อทําปฏิกิริยากับสารที่เปนกรดหรือไดรับความรอน จะใหผลิตภัณฑ สาร Y คืออะไร และมีจํานวนกี่โมเลกุล
เปนแกสคารบอนไดออกไซด นิยมใสลงในขนมที่มีสวนผสมของกรด เชน 1. CO จํานวน 6 โมเลกุล
ผงโกโก นํ้าตาลทรายแดง กลวยหอม นํ้าผึ้ง นมเปรี้ยว สวนผงฟู คือ สวนผสม 2. CO จํานวน 8 โมเลกุล
ของเบกกิงโซดากับกรดหรือเกลือของกรด มักเติมสารทีป่ อ งกันไมใหเกิดปฏิกริ ยิ า 3. CO2 จํานวน 6 โมเลกุล
เคมีในผงฟู เชน แปงขาวโพด ผงฟูจึงสามารถใชทําขนมไดทุกประเภท เมื่อ 4. CO2 จํานวน 8 โมเลกุล
ผงฟูทําปฏิกิริยาเคมีกับสารที่เปนเบส หรือนํ้าและความชื้น จะใหผลิตภัณฑ (วิเคราะหคําตอบ จากสมการ เปนปฏิกิริยาการเผาไหมแบบ
เปนแกสคารบอนไดออกไซด ซึ่งผงฟูมีหลายชนิด เชน ผงฟูชนิดเกิดแกสเร็ว ไมสมบูรณ เนื่องจากมีเขมาควันเปนผลิตภัณฑ สาร Y ซึ่งเปน
(เกิดปฏิกิริยาเพียงครั้งเดียว) ผงฟูกําลังสอง (เกิดปฏิกิริยาเคมี 2 ครั้ง คือ ผลิตภัณฑจึงควรเปนแกสคารบอนมอนอกไซด (CO) ปฏิกิริยาที่
เกิดปฏิกิริยาระหวางผสมสวนผสมนอกเตาอบและเกิดปฏิกิริยาภายในเตาอบ) เกิดขึ้น ดังสมการ
2C3H8 (g) + 7O2 (g) 6CO + 8H2O (l) + พลังงาน + เขมาควัน
จึงเกิด CO จํานวน 6 โมเลกุล ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T176
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
นั ก เรี ย นและครู ร  ว มกั น สรุ ป ความรู  เ กี่ ย วกั บ
Summary ปฏิกิริยาเคมี เพื่อใหไดขอสรุปวา ปฏิกิริยาเคมี
ปฏิกิริยาเคมี เกิดจากการเปลีย่ นแปลงทางเคมีของสารแลวเกิด
สารใหม โดยมนุษยใชประโยชนจากปฏิกิริยาเคมี
¡ÒÃà¡Ô´ »¯Ô¡ÔÃÔÂÒà¤ÁÕ ในชี วิ ต ประจํ า วั น เช น ปฏิ กิ ริ ย าการเผาไหม
¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§·Ò§à¤ÁբͧÊÒà ·íÒãËŒà¡Ô´ÊÒÃãËÁ‹·ÕèÁÕÊÁºÑµÔà»ÅÕè¹仨ҡà´ÔÁ เพือ่ เปนแหลงพลังงาน แตในทางกลับกันปฏิกริ ยิ า
เคมีกอใหเกิดโทษตอสิ่งแวดลอมและสิ่งมีชีวิต
ÊÒõÑ駵Œ¹ ¼ÅÔµÀѳ± เชนกัน ดังนั้น จึงควรศึกษาปฏิกิริยาเคมี เพื่อหา
2H2 (g) + O2 (g) 2H2O (l) + วิธปี อ งกันและแกไขปญหาทีเ่ กิดจากปฏิกริ ยิ าเคมี
จากนั้นใหนักเรียนสรุปความรูเปนผังมโนทัศน
ᡍÊäÎâ´Ãਹ ᡍÊÍÍ¡«Ôਹ ¹íÒé ลงในกระดาษ A4 แลวนํามาเสนอหนาชั้นเรียน

¡ÒÃà¢Õ¹ ÊÁ¡ÒÃà¤ÁÕ ¡® ·Ã§ÁÇÅ


ÁÕËÅÑ¡¡Òà ´Ñ§¹Õé
1. ÊÒõÑ駵Œ¹ÍÂÙ‹«ŒÒ ¼ÅÔµÀѳ±ÍÂÙ‹¢ÇÒ ÁÕ㨤ÇÒÁÊíÒ¤ÑÞÇ‹Ò ‘‘ã¹»¯Ô¡Ã
Ô ÂÔ Òà¤ÁÕã´ æ
¤Ñè¹´ŒÇ ÁÇŢͧÊÒá‹ Í ¹à¡Ô ´ »¯Ô ¡Ô ÃÔ Â Ò
2. à¢Õ¹ÊÒõÑ駵Œ¹áÅмÅÔµÀѳ±´ŒÇÂÊÙµÃà¤ÁÕ ¨Ðà·‹ Ò ¡Ñ º ÁÇŢͧÊÒÃËÅÑ § à¡Ô ´
áÅÐÃкØʶҹТͧÊÒà »¯Ô¡ÔÃÔÂÒ’’
3. ´ØŨíҹǹÍеÍÁ¢Í§¸ÒµØᵋÅиҵآͧ
ÊÒõÑ駵Œ¹áÅмÅÔµÀѳ±ãˌ෋ҡѹ

»ÃÐàÀ·¢Í§ »¯Ô¡ÔÃÔÂÒà¤ÁÕ
»¯Ô¡ÔÃÔÂÒ ´Ù´¤ÇÒÁÌ͹ »¯Ô¡ÔÃÔÂÒ ¤Ò¤ÇÒÁÌ͹
¾Åѧ§Ò¹·Õè´Ù´à¢ŒÒ > ¾Åѧ§Ò¹·Õè¤ÒÂÍÍ¡ ¾Åѧ§Ò¹·Õè´Ù´à¢ŒÒ < ¾Åѧ§Ò¹·Õè¤ÒÂÍÍ¡
¾Åѧ§Ò¹

¾Åѧ§Ò¹

¼ÅÔµÀѳ± ÊÒõÑ駵Œ¹
¼ÅÔµÀѳ±

ÊÒõÑ駵Œ¹
¡ÒôíÒà¹Ô¹ä»¢Í§»¯Ô¡ÔÃÔÂÒ ¡ÒôíÒà¹Ô¹ä»¢Í§»¯Ô¡ÔÃÔÂÒ

ปฏิกิริยาเคมี 165

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


เมื่ อ นํ า สาร A มาเผาได นํ้ า และแก ส คาร บ อนไดออกไซด ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง ดอกไมไฟ
จากปฏิกิริยาขางตนขอใดไมใชสาร A ทํางานอยางไร? (https://www.twigaksorn.com/fif ilm/how-do-fireworks-
1. แกสมีเทน work-8256/)
2. แกสบิวเทน
3. แกสโซฮอล
4. แกสไฮโดรเจน
( วิเคราะหคําตอบ ปฏิ กิ ริ ย าการเผาไหม แ บบสมบู ร ณ จ ะเกิ ด
ผลิตภัณฑเปนแกสคารบอนไดออกไซดและนํ้า สารตั้งตนกอน
เผาไหม จึ ง ต อ งประกอบด ว ยธาตุ C และ H หรื อ เรี ย กว า
สารประกอบอินทรีย ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T177
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
1. ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน หนวยการเรียนรู »¯Ô¡ÔÃÔÂÒà¤ÁÕ ã¹ªÕÇÔµ»ÃШíÒÇѹ
ที่ 4 ปฏิกิริยาเคมี ª¹Ô´¢Í§»¯Ô¡ÔÃÔÂÒà¤ÁÕ㹪ÕÇÔµ»ÃШíÒÇѹ
2. ตรวจแบบฝกหัดรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร
»¯Ô¡ÔÃÔÂÒà¤ÁÕ ÊÒõÑ駵Œ¹ ¼ÅÔµÀѳ±
และเทคโนโลยี ม.3 เลม 1 เรื่อง ประโยชน
ÊÒûÃСͺ·ÕèÁÕ H áÅÐ C ᡍʤÒϺ͹ä´ÍÍ¡ä«´ +
และโทษของปฏิกิริยาเคมี ¡ÒÃà¼ÒäËÁŒáººÊÁºÙó
+ ᡍÊÍÍ¡«Ôਹ (à¾Õ§¾Í) ¹íéÒ + ¾Åѧ§Ò¹
3. ตรวจคําตอบ Topic Questions ในสมุด
¡ÒÃà¼ÒäËÁŒáººäÁ‹ÊÁºÙó ÊÒûÃСͺ·ÕèÁÕ H áÅÐ C ᡍʤÒϺ͹Á͹͡䫴 + ¹íéÒ +
ประจําตัวนักเรียน + ᡍÊÍÍ¡«Ôਹ (äÁ‹à¾Õ§¾Í) ¾Åѧ§Ò¹ + à¢Á‹Ò¤Çѹ
4. ตรวจรายงาน เรือ่ ง ปญหาทีเ่ กิดจากปฏิกริ ยิ า
เคมีในชีวิตประจําวัน ¡ÒÃà¡Ô´Ê¹ÔÁ¢Í§àËÅç¡ àËÅç¡ + ¹íéÒ + ᡍÊÍÍ¡«Ôਹ ʹÔÁ¢Í§àËÅç¡
5. ตรวจป า ยนิ เ ทศ เรื่ อ ง ป ญ หาที่ เ กิ ด จาก
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน ¡Ã´¡ÑºâÅËÐ ¡Ã´ + âÅËÐ à¡Å×ͧ͢âÅËÐ + ᡍÊäÎâ´Ãਹ
6. ตรวจผังมโนทัศนปฏิกิริยาเคมี
¡Ã´¡ÑºàºÊ ¡Ã´ + àºÊ à¡Å×ͧ͢âÅËÐ + ¹íÒé
7. ประเมิ น การออกแบบวิ ธีก ารแก ไ ขป ญ หา
ปรับปรุงผลิตภัณฑ หรือสรางนวัตกรรมที่ใช àºÊ¡ÑºâÅËкҧª¹Ô´ àºÊ + âÅËкҧª¹Ô´ (Al Zn) à¡Å×ͧ͢àºÊ + ᡍÊäÎâ´Ãਹ
แกปญหาที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาเคมี
¡Ã´¡ÑºÊÒûÃСͺ ¡Ã´ + ÊÒûÃСͺ¤ÒϺÍ๵ à¡Å×ͧ͢âÅËÐ + ᡍʤÒϺ͹ä´ÍÍ¡ä«´
8. ตรวจสอบผลการปฏิบัติกิจกรรม การปองกัน ¤ÒϺÍ๵ + ¹íéÒ
และแกไขปญหาที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมี
¹íéÒ½¹ + ÍÍ¡ä«´¢Í§ä¹âµÃਹ ¹íéÒ½¹·ÕèÁÕÊÁºÑµÔ໚¹¡Ã´
9. สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม ¡ÒÃà¡Ô´½¹¡Ã´
ËÃ×ÍÍÍ¡ä«´¢Í§«ÑÅà¿ÍÏ (¡Ã´«ÑÅ¿ÇÃÔ¡ËÃ×͡ô乵ÃÔ¡)
10. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยสังเกต
ᡍʤÒϺ͹ä´ÍÍ¡ä«´ + ¹íéÒ ¹íéÒµÒÅ¡ÅÙâ¤Ê + ᡍÊÍÍ¡«Ôਹ
ความมี วิ นั ย ใฝ เ รี ย นรู  และมุ  ง มั่ น ในการ ¡ÒÃÊѧà¤ÃÒÐˏ´ŒÇÂáʧ (ÁÕ¤ÅÍâÿÅŏ´Ù´¡Å×¹¾Åѧ§Ò¹áʧ)
ทํางาน

»ÃÐ⪹ áÅÐ â·É ¢Í§»¯Ô¡ÔÃÔÂÒà¤ÁÕ


✓ »ÃÐ⪹ ¢Í§»¯Ô¡ÔÃÔÂÒà¤ÁÕ ✗ â·É ¢Í§»¯Ô¡ÔÃÔÂÒà¤ÁÕ
• »ÃѺÊÀÒ¾¹íéÒ·Ôé§â´Â»¯Ô¡ÔÃÔÂҢͧ¡Ã´¡ÑºàºÊ • à¡Ô´á¡Ê·ÕèÊ‹§¼Å¡Ãзºµ‹ÍÊÔè§ÁÕªÕÇÔµáÅÐÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ
• ÊÌҧ¾Åѧ§Ò¹¤ÇÒÁÌ͹â´Â»¯Ô¡ÔÃÔÂÒ¡ÒÃà¼ÒäËÁŒ ઋ¹ CO Ê‹§¼Åµ‹Í¡ÒÃÅíÒàÅÕ§ᡍÊÍÍ¡«Ôਹ¢Í§à«Åŏ
• ÊÌҧᡍÊÍÍ¡«ÔਹáÅйíéÒµÒÅ¡ÅÙâ¤Êâ´Â»¯Ô¡ÔÃÔÂÒ àÁç´àÅ×Í´á´§ CO2 ¡‹ÍãËŒà¡Ô´»ÃÒ¡¯¡ÒóàÃ×͹¡ÃШ¡
¡ÒÃÊѧà¤ÃÒÐˏ´ŒÇÂáʧ SOx áÅÐ NOx ¡‹ÍãËŒà¡Ô´½¹¡Ã´
• µ¡µÐ¡Í¹äÍÍ͹¢Í§âÅËÐ˹ѡºÒ§ª¹Ô´ • ·íÒÅÒÂÇÑÊ´Ø·Õè·íÒ¨Ò¡âÅËÐáÅÐËÔ¹»Ù¹

166

แนวทางการวัดและประเมินผล กิจกรรม 21st Century Skills


ครูวัดและประเมินผลความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิต ใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 4-5 คน รวมกันสํารวจปฏิกริ ยิ าเคมี
ประจําวัน ไดจากการทําผังมโนทัศน เรือ่ ง ปฏิกริ ยิ าเคมี โดยศึกษาเกณฑการวัด ทีเ่ กิดขึน้ ในชีวติ ประจําวันของนักเรียน แลวบันทึกลงในสมุดบันทึก
และประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ที่อยูในแผนการ รวบรวมขอมูลเพิม่ เติมเพือ่ จัดทําเปนรายงาน โดยมีหวั ขอ ดังนี้
จัดการเรียนรูประจําหนวยการเรียนรูที่ 4 - ชนิดของปฏิกริ ยิ าเคมีทไี่ ดจากการสํารวจ
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
- สมการเคมี (ถาสามารถระบุได)
รายการประเมิน
แบบประเมินผลงานแผนผังมโนทัศน์
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน

ลาดับที่
4 3
ระดับคุณภาพ
2 1
- ประเภทของปฏิกริ ยิ าเคมี
- ประโยชนและโทษของปฏิกิริยาเคมีที่มีตอสิ่งมีชีวิตและ
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ที่กาหนด
2 ความถูกต้องของเนื้อหา
3 ความคิดสร้างสรรค์
4 ความเป็นระเบียบ
รวม
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
............../................./................
เกณฑ์ประเมินแผนผังมโนทัศน์
ระดับคะแนน
สิง่ แวดลอม
- แนวทางการปองกันและวิธแี กไขปญหาทีเ่ กิดจากปฏิกริ ยิ าเคมี
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
1. ผลงานตรงกับ ผล งา น สอดค ล้ องกั บ ผ ล ง า น ส อด ค ล้ อ งกั บ ผลงานสอดคล้ อ งกั บ ผลงานไม่ ส อดคล้ อ ง
จุดประสงค์ที่ จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ บ า ง กับจุดประสงค์
กาหนด ประเด็น
2. ผลงานมีความ เนื้ อ หาสาระของผลงาน เนื้ อ หาสาระของผลงาน เ นื้ อ ห า ส า ร ะ ข อ ง เ นื้ อ ห า ส า ร ะ ข อ ง
ถูกต้องของ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ผลงานถูกต้องเป็นบาง ผลงานไม่ถูกต้องเป็น
เนื้อหา ประเด็น ส่วนใหญ่
3. ผลงานมีความคิด ผ ล ง า น แ ส ด ง อ อ ก ถึ ง ผลงานมี แ นวคิ ด แปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผ ล ง า น ไ ม่ แ ส ด ง
สร้างสรรค์ ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ใหม่ แ ต่ ยั ง ไม่ เ ป็ น ระบบ แ ต่ ยั ง ไ ม่ มี แ น ว คิ ด แนวคิดใหม่
แปลกใหม่และเป็นระบบ แปลกใหม่
4. ผลงานมีความ ผ ล ง า น มี ค ว า ม เ ป็ น ผลงานส่ ว นใหญ่ มี ค วาม ผลงานมี ค วามเป็ น ผลงานส่ ว นใหญ่ ไ ม่
เป็น ระเบียบ ระเบี ย บแสดงออกถึ ง เ ป็ น ร ะ เ บี ย บ แ ต่ ยั ง มี ร ะ เ บี ย บ แ ต่ มี เป็นระเบียบและมีข้อ
ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กน้อย ข้อบกพร่องบางส่วน บกพร่องมาก

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14-16 ดีมาก
11-13 ดี
8-10 พอใช้
ต่ากว่า 7 ปรับปรุง

T178
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Self Check


1. ผิด 2. ผิด 3. ถูก
Self Check 4. ถูก 5. ผิด 6. ถูก
ใหนักเรียนตรวจสอบความเขาใจ โดยพิจารณาขอความวาถูกหรือผิด แลวบันทึกลงในสมุด หากพิจารณาขอความ 7. ผิด 8. ถูก 9. ถูก
ไมถูกตอง ใหกลับไปทบทวนเนื้อหาตามหัวขอที่กําหนดให 10. ผิด
ถูกหรือผิด ทบทวนหัวขอ
1. การเกิดตะกอนของดินโคลนในนํา้ แสดงวามีปฏิกริ ยิ าเคมีเกิดขึน้ 1.

2. อะตอมของสารตั้งตนบางชนิดจะสูญหายไประหวางเกิดปฏิกิริยา ทําใหอะตอม
1.
ของผลิตภัณฑมีจํานวนเปลี่ยนแปลงไป

3. ปฏิกิริยาระหวางโพแทสเซียมไฮดรอกไซด (KOH) กับกรดซัลฟวริก (H2SO4)


ไดผลิตภัณฑเปนโพแทสเซียมซัลเฟต (K2SO4) และนํา้ (H2O) มีสมการเคมี ดังนี้ 1.
H2SO4 + 2KOH K2SO4 + 2H2O

4. ถาปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นไดผลิตภัณฑเปนแกสและเกิดในระบบปด มวลของ
1.
สารตั้งตนจะเทากับมวลของผลิตภัณฑเสมอ
ุด
5. ปฏิกริ ยิ าที่ใชพลังงานในการสลายพันธะมากกวาสรางพันธะจะทําใหสงิ่ แวดลอม
สม

2.
ใน

มีอุณหภูมิสูงขึ้น
ลง
ทึ ก
บั น

6. การผลิตปูนขาวตองใหความรอนแกแคลเซียมคารบอเนต (CaCO3) เพื่อให


สลายตัวเปนแกสคารบอนไดออกไซด (CO2) และแคลเซียมออกไซด (CaO) 2.
หรือหินปูน แสดงวาการผลิตปูนขาวเปนปฏิกิริยาดูดความรอน

7. การเผาไหมแบบไมสมบูรณจะไดผลิตภัณฑเปนแกสคารบอนไดออกไซดและนํา้ 3.1

8. หากนําโซดาไฟ (โซเดียมไฮดรอกไซด) ผสมกับนํ้าสมสายชู (กรดแอซีติก)


3.1
จะไดเกลือของโลหะและนํ้าเปนผลิตภัณฑ

9. นํา้ สมสายชูไมควรบรรจุในภาชนะทีท่ าํ จากโลหะ เนือ่ งจากมีฤทธิก์ ดั กรอน ทําให


3.1
เกิดการปนเปอนของโลหะในอาหารได

10. แกสคารบอนไดออกไซดเปนสาเหตุหลักของการเกิดฝนกรด เนื่องจากเมื่อทํา


3.2
ปฏิกิริยากับนํ้าในอากาศจะไดกรดคารบอนิก ทําใหนํ้าฝนมีสมบัติเปนกรด

ปฏิกิริยาเคมี 167

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


แกส A เปนแกสที่กอใหเกิดฝนกรด โดยฝนกรดจะกัดกรอน ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง ผลึกในถํ้า
สิ่งกอสรางที่ทําจากหินปูน กอใหเกิดแกส B และจะกัดกรอน (https://www.twigaksorn.com/fifilm/crystals-in-caves-8259/)
สิ่งกอสรางที่มีโครงสรางเปนเหล็ก ใหแกส C อยากทราบวา แกส
A B และ C คือแกสชนิดใด ตามลําดับ
1. SO2, CO, O2 2. SO3, CO2, H2
3. NO2, CO, H2 4. NO3, CO2, O2
(วิเคราะหคําตอบ จากโจทย แกสที่กอใหเกิดฝนกรด คือ แกส
ไนโตรเจนไดออกไซด (NO2) และแกสซัลเฟอรไตรออกไซด
(SO3) เมื่อฝนกรดทําปฏิกิริยาเคมีกับหินปูนจะกอใหเกิดแกส
คาร บ อนไดออกไซด (CO 2) แต ถ  า ทํ า ปฏิ กิ ริ ย าเคมี กั บ โลหะ
จะกอใหเกิดแกสไฮโดรเจน (H2) ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T179
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Unit Questions


1. สังเกตการเปลี่ยนแปลงไดจากการเกิดสารใหม Unit Questions
ซึง่ มีสมบัตแิ ตกตางไปจากเดิม เชน การเปลีย่ นสี
ของสาร การเกิดตะกอน การเกิดฟองแกส การ คําชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
ระเบิดหรือการเกิดประกายไฟ การเปลีย่ นแปลง 1. นักเรียนจะสังเกตไดอยางไรวา สิ่งตาง ๆ รอบตัวเกิดปฏิกิริยาเคมีขึ้นหรือไม พรอมยกตัวอยางประกอบ
ของอุณหภูมิ 2. จงเขียนสมการเคมีของปฏิกิริยาตอไปนี้ใหถูกตอง
2. 2.1 C2H5OH (aq) + 3O2 (g) 2CO2 (g) 2.1 ปฏิกิริยาระหวางเอทิลแอลกอฮอล ( C2H5OH) กับแกสออกซิเจน ( O2) ไดผลิตภัณฑเปนแกส
+ 3H2O (l) คารบอนไดออกไซด (CO2) และนํ้า (H2O)
2.2 2Al (s) + 3H2SO4 (aq) Al2(SO4)3 (aq) 2.2 ปฏิกิริยาระหวางโลหะอะลูมิเนียม (Al) กับกรดซัลฟวริก (H2SO4) ไดผลิตภัณฑเปนอะลูมิเนียมซัลเฟต
+ 3H2 (g) (Al2(SO4)3) และแกสไฮโดรเจน (H2)
2.3 3Fe + 4H2O (l) Fe3O4 (aq) + 4H2 2.3 ปฏิกิริยาระหวางเหล็ก (Fe) กับนํ้า (H2O) ไดผลิตภัณฑเปนไอรออน (II, III) ออกไซด (Fe3O4) และ
แกสไฮโดรเจน (H2)
(g)
2.4 ปฏิกิริยาระหวางแอมโมเนีย (NH3) กับแกสไนตริกออกไซด (NO) ไดผลิตภัณฑเปนนํ้า (H2O) และ
2.4 4NH3 (aq) + 6NO (g) 6H2O (l) +
แกสไนโตรเจน (N2)
5N2 (g) 2.5 ปฏิกิริยาระหวางโซเดียมเปอรออกไซด (Na2O2) กับนํ้า (H2O) ไดผลิตภัณฑเปนโซเดียมไฮดรอกไซด
2.5 Na2O2 (aq) + 2H2O (l) 2NaOH (aq) (NaOH) และไฮโดรเจนเปอรออกไซด (H2O2)
+ H2O2 (aq)
3. “การศึกษาปฏิกิริยาระหวางแคลเซียมคารบอเนต (CaCO3) กับกรดไฮโดรคลอริก (HCl) โดยเติมแคลเซียม
3. เพราะปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นในระบบเปด แกส
คารบอเนตลงในบีกเกอรที่มีกรดไฮโดรคลอริกบรรจุอยู ไดแคลเซียมคลอไรด (CaCl2) นํ้า (H2O) และ
คารบอนไดออกไซดที่เกิดขึ้นจึงรั่วไหลออกสู แกสคารบอนไดออกไซด (CO2) เปนผลิตภัณฑ แตจากการศึกษา พบวา มวลของผลิตภัณฑหลังเกิดปฏิกิริยา
ชั้นบรรยากาศ มีคานอยกวามวลของสารตั้งตน”
4. 4.1 ไมเทากัน ปฏิกริ ยิ าเคมีทเี่ กิดในภาชนะปด จากขอความขางตน นักเรียนอธิบายไดหรือไมวา เพราะเหตุใดมวลของผลิตภัณฑจึงมีคานอยกวามวลของ
หลังเกิดปฏิกริ ยิ าไดมวลรวมของผลิตภัณฑ สารตั้งตน ซึ่งไมเปนไปตามกฎทรงมวล
เท า กั บ มวลรวมของสารตั้ ง ต น ส ว น
ปฏิ กิ ริ ย าเคมี ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในภาชนะเป ด 4. นําแผนโลหะ A ทําปฏิกิริยากับกรด B ไดของแข็ง C และแกส D เปนผลิตภัณฑ จงตอบคําถามตอไปนี้
4.1 ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในภาชนะเปดและภาชนะปด มวลของผลิตภัณฑที่เกิดขึ้นเทากันหรือไม อยางไร
หลังเกิดปฏิกริ ยิ าไดมวลรวมของผลิตภัณฑ
4.2 หากเปรียบเทียบอุณหภูมิของผลิตภัณฑหลังเกิดปฏิกิริยา พบวา มีอุณหภูมิสูงกวาสารตั้งตน ปฏิกิริยา
นอยกวามวลรวมของสารตั้งตน
ขางตนเปนปฏิกิริยาดูดความรอนหรือคายความรอน เพราะเหตุใด
4.2 ปฏิกิริยาคายความรอน เพราะปฏิกิริยา 4.3 ของแข็ง C เปนสารกลุมใด และแกส D เปนแกสชนิดใด
คายความร อ นจะคายพลั ง งานออกมา
5. ปฏิกิริยาการเผาไหมถานหินเปนปฏิกิริยาดูดความรอนหรือคายความรอน เพราะเหตุใด
เพื่อสรางพันธะเคมีมากกวาดูดพลังงาน
เขาไปในระบบเพื่อสลายพันธะเคมี ทําให
สิ่งแวดลอมมีอุณหภูมิสูงขึ้น
4.3 C คือ เกลือของโลหะ D คือ แกสไฮโดรเจน
168
5. ปฏิกิริยาคายความรอน เพราะการเผาถานเปน
ปฏิกิริยาการรวมตัวของเชื้อเพลิง คือ ถานกับ
ออกซิเจน ทําใหเกิดการลุกไหมพรอมกับคาย
พลังงานออกมาในรูปของพลังงานความรอน
สงผลใหสิ่งแวดลอมมีอุณหภูมิสูงขึ้น

T180
นํา สอน สรุป ประเมิน

6. 6.1 การเผาไหมแบบสมบูรณ เปนการเผา


ไหมของสารประกอบไฮโดรคารบอนใน
สภาวะที่ มี แ ก ส ออกซิ เ จนเพี ย งพอ
หลังเกิดปฏิกิริยาเคมีจะไดแกสคารบอน
6. จงอธิบายการเกิดปฏิกิริยาที่ก�าหนดให้ พร้อมยกตัวอย่างประกอบ ไดออกไซด นํ้ า และพลั ง งานเป น
6.1 ปฏิกิริยาการเผาไหม้แบบสมบูรณ์ ผลิตภัณฑ เชน การเผาหญา การเผาถาน
6.2 ปฏิกิริยาของกรดกับเบส 6.2 ปฏิกิริยาระหวางกรดกับเบส หรือเรียกวา
6.3 ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ ปฏิกิริยาการสะเทิน หลังเกิดปฏิกิริยาจะ
6.4 ปฏิกิริยาของกรดกับสารประกอบคาร์บอเนต ไดเกลือของโลหะและนํ้าเปนผลิตภัณฑ
6.5 ปฏิกิริยาของเบสกับโลหะบางชนิด บางปฏิกิริยาจะไดผลิตภัณฑเพียงเกลือ
7. หากกล่าวว่า “ปฏิกิริยาเคมีก่อให้เกิดผลเสียต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม” นักเรียนเห็นด้วยกับข้อความข้างต้น ของโลหะ เชน การผสมกรดไฮโดรคลอ-
หรือไม่ เพราะเหตุใด ริกกับโซเดียมไฮดรอกไซด
6.3 ปฏิ กิ ริ ย าของกรดกั บ โลหะ กรดจะ
8. เพราะเหตุใดต้องตรวจสอบการท�างานของเครื่องยนต์ของรถยนต์เป็นระยะ ๆ
กั ด กร อ นโลหะ ทํ า ให เ กิ ด ฟองแก ส
9. ฝนกรดเกิดขึ้นได้อย่างไร ส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมอย่างไร และนักเรียนมีวิธีป้องกันการเกิด ไฮโดรเจนกับเกลือของโลหะ เชน จุม เหล็ก
ฝนกรดอย่างไร ลงในกรดไฮโดรคลอริก
10. จงยกตัวอย่างปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ�าวันที่นักเรียนรู้จักมา 3 ชนิด พร้อมทั้งบอกประโยชน์หรือโทษของ
6.4 ปฏิ กิ ริ ย าของกรดกั บ สารประกอบ
ปฏิกิริยาเคมีดังกล่าว คาร บ อเนต หลั ง เกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าเคมี
จะไดผลิตภัณฑเปนเกลือของโลหะ แกส
คารบอนไดออกไซด และนํา้ เชน ปฏิกริ ยิ า
เคมีระหวางฝนกรดกับภูเขาหินปูน
7. ไมเห็นดวย เพราะปฏิกิริยาเคมีกอใหเกิดทั้ง
ผลดีและผลเสียตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม
เชน ปฏิกิริยาการเผาไหมเชื้อเพลิง ทําใหเกิด
พลังงานความรอนซึ่งเปนแหลงพลังงานใหกับ
อุตสาหกรรมการผลิต แตในทางกลับกันผลเสีย
จากการเผาไหมเชื้อเพลิงกอใหเกิดแกสเรือน
กระจก ทําใหเกิดภาวะโลกรอน และกอใหเกิด
มลพิษทางอากาศ สงผลเสียตอสิ่งมีชีวิต

ปฏิกิริยาเคมี 169

8. รถยนตที่ถูกใชเปนเวลานาน ทําใหเครื่องยนตชํารุด ระบบจายนํ้ามันและอากาศทํางานไดไมเต็มประสิทธิภาพ กอใหเกิดการเผาไหมแบบไมสมบูรณ


กอใหเกิดเขมาขนาดเล็กสีดําปนกับแกสคารบอนมอนอกไซดซึ่งเปนแกสพิษ ทําใหมองเห็นเปนควันดําพนออกมาจากทอไอเสีย ซึ่งสงผลเสียตอสุขภาพ
ของสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม
9. ฝนกรดเกิดจากปฏิกริ ยิ าเคมีระหวางนํา้ ฝนกับออกไซดของไนโตรเจนหรือออกไซดของซัลเฟอร ซึง่ สวนใหญเกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม ซึง่ ฝนกรดทีต่ กลงมา
จะกอใหเกิดการระคายเคืองตอระบบทางเดินหายใจและระบบผิวหนัง มีฤทธิ์กัดกรอนทําลายสิ่งปลูกสราง อาคาร บานเรือน รวมทั้งผลผลิตทางการเกษตร
ดังนั้น วิธีปองกัน คือ รวมกันรณรงคไมใหโรงงานอุตสาหกรรมปลอยแกสพิษสูบรรยากาศ และสงเสริมใหโรงงานอุตสาหกรรมมีการควบคุมและกําจัด
ของเสียซึ่งเกิดจากกระบวนการผลิตอยางถูกวิธีและไดมาตรฐาน
10. ขึ้นอยูกับคําตอบของนักเรียนและดุลยพินิจของครู ตัวอยางคําตอบ เชน ปฏิกิริยาการเผาไหม ขอดี คือ เปนแหลงพลังงานในอุตสาหกรรมการผลิต
ขอเสีย คือ กอใหเกิดมลพิษทางอากาศ ปฏิกิริยาการสะเทิน ขอดี คือ ใชปรับสภาพนํ้าเสียกอนปลอยสูธรรมชาติ ปฏิกิริยาสนิมเหล็ก ขอเสีย คือ กอใหเกิด
การผุพังของวัสดุหรือโครงสรางที่มีองคประกอบที่เปนเหล็ก ซึ่งอาจทําอันตรายตอสิ่งมีชีวิตเมื่อวัสดุหรือโครงสรางพังทลายลง

T181
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวทางการจัดทํากิจกรรม
STEM Activity
ครูแนะนําเกี่ยวกับวิธีประดิษฐอุปกรณเคลื่อน
S T EM
ยายไขเตาทะเล และภายในอุปกรณตองมีอุณหภูมิ
Activity
ที่เหมาะสมกับไขเตาทะเล ดังนี้ อุปกรณ์เคลื่อนย้ายไข่เต่าทะเล
การเลือกอุปกรณทจี่ ะนํามาประดิษฐอปุ กรณเคลือ่ น เต่าทะเลจัดเป็นสัตว์หายากและใกล้สูญพันธุ์ชนิดหนึ่ง เนื่องจากมี
ยายไขเตาทะเล มีหลักการเลือก ดังนี้ การบุกรุกท�าลายแหล่งขยายพันธุข์ องเต่าทะเล โดยปกติแม่เต่าทะเลจะขึน้ มา
• ควรเลือกวัสดุทมี่ คี วามแข็งแรง มีนาํ้ หนักเบา วางไข่บนหาดทรายทีเ่ งียบสงบในช่วงกลางคืน ซึง่ จะวางไข่เป็นจ�านวน 70-150
ฟอง (ขึ้นอยู่กับชนิดของเต่าทะเล) และจะฟักตัวโดยอาศัยความร้อนจาก
สามารถรักษาอุณหภูมิภายในใหอยูในชวง แสงอาทิตย์ทอี่ ณุ หภูมใิ นช่วง 25-34 องศาเซลเซียส และความชืน้ ทีเ่ หมาะสม
25-34 องศาเซลเซียส เปนเวลา 30 นาทีได ใต้พนื้ ทราย โดยใช้เวลาในการฟักตัวประมาณ 50-55 วัน
และปองกันการกระแทกได เชน โฟม ไข่เต่าทะเล
ที่มา : คลังภาพ อจท.
• กอนเลือกสารเคมี ควรพิจารณาวา ภายใน
อุปกรณควรมีอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง สถานการณ์
หากตองการใหภายในอุปกรณมีอุณหภูมิที่ เด็กชายนนท์ไปเที่ยวทะเลกับครอบครัวในช่วงวันหยุด เช้าวันรุ่งขึ้นเด็กชายนนท์พบไข่เต่าทะเลในหลุมทราย
ลดลง ควรเลือกสารเคมีที่เกิดปฏิกิริยาเคมี ที่ไม่ถูกฝังกลบบริเวณชายหาด ซึ่งอาจท�าให้ตัวอ่อนไม่เจริญเติบโตหรือถูกสัตว์ชนิดอื่นกินเป็นอาหาร เด็กชายนนท์
จึงพยายามหาวิธเี คลือ่ นย้ายไข่เต่าทะเลไปยังศูนย์อนุรกั ษ์พนั ธุเ์ ต่าทะเล ซึง่ ต้องใช้เวลาเดินทางประมาณ 20-30 นาที
ประเภทดูดความรอน แตถาหากตองการให จากสถานการณ์ข้างต้น เด็กชายนนท์จะออกแบบอุปกรณ์เคลื่อนย้ายไข่เต่าทะเลได้อย่างไร
ภายในอุปกรณมอี ณ ุ หภูมสิ งู ขึน้ ควรเลือกสาร
เคมีทเี่ กิดปฏิกริ ยิ าเคมีประเภทคายความรอน ข้อจ�ากัด เชื่อมโยงสู่ ไอเดีย
อุปกรณ์เคลื่อนย้ายไข่เต่าทะเลต้องมีสมบัติ ดังนี้ Science เมือ่ ละลายสารเคมีในน�า้ จะเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี
การเลือกประเภทของปฏิกิริยาและสารเคมีเพื่อให • มีขนาดเหมาะสม น�้าหนักเบา และป้องกันการกระแทกได้ ระหว่างสารเคมีกบั น�า้ ท�าให้สารละลายทีไ่ ด้
ภายในอุปกรณมีอุณหภูมิที่เหมาะสม • อปุ กรณ์เคลือ่ นย้ายสามารถรักษาอุณหภูมใิ ห้อยูใ่ นช่วง 25-34 มีอณุ หภูมเิ ปลีย่ นแปลงไป ซึง่ อาจมีอณุ หภูมิ
ลดลงหรือสูงขึ้น และการเลือกใช้วัสดุที่
• ครูอาจยกตัวอยางปฏิกิริยาเคมีประเภทดูด องศาเซลเซียส เป็นเวลา 30 นาทีได้ เหมาะสมในการออกแบบอุปกรณ์เคลือ่ นย้าย
ความรอน เชน • อุปกรณ์เคลือ่ นย้ายสามารถบรรจุไข่เต่าทะเลได้อย่างน้อย 10 ฟอง ไข่เต่าทะเล
- ปฏิ กิ ริ ย าระหว า งกรดไฮโดรคลอริ ก กั บ วัสดุอปุ กรณ์ Technology
อุปกรณ์เคลื่อนย้ายไข่เต่าทะเลที่มีอุณหภูมิ
โซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต 1. สารเคมี เช่น โซเดียมไบคาร์บอเนต โซเดียมไฮดรอกไซด์ เหมาะสม
- ปฏิกิริยาระหวางแคลเซียมไฮดรอกไซดกับ แคลเซียมคลอไรด์ โซเดียมคลอไรด์ Engineering
แอมโมเนียมคลอไรด 2. วัสดุที่ใช้ท�าอุปกรณ์ในการเคลื่อนย้าย เช่น กระดาษลัง ไม้ การออกแบบและประดิษฐ์อุปกรณ์เคลื่อน
พลาสติก โฟม เทปใส เชือก กรรไกร คัตเตอร์ ย้ายไข่เต่าทะเล
- ปฏิกิริยาการรวมตัวระหวางแกสไนโตรเจน
กับแกสออกซิเจน
3. วสั ดุปอ้ งกันการกระแทก เช่น กระดาษหนังสือพิมพ์ กระดาษ Mathematics
ทิชชู ส�าลี รูปทรงเรขาคณิตที่เลือกใช้ในการออกแบบ
• ครูอาจยกตัวอยางปฏิกิริยาเคมีประเภทคาย 4. น�้า 7. เทอร์มอมิเตอร์ อุปกรณ์เคลื่อนย้ายไข่เต่าทะเล และการ
5. ถ้วยแก้ว 8. ถุงซิปล็อก ค�านวณน�้าหนักโดยรวมของไข่เต่าทะเลที่
ความรอน เชน ถูกเคลื่อนย้ายในแต่ละครั้ง
6. กระบอกตวง 9. ช้อนตักสาร
- ปฏิกิริยาระหวางนํ้ากับโซดาไฟ
- ปฏิกริ ยิ าระหวางโลหะกับกรด หรือปฏิกริ ยิ า 170
ระหวางโลหะกับเบส
- ปฏิกิริยาระหวางกรดกับเบส หรือปฏิกิริยา
การสะเทิน

T182
นํา สอน สรุป ประเมิน

อัตราสวนของสารเคมีที่นํามาผสม
Sci���� Tec���l��� En�i���ri�� M�t���at���
ครูอาจแนะนําวา อัตราสวนของสารเคมีที่นํา
มาผสมมีผลตออุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไป ดังนั้น
จึ ง ควรคํ า นึ ง ถึ ง อั ต ราส ว นของสารเคมี ที่ นํ า มา
1 ระบุปญหา
วิเคราะหสถานการณ และระบุแนวทาง
ผสม เพื่อใหภายในอุปกรณเคลื่อนยายไขเตาทะเล
การแกปญ หา เพือ่ เปนแนวทางในการ มีอุณหภูมิที่เหมาะสม
สรางสรรคชิ้นงาน
ตัวอยางเชน การผสมโซเดียมไบคารบอเนตและ
6 นําเสนอวิธีการแกปญหา 2 รวบรวมขอมูลและแนวคิด
แคลเซียมคลอไรดในปริมาณตางๆ
รวบรวมแนวคิดที่ไดและปญหาทีพ่ บ สืบคนความรูและรวบรวมขอมูล
ในกิ จ กรรม เพื่ อ นํ า เสนอวิ ธี การ ทีน่ าํ ไปแกปญ หา แลวสรุปขอมูล ปริมาณโซเดียมไบคารบอเนต 2.5 ml
แกปญหา ความรูที่ไดมาโดยสังเขป ปริมาณแคลเซียมคลอไรด 0.625 ml
ปริมาณนํ้า 15 ml
อุณหภูมิเริ่มตนของนํ้า 40 องศาเซลเซียส
ขั้นตอน อุณหภูมิเมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุด 32 องศาเซลเซียส
การทํากิจกรรม (อุ ณ หภู มิ ข องนํ้ า ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป จะขึ้ น อยู  กั บ
อัตราสวนของสารที่นํามาผสม)

5 ทดสอบ ประเมินผล
และปรับปรุงแกไข 3 ออกแบบวิธีการแกปญหา

บันทึกรายละเอียดของชิ้นงาน แลว คิดวิธกี ารแกปญ หาและออกแบบ


ทดสอบเพือ่ หาแนวทางการปรับปรุง ชิ้นงานตามแนวทางที่เตรียมไว
ชิ้นงาน
4 วางแผนและดําเนินการ
แกปญหา
รวมกันวางแผนการสรางสรรคชนิ้ งาน
อยางเปนลําดับขัน้ ตอน แลวตรวจสอบ
การดําเนินการ หากไมตรงตามแผน
การประเมินผลงาน จะมีวิธีการแกไขอยางไร

เกณฑการประเมิน ระดับคุณภาพ
1 2 3 4 5
• มีขนาดเหมาะสม นํ้าหนักเบา และปองกันการกระแทกได

• สามารถรักษาอุณหภูมิใหอยูในชวง 25-34 องศาเซลเซียส


เปนเวลา 30 นาทีได
• สามารถบรรจุไขเตาทะเลไดอยางนอย 10 ฟอง

171

T183
บรรณานุ ก รม
ณัฐชยา ค�ำรังษี และเอกรัฐ วงศ์สวัสดิ์. (2561). หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ.
กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์.
พงศธร นันทธเนศ และเปรมวดี จิตย์อารีย์. (2562). หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์กายภาพ 1
(เคมี). กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์.
วรรณทิพา รอดแรงค้า. (2544). การสอนวิทยาศาสตร์ที่เน้นทักษะกระบวนการ. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร :
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ.
ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์
การเกษตรแห่งประเทศไทย.
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (ม.ป.ป.). คู่มือการใช้หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ส�ำหรับ
หลักสูตรอนาคต ระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
Brady, J. E., Russell, J. W. and Uolum, J. R. (2000). Chemistry: Matter and It’ s Change. New York:
John Wiley & Sons.
Brooker, R. J. (2015). Genetics: Analysis & Principles. (5th ed). New York: McGraw-Hill.
Callister, W. D. Jr. and Rethwisch, D. G. (2018). Materials science and engineering: an introduction.
(10th ed) New York: John Wiley & Sons.
Cambell, N. A. et al. (2018). Biology: A global approach. (11th ed). New York: Pearson Education.
Focus Smart Plus Science Textbook Mathayom 3. (2019). Bangkok: Pelangi.
Masterton, W. L. and Hurley, C. N. (2004). Chemistry: Principles and Reactions. (5th ed). Australia:
Brooks/Cole-Thomson Learning.
Miller, G. T. and Spoolman, S. E. (2013). Environmental Science. (14th ed). Pacific Grove: n.p.
Tay, B. et al. (2013). Basic Chemistry. Singapore: Pearson Education.

T184

You might also like