You are on page 1of 47

คู่มือครู 01 02

รายวิชาพื้นฐาน
06 03

วิทยาศาสตร์
กายภาพ 1 (เคมี) ม.5
05
04

60
่าง ปรงุ ’

อ ับ
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ตัว รปร
ูต
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ักส
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หล

แจ
เฉ
กฟ
สร้างอนาคตเด็กไทย
พา
ะค
รี
รูผ
ู้สอ
ด้วยนวัตกรรมการเรียนรูร
้ ะดับโลก น

ื ครู อจท.
่ อ
คูม
คู่มือครู
M;S*LYO_EÿD;ETDIþ-T@Yh;2T;Iþ9DTJTL7E

สือเรียน
ใช้ประกอบการสอนคู่กับหนัง

เพิ่ม คำแนะนำการใช้
˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹ Êѧ¤ÁÈÖ¡ÉÒ ÈÒÊ¹Ò áÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ ÀÙÁÔÈÒʵÏ Á.4-6

เพิ่ม คำอธิบายรายวิชา

เพิ่ม Pedagogy

เพิ่ม Teacher Guide Overview

เพิ่ม Chapter Overview


iew
Chapter Concept Overv
Iþ9DTJTL7E$TDBT@®¥_'CW¦C«²

เพิ่ม
ว O-NET
เพิ่ม ข้อสอบเน้นการคิด / ข้อสอบแน

กิจกรรม 21 Century Skills


st

เพิ่ม

M;S*LYO_EÿD;ETDIþ-T@Yh;2T;Iþ9DTJTL7E

วิทยาศาสตร์
ม. 5
กายภาพ 1 (เคมี)
@*J:E

-Sh;CS:DCJX$KT=9Wg²
_=ECI6W

บร. วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ม.4


7TCCT7E2T;$TE_EÿD;E[`GR7SI-ÿhIS6
บริษทั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด
ISBN : 978 - 616 - 203 - 777 - 1
$GZCLTER$TE_EÿD;E[Iþ9DTJTL7E¥,<S<=ES<=EZ*@«J«2560¦
142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200
บริ
ษ/แฟกซ์
โทร.
142

ั อักษรเจริ ญทัศ999
. 02 6222 น์ อจท.
ถนนตะนาว เขตพระนคร
www.aksorn.com
(อัตจำกั
โนมัตดิ 20 คูส
Aksornกรุ
่ าย)
งเทพมหานคร 10200
ACT 9 786162 037771
7TCMGS$L[7E`$;$GT*$TEJX$KT%Sh;@Yh;2T;@Z9:JS$ET-¯²²® 00.-
โทร. /แฟกซ์. 02 6222 999 (อัตโนมัติ 20 คูส
่ าย) www.aksorn.com 82.-
@*J:E;S;9:_;J_=ECI6W+þ7OTEÿD

>> ราคาเล่มนักเรียนโปรดดูจากใบสัง
่ ซือ
้ ของ อจท. ภาพปกนีม
้ ข
ี นาดเท่ากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน
คู่มือครู บร. ภูมิศาสตร์ ม.4-6

บริษทั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด


142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200
8 858649 138187
โทร. /แฟกซ์. 02 6222 999 (อัตโนมัติ 20 คูส
่ าย)
www.aksorn.com Aksorn ACT
www.aksorn.com 350.- ผู้เรียบเรียงคู่มือครู ทวิภัทร์ ไพศาลชัชวาล พรทิพย์ ทับทิมทอง
ราคานี้ เป็นของฉบับคูม
่ อ
ื ครูเท่านัน

ิ่ม
เพ คําแนะนําการใช้ ช่วยสร้างความเข้าใจ เพื่อใช้คู่มือครู Chapter Overview ช่ ว ยสร้ า งความเข้ า ใจ และ
ได้อย่างถูกต้องและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด เห็ น ภาพรวมในการออกแบบแผนการจั ด การเรี ย นรู ้
แต่ละหน่วย
คํ า อธิ บ ายรายวิ ช า แสดงขอบข่ า ยเนื้ อ หาสาระของ
รายวิชา ซึ่งครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดตาม Chapter Concept Overview ช่วยให้เห็นภาพรวม
ที่หลักสูตรกําหนด Concept และเนื้อหาสําคัญของหน่วยการเรียนรู้

Pedagogy ช่วยสร้างความเข้าใจในกระบวนการออกแบบ ข้อสอบเน้นการคิด/ข้อสอบแนว O-NET เพื่อเตรียม


การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ได้อย่าง ความพร้อมของผู้เรียนสู่การสอบในระดับต่าง ๆ
มีประสิทธิภาพ
กิจกรรม 21st Century Skills กิจกรรมที่จะช่วย
Teacher Guide Overview ช่วยให้เห็นภาพรวมของ พัฒนาผูเ้ รียนให้มท
ี ก
ั ษะทีจ
่ าํ เป็นสําหรับการเรียนรูแ
้ ละการ
การจัดการเรียนการสอนทัง้ หมดของรายวิชา ก่อนทีจ
่ ะลงมือ
ดํารงชีวิตในโลกแห่งศตวรรษที่ 21
สอนจริง

100
คู่มือครู

Teacher Script

วิทยำศำสตรกำยภำพ 1
(เคมี) ม. 5
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5
ตามผลการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ผู้เรียบเรียงหนังสือเรียน ผู้ตรวจหนังสือเรียน บรรณาธิการหนังสือเรียน


นายพงศธร นันทธเนศ รศ.ดร. นวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์ นางสาวจันจิรา รัตนนันทเดช
นางสาวเปรมวดี จิตอารีย์ ผศ. สันติ ศรีประเสริฐ
ดร. ยุทธพันธุ์ พงศ์บุญชู

ผู้เรียบเรียงคู่มือครู บรรณาธิการคู่มือครู
นางสาวทวิภัทร์ ไพศาลชัชวาล นางสาวจันจิรา รัตนนันทเดช
นางสาวพรทิพย์ ทับทิมทอง นายอติพล สว่างอารมย์

พิมพครั้งที่ 2
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
รหัสสินคา 3448023

101
ค� ำ แนะน� ำ กำรใช้
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์กายภาพ 1
(เคมี) ม.5 จัดท�าขึ้นส�าหรับให้ครูผู้สอนใช้เป็นแนวทางวางแผนการ
จัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการ
ประกันคุณภาพผู้เรียนตามนโยบายของส�านักงานคณะกรรมการการ
ศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)

ิ่ม คําแนะนําการใช ชวยสรางความเขาใจ เพื่อใชคูมือครูได


เพ นํา นํา สอน สรุป ประเมิน
โซน 1
อยางถูกตองและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
1. ครูดาํ เนินการทดสอบกอนเรียน โดยใหนกั เรียนทํา
หนวยการเรียนรูที่ 1 Q
ิ่ม คําอธิบายรายวิชา แสดงขอบขายเนื้อหาสาระของรายวิชา ¶ŒÒ¹Ñ¡àÃÕ¹¤Œ¹¾º
เพ
แบบทดสอบ จํานวน 10 ขอ จากนัน้ ครูใหนกั เรียน
ทุกคนชวยกันตอบคําถาม Understanding â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁ ¸ÒµØãËÁ‹ ¨Ð¨Ñ´àÃÕ§¸ÒµØ¹Õé
ŧ㹵ÒÃÒ§¸ÒµØ
ซึ่งครอบคลุมผลการเรียนรูตามที่หลักสูตรกําหนด Check เพื่อตรวจสอบความพรอมและความรู
พื้นฐานของนักเรียน
2. ครูนําเขาสูบทเรียนโดยการเปดประเด็นและ
áÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 䴌͋ҧäÃ

ชักชวนนักเรียนใหรวมกันอภิปราย โดยใช ตัวชี้วัด


ิ่ม
เพ Pedagogy ชวยสรางความเขาใจในกระบวนการออกแบบ
คําถามดังตอไปนี้ ว 2.1 ม.5/1 ม.5/2 ม.5/3 ม.5/4
• อนุภาคของสารหมายถึงอะไร ม.5/5 ม.5/6 ม.5/7
(แนวตอบ โมเลกุล อะตอม และไอออน)
การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ไดอยางมี • อนุภาคที่เล็กที่สุดของสารเรียกวาอะไร
(แนวตอบ อะตอม)
ประสิทธิภาพ • อนุภาคที่เล็กที่สุดนี้มีสวนประกอบแยกยอย
ไดอีกหรือไม
(แนวตอบ แยกตอไปอีกไมได)
ิ่ม Teacher Guide Overview ชวยใหเห็นภาพรวมของการ 3. นักเรียนรวมกันตอบคําถาม เพื่อเชื่อมโยงไปสู
เพ การเรียนรูเรื่อง โครงสรางอะตอม
4. ครูถามคําถาม Big Question จากหนังสือเรียน
จั ด การเรี ย นการสอนทั้ ง หมดของรายวิ ช าก อ นที่ จ ะลงมื อ วา ถานักเรียนคนพบธาตุใหม จะจัดเรียงธาตุ
นี้ลงในตารางธาตุไดอยางไร ครูเปดโอกาสให
สอนจริง นักเรียนไดแสดงความคิดเห็นโดยไมเนนถูกผิด
5. ครูใหนกั เรียนรวมแสดงความคิดเห็น ซึง่ นักเรียน U n de r s t a n di n g
จะไดคาํ ตอบทีถ่ กู ตองจากการเรียนตอไป และ Check
ิ่ม
เพ Chapter Overview ชวยสรางความเขาใจและเห็นภาพรวม
มอบหมายใหนักเรียนทุกคนไปศึกษาความรู ใหนักเรียนพิจารณาขอความตามความเขาใจของนักเรียนวาถูกหรือผิด แลวบันทึกลงในสมุด
ถูก / ผิด
ลวงหนาเกี่ยวกับแบบจําลองอะตอม 1. แบบจําลองอะตอมที่ใชอยูในปจจุบันคือแบบจําลองอะตอมกลุมหมอก

ในการออกแบบแผนการจัดการเรียนรูแตละหนวย แนวตอบ Big Question 2. อะตอมของธาตุประกอบดวย โปรตอน อิเล็กตรอน และนิวตรอน

ุด
สม
ใน
3. ธาตุชนิดเดียวกันจะมีจํานวนนิวตรอนเทากัน

ลง
การจัดเรียงธาตุลงในตารางธาตุอยูบ นพืน้ ฐาน

ทึ ก
บั น
ของเลขอะตอม (จํานวนโปรตอนในนิวเคลียส) การ 4. ธาตุอโลหะจะอยูทางฝงซายของตารางธาตุ
หน
ังส เน
ือเล ื้อห
มน าอา

จัดเรียงอิเล็กตรอน และสมบัติทางเคมี 5. ธาตุโลหะมีจุดเดือด จุดหลอมเหลว และความหนาแนนสูง


ี้อย จม

ิ่ม Chapter Concept Overview ช ว ยให เ ห็ น ภาพรวม


ู ในร ีกา
ะหว รปร

เพ
าง ับป
สง รุง

แนวตอบ Understanding
ตร แก
วจ  ไข
พิจ
าร

1. ถูก 2. ถูก 3. ผิด 4.ผิด 5. ถูก


Concept และเนื้อหาสําคัญของหนวยการเรียนรู
เกร็ดแนะครู
การเรียนการสอน เรื่อง โครงสรางอะตอมและตารางธาตุ ครูควรนําภาพ
ิ่ม ขอสอบเนนการคิด/ขอสอบแนว O-NET เพื่อเตรียม แบบจําลองอะตอมของนักวิทยาศาสตรแตละทานมาใหนักเรียนพิจารณา และ
เพ ใหนักเรียนเปรียบเทียบวาแบบจําลองอะตอมของนักวิทยาศาสตรทานใดที่มี
ลักษณะใกลเคียงกับอะตอมในปจจุบันมากที่สุด และในเรื่องตารางธาตุครูควร
ความพรอมของผูเรียนสูการสอบในระดับตาง ๆ แบงธาตุออกเปนกลุมๆ (ดวยเกณฑที่กําหนดรวมกัน) เพื่อใหงายตอการจดจํา
และเรียนรู

โซน 3
ิ่ม st
เพ กิจกรรม 21 Century Skills กิจกรรมที่จะชวยพัฒนา
ผูเรียนใหมีทักษะที่จําเปนสําหรับการเรียนรูและการดํารงชีวิต โซน 2
ในโลกแหงศตวรรษที่ 21
T6

โซน 1 ช่วยครูจัด โซน 2 ช่วยครูเตรียมสอน


กำรเรียนกำรสอน
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ครูผู้สอน ประกอบด้วยองค์ประกอบต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ส�าหรับครู
โดยแนะน�าขั้นตอนการสอน และการจัดกิจกรรมอย่างละเอียด เพื่อน�าไปประยุกต์ใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน
เพื่อให้นักเรียนบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามผลการเรียนรู้ เกร็ดแนะครู
ความรู้เสริมส�าหรับครู ข้อเสนอแนะ ข้อสังเกต แนวทางการจัด
น�ำ สอน สรุป ประเมิน
กิจกรรมและอื่น ๆ เพื่อประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอน
นักเรียนควรรู
ความรู ้ เ พิ่ ม เติ ม จากเนื้ อ หา ส� า หรั บ อธิ บ ายเสริ ม เพิ่ ม เติ ม ให้
กับนักเรียน

102
โดยใช้ หนังสือเรียนวิทยาศาสตรกายภาพ 1 (เคมี) ม.5 และแบบฝกหัดวิทยาศาสตรกายภาพ 1 (เคมี) ม.5 ของบริษัท
อักษรเจริญทัศน์ อจท. จ�ากัด เป็นสือ่ หลัก (Core Materials) ประกอบการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรู ้ เพือ่ ให้สอดคล้อง
กับผลการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ซึ่งคู่มือครูเล่มนี้มีองค์ประกอบที่ง่ายต่อการใช้งาน ดังนี้

โซน 1 นํา สอน สรุป ประเมิน


โซน 3 ช่วยครูเตรียมนักเรียน
ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁ Prior Knowledge 1. ครูถามคําถาม Prior knowledge จากหนังสือ ประกอบด้ ว ยแนวทางส� า หรั บ การจั ด กิ จ กรรมและ
เรียนวา อนุภาคที่เล็กที่สุดของธาตุคืออะไร
ดิโมคริตสุ (Democritus) นักปรัชญากรีก กลาววา “เมือ่ นํา ͹ØÀÒ¤·Õàè Åç¡·ÕÊè ´Ø
สสารมาแบงยอยลงไปเรือ่ ย ๆ จะไดอนุภาคทีม่ ขี นาดเล็กมาก และ
ไมสามารถแบงยอยออกไปไดอีก โดยเรียกอนุภาคนี้วาอะตอม”
¢Í§¸ÒµØ¤Í× ÍÐäà เพื่อเปนการทบทวนความรูเดิมจากคาบเรียน
ที่ผานมา
เสนอแนะแนวข้อสอบ เพือ่ อ�านวยความสะดวกให้แก่ครูผสู้ อน
เมื่อความรูทางวิ
1 ท ยาศาสตร เ จริ ญ ก า วหน า มากขึ น
้ ทํ า ให แ นวคิ ด 2. ครูถามนักเรียนตอไปวา อะตอมที่มีขนาดเล็ก
ของดิโมคริตุสไมสามารถอธิบายเหตุการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับสสารได นี้ เราจะสามารถมองเห็นอะตอมดวยตาเปลา
1.1 Ẻ¨íÒÅͧÍеÍÁ หรือไม (เปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดงความ
คิดเห็น)
กิจกรรม 21st Century Skills
นั ก วิ ท ยาศาสตร ห ลายท า นได พ ยายามศึ ก ษาว า ลั ก ษณะโครงสร า งภายในอะตอมนั้ น
เปนอยางไร โดยใชวิธีการตาง ๆ มากมายตั้งแตในอดีตจนถึงปจจุบัน จนกระทั่งเกิดแบบจําลอง
อะตอมตามแนวคิดและการทดลองของนักวิทยาศาสตรหลาย ๆ ทานขึ้นมา ซึ่งสามารถสรุป
3. ครูอธิบายคําตอบจากคําถามเพื่อใหนักเรียน
ได เ ข า ใจ โดยให ค วามรู  จ ากความเชื่ อ ของ กิ จ กรรมที่ ใ ห้ นั ก เรี ย นได้ ป ระยุ ก ต์ ใ ช้ ความรู ้ ส ร้ า งชิ้ น งาน
แบบจําลองอะตอมที่มีการพัฒนาจนกลายมาเปนแบบจําลองอะตอมที่ใชกันอยูในปจจุบันได ดังนี้ ดิโมคริตุส นักปรัชญาชาวกรีก ซึ่งกลาวไววา
1. แบบจําลองอะตอมของดอลตัน จอหน ดอลตัน (John Dalton, พ.ศ. 2308-2387)
นั ก วิ ท ยาศาสตร ช าวอั ง กฤษ เป น คนแรกที่ นํ า เสนอแนวคิ ด
“สิ่งของตางๆ ประกอบดวยอนุภาคที่มีขนาด
เล็กมาก และถาแบงอนุภาคใหมีขนาดเล็กลง
หรื อ ท� า กิ จ กรรมรวบยอดเพื่ อ ให้ เ กิ ด ทั ก ษะที่ จ� า เป็ น ใน
เกี่ยวกับอะตอม เพื่อใชอธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของสาร
กอนและหลังทําปฏิกิริยา รวมทั้งอัตราสวนโดยมวลของธาตุที่
เรื่อยๆ จนไมสามารถแบงตอไปไดอีก อนุภาค
ที่มีขนาดเล็กที่สุด เรียกวา อะตอม ซึ่งไม
ศตวรรษที่ 21
รวมกันเปนสารประกอบ ซึ่งสามารถสรุปได ดังนี้ สามารถมองเห็นดวยตาเปลาได” จากนั้นครู
• ธาตุแตละชนิดประกอบดวยอนุภาคทีเ่ ล็กทีส่ ดุ เรียกวา เปดโอกาสใหนักเรียนไดซักถามเพิ่มเติม
อะตอม ซึ่งอะตอมไมสามารถแยกออกไดอีก และไมสามารถ
ถูกสรางขึ้น หรือทําลายไดในระหวางเกิดปฏิกิริยาเคมี ภาพที่ 1.1 แบบจําลองอะตอม
ของดอลตัน
4. นักเรียนรวมกันตอบคําถามและแสดงความคิด-
เห็นเกี่ยวกับคําตอบของคําถาม เพื่อเชื่อมโยง
ขอสอบเนนการคิด
• อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีมวลและสมบัติตาง ๆ
เหมือนกัน สวนอะตอมของธาตุตางชนิดกันจะมีมวลและสมบัติแตกตางกัน
ที่มา : คลังภาพ อจท.

• สารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตุตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป มารวมตัวกันดวยพันธะเคมี


ไปสูการเรียนรูเรื่อง โครงสรางอะตอม
ตัวอย่างข้อสอบที่มุ่งเน้นการคิด มีทั้งปรนัย-อัตนัย พร้อม
โดยมีอัตราสวนของจํานวนอะตอมเปนเลขลงตัวอยางตํ่า และ
อะตอมของธาตุตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป อาจรวมตัวเกิดเปนสาร เฉลยอย่างละเอียด
ประกอบดวยอัตราสวนมากกวา 1 แบบ ซึง่ ทําใหเกิดสารประกอบ
ไดมากกวา 1 ชนิด
ทฤษฎีอะตอมของดอลตันใชอธิบายลักษณะและสมบัตขิ อง
อะตอมไดเพียงระดับหนึ่ง ซึ่งตอมานักวิทยาศาสตรคนพบขอมูล ขอสอบเนนการคิดแนว O-NET
บางประการทีไ่ มสอดคลองกับทฤษฎีอะตอมของดอลตัน เชน พบวา
ตัวอย่างข้อสอบที่มุ่งเน้นการคิดวิเคราะห์ และสอดคล้องกับ


ก ไข าร
ุงแ พิจ

ภาพที่ 1.2 จอหน ดอลตัน อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันอาจมีมวลแตกตางกันได เปนตน


ปร วจ
รับ ตร
รป สง

ที่มา : คลังภาพ อจท.


ีกา าง
จม ะหว

แนวตอบ Prior Knowledge


อา นร
หา ี้อยู ใ

â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 3
แนวข้อสอบ O-NET มีทั้งปรนัย-อัตนัย พร้อมเฉลยอย่าง
เนื้อ มน
ือเล

อะตอม
ังส
หน

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู


ละเอียด
ขอใดกลาวไดถูกตอง 1 ดิโมคริตุส ใชคําวา “อะตอม" ซึ่งเปนคํามาจากภาษากรีก แปลวา
ก. แบบจําลองอะตอม คือ มโนภาพที่สรางขึ้นโดยอาศัยขอมูล
การทดลอง ซึ่งอาจถูกหรือผิดก็ได
สิ่งที่เล็กที่สุดสําหรับเรียกหนวยที่เล็กที่สุดของสสารที่ไมสามารถแบงแยกตอ
ไปไดอีก โดยเขาไดพยายามศึกษาเกี่ยวกับวัตถุที่มีขนาดเล็ก และมีแนวคิด กิจกรรมทาทาย
ข. ดอลตัน เสนอแนวคิดวาอะตอมไมไดเล็กที่สุด เกี่ยวกับโครงสรางของสสารวา สสารทั้งหลายประกอบดวยอนุภาคที่เล็กที่สุด
ค. ปจจุบันยังใชแนวคิดของดอลตันที่วา อะตอมของธาตุชนิด
เดียวกันจะมีสมบัติเหมือนกัน
ไมสามารถมองเห็นได และไมสามารถแบงแยกใหเล็กลงกวานั้นไดอีก และยัง
ไดขยายความเกี่ยวกับอะตอมอีกวา
เสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรม เพือ่ ต่อยอดส�าหรับนักเรียน
1. ขอ ก. เทานั้น
โซน 3
3. ขอ ก. และ ค.
2. ขอ ข. เทานั้น
4. ขอ ข. และ ค.
1. วัตถุตางๆ ในโลกประกอบดวยอะตอมเพียงชนิดเดียว
2. อะตอมอยูในที่วาง
ทีเ่ รียนรูไ้ ด้อย่างรวดเร็ว และต้องการท้าทายความสามารถใน
5. ขอ ก. ข. และ ค.
(วิเคราะหคําตอบ แบบจําลองอะตอม คือ มโนภาพที่สรางขึ้นมา
ของนักวิทยาศาสตร ซึ่งอาจถูกหรือผิดก็ได ขอ ก. จึงถูก ดอลตัน
3. วัตถุมีลักษณะตางกันเพราะอะตอมเรียงตัวตางกัน
ระดับที่สูงขึ้น
เสนอแนวคิดวา อะตอมมีขนาดเล็กทีส่ ดุ ขอ ข. จึงผิด และปจจุบนั
พบวาอะตอมของธาตุจะมีไอโซโทปของธาตุชนิดเดียวกัน แตเลข
โซน 2
มวลตางกัน ดังนั้น ตอบขอ 1.) กิจกรรมสรางเสริม
T7
เสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรมซ่อมเสริมส�าหรับนักเรียนที่
ควรได้รับการพัฒนาการเรียนรู้

หองปฏิบัติการ (วิทยาศาสตร) แนวทางการวัดและประเมินผล


ค�าอธิบายหรือข้อเสนอแนะสิ่งที่ควรระมัดระวัง หรือข้อควรปฏิบัติ เสนอแนะแนวทางการบรรลุ ผ ลสั มฤทธิ์ ทางการเรี ย นของ
ตามเนื้อหาในบทเรียน นักเรียนตามมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชีว้ ดั ทีห่ ลักสูตรก�าหนด
สื่อ Digital
แนะน�าแหล่งเรียนรู้และแหล่งค้นคว้าจากสื่อ Digital ต่าง ๆ

103
ค� ำ อธิ บ ำยรำยวิ ช ำ
วิทยำศำสตร์กำยภำพ 1 (เคมี) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5 เวลาเรียน 60 ชั่วโมง / ปี

ศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบแบบจ�าลองอะตอมของดอลตัน ทอมสัน รัทเทอร์ฟอร์ด โบร์ และกลุ่มหมอก อนุภาค


มูลฐานของอะตอม สัญลักษณ์นวิ เคลียร์โมเลกุล ไอออน และไอโซโทปของธาตุ วิวฒ ั นาการของการสร้างตารางธาตุและตาราง
ธาตุในปัจจุบนั แนวโน้มสมบัตบิ างประการของธาตุในตารางธาตุตามหมูแ่ ละคาบ ศึกษาการเกิดพันธะเคมีในโมเลกุลของสาร
การเกิดพันธะโคเวเลนต์ ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ การอ่านชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ แรง
ยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์ สมบัติของสารประกอบโคเวเลนต์ การเกิดพันธะไอออนิก การเขียนสูตรและเรียกชื่อ
สารประกอบไอออนิก และสมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก สมบัติของกรด เบส และเกลือ สารละลายอิเล็กโทร-
ไลต์ และนอนอิเล็กโทรไลต์ สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ศึกษาโครงสร้าง สมบัติ ประเภทของพอลิเมอร์ ตัวอย่างพอลิเมอร์
ธรรมชาติและพอลิเมอร์สังเคราะห์ ปฏิกิริยาการสังเคราะห์พอลิเมอร์ รวมทั้งการใช้ประโยชน์ และผลกระทบจากการใช้
ผลิตภัณฑ์ของพอลิเมอร์ ศึกษาและทดลองการเกิดปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ศึกษาและทดลองปัจจัยที่มีผล
ต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ�าวัน และการใช้ประโยชน์ ปฏิกิริยารีดอกซ์ ศึกษาสมบัติของสาร
กัมมันตรังสีและค�านวณครึ่งชีวิตและปริมาณของสารกัมมันตรังสี ประโยชน์และอันตรายของสารกัมมันตรังสี
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การส�ารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย
เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของ
การน�าความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ�าวัน มีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาวิทยาศาสตร์

ตัวชี้วัด
ว 2.1 ม.5/1 ระบุว่าสารเป็นธาตุหรือสารประกอบ และอยู่ในรูปอะตอม โมเลกุล หรือไอออนจากสูตรเคมี
ว 2.1 ม.5/2 เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของแบบจ�าลองอะตอมของโบร์กับแบบจ�าลองอะตอมแบบ
กลุ่มหมอก
ว 2.1 ม.5/3 ระบุจ�านวนโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนของอะตอม และไอออนที่เกิดจากอะตอมเดียว
ว 2.1 ม.5/4 เขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุและระบุการเป็นไอโซโทป
ว 2.1 ม.5/5 ระบุหมู่และคาบของธาตุและระบุว่าธาตุเป็นโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ กลุ่มธาตุเรพรีเซนเททีฟหรือกลุ่มธาตุ
แทรนซิชันจากตารางธาตุ
ว 2.1 ม.5/6 เปรียบเทียบสมบัติการน�าไฟฟ้า การให้และรับอิเล็กตรอนระหว่างธาตุในกลุ่มโลหะกับอโลหะ
ว 2.1 ม.5/7 สืบค้นข้อมูลและน�าเสนอตัวอย่างประโยชน์และอันตรายที่เกิดจากธาตุเรพรีเซนเททีฟและธาตุแทรนซิชัน
ว 2.1 ม.5/8 ระบุว่าพันธะโคเวเลนต์เป็นพันธะเดี่ยว พันธะคู่ หรือพันธะสาม และระบุจ�านวนคู่อิเล็กตรอนระหว่างอะตอม
คู่ร่วมพันธะจากสูตรโครงสร้าง
ว 2.1 ม.5/9 ระบุสภาพขั้วของสารที่โมเลกุลประกอบด้วย 2 อะตอม

104
ว 2.1 ม.5/10 ระบุสารที่เกิดพันธะไฮโดรเจนได้จากสูตรโครงสร้าง
ว 2.1 ม.5/11 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างจุดเดือดของสารโคเวเลนต์กับแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลตามสภาพขั้วหรือการ
เกิดพันธะไฮโดรเจน
ว 2.1 ม.5/12 เขียนสูตรเคมีของไอออนและสารประกอบไอออนิก
ว 2.1 ม.5/13 ระบุวา่ สารเกิดการละลายแบบแตกตัวหรือไม่แตกตัว พร้อมให้เหตุผลและระบุวา่ สารละลายทีไ่ ด้เป็นสารละลาย
อิเล็กโทรไลต์หรือนอนอิเล็กโทรไลต์
ว 2.1 ม.5/14 ระบุสารประกอบอินทรีย์ประเภทไฮโดรคาร์บอนว่าอิ่มตัวหรือไม่อิ่มตัวจากสูตรโครงสร้าง
ว 2.1 ม.5/15 สืบค้นข้อมูลและเปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพระหว่างพอลิเมอร์และมอนอเมอร์ของพอลิเมอร์ชนิดนั้น
ว 2.1 ม.5/16 ระบุสมบัติความเป็นกรด-เบสจากโครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์
ว 2.1 ม.5/17 อธิบายสมบัติการละลายในตัวท�าละลายชนิดต่าง ๆ ของสาร
ว 2.1 ม.5/18 วิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างกับสมบัติเทอร์มอพลาสติกและเทอร์มอเซตของ
พอลิเมอร์และการน�าพอลิเมอร์ไปใช้ประโยชน์
ว 2.1 ม.5/19 สืบค้นข้อมูลและน�าเสนอผลกระทบของการใช้ผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม พร้อม
แนวทางป้องกันหรือแก้ไข
ว 2.1 ม.5/20 ระบุสูตรเคมีของสารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์และแปลความหมายของสัญลักษณ์ในสมการเคมีของปฏิกิริยาเคมี
ว 2.1 ม.5/21 ทดลองและอธิบายผลของความเข้มข้นพื้นที่ผิว อุณหภูมิและตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
เคมี
ว 2.1 ม.5/22 สืบค้นข้อมูลและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ�าวันหรือใน
อุตสาหกรรม
ว 2.1 ม.5/23 อธิบายความหมายของปฏิกิริยารีดอกซ์
ว 2.1 ม.5/24 อธิบายสมบัติของสารกัมมันตรังสีและค�านวณครึ่งชีวิตและปริมาณของสารกัมมันตรังสี
ว 2.1 ม.5/25 สืบค้นข้อมูลและน�าเสนอตัวอย่างประโยชน์ของสารกัมมันตรังสีและการป้องกันอันตรายที่เกิดจาก
กัมมันตภาพรังสี

รวม 25 ตัวชี้วัด

105
Pedagogy
คูมือครู รายวิชาพื้นฐาน
วิทยำศำสตร
กำยภำพ 1 (เคมี) ม.5 รวมถึงสือ่ การเรียนรูร้ ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์
กายภาพ 1 (เคมี) ชั้น ม.5 ผู้จัดท�าได้ออกแบบการสอน (Instructional Design) อันเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้และเทคนิค
การสอนทีเ่ ปย มด้วยประสิทธิภาพและมีความหลากหลายให้กบั ผูเ้ รียน เพือ่ ให้ผเู้ รียนสามารถบรรลุผลสัมฤทธิต์ ามมาตรฐาน
การเรียนรู้และตัวชี้วัด รวมถึงสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนที่หลักสูตรก�าหนดไว้ โดยครูสามารถน�า
ไปใช้จัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งในรายวิชานี้ ได้น�ารูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es
Instructional Model) มาใช้ในการออกแบบการสอน ดังนี้

รูปแบบกำรสอนแบบสืบเสำะหำควำมรู้ (5Es Instructional Model)

ด้วยจุดประสงค์ของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ เพื่อช่วย
ุนความสนใจ
ให้ผู้เรียนได้พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ กระต
คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะส�าคัญในการค้นคว้าหาความรู้ และมี Eennggagement
1

สาํ xploration
eEvvaluatio ล

รวจ
ความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ ผู้จัดท�าจึงได้เลือกใช้

eE
ตรวจสอบ
n

และคนหา
รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู ้ (5Es Instructional Model) 2
5
ซึ่งเป็นขั้นตอนการเรียนรู้ที่มุ่งให้ผู้เรียนได้มีโอกาสสร้างองค์-
ความรู้ด้วยตนเองผ่านกระบวนการคิดและการลงมือท�า โดยใช้
5Es
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นเครื่องมือส�าคัญเพื่อการพัฒนา
bo 4 3

n
El a

tio
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะการเรียนรู้แห่ง ratio na
ขย

xpla คว

รู
คว

าม
n E
าย

ศตวรรษที่ 21 ามเ าย
ขาใจ อธิบ

วิธีสอน (Teaching Method)

ผู้จัดท�าเลือกใช้วิธีสอนที่หลากหลาย เช่น การทดลอง การสาธิต การอภิปรายกลุ่มย่อย เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้


รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งจะเน้นใช้วิธีสอน
โดยใช้การทดลองมากเป็นพิเศษ เนื่องจากเป็นวิธีสอนที่มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดองค์ความรู้จากประสบการณ์ตรงโดย
การคิดและการลงมือท�าด้วยตนเอง อันจะช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้และเกิดทักษะทางวิทยาศาสตร์ที่คงทน

เทคนิคกำรสอน (Teaching Technique)

ผูจ้ ดั ท�าเลือกใช้เทคนิคการสอนทีห่ ลากหลายและเหมาะสมกับเรือ่ งทีเ่ รียน เพือ่ ส่งเสริมวิธสี อนให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้


เช่น การใช้ค�าถาม การเล่นเกม เพื่อนช่วยเพื่อน ซึ่งเทคนิคการสอนต่าง ๆ จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุขใน
ขณะที่เรียนและสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งได้พัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 อีกด้วย

106
Teacher Guide Overview
วิทยำศำสตร์กำยภำพ 1 (เคมี) ม.5
หน่วย
ตัวชี้วัด ทักษะที่ได้ เวลำที่ใช้ กำรประเมิน สื่อที่ใช้
กำรเรียนรู้

1 1. ระบุวา่ สารเป็นธาตุหรือสารประกอบ และ - ทักษะการวิเคราะห์ - ตรวจแบบทดสอบ - หนังสือเรียน


โครงสร้าง
อยู่ในรูปอะตอม โมเลกุล หรือไอออน - ทักษะการสังเกต ก่อนเรียน รายวิชาพื้นฐาน
จากสูตรเคมี - ทักษะการสื่อสาร - สังเกตการอภิปราย วิทยาศาสตร์กายภาพ 1
อะตอมและ
2. เปรี ย บเที ย บความเหมื อ นและความ - ทักษะการท�างานร่วมกัน เกี่ยวกับแบบจ�าลอง (เคมี) ม.5
ตารางธาตุ แตกต่างของแบบจ�าลองอะตอมของโบร์ - ทักษะการน�าความรู้ไปใช้ อะตอม - แบบฝึกหัด
กับแบบจ�าลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก - ทักษะการคิดอย่างมี - สังเกตการท�ากิจกรรม รายวิชาพื้นฐาน
3. ร ะบุ จ� า นวนโปรตอน นิ ว ตรอน และ วิจารณญาณ ปฏิกิริยาระหว่างโลหะ วิทยาศาสตร์กายภาพ 1
อิเล็กตรอนของอะตอม และไอออนทีเ่ กิด บางชนิดกับน�้า (เคมี) ม.5
จากอะตอมเดียว - ตรวจใบงาน - แบบทดสอบก่อนเรียน
4. เขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุและ - ตรวจผังมโนทัศน์ - แบบทดสอบหลังเรียน
ระบุการเป็นไอโซโทป - ตรวจแบบฝึกหัด - ใบงาน
5. ระบุหมูแ่ ละคาบของธาตุ และระบุวา่ ธาตุ 12 - สังเกตพฤติกรรม - PowerPoint
เป็นโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ กลุ่มธาตุเร- ชั่วโมง การท�างานรายบุคคล - QR Code
พรีเซนเททีฟ หรือกลุ่มธาตุแทรนซิชัน - สังเกตพฤติกรรม - ภาพยนตร์สารคดีสั้น
จากตารางธาตุ การท�างานกลุ่ม Twig
6. สืบค้นข้อมูล น�าเสนอตัวอย่าง และ - สังเกตคุณลักษณะ
อธิบายการประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับ อันพึงประสงค์
สมบัติและกฎต่าง ๆ ของแก๊สในการ - ตรวจแบบทดสอบ
อธิบายปรากฏการณ์ หรือแก้ปัญหาใน หลังเรียน
ชีวิตประจ�าวันและในอุตสาหกรรม
7. สื บ ค้ น ข้ อ มู ล และน� า เสนอตั ว อย่ า ง
ประโยชน์ แ ละอั น ตรายที่ เ กิ ด จากธาตุ
เรพรีเซนเททีฟและธาตุแทรนซิชัน

2 1. ระบุว่าพันธะโคเวเลนต์เป็นพันธะเดี่ยว - ทักษะการวิเคราะห์ - ตรวจแบบทดสอบ


พันธะเคมี
พันธะคู่ หรือพันธะสาม และระบุจ�านวน - ทักษะการสังเกต ก่อนเรียน
คู่อิเล็กตรอนระหว่างอะตอมคู่ร่วมพันธะ - ทักษะการสื่อสาร - สังเกตการอภิปราย
จากสูตรโครงสร้าง - ทักษะการท�างานร่วมกัน เกี่ยวกับพันธะเคมี
2. ร ะบุสภาพขั้วของสารที่โมเลกุลประกอบ - ทักษะการน�าความรู้ไปใช้ - ตรวจใบงาน
ด้วย 2 อะตอม - ทักษะการคิดอย่างมี - ตรวจแบบฝึกหัด
3. ร ะบุสารทีเ่ กิดพันธะไฮโดรเจนได้จากสูตร วิจารณญาณ 12 - สังเกตพฤติกรรม
โครงสร้าง ชั่วโมง การท�างานรายบุคคล
4. อ ธิบายความสัมพันธ์ระหว่างจุดเดือด - สังเกตคุณลักษณะ
ของสารโคเวเลนต์กับแรงดึงดูดระหว่าง อันพึงประสงค์
โมเลกุลตามสภาพขั้วหรือการเกิดพันธะ - ตรวจแบบทดสอบ
ไฮโดรเจน หลังเรียน
5. เ ขียนสูตรเคมีของไอออนและสารประกอบ
ไอออนิก

107
หน่วย
ตัวชี้วัด ทักษะที่ได้ เวลำที่ใช้ กำรประเมิน สื่อที่ใช้
กำรเรียนรู้

3 1. ระบุว่าสารเกิดการละลายแบบแตกตัว - ทักษะการวิเคราะห์ - ตรวจแบบทดสอบ - หนังสือเรียน


สารเคมีและ
หรือไม่แตกตัว พร้อมให้เหตุผลและระบุ - ทักษะการสังเกต ก่อนเรียน รายวิชาพื้นฐาน
ว่าสารละลายที่ได้เป็นสารละลายอิเล็ก- - ทักษะการสื่อสาร - สังเกตการอภิปราย วิทยาศาสตร์กายภาพ 1
ผลิตภัณฑ์ใน
โทรไลต์ หรือนอนอิเล็กโทรไลต์ - ทักษะการท�างานร่วมกัน เกี่ยวกับแบบจ�าลอง (เคมี) ม.5
ชีวิตประจำาวัน 2. ระบุสารประกอบอินทรีย์ประเภทไฮโดร- - ทักษะการน�าความรู้ไปใช้ อะตอม - แบบฝึกหัด
คาร์บอนว่าอิ่มตัวหรือไม่อิ่มตัวจากสูตร - ทักษะการคิดอย่างมี - สังเกตการท�ากิจกรรม รายวิชาพื้นฐาน
โครงสร้าง วิจารณญาณ ปฏิกิริยาระหว่างโลหะ วิทยาศาสตร์กายภาพ 1
3. สืบค้นข้อมูลและเปรียบเทียบสมบัติทาง บางชนิดกับน้ำ (เคมี) ม.5
กายภาพระหว่างพอลิเมอร์และมอนอ- - ตรวจใบงาน - แบบทดสอบก่อนเรียน
เมอร์ของพอลิเมอร์ชนิดนั้น - ตรวจผังมโนทัศน์ - แบบทดสอบหลังเรียน
4. ร ะบุ ส มบั ติ ค วามเป็ น กรด-เบสจาก 18 - ตรวจแบบฝึกหัด - ใบงาน
โครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์ ชั่วโมง - สังเกตพฤติกรรม - PowerPoint
5. อ ธิบายสมบัติการละลายในตัวท�าละลาย การท�างานรายบุคคล - QR Code
ชนิดต่าง ๆ ของสาร - สังเกตพฤติกรรม - ภาพยนตร์สารคดีสั้น
6. วิ เ คราะห์ แ ละอธิ บ ายความสั ม พั น ธ์ การท�างานกลุ่ม Twig
ระหว่างโครงสร้างกับสมบัติเทอร์มอ- - สังเกตคุณลักษณะ
พลาสติกและเทอร์มอเซตของพอลิเมอร์ อันพึงประสงค์
และการน�าพอลิเมอร์ไปใช้ประโยชน์ - ตรวจแบบทดสอบ
7. สืบค้นข้อมูลและน�าเสนอผลกระทบของ หลังเรียน
การใช้ผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ที่มีต่อสิ่งมี
ชีวิตและสิ่งแวดล้อม พร้อมแนวทาง
ป้องกันหรือแก้ไข

4 1. ระบุสูตรเคมีของสารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์ - ทักษะการวิเคราะห์ - ตรวจแบบทดสอบ


ปฏิกิริยาเคมีี
และแปลความหมายของสัญลักษณ์ใน - ทักษะการสังเกต ก่อนเรียน
สมการเคมีของปฏิกิริยาเคมี - ทักษะการสื่อสาร - สังเกตการอภิปราย
2. ร ะบุสูตรเคมีของสารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์ - ทักษะการท�างานร่วมกัน เกี่ยวกับพันธะเคมี
และแปลความหมายของสัญลักษณ์ใน - ทักษะการน�าความรู้ไปใช้ - ตรวจใบงาน
สมการเคมีของปฏิกิริยาเคมี - ทักษะการคิดอย่างมี - ตรวจแบบฝึกหัด
3. สืบค้นข้อมูลและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อ วิจารณญาณ - สังเกตพฤติกรรม
อัตราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมีทใี่ ช้ประโยชน์ 18 การท�างานรายบุคคล
ในชีวิตประจ�าวันหรือในอุตสาหกรรม ชั่วโมง - สังเกตคุณลักษณะ
4. อธิบายความหมายของปฏิกิริยารีดอกซ์ อันพึงประสงค์
5. อธิบายสมบัติของสารกัมมันตรังสี และ - ตรวจแบบทดสอบ
ค� า นวณครึ่ ง ชี วิ ต และปริ ม าณของสาร หลังเรียน
กัมมันตรังสี
6. ระบุสูตรเคมีของสารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์
และแปลความหมายของสัญลักษณ์ใน
สมการเคมีของปฏิกิริยาเคมี

108
สำรบั ญ

Chapter
Chapter Teacher
Chapter Title Overview
Concept
Script
Overview
หนวยการเรียนรู้ที่ 1 โครงสร้ำงอะตอมและ T2 - T3 T4 - T5 T6
ตำรำงธำตุ

• โครงสร้างอะตอม T7 - T18
• ตารางธาตุ T19 - T24
• สมบัติของธาตุและการใช้ประโยชน์ T25 - T33
ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 T34 - T39

หนวยการเรียนรู้ที่ 2 พันธะเคมี T40 T41 T42

• การเกิดพันธะเคมี T43 - T44


• พันธะโคเวเลนต์ T45 - T58
• พันธะไอออนิก T59 - T65
ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 T66 - T69

หนวยการเรียนรู้ที่ 3 สำรเคมีและผลิตภัณฑในชีวิต T70 T71 T72


ประจ�ำวัน

• กรด เบส และเกลือ T73 - T80


• สารประกอบไฮโดรคาร์บอน T81 - T90
• พอลิเมอร์ T91 - T108
ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 T109 - T111

หนวยการเรียนรู้ที่ 4 ปฏิกิริยำเคมี T112 T113 T114

• การเกิดปฏิกิริยาเคมี T115 - T113


• ปฏิกิริยารีดอกซ์ T134 - T136
• ธาตุกัมมันตรังสี T137 - T142
ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 T143 - T147

ภำคผนวก T148

บรรณำนุกรม T152

109
Chapter Overview

แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 1 - แบบทดสอบก่อนเรียน 1. อธิบายและเปรียบเทียบ แบบสืบเสาะ - ตรวจสอบผลการท�า - ทักษะการวิเคราะห์ - มีวินัย
โครงสร้าง - หนังสือเรียน แบบจ�าลองอะตอมของ หาความรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน - ทักษะการสังเกต - ใฝ่เรียนรู้
อะตอม รายวิชาพื้นฐาน ดอลตัน ทอมสัน (5Es - สังเกตการตอบ - ทักษะการสื่อสาร - มุ่งมั่นใน
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 รทั เทอร์ฟอร์ด โบร์ และ Instructional ค�าถาม การร่วมกัน - ทักษะการท�างาน การท�างาน
(เคมี) ม.5 แบบกลุ่มหมอกได้ (K) Model) ท�าผลงาน และจาก ร่วมกัน
- แบบฝึกหัดรายวิชา 2. อธิบายว่าสารเป็นธาตุ การน�าเสนอผลงาน
พื้นฐานวิทยาศาสตร์ หรือสารประกอบ และ - ตรวจผังมโนทัศน์
กายภาพ 1 (เคมี) ม.5 อยู่ในรูปอะตอม เรื่อง แบบจ�าลอง
- ใบงาน โมเลกุล หรือไอออน อะตอม
- PowerPoint จากสูตรเคมีได้ (K) - ตรวจใบงาน
- QR Code 3. อธิบายสมบัติของ เรื่อง แบบจ�าลอง
- ภาพยนตร์เรื่องสั้น อนุภาคมูลฐาน เขียน อะตอม
Twig สัญลักษณ์นวิ เคลียร์ของ - ตรวจใบงาน เรื่อง
ธาตุ อธิบายความหมาย อนุภาคมูลฐาน
ไอโซโทปได้ (K) - ตรวจแบบฝึกหัดจาก
4. สื บ ค้ น ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ Unit Question 1
พั ฒ นาการของแบบ ในหนังสือเรียน
จ�าลองอะตอมได้ (P)
5. เห็นคุณประโยชน์ของ
การเรียนวิทยาศาสตร์
ตระหนักในคุณค่าของ
ความรูว้ ทิ ยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิต
ประจ�าวัน (A)
แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียน 1. อธิบายวิวัฒนาการของ แบบสืบเสาะ - ตรวจสอบผลการ - ทักษะการวิเคราะห์ - มีวินัย
ตารางธาตุ รายวิชาพื้นฐาน การจัดธาตุในตาราง หาความรู้ ท�าแบบทดสอบ - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 ธาตุ และบอกแนวโน้ม (5Es ก่อนเรียน - ทักษะการท�างาน - มุ่งมั่นใน
(เคมี) ม.5 การเปลี่ยนแปลงสมบัติ Instructional - สังเกตการตอบ ร่วมกัน การท�างาน
- แบบฝึกหัดรายวิชา บางประการของธาตุ Model) ค�าถาม การร่วมกัน - ทักษะการน�าความรู้
พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ตามหมู่และตามคาบได้ ท�าผลงาน และจาก ไปใช้
กายภาพ 1 (เคมี) ม.5 (K) การน�าเสนอผลงาน
- ใบงาน 2. สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ - ตรวจผังมโนทัศน์
- PowerPoint ธาตุที่ค้นพบในปัจจุบัน เรื่อง ตารางธาตุ
- QR Code และน�าเสนอข้อมูลได้ - ตรวจใบงาน เรื่อง
- ภาพยนตร์เรื่องสั้น ถูกต้อง (P) ตารางธาตุ
Twig 3. ท�างานร่วมกับผู้อื่น - ตรวจแบบฝึกหัดจาก
อย่างสร้างสรรค์ Unit Question 1
ยอมรับความคิดเห็น ในหนังสือเรียน
ของผู้อื่นได้ (A)

T2

110
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 3 - แบบทดสอบหลังเรียน 1. อธิบายเกี่ยวกับชนิด แบบสืบเสาะ - ตรวจสอบผลการ - ทักษะการวิเคราะห์ - มีวินัย
สมบัติของธาตุ - หนังสือเรียน และสมบัติของธาตุได้ หาความรู้ ท�าแบบทดสอบ - ทักษะการสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้
และการใช้ รายวิชาพื้นฐาน (K) (5Es หลังเรียน - ทักษะการท�างาน - มุ่งมั่นใน
ประโยชน์ วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 2. อธิบายและยกตัวอย่าง Instructional - สังเกตการตอบ ร่วมกัน การท�างาน
(เคมี) ม.5 การใช้ประโยชน์จาก Model) ค�าถาม การร่วมกัน - ทักษะการน�าความรู้
- แบบฝึกหัดรายวิชา ธาตุบางชนิดได้ (K) ท�าผลงาน และจาก ไปใช้
พื้นฐานวิทยาศาสตร์ 3. อธิบายความแตกต่าง การน�าเสนอผลงาน
กายภาพ 1 (เคมี) ม.5 ของการท�าปฏิกิริยากับ - สงั เกตการท�ากิจกรรม
- ใบงาน น�้าของธาตุหมู่ 1A 2A ปฏิกิริยาระหว่างโลหะ
- PowerPoint และ 3A ได้ (K) บางชนิดกับน�้า
- QR Code 4. ทดลองและสรุปผล - ตรวจผังมโนทัศน์
- ภาพยนตร์เรื่องสั้น การทดลองเกี่ยวกับ เรื่อง สมบัติของธาตุ
Twig ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ และการใช้ประโยชน์
1A 2A และ 3A กับน�้า - ตรวจใบงาน เรื่อง
ได้ (P) สมบัติของธาตุและ
5. แสดงความเป็น การใช้ประโยชน์
คนช่างสังเกต ช่างคิด - ตรวจแบบฝึกหัดจาก
ช่างสงสัย ใฝ่เรียนรู้ Unit Question 1
และมุ่งมั่นในการเสาะ ในหนังสือเรียน
แสวงหาความรู้ (A)

T3

111
Chapter Concept Overview
แบบจําลองอะตอม
วิวัฒนาการของแบบจ�าลองอะตอมสามารถสรุปได้ ดังนี้
แบบจําลองอะตอมของดอลตัน
เป็นทรงกลมตัน มีขนาดเล็กทีส่ ดุ ไม่สามารถแบ่งแยกได้
แบบจําลองอะตอมของทอมสัน
เป็นทรงกลม ประกอบด้วยโปรตอนซึ่งมีประจุบวก และอิเล็กตรอนซึง่ มีประจุลบกระจายอยูอ่ ย่างสม�า่ เสมอ

แบบจําลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
เป็นทรงกลม ประกอบด้วยนิวเคลียสทีม่ ปี ระจุบวกอยูต่ รงกลางอะตอม โดยมีอเิ ล็กตรอนทีม่ ปี ระจุลบวิง่ อยูร่ อบ ๆ
นิวเคลียส
แบบจําลองอะตอมของโบร์
เป็นทรงกลม ประกอบด้วยนิวเคลียสอยูก่ ลางอะตอม โดยมีอเิ ล็กตรอนเคลือ่ นทีอ่ ยูโ่ ดยรอบอะตอมเป็นระดับชัน้ พลังงาน

แบบจําลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก
เป็นทรงกลม ประกอบด้วยนิวเคลียสอยูก่ ลางอะตอม และอิเล็กตรอนเคลือ่ นทีอ่ ยูร่ อบ ๆ นิวเคลียส ไม่มที ศิ ทางทีแ่ น่นอน
องค์ประกอบของอะตอม
สัญลักษณ์นิวเคลียร์
อะตอมประกอบด้วยอนุภาคโปรตอนและ คือ สัญลักษณ์ที่แสดงชนิดของธาตุ เลขมวล และ
นิวตรอนรวมกันอยูภ่ ายในนิวเคลียส และมี เลขอะตอมของธาตุ เขียนแทนได้ ดังนี้
อนุภาคอิเล็กตรอนเคลือ่ นทีอ่ ยูร่ อบ ๆ เลขมวล (mass number)
A เป็นตัวเลขที่แสดงผลรวมของ
• ไอออน คือ ธาตุทมี่ จี า� นวนอิเล็กตรอนกับจ�านวนโปรตอนไม่เท่ากัน
- ไอออนลบ คือ ธ าตุ ที่ มี จ� า นวนอิ เ ล็ ก ตรอนมากกว่ า จ� า นวน
โปรตอน
- ไอออนบวก คือ ธาตุที่มีจ�า นวนอิเล็ก ตรอนน้ อยกว่ า จ� า นวน Z X จ�านวนโปรตอนและนิวตรอน
สัญลักษณ์ของธาตุ
เลขอะตอม (atomic number)
เป็นตัวเลขทีแ่ สดงจ�านวนโปรตอน
โปรตอน
• โมเลกุุล คือ อนุภาคทีเ่ ล็กทีส่ ดุ ของธาตุหรือสารประกอบทีเ่ กิดจากอะตอมอย่างน้อย 2 อะตอมมารวมกันและจัดเรียงตัวอย่างแน่นอน
• ไอโซโทป คือ อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันทีม่ จี า� นวนโปรตอนเท่ากัน แต่มีจ�านวนนิวตรอนแตกต่างกัน
วิวัฒนาการของการสร้างตารางธาตุ
โยฮันน์ เดอเบอไรเนอร์ ดิมิทรี อิวาโนวิช เมเดเลเอฟ
กฎชุดสาม : เมื่อจัดเรียงธาตุตามมวล กฎพิริออดิก : เมื่อน�าธาตุมาเรียง
อะตอมจากน้อยไปหามาก มวลอะตอม ล�าดับตามน�า้ หนักทีเ่ พิม่ ขึน้ จะได้กลุม่
ของธาตุที่อยู่ตรงกลางจะเป็นค่าเฉลี่ย ของธาตุที่มีสมบัติทางเคมีและสมบัติ
ของมวลอะตอมของธาตุ ตั ว บนและ ทางกายภาพเป็นชุด ๆ
ตัวล่าง

จอห์น นิวแลนด์ เฮนรี โมสลีย์


กฎออกเตต : ถ้าน�าธาตุมา 8 ธาตุ แล้ว จัดเรียงธาตุตามเลขอะตอม เนื่องจากสมบัติ
จัดเรียงธาตุตามมวลจากน้อยไปหา ต่าง ๆ ของธาตุมีความสัมพันธ์กับโปรตอน
มาก ธาตุตัวที่ 8 จะมีสมบัติคล้ายคลึง ในนิวเคลียสหรือเลขอะตอมมากกว่ามวล
กับธาตุตัวที่ 1 เสมอ อะตอม และเป็นตารางธาตุที่ใช้ถึงปัจจุบัน

T4

112
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
สมบัติของธาตุ
ธาตุโลหะ ธาตุอโลหะ ธาตุกึ่งโลหะ
• มสี ถานะเป็นของแข็ง (ยกเว้นปรอทเป็น • มีทั้ง 3 สถานะ • มีสถานะเป็นของแข็ง
ของเหลว) • มีจุดเดือด จุดหลอมเหลว • มีจุดเดือด จุดหลอมเหลว
• มีจุดเดือด จุดหลอมเหลว และความหนาแน่นต�่า และความหนาแน่นสูง
และความหนาแน่นสูง • ไม่น�าไฟฟ้าและความร้อน • น�าไฟฟ้าได้
• น�าไฟฟ้าและความร้อนได้ดีมาก (ยกเว้นแกรไฟต์สามารถน�าไฟฟ้าได้)

สมบัติและการใช้ประโยชน์ของธาตุบางชนิด • มีความเป็นอโลหะสูง มีความว่องไวต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี ใน


• ส่วนใหญ่มีสีเงิน เป็นโลหะเนื้ออ่อน มีความเป็นโลหะสูง มีความ ธรรมชาติมักพบธาตุหมู่นี้ในลักษณะโมเลกุลคู่ เมื่อรวมตัวกับ
หนาแน่นต�่า มีความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยาเคมีสูง ไฮโดรเจนจะมีสมบัติเป็นกรดรุนแรง
• ลิเทียม (Li) ใช้เป็นขั้วแบตเตอรี่ โซเดียม (Na) ใช้ประโยชน์ใน • ฟลูออรีน (F) ใช้ประโยชน์ในรูปสารประกอบ เช่น NaF ใช้เติม
รูปสารประกอบ เช่น เกลือแกง (NaCl) ผงฟู (NaHCO3) ลงในยาสีฟัน คลอรีน (Cl) น�ามาเติมลงในน�้าหรือสระน�้า เพื่อ
ธาตุหมู่ 1A ท�าให้น�้าสะอาด ไอโอดีน (I) ใช้ผลิตยาฆ่าเชื้อและสีย้อมผ้า
ธาตุหมู่ 7A

แลนทาไนด์

ธาตุหมู่ 2A แอกทิไนด์
ธาตุหมู่ 8A
• สว่ นใหญ่มสี เี งิน เป็นโลหะเนือ้ อ่อน แต่มคี วามแข็งและมีความหนา
แน่นมากกว่าธาตุหมู ่ 1A เกิดปฏิกริ ยิ าเคมีได้ด ี แต่รนุ แรงน้อยกว่า • เป็นแก๊สไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ละลายน�้าได้เล็กน้อย
ธาตุหมู่ 1A มีความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยาเคมีต�่า
• ฮีเลียม (He) บรรจุในบอลลูนหรือลูกโป่งสวรรค์
• แมกนีเซียม (Mg) ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตโลหะผสมอะลูมิเนียม บรรจุลงในถังแก๊สส�าหรับนักประดาน�้า นีออน (Ne)
และแมกนีเซียม แคลเซียม (Ca) เป็นส่วนประกอบที่ส�าคัญของ และอาร์กอน (Ar) ใช้บรรจุในหลอดไฟฟ้า และ
โครงสร้างร่างกายของสิ่งมีชีวิต บรรจุในหลอดไฟโฆษณา คริปทอน (Kr) ใช้บรรจุใน
หลอดไฟแฟลชส�าหรับถ่ายรูปความเร็วสูง ซีนอน
(Xe) ใช้เป็นแก๊สที่ช่วยให้สลบ
ธาตุแทรนซิชัน
• มีสถานะเป็นของแข็ง (ยกเว้นปรอทเป็นของเหลว) มีความเป็นโลหะน้อยกว่าโลหะหมู่ 1A และ 2Aมีจุดเดือด จุดหลอมเหลว และความ
หนาแน่นสูง น�าไฟฟ้าได้ สามารถเกิดสารประกอบได้มากมายหลายชนิด รวมทั้งสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสีสันเฉพาะตัว
• เหล็ก (Fe) เหล็กกล้าใช้ในงานก่อสร้าง เป็นส่วนประกอบของลวดตะปู เหล็กเคลือบผิวด้วยสังกะสีใช้เป็นสังกะสีมงุ หลังคา และท�ากระป๋อง
บรรจุอาหาร ทองแดง (Cu) ใช้ท�าสายไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ ทองแดงผสมสังกะสีใช้ท�ากลอนประตู กุญแจ กระดุม ทองแดงผสม
ดีบุกใช้ท�าระฆัง ลานนาฬิกา สังกะสี (Zn) ใช้ท�ากล่องของถ่านไฟฉาย โครเมียม (Cr) ใช้เคลือบผิวของเหล็กและโลหะอื่น ๆ และน�ามา
ใช้เป็นส่วนประกอบของเหล็กกล้าผสมที่ใช้ท�าตู้นิรภัย เครื่องบินไอพ่น จรวด และเรเดียม (Ra) ใช้ในการรักษาโรคมะเร็งได้

T5

113
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
1. ครูดาํ เนินการทดสอบกอนเรียน โดยใหนกั เรียนทํา
หนวยการเรียนรูที่ 1 Q ¶ŒÒ¹Ñ¡àÃÕ¹¤Œ¹¾º
แบบทดสอบ จํานวน 10 ขอ จากนัน้ ครูใหนกั เรียน
ทุกคนชวยกันตอบคําถาม Understanding â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁ ¸ÒµØãËÁ‹ ¨Ð¨Ñ´àÃÕ§¸ÒµØ¹Õé
ŧ㹵ÒÃÒ§¸ÒµØ
Check เพื่อตรวจสอบความพรอมและความรู
พื้นฐานของนักเรียน
2. ครูนําเขาสูบทเรียนโดยการเปดประเด็นและ
áÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 䴌͋ҧäÃ

ชักชวนนักเรียนใหรวมกันอภิปราย โดยใช ตัวชี้วัด


คําถามดังตอไปนี้ ว 2.1 ม.5/1 ม.5/2 ม.5/3 ม.5/4
• อนุภาคของสารหมายถึงอะไร ม.5/5 ม.5/6 ม.5/7
(แนวตอบ โมเลกุล อะตอม และไอออน)
• อนุภาคที่เล็กที่สุดของสารเรียกวาอะไร
(แนวตอบ อะตอม)
• อนุภาคที่เล็กที่สุดนี้มีสวนประกอบแยกยอย
ไดอีกหรือไม
(แนวตอบ แยกตอไปอีกไมได)
3. นักเรียนรวมกันตอบคําถาม เพื่อเชื่อมโยงไปสู
การเรียนรูเรื่อง โครงสรางอะตอม
4. ครูถามคําถาม Big Question จากหนังสือเรียน
วา ถานักเรียนคนพบธาตุใหม จะจัดเรียงธาตุ
นี้ลงในตารางธาตุไดอยางไร ครูเปดโอกาสให
นักเรียนไดแสดงความคิดเห็นโดยไมเนนถูกผิด
5. ครูใหนกั เรียนรวมแสดงความคิดเห็น ซึง่ นักเรียน U n de r s t a n di n g
จะไดคาํ ตอบทีถ่ กู ตองจากการเรียนตอไป และ Check
มอบหมายใหนักเรียนทุกคนไปศึกษาความรู ใหนักเรียนพิจารณาขอความตามความเขาใจของนักเรียนวาถูกหรือผิด แลวบันทึกลงในสมุด
ถูก / ผิด
ลวงหนาเกี่ยวกับแบบจําลองอะตอม 1. แบบจําลองอะตอมที่ใชอยูในปจจุบันคือแบบจําลองอะตอมกลุมหมอก
2. อะตอมของธาตุประกอบดวย โปรตอน อิเล็กตรอน และนิวตรอน

มุ ด
นส
แนวตอบ Big Question

งใ
3. ธาตุชนิดเดียวกันจะมีจํานวนนิวตรอนเทากัน

ึกล
การจัดเรียงธาตุลงในตารางธาตุอยูบ นพืน้ ฐาน

บั น
4. ธาตุอโลหะจะอยูทางฝงซายของตารางธาตุ
หน
ังส เน

ของเลขอะตอม (จํานวนโปรตอนในนิวเคลียส) การ


ือเล ื้อห
มน าอา

5. ธาตุโลหะมีจุดเดือด จุดหลอมเหลว และความหนาแนนสูง


ี้อย จม
ู ในร ีกา

จัดเรียงอิเล็กตรอน และสมบัติทางเคมี
ะหว รปร
าง ับป
สง รุง
ตร แก
วจ  ไข
พิจ

แนวตอบ Understanding
าร

1. ถูก 2. ถูก 3. ผิด 4.ผิด 5. ถูก

เกร็ดแนะครู
การเรียนการสอน เรื่อง โครงสรางอะตอมและตารางธาตุ ครูควรนําภาพ
แบบจําลองอะตอมของนักวิทยาศาสตรแตละทานมาใหนักเรียนพิจารณา และ
ใหนักเรียนเปรียบเทียบวาแบบจําลองอะตอมของนักวิทยาศาสตรทานใดที่มี
ลักษณะใกลเคียงกับอะตอมในปจจุบันมากที่สุด และในเรื่องตารางธาตุครูควร
แบงธาตุออกเปนกลุมๆ (ดวยเกณฑที่กําหนดรวมกัน) เพื่อใหงายตอการจดจํา
และเรียนรู

T6

114
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁ Prior Knowledge 1. ครูถามคําถาม Prior knowledge จากหนังสือ
ดิโมคริตสุ (Democritus) นักปรัชญากรีก กลาววา “เมือ่ นํา ͹ØÀÒ¤·Õàè Åç¡·ÕÊè ´Ø เรียนวา อนุภาคที่เล็กที่สุดของธาตุคืออะไร
สสารมาแบงยอยลงไปเรือ่ ย ๆ จะไดอนุภาคทีม่ ขี นาดเล็กมาก และ ¢Í§¸ÒµØ¤Í× ÍÐäà เพื่อเปนการทบทวนความรูเดิมจากคาบเรียน
ไมสามารถแบงยอยออกไปไดอีก โดยเรียกอนุภาคนี้วาอะตอม” ที่ผานมา
เมื่อความรูทางวิ
1 ทยาศาสตรเจริญกาวหนามากขึ้น ทําใหแนวคิด 2. ครูถามนักเรียนตอไปวา อะตอมที่มีขนาดเล็ก
ของดิโมคริตุสไมสามารถอธิบายเหตุการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับสสารได นี้ เราจะสามารถมองเห็นอะตอมดวยตาเปลา
1.1 Ẻ¨íÒÅͧÍеÍÁ หรือไม (เปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดงความ
คิดเห็น)
นั ก วิ ท ยาศาสตร ห ลายท า นได พ ยายามศึ ก ษาว า ลั ก ษณะโครงสร า งภายในอะตอมนั้ น
เปนอยางไร โดยใชวิธีการตาง ๆ มากมายตั้งแตในอดีตจนถึงปจจุบัน จนกระทั่งเกิดแบบจําลอง 3. ครูอธิบายคําตอบจากคําถามเพื่อใหนักเรียน
อะตอมตามแนวคิดและการทดลองของนักวิทยาศาสตรหลาย ๆ ทานขึ้นมา ซึ่งสามารถสรุป ได เ ข า ใจ โดยให ค วามรู  จ ากความเชื่ อ ของ
แบบจําลองอะตอมที่มีการพัฒนาจนกลายมาเปนแบบจําลองอะตอมที่ใชกันอยูในปจจุบันได ดังนี้ ดิโมคริตุส นักปรัชญาชาวกรีก ซึ่งกลาวไววา
1. แบบจําลองอะตอมของดอลตัน จอหน ดอลตัน (John Dalton, พ.ศ. 2308-2387) “สิ่งของตางๆ ประกอบดวยอนุภาคที่มีขนาด
นั ก วิ ท ยาศาสตร ช าวอั ง กฤษ เป น คนแรกที่ นํ า เสนอแนวคิ ด เล็กมาก และถาแบงอนุภาคใหมีขนาดเล็กลง
เกี่ยวกับอะตอม เพื่อใชอธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของสาร เรื่อยๆ จนไมสามารถแบงตอไปไดอีก อนุภาค
กอนและหลังทําปฏิกิริยา รวมทั้งอัตราสวนโดยมวลของธาตุที่ ที่มีขนาดเล็กที่สุด เรียกวา อะตอม ซึ่งไม
รวมกันเปนสารประกอบ ซึ่งสามารถสรุปได ดังนี้ สามารถมองเห็นดวยตาเปลาได” จากนั้นครู
• ธาตุแตละชนิดประกอบดวยอนุภาคทีเ่ ล็กทีส่ ดุ เรียกวา เปดโอกาสใหนักเรียนไดซักถามเพิ่มเติม
อะตอม ซึ่งอะตอมไมสามารถแยกออกไดอีก และไมสามารถ 4. นักเรียนรวมกันตอบคําถามและแสดงความคิด-
ภาพที่ 1.1 แบบจําลองอะตอม
ถูกสรางขึ้น หรือทําลายไดในระหวางเกิดปฏิกิริยาเคมี ของดอลตัน เห็นเกี่ยวกับคําตอบของคําถาม เพื่อเชื่อมโยง
• อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีมวลและสมบัติตาง ๆ ที่มา : คลังภาพ อจท.
ไปสูการเรียนรูเรื่อง โครงสรางอะตอม
เหมือนกัน สวนอะตอมของธาตุตางชนิดกันจะมีมวลและสมบัติแตกตางกัน
• สารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตุตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป มารวมตัวกันดวยพันธะเคมี
โดยมีอัตราสวนของจํานวนอะตอมเปนเลขลงตัวอยางตํ่า และ
อะตอมของธาตุตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป อาจรวมตัวเกิดเปนสาร
ประกอบดวยอัตราสวนมากกวา 1 แบบ ซึง่ ทําใหเกิดสารประกอบ
ไดมากกวา 1 ชนิด
ทฤษฎีอะตอมของดอลตันใชอธิบายลักษณะและสมบัตขิ อง
อะตอมไดเพียงระดับหนึ่ง ซึ่งตอมานักวิทยาศาสตรคนพบขอมูล
บางประการทีไ่ มสอดคลองกับทฤษฎีอะตอมของดอลตัน เชน พบวา


ก ไข าร
ุงแ พิจ

ภาพที่ 1.2 จอหน ดอลตัน อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันอาจมีมวลแตกตางกันได เปนตน


ปร วจ
รับ ตร
รป สง

ที่มา : คลังภาพ อจท.


ีกา าง
จม ะหว
อา นร
หา ี้อยู ใ

â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 3
เนื้อ ลมน

แนวตอบ Prior Knowledge


ือเ
ังส
หน

อะตอม

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู


ขอใดกลาวไดถูกตอง 1 ดิโมคริตุส ใชคําวา “อะตอม" ซึ่งเปนคํามาจากภาษากรีก แปลวา
ก. แบบจําลองอะตอม คือ มโนภาพที่สรางขึ้นโดยอาศัยขอมูล สิ่งที่เล็กที่สุดสําหรับเรียกหนวยที่เล็กที่สุดของสสารที่ไมสามารถแบงแยกตอ
การทดลอง ซึ่งอาจถูกหรือผิดก็ได ไปไดอีก โดยเขาไดพยายามศึกษาเกี่ยวกับวัตถุที่มีขนาดเล็ก และมีแนวคิด
ข. ดอลตัน เสนอแนวคิดวาอะตอมไมไดเล็กที่สุด เกี่ยวกับโครงสรางของสสารวา สสารทั้งหลายประกอบดวยอนุภาคที่เล็กที่สุด
ค. ปจจุบันยังใชแนวคิดของดอลตันที่วา อะตอมของธาตุชนิด ไมสามารถมองเห็นได และไมสามารถแบงแยกใหเล็กลงกวานั้นไดอีก และยัง
เดียวกันจะมีสมบัติเหมือนกัน
ไดขยายความเกี่ยวกับอะตอมอีกวา
1. ขอ ก. เทานั้น 2. ขอ ข. เทานั้น
1. วัตถุตางๆ ในโลกประกอบดวยอะตอมเพียงชนิดเดียว
3. ขอ ก. และ ค. 4. ขอ ข. และ ค.
2. อะตอมอยูในที่วาง
5. ขอ ก. ข. และ ค.
3. วัตถุมีลักษณะตางกันเพราะอะตอมเรียงตัวตางกัน
(วิเคราะหคําตอบ แบบจําลองอะตอม คือ มโนภาพที่สรางขึ้นมา
ของนักวิทยาศาสตร ซึ่งอาจถูกหรือผิดก็ได ขอ ก. จึงถูก ดอลตัน
เสนอแนวคิดวา อะตอมมีขนาดเล็กทีส่ ดุ ขอ ข. จึงผิด และปจจุบนั
พบวาอะตอมของธาตุจะมีไอโซโทปของธาตุชนิดเดียวกัน แตเลข
มวลตางกัน ดังนั้น ตอบขอ 1.)
T7

115
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
5. ครูใหนักเรียนแบงกลุมละ 4-5 คน แลวเปด 2. แบบจําลองอะตอมของทอมสัน เซอร โจเซฟ จอหน
โอกาสใหนกั เรียนในกลุม นําเสนอขอมูลเกีย่ วกับ ทอมสัน (Sir Joseph John Thomson, พ.ศ. 2399-2483)
อะตอม ที่ครูมอบหมายใหไปเรียนรูลวงหนา นั ก วิ ท ยาศาสตร ช าวอั ง กฤษ ได ทํ า การทดลองศึ ก ษาสมบั ติ
ใหเพื่อน ๆ ในกลุมฟง จากนั้นใหแตละกลุม ของรังสีแคโทด และพบวา รังสีแคโทดเบี่ยงเบนเขาหาขั้วบวก
สงตัวแทนมานําเสนอขอมูลหนาชั้นเรียน ของสนามไฟฟ า และทดสอบการเบี 1 ่ ย งเบนของรั ง สี แ คโทด
6. ครูตรวจสอบความเขาใจวา นักเรียนมีความ ในสนามแมเหล็ก ปรากฏวา รังสีแคโทดเบีย่ งเบนในสนามแมเหล็ก ภาพที่ 1.3 แบบจําลองอะตอมของ
เขาใจหรือไม โดยการถามคําถามเกีย่ วกับแบบ เขาหาขั้วเหนือ เขาจึงสรุปวา อนุภาครังสีแคโทดมีประจุเปน ทอมสัน
ประจุลบ และเรียกอนุภาคดังกลาววา อิเล็กตรอน ที่มา : คลังภาพ อจท.
จําลองอะตอม
• นักวิทยาศาสตรสรางแบบจําลองอะตอมจาก ตอมาออยเกน โกลดสไตน (Eugen Goldstein) ไดทดลองดัดแปลงหลอดรังสีแคโทด
อะไร จนคนพบอนุภาคใหมที่มีสมบัติเบี่ยงเบนในสนามแมเหล็กและสนามไฟฟาในทิศทางตรงขามกับ
(แนวตอบ จากการสังเกตและการทดลอง) รังสีแคโทดแสดงวา อนุภาคนี้มีประจุไฟฟาเปนบวก และเรียก
• แบบจําลองแตละแบบมีความแตกตางหรือ อนุภาคนีว้ า โปรตอน
ไม เพราะอะไร หลั ง จากมี ก ารค น พบอิ เ ล็ ก ตรอนและโปรตอนแล ว
(แนวตอบ แตกตางกัน เพราะความกาวหนา ทอมสันจึงเสนอแบบจําลองอะตอมใหมวา “อะตอมมีลักษณะ
ของเทคโนโลยีที่เพิ่มมากขึ้น ทําใหผลการ เปนทรงกลมมีอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกและอิเล็กตรอน
ทดลองแสดงแบบจํ า ลองอะตอมมี ค วาม ซึ่งมีประจุลบกระจายอยูทั่วไปอยางสมํ่าเสมอ อะตอมในสภาพที่
ภาพที่ 1.4 เซอร โจเซฟ จอหน ทอมสัน เปนกลางจะมีประจุบวกและประจุลบเทากัน”
นาเชื่อถือมากขึ้น) ที่มา : คลังภาพ อจท.
7. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายในชั้ น เรี ย น 3. แบบจําลองอะตอมของรัทเทอรฟอรด ลอรด เออรเนสต
เพื่อเชื่อมโยงไปสูการจัดการเรียนรู เรื่อง แบบ 2 รัทเทอรฟอรด (Lord Ernest
Rutherford, พ.ศ. 2414-2480) ทําการทดลองยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผนทองคําบางมาก ซึ่งมี
จําลองอะตอม วา อะตอมเปนสิ่งที่มีขนาด ฉากเรืองแสงที่ฉาบดวยซิงคซัลไฟด (ZnS) โคงเปนวงลอมรอบแผนทองคํา ดังภาพที่ 1.5
เล็กมาก ไมสามารถศึกษาโครงสรางไดดวย
͹ØÀÒ¤áÍÅ¿ÒʋǹÁÒ¡
วิธีธรรมดาเหมือนการศึกษาโครงสรางของ แหลงกําเนิด
α
เคลื่อนที่เปนเสนตรงทะลุผาน
α
วัตถุที่สามารถเห็นไดดวยตาเปลา การศึกษา อนุภาคแอลฟา แผนทองคํา
α
เพื่อความเขาใจเกี่ยวกับอะตอม อาจทําได α ͹ØÀÒ¤áÍÅ¿Òʋǹ¹ŒÍÂ
โดยการจําลองรูปรางลักษณะของอะตอมวา α
α
เดินทางเบีย่ งเบนเปนมุมกวาง
α ออกจากแนวเสนทางเดิม
เปนอยางไร ซึ่งแบบจําลองที่ดีจะตองอธิบาย
͹ØÀÒ¤áÍÅ¿Ò¨íҹǹ¹ŒÍÂÁÒ¡
ลักษณะและองคประกอบของอะตอมได แผนทองคํา สะทอนกลับมากระทบฉากบริเวณ
ฉากเรืองแสง ดานหนา
หน
ังส เน
ือเล ื้อห
มน าอา

ภาพที่ 1.5 การทดลองของรัทเทอรฟอรด


ี้อย จม
ู ในร ีกา

ที่มา : คลังภาพ อจท.


ะหว รปร
าง ับป
สง รุง

4
ตร แก
วจ  ไข
พิจ
าร

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


1 รังสีแคโทด คือ รังสี (กระแสของอิเล็กตรอน) ทีห่ ลุดออกมาจากขัว้ ลบของ แบบจํ า ลองอะตอมของทอมสั น และรั ท เทอร ฟ อร ด มี ค วาม
หลอดสุญญากาศเมื่อตอขั้วทั้งสองเขากับแหลงกําเนิดความตางศักย แตกตางกันตามขอใด
1. ชนิดของอนุภาคที่อยูในอะตอม
2 อนุภาคแอลฟา คือ อนุภาคทีป่ ระกอบดวยโปรตอน 2 อนุภาค และนิวตรอน 2. ขนาดของอนุภาคที่อยูในอะตอม
2 อนุภาค เหมือนกับนิวเคลียสของอะตอมธาตุฮีเลียม (He2+) ซึ่งเกิดจากการ 3. จํานวนของอนุภาคที่อยูในอะตอม
สลายตัวของอะตอมของธาตุกัมมันตรังสี 4. ตําแหนงของอนุภาคที่อยูในอะตอม
5. การเคลื่อนที่ของอนุภาคที่อยูในอะตอม
( วิ เ คราะห คํ า ตอบ แบบจํ า ลองอะตอมของทอมสั น กล า วว า
อะตอมประกอบดวยอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวก และอนุภาค
อิเล็กตรอนซึง่ มีประจุลบกระจายอยูท วั่ ไปอยางสมํา่ เสมอ สวนแบบ
จําลองอะตอมของรัทเทอรฟอรดกลาววา อะตอมประกอบดวย
โปรตอนรวมตัวกันเปนนิวเคลียสอยูตรงกลาง สวนอิเล็กตรอน
เคลื่อนที่อยูรอบๆ นิวเคลียส แบบจําลองอะตอมของทั้งสองจึง
ตางกันตรงตําแหนงของอนุภาคทีอ่ ยูใ นอะตอม ดังนัน้ ตอบขอ 4.)

T8

116
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
จากการทดลอง รัทเทอรฟอรดจึงไดเสนอแบบจําลอง 8. ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษาแบบจํ า ลองอะตอม
อะตอมขึ้นมาใหมวา อะตอมประกอบดวยนิวเคลียสขนาดเล็ก ของนักวิทยาศาสตรทั้ง 5 คน คือ ดอลตัน
เปนที่รวมของประจุบวก โดยมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่วิ่งอยูรอบ ๆ ทอมสัน รัทเทอรฟอรด นีลส โบร และแบบ
นิวเคลียสของอะตอม เนื่องจากถาประจุบวกและลบกระจายอยู กลุมหมอกจากในหนังสือเรียน จากนั้นให
อยางสมํา่ เสมอตามแบบจําลองอะตอมของทอมสัน อนุภาคแอลฟา นักเรียนรวมกันอภิปรายวา โครงสรางอะตอม
ก็ควรที่จะมีอัตราการเบี่ยงเบน การหักเห และการสะทอนกลับ ภาพที่ 1.6 แแบบจําลองอะตอมของ ของนั ก วิ ท ยาศาสตร แ ต ล ะคนมี ลั ก ษณะ
ในอัตราสวนที่ใกลกัน รัทเทอรฟอรด
ที่มา : คลังภาพ อจท. อย า งไร มี ค วามเหมื อ นหรื อ แตกต า งกั น
จากแนวคิดของรัทเทอรฟอรด ซึง่ เสนอวา มวลสวนใหญ อยางไร
ของอะตอมควรจะเปนมวลของโปรตอนในนิวเคลียส แตตอมา 9. ครู ใ ช เ ทคนิ ค เพื่ อ นคู  คิ ด โดยให นั ก เรี ย น
มีการคนพบวา มวลอะตอมของธาตุมักจะมีคาเปน 2 เทาของ จับคูกับเพื่อนรวมชั้นเรียนแลวสืบคนขอมูล
มวลของโปรตอนทั้งหมด รัทเทอรฟอรดจึงไดเสนอความเห็น การพั ฒ นาแบบจํ า ลองอะตอมของนั ก
เพิ่มเติมวา นาจะมีอนุภาคที่มีมวลใกลเคียงกับโปรตอน แตไมมี วิทยาศาสตรจากอดีตถึงปจจุบัน ดวยการ
ภาพที่ 1.7 ลอรด เออรเนสต ประจุไฟฟา รวมอยูในนิวเคลียสดวย สลั บ กั น อภิ ป รายวิ ธีก ารสร า งแบบจํ า ลอง
รัทเทอรฟอรด ตอมา เซอร เจมส แชดวิก (Sir James Chadwick) ทําการ และผลสรุปที่ไดของนักวิทยาศาสตรจนครบ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ทดลองยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผนโลหะเบริลเลียม (Be) ปรากฏ ทุกคน
วาไดอนุภาคใหมทมี่ มี วลใกลเคียงกับโปรตอน และเปนกลางทางไฟฟา เรียกอนุภาคนีว้ า นิวตรอน 10. ครูใหนกั เรียนเขียนลําดับขัน้ ตอนแบบจําลอง
4. แบบจําลองอะตอมของโบร นีลส โบร (Niels Bohr) อะตอมของนั ก วิ ท ยาศาสตร จ ากอดี ต ถึ ง
ได พั ฒ นาแบบจํ า ลองอะตอมมาจากการค น พบสี ข องเส น ปจจุบัน และวาดภาพโครงสรางอะตอมที่นัก
สเปกตรัมของไฮโดรเจน โดยสรุปวา อิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยู วิทยาศาสตรแตละคนไดสรุปไวลงในกระดาษ
รอบนิวเคลียสและมีพลังงานเฉพาะตัว ซึง่ อยูใ นระดับพลังงานตํา่ A4 โดยนําเสนอในรูปแบบตาราง ดังนี้
หรือเรียกวา สภาวะพืน้ (ground state) เมือ่ อะตอมไดรบั พลังงาน ภาพแสดง
แบบจําลอง ลักษณะแบบ
เพิ่ ม ขึ้ น อิ เ ล็ ก ตรอนจะถู ก กระตุ  น ให มี พ ลั ง งานสู ง ขึ้ น และ แบบจําลอง
ภาพที่ 1.8 แบบจําลองอะตอม อะตอม จําลองอะตอม
เมื่ อ มี พ ลั ง งานที่ เ หมาะสม อะตอม
ของโบร
อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ไปอยู ที่มา : คลังภาพ อจท. ดอลตัน
ในระดับพลังงานทีส่ งู กวา หรือเรียกวา สภาวะกระตุน (excited state) ทอมสัน
ซึ่งทําใหอะตอมไมเสถียร อิเล็กตรอนจึงคายพลังงานที่ดูดกลืน
รัทเทอรฟอรด
เขาไปออกมา เพื่อเปลี่ยนระดับลงมาสู1ระดับพลังงานที่ตํ่ากวา
และคายพลังงานออกมาในรูปสเปกตรัม นีลส โบร


ก ไข าร

ภาพที่ 1.9 นีลส โบร แบบกลุมหมอก


ุงแ พิจ
ปร วจ

ที่มา : คลังภาพ อจท.


รับ ตร
รป สง
ีกา าง
จม ะหว

11. ครูสมุ นักเรียน 2-3 คู ออกมานําเสนอลักษณะ


อา นร
หา ี้อยู ใ

â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 5
เนื้อ ลมน

ของแบบจําลองอะตอมที่รวมกันสรุป
ือเ
ังส
หน

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


แบบจําลองอะตอมแบบกลุม หมอกอธิบายสิง่ ใดเกีย่ วกับอะตอม ครูอธิบายเพิม่ เติมเกีย่ วกับระดับชัน้ พลังงานในแบบจําลองอะตอมของนีลส
ไดดีกวาแบบจําลองอะตอมของโบร โบร วา จากการที่นีลส โบรไดศึกษาเกี่ยวกับสเปกตรัมของธาตุไฮโดรเจน พบวา
1. ขนาดของอะตอม ธาตุไฮโดรเจนซึ่งมีเพียง 1 อิเล็กตรอน แตสามารถเกิดสเปกตรัมได 4 เสน โดย
2. การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน แตละเสนมีสแี ละความถีต่ า งกัน ดังนัน้ แสดงวาอิเล็กตรอนไมไดอยูท รี่ ะดับเดียว
3. ชนิดของอนุภาคที่พบในอะตอม แตอยูไ ดหลายระดับ ซึง่ หางจากนิวเคลียสไมเทากัน แตละระดับ เรียกวา “ระดับ
4. การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม พลังงาน” ซึ่งมีคาเฉพาะตัว ระดับพลังงานตํ่าสุดจะอยูใกลนิวเคลียส เรียกวา
5. จํานวนอิเล็กตรอนในแตละระดับพลังงาน ระดับพลังงาน K และระดับถัดออกไป คือ L M N O P และ Q ตามลําดับ
(วิเคราะหคําตอบ แบบจําลองอะตอมของโบร อิเล็กตรอนจะ
เคลือ่ นทีร่ อบนิวเคลียสเปนวงกลม แตแบบจําลองอะตอมแบบกลุม
หมอก การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสจะมีทิศทางไม นักเรียนควรรู
แนนอน ดังนั้น ตอบขอ 2.) 1 สเปกตรัม เปนอนุกรมของแถบสี หรือเสนที่ไดจากการผานพลังงานรังสี
เขาไปในสเปกโตรสโคป หรือสเปกโตรมิเตอร ซึง่ ทําใหพลังงานรังสีแยกออกเปน
แถบ หรือเปนเสนที่มีความยาวคลื่นตางๆ เรียงลําดับกันไป
T9

117
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
1. ครู ตั้ ง คํ า ถามเพื่ อ ทดสอบความเข า ใจของ การเปลีย่ นระดับพลังงานของอิเล็กตรอน อาจมีการเปลีย่ นไปยังระดับพลังงานทีอ่ ยูต ดิ กัน
นั ก เรี ย นเกี่ ย วกั บ แบบจํ า ลองอะตอมของ หรือขามระดับก็ได โดยผลตางของพลังงานระหวางระดับพลังงานตํา่ จะมากกวาผลตางของพลังงาน
ดอลตัน แบบจําลองอะตอมของทอมสัน และ ระหวางระดับพลังงานทีส่ งู ขึน้ ไป โดยกําหนดระดับพลังงานทีอ่ ยูใ กลนวิ เคลียสซึง่ มีพลังงานตํา่ ทีส่ ดุ
แบบจําลองอะตอมของรัทเทอรฟอรด ดังนี้ คือ ชั้น K สวนชั้นถัดไปเปนชั้น L, M, N, … ตามลําดับ แตในปจจุบันใช n แทน ระดับพลังงาน
• แบบจําลองอะตอมของดอลตัน ทอมสัน และ รอบนิวเคลียส โดยเรียกระดับพลังงานที่อยูใกลนิวเคลียสเปน
รัทเทอรฟอรด มีลกั ษณะแตกตางกันอยางไร ระดับพลังงานแรก n = 1 และเรียกระดับพลังงานถัดไปเปน
( แนวตอบ อนุ ภ าคภายในอะตอม โดย n = 2, 3, 4, … ตามลําดับ
ดอลตั น บอกว า อะตอมไม ส ามารถแบ ง 5. แบบจําลองอะตอมแบบกลุมหมอก จากการศึกษา
แยกได ทอมสันพบอนุภาค 2 ชนิด คือ พบวา แบบจําลองอะตอมของโบรใชอธิบายเกีย่ วกับเสนสเปกตรัม
โปรตอนกับนิวตรอน สวนรัทเทอรฟอรด ของธาตุไฮโดรเจนไดดี แตไมสามารถอธิบายเสนสเปกตรัม
ของอะตอมที่มีหลายอิเล็กตรอนได จึงไดมีการศึกษาเพิ่มเติม
พบ 3 อนุภาค คือ โปรตอน นิวตรอน และ
ทางกลศาสตรควอนตัม แลวสรางสมการสําหรับใชคํานวณ ภาพที ่ 1.10 แบบจําลองอะตอมแบบ
กลุมหมอก
อิเล็กตรอน) โอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนในระดับพลังงานตาง ๆ ขึ้นมา จนได ที่มา : คลังภาพ อจท.
• อนุ ภ าคมู ล ฐานของอะตอมประกอบด ว ย แบบจําลองใหม ที่เรียกวา แบบจําลองอะตอมแบบกลุมหมอก ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
อะไรบาง และนักวิทยาศาสตรทานใดเปน • อิเล็กตรอนเคลือ่ นทีร่ อบนิวเคลียสอยางรวดเร็วดวยรัศมีไมแนนอน จึงไมสามารถบอก
ผูคนพบ ตําแหนงที่แนนอนของอิเล็กตรอนได บอกไดแตเพียงโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนในบริเวณตาง ๆ
(แนวตอบ อะตอมประกอบดวยอิเล็กตรอน ปรากฏการณแบบนีเ้ รียกวา กลุม หมอกของอิเล็กตรอน บริเวณทีม่ กี ลุม หมอกอิเล็กตรอนหนาแนน
คนพบโดยทอมสัน โปรตอน คนพบโดย จะมีโอกาสพบอิเล็กตรอนมากกวาบริเวณที่เปนหมอกจาง
โกลดสไตน และนิวตรอน คนพบโดยแชดวิก) • การเคลือ่ นทีข่ องอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสอาจเปนรูปทรงกลมหรือรูปอืน่ ๆ ขึน้ อยูก บั
2. ครู ตั้ ง คํ า ถามเพื่ อ ทดสอบความเข า ใจของ ระดับพลังงานของอิเล็กตรอน แตผลรวมของกลุม หมอกของอิเล็กตรอนทุกระดับพลังงานจะเปนรูป
นักเรียนเกี่ยวกับแบบจําลองอะตอมของโบร ทรงกลม
และแบบกลุมหมอก โดยที่ครูคอยอธิบายและ ดังนั้น จึงสามารถสรุปลักษณะของแบบจําลองอะตอมแบบกลุมหมอกได ดังนี้ “อะตอม
เสริมขอมูลที่ถูกตองใหกับนักเรียน ประกอบดวยกลุม หมอกของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียส มีลกั ษณะเปนทรงกลม บริเวณกลุม หมอกทึบ
แสดงวาโอกาสพบอิเล็กตรอนมีมาก และบริเวณทีก่ ลุม หมอกจางโอกาสทีจ่ ะพบอิเล็กตรอนมีนอ ย”
• แบบจําลองอะตอมของโบรมีขอเสียอยางไร
แบบจําลองอะตอมแบบกลุมหมอกที่นักวิทยาศาสตรเสนอขึ้นมา ทําใหเกิดความเขาใจเกี่ยวกับ
จึ ง ทํ า ให มี ก ารพั ฒ นาแบบจํ า ลองอะตอม โครงสรางของอะตอมมากขึ้น และสามารถเขาใจปรากฏการณบางอยางที่ไมสอดคลองกับ
แบบกลุมหมอกขึ้นมา ทฤษฎีอะตอมของโบรได
( แนวตอบ แบบจํ า ลองอะตอมของโบร แบบจําลองอะตอมแบบตาง ๆ นัน้ ถูกสรางขึน้ ตามจินตนาการบนพืน้ ฐานของความรูต าม
ใช อ ธิ บ ายได ดี เ ฉพาะอะตอมที่ มี เ พี ย งตั ว แตละยุคสมัย และเมื่อนักวิทยาศาสตรคนพบขอบกพรอง หรือมีความรูใหม ๆ เกิดขึ้น ก็จะนําไปสู
เดียว ไมสามารถอธิบายธาตุที่มีอิเล็กตรอน การเปลีย่ นแปลงแบบจําลองอะตอม เพือ่ ใหเกิดความเหมาะสมและถูกตองตอไป โดยสามารถสรุป
หน
ังส เน
ือเล ื้อห

มากกวา 1 ตัวได) และเปรียบเทียบโครงสรางอะตอมตามแบบจําลองอะตอมแบบตาง ๆ ได ดังนี้


มน าอา
ี้อย จม
ู ในร ีกา
ะหว รปร
าง ับป
สง รุง

6
ตร แก
วจ  ไข
พิจ
าร

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


รูปทรงตางๆ ของกลุมหมอกอิเล็กตรอนจะขึ้นอยูกับระดับพลังงานของ ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับแบบจําลองอะตอม
อิ เ ล็ ก ตรอน การใช ท ฤษฎี ค วอนตั ม จะสามารถอธิ บ ายการจั ด เรี ย งตั ว ของ 1. อะตอมประกอบดวยอิเล็กตรอนและโปรตอน
อิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสไดเปนออรบิทัล (orbital) ในระดับพลังงานยอย s p 2. อะตอมเปนอนุภาคที่เล็กที่สุดที่ไมสามารถแบงแยกได
d f โดยแตละออรบิทัลจะบรรจุอิเล็กตรอนได ดังนี้ 3. อะตอมประกอบดวยนิวเคลียสขนาดเล็กที่มีประจุบวกโดย
s orbital มี 1 ออรบิทัล หรือ 2 อิเล็กตรอน มีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยูรอบๆ
p orbital มี 3 ออรบิทัล หรือ 6 อิเล็กตรอน 4. อะตอมมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยูรอบนิวเคลียสตามระดับ
d orbital มี 5 ออรบิทัล หรือ 10 อิเล็กตรอน พลังงานซึ่งจะมีพลังงานเฉพาะตัว
f orbital มี 7 ออรบิทัล หรือ 14 อิเล็กตรอน 5. อะตอมประกอบดวยกลุมหมอกของอิเล็กตรอนรอบ
นิวเคลียสที่มีลักษณะเปนทรงกลม
(วิเคราะหคําตอบ จากการศึกษาเกี่ยวกับแบบจําลองอะตอม
ตั้งแตในอดีตจนถึงปจจุบัน แบบจําลองอะตอมไดเปลี่ยนแปลง
รูปรางตามการคนพบตาง ๆ ซึง่ ปจจุบนั เปนแบบจําลองอะตอมเปน
แบบกลุมหมอก ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T10

118
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ขยายความเขาใจ
Ẻ¨íÒÅͧÍеÍÁ 1. ครูใหนักเรียนดูและศึกษาเรื่อง แบบจําลอง
อะตอม จากสื่อ PowerPoint พรอมกับที่ครู
´Íŵѹ บรรยายสรุปตามไปกับสื่อการสอน เพื่อให
เปนทรงกลมตัน มีขนาดเล็กที่สุด ไมสามารถแบงแยกได นักเรียนเกิดมโนทัศนในสิ่งที่นักเรียนไดศึกษา
มาแลว
พ.ศ. 2346 สิ่งที่พบในแบบจําลอง : - 2. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปเกี่ยวกับแนวคิดใน
การพัฒนาแบบจําลองอะตอมอีกครั้ง
·ÍÁÊѹ
เป น ทรงกลม ประกอบด ว ยโปรตอนซึ่ ง มี ป ระจุ บ วกและ 3. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหา เรื่อง
อิเล็กตรอนที่มีประจุลบกระจายอยูอยางสมํ่าเสมอ แบบจําลองอะตอมของนักวิทยาศาสตรแตละ
ทาน วามีสวนไหนที่ไมเขาใจและครูใหความรู
พ.ศ. 2447 สิ่งที่พบในแบบจําลอง : โปรตอนและอิเล็กตรอน เพิ่มเติมในสวนนั้น
ÃÑ·à·ÍÏ¿ÍÏ´
เปนทรงกลม ประกอบดวยนิวเคลียสที่มีประจุบวกอยูตรง
กลางอะตอม โดยมีอิเล็กตรอนที่มีประจุลบวิ่งอยูรอบ ๆ
นิวเคลียส

พ.ศ. 2454 สิ่งที่พบในแบบจําลอง : นิวเคลียส ประกอบดวยโปรตอนและนิวตรอน

âºÃ
เปนทรงกลม ประกอบดวยนิวเคลียสอยูกลางอะตอม โดยมี
อิเล็กตรอนเคลือ่ นทีอ่ ยูโ ดยรอบอะตอมเปนระดับชัน้ พลังงาน

พ.ศ. 2456 สิ่งที่พบในแบบจําลอง : ระดับชั้นพลังงานของอิเล็กตรอน


Ẻ¡ÅØ‹ÁËÁÍ¡
เปนทรงกลม ประกอบดวยนิวเคลียสอยูกลางอะตอม และ
อิเล็กตรอนเคลือ่ นทีอ่ ยูร อบ ๆ นิวเคลียส ไมมที ศิ ทางทีแ่ นนอน

สิ่งที่พบในแบบจําลอง : ความหนาแนนของอิเล็กตรอน และ


พ.ศ. 2469 - ปจจุบัน โอกาสหรือความเปนไปไดในการพบอิเล็กตรอน


ก ไข าร
ุงแ พิจ
ปร วจ
รับ ตร
รป สง
ีกา าง
จม ะหว
อา นร
หา ี้อยู ใ

แบบจําลองอะตอม â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 7
เนื้อ ลมน
ือเ
ังส
หน

กิจกรรม สรางเสริม เกร็ดแนะครู


ใหนกั เรียนสรุปลักษณะโครงสรางอะตอมของนักวิทยาศาสตร ครูสามารถใหนักเรียนใชสมารตโฟนสแกน QR Code เรื่อง แบบจําลอง
ทานตางๆ และทําตารางเปรียบเทียบความแตกตางของโครงสราง อะตอมในหนังสือเรียน เพื่อทบทวนเกี่ยวกับแบบจําลองอะตอมรวมกับการ
อะตอมของนักวิทยาศาสตรแตละทานลงในกระดาษ A4 แลวสง ศึกษาเนื้อหาในหนังสือเรียน
ครูผูสอน

สื่อ Digital
กิจกรรม ทาทาย ศึกษาเพิ่มเติมไดจาก QR Code เรื่อง แบบจําลองอะตอมของโบร
ให นั ก เรี ย นลองสร า งแบบจํ า ลองของอะตอมตามแนวคิ ด
ของนักวิทยาศาสตรทานตางๆ จากอุปกรณที่หาไดสะดวก เชน
กระดาษ ดินนํ้ามัน แลวนําผลงานที่สรางไดสงครูผูสอน แบบจําลองอะตอมของโบร
www.aksorn.com/interactive3D/RKB14

T11

119
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
ครูถามคําถามนักเรียนเพือ่ กระตุน ความสนใจของ 1.2 ͧ¤»ÃСͺ¢Í§ÍеÍÁ
นักเรียน กอนนําเขาสูบทเรียนเรื่อง องคประกอบ
ของอะตอม จากการทดลองของนักวิทยาศาสตรที่กลาวมาแลว ทําใหทราบวา อะตอมประกอบดวย
อนุภาคโปรตอนและนิวตรอนรวมกันอยูภายในนิวเคลียส และมีอนุภาคอิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยู
• จากการศึกษา เรื่อง แบบจําลองอะตอม
รอบ ๆ ดังภาพที่ 1.11
นักเรียนสามารถบอกไดหรือไมวาอะตอม
ประกอบดวยอนุภาคใดบาง
(แนวตอบ โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน) ÍÔàÅ硵Ã͹ (e-)
• นั ก เรี ย นคิ ด ว า ธาตุ ทุ ก ชนิ ด จะมี จํ า นวน ¹ÔÇà¤ÅÕÂÊ
â»ÃµÍ¹ (p+)
โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน เทากัน ¹ÔǵÃ͹ (n)
หรือไม
(แนวตอบ ธาตุแตละชนิดไมจําเปนตองมี
โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนเทากัน)
ภาพที่ 1.11 อนุภาคมูลฐานของอะตอม
ขัน้ สอน ที่มา : คลังภาพ อจท.
สํารวจคนหา ตารางที่ 1.1 : การเปรียบเทียบความแตกตางของอนุภาคมูลฐานของอะตอม
1. ครูใหนกั เรียนแบงกลุม ออกเปน 4 กลุม จากนัน้ อนุภาค สัญลักษณ ชนิดประจุ มวล (g) มวลเปรียบเทียบ
ใหผูแทนนักเรียนของแตละกลุมออกมาจับ อิเล็กตรอน e- -1 9.109 × 10-28 1
สลากเลื อ กหั ว ข อ ในการสื บ ค น ข อ มู ล จาก โปรตอน p+ +1 1.673 × 10-24 1,836
หนังสือเรียน หรือแหลงเรียนรูตางๆ ดังหัวขอ นิวตรอน n 0 1.675 × 10-24 1,839
ตอไปนี้
• สัญลักษณนิวเคลียร 1. สัญลักษณนิวเคลียร (nuclear symbol) คือ สัญลักษณที่แสดงชนิดของธาตุ เลขมวล
• โมเลกุล และเลขอะตอมของธาตุ โดยเราสามารถใชเลขมวลและเลขอะตอมในการหาจํานวนอนุภาคมูลฐาน
• ไอออน ของอะตอมได ซึ่งเขียนแทนดวยสัญลักษณ ดังนี้
• ไอโซโทป ÊÑÞÅѡɳ¢Í§¸ÒµØ
2. ครูใหนักเรียนแตละกลุมออกมาสรุปเกี่ยวกับ
A
หัวขอที่จับสลากไดในรูปแบบที่นาสนใจและ
X
àÅ¢ÁÇÅ (mass number) จะไดวา
เปนตัวเลขที่แสดงผลรวมของ
เขาใจงาย จํานวนโปรตอนและนิวตรอน จํานวนโปรตอน = Z
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช àÅ¢ÍеÍÁ (atomic number) Z จํานวนอิเล็กตรอน = จํานวนโปรตอน = Z
จํานวนนิวตรอน = เลขมวล - เลขอะตอม
หน
ังส เน

แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม) เปนตัวเลขที่แสดงจํานวนโปรตอน A-Z


ือเล ื้อห

=
มน าอา
ี้อย จม

ภาพที่ 1.12 สัญลักษณนิวเคลียร


ู ในร ีกา
ะหว รปร
าง ับป

ที่มา : คลังภาพ อจท.


สง รุง

8
ตร แก
วจ  ไข
พิจ
าร

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ในการสอน เรื่อง สัญลักษณนิวเคลียรของธาตุ ครูควรใหนักเรียนไดฝก ขอความใดกลาวถึงอะตอมไดถูกตองที่สุด
ทําโจทยเพื่อใหเกิดความเขาใจ โดยครูอาจเขียนสัญลักษณนิวเคลียรของธาตุ 1. อะตอมอยูเปนอิสระได
แลวใหนักเรียนตอบทีละคนวาเปนสัญลักษณของธาตุใด มีโปรตอน นิวตรอน 2. นิวเคลียสในอะตอมมีประจุเปนกลางเสมอ
และอิเล็กตรอนจํานวนเทาใด 3. เมื่ออะตอมเสียอิเล็กตรอนจะเกิดเปนไอออนบวก
4. เมื่อจํานวนโปรตอนเทากับจํานวนนิวตรอนจะทําใหอะตอม
เปนกลาง
สื่อ Digital 5. เมือ่ จํานวนโปรตอนมากกวาจํานวนนวิตรอนจะทําใหอะตอม
ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง อะตอมคืออะไร? กลายเปนไอออนบวก
https://twig-aksorn. (วิเคราะหคําตอบ เมื่ออะตอมเสียอิเล็กตรอนไปซึ่งเปนการเสีย
com/film/what-is-an- ประจุลบ ทําใหอะตอมกลายเปนไอออนบวก เชน อะตอมของ
atom-8157/ ลิเทียม (Li) เมื่อเสียอิเล็กตรอนใหธาตุอื่นไป 1 อนุภาค จะเปน
ลิเทียมไอออน (Li+) ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T12

120
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
ตัวอย่างที่ 1.1 1. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับผลการ
ธาตุลิเทียมมีสัญลักษณนิวเคลียร คือ 7Li
3 จงหาจํานวนอนุภาคมูลฐานของธาตุลิเทียม สืบคน โดยครูถามคําถาม ดังนี้
• สัญลักษณนิวเคลียสของธาตุ จะมีตัวเลข
วิธีทํา จํานวนโปรตอน = เลขอะตอม = 3 กํากับไว 2 ตัว ซึ่งตัวเลขนั้นหมายถึงสิ่งใด
จํานวนอิเล็กตรอน = จํานวนโปรตอน = 3
(แนวตอบ ตัวเลขตัวลาง คือ จํานวนโปรตอน
จํานวนนิวตรอน = เลขมวล - เลขอะตอม = 7 - 3 = 4
ตัวเลขดานบน คือ จํานวนโปรตอนรวมกับ
ดังนั้น ธาตุลิเทียมมีจํานวนโปรตอนเทากับ 3 จํานวนอิเล็กตรอนเทากับ 3 และจํานวนนิวตรอน
เทากับ 4 ตอบ นิวตรอน)
• โมเลกุ ล คื อ อะไร แตกต า งจากอะตอม
ตัวอย่างที่ 1.2 อยางไร
1
ธาตุคริปทอนมีสัญลักษณนิวเคลียร คือ 8436Kr จงหาจํานวนอนุภาคมูลฐานของธาตุคริปทอน (แนวตอบ อะตอม คือ อนุภาคทีเ่ ล็กทีส่ ดุ ของ
ธาตุที่ยังแสดงลักษณะและสมบัติของธาตุ
วิธีทํา จํานวนโปรตอน = เลขอะตอม = 36
นั้นๆ สวนโมเลกุล คือ อนุภาคที่เล็กที่สุด
จํานวนอิเล็กตรอน = จํานวนโปรตอน = 36
จํานวนนิวตรอน = เลขมวล - เลขอะตอม = 84 - 36 = 48 ของสาร ทีส่ ามารถอยูไ ดอสิ ระ ประกอบดวย
ดังนั้น ธาตุคริปทอนมีจํานวนโปรตอนเทากับ 36 จํานวนอิเล็กตรอนเทากับ 36 และจํานวนนิวตรอน หนึ่งอะตอม หรือมากกวาหนึ่งอะตอม)
เทากับ 48 ตอบ • ธาตุที่เปนไอโซโทปกันจําเปนตองเปนธาตุ
ชนิดเดียวกันเสมอไปหรือไม
2. โมเลกุล (molecule) คือ อนุภาคที่เล็กที่สุดของธาตุหรือสารประกอบที่อยูไดอยางอิสระ (แนวตอบ จําเปน โดยอะตอมของธาตุชนิด
และยังคงแสดงสมบัตขิ องธาตุหรือสารประกอบนัน้ ๆ เกิดจากอะตอมอยางนอย 2 อะตอมมารวมกัน เดียวกันจะตองมีจํานวนโปรตอนเทากัน ซึ่ง
และจัดเรียงตัวอยางแนนอน โมเลกุลหนึ่ง ๆ อาจจะประกอบดวยอะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน ธาตุที่เปนไอโซโทปกันจะมีจํานวนโปรตอน
หรือตางชนิดกันก็ได ตัวอยางเชน แกสไฮโดรเจน (H2) เปนธาตุบริสทุ ธิท์ ปี่ ระกอบกันเปนโมเลกุล โดย หรือเลขอะตอมเทากัน แตมจี าํ นวนนิวตรอน
การรวมตัวของไฮโดรเจน 2 อะตอมเขาดวยกัน นํ้า (H2O) เปนโมเลกุลของสารประกอบที่เกิดจาก แตกตางกัน ดังนัน้ ธาตุทเี่ ปนไอโซโทปกันจึง
ไฮโดรเจน 2 อะตอมรวมตัวกับออกซิเจน 1 อะตอม เปนธาตุชนิดเดียวกัน)
• ธาตุที่ไดรับอิเล็กตรอนเพิ่มเขามาจะกลาย
เป น ไอออนชนิ ด ใด และธาตุ ที่ สู ญ เสี ย
H H H อิเล็กตรอนไปจะกลายเปนไอออนชนิดใด
H O (แนวตอบ ไอออนลบ และไอออนบวก ตาม
ลําดับ)

ภาพที่ 1.13 โมเลกุลของแกสไฮโดรเจน ภาพที่ 1.14 โมเลกุลของนํ้า


ก ไข าร
ุงแ พิจ
ปร วจ

ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท.


รับ ตร
รป สง
ีกา าง
จม ะหว
อา นร
หา ี้อยู ใ

â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 9
เนื้อ ลมน
ือเ
ังส
หน

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


พิจารณาคําอธิบายตอไปนี้ ครูนาํ โมเดลโมเลกุลมาใชรว มกับการอธิบายโมเลกุลเพือ่ ใหนกั เรียนเห็นภาพ
ก. H มีจํานวนโปรตอนเทากับ D โมเลกุลไดชัดเจนมากขึ้น อาจจะใชดินนํ้ามันสีตางๆ กับไมจิ้มฟนแทนโมเดล
ข. P มีจํานวนนิวตรอนนอยกวา S โมเลกุลก็ได
ค. O2- มีจํานวนอิเล็กตรอนเทากับ F-
ง. Al มีจํานวนอนุภาคมูลฐานทั้งหมด 27 ตัว
ขอใดอธิบายสัญลักษณนิวเคลียรไดถูกตอง นักเรียนควรรู
1. ก. และ ข. 2. ก. และ ค. 3. ข. และ ง.
4. ค. และ ง. 5. ก. และ ง. 1 ธาตุคริปทอน เปนธาตุหมู 8 ในตารางธาตุ มีเลขอะตอม 36 เปนแกสเฉือ่ ย
ไมมีสี สามารถแยกออกจากอากาศไดโดยอัดอากาศใหเปนของเหลว ใชควบคู
(วิเคราะหคําตอบ 1H และ 21D มีจํานวนโปรตอนเทากับ 1
1
กับอารกอน (Ar) สําหรับหลอดเรืองแสง เพื่อเพิ่มความสวางและประสิทธิภาพ
31 32
15P และ 16S มีจํานวนนิวตรอนเทากับ 16 ของหลอดไฟ
16 2- 19 -
8O และ 9F มีจํานวนอิเล็กตรอนเทากับ 10
อนุภาคมูลฐานประกอบดวยโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน 1327Al มีจาํ นวน
อนุภาคมูลฐานทั้งหมด 13 + 13 + 14 = 40 ตัว ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T13

121
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
2. ครูอธิบายความรูสรุปเกี่ยวกับ “โมเลกุล” วา ธาตุบางชนิดในธรรมชาติ เชน แกสมีตระกูลหรือแกสเฉือ่ ย (inert gas) ไดแก ฮีเลียม (He)
คือ อนุภาคที่เล็กที่สุดของสาร ซึ่งสามารถอยู นีออน (Ne) อารกอน (Ar) คริปทอน (Kr) ซีนอน (Xe) และเรดอน (Rn) โมเลกุลของแกสเหลานี้
ไดอยางอิสระในธรรมชาติ และสามารถแสดง มีเพียง 1 อะตอมเทานั้นที่เปนองคประกอบ จึงจัดเปนโมเลกุลประเภท โมเลกุลอะตอมเดี่ยว
สมบัตเิ ฉพาะตัวของสารนัน้ ได โมเลกุลเกิดจาก (monoatomic molecule)
อะตอมตัง้ แต 2 อะตอมขึน้ ไปมารวมกันในทาง ธาตุบางชนิดจะอยูในรูปโมเลกุลที่ประกอบดวย 2 อะตอม ซึ่งอยูดวยกันโดยแรงดึงดูด
ทางเคมี เรียกวา โมเลกุลอะตอมคู (diatomic molecule) ไดแก ไฮโดรเจน (H2) ออกซิเจน (O2)
เคมี เมื่อพิจารณาถึงชนิดของอะตอมที่มารวม
ไนโตรเจน (N2) และธาตุในหมู 7A ไดแก ฟลูออรีน (F2) คลอรีน (Cl2) โบรมีน (Br2) และไอโอดีน (I2)
กันสามารถจําแนกโมเลกุลไดเปน 2 ประเภท ซึ่งอะตอมในโมเลกุลคูอาจจะเปนของธาตุตางชนิดกันก็ได เมื่อมารวมกันจึงเกิดเปนสารประกอบ
ดังนี้ 1A 8A เชน ไฮโดรคลอไรด (HCI) คารบอนมอนอกไซด
• โมเลกุลของธาตุ ประกอบดวยอะตอมชนิด H 2A 3A 4A 5A 6A 7A (CO) ไฮโดรเจนฟลูออไรด (HF) เปนตน สําหรับ
เดียวกันมารวมกัน เชน แกสไนโตรเจน (N2) N O F โมเลกุลที่มีอะตอมมากกวา 2 อะตอมขึ้นไป
ประกอบดวยไนโตรเจน 2 อะตอม แกส Cl เรียกวา โมเลกุลหลายอะตอม (polyatomic
Br
ออกซิเจน (O2) ประกอบดวยออกซิเจน 2 molecule ) ซึ่ ง อาจเกิ ด จากอะตอมของธาตุ
อะตอม กํามะถัน (S8) ประกอบดวยซัลเฟอร ชนิดเดียวกัน เชน กํามะถัน (S8) ทีป่ ระกอบดวย
8 อะตอม กํามะถัน 8 อะตอมมาเชือ่ มตอกัน หรือเปนธาตุ
ภาพที่ 1.15 ธาตุที่ปรากฏในรูปของโมเลกุลอะตอมคู ตางชนิดกันมารวมกันเปนสารประกอบ เชน
• โมเลกุ ล ของสารประกอบ ประกอบด ว ย ที่มา : คลังภาพ อจท. นํ้า (H2O) แอมโมเนีย (NH3) กรดคารบอนิก
อะตอมตางชนิดกันมารวมกัน เชน นํา้ (H2O) (H2CO3) เปนตน
ประกอบดวยไฮโดรเจน 2 อะตอม และ
ออกซิเจน 1 อะตอม แอมโมเนีย (NH3) Science Focus
ÊÙµÃà¤ÁÕ
ประกอบดวยไนโตรเจน 1 อะตอม และ
ไฮโดรเจน 3 อะตอม กรดคาร บ อนิ ก สูตรเคมี (chemical formula) คือ กลุม ของสัญลักษณของธาตุทเี่ ขียนแทนสารประกอบ หรือโมเลกุล
ของธาตุทมี่ อี ะตอมมารวมกันตัง้ แต 2 อะตอมขึน้ ไป แบงออกเปน 3 ประเภท คือ สูตรโมเลกุล สูตรอยางงาย
(H2CO3) ประกอบดวยไฮโดรเจน 2 อะตอม และสูตรโครงสราง
คารบอน 1 อะตอม และออกซิเจน 3 อะตอม • สูตรโมเลกุล เปนสูตรที่เขียนแสดงองคประกอบที่มีอยูใน 1 โมเลกุล วาประกอบดวยอะตอม
ของธาตุอะไรบาง และมีจํานวนเทาใด เชน แกสไฮโดรเจนมีสูตรโมเลกุลเปน H2 แสดงวาแกสไฮโดรเจน
1 โมเลกุล จะประกอบดวยไฮโดรเจน 2 อะตอม แกสคารบอนไดออกไซดมีสูตรโมเลกุลเปน CO2 แสดง
วาแกสคารบอนไดออกไซด 1 โมเลกุล ประกอบดวยคารบอน 1 อะตอม และออกซิเจน 2 อะตอม
• สูตรอยางงาย เปนสูตรที่เขียนแสดงองคประกอบที่มีอยูใน 1 โมเลกุล วาประกอบดวยอะตอม
ของธาตุใดมารวมกันในอัตราสวนอยางตํ่าของธาตุที่เปนองคประกอบ เชน CH2O เปนสูตรอยางงาย
ของกลูโคส (C6H12O6)
• สูตรโครงสราง เปนสูตรที่เขียนแสดงองคประกอบที่มีอยูใน 1 โมเลกุล วาประกอบดวยอะตอม
ของธาตุใดบาง อยางละกีอ่ ะตอม และอะตอมแตละอะตอมยึดเหนีย่ วกันดวยพันธะชนิดใด เชน แกส CO2
หน
ังส เน
ือเล ื้อห

มีสูตรโครงสรางเปน O C O
มน าอา
ี้อย จม
ู ในร ีกา
ะหว รปร
าง ับป
สง รุง

10
ตร แก
วจ  ไข
พิจ
าร

ขอสอบเนน การคิด
จากจํานวนเลขอะตอม เลขมวล ชนิดและจํานวนอนุภาคของธาตุ A ถึง C
เลข เลขมวล
สัญลักษณ โปรตอน อิเล็กตรอน นิวตรอน อะตอม ขอใดคือสัญลักษณนิวเคลียรที่ถูกตองของธาตุ A B และ C
1. 2311A 1327B และ 1735C2+ 2. 2311A 1327B และ 3517C2+
A ................. ................. ................. 11 23
B ................. 13 14 ................. ................. 3. 2212A 2614B และ 1832C2+ 4. 2212A 1426B และ 1832C2+
C2+ 17 ................. 18 ................. ................. 5. 1123A 1327B และ 1535C2+

(วิเคราะหคําตอบ เลขอะตอมเปนตัวเลขที่แสดงจํานวนโปรตอน สวนเลขมวลเปนตัวเลขที่แสดงผลรวมของจํานวนโปรตอนและ


นิวตรอน ดังนั้น ธาตุ A สัญลักษณนิวเคลียรเปน 1123A เพราะมีเลข มวลเทากับ 23 และเลขอะตอมเทากับ 11
ธาตุ B สัญลักษณนิวเคลียรเปน 1327B เพราะมีอิเล็กตรอนเทากับ 13 ซึ่งจะเทากับจํานวนโปรตอน เลขอะตอมจึงเทากับ 13 และเลข
มวลเทากับ 13 + 14 = 27
ธาตุ C สัญลักษณนิวเคลียรเปน 1735C2+ เพราะมีโปรตอนเทากับ 17 จึงมีเลขอะตอมเทากับ 17 ดวย สวนเลขมวลจะเทากับ 17 + 18
= 35 ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T14

122
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
3. ไอออนและไอโซโทปของธาตุ 3. ครูตงั้ คําถามเพือ่ ขยายความเขาใจของนักเรียน
1) ไอออน (ion) คือ ธาตุที่มีจํานวนอิเล็กตรอนกับจํา1นวนโปรตอนไมเทากัน โดยเรียก เกี่ยวกับสัญลักษณนิวเคลียร โมเลกุล ไอออน
ธาตุทมี่ จี าํ นวนอิเล็กตรอนนอยกวาจํานวนโปรตอนว 2 า ไอออนบวก (cation) และเรียกธาตุทมี่ จี าํ นวน และไอโซโทปธาตุ ดังนี้
อิเล็กตรอนมากกวาจํานวนโปรตอนวา ไอออนลบ (anion) ตัวอยางเชน • จงหาจํานวนโปรตอน นิวตรอน และ
โซเดียมไอออน ซัลเฟอรไอออน อิเล็กตรอนของไอออนตอไปนี้
24 2+ 31 2- 56 3+
12Mg 16P 26Fe
มีสัญลักษณนิวเคลียร คือ มีสัญลักษณนิวเคลียร คือ
23 + จํจําานวนโปรตอน = 11
32 2- จํจําานวนโปรตอน = 16 (แมกซีเซียมไอออน มีจํานวนโปรตอน = 12
11 Na นวนนิวตรอน = 12
จํานวนอิเล็กตรอน = 10
ไอออนบวก S นวนนิวตรอน = 16
16 จํานวนอิเล็กตรอน = 18 ไอออนลบ จํานวนอิเล็กตรอน = 10 จํานวนนิวตรอน =
12 ฟอสฟอรัสไอออน มีจาํ นวนโปรตอน = 15
อะตอมของแตละธาตุจะเปลี่ยนเปนไอออนบวกหรือลบไดนั้น เกิดจากปจจัย ดังนี้ จํานวนอิเล็กตรอน = 17 จํานวนนิวตรอน
• อะตอมของโลหะจะเสียอิเล็กตรอนแลวเปลี่ยนเปนไอออนบวก โดยจะมีประจุเทากับ = 16 เหล็กไอออน มีจํานวนโปรตอน = 26
จํานวนอิเล็กตรอนทีเ่ สียไป เชน Mg2+ มีประจุบวก 2 แสดงวา อะตอมของ Mg สูญเสียอิเล็กตรอน จํานวนอิเล็กตรอน = 24 จํานวนนิวตรอน =
ไป 2 ตัว 30)
• อะตอมของอโลหะจะรับอิเล็กตรอนแลวเปลี่ยนเปนไอออนลบ โดยจะมีประจุเทากับ • ธาตุใดตอไปนี้ เปนไอโซโทปกัน 206 30
82Pb 15P
จํานวนอิเล็กตรอนที่รับมา เชน Cl- มีประจุลบ 1 แสดงวา อะตอมของ Cl รับอิเล็กตรอนมา 1 ตัว 18 211 19
8O 82Pb 9F
206 211
( 82Pb และ 82Pb เปนไอโซโทปกัน)
ตัวอย่างที่ 1.3
4. ครูใหนักเรียนรวมกันตอบคําถามทาทายการ
ไอออนบวกของธาตุอะลูมิเนียมมีสัญลักษณนิวเคลียร คือ 2713Al3+ จงหาอนุภาคมูลฐานของไอออนบวก
ของธาตุอะลูมิเนียม คิดขั้นสูง H.O.T.S. “ถานักเรียนนําธาตุ Z ไป
ผานกระบวนการหนึ่ง แลวมีผลทําใหอะตอม
วิธีทํา จํานวนโปรตอน = เลขอะตอม = 13 ของธาตุ Z เกิดการเปลี่ยนแปลง นักเรียนจะ
จํานวนอิเล็กตรอน = 13 - 3 = 10
จํานวนนิวตรอน = 27 - 13 = 14 ใชสิ่งใดเปนเกณฑในการพิจารณาวาธาตุ Z
ดังนั้น ไอออนบวกของธาตุอะลูมิเนียมมีจํานวนโปรตอนเทากับ 13 จํานวนอิเล็กตรอนเทากับ 10 เปลี่ยนไปเปนธาตุใหมหรือไม
และจํานวนนิวตรอนเทากับ 14 ตอบ 5. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหาเกี่ยว
กับสัญลักษณนิวเคลียร โมเลกุล ไอออน และ
ไอโซโทปธาตุ วามีสวนไหนที่ไมเขาใจและครู
คําถามทาทายการคิดขัน
้ สูง
ใหความรูเพิ่มเติมในสวนนั้น
ถานักเรียนนําธาตุ Z ไปผานกระบวนการหนึ่ง แลวมีผลทําใหอะตอมของธาตุ Z เกิดการ
เปลี่ยนแปลง นักเรียนจะใชสิ่งใดเปนเกณฑในการพิจารณาวาธาตุ Z เปลี่ยนไปเปนธาตุใหม


ก ไข าร
ุงแ พิจ

หรือไม แนวตอบ H.O.T.S.


ปร วจ
รับ ตร
รป สง
ีกา าง
จม ะหว

เมือ่ จํานวนโปรตอนของธาตุเปลีย่ นไปจะทําให


อา นร
หา ี้อยู ใ

â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 11
เนื้อ ลมน

ธาตุเปลี่ยนชนิดไป เนื่องจากจํานวนโปรตอนเปน
ือเ
ังส
หน

จํานวนที่เฉพาะเจาะจงของแตละธาตุ

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู


ไอออนบวกของไฮโดรเจน (H+) ขาดอนุภาคมูลฐานขอใด 1 ไอออนบวก เกิดจากอะตอมเสียอิเล็กตรอนใหกับสารอื่น ทําใหมีจํานวน
1. โปรตอน โปรตอนมากกวาจํานวนอิเล็กตรอน จึงเปลี่ยนไปเปนไอออนบวกที่มีประจุบวก
2. อิเล็กตรอน เทากับจํานวนอิเล็กตรอนที่เปลี่ยนไป
3. โปรตอนและนิวตรอน 2 ไอออนลบ เกิดจากอะตอมรับอิเล็กตรอนเขามา ทําใหมจี าํ นวนอิเล็กตรอน
4. นิวตรอนและอิเล็กตรอน มากกวาจํานวนโปรตอน จึงเปลี่ยนไปเปนไอออนลบที่มีประจุลบเทากับจํานวน
5. โปรตอนและอิเล็กตรอน อิเล็กตรอนที่รับเขามา
(วิเคราะหคาํ ตอบ H+ มีจาํ นวนโปรตอนเทากับ 1 มีจาํ นวนนิวตรอน
เทากับ 0 และมีจํานวนอิเล็กตรอนเทากับ 0 ดังนั้น H+ จึงขาด
นิวตรอนและอิเล็กตรอน ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T15

123
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
6. ครูใหนักเรียนกลับเขาสูกลุมเดิมแลวใหรวม 2) ไอโซโทป (isotope) คือ อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันที่มีจํานวนโปรตอนเทากัน
กันศึกษาการหาอนุภาคมูลฐานจากตัวอยางที่ แตมีจํานวนนิวตรอนแตกตางกัน เชน
1.1-1.6 ในหนังสือเรียน เพื่อชวยใหนักเรียน ธาตุไฮโดรเจนมี 3 ไอโซโทป คือ โปรเทียม ดิวเทอเรียม และทริเทียม
เขาใจเนื้อหามากยิ่งขึ้น ซึ่งครูใหนักเรียนทํา
ตามขั้นตอนการแกโจทยปญหา ดังนี้ =p
• ขั้นที่ 1 ทําความเขาใจโจทยตัวอยาง =n
= e-
• ขั้นที่ 2 สิง่ ทีโ่ จทยตอ งการถามหา และจะหา
สิ่งที่โจทยตองการ ตองทําอยางไร â»Ãà·ÕÂÁ ´ÔÇà·ÍàÃÕÂÁ ·ÃÔà·ÕÂÁ
• ขั้นที่ 3 ดําเนินการ (protium, H, 11H) (deuterium, D, 21H) (tritium, T, 31H)
• ขั้นที่ 4 ตรวจสอบคําตอบของโจทยตวั อยาง ภาพที่ 1.16 ไอโซโทปของธาตุไฮโดรเจน
ที่มา : คลังภาพ อจท.
7. ครู สุ  ม นั ก เรี ย นให อ อกมานํ า เสนอวิ ธีก าร
แกปญหาโจทยตัวอยางตามขั้นตอนในแตละ ธาตุคารบอนมี 3 ไอโซโทป คือ คารบอน-12 คารบอน-13 และคารบอน-14
ขั้ น โดยที่ ค รู ค อยแนะนํ า และเสริ ม ข อ มู ล ที่
ถูกตองใหนักเรียน =p
=n
= e-

¤ÒϺ͹-12 (126C) ¤ÒϺ͹-13 (136C) ¤ÒϺ͹-14 (146C)


ภาพที่ 1.17 ไอโซโทปของธาตุคารบอน
ที่มา : คลังภาพ อจท.

Science Focus
äÍâ«â·¹áÅÐäÍ⫺ÒÏ
ไอโซโทน (isotone) คือ ธาตุตางชนิดกันที่มีจํานวนโปรตอนตางกัน แตมีจํานวนนิวตรอนเทากัน
เชน
14C และ 15N เปนไอโซโทนกัน เนื่องจากอะตอมของธาตุทั้ง 2 ชนิด มีจํานวนโปรตอนไมเทากัน
6 7
แตมีจํานวนนิวตรอนเทากัน คือ 8
ไอโซบาร (isobar) คือ ธาตุตางชนิดกันที่มีเลขมวลเทากัน แตมีจํานวนโปรตอนและนิวตรอน
ตางกัน เชน
40 Ar และ 40 K เปนไอโซบารกัน เนื่องจากอะตอมของธาตุทั้ง 2 ชนิด มีจํานวนโปรตอนและ
หน
ังส เน

18 19
ือเล ื้อห

นิวตรอนไมเทากัน แตมีเลขมวลเทากัน
มน าอา
ี้อย จม
ู ในร ีกา
ะหว รปร
าง ับป
สง รุง

12
ตร แก
วจ  ไข
พิจ
าร

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูอธิบายเพิม่ เติมเกีย่ วกับไอโซอิเล็กทรอนิกวาหมายถึง ธาตุหรือไอออนของ ธาตุ X และ Y เปนไอโซโทปกัน โดยธาตุ X มีจํานวนโปรตอน
ธาตุทมี่ จี าํ นวนอิเล็กตรอนเทากัน เชน S2- กับ Ar เปนไอโซอิเล็กทรอนิกกัน เพราะ เทากับ 15 เลขมวลเทากับ 30 ธาตุ Y มีจํานวนนิวตรอนมากกวา
มีอเิ ล็กตรอน 18 ตัวเทากัน สวนการตัง้ คําถามเพือ่ ขยายความเขาใจของนักเรียน ธาตุ X อยู 4 ตัว ขอใดคือสัญลักษณนิวเคลียรของธาตุ Y
เกี่ยวกับเรื่อง สัญลักษณนิวเคลียรของธาตุ ไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร และ 1. 1526 Y 2. 1530 Y
ไอออนนั้น ครูอาจตั้งคําถามที่มีความหลากหลายมากขึ้น แลวใหนักเรียนตอบ
ทีละคน เพื่อเปนการตรวจสอบความรูความเขาใจของนักเรียน 3. 1531 Y 4. 1534 Y
5. 1545 Y
(วิเคราะหคําตอบ ธาตุ Y เปนไอโซโทปกับธาตุ X จึงมีจํานวน
โปรตอนเทากับธาตุ X คือ 15 และมีนิวตรอน = 15 + 4 = 19 ธาตุ
Y จึงมีเลขมวลเปน 15 + 19 = 34 ดังนั้น สัญลักษณนิวเคลียรของ
ธาตุ Y คือ 1534 Y ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T16

124
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ขยายความเขาใจ
ธาตุแตละชนิดอาจจะมีไอโซโทปไดหลายไอโซโทป บางไอโซโทปมีอยูในธรรมชาติ 1. ครู นํ า นั ก เรี ย นอภิ ป รายและสรุ ป เกี่ ย วกั บ
แตบางไอโซโทปไดจากการสังเคราะหขึ้นมาเพื่อใชประโยชนในดานตาง ๆ โดยไอโซโทปของธาตุ องคประกอบของอะตอม ดังนี้
ที่นํามาใชประโยชนสวนใหญเปนไอโซโทปกัมมันตรังสี เชน ใช 146C บอกอายุของวัตถุโบราณ • การศึ ก ษาแบบจํ า ลองอะตอมของนั ก
และใชศึกษากลไกของการเกิดปฏิกิริยาเคมี ใช 24Na เพื่อตรวจการไหลเวียนของเลือด ใช 60Co วิทยาศาสตรเพื่อนํามาใชอธิบายลักษณะ
สําหรับเปนแหลงกําเนิดรังสีแกมมาเพื่อใชในการรักษามะเร็ง และใชในการถนอมอาหาร ใช 131I ของอะตอม พบว า อนุ ภ าคมู ล ฐานของ
สําหรับตรวจอาการผิดปกติของตอมไทรอยด เปนตน อะตอมประกอบดวยโปรตอนและนิวตรอน
ที่ ร วมกั น ในนิ ว เคลี ย ส และอิ เ ล็ ก ตรอน
เคลื่อนที่รอบนิวเคลียสของอะตอม
ตัวอย่างที่ 1.4 • จํานวนโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน
ไอโซโทปหนึง่ ของออกซิเจน คือ ออกซิเจน -18 ไอโซโทปนีใ้ นรูปออกไซดไอออน จะมีจาํ นวนอิเล็กตรอน ของอะตอมในธาตุ ส ามารถเขี ย นเป น
และนิวตรอนเทาใด สัญลักษณไดดวย สัญลักษณนิวเคลียร คือ
A
Z X โดย X แทนสัญลักษณของธาตุ A แทน
วิธีทํา เมื่อเปนไอออนจะเปนไอออนที่มีประจุ คือ -2 มีสัญลักษณนิวเคลียส คือ 188O2-
จํานวนอิเล็กตรอน = 8 + 2 = 10 เลขมวล และ Z แทนเลขอะตอม ซึง่ เลขมวล
จํานวนนิวตรอน = 18 - 8 = 10 คือ จํานวนรวมของโปรตอนและนิวตรอนใน
ดังนั้น ไอโซโทปของออกซิเจน -18 ในรูปออกไซดไอออน มีจํานวนอิเล็กตรอนเทากับ 10 และจํานวน อะตอม และเลขอะตอม คือจํานวนโปรตอน
นิวตรอนเทากับ 14 ตอบ ในอะตอม
2. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง
องคประกอบของอะตอม วามีสวนไหนที่ยังไม
เขาใจและใหความรูเพิ่มเติมในสวนนั้น โดยที่
ตัวอย่างที่ 1.5 ครูอาจจะใช PowerPoint ชวยในการอธิบาย
ถาไอโซโทปหนึ่งของธาตุชนิดหนึ่งมีประจุในนิวเคลียสเปน 2 เทา และมีเลขมวลเปน 3 เทาของ 136C เพิ่มเติม
ไอโซโทปนี้จะมีอนุภาคมูลฐานอยางละกี่อนุภาค 3. ครูใหนักเรียนทําใบงาน เรื่อง อนุภาคมูลฐาน
4. ครูใหนักเรียนรวมกันตอบคําถามจาก Topic
วิธีทํา จํานวนโปรตอน = เลขอะตอม = 2 × 6 = 12
มีเลขมวลเปน 3 เทา = 3 × 13 = 39 Question จากหนังสือเรียน
จํานวนอิเล็กตรอน = จํานวนโปรตอน = 12 5. ครู ม อบหมายให นั ก เรี ย นสรุ ป ผั ง มโนทั ศ น
จํานวนนิวตรอน = 39 - 12 = 27 (Concept Mapping) เรือ่ ง โครงสรางอะตอม
ดังนั้น ไอโซโทปของธาตุชนิดนี้มีจํานวนโปรตอนเทากับ 12 จํานวนอิเล็กตรอนเทากับ 12 และจํานวน และใหนกั เรียนทําแบบฝกหัด Unit Question 1
นิวตรอนเทากับ 27 ตอบ สงเปนการบานชั่วโมงถัดไป


ก ไข าร
ุงแ พิจ
ปร วจ
รับ ตร
รป สง
ีกา าง
จม ะหว
อา นร
หา ี้อยู ใ

â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 13
เนื้อ ลมน
ือเ
ังส
หน

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


ธาตุในขอใดที่เปนไอโซโทปกับธาตุที่มีสัญลักษณเปน ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับธาตุกัมมันตรังสี
1. 125 B 2. 126 B 1. ธาตุกัมมันตรังสี (radioactive element) หมายถึง ธาตุที่มีสมบัติในการแผ
3. 115 B 4. 116 B กัมมันตภาพรังสี (อนุภาคแอลฟา บีตา หรือแกมมา) ตลอดเวลา
2. อนุภาคแอลฟา คือ อนุภาคของฮีเลียม มีประจุ +2 มีเลขมวล 4 มีอํานาจ
5. 117 B
ทะลุทะลวงตํ่า ไมสามารถทะลุผานกระดาษได
(วิเคราะหคําตอบ ไอโซโทป คือ อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันที่มี 3. อนุภาคบีตา คือ มีประจุ -1 มีเลขมวล 0 มีอาํ นาจทะลุทะลวงมากกวาแอลฟา
จํานวนโปรตอนเทากัน แตมีจํานวนนิวตรอนแตกตางกัน
11 100 เทา
5 A มีจํานวนโปรตอนเทากับ 5 มีจํานวนนิวตรอนเทากับ 6 4. รังสีแกมมา คือ คลื่นแมเหล็กไฟฟาความถี่สูง ไมมีประจุและมวล มีพลังงาน
12
5 B มีจํานวนโปรตอนเทากับ 5 มีจํานวนนิวตรอนเทากับ 7 สูง
12
6 B มีจํานวนโปรตอนเทากับ 6 มีจํานวนนิวตรอนเทากับ 6
11
5 B มีจํานวนโปรตอนเทากับ 5 มีจํานวนนิวตรอนเทากับ 6
11
6 B มีจํานวนโปรตอนเทากับ 6 มีจํานวนนิวตรอนเทากับ 5
11 12
5 A จึงเปนไอโซโทปกับ 5 B ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T17

125
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
1. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบกอนเรียน ตัวอย่างที่ 1.6
2. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการตอบคําถาม ธาตุ T เปนธาตุที่มี 2 ไอโซโทป พบวา ไอโซโทปชนิดแรกมีจํานวนนิวตรอน 142 อนุภาค และมีจํานวน
การรวมกันทําผลงาน และจากการนําเสนอ อิเล็กตรอน 90 อนุภาค สวนไอโซโทปชนิดที่สองมีจํานวนนิวตรอนเปน 1.5 เทาของจํานวนโปรตอน
ผลงาน จงเขียนสัญลักษณนิวเคลียรของไอโซโทปทั้งสองของธาตุ T
3. ครู วั ด และประเมิ น จากการทํ า ใบงาน เรื่ อ ง
วิธีทํา ไอโซโทปชนิดแรกของธาตุ T
แบบจําลองอะตอม เลขอะตอม = จํานวนอิเล็กตรอน = 90
4. ครู วั ด และประเมิ น จากการทํ า ใบงาน เรื่ อ ง เลขมวล = จํานวนอิเล็กตรอน + จํานวนนิวตรอน = 90 + 142 = 232
อนุภาคมูลฐาน สัญลักษณนิวเคลียร คือ 23290T
5. ครูวัดและประเมินผลจากการทํา ไอโซโทปชนิดที่สองของธาตุ T
Unit Question 1 ในหนังสือเรียน จํานวนโปรตอน = จํานวนอิเล็กตรอน = 90
6. ครู วั ด และประเมิ น ผลจากผั ง มโนทั ศ น ที่ จํานวนนิวตรอนเปน 1.5 เทาของจํานวนโปรตอน = 1.5 × 90 = 135
เลขมวล = จํานวนอิเล็กตรอน + จํานวนนิวตรอน = 90 + 135 = 225
นักเรียนไดสรางขึ้นจากขั้นขยายความรูของ สัญลักษณนิวเคลียร คือ 22590T
นักเรียนเปนรายบุคคล ดังนั้น สัญลักษณนิวเคลียรของไอโซโทปทั้งสองของธาตุ T คือ 23290T และ 22590T ตอบ

Topic
? Question
คําชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
1. ใหนักเรียนสรุปลักษณะของแบบจําลองอะตอมแบบตาง ๆ มาพอสังเขป
2. ใหระบุจํานวนอนุภาคมูลฐานของธาตุตอไปนี้ 2311Na 199F และ 168O
3. ใหระบุวา สารทีก่ าํ หนดใหตอ ไปนี้ Fe H2O Au Na CuSO4 และ HCl เปนธาตุหรือสารประกอบ
4. ใหระบุวาสารที่กําหนดใหตอไปนี้ O2- Cu Ca2+ B2 CH4 และ Mg อยูในรูปอะตอม
โมเลกุล หรือไอออน
5. ธาตุที่เปนไอโซโทปกันจะมีลักษณะเปนอยางไร
6. ธาตุที่มีเลขอะตอมเทากัน แตมีเลขมวลตางกัน จัดเปนธาตุเดียวกันหรือไม เพราะเหตุใด
7. ธาตุ P มีเลขอะตอม 15 มีจํานวนนิวตรอน 16 จะมีเลขมวล จํานวนโปรตอน และจํานวน
อิเล็กตรอนเทาใด ตามลําดับ
หน
ังส เน
ือเล ื้อห
มน าอา
ี้อย จม
ู ในร ีกา
ะหว รปร
าง ับป
สง รุง

14
ตร แก
วจ  ไข
พิจ
าร

แนวทางการวัดและประเมินผล แนวตอบ Topic Question


1.
ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจเกีย่ วกับโครงสรางอะตอม ไดจากผัง
ความคิดทีน่ กั เรียนไดสรางขึน้ ในขัน้ ขยายความรู โดยศึกษาเกณฑการวัดและการ
ประเมินผลจากแบบประเมินชิน้ งาน ภาระงาน (รวบยอด) ทีแ่ นบมาทายแผนการ
2. ธาตุหมู 2A จะมีเวเลนซอิเล็กตรอนอยูชั้นนอกสุดเพียง 2 อนุภาค จึง
จัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 1 โครงสรางอะตอมและตารางธาตุ
ถูกดึงหรือสูญเสียอิเล็กตรอนไปไดงาย ดังนั้น ธาตุหมู 2A จึงมีสมบัติ
แบบประเมนิชนิงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ

แบบประเมนิผลงานผงัมโนทศัน ประเดน็ทปีระเมนิ
4
เกณฑประเมนิผงัมโนทศัน

3
ระดบัคะแนน
2 1
ความเปนโลหะที่ดี
3. Fe Au และ Na เปนธาตุ สวน H2O CuSO4 และ HCl เปนสารประกอบ
คาํชแีจง : ใหผสูอนประเมนิผลงาน/ชนิงานของนักเรยีนตามรายการทีกาํหนด แลวขดี ลงในชองทตีรงกบัระดบั 1. ผลงานตรงกบั ผลงานสอดคล อ งกั บ ผลงานสอดคล อ งกั บ ผลงานสอดคล อ งกั บ ผล งาน ไม ส อด ค ล อง
คะแนน จดุประสงคทกีาํหนด จดุประสงคทกุประเดน็ จดุประสงคเปนสวนใหญ จดุประสงคบางประเดน็ กบัจดุประสงค
ระดบัคณภาพ
ุ 2. ผลงานมคีวาม เนือหาสาระของผลงาน เนือหาสาระของผลงาน เนือหาสาระของผลงาน เนือหาสาระของผลงาน
ลาํดบัที รายการประเมนิ
4 3 2 1 ถกูตองสมบรูณ ถกูตองครบถวน ถกูตองเปนสวนใหญ ถกูตองเปนบางประเดน็ ไมถกูตองเปนสวนใหญ
1
2
3
ความสอดคลองกบัจดุประสงค
ความถกูตองของเนือหา
ความคดิสรางสรรค
3. ผลงานมคีวามคดิ
สรางสรรค
ผล งาน แสด งออกถึ ง
ค วาม คิ ด ส ร า งส รรค
แ ป ล ก ให ม แ ล ะ เป น
ระบบ
ผลงานมี แ นวคิ ด แปลก ผลงานมี ค วามน า สนใจ
ใหม แ ต ยั งไม เป น ระบบ แตยังไมมีแนวคิดแปลก
ใหม
ผลงานไม แ สดงแนวคิ ด
ใหม
4. Na มีจํานวนโปรตอน = 11 จํานวนอิเล็กตรอน = 11 จํานวนนิวตรอน
= 12
4 ความตรงตอเวลา
4. ผลงานมคีวามเปน ผ ล ง า น มี ค ว า ม เป น ผลงานสวนใหญมีความ ผ ล ง า น มี ค ว า ม เป น ผลงานส ว นใหญ ไม เป น
รวม
ระเบยีบ ระเบี ย บแสดงออกถึ ง เป น ระเบี ย บ แ ต ยั งมี ระเบยีบแตมขีอบกพรอง ร ะ เ บี ย บ แ ล ะ มี ข อ
ความประณตี ขอบกพรองเลก็นอย บางสวน บกพรองมาก

F มีจํานวนโปรตอน = 9 จํานวนอิเล็กตรอน = 9 จํานวนนิวตรอน = 10


ลงชอื ................................................... ผปูระเมนิ
............../................./................
เกณฑการตดัสนิคณ
ุ ภาพ

O มีจํานวนโปรตอน = 16 จํานวนอิเล็กตรอน = 16 จํานวนนิวตรอน


ชวงคะแนน ระดบัคณุ ภาพ
14–16 ดมีาก
11–13 ดี
8–10 พอใช
ตาํกวา 8 ปรบัปรงุ
= 18
5. ธาตุชนิดเดียวกันที่มีโปรตอนเทากัน
6. ธาตุเดียวกัน เนื่องจากธาตุชนิดเดียวกันจะมีจํานวนโปรตอนเทากัน
T18 1
2
7. 31, 15, 15

126
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
2. µÒÃÒ§¸ÒµØ Prior Knowledge 1. ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาเกี่ยวกับแบบ
ตารางธาตุ (periodic table) คือ ตารางทีร่ วบรวมธาตุตา ง ๆ ¸ÒµØ¨Òí ṡÍ͡໚¹ จําลองอะตอม และองคประกอบ เพื่อเปนการ
ไวเปนหมวดหมูตามคุณสมบัติที่เหมือนกัน เพื่อสะดวกในการ »ÃÐàÀ·ã´ä´ŒºÒŒ §? ทบทวนความรูของนักเรียนจากคาบเรียนที่
จดจํา และงายตอการศึกษา ผานมา และนําไปสูหัวขอตอไป
ตัง้ แตป พ.ศ. 2346-2456 มีการคนพบธาตุในธรรมชาติประมาณ 63 ธาตุ ซึง่ นักวิทยาศาสตร 2. ครูนําเขาสูบทเรียนเกี่ยวกับตารางธาตุ โดยครู
ไดพยายามจัดธาตุเหลานี้ใหเปนหมวดหมู โดยในชวงแรกนักวิทยาศาสตรจะแบงธาตุออกเปน ถามคําถามเพื่อกระตุนความคิด ดังนี้
หมวดหมูโดยอาศัยสมบัติของธาตุ ซึ่งไดจากการสังเกตพบความคลายคลึงกันของสมบัติของธาตุ • ตารางธาตุคืออะไร มีความสําคัญอยางไร
เปนกลุม ๆ ทําใหนํามาจัดเปนตารางธาตุได เชน แบงกลุมโดยอาศัยสมบัติความเปนโลหะ-อโลหะ ( แนวตอบ ตารางธาตุ คื อ ตารางที่ นั ก
ความเปนกรด-เบส เปนตน ตอมาเมืื่อหามวลอะตอมของธาตุได จึงใชมวลอะตอมมาประกอบใน วิทยาศาสตรไดรวบรวมธาตุตางๆ ไวเรียง
การจัดตารางธาตุ จนในปจจุบนั จัดตารางธาตุโดยอาศัยการจัดเรียงอิเล็กตรอน ซึง่ วิวฒ
ั นาการของ
การสรางตารางธาตุ เปนดังนี้ ตามเลขอะตอมเปนหมวดหมูเพื่อประโยชน
ในการศึกษาลักษณะและสมบัติของธาตุ)
เปนนักวิทยาศาสตรคนแรกที่เสนอเกี่ยวกับการ นําเสนอ ¡®¾ÔÃÔÍÍ´Ô¡ ซึง่ มีใจความสําคัญวา
จัดเรียงธาตุ โดยนําเสนอ ¡®ªØ´ÊÒÁ ซึง่ มีใจความ “เมื่ อ นํ า ธาตุ ม าจั ด เรี ย งลํ า ดั บ ตามนํ้ า หนั ก ที่ • นักวิทยาศาสตรมีวิธีการอยางไร เพื่อให
สําคัญวา “เมือ่ เรียงธาตุตามมวลอะตอมจากนอยไป เพิ่มขึ้น จะไดกลุมของธาตุที่มีสมบัติทางเคมี สามารถจดจําธาตุตางๆ ที่มีจํานวนมากได
หามาก มวลอะตอมของธาตุทอี่ ยูต รงกลางจะเปน และสมบัตทิ างกายภาพเปนชุด ๆ”
คาเฉลีย่ ของมวลอะตอมของธาตุตวั บนและตัวลาง” (แนวตอบ รวบรวมธาตุใหเปนระบบ จัดเปน
ตารางธาตุ
3. ครูถามคําถาม Prior Knowledge “ธาตุจาํ แนก
ออกเปนประเภทใดไดบา ง” เพือ่ เปนการกระตุน
ใหนักเรียนรวมกันคิด
»˜¨¨ØºÑ¹ 4. นักเรียนรวมชวยกันตอบคําถาม ครูอาจจะ
âÂÎѹ¹ à´ÍàºÍäÃà¹ÍÏ ¨Íˏ¹ ¹ÔÇᏴ ´ÔÁÔ·ÃÕ ÍÔÇÒâ¹ÇÔª àιÃÕ âÁÊÅՏ เลือกคําตอบที่ไมชัดเจน มาอภิปรายรวมกัน
àÁà´àÅàÍ¿
เพื่อเชื่อมโยงไปสูการเรียนเรื่อง ตารางธาตุ

นําเสนอ ¡®Í͡൵ ซึ่งมีใจความสําคัญวา เสนอให ¨Ñ´àÃÕ§¸ÒµØµÒÁàÅ¢ÍеÍÁ เนือ่ งจาก


“ถานําธาตุ 8 ธาตุ แลวจัดเรียงตามมวลจาก สมบัตติ า ง ๆ ของธาตุมคี วามสัมพันธกบั โปรตอนใน
นอยไปหามาก ธาตุตวั ที่ 8 จะมีสมบัตคิ ลายคลึง นิวเคลียส หรือเลขอะตอมมากกวามวลอะตอม และ

กับธาตุตัวที่ 1 เสมอ” (ไมรวมธาตุไฮโดรเจน ยังไดทาํ นายวา ตองเผือ่ ชองวางในตารางธาตุเพือ่ รอ



ก ไข าร
ุงแ พิจ

และฮีเลียม) การคนพบธาตุใหมในอนาคต ซึ่งตารางธาตุของ


ปร วจ
รับ ตร
รป สง

โมสลียเ ปนตารางธาตุทใี่ ชกนั อยูจ นถึงปจจุบนั


ีกา าง
จม ะหว

ภาพที่ 1.18 วิวัฒนาการของตารางธาตุ


อา นร
หา ี้อยู ใ

ที่มา : คลังภาพ อจท. â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 15


เนื้อ ลมน

แนวตอบ Prior Knowledge


ือเ
ังส
หน

โลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับธาตุในตารางธาตุ ครูนํารูปภาพของตารางธาตุที่ถูกคิดคนโดยนักวิทยาศาสตรแตละทานมา
1. ธาตุในคาบที่ 6 มี 18 ธาตุ ประกอบการอธิบาย เชน ตารางธาตุของเมเดเลเอฟ หรือตารางธาตุของโมสลีย
2. ธาตุในหมู 8A มีชื่อวา ธาตุแฮโลเจน 1 1.01
HHydrogen
3. ธาตุในคาบที่ 4 คือ ธาตุ Rb จนถึง Xe 18 8A
2
He
4.003

1 1A 2 2A 3 3B 4 4B 5 5B 6 6B 7 7B 8 8B 9 8B 10 8B 11 1B 12 2B 13 3A 14 4A 15 5A 16 6A 17 7A 1
4. ธาตุหมู B เรียกวา ธาตุเรพรีเซนเททีฟ
Helium
3 6.94 4 9.01 5 10.81 6 12.01 7 14.01 8 15.999 9 18.998 10 20.18
LiLithium Be
Beryllium
BBoron CCarbon N
Nitrogen Oxygen
OFluorine Neon
F Ne 2
5. ธาตุในหมู 2A มีชื่อวา ธาตุแอลคาไลนเอิรท 11
Na
Sodium
22.99 12
Mg
Magnesium
24.31 13
Al
26.98
Si
Aluminium Silicon
14 28.09 15 30.97 16 32.06 17 35.45 18 39.95
S
PPhosphorus Sulfur Cl
Chlorine Argon
Ar 3
19 39.10 20 40.08 21 44.96 22 47.90 23 50.94 24 51.996 25 54.94 26 55.85 27 58.93 28 58.70 29 63.55 30 65.37 31 69.72 32 72.59 33 74.92 34 78.96 35 79.90 36 83.80

(วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. ธาตุในคาบที่ 6 มี 32 ธาตุ K


Potassium Calcium
Ca
Scandium Titanium
Sc Ti V
Vanadium Chromium Manganese Iron Cobalt
CrNickel
Mn
Copper Zinc
Fe Gallium
Co Ni
Germanium Arsenic Selenium
Cu
Bromine
Zn
Krypton
37 85.47 38 87.62 39 88.91 40 91.22 41 92.91 42 95.94 43 (98) 44 101.07 45 102.91 46 106.40 47 107.87 48 112.41 49 114.82 50 118.69 51 121.75 52 127.60 53 126.90 54 131.30
Ga Ge As Se Br Kr 4
Rb Sr YYttrium Zr Nb Mo Tc Ru Rh Ag Cd In Sn Sb Te I Xe
ขอ 2. ธาตุในหมู 8A มีชื่อวา แกสเฉื่อย หรือแกสมีตระกูล Rubidium
55
Strontium
132.91 56 137.33 57
Zirconium Niobium Molybdenum Technetium Ruthenium Rhodium Palladium Silver Cadmium
PdIndium Tin Antimony Tellurium Iodine Xenon
138.91 72 178.49 73 180.95 74 183.85 75 189.21 76 190.20 77 192.22 78 195.09 79 196.97 80 200.59 81 204.37 82 207.19 83 208.98 84 (209) 85 (210) 86 (222)
5
Cs Ba La Hf Ta W Re Os Ir Pt Au Hg Tl Pb Bi Po At Rn
ขอ 3. ธาตุในคาบที่ 4 คือ ธาตุ K จนถึง Kr Cesium
87 (223) 88
Fr Ra
Barium Lanthanum
226.03 89 227.03
Ac
Hafnium Tantalum

Rf Db Seaborgium
Tungsten

Sg Bohrium
Rhenium

Bh Hassium Mt Ds
Osmium

Hs Meitnerium
Iridium Platinum Gold

Rg Cn Nh Flerovium
Mercury Thallium

Mc Lv
Lead

Fl Moscovium
Bismuth

Ts Uuo
Polonium Astatine Radon
104 (267) 105 (268) 106 (271) 107 (272) 108 (270) 109 (276) 110 (281) 111 (280) 112 (289) 113 (284) 114 (289) 115 (288) 115 (293) 117 294 118 (294)
6

ขอ 4. ธาตุหมู B เรียกวา ธาตุแทรนซิชัน Francium Radium Actinium Rutherfordium Dubnium

58 140.12 59 140.91
Darmstadtium Roentgenium Copernicium Nihonium

60 144.24 61 (145) 62 150.40 63 151.96


Livermorium Tennessine Oganesson

64 157.25 65 158.93 66 162.50 67 164.93 68 167.26 69 168.93 70 173.04 71 174.97


7

Ce Pr Nd Promethium
Pm Samarium
Sm Eu Gd Dy Holmium
Tb Dysprosium Ho Er Tm Yb Lu
ขอ 5. ธาตุในหมู 2A มีชื่อวา ธาตุแอลคาไลนเอิรท Cerium
90 232.04
Praseodymium Neodymium
91 231.04 92 238.03 93
Europium
237.05
Gadolinium Terbium
94 (244) 95 (243) 96
Erbium
(247) 97 (247) 98 (251) 99 (252) 100 (257)
Thulium
101
Ytterbium
(260) 102
Lutetium
(259) 103 (262)
Th Pa U Np Pu Americium Cm
Am Curium Bk Cf Es Fm Md No Lr
ดังนั้น ตอบขอ 5.) Thorium Protactinium Uranium Neptunium Plutonium Berkelium Californium Einsteinium Fermium Mendelevium Nobelium Lawrencium

T19

127
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. ครู เ กริ่ น นํ า เกี่ ย วกั บ การจั ด ตารางธาตุ ล งใน µÒÃÒ§¸ÒµØã¹»˜¨¨ØºÑ¹
ตารางธาตุ โดยการเลาประวัติของโยฮันน
เดอเบอไรเนอร จอหน นิวแลนด ดิมทิ รี อิวาโนวิช
เมนเดเลเอฟ และเฮนรี โมสลีย ใหนักเรียน 1A âÅËÐáÍŤÒäÅ
Alkali metal
ฟงพอสังเขป จากนั้นถามคําถามเพื่อกระตุน
ความคิดของนักเรียน ดังนี้
2A âÅËÐáÍŤÒ䬏
Alkaline earth
àÍÔÏ·
1 1.01
หมู HHydrogen
• ตารางธาตุของเมนเดเลเอฟ และโมสลีย 1 1A 2 2A
แตกตางกันอยางไร 3 6.94 4 9.01
(แนวตอบ ตารางธาตุของเมนเดเลเอฟจะใช LiLithium Be
Beryllium
¸ÒµØá·Ã¹«ÔªÑ¹
มวลอะตอมเปนเกณฑในการจัดเรียงลําดับ Transition
11 22.99 12 24.31
ของธาตุ แตตารางธาตุของโมสลียใชเลข Na
Sodium
Mg
Magnesium 3 3B 4 4B 5 5B 6 6B 7 7B 8 8B 9 8B
อะตอมเปนเกณฑในการจัดเรียงลําดับของ 19 39.10 20 40.08 21 44.96 22 47.90 23 50.94 24 51.996 25 54.94 26 55.85 27 58.93
ธาตุ) KPotassium Ca
Calcium
Sc Ti VVanadium Cr
Scandium Titanium
Mn Fe
Chromium Manganese Iron
Co
Cobalt
• นักเรียนคิดวาธาตุที่จัดอยูในหมูเดียวกัน
37 85.47 38 87.62 39 88.91 40 91.22 41 92.91 42 95.94 43 (98) 44 101.07 45 102.91
มีสิ่งใดที่เหมือนกัน Rb Sr Y Zr Nb Mo Tc Ru Rh
(แนวตอบ สมบัติทางเคมี) Rubidium Strontium Yttrium Zirconium Niobium Molybdenum Technetium Ruthenium Rhodium
55 132.91 56 137.33 57 138.91 72 178.49 73 180.95 74 183.85 75 189.21 76 190.20 77 192.22
Cs
Cesium
Ba
Barium
La Hf Ta
Lanthanum Hafnium Tantalum
W
Tungsten
Re
Rhenium
Os
Osmium
IrIridium
87 (223) 88 226.03 89 227.03 104 (267) 105 (268) 106 (271) 107 (272) 108 (270) 109 (276)
Fr
Francium
Ra
Radium
Ac
Actinium
Rf Db Seaborgium
Rutherfordium Dubnium
Sg Bohrium
Bh Hassium
Hs Meitnerium
Mt
ธาตุแลนทาไนด
58 140.12 59 140.91 60 144.24 61 (145) 62 150.40
Ce Pr Nd Pm Sm
ธาตุแทรนซิชันชั้นใน Cerium Praseodymium Neodymium Promethium Samarium
Inner Transition 90 232.04 91 231.04 92 238.03 93 237.05 94 (244)
Th
Thorium
Pa U Neptunium
Protactinium Uranium
Np Plutonium
Pu
ธาตุแอกทิไนด
ธาตุที่อยูในแนวนอน
เรียกวา คาบ (periods) ซึ่งมีทั้งหมด 7 คาบ
หน
ังส เน
ือเล ื้อห
มน าอา
ี้อย จม
ู ในร ีกา
ะหว รปร
าง ับป
สง รุง

16 วิวัฒนาการของตารางธาตุ
ตร แก
วจ  ไข
พิจ
าร

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูสามารถใหนักเรียนใชสมารตโฟนสแกน QR Code เรื่อง วิวัฒนาการ นักวิทยาศาสตรจัดเรียงธาตุในตารางธาตุตามลักษณะอยางไร
ของตารางธาตุในหนังสือเรียน เพื่อศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการของตารางธาตุ 1. ความสวยงาม
2. ความสะดวก
3. ตามลําดับการคนพบ
สื่อ Digital 4. ตามสมบัติที่คลายคลึงกัน
5. ตามปริมาณที่พบมากในธรรมชาติ
ศึกษาเพิ่มเติมไดจาก QR Code เรื่อง ตารางธาตุ
(วิเคราะหคําตอบ ตารางธาตุ คือ ตารางที่รวบรวมธาตุตางๆ ไว
เปนหมวดหมูตามสมบัติที่เหมือนกัน เพื่อใหสะดวกในการจดจํา
และงายตอการศึกษา ดังนัน้ ตารางธาตุจงึ จัดเรียงธาตุตามสมบัติ
ตารางธาตุ ที่คลายคลึงกัน ตอบขอ 4.)
www.aksorn.com/interactive3D/RKB13

T20

128
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
ᡍÊà©×èÍÂ
Inert gas 8A 2. ครูใหนักเรียนแบงกลุม แตละกลุมชวยกัน
พิจารณาตารางธาตุจากหนังสือเรียน แลวถาม
¸ÒµØáÎâÅਹ
Halogen 7A คําถามเพื่อใหนักเรียนไปสืบคนขอมูล ดังนี้
• สีแตละสีในตารางธาตุ มีสมบัติแตกตางกัน
¸ÒµØáªÅâ¤à¨¹
6A หรือไม อยางไร

คาบ
Chalcogen 18 8A
¸ÒµØ¡Öè§âÅËÐ 2 4.003 • การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ มีการจัดเรียง
Metalloid He
1 อยางไร
13 3A 14 4A 15 5A 16 6A 17 7A Helium
5 10.81 6 12.01 7 14.01 8 15.999 9 18.998 10 20.18 (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
BBoron CCarbon NNitrogen OOxygen FFluorine Ne
Neon 2
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
13 26.98 14 28.09 15 30.97 16 32.06 17 35.45 18 39.95 3. นักเรียนแตละกลุมสืบคนขอมูลจากแหลงการ
10 8B 11 1B 12 2B Al Si
Aluminium Silicon
PPhosphorus SSulfur Cl
Chlorine
Ar
Argon 3
เรียนรูตางๆ เชน หนังสือเรียน อินเทอรเน็ต
29 30 31 32 33 34 35 36
หนังสืออางอิงตางๆ ในหองสมุด
28 58.70 63.55 65.37 69.72 72.59 74.92 78.96 79.90 83.80
Ni
Nickel
Cu
Copper
Zn
Zinc
Ga
Gallium
Ge As
Germanium Arsenic
Se
Selenium
Br
Bromine
Kr
Krypton 4
4. นักเรียนแตกลุมรวมกันวิเคราะหผลจากการ
สืบคนขอมูล
46 106.40 47 107.87 48 112.41 49 114.82 50 118.69 51 121.75 52 127.60 53 126.90 54 131.30
Pd Ag Cd InIndium Sn Sb Te IIodine Xe 5. ครูสุมนักเรียนจากกลุมตางๆ เพื่อนําเสนอผล
Palladium Silver Cadmium Tin Antimony Tellurium Xenon 5 จากการสืบคนขอมูลเกี่ยวกับการจัดเรียงธาตุ
78 195.09 79 196.97 80 200.59 81 204.37 82 207.19 83 208.98 84 (209) 85 (210) 86 (222)
ในตารางธาตุในปจจุบัน
Pt
Platinum
Au
Gold
Hg
Mercury
TlThallium Pb
Lead
Bi
Bismuth
Po
Polonium
At
Astatine
Rn
Radon 6
110 (281) 111 (280) 112 (289) 113 (284) 114 (289) 115 (288) 116 (293) 117 (294) 118 (294)
Ds Rg Cn Nh FlFlerovium Mc
Darmstadtium Roentgenium Copernicium Nihonium
Lv Ts Og
Moscovium Livermorium Tennessine Oganesson 7
63 151.96 64 157.25 65 158.93 66 162.50 67 164.93 68 167.26 69 168.93 70 173.04 71 174.97
Eu
Europium
Gd Tb Dysprosium
Gadolinium Terbium
Dy Ho Holmium
Er
Erbium
Tm
Thulium
Yb Lu
Ytterbium Lutetium
95 (243) 96 (247) 97 (247) 98 (251) 99 (252) 100 (257) 101 (260) 102 (259) 103 (262)
Am Cm Berkelium
Americium Curium
Bk Californium
Cf Einsteinium
Es Fermium
Fm Mendelevium
Md Nobelium
No Lawrencium
Lr
ภาพที่ 1.19 ตารางธาตุในปจจุบัน
ธาตุที่อยูในแนวตั้ง ที่มา : คลังภาพ อจท.
เรียกวา หมู (group) มีทั้งหมด 18 หมู แบงออกเปน 2 กลุมใหญ ๆ คือ

ธาตุกลุม A เรียกวา ธาตุเรพรีเซนเททีฟ (representative element) ประกอบดวยหมู 1A-8A


ก ไข าร
ุงแ พิจ
ปร วจ
รับ ตร

ธาตุกลุม B เรียกวา ธาตุแทรนซิชัน (transition element) ประกอบดวยหมู 1B-8B


รป สง
ีกา าง
จม ะหว
อา นร
หา ี้อยู ใ

â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 17
เนื้อ ลมน
ือเ
ังส
หน

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET สื่อ Digital


ขอความใดถูกตองเกี่ยวกับกลุมธาตุแฮโลเจน (halogen) ศึกษาเพิม่ เติมไดจากภาพยนตรสารคดีสนั้ Twig เรือ่ ง บทนําเรือ่ งตารางธาตุ
1. อยูในสถานะแกสที่มีสี https://twig-aksorn.com/film/introduction-to-the-periodic-table-8199/
2. มีเวเลนซอิเล็กตรอนเทากับ 7
3. เกิดเปนสารประกอบโคเวเลนตกับโลหะ
4. เปนแกสเฉื่อยที่อยูในรูปโมเลกุล มีความวองไวในการทํา
ปฏิกิริยาตํ่า
5. ทําปฏิกิริยากับไฮโดรเจนอยางรวดเร็ว โดยการใช
อิเล็กตรอนรวมกัน 1 คู
(วิเคราะหคําตอบ ธาตุแฮโลเจนเปนธาตุหมู 7A และมีเวเลนซ
อิเล็กตรอนเทากับ 7 ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T21

129
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
6. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อใหไดขอ จากตารางธาตุ สามารถสรุปเกี่ยวกับการจัดเรียงธาตุในตารางธาตุได ดังนี้
สรุปวา การจัดเรียงธาตุในปจจุบนั จัดเรียงตาม 1. จัดเรียงธาตุตามแนวนอน โดยเรียงลําดับเลขอะตอมที่เพิ่มขึ้นจากซายไปขวา
เลขอะตอม ซึ่งแบงธาตุออกเปนหมูได 8 หมู 2. ธาตุตามแนวนอน เรียกวา คาบ ซึ่งมีทั้งหมด 7 คาบ ไดแก
และคาบได 7 คาบ โดยสรุปไดวา คาบที่ 1 มี 2 ธาตุ คือ H และ He คาบที่ 5 มี 18 ธาตุ คือ Rb จนถึง Xe
• ธาตุในหมูเดียวกันจะมีเวเลนซอิเล็กตรอน คาบที่ 2 มี 8 ธาตุ คือ Li จนถึง Ne คาบที่ 6 มี 32 ธาตุ คือ Cs ถึง Rn
คาบที่ 3 มี 8 ธาตุ คือ Na จนถึง Ar คาบที่ 7 มี 32 ธาตุ คือ Fr จนถึง Og
เทากัน จัดเรียงไวในแนวดิ่งจะมีสมบัติทั้ง
คาบที่ 4 มี 18 ธาตุ คือ K จนถึง Kr
ทางเคมีและกายภาพคลายคลึงกัน 3. ธาตุตามแนวตั้ง เรียกวา หมู ซึ่งมีทั้งหมด 18 แถว แบงออกเปนธาตุกลุม A หรือธาตุ
• ธาตุ ใ นคาบเดี ย วกั น จะมี จํ า นวนระดั บ เรพรีเซนเททีฟ และธาตุกลุม B หรือธาตุแทรนซิชัน โดย
พลังงานเทากัน ซึ่งจะจัดเรียงธาตุตามแนว • ธาตุกลุม A มี 8 หมู คือ หมู 1A ถึง 8A โดยธาตุในแตละหมูจะมีสมบัติคลายกัน
นอนและจะมีแนวโนมของการเปลี่ยนแปลง และมีชื่อเรียกเฉพาะหมู เชน
สมบัติตางๆ ตอเนื่องกันดวย หมู 1A ชื่อวา โลหะแอลคาไล หมู 2A ชื่อวา โลหะแอลคาไลนเอิรท
หมู 6A ชื่อวา ธาตุแชลโคเจน หมู 7A ชื่อวา ธาตุแฮโลเจน
หมู 8A ชื่อวา แกสมีตระกูล หรือแกสเฉื่อย
• ธาตุกลุม B มี 8 หมู คือ หมู 1B ถึง 8B โดยเริ่มจากหมู 3B ถึงหมู 2B เรียกวา
ธาตุแทรนซิชัน

Science Focus
ÍÍ¡«Ôਹ
ออกซิเจนเปนธาตุที่อยูในหมู 6A หรือธาตุแชลโคเจน
มีสญั ลักษณเปน O ในอากาศมีออกซิเจนเปนองคประกอบอยูป ระมาณ
รอยละ 21 โดยปริมาตร ซึ่งออกซิเจนเปนสวนสําคัญในการสันดาป
พืชและสัตว1จําเปนตองใชในการหายใจ (กระบวนการเมแทบอลิซึม
ของเซลล) และออกซิเจนไดมาจากกระบวนการสังเคราะหดวยแสง
ของพืช
มนุษยจําเปนตองอาศัยออกซิเจนในการดํารงชีวิต โดยการ
หายใจเอาออกซิเจนเขาไป เพือ่ ใชในกระบวนการเผาผลาญสารอาหาร
ตาง ๆ ใหเปนพลังงาน ซึง่ เฮโมโกลบินในเม็ดเลือดแดงจะเปนตัวสําคัญ
ในการชวยพาออกซิเจนไปยังเซลลตาง ๆ ทั่วรางกาย ทําใหเซลล
ของอวัยวะตาง ๆ มีชีวิตอยูได หากเซลลของอวัยวะตาง ๆ ในรางกาย
ไดรบั ปริมาณออกซิเจนลดลง หรือขาดออกซิเจน จะทําใหอวัยวะนัน้ ๆ ภาพที่ 1.20 ออกซิเจนจําเปน
ตายได ดังนั้น ออกซิเจนจึงมีความสําคัญตอการดํารงชีวิตของมนุษย ตอการหายใจของสิ่งมีชีวิต
หน
ังส เน

เปนอยางมาก
ือเล ื้อห

ที่มา : คลังภาพ อจท.


มน าอา
ี้อย จม
ู ในร ีกา
ะหว รปร
าง ับป
สง รุง

18
ตร แก
วจ  ไข
พิจ
าร

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


1 กระบวนการเมแทบอลิซึมของเซลล เปนการหายใจของเซลล โดยที่เซลล ขอใดจับคูธาตุกับชื่อหมูธาตุไมถูกตอง
จะนําสารอาหารโมเลกุลเดีย่ วทีถ่ กู ยอยจากกระบวนการยอยอาหารมาสรางเปน 1. นีออน-แกสเฉื่อย
พลังงาน โดยที่จะผานกระบวนการไกลโคลิซิส วัฏจักรเครบส และการถายทอด 2. โบรมีน-ธาตุแฮโลเจน
อิเล็กตรอน ซึ่งออกซิเจนจะเปนตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดทาย เพื่อใหไดพลังงาน 3. ออกซิเจน-แกสมีตระกูล
ออกมา 4. โซเดียม-โลหะแอลคาไล
5. แมกนีเซียม-โลหะแอลคาไลนเอิรท
(วิเคราะหคําตอบ ออกซิเจนเปนธาตุในหมู 6A หรือธาตุแชลโค-
เจน ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T22

130
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
4. ธาตุ 2 แถวลาง ซึ่งแยกออกมานั้น เรียกวา ธาตุแทรนซิชันชั้นใน (inner transition 1. ครูอธิบายสรุปเกี่ยวกับเนื้อหา หรือเปดโอกาส
elements) โดย ใหนักเรียนไดสอบถามในสวนที่มีขอสงสัย
• ธาตุแถวบน คือ ธาตุที่มีเลขอะตอมตั้งแต 58 ถึง 71 เรียกวา กลุมธาตุแลนทาไนด 2. ครูนาํ นักเรียนอภิปรายสรุปเกีย่ วกับพัฒนาการ
(lanthanide series) ธาตุกลุมนี้ควรจะอยูในหมู 3B โดยจะเรียงตอจากธาตุ La ธาตุในกลุมนี้ ของตารางธาตุและตารางธาตุในปจจุบัน โดย
จะมีเลขอะตอมมาก และเปนธาตุหายาก ครูใชคําถาม ดังนี้
• ธาตุแถวลาง คือ ธาตุที่มีเลขอะตอมตั้งแต 90 ถึง 103 เรียกวา กลุมธาตุแอกทิไนด • ธาตุตางๆ ใชเกณฑอะไรในการจัดลงใน
(actinide series) ธาตุกลุมนี้ควรอยูในหมู 3B โดยเรียงตอจากธาตุ Ac ธาตุในกลุมนี้จะมี ตารางธาตุ
เลขอะตอมมาก เปนธาตุหายาก และเปนธาตุกัมมันตรังสีที่มีครึ่งชีวิตสั้น (แนวตอบ การจัดเรียงอิเล็กตรอนตามกฎ
5. ธาตุไฮโดรเจนมีสมบัติบางอยางคลายธาตุหมู 1A เชน มีเวเลนซอิเล็กตรอนเทากับ 1 ออกเตต)
และมีสมบัติบางอยางคลายธาตุหมู 7A เชน มีสถานะเปนแกส ไมนําไฟฟา เปนตน จึงแยกไว • นักเรียนคิดวาตารางธาตุสามารถเปลี่ยน
ตางหาก ไมถูกจัดใหอยูในหมูใด
แปลงไดอีกหรือไม
6. ธาตุที่เปนโลหะและอโลหะถูกแยกออกจากกันดวยเสนขั้นบันได โดยทางซายของ
(แนวตอบ สามารถเปลี่ยนแปลงไดถามีธาตุ
เสนขั้นบันไดเปนโลหะ สวนทางขวาของเสนขั้นบันไดเปนอโลหะ สวนธาตุที่อยูชิดเสนขั้นบันได
จะมีสมบัติกํ้ากึ่งระหวางโลหะกับอโลหะ เรียกวา ธาตุกึ่งโลหะ (metalloid) ไดแก โบรอน (B) ชนิดใหมเพิ่มขึ้นมาหรือมีธาตุที่ไมสามารถ
ซิลิคอน (Si) เจอรเมเนียม (Ge) อารเซนิกหรือสารหนู (As) แอนติโมนีหรือพลวง (Sb) จัดเขาในระบบตารางธาตุปจจุบันได หรือ
เทลลูเรียม (Te) พอโลเนียม (Po) และแอสทาทีน (At) มี ผู  คิ ด ค น ตารางธาตุ แ บบใหม ที่ มี ค วาม
ครอบคลุ ม มากกว า เดิ ม ก็ อ าจจะทํ า ให
ธาตุไฮโดรเจน H ตารางธาตุเปลี่ยนแปลงได)
8A
1A 2A 3A 4A 5A 6A 7A
B
Si
Ge As
Sb Te
Po At

ธาตุกึ่งโลหะ

ภาพที่ 1.21 ธาตุกึ่งโลหะ


ก ไข าร
ุงแ พิจ
ปร วจ

ที่มา : คลังภาพ อจท.


รับ ตร
รป สง
ีกา าง
จม ะหว
อา นร
หา ี้อยู ใ

â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 19
เนื้อ ลมน
ือเ
ังส
หน

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


กําหนดขอมูลเกี่ยวกับปรอท ดังนี้ ครูอธิบายสมบัตขิ องธาตุโลหะและอโลหะ เพือ่ ใหนกั เรียนเขาใจสมบัตขิ อง
ก. เปนโลหะที่นําไฟฟาไดดี ธาตุกึ่งโลหะ ดังนี้
ข. มีสถานะเปนของเหลวที่อุณหภูมิหอง - สมบัติของธาตุโลหะ : ผิวเปนมันวาว มีความเหนียว ทุบไมแตกแต
ค. มีจุดหลอมเหลวสูงมาก อาจจะแบนลงหรือยืดเปนเสนได จุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง
ขอมูลในขอใดไมเกี่ยวของกับปรอท นําไฟฟาและนําความรอนไดดี มีสถานะเปนของแข็งทีอ่ ณ
ุ หภูมหิ อ ง
1. ขอ ก. เทานั้น 2. ขอ ก. และ ข. - สมบัติของธาตุอโลหะ : ผิวไมเปนมันวาว ไมมีความเหนียว เปราะ
3. ขอ ก. และ ค. 4. ขอ ข. และ ค. จุดเดือดและจุดหลอมเหลวตํ่า ไมนําไฟฟา มีทั้ง 3 สถานะ
5. ขอ ค. เทานั้น - สมบัติของธาตุกึ่งโลหะ : สวนใหญผิวไมเปนมันวาว ไมมีความเหนียว
( วิเคราะหคําตอบ ปรอทจั ด เป น โลหะที่ มี ส ถานะของเหลวที่ เปราะ จุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง
อุณหภูมิหอง นําไฟฟาไดดี และจุดหลอมเหลวไมสูง ดังนั้น ตอบ
ขอ 5.)

T23

131
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ขยายความเขาใจ
1. ครูและนักเรียนรวมกันพูดคุยเกีย่ วกับธาตุทคี่ น ตารางธาตุในปจจุบนั มีธาตุบรรจุอยูค รบแลวทัง้ 7 คาบ โดยสหภาพเคมีบริสทุ ธิแ์ ละเคมีประยุกต
พบใหมในปจจุบันทั้ง 4 ธาตุ ตามรายละเอียด ระหวางประเทศ หรือ International Union of Pure and Applied Chemistry (IUPAC) ไดตกลง
จากหนังสือเรียน บรรจุธาตุที่คนพบใหมอีก 4 ธาตุ เขาไปในตารางธาตุ ดังนี้
2. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง 1. ธาตุที่มีเลขอะตอม 113 ไดรับชื่อวา นิฮงเนียม (nihonium) มีสัญลักษณเปน Nh
ตารางธาตุ วามีสวนไหนที่ยังไมเขาใจและให โดยธาตุชนิดนีถ้ กู คนพบในประเทศญีป่ นุ ซึง่ เปนธาตุชนิดแรกทีค่ น พบในประเทศทางเอเชียอีกดวย
ความรูเพิ่มเติมในสวนนั้น 2. ธาตุที่มีเลขอะตอม 115 ไดรับชื่อวา มอสโคเวียม (moscovium) มีสัญลักษณเปน Mc
3. ครู ใ ห นั ก เรี ย นทํ า ใบงาน เรื่ อ ง ตารางธาตุ โดยตั้งชื่อตามชื่อของเมืองมอสโก ในประเทศรัสเซีย ซึ่งเปนแหลงวิจัย คนควา และสังเคราะห
แล ว มอบหมายให นั ก เรี ย นตอบคํ า ถามจาก ธาตุชนิดนี้
Topic Question ลงในสมุด แลวสงเปนการบาน 3. ธาตุที่มีเลขอะตอม 117 ไดรับชื่อวา เทนเนสซีน (tennessine) มีสัญลักษณเปน Ts
โดยตัง้ ชือ่ ตามชือ่ ของรัฐเทนเนสซี ในประเทศสหรัฐอเมริกา ซึง่ เปนบริเวณทีต่ งั้ ของศูนยวจิ ยั ตาง ๆ
ในชั่วโมงถัดไป
ที่คนพบธาตุชนิดนี้
5. ครู ม อบหมายให นั ก เรี ย นสรุ ป ผั ง มโนทั ศ น
4. ธาตุที่มีเลขอะตอม 118 ไดรับชื่อวา โอกาเนสสัน (oganesson) มีสัญลักษณเปน Og
(Concept Mapping) เรื่อง ตารางธาตุ และ โดยตั้งชื่อตามนายยูริ โอกาเนสเซียน (Yuri Oganessian) นักวิทยาศาสตรชาวรัสเซีย ผูบุกเบิก
ใหนกั เรียนทํา Unit Question 1 สงเปนการบาน การสังเคราะหธาตุหนักตาง ๆ
ชั่วโมงถัดไป

ขัน้ ประเมิน Topic


ตรวจสอบผล ? Question
1. ครูตรวจการนําเสนอขอมูลเกีย่ วกับการจัดเรียง คําชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
ธาตุในตารางธาตุ ที่ไดจากการสืบคน 1. นักวิทยาศาสตรใชเกณฑอะไรในการจัดธาตุตาง ๆ ลงในตารางธาตุ
2. ครูประเมินผลโดยการสังเกตพฤติกรรมการ 2. ตารางธาตุที่ใชกันอยูในปจจุบันมีการจัดเรียงธาตุอยางไร
ตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานกลุม และ 3. ตารางธาตุในปจจุบันแบงออกเปนกี่หมู และกี่คาบ
พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล 4. กําหนดธาตุให 5 ชนิด ดังนี้
3. ครู ต รวจสอบผลจากการทํ า ใบงาน เรื่ อ ง ธาตุ A อยูในหมู 7A คาบที่ 2 ธาตุ B อยูในหมู 4A คาบที่ 3
ตารางธาตุ ธาตุ C อยูในหมู 8B คาบที่ 4 ธาตุ D อยูในหมู 1A คาบที่ 5
4. ครูตรวจสอบผลการตอบคําถามจาก Topic ธาตุ E อยูในหมู 6A คาบที่ 4
Question ในหนังสือเรียน ธาตุทั้ง 5 ชนิดนี้คือธาตุใด และมีสมบัติเปนโลหะ อโลหะ หรือกึ่งโลหะ
5. ครูวัดและประเมินผลจากการทํา Unit Ques- 5. ถานักเรียนเปนนักวิทยาศาสตรที่สังเคราะหธาตุที่มีเลขอะตอม 115 ขึ้นมา นักเรียน
tion 1 ในหนังสือเรียน จะจัดเรียงธาตุในไวในหมูใด เพราะเหตุใด
หน
ังส เน
ือเล ื้อห
มน าอา
ี้อย จม
ู ในร ีกา
ะหว รปร
าง ับป
สง รุง

20
ตร แก
วจ  ไข
พิจ
าร

แนวทางการวัดและประเมินผล แนวตอบ Topic Question


1. รวบรวมธาตุใหเปนระบบ จัดเปนตารางธาตุ
ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจเกีย่ วกับการจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ
2. จัดเรียงธาตุตามลําดับเลขอะตอม
ไดจากการนําเสนอผลจากการสืบคนขอมูลที่นักเรียนไดนําเสนอในขั้นสํารวจ
3. 18 หมู และ 7 คาบ
คนหา โดยศึกษาเกณฑการวัดและการประเมินการนําเสนอผลงานทีแ่ นบมาทาย
4. ธาตุ A เปนโลหะ ธาตุ B เปนกึ่งโลหะ ธาตุ C เปนโลหะ ธาตุ D เปน
แผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 1 โครงสรางอะตอมและตารางธาตุ
โลหะ ธาตุ E เปนอโลหะ
แบบประเมินการนาเสนอผลงาน

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่


5. พิจารณาจากการจัดเรียงอิเล็กตรอน หรือพิจารณาจากแถวของธาตุ
ในตารางธาตุ
ตรงกับระดับคะแนน
ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน
3 2 1
1 ความถูกต้องของเนื้อหา   
2 ความคิดสร้างสรรค์   
3 วิธีการนาเสนอผลงาน   
4 การนาไปใช้ประโยชน์   
5 การตรงต่อเวลา   

รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


............/................./...................

เกณฑ์การให้คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินสมบูรณ์ชัดเจน ให้ 3 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินเป็นส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินบางส่วน ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T24 5

132
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
3. ÊÁºÑµÔ¢Í§¸ÒµØ Prior Knowledge
âÅËÐ ÍâÅËÐ áÅС֧è âÅËÐ
1. ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาเกี่ยวกับตาราง
ธาตุ และการจั ด เรี ย งลํ า ดั บ ของธาตุ เพื่ อ
áÅСÒÃãªÑ»ÃÐ⪹ ÁÕÊÁºÑµàÔ ´‹¹Í‹ҧäÃ
เปนการทบทวนความรูของนักเรียนจากคาบ
ธาตุแตละชนิดในตารางธาตุจะมีทงั้ สมบัตทิ เี่ หมือนกันและ เรียนที่ผานมา และนําไปสูหัวขอตอไป
สมบัติที่แตกตางกัน จึงทําใหนําธาตุแตละชนิดไปใชประโยชนได 2. ครูถามคําถาม Prior Knowledge “โลหะ
แตกตางกัน ซึ่งสามารถระบุชนิดและสมบัติของธาตุ และการนํา อโลหะ และกึง่ โลหะ มีสมบัตเิ ดนอยางไร” เพือ่
ธาตุแตละชนิดไปใชประโยชนได ดังนี้ เปนการกระตุนใหนักเรียนรวมกันคิด
3.1 ª¹Ô´áÅÐÊÁºÑµÔ¢Í§¸ÒµØ 3. นักเรียนรวมกันตอบคําถามและแสดงความคิด-
นักวิทยาศาสตรใชสมบัตขิ องธาตุในการจัดหมวดหมูข องธาตุออกไดเปน 3 กลุม ใหญ ๆ ดังนี้ เห็นเกี่ยวกับคําตอบของคําถาม เพื่อเชื่อมโยง
สมบัติ โลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ
ไปสูการเรียนรูเรื่อง สมบัติของธาตุและการ
สถานะ เปนของแข็งที่อุณหภูมิหอง พบไดทั้ง 3 สถานะ ของแข็ง
ใชประโยชน
(ยกเวนปรอทมีสถานะเปน
ของเหลว)
ความมันวาว ผิวเปนมันวาว สวนมากผิวไมเปนมันวาว บางชนิดผิวเปนมันวาว
(ยกเวนแกรไฟตและเกล็ด บางชนิดผิวไมเปนมันวาว
ไอโอดีน) แนวตอบ Prior Knowledge
การนําไฟฟา นําไฟฟาและความรอนไดดี ไมนําไฟฟาและความรอน สวนใหญมีสมบัติเปนสาร
และความรอน (ยกเวนแกรไฟตนําไฟฟา กึ่งตัวนํา (semiconductors) 1. โลหะ เปนกลุม ธาตุทมี่ สี มบัตเิ ปนตัวนําไฟฟาได
ไดดี) ซึ่งจะสามารถนําไฟฟาไดดี นําความรอนที่ดี เหนียว มีจุดเดือดสูง ปกติ
ขึ้น เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น เปนของแข็งที่อุณหภูมิหอง (ยกเวน ปรอท)
ความเหนียว สวนมากเหนียว ดึงยืดออก อโลหะทีเ่ ปนของแข็งจะเปราะ เปราะ เชน แคลเซียม อะลูมิเนียม เหล็ก
เปนเสนลวด หรือตีเปน ดึงยืดออกเปนเสนลวด
แผนบางได หรือตีเปนแผนบาง ๆ ไมได 2. อโลหะ เปนกลุมธาตุที่มีสมบัติไมนําไฟฟา มี
ความหนาแนน สวนมากมีความหนาแนนสูง มีความหนาแนนตํ่า บางชนิดมีความหนาแนนสูง
จุดหลอมเหลวและจุดเดือดตํา่ เปราะบาง และ
บางชนิดมีความหนาแนน มีการแปรผันทางดานคุณสมบัติทางกายภาพ
คอนขางตํ่า มากกว า โลหะ เช น ออกซิ เ จน กํ า มะถั น
จุดเดือดและ สวนมากสูง (ยกเวนปรอท สวนมากตํ่า โดยเฉพาะ บางชนิดมีจุดเดือดและ ฟอสฟอรัส
จุดหลอมเหลว จุดหลอมเหลวตํ่า) อโลหะที่เปนแกส จุดหลอมเหลวตํ่า บางชนิด 3. กึ่งโลหะ เปนกลุมธาตุที่มีสมบัติกํ้ากึ่งระหวาง
มีจุดเดือดสูง
โลหะและอโลหะ เชน ธาตุซิลิคอน และเจอร
การเกิดเสียง มีเสียงดังกังวาน ไมมีเสียงดังกังวาน ไมมีเสียงดังกังวาน
เมเนียม มีสมบัติบางประการคลายโลหะ เชน

เมื่อเคาะ
ก ไข าร
ุงแ พิจ

นําไฟฟาไดบางที่อุณหภูมิปกติ และนําไฟฟา
ปร วจ
รับ ตร
รป สง
ีกา าง
จม ะหว

ไดมากขึ้นเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น เปนของแข็ง
อา นร
หา ี้อยู ใ

â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 21
เนื้อ ลมน

เปนมันวาวสีเงิน จุดเดือดสูง แตเปราะแตก


ือเ
ังส
หน

งายคลายอโลหะ

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


ธาตุในขอใดประกอบดวยธาตุโลหะเทานั้น ครูนําตัวอยางของโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ชนิดตาง ๆ มาเปนตัวอยาง
1. โบรอน อารกอน สังกะสี ใหนกั เรียนศึกษาสมบัตขิ องธาตุ เพือ่ ใหเกิดความเขาใจมากขึน้ เชน ปรอท ทีม่ ี
2. ออกซิเจน โบรมีน กํามะถัน สถานะของเหลว ซึง่ เปนขอยกเวนของธาตุทเี่ ปนโลหะ หรือแกรไฟต ทีน่ าํ ไฟฟา
3. โพแทสเซียม ซิลิคอน คลอรีน ไดซงึ่ เปนขอยกเวนของอโลหะ (โดยอาจจะทําเปนการทดลองเล็กๆ ใหนกั เรียน
4. โซเดียม แคลเซียม ไนโตรเจน ศึกษา)
5. อะลูมิเนียม แมกนีเซียม ทองแดง
(วิเคราะหคําตอบ สังกะสี โพแทสเซียม โซเดียม แคลเซียม
อะลูมิเนียม แมกนีเซียม และทองแดงจัดเปนธาตุโลหะ โบรอน
และซิลิคอนจัดเปนธาตุกึ่งโลหะ สวนอารกอน ออกซิเจน โบรมีน
กํ า มะถั น คลอรี น และไนโตรเจนจั ด เป น ธาตุ อ โลหะ ดั ง นั้ น
ตอบขอ 5.)

T25

133
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3 คน แลว ¡Ò÷´Åͧ »¯Ô¡ÔÃÔÂÒÃÐËÇ‹Ò§âÅËкҧª¹Ô´¡Ñº¹íéÒ
ให ช  ว ยกั น ศึ ก ษาชนิ ด และสมบั ติ ข องธาตุ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
จากหนังสือเรียน หนา 21 • การสังเกต ¨Ø´»ÃÐʧ¤
2. นักเรียนแตละกลุม รวมกันอภิปรายภายในกลุม • การทดลอง 1. ทําการทดลองเพื่อศึกษาปฏิกิริยาระหวางโซเดียม แมกนีเซียม และ
• การจําแนกประเภท
อะลูมิเนียมกับนํ้า
ตรวจสอบและรวบรวมขอมูล และทุกคนตอง จิตวิทยาศาสตร
2. เปรียบเทียบแนวโนมความวองไวในการเกิดปฏิกิริยาของธาตุหมู IA
• ความมีเหตุผล
ทําความเขาใจใหตรงกัน แลวใหสมาชิกทุกคน • ความสนใจใฝรู IIA และ IIIA กับนํ้า
• ความรับผิดชอบ
ภายในกลุมรวมกันเปรียบเทียบความเหมือน
และความแตกตางของธาตุทั้ง 3 กลุมนี้ ÇÑÊ´ØÍØ»¡Ã³áÅÐÊÒÃà¤ÁÕ
3. ครู สุ  ม ตั ว แทนของนั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม เพื่ อ 1. บีกเกอรขนาด 50 cm3 5. นํ้ากลั่น 9. ลวดแมกนีเซียม
2. คีมคีบสาร 6. ชิ้นโซเดียม 10. แผนอะลูมิเนียม
นําเสนอขอมูลที่แตละกลุมไดไปสืบคนขอมูล 3. กระจกนาฬกา 7. กอนโพแทสเซียม
มา โดยครูตรวจสอบขอมูลจากการนําเสนอ 4. ตะเกียงแอลกอฮอลพรอมที่กั้นลม 8. กระดาษลิตมัสสีแดงและสีนํ้าเงิน
เพื่อความถูกตอง ÇÔ¸Õ¡Ò÷´Åͧ
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช 1. ใสนํ้ากลั่นลงในบีกเกอรขนาด 50 cm3 จํานวน 4 ใบ ใบละ 25 cm3 ! S a f e t y f i r s t
แบบสังเกตการทํางานกลุม) 2. ใสชิ้นโซเดียมขนาดเทาเม็ดถั่วเขียวที่ซับนํ้ามันใหแหงแลวลงใน
บีกเกอรใบที่ 1 จากนั้นนํากระจกนาฬกามาปดปากบีกเกอรทันที โลหะโซเดียมจะทําปฏิกิริยา
อธิบายความรู สังเกตการเปลี่ยนแปลง เมื่อการเปลี่ยนแปลงสิ้นสุดลง ใชกระดาษ รุนแรงกับนํ้า ดังนั้น จึงไมควร
ลิตมัสสีแดงและสีนํ้าเงินทดสอบสารละลายในบีกเกอร สังเกตและ ทิ้งโลหะโซเดียมที่เหลือจากการ
1. ครู ใ ห นั ก เรี ย นปฏิ บั ติ กิ จ กรรมการทดลอง บันทึกผล ทดลองลงในอางนํ้า เพราะจะ
เรื่อง ปฏิกิริยาระหวางโลหะบางชนิดกับนํ้า 3. ทําการทดลองเชนเดียวกับขอ 2. แตใชกอนโพแทสเซียมแทน เกิดปฏิกิริยากับนํ้าอยางรุนแรง
ชิ้นโซเดียม สังเกตและบันทึกผล
โดยให นั ก เรี ย นศึ ก ษาวิ ธีก ารทํ า การทดลอง 4. ใสลวดแมกนีเซียมขนาด 0.5 cm × 1.0 cm ที่ขัดสะอาดแลวลงใน ตองนํามาทําลายดวยแอลกอฮอล
ในหนั ง สื อ เรี ย น หน า 22-23 จากนั้ น ให บีกเกอรใบที่ 3 สังเกตการเปลี่ยนแปลงและบันทึกผล จากนั้นนํา กอนจะเททิ้งลงในอางนํ้า
บีกเกอรไปตั้งไฟเพื่อใหนํ้ามีอุณหภูมิ 60 ํC เปนเวลา 3 นาที สังเกต
นักเรียนบันทึกสรุปขั้นตอนการทดลองในรูป การเปลี่ยนแปลง เมื่อการเปลี่ยนแปลงสิ้นสุดลง ใชกระดาษลิตมัสสีแดงและสีนํ้าเงินทดสอบสารละลาย
ของแผนภาพและออกแบบตารางบันทึกผล ในบีกเกอร สังเกตและบันทึกผล
การทดลอง 5. ทําการทดลองเชนเดียวกับขอ 4. แตใชแผนอะลูมิเนียมแทนลวดแมกนีเซียม สังเกตและบันทึกผล

ลวดแมกนีเซียม

ชิ้นโซเดียม กอนโพแทสเซียม
แผนอะลูมิเนียม

บีกเกอรใบที่ 1 บีกเกอรใบที่ 2 บีกเกอรใบที่ 3 บีกเกอรใบที่ 4


หน
ังส เน
ือเล ื้อห
มน าอา

ภาพที่ 1.22 การทดลองปฏิกิริยาระหวางโลหะบางชนิดกับนํ้า


ี้อย จม
ู ในร ีกา

ที่มา : คลังภาพ อจท.


ะหว รปร
าง ับป
สง รุง

22
ตร แก
วจ  ไข
พิจ
าร

บันทึก การทดลอง ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ธาตุ หมูที่ ผลการทดลอง ซีเซียม (Cs) จัดเปนธาตุหมู 1A ในตารางธาตุ ขอความใด
โซเดียม 1 โลหะโซเดียมลุกติดไฟและลอยอยูเหนือผิวนํ้า ถูกตองเกี่ยวกับซีเซียม
เคลื่อนที่ไปมาและเกิดความรอนขึ้น ก. นําไฟฟาไดทั้งในสถานะของแข็งและของเหลว
ข. ทําปฏิกิริยากับนํ้าอยางรุนแรง
โพแทสเซียม 1 โลหะโพแทสเซียมเกิดปฏิกิริยารุนแรงกับนํ้า
ค. ทําปฏิกิริยากับนํ้าจะไดสารละลายมีคา pH นอยกวา 7
โดยลุกติดไฟ และมีการพุงของนํ้าอยางรุนแรง
1. ขอ ก. เทานั้น 2. ขอ ก. และ ข.
แมกนีเซียม 2 โลหะแมกนีเซียมจมอยูในนํ้าและเกิดฟองแกส 3. ขอ ก. และ ค. 4. ขอ ข. และ ค.
ผุดขึ้นมาเล็กนอย 5. ถูกตองทุกขอ
อะลูมิเนียม 3 ไมเกิดปฏิกิริยา (วิเคราะหคําตอบ ขอ ค. ไมถูกตอง เพราะซีเซียมเมื่อทําปฏิกิริยา
กับนํ้าจะไดสารละลายมีคา pH มากกวา 7 ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T26

134
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
¤íÒ¶ÒÁ·ŒÒ¡Ò÷´Åͧ 2. ครู ใ ห นั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายก อ นทํ า การ
1. แกสที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาคือแกสอะไร จะมีวิธีทดสอบอยางไร ทดลอง โดยครูถามคําถามกอนทํากิจกรรม
2. สารละลายหลังจากการเกิดปฏิกิริยาของธาตุแตละชนิดมีสมบัติอยางไร ดวยคําถามตอไปนี้
3. จงเรียงลําดับความวองไวในการเกิดปฏิกิริยากับนํ้าของโซเดียมและโพแทสเซียม • ปญหาของการทดลองนี้ คืออะไร
4. จงเรียงลําดับความวองไวในการเกิดปฏิกิริยากับนํ้าของโซเดียม แมกนีเซียม และอะลูมิเนียม • สมบัติที่สําคัญของธาตุหมู 1A 2A และ 3A
มีอะไรบาง
ÍÀÔ»ÃÒ¼šÒ÷´Åͧ • นักเรียนคิดวาธาตุใด จะเกิดปฏิกิริยากับนํ้า
จากการทดลอง พบวา โซเดียม แมกนีเซียม และโพแทสเซียมสามารถทําปฏิกิริยากับนํ้าได มีแกส ไดดีที่สุด
เกิดขึน้ และเกิดสารละลายทีม่ สี มบัตเิ ปนเบส เนือ่ งจากสารละลายเปลีย่ นสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเปนสีนาํ้ เงิน 3. ครู ใ ห ค วามรู  เ กี่ ย วกั บ ข อ ควรระวั ง ก อ นทํ า
โดยโซเดียมและโพแทสเซียมทําปฏิกิริยากับนํ้าที่อุณหภูมิหองอยางรุนแรง ซึ่งโพแทสเซียมจะเกิดปฏิกิริยาที่ กิ จ กรรมการทดลอง เช น โลหะโซเดี ย ม
รุนแรงกวาโซเดียม สวนแมกนีเซียมทําปฏิกิริยากับนํ้าที่อุณหภูมิหองไดชามาก แตปฏิกิริยาจะเกิดเร็วขึ้นเมื่อ สามารถทําปฏิกิริยารุนแรงกับนํ้า เกิดแกสที่
นํ้ามีอุณหภูมิสูงขึ้น ในขณะที่อะลูมิเนียมไมทําปฏิกิริยาทั้งในนํ้ารอนและนํ้าเย็น
ติดไฟ และเกิดการไหมเมื่อสัมผัส ควรใชดวย
ความระมัดระวัง
จากการทดลอง สามารถสรุปแนวโนมความเปนโลหะและอโลหะของธาตุตามตารางธาตุได 4. ครูใหนกั เรียนลงมือทําการทดลองตามขัน้ ตอน
ดังนี้ และบันทึกผลการทดลอง
ความเปนโลหะ 5. ครูใหตัวแทนนักเรียนของแตละกลุมออกมา
1A 8A
นําเสนอผลการทดลองหนาชั้นเรียน โดยให
นักเรียนเปรียบเทียบผลการทดลองของแตละ
ความเปนโลหะ

1 H 2A 3A 4A 5A 6A 7A He
กลุม วาเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร หากผล
2 Li Be B C N O F Ne การทดลองแตกตางกัน ใหนักเรียนรวมกัน
3 Na Mg Al Si P S Cl Ar อภิปรายสาเหตุทที่ าํ ใหผลการทดลองแตกตาง
4 K Ca Ga Ge As Se Br Kr กัน
5 Rb Sr In Sn Sb Te I Xe
แนวตอบ คําถามทายการทดลอง
ความเปนอโลหะ

6 Cs Ba Tl Pb Bi Po At Rn
1. แกสไฮโดรเจน
7 Fr Ra
2. ธาตุแตชนิดมีสมบัติเปนเบส
ความเปนอโลหะ
3. ความว อ งไวต อ การเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าของธาตุ ห มู 
1A จะเพิ่มขึ้นตามคาบ ดังนั้น ความวองไว

ภาพที่ 1.23 แนวโนมความเปนโลหะและอโลหะของธาตุหมู A


ก ไข าร
ุงแ พิจ

ตอการเกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้นจากโซเดียมถึง
ปร วจ

ที่มา : คลังภาพ อจท.


รับ ตร
รป สง
ีกา าง

โพแทสเซียม
จม ะหว
อา นร
หา ี้อยู ใ

â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 23
เนื้อ ลมน

4. โซเดี ย ม แมกนี เ ซี ย ม และอะลู มิ เ นี ย ม ตาม


ือเ
ังส
หน

แนวโนมความเปนโลหะ

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


ขอใดเรียงลําดับความเปนโลหะจากมากไปนอยไดถูกตอง ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับสมบัติของธาตุตาง ๆ เชน
1. Rn > I > H > Na > C 1. แนวโนมจุดเดือดและจุดหลอมเหลวของโลหะหมู 1A - 3A และธาตุหมู 4A
2. Li > K > Al > O > F จะลดลงตามหมู และจะเพิ่มขึ้นตามคาบ เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น สวนแนว-
3. Cs > Si > Ga > F > Cl โนมจุดเดือดและจุดหลอมเหลวของอโลหะ จะเพิม่ ขึน้ ตามหมู และจะลดลง
4. K > Mg > B > N > Ne ตามคาบ เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น
5. Bi > Po > At > Mg > S 2. แนวโนมความหนาแนนของธาตุเรพรีเซนเททีฟจะเพิ่มขึ้นตามหมู เมื่อเลข
(วิเคราะหคําตอบ แนวโนมของความเปนโลหะจะเพิ่มจากขวาไป อะตอมเพิ่มขึ้น สวนตามคาบ พบวา โลหะแทรนซิชัน > 4A > 3A > 2A >
ซาย จากบนลงลาง ของตารางธาตุ ดังนั้น ตอบขอ 4.) 1A สวนอโลหะแนวโนมความหนาแนนตามคาบจะไมชัดเจน

T27

135
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ขยายความเขาใจ
1. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับผลการ 3.2 ¡ÒÃ㪌»ÃÐ⪹¨Ò¡¸ÒµØºÒ§ª¹Ô´
ทดลอง โดยครูใชคําถามหลังทําการทดลอง จากแนวโนมสมบัตขิ องธาตุในตารางธาตุทไี่ ดศกึ ษามาแลว ทําใหทราบวา ธาตุในหมูเ ดียวกัน
ดังนี้ จะมีสมบัตทิ ใี่ กลเคียงกัน ตอมาจะเรียนรูเ กีย่ วกับลักษณะ สมบัตเิ ฉพาะตัว และการนําไปใชประโยชน
• เปรียบเทียบความวองไวตอการเกิดปฏิกริ ยิ า ของธาตุเรพรีเซนเททีฟในแตละหมู และธาตุแทรนซิชัน ดังนี้
ของธาตุแตละชนิด ¸ÒµØËÁÙ‹ 1A
• เมื่อโลหะทําปฏิกิริยากับนํ้าแลว สารละลาย âÅËÐáÍŤÒäÅ alkali metals
ที่ไดมีฤทธิ์เปนกรด กลาง หรือเบส 1
• แกสที่เกิดขึ้นในการทดลอง คือแกสใด 3 6.94 ลักษณะและสมบัติ
2. ครู ม อบหมายให นั ก เรี ย นแต ล ะคนเขี ย นผั ง
LiLithium 2 • สวนใหญมีสีเงิน (ยกเวนซีเซียม (Cs) จะมีสีทองเจือปน)
มโนทัศนสรุปสมบัติของธาตุหมู 1A 2A และ 11 22.99 • เปนโลหะเนื้อออน มีความหนาแนนตํ่า
Na 3 • มีความวองไวในการเกิดปฏิกิริยาเคมีสูง เกิดปฏิกิริยาเคมีกับธาตุหมู 7A ไดดี
3A ลงในกระดาษ A4 สงเปนการบานใน Sodium
19 39.10 และเกิดปฏิกิริยารุนแรงกับนํ้า จึงตองเก็บไวในนํ้ามัน
ชั่วโมงถัดไป KPotassium 4 • มีเวเลนซอเิ ล็กตรอน 1 ตัว ทําใหสญู เสียอิเล็กตรอนไดงา ย ดังนัน้ จึงมีความเปน
37 85.47 โลหะสูง
Rb
Rubidium 5
• ในธรรมชาติมักพบอยูในรูปสารประกอบ เชน โซเดียมคลอไรด (NaCl)
55 132.91
ลิเทียมออกไซด (LiO) เปนตน
Cs
Cesium 6
87 (223)
Fr
Francium 7
ภาพที่ 1.24 ธาตุหมู 1A
ที่มา : คลังภาพ อจท.

ตัวอยางการนําไปใชประโยชน

ภาพที่ 1.25 แบตเตอรี่ลิเทียมไอออน ภาพที่ 1.26 ขนมปง


ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท.
ลิเทียม (Li) โซเดียม (Na)
สามารถดูดความรอนไดดี นํามา ในชีวติ ประจําวันมีการนําสารประกอบโซเดียมมาใชประโยชนมากมาย เชน
ใช ใ นการถ า ยเทความร อ นและ เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด (NaCl) นํามาใชในการประกอบอาหาร
สามารถถายเทอิเล็กตรอนไดดี ผงฟูหรือโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต (NaHCO3) นํามาใชในการทํา
หน
ังส เน
ือเล ื้อห

จึงนํามาทําเปนแบตเตอรี่ ขนมปงใหฟู
มน าอา
ี้อย จม
ู ในร ีกา
ะหว รปร
าง ับป
สง รุง

24
ตร แก
วจ  ไข
พิจ
าร

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง โลหะอัลคาไล ธาตุใดอยูในหมูเดียวกัน
https://twig-aksorn.com/film/alkali-metals-8220/ M เปนธาตุที่มีสถานะเปนแกสสีเหลือง อยูเปนอะตอมคู
N เปนธาตุในหมูที่ทําปฏิกิริยารุนแรงกับนํ้า และอยูในคาบเดียว
กับโบรอน
Q เปนธาตุที่มีเลขอะตอมเทากับ 11
R เปนธาตุกึ่งโลหะที่มีเลขอะตอมนอยที่สุด
1. M และ N 2. N และ Q 3. M และ R
4. N และ R 5. Q และ R
(วิเคราะหคําตอบ M เปนธาตุฟลูออรีน ซึ่งอยูในหมู 7A
N เปนธาตุลิเทียม ซึ่งอยูในหมู 1A
Q เปนธาตุโพแทสเซียม ซึ่งอยูในหมู 1A
R เปนธาตุโบรอน ซึ่งอยูในหมู 3A
ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T28

136
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
¸ÒµØËÁÙ‹ 2A 1. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4 คน ศึกษา
âÅËÐáÍŤÒ䬏àÍÔÏ· alkaline-earth metals เรื่อง สมบัติของธาตุตามหมู จากหนังสือเรียน
2 หนา 24 - 28 หรือแหลงเรียนรูตางๆ โดยแบง
4 ลักษณะและสมบัติ
Be
9.01
กันคนละเรื่อง ดังนี้
2 • สวนใหญมีสีเงิน
Beryllium
12 24.31 • เปนโลหะเนื้อออน แตมีความแข็งและมีความหนาแนนมากกวาธาตุหมู 1A • สมบัติของธาตุหมู 1A
Mg
Magnesium 3 • เกิดปฏิกริ ยิ าเคมีกบั นํา้ และธาตุหมู 7A ไดดี แตปฏิกริ ยิ ามีความรุนแรงนอยกวา • สมบัติของธาตุหมู 2A
20 40.08 ธาตุหมู 1A • สมบัติของธาตุหมู 7A
Ca
Calcium 4 • มีเวเลนซอิเล็กตรอน 2 ตัว ทําใหสูญเสียอิเล็กตรอนไดงาย ดังนั้น จึงมีความ • สมบัติของธาตุหมู 8A
38 87.62 เปนโลหะที่ดี • สมบัติของธาตุแทรนซิชัน
Sr 5
Strontium 2. จากนั้นใหนักเรียนนําเรื่องที่ตนเองศึกษามา
56 137.33
Ba 6
อธิบายใหเพื่อนภายในกลุมฟง จนเกิดความ
Barium
88 226.03 เขาใจที่ตรงกันภายในกลุม
Ra
Radium 7
ภาพที่ 1.27 ธาตุหมู 2A 3. ครูสุมตัวแทนนักเรียน 2 กลุม ออกมาอธิบาย
ที่มา : คลังภาพ อจท.
เกี่ยวกับสมบัติของธาตุหมู 1A และ 2A โดย
ตัวอยางการนําไปใชประโยชน
เบริลเลียม (Be) กลุม หนึง่ อธิบายสมบัตขิ องธาตุหมู 1A อีกกลุม
เปนโลหะที่มีความแข็งแรง นํ้าหนักเบา แตเปราะ มักนํามาใชเปนโลหะ หนึ่งอธิบายสมบัติของธาตุหมู 2A
ผสมเพื่อทําใหโลหะแข็งแกรงขึ้น 4. จากนั้ น ครู ใ ห ซั ก ถามข อ สงสั ย โดยครู เ ป น
แมกนีเซียม (Mg) ผูอธิบายคําตอบจนนักเรียนเกิดความเขาใจ
เปนธาตุทพี่ บไดมากในธรรมชาติ โดยพบเปนสวนประกอบของเปลือกโลก จากนั้นครูตั้งคําถามเพื่อทดสอบความเขาใจ
อยูประมาณรอยละ 2 และเปนธาตุที่ละลายอยูในนํ้าทะเลเปนอันดับ 3
นิยมนํามาใชเปนวัตถุดบิ ในการผลิตโลหะผสมอะลูมเิ นียมและแมกนีเซียม ของนักเรียน
• ธาตุหมู 1A และ 2A มีสมบัติใดคลายคลึง
แคลเซียม (Ca)
ภาพที่ 1.28 ภาพเอกซเรย เปนโลหะสีเทาออน เปนธาตุที่มีความสําคัญ กันและมีสมบัติใดที่แตกตางกัน
ของลําไสใหญ ตอสิ่งมีชีวิตอยางยิ่ง เนื่องจากเปนสวนประกอบ (สมบัตทิ คี่ ลายคลึงกัน คือ เปนโลหะเนือ้ ออน
ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่สําคัญของโครงสรางรางกายของสิ่งมีชีวิต สวนใหญเปนสีเงิน สวนสมบัตทิ แี่ ตกตางกัน
แบเรียม (Ba) เชน กระดูกและฟน
เป น ธาตุ ที่ จ ะพบได น  อ ยใน คือ ธาตุหมู 1A มีความไวตอปฏิกิริยาเคมี
ธรรมชาติ สามารถทําปฏิกิริยา สูงมาก จึงไมพบโลหะหมูนี้เปนธาตุอิสระ
กับอากาศไดดี ทําใหพบไดเฉพาะ ภาพที่ 1.29 โครงกระดูก
ในรู ป ของสารประกอบเท า นั้ น ที่มา : คลังภาพ อจท. ในธรรมชาติ แตพบอยูในรูปสารประกอบ
นํามาใชประโยชนในหลายดาน สวนโลหะหมู 2A มีความแข็งและหนาแนน


ก ไข าร

เช น ด า นการขุ ด เจาะนํ้ า มั น


ุงแ พิจ

มากกวาหมู 1A ที่อยูคาบเดียวกัน)
ปร วจ
รับ ตร

การทําเหมืองแร การถายภาพ
รป สง
ีกา าง
จม ะหว

เอกซเรยทางการแพทย เปนตน
อา นร
หา ี้อยู ใ

â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 25
เนื้อ ลมน
ือเ
ังส
หน

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


ขอใดไมใชสมบัติของธาตุหมู 2A ใหครูทดสอบสีของเปลวไฟใหนักเรียนดู โดยนําสารประกอบของธาตุไป
1. เปนโลหะเนื้อออน เผาใหสีของเปลวไฟแตกตางกัน เชน
2. เกิดปฏิกิริยากับนํ้าไดดี - Ca2+ ใหเปลวไฟสีแดงอิฐ โดยใชสาร CaCO3, CaCl2, CaSO4
3. สูญเสียอิเล็กตรอนไดงาย - Sr2+ ใหเปลวไฟสีแดง โดยใชสาร SrCl2, Sr(NO3)2
4. มีเวเลนซอิเล็กตรอนเทากับ 2 - Ba2+ ใหเปลวไฟสีเขียว โดยใชสาร BaCO3, BaSO4, BaCl2
5. มีความหนาแนนนอยกวาธาตุหมู 1A
(วิเคราะหคําตอบ ธาตุหมู 2A เปนโลหะเนื้อออน มีเวเลนซ
อิเล็กตรอน 2 ตัว จึงสูญเสียอิเล็กตรอนไดงาย เกิดปฏิกิริยากับ
นํ้าและธาตุหมู 7A ไดดี และมีความหนาแนนมากกวาธาตุหมู 1A
ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T29

137
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
5. ครูใหนักเรียนศึกษาคนควาเพิ่มเติมจากแหลง ¸ÒµØËÁÙ‹ 7A Chemistry
เรียนรูตาง ๆ เกี่ยวกับสมบัติของธาตุหมู 3A ¸ÒµØáÎâÅਹ halogen in real life
และยกตัวอยางธาตุหมู 3A ที่ควรรูจัก พรอม 17 โซเดียมฟลูออไรดทนี่ าํ มาเติม
9 ลักษณะและสมบัติ ลงในยาสีฟน สามารถปองกันฟน
บอกประโยชนจากธาตุชนิดนั้น ๆ แลวสรุปลง FFluorine
18.998
• เปนอโลหะทีม่ คี วามวองไวตอการเกิดปฏิกริ ยิ า ผุได เนือ่ งจากโซเดียมฟลูออไรด
2
ในกระดาษ A4 สงครู จากนั้นครูตั้งคําถามให 17 35.45
เคมีสูง จะไปชวยเพิ่มความแข็งแรงให
นักเรียนชวยกันตอบ Cl • ในธรรมชาติมกั พบธาตุหมูน ใี้ นลักษณะโมเลกุล กับชั้นเคลือบฟน ทําใหทนทาน
Chlorine 3 คู ซึ่งประกอบดวย 2 อะตอม ตอกรดที่แบคทีเรียตาง ๆ ผลิต
• ธาตุหมู 3A มีสมบัติเปนอยางไร 35 79.90
• เมื่ อ รวมตั ว กั บ ไฮโดรเจนจะมี ส มบั ติ เ ป น ขึ้นได นอกจากนี้ ฟลูออไรดยัง
(แนวตอบ เปนโลหะ แตความเปนโลหะนอย Br
Bromine 4 กรดรุนแรง เชน กรดไฮโดรคลอริก (HCl) ชวยยับยั้งการเจริญเติบโตของ
กวาธาตุหมู 1A และ 2A มีสถานะเปน 53 126.90 กรดไฮโดรฟลูออริก (HF) เปนตน เชื้อจุลินทรียได
IIodine 5 • มีเวเลนซอเิ ล็กตรอน 7 ตัว ทําใหรบั อิเล็กตรอน
ของแข็ง เวเลนซอิเล็กตรอนเทากับ 3 ตัว มี 85 (210) จากธาตุอื่น ๆ ไดดี ดังนั้น จึงมีความเปน
จุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง และสูงกวา At
Astatine 6 อโลหะสูง
ธาตุหมู 1A และ 2A) 117 294
6. ครูสุมตัวแทนนักเรียน 2 กลุม ออกมาอธิบาย Uus 7
ภาพที่ 1.30 ธาตุหมู 7A
Ununseptium ที่มา : คลังภาพ อจท.
เกี่ยวกับสมบัติของธาตุหมู 7A และหมู 8A
ตัวอยางการนําไปใชประโยชน
โบรมีน (Br)
มีสถานะเปนของเหลวสีแดง สามารถระเหยไดงา ยทีอ่ ณ
ุ หภูมหิ อ ง เปนอันตรายตอเนือ้ เยือ่ ของมนุษย เนือ่ งจาก
ไอระเหยสามารถทําใหเกิดการระคายเคืองตอตาและผิวหนังได
ไอโอดีน (I)
มีสถานะเปนของแข็ง ไมละลายนํ้า มีความจําเปนตอการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต เนื่องจากเปนธาตุที่เปน
องคประกอบสําคัญในการผลิตฮอรโมนที่สําคัญบางชนิด นอกจากนี้ ยังนํามาใชในการผลิตยาฆาเชื้อ
และสียอมผาไดอีกดวย

ภาพที่ 1.31 ยาสีฟนผสมฟลูออรีน


ที่มา : คลังภาพ อจท.
ภาพที่ 1.32 ในสระวายนํา้ จะมีการเติมคลอรีนลงไปเพือ่ ฆาเชือ้ โรค
ฟลูออรีน (F) ที่มา : คลังภาพ อจท.
เปนแกสสีเหลืองออน และเปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิต คลอรีน (Cl)
ซีึ่งฟลูออรีนบริสุทธิ์สามารถทําใหเกิดรอยไหมบน มีสถานะเปนแกสสีเขียวอมเหลือง มีนํ้าหนักมากกวา
หน

ผิวหนังได ดังนัน้ โดยทัว่ ไป จะใชประโยชนฟลูออรีน


ังส เน

อากาศ มีกลิ่นเหม็น และเปนพิษรายแรง มีคุณสมบัติ


ือเล ื้อห

ในรูปของสารประกอบ เชน โซเดียมฟลูออไรด ((NaF)


มน าอา
ี้อย จม

ในการฆาเชื้อโรคไดดี จึงนิยมนํามาเติมลงในนํ้าหรือ
ู ในร ีกา

ใชเติมลงในยาสีฟน เพือ่ ชวยปองกันฟนผุ


ะหว รปร

สระนํ้า เพื่อทําใหนํ้าสะอาด
าง ับป
สง รุง

26
ตร แก
วจ  ไข
พิจ
าร

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับธาตุหมู 7A วาเปนธาตุที่มีความวองไวในการ ขอใดจับคูธาตุและประโยชนของธาตุไดถูกตอง
เกิดปฏิกิริยา ซึ่งเปนตัวรับอิเล็กตรอนที่ดี (ตัวออกซิไดส : oxidizing agent) 1. ลิเทียม-ใชทําแบตเตอรี่
เนื่องจากมีเวเลนซอิเล็กตรอน 7 ตัว ขาดอีก 1 ตัว จึงจะเสถียร จากนั้นครูเขียน 2. คลอรีน-ใชเติมลงในยาสีฟน
ระดับพลังงานของธาตุหมู 7A ใหนกั เรียนดู เพือ่ ใหนกั เรียนเขาใจเกีย่ วกับสมบัติ 3. ทองแดง-ใชทํากระปองบรรจุอาหาร
ในการทําปฏิกิริยาของธาตุหมู 7A มากขึ้น 4. แมกนีเซียม-ใชในการถายภาพเอกซเรยทางการแพทย
5. อารกอน-ใชบรรจุลงในถังออกซิเจนของนักประดานํ้า
(วิเคราะหคําตอบ ลิเทียม-ใชทําแบตเตอรี่
ฟลูออรีน-ใชเติมลงในยาสีฟน
เหล็ก-ใชทํากระปองบรรจุอาหาร
แบเรียม-ใชในการถายภาพเอกซเรยทางการแพทย
ฮีเลียม-ใชบรรจุลงในถังออกซิเจนของนักประดานํ้า
ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T30

138
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
¸ÒµØËÁÙ‹ 8A 7. จากนั้นครูใหซักถามขอสงสัย โดยครูเปนผู
ᡍÊà©ÕèÍ inert gas อธิบายคําตอบจนนักเรียนเกิดความเขาใจ และ
18
ลักษณะและสมบัติ ตัง้ คําถามเพือ่ ทดสอบความเขาใจของนักเรียน
2 4.003
He • มีสถานะเปนแกสไมมีสี ไมมีกลิ่น ละลายนํ้าไดเล็กนอย • ธาตุ ห มู  7A มี ส มบั ติ อ ย า งไร พร อ มทั้ ง
Helium 1
10 20.18 • มีความวองไวในการเกิดปฏิกิริยาเคมีตํ่า ยกตัวอยางธาตุที่ควรรูจัก
Ne
Neon 2 • มีเวเลนซอิเล็กตรอน 8 ตัว จึงยากตอการสูญเสียหรือรับอิเล็กตรอนเพิ่ม (แนวตอบ ธาตุหมู 7A หรือธาตุแฮโลเจน เปน
18
Ar
39.95
ตัวอยางการนําไปใชประโยชน ธาตุที่มีสมบัติเปนอโลหะ มีความวองไวตอ
3
Argon
36 83.80 นีออน (Ne) การเกิดปฏิกิริยาเคมีสูง ในสภาพธรรมชาติ
Kr
Krypton 4 เปนแกสไมมีสี เปนแกสที่ไมวองไวในการ จะพบวาธาตุกลุม นีใ้ นลักษณะเปนโมเลกุลคู
54 131.30 เกิดปฏิกิริยา จึงนิยมนํามาบรรจุในหลอด ซึ่งประกอบดวย 2 อะตอม คุณสมบัติอยาง
Xe ไฟฟา1 เพื่อชวยยืดอายุการใชงานของไส
Xenon 5
หลอด และนํามาบรรจุในหลอดไฟโฆษณา หนึ่งของธาตุหมู 7A คือ เมื่อรวมตัวกับ
86 (222)
Rn
Radon 6
เพื่อใหแสงสีสมแดง ไฮโดรเจน (H) จะมีฤทธิเ์ ปนกรดรุนแรง เชน
118 (294)
ภาพที่ 1.33 ธาตุหมู 8A ภาพที่ 1.34 หลอดไฟนีออน
กรดไฮโดรคลอริก (HCl) กรดไฮโดรฟลูออริก
Uuo
Ununoctium 7 ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท. (HF) ธาตุหมู 7A จะมีเวเลนซอเิ ล็กตรอนจาก
ธาตุอื่นๆ ไดดี จึงมีสมบัติความเปนอโลหะ
สูง ตัวอยางของธาตุหมู 7A ทีค่ วรรูจ กั ไดแก
อารกอน (Ar) ฟลูออรีน (F) และคลอรีน (Cl))
นํ า มาใช บ รรจุ ใ นหลอดไฟฟ า • ธาตุ ห มู  8A มี ส มบั ติ อ ย า งไร พร อ มทั้ ง
เพื่อชวยยืดอายุการใชงานของ
ไส ห ลอด ใช ใ นอุ ต สาหกรรม ยกตัวอยางธาตุที่ควรรูจัก
การเชือ่ มโลหะ และนํามาใชบรรจุ (แนวตอบ ธาตุหมู 8A หรือแกสเฉื่อย ไดแก
ในหลอดไฟโฆษณาเพื่ อ ให แ สง
สีมวงและสีนํ้าเงิน ฮีเลียม (He) นีออน (Ne) อารกอน (Ar)
คริปทอน (Kr) ซีนอน (Xe) และเรดอน (Rn)
คริปทอน (Kr)
ฮีเลียม (He) นํามาใชบรรจุในหลอดไฟแฟลช ธาตุในหมู 8A จะมีสถานะเปนแกสที่ระดับ
เปนแกสไมมีสี ไมมีกลิ่น ไมมีรส สําหรับถายรูปความเร็วสูง อุณหภูมิและความดันปกติ และเปนธาตุที่มี
ไมติดไฟ นิยมนํามาใชบรรจุใน
บอลลูนหรือลูกโปงสวรรค ใชผสม ซีนอน (Xe) ความวองไวในการเกิดปฏิกิริยาเคมีตํ่า มี
กั บ แก ส ออกซิ เ จนแล ว บรรจุ ล ง เปนธาตุที่ไมมีสี ไมมีกลิ่น พบ เวเลนซอเิ ล็กตรอนทีค่ รบ 8 อยูแ ลว จึงยากตอ
ภาพที่ 1.35 ลูกโปง ในถังสําหรับผูที่จะลงไปทํางาน เพียงเล็กนอยในบรรยากาศ เปน การสูญเสียหรือรับอิเล็กตรอนเพิม่ มีลกั ษณะ
ที่บรรจุดวยแกสฮีเลียม ใตทะเล หรือสําหรับนักประดานํ้า แกสที่มีฤทธิ์เปนยาสลบ และนํา
นอกจากนี้ ยังมีการนําฮีเลียมเหลว เปนแกสไมมีสี ไมมีกลิ่น ละลายนํ้าไดเล็ก

มาใช บ รรจุ ใ นหลอดไฟโฆษณา


ที่มา : คลังภาพ
ก ไข าร
ุงแ พิจ

มาใชเปนสารสําหรับหลอเย็น เพื่อใหแสงสีนํ้าเงินเขียว นอย นิยมใชในการบรรจุลงในบริเวณที่ไม


ปร วจ

อจท.
รับ ตร
รป สง
ีกา าง

ตองการใหเกิดปฏิกิริยาเคมี)
จม ะหว
อา นร
หา ี้อยู ใ

â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 27
เนื้อ ลมน
ือเ
ังส
หน

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู


ขอใดไมใชสมบัติของธาตุแทรนซิชันที่อยูในคาบเดียวกัน 1 ชวยยืดอายุการใชงานของไสหลอด การใชแกสอารกอนบรรจุในหลอดไฟ
ก. เกิดสารประกอบที่มีสีตาง ๆ จะชวยยืดอายุการใชงานของไสหลอดได เนื่องจากแกสอารกอนไมทําปฏิกิริยา
ข. มีเลขออกซิเดชันไดหลายคา กับไสหลอดขณะที่รอน แตถาบรรจุอากาศในหลอดไฟ ไสหลอดจะทําปฏิกิริยา
ค. มีขนาดอะตอมแตกตางกันมาก กับแกสตาง ๆ ได จึงทําใหไสหลอดขาดไดงาย
ง. มีจํานวนเวเลนซอิเล็กตรอนเทากัน
จ. มีจุดหลอมเหลวตํ่ากวาธาตุหมู 2A ในคาบเดียวกัน
1. ขอ ก. และ ข. 2. ขอ ก. และ จ.
3. ขอ ค. และ ง. 4. ขอ ค. และ จ.
5. ขอ ง. และ จ.
(วิเคราะหคาํ ตอบ ขอ ค. และ จ. ไมใชสมบัตขิ องธาตุแทรนซิชนั เพราะ
ในคาบเดียวกันจากซายไปขวาขนาดอะตอมของธาตุแทรนซิ-
ชันจะลดลงเล็กนอย และธาตุแทรนซิชนั จะมีจดุ หลอมเหลวสูงกวา
ธาตุหมู 2A ในคาบเดียวกัน ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T31

139
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
8. ครูสุมตัวแทนนักเรียน 1 กลุม ออกมาอธิบาย ¸ÒµØá·Ã¹«ÔªÑ¹ transition elements
เกี่ยวกับสมบัติของธาตุแทรนซิชัน 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
9. จากนั้นครูใหซักถามขอสงสัย โดยครูเปนผู 21
Sc
44.96 22
Ti VVanadium Cr
47.90 23
Mn Fe
50.94 24 51.996 25 54.94 26 55.85 27
Co
58.93 28
Ni
58.70 29
Cu
63.55 30
Zn
65.37

อธิบายคําตอบจนนักเรียนเกิดความเขาใจ และ Scandium Titanium Chromium Manganese Iron Cobalt Nickel Copper Zinc 1
39 88.91 40 91.22 41 92.91 42 95.94 43 (98) 44 101.07 45 102.91 46 106.40 47 107.87 48 112.41
ตัง้ คําถามเพือ่ ทดสอบความเขาใจของนักเรียน YYttrium Zr Nb Mo Tc Ru Rh Pd Ag Cd
Zirconium Niobium Molybdenum Technetium Ruthenium Rhodium Palladium Silver Cadmium 2
• ธาตุแทรนซิชัน มีสมบัติอยางไร พรอมทั้ง 57 138.91 72 178.49 73 180.95 74 183.85 75 189.21 76 190.20 77 192.22 78 195.09 79 196.97 80 200.59
ยกตัวอยางธาตุที่ควรรูจัก La Hf Ta
Lanthanum Hafnium Tantalum
W
Tungsten
Re
Rhenium
Os
Osmium
IrIridium Pt
Platinum
Au
Gold
Hg
Mercury 3
(แนวตอบ เปนโลหะซึง่ สวนใหญมจี ดุ หลอมเหลว 89
Ac
227.03 104
Rf Db Seaborgium
(267) 105
Sg Bohrium
(268)
Bh Hassium
106
Hs Meitnerium
Mt Ds
(271) 107 (272)
Rg Cn
108 (270) 109 (276) 110 (281) 111 (280) 112 (289)

จุดเดือด และความหนาแนนสูง มีเวเลนซ Actinium Rutherfordium Dubnium Darmstadtium Roentgenium Copernicium 4


ภาพที่ 1.36 ธาตุแทรนซิชัน
อิเล็กตรอน เทากับ 2 ยกเวนโครเมียมกับ ที่มา : คลังภาพ อจท.
ทองแดง ซึ่งมีเวเลนซอิเล็กตรอนเทากับ 1 ลักษณะและสมบัติ
• มีสถานะเปนของแข็ง (ยกเวนปรอทเปนของเหลว)
เชน สังกะสี (Zn) เหล็ก (Fe) ทองแดง (Cu) • มีความเปนโละหะนอยกวาโลหะหมู 1A และ 2A
• มีจุดเดือด จุดหลอมเหลว และความหนาแนนสูง
• นําไฟฟาได
• สามารถเกิดสารประกอบไดมากมายหลายชนิด
รวมทั้งสารประกอบเชิงซอนที่มีสีสันเฉพาะตัว

ตัวอยางการนําไปใชประโยชน ภาพที่ 1.37 กระปองบรรจุอาหารทีท่ าํ จากแผนเหล็กบาง


เหล็ก (Fe) ที่มา : คลังภาพ อจท.
เหล็กกลา (เหล็กผสมคารบอน) นํามาใชในงานกอสราง เปนสวนประกอบของลวด ตะปู เมื่อนํา
เหล็กไปเคลือบผิวดวยสังกะสี จะนํามาใชเปนสังกะสีมุงหลังคา และทํากระปองบรรจุอาหาร
ทองแดง (Cu)
นํ า มาใช ทํ า สายไฟฟ า อุ ป กรณ ไ ฟฟ า ต า ง ๆ ทองแดงผสมสั ง กะสี
(ทองเหลือง) นํามาใชทํากลอนประตู กุญแจ กระดุม ทองแดงผสมดีบุก
(ทองสัมฤทธิ์) นํามาใชทําระฆัง ลานนาฬกา
สังกะสี (Zn)
แผนสังกะสีบริสุทธิ์นํามาใชทํากลองของถานไฟฉาย
โครเมียม (Cr)
นํามาใชเคลือบผิวของเหล็กและโลหะอื่น ๆ ทําใหไดผิวโลหะที่เปนมันวาว และ
ไมผุกรอน นํามาใชเปนสวนประกอบของเหล็กกลาผสมที่ใชทําตูนิรภัย จรวด
เครื่องบินไอพน
เรเดียม (Ra)
หน

เปนธาตุกัมมันตรังสี สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลลมะเร็งได จึงนํามาใชในการ


ังส เน
ือเล ื้อห

รักษาโรคมะเร็ง
มน าอา
ี้อย จม
ู ในร ีกา
ะหว รปร

ภาพที่ 1.38 สายไฟฟาทองแดง


าง ับป
สง รุง

28
ตร แก

ที่มา : คลังภาพ อจท.


วจ  ไข
พิจ
าร

เกร็ดแนะครู กิจกรรม ทาทาย


ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมวา สารประกอบและไอออนของโลหะแทรนซิชัน ใหนักเรียนสืบคนจากแหลงขอมูลตางๆ เกี่ยวกับการจัด
สวนมากจะมีสี ยกเวนหมู 2B และ 3B เนื่องจากมีอิเล็กตรอนไมเต็มในระดับถัด เรียงอิเล็กตรอนและประโยชนของธาตุแทรนซิชัน แลวจัดเรียง
เขามาจากระดับเวเลนซอิเล็กตรอน จึงทําใหอิเล็กตรอนในระดับนี้สามารถดูด อิเล็กตรอนของธาตุแทรนซิชันจํานวน 10-15 ธาตุ จากนั้นระบุ
กลืนคลื่นแสงแลวเลื่อนขึ้นไปอยูในสภาวะกระตุน เมื่อกลับเขาสูระดับพลังงาน ประโยชนของธาตุแทรนซิชันที่นํามาจัดเรียงอิเล็กตรอนมาพอ
เดิมซึ่งเปนภาวะปกติจะปลอยหรือคายคลื่นแสงสีใดสีหนึ่งในแถบสีที่ตามอง สังเขป
เห็นได
ตัวอยางสีของสารประกอบของแทรนซิชัน เชน
KMnO4 สีมวง
K2Cr2O7 สีสม
K2CrO4 สีเหลือง
MnO2 สีนํ้าตาลเขม
Cu2O สีแดง
NiO สีเขียวเขม

T32

140
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
ตัวอยางการนําสมบัติของธาตุมาใชประโยชนในชีวิตประจําวัน 1. ครูถามคําถามเพื่อเชื่อมโยงสิ่งที่นักเรียนได
เรียนรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน ดังนี้
´ŒÒÁ¨Ñº
ทําจากพอลิเมอรที่มีอโลหะเปนองค • นักเรียนคิดวา สามารถนําขอความรูเ กีย่ วกับ
ประกอบ จึงไมนําความรอน สมบัติของธาตุในหมูตางๆ ไปใชประโยชน
อยางไรบาง
(แนวตอบ ขึ้นอยูกับดุลยพินิจของผูสอน)
2. ครูใหนักเรียนเขียนบันทึกการเรียนรูหลังเรียน
(learning logs) เรื่อง สมบัติของธาตุและการ
ใชประโยชน
3. ครูใหนักเรียนรวมกันตอบคําถามจาก Topic
Question เพื่อเปนการทบทวนความรูเรื่อง
µÑÇËÁŒÍ à«ÅŏÊØÃÔÂÐ สมบัติของธาตุและการใชประโยชน
ทําจากโลหะอะลูมิเนียมหรือ ทําจากซิลิคอนซึ่งเปนสารกึ่งตัวนํา เมื่อไดรับแสง
สเตนเลสที่นําความรอนไดดี อาทิตยจะนําไฟฟาได
ภาพที่ 1.39 หมออะลูมิเนียม ภาพที่ 1.40 เซลลสุริยะ
ที่มา : คลังภาพ อจท. ที่มา : คลังภาพ อจท.
Topic
? Question
คําชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
1. เพราะเหตุใดธาตุหมู 1A จึงเปนธาตุที่ใหอิเล็กตรอนไดดี
2. ธาตุชนิดหนึ่งอยูในหมู 2A นักเรียนคิดวาธาตุนี้มีคุณสมบัติอยางไร
3. ธาตุแทรนซิชันชนิดใดที่นิยมใชทําเปนสายไฟฟาและอุปกรณไฟฟาตาง ๆ
4. ธาตุกึ่งโลหะชนิดใดที่มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูงเหมือนโลหะ แตเปราะเหมือนอโลหะ
นิยมใชทําวงจรไฟฟาขนาดเล็กและอุปกรณไฟฟา เชน โทรทัศน ไมโครคอมพิวเตอร
โซลารเซลล
5. ธาตุชนิดหนึ่งมีสถานะเปนแกสที่อุณหภูมิหอง ไมวองไวตอการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ใชบรรจุในหลอดไฟโฆษณาใหแสงสีสม นักเรียนคิดวาแกสชนิดนี้คือแกสชนิดใด


ก ไข าร
ุงแ พิจ
ปร วจ
รับ ตร
รป สง
ีกา าง
จม ะหว
อา นร
หา ี้อยู ใ

â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 29
เนื้อ ลมน
ือเ
ังส
หน

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET แนวตอบ Topic Question


1. มีเวเลนซอิเล็กตรอนอยูชั้นนอกสุดเพียง 1 อนุภาค
ขอใดกลาวถูกตองที่สุด
2. ธาตุหมู 2A จะมีเวเลนซอิเล็กตรอนอยูชั้นนอกสุดเพียง 2 อนุภาค จึงถูกดึง
1. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีมวลเทากัน
หรือสูญเสียอิเล็กตรอนไปไดงาย ดังนั้น ธาตุหมู 2A จึงมีสมบัติความเปน
2. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีเลขมวลเทากัน
โลหะที่ดี
3. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีเลขอะตอมเทากัน
3. ทองแดง
4. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีจํานวนนิวตรอนเทากัน
4. ซิลิคอน
5. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีจํานวนอิเล็กตรอนเทากัน
5. แกสนีออน
( วิ เ คราะห คํ า ตอบ อะตอมของธาตุ ช นิ ด เดี ย วกั น จะต อ งมี
จํานวนโปรตอนเทากัน ดังนั้น อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันจึงมี
เลขอะตอมเทากัน ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T33

141
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อภิบายความรู
4. ใหนกั เรียนแบงกลุม เปน 9 กลุม ศึกษาเกีย่ วกับ Summary
สมบั ติ แ ละการนํ า ไปใช ป ระโยชน ข องธาตุ â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ
แทรนซิชัน โดยการจับสลากเลือกธาตุที่แตละ
กลุมจะไดศึกษา ดังนี้ Ẻ¨íÒÅͧÍеÍÁ
• กลุมที่ 1 ธาตุเหล็ก วิวัฒนาการของแบบจําลองอะตอมสามารถสรุปได ดังนี้
• กลุมที่ 2 ธาตุทองแดง
ภาพที่ 1.41 วิวัฒนาการของ แบบจําลองอะตอมของดอลตัน
• กลุมที่ 3 ธาตุสังกะสี แบบจําลองอะตอม
ที่มา : คลังภาพ อจท. เปนทรงกลมตัน มีขนาดเล็กทีส่ ดุ ไมสามารถแบงแยกได
• กลุมที่ 4 ธาตุโครเนียม
แบบจําลองอะตอมของทอมสัน
• กลุมที่ 6 ธาตุโคบอลต
เปนทรงกลม ประกอบดวยโปรตอนซึ่งมีประจุบวก และ
• กลุมที่ 7 ธาตุเงิน อิเล็กตรอนซึง่ มีประจุลบกระจายอยูอ ยางสมํา่ เสมอ
• กลุมที่ 8 ธาตุทอง แบบจําลองอะตอมของรัทเทอรฟอรด
• กลุมที่ 9 ธาตุแมกกานีส เปนทรงกลม ประกอบดวยนิวเคลียสทีม่ ปี ระจุบวกอยูต รงกลาง
แลวใหตัวแทนกลุมแตละกลุมออกมารายงาน อะตอม โดยมีอเิ ล็กตรอนทีม่ ปี ระจุลบวิง่ อยูร อบ ๆ นิวเคลียส
ผลการศึกษาใหเพื่อนกลุมอื่นฟงหนาชั้นเรียน แบบจําลองอะตอมของโบร
เปนทรงกลม ประกอบดวยนิวเคลียสอยูก ลางอะตอม โดยมี
อิเล็กตรอนเคลือ่ นทีอ่ ยูโ ดยรอบอะตอมเปนระดับชัน้ พลังงาน
แบบจําลองอะตอมแบบกลุมหมอก
เปนทรงกลม ประกอบดวยนิวเคลียสอยูก ลางอะตอม และ
อิเล็กตรอนเคลือ่ นทีอ่ ยูร อบ ๆ นิวเคลียส ไมมที ศิ ทางทีแ่ นนอน
ͧ¤»ÃСͺ¢Í§ÍеÍÁ
อะตอมประกอบดวยอนุภาค สัญลักษณนิวเคลียร
โปรตอนและนิวตรอนรวมกัน คือ สัญลักษณที่แสดงชนิดของธาตุ เลขมวล และ
อยูภ ายในนิวเคลียส และมี เลขอะตอมของธาตุ เขียนแทนได ดังนี้
อนุภาคอิเล็กตรอนเคลือ่ นที่ เลขมวล (mass number)
อยูร อบ ๆ
A เปนตัวเลขที่แสดงผลรวมของ
ภาพที่ 1.42 องคประกอบของอะตอม
ที่มา : คลังภาพ อจท.
• ไอออน คือ ธาตุที่มีจํานวนอิเล็กตรอนกับจํานวน
โปรตอนไมเทากัน
- ไอออนลบ คือ ธาตุทมี่ จี าํ นวนอิเล็กตรอนมากกวา
Z X จํานวนโปรตอนและนิวตรอน
สัญลักษณของธาตุ
เลขอะตอม (atomic number)
เปนตัวเลขทีแ่ สดงจํานวนโปรตอน
จํานวนโปรตอน
- ไอออนบวก คือ ธาตุทมี่ จี าํ นวนอิเล็กตรอนนอยกวา ภาพที่ 1.43 สัญลักษณนิวเคลียร
จํานวนโปรตอน ที่มา : คลังภาพ อจท.
หน

• โมเลกุุล คือ อนุภาคทีเ่ ล็กทีส่ ดุ ของธาตุหรือสารประกอบทีเ่ กิดจากอะตอมอยางนอย 2 อะตอมมารวมกัน


ังส เน
ือเล ื้อห
มน าอา

และจัดเรียงตัวอยางแนนอน
ี้อย จม
ู ในร ีกา

• ไอโซโทป คือ อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันทีม่ จี าํ นวนโปรตอนเทากัน แตมีจํานวนนิวตรอนแตกตางกัน


ะหว รปร
าง ับป
สง รุง

30
ตร แก
วจ  ไข
พิจ
าร

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ในการเรียนการสอน เรื่อง องคประกอบของอะตอม นักเรียนจะไดเรียนรู ธาตุที่มีสัญลักษณนิวเคลียรเปน 3215A จะมีจํานวนโปรตอน
เกี่ยวกับสัญลักษณนิวเคลียร โมเลกุล ไอออน และไอโซโทป ซึ่งจะไดเรียนรู นิวตรอน และอิเล็กตรอนเปนเทาใด ตามลําดับ
เกี่ยวกับการคํานวณที่หลากหลายรูปแบบ ดังนั้น ครูอาจหาโจทยการคํานวณ 1. 15 15 และ 17
เกี่ยวกับสัญลักษณนิวเคลียร โมเลกุล ไอออน และไอโซโทปมาใหนักเรียนฝกทํา 2. 15 17 และ 15
เพิ่มเติม เพื่อใหนักเรียนเกิดความเขาใจที่ถูกตองมากขึ้น 3. 15 17 และ 17
4. 17 15 และ 15
5. 17 17 และ 15
ั ลักษณนวิ เคลียรเปน 1532A จะมีจาํ นวน
(วิเคราะหคาํ ตอบ ธาตุทมี่ สี ญ
โปรตอน = 15 มีจํานวนนิวตรอน = 32 -15 = 17 และมีจํานวน
อิเล็กตรอนเทากับจํานวนโปรตอน = 15 ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T34

142
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
ÇÔÇѲ¹Ò¡Òà 5. ครูใหนักเรียนศึกษาคนควาเพิ่มเติมจากแหลง
¢Í§¡ÒÃÊÌҧµÒÃÒ§¸ÒµØ
1 เรียนรูตางๆ เกี่ยวกับสมบัติของธาตุหมู 4A
โยฮันน เดอเบอไรเนอร ดิมิทรี อิวาโนวิช เมเดเลเอฟ
5A 6A และยกตัวอยางธาตุที่ควรรูจัก
กฎชุดสาม : เมื่อจัดเรียงธาตุตาม กฎพิริออดิก : เมื่อนําธาตุมา
มวลอะตอมจากน อ ยไปหามาก เรียงลําดับตามนํ้าหนักที่เพิ่มขึ้น 6. ครูถามคําถามเพื่อเชื่อมโยงสิ่งที่นักเรียนได
มวลอะตอมของธาตุที่อยูตรงกลาง จะไดกลุมของธาตุที่มีสมบัติทาง เรียนรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน โดย
จะเปนคาเฉลีย่ ของมวลอะตอมของ เคมีและสมบัติทางกายภาพเปน นักเรียนคิดวา สามารถนําขอความรูเกี่ยวกับ
ธาตุตัวบนและตัวลาง ชุด ๆ
สมบัติของธาตุในหมูตางๆ ไปใชประโยชน
จอหน นิวแลนด เฮนรี โมสลีย อยางไรบาง
กฎออกเตต : ถานําธาตุมา 8 ธาตุ จัดเรียงธาตุตามเลขอะตอม เนื่องจาก 7. ครูสุมตัวแทนของนักเรียนแตละกลุม ออกมา
แลวจัดเรียงธาตุตามมวลจากนอย สมบัติตาง ๆ ของธาตุมีความสัมพันธ อธิบายเกี่ยวกับสมบัติของธาตุแตละกลุม แลว
ไปหามาก ธาตุตัวที่ 8 จะมีสมบัติ กับโปรตอนในนิวเคลียสหรือเลขอะตอม ครูใหนักเรียนซักถามขอสงสัย โดยครูคอย
คลายคลึงกับธาตุตัวที่ 1 เสมอ มากกวามวลอะตอม และเปนตาราง
ธาตุที่ใชถึงปจจุบัน อธิ บ ายคํ า ตอบจนนั ก เรี ย นเกิ ด ความเข า ใจ
1 1.01
HHydrogen
ตรงกัน
18 8A
2 4.003

1 1A 2 2A 3 3B 4 4B 5 5B 6 6B 7 7B 8 8B 9 8B 10 8B 11 1B 12 2B 13 3A 14 4A 15 5A 16 6A 17 7A
He
Helium 1
3 6.94 4 9.01 5 10.81 6 12.01 7 14.01 8 15.999 9 18.998 10 20.18
LiLithium Be
Beryllium
BBoron CCarbon N Oxygen
Nitrogen
O Fluorine
F Ne
Neon 2
11 22.99 12 24.31 13 26.98 14 28.09 15 30.97 16 32.06 17 35.45 18 39.95
Na
Sodium
Mg
Magnesium
Al Si
Aluminium Silicon
S
PPhosphorus Sulfur Cl
Chlorine Argon
Ar 3
19 39.10 20 40.08 21 44.96 22 47.90 23 50.94 24 51.996 25 54.94 26 55.85 27 58.93 28 58.70 29 63.55 30 65.37 31 69.72 32 72.59 33 74.92 34 78.96 35 79.90 36 83.80
K
Potassium Calcium
Ca
Scandium Titanium
Sc Ti V
Vanadium Chromium Manganese Iron Cobalt
Cr Nickel
Mn
Copper Zinc
Fe Gallium
Co Ni
Germanium Arsenic Selenium
CuBromine
Zn
Krypton
Ga Ge As Se Br Kr 4
37 85.47 38 87.62 39 88.91 40 91.22 41 92.91 42 95.94 43 (98) 44 101.07 45 102.91 46 106.40 47 107.87 48 112.41 49 114.82 50 118.69 51 121.75 52 127.60 53 126.90 54 131.30
Rb
Rubidium
Sr Y
Strontium Yttrium
Zr
Zirconium
Nb
Niobium
Mo Tc Ru
Molybdenum Technetium Ruthenium Rhodium
Rh
Palladium Silver Cadmium
Pd Indium
Ag
Tin
Cd
Antimony Tellurium
In
Iodine Xenon
Sn Sb Te I Xe 5
55 132.91 56 137.33 57 138.91 72 178.49 73 180.95 74 183.85 75 189.21 76 190.20 77 192.22 78 195.09 79 196.97 80 200.59 81 204.37 82 207.19 83 208.98 84 (209) 85 (210) 86 (222)
Cs
Cesium
Ba
Barium
La Hf
Lanthanum Hafnium Tantalum
Ta
Tungsten
W
Rhenium Osmium
Re
Iridium
Os
Platinum Gold
Ir
Mercury
Pt
Thallium Lead
Au Bismuth
Hg
Polonium
Tl
Astatine Radon
Pb Bi Po At Rn 6
87 (223) 88 226.03 89 227.03 104 (267) 105 (268) 106 (271) 107 (272) 108 (270) 109 (276) 110 (281) 111 (280) 112 (289) 113 (284) 114 (289) 115 (288) 115 (293) 117 294 118 (294)
Fr
Francium
Ra Ac
Radium Actinium
Rf Db Seaborgium
Rutherfordium Dubnium
Sg Bohrium
Bh Hassium Mt Ds
Hs Meitnerium Rg Cn Nh Flerovium
Darmstadtium Roentgenium Copernicium Nihonium
Mc Lv
Fl Moscovium Ts Uuo
Livermorium Tennessine Oganesson 7
58 140.12 59 140.91 60 144.24 61 (145) 62 150.40 63 151.96 64 157.25 65 158.93 66 162.50 67 164.93 68 167.26 69 168.93 70 173.04 71 174.97
Ce
Cerium
Pr Nd Pm Sm Eu
Praseodymium Neodymium Promethium Samarium Europium
Gd
Gadolinium Terbium
Dy Holmium
Tb Dysprosium Ho ErErbium
Tm
Thulium
Yb Lu
Ytterbium Lutetium
90 232.04 91 231.04 92 238.03 93 237.05 94 (244) 95 (243) 96 (247) 97 (247) 98 (251) 99 (252) 100 (257) 101 (260) 102 (259) 103 (262)
Th
Thorium
Pa U Neptunium
Protactinium Uranium
Pu Americium
Np Plutonium Cm Berkelium
Am Curium Bk Californium
Cf Einsteinium Fm Mendelevium
Es Fermium Md NobeliumNo Lawrencium
Lr

ภาพที่ 1.44 วิวัฒนาการของการสรางตารางธาตุ


ที่มา : คลังภาพ อจท.
ÊÁºÑµÔ¢Í§¸ÒµØ
ธาตุโลหะ ธาตุอโลหะ ธาตุกึ่งโลหะ
• มีสถานะเปนของแข็ง • มีทั้ง 3 สถานะ • มีสถานะเปนของแข็ง
(ยกเวนปรอทเปนของเหลว) • มีจุดเดือด จุดหลอมเหลว • มีจุดเดือด จุดหลอมเหลว
• มีจุดเดือด จุดหลอมเหลว และความหนาแนนตํ่า และความหนาแนนสูง
และความหนาแนนสูง • ไมนําไฟฟาและความรอน • นําไฟฟาได


ก ไข าร

• นําไฟฟาและความรอนไดดมี าก (ยกเวนแกรไฟตสามารถ
ุงแ พิจ
ปร วจ
รับ ตร

นําไฟฟาได)
รป สง
ีกา าง
จม ะหว
อา นร
หา ี้อยู ใ

â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 31
เนื้อ ลมน
ือเ
ังส
หน

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


คํากลาวทีว่ า “ถานําธาตุ 8 ธาตุ มาจัดเรียงจากมวลนอยไปหามาก 1 ดิมิทรี อิวาโนวิช เมเดเลเอฟ ตารางพีริออดิก (Periodic table) ที่เมเดเล-
ธาตุตัวที่ 8 จะมีสมบัติคลายคลึงกับธาตุตัวที่ 1 เสมอ” เปนตาราง เอฟคิดคนขึ้นมา โดยใหจัดเรียงธาตุตามลําดับของนํ้าหนักเชิงอะตอม และแบง
ธาตุที่คิดคนโดยนักวิทยาศาสตรทานใด ธาตุออกเปนคาบและหมู ซึง่ ธาตุในหมูเ ดียวกันจะมีคณ ุ สมบัตคิ ลายคลึงกัน จาก
1. เฮนรี โมสลีย ตารางนี้ทําใหเมเดเลเอฟสามารถทํานายคุณสมบัติของธาตุที่ยังไมถูกคนพบได
2. จอหน นิวแลนด ในเวลาตอมา เมือ่ วิทยาศาสตรมคี วามกาวหนาขึน้ ความรูเ กีย่ วกับอะตอมมีมาก
3. โยฮันน เดอเบอไรเนอร ขึน้ นักวิทยาศาสตรจงึ ปรับปรุงตารางพีรอิ อดิกของเมเดเลเอฟอีกเล็กนอย จนใน
4. ดิมิทรี อิวาโนวิช เมเดเลเอฟ ทีส่ ดุ ก็พฒ
ั นามาเปนตารางธาตุทใี่ ชกนั อยูใ นปจจุบนั ทําใหเมเดเลเอฟถูกยกยอง
5. ลอรด เออรเนสต รัทเทอรฟอรด ใหเปน “บิดาแหงตารางธาตุ”
(วิเคราะหคําตอบ จอหน นิวแลนดไดนําธาตุมา 8 ธาตุ แลวจัด
เรียงตามธาตุตามมวลจากนอยไปหามาก ธาตุตัวที่ 8 จะมีสมบัติ
คลายคลึงกับธาตุตัวที่ 1 เสมอ ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T35

143
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ขยายความเขาใจ
1. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง
ÊÁºÑµÔáÅСÒÃ㪌»ÃÐ⪹ • มีความเปนอโลหะสูง มีความวองไวตอการเกิด
สมบัติของธาตุและการใชประโยชน วามีสวน ¨Ò¡¢Í§¸ÒµØºÒ§ª¹Ô´ ปฏิ กิ ริ ย าเคมี ในธรรมชาติ มั ก พบธาตุ ห มู  นี้
ไหนทีย่ งั ไมเขาใจและใหความรูเ พิม่ เติมในสวน ในลั ก ษณะโมเลกุ ล คู  เมื่ อ รวมตั ว กั บ ไฮโดรเจน
นัน้ โดยทีค่ รูอาจจะใช PowerPoint ชวยในการ • สวนใหญมีสีเงิน เปนโลหะเนื้อออน มีความเปน จะมีสมบัติเปนกรดรุนแรง
โลหะสูง มีความหนาแนนตํ่า มีความวองไวในการ • ฟลูออรีน (F) ใชประโยชนในรูปสารประกอบ เชน
อธิบายเพิ่มเติม เกิดปฏิกิริยาเคมีสูง NaF ใชเติมลงในยาสีฟน คลอรีน (Cl) นํามาเติม
2. ครูใหนักเรียนทําใบงาน เรื่อง สมบัติของธาตุ • ลิเทียม (Li) ใชเปนขั้วแบตเตอรี่ โซเดียม (Na) ใช ลงในนํ้าหรือสระนํ้า เพื่อทําใหนํ้าสะอาด ไอโอดีน
และการใชประโยชน ประโยชนในรูปสารประกอบ เชน เกลือแกง (NaCl) (I) ใชผลิตยาฆาเชื้อและสียอมผา
ผงฟู (NaHCO3) ธาตุหมู 7A
3. ครูมอบหมายใหนักเรียนสรุปแผนผังมโนทัศน
(Concept Mapping) เรื่อง สมบัติของธาตุ ธาตุหมู 1A
และการใชประโยชน และใหนักเรียนทํา Unit
Question 1 สงเปนการบานชั่วโมงถัดไป ภาพที่ 1.45 สมบัติของธาตุ
4. ครู ใ ห นั ก เรี ย นทํ า แบบฝ ก หั ด เพื่ อ ทบทวน ในแตละหมู
ที่มา : คลังภาพ อจท.
ความเขาใจของนักเรียน จากแบบฝกหัดรายวิชา แลนทาไนด
พื้นฐาน วิทยาศาสตรกายภาพ 1 (เคมี) ม.5
แอกทิไนด

ธาตุหมู 2A ธาตุหมู 8A
• สวนใหญมีสีเงิน เปนโลหะเนื้อออน แตมีความแข็ง • เปนแกสไมมีสี ไมมีกลิ่น ละลายนํ้าไดเล็กนอย
และมีความหนาแนนมากกวาธาตุหมู 1A เกิด มีความวองไวในการเกิดปฏิกิริยาเคมีตํ่า
ปฏิกิริยาเคมีไดดี แตรุนแรงนอยกวาธาตุหมู 1A • ฮีเลียม (He) บรรจุในบอลลูนหรือลูกโปงสวรรค
• แมกนีเซียม (Mg) ใชเปนวัตถุดิบในการผลิ1ตโลหะ บรรจุลงในถังแกสสําหรับนักประดานํา้ นีออน (Ne)
ผสมอะลูมิเนียมและแมกนีเซียม แคลเซียม ((Ca) และอารกอน (Ar) ใชบรรจุในหลอดไฟฟา และบรรจุ
เปนสวนประกอบที่สําคัญของโครงสรางรางกาย ในหลอดไฟโฆษณา คริปทอน (Kr) ใชบรรจุใน
ของสิ่งมีชีวิต หลอดไฟแฟลชสําหรับถายรูปความเร็วสูง ซีนอน
(Xe) ใชเปนแกสที่ชวยใหสลบ
ธาตุแทรนซิชัน
• มีสถานะเปนของแข็ง (ยกเวนปรอทเปนของเหลว) มีความเปนโลหะนอยกวาโลหะหมู 1A และ 2A
มีจุดเดือด จุดหลอมเหลว และความหนาแนนสูง นําไฟฟาได สามารถเกิดสารประกอบไดมากมายหลายชนิด
รวมทั้งสารประกอบเชิงซอนที่มีสีสันเฉพาะตัว
• เหล็ก (Fe) เหล็กกลาใชในงานกอสราง เปนสวนประกอบของลวดตะปู เหล็กเคลือบผิวดวยสังกะสีใชเปนสังกะสี
มุงหลังคา และทํากระปองบรรจุอาหาร ทองแดง (Cu) ใชทาํ สายไฟฟา อุปกรณไฟฟาตาง ๆ ทองแดงผสมสังกะสี
ใชทํากลอนประตู กุญแจ กระดุม ทองแดงผสมดีบุกใชทําระฆัง ลานนาฬกา สังกะสี (Zn) ใชทํากลองของถาน
ไฟฉาย โครเมียม (Cr) ใชเคลือบผิวของเหล็กและโลหะอื่น ๆ และนํามาใชเปนสวนประกอบของเหล็กกลาผสม
หน
ังส เน

ที่ใชทําตูนิรภัย เครื่องบินไอพน จรวด และเรเดียม (Ra) ใชในการรักษาโรคมะเร็งได


ือเล ื้อห
มน าอา
ี้อย จม
ู ในร ีกา
ะหว รปร
าง ับป
สง รุง

32
ตร แก
วจ  ไข
พิจ
าร

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 แคลเซียม เปนแรธาตุที่มีอยูในรางกายมากกวาแรธาตุอื่นๆ จะทํางาน ขอใดไมใชประโยชนของธาตุในหมู 8A
รวมกับฟอสฟอรัสเพื่อชวยใหกระดูกและฟนแข็งแรง และจะทํางานรวมกับ 1. ใชบรรจุในหลอดไฟฟา
แมกนีเซียม เพื่อชวยใหหัวใจและเสนเลือดมีความแข็งแรง โดยรอยละ 20 ของ 2. ใชเปนแกสที่ชวยใหสลบ
แคลเซียมในกระดูกของวัยผูใ หญจะถูกยอยสลายและสรางใหมทกุ ป นอกจากนี้ 3. ใชเติมลงในนํ้าหรือสระนํ้า
รางกายจําเปนตองไดรับวิตามินดีที่เพียงพอ จึงจะสามารถดูดซึมแคลเซียมไดดี 4. ใชบรรจุลงในลูกโปงสวรรค
อาหารที่เปนแหลงของแคลเซียม ไดแก นมและผลิตภัณฑจากนมทุกชนิด 5. ใชบรรจุลงในหลอดไฟโฆษณา
ชีส เตาหู ถั่วเหลือง ถั่วลิสง เมล็ดทานตะวัน บรอกโคลี กะหลํ่าใบเขียว ปลา (วิเคราะหคาํ ตอบ นีออนและอารกอนนํามาใชบรรจุในหลอดไฟฟา
ซารดีน ปลาแซลมอน สวนอาหารที่มีไขมัน กรดออกซาลิก และกรดไฟติกใน และหลอดไฟโฆษณา ซีนอนใชเปนแกสที่ชวยใหสลบ ฮีเลียมใช
ปริมาณมาก จะขัดขวางการดูดซึมของแคลเซียมในรางกาย บรรจุลงในลูกโปงสวรรค คลอรีนใชเติมลงในนํา้ หรือสระนํา้ ดังนัน้
ตอบขอ 3.)

T36

144
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
Self Check 1. ครูตรวจการนําเสนอขอมูลเกี่ยวกับสมบัติของ
ใหนักเรียนตรวจสอบความเขาใจ โดยตอบคําถามในตาราง หากนักเรียนตอบคําถามไมถูกตอง ธาตุตามหมู
ใหนักเรียนกลับไปศึกษาทบทวนตามหัวขอที่กําหนดใหทายตาราง 2. ครูสังเกตการทํากิจกรรม ปฏิกิริยาระหวาง
ถูก/ผิด ทบทวนที่หัวขอ โลหะบางชนิดกับนํ้า
1. แบบจําลองอะตอมของโบรและแบบจําลองอะตอมแบบกลุม หมอกตางกัน 1.1 3. ครูตรวจสอบผลจากใบงาน เรื่อง สมบัติของ
ที่การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน ธาตุและการใชประโยชน
2. อะตอมมีลักษณะเปนรูปทรงกลม ประกอบดวยอนุภาคที่มีประจุบวก 1.1 4. ครูตรวจการทําแบบฝกหัดจาก Unit Question
และมีอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุลบกระจายอยูทั่วอยางสมํ่าเสมอ ขอสรุปนี้ 1
คือ แบบจําลองอะตอมของรัทเทอรฟอรด
5. ตรวจแบบบั น ทึ ก กิ จ กรรม เรื่ อ ง ปฏิ กิ ริ ย า
3. การทดลองยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผนทองคําทําใหคนพบโปรตอนที่มี 1.1
ประจุบวก ระหวางโลหะบางชนิดกับนํ้า
6. ครู วั ด และประเมิ น ผลจากผั ง มโนทั ศ น ที่
4. เลขอะตอมเปนตัวเลขที่แสดงผลรวมของจํานวนโปรตอนและนิวตรอน 1.2
นักเรียนไดสรางขึ้นจากขั้นขยายความรูของ
5. ไอโซโทปของ 17Cl ชนิดหนึ่ง มีเลขมวลเทากับ 37 จะมีจํานวนโปรตอน 1.2
เทากับเลขอะตอม คือ 17 นักเรียนเปนรายบุคคล

มุ ด
6. ธาตุ X มีอิเล็กตรอนเทากับ 21 และมีเลขมวลเทากับ 45 แสดงวาธาตุ X นส 1.2
งใล
ทึ ก

จะมีจํานวนอิเล็กตรอนเทากับจํานวนอิเล็กตรอนของ 24Cr3+
บั น

7. ไอโซโทป คือ อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันที่มีจํานวนอิเล็กตรอนตางกัน 1.2


8. ตารางธาตุในปจจุบันจัดเรียงธาตุตามเลขอะตอม เพราะสมบัติของธาตุ 2
มีความสัมพันธกับโปรตอนในนิวเคลียส
9. อะลูมิเนียม (Al) จัดเปนธาตุในกลุมโลหะแทรนซิชัน 2
10. ออกซิเจนมีความหนาแนนสูงกวาอะลูมิเนียม 3.1
11. ฮีเลียมนิยมนํามาใชบรรจุในลูกบอลลูน เนื่องจากเปนแกสที่ไมมีสี 3.1
และไมมีกลิ่น
12. ฟลูออรีนเปนธาตุที่มีกลิ่นฉุน นิยมนํามาใชเปนสวนประกอบของยาสีฟน 3.2
เพราะมีฟลูออไรด ซึ่งชวยปองกันฟนผุ


ก ไข าร
ุงแ พิจ

แนวตอบ Self Check


ปร วจ
รับ ตร
รป สง
ีกา าง

1. ถูก 2. ผิด 3. ผิด 4. ผิด


จม ะหว
อา นร
หา ี้อยู ใ

â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 33
เนื้อ ลมน

5. ถูก 6. ถูก 7. ผิด 8. ถูก


ือเ
ังส
หน

9. ผิด 10. ผิด 11. ถูก 12. ถูก

ขอสอบเนน การคิด แนวทางการวัดและประเมินผล


สารคูใดตอไปนี้ประกอบดวยธาตุมากกวา 2 ชนิด ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจเกี่ยวกับสมบัติของธาตุและการใช
1. โซดาไฟและลูกเหม็น ประโยชนไดจากผังความคิดที่นักเรียนไดสรางขึ้นในขั้นขยายความรู โดยศึกษา
2. นํ้าตาลทรายและหินปูน เกณฑการวัดและการประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน ภาระงาน (รวบยอด)
3. นํ้าและคารบอนไดออกไซด ที่แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 1 โครงสรางอะตอมและ
4. โซเดียมคลอไรดและปูนขาว ตารางธาตุ
5. ซิลิกาและคารบอนมอนอกไซด แบบประเมนิชนิงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ
เกณฑประเมนิผงัมโนทศัน
ระดบัคะแนน
ประเดน็ทปีระเมนิ
แบบประเมนิผลงานผงัมโนทศัน

(วิเคราะหคําตอบ นํ้าตาลทรายมีสูตรเคมี คือ C12H22O11 มีธาตุ


4 3 2 1
คาํชแีจง : ใหผสูอนประเมนิผลงาน/ชนิงานของนักเรยีนตามรายการทีกาํหนด แลวขดี ลงในชองทตีรงกบัระดบั 1. ผลงานตรงกบั ผลงานสอดคล อ งกั บ ผลงานสอดคล อ งกั บ ผลงานสอดคล อ งกั บ ผล งาน ไม ส อด ค ล อง
จดุประสงคทกีาํหนด จดุประสงคทกุประเดน็ จดุประสงคเปนสวนใหญ จดุประสงคบางประเดน็ กบัจดุประสงค
คะแนน
2. ผลงานมคีวาม เนือหาสาระของผลงาน เนือหาสาระของผลงาน เนือหาสาระของผลงาน เนือหาสาระของผลงาน
ระดบัคณภาพ

ลาํดบัที รายการประเมนิ ถกูตองสมบรูณ ถกูตองครบถวน ถกูตองเปนสวนใหญ ถกูตองเปนบางประเดน็ ไมถกูตองเปนสวนใหญ

3 ชนิด คือ C H และ O หินปูนมีสูตรเคมี คือ CaCO3 มีธาตุ 3


4 3 2 1
3. ผลงานมคีวามคดิ ผล งาน แสด งออก ถึ ง ผลงานมี แ นวคิ ด แปลก ผลงานมี ค วามน า สนใจ ผลงานไม แ สดงแนวคิ ด
1 ความสอดคลองกบัจดุประสงค
สรางสรรค ค วาม คิ ด ส ร า งส รรค ใหม แ ต ยั งไม เป น ระบบ แตยังไมมีแนวคิดแปลก ใหม
2 ความถกูตองของเนอืหา
แ ป ล ก ให ม แ ล ะ เป น ใหม
3 ความคดิสรางสรรค ระบบ
4 ความตรงตอเวลา

ชนิด คือ Ca C และ O ดังนั้น ตอบขอ 2.)


4. ผลงานมคีวามเปน ผ ล ง า น มี ค ว า ม เป น ผลงานสวนใหญมีความ ผ ล ง า น มี ค ว า ม เป น ผลงานส ว นใหญ ไม เป น
รวม ระเบยีบ ระเบี ย บแสดงออกถึ ง เป น ระเบี ย บ แ ต ยั งมี ระเบยีบแตมขีอบกพรอง ร ะ เ บี ย บ แ ล ะ มี ข อ
ความประณตี ขอบกพรองเลก็นอย บางสวน บกพรองมาก

ลงชอื ................................................... ผปูระเมนิ


............../................./................

เกณฑการตดัสนิคณ
ุ ภาพ
ชวงคะแนน ระดบัคณุ ภาพ
14–16 ดมีาก
11–13 ดี
8–10 พอใช
ตาํกวา 8 ปรบัปรงุ

1
2

T37

145
นํา สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Unit Question

Unit Question
1. C D A B
2. แบบจําลองอะตอมของโบร อะตอมประกอบ
ดวยนิวเคลียสอยูตรงกลาง มีโปรตอน และ คําชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
นิวตรอนอยูภายใน สวนอิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ 1. จากแบบจําลองอะตอมแบบตาง ๆ ตอไปนี้
อยูโดยรอบเปนระดับพลังงาน สวนแบบจําลอง
อะตอมแบบกลุมหมอก อะตอมประกอบดวย
กลุม หมอกของอิเล็กตรอนเคลือ่ นทีร่ อบนิวเคลียส K
L
M
อยางรวดเร็วตลอดเวลาไปทัว่ ทัง้ อะตอม บริเวณ A B C D
ที่กลุมหมอกทึบ จะมีโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอน ภาพที่ 1.46 แบบจําลองอะตอมแบบตางๆ
ที่มา : คลังภาพ อจท.
มากกวาบริเวณที่มีกลุมหมอกจาง
เรียงลําดับการพัฒนาแบบจําลองใหถูกตอง
3. ทอมสันเปนนักวิทยาศาสตรทคี่ น พบอิเล็กตรอน 2. เปรียบเทียบความแตกตางของแบบจําลองอะตอมของโบรและแบบจําลองอะตอมแบบ
ซึ่งอิเล็กตรอนมีประจุลบกระจายอยูทั่วใน กลุมหมอก
อะตอม 3. นักวิทยาศาสตรทานใดเปนผูคนพบอิเล็กตรอน และไดเสนอวาอิเล็กตรอนมีการดํารงอยูใน
อะตอมอยางไร
4. H+ มีจาํ นวนโปรตอนเทากับ 1 มีจาํ นวนนิวตรอน 4. ไอออนบวกของไฮโดรเจน (H+) ไมมีอนุภาคมูลฐานชนิดใด เพราะเหตุใด
เทากับ 0 และมีจํานวนอิเล็กตรอนเทากับ 0
5. ถาไอโซโทปหนึ่งของธาตุชนิดหนึ่งมีประจุในนิวเคลียสเปน 2 เทาของ 126C และมีเลขมวล
ดังนั้น H+ จึงขาดนิวตรอนและอิเล็กตรอน เปน 1.5 เทาของ 126C ธาตุไอโซโทปนี้จะมีอนุภาคมูลฐานอยางละกี่อนุภาค
5. อิเล็กตรอน 12 อนุภาค โปรตอน 12 อนุภาค 6. ธาตุ A B และ C มีสัญลักษณนิวเคลียรเปน 168A 167B และ 157C ตามลําดับ จงพิจารณาวา
และนิวตรอน 6 อนุภาค มีธาตุใดบางที่เปนไอโซโทปกัน เพราะเหตุใด
7. กําหนดตารางแสดงจํานวนอนุภาคมูลฐานของอะตอม เลขมวล และเลขอะตอมของธาตุ
6. ธาตุทเี่ ปนไอโซโทปกัน คือ อะตอมของธาตุชนิด ตาง ๆ ให ดังนี้
เดียวกันมีเลขอะตอมเทากัน แตมีเลขมวลตาง ธาตุ จํานวนโปรตอน จํานวนนิวตรอน จํานวนอิเล็กตรอน เลขมวล เลขอะตอม
กัน หรือกลาวไดอีกอยางหนึ่งวา มีโปรตอนเทา A 14 13
กันแตมีนิวตรอนตางกัน ดังนั้น ธาตุ B และ C
B 11 12
จึงเปนไอโซโทปกัน
C 35 17
7. ก. ธาตุ A อยูในหมูที่ 3 คาบที่ 3 D 7 14
ธาตุ B อยูในหมูที่ 1 คาบที่ 3 ก. ธาตุ A B C และ D อยูในหมูใด และคาบใดของตารางธาตุ
ธาตุ C อยูในหมูที่ 7 คาบที่ 3
หน

ข. สัญลักษณนิวเคลียรของธาตุ A ควรเปนอยางไร
ังส เน
ือเล ื้อห

ธาตุ D อยูในหมูที่ 5 คาบที่ 2


มน าอา

ค. ธาตุใดบางที่จัดอยูในหมูเดียวกับธาตุโซเดียม (Na)
ี้อย จม
ู ในร ีกา
ะหว รปร

27
ข. 13A
าง ับป
สง รุง

34
ตร แก
วจ  ไข
พิจ

ค. ธาตุโซเดียมเปนธาตุในหมู 1 ดังนั้น ธาตุที่


าร

อยูในหมูเดียวกันกับธาตุโซเดียม คือ ธาตุ B

T38

146

You might also like