You are on page 1of 28

วิทยาศาสตร์กายภาพ (เคมี)

ผู้สอน นายชนะชัย ทะยอม


บทที่ 1
อากาศ
2
1. อากาศเป็นสารผสม
2. ธาตุและสารประกอบเป็นสารบริสุทธ์
3. อะตอมเป็นอนุภาคที่เล็กที่สุดของสารที่อยู่ในธรรมชาติได้
4. โมเลกุลประกอบด้วย 2 อะตอมขึ้นไป
5. โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนเป็นองค์ประกอบในอะตอม

3
*บอกชื่อและปริมาณของแก๊สต่างๆ ในอากาศ
*ระบุว่าสารเป็นธาตุหรือสารประกอบ อยู่ในรูปอะตอม โมเลกุล หรือไอออน

จะเห็นได้ว่าอากาศที่อยู่รอบๆ ตัวเรา ประกอบไปด้วยสารที่


อยู่ในรูปอะตอม และโมเลกุล
อะตอม เช่น ..............................................................
โมเลกุล เช่น .............................................................

คือ สารที่มีธาตุชนิดเดียว คือ สารที่มีธาตุ


เป็นองค์ประกอบ มากกว่าหนึ่งชนิดเป็นองค์ประกอบ
........................................................... .......................................................................
........................................................... .......................................................................
รูป ปริมาณแก๊สต่างๆ ในอากาศ .............................................................
...........................................................

4
*บอกชื่อและปริมาณของแก๊สต่างๆ ในอากาศ
*ระบุว่าสารเป็นธาตุหรือสารประกอบ อยู่ในรูปอะตอม โมเลกุล หรือไอออน

5
อะตอม แบบจาลองอะตอม

อะตอมมี ข นาดเล็ ก มาก เราจะรู้ ไ ด้ อ ย่ า งไรว่ า อะตอมมี รู ป ร่ า งอย่ า งไร


ประกอบด้วยอนุภาคใดบ้าง และอนุภาคภายในอะตอมอยู่กันอย่างไร
นั ก วิ ท ยาศาสตร์ ส ร้ า ง “แบบจ าลองอะตอม” ในการแสดง
แนวความคิดของนักวิทยาศาสตร์แต่ละท่านเกี่ยวกับอะตอม ซึ่งอาจเป็น
แนวคิดที่เกิดจากการจินตนาการหรือการทดลอง

1. แบบจาลองอะตอมของดอลตัน ---> (John Dalton)


- สารแต่ละชนิดประกอบด้วยอนุภาคเล็กๆ เรียกว่า อะตอม แบ่งแยกไม่ได้
- อะตอมชนิดเดียวกันจะมีสมบัติเหมือนกัน และแตกต่างจากอะตอมของธาตุอื่น
- อะตอมไม่สามารถแยกย่อย ไม่สามารถสร้างขึ้นใหม่ และทาให้สูญหายไม่ได้
- สารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตุมากกว่าหนึ่งชนิดรวมกันในอัตราส่วนทีเ่ ป็นเลขลงตัวน้อยๆ

6
อะตอม แบบจาลองอะตอม
2. แบบจาลองอะตอมของทอมสัน ---> (J.J Thomson)
“อะตอมมีลักษณะเป็นทรงกลม เนื้ออะตอมประกอบด้วยโปรตอน(ประจุบวก) และ
อิเล็กตรอน (ประจุลบ) กระจายอยูอ่ ย่างสม่าเสมอทั่วทั้งอะตอม”

(ค้ นพบโปรตอน)
การทดลองของ ออยเกน โกลด์ชไตน์
+
-

รูป การทดลองของทอมสัน (ค้นพบอิเล็ก รูป การทดลองของ ออยเกน โกลด์ชไตน์


รูป หลอดรังสีแคโทด (Cathode rays
ตรอน) และเสนอแบบจาลองอะตอม (ค้นพบโปรตอน)
tube) ในการทดลองของ ครูกส์
7
อะตอม แบบจาลองอะตอม
3. แบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด ---> (E.R. Rutherford)

(ค้ นพบโปรตอน)
การทดลอง

รูป การทดลองยิงรังสีแอลฟาไปยังแผ่นทองคาเปลวของรัทเทอร์ฟอร์ด

“อะตอมมีลักษณะเป็นทรงกลม โดยมีโปรตอนรวมกันเป็นนิวเคลียสอยู่ตรงกลาง
อะตอมและมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก ส่วนอิเล็กตรอนวิ่งอยู่รอบๆ มีประจุไฟฟ้าเป็นลบ”
8
อะตอม แบบจาลองอะตอม

แชดวิค ไ ด้ ท า ก า ร ท ด ล อ ง ยิ ง อ นุ ภ า ค
แอลฟาไปที่แผ่น เบริล เลี ยม พบอนุภาคหนึ่ ง
หลุ ด ออกมา แต่ เ มื่ อ ผ่ า นสนามไฟฟ้ า ไม่ เ กิ ด
(ค้ นพบโปรตอน) การเบี่ ย งเบน(แสดงว่ า อนุ ภ าคนั้ น เป็ น กลาง
การทดลอง ทางไฟฟ้า ) และเมื่ออนุภาดังกล่าวไปกระทบ
แผ่ น พาราฟิ น ท าให้ โ ปรตอนหลุ ด ออกมา
(แสดงว่ า อนุ ภ าคดั ง กล่ า วมีมวลใกล้ เ คี ย งกั บ
ม ว ล โ ป ร ต อ น ) ต่ อ ม า ใ ห้ ชื่ อ ว่ า อ นุ ภ า ค
“นิวตรอน”

รูป การทดลองของแชดวิค (ค้นพบนิวตรอน)

9
อะตอม แบบจาลองอะตอม
* ระบุจานวน p e และ n ของอะตอมและไอออนที่เกิดจากอะตอมเดียว
*เขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุที่กาหนดให้

อนุภาคมูล าน อนุภาคมูล าน สั ลัก ์ ชนิดประจุ ประจุ ฟฟา (C) มวล (g)


อิเลกตรอน e- -1 1.602 x 10-19 9.1096 x 10-28
โปรตรอน p+ +1 1.602 x 10-19 1.6726 x 10-24
(ค้ นพบโปรตอน)
การทดลอง นิวตรอน n 0 0 1.6749 x 10-24

สั ลัก ์นิวเคลียร์ : สัญลักษณ์ที่ใช้เขียนบอกรายละเอียดเกี่ยวกับจานวนอนุภาคมูลฐานของอะตอม

เลขมวล (Mass number, A) = ตัวเลขแสดงผลรวมระหว่างของ


จานวน p และ n ในนิวเคลียส
เลขอะตอม (Atomic number, Z) = ตัวเลขที่แสดงจานวน p ใน
นิวเคลียส ธาตุชนิดเดียวกันจะมี จานวน p เท่ากัน (ในกรณีที่
อะตอมเป็นกลางทางไฟฟ้า จานวน p = จานวน e-)
10
อะตอม แบบจาลองอะตอม
*ระบุจานวน p e และ n ของอะตอมและไอออนที่เกิดจากอะตอมเดียว
*เขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุที่กาหนดให้

(ค้ นพบโปรตอน)
การทดลอง

11
อะตอม แบบจาลองอะตอม
*ระบุว่าธาตุใดเป็นไอโซโทปกัน

อโซโทป อโซโทน อโซบาร์ และ อโซอิเลกทรอนิก

- อโซโทป (Isotope) : อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันที่มจี านวนโปรตอนเท่ากัน แต่มีเลขมวลต่างกัน


- อโซโทน (Isotone) : อะตอมของธาตุต่างชนิดกันที่มจี านวนนิวตรอนเท่ากัน
- อโซบาร์ (Isobar) : อะตอมของธาตุต่างชนิดกันที่มเี ลขมวลเท่ากัน
(ค้ น-พบโปรตอน)
อโซอิเลกทรอนิก (Isoelectronic) : อะตอมหรือไอออนของธาตุต่างชนิดกันทีม่ ีจานวนอิเล็กตรอน
การทดลอง
เท่ากัน
ตัวอยาง

12
อะตอม แบบจาลองอะตอม
*ระบุจานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนจากแบบจาลองอะตอมของโบร์ของธาตุที่กาหนดให้

4. แบบจาลองอะตอมของโบร์ ---> (Niels Bohr)

(ค้ นพบโปรตอน)
การทดลอง

รูป การศึกษาเส้นสเปกตรัมของธาตุ
13
อะตอม แบบจาลองอะตอม
*ระบุจานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนจากแบบจาลองอะตอมของโบร์ของธาตุที่กาหนดให้
*เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของแบบจาลองอะตอมของโบร์กับกลุ่มหมอก

4. แบบจาลองอะตอมของโบร์ ---> (Niels Bohr)

(ค้ นพบโปรตอน)
การทดลอง

14
อะตอม แบบจาลองอะตอม
*เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของแบบจาลองอะตอมของโบร์กับกลุ่มหมอก

5. แบบจาลองอะตอมแบบกลุมหมอก

(ค้ นพบโปรตอน)
การทดลอง
โซดิงเจอร์ และ ค ะ ได้ใช้ความรู้
ทางกลศาสตร์ควอนตัมสร้างสมการเพื่อ
ค านวณหาต าแหน่ ง โอกาสที่ จ ะพบ
อิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่างๆ โดย
บริ เ วณที่ เ ป็ น กลุ่ ม หมอกทึ บ และใกล้
นิวเคลียสมีโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนได้
มากกว่าบริเวณที่มีกลุ่มหมอกจาง

15
อะตอม แบบจาลองอะตอม
*เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของแบบจาลองอะตอมของโบร์กับกลุ่มหมอก

(ค้ นพบโปรตอน)
การทดลอง

16
อะตอม การจัดเรียงอิเลกตรอนตามระดับพลังงานหลัก (Shell)

อิเล็กตรอนมีการจัดเรียงตัวกันเป็นชัน
้ ระดับพลังงาน จานวนอิเล็กตรอนที่มไี ด้มากที่สุดในแต่
ละระดับพลังงานหลัก คือ 2n2 เมื่อ n = ลาดับที่ของระดับพลังงาน

ระดับพลังงานหลัก จานวนอิเลกตรอนที่มี ดมากที่สุด


n = 1 (K) 2(1) 2 = 2
อิเล็กตรอนมีการจั
n ด=เรี ย2งตั(L)
วกันเป็ นชันระดั
้ บพลังงาน จานวนอิเล็2(2)
กตรอนที
2 ่มี ได้ มากที่สด
=8 ุ ในแต่ละระดับพลังงานหลัก คือ 2n2 เมื่อ n = ลาดับที่ของระดับพลังงาน
จานวนชั้น --> คาบ
n = 3 (M) 2(3) 2 = 18 ตัวเลขสุดทาย --> หมู
n = 4 (N) 2(4) 2 = 32
………………..…… ……………………….
..................... ......................

ระดับพลังงานที่อยู่ชั้นนอกสุด เรียกว่า ชั้นเวเลนซ์ ส่วนอิเล็กตรอนในชัน


้ นัน
้ เรียกว่า เวเลนซ์
อิเลกตรอน (มีจานวนไม่เกิน 8)

17
อะตอม การจัดเรียงอิเลกตรอนตามระดับพลังงานหลัก (Shell)

อิเล็กตรอนมีการจัดเรี ยงตัวกันเป็ นชันระดั


้ บพลังงาน จานวนอิเล็กตรอนที่มีได้ มากที่สดุ ในแต่ละระดับพลังงานหลัก คือ 2n2 เมื่อ n = ลาดับที่ของระดับพลังงาน

18
อะตอม การจัดเรียงอิเลกตรอนตามระดับพลังงานยอย (Sub shell)

อิเล็กตรอนมีการจัดเรี ยงตัวกันเป็ นชันระดั


้ บพลังงาน จานวนอิเล็กตรอนที่มีได้ มากที่สดุ ในแต่ละระดับพลังงานหลัก คือ 2n2 เมื่อ n = ลาดับที่ของระดับพลังงาน

19
ธาตุที่อยู่ในแนวดิ่งเดียวกัน เรียกว่า อยู่ใน หมู เดียวกัน ตารางธาตุ
ธาตุที่อยู่ในแนวนอนเดียวกัน เรียกว่า อยู่ใน คาบ เดียวกัน *ระบุหมู่และคาบของธาตุที่กาหนด
*ระบุว่าธาตุเป็นโลหะ/อโลหะ/กึ่งโลหะ
*ระบุว่าธาตุเป็นธาตุเรพรีเซนเททีฟหรือธาตุทรานซิชน

อิเล็กตรอนมีการจัดเรี ยงตัวกันเป็ นชันระดั


้ บพลังงาน จานวนอิเล็กตรอนที่มีได้ มากที่สดุ ในแต่ละระดับพลังงานหลัก คือ 2n2 เมื่อ n = ลาดับที่ของระดับพลังงาน

20
คุ สมบัติบางประการของโลหะและอโลหะ
*เปรียบเทียบการนาไฟฟ้าของโลหะและอโลหะ

ตาราง สมบัติบางประการของโลหะและอโลหะ

อิเล็กตรอนมีการจัดเรี ยงตัวกันเป็ นชันระดั


้ บพลังงาน จานวนอิเล็กตรอนที่มีได้ มากที่สดุ ในแต่ละระดับพลังงานหลัก คือ 2n2 เมื่อ n = ลาดับที่ของระดับพลังงาน

21
คุ สมบัติบางประการของโลหะและอโลหะ
*เปรียบเทียบการให้และรับ e ของโลหะและอโลหะ

อิเล็กตรอนมีการจัดเรี ยงตัวกันเป็ นชันระดั


้ บพลังงาน จานวนอิเล็กตรอนที่มีได้ มากที่สดุ ในแต่ละระดับพลังงานหลัก คือ 2n2 เมื่อ n = ลาดับที่ของระดับพลังงาน

22
คุ สมบัติบางประการของโลหะและอโลหะ

อิเล็กตรอนมีการจัดเรี ยงตัวกันเป็ นชันระดั


้ บพลังงาน จานวนอิเล็กตรอนที่มีได้ มากที่สดุ ในแต่ละระดับพลังงานหลัก คือ 2n2 เมื่อ n = ลาดับที่ของระดับพลังงาน

23
ธาตุเรพรีเซนเททีฟ & ธาตุแทรนซิชัน
*สืบค้นข้อมูลและนาเสนอประโยชน์และอันตรายของธาตุเรพรีเซนเททีฟและธาตุทรานซิชัน

ตาราง ประโยชน์และอันตรายที่เกิดจากธาตุเรพรีเซนเททีฟและธาตุแทรนซิชัน

อิเล็กตรอนมีการจัดเรี ยงตัวกันเป็ นชันระดั


้ บพลังงาน จานวนอิเล็กตรอนที่มีในแต่ละระดับพลังงานหลัก คือ 2n2 เมื่อ n = ลาดับที่ของระดับพลังงาน

24
ธาตุเรพรีเซนเททีฟ & ธาตุแทรนซิชัน
*สืบค้นข้อมูลและนาเสนอประโยชน์และอันตรายของธาตุเรพรีเซนเททีฟและธาตุทรานซิชัน

ตาราง ประโยชน์และอันตรายที่เกิดจากธาตุเรพรีเซนเททีฟและธาตุแทรนซิชัน (ต่อ)

อิเล็กตรอนมีการจัดเรี ยงตัวกันเป็ นชันระดั


้ บพลังงาน จานวนอิเล็กตรอนที่มีในแต่ละระดับพลังงานหลัก คือ 2n2 เมื่อ n = ลาดับที่ของระดับพลังงาน

25
*บอกประโยชน์ของแก๊สในอากาศ

อิเล็กตรอนมีการจัดเรี ยงตัวกันเป็ นชันระดั


้ บพลังงาน จานวนอิเล็กตรอนที่มีในแต่ละระดับพลังงานหลัก คือ 2n2 เมื่อ n = ลาดับที่ของระดับพลังงาน

26
*ยกตัวอย่างสารมลพิษในอากาศ รวมถึงแหล่งกาเนิดและผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

อิเล็กตรอนมีการจัดเรี ยงตัวกันเป็ นชันระดั


้ บพลังงาน จานวนอิเล็กตรอนที่มีในแต่ละระดับพลังงานหลัก คือ 2n2 เมื่อ n = ลาดับที่ของระดับพลังงาน

27

You might also like