You are on page 1of 84

ห น า | 1

บทที่ 1: ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี
ÍеÍÁáÅÐÊÁºÑµÔ¢Í§¸ÒµØ
2 (Atom and properties or the elements)

Samakkhi Witthayakhom School

àÍ¡ÊÒûÃСͺ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÒÂÇÔªÒà¤ÁÕ 1 ÃËÑÊÇÔªÒ Ç31221


ÀÒ¤àÃÕ¹·Õè 1 »Õ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ 2563

ª×èÍ-Ê¡ØÅ...........................................................................ªÑé¹.................àÅ¢·Õè.............

¼ÙéÊ͹:
¤Ø³¤ÃÙÇ¹Ô´Ò ÈÔÃÔà¢ÕÂÇ
¤Ø³¤ÃÙÇÔàªÕÂà »ÃÔ­­ì¸ÒÃÒ
´ÒǹìâËÅ´àÍ¡ÊÒûÃСͺ
¤Ø³¤Ãٸѭ¡ÁÅ ÈÑ¡´ÔìʧÙ
¡ÒÃàÃÕ¹ä´éµÒÁ QR code โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
คุณครูâçàÃÕ
วนิดาÂศิ¹ÊÒÁÑ
ริเขียว¤และ
¤ÕÇÔ·คุÂÒ¤Á
ณครูวิเชีÍÓàÀÍàÁ×
ยร ปริญญธÍารา
§ ¨Ñ§ËÇÑ´àªÕ§ÃÒÂ
จุดประสงคการเรียนรู
1. สืบคนขอมูลและอธิบายความหมายของแบบจำลองอะตอม พรอมทั้งบอกสาเหตุที่ทำใหแบบจำลองอะตอม
มีการเปลี่ยนแปลง
2. อธิบายแบบจำลองอะตอมของดอลตัน ทอมสัน รัทเทอรฟอรด โบร และแบบกลุม หมอก
3. เขียนและแปลความหมายสัญลักษณนิวเคลียรของธาตุ
4. อธิบายความหมายและยกตัวอยางไอโซโทปของธาตุ
5. บอกความแตกตางของระดับพลังงานหลัก พลังงานยอย และออรบิทลั
6. จัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมเมื่อทราบเลขอะตอมของธาตุ พรอมทั้งระบุ หมู คาบ และกลุมของธาตุใน
ตารางธาตุ
7. บอกแนวคิดของนักวิทยาศาสตรในยุคตางๆ เกี่ยวกับการจัดธาตุเปนหมวดหมูจนไดเปนตารางธาตุ พรอมทั้ง
ระบุปญหาของการจัดกลุมธาตุ
8. จำแนกธาตุเปนกลุมโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ หรือเปนกลุม ธาตุเรพรีเซนเททีฟหรือธาตุหมูหลัก และ
ธาตุแทรนซิชัน หรือตามการจัดเรียงอิเล็กตรอน เมื่อทราบเลขอะตอม
9. วิเคราะหและสรุปแนวโนมสมบัติตางๆ ของธาตุตามหมูและคาบเกี่ยวกับขนาดอะตอม รัศมีไอออน พลังงาน
ไอออไนเซชัน อิเล็กโทรเนกติวิตี สัมพรรคภาพอิเล็กตรอนพรอมทัง้ อธิบายเหตุผลประกอบ
10. เปรียบเทียบสมบัติบางประการของโลหะเรพรีเซนเททีฟหรือโลหะหมูหลัก และโลหะแทรนซิชัน
11. อธิบายสมบัติของไอโซโทปกัมมันตรังสี รังสีแอลฟา รังสีบีตา และรังสีแกมมา
12. คำนวณครึ่งชีวิตของไอโซโทปกัมมันตรังสี
13. สืบคนขอมูลและยกตัวอยางการนำธาตุมาใชประโยชน รวมทั้งผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม
ห น า | 3
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

1. โครงสรางอะตอม
สสารโดยทั่วไปนั้นจะประกอบดวยอนุภาคยอยอยูภายใน เรียกอนุภาคยอยนั้นวาโมเลกุล และแตละโมเลกุลยัง
ประกอบไปดวยอนุภาคที่ยอยกวา เรียกวา อะตอม อยูภายในแตละโมเลกุลสารที่ประกอบดวยอะตอมชนิดเดียวกัน
ลวนๆ เรียกวา ธาตุ ธาตุที่นักวิทยาศาสตรรูจักแลวในปจจุบันมีประมาณ 114 ชนิด นักวิทยาศาสตรไดนำชื่อยอของ
ธาตุทั้งหมดมาเขียนเปนตาราง เรียกวา ตารางธาตุ

1. ดิโมคริตุส(Demokritus)
สสารทั้งหลายประกอบดวยอนุภาคที่เล็กทีส่ ุด จะไมสามารถมองเห็นได และจะไมสามารถแบงแยกใหเล็กลงกวา
นั้นไดอีกและเรียกอนุภาคทีเ่ ล็กที่สุดนี้วา “ อะตอม ” แตในสมัยนั้นก็ยงั ไมมีการทดลอง เพื่อพิสูจนและสนับสนุน
แนวความคิดดังกลาว

2. จอหน ดอลตัน (John Dalton)


(ค.ศ.1808) เสนอทฤษฏี จากการทดลองวา “สารแตละชนิดประกอบดวยอนุภาคเล็ก
ๆ ซึ่งไมสามารถแบงแยกไดอีก เรียกวา อะตอม จะทำใหสูญหายหรือทำใหเกิดขึ้นใหม
ไมได อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีสมบัติเหมือนกัน และมีสมบัติแตกตางจาก
อะตอมของธาตุอื่น”
“แบบจำลองอะตอม คือ อะตอมมีลักษณะเปนทรงกลมมีขนาดเล็กมากและไม
สามารถแบงแยกไดอีก”
ดอลตัน ( John Dalton ) นักฟสิกสและนักเคมีชาวอังกฤษไดตั้งทฤษฎีอะตอมขึ้นใน
ป พ.ศ. 2351 ซึ่งมีใจความวา
1) สสารทั้งหลายประกอบดวยอะตอมซึง่ เปนหนวยทีเ่ ล็กทีส่ ดุ ที่ไมสามารถแบงแยกได
2) ธาตุแตละชนิดประกอบดวยอะตอม โดยธาตุชนิดเดียวกันจะมีอะตอมเหมือนกันสวนธาตุตางชนิดกัน
อะตอมจะตางกัน
3) อะตอมชนิดหนึ่งจะเปลี่ยนแปลงไปเปนอะตอมชนิดอื่นๆ ไมได
4) หนวยยอยของสารประกอบคือ โมเลกุล ซึ่งจะประกอบดวยอะตอมของธาตุตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไปมา
รวมตัวกัน ในสัดสวนที่เปนเลขลงตัวนอยๆ
5) ในปฏิกริ ิยาเคมีใดๆ อะตอมไมมกี ารสูญหาย และไมสามารถทำใหเกิดใหมได แตอะตอมจะเกิดการ
จัดเรียงตัวกันเปนโมเลกุลใหมเกิดขึ้นเปนสารประกอบ

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 4
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

ปจจุบันนี้ทฤษฏีอะตอมของดอลตัน มีเพียงขอ 4 เทานั้นที่เปนที่ยังเปนที่ยอมรับ สำหรับขออื่นๆ นั้นไมเปน


ที่ยอมรับของนักวิทยาศาสตรปจจุบัน
ขอ 1. ไมเปนที่ยอมรับ เพราะอะตอมไมใชหนวยทีเ่ ล็กทีส่ ุด อะตอมยังมีองคประกอบยอยอยูภายในอีก
เชน อิเล็กตรอน โปรตอน นิวตรอน เปนตน
ขอ 2. ไมเปนที่ยอมรับ เพราะอะตอมของธาตุชนิดเดียวกันอาจมีสมบัตบิ างอยางแตกตางกันก็ได เชน อาจ
มีมวลไมเทากัน เปนตน
ขอ 3. ไมเปนที่ยอมรับ เพราะอะตอมของธาตุชนิดหนึง่ สามารถเปลี่ยนใหเปนอะตอมของธาตุชนิดอื่นๆ ได
ขอ 4. ไมเปนที่ยอมรับ เพราะอะตอมของธาตุบางชนิดสามารถทำใหสูญหาย หรือสรางขึ้นมาใหมได

3. เซอรโจเซฟ จอหน ทอมสัน (J.J Thomson)


(ค.ศ.1897) สนใจปรากฏการณที่เกิดขึ้นในหลอดรังสีแคโทด จึงทำการทดลอง
เกี่ ย วกั บ การนำไฟฟ า ของแก ส ซึ่ ง ทำด วยหลอดแก ว มี แ ผ น โลหะ 2 แผ น เรี ย กว า
อิเล็กโทรด ตอเขากั บ เครื่อ งกำเนิ ดไฟฟ าศัก ยสู ง ภายในหลอดบรรจุแกส โดยทำให มี
ความดันต่ำ

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 5
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

ในเวลาตอมามีนักวิทยาศาสตรชื่อ ทอมสัน ( J.J Thomson ) ไดทำการทดลองโดยใชหลอดแกวสุญญากาศ


ซึ่งเปนหลอดแกวกลวงปดสนิทภายในมีขั้วไฟฟา 2 ขั้ว คือขั้วแคโทดและขั้วแอโนด ภายในหลอดนี้จะมีแกสอยูนอย
มากจนถือวาเปนสุญญากาศได ผนังหลอดดานในจะฉาบเอาไวดวยสารเรืองแสง (zinc sulfide ;ZnS) ซึ่งจะเรือง
แสงขึ้นมาใหเห็นเมื่อมีรงั สีมาตกกระทบเมือ่ นำหลอดแกวสุญญากาศไปตอกับเครื่องกำเนิดกระแสไฟฟาความตาง
ศักยสูงประมาณ 10000 โวลต โดยตอขั้วไฟฟาลบเขากับแคโทดและขั้วไฟฟาบวกเขากับแอโนด จะเกิดรังสีพุง
ออกมาจากขั้วแคโทดจึงเรียกรังสีนี้วา รังสีแคโทด

ทอมสันอธิบายสาเหตุการเกิดรังสีคาโทดวา เมื่อโลหะที่เ ปนขั้วคาโทดไดรับ พลังงานไฟฟาที่มีศักยสูง จะทำ


ใหอิเล็กตรอนภายในอะตอมโลหะในขั้วแคโทดนั้นหลุดออกมา แลวเคลื่อนที่พุงตรงไปยังขั้วอาโนด (ขั้วบวก) เกิดเปน
เสนรังสีแคโทดขึ้นมา
การคนพบอิเลคตรอน
ทอมสัน ไดนำหลอดรังสีแคโทดวางไวในสนามไฟฟา พบวา รังสีแคโทด จะเกิดการเลี้ยวเบนออกจากแนว
เสนตรงไปยังขั้วบวก แสดงวา รังสีแคโทดนั้นจะตองประกอบดวยอนุภาคที่มีประจุไฟฟาเปนลบ ซึง่ ตอมาเรียก
อนุภาคนั้นวา “ อิเลคตรอน ”

Note:

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 6
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

สมบัติรังสีแคโทด
1. รังสีแคโทดเดินทางเปนเสนตรงจากขั้วแคโทดไปยังขั้วแอโนด เนื่องจากรังสีแคโทดทำใหเกิดเงาดำของวัตถุ
ได ถานำวัตถุไปขวางทางเดินของรังสี
2. รังสีแคโทดเปนอนุภาคที่มีมวล เนื่องจากรังสีทำใหใบพัดที่ขวางทางเดินของรังสีหมุนไดเหมือนถูกลมพัด
3. รังสีแคโทดประกอบดวยอนุภาคที่มีประจุลบ เนื่องจากเบี่ยงเบนเขาหาขั้วบวกของสนามไฟฟา

สรุปรังสีแคโทด ประกอบดวยอนุภาคที่มีประจุไฟฟาเปนลบและมีมวล

การคนพบอัตราสวนประจุตอมวล (e/m)
ทอมสัน ไดนำหลอดรังสีแคโทดวางไวในสนามไฟฟาและสนามแมเหล็ก โดยใหทิศทางของสนามแมเหล็กตั้ง
ฉากกับสนามไฟฟา สามารถหาคา “อัตราสวนประจุตอมวล (e/m)” ของอนุภาคไฟฟาได ไมวาจะเปลีย่ นชนิดของ
แกสภายในหลอด หรือเปลี่ยนชนิดโลหะที่ใชทำขั้วแคโทดก็ตาม รังสีก็ยังมีสมบัติเหมือนเดิมและมีคา e/m คงที่
เทากับ 1.76x108 คูลอมบตอกรัม เสมอไมวาจะเปลี่ยนขั้วแคโทดเปนอะตอมของธาตุชนิดใดก็ตาม แสดงวา
อิเล็กตรอนของธาตุทุกชนิดมีประจุและมวลเทากันเสมอ

e/m = 1.76 x 108คูลอมบตอกรัม

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 7
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

การคนพบโปรตอน
4. ออยเกน โกลดสไตน (Eugen Goldstein)
(ค.ศ.1886) ไดทำการทดลองโดยใชหลอดแกวสุญญากาศ เชน เดียวกับ ทอมสัน
พบวา เมื่อเกิดรังสีแคโทดขึ้นแลวจะเกิดรังสีอีกชนิดหนึ่งวิ่งยอนกลับ มาหาขั้วแคโทดซึ่ง
เป นขั้วไฟฟ าลบ แสดงวารังสีนี้มีป ระจุเป นบวก จึงเรียกรังสีบ วกหรือ รังสีแคแนลโกลด
สไตนหรือ รังสีบวก (Positive ray)

หลอดรังสีแคโทด หลอดรังสีแคโทดที่ดัดแปลงแลว

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 8
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

อธิบายการเกิดรังสีนี้วา อะตอมของแกสในหลอดสุญญากาศนั้น ควรจะมีอิเล็กตรอนลบอยูภายในและควรมี


อนุภาคไฟฟาบวกอยูดวยในจำนวนที่เทาๆ กัน เพราะอะตอมปกติจะตองเปนกลางทางไฟฟาคือมีประจุไฟฟารวม
เทากับศูนยและเมื่อยิงรังสีแคโทดซึ่งประกอบไปดวยอิเล็กตรอนอยูภายในเขาไปกระทบอะตอมแกส อิเล็กตรอนใน
รังสีแคโทดจะไปกระทบอิเ ล็กตรอนของแกสใหห ลุดกระเด็นออกไป ทำใหอะตอมแกสกลายเปนอนุภาคไฟฟาบวก
แลววิ่งยอนกลับมาหาขั้วแคโทด (ลบ) กลายเปนรังสีบวกดังกลาว และจากการทดลองนี้เปนสิ่งยืนยันใหโกลดส ไตน
ทราบวาในอะตอมนั้นตองมีอนุภาคไฟฟาบวกอยูดวยอยางแนนอน เรียกอนุภาคบวกนี้วา โปรตอน

Note:

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 9
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

สมบัติของรังสีบวกมีดังนี้
1. เดินทางเปนเสนตรงไปยังขั้วแคโทด
2. เมื่อผานรังสีนี้ไปยังสนามแมเหล็กและสนามไฟฟา รังสีนี้จะเบี่ยงเบนไปในทิศทางตรงขามกับรังสี
แคโทด แสดงวารังสีนี้ประกอบดวยอนุภาคที่มีประจุไฟฟาเปนบวก
3. มีอัตราสวนประจุตอมวลไมคงที่ ขึ้นอยูกับชนิดของแกสในหลอด และถาเปนแกสไฮโดรเจนรังสีนี้จะมี
อัตราสวนประจุตอมวลสูงสุด เรียกอนุภาคบวกในรังสีของไฮโดรเจนวา “โปรตอน”
4. มีมวลมากกวารังสีแคโทด เนื่องจากความเร็วในการเคลื่อนที่ต่ำกวารังสีแคโทด

สรุปแบบจำลองอะตอมของทอมสัน
“อะตอมเปนรูปทรงกลมประกอบดวยเนื้ออะตอมซึ่งมีประจุบวกและมีอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุลบกระจายอยู
ทั่วไป อะตอมในสภาพที่เปนกลางทางไฟฟาจะมีจำนวนประจุบวกเทากับจำนวนประจุลบ”

แบบจำลองอะตอมของทอมสัน
Note:

1. เหตุใดรังสีหนึ่งในหลอดแกวสุญญากาศจึงเรียกวาเปนรังสีแคโทด
1. เพราะเกิดจากหลอดรังสีแคโทด
2. เพราะเปนรังสีที่มปี ระจุไฟฟา
3. เพราะพุง ออกมาจากขั้วแคโทด
4. ไมมีคำตอบที่ถูก
2. จากการทดลองของโกลดสไตนทำใหสรุปไดวา
1. รังสีบวกมีจำนวนประจุเทากันเสมอไมวาจะเกิดจากกาซใด
2. รังสีบวกมีมวลเทากันเสมอไมวาจะเกิดจากกาซใด
3. รังสีบวกไมมปี ระจุและไมมวล
4. รังสีบวกของกาซแตละชนิดมีสมบัติบางประการตางกัน
3. จากการทดลองของโกลดสไตล รังสีบวกในหลอดสุญญากาศเกิดจาก
1. อนุภาคไฟฟาบวกหลุดออกมาจากขั้วแอโนด
2. อนุภาคบวกถูกสรางขึ้นมาใหม
3. อะตอมแกสในหลอดสุญญากาศเกิดการแตกตัว
4. ถูกทุกขอ

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 10
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

4. ถาทำการทดลองโดยใชหลอดรังสีคาโทดที่สรางขึ้นเปนพิเศษและจัดอุปกรณดังนี้

ผลการทดลองตอไปนี้ขอใดถูกตอง
1. เกิดจุดสวางเหนือจุดกึง่ กลางของฉากเรืองแสง 1
2. เกิดจุดสวางตรงจุดกึ่งกลางของฉากเรืองแสง 1
3. เกิดจุดสวางตรงจุดกึ่งกลางของฉากเรืองแสง 2
4. เกิดจุดสวางเหนือจุดกึง่ กลางของฉากเรืองแสง 2
5. รังสีแคโทด และรังสีบวก รังสีชนิดไหนมีคาประจุตอ มวลคงที่
1. รังสีแคโทดเทานั้น 2. รังสีบวกเทานั้น
3. ไมคงทีท่ ั้งสองรังสี 4. คงทีท่ ั้งสองรังสี
6. ตอไปนี้ ขอใดเปนแบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน ตามลำดับ

1. ( ก ) , ( ข ) 2. ( ก ) , ( ค ) 3. ( ก ) , ( ง ) 4. ( ข ) , ( ค )

การหาประจุและมวลของอิเล็กตรอน
5. โรเบิรตแอนดรูสมลิ ลิแกน (Robert Millikan)
ไดท ำการทดลองโดยใชหยดน้ำมันแลวสามารถหาคาประจุของอิเล็ กตรอน 1 ตัวได คาเท ากั บ 1.6x10–19
คูลอมบและสามารถคำนวณหาคามวลของอิเล็กตรอน 1 ตัวไดเทากับ 9.11x10–28 กรัม อีกดวย

หยดน้ำมันลอยอยูตรงกลาง เนื่องจาก แรง


ดึงดูดจากขั้วไฟฟาที่กระทำตอเม็ดน้ำมัน
เทากับแรงดึงดูดของโลก

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 11
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

การทดลองของอาร เอ มิลลิแกน (John W,Moore, 2008, หนา 44)

ดังนั้น คาประจุของอิเลคตรอน เทากับ 1.602 x 10-19 คูลอมบ

เมื่อทราบคาประจุไฟฟาก็สามารถคำนวณมวลของอิเล็กตรอนไดโดยอาศัยอัตราสวน e/m ที่ทอมสันหาไว ดังนี้

ดังนั้น มวลของอิเลคตรอน เทากับ 9.1x 10-28 กรัม


โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 12
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

แบบฝกหัดคำนวณ
1. จงหาจำนวนของอิเลคตรอนที่มีมวล 5 กรัม

2. จงหามวลของอิเลคตรอนจำนวน 2.1x 1021 อิเลคตรอน

3. อิเล็กตรอนจำนวน 1 x 1020 อิเล็กตรอน จะมีประจุกี่คูลอมบ

4. จงหามวลของของอิเลคตรอนทีม่ ีประจุ 3.2 x 10-18 คูลอมบ

6. เซอรเออรเนสต รัทเทอรฟอรด (Sir Ernest Rutherford)


ในป ค.ศ.1911 รัทเทอรฟอรด( Ernest Rutherford ) ไดทำการทดลองยิงอนุภาคแอลฟาซึง่ เปนอนุภาค
ไฟฟาบวกไปยังแผนทองคำบาง ๆ โดยมีความหนาไมเกิน 10–4 cm โดยมีฉากสารเรืองแสงรองรับ ปรากฏผลการ
ทดลองดังนี้
1. อนุภาคสวนมากเคลื่อนที่ทะลุผานแผนทองคำเปนเสนตรง
2. อนุภาคสวนนอยเบี่ยงเบนไปจากเสนตรง
3. อนุภาคสวนนอยมากสะทอนกลับมาดานหนาของแผนทองคำ

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 13
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

และรัทเทอรฟอรดไดใชแบบจำลองอะตอมที่สรางขึ้นใหม อธิบาย
ผ ล การทดลองยิงรังสีอัล ฟากระทบแผนทองคำบางวาเมื่ อรังสีอัลฟาทะลุเข า
อะตอมทองคำ รั ง สี ส วนมากจะลอดช อ งว า ง ระหว า งนิ วเคลี ย สกั บ
อิ เ ล็ ก ตรอนแล วทะลุ อ อกไปเป น เส น ตรงรั ง สี ส ว นน อ ยจะพุ ง เข า ใกล
นิวเคลียสซึ่งมีขนาดเล็กแลวเกิดแรงผลักระหวางประจุบวกของนิวเคลียส
กับประจุบวกของรังสีอัลฟาแลวทำใหรังสีอัลฟาเกิดการเบี่ยงเบน และรังสี
สวนนอยที่สุดจะพุงเขาชนนิวเคลียสตรงๆ แลวเกิดการสะทอนย อนกลั บ
ออกมา แตการพุงเขาใกลกับการพุงชนตรงๆ จะเกิดไดนอยเพราะนิวเคลียส
มีขนาดเล็กนั่นเอง

รัทเทอรฟอรดเสนอแบบจำลองอะตอมขึ้นมาใหมวา อะตอมประกอบดวยนิวเคลียสทีม่ ีขนาดเล็กมากอยู


ตรงกลางและมีประจุไฟฟาเปนบวก โดยมีอิเล็กตรอนวิ่งวนอยูรอบๆ
Note:

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 14
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

“อะตอมประกอบดวยนิวเคลียสที่มโี ปรตอนรวมกันอยูตรงกลาง นิวเคลียสมีขนาดเล็กแตมีมวลมาก และมี


ประจุบวก สวนอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุลบและมีมวลนอยมากวิ่งอยูรอบ ๆนิวเคลียส”

มวลอะตอมควรมีคาเทากับหรือใกลเคียงกับจำนวนโปรตอน แตจากการทดลองกลับพบวามวลอะตอมจริง
ๆ มีคาเปน 2 เทาหรือมากกวา 2 เทาของจำนวนโปรตอน รัทเทอรฟอรดไดเสนอความเห็นวานาจะมีอนุภาค
อีกชนิดหนึ่งทีเ่ ปนกลางทางไฟฟาซึ่งมีมวลใกลเคียงกับมวลโปรตอน
Note:

9. เมือ่ ยิงอนุภาคอัลฟาไปยังแผนโลหะทองบาง ๆ ( เลียนแบบการทดลองของรัทเทอรฟอรด ) ปรากฏการณในขอ


ใดมีโอกาสเกิดไดนอยทีส่ ุด
1. อนุภาคอัลฟาจะวิ่งผานทะลุผานทองคำเปนเสนตรง
2. อนุภาคอัลฟาจะวิ่งสะทอนกลับ
3. อนุภาคจะวิ่งเบนไปจากแนวเสนตรงเล็กนอย
4. อนุภาคอัลฟาจะวิ่งเบนไปจากแนวเสนตรงคอนขางมาก
10. หากเชื่อวาอะตอมมีลักษณะตามแบบจำลองของทอมสัน เมื่อยิงรังสีอัลฟาทะลุเขาอะตอมทองคำ แนวการ
เคลื่อนที่ของรังสีแบบใดไมมโี อกาสเกิดได
1. ทะลุเปนเสนตรง 2. เบี่ยงเบนแนวการเคลื่อนที่
3. สะทอนยอนกลับ 4. เกิดไดทกุ ขอ
โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 15
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

7 . เจมสแชดวิก (James Chadwick)


ค.ศ. 1932 เจมส แซดวิก ได ทดลองยิ งอนุ ภาคแอลฟาไปที่ แผ นเบริล เลี ยมบาง
โลหะจะปลอยรังสีพลังงานสูงคลายรังสีแกมมา และพบวารังสีนั้นประกอบดวยอนุภาคที่
เปนกลางทางไฟฟา มีมวลมากกวาโปรตอนเล็กนอย เรียกวา นิ วตรอน ดังนั้นจึงอธิบ าย
อั ต ราส วนมวลได คื อ นิ วเคลี ย สของฮี เลี ย ม มี โปรตอน 2 โปรตอน และนิ วตรอน 2
นิวตรอน แต ในนิวเคลียสของไฮโดรเจนมี เพีย ง โปรตอน 1 โปรตอน และไม มีนิวตรอน
ดังนั้นอัตราสวนจึงเปน 4:1 จึงสรุปวามวลและประจุของอนุภาคทั้ง 3 ชนิดในอะตอม คือ อิเล็กตรอน โปรตอน และ
นิวตรอน ทำใหมีความสำคัญในการศึกษาวิชาเคมีในปจจุบนั
เจมส แซดวิ ก ได ค น พ บอนุ ภาคอี ก ชนิ ดหนึ่ ง ไม มี ป ระจุ ไ ฟ ฟ า และตั้ ง ชื่ อ ว า “นิ วต รอน ”
(neutron) นิวตรอนมีมวลมากกวาโปรตอนเล็กนอย โดยมีมวลเทากับ 1.675 x 10–24 กรัม และรัทเทอรฟอรดได
เสนอวานิวตรอนเปนอนุภาคที่อยูในนิวเคลียสของอะตอม ปจจุบันนักวิทยาศาสตรพบวาโปรตอนและนิวตรอนอัด
กันแนนอยู ในนิ วเคลียสยึ ดเหนี่ ยวกั นด วยแรงนิ วเคลีย ร (nuclear force) และอนุ ภาคที่ป ระกอบเปนนิวเคลียส
เรียกวา “นิวคลีออน (nucleon) หรือ นิวเคลียส (nucleus) ”

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 16
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

11. จงพิจารณาขอความตอไปนี้
ก. จอหน ดอลตัน เสนอวาอะตอมเปนรูปทรงกรวย ประกอบอนุภาคที่มีประจุบวกและประจุลบ
จำนวนเทากันและกระจายอยูทั่วไป
ข. เจ.เจ. ทอมสัน ไดทดลองและสรุปไดวาอะตอมทุกชนิดมีอนุภาคที่มีประจุลบเปนองคประกอบ
และหาอัตราสวนของประจุตอมวลของอนุภาคไดคาคงที่
ค. โกลดสไตน พบอนุภาคมีประจุบวก และอัตราสวนของประจุตอมวลคงที่
ง. มิลลิแกน ทำการทดลองหาคาประจุดของอิเล็กตรอนและสามารถคำนวณหามวลของ
อิเล็กตรอนได
จ. รัทเทอรฟอรด ไดเสนอวาอะตอมประกอบดวยนิวเคลียสที่มีโปรตอนรวมอยูตรงกลางมีขนาดเล็ก
แตมีมวลมากและมีประจุบวก สวนอิเล็กตรอนมีมวลนอย และมีประจุลบวิ่งรอบนิวเคลียส
ฉ. เจมส แชดวิก ไดทำการทดลองและสรุปไดวาในนิวเคลียสของอะตอมมีอนุภาคทีเ่ ปนกลางทาง
ไฟฟาอยูเรียกวานิวตรอน
1. ก ข ค ง 2. ค ง จ ฉ 3. ก ค จ ฉ 4. ข ง จ ฉ
12. การทดลองที่แสดงวาอะตอมมีแกนที่มีประจุบวกอยูตรงกลาง สรุปไดจากขอมูลในขอใด
1. การเบี่ยงเบนเมือ่ รังสีแคโทดผานไปในสนามแมเหล็ก
2. การทะลุผาน เมือ่ ยิงอนุภาคแอลฟาเขาไปในอะตอม
3. การเบี่ยงเบน การสะทอนกลับ เมื่อยิงอนุภาคแอลฟาไปในอะตอม
4. ทั้งการที่รังสีแคโทดเบี่ยงเบนในสนามแมเหล็ก และการที่อนุภาคแอลฟาสะทอนกลับเมื่อยิงไปในอะตอม

อนุภาคมูลฐานของอะตอม
ในปจจุบันนี้เปนทีท่ ราบกันแลววา อะตอมประกอบไปดวยอนุภาคที่สำคัญสามชนิดไดแก อิเล็กตรอน
โปรตอน และนิวตรอน อนุภาคทั้งสามชนิดนี้เรียกวา อนุภาคมูลฐานของอะตอม ซึง่ มีคุณสมบัติดังแสดงในตาราง
ตอไปนี้

อนุภาค สัญลักษณ ประจุไฟฟา (C) ชนิดประจุไฟฟา มวล (กรัม)


อิเล็กตรอน e- 1.602x 10–19 -1 9.109x 10–28
โปรตอน p+ 1.602x 10–19 +1 1.673x 10–24
นิวตรอน n 0 0 1.673x 10–24

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 17
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

สัญลักษณนิวเคลียร (Nuclear Symbol)


คือสัญลักษณของธาตุที่แสดงอนุภาคมูลฐานของอะตอม ซึ่งจะเขียนเลขอะตอมแทน จำนวนโปรตอนและ
อิเล็กตรอน ไวที่มุมซายลางของสัญลักษณ และเขียนเลขมวลไวที่มุมซายบนของสัญลักษณ ดังนี้

1. เลขอะตอม (Atomic number)


คือตัวเลขที่แสดงจำนวนโปรตอนของธาตุ ใชสญั ลักษณ Z เลขอะตอมเปนคาเฉพาะสำหรับธาตุหนึง่ ๆ
ธาตุแตละชนิดมีเลขอะตอมไมซ้ำกัน ดังนั้นเลขอะตอมจึงบอกชนิดของธาตุได
2. เลขมวล (Mass number)
คือตัวเลขที่แสดงผลรวมของจำนวนโปรตอนและจำนวนนิวตรอน มีสัญลักษณ A เลขมวลจะมีคาใกลเคียง
กับมวลอะตอม (Atomic mass) แตเลขมวลเปนเลขจำนวนเต็มเสมอ สวนมวลอะตอมอาจเปนจำนวนเต็มหรือ
ทศนิยมก็ได และเลขมวลไมเปนคาเฉพาะสำหรับธาตุ ธาตุตางชนิดกันอาจมีเลขมวลเทากันได

เลขมวล = จำนวนโปรตอน + จำนวนนิวตรอน

ตัวอยางสัญลักษณนิวเคลียรของธาตุ

จงหาจำนวนโปรตอน นิวตรอน และ อิเล็กตรอน จากสัญลักษณของอะตอมตอไปนี้


1. 40
18 Ar ตอบ p = …….. n = ……..…. e = ……….
2. 39
19 K ตอบ p = …….. n = ……..…. e = ……….
235
3. 92 U ตอบ p = …….. n = ……..…. e = ……….
83
4. 36 Kr ตอบ p = …….. n = ……..…. e = ……….

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 18
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

ถาจำนวนของอิเล็กตรอนในอะตอมเปลี่ยนแปลง อะตอมนั้นจะเปลี่ยนเปนอนุภาคทีม่ ีประจุไฟฟาบวกหรือ


ลบ เรียกวา ไอออน (ion)แบงเปน 2 ประเภท
1. ไอออนบวก (Cation)อะตอมของโลหะมักจะเสียอิเล็กตรอนโดยจะมีประจุเทากับจำนวนอิเล็กตรอนที่
เสียไปเชน Na +, Mg2+เปนตน
2. ไอออนลบ (Anion) อะตอมของอโลหะมักจะรับอิเล็กตรอนโดยจะมีประจุเทากับจำนวนอิเล็กตรอนที่
รับมาเชนCl, O 2เปนตน

จงหาจำนวนโปรตอน นิวตรอน และ อิเล็กตรอน จากสัญลักษณของ อะตอมตอไปนี้

1. 31
15 P 3 ตอบ p = …….. n = ……..…. e = ……….

2. 17
8 O 2 ตอบ p = …….. n = ……..…. e = ……….

3. 35
17 Cl  ตอบ p = …….. n = ……..…. e = ……….

4. 9
4 Be 2  ตอบ p = …….. n = ……..…. e = ……….

13. ธาตุ A มีโปรตอน 90 นิวตรอน 148 ธาตุ B มีโปรตอน 94 และนิวตรอน 142 ขอใดถูกตอง
1. ธาตุ A มีเลขมวล 148 เลขอะตอม 90
2. ธาตุB มีเลขมวล 236 เลขอะตอม 142
3. ธาตุ Aมีเลขมวล 238 เลขอะตอม 58
4. ธาตุB มีเลขมวล 236 เลขอะตอม 94

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 19
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

จงเขียนสัญลักษณนิวเคลียรของธาตุหรือไอออนตอไปนี้
1. ถาสามารถดึงโปรตอนออกจากธาตุอะลูมิเนียม 27
13 Al 2 ตัว และดึงอิเล็กตรอนออกได 3 ตัว

2. ไอออนของ A2– มีอิเล็กตรอนเทากับ 11 มีมวลอะตอมเทากับ 10

3. ถาดึงโปรตอนนออกจาก 24
12 Z จำนวน 1 ตัว และเติมนิวตรอน 2 ตัว (กำหนดสัญลักษณของธาตุเปนY)

4. ธาตุ X มีประจุที่นิวเคลียสเปน 3 เทาของธาตุ C และมีเลขมวลเปน 4 เทาของธาตุ C จงบอกสัญลักษณ


นิวเคลียรและจำนวนอนุภาคตาง ๆของธาตุ X เมื่อกำหนดเปนสัญลักษณนิวเคลียรของ C

5. ธาตุ A และ B เปนไอโซโทนซึง่ กันและกัน (มีนิวตรอนเทากัน) ธาตุ A เมื่อกลายเปน A2 จะมีอิเลคตรอน


เทากับ 10 เลขมวลเทากับ 20 และธาตุ B มีเลขมวลมากกวา A อยู 3 จงหาสัญลักษณนิวเคลียรของ A
และ B

35 42
6. กำหนดสัญลักษณนิวเคลียรดงั นี้ 15 A , 16 B และ 17 C อนุภาคใหมที่เกิดขึ้นมีสัญลักษณอยางไร เมื่อ
31

6.1 ธาตุ A สูญเสียอิเลคตรอน 3 ตัว


6.2 ธาตุ C รับอิเลคตรอน 2 ตัว
6.3 ธาตุ B ใหอิเลคตรอน 3 ตัว และถาสามารถรับเอาโปรตอนเพิ่ม 1 ตัว
6.4 ธาตุ B รับอิเลคตรอน 2 ตัว และถาสามารถดึงเอาโปรตอนออกได 1 ตัว

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 20
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

ไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร และ ไอโซอิเลคทรอนิก


1. ไอโซโทป (Isotope)
ไอโซโทป (Isotope) คือ ธาตุที่มีเลขอะตอมเหมือนกันแตเลขมวลตางกัน หรือธาตุทมี่ ีจำนวนโปรตอน
เหมือนกันแตนิวตรอนตางกัน เชนธาตุไฮโดรเจน มี 3 ไอโซโทป คือ
1
1 H เรียกวา โปรเทียม สัญลักษณ H
2
1 H เรียกวา ดิวเทอเรียม สัญลักษณ D
3
1 H เรียกวา ทริเทียม สัญลักษณ T

2. ไอโซโทน (Isotone)
ไอโซโทน คือ อะตอมธาตุตางชนิดกัน แตมีจำนวนนิวตรอนเทากัน
เชน 3919K กับ 4020Ca
ทั้งสองตัวนี้มีจำนวนนิวตรอน 20 ตัวเทากัน
3. ไอโซบาร (Isobar)
ไอโซบาร คือ อะตอมของธาตุตางชนิดกัน แตมีมวลเทากัน
เชน 146C กับ 147N
4. ไอโซอิเล็กทรอนิก (Isoelectronics)
ไอโซอิเล็กทรอนิก คือ อะตอมธาตุตางชนิดกัน แตมีจำนวนอิเล็กตรอนเทากัน
เชน 168O2−กับ 20 Ne
10
ทั้งสองตัวนี้มีจำนวนอิเล็กตรอน 10 ตัวเทากัน

14. อะตอมคูใดเปนไอโซโทปกัน
1. maA nbA 2. mB
a
n B
b
m
3. aC aC n 4. nD nD
b b

15. อะตอมของธาตุคูใดที่เปนไอโซโทนกัน
1. 126C 136C 2. 12
6C
14 N
7
14
3. 6C 8O 16 4. 14 15 N
7N 7

16. ธาตุ 2 ธาตุเปนไอโซโทปซึ่งกันและกัน มีสิ่งใดที่ตางกัน


1. เลขอะตอม 2. จำนวนอิเล็กตรอน
3. จำนวนระดับพลังงาน 4. จำนวนนิวตรอน
17. อะตอมหรือไอออนของธาตุคูใดเปนไอโซอิเล็กทรอนิก
1. O และ N 2. O+ และ Ar
2–
3. S และ Ne 4. S2– และ Ar

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 21
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

18. อะตอม 4018Ar และไอออน 4020Ca2+ มีความสัมพันธตอกันดังขอใด


1. ไอโซโทป 2. ไอโซโทน
3. ไอโซบาร 4. ไอโซอิเล็กทรอนิก
19. สัญลักษณนิวเคลียรของธาตุในขอใดเปนไอโซบารกัน
14 15 16
A B A
1. 7 และ 8 2. 7 และ 178 B
16 17 12
3. 8 O และ 8 O 4. 12
C และ 5 B
6

20. ธาตุ Xและ Y เปนธาตุไอโซโทปกัน


ธาตุ Xมีจำนวนโปรตอนเทากับ 10 และมีเลขมวลเทากับ 20
ธาตุ Y มีจำนวนนิวตรอนมากกวาธาตุ X อยู 2 นิวตรอน
ขอใดเปนสัญลักษณนิวเคลียรของธาตุ Y
1. 2012Y 2. 2210Y 3. 128Y 4. 12 Y
10

21. คำกลาวตอไปนี้ขอใดถูกตอง
ก. มวลอะตอมของธาตุใดๆ ขึ้นอยูกับมวลของโปรตอน (p) และนิวตรอนในนิวเคลียส
ข. ทุกอะตอมของธาตุชนิดเดียวกันจะตองมีจำนวนโปรตอนและนิวตรอนในนิวเคลียสเทากัน
ค. ในอะตอมทีเ่ ปนกลางชนิดหนึ่งๆจำนวนโปรตอนตองเทากับจำนวนอิเล็กตรอน
ง. เราเรียกอะตอมของธาตุชนิดเดียวกันทีม่ ีมวลตางกันวา ไอโซโทป
1. ก เทานั้น 2. ก,ข เทานั้น 3. ก,ง เทานั้น 4. ก,ค และ ง เทานั้น

22. ขอใดคือขอความที่ถูกตองที่สุด
1. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีเลขมวลเทากัน
2. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีมวลเทากัน
3. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีจำนวนนิวตรอนเทากัน
4. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีจำนวนอิเล็กตรอนเทากัน

23. จงพิจารณาวาขอใดไมถูกตอง
1. จำนวนโปรตอนเรียกวา เลขอะตอม
2. ผลรวมของโปรตอนและนิวตรอนเรียกวา เลขมวล
3. อะตอมของธาตุเดียวกันมีจำนวนโปรตอนและนิวตรอนเทากัน แตจำนวนอิเล็กตรอนตางกัน จึงเรียก
อะตอมของธาตุเดียวกันวาไอโซโทป
4. อะตอมของธาตุชนิดหนึ่ง จะมีจำนวนโปรตอนเฉพาะตัวไมซำ้ กับธาตุอื่นๆ

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 22
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

8. แบบจำลองอะตอมของนีลโบร (Niels Bohr)

วิธีทำการทดลอง
ศึกษาสเปกตรัมการเปลงแสงของธาตุ โดยบรรจุแกสไฮโดรเจนในหลอดปลอยประจุ จากนั้นใหพลังงานเขา
ไปเมื่อใหความรอนแกไฮโดรเจนอะตอมมากๆ จะเห็นการเปลงแสงสีแดงและเมื่อมีการวิเคราะหแสงที่เปลงออกมา
พบวาสเปกตรัมของไฮโดรเจนมีคาความถี่หรือความยาวคลืน่ ที่จัดเรียงตัวกันอยางเปนระเบียบ

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 23
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

สเปกตรัมของไฮโดรเจน

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 24
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

การเกิดสเปกตรัมของธาตุ
สถานะพื้ น (ground state) หมายถึ ง อะตอมที่ อิ เ ล็ ก ตรอนซึ่ ง เคลื่อ นที่ อยู รอบนิ วเคลี ยสมี พ ลั ง งาน
เฉพาะตัวอยูในระดับพลังงานต่ำ อะตอมในสถานะพื้นจะมีความเสถียรเนื่องจากมีพลังงานต่ำ
สถานะกระตุน (excited state) หมายถึงอะตอมที่ไดรบั พลังงานเพิ่มขึ้น ทำใหอเิ ล็กตรอนถูกกระตุนให
อยูในระดับพลังงานสูงขึ้น ที่สถานะกระตุนอะตอมจะไมเสถียร เนื่องจากมีพลังงานสูง

โดยปกติ อิเล็กตรอนในอะตอมจะอยูในระดับพลังงานต่ำสุดที่เรียกวา สถานะพื้น (groundstate)เมื่อ


อะตอมไดรบั พลังงานความรอนจากไฟฟาศักยสงู (highvoltage electricity) อิเล็กตรอนในอะตอมจะไดรับพลังงาน
เพิ่ม และไปอยูในระดับพลังงานที่สงู ขึ้น เรียกวา สถานะกระตุน (excitedstate)เมื่ออิเล็กตรอนกลับมาทีเ่ ดิม ก็ตอง
ปลอยพลังงานสวนเกินออกมาในรูปของพลังงานรังสีปรากฏเปน สเปกตรัม(spectrum หรือ โฟตอน (photon)

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 25
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

หลักฐานที่สนับสนุนแบบจำลองอะตอมของโบร
1. พลังงานไอออไนเซชั่นลำดับตาง ๆ ของอะตอม (Ionization Energy)
2. การเกิดสเปกตรัมของธาตุและสารประกอบ
สเปกตรัม หมายถึง อนุกรมของแถบสีหรือเสนที่ไดจากการผานพลังงานรังสีเขาไปในสเปกโตรสโคป ซึ่งทำ
ใหพลังงานรังสีแยกออกเปนแถบหรือเปนเสน ที่มีความยาวคลื่นตางๆเรียงลำดับกันไปเมื่อนำแสงขาวที่เกิดจากดวง
อาทิตยสองผานปริซึมหรือเกรตติง แสงสีขาวจะแยกเปนสีตางๆ ตอเนื่อง ซึ่งเรียกวา แถบสเปกตรัมดังรูป

รูป สเปกตรัมคลื่นแมเหล็กไฟฟา

ตาราง แสงสีตางๆในแถบสเปกตรัมของแสงขาว
สเปกตรัม ความยาวคลื่น (, nm)
สีมวง 380-420
สีน้ำเงิน 420-490
สีเขียว 490-580
สีเหลือง 580-590
สีสม 590-650
สีแดง 650-700

Spectrum แบงออกเปน 2 ชนิดคือ


1. สเปกตรัมตอเนื่อง( Continuous Spectrum) เปน spectrum ที่เห็นสีตอ เนื่องกันไป เชน
spectrum จากดวงอาทิตย(รุงกินน้ำ)

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 26
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

2. สเปกตรัมไมตอเนื่อง( Discontinuous Spectrum) เปน spectrum ที่มลี ักษณะเปนแถบเล็กๆไม


ตอเนื่องกันเนื่องจากมี ความถี่ไมตอเนื่อง เชน spectrum ของ Hg, Ne, H2สเปกตรัมไมตอเนือ่ งนิยมเรียกวา เสน
สเปกตรัม (Line spectrum)

สเปกตรัมของธาตุ
กุสตาฟ เคอรชอฟ ไดประดิษฐเครื่องมือที่เรียกวา สเปกโทรสโคป (Spectroscope) ซึ่งใชสำหรับแยก
สเปกตรัมของแสงขาว และตรวจเสนสเปกตรัมของสารที่ถูกเผาซึ่งสามารถนำมาตรวจสารตางๆ ไดวาประกอบดวย
ธาตุอะไรบาง
สารประกอบ สีของเปลวไฟ สีสเปกตรัม
เกลือ Na เหลือง เหลืองเขม
เกลือ Ba เขียวอมเหลือง เขียว
เกลือ Ca แดงอิฐ แดงเขม
เกลือ Cu เขียว เขียวเขม
เกลือ K มวง มวงเขม

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 27
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

นีลสโบร ไดเสนอแบบจำลองอะตอมขึ้นมา สรุปไดดังนี้

การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนรอบ ๆ นิวเคลียสเปนวงคลายกับวงโคจรของดาวเคราะหรอบดวงอาทิตย แต


ละวงจะมีระดับพลังงานเฉพาะตัว และเรียกระดับพลังงานของอิเล็กตรอนที่อยูใกลนิวเคลียสที่สุด ซึ่งมีระดับพลังงาน
ต่ำที่สุด เรียกวา ระดับพลังงาน K และเรียกระดับพลังงานถัดออกมาวา ระดับพลังงาน L,M,N,...ตามลำดับ
ขอควรทราบเพิ่มเติมเกี่ยวกับแบบจำลองอะตอมของโบร
1. ระดับพลังงานในสุด ( n = 1 ) จะเปนระดับที่มีพลังงานต่ำสุด และถัดออกมาจะเปนระดับที่มีพลังงาน
มากขึ้นเรื่อยๆ และปกติอิเล็กตรอนชอบที่จะอยูชั้นในสุด ( n = 1 ) เพราะจะมีเสถียรภาพมากที่สุด ภาวะเชนนี้เรียก
สภาวะพื้น ( Ground State )
2. หากอิ เล็ ก ตรอนได รับ พลังงานที่ เหมาะสม อิ เล็ กตรอนจะดู ดพลั งงานนั้ นแล วเคลื่อนยา ยจากระดั บ
พลังงานต่ำขึ้นไประดับพลังงานสูงกวาเดิม เรียกภาวะเชนนี้วาเปน สภาวะกระตุน ( Excited State ) แตภาวะถูก
กระตุนนี้อิเล็กตรอนจะมีพลังงานมากเกินไปจึงไมเสถียรอิเล็กตรอนจะคายพลังงานสวนหนึ่งออกมาแลวเคลื่อนยาย
ลงมาอยูในระดับพลังงานที่ต่ำกวาเดิม
3. พลังงานที่อิเล็กตรอนคายออกมาจะอยูในรูปของคลื่นแมเหล็กไฟฟาเสมอ

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 28
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

22. ขอใดเปนผลงานของนีลส โบรเกี่ยวกับโครงสรางอะตอม


ก. มวลอะตอมสวนใหญเปนมวลของนิวเคลียส
ข. อิเล็กตรอนในอะตอมอยูในระดับพลังงานตาง ๆ ที่มคี าเฉพาะเทานั้น
ค. จำนวนอนุภาคนิวตรอนที่มีอยูในแตละอะตอมของธาตุ
ง. มวลอะตอมมีคาเปน 2 เทาหรือมากกวา 2 เทาของผลรวมของโปรตอนในนิวเคลียส

23. ขอใดกลาวเรียงลาดับเกี่ยวกับการเกิดสเปกตรัมไดถูกตอง
ก. อิเล็กตรอนเคลื่อนตัวสูสภาวะพื้นและคายพลังงานแสงออกมา
ข. อะตอมถูกกระตุนดวยพลังงานจากเปลวไฟ หรือศักยไฟฟ า
ค. อิเล็กตรอนเคลื่อนตัวไปอยูในระดับพลังงานที่หางออกไปจากนิวเคลียส
ง. พลังงานบางสวนถูกอิเล็กตรอนดูดกลืน
1. ก ข ค ง 2. ข ค ก ง
3. ค ข ง ก 4. ข ง ค ก

24. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับสเปกตรัม
1. ธาตุโลหะในหมูเ ดียวกันจะใหสเี ปลวไฟเหมือนกัน
2. สเปกตรัมทีม่ องเห็นของสารประกอบเกิดจากสวนไอออนบวก
3. สารประกอบตางชนิดกันใหสีสเปกตรัมเหมือนหรือตางกันก็ได
4. NaCl และ KCl มีสีสเปกตรัมสีเดียวกันเพราะประกอบดวย Cl เหมือนกัน

25. การเปลี่ยนสถานะตอไปนี้ของอะตอมไฮโดรเจน ขอใดจะดูดพลังงานสูงกวา


ก. n = 1 ไป n = 2 ข. n = 2 ไป n = 1
ค. n = 2 ไป n = 6 ง. n = 6 ไป n = 2

26. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่จากระดับพลังงานใดไประดับพลังงานใด จึงจะคายพลังงานออกมามากที่สุด


1. 1 ไป 2 2. 2 ไป 1
3. 3 ไป 2 4. 4 ไป 3

กำหนดขอมูลตอไปนี้ใชตอบคาถามขอ 27 – 28
เสนสเปกตรัมจากการเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอน
A เกิดจาก n3 → n2 , B เกิดจาก n2 → n1 , C เกิดจาก n3 → n1
27. จงเรียงลำดับพลังงานของแสงสเปกตรัมที่เกิดจากการเปลี่ยนระดับพลังงานดังกลาว
1. A < B < C 2. C < B < A 3. B < C < A 4. A < C < B

28. จงเรียงลำดับความยาวถี่ของแสงสเปกตรัมที่เกิดจากการเปลีย่ นระดับพลังงานดังกลาว


1. A < B < C 2. C < B < A 3. B < C < A 4. A < C < B

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 29
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

29. ผลการทดสอบดวยเปลวไฟของสารประกอยที่มีโซเดียมไอออน แบเรียมไอออน และแคลเซียมไอออน


จะใหสีเรียงตามลำดับดังนี้
1. เหลือง เขียว แดง 2. แดง เขียว เหลือง
3. เหลือง แดง เขียว 4. แดง เหลือง เขียว

30. ไดอะแกรมตอไปนี้ แสดงการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนระหวางระดับพลังงานตาง ๆ ของไฮโดรเจนอะตอม


การเคลื่อนที่ในขอใดจะใหสเปกตรัมที่ มีความยาวคลื่นสูงสุด

1. A 2. B
3. C 4. D

31. ไดอะแกรมตอไปนี้ แสดงความยาวคลื่นของสเปกตรัม A , B และ C สเปกตรัมใดมีพลังงานสูงสุด


A B C
1. A 2. B
3. C 4. A , B และ C

ความยาวคลืน
32. ความยาวคลื่นของสเปกตรัม 4 เสน ดังนี้ A = 404 nm B = 450 nm C = 455 nm D = 608 nm
เสนสเปกตรัมใดที่อิเล็กตรอนมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานนอยที่สุด
1. A เทานั้น 2. B และ C 3. C เทานั้น 4. D เทานั้น

33. การเปลี่ยนแปลงระดับพลังงานที่ทำใหเกิดสเปกตรัมเปลงแสงเสนใดมีความยาวคลื่นสั้นที่สุด

1. ง
2. ค
3. จ
4. ก

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 30
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

การคำนวณคาพลังงานของสเปกตรัม
เราสามารถคำนวณหาคาความถี่ และความยาวคลื่นของคลืน่ แมเหล็กไฟฟา ไดจากสมการ
C = 
และสามารถคำนวณหาคาพลังงานของคลื่นแมเหล็กไฟฟาไดจากสมการ
E α 
E = h
E = hC / 
เพราะฉะนั้น E α  α 1/ 
เมื่อ พลังงาน (E) มากขึ้น ความถี่ ( ) จะมากขึ้น และ ความยาวคลื่น ( ) สั้นลง
พลังงาน (E) นอยลง ความถี่ ( ) จะนอยลง และ ความยาวคลื่น () ยาวขึ้น

เมื่อ E = พลังงานของคลื่นแมเหล็กไฟฟา (จูล)


h = คานิจของพลังค = 6.62x10–34 J.s
 = ความถี่ (s–1)
 = ความยาวคลื่น (m)
C = ความเร็วคลื่นแมเหล็กไฟฟา = 3 x 108 เมตร/วินาที
Note:

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 31
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

ตัวอยางการคำนวณ
1. ถาเสนสเปกตรัมสีมวงของไฮโดรเจนมีความยาวคลื่น 410 nm มีพลังงานเทาใด
(กำหนดให h=6.6 x 10–34 J.s และ c = 3.0 x 108 ms–1)

2. สเปกตรัมหนึง่ เกิดจากแสงขาวผานปริซึมมีพลังงาน 3.02 x 10–22 kJ จงคำนวณหาความถีข่ องสเปกตรัม


และปรากฎสเปกตรัมสีใด (กำหนดให h=6.6 x 10–34 J.s)

3. เสนสเปกตรัมเสนหนึ่งของธาตุซเี ซียมมีความยาวคลื่น 456 nm ความถี่ของสเปกตรัมเสนนี้มีคาเปนเทาใด

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 32
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

4. (มช) ความยาวคลื่นในหนวยนาโนเมตรของโฟตอนทีม่ ีพลังงาน 4.5 x 10–19 จูล มีคาเทาใด


ให คาคงที่ของพลังค = 6.6 x 10–34 จูล.วินาที

5. (มช) คลื่นแมเหล็กไฟฟาชนิดหนึ่งมีพลังงาน 33.125 x 10–20 J คลื่นนีจ้ ะแสดงแสงสีอะไร


h = 6.625 x 10–34 J.s c = 3.0x108 ms–1 1 nm = 10–9 m
ขอที่ถูกตองคือขอใด
1. แดง 2. สม 3. เหลือง 4. เขียว
สี ชวงความยาวคลื่น (nm)
เขียว 490 – 580
เหลือง 580 – 590
สม 590 – 650
แดง 650 – 700

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 33
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

9. แบบจำลองอะตอมแบบกลุมหมอก
“อะตอมประกอบดวยกลุมหมอกอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสที่มีลกั ษณะเปนทรงกลม บริเวณที่มีกลุมหมอก
ทึบแสดงวา มีโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนจำนวนมาก ”

10. การจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุในอะตอม
10.1 การจัดเรียงอิเล็กตรอนระดับพลังงานหลัก
การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมในระดับพลังงานหลักจากแบบจำลองอะตอมของโบร
1. ตองทราบจำนวนอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุโดยใชเลขอะตอม
2. จัดอิเล็กตรอนลงในระดับพลังงาน n = 1 ใหเต็มกอน จึงจะจัดลงในระดับพลังงาน n = 2 ถา
ยังเหลืออิเล็กตรอนจะตองจัดลงในชั้นตอไปเรื่อยๆ
3. อิเล็กตรอนที่มีไดในแตละชั้น หรือ แตละระดับพลังงาน (n) หาไดจาก

2n2
เมื่อ n = 1,2,3,....,7
โดย n = 1 คือ ระดับพลังงานที่อยูใกลนิวเคลียสมากทีส่ ุด
n = 7 คือ ระดับพลังงานที่อยูไกลนิวเคลียสมากทีส่ ุด
4. อิเล็กตรอนที่อยูในระดับพลังงานนอกสุด เรียกวา เวเลนซอเิ ล็กตรอน (Valence Electron) ซึ่งจะมี
ไดไมเกิน 8 อิเล็กตรอน
5. อิเล็กตรอนที่อยูถัดจากวงนอกเขามาหนึ่งวง จะมีจำนวนอิเล็กตรอนไดไมเกิน 18 อิเล็กตรอน

การจัดอิเล็กตรอนใน
วาเลนซ
ชื่อธาตุ สัญลักษณธาตุ เลขอะตอม อะตอมตามระดับ
อิเล็กตรอน
พลังงาน
ลิเทียม Li 3 2,1 1
โบรอน B 5 2,3 3
แมกนีเซียม Mg 12 2,8,2 2
ซัลเฟอร S 16 2,8,6 6
ครอลีน Cl 17 2,8,7 7
โปแทสเซียม K 19 2,8,8,1 1
อารเซนิก(สารหนู) As 33 2,8,18,5 5
คริปตอน Kr 36 2,8,18,8 8
ทิน(ดีบุก) Sn 50 2,8,18,18,4 4
โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 34
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

Note:

การจัดเรียงอิเลคตรอนของธาตุหมูหลัก (Representative element)


จงจัดเรียงอิเลคตรอนแบบหลักของธาตุตอไปนี้
1. อะตอมที่มีจำนวนอิเล็กตรอนดังตอไปนี้ จะมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบหลักอยางไร
13 อิเล็กตรอน เรียงเปน _________________________________________หมู ___ คาบ ___

19 อิเล็กตรอน เรียงเปน__________________________________________หมู ___ คาบ ___

33 อิเล็กตรอน เรียงเปน__________________________________________หมู ___ คาบ ___

49 อิเล็กตรอน เรียงเปน__________________________________________หมู ___ คาบ ___

36 อิเล็กตรอน เรียงเปน__________________________________________หมู ___ คาบ ___

53 อิเล็กตรอน เรียงเปน __________________________________________หมู ___ คาบ ___

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 35
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

การจัดเรียงอิเลคตรอนของธาตุหมูรอง (Transition element)


2. อะตอมที่มีจำนวนอิเล็กตรอนดังตอไปนี้ จะมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบหลักอยางไร
21 อิเล็กตรอน เรียงเปน __________________________________________หมู ___ คาบ ___

28 อิเล็กตรอน เรียงเปน __________________________________________หมู ___ คาบ ___

31 อิเล็กตรอน เรียงเปน __________________________________________หมู ___ คาบ ___

39 อิเล็กตรอน เรียงเปน __________________________________________หมู ___ คาบ ___

29 อิเล็กตรอน เรียงเปน __________________________________________หมู ___ คาบ ___

23 อิเล็กตรอน เรียงเปน __________________________________________หมู ___ คาบ ___

42 อิเล็กตรอน เรียงเปน __________________________________________หมู ___ คาบ ___

24 อิเล็กตรอน เรียงเปน __________________________________________หมู ___ คาบ ___

37 อิเล็กตรอน เรียงเปน __________________________________________หมู ___ คาบ ___

55 อิเล็กตรอน เรียงเปน __________________________________________หมู ___ คาบ ___

การจัดเรียงอิเลคตรอนของไอออน

4. จงเขียนการจัดเรียงอิเล็กตรอนระดับพลังงานหลัก ของไอออน ตอไปนี้


2+
25Mn เรียงเปน __________________________________________ หมู ___ คาบ ___
+
30Zn เรียงเปน __________________________________________ หมู ___ คาบ ___
+
19K เรียงเปน __________________________________________ หมู ___ คาบ ___
2+
23V เรียงเปน __________________________________________ หมู ___ คาบ ___
+
24Cr เรียงเปน __________________________________________ หมู ___ คาบ ___

17Cl เรียงเปน __________________________________________ หมู ___ คาบ ___

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 36
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

โจทย 1 (มช 31) Mg2+ ion จะมีการจัดอิเล็กตรอน (electron configuration) เหมือนกับ


ก. Na ข. Ar ค. F – ง. Ca2+

โจทย 2 (En 40) ไอออนหรืออะตอมในขอใดที่มกี ารจัดอิเล็กตรอนเหมือนกับคลอไรดไอออน


1. F – 2. Ne 3. Al3+ 4. Ca2+

โจทย 3 22Ti2+ ion จะมีการจัดอิเล็กตรอน (electron configuration) เหมือนกับ


1. 20Ca 2. 21Sc+ 3. 23V3+ 4. ไมมีขอถูก

โจทย 4 จำนวนอิเล็กตรอนมากทีส่ ุดทีร่ ะดับพลังงาน n = 5 ที่อะตอมสามารถรับไดและการจัดอิเล็กตรอนใน


อะตอมของอินเดียม (In) ซึ่งมีเลขอะตอมเทากับ 49 เปนไปตามขอใด

โจทย 5 X มีเวเลนซอเิ ล็กตรอนซึ่งอยูในระดับพลังงานที่ 4 เทากับ 3 การจัดอิเล็กตรอนของ X+ คือขอใด


1. 2,8,8,2 2. 2,8,18,2
3. 2,8,3 4. 2,8,18,3

โจทย 6 ธาตุ X อยูหมู 3 คาบ 4 มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนอยางไรและมีเลขอะตอมเทาใด


1. 2, 8, 4 เลขอะตอม = 14 2. 2, 8, 8, 3 เลขอะตอม = 21
3. 2, 8, 18, 3 เลขอะตอม = 31 4. 2, 8, 18, 4 เลขอะตอม = 32

โจทย 7 X คือธาตุในหมูท ี่ 7 คาบที่ 4 การจัดอิเล็กตรอนของ X – คือขอใด


1. 2, 8, 18, 7 2. 2, 8, 18, 8
3. 2, 8, 8 4. 2, 8, 18, 6

โจทย 8 การจัดอิเล็กตรอนแบบใดใชสาหรับอะตอมของโลหะแอลคาไลไมได
1. 2, 8, 8, 1 2. 2, 8, 18, 1
3. 2, 8, 18, 8, 1 4. 2, 8, 18, 18, 8, 1

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 37
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

โจทย 9 การจัดอิเล็กตรอนแบบใดใชสำหรับโลหะทรานซิชั่น
1. 2, 8, 8, 2 2. 2, 8, 18, 2 3. 2, 8, 10, 2 4. 2, 8, 18, 8, 2

โจทย 10 จากธาตุที่มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนตอไปนี้ ธาตุใดเปนธาตุทรานซิชัน


1. 2, 8, 7 2. 2, 8, 15, 2 3. 2, 8, 18, 2 4. 2, 8, 18, 8

10.2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนระดับพลังงานยอย
ทฤษฎีควอนตัม (Quantum theory)
ใชอธิบายโครงสรางภายในอะตอมและบทบาทของอิเล็กตรอนในวิชาเคมีทำใหเราทราบสมบัติของ
สารทัง้ หมดในปฏิกิริยาเคมี เชน
1) จำนวนอิเล็กตรอนในอะตอม
2) พลังงานของอิเล็กตรอน
3) การจัดเรียงกันของอิเล็กตรอน

1. เลขควอนตัมหลัก (Principal quantum number; n)


 n เปนเลขจำนวนเต็ม มีคาตั้งแต 1, 2, 3 ... บอกใหทราบถึง
 ระดับพลังงานหลักของอิเล็กตรอนในออรบิทลั

2. เลขควอนตัมโมเมนตัมเชิงมุม (Angular momentum quantum number: l )


 บอกถึงรูปรางของ orbital
 มีคาตั้งแต 0 ถึง (n – 1) กลาวคือ
 ถา n = 1 l = 0
n = 2 l = 0,1
n = 3 l = 0,1,2
n = 4 l = 0,1,2,3
โดยในแตละคาของ l มีการกำหนดชื่อไวดังนี้
o s - orbital มีลักษณะเปนทรงกลม มี 1 orbital
o p - orbital มีลักษณะเปน dumbbell มี 3 orbital
o d - orbital มีลักษณะรูปรางเปน 3 มิติ มี 5 orbital
l 0 1 2 3 4 5
ชื่อออรบิทัล s p d f g h

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 38
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

รูปรางของ orbital
3. เลขควอนตัมแมเหล็ก (Magnetic quantum number ; ml)
 คา ml บอกถึงจำนวน orbital ในแตละระดับพลังงานยอย และการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนใน
space
 คา ml ขึ้นอยูกับคา l โดยจำนวน orbital คือ ml = 2l + 1
และมีคา ml อยูในชวง - l ถึง + l ดังนี้
-l, (- l + 1), … ,0 , … , (+l – 1) ,l
เชน
l = 0 ml = 2 (0) + 1 = 1 คา คือ 0 ดังนั้น s-orbital มี 1 orbital
l = 1 ml = 2 (1) + 1 = 3 คา คือ - 1 , 0 , 1 ดังนั้น p-orbital มี 3 orbital
l = 2 ml = 2 (2) + 1 = 5 คา คือ -2 , -1 , 0 , 1 , 2 ดังนั้น d-orbital มี 5 orbital

4. เลขควอนตัมสปน(Spin quantum number ;ms)


แสดงทิศทางการหมุน (spin direction) ของอิเล็กตรอน มีคาเปน +½
หรือ - ½ ลักษณะการหมุนของอิเล็กตรอน 2 ตัว จะหมุนรอบแกนของตัวเองใน
ทิศทางตรงกันขาม คือ สปนขึ้น (+½ ) และสปนลง (-½ )เหมือนแมเหล็กหันขั้วบวก
และลบ เขาหากัน

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 39
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

แบบฝกหัดควอนตัม
โจทยที่ 1 จงระบุคา n, l และ ml สำหรับออรบิทัลในระดับพลังงานยอย ดังนี้
เลขควอนตัม n l ml ms
4d
3p
2p
3d

โจทยที่ 2 จงบอกจำนวนออรบิทัล ที่เปนไปได และจำนวนอิเล็กตรอนทั้งหมด เมื่อ


เลขควอนตัม จำนวนออรบิทลั ทีเ่ ปนไปได จำนวนอิเล็กตรอน
n=2

n=3

4p

3d

5f

โจทยที่ 3 พิจารณาเลขควอนตัมหรือสัญลักษณโครงแบบอิเล็กตรอนตอไปนี้และระบุวาเปนไปไมไดหรือไม
เพราะเหตุใด
1. 3, 0 , 0, ½ 2. 2, 1, 1, 1
3. 3, –2, 2, –½ 4. 2, 1, 2, 0
5. 4, 3, -1, +½ 6. 3, 4, +1, -½
7. 3, 2, -3, +½ 8. 4, 2, 0, +3/2
Note:

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 40
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

โจทยที่ 4 พิจารณาการจัดเรียงอิเล็กตรอน 2p2 และตอบคำถามตอไปนี้


1. n เทากับ l เทากับ ml ทีเ่ ปนไปไดเทากับ และ ms ที่เปนไปไดเทากับ

2. จำนวนออรบิทลั ทั้งหมด อิเล็กตรอนทัง้ หมด ออรบทิ ัลที่มีอเิ ล็กตรอนบรรจุ

โจทยที่ 5 จงบอกระดับพลังงานหลัก ระดับพลังงานยอย และรูปรางออรบิทลั ของอิเล็คตรอนที่มเี ลขควอนตัม


ตอไปนี้
1. 2, 0, 0, - ½

2. 3, 0 , 0, +½

3. 4, 3, -1, +½

โจทยที่ 6 จงเขียนระดับพลังงานยอย และจำนวนอิเลคตรอนที่เปนไปไดจากเลขควอนตัม ตอไปนี้


1. n = 2 , l = 1 , ml = 0 , ms = +1/2

2. n = 2 , l = 0 , ml = 0 , ms = –1/2

3. n = 2 , l = 1 , ml = –1 , ms = +1/2

4. n = 3 , l = 2 , ml = 0 , ms = –1/2

5. n = 3 , l = 1 , ml = 0 , ms = +1/2

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 41
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

การบรรจุอเิ ล็กตรอนจะบรรจุใน orbital ที่มีพลังงานต่ำสุดไปหา orbital ที่มพี ลังงานสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยใช


แผนภาพการจัดเรียงอิเล็กตรอนใน orbital ดังนี้

Note:

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 42
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

1. อะตอมที่มีจำนวนอิเล็กตรอนดังตอไปนี้ จะมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนระดับพลังงานยอยอยางไร

19 อิเล็กตรอน เรียงเปน__________________________________________ หมู ___ คาบ ___

33 อิเล็กตรอน เรียงเปน__________________________________________ หมู ___ คาบ ___

53 อิเล็กตรอน เรียงเปน__________________________________________ หมู ___ คาบ ___

49 อิเล็กตรอน เรียงเปน__________________________________________ หมู ___ คาบ ___

37 อิเล็กตรอน เรียงเปน__________________________________________ หมู ___ คาบ ___

2. จงจัดเรียงอิเล็กตรอนของอะตอมตอไปนี้แบบระดับพลังงานยอย และระดับพลังงานหลัก
ธาตุ การจัดเรียงอิเล็กตรอนระดับพลังงานยอย การจัดเรียงอิเล็กตรอนระดับพลังงานหลัก
15P

25Mn

37Rb

55Cs

25Mn

3. จงเขียนการจัดเรียงอิเล็กตรอนระดับพลังงานยอยแบบยอของอะตอมธาตุตอไปนี้
19K เรียงเปน _________________________________________________หมู ___ คาบ ___

21S เรียงเปน _________________________________________________หมู ___ คาบ ___

42Mo เรียงเปน _________________________________________________หมู ___ คาบ ___

24Cr เรียงเปน ________________________________________________หมู ___ คาบ ___

37Rb เรียงเปน _________________________________________________หมู ___ คาบ ___

55Cs เรียงเปน _________________________________________________หมู ___ คาบ ___

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 43
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

4. จงเขียนการจัดเรียงอิเล็กตรอนระดับพลังงานยอย/ยอ ของไอออน ตอไปนี้


2+
25Mn เรียงเปน __________________________________________ หมู ___ คาบ ___
+
30Zn เรียงเปน __________________________________________ หมู ___ คาบ ___
2+
26Fe เรียงเปน __________________________________________ หมู ___ คาบ ___
2+
23V เรียงเปน __________________________________________ หมู ___ คาบ ___
+
24Cr เรียงเปน __________________________________________ หมู ___ คาบ ___
2+
29Cu เรียงเปน __________________________________________ หมู ___ คาบ ___

5. การจัดเรียงอิเล็กตรอนของไอออนโลหะแทรนซิชัน ขอใดถูกตอง
ก. 24Cr = [ Ar ] 4s1 3d4 ข. 26Fe3= [ Ar ] 4s2 3d3
ค. 23V3 = [ Ar ] 4s0 3d2 ง. 29Cu = [ Ar ] 4s1 3d9
6. ธาตุ A B C และ Dมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานยอยเปนดังนี้
ธาตุ A 1s2 2s2 2p6 3s2 3p3
ธาตุ B2  1s2 2s2 2p6 3s2 3p6
ธาตุ C 1s2 2s2 2p6 3s2 3p64s2 3d5
ธาตุ D [ Ar ] 4s2 3d10 4p5
ขอใดกลาว ถูกตอง
ก. ธาตุ B มีเลขอะตอม 18 ข. ธาตุ A มีเวเลนซอิเล็กตรอนเทากับ 3
ค. ธาตุ D ควรจัดอยูหมู 7 ในตารางธาตุ ง. ธาตุ Cเมื่อทำใหเปนไอออน C2จะมีอิเล็กตรอนเดี่ยว 3 ตัว

10.3 การจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบออรบิทัล (Atomic orbital configuration)


แสดงการจัดเรียงอิเล็กตรอนในแตละออรบิทลั เพื่อชวยทำนายสภาพความเปนแมเหล็กและความเสถียร
ของอิเล็กตรอนดังนี้
 ออรบทิ ัล สัญลักษณ __  
 อิเล็กตรอน สัญลักษณ
 ในแตละระดับพลังงานยอยจะมีจำนวนออรบิทลั แตกตางกัน ดังนี้
S ออรบิทัล มี 1 ออรบิทัลยอย __
p ออรบิทัล มี 3 ออรบิทัลยอย __ __ __
d ออรบิทัล มี 5 ออรบิทัลยอย __ __ __ __ __
f ออรบิทัล มี 7 ออรบิทัลยอย __ __ __ __ __ __ __
 แตละออรบิทัลยอย มีอิเล็กตรอนบรรจุไดไมเกิน 2 e 

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 44
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

10.3.1 หลักการจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบออรบิทัล
1. ใชหลักของเพาลี “ในแตละออรบิทลั จะมีอิเล็กตรอนไดมากที่สุด 2 อิเล็กตรอน”

2. หลักของเอาฟบาว (Aufbau principle) บรรจุอเิ ล็กตรอนโดยเริ่มจากอะตอมิกออรบิทลั ที่


วางและมีพลังงานต่ำสุดกอน
1s 2s 2p 3s 3p 4s 3d  4p…

3. ใชกฎของฮุนด (Hund’srule) “ในอะตอมิกออรบทิ ัลที่มรี ะดับพลังงานเทากัน (degenerate


orbitals) ใหบรรจุอเิ ล็กตรอนตัวเดียวใหครบทุกออรบทิ ัลกอน (ใหมีอเิ ล็กตรอนเดี่ยวมากทีส่ ุด
เทาทีจ่ ะมากได)”

  
4. ถามีการจัดเรียงเวเลนซอเิ ล็กตรอนอยูเ ต็มทุกออรบทิ ัล จะเรียกวา การบรรจุเต็ม
(filled configuretion)แตถาทุกออรบทิ ัลมีเวเลนซอเิ ล็กตรอนอยูเพียงครึ่งเดียว จะเรียกวา
การบรรจุครึง่ (half-filled configuration) การบรรจุเต็มจะเสถียรกวาการบรรจุครึ่ง

1. จงเขียนการจัดเรียงอิเล็กตรอนในออรบิทัลของอะตอมตอไปนี้
11Na เรียงเปน __________________________________________

19K เรียงเปน __________________________________________

21Sc เรียงเปน __________________________________________

37Rb เรียงเปน __________________________________________

55Cs เรียงเปน __________________________________________

24Cr เรียงเปน __________________________________________

29Cu เรียงเปน __________________________________________

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 45
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

ขอยกเวน:

24Cr : 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d4 24Cr : 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s1 3d5

จะเห็นวาการจัดเรียงอิเล็กตรอนเปนแบบ incomplete filling ใน 3d ถาใหอิเล็กตรอนใน 4s โดดไปอยูที่


3d การจัดเรียงอิเล็กตรอนจะเปนแบบ half fillingซึ่งเสถียรกวาแบบแรก

29Cu : 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d9 29Cu : 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s1 3d10

การจัดเรียงอิเล็กตรอนเปนแบบ incomplete filling ถาใหอิเล็กตรอนจาก 4s โดดไปอยูที่ 3d การจัดเรียง


อิเล็กตรอนจะเปนแบบ complete filling (s-orbital มีอิเล็กตรอนบรรจุไดสงู สุด 2 ตัว) การจัดเรียงแบบใหมจะ
เสถียรกวาแบบแรก

ความเสถียรของอิเล็กตรอน

complete filling > half filling > incomplete filling

สภาพความเปนแมเหล็ก
Paramagnetic: การจัดเรียงอิเล็กตรอนมี unpaired electron (โดดเดี่ยว) ทำใหเกิดการเหนี่ยวนำใน
สนามแมเหล็ก

Diamagnetic: การจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน paired electron (จับคูหมด) ทำใหสนามแมเหล็กหักลาง


กันหมดไมเกิดการเหนี่ยวนำในสนามแมเหล็ก

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 46
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

โจทย 1 ธาตุในขอใดมีอิเล็กตรอนเดี่ยวมากที่สุด
1. 6C 2. 15P 3. 12Mg 4. 13Al
โจทย 2 ธาตุในขอใดมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบบรรจุครึ่ง
1. 6C 2. 15P 3. 12Mg 4. 13Al
โจทย 3 ธาตุในขอใดมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบบรรจุเต็ม
1. 6C 2. 8O– 3. 12Mg 4. 13Al
โจทย 4 ธาตุใดมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนใน d ออรบิทลั เปนแบบบรรจุครึ่ง
1. 21Sc 2. 24Cr
3. 26Fe 4. 29Cu
โจทย 5 เหตุใดการจัดเรียงอิเล็กตรอนของ 24Cr จึงเปน 2 ,8 , 13 , 1 แทนที่จะเปน 2 , 8 , 12 , 2
1. เพราะจัดเรียงแบบแรกจะเรียงแบบบรรจุครึ่งซึ่งเสถียรกวาแบบหลัง
2. เพราะจัดเรียงแบบแรกจะเรียงแบบบรรจุเต็มซึ่งเสถียรกวาแบบหลัง
3. เพราะจัดเรียงแบบแรกเวเลนซอเิ ล็กตรอนจะครบ 8 ตัวตามกฎออกเตต
4. เพราะจัดเรียงแบบแรกจะรับอิเล็กตรอนเขาไดมากทีส่ ุด

จงกรอกขอมูลตอไปนี้ใหสมบูรณและถูกตอง

เลข Sub-shell electron คาบ หมู Orbital Diagram สภาพความเปน Filling


อะตอม configuration แมเหล็ก

15

20

21

29

24

35

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 47
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

2. ตารางธาตุ
ตารางธาตุ (Periodic table) หมายถึง ตารางที่นักวิทยาศาสตรไดรวบรวมธาตุตางๆ เขาเปนหมวดหมู
จัดตามลักษณะหรือสมบัติที่คลายคลึงกัน

2.1 วิวัฒนาการของตารางธาตุ
1. โยฮันน เดอเบอไรเนอร(Johann DÖbereiner,1817)
จัดธาตุเปนกลุมๆ ละ 3 ธาตุ ตามสมบัติที่คลาย คลึงกัน เรียกวา Triads โดยธาตุตัวกลางจะมีมวลอะตอม
เทากับหรือใกลเคียงกับคาเฉลี่ยของมวลอะตอมของอีกสองธาตุ

ตัวอยางการจัดกลุมธาตุของเดอเบอไรเนอร

Li 7 Ca 40 Cl 35
Na 23 Sr 88 Br 80
K 39 Ba 137 I 129

มวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุที่มี
กลุมที่ ธาตุ มวลอะตอมเฉลี่ย สรุป
มวลนอยกวาและมากกวา
1 Li 6.9 6.9 + 39.1 Li Na K
Na 23.0 2 มีสมบัติคลายคลึง
K 39.1 = 23 กัน

แตเมื่อนำหลัก Triads มาใชกับธาตุกลุมอื่น เชน

Cu (63.6), Ag (108) , Au (197)


Zn (65.4), Cd (112.4) , Hg (200.6)

มวลอะตอมของธาตุตัวกลางไมไดมีคาเปนคาเฉลี่ยของมวลอะตอมของธาตุที่เหลือในแตละกลุมดังนั้น หลักของ
ธาตุชุดสามไมสามารถนำไปใชกับธาตุกลุมอื่นที่มีสมบัติคลายกันได เชน Cu Ag Au ดังนั้นหลักชุดสามของ
เดอเบอไรเนอรจึงไมเปนที่ยอมรับในเวลาตอมา
2. จอหนนิวแลนด (John Alexander Reina Newland))
ถานำธาตุมาเรียงมาตามมวลอะตอมทีเ่ พิ่มขึ้นเปนแถว แถวละ 7 ธาตุ ธาตุที่ 8 จะมีสมบัติคลายกับธาตุที่ 1
โดยเริ่มจากธาตุใดก็ได(ไมรวม H กับแกสเฉื่อย) Law of Octaves

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 48
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

** การจัดเรียงตามความคิดของนิวแลนด ใชไดถึงธาตุCa เทานั้น **


3. เมนเดเลเอฟ และไมเออร(Mendeleev,1869)

ดิมิทรี อิวาโนวิช เมนเดเลเอฟ และ ยูลิอุส โลทาร ไมเออร จากการศึกษาของทั้งสอง


คนพบวา ถาเรียงธาตุตามลำดับมวลอะตอมจากนอยไปหามาก จะพบวาธาตุมีส มบัติคลายคลึง
กันเปนชวง ๆ เมนเดเลเอฟ จึงตั้งเปนกฎเรียกวากฎพีริออดิก (Periodic Law)

กฎพีริออดิก (Periodic Law)


“สมบัติทางเคมีและสมบัติทางกายภาพของธาตุตางๆ นั้นเปลี่ยนแปลงไปในลักษณะทีเ่ ปนชวงๆโดย จะ
สัมพันธกบั มวลอะตอมของมัน”
ในชวงนั้นไดมีการศึกษาธาตุที่ยังไมพบ ไดแก
เอคาโบรอน เปน สแคนเดียม (Sc)
เอคาอะลูมิเนียม เปน แกลเลียม (Ga)
เอคาซิลิคอน เปน เจอรเมเนียม(Ge)

ขอบกพรองของการจัดเรียงธาตุของเมนเดเลเอฟ
ตำแหนงของธาตุบางธาตุจะปรากฏอยูในกลุมทีม่ ีสมบัติทางเคมีและทางกายภาพที่แตกตางไป จึงตอง
ยกเวน ไมเรียงตามมวลอะตอมเปนบางธาตุ
เชน Te(มวลอะตอม = 128) และ I (มวลอะตอม = 127)

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 49
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

ถาจัดธาตุทั้งสองเรียงตามลำดับมวลอะตอมแลว ธาตุทั้งสองจะไมไดอยูหมูเดียวกับธาตุที่มีสมบัติคลายคลึงกัน
จึงตองมีการสลับตำแหนงตารางธาตุในปจจุบันมีรากฐานมาจากตารางธาตุของเมนเดเลเอฟ
4. เฮนรี จี.เจ. มอสลีย(Henry G.J. Moseley,1913)
คนพบวา เลขอะตอม มีความสัมพันธกบั สมบัติของธาตุมากกวามวลอะตอม ถาจัดเรียงธาตุตามลำดับของ
เลขอะตอม จะสามารถแกปญหาการจัดตารางธาตุของเมนเดเลเอฟได
2.2 ลักษณะของตารางธาตุปจจุบัน

คำอธิบายเพิ่มเติม
ธาตุที่เรียงอยูในแนวนอนเดียวกัน เรียกวา คาบ ซึ่งมีทั้งหมด 7 คาบ
ธาตุที่เรียงอยูในแนวดิ่งเดียวกัน เรียกวา หมู ซึ่งมีอยู 2 พวก คือ ธาตุหมู A มี 8 หมู และหมู B เรียก
ธาตุแทรนซิชัน
สำหรับธาตุ 2 แถว ซึ่งแยกไวดานลาง เรียก ธาตุแทรนซิชันใน
แถวบนเรียก กลุมธาตุแลนทาไนด ซึ่งจริงแลวควรเปนธาตุ หมู IIIB คาบ 6
แถวลางเรียก กลุมธาตุแอกทิไนด ซึ่งจริงแลวควรเปนธาตุ หมู IIIB คาบ 7
ธาตุหมู IA เรียก โลหะแอลคาไลน ธาตุหมู IIA เรียก โลหะแอลคาไลนเอิรท
ธาตุหมู VIIA เรียก แฮโลเจน ธาตุหมู VIIIA เรียก แกสเฉือ่ ย
ธาตุที่อยูบริเวณเสนขั้นบันไดเปน ธาตุกึ่งโลหะ หรือเมตัลลอยด ซึ่งไดแก โบรอน (B) ,ซิลิกอน (Si) ,
เจอรเมเนียม (Ge) , อารเซนิก (As) , พลวง (Sb) , เทลลูเรียม (Te) , พอโลเนียม(Po) , แอสทาทีน (As)
ธาตุหมู A ซึ่งอยูในหมูเดียวกันจะมีสมบัติคลายกัน และมีเวเลนซอิเล็กตรอนเทากัน และเวเลนซอิเล็กตรอน
จะเทากับเลขหมูที่ธาตุนั้นๆ อยู เชน ธาตุ Li และ Na มีเวเลนซอิเล็กตรอนเทากับ 1 ดังนั้นทั้งสองธาตุนี้จะอยูหมู IA
ธาตุแทรนซิชันสวนใหญจะมีเวเลนซอิเล็กตรอนเทากับ 2 เวนบางธาตุ มีเวเลนซอิเล็กตรอนเทากับ 1 เชน
Cr , Cu เปนตน
โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 50
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

ธาตุที่อยูในคาบเดียวกัน จะมีจำนวนระดับ พลังงานหลักของอิเล็กตรอนเทากัน และจะเทากับลำดับของ


คาบที่ธาตุนั้นๆ อยู เชน Li และ Be มีจำนวนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนเทากับ 2 ระดับ คือ K L ดังนั้นทั้งสอง
ธาตุนี้จะอยูในคาบที่ 2 ของตารางธาตุ

การเรียกชื่อธาตุที่มีเลขอะตอมตั้งแต 100 ขึ้นไป ตามระบบ IUPAC


ใหเรียกเลขอะตอมเปนภาษาละติน แลวลงทายดวย -ium
จำนวนนับในภาษาละตินมีดังนี้
0 = นิล (nil) 1 = อูน (un) 2 = ไบ (bi) 3 = ไต (tri) 4 = ควอด (quad )
5 = เพนท (pent ) 6 = เฮกซ (hex) 7 = เซปท (sept) 8 = ออกต (oct ) 9 = เอนน ( enn)
ตัวอยางการเรียกชื่อ
ธาตุที่ 104 เรียกชื่อ อูนนิลควอเดียม ใชสัญลักษณ Unq
ธาตุที่ 105 เรียกชื่อ อูนนิลเพนเทียม ใชสัญลักษณ Unp
ธาตุที่ 106 เรียกชื่อ อูนนิลเฮกเซียม ใชสญ
ั ลักษณ Unh
ธาตุที่ 107 เรียกชื่อ อูนนิลเซปเทียม ใชสัญลักษณ Uns
การบอกตำแหนงของธาตุในตารางธาตุ
การตรวจสอบวาธาตุหนึ่งๆ จะอยูหมูใด คาบใด ในตารางธาตุ ใหทำดังนี้
ขั้น 1 จัดเรียงอิเล็กตรอนแบบระดับพลังงานหลัก
ขั้น 2 จำนวนระดับพลังงานของอิเล็กตรอน จะเทากับคาบทีธ่ าตุนั้นอยู
ขั้น 3 หากเวเลนซอเิ ล็กตรอนเทากับ 3 ถึง 8 จะเปนธาตุหมู IIIA ถึงหมู VIII A ตามลำดับ
หากเวเลนซอิเล็กตรอนเทากับ 1 หรือ 2
กรณี 1 หากจำนวนอิเล็กตรอนชั้นถัดเขามามี 8 ตัว จะเปนธาตุหมู IA , IIA ตามลำดับ
กรณี 2 หากจำนวนอิเล็กตรอนชั้นถัดเขามาไมใช 8 ตัว จะเปนธาตุแทรนซิชัน

การแบงตารางธาตุออกเปนเขต
หากพิจารณาการจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบระดับพลังงานยอย จะสามารถแบงธาตุในตารางธาตุออกไดเปน 4 เขต
ดังนี้

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 51
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

เขต–s คือเขตที่อะตอมของธาตุมีการบรรจุอิเล็กตรอนในระดับพลังงานยอย s ของระดับพลังงานสูงสุด


เขต–p คือเขตที่อะตอมของธาตุมีการบรรจุอิเล็กตรอนในระดับพลังงานยอย p ของระดับพลังงานสูงสุด
เขต–d คือเขตที่อะตอมของธาตุมีการบรรจุอิเล็กตรอนในระดับพลังงานยอย d ของระดับพลังงานที่ถัดจาก
ระดับพลังงานสูงสุด (n – 1) ธาตุในเขตนี้เรียก ธาตุแทรนซิชัน
เขต–f คือเขตที่อะตอมของธาตุมีการบรรจุอิเล็กตรอนในระดับพลังงานยอย d ของระดับพลังงานที่ถัดจาก
ระดับพลังงานสูงสุดเขามา 2 ระดับ (n – 2) ธาตุเขตนี้เรียก ธาตุแทรนซิชันใน

27. ถานักเรียนสังเคราะหธาตุใหมขึ้นมาไดอีก 4 ธาตุ โดยแตละธาตุมีจำนวนอิเล็กตรอนเทากับ 107 ,115 , 204


และ 257 อิเล็กตรอน ตามลำดับ การเรียกชื่อตามระบบ IUPACของธาตุทั้ง 4 ตามลำดับ คือขอใด
1. Unnilquadium ,Unnilpentium , Binilquadiumและ Bipentseptium
2. Unnilseptium ,Ununpentium , Binilquadiumและ Bipentseptium
3. Unnilseptium ,Ununpentium , Dinilquadiumและ Dipentseptium
4. Monodecaheptium ,Monomonopentium , Didecatetriumและ Depentaheptium

28. กำหนดใหธาตุ W , X , Y และ Z มีเลขอะตอมดังนี้ 19 , 20 , 36 และ 37 ธาตุคูใดที่มีสมบัติคลายคลึงกัน


1. W กับ X 2. WกับZ 3. X กับY 4. Y กับZ

29. ถา A , B , C และ D มีเลขอะตอม 12 , 17 , 36 และ 55 ตามลำดับ ธาตุใดทำปฏิกิริยากับธาตุอื่นไดยาก


ที่สุด
1. A 2. B 3.C 4.D

30. ธาตุ W , X , Y และ Z มีเลขอะตอม 3, 6, 7, 9 ตามลำดับ ธาตุใดมีความเปนโลหะมากที่สุด


1. W 2. X 3. Y 4.Z

2.3 สมบัติของธาตุตามหมูและตามคาบ
1. ขนาดอะตอม (Sizes of atoms)
2. รัศมี / ขนาดไอออน (Ionic radius)
3. พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy)
4. อิเล็กโตรเนกาติวิตี (Electronegativity)
5. สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (Electron affinity)

รัศมีอะตอม
สวนใหญใชคารัศมีอะตอม ซึ่งอาจใชหนวยเปนพิโกเมตร (pm) หรืออังสตรอม (A๐ )
1. รัศมีโคเวเลนต
รัศมีโคเวเลนต คือ ระยะทางครึ่งหนึ่งของความยาวพันธะโคเวเลนตระหวางอะตอมชนิดเดียวกัน

โมเลกุล Cl2
ความยาวพันธะ Cl-Cl = 198
รัศมีโคเวเลนตของ Cl = 198/2 = 99 pm
โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 52
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

กรณีที่เปนพันธะโคเวเลนตระหวางอะตอมตางชนิดกัน เชน CCl4

โมเลกุล CCl4
ความยาวพันธะ Cl-Cl = 198
รัศมีโคเวเลนตของ Cl = 198/2 = 99 pm
ถาความยาวพันธะ C-Cl = 176 pm
รัศมีอะตอมของ Cl = 99 pm
ดังนั้นรัศมีอะตอมของ C = (176-99) = 77 pm

2. รัศมีแวนเดอรวาลส
รัศมีแวนเดอรวาลส คือระยะทางครึง่ หนึง่ ของระยะระหวางนิวเคลียสของอะตอมที่อยูใกลทสี่ ุด

รัศมีแวนเดอรวาลสของ Kr = 200 pm รัศมีแวนเดอรวาลสของ H = 120 pm


3. รัศมีโลหะ
รัศมีโลหะ คือมีคาเทากับครึ่งหนึ่งของระยะระหวางนิวเคลียสของอะตอมโลหะที่อยูใกลกันมากทีส่ ุด

รัศมีอะตอมของโลหะ Mg = 320/2 = 160 pm

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 53
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

31. กำหนดความยาวพันธะมาใหดงั รูป เมื่อความยาวพันธะหารดวย 2 ขอใดแสดงรัศมีโควาเลนซและรัศมี


วัลเดอวาสล

ก. A-B ข. B-C
ค. C-D ง. B-D
จ. A-C

1. ขนาดอะตอม (Sizes of atoms)


การวัดรัศมีของอะตอมสามารถทำไดหลายวิธีดังนี้
1. ถาอะตอมรวมตัวกันดวยพันธะโคเวเลนต การวัดรัศมีอะตอมทำใดโดยวัดระยะระหวางนิวเคลียสทั้งสอง
แลวนำมาหารดวย 2 จะไดรัศมีอะตอมซึ่งเรียกวา รัศมีโคเวเลนต
2. ถาโมเลกุลสองโมเลกุลยึดเหนี่ยวกันดวยแรงแวนเดอรวาลส การวัดรัศมีอะตอมทำไดโดยวัดระยะระหวาง
นิวเคลียสของอะตอมทั้งสองของแตล ะโมเลกุล แลวนำมาหารดวย 2 จะไดรัศมีอะตอมซึ่งเรียกวา รัศมีแวนเดอร
วาลส
3. ถาอะตอมรวมตัวกันดวยพันธะโลหะ การวัดรัศมีอะตอมทำไดโดยวัดระยะระหวางนิวเคลียสของอะตอม
ภายในผลึกของโลหะที่อยูชิดกัน แลวนำมาหารดวย 2 จะไดรัศมี
อะตอม ซึ่งเรียกวารัศมีโลหะ
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนจะใหญหรือเล็กขี้นกับปจจัยตอไปนี้
1. จำนวนระดับพลังงานของอิเล็กตรอน
ธาตุที่ มีจำนวนระดับ พลังงานนอยกวา จะมีขนาดอะตอมหรือไอออนเล็กกวา ดังนั้น ในหมูเดียวกันขนาด
อะตอมจะเล็กลงจากลางขึ้นบน เพราะระดับพลังงานอิเล็กตรอนลดลง
2. จำนวนโปรตอนในนิวเคลียส
ในกรณีที่ระดับพลังงานอิเล็กตรอนเทากัน ธาตุที่มีจำนวนโปรตอนมากกวาจะมีขนาดอะตอมหรือ
ไอออนเล็ กกวา เพราะเมื่อจำนวนโปรตอนในนิ วเคลียสมาก จะทำใหมี แรงดึ งดู ดอิเล็ก ตรอนรอบนอกใหเ ขาใกล
นิวเคลียสมากขึ้น จึงทำใหขนาดอะตอมหรือไอออนเล็กลงดวยเหตุนี้ ธาตุในคาบเดียวกั นจะมีขนาดอะตอมเล็กลง
จากซายไปขวา เพราะธาตุทางดานขวาจะมีจำนวนโปรตอนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
3. จำนวนอิเล็กตรอน
ในกรณีที่ระดับ พลังงานของอิเล็กตรอนเทากัน และจำนวนโปรตอนเทากันดวย ธาตุที่มีจำนวนอิเล็กตรอน
นอ ยกว า จะมี ขนาดอะตอมหรื อไอออนเล็ กกวา เพราะเมื่ อจำนวนอิ เล็ กตรอนลดลง นิ วเคลี ย สจะมี แรงดึ งดู ด
อิเล็กตรอนแตละตัวมากขึ้น ทำใหอิเล็กตรอนเขาใกลนิวเคลียสมากขึ้นขนาดอะตอมหรือไอออนจะเล็กลง
Note:

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 54
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

ธาตุในคาบเดียวกันเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น ขนาดอะตอมจะเล็กลง เนื่องจากธาตุในคาบเดียวกันมีจำนวนระดับ


พลั งงานเทากัน แต เมื่ อ เลขอะตอมเพิ่ ม จำนวนโปรตอนจะเพิ่ มขึ้นด วย แรงดึ งดู ดระหวา งนิ วเคลีย สกั บ เวเลนซ
อิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น ขนาดจึงลดลง
ธาตุในหมูเดียวกันเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น ขนาดอะตอมจะใหญขึ้น เพราะเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น จะมีจำนวน
ระดับพลังงานเพิ่มขึ้น แมวาจำนวนโปรตอนจะเพิ่มขึ้นดวยก็ตาม แตแรงดึงดูดตอเวเลนซอิเล็กตรอนมีนอย จึงทำให
ขนาดใหญขึ้น กลาวไดวากรณีนี้การเพิ่มระดับพลังงานมีผลมากกวาการเพิ่มจำนวนโปรตอน

2. รัศมี / ขนาดไอออน (Ionic radius)


รัศมีไอออน คือระยะระหวางนิวเคลียสของไอออนคูหนึง่ ๆ ทีม่ ีแรงยึดเหนี่ยวซึง่ กันและกันในโครงผลึก
สำหรับไอออนบวกของอะตอมชนิดเดียวกัน ยิ่งบวกมากขนาดไอออนจะเล็กลง
( A> A+> A2+ > A3+ )
ทั้งนี้เพราะไอออนยิ่งบวกจำนวนอิเล็กตรอนยิ่งนอยลงนั่นเอง
สำหรับไอออนลบอะตอมชนิดเดียวกัน ยิ่งลบมากขนาดไอออนยิ่งจะใหญขึ้น
( B< B–< B2–< B3– )
ทั้งนี้เพราะไอออนยิ่งเปนลบจำนวนอิเล็กตรอนยิ่งมากขึ้น ขนาดไอออนจึงใหญขึ้นนั่นเอง

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 55
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

Note:

Which is larger ?
1. Be2+ or B3+
2. Al3+ or P3-
3. K or Ca
4. As or Te
5. O2- or F-
6. 7N , 8O2– , 9F
– , 19K
+

32. กำหนดเลขอะตอมของธาตุดังนี้ A = 13 , B = 19 , C = 20 , D = 12 การเรียงลำดับขนาดอะตอมในขอใด


ถูกตอง
1. B > C > D > A 2. B > C > A > D
3. C > A > B > D 4. C > B > A > D

33. อะตอมใดมีขนาดใหญทสี่ ุด
1. 17Cl 2. 6C 3. 35Br 4. 32Ge

34. ขอใดเรียงลำดับขนาดของอนุภาค จากใหญไปเล็กไดถูกตอง


1. F  > F > K > K  2. K  > K > F > F 
3. K > K  > F  > F 4. F > F  > K > K 

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 56
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

3. พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy)


พลังงานที่นอยทีส่ ุด ที่ทำใหอิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอม ในสถานะกาซ

IE มีไดหลายคา ซึ่งเทากับจำนวน
อิเล็กตรอนที่มีอยู เชน
1H มีเพียง IE เพียง 1 คา
10Ne มี IE 10 คา

 อะตอมใดมีขนาดเล็ก จะทำใหดึง e- ออกยาก  IE สูง


 อะตอมใดมีขนาดใหญ จะทำใหดึง e- ออกงาย  IE ต่ำ
ตัวอยาง
Mg(g) Mg+(g) + e : IE1 = 744 kJ/mol
Mg +(g) 2+
Mg (g) + e : IE2 = 1457 kJ/mol
Mg 2+(g) Mg 3+(g) + e : IE3 = 7739 kJ/mol

เมื่อ IE1 หมายถึง พลังงานไอออไนเซชั่นลำดับที่ 1 คือ พลังงานที่ใชดึง e- ตัวที่ 1 ออกจากอะตอม ทำให


เกิดประจุ +
IE2หมายถึง พลังงานไอออไนเซชั่นลำดับที่ 2 คือ พลังงานที่ใชดึง e- ตัวที่ 2 ออกจากอะตอม ทำให
เกิดประจุ 2+

สิ่งที่ควรทราบเกี่ยวกับพลังงานไอออไนเซชัน
1. คา IE เปนพลังงานที่ใชดึงอิเลคตรอนวงนอกเขาหาในวง (ยิ่งดึงยิ่งยาก)
2. สำหรับอะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน IE1< IE2< IE3<…..<IEnเสมอ
3. คา IE ของอะตอม โลหะ <อโลหะ
4. บอกใหทราบจำนวนอิเลคตรอนในอะตอม
5. ขนาดอะตอม แปรผกผัน กับคา IE (อะตอมขนาดเล็ก ==> IE สูง)
6. จำนวนโปรตอน แปรผันตรง กับคา IE (จำนวนโปรตอนนอย ==> IE ต่ำ)

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 57
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

ตัวอยาง Na มีการจัดเรียงอิเลคตรอนเปน 2, 8, 1 มีโครงสรางอะตอมดังนี้

คา IE1มีพลังงาน....................................................................................
คา IE2 – IE9มีพลังงาน............................. แต.............................. คา IE1
คา IE10 – IE11มีพลังงาน.................................... และ .............................

ตาราง แสดงคาพลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 58
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

35. ขอใดแสดงการเกิดพลังงานไอออไนเซชันลำดับที่สองของแกส X 1 โมล


1. X (s)→ X (g) 2. X+(g)→ X2+(g) + e–
3. X (g)→ X+(g) + e– 4. X (g)→ X2+(g) + 2e–

36. พลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 3 (IE3) ของธาตุอะลูมิเนียมมีคาเทากับพลังงานที่ เกี่ยวของในการเปลี่ยนแปลง


ในขอใด
1. Al (g)→ Al+(g) + 3e– 2. Al (s)→ Al3+(g) + 3e–
3. Al2+(g)→ Al3+(g) + e– 4. Al+(s)→ Al3+(g) + 2e–

37. ธาตุ A, B, C, D มีเลขอะตอม 3, 9, 12 และ 20 ตามลำดับ ธาตุใดมีคา IE2 ต่ำที่สุด


1. A 2. B 3. C 4. D

38. ถา A , B , C เปนธาตุทมี่ ีจำนวนโปรตอน 18 , 19 , 20 ตามลำดับ กระบวนการ ในขอใดใชพลังงานมากที่สุด


1. A(g)→ A+(g) + e- 2. B(g)→ B+(g) + e-
3. C(g)→ C+(g) + e- 4. C+(g)→ C2+(g) + e-

39. คาพลังงานไอออไนเซชันตั้งแตลำดับที่หนึง่ ถึงลำดับทีเ่ จ็ดของธาตุ A มีคาดังนี้ 1400 , 2900 , 4600 ,


7500 , 9500 , 53000 , 64000 kJ mol–1 ธาตุ A ควรจัดอยูในหมูใดในตารางธาตุ
ตอบ

40. พิจารณาหมูและคาบของธาตุ A , B , C และ D ตอไปนี้

พลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 ของธาตุทั้งสี่เรียงจากนอยไปมาก ขอใดถูกตอง


1. C < D < B < A 2. D < C < B < A
3. A < B < C < D 4. A < B < D < C

41. ธาตุใดมีคา IE1 ต่ำที่สุด


1. 4Be 2. 12Mg 3.20Ca 4.38Sr

42. ถาพลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 – 5 ของธาตุ A มีคาเทากับ 0.43 ,3.06 , 4.41 , 5.88 และ 7.98
kJ .mol–1 ตามลำดับ สัญลักษณนิวเคลียรของธาตุ A ในขอใดเปนไปได
23 14 38
ก. 11 A ข. 7 A ค. 19 A
1. ก เทานั้น 2. ข เทานั้น 3. ข และ ค 4. ก และ ค

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 59
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

43. อะตอมของธาตุ A B C และ D สมมุติดงั ในตารางธาตุ

ขอใดเรียงลำดับคา IE1 จากต่ำไปสูงไดถูกตอง


1. A < C < D < B 2. A < C < B < D
3. D < B < C < A 4. B < D < C < A

44. กำหนดคาไอออไนเซซัน( IE ) ของธาตุ เปน kJ/molดังนี้

ธาตุคูใดที่อยูในหมูที่ 3 และธาตุคูใดที่อยูในหมูที่ 2 ตามลำดับ


1. AB และ CD 2. AC และ DE
3. AC และ BD 4. AD และ BE

45. ตารางแสดงคาพลังงานไอออนไนเซซันของธาตุ 5 ธาตุ

ธาตุคูใดอยูในหมูเดียวกันในตารางธาตุ
1. R T 2. S T 3. P Q 4. R S

46. ถาพลังงานไอออไนเซชันของธาตุ X มีคาดังนี้


IE1= 0.6 MJ/mol IE2 = 1.1 MJ/mol IE3= 5.0 MJ/mol
IE4 = 6.5 MJ/mol
สัญลักษณนิวเคลียรของ X ควรเปนดังขอใด
1. 126 X 2. 2311 X 3. 27
13 X 4. 40
20 X

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 60
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

47. กำหนดใหเลขอะตอมของธาตุ X มีคาเทากับ 5 ผลตางของพลังงานไอออไนเซชันขอใดมีคามากที่สุด


1. IE5 – IE4 2. IE4 – IE3 3. IE3 – IE2 4. IE2– IE1
48. ธาตุ A, B, C, D มีเลขอะตอม 5, 9 , 12 และ 20 ตามลำดับ ธาตุใดมีคา IE2 สูงที่สุด
1. A 2. B 3. C 4. D

4. สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (Electron affinity)


Electron affinity (EA) คือพลังงานที่ปลดปลอยออกมาจากการรับอิเล็กตรอนของอะตอมธาตุแลวเกิดเปนแอน
ไอออน ณสถานะแกส

ธาตุที่มี EA สูง จะคายพลังงานออกมามากเมื่อรับอิเล็กตรอนเขาไป ทำใหเกิดไอออนลบที่มีความเสถียรมาก


ดังนั้นคา EA จึงใชทำนายความสามารถในการเปนไอออนลบ กลาวคือ ธาตุที่มี EA สูง จะสามารถเกิดเปนไอออนลบ
ไดงายกวาธาตุที่มี EA ต่ำ
F (g) + e- F(g) H = -328 kJ/mol EA = +328 kJ/mol

O (g) + e- O(g) H = -141 kJ/mol EA = +141 kJ/mol


ธาตุในหมูเดียวกันคา EAลดลงจากบนลงลาง เพราะธาตุขา งบนมีขนาดเล็กกวาธาตุขางลาง จึงมีแรง
ดึงดูดระหวางประจุบวกที่นิวเคลียสกับอิเล็กตรอนทีเ่ พิม่ เขาในอะตอมไดมากกวา ระยะทางจากนิวเคลียสถึงขอบเขต
ของอะตอมสั้นกวาอะตอมที่มีขนาดใหญที่อยูขางลางของหมู ธาตุขางบนรับอิเล็กตรอนไดดีกวาธาตุขางลาง EA
จึงมากกวา
ธาตุในคาบเดียวกันคา EA เพิ่มขึ้นจากซายไปขวาของตารางธาตุ เพราะธาตุทางขวามีขนาดเล็กกวาธาตุ
ทางซาย จึงรับ e- ไดดีกวา e- ที่เขามาใหมจะถูกดึงดูดดวย Nucleus ไดมากกวา EA จึงมากกวา

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 61
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

ตาราง แสดงคาสัมพรรคภาพอิเล็กตรอน
5. อิเล็กโตรเนกาติวิตี (Electronegativity)
อิเล็กโตรเนกาติวิตี้( Electronegativity ) เปนคาสมมติที่แสดงความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอนคู
รวมพันธะจาก Nucleus
 e- คูร วมพันธะของอะตอมที่มีขนาดเล็ก จะไดรบั แรงดึงดูดจาก Nucleus มาก
ดังนั้น EN สูง
 e- คูร วมพันธะของอะตอมที่มีขนาดใหญ จะไดรับแรงดึงดูดจาก Nucleus นอย
ดังนั้น EN ต่ำ
ธาตุหมูเดียวกัน คา EN จะลดลงจากบนลงลาง เพราะขนาดอะตอมใหญขึ้นทำใหนิวเคลียสมีโอกาส
ดึงดูดอิเล็กตรอนไดนอยกวาอะตอมทีม่ ีขนาดเล็ก EN จึงต่ำลง
ธาตุในคาบเดียวกันคา EN จะเพิ่มขึ้นจากซายไปขวาเพราะขนาดอะตอมเล็กลงทำใหไดรับแรงดึงดูดจาก
นิวเคลียสมากกวาอะตอมที่มีขนาดใหญ EN จึงสูงขึ้น
** ธาตุที่มีคา EN สูงสุดตามลำดับที่ควรจำ คือ F > O > Cl ≈ N > Br > I ≈ S ≈ C > H **

ตาราง แสดงคาอิเลคโทรเนกาติวิตี้
โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 62
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

สรุปแนวโนมสมบัติพิริออดิกของธาตุ

กำหนดขอมูลใหตอไปนี้ ตอบคำถามขอ 49 – 50

49. เมือ่ เปรียบเทียบสมบัติของธาตุ B และ C ขอใดกลาวไมถูกตอง


1. B มีขนาดอะตอมเล็กกวา C 2. B มีอิเล็กโทรเนกาทิวิตีนอยกวา C
3. B มีคาเวเลนซอิเล็กตรอนเทากับ C 4. B มีคาเวเลนซอิเล็กตรอนมากกวา A

50. กำหนดให A B C D E F และ G เปนธาตุสมมติในตารางธาตุดังนี้

A D F
B E
C ธาตุแทรนซิชัน G
การเปรียบเทียบขอใด ถูกตอง
1. ขนาดอะตอม A > B > C
2. ขนาดไอออน D2 > F > A
3. คาอิเล็กโทรเนกาติวิตีของ A > D > F
4. คาพลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 ของ D > F > G
51. ธาตุ A B และ C มีจำนวนโปรตอน 7 , 12 และ 15 ตามลำดับ การเปรียบเทียบสมบัติของธาตุ A , B และ C
ขอใดถูกตอง
1. ขนาดอะตอม : B > A > C 2. จุดเดือด : A > C > B
3. คา EN : A > C > B 4. คา IE1 : A > B > C

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 63
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

3. สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู

3.1 ปฏิกิริยาของธาตุและสารประกอบตามหมู
นักเรียนไดศึกษาสมบัติของธาตุในตารางธาตุ และสมบัติของสารประกอบของคาบที่ 2 และ 3 มาแลว
ตอไปนี้จะไดศึกษาสมบัติบางประการของธาตุและสารประกอบตามหมู โดยใชธาตุหมู IA, IIA และ VIIA เปนหลัก
ตาราง แสดงสมบัติบางประการของธาตุหมู IA
สมบัติ \ ธาตุ Li Na K Rb Cs
เลขอะตอม 3 11 19 37 55
การจัดเรียงอิเล็กตรอน 2,1 2, 8, 1 2, 8, 8, 1 2,8,18,8,1 2,8,18,18,8,1
มวลอะตอม 6.941 22.990 39.098 85.468 132.905
ไอโซโทปทีส่ ำคัญ 6 7
Li, Li Na 23 39 40
K, K, K41 85 87
Rb, Rb 133Cs

รัศมีอะตอม (pm) 152 186 227 248 265


IE1 (kJ/mol) 526 502 425 409 382
อิเล็กโทรเนกาติวิตี 0.98 0.92 0.82 0.82 0.79
อิเล็กตรอนอัฟฟนิตี(kJ/mol) 57 21 - - -
จุดหลอมเหลว ( C) 0 180 98 64 39 29
0
จุดเดือด( C) 1330 892 760 688 690
ความหนาแนน(g/cm ) 3 0.53 0.97 0.86 1.53 1.87
% โดยมวลที่พบบนโลก 0.0065 2.6 2.4 0.031 0.0007
สีของเปลวไฟ แดงสด เหลือง มวงน้ำเงิน มวงแดง น้ำเงิน
จากขอมูลในตารางและจากขอมูลอื่นๆ จะสรุปสมบัติทั่วๆ ไปของธาตุหมู IA ไดดังนี้
1. เปนธาตุที่มี 1 เวเลนตอเิ ล็กตรอน
2. เปนของแข็ง ยกเวน Cs เปนของเหลว แตจัดวาเปนประเภทโลหะออน สามารถตัดดวยมีดไดงาย ทำ
ใหเปนชิ้น แผน หรือดึงเปนเสนลวดไดงาย
3. เปนโลหะที่นำไฟฟาและนำความรอนไดดีมาก เพราะมีพนั ธะโลหะ
4. ความเปนโลหะเพิ่มขึ้น เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น
5. ทำปฏิกริ ิยากับน้ำ เกิดปฏิกริ ิยารุนแรง คายความรอนมาก และติดไฟไดไดสารละลายที่แสดงสมบัติเปน
เบส จึงเรียกวา โลหะแอลคาไล
เขียนสมการทั่วๆ ไป สำหรับแสดงปฏิกริ ิยากับน้ำไดดังนี้
2M + 2H2O  2MOH + H2
เชน
2Na + 2H2O  2NaOH + H2
2Li + 2H2O  2LiOH + H2
เนื่องจากเกิดปฏิกิริยากับน้ำไดงาย และยังสามารถทำปฏิกิริยากับ O2 ไดดวย ดังนั้นจึงตองเก็บโลหะแอล
คาไลในน้ำมัน
6. เปนธาตุที่ชอบใหอเิ ล็กตรอนแกธาตุอื่นๆ เรียกวา electropositive element แลวกลายเปนไอออนที่
ประจุ +1
7. รัศมีอะตอมและรัศมีไอออนเพิ่มขึ้น เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึน้

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 64
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

8. มีคา IE1 นอยที่สุด ในคาบเดียวกัน และคา IE1 จะลดลงเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น เพราะขนาดอะตอมใหญ


ขึ้น
9. มีคาอิเล็กโทรเนกาติวิตีนอย เมือ่ เทียบกับธาตุอื่นๆ ในคาบเดียวกัน และคาอิเล็กโทรเนกาติวิตีจะลดลง
เมื่อเลขอะตอมเพิม่ ขึ้น
10. เปนโลหะทีม่ ีจุดหลอมเหลวต่ำกวาโลหะอื่นๆ ในคาบเดียวกัน นอกจากนี้จุดหลอมเหลวและจุดเดือดจะ
ลดลงเมือ่ เลขอะตอมเพิ่มขึ้น เพราะความแรงของพันธะโลหะลดลง
11. เปนตัวรีดิวซที่ดีมาก โดยเฉพาะ Li เปนตัวรีดิวซที่ดที สี่ ุด
12. ความหนาแนนนอยกวาโลหะอื่นๆ ที่อยูในคาบเดียวกัน แตความหนาแนนมีแนวโนมเพิ่มขึ้น เมื่อเลข
อะตอมเพิ่มขึ้น
13. ทำปฏิกริ ิยากับธาตุตางๆ เกิดเปนสารประกอบไดงาย และเปนสารประกอบไอออนิก สารประกอบ
คลอไรด คารบอเนต ซัลเฟต ไนเตรต ฟอสเฟต โดยมีจุดหลอมเหลวสูงมาก (ดังตาราง 7.34)
14. สารประกอบของธาตุหมู IA ละลายน้ำไดดีมาก ดังแสดงในตารางที่ 7.35
15. เมื่อเผาสารประกอบของหมู IA จะไดเปลวไฟที่มีสีตางๆ กัน เชน Li มีสีแดงสด หรือแดงเลือดนก Na
ใหสีเหลือง K ใหสีมวงน้ำเงิน เปนตน

ตาราง แสดงจุดหลอมเหลวของสารประกอบของธาตุหมู IA บางชนิด

ธาตุ จุดหลอมเหลวของสารประกอบ (0C)


Cl- SO42- CO32- NO32- PO43-
Li 610 857 618 261 -
Na 801 884 854 310 1340
K 770 1074 897 338 1340
Rb 772 1060 837 305 -
Cs 645 1010 610* 414 -
* สลายตัวขณะหลอมเหลว

ตาราง แสดงการละลายของสารประกอบของธาตุหมู IA บางชนิด (25 0C)

ธาตุ การละลายของเกลือ (g/H2O 100 g)


เกลือ Cl- เกลือ CO32- เกลือ NO3- เกลือ SO42-
Li LiCl.H2O 85 Li2CO3 1.29 LiNO3.3H2O 85 Li2SO4.H2O 35
Na NaCl 36 Na2CO3.10H2O 2.94 NaNO3 92 Na2SO4.10H2O 28
K KCl 35 K2CO3. 2 H2O
3 112 KNO3 38 K2SO4 12
Rb RbCl 94 Rb2CO3 450 RbNO3 65 Rb2SO4 51
Cs CsCl 190 Cs2CO3 มาก CsNO3 27 Cs2SO4 182

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 65
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

สำหรับสมบัติของธาตุหมู IIA และสารประกอบของธาตุหมู IIA เปนดังนี้


ตาราง แสดงสมบัตบิ างประการของธาตุหมู IIA
สมบัติ \ ธาตุ Be Mg Ca Sr Ba
เลขอะตอม 4 12 20 38 56
การจัดเรียงอิเล็กตรอน 2,2 2, 8, 2 2, 8, 8, 2 2,8,18,8,2 2,8,18,18,8,2
รัศมีอะตอม (pm) 112 160 197 215 217
ความหนาแนน(g/cm ) 3 1.85 1.74 1.55 2.60 3.50
จุดหลอมเหลว ( C)0 1280 469 839 770 714
0
จุดเดือด( C) 2770 1110 1440 1380 1640
IE1 (kJ/mol) 906 744 596 556 509
อิเล็กโทรเนกาติวิตี 1.6 1.3 1.0 0.9 0.9
อิเล็กตรอนอัฟฟนิตี(kJ/mol) -66 -67 - - -
0
E (V) -1.85 -2.36 -2.87 -2.89 -2.90
ไอโซโทปทีส่ ำคัญ 9 Be 24 Mg 40Ca 86Sr , 87Sr 136Ba
25Mg 42Ca 88Sr , 89Sr 137Ba
26Mg 44Ca 138Ba

มวลอะตอม 9.012 24.312 40.08 87.62 137.34


% โดยมวลที่พบบนโลก 0.0006 1.9 3.4 0.030 0.025
สีของเปลวไฟ - - แดงอิฐ แดงเขม เขียว

สรุปสมบัติทั่วๆ ไปของธาตุหมู IIA ไดดังนี้


1. เปนธาตุที่มี 2 เวเลนตอิเล็กตรอน เมือ่ เปนไอออนจึงมีประจุเปน +2
2. เปนธาตุทจี่ ัดอยูในกลุมของโลหะ ความเปนโลหะเพิม่ มากขึ้นเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น
3. เปนโลหะที่นำความรอนและนำไฟฟาไดดี เพราะมีพันธะโลหะ
4. มีความหนาแนนมากกวาโลหะหมู IA ดังนั้นจึงมีความแข็งแรงมากกวาโลหะหมู IA และความหนาแนนมี
แนวโนมเพิ่มมากขึ้น เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น
5. รัศมีอะตอมเล็กกวาหมู IA และคอยๆ เพิ่มขึ้นเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น
6. จุดหลอมเหลวและจุดเดือดมีคาคอนขางสูง แตมีแนวโนมที่ลดลงเมื่อมวลอะตอมเพิม่ ขึ้น
7. IE1 มีคาคอนขางนอย (แตมากกวาหมู IA ในคาบเดียวกัน) และมีแนวโนมลดลงเมือ่ เลขอะตอมเพิ่มขึ้น
8. อิเล็กโทนเนกาติวิตีมีคานอย และมีคาลดลงเมื่อเลขอะตอมเพิม่ ขึ้น
9. เปนตัวรีดิวซที่ดี คา E0 มีคาลดลงตามลำดับเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น แสดงวาความสามารถในการเปนตัว
รีดิวซจะเพิ่มขึ้น เมื่อเลขอะตอมเพิม่ ขึ้น
10. ทำปฏิกิริยากับน้ำไดกาซ H2 และสารละลายแสดงสมบัติเปนเบส แตปฏิกริ ิยาไมรุนแรงเหมือนกับธาตุ
หมู IA เมือ่ เลขอะตอมเพิ่มขึ้น การทำปฏิกริ ิยากับน้ำจะเกิดไดเร็วขึ้น
เขียนสมการทั่วๆ ไปไดดังนี้
M + 2H2O  M(OH)2 + H2
เชน
Mg + 2H2O  Mg(OH)2 + H2
Ca + 2H2O  Ca(OH)2 + H2

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 66
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

11. เกิดเปนสารประกอบตางๆ ไดเชน คลอไรด ออกไซด ซัลไฟด ซัลเฟต เปนตน โดยมีสูตรและสมบัติ


ตางๆ คลายๆ กัน
12. สารประกอบของหมู IIA สวนมากเปนสารประกอบไอออนิก (ยกเวนสารประกอบของธาตุ Be เชน
BeCl2 , BeSO4 เปนสารประกอบโคเวเลนต ) ดังนั้นสวนมากจึงละลายน้ำได เชนเกลือไนเตรต เกลือคลอไรด
ละลายน้ำได แตเกลือคารบอนเนต เกลือซัลเฟต (ยกเวน MgSO4) และเกลือฟอสเฟต ละลายน้ำไดนอยมาก

13. เมื่อเผาสารประกอบของธาตุหมู IIA จะใหเปลวไฟสีตางๆ กัน เชน


สารประกอบของ ตัวอยาง สีของเปลวไฟ
Ca CaCO3 CaCl2 แดงเขม
Sr SrCO3 SrSO4 แดงเขม แดงเลือดนก
Ba BaCO3 BaSO4 เขียว
ตาราง แสดงการละลายที่ 250C ของสารประกอบของหมู IIA บางชนิด
ธาตุ การละลายของเกลือ (g/H2O 100 g)
เกลือ SO42- คาการละลาย เกลือ CO3 2- คาการละลาย
Mg MgSO4 0.36 MgCO3 1.3 x 10-4
Ca CaSO4 1.1 x 10-3 CaCO3 1.3 x 10-5
Sr SrSO4 6.2 x 10-5 SrCO3 7.0 x 10-6
Ba BaSO4 9.0 x 10-7 BaCO3 9.0 x 10-6
ตาราง แสดงสมบัติบางประการของธาตุหมู VIIA
สมบัติ \ ธาตุ F Cl Br I
เลขอะตอม 9 17 35 53
การจัดเรียงอิเล็กตรอน 2,7 2, 8, 7 2, 8, 8, 7 2,8,18,8,7
มวลอะตอม 18.998 35.453 79.909 126.904
รัศมีอะตอม (pm)* 71 99 144 133
จุดหลอมเหลว ( C)0 -220 -101 -7 114
0
จุดเดือด( C) -188 -34.5 59 184
ความหนาแนน(g/cm )** 3 1.51 1.56 3.12 4.93
IE1 (kJ/mol) 1687 1257 1146 1015
อิเล็กโทรเนกาติวิตี 4.0 3.0 2.8 2.5
อิเล็กตรอนอัฟฟนิตี(kJ/mol) 333 348 340 297
0
E (V) +2.87 +1.36 +1.09 +0.54
สถานะปกติ กาซ กาซ ของเหลว ของแข็ง
สี เหลืองออน เขียวออน น้ำตาลแดง มวงเขม
ไอโซโทปทีส่ ำคัญ 19 F 35 37
Cl, Cl 79 81
Br, Br 127I

% โดยมวลที่พบบนโลก 0.027 0.19 0.00016 0.00003


* หมายถึงรัศมีโคเวเลนต
** ความหนาแนนของ F2 , Cl2 ในสถานะของเหลว ถาเปนกาซจะเทากับ 0.00170 และ 0.00312 g/cm3
ตามลำดับ

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 67
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

สรุปสมบัติทั่วๆ ไปของธาตุหมู VIIA ไดดังนี้


1. เปนพวกอโลหะ มีเวเลนตอิเล็กตรอนเทากับ 7 สภาวะปกติ F2 และ Cl2 เปนกาซสีเหลืองออนและเขียว
ออนตามลำดับ Br2 เปนของเหลวสีน้ำตาลแดง และ I2 เปนของแข็งสีมวง ซึ่งสีของธาตุแฮโลเจนจะเขมขึ้น เมื่อเลข
อะตอมเพิ่มขึ้น ทุกตัวเปนสารพิษ
2. ความเปนอโลหะจะลดลงเมื่อเลขอะตอมเพิม่ ขึ้น หรือความเปนโลหะจะเพิม่ ขึ้นเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น
3. ธาตุแฮโลเจนทุกตัวอยูในสภาพโมเลกุลอะตอมคู (diatomic molecule) ทุกสถานะทัง้ ของแข็ง
ของเหลวและกาซ โดยยึดเหนี่ยวกันดวยพันธะโคเวเลนต
4. ไมนำความรอนและไฟฟาเพราะเปนอโลหะ
5. อะตอมมีขนาดเล็กเมือ่ เปรียบเทียบกับธาตุในคาบเดียวกัน แตมีขนาดใหญขึ้นเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น
6. ธาตุหมู VIIA ละลายในน้ำไดเล็กนอยและใหสีตางๆ กัน เนื่องจากเปนโมเลกุลไมมีขั้วจึงละลายไดดีในตัว
ทำละลายอินทรีย เชน ใน CCl4
Cl2 ใน CCl4 ไมมีสี
Br2 ใน CCl4 สีสม
I2 ใน CCl4 สีมวง
ซึ่งในตัวทำละลายดังกลาวนี้ธาตุหมู VIIA ทุกชนิดจะอยูในรูปของโมเลกุลอิสระเหมือนกับในสภาวะเปนกาซ
ในตัวทำละลายทีม่ ีขั้ว เชน H2O, C2H5OH , CH3COCH3 , ทั้ง Br2 และ I2 จะมีสีน้ำตาลแดง เนื่องจากเกิด
สารประกอบเชิงซอนขึ้น
7. ความหนาแนนนอย แตความหนาแนนจะเพิ่มขึ้นเมือ่ เลขอะตอมเพิ่มขึ้น
8. มีจุดหลอมเหลว จุดเดือดและความรอนแฝงของการเกิดไอต่ำ เนื่องจากมีแรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุล
(คือแรงวันเดอรวาลส) นอย แตจุดหลอมเหลว จุดเดือดและความรอนแฝงของการเกิดไอเพิ่มขึ้น เมื่อเลขอะตอม
เพิ่มขึ้น เพราะมีแรงวันเดอรวาลสเพิ่มขึ้น นอกจากนี้การระเหยของธาตุหมู VIIA จะคอยๆ ลดลงเมื่อเลขอะตอม
เพิ่มขึ้น เพราะแรงวันเดอรวาลสเพิ่มขึ้น
9. มีคาอิเล็กโทรเนกาติวิตีสงู ทีส่ ุด ในคาบเดียวกัน และคาอิเล็กโทรเนกาติวิตีจะคอยๆ ลดลงเมื่อเลข
อะตอมเพิ่มขึ้น
10. มี IE1 คอนขางสูง และคา IE1 จะคอยๆ ลดลงเมื่อเลขอะตอมเพิม่ ขึ้น เนื่องจากขนาดใหญขึ้น
11. มีเลขออกซิเดชันไดหลายคา เนื่องจากมี 7 เวเลนตอิเล็กตรอน ซึ่งสามารถจะใหหรือรับอิเล็กตรอน
จากธาตุอื่น หรือใชอิเล็กตรอนรวมกับธาตุอื่นๆ ซึ่งมีคาอิเล็กโทรเนกาติวิตีตางๆ กันได ทำใหมีเลขออกซิเดชันหลาย
คา เชน ตัวอยางของธาตุ Cl มีเลขออกซิเดชันตั้วแต -1 ถึง +7
12. เกิดสารประกอบไดหลายชนิด เชน NaCl CaF2 HF KI และยังเกิดสารประกอบที่มีธาตุองคประกอบ
ชนิดเดียวกันไดหลายชนิด เพราะมีเลขออกซิเดชันหลายคา
เชน NaClO NaClO2 NaClO3 NaClO4
Cl2O ClO2 ClO3 และ Cl2O7 เปนตน
13. ธาตุที่อยูตอนบนของหมู สามารถทำปฏิกริ ิยากับสารประกอบแฮไลดของธาตุทอี่ ยูตอนลางได แตธาตุ
อยูตอนลางจะไมทำปฏิกิริยากับสารประกอบแฮไลดของธาตุที่อยูตอนบน จึงสรุปไดวา “ความสามารถในการทำ
ปฏิกิริยาของธาตุหมู VIIA จะลดลงจากบนลงลาง” เชน

F2 ทำปฏิกิริยากับ NaCl ได แต Cl2 ไมทำปฏิกิริยากับ NaF


F2 + 2NaCl  2NaF + Cl2
Cl2 + NaF  ไมเกิดปฏิกิริยา

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 68
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

ธาตุอื่นๆ ก็เชนเดียวกัน
Cl2 + 2NaBr  2NaCl + Br2
Br2 + NaCl  ไมเกิดปฏิกิริยา

14. การเตรียมธาตุแฮโลเจนบางธาตุทำไดดังนี้
2KMnO4 + 16HCl (conc)  KCl + 2MnCl2 + 8H2O + 5Cl2
MnO2 + 4HCl (conc)  MnCl2 + 2H2O + Cl2
2NaBr + MnO2 + 3H2SO4 (conc)  2NaHSO4 + MnSO4 + 2H2O + Br2

15. ปฏิกิรยิ าที่สำคัญของสารประกอบแฮไลด เปนดังในตารางตอไปนี้

ตาราง ปฏิกิริยาของสารประกอบแฮไลด
เมื่อเติมสาร ผลที่สงั เกตได
F- (aq) Cl-
(aq) Br- (aq) I- (aq)
Pb(NO3)2 ตะกอนขาว ตะกอนขาว ตะกอนเหลือง ตะกอนเหลือง
PbF2 PbCl2 PbBr2 PbBr2
AgNO3 (aq) - ตะกอนขาว ตะกอนเหลือง ตะกอนเหลือง
AgCl ออน AgBr AgI
การละลายของ AgX ใน
โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 69
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

เมื่อเติมสาร ผลที่สงั เกตได


F-
(aq) Cl- (aq) Br- (aq) I- (aq)
ก. Dil. NH3 ละลาย ละลาย ไมละลาย ไมละลาย
ข. conc.NH3 ละลาย ละลาย ละลาย ละลาย
AgX เมื่อถูกแสง - AgCl กลายเปนสี AgBr กลายเปนสี -
มวงเทา เขียวเหลือง

ปฏิกิริยากับสารละลาย AgNO3 และ NH3 หรือแสงสวาง จัดไดวาเปนวิธีการทดสอบแฮไลดไอออน


F- (aq) ไมใหตะกอนกับ AgNO3 (aq)
-
Cl (aq) ใหตะกอนขาว AgCl ซึง่ เปลี่ยนเปนสีเทาเมือ่ ถูกแสงและละลายไดใน NH3 (aq)
Br- (aq) ใหตะกอนเหลืองออน AgBr ซึง่ เปลี่ยนเปนสีเขียว-เหลือง เมือ่ ถูกแสงและละลายได ใน NH3
เขมขน
I- (aq) ใหตะกอนเหลือง AgI ซึ่งไมเปลี่ยนสีเมื่อถูกแสงและไมละลายใน NH3
การละลายไดใน NH3 (aq) เพราะเกิดสารประกอบเชิงซอนที่ละลายได
AgCl (s) + 2NH3 (aq)  [Ag(NH3)2]+ (aq) + Cl- (aq)

3.2 ตำแหนงของไฮโดรเจนในตารางธาตุ
โดยทั่วๆ ไปการจัดธาตุใหอยูในหมูเดียวกันจะใชเวเลนตอิเล็กตรอนและสมบัติของธาตุเปนเกณฑ ถามี
เวเลนตอิเล็กตรอนเทากัน และมีสมบัติตางๆ คลายกันจะจัดวาอยูในหมูเดียวกัน
สำหรับ ไฮโดรเจนมี เลขอะตอมเท ากั บ หนึ่ ง เมื่ อพิ จารณาการจัด เรียงอิ เล็ ก ตรอน จะพบว ามี เวเลนต
อิเล็กตรอนเทากับ 1 และอยูในระดับพลังงานแรก ซึ่งถาใชเวเลนตอิเล็กตรอนเปนเกณฑควรจะจัดใหไฮโดรเจนอยูใน
หมู IA คาบ 1 ได แตอยางไรก็ตาม อาจจะพิจารณาวาอยูในหมู VIIA ไดเหมือนกัน เพราะยังขาดอิเล็กตรอน เพียง
1 ตัวจะมีการจัดอิเล็กตรอนเหมือน He เมื่อพิจารณาสมบัติบางประการของธาตุไฮโดรเจนเทียบกับสมบัติของธาตุ
หมู IA และหมู VIIA จะไดดังนี้

ตาราง สมบัติบางประการของไฮโดรเจนเทียบกับธาตุหมู IA และหมู VIIA


สมบัติ ไฮโดรเจน ธาตุหมู IA ธาตุหมู VIIA
เวเลนตอเิ ล็กตรอน 1 1 7
จำนวนอะตอมในโมเลกุล 2 ไมแนนอน 2
เลขออกซิเดชันในสารประกอบ -1, +1 +1 -1,+1, +3, +5, +7
การนำไฟฟาในสถานะของแข็ง ไมนำไฟฟา นำไฟฟา ไมนำไฟฟา
IE1 (kJ/mol) 1318 382-526 1015-1687
อิเล็กโทรเนกาติวิตี 2.1 1.0 - 0.7 4.2 - 2.2

จากตารางจเห็นไดวา ไฮโดรเจนมีสมบัตบิ างประการเหมือนธาตุหมู VIIA เชน มีเลขออกซิเดชันมากกวา


1 คา ไมนำไฟฟา มีคา IE1 และอิเล็กโทรเนกาติวิตีสูง ในขณะเดียวกันมีสมบัตบิ างประการเหมือนธาตุหมู IA เชน มี
เวเลนตอเิ ล็กตรอนเทากับ 1 การที่ไฮโดรเจนมีสมบัติบางประการคลายทั้งหมู IA และ VIIA จึงไดแยกไฮโดรเจนออก
จากหมูทั้งสอง ดังปรากฏอยูในตารางธาตุ

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 70
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

3.3 ธาตุแทรนซิชัน
หมายถึง กลุมธาตุซงึ่ อยูร ะหวางหมู IIA และหมู IIIA หรือธาตุที่อยูในเขต d และเขต f

รูป แสดงตำแหนงของกลุม ธาตุแทรนซิชันในตารางธาตุ


เขต s และ เขต p คือ ธาตุกลุม A เรียกวา ธาตุเรพพรีเซนเตทีฟ เขต d และ เขต f คือกลุม B เรียกวา
ธาตุแทรนซิชัน
โดยทั่วไปธาตุแทรนซิชันจะมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนใน d หรือใน f - orbital ไมเต็ม พวกที่มีอิเล็กตรอน
ใน d - orbital ไมเต็ม จัดวาเปนกลุมธาตุแทรนซิชันหลัก (main transition element) พวกที่มอี ิเล็กตรอนใน f -
orbital ไมเต็ม เรียกวา ธาตุอินเนอรแทรนซิชัน (inner transition element) สำหรับ Zn , Cd และ Hg แมวาจะมี
อิเล็กตรอนเต็มใน d - orbital ก็อนุโลมวาเปนธาตุแทรนซิชัน
ธาตุแทรนซิชันจัดเปนหมู และคาบแบบเดียวกับโลหะและอโลหะทั่วๆ ไป ธาตุแทรนซิชันทีม่ ีสมบัติ
คลายกันจะอยูในหมูเ ดียวกัน โดยแบงเปน 8 หมู คือหมูท ี่ IB ถึง VIIIB สำหรับหมู VIIIB มี 3 แถวในแนวดิ่ง ทำให
ธาตุแทรนซิชันมีทั้งหมด 10 แถวในแนวดิ่ง

รูปแสดง ตารางธาตุแสดงเฉพาะธาตุแทรนซิชัน

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 71
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

ธาตุแทรนซิชันแบงออกเปนคาบ โดยที่แตละคาบมีชื่อเรียกตางๆ กันดังนี้


1. อนุกรมแทรนซิชันที่ 1 (first transition series) คือ ธาตุแทรนซิชันแถวแรกตั้งแต Sc ถึง Cu (เลข
อะตอม 21 - 29 ) ธาตุเหลานีอ้ ิเล็กตรอนใน 3d - orbital ไมครบ
2. อนุกรมแทรนซิชันที่ 2 (second transition series) คือ ธาตุแทรนซิชันแถวที่ 2 ตั้งแตธาตุ Y ถึง Ag
(เลขอะตอม 39 - 47 ) ธาตุเหลานี้อิเล็กตรอนใน 4d - orbital ไมครบ
3. อนุกรมแทรนซิชันที่ 3 (third transition series) คือ ธาตุแทรนซิชันในแถวที่ 3 ตั้งแต La ถึง Au (เลข
อะตอม 57 - 79 ) ธาตุเหลานีอ้ ิเล็กตรอนใน 5d - orbital ไมครบ
4. อนุกรมแลนทาไนด (lanthanide series) คือธาตุอินเนอรแทรนซิชันตั้งแตธาตุ Ce ถึง Lu (เลขอะตอม
ตั้งแต 58 - 71) ธาตุเหลานี้มอี ิเล็กตรอนใน 4f - orbital ไมครบ
5. อนุกรมแอคติไนด (actinide series) คือ ธาตุอินเนอรแทรนซิชันตั้งแต Th ถึง Lr (เลขอะตอม 90 -
103) ธาตุเหลานี้มีอเิ ล็กตรอนใน 5f - orbital ไมครบ
สำหรับอนุกรมแลนทาไนดและแอคติไนด จัดอยูในสวนลางของตารางธาตุ แยกออกจากกลุมธาตุหลัก
ของแทรนซิชัน
ธาตุแทรนซิชันทั้งหมดรวมกันมีจำนวนมากกวาครึ่งหนึ่งของธาตุทั้งหมด บางธาตุไมมอี ยูในธรรมชาติแต
มนุษยสังเคราะหขึ้น (man made element) เชน ธาตุเลขอะตอมตั้งแต 93 - 103
บางธาตุเปนกัมมันตรังสี เชน Es, Am, Pu ธาตุแทรนซิชันทั้งหมดจัดวาเปนโลหะ เปนตัวนำไฟฟาและนำ
ความรอนที่ดี (Ag มีการนำความรอนและไฟฟาดีทสี่ ุด) เปนของแข็งทีม่ ีจุดหลอมเหลวสูง (W เปนธาตุทมี่ ีจุด
หลอมเหลวสูงสุดถึง 3400 0C )

3.3.1 สมบัตขิ องธาตุแทรนซิชัน


การที่ธาตุแทรนซิชันมีสมบัติแตกตางจากโลหะทั่วๆ ไป ทำใหตองแยกออกเปนกลุมๆ ตางหาก ลักษณะที่
สำคัญของธาตุแทรนซิชันเปนดังนี้
1. มีเลขออกซิเดชันมากกวา 1 คา ยกเวนหมู IIIB เชน Sc เปน +3 คาเดียว และหมู IIB (Zn, Cd) เปน
+2 คาเดียว
2. ธาตุแทรนซิชันเปนโลหะ จึงดึงดูดกับแมเหล็ก และมีบางธาตุ เชน Fe, Co, และ Ni สามารถแสดง
สมบัตเิ ปนแมเหล็กไดเมื่อนำไปวางไวในสนามแมเหล็กนานๆ นอกจากนี้ยงั มีสารประกอบของธาตุแทรนซิชันอีก
หลายชนิดทีส่ ามารถดูดกับแมเหล็กได
3. สารประกอบสวนใหญ มีสี (ยกเวนหมู IIIB) ซึ่งเปนสีของไอออนเชิงซอนของธาตุแทรนซิชัน
4. ธาตุแทรนซิชันมีแนวโนมที่จะเกิดสารประกอบเชิงซอนได
5. มีเวเลนตอเิ ล็กตรอนเทากับ 2 (ยกเวน Cr, และ Cu มีเวเลนตอิเล็กตรอนเทากับ 1) และอิเล็กตรอนถัด
จากวงนอกสุดไมครบ 18 (ยกเวน Cu และ Zn)
6. รัศมีอะตอมมีแนวโนมลดลงจากซายไปขวาของคาบ (หรือเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น รัศมีอะตอมจะเล็กลง)
ซึ่งเหมือนกับธาตุในคาบเดียวกันทั่วๆ ไป)
7. มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดคอนขางสูง เพราะมีพันธะโลหะ
8. ความหนาแนนเพิ่มขึ้น เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น เนื่องจากมวลเพิ่มขึ้นในขณะที่ขนาดเล็กลง
9. คา IE1 , IE2 , และ IE3 มีแนวโนมเพิ่มขึ้นเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น แตคาตางกันไมมากนัก เพราะขนาด
ใกลเคียงกัน
10. อิเล็กโทรเนกาติวิตีมีแนวโนมเพิ่มขึ้น เมื่อเลขอะตอมเพิม่ ขึ้น
11. เปนโลหะที่นำความรอนและนำไฟฟาไดดีเหมือนกับโลหะทั่วๆ ไป ทั้งนี้เพราะมีพันธะโลหะ

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 72
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

3.4 ธาตุกัมมันตรังสี (Radioactive element)


กัมมันตรังสี (radioactivity) หมายถึง ปรากฏการณที่ธาตุสามารถแผรงั สีไดเองอยางตอเนื่อง ปรากฏการณ
นี้เปนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นภายในนิวเคลียสของไอโซโทปที่ไมเสถียร
ธาตุกัมมันตรังสี หมายถึง ธาตุที่มสี มบัติในการแผรังสี สามารถแผรงั สีและกลายเปนอะตอมของธาตุอื่นได
ในป พ.ศ. 2439 อองตวน อองรี แบ็กเกอแรล (Antcine Henri Bacquerel) นักวิทยาศาสตรชาวฝรั่งเศส ได
พบวาแผนฟลมถายรูปที่มกี ระดาษดำหอหุม อยู และเก็บรวมกันไวกับสารประกอบของยูเรเนียม มีลกั ษณะเหมือนถูก
แสง จึงทำการทดสอบกับสารประกอบของยูเรเนียมชนิดอืน่ ๆ ก็พบวาใหผลการทดลองเชนเดียวกัน แบ็คเกอเรลจึง
สรุปเปนเบือ้ งตนวา มีการแผรังสีออกมาจากธาตุยูเรีเนียม ตอมาปแอร กูรี (Pierre Curie) และมารี กูรี (marie
Curie) นักวิทยาศาสตรชาวฝรั่งเศส ก็ไดพบวาธาตุอื่น ๆ เชน พลอโลเนียม (Po) เรเดียม (Ra) และทอเรียม (Th) ก็
สามารถแผรงั สีไดเชนเดียวกัน และลอรืด เออรเนสต รัทเทอรฟอรด (Lord Ernest Rutherford) นักวิทยาศาสตร
ชาวอังกฤษ ก็ไดคนพบเพิ่มเติมอีก และไดแสดงใหเห็นวารังสีที่แผออกมาจากสารกัมมันตรังสีอาจเปน รังสีแอลฟา
(  - ray ) รังสีเบตา (-ray) หรือรังสีแกรมมา (-ray)
รังสีดังกลาวมีสมบัติตางๆ กันดังนี้
 รังสีแอลฟา มีสญ ั ลักษณนิวเคลียรเปน 42 He บางครั้งอาจเรียกวา อนุภาคแอลฟา และใชสัญลักษณ
เปน 42 He
รังสีแอลฟาเปนนิวเคลียสของธาตุฮีเลียม ซึ่งประกอบดวย 2 โปรตอน และ 2 นิวตรอนจึงมีประจุไฟฟา
เปน +2 มีมวล 4.00276 amu รังสีแอลฟาอำนาจทะลุทะลวงต่ำ ไมสามารถทะลุผานแผนกระดาษ หรือโลหะบางๆ
ได และเนื่องจากมีประจุบวก เมื่ออยูในสนามไฟฟาจึงเบี่ยงเบนไปทางขั้วลบ เมือ่ วิ่งผานอากาศอาจจะทำใหอากาศ
แตกตัวเปนไอออนได
 รังสีบีตา บางครัง้ เรียกวาอนุภาคบีตา ใชสัญลักษณเปน  หรือ 01 e
รังสีบีตา มีสมบัติเหมือนอิเล็กตรอน คือ มีประจุไฟฟา -1 มีมวลเทากับ 0.000540 amu เทากับมวลของ
อิเล็กตรอน รังสีบีตามีอำนาจในการทะลุทะลวงสูงกวารังสีแอลฟาประมาณ 100 เทา มีความเร็วในการเคลื่อนที่
ใกลเคียงกับแสง เนื่องจากมีประจุลบจึงเบี่ยงเบนไปทางขั้วบวก เมื่ออยูในสนามไฟฟา
 รังสีแกมมา ใชสัญลักษณ 
รังสีแกมมาเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาทีม่ ีความยาวคลื่นสั้นมาก คือประมาณ 0.001-1.5 pm ไมมีมวลและไม
มีประจุ มีอำนาจทะลุทะลวงสูงสุด สามารถทะลุผานสิง่ กีดขวางไดเปนอยางดี ดังนั้นวัตุที่จะกั้นรังสีแกรมมาได
จะตองมีความหนาแนนและความหนามากพอที่จะกั้นรังสีได เนื่องจากไมมปี ระจุไฟฟา จึงไมเบี่ยงเบนในสนามไฟฟา
นอกจากรังสี 3 ชนิดดังกลาวแลว ยังอาจจะพบอนุภาคอื่น ๆ แผรังสีออกมาจากนิวเคลียสไดเชน
โพสิตรอน นิวตรอน และโปรตอน ซึง่ มีประจุและมวลเปรียบเทียบกับรังสีทั้ง 3 ชนิดดังในตารางตอไปนี้
ตารางแสดงประจุและมวลของอนุภาคชนิดตางๆ ที่เกิดจากการแผรังสี
อนุภาค สัญลักษณ ชนิดของประจุ มวล(amu)*
แอลฟา , 42 He +2 4.00276
บีตา , 01e -1 0.000540
แกรมมา 0 0
โพซิตรอน  +1 0.000540
  , 01 e
นิวตรอน 0 1.0087
โปรตอน 0 , n +1 1.0073
1n

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 73
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

อนุภาค สัญลักษณ ชนิดของประจุ มวล(amu)*


1H , P
1

* 1 amu = 1 atomic mass unit = 1.66 x 10-24 g.


ธาตุกัมมันตรังสีในธรรมชาติ
ธาตุตางๆ ที่พบในธรรมชาตินั้น ธาตุที่มีเลขอะตอมสูงกวา 83 ลวนแตแผรงั สีไดทงั้ สิ้น ตัวอยางเชน 238
92 U
, 23592 U , 90Th , 88 Ra และ 86 Rn ซึ่งอาจเขียนใหมเปน U-238, U-235, Th-232, Rn-222 และ Ra-
232 226 222

226
นอกจาก ธาตุกัมมันตรังสีในธรรมชาติแลว นักวิทยาศาสตรยังสามารถสังเคราะหธาตุกัมมันตรังสีขึ้นมาได
ซึ่งสามารถนำไปใชประโยชนในดานตางๆ ไดมากมาย
วิธีการสังเคราะหธาตุกัมมันตรังสี
วิธีการสังเคราะหวิธีหนึ่งคือ การยิงนิงเคลียสของไอโซโทปที่เสถียรดวยอนุภาคที่เหมาะสมและมีความเร็ว
สูง
รัทเทอรฟอรด เปนนักวิทยาศาสตรคนแรกที่คนพบวิธีการดังกลาว โดยยิงอนุภาคแอลฟาที่มีความเร็วสูง
ซึ่งไดจากธาตุกัมมันตรังสีในธรรมชาติ คือ 214 84 Po เขาไปที่นิวเคลียสนิวเคลียสของ 7 N ผลที่ไดคือ อนุภาคโปรตอน
14

และ 178 O ซึ่งเขียนสมการแสดงไดดังนี้


214 Po  4 He + 210 Pb
84 2 82
4 He + 14 N  8 O + 11 H
17
2 7
ในบางกรณีไอโซโทปทีส่ ังเคราะหขึ้น อาจจะสลายตัวตอไปไดอีก ตัวอยางเชน การยิงนิวเคลียสของ Mg-
24 ดวยอนุภาคแอลฟา จะได Al-28 ซึ่งไมเสถียร จะสลายตัวตอไปเปน Si-28 ซึ่งเปนไอโซโทปทีเ่ สถียรดังนี้
4 He
2 + 24
12 Mg  13 Al + 1 e
28 0

14 Si + 1 e
28 Al
13  28 0

การยิงอนุภาคแอลฟาไปที่นิวเคลียสของ B-10 จะได N-13 ซึ่งสลายตัวตอไปจนเปน 13C


4 He + 10 B  13 N + 1 n
2 5 7 0
13 N
7  6 + 1
13 C 0e

ธาตุกัมมันตรังสีสังเคราะหนำมาใชประโยชนได เชน 226 88 Ra ใชรักษาโรคมะเร็ง 27 Co ใชปรับปรุงพันธุ


60

พืช และ 131 53 I ใชในการศึกษาความผิดปกติของตอมไธรอยด เปนตน

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 74
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

3.4.1 การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี

การที่ธาตุ กัม มั นตรั งสีอ อกมาก็ เพราะวา นิ วเคลียสของธาตุไม เสถี ยร เนื่อ งจากมีพลังงานส วนเกินอยู
ภายใน ดังนั้น จึงจำเปนตองถายเทพลังงานสวนเกินนี้ออกไปเพื่อใหนิวเคลียส เสถียรในที่สุด พลังงานสวนที่เกิน ที่
ปลอยออกมานี้จะอยูในรูปของอนุภาคหรือรังสีตางๆ เชน รังสีแอลฟา บีตา และแกมมา
จากการศึกษาไอโซโทปของธาตุตางๆ จำนวนมากพบวา ไอโซโทปที่นิวเคลียสมีอัตราสวนระหวางจำนวน
นิวตรอนต อโปรตอนไม เหมาะสม คื อ มี นิ วตรอนมากกว า หรื อ น อ ยกว า โปรตอน มั กจะไม เสถี ยร ทำให มีก าร
เปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียสเปนนิวเคลียสใหมที่เสถียรกวา โดยการแผรังสีออกมาดังที่กลาวแลว นอกจากนี้ยัง
พบวาจำนวนโปรตอนและนิวตรอนที่เปนจำนวนคูหรือคี่ในนิวเคลียสนั้น มีความสัมพันธกับเสถียรภาพของนิวเคลียส

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 75
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

ดวย กลาวคือ ธาตุที่มีจำนวนโปรตอนและนิวตรอนเปนเลขคูจะเสถียรกวาธาตุที่มีจำนวนโปรตอนและนิวตรอนเปน


เลขคี่

การแผ รัง สี แอลฟา เกิ ดขึ้ นในกรณี ที่ ไอโซโทปนั้ นมี เลขอะตอมมากกว า 82 และนิ วเคลี ย สมี จ ำนวน
โปรตอนและนิวตรอนไมเหมาะสม ทำใหเกิดแรงผลักกันในนิวเคลียสมากกวาแรงยึดกัน นิวเคลียสจึงพยายามลด
จำนวนอนุภาคลงใหมากที่สุด เพื่อใหไดนิวเคลียสที่เสถียร ดังนั้นหลังจากการแผรังสีแอลฟา นิวเคลียสที่เกิดขึ้นใหม
จะมีเลขอะตอมลดลง 2 และเลขมวลลดลง 4 ดังตัวอยางตอไปนี้
80 Hg + 2 He
204 200 4
82 Pb 

90 U + 2 He
238 234 4
92 U 
226 Ra  222 Rn + 4 He
88 86 2

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 76
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

การแผรังสีบีตา เกิดขึ้นในกรณีที่นงิ เคลียสมีจำนวนนิวตรอนมากกวาโปรตอน จึงพยายามลดอัตราสวนระหวาง


นิวตรอนตอโปรตอน โดยนิวตรอนจะเปลี่ยนไปเปนโปรตอนและอิเล็กตรอน ทำใหเลขอะตอมเพิ่มขึ้น 1 แตเลขมวล
คงเดิม ดังตัวอยางเชน
83 Bi + 1 e
210 Pb
82  210 0

16 S + 1 e
32
15 P  32 0

การแผรังสีแกมมา
การแผรั งสี แกมมา มักจะเกิ ดขึ้น ในกรณี ที่ ไอโซโทปมี ก ารสลายตัวให รังสี แ อลฟาหรื อบีต าแล ว ยัง ได
นิวเคลียสใหมไมเสถียร ยังอยู ในสภาวะกระตุน มี พลังงานเกิน กวาปกติ เมื่ อกลับ สูสภาวะปกติ จึงปลอยพลั งงาน
สวนเกินออกมาในรูปของรังสีแกมมา ดังนั้นการแผรังสีแกมมาจึงไมท ำใหเลขมวลและเลขอะตอมเปลี่ยนแปลง ดัง
ตัวอยางเชน
226 Ra 222 Rn * + 4 He
88 86 2

222 Rn
86 + 

137 Cs
55
137 Ba
56 * + 0
1 e

137
56 Ba + 
(* หมายถึง อะตอมที่ไมเสถียร)
นอกจากนี้ ยังมี การแผ รังสี ให โพซิต รอน ซึ่ งเกิ ดขึ้ น เมื่ อนิวเคลี ยสมี โปรตอนมากกวา นิวตรอน ทำให ได
นิวเคลียสใหมที่มีโปรตอนลดลง 1 แตเลขมวลคงเดิม ดังในตัวอยางตอไปนี้
โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 77
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

12 N
7  126 C + 01 e
10 Ne + 1 e
22 Na  22 0
11
การแผรังสีที่กลาวมาแลว สรุปการเปลี่ยนแปลงในนิวเคลียสไดดังนี้
ตารางสรุปการแผรังสีของธาตุกัมมันตรังสี
การแผรังสี การเปลี่ยนแปลงในนิวเคลียส
ชนิด เลขมวล ประจุ เลขมวล เลขอะตอม
แอลฟา () 4 +2 ลดลง 4 ลดลง 2
บีตา () 0 -1 ไมเปลี่ยน เพิ่มขึ้น 1
แกมมา () 0 0 ไมเปลี่ยน ไมเปลี่ยน
โพซิตรอน (   ) 0 +1 ไมเปลี่ยน ลดลง 1

3.4.2 ปฏิกิริยานิวเคลียร
ปฏิกิริยานิวเคลียร คือ ปฏิกิริยาทีม่ ีการสลายตัวในนิวเคลียสใหรังสีแอลฟา บีตา หรือแกมมาดังที่กลาว
มาแลว ทำใหเกิดแรงนิวเคลียรมี 2 ปฏิกิริยา คือ ปฏิกิริยาฟชชั่น และปฏิกิริยาฟวชั่น
ปฏิกิริยาฟชชั่น (Fission) คือ ปฏิกิริยานิวเคลียรที่เกิดจากการใชอนุภาคนิวตรอนหรืออนุภาคอื่นยิงไปที่
นิวเคลียสของธาตุห นัก แล วทำใหนิวเคลี ยส แตกตั วเปนนิวเคลี ยสใหม ส องนิวเคลียสที่มีมวลใกล เคี ยงกันและมี
พลังงานยึดเหนี่ยวตอนิวคลีออนสูงกวานิวเคลียสของธาตุเดิม ขบวนการฟชชั่นที่เกิดขึ้นนี้จะมี นิวตรอนอิสระเกิดขึ้น
ดวย นิ วตรอนอิ สระนี้จ ะไปชนนิวเคลี ยสอื่ นของยูเรเนี ยมก็จะเกิดฟชชั่นตอ ไปเรียกว า “ปฏิ กิริ ยาลู กโซ ” ซึ่งเกิ ด
ตอเนื่องกันไปไมหยุดยั้งและ จะเกิดพลังงานมหาศาล
ปจจุบันนักวิทยาศาสตรสามารถควบคุมปฏิกิริยาลูกโซในฟชชันได และนำมาใชประโยชนทางสันติ เชน ใช
สรา งเตาปฏิ กรณ ปรมาณู เพื่ อผลิ ตไอโซโทปกัมมันตรังสี เพื่อใชในทางการแพทย การเกษตร และอุตสาหกรรม
ในขณะที่พลังงานที่ไดก็สามารถนำไปใชผลิตกระแสไฟฟาได
สรุปปฏิกิริยาฟชชัน คือ กระบวนการที่นิวเคลียสของธาตุหนักบางชนิด แตกตัวเปนไอโซโทปของธาตุ
ที่เบากวา เปนปฏิกิริยาลูกโซ

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 78
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

ปฏิกิริยาฟวชั่น (Fusion) ฟวชั่นคือปฏิกิริยานิวเคลียรซึ่งเกิดจากนิวเคลียสธาตุเบามา หลอมรวมกันเปน


นิวเคลี ยร ที่ ห นักกวา พร อมกั บ มีพลั งงานปล อยออกมาจำนวนมหาศาล และโดยทั่ วๆไปจะใหพลั งงานมากกว า
ปฏิกริ ิยาฟชชัน
พลังงานในปฏิกิริยาฟวชันถาควบคุมใหปลอยออกมาชาๆ จะเปนประโยชนตอมนุษยอยางมากมาย และมี
ขอไดเปรียบกวาปฏิกิริยาฟชชัน เพราะสารตั้งตนคือ ไอโซโทปของไฮโดรเจนนั้นหาไดงาย นอกจากนี้ผลิตภัณฑที่เกิด
จากฟวชั่นยังเปนธาตุกัมมันตรังสีที่มีอายุและอันตรายนอยกวา ซึ่งจัดเปนขอไดเปรียบในแงของสิ่งแวดลอม (เกิดเปน
แหลงพลังงานมหาศาลที่เปนประโยชนตอมนุษย)
ปฏิ กิ ริ ยาฟ วชั่ น บนดวงอาทิ ต ย แ ละดาวฤกษ จะมี พ ลั ง งานออกมาไม สิ้ น สุ ด เพราะการรวมตัว ของ
ไฮโดรเจน 4 อะตอม เกิดฮีเลียมและพลังงาน ปฏิกิริยาเชนนี้เกิดขึ้นมากมายบนดวงอาทิตย จึงไมนาประหลาดใจวา
เหตุใดใจกลางดวงอาทิตยจึงมีอุณหภูมิถึง 20,000,000 K (เคลวิน) การสรางปฏิกิริยาในหองปฏิบัติการสามารถทำได
เชน ระเบิดไฮโดรเจนเปนผลของปฏิกิริยาฟวชั่น มีพลังงานสูงกวาระเบิดนิวเคลียรมาก แตเรายังไมสามารถควบคุม
บังคับใหเกิดปฏิกิริยาตอเนื่องได

3.4.3 สมการนิวเคลียร
คือ สมการที่แสดงปฏิกิริยานิวเคลียร ซึ่งการดุลสมการนัน้ ตองพิจารณาทั้งเลขมวลและเลขอะตอมของ
สารทุกตัวในปฏิกิริยา กลาวคือ ผลรวมของเลขมวลและเลขอะตอมของสารตัง้ ตนจะตองเทากับผลิตภัณฑดังตัวอยาง
ตอไปนี้
90Th + 2 He
238 234 4
92 U 
210 Bi  210 Po + 0 e
83 84 1
22 Na  22 Ne + 0 e
11 10 1
9 Be
4 + 2  6 + 01 n
4 He 12 C

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 79
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

แบบฝกหัดสมการนิวเคลียร
1. → + … … … … … … ..

2. → + … … … … … ….

3. → + … … … … … ….

4. → + … … … … … ….

5. → + … … … … … ….

6. + → + … … … … … ….

7. → ……..+ → ……..+ → ……..+

เครื่องมือตรวจการแผรังสี
วิธีตรวจการแผรังสีทำไดงายๆ
1. ใชฟลมถายรูป โดยนำฟลมถายรูปมาหุมสารที่คิดวามีสารกัมมันตรังสีปนอยู เก็บในที่มืด เมื่อนำฟลมไป
ลาง ถาปรากฏวาเปนสีดำแสดงวามีการแผรังสี
2. ใขส ารเรืองแสง หรืออาจจะทำไดโดยนำสารที่จะทดสอบไปวางใกลส ารเรืองแสง ถามีก ารเรืองแสง
เกิดขึ้นแสดงวามีการแผรังสีเกิดขึ้น อยางไรก็ตามการตรวจอยางงายๆ ดังกลาวไมสามารถบอกปริมาณของรังสีได
3. ใชเครื่องมือ เรียกวา “ไกเกอรมูล เลอรเคานเตอร” (Geiger-Muller counter) ซึ่งประกอบดวยกระ
บอกรับรังสี และมิเตอรที่มีหนาปดบอกปริมาณรังสีได

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 80
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

ลักษณะของไกเกอรประกอบดวยกระบอกซึ่งบรรจุกาซอารกอนไว เมื่อนำไปวางไวในบริเวณที่มีการแผ
รังสี รังสีจะผานเขาทางชองดานหนาของกระบอก กระทบกับอะตอมของอารกอน ทำใหอิเล็กตรอนของอารกอน
หลุดออกไป กลายเปน Ar+ กอใหเกิดความตางศักยระหวาง Ar+ กับ e- ในหลอด ซึ่งจะแปลงคาความตางศักย
ออกมาเปนตัวเลขบนหนาปด คาที่ไดนี้จะมากหรือนอยก็ขนึ้ อยูกับชนิดของรังสี และความเขมขนของรังสีทจี่ ะทำให
Ar กลายเปน Ar+ ไดมากหรือนอย

ประโยชนจากการใชธาตุกัมมันตรังสี
1. ดานธรณีวิทยา การใชคารบอน-14 (C-14) คำนวณหาอายุของวัตถุโบราณ
2. ด า นการแพทย ใช ไอโอดี น -131 (I-131) ในการติ ด ตามเพื่ อ ศึ ก ษาความผิ ด ปกติ ข อง ต อ ม
ไธรอยด โคบอลต-60 (Co-60) และเรเดียม-226 (Ra-226) ใชรักษาโรคมะเร็ง
3. ดานเกษตรกรรม ใชฟอสฟอรัส 32 (P-32) ศึกษาความตองการปุยของพืช ปรับปรุงเมล็ดพันธุที่
ตองการและใชโพแทสเซียม-32 (K–32) ในการหาอัตราการดูดซึมของตนไม
4. ดานอุ ตสาหกรรม ใชธาตุกัมมันตรังสีตรวจหารอยตำหนิ เชน รอยร าวของโลหะหรื อท อ ขนส ง
ของเหลว ใชธาตุกัมมันตรังสีในการ ตรวจสอบและควบคุมความหนาของวัตถุ ใชรังสีฉายบนอัญมณีเพื่อใหมีสีสัน
สวยงาม
5. ดานการถนอมอาหาร ใชรังสีแกมมาของธาตุโคบอลต-60 (Co–60) ปริมาณที่พอเหมาะใชทำลาย
แบคทีเรียในอาหาร จึงชวยใหเก็บรักษาอาหารไวไดนานขึ้น
6. ดานพลังงาน มี การใชพลั งงานความรอนที่ได จากปฏิกิริยานิวเคลียรในเตาปฏิกรณป รมาณู ของ
ยูเรเนียม-238 (U-238) ตมน้ำใหกลายเปนไอ แลวผานไอน้ำไปหมุนกังหัน เพื่อผลิตกระแสไฟฟา

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 81
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

3.4.4 ครึ่งชีวิตของธาตุ (half life)


ครึ่งชีวิต (half life) ของสารกัมมันตรังสี หมายถึง ระยะเวลาทีส่ ารกัมมันตรังสีสลายตัวไปจนเหลือ
เพียงครึง่ หนึง่ ของปริมาณเดิม ใชสัญลักษณเปน t1/2
นิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีที่ไมเสถียร จะสลายตัวและแผรงั สีไดเองตลอดเวลาโดยไมขึ้นอยูกับอุณหภูมิ
หรือความดัน อัตราการสลายตัว จะเปนสัดสวนโดยตรงกับจำนวนอนุภาคในธาตุกัมมันตรังสีนั้น ปริมาณการ
สลายตัวจะบอกเปนครึ่งชีวิต โดยครึ่งชีวิติเปนสมบัติเฉพาะตัวของแตละไอโซโทป
ตัวอยางเชน C-14 มีครึ่งชีวิต 5730 ป หมายความวา ถามี C-14 1 กรัม เมื่อเวลาผานไป 5730 ป
จะเหลือ C-14 อยู 0.5 กรัม และเมื่อเวลาผานไปอีก 5730 ป จะเหลืออยู 0.25 กรัม เปนดังนี้ไปเรื่อยๆ กลาวไดวา
ทุกๆ 5730 ป จะเหลือ C-14 เพียงครึง่ หนึง่ ของปริมาณเดิม
ตารางครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสีบางชนิด
ธาตุกัมมันตรังสี ครึ่งชีวิต รังสีที่แผออก
214
84 Po
1.6 x 10-4 วินาที 
25 Na 1 วินาที 
11
94 1.4 วินาที 
36 Kr 118 วินาที 
15 O
8 40 ชั่วโมง 
140
57 La 8.1 วัน 
131 I
53
12.5 วัน 
140 5.3 ป 
56 Ba
60 Co
5730 ป 
27 4.5 x 109 ป 
14
6C
238 U
92

ครึ่งชีวิต อาจจะหาไดจากการทดลองโดยการตรวจวัดรังสีในชวงเวลาที่เหมาะสม แลวเขียนกราฟระหวาง


ปริมาณของรังสีกับเวลา

รูป การหาครึ่งชีวิตจากกราฟแสดงการสลายตัว
ชวงเวลาที่ปริมาณรังสีเปลี่ยนจาก 50% เหลือครึ่งหนึ่งคือ 25 % คือ 2 -1 = 1 หนวย-เวลา ดังนั้นครึง่
ชีวิตจากกราฟคือ 1 หนวยเวลา

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 82
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 83
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

แบบฝกหัดครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสี
1. ไอโอดีน-131 มีครึ่งชีวิต 8 วัน จำนวน 10 กรัม เมื่อเวลาผานไปกี่วัน จึงจะมีไอโอดีน-131 เหลือ 2.5 กรัม

2. ไอโซโทปกัมมันตรังสีชนิดหนึง่ จำนวน 20 กรัม เมื่อเวลาผานไป 2 ชั่วโมง ไอโซโทปนั้นเหลืออยู 1.25 กรัม


ครึ่งชีวิตของไอโซโทปนี้มีคาเทาใด

3. จากการทอลองพบวา เมื่อเวลาผานไป 120 วัน จะมีซีเซียม-137 เหลืออยู 300 กรัม ถาครึ่งชีวิตของ


ซีเซียม-137 เทากับ 30 วัน จงหาวาเมื่อเริ่มตนมีซเี ซียม-137 อยูเทาใด

4. จงหาปริมาณของ Tc-99 ที่เหลือเมือวาง Tc-99 จำนวน 18 กรัม ไวนาน 24 ชั่วโมง และ Tc-99 มีครึ่งชีวิต
6 ชั่วโมง

5. ถาทิ้งไอโซโทปกัมมันตรังสีชนิดหนึ่ง 20 กรัม ไวนาน 28 วัน ปรากฏวามีไอโซโทปนั้นเหลืออยู 1.25 กรัม


ครึ่งชีวิตของไอโซโทปนี้มีคาเทาใด

6. จงหาปริมาณ I-131 เริ่มตน เมือนำ I-131 จำนวนหนึง่ มาวางไวเปนเวลา 40.5 วัน ปรากฏวา มีมวลเหลือ
0.125 กรัม ครึ่งชีวิตของ I-131 เทากับ 8.1 กรัม

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู
ห น า | 84
บทที่ 2: อะตอมและสมบัติของธาตุ

3.4.5 ประโยชนของครึ่งชีวิต
ครึ่งชีวิตสามารถใชหาอายุของวัตถุโบราณที่มีธาตุคารบอนเปนองคประกอบ เรียกวา วิธี Radiocarbon
Dating ซึ่งคำวา dating หมายถึง การหาอายุจึงมักใชหาอายุของวัตถุโบราณที่มี
คุณคาทางประวิติศาสตร
หลักการที่สำคัญ ของการหาอายุวัตถุโบราณโดยวิธี Radiocarbon Dating เปนหลักการที่อาศัยความรู
เกี่ยวกับ กัมันตภาพรังสีที่เกิดขึ้นเองในอากาศ ตัวการที่สำคัญคือ รังสีคอสมิก ซึงอยูในบรรยากาศเหนือพื้นโลก มี
ความเขมสูงจนทำใหนิวเคลียสขององคประกอบของอากาศแตกตัวออก ใหอนุภาคนิวตรอน แลวอนุภาคนิวตรอนชน
กับไนโตรเจนในอากาศ ทำใหเกิดไอโซโทปของ C-14 ดังนี้
7 N + 0n  6 C + 1H
14 1 14 1

C-14 เป นไอโซโทปกั มมันตรังสี ให รังสีบี ตามี ครึ่งชีวิต 5730 ป ในบรรยากาศ คารบ อนทำปฏิกิริยากั บ
ออกซิเจน ไดเปน CO2 ซึ่งทำใหมีทั้ง 12CO2 และ 14CO2 ปนกัน เมื่อพืชนำไปใชในการสังเคราะหแสง C-14 จะอยู
ในพืชและเมื่อสัตวกินพืชเปนอาหาร C-14 ก็จะเขาไปอยูในรางกาย ในขณะที่พืชและสัตวมีชีวิต 14CO2 จะเขาไป
และขับออกมาอยูตลอดเวลา ทำใหมี C-14 ดวยสัดสวนคงที่แนนอน แตเมื่อสิ่งมีชีวิตตายลงการรับ C-14 ก็จะหยุด
ลง ปริ ม าณ C-14 ก็ จะลดลงเพราะเกิ ดการสลายตั วตั วตลอดเวลา ดัง นั้ นถ าทราบอั ต ราการสลายตัวของ C-14
ในขณะที่ยังมีชีวิตอยูและทราบอัตราการสลายตัวขณะนั้น ก็สามารถคำนวณอายุได

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


คุณครูวนิดา ศิริเขียว, คุณครูวิเชียร ปริญญธารา, คุณครูธัญกมล ศักดิ์สงู

You might also like