You are on page 1of 46

Chap4: ปฏิกิริยาเคมี

 การเปลี่ยนแปลงของสาร
การเปลี่ยนแปลงของสาร หมายถึง การที่สารมีสมบัติตา่ งไปจากเดิม แบ่งเป็ น 2 ประเภท

1.การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้ องกับสมบัติของสาร เช่น การเปลี่ยนสถานะ


การละลายการมีรูปร่างที่เปลี่ยนไป การแตกหัก หลังการเปลี่ยนแปลงสมบัติของสารยังคงเหมือนเดิม แต่สมบัติทางกายภาพ
เปลี่ยนแปลงไปเป็ นการเปลี่ยนแปลงแบบชัว่ คราวสามารถทากลับให้ เป็ นสารเดิมได้ ไม่อยาก เช่น สถานะ รูปร่าง ดังภาพแสดง
ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ

2. การเปลี่ยนแปลงทางเคมี หมายถึง การเปลีย่ นแปลงที่เกี่ยวข้ องกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี มีสารใหม่เกิดขึ ้น


โดยสารใหม่ที่เกิดขึ ้นมีองค์ประกอบและสมบัติทางเคมีแตกต่างจากสารเดิม เป็ นการเปลี่ยนแปลงแบบถาวรทาให้ กลับเป็ น
สารเดิมได้ ยาก เช่น การเกิดสนิม การเผาไหม้ การหมัก การเน่าเสีย
 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
o ความหมายของปฏิกริ ิยาเคมี (Chemical reaction)
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction) หมายถึง กระบวนการที่เกิดจากการที่สารเคมีเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้ วส่งผลให้
เกิดสารใหม่ขึ ้นมาซึง่ มีคณ
ุ สมบัติเปลี่ยนไปจากเดิม โดยมีสารเริ่ มต้ นปฏิกิริยาเรี ยกว่า "ตัวทาปฏิกิริยา" (reactant) ซึง่ จะมีเพียง
ตัวเดียวหรื อมากกว่า 1 ตัวก็ได้ มาเกิดปฏิกิริยากัน และ ทาให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงในคุณสมบัติทางเคมี ซึง่ ก่อตัวขึ ้นมาเป็ น
สารใหม่ที่เรี ยกว่า "ผลิตภัณฑ์" (product) ในที่สดุ สารผลิตภัณฑ์บางตัวอาจมีคณ ุ สมบัติทางเคมีที่ตา่ งจากสารตังต้
้ นเพียง
เล็กน้ อย แต่ในขณะเดียวกันสารผลิตภัณฑ์บางตัวอาจจะแตกต่างจากสารตังต้ ้ นโดยสิ ้นเชิง

สารตังต้
้ น +สารตังต้
้ น → ผลิตภัณฑ์

หลังจากการเกิดปฏิกิริยาเคมีอะตอมทังหมดของสารตั
้ งต้
้ นไม่มีการสูญหายไปไหนแต่เกิดการแลกเปลี่ยนจากสารหนึง่ ไปสูอ่ ีก
สารหนึง่ ซึง่ จะเห็นได้ จากผลรวมของอะตอมของสารตังต้
้ นจะเท่ากับผลรวมของอะตอมของผลิตภัณฑ์ ปฏิกิริยาเคมีมีขนตอน
ั้
ของการเปลี่ยนแปลงตามลาดับผังเหตุการณ์ ต่อไปนี ้
o การเกิดปฏิกริ ิยาเคมีของสาร
ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ ้นอยูร่ อบตัวของเรานันมี้ อยู่มากมายหลายประเภท และในปฏิกิริยาเคมีแต่ละประเภทก็จะมี อัตราเร็วใน
การเกิดปฏิกิริยาที่แตกต่างกัน โดยบางปฏิกิริยาอาจจะเกิดขึ ้นได้ อย่างรวดเร็วสามารถเห็นผลการเปลี่ยนแปลง ได้ อย่างชัดเจน
แต่ในบางปฏิกิริยาก็อาจจะเกิดขึ ้นอย่างช้ า ๆ ต้ องใช้ ระยะเวลานานจึงจะสังเกตเห็นผลของปฏิกิริยา ซึ่งการ เกิดปฏิกิริยาเคมี
ของสารจะเร็วหรื อช้ านัน้ เราสามารถอธิบายได้ โดยอาศัย ทฤษฎีการชนกัน (Collision Theory) ทฤษฎีการชนกัน กล่าวว่า
ปฏิกิริยาเคมีของสารจะเกิดขึ ้นได้ เมื่ออนุภาคของสารตังต้ ้ นเข้ ามาชนกัน แต่การชนกันของ อนุภาคของสารตังต้ ้ นแต่ละครัง้ ก็
ไม่ได้ ทาให้ เกิดปฏิกิริยาเคมีขึ ้นเสมอไป ซึง่ การชนกันของอนุภาคของสารตังต้ ้ นแล้ วจะก่อให้ เกิด ปฏิกิริยาเคมีหรื อไม่ จะต้ อง
ขึ ้นอยูก่ บั ปั จจัย 2 ข้ อ คือ ค่าพลังงานก่อกัมมันต์ และทิศทางการชนกันของอนุภาคของสารตังต้ ้ น ดังนี ้

1. ค่ าพลังงานก่ อกัมมันต์ (Activation Energy ; E) ค่าพลังงานก่อกัมมันต์ คือ พลังงานจานวนน้ อยที่สดุ ที่จะทาให้


สารตังต้
้ นสามารถเกิดปฏิกิริยาเคมีได้ โดยพลังงานก่อกัมมันต์จะมีผลต่อความยากง่ายในการเกิดปฏิกิริยาเคมี คือ
หาก เป็ นปฏิกิริยานันก็
้ จะไม่สามารถเกิดขึ ้นได้ จนกว่าสารจะได้ รับพลังงานเข้ ามาเพิ่มเติมจนมีพลังงานสูงกว่าค่า
พลังงานก่อกัมมันต์ ส่วนปฏิกิริยาเคมีที่มีคา่ พลังงานก่อกัมมันต์ต่า ปฏิกิริยาเคมีนนก็
ั ้ จะสามารถเกิดปฏิกิริยาได้ ง่าย
โดยไม่ต้องอาศัยพลังงานจาก แหล่งอื่นมาเพิ่มเติม

ความสัมพันธ์ระหว่างค่าพลังงานก่อกัมมันต์กบั การเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีลกั ษณะเหมือนการกลิ ้งก้ อนหินไปบนพื ้น


ซึง่ ถ้ า หากปฏิกิริยามีคา่ พลังงานก่อกัมมันต์ต่าก็เป็ นเหมือนพื ้นเรี ยบที่ไม่มีสิ่งกีดขวางใด ๆ เราสามารถกลิ ้งก้ อนหินให้ ผ่านไปได้
ง่าย แต่ ในกรณีที่ปฏิกิริยามีคา่ พลังงานก่อกัมมันต์สงู ก็เป็ นเหมือนพื ้นที่ไม่เรี ยบ มีเนิน หรื อสิ่งกีดขวางอยู่ จึงต้ องช่วยเข็นหรื อ
กลิ ้งก้ อนหิน ให้ พ้นจากสิ่งกีดขวางไปได้

2. ทิศทางการชนกันของอนุภาค การชนกันของอนุภาคของสารตังต้ ้ นสามารถทาให้ เกิดปฏิกิริยาเป็ น ผลิตภัณฑ์ชนิด


ใหม่ขึ ้นได้ เนื่องจากในการเกิดปฏิกิริยาเคมีอนุภาคของสารตังต้
้ นจะมีการชนกระแทกกัน ซึง่ ถ้ าหากอนุภาค ของสาร
มีพลังงานที่มากพอ (มากกว่าค่าพลังงานก่อกัมมันต์) และมีการชนกันในทิศทางที่เหมาะแล้ ว การชนกันนันก็ ้ จะ
สามารถ ทาลายแรงยึดเหนี่ยวที่อยูร่ ะหว่างอนุภาคของสารเดิมได้ หลังจากนันอนุ
้ ภาคก็จะมีการสร้ างพันธะกับ
อนุภาคอื่น ๆ เพื่อเกิดเป็ น ผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่

ทิศทางการชนกันของอนุภาคที่เหมาะสม คือ ทิศทางการชนที่ทาให้ อนุภาคอื่น ๆ เกิดเป็ นผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่ได้ ง่าย


ซึง่ ทิศทางการชนที่เหมาะสมนี ้จะมีความแตกต่างกันไปในสารแต่ละชนิดขึ ้นอยู่กบั ลักษณะรูปร่างโมเลกุลของสาร
o ชนิดและการเกิดของปฏิกริ ิยาเคมี
ปฏิกิริยาเคมีแบ่งออกได้ 5 ชนิด ได้ แก่

ข้ อสังเกตการเกิดปฏิกิริยา สารใหม่ที่เกิดขึ ้นในปฏิกิริยาเคมี สังเกตได้ ดงั นี ้

1. สี เช่น สารเดิมไม่มีสีเมื่อเกิดปฏิกิริยาเคมี จะมีสีใหม่เกิดขึ ้น (สารใหม่)


2. กลิ่น เช่น เกิดกลิ่นฉุน กลิน่ เหม็น กลิน่ หอม
3. ตะกอน เช่น สารละลายเลด (II) ไนเตรต และโพแทสเซียมไอโอไดด์ เป็ นของเหลวใส ไม่มีสี เมื่อผสมกันแล้ วเกิด
ตะกอนสีเหลือง
4. ฟองแก๊ ส เช่น กรดไฮโดรคลอริก ผสมกับหินปูนหรื อแคลเซียมคาร์ บอเนตเกิดฟองแก๊ สขึ ้น
5. เกิดการระเบิด หรื อเกิดประกายไฟ เช่น ใส่โลหะโซเดียมลงในน ้าจะเกิดประกายไฟขึ ้น
6. มีอณุ หภูมิเปลี่ยน ซึง่ สารโดยทัว่ ไปเมื่อเกิดปฏิกิริยาเคมีจะเกิดการเปลี่ยนแปลง พลังงาน ความร้ อนควบคูไ่ ปด้ วย
เสมอ
หมายเหตุการเปลี่ยนแปลงต่ อไปนีเ้ กิดปฏิกริ ิยาเคมีแน่ นอน
1. การสันดาป หมายถึง การที่สารทาปฏิกิริยากับแก็สออกซิเจน
2. การหมัก เช่น การหมักแป้งเป็ นน ้าตาล
3. กระบวนการเมตาบอลิซมึ (metbolism - ปฏิกิริยาในสิง่ มีชีวิต) เช่น การย่อยอาหาร การหายใจ เป็ นต้ น
4. การถลุงแร่ การเกิดสนิม ปฏิกิริยาในแบตเตอรี่
20
ชุดที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี

แบบฝึ กหัดที่ 1 กำรเปลีย่ นแปลงของสำรและกำรเกิดปฏิกริ ิยำเคมี บัตรบันทึก


คำชี้แจง : ให้ นักเรียนร่ วมกันอภิปรำยและตอบคำถำมต่ อไปนี้
คำถำม
1.ให้นกั เรี ยนเขียนแผนภาพการเปรี ยบเทียบความแตกต่างระหว่างการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพกับการ
เปลี่ยนแปลงทางเคมี

2. จงยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพ และการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของสารที่นกั เรี ยนเคยพบ


ในชีวิตประจาวันมาอย่างละ 3 ตัวอย่าง
กำรเปลีย่ นแปลงสมบัติทำงกำยภำพ กำรเปลีย่ นแปลงสมบัติทำงเคมี
1 1
2 2
3 3

3.การเกิดปฏิกิริยาเคมีคืออะไร
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ วิชาวิทยาศาสตร์ 3
เรือ่ ง ปฏิกริ ยิ าเคมี สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท ี่ 2
21
ชุดที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของสารกับการเกิดปฏิ กิริยาเคมี

4.เมื่อเกิดปฏิกิริยาเคมีจะสังเกตได้จากสิ่ งใดบ้าง
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
5. ให้นกั เรี ยนวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงในตารางแล้วระบุวา่ มีปฏิกิริยาเกิดขึ้นหรื อไม่ โดยทาเครื่ องหมาย √ ใน
ตารางพร้อมอธิบายทั้งเหตุผล

กำรเปลีย่ นแปลง ผลกำรวิเครำะห์ เหตุผล


เกิดปฏิกริ ิยำ ไม่ เกิดปฏิกริ ิยำ
1.การลุกไหม้ของเทียนไข
2.ข้าวบูด
3. นาข้าวไปตากแห้งแล้วนามาใส่ น้ าร้อน
4.รั้วสังกะสี เกิดสนิม
5.บีบน้ ามะนาวลงในน้ าอัญชันเปลี่ยนสี จากม่วง
เป็ นสี แดง
6.หยดสี น้ าเงินลงในน้ าได้สารละลายสี ฟ้า

7.ใส่ น้ าส้มสายชูลงในถ้วยที่มีเปลือกไข่มีฟอง
แก๊สเกิดขึ้น

8.ผสมสารละลายเกลือแกงกับสารละลาย
ซิลเวอร์ไนเตรต มีตะกอนขุน่ ขาวเกิดขึ้น

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ วิชาวิทยาศาสตร์ 3
เรือ่ ง ปฏิกริ ยิ าเคมี สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท ี่ 2
23
ชุดที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี

บัตรคำถำมที่ 1 ตอบ

กำรสุ กของผลไม้ เป็ นกำรเปลีย่ นแปลงประเภทใด

บัตรคำถำมที่ 2 ตอบ

กำรสั นดำปคือกำรที่สำรทำปฏิกริ ิยำกับสิ่ งใด

บัตรคำถำมที่ 3 ตอบ

ยกตัวอย่ ำงเมแทบอลิซึมหรื อปฏิกริ ิยำเคมีในสิ่ งมีชีวติ

บัตรคำถำมที่ 4 ตอบ

กำรเปลีย่ นแปลงใดทำให้ กลับคืนสู่ สภำพเดิมได้ ยำก

บัตรคำถำมที่ 5 ตอบ

กำรที่นักเรียนเคีย้ วข้ ำวแล้วมีรสหวำนเป็ นปฏิกริ ิยำเคมีหรื อไม่

บัตรคำถำมที่ 6 ตอบ

เมื่อเผำโพแทสเซียมเปอร์ แมงกำเนตแล้วจะเปลีย่ นสี เป็ นสี อะไร

บัตรคำถำมที่ 7 ตอบ

กำรเผำไหม้ ของกระดำษได้ สำรใหม่ คืออะไร

บัตรคำถำมที่ 8 ตอบ

เมื่อนำนำ้ ส้ มสำยชู ใส่ ลงในผงฟูจะเกิดสิ่ งใด

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ วิชาวิทยาศาสตร์ 3
เรือ่ ง ปฏิกริ ยิ าเคมี สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท ี่ 2
24
ชุดที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี

บัตรคำถำมที่ 9 ตอบ

กำรเปลีย่ นแปลงใดทำให้ กลับคืนสู่ สภำพเดิมได้ ง่ำย

บัตรคำถำมที่ 10 ตอบ

ยกตัวอย่ ำงปฏิกริ ิยำเคมีในชีวติ ประจำวันมำ 1 ชนิด

บัตรคำถำมที่ 11 ตอบ

นำ้ กลำยเป็ นไอเป็ นกำรเป็ นกำรเปลีย่ นแปลงทำงกำยภำพอย่ ำงไร

บัตรคำถำมที่ 12 ตอบ

กำรแยกนำ้ ด้ วยไฟฟ้ำ ได้ แก๊สชนิดใดบ้ ำง

บัตรคำถำมที่ 13 ตอบ

เมื่อนำเกร็ดกรดซิตริกใส่ ลงในโซเดียมไฮโดรเจนคำร์ บอเนต


อุณหภูมิจะเกิดกำรเปลีย่ นแปลงอย่ ำงไร

บัตรคำถำมที่ 14 ตอบ

กำรจุดพลุนอกจำกทำให้ เกิดปฏิกริ ิยำเคมีแล้วได้ สำรใหม่ ยังทำให้


เกิดสิ่ งใดเพิม่ มำด้ วย

บัตรคำถำมที่ 15 ตอบ

สำรละลำยโพแทสเซียมไอโอไดด์ + สำรละลำยเลดIIไนเตรตเกิด
กำรเปลีย่ นแปลงอย่ ำงไร

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ วิชาวิทยาศาสตร์ 3
เรือ่ ง ปฏิกริ ยิ าเคมี สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท ี่ 2
25
ชุดที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของสารกับการเกิดปฏิ กิริยาเคมี

บัตรคำถำมที่ 16 ตอบ

กำรสั งเครำะห์ แสงของพืชเป็ นกำรเปลีย่ นแปลงประเภทใด

บัตรคำถำมที่ 17 ตอบ

องค์ ประกอบของสำรเปลีย่ นไปจำกเดิมคือกำรเปลีย่ นแปลงใด

บัตรคำถำมที่ 18 ตอบ

มีวิธีกำรสั งเกตอย่ ำงไรว่ ำเกิดสำรใหม่

บัตรคำถำมที่ 19 ตอบ

แก๊สทีเ่ กิดจำกกำรทำปฏิกริ ิยำของผงฟูกบั นำ้ สมสำยชู คือแก๊สใด

บัตรคำถำมที่ 20 ตอบ

แก็สที่ได้ จำกกำรเผำไหม้ คือแก๊สใด

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ วิชาวิทยาศาสตร์ 3
เรือ่ ง ปฏิกริ ยิ าเคมี สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท ี่ 2
27
ชุดที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของสารกับการเกิดปฏิ กิริยาเคมี

คำชี้แจง : .ให้ นักเรียนเลือกคำตอบทีถ่ ูกต้ องทีส่ ุ ดเพียงข้ อเดียวและทำเครื่ องหมำย X ลงในกระดำษคำตอบ

1.ข้อใดไม่ใช่การเกิดปฏิกิริยาเคมี
ก. กินยาลดกรดเพื่อลดความเจ็บปวดจากโรคกระเพราะอาหาร
ข. ใช้ยาล้างห้องน้ า ทาความสะอาดพื้นห้องน้ า
ค. การเผาแก๊สบนเตาหุงต้ม
ง. การทานาเกลือ
2. เมื่อเรานาโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต (KMnO4) ไปเผาจะเกิดการเปลี่ยนแปลงในลักษณะใด
ก. เปลี่ยนจากสี ม่วงเป็ นสี น้ าเงิน
ข. เปลี่ยนจากสี ม่วงเป็ นสี เขียวเข้ม
ค. เปลี่ยนจากสี ม่วงเป็ นสี ดา
ง. ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
3.จากการเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้
1. แนฟทาลีน (ของแข็ง) แนฟทาลีน (แก๊ส)
2. แก๊สไฮโดรเจน + แก็สออกซิเจน น้ า
3. แก๊สไนโตรเจน + แก็สไฮโดรเจน แก๊สแอมโมเนีย
ข้อใดจัดเป็ นการเปลี่ยนแปลงทางเคมีบา้ ง
ก. 1 และ 2 ข. 2 และ 3
ค. 1 และ 3 ง. 1 2 และ 3
4. การเปลี่ยนแปลงมะม่วงดิบกลายเป็ นมะม่วงสุ ก ที่จดั เป็ นการเปลี่ยนแปลงเคมี เพราะอะไร
ก. เกิดจากการเปลี่ยนแปลงเนื้อมะม่วงเปลี่ยนจากแข็งเป็ นนุ่ม
ข. เกิดจากการเปลี่ยนแปลงรสเปรี้ ยวเป็ นรสหวาน
ค. เกิดจากการเปลี่ยนสี เขียวเป็ นสี เหลือง
ง. ทั้งข้อ ก ข และ ค
5. ข้อใดจัดเป็ นการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
ก. เทกรดลงในหิ นปูนแล้วเกิดฟองแก็ส
ข. พืชนาออกซิเจนไปใช้ในการหายใจ
ค. พืชได้รับแสงสว่างแล้วนาไปสร้างอาหาร
ง. การรวมเป็ นเนื้อเดียวกันของตัวทาละลายและตัวถูกละลาย

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ วิชาวิทยาศาสตร์ 3
เรือ่ ง ปฏิกริ ยิ าเคมี สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท ี่ 2
28
ชุดที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี

6. ข้อใดคือความหมายของปฏิกิริยาเคมี
ก. กระบวนการที่เกิดจากสารเคมีเพียงชนิดเดียวเท่านั้น
ข. กระบวนการที่เกิดจากสารเคมีแต่สารนั้นยังคงสภาพเดิม
ค. กระบวนการที่เกิดจากสารเคมีเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้วได้สารใหม่ข้ ึนมา
ง. กระบวนการที่เกิดจากสารเคมีเกิดการเปลี่ยนแปลงแต่มีคุณสมบัติเหมือนเดิม
7.เมื่อมีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น จะสามารถสังเกตการเปลี่ยนแปลงได้หลายอย่าง ยกเว้นข้อใด
ก. เกิดฟองแก๊ส
ข. เกิดตะกอน
ค. สารมีปริ มาณเพิม่ ขึ้น
ง. สารเปลี่ยนสี
8.น้ าเกิดจาการทาปฏิกิริยากันของแก๊สชนิดใด
ก. แก๊สออกซิเจนกับแก๊สไฮโดรเจน
ข.แก๊สไนโตรเจนกับแก๊สไฮโดรเจน
ค. แก๊สออกซิเจนและแก๊สไนโตรเจน
ง. แก๊สไนโตรเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
9. การที่น้ ากลายเป็ นไอจัดเป็ นการเปลี่ยนแปลงของสารในข้อใด
ก. การเปลี่ยนแปลงทางเคมี เพราะเปลี่ยนสถานะ
ข. การเปลี่ยนแปลงทางเคมี เพระเกิดสารใหม่
ค. การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เพราะเปลี่ยนสถานะ
ง. การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เพระเกิดสารใหม่
10. ข้อใดแสดงว่ามีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น
ก. มีตะกอนและแก๊สเกิดขึ้น
ข. สถานะเปลี่ยนและสารมีสีเปลี่ยน
ค. สถานะเปลี่ยนและผลิตภัณฑ์เปลี่ยนกลับเป็ นสารเดิมได้
ง. มีตะกอนเกิดขึ้นและผลิตภัณฑ์เปลี่ยนกลับเป็ นสารเดิมได้

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ วิชาวิทยาศาสตร์ 3
เรือ่ ง ปฏิกริ ยิ าเคมี สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท ี่ 2
o พลังงานกับการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี
ในการเกิดปฏิกิริยาของสารแต่ละปฏิกิริยานัน้ ต้ องมีพลังงานเข้ ามาเกี่ยวข้ องกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2 ขันตอน
้ ดังนี ้

ขันที
้ ่1 เป็ นขันที
้ ่ดดู พลังงานเข้ าไปเพื่อสลายพันธะในสารตังต้
้ น

ขันที
้ ่2 เป็ นขันที
้ ่คายพลังงานออกมาเมื่อมีการสร้ างพันธะในผลิตภัณฑ์

ในการเกิดปฏิกิริยาเคมีนอกจากมีผลิตภัณฑ์ที่เป็ นสารใหม่เกิดขึ ้นแล้ วจะมีพลังงานเกี่ยวข้ องด้ วยเสมอ เช่น การเผาไหม้ ของ


เชื ้อเพลิงมักจะให้ พลังงานความร้ อน พลังงานแสงหรื อพลังงานชนิดอื่นเป็ นผลพลอยได้ การเผาผลาญอาหารในร่างกายของ
เราก็มีพลังงานเกิดขึ ้น เราจึงสามารถนาพลังงานจากการเผาผลาญอาหารมาใช้ ในการดารงชีวิต เป็ นต้ น

การเปลี่ยนแปลงพลังงานในการเกิดปฏิกิริยาเคมี มี 2 ประเภท คือ

1. ปฏิกิริยาดูดความร้ อน (Endothermic reaction)เป็ นปฏิกิริยาที่ดดู พลังงานเข้ าไปสลายพันธะมากกว่าที่ คายออกมา


เพื่อสร้ างพันธะ โดยในปฏิกิริยาดูดความร้ อนนี ้สารตังต้
้ นจะมีพลังงานต่ากว่าผลิตภัณฑ์ จึงทาให้ สิ่งแวดล้ อมเย็นลง
อุณหภูมิลดลง เมื่อเอามือสัมผัสภาชนะจะรู้สกึ เย็น ดังภาพ

2. ปฏิกิริยาคายความร้ อน (Exothermic reaction) เป็ นปฏิกิริยาที่ดดู พลังงานเข้ าไปสลายพันธะน้ อยกว่าที่คาย ออกมา


เพื่อสร้ างพันธะ โดยในปฏิกิริยาคายความร้ อนนี ้สารตังต้ ้ นจะมีพลังงานสูงกว่าผลิตภัณฑ์ จึงให้ พลังงานความร้ อน
ออกมา สูส่ ิ่งแวดล้ อมทาให้ อณ
ุ หภูมิสงู ขึ ้นเมื่อเอามือมาสัมผัสภาชนะจะรู้สกึ ร้ อน ดังภาพ
 ระบบและการเปลี่ยนแปลง
สารต่างๆ ที่พบในชีวิตประจาวันมีสมบัติหลายประการ การที่สมบัติสารแตกต่างไปจากเดิม ซึง่ อาจเกิดขึ ้นเองตาม
ธรรมชาติหรื ออาจเกิดจากการกระทาอย่างใดอย่างหนึง่ แสดงว่ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ ้น เมื่อสารเกิดการเปลี่ยนแปลงจะมี
พลังงานเข้ ามาเกี่ยวข้ องด้ วยเสมอ ในการศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของสาร จะต้ องมีการกาหนดขอบเขตสิ่งที่ต้องการ
ศึกษา เพื่อให้ เกิดความชัดเจนในการศึกษา ดังนี ้

ระบบ (system) หมายถึง สิ่งที่อยูภ่ ายในขอบเขตที่ต้องการศึกษา การกาหนดองค์ประกอบของระบบ ขึ ้นอยูก่ บั


จุดมุง่ หมายของการศึกษา ซึง่ ต้ องกาหนดหรื อระบุให้ ชดั เจน

สิ่งแวดล้ อม (environment) หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่อยูน่ อกขอบเขตที่ต้องการศึกษา ตัวอย่างการกาหนดองค์ประกอบ


ของระบบ เช่น การศึกษาการละลายของน้ าตาลทรายในน้ า โดยสารละลาย น ้าตาลทรายจะเป็ นระบบ ส่วนบีกเกอร์ ภาชนะ
และแท่งแก้ วจัดเป็ นสิ่งแวดล้ อม

o การเปลี่ยนแปลงพลังงานของระบบ
การเปลี่ยนแปลงพลังงานของระบบเป็ นการถ่ายเทพลังงานระหว่างระบบกับสิง่ แวดล้ อม เมื่อระบบเกิดการ
เปลี่ยนแปลงในลักษณะใดลักษณะหนึง่ จะมีพลังงานเกี่ยวข้ องด้ วยเสมอ ซึง่ ระบบอาจมีพลังงานเพิ่มขึ ้นหรื อลดลง เพื่อให้ ระบบ
มีพลังงานสมดุลกับสิง่ แวดล้ อม การเปลี่ยนแปลงพลังงานของระบบมี 2 ประเภทดังนี ้

1.ระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงประเภทคายความร้ อน คือ ระบบที่เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้ ว ระบบจะถ่ายเทความ


ร้ อนให้ แก่สงิ่ แวดล้ อม ทาให้ สิ่งแวดล้ อมร้ อนขึ ้น

2. ระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดความร้ อน คือ ระบบที่เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้ ว ระบบจะดูดความร้ อนจะ


สิ่งแวดล้ อมทาให้ สิ่งแวดล้ อมนันเย็
้ นลง

o ประเภทของระบบ
การเปลี่ยนแปลงพลังงานระหว่างระบบและสิ่งแวดล้ อม จะใช้ การถ่ายเทมวลของสารเป็ นเกณฑ์ในการแบ่งประเภท
ของระบบ ดังนี ้

1. ระบบเปิ ด (open system) หมายถึง ระบบที่มีการแลกเปลี่ยนหรื อถ่ายโอนทัง้


พลังงานและมวลให้ กบั สิง่ แวดล้ อม หรื อมวลของระบบไม่คงที่เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลง เช่น
การต้ มน้ าในภาชนะเปิ ดบนเตาไฟ ระบบคือ ภาชนะเปิ ดที่มีน้าบรรจุอยูเ่ ตาไฟและอากาศที่
ล้ อมรอบทังหมด ้ คือ สิ่งแวดล้ อม ระบบที่มีการรับความร้ อนจากเตาไฟและคายความร้ อน
ให้ กบั สิง่ แวดล้ อม (มีการแลกเปลี่ยนหรื อถ่ายโอนพลังงาน) เมื่อชัง่ น้ าหนักของภาชนะกับน้ า
ก่อนการต้ มและหลังการต้ มจะไม่เท่ากัน (มวลของระบบไม่คงที่)
2. ระบบปิ ด (close system) หมายถึง ระบบที่ไม่มีการถ่ายเทมวลให้ กบั
สิ่งแวดล้ อม แต่มีการแลกเปลี่ยนหรื อถ่ายโอนพลังงานกับสิ่งแวดล้ อม หรื อมวลของระบบ
คงที่เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลง เช่น การต้ มน้ าในภาชนะปิ ดบนเตาไฟ ระบบคือภาชนะที่มี
น้ าบรรจุอยูภ่ ายใน ส่วนเตาไฟและอากาศที่ ล้ อมรอบทังหมดเป็
้ นสิ่งแวดล้ อม ระบบจะรับ
ความร้ อนจากเตาไฟแล้ วกลายเป็ นไอคายพลังงานให้ กบั สิง่ แวดล้ อม (มีการแลกเปลี่ยน
หรื อถ่ายโอนพลังงาน) เมื่อชัง่ น้ าหนักของภาชนะที่บรรจุน้าก่อนการต้ ม และหลังการต้ มใน
ภาชนะปิ ดจะเท่ากัน (มวลของระบบคงที่)

3. ระบบโดดเดี่ยว (Isolate system) หมายถึง ระบบที่ไม่มีการถ่ายเทมวลและ พลังงานให้ กบั สิง่ แวดล้ อม เช่นน้ า
ร้ อนในกระติกน้ าร้ อน
25
00

บัตรใบงานที่ 1
เรื่องระบบและการเปลี่ยนแปลง

1. การเกิดปฏิกิริยาเคมี มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานหรือไม่ อย่างไร


……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
2. เมื่อจุ่มมือลงในน้าเย็น นักเรียนจะรู้สึกเช่นไร เพราะเหตุใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
3. จงยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงแบบดูดพลังงานและคายพลังงาน มาอย่างละ 2 ตัวอย่าง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
4. จงอธิบายว่าเหตุใดการระเหยของเหงื่อจึงทาให้นักเรียนรู้สึกเย็น
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
5. “กฎทรงมวล” ได้กล่าวไว้ว่าอย่างไร จงอธิบาย
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
27
00

แบบทดสอบหลังเรียน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 1 เรื่องระบบและการเปลี่ยนแปลง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
จานวน 10 ข้อ เวลา 10 นาที

คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย (X) ลงในกระดาษคาตอบ

ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 1-3

โซดาไฟ (NaOH) น้า (H2O) สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์

ภาพที่ 10 ภาพแสดงสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ในน้า
ที่มา: อุปกรณ์วิทย์การ์ตูน. (online). https://www.google.co.th/search?q=อุปกรณ์วิทย์การ์ตูน&source.
สืบค้นวันที่ 1 มิถุนายน 2559.

ในการศึกษาสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ในน้า พบว่าระบบมีอุณหภูมิสูงขึ้นจาก 30
องศาเซลเซียส เป็น 40 องศาเซลเซียส

1. จากการศึกษาดังกล่าว ข้อใดจัดเป็นระบบ
ก. โซเดียมไฮดรอกไซด์
ข. บีกเกอร์และเทอร์โมมิเตอร์
ค. ถ้วยกระเบื้องและโซเดียมไฮดรอกไซด์
ง. โซเดียมไฮดรอกไซด์และน้า
2. จากการศึกษา สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ในน้า ข้อใดจัดเป็นสิ่งแวดล้อม
ก. โซเดียมไฮดรอกไซด์
ข. โซเดียมไฮดรอกไซด์และน้า
ค. บีกเกอร์และเทอร์โมมิเตอร์
ง. ถ้วยกระเบื้องและโซเดียมไฮดรอกไซด์
28

3. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ เป็นการเปลี่ยนแปลงพลังงานของระบบแบบใด
ก. การเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบคายความร้อน
ข. การเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบดูดความร้อน
ค. การเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบโดดเดี่ยว
ง. การเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบลดอุณหภูมิ
4. ปฏิกิริยาเคมีที่มีการถ่ายเทพลังงานจากสิ่งแวดล้อมสู่ระบบ เรียกว่าอะไร
ก. ปฏิกิริยาคายความร้อน
ข. ปฏิกิริยาดูดความร้อน
ค. ปฏิกิริยาออกซิเดชัน
ง. ปฏิกิริยาการเผาไหม้
5. ระบบที่มีการถ่ายเทมวลและพลังงานความร้อน จัดเป็นระบบแบบใด
ก. ระบบเปิด
ข. ระบบปิด
ค. ระบบโดดเดี่ยว
ง. ระบบปิดและเปิด
6. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงในระบบปิด
ก. การหายใจ
ข. การเผาไหม้ของเชื้อเพลิง
ค. การละลายเกลือในน้า
ง. การใส่โลหะลงในสารละลายกรดแล้วเกิดแก๊ส
7. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงในระบบเปิด
ก. การเผากระดาษ
ข. การละลายเหลือในน้า
ค. การละลายน้าตาลในน้า
ง. การเกิดปฏิกิริยาระหว่างสารละลายกรดไฮโดรคลอริกกับหินปูน
8. การเปลี่ยนแปลงแบบใด เป็นไปตามกฎทรงมวล
ก. มวลของสารก่อนทาปฏิกิริยาน้อยกว่ามวลของสารหลังทาปฏิกิริยา
ข. มวลของสารก่อนทาปฏิกิริยามากกว่ามวลของสารหลังทาปฏิกิริยา
ค. มวลของสารก่อนทาปฏิกิริยาไม่เท่ามวลของสารหลังทาปฏิกิริยา
ง. มวลของสารก่อนทาปฏิกิริยาเท่ามวลของสารหลังทาปฏิกิริยา
29

9. การเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบคายความร้อน เป็นแบบใด
ก. ไม่มีการถ่ายเทพลังงานจากระบบสู่สิ่งแวดล้อม
ข. เป็นการถ่ายเทพลังงานจากระบบสิ่งแวดล้อมสู่ระบบ
ค. เป็นการถ่ายเทพลังงานจากระบบไปสู่สิ่งแวดล้อม
ง. เป็นการถ่ายเทพลังงานภายในระบบ
10. ข้อความใดเกี่ยวกับปฏิกิริยาดูดความร้อน
ก. ต้องใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา
ข. ระบบหลังการเปลี่ยนแปลงมีอุณหภูมิต่าลง
ค. ตอนเริ่มปฏิกิริยาไม่ต้องให้พลังงานเข้าไป
ง. สารตั้งต้นมีพลังงานมากกว่ากว่าสารผลิตภัณฑ์
 กฎทรงมวล
ในปฏิกิริยาเคมีใด ๆ มวลของสารทังหมดก่
้ อนทาปฏิกิริยา จะเท่ากับมวลของสาร ทังหมดหลั
้ งทาปฏิกิริยา”

มวลของสารก่ อนทาปฏิกริ ิยา หมายถึง มวลของสารทังหมดตอนเริ


้ ่มต้ นของปฏิกิริยา มวลของสารเหล่านี ้อาจจะทา ปฏิกิริยา
พอดีกนั หรื ออาจจะมีสารใดเหลืออยูก่ ็ได้

มวลของสารหลังทาปฏิกริ ิยา หมายถึง มวลของสารทังหมดหลั ้ งจากเกิดปฏิกิริยาแล้ ว ทังมวลของผลิ


้ ตภัณฑ์ ทังหมด
้ และ
มวลของสารตังต้ ้ นที่ยงั เหลืออยู่ ตัวอย่างเช่น เมื่อผสมโพแทสเซียมไอโอไดด์กบั เลด(II)ไนเตรตเข้ าด้ วยกัน จะพบว่ามีปฏิกิริยา
เกิดขึ ้น เกิดตะกอนของ เลด(II)ไอโอไดด์ และอุณหภูมิของระบบเปลี่ยนแปลง

เมื่อนาของผสมหลังปฏิกิริยาทังหมดไปชั
้ ง่ พบว่ามวลเท่ากับมวลของ โพแทสเซียมไอโอไดด์กบั เลด(II)ไอโอไดด์ก่อนผสม
กัน แสดงว่ามวลของสารทังหมดก่
้ อนและหลังทาปฏิกิริยาเท่ากัน เป็ นไปตาม กฎทรงมวล และเนื่องจากไม่มีการถ่ายเทมวล แต่
มีการถ่ายเทพลังงานระหว่างระบบกับสิง่ แวดล้ อม จึงจัดว่าเป็ นระบบปิ ด

ตัวอย่ างเช่ น

เมื่อผสมโพแทสเซียมไอโอไดด์ กับ เลด (II) ไนเตรต เข้ าด้ วยกัน จะพบว่ามีปฏิกิริยาเกิดขึ ้น เกิดตะกอนของเลด (II) ไอ
โอไดด์ และอุณหภูมิของระบบเปลี่ยนแปลง เมื่อนาของผสมหลังปฏิกิริยาทังหมดไปชั
้ ง่ พบว่ามวลเท่ากับมวลของโพแทสเซียม
ไอโอไดด์ กับ เลด(II) ไอโอไดด์ ก่อนผสมกัน แสดงว่ามวลของสารทังหมดก่้ อนและหลังทาปฏิกิริยาเท่ากัน เป็ นไปตามกฎทรง
มวล และเนื่องจากไม่มีการถ่ายเทมวล แต่มีการถ่ายเทพลังงานระหว่างระบบกับสิง่ แวดล้ อม จึงจัดว่าเป็ นระบบปิ ด
1. สาร ก 2 กรัม เกิดปฏิกิริยากับสาร ข พบว่าใช้ สาร ข 3 กรัม จะรวมกันพอดี ได้ สาร ค ชนิดเดียว...........................
กรัม ตามกฎทรงมวล

2. สาร X รวมพอดีกบั สาร Y 10 กรัม เกิดสาร Z อย่างเดียว 15 กรัม และมีสาร X เหลือ 5 กรัม ตามกฎทรงมวล สาร X ที่
รวมพอดีกบั สาร Y หนัก............................กรัม

3. เมื่อนาสาร A 1.66 กรัม มาละลายน ้าจนหมด แล้ วเติมสาร B ลงไป 1.65 กรัม ปรากฏว่าทาปฏิกิริยากันพอดี ได้ สาร
C และ D ถ้ าหยดสาร D 1.10 กรัม จะเกิดสาร C กี่กรัม ตามกฎทรงมวล

4. นาก๊ าซไฮโดรเจน 2 กรัมกับก๊ าซออกซิเจน 9 กรัม มาทาปฏิกิริยากัน เมื่อสิ ้นสุดปฏิกิริยาเกิดน ้า 10 กรัม ตามกฎทรง
มวลจะเหลือก๊ าซไฮโดรเจนกี่กรัม
5. อยากทราบว่าจะต้ องใช้ สาร X กี่กรัมจึงจะทาปฏิกิริยาพอดีกบั สาร Y 0.6 กรัม เกิดเป็ นสารประกอบ XY ชนิดเดียว
1.0 กรัม ถ้ าต้ องการเกิดปฏิกิริยานี ้เป็ นไปตามกฎทรงมวล

6. ใช้ ธาตุทองแดง 4.9 กรัม รวมพอดีกบั กามะถัน 2.5 กรัม เกิดเป็ นสารประกอบคอปเปอร์ (II)ซัลไฟด์ กี่กรัม ตามกฏทรง
มวล

7. นาธาตุแมกนีเซียมมา 9 กรัม จะรวมพอดีกบั ธาตุออกซิเจนกี่กรัมจึงจะเกิดแมกนีเซียมออกไซด์ 15 กรัม

8. โลหะโซเดียม 3 กรัม ทาปฏิกิริยากับก๊ าซคลอรี น 3.55 กรัม ได้ โซเดียมคลอไรด์ 5.85 กรัม จะมีโลหะโซเดียมเหลือกี่
กรัม
9. นาโลหะทองแดงมา 6.3 กรัม เผารวมกับธาตุกามะถัน 3.2 กรัม จะได้ สารประกอบคอปเปอร์ (II) ซัลไฟด์กี่กรัม
 สมการเคมี
สมการเคมีเป็ นสัญลักษณ์ที่เขียนแทนด้ วยตัวอักษรและสูตรโมเลกุลที่เป็ นตัวแทนของธาตุในสารประกอบ เพื่อแสดงการ
เกิดปฏิกิริยาเคมี ซึง่ บอกถึงปริ มาณของสารตังต้
้ นที่ใช้ ทาปฏิกิริยากัน และปริ มาณของผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ ้นหลังจากเกิดปฏิกิริยา

สมการเคมีประกอบด้ วย

 สารตังต้
้ น(reactants) คือสารที่ทาปฏิกิริยากันตอนต้ น ถ้ ามีมากกว่า 1 สาร ให้ เขียนเครื่ องหมาย (+) คันระหว่
้ างสาร
แล้ วเขียนแทนด้ วยสูตรเคมี
 ผลิตภัณฑ์ (product) คือสารที่เกิดหลังจากปฏิกิริยากัน ถ้ าหากเกิดมากกว่า 1 สาร ก็ให้ เขียนเครื่ องหมาย (+) แล้ ว
เขียนแทนด้ วยสูตรเคมี
 เงื่อนไข เป็ นภาวะต่างๆที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี เช่น อุณหภูมิ ตัวเร่งปฏิกิริยา เป็ นต้ น โดยเขียนบอกไว้ บนหรื อ
ล่างลูกศรที่คนั่ อยูร่ ะหว่างสารตังต้
้ นกับผลิตภัณฑ์ แต่หากอยูใ่ นภาวะปกติก็ไม่จาเป็ นต้ องเขียนก็ได้

o หลักการเขียนสมการเคมี
1. เขียนสูตรเคมีหรื อสัญลักษณ์ของสารตังต้
้ นแต่ละชนิด
2. หาว่าในปฏิกิริยาเคมีนนเกิ
ั ้ ดสารผลิตภัณฑ์ใดขึ ้นบ้ างและเขียนสูตรเคมีของสารผลิตภัณฑ์
3. ให้ ระบุสถานะของสารไว้ หลังสูตร โดยเขียนไว้ ในวงเล็บ

(s) = ของแข็ง (solid)


(l) = ของเหลว (liquid)
(g) = แก๊ ส (gas)
(aq) = สารละลาย (aqueous solution)

สมการเคมีที่สมบูรณ์จะต้ องมีตวั เลขที่เหมาะสมมาเติมลงข้ างหน้ าสูตรเคมีหรื อสัญลักษณ์ของสารในสมการ เพื่อให้


จานวนอะตอมของแต่ละธาตุในสารตังต้ ้ นเท่ากับจานวนอะตอมของแต่ละธาตุในผลิตภัณฑ์ ซึง่ เราเรี ยกว่า "การดุลสมการ"

o หลักการดุลสมการ
1. ทาจานวนอะตอมของธาตุตา่ ง ๆ ในโมเลกุลใหญ่ที่สดุ ให้ เท่ากันก่อน หลังจากนันจึ ้ งดุลอะตอมของธาตุที่เล็กลง
ตามลาดับ
2. หากปฏิกิริยามีกลุม่ อะตอมหรื อโมเลกุลให้ ดลุ เป็ นกลุม่ ก่อน จากนันค่
้ อยดุลธาตุอิสระ
3. วางสัมประสิทธิ์หน้ าสมการเคมีหรื อตัวเลขไว้ หน้ าอะตอมหรื อโมเลกุล แล้ วนับจานวนแต่ละข้ างให้ เท่ากัน
4. บางกรณีอาจจะต้ องทาจานวนอะตอมของธาตุทงั ้ 2 ข้ างของสมการให้ เป็ นเลขคู่ก่อน เพื่อจะได้ ดลุ สมการได้ สะดวก
5. ตรวจสอบความถูกต้ อง
ตัวอย่างการดุลสมการ

Fe(s) + O2→ Fe2O3(g)

วิธีคิด
1.ดุล Fe ที่ด้านซ้ ายมี 1 อะตอมกับด้ านขวาที่มี 2 อะตอม โดยใส่สมั ประสิทธิ์ด้านซ้ ายเป็ น 2
2Fe(s) + O2(g)→ Fe2O3(g)
3
2.ดุล O2 ด้ วยสัมประสิทธิ์
2
3
2Fe(s) + O2(g) → Fe2O3(g)
2
3.ทาให้ เป็ นเลขจานวนเต็มโดย ×2 ทัง้ 2 ข้ างของสมการ
3
2[2Fe(s) + O2(g)]→ 2[Fe2O3(g)]
2
4.สมการสุดท้ ายคือ
4Fe(s) + 3O2(g)→ 2Fe2O3(g)

สรุปสาระสาคัญ

สมการเคมี คือกลุม่ สัญลักษณ์ที่เขียนแทนการเกิดปฏิกิริยาเคมี ประกอบด้ วยสารตังต้


้ น ผลิตภัณฑ์ และเงื่อนไข

สมการเคมีสามารถบอกถึงปริ มาณของสารตังต้
้ นที่ใช้ ทาปฏิกิริยากัน และปริมาณของผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ ้น
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาโจทย์คานวณเคมี ชุดที่ 1 ปฏิกิริยาและสมการเคมี 10

แบบฝึกทักษะที่ 1.1
เรื่อง การเขียนสมการเคมี

จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถเขียนสมการเคมีจากข้อมูลที่กาหนดให้ได้
10 นาที

คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนสมการเคมี ตามข้อมูลที่กาหนดให้


ตัวอย่าง
1. กามะถันทาปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจนเกิดเป็นแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์
ตอบ S(s) + O2(g) SO2(g)
2. Potassium hydroxide + Sulfuric acid Potassium sulphate + Water
ตอบ KOH(aq) + H2SO4 (aq) K2SO4(aq) + H2O(l)

1. แก๊สบิวเทน (C4H8) เกิดปฏิกิริยาเผาไหม้อย่างสมบูรณ์


ตอบ...................................................................................................................................................

2. จงเขียนปฏิกิริยาการเกิดกรดคาร์บอนิกในน้าอัดลมหรือน้าโซดา
ตอบ...................................................................................................................................................

3. เมื่อกินยาลดกรดชนิดที่มีแมกนีเซียมไฮดรอกไซด์ จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นใน
กระเพาะอาหาร
ตอบ...................................................................................................................................................

4. Carbon dioxide + Water  Glucose + Oxygen


ตอบ...................................................................................................................................................

5. Sodium hydrogen carbonate ----> Sodium carbonate + Water + Carbon dioxide


ตอบ...................................................................................................................................................

วิชาเคมี 2 ว30222 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเดชะปัตตนยานุกูล


แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาโจทย์คานวณเคมี ชุดที่ 1 ปฏิกิริยาและสมการเคมี 14

แบบฝึกทักษะที่ 1.2
เรื่อง ตรวจสอบการดุลสมการเคมี
10 นาที
จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถดุลสมการเคมีได้

คาชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์สมการทีก่ าหนด แล้วพิจารณาว่าสมการเคมีใดดุลได้ถูกต้อง


โดยทาเครื่องหมาย หน้าข้อที่ดลุ สมการถูกและ หน้าข้อที่ดุลสมการผิด

ตัวอย่าง  ก. 4FeO(s) + O2(g) 2 Fe2O3(s)


 ข. 2Al(s) + 2 FeO(s) Al2O3 (s) + Fe(s)

1. N2O5(g) + H2O(l)  HNO3(aq)


2. C6H6(g) + O2(g)  CO2(g) + H2O(g)
3. (NH4)2Cr2O7(s)  N2 (g) + Cr2O3(s) + 4H2O(g)
4. PCl5(s) + 4H2O(l)  H3PO4(aq) + 5HCl(aq)
5. 2HNO3(aq) + Mg(s)  Mg(NO3)2(aq) + H2(g)
6. Na2CO3(s) + 2HCl(aq)  2NaCl(aq) + H2O(l) + CO2(g)
7. C6H12O6(s) + 6O2(g)  6CO2(g) + 6H2O(g)
8. Al(OH)3(s) + 3HNO3 (aq)  Al(NO3)3(aq) + 3H2O(l)
9. NCl3(l) + 6H2O(l)  NH3(g) + 3HOCl(g)
10. 2FeO(s) + O2(g)  Fe2O3(g) สรุป คะแนนแบบฝึกทักษะที่ 1.2

10

วิชาเคมี 2 ว30222 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเดชะปัตตนยานุกูล


แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาโจทย์คานวณเคมี ชุดที่ 1 ปฏิกิริยาและสมการเคมี 15

แบบฝึกทักษะที่ 1.3
เรื่อง การดุลสมการเคมี
10 นาที
จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถดุลสมการเคมีได้

คาชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์สมการที่กาหนด แล้วพิจารณาเติมตัวเลขสัมประสิทธิ์


หน้าสูตรเคมีเพื่อดุลสมการเคมีให้ถูกต้อง

ตัวอย่าง C9H20(l) + 14 O2(g) 9 CO2(g) + 10 H2O(g)

1. …….KrF2(s) + …….H2O(l)  …….Kr(g) + …….O2(g) + …….HF(g)

2. …….CO2(g) + …….KOH(aq)  …….K2CO3(aq) + …….H2O(l)

3. …….NaHCO3(aq)  …….Na2CO3(aq) + …….H2O(l) + …….CO2(g)

4. …….Zn(s) + …….NaOH(aq)  …….Na2ZnO2(s) + …….H2(g)

5. …….NCl3(s) + …….H2O(l)  …….NH3(g) + …….HOCl(g)

6. …….Na2CO3(aq) + …….C(s) + …….N2(g)  …….NaCN(aq) + …….CO(g)

7. …….PCl5(l) + …….H2O(l)  …….H3PO4(aq) + …….HCl(aq) ไม่ยากเลย


เกณฑ์การให้คะแนน - นักเรียนตอบถูกช่องว่างละ 1 คะแนน สู้ๆ ครับ
- นักเรียนตอบผิด ได้ 0 คะแนน
สรุป คะแนนแบบฝึกทักษะที่ 1.3
เต็ม ได้ คะแนนเฉลี่ย
(10)
30

วิชาเคมี 2 ว30222 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเดชะปัตตนยานุกูล


 รูปแบบปฏิกริ ิยาเคมี
o การเกิดสนิมของโลหะเหล็ก
เป็ นปฏิกิริยาที่พบเห็นได้ ง่ายๆ กับสิง่ ก่อสร้ างต่าง ๆ ที่มีเหล็กเป็ นองค์ประกอบ แต่เป็ นปฏิกิริยาที่เกิดขึ ้นอย่างช้ าๆ อาจจะกิน
เวลายาวนาน เกิดขึ ้นเมื่อมีเหล็กสัมผัสกับน ้าและความชื ้น โดยจะค่อย ๆ สึกกร่อน กลายเป็ นเหล็กออกไซด์ หรื อที่เรารู้จกั กันว่า
สนิมเหล็ก (Fe2O3.H2O ) สังเกตได้ จากสีและลักษณะอื่นๆ ที่แตกต่างจากเหล็ก (Fe) ดังปฏิกิริยาที่เกิดขึ ้น

o กรดกับโลหะ

o กรดกับเบส

o เบสกับโลหะ
o เผาไหม้
การเผาไหม้ เป็ นปฏิกิริยาการรวมตัวกันของเชื ้อเพลิงกับออกซิเจนอย่างรวดเร็ว พร้ อมกับเกิดการลุกไหม้ และการคายความ
ร้ อน ในการเผาไหม้ สว่ นใหญ่จะไม่ใช้ ออกซิเจนล้ วน ๆ เพราะสิ ้นเปลืองค่าใช้ จ่ายมากแต่จะใช้ อากาศแทน โดยอากาศจะมีแก๊ ส
ออกซิเจนและแก๊ สไนโตรเจนเป็ นองค์ประกอบหลัก ส่วนแก๊ สอื่นมีปะปนอยูน่ ้ อยมา (ในอากาศมีแก๊ สออกซิเจนประมาณร้ อยละ
21 และแก๊ สไนโตเจนร้ อยละ 79 โดยปริมาตร หรื อแก๊ สออกซิเจนประมาณร้ อยละ 23 และแก๊ สไนโตเจนร้ อยละ 77 โดยน ้าหนัก)

เชื ้อเพลิงชีวมวลส่วนใหญ่ประกอบด้ วยคาร์ บอน (C), ไฮโดรเจน (H), ออกซิเจน (O), และธาตุอื่น ๆ ปะปนอยูบ่ ้ างเช่น
ไนโตรเจน (N) และกามะถัน (S) ดังนันเมื
้ ่อนาเชื ้อเพลิงชีวมวลไปเผาไหม้ จะเกิดปฏิกิริยาเคมีดงั แสดงด้ วยสมการต่อไป

o การเกิดฝนกรด
โดยทัว่ ไป กรดมีคณ
ุ สมบัติในการกัดกร่อนโลหะ รวมถึงเนื ้อเยื่อของสิง่ มีชีวิตด้ วย ดังนัน้ มันจึงเป็ นอันตรายต่อมนุษย์
และสัตว์ และถ้ าฝนตกลงมาเป็ นกรด หรื อที่เรี ยกว่า ฝนกรด ก็จะทาให้ เกิดผลกระทบในวงกว้ างได้ ไม่วา่ จะเป็ นสิ่งมีชีวิตในน ้าที่
อาจมีจานวนลดลง สภาพดินที่มีความเป็ นกรดมากขึ ้นทาให้ มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช หรื อสิ่งปลูกสร้ างต่าง ๆ ผุกร่อนเร็ว
ขึ ้น

ฝนกรดเกิดจากการละลายของก๊ าซซัลเฟอร์ ไดออกไซด์หรื อไนตริ กออกไซด์ในน ้าฝนที่ตกลงมา โดยก๊ าซซัลเฟอร์ ได


ออกไซด์จะมาจากการเผาไหม้ ถ่านหิน ส่วนไนตริกออกไซด์มาจากการเผาไหม้ ในเครื่ องยนต์ของยานพาหนะต่าง ๆ
o การสังเคราะห์ ด้วยแสง
เป็ นกระบวนการสร้ างอาหารของพืชสีเขียว โดยมีคลอโรฟิ ลล์ ทาหน้ าที่ดดู พลังงานแสงจากดวงอาทิตย์แล้ วเปลี่ยน
สารวัตถุดิบคือน ้าและแก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์ ให้ เป็ น น ้าตาลกลูโคส น ้า และ แก๊ สออกซิเจน
19

ลองตอบคําถามสรุปสารสะสําคัญทดสอบความเขาใจกันหนอย 10 ขอ 10 คะแนน


( ขอละ 1 คะแนน ) ( ทําลงในสมุด )
1. กรด คือ ( 1 คะแนน ).............................................................................................................
.................................................................................................................................
2. สรุปสมบัติของกรด ( 1 คะแนน )....................................................................................
.......................................................................................................................................
3. เบส คือ ( 1 คะแนน ).............................................................................................................
.....................................................................................................................................
4. สรุปสมบัติของเบส( 1 คะแนน ).....................................................................................
.....................................................................................................................................
5. โลหะ + O2 ........................................................ ( 1 คะแนน )
6. โลหะ + H2O ........................................................ ( 1 คะแนน )
7. โลหะ + กรด ........................................................ ( 1 คะแนน )
8. กรด + เบส ........................................................ ( 1 คะแนน )
9. กรด + สารประกอบคารบอเนต .......................................... ( 1 คะแนน )
10. จากปฏิกริ ิยาขอ 5 - 9 นักเรียนพอสรุปความสัมพันธของสารตั้งตนกับสารผลิตภัณฑ ใหเปน
แผนผังความคิดไดอยางไรบาง อาจจะแตกตางจากในบทเรียนก็ไดและระบายสีใหสวยงาม
( 1 คะแนน )

ตั้งใจทํากันหนอย
นะครับ

เปนอยางไรกันบาง ได .................. คะแนน


ลงชื่อ ........................................ ผูตรวจ
21

แบบฝกหลังเรียนชุดที่ 8 เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี


จํานวน 10 ขอ 10 คะแนน เวลา 15 นาที
คําสั่ง : เลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว แลวนําหมายเลขหนาขอคําตอบที่นักเรียน
เลือก ใสลงในชุดแบบประเมินและสรุปผลการเรียนรูดวยตนเอง (รายบุคคล)ที่แจกให

1. เมื่อนําลวดแมกนีเซียมใสลงใน 4. จากสมการในขอ 1 สารตั้งตนชนิด


สารละลายกรด สารทัง้ 2 ทําปฏิกิรยิ า ใดเปนสารประกอบ
ดังสมการเคมี 1. แมกนีซียม
แมกนีเซียม (Mg) + กรดไฮโดรคลอริก 2. กรดไฮโดรคลอริก
(HCl) สาร ก + สาร ข 3. แมกนีซียมคลอไรด
สาร ก และ สาร ข จัดเปนสารชนิด 4. แมกนีซียมออกไซด
ใด 5. ปฏิกิริยาระหวาง โลหะ กับ ออกซิเจน ที่
1. สารตั้งตน พบในชีวิตประจําวันจะเปนไปตามสมการ
2. ผลิตภัณฑ ในขอใด
3. ผลผลิต 1. สังกะสี + ออกซิเจน สังกะสี+
4. ขอ 1 และ ขอ 2 ถูกตอง ออกไซด
2. สาร ก และสาร ข จากสมการในขอ 1 2. โครเมียม + ออกซิเจน
คือสารใดตามลําดับ โครเมียม+ ออกไซด
1. แกสไฮโดรเจน + เกลือ 3. แมกนีเซียม + ออกซิเจน
2. แกสคารบอนไดออกไซด + เกลือ แมกนีเซียมออกไซด
3. น้ํา + เกลือ 4. เหล็ก + ออกซิเจน เหล็ก+
4. แกสไฮโดรเจน + น้ํา ออกซิเจน
3. สาร ก จากขอ 1 เขียนเปนสูตรเคมีได
อยางไร
1. Mg 2
2. CO2
3. H2O
4. H2
22

6. ทําไมจึงไมควรนําภาชนะอะลูมิเนียมมา 8. น้ําปูนใสมีสมบัติเปนเบส ถานํามาทํา


ใสอาหารจําพวกแกงสมหรือตมยํา ปฏิกริ ิยากับอะลูมิเนียมจะไดแกส
1. เพราะทําใหไมนารับประทาน ชนิดใด
2. เพราะอาหารจําพวกแกงสมหรือ 1. O2
ตมยํามีสมบัติเปนกรด 2. H2
3. เพราะอาหารจําพวกแกงสมหรือ 3. N2
ตมยํามีสมบัติเปนเบส 4. CO2
4. เพราะอาหารจําพวกแกงสมหรือ 9. สมการใดเปนการเกิดปฏิกิริยา
ตมยํามีสมบัติเปนกลาง ระหวางโลหะกับน้ํา
7. จากการทําปฏิกิริยาระหวางอโลหะ 1. 4Fe + 3O2 2Fe2O3
กับออกซิเจน สารที่ไดคือ อโลหะ 2. 2HCl + CaCO3 CaCl2 +
ออกไซด ซึ่งเปนแกสที่ไดจากการเผา H2O+CO2
ไหมเชื้อเพลิง ลอยตัวขึ้นสูบรรยากาศ 3. HCl + NaOH NaCl + H2O
ขณะที่ฝนตก แกสเหลานี้จะรวมตัวกับ 4. Mg + 2H2O Mg(OH)2 + H2
น้ําฝนกลายเปนฝนกรด ดังนั้นจังหวัดใด 10. เมื่อนําหินปูน (CaCO3) มาทํา
จะเกิดภาวะฝนกรดเรียงลําดับจากมากสุด ปฏิกริ ิยากับกรดไฮโดรคลอริก(HCl)
ไปหานอยสุด จะไดฟองแกสเกิดขึ้น แกสนั้นคือ
1. กรุงเทพฯ แกซอะไร
2. ลําปาง 1. CO
3. สระบุรี 2. H2
4. ภูเก็ต 3. CO2
1. 1 , 2 , 3 , 4 4. O2
2. 4 , 2 , 3 , 1
3. 1 , 3 , 2 , 4
4. 2 , 1 , 3 , 4
7/27/2021 แบบทดสอบปฏิกิริยาเคมี ม.2 | Print - Quizizz

NAME :

CLASS :
แบบทดสอบปฏิกิริยาเคมี ม.2
DATE :
17 Questions

1. ข้อใดเป็ นสารตั้งต้นในปฏิกิริยาการสังเคราะห์ด้วยแสง

a) แก๊ส CO2 และ C6H12O6 b) แก๊ส CO2 และ H2O

c) แก๊ส O2 และ C6H12O6 d) แก๊ส O2 และ H2O

2. หน่วยย่อยที่สุดของสารที่ยังแสดงสมบัติของสารเรียกว่า (1) และหน่วย

ย่อยที่สุดของธาตุที่แสดงสมบัติของธาตุเรียกว่า (2)จงเรียงลำดับความ
หมายของ (1) และ (2) ตามลำดับ

a) อะตอม , โมเลกุล b) โมเลกุล , อะตอม

c) สารประกอบ , สารเดี่ยว d) สารเดี่ยว , สารประกอบ

3. สารประกอบชนิดใดนอกจากจะนำไปใช้แช่ผักผลไม้ให้กรอบ แล้วยังใช้

ทดสอบแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ได้ด้วย

a) ด่างทับทิม b) น้ำปูนใส

c) ดินประสิว d) เอทานอล

4. แก๊สใดมีสมบัติเป็ นแก๊สไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส ละลายน้ำได้เล็กน้อย

เป็ นแก๊สช่วยให้ไฟติด

a) ไฮโดรเจน b) ไนโตรเจน
c) คาร์บอนไดออกไซด์ d) ออกซิเจน

https://quizizz.com/print/quiz/5c05e18cd01fc8001e3658b3 1/4
7/27/2021 แบบทดสอบปฏิกิริยาเคมี ม.2 | Print - Quizizz

5. จากสมการเคมี 2H2(g) + O2(g) ------> 2H2O(l) หมายถึง แก๊ส

ไฮโดรเจน + แก๊สออกซิเจน -------> น้ำถามว่าจำนวนออกซิเจนและ


ไฮโดรเจนทางซ้ายกับจำนวนออกซิเจนและไฮโดรเจนทางขวาจะเท่า
กันหรือไม่

a) ไม่เท่ากัน เพราะออกซิเจนทางซ้ายมี 2 อะตอม แต่ b) ไม่เท่ากัน เพราะไฮโดรเจนทางซ้ายมี 4 อะตอม แต่


ทางขวามี 2 โมเลกุล ทางขวามี 2 โมเลกุล
c) เท่ากัน เพราะออกซิเจนทางซ้ายมี 2 อะตอม และ d) เท่ากัน เพราะไฮโดรเจนทางซ้ายมี 2 อะตอม และ
ทางขวาก็มี 2 อะตอม ทางขวาก็มี 2 โมเลกุล

6. ข้อใดไม่ใช่ปฏิกิริยาเคมี

a) กินยาลดกรดเพื่อลดความเจ็บปวดจากโรคกระเพาะ b) ใช้ยาล้างห้องน้ำ ทำความสะอาดพื้นห้องน้ำ

c) การเผาแก๊สบนเตาหุงต้ม d) การทำนาเกลือ

7. พิจารณาสมการต่อไปนี้ แล้วตอบคำถาม 1. แก๊สไฮโดรเจน + แก๊ส

ออกซิเจน ----> น้ำ 2. แมกนีเซียม + แก๊สออกซิเจน -----> แมกนีเซียม


ออกไซด์ 3. กรดไฮโดรคลอริก + โซเดียมไฮดรอกไซด์ ---> โซเดียม
คลอไรด์ + น้ำการเปลี่ยนแปลงในข้อใด จัดเป็ นการเปลี่ยนแปลงทาง
เคมีทั้งหมด

a) 1 และ 2 b) 2 และ 3

c) 3 และ 1 d) 1 , 2 และ 3

8. เมื่อดุลสมการต่อไปนี้ aAl + bH2O ----> cAl2O3 + dH2ค่า a , b , c ,

d มีค่าเท่าใดตามลำดับ

a) 2 , 3 , 1 , 3 b) 2 , 4 , 2 , 6

c) 3 , 4 , 1 , 6 d) 1 , 3 , 1 , 3

9. แก๊สใดส่วนมากเกิดจากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์

a) CO2 b) SO2

c) NO2 d) NO

https://quizizz.com/print/quiz/5c05e18cd01fc8001e3658b3 2/4
7/27/2021 แบบทดสอบปฏิกิริยาเคมี ม.2 | Print - Quizizz

10. ปฏิกิิริยาสลายตัวของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ได้อะไรเป็ นผลิตภัณฑ์

a) H2O2 b) H2O

c) O2 d) H2O และ O2

11. ข้อใดไม่ใช่เกณฑ์ตัดสินว่ามีปฏิกิิริยาเคมีเกิดขึ้น

a) เกิดฟองแก๊ส b) เกิดตะกอน

c) สีของสารละลายเปลี่ยนแปลง d) เกิดการละลาย

12. ข้อใดแสดงว่ามีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น

a) การต้มน้ำ b) การละลายของน้ำแข็ง
c) การจุดธูป d) การระเหิดของลูกเหม็น

13. สารเมื่อเกิดปฏิกิริยาเคมี จะมีลักษณะในข้อใด

a) สีผิดไปจากเดิม b) มีสมบัติต่างไปจากสารตั้งต้น

c) สถานะเปลี่ยนไป d) ไม่มีการเปลี่ยนแปลง

14. ข้อใดไม่มีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น

a) การเคี้ยวข้าวก่อนกลืน b) การฟอกสบู่ในน้ำกระด้าง

c) การทาแล็กเกอร์เคลือบผิวไม้ d) การระเหิดของลูกเหม็น

15. สารเคมีในข้อใดใช้ทำขนมและดับไฟป่ า

a) H2O2 b) NaHCO3

c) Na2CO3 d) C6H12O6

https://quizizz.com/print/quiz/5c05e18cd01fc8001e3658b3 ชิื้ 3/4


7/27/2021 แบบทดสอบปฏิกิริยาเคมี ม.2 | Print - Quizizz

16. ข้อใดไม่ใช่ผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการเผาไหม้ของเชิื้อเพลิงอย่าง

สมบูรณ์

a) แก๊ส CO b) แก๊ส CO2

c) ไอน้ำ d) พลังงาน

17. แก๊สในข้อใดเป็ นสาเหตุให้เกิดฝนกรด

a) SO3 b) NO2

c) CO2 d) ถูกทุกข้อ

https://quizizz.com/print/quiz/5c05e18cd01fc8001e3658b3 4/4
7/27/2021 แบบทดสอบปฏิกิริยาเคมี ม.3 | Print - Quizizz

NAME :

CLASS :
แบบทดสอบปฏิกิริยาเคมี ม.3
DATE :
20 Questions

1. ปฏิกิริยาเคมีที่มีการถ่ายเทพลังงานให้กับสิ่งแวดล้อมเรียกว่าอะไร

a) ปฏิกิริยาดูดความร้อน b) ปฏิกิริยาคลายความร้อน
c) ปฏิิิกิริยาออกซิเดชั่น d) ปฏิกิริยาการเผาไหม้

2. เมื่อเกิดปฏิกิริยาการสะเทินระหว่างกรดกับเบส จะเกิดสารในข้อใด

a) เกลือกับแก๊ส b) แก๊ส

c) เบสกับน้ำ d) เกลือกับน้ำ

3. ข้อใดเป็ นการเปลี่ยนแปลงในระบบปิด

a) น้ำตาลทรายละลายในน้ำ b) ใช้น้ำกรดราดบนหินปูน

c) เผากระดาษ d) จุดเทียนไข

4. การเกิดหินงอกหินย้อยเกิดจากสารใดทำปฏิกิริยากัน

a) กรดกับเบส b) กรดกับโลหะ
c) กรดกับหินปูน d) กรดกับออกซิเจน

5. ข้อใดไม่ใช่ฏิกิริยาเคมี

a) จุดธูปไหว้พระ b) เติมน้ำตาลลงในกาแฟร้อน

c) บ่มมะม่วงให้สุก d) อาหารบูดเนื่องจากอากาศร้อน

https://quizizz.com/print/quiz/5f93be9ec97d07001b311035 1/4
7/27/2021 แบบทดสอบปฏิกิริยาเคมี ม.3 | Print - Quizizz

ข้อใดเป็ นการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ

6.
a) การเผากระดาษ
b) การต้มน้ำให้เดือด c) การหมักผลไม้
d) การย่อยอาหาร

7. การเปลี่ยนแปลงใดเป็ นการเปลี่ยนแปลงในระบบเปิด

a) น้ำโซดาในขวดที่ปิดฝา b) น้ำแข็งที่เก็บไว้ในกระติกน้ำแข็ง
c) น้ำร้อนที่ต้มจนเดือด d) สารละลายน้ำตาลอิ่มตัว

8. ข้อความเกี่ยวกับปฏิกิริยาคายความร้อน ข้อใดถูกต้อง

a) ทำให้สิ่งแวดล้อมมีอุณหภูมิลดลง b) ต้องใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา

c) ตอนเริ่มปฏิกิริยาต้องให้พลังงานเข้าไป d) สารตั้งต้นมีพลังงานมากกว่าสารผลิตภัณฑ์

9. HCl(ag) + NaOH(aq)   →   NaCl(aq) + H2O(l)


จากสมการข้างต้นสารตั้งต้นของปฏิกิริยานี้ได้แก่สารใด

a) HCl b) NaOH

c) HCl + NaOH d) NaCl + H2O

10. โลหะ + Y   →   สาร A + แก๊สไฮโดรเจน


จากสมการสาร Y ควรเป็ นสารใด

a)  กรด b) น้ำ
c) อโลหะ d) แก๊สออกซิเจน

11.  HCl(ag) + NaOH(aq)  →  NaCl(aq) + H2O(l)NaCl หรือโซเดียม

คลอไรด์ที่เกิดขึ้นมีสถานะตามข้อใด

a) แก๊ส b) ของแข็ง
c) ของเหลว d) สารละลาย

https://quizizz.com/print/quiz/5f93be9ec97d07001b311035 2/4
7/27/2021 แบบทดสอบปฏิกิริยาเคมี ม.3 | Print - Quizizz

12. ผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อ

ชีวิตมากที่สุดคือสารข้อใด

a) คาร์บอน(เขม่า) b) แก๊สออกซิเจน (O2)

c) แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์(CO) d) แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)

13. ข้อใดจัดเป็ นสารตั้งต้นของปฏิกิริยการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช

a) CO2 + H2O b) H2O + O2

c) CO2 + C6H12O6 d) C6H12O6 + H2O + O2

14. พิจารณาการเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้ แล้วตอบคำถามA. การเผาไหม้ของ

เชื้อเพลิงB. เทโซเดียมไฮดรอกไซด์ลงในน้ำแล้วอุณหภูมิสูงขึ้นกว่า
เดิมC. เทสาร A รวมกับสาร B ได้สาร C เมื่อจับแล้วรู้สึกเย็นกว่าเดิมข้อ
ใดเป็ นปฏิกิริยาเคมีแบบคายความร้อน

a) ข้อ A b) ข้อ B

c) ข้อ C d) ข้อ A และ B

15. จากการเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้

A. แนฟทาลีน (s)   →  แนฟทาลีน(g) B. แก๊สไฮโดรเจน  + แก๊ส


ออกซิเจน  →  น้ำ

C. แก๊สไนโตรเจน + แก๊สไฮโดรเจน   →  แก๊สแอมโมเนีย

ข้อใดจัดเป็ นการเปลี่ยนแปลงทางเคมี

a) ข้อ A   B b) ข้อ  B   C

c) ข้อ  A   C d) ข้อ  A   B   C

16. การผสมสารคู่ใดเมื่อผสมกันแล้วที่สมบัติเป็ นเบส

a) แอมโมเนียมคลอไรด์กับแคลเซียมไฮดรอกไซด์ b) น้ำกับเกลือแกง

c) เกลือแกงกับน้ำตาลทราย d) โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตกับน้ำตาลทราย

https://quizizz.com/print/quiz/5f93be9ec97d07001b311035 3/4
7/27/2021 แบบทดสอบปฏิกิริยาเคมี ม.3 | Print - Quizizz

17. ปฏิกิริยาเคมีข้อใดทำให้เกิดฝนกรด

a) NO2 (g) + H2O (l)     →    HNO3 (aq) + b) HCl (aq) + NaOH(aq)       →      NaCl (aq) +
HNO2(aq) H2O (l)

c) CO2 (g) + Ca(O(aq)     →   CaCO3 (s) + H2O d) 4Fe (s) + 3O2 (g) + 6H2O (l)   →
(l)    2Fe2O3   3H2O

18. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับปฏิกิริยาการเผาไหม้

a) การเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ก่อให้เกิดเขม่าของซัลเฟอร์ b) การเผาไหม้อย่างสมบูรณ์เป็ นปฏิกิริยาที่ไม่ใช้


ออกซิเจน

c) การเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ได้แก๊สที่เป็ นพิษต่อการ d) การเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ได้ผลิตภัณฑ์เป็ นแก๊ส


หายใจ คาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ

19. โลหะโซเดียมทำปฏิกิริยากับน้ำ ได้สารใหม่ คือ โซเดียมไฮดรอกไซด์

และแก๊สไฮโดรเจนข้อใดเป็ นสารตั้งต้น

a) Na กับ H2O b) NaOH กับ H2

c) Na กับ NaOH d) H2O กับ H2

20. ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันข้อใดเป็ นปฏิกิริยาเคมีแบบดูดความร้อน

a) การจุดพลุ b) การย่อยแป้งเป็ นน้ำตาล


c) การแยกสลายแอมโมเนีย d) การเผาไหม้ของเชื้อเพลิง

https://quizizz.com/print/quiz/5f93be9ec97d07001b311035 4/4
7/27/2021 แบบทดสอบ ปฏิกิริยาเคมี | Print - Quizizz

NAME :

CLASS :
แบบทดสอบ ปฏิกิริยาเคมี
DATE :
20 Questions

1. การละลายของน้ำแข็งเป็ นการเปลี่ยนแปลงแบบใด

a) การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ b) การเปลี่ยนแปลงทางเคมี
c) การเปลี่ยนสูตรเคมีของสาร d) การเปลี่ยนแปลงแบบคายความร้อน

2. การเปลี่ยนแปลงแบบใดที่ทำให้เกิดสารใหม่

a) การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ b) การเปลี่ยนแปลงทางเคมี

c) การคายความร้อน d) การดูดความร้อน

3. ปฏิกิริยาเคมีที่มีการถ่ายเทพลังงานให้กับสิ่งแวดล้อมเรียกว่าอะไร

a) ปฏิกิริยาดูดความร้อน b) ปฏิกิริยาคายความร้อน

c) ปฏิกิริยาออกซิเดชัน d) ปฏิกิริยาการเผาไหม้

4. ข้อใดเกิดปฏิกิริยาเคมี

a) การทำนาเกลือ b) การเติมน้ำแข็งในน้ำอัดลม

c) การละลายกรดไฮโดรคลอริกกับน้ำ d) การทำไวน์

5. ข้อใด ไม่ใช่ ปฏิกิริยาเคมี

a) จุดธูปไหว้พระ b) เติมน้ำตาลลงในกาแฟร้อน
c) บ่มมะม่วงให้สุก d) อาหารบูดเนื่องจากอากาศร้อน

https://quizizz.com/print/quiz/5dd481d1123643001bd56452 1/5
7/27/2021 แบบทดสอบ ปฏิกิริยาเคมี | Print - Quizizz

6. (aq) หมายถึงสารมีสถานะใด

a) แกีส b) ของเหลว
c) สารละลาย d) ของแข็ง

7. เมื่อนำสังกะสี(Zn) มาทำปฏิกิริยากับกรดเกลือ(HCl) จะเกิดซิงค์คลอ

ไรด์(ZnCl2) และแก๊สไฮโดรเจน(H2) เขียนสมการเคมีได้ตามข้อใด

a) Zn(s) + 2HCl(l) →   ZnCl2(l) + H2(g) b) Zn(s) + 2HCl(l) →   ZnCl2(aq) + H2(g)

c) Zn(s) + 2HCl(aq) →   ZnCl2(aq) + H2(g) d) Zn(s) + 2HCl(aq) →   ZnCl2(l) + H2(g)

8. เมื่อสารเกิดปฏิกิริยาเคมีอาจมีการเปลี่ยนแปลงที่สามารถสังเกตได้

อย่างชัดเจนอย่างไร

a) เกิดฟองแก๊ส b) ตกผลึก
c) สารตั้งต้น d) ถูกทุกข้อ

9. ข้อเป็ นกิจกรรมหรือผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาเคมีทั้งหมด

a) การสังเคราะห์ด้ายแสง/กลิ่นหอมที่เกิดจากยาดับ b) การเกิดหินงอกหินย้อย/การเผากระดาษ
กลิ่น

c) การจุดพลุดอกไม้ไฟ/การรีดผ้า d) การเกิดสนิมเหล็ก/การบดเนื้อ

10. เราจะสามารถสังเกตการเกิดปฏิกิริยาเคมีได้จากอะไร

a) เขม่า b) ตะกอน

c) ฟองแก๊ส d) ถูกทุกข้อ

https://quizizz.com/print/quiz/5dd481d1123643001bd56452 2/5
7/27/2021 แบบทดสอบ ปฏิกิริยาเคมี | Print - Quizizz

11. จากรูป ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น คือข้อใด

a) C(s) + O2(g) -> CO2(g) b) 4Fe(s) + 3O2(g) + 3H2O(l) -> 2Fe2O3.3H2O

c) Zn3Sb2(s) + H2O(l) -> ZnOH2 + SbH3 d) KrF2 + H2O -> Kr + O2 + HF

12. สารในข้อใดทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมีที่สังเกตได้จากการเปลี่ยนสีของ

สารละลาย

a) สารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต และ b) สารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต และ สาร


สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ละลายกรดไฮโดรคลอริก

c) สารละลายกรดไฮโดรคลอริก และ สารละลายโซ d) แมกนีเซียม และ สารละลายกรดไฮโดรคลอริก


เดียมไฮดรอกไซด์

e) สารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟต และ สารละลายก


รดไฮโดรคลอริก

13. การเปลี่ยนแปลงในข้อใดเป็ นการเกิดปฏิกิริยาเคมี

a) การใช้เตาสุริยะต้มน้ำให้เดือด b) การระเหยของน้ำเมื่อถูกแสงอาทิตย์

c) การเกิดรุ้งกินน้ำที่ให้แสงสีต่างๆ ออกมา d) การที่ฟิล์มถ่ายรูปเปลี่ยนสีเมื่อถูกแสงอาทิตย์

14. ผลรวมของเลขสัมประสิทธิ์ที่ดุลสมการเคมีนี้เท่ากับเท่าใด Fe + HCl --

---> FeCl2 + H2

a) 4 b) 5
c) 6 d) 7

https://quizizz.com/print/quiz/5dd481d1123643001bd56452 3/5
7/27/2021 แบบทดสอบ ปฏิกิริยาเคมี | Print - Quizizz

15. ข้อความใด ไม่ถูกต้อง

a) ปฏิกิริยาเคมีรอบ ๆ ตัวเราเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว และ b) ปฏิกิริยาที่เกิดรอบ ๆ ตัวเรามีทั้งปฏิกิริยาง่าย ๆ ไป


สังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงเสมอ จนถึงปฏิกิริยาที่ซับซ้อน

c) ปฏิกิริยาการเผาไหม้ของแก๊สหุงต้มจะไม่เกิดการ d) ปฏิกิริยาบางชนิดที่เกิดขึ้นรอบ ๆ ตัวสามารถนำไป


เปลี่ยนแปลงขึ้นที่อุณหภูมิห้อง ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้

16. ปฏิกิริยาการเกิด Smogc ใดที่ทำให้เกิดสาร PAN

a) London b) classical smogc

c) photochemical smogc d) peroxyaceyyl nitrate

17. การเปลี่ยนแปลงใดเป็ นกระบวนการคายความร้อน

a) ไอติมละลาย b) เมฆรวมตัวกลั่นเป็ นฝน

c) การระเหิดของลูกเหม็น d) น้ำระเหยกลายเป็ นไอน้ำ

18. สัญลักษณ์ข้อใดหมายถึงวัตถุมีพิษ ห้ามรับประทานหรือสูดดม

a) b)

c) d)

https://quizizz.com/print/quiz/5dd481d1123643001bd56452 4/5
7/27/2021 แบบทดสอบ ปฏิกิริยาเคมี | Print - Quizizz

19. สนิมเหล็กเกิดจากปฏิกิริยาของสารในข้อใด

a) โลหะกับเบส b) โลหะกับกรด

c) โลหะกับออกซิเจน d) โลหะกับคาร์บอนไดออกไซด์

20. แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์(SO2)ถูกปล่อยออกจากโรงงานอุตสาหกรรม

จำนวนมาก

a) ก่อให้เกิดหมอกควัน b) ทำให้เกิดฝนกรด

c) ทำให้เกิดสนิม d) สามารถใช้ฆ่าเชื้อโรค

https://quizizz.com/print/quiz/5dd481d1123643001bd56452 5/5

You might also like