You are on page 1of 6

โครงการติวฟรีมิดเทอม 2560

ติวสอบกลางภาค เรื่อง พันธะเคมี


1. พันธะไอออนิก (Ionic Bond)
1.1. การอ่านชื่อ
KI อ่านว่า
MgCl อ่านว่า
Li3N อ่านว่า
AlO3 อ่านว่า
CaCO3 อ่านว่า
NH4OH อ่านว่า
NH4CN อ่านว่า
CuSO4 อ่านว่า
FeCl3 อ่านว่า
Fe2O3 อ่านว่า
CrCl3 อ่านว่า
2. พันธะโคเวเลนต์ (Covalent Bond)
1 = มอนอ (mono) 6 = เฮกซะ (hexa)
2 = ได (di) 7 = เฮปตะ (hepta)
3 = ไตร (tri) 8 = ออกตะ (octa)
4 = เตตระ (tetra) 9 = โนนะ (nona)
5 = เพนตะ (penta) 10 = เดคะ (deca)

2.1. การอ่านชื่อ
ClF3 อ่านว่า
PCl3 อ่านว่า
PF5 อ่านว่า
P4S3 อ่านว่า
SiBr4 อ่านว่า
CS2 อ่านว่า
H 2S อ่านว่า
CCl4 อ่านว่า

1
โครงการติวฟรีมิดเทอม 2560

2.2. สูตรโครงสร้าง และ ประจุฟอลมาล(Formal Charge)


สูตรโครงสร้าง มี 2แบบ คือ แบบจุด และ แบบเส้น(ลิวอีส)
ประจุฟอลมาล กาหนดขึ้นเพื่อใช้ทานายว่าโครงสร้างโมเลกุลแบบใดมีความเป็นไปได้มากกว่ากัน
หลักการ อะตอมในโมเลกุลมีแนวโน้มที่จะมีประจุฟอลมาลเป็นศูนย์หรือใกล้เคียงกับศูนย์
Ve = จานวนเวเลนต์อิเล็กตรอนของอะตอม
1
Ne = จานวนอิเล็กตรอนที่ไม่ได้สร้างพันธะ Formal charge = Ve - Ne - B
2 e
Be = จานวนอิเล็กตรอนที่ใช้ในการสร้างพันธะ
จงเขียนสูตรโครงสร้างแบบลิวอีสและหาประจุฟอลมาล
H2S H2Se

NI3 O3

CH2O CO32-

2
โครงการติวฟรีมิดเทอม 2560

2.3. รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
วิธีพิจารณารูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ (A : อะตอมกลาง, X : อะตอมข้างเคียง, E : จานวนคู่ของอิเล็กตรอน
คู่โดดเดี่ยว) พิจารณารูปร่างโมเลกุลดังนี้
1. เส้นตรง (Linear) AX2
2. สามเหลี่ยมแบนราบ (Trigonal plane) AX3
3. ทรงสี่หน้า (Tetrahedral) AX4
4. พีระมิดคู่ฐานสามเหลี่ยม (Trigonal bipyramidal) AX5
5. ทรงแปดหน้า (Octahedral) AX6
6. มุมงอหรือรูปV (V-shaped) AX2E
7. พีระมิดฐานสามเหลี่ยม (Trigonal pyramidal) AX3E
8. รูปคล้ายไม้กระดก (See saw หรือ Irregular tetrahedral) AX4E
9. พีระมิดฐานสี่เหลี่ยม (Square pyramidal) AX5E
10. มุมงอหรือรูปV (V-shaped) AX2E2
11. รูปT (T-shaped) AX3E2
12. สี่เหลี่ยมแบนราบ (Square plane) AX4E2
13. เส้นตรง (Linear) AX2E3

2.4. สภาพขั้วของโมเลกุล

𝑬𝑵 สูง → 𝜹−

𝑬𝑵 ต่า → 𝜹+

3
โครงการติวฟรีมิดเทอม 2560

จงเขียนสภาพขั้วของโมเลกุลและสภาพขั้วของโมเลกุล
BeCl2 BF3

H 2O CH4

ClF3 IF5

NF3 PCl5

4
โครงการติวฟรีมิดเทอม 2560

2.5. พลังานพันธะ (Bond Energy)


พลังงานพันธะ หมายถึง พลังงานที่ใช้ในการแยกอะตอมที่ยึดเหนี่ยวกันไว้ด้วยพันธะให้แยก
ออกจากกัน อะตอมอยู่ในสถานะแก๊ส (gaseous state) มีหน่วยเป็นกิโลจูลต่อโมล (kJ/mol) ใช้
แทนด้วย ΔH

2.6. ประเภทของปฏิกิริยาเคมี
1. ปฏิกิริยาดูดพลังงานหรือดูดความร้อน (Endothermic reaction) คือ ปฏิกิริยาที่ใช้พลังงานใน
การสลายพันธะเดิมมากกว่าพลังงานที่ได้จากการเกิดพันธะใหม่ (ΔH เป็นบวก)
2. ปฏิกิริยาคายพลังงานหรือคายความร้อน (Exothermic reaction) คือ ปฏิกิริยาที่ใช่พลังงาน
ในการสลายพันธะเดิมน้อยกว่าพลังงานที่ได้จากการเกิดพันธะใหม่ (ΔH เป็นลบ)

∑ ∆𝐇รวม = ∑ ∆𝐇สารตั้งต้น − ∑ ∆𝐇ผลิตภัณฑ์

จงคานวณว่าปฏิกิริยาเคมีต่อไปนี้ ดูดหรือคายพลังงานเท่าใด
H2 (g) + F2 (g) → 2HF (g)

5
โครงการติวฟรีมิดเทอม 2560

แบบฝึกหัดท้ายบท
1. ข้อใดต่อไปนี้จัดเป็นสารประกอบไอออนิกทั้งหมด
ก. MgCl2 และ CF3I ข. KBr และ CaCl2 ค. PF5 และ SiBr4 ง. PCl3 และ AlCl3
2. ข้อใดอ่านชื่อถูกต้อง
ก. (NH4)2O อ่านว่า ไดแอมโมเนียมออกไซด์
ข. Fe(OH)2 อ่านว่า ไอออนไฮดรอกไซด์
ค. Mn2O3 อ่านว่า แมงกานีส(III)ออกไซด์
ง. H2Se อ่านว่า ไดไฮโดรเจนโมโนซีลีไนด์
3. รูปร่างโมเลกุลใดไม่ถูกต้อง
ก. H2O มุมงอ
ข. NH3 สามเหลี่ยมแบนราบ
ค. BCl3 สามเหลี่ยมแบนราบ
ง. GeF4 ทรงสี่หน้า
4. สารใดต่อนี้เป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว
ก. SO2 ข. SF4 ค. H2O ง. BH3
5. สารกลุ่มใดต่อไปนี้มีพันธะโคเวเลนต์มีขั้ว แต่โมเลกุลไม่มีขั้ว
ก. H2
ข. CH3Cl
ค. CO
ง. BeCl2

You might also like