You are on page 1of 17

1

บทที่ 5 สารละลาย
ความเข้มข้นของสารละลาย
ค่าที่แสดงปริมาณของตัวถูกละลายที่ละลายอยู่ในตัวทำละลาย

การบอกความเข้มข้นของสารละลายบอกได้หลายวิธี ดังนี้
1. ร้อยละหรือส่วนในร้อยส่วน (Parts per hundred , pph)
2. ส่วนในล้านส่วน (Parts per million , ppm)
3. ส่วนในพันล้านส่วน (Parts per billion , ppb)
4. โมลาริตี (mol/dm3 , Molarity , M)
5. โมแลลิตี (mol/kg , Molality , m)
6. เศษส่วนโมล (mole fraction)

1. ร้อยละหรือส่วนในร้อยส่วน (Parts per hundred , pph)

✓ การบอกความเข้มข้นแบบนี้จำแนกได้เป็น 3 แบบย่อย ได้แก่


1.1 ร้อยละโดยมวลต่อมวล ( %W/W, ร้อยละโดยมวล )
1.2 ร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตร ( %V/V, ร้อยละโดยปริมาตร )
1.3 ร้อยละโดยปริมาตรต่อมวล ( %V/W )

1.1 ร้อยละโดยมวลต่อมวล ( %W/W, ร้อยละโดยมวล )


หมายถึง มวลตัวละลายที่มีสารละลาย 100 หน่วยมวลเดียวกัน
เช่น สารละลาย NaCl เข้มข้นร้อยละ 15 โดยมวล หมายความว่า
มี NaCl ……….. กรัม ละลายในสารละลาย ………………. กรัม
หรือ มี NaCl …………กิโลกรัม ละลายในสารละลาย ……………กิโลกรัม
หมายความว่า สารละลาย NaCl …………. กรัม มี ………….…..………..………. และมี ……………………………..……

Kru Sareefah Yamin


2

1.2 ร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตร ( %V/V, ร้อยละโดยปริมาตร )


หมายถึง ปริมาตรตัวละลายที่มีสารละลาย 100 หน่วยปริมาตรเดียวกัน
เช่น สารละลาย HCl เข้มข้นร้อยละ 3 โดยมวล หมายความว่า
มี HCl ……….. cm3 ละลายในสารละลาย ………………. cm3
หรือ มี HCl …………ลิตร ละลายในสารละลาย ……………ลิตร
หมายความว่า สารละลาย HCl …………. กรัม มี มี …………..………..………. และมี ……………………………..……
1.3 ร้อยละโดยปริมาตรต่อมวล ( %V/W )
หมายถึง มวลของตัวละลายที่ละลายในสารละลาย 100 หน่วยปริมาตรที่สอดคล้องกัน
ถ้าใช้หน่วยมวลเป็นกรัม (g) ต้องใช้หน่วยปริมาตรเป็นลูกบาศก์เซนติเมตร (cm3) หรือ มิลลิลิตร (ml)
ถ้าใช้หน่วยมวลเป็นกิโลกรัม (kg) ต้องใช้หน่วยปริมาตรเป็นลูกบาศก์เดซิเมตร (dm3) หรือ ลิตร (l)

เช่น สารละลายกลูโคส 20% โดยมวลต่อปริมาตร หมายความว่า


มี กลูโคส ……….. กรัม ละลายในสารละลาย ………………. cm3
หรือ มี กลูโคส ……….. กิโลกรัม ละลายในสารละลาย ……………ลิตร
หมายความว่า สารละลายกลูโคส …………. กรัม มี …………..………..………. และมี ……………………………..……

สูตรคำนวณเกี่ยวกับความเข้มข้นแบบร้อยละ

Kru Sareefah Yamin


3

โจทย์ ครั้งที่ 1 ร้อยละ


1. สารละลาย NaCl ประกอบด้วย NaCl จำนวน 10 กรัม ในน้ำ 240 กรัม มีความเข้มข้นในหน่วย
ร้อยละโดยมวลเป็นเท่าใด

2. สารละลายซึ่งประกอบด้วยกลูโคส (C6H12O6) 0.20 โมล ในน้ำ 4.00 โมล มีความเข้มข้นในหน่วย


ร้อยละโดยมวลเป็นเท่าใด ( C=12, H=1, O=16)

Kru Sareefah Yamin


4

3. เมื่อใช้ NaOH 0.5 โมล เตรียมสารละลายให้มีความเข้มข้น 30% โดยมวลต่อปริมาตร


จะได้สารละลายกี่ cm3 ( Na=23, H=1, O=16)

4. จงหาปริมาตรของสารละลาย ไอร์ออน(III)ไนเตรต (Fe(NO3)3) เข้มข้นร้อยละ 15.0 โดยมวล ซึ่งมี


ไอร์ออน (III) ไนเตรตละลายอยู่ 30 กรัม สารละลายมีความหนาแน่น 1.16 g/ cm3 ที่ 25 ⁰C

Kru Sareefah Yamin


5

2. ส่วนในล้านส่วน (Parts per million , ppm)

หมายถึง มวลหรือปริมาตรตัวละลายที่มีสารละลาย 1 ล้านส่วนของมวลหรือปริมาตรเดียวกัน


เช่น สารตะกั่วปนเปื้อนในน้ำเข้มข้น 0.1 ส่วนในล้านส่วนโดยมวล หมายความว่า
หมายความว่า ……………………………………………………………………….…………………………..……

สูตรคำนวณเกี่ยวกับความเข้มข้นแบบส่วนในล้านส่วน

3. ส่วนในพันล้านส่วน (Parts per billion , ppb)

หมายถึง มวลหรือปริมาตรตัวละลายที่มีสารละลาย 1 พันล้านส่วนของมวลหรือปริมาตรเดียวกัน


เช่น สารปรอทปนเปื้อนในน้ำเข้มข้น 0.8 ส่วนในพันล้านส่วนโดยมวล หมายความว่า
หมายความว่า ……………………………………………………………………….…………………………..……

สูตรคำนวณเกี่ยวกับความเข้มข้นแบบส่วนในล้านส่วน

Kru Sareefah Yamin


6

โจทย์ ครั้งที่ 2 ส่วนในล้านส่วนและพันล้านส่วน


1. ในสารละลายเมอร์คิวรี (II) ไนเตรต (Hg(NO3)2) ซึ่งมี Hg(NO3)2 3.24 กรัม และน้ำ 100 กรัม
สารละลายมีความเข้มข้นเท่าใดในหน่วยส่วนในล้านส่วน

2. ถ้าในอากาศ 100 cm3 มีไดไนโตรเจนมอนอกไซด์ (N2O) 3.3 x 10-5 cm3 ความเข้มข้นของ N2O
ในส่วนพันล้านส่วนมีค่าเป็นเท่าใด

Kru Sareefah Yamin


7

4. โมลาริตี (mol/dm3 , Molarity , M)

หมายถึง จำนวนโมลของตัวละลายที่มีสารละลาย 1 ลูกบาศก์เดซิเมตร (ลิตร)


เช่น สารละลาย NaOH เข้มข้น 5 โมลต่อลิตร หมายความว่า
หมายความว่า ……………………………………………………………………….…………………………..……

สูตรคำนวณเกี่ยวกับความเข้มข้นแบบส่วนในล้านส่วน
สูตรที่ 1 ใช้สำหรับการเตรียมสารละลายโดยใส่ตัวถูกละลายลงในตัวทำละลาย

สูตรที่ 2 ใช้เมื่อนำสารละลายเดิมมาทำการปรับเปลี่ยนความเข้มข้นหรือปริมาตร

สูตรที่ 3 ใช้เมื่อผสมสารละลายหลายตัวเข้าด้วยกัน

สูตรที่ 4 ใช้หาความเข้มข้นอนุภาคย่อยบางตัวในสารละลายผสม

Kru Sareefah Yamin


8

โจทย์ ครั้งที่ 3 โมลาร์


1. สารละลายที่ได้จากการละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) จำนวน 15.0 กรัม ในน้ำจนสารละลาย
มีปริมาตร 250 cm3 จะมีความเข้มข้นกี่โมลาร์

2. ในการเตรียมสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.1 mol/dm3 จำนวน 5 ลิตร ต้องใช้ NaOH กี่กรัม
( Na=23, H=1, O=16)
ก. 1.0 ข. 2.0 ค.10.0 ง. 20.0

3. เมื่อผ่านแก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ (HCl) 5.6 dm3 ที่ STP ลงในน้ำกลั่นเป็นสารละลาย 300 cm3


ถ้าแก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ละลายทั้งหมด จะได้สารละลายเข้มข้นกี่โมล/ลิตร
ก. 0.83 ข. 1.03 ค. 2.44 ง. 3.50

Kru Sareefah Yamin


9

4. สารละลาย CuSO4 15.95 g/dm3 เข้มข้นเป็นกี่ mol/dm3 ( Cu=63.5 , S=32)


ก. 0.10 ข. 0.88 ค. 2.00 ง. 5.00

5. นำโซเดียมซัลเฟต (Na2SO4) 71 กรัม มาละลายน้ำ เป็นสารละลาย 500 cm3 สารละลายที่ได้จะมี


ความเข้มข้นของ Na+ ไอออนกี่โมลต่อลิตร
ก. 0.10 ข. 0.88 ค. 2.00 ง. 5.00

6. Sr(OH)2 เป็นเบสแก่ เมื่อนำ Sr(OH)2 61 กรัม มาละลายน้ำ เป็นสารละลาย 200 cm3 สารละลาย
ที่ได้จะมีความเข้มข้นของ OH- ไอออนกี่โมลต่อลิตร
ก. 0.10 ข. 0.88 ค. 2.00 ง. 5.00

Kru Sareefah Yamin


10

การเตรียมสารละลาย
7. สารละลายชนิดหนึ่งเข้มข้น 5 mol/dm3 ปริมาตร 1 dm3 เมื่อเติมน้ำลงไปจนปริมาตรสุดท้ายรวม
เป็น 10 dm3 ความเข้มข้นจะเปลี่ยนเป็นเท่าใด
ก. 0.40 ข. 0.50 ค. 4.00 ง. 5.00

8. สารละลายชนิดหนึ่งเข้มข้น 100 cm3 เข้มข้น 3 mol/dm3 ต้องการเตรียมให้ความเข้มข้นเป็น


2 mol/dm3 จะต้องเติมน้ำจนมีปริมาตรเป็นกี่ cm3
ก. 50 ข. 100 ค. 150 ง. 200

9. มี NaOH 1 mol/dm3 อยู่ 500 cm3 แบ่งมา 100 cm3 ทำให้เจือจางเป็น 1 ลิตร สารละลาย
นี้เข้มข้นเท่าใด
ก. 0.10 ข. 0.70 ค. 2.00 ง. 5.00

Kru Sareefah Yamin


11

10. สารละลายชนิดหนึ่งเข้มข้น 2 mol/dm3 ปริมาตร 1 dm3 เมื่อเติมน้ำลงไปอีก 4 dm3


ความเข้มข้นจะเปลี่ยนเป็นเท่าใด
ก. 0.40 ข. 0.50 ค. 4.00 ง. 5.00

11. สารละลายเข้มข้น 3 M 100 cm3 จะทำให้มีความเข้มข้น 2 M ต้องเติมน้ำเย็นกี่ cm3


ก. 50 ข. 100 ค. 150 ง. 200

12. ถ้าต้องการเตรียมสารละลายกรด HCl เข้มข้น 1 mol/dm3 จำนวน 50 cm3 จาก HCl เข้มข้น 4 mol/dm3
จะต้องเติมน้ำอีกกี่ cm3
ก. 0.40 ข. 0.50 ค. 4.00 ง. 5.00

Kru Sareefah Yamin


12

13. ผสมสารละลายกรด HCl ขวดที่ 1 ซึ่งมีความเข้มข้น 1 mol/dm3 จำนวน 300 cm3 กับ
HCl ขวดที่ 2 ซึ่งมีความเข้มข้น 2 mol/dm3 จำนวน 200 cm3 แล้วเติมน้ำลงไปอีก 500 cm3
ถามว่าสารละลายผสมที่ได้จะมีความเข้มข้นกี่ mol/dm3
ก. 0.10 ข. 0.70 ค. 2.00 ง. 5.00

14. ผสมสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.4 mol/dm3 จำนวน 30 cm3 สารละลาย NaOH ความเข้มข้น
0.3 mol/dm3 จำนวน 20 cm3 แล้วเติมน้ำกลั่นลงไปจนมีปริมาตรเป็น 180 จะได้สารละลาย NaOH เข้มข้น
กี่ mol/dm3
ก. 0.10 ข. 1.00 ค. 1.50 ง. 1.80

15. ถ้านำสารละลายกรด NaCl ทีม่ ีความเข้มข้น 3 M จำนวน 200 cm3 มาผสมกับสารละลาย NaCl
ทีม่ ีความเข้มข้น 1.5 M จำนวนหนึ่ง สารละลาย NaCl ทีไ่ ด้มคี วามเข้มข้น 2.1 M สารละลาย NaCl ทีม่ ีความ
เข้มข้น 1.5 M ที่ใช้ผสมมีปริมาตรเท่าใด
ก. 150 ข. 250 ค. 300 ง. 350

Kru Sareefah Yamin


13

16. ผสม NaCl เข้มข้น 2 mol/dm3 จำนวน 100 cm3 กับ MgCl2 3 mol/dm3 จำนวน 100 cm3
และ AlCl3 1 mol/dm3 จำนวน 50 cm3 จงหาความเข้มข้นของ Cl- ในหน่วย mol/dm3
ก. 3.80 ข. 4.40 ค. 6.20 ง. 8.80

สมการที่ใช้เปลี่ยนความเข้มข้นจากร้อยละไปเป็นโมล/ลิตร
กรณี 1 เปลี่ยนจากร้อยละโดยมวลต่อมวล หรือ ปริมาตรต่อปริมาตร เป็น โมลต่อลิตร ใช้สมการ

กรณี 2 เปลี่ยนจากร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร เป็น โมลต่อลิตร ใช้สมการ

17. สารละลายกลูโคส (C6H12O6) เข้มข้น 30% โดยมวลต่อมวล มีความหนาแน่น 9 g/cm3 จะมี


ความเข้มข้นกี่โมล/ลิตร
ก. 5 ข. 10 ค. 15 ง. 20

Kru Sareefah Yamin


14

18. NaOH เข้มข้น /20% โดยมวลต่อปริมาตร จงหาความเข้มข้นกี่โมล/ลิตร


ก. 5 ข. 10 ค. 15 ง. 20

19. ต้องการสารละลาย H2SO4 0.1 mol/dm3 จำนวน 100 cm3 จากสารละลาย H2SO4 ในขวดทีม่ ี
ความเข้มข้น 49% โดยมวล ถ้าสารละลายในขวดนี้มีความหนาแน่น 1.25 g/cm3 ต้อดูดสาร H2SO4 ในขวดมากี่ cm3
แล้วเติมน้ำให้ได้ปริมาตรทั้งหมด 100 cm3
ก. 0.80 ข. 1.60 ค. 6.25 ง. 12.50

Kru Sareefah Yamin


15

5. โมแลลิตี หรือโมแลล (mol/kg , Molality , m)

หมายถึง จำนวนโมลของตัวละลายที่ละลายในตัวทำละลาย 1 กิโลกรัม มีหน่วย โมล/กิโลกรัม


เช่น สารละลายยูเรีย เข้มข้น 3 โมแลล หมายความว่า
หมายความว่า ……………………………………………………………………….…………………………..……
สมการใช้หาความเข้มข้นโมแลลิตี (mol/kg , Molality , m)

สมการใช้หาความเข้มข้นแบบโมแลลจากความเข้มข้นแบบโมลาร์

โจทย์ ครั้งที่ 4 โมแลล


1. เมื่อละลายน้ำตาลทราย (C12H22O11) 34.2 กรัม ในน้ำ 500 กรัม สารละลายจะมีความเข้มข้นเท่าใด
ในหน่วยโมแลล (m)
ก. 0.1 ข. 0.2 ค. 0.4 ง. 0.8

Kru Sareefah Yamin


16

2. สารละลาย A มีความเข้มข้น 5 mol/kg จงหาความเข้มข้นเป็น mol/dm3 กำหนดให้มวลโมเลกุล


ของสาร A เท่ากับ 120 ความหนาแน่นของสาร A 1.2 g/cm3
ก. 3.75 ข. 4.81 ค. 5.33 ง. 6.25

3. กรดเปอร์คลอริก (HClO4) มีความเข้มข้น 5 mol/dm3 มีความหนาแน่น 1.54 g/cm3 จงหาความ


เข้มข้นเป็น mol/kg
ก. 3.75 ข. 4.81 ค. 5.33 ง. 6.25

Kru Sareefah Yamin


17

6. เศษส่วนโมล หมายถึง อัตราส่วนจำนวนโมลของสารนั้นต่อจำนวนโมลของสารทั้งหมดใน


สารละลาย ใช้สัญลักษณ์แทนด้วย x
เช่น ถ้าสารละลายประกอบด้วยสาร A 2 โมล , B 5 โมล และ C 3 โมล
จะได้ว่า

โจทย์ ครั้งที่ 5 เศษส่วนโมล


1. สารละลายหนึ่งประกอบด้วยสาร A 2 โมล , B 1 โมล และ C 2 โมล เศษส่วนโมลของสารแต่ละ
ชนิด คือข้อใดต่อไปนี้ (ตามลำดับ)
ก. 0.2, 0.1 , 0.2 ข. 0.4, 0.2 , 0.4 ค. 2.0, 1.0 , 2.0 ง. 4.0, 1.0 , 2.0

2. สารละลายชนิดหนึ่งเกิดจากการผสมสาร A ซึง่ มีโมเลกุล 40 และไม่แตกตัว จำนวน 20 กรัม ลงในน้ำ


180 กรัม จงหาร้อยละโดยโมลขแงสาร A ในสารละลายนี้
ก. 0.0476 ข. 0.476 ค. 4.76 ง. 47.6

Kru Sareefah Yamin

You might also like