You are on page 1of 56

แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้อ พันธะเคมี 4.

ตารางข้างล่างนี้แสดงจุดหลอมเหลว จุดเดือดและความสามารถในการนาไฟฟ้ าเมื่อ


1. กาหนดค่าอิเล็กโทรเนกาติวติ ีของพอลิ่ง ดังนี้ หลอมเหลวของสารประกอบคลอไรด์ A B C สิ่ งที่สรุ ปได้จากข้อมูล คือ
อะตอม H B C N F S สารประกอบคลอไรด์ จุดหลอมเหลว ( K ) จุดเดือด ( K ) การนาไฟฟ้ า
ค่าอิเล็กโทรเนกาติวติ ี 2.2 2.0 2.5 3.0 4.0 2.6 A 883 1,650 ดีมาก
B 1,143 2,750 ดี
ข้อใดต่อไปนี้ที่มีความเป็ นพันธะไอออนิกลดลงตามลาดับ
ก. H-F > H-N > H-B > H-C > H-S C 548 1,005 ไม่ดี
ข. H-N > H-F > H-B > H-C > H-S ก. A และ B เป็ นสารประกอบไอออนิก
ค. H-F > H-N > H-S > H-C > H-B ข. A B และ C เป็ นสารประกอบไอออนิก
ง. H-S > H-N > H-F > H-C > H-B ค. A เป็ นสารประกอบไอออนิกเพียงสารเดียว
2. พันธะที่เรี ยงตามสมบัติที่เป็ นไอออนิกมากไปหาน้อยในสารประกอบ F₂ HF และ ง. B เป็ นสารประกอบไอออนิกเพียงสารเดียว
CsF เป็ นดังนี้ 5. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. H–F F–F Cs–F 1. เกลือแกงและโซดาไฟเป็ นสารประกอบของโลหะหมู่ที่ IA
ข. Cs–F H–F F–F 2. สารประกอบไอออนิกที่มีสถานะเป็ นของแข็งสามารถนาไฟฟ้ าได้
ค. F–F Cs–F H–F 3. โลหะแทรนซิชนั มีสมบัติทางกายภาพเหมือนโลหะหมู่ที่ IA และ IIA
ง. F–F H–F Cs–F ข้อใดกล่าว ถูกต้อง ( Ent – O 53 )
3. สารประกอบชุดต่อไปนี้ ลาดับการจัดเรี ยงความเป็ นสารไอออนิกจากมากไปน้อยที่ ก. 1 และ 2
ถูกต้ อง คือ ข. 2 และ 3
ก. Ca₃P₂ > CaS > CaCl₂ ค. 1 และ 3
ข. Mg₃N₂ > MgO > MgF₂ ง. 1 2 และ 3
6. ผลึกไอออนิกแตกหักเมื่อมีแรงเข้าไปกระทาเพราะเหตุใด(PAT- 2 ก.ค. 53 )
ค. LiF > NaF > KF
ก. ประจุชนิดเดียวกันผลักกัน
ง. LiCl > BeCl₂ > CCl₄
ข. อิเล็กตรอนหลุดจากผลึก
ค. จานวนประจุบวกและลบไม่เท่ากัน
ง. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เร็ วขึ้น เนื่องจากพลังงานจลน์มากขึ้น

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 1/56 หน้า 1
7. ธาตุ A และ B อยูใ่ นคาบเดียวกันของตารางธาตุ มีสมบัติบางประการ ดังนี้ 10. เลขอะตอมของ Ca และ Cl เท่ากับ 20 และ 17 ตามลาดับ ถ้าธาตุท้ งั 2 รวมตัวกันเกิด
เป็ นสารประกอบไอออนิก ข้อใดแสดงการจัดเรี ยงตัวของอิเล็กตรอนของไอออนทั้งสอง
สาร A B
ในสารประกอบได้ ถูกต้องที่สุด
สถานะที่อุณหภูมิ ของแข็ง ของแข็ง
ความสามารถในการสร้างพันธะ ดีมาก ไม่มี ไอออนของ Ca ไอออนของ Cl
โคเวเลนต์ ก 2 8 8 2 8 8
การเปลี่ยนแปลงเมื่อใส่ลงน้ า ไม่ละลาย ไม่เกิดปฏิกิริยา เกิดปฏิกิริยารุ นแรง เกิดแก๊ส ข 2 8 8 1 2 8 8
ค 2 8 8 2 8 8 1
ข้อใดสรุ ปถูกต้อง ง 2 8 6 2 8 8 1
ก. ธาตุ A เป็ นโลหะ
ข. ธาตุ B เป็ นอโลหะ 11. เลขอะตอมของ F และ Ca เท่ากับ 9 แล 20 ตามลาดับ ธาตุท้ งั สองรวมกับเป็ น
ค. ธาตุ A มีอิเล็กโทรเนกาติวติ ีต่ากว่า B สารประกอบไอออนิกการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของไอออนทั้งสองเป็ นดังข้อใด
ง. สารประกอบระหว่างธาตุ A กับ ธาตุ B ควรเป็ นสารประกอบไอออนิก (Ent – O 50 )
8. พิจารณาธาตุสมติต่อไปนี้ ₉A ₁₁B ₁₃C ₁₅D ₁₉E ธาตุคู่ใดทาปฏิกิริยา แคลเซียมไอออน ฟลูออไรด์ไอออน
กันได้สารประกอบไอออนิกและธาตุคู่ใดทาปฏิกิริยากันได้สารประกอบโคเวเลนต์ ก. 2 8 8 2 8 2
สารประกอบไอออนิก สารประกอบโคเวเลนต์ ข. 2 8 8 2 8
ก. A กับ B A กับ C ค. 2 8 8 2 2 7
ข. A กับ D B กับ D ง. 2 8 8 1 2 8 1
ค. D กับ E B กับ D 12. ถ้าธาตุ X และธาตุ Y แทนธาตุซ่ ึงมีเลขอะตอม 9 และ 20 ตามลาดับ สารประกอบ
ง. A กับ C A กับ D ระหว่างธาตุท้ งั สองจะมีพนั ธะชนิดใด และมีสูตรเป็ นอย่างไร

9. สารประกอบที่เกิดจากธาตุ X ที่มีอะตอมมิกนัมเบอร์ 17 กับธาตุ Y ที่มีอะตอม ชนิดของพันธะ สูตรประกอบ


มิกนัมเบอร์ 19 ก. โคเวเลนต์ Y₂X
ก. มีสูตร AB ข. ไอออนิก Y₂X
ข. มีสูตร BA₂ ค. ไอออนิก YX₂
ค. มีพนั ธะโคเวเลนต์ ง. โคเวเลนต์ YX₂
ง. มีพนั ธะไอออนิก
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 2/56 หน้า 2
13. กาหนดธาตุ ₁₁X ₁₅Y และ ₁₇Z สูตรของสารประกอบธาตุคู่ที่เกิดจากธาตุท้ งั 18. X Y และ Z มีเลขอะตอม 9 15 และ 19 ตามลาดับ สารประกอบคลอไรด์ของ
สาม ข้อใดเป็ นไปได้ ธาตุเหล่านี้ ควรมีสูตรอย่างไร
ก. X₃Y YZ₃ XZ ก. XCl₂ YCl ZCl₄
ข. X₃Y YZ₃ XZ₂ ข. XCl₄ YCl₃ ZCl₂
ค. XY₃ YZ₃ XZ ค. XCl₃ YCl₂ ZCl₃
ง. X₃Y YZ₅ X₂Z ง. XCl YCl₅ ZCl
19. ธาตุ ₁₄X ₁₅Y และ ₁₆Z เมื่อเกิดสารประกอบกับ H จะได้สูตรเคมีดงั ข้อใด
14. ธาตุ A B และ C มีเลขอะตอม 19 34 และ 53 ตามลาดับ สูตรสารประกอบ
ก. XH₄ YH₃ ZH₂
ในข้อใดถูกต้อง(Ent – O 50 )
ข. XH₃ YH₄ ZH₂
ก. A₂B AC BC₂
ค. XH₄ YH₃ ZH₄
ข. A₂B AC₂ B₂C
ง. XH₃ YH₂ ZH₄
ค. AB AC B₂C
20. ธาตุ M และ N มีการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนดังนี้
ง. AB A₂C BC₂
15. A เป็ นธาตุที่มีการจัดอิเล็กตรอนเป็ น 2 8 6 เมื่อรวมกับธาตุ B ได้สารประกอบ ธาตุ การจัดเรี ยงอิเล็กตรอน
ที่มีสูตร AB₂ ธาตุ B ควรมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่าไร(Ent 31 ) M 2 8 18 6

ก 1 ข 2 ค 3 ง 4 N 2 8 18 32 18 4

16. ถ้า O P Q และ R เป็ นธาตุที่มีเลขอะตอม 7 11 17 และ 20 ตามลาดับ สารประกอบระหว่าง M และ N ควรมีสูตรดังข้อใด
สูตรของสารประกอบข้อใดเป็ นไปได้ ก MN₂ ข M₂N ค M₂N₃ ง M₃N₂
ก OQ ข PO ค Q₂P₃ ง R₃O₂
21. ถ้าไนเตรตของธาตุ Y มีสูตร Y(NO₃)₂ สารประกอบอื่นๆ ของ Y ที่มีเลขออกซิเดชัน
17. สารประกอบซัลไฟด์ของธาตุ A B และ C ซึ่งทีเลขอะตอม 5 15 และ 20 เดียวกันเป็ นอย่างไร
ตามลาดับ ควรจะมีสูตรอย่างไรตามลาดับ ซัลเฟต ฟอสเฟต ไอโอไดด์
ก. A₂S₃ B₂S₅ CS₂ ก. Y(SO₄)₂ Y₃(PO₄)₄ YI₄
ข. A₂S₃ B₂S₅ CS ข. Y(SO₄)₃ Y₃(PO₄)₄ YI₂
ค. AS B₂S₃ C2S
ค. YSO₄ Y₃(PO₄)₂ YI₂
ง. AS B₂S₅ CS
ง. Y(SO₄)₂ Y₃(PO₄)₄ YI

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 3/56 หน้า 3
22. สารหนู (อาร์เซนิก As) เป็ นธาตุในหมูเ่ ดียวกับฟอสฟอรัส ถ้าโพแทสเซียมฟอสเฟตมี สูตรของสารประกอบทุกสูตรในข้อใดเป็ นไปได้
สูตร K₃PO₄ สูตรของแคลเซียมอาร์เซเนตเป็ นอย่างไร ก. B₃F A₂P JG₂
ก. Ca₃AsO₄ ข. BF AG CO₃
ข. Ca₃(AsO₄)₂ ค. JG J₂O KO₃
ค. Ca₃(AsO₄)₃ ง. J₂N LO₄ DA₄
ง. Ca₂(AsO₄)₃ 26. สูตรในข้อใดต่อไปนี้ ถูกต้องทั้งหมด
23. ธาตุ R มีสูตรสารประกอบซัลเฟตเป็ น R₂(SO₄)₃ ธาตุ Q มีเลขอะตอมต่ากว่าธาตุ R ก. ZnHPO₄ Fe(CN)₆³⁻ H₂PO₄²⁻
อยู่ 1 สูตร สารประกอบออกไซด์และคลอไรด์ของธาตุ Q ข้อใด ถูกต้อง ข. (NH₄)₂S N₂O₄ Fe(CN)₆⁵⁻
ก QO QCl₃ ค. Fe₂(SO₄)₃ Fe(OH)₃ H₂PO₄
ข QO QCl₂
ง. ZnHPO₄ (NH₄)₃Fe(CN)₆ NaHSO₄
ค Q₂O QCl
27. a , b และ c เป็ นธาตุในหมู่ I , VI และ VII ตามลาดับ ธาตุแต่ละคู่รวมกันเกิด
ง Q₂O₃ QCl₂
สารประกอบที่มีสูตรเหมือนข้อใด
24. ถ้า A B C และ D เป็ นธาตุที่มีเลขอะตอม 7 11 17 และ 20 ตามลาดับ สูตร สูตรสารประกอบที่เกิดจาก
ของไอออนและสารประกอบไอออนิก ข้อใด ถูกต้อง a กับ b a กับ c b กับ c
ไอออนบวก ไอออนลบ สูตรสารประกอบไอออนิก
ก. ab a₄c bc
ก. D²⁺ A³⁻ D₃A₂
ข. a₂b ac bc₂
ข. C³⁺ B²⁻ C₂B₃
ค. ab ac₄ b₂c
ค. B⁺ A⁻ BA
ง. ab₂ ac₂ bc₂
ง. A⁺ C⁻ AC
28. สารประกอบที่เกิดจาก a b และ c ในข้อ 27 มีสมบัติตรงกับข้อใด
25. กาหนดตารางธาตุต่อไปนี้
ละลายน้ าได้ดีที่สุด นาไฟฟ้ าได้ดีที่สุด จุดเดือดต่าที่สุด
คาบ I II III IV V VI VII VIII
ก. a กับ b a กับ c b กับ c
หมู่
ข. a กับ c b กับ c a กับ b
2 A B C D E F G H
3 I J K L M N O P ค. a กับ b a กับ b a กับ c
ง. a กับ b a กับ b a กับ c
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 4/56 หน้า 4
29. จากสูตรของ NaClO₃ SiCl₄ CO₂ Li₂CO₃ จงเขียนสูตรของสารประกอบต่อไปนี้ 32. ธาตุ X มีเลขอะตอม 53 จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
เรี ยงลาดับจาก เจอร์เมเนียม(IV)โบรไมด์ โซเดียมซิลิเกต ซิลิคอน (IV) ซัลไฟด์ 1. X รวมตัวกับโลหะปรอทแล้วจะมีสูตรเคมีเป็ น Hg₂X₂
โพแทสเซียมโบรเมต 2. X เมื่อเป็ นไอออนจะมีโครงสร้างอิเล็กตรอนเป็ น 2 8 18 18 8
ก. GeBr₄ NaSiO₃ SiS₃ K₂BrO₃ 3. X เมื่อเป็ นไอออนจะมีรัศมีไอออนเล็กกว่าไอออนของธาตุที่มีโครงสร้าง
ข. GeBr₄ Na₂SiO₃ SiS₄ KBrO₃ อิเล็กตรอน 2 8 18 18 8 1
ค. GeBr₂ Na₂SiO₃ SiS₂ K₂BrO₃ ข้อใดถูกต้อง (ENT- O 52)
ง. GeBr₄ Na₂SiO₃ SiS₂ KBrO₃ ก. 1 และ 2
30. พิจารณาธาตุ และสมบัติต่างๆ ดังนี้ ข. 2 และ 3
1. ธาตุ X เป็ นโลหะที่มีเวเลนต์อิเล็กตรอน 1 ตัว เมื่อทาปฏิกิริยากับออกซิเจนได้ ค. 1 และ 3
สารประกอบมีสูตรเป็ น X₂O ง. 1 , 2 และ 3
2. ธาตุ Y เป็ นโลหะหมูท่ ี่ 2 คาบที่ 3 เมื่อทาปฏิกิริยากับคลอรี นได้สารประกอบมี 33. เกลือ NaCl ที่อุณหภูมิปกติ มีสมบัติอย่างไร
สูตรเป็ น YCl₂ ก นาไฟฟ้ าได้ดี ข จุดหลอมเหลวสูง
3. ธาตุ A และ Z มีเลขอะตอมเป็ น 6 และ 9 เมื่อเกิดสารประกอบจะได้สารที่มี ค มีความดันไอสูง ง ถูกทั้ง ก. ข. และ ค
สูตรเป็ น AZ₄
34. ข้อใดเป็ นสมบัติเฉพาะตัวของของแข็งชนิดไอออนิก
ข้อใดถูกต้อง (ENT-O 52)
ก. เป็ นผลึก
ก. 1 และ 2
ข. ละลายในน้ าได้
ข. 1 และ 3
ค. มีจุดหลอมเหลวสูง
ค. 2 และ 3
ง. นาไฟฟ้ าได้ดีเมื่อหลอมเหลว
ง. 1 , 2 และ 3
35. จุดหลอมเหลว MgO สูงกว่า NaF
31. ชื่อสารที่กาหนดให้ต่อไปนี้ ข้อใด ผิด
1. Mg²⁺ มีประจุบวกสูงกว่า Na⁺
ก. Cu₂S คอปเปอร์ (II) ซัลไฟด์ NaCN โซเดียมไซยาไนด์
2. O²⁻ มีประจุสูงกว่า F⁻
ข. P₂O₅ ไดฟอสฟอรัสเพนทอกไซด์ Al₂O₃ อะลูมิเนียมออกไซด์
3. O²⁻ ใหญ่กว่า F⁻
ค. MnO₂ แมงกานีส (IV) ออกไซด์ FeCl₃ ไอออน (III) คลอไรด์
เนื่องมาจากสาเหตุต่อไปนี้( PAT-2 มี.ค..55)
ง. K₄[Fe(CN)₆] โพแทสเซียมเฮกซาไซยาโนเฟอเรต (II) HNO₃ กรดไตรออกโซ
ไนเตรต ก. ข้อ 2 เท่านั้น ข. ข้อ 1 และ 2
ค. ข้อ 1 และ 3 ง. ข้อ 1 2 และ 3

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 5/56 หน้า 5
36. พิจารณาธาตุสมมติต่อไปนี้ 38. นักเคมีผหู ้ นึ่ง นาสาร 2 ชนิด มาหาจุดหลอมเหลว จุดเดือด ละลายน้ า แล้วตรวจการนา
ธาตุ สมบัติ ไฟฟ้ าของสารละลาย การทดลองนี้ เป็ นการทดลองเพื่อ
A อยูห่ มู่เดียวกับธาตุที่มีเลขอะตอมเท่ากับ 19 และอยูใ่ นคาบเดียวกับ ก. หาแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลทั้งสอง
ธาตุที่มีเลขอะตอมเท่ากับ 13 ข. หาพลังงานของการละลายของสาร
B มีเลขอะตอมเท่ากับ 14 ค. หาว่าสารใดเป็ นโมเลกุลมีข้ วั
C เมื่อเกิดสารประกอบกับโลหะ เลขออกซิเดชันที่เป็ นไปได้ คือ - ,
1 ง. หาว่าสารใดประกอบขึ้นด้วยพันธะไอออนิกหรื อพันธะโคเวเลนต์
2
-1 และ -2 แต่สารประกอบส่วนใหญ่พบว่ามีเลขออกซิเดชันเป็ น -2 คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ในการตอบคาถามข้อ 39 – 43
D มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวติ ีมากที่สุดในคาบที่ 3 สมบัติ จุดหลอมเหลว จุดเดือด ความหนาแน่น จุดหลอมเหลว
จากข้อมูลข้างต้น ข้อใดถูกต้อง (Ent – A 50 ) ธาตุ ธาตุ ( C) ธาตุ (C) ธาตุ (g/cm³) คลอไรด์ของธาตุ (C)
ก. สารประกอบระหว่างธาตุ B และธาตุ D มีสูตรเคมีเป็ น BD₂
A 660 2,450 2.70 193
ข. สารประกอบระหว่างธาตุ B และธาตุ C จะละลายได้ในน้ าให้สารละลายที่เป็ นกรด
ค. ปฏิกิริยาระหว่างธาตุ C และธาตุ D จะได้สารประกอบที่นาไฟฟ้ าเมื่อหลอมเหลว B 1,280 2,480 1.85 405
ง. ปฏิกิริยาระหว่างธาตุ A กับน้ า จะได้สารประกอบไฮดรอกไซด์ และแก๊สไฮโดรเจน C 113 445 1.96 -80
37. A B C และ D เป็ นธาตุที่อยูใ่ นคาบเดียวกันในตารางธาตุ และมีเวเลนซ์อิเล็กตรอน D 114 183 4.94 27
เท่ากับ 2 3 6 และ 7 ตามลาดับ พิจารณาข้อสรุ ปต่อไปนี้ E 1,540 3,00 7.86 670
1. สูตรของสารประกอบระหว่าง A กับ D คือ AD₂ และระหว่าง C กับ D F 44 280 1.82 -91
B₂C₃
2. พันธะระหว่าง A กับ D เป็ นพันธะไอออนิก ส่วนระหว่าง C กับ D เป็ น 39. ธาตุที่น่าจะเป็ นโลหะ คือกลุ่มธาตุในข้อใด
พันธะโคเวเลนต์ ก A B E ข A C D
ค A D E ง C D F
3. อะตอมที่มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวติ ีสูงสุด คือ D
40. กลุ่มธาตุที่น่าจะนาไฟฟ้ าได้ คือกลุ่มใด
4. อะตอมที่มีค่าพลังงานไอออไนเซชันสูงสุด คือ A
ก E F ข A E
ข้อใดถูกต้อง (Ent – A 50 )
ค A D ง B C
ก. 1 และ 2
41. ออกไซด์ของธาตุกลุ่มใดที่ละลายน้ าให้สารละลายที่เป็ นกรด
ข. 2 3 และ 4
ก A B ข B C
ค. 1 2 และ 3
ค C F ง D E
ง. 1 และ 3

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 6/56 หน้า 6
42. ธาตุกลุ่มใดมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลสูงที่สุด 47. กาหนดธาตุ ₁₄X ₁₇Y และ ₁₉Z นาธาตุ Y ทาปฏิกิริยากับ Z ได้สาร A ซึ่งเป็ น
ก B C ข C D ค A E ง D F ของแข็ง และธาตุ X ทาปฏิกิริยากับ Y ได้สาร B ซึ่งเป็ นของเหลว นาสาร A และ B ไป
43. ธาตุคู่ใดมีค่าพลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 1 ต่าที่สุด หาจุดเดือด ทดสอบการนาไฟฟ้ า การละลายในน้ าและความเป็ นกรดเบส ข้อใด
ก A B ข A C ค A D ง D F สอดคล้องกับสมบัติของ A และ B มากที่สุด
44. สารคู่ใดต่อไปนี้ นาไฟฟ้ าได้ดีที่สุด (ENT 29 )
สาร จุดหลอมเหลว การนาไฟฟ้ า การละลายในน้ า
ก SiO₂(s) Ge(s) ข Si(s) KNO₃(l)
ก A สูง ไม่นา ละลาย สารละลายเป็ นกลาง
ค NaCl(s) แกรไฟต์ ง Br₂(l) NH₄Cl(l)
คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ในการตอบคาถามข้อ 45 – 46 (ENT – 29) B ต่า ไม่นา เกิดปฏิกิริยา สารละลายเป็ นกรด
1. ธาตุ A , B และ C เป็ นธาตุหมู่ I , IV และ VII ตามลาดับ และอยูใ่ นคาบเดียวกัน ข A สูง นา ละลาย สารละลายเป็ นกลาง
2. ธาตุ A รวมกับธาตุ C ได้สาร X ซึ่งเป็ นของแข็ง B สูง ไม่นา ไม่ละลาย ―
3. ธาตุ B รวมกับธาตุ C ได้สาร Y ซึ่งเป็ นของเหลว ค A ต่า ไม่นา ละลาย สารละลายเป็ นกรด
45. สูตรของสาร X และ Y อย่างง่าย คือข้อใด
B สูง ไม่นา ละลาย สารละลายเป็ นกรด
ก AC , BC₄ ข AC₂ , BC₂
ค AC₃ , B₂C ง A₂C , BC₃
ง A สูง นา ละลาย สารละลายเป็ นกลาง
46. ถ้านาสาร X และ Y ไปทดสอบหาจุดหลอมเหลว การนาไฟฟ้ า และการละลายในน้ า B ต่า ไม่นา เกิดปฏิกิริยา สารละลายเป็ นกลาง
ข้อมูลในข้อใดสอดคล้องกับสมบัติของสาร X และ Y มากที่สุด
สาร จุดหลอมเหลว การนาไฟฟ้ า การละลายในน้ า
48. ข้อใด ผิด เกี่ยวกับการนาไฟฟ้ าของสารต่างๆ ( PAT- 2 ต.ค.53 )
ก. X ต่า ไม่นา ละลาย
ก. การไฟฟ้ าของสารประกอบไอออนิกในสถานะของเหลวเกิดจากการถ่ายเท
Y ต่า ไม่นา ละลาย อิเล็กตรอนไออออนบวกให้ไอออนลบ
ข. X สูง นา ละลาย ข. การนาไฟฟ้ าของโลหะเกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนที่มีพลังงานจลน์สูง
Y ต่า นา ไม่ละลาย ค. แกรไฟต์ซ่ ึงเป็ นอัญรู ปหนึ่งของคาร์บอนนาไฟฟ้ าได้เนื่องจาก การเคลื่อนที่ของ
ค. X สูง ไม่นา ละลาย อิเล็กตรอน
Y ต่า ไม่นา ไม่ละลาย ง. สารกึ่งตัวนา จะนาไฟฟ้ าได้ก็ต่อเมื่อได้รับพลังงานจานวนหนึ่ง แล้วทาให้
ง. X ต่า นา ละลาย อิเล็กตรอนเกิดการเปลี่ยนแปลงระดับพลังงาน
Y สูง ไม่นา ไม่ละลาย

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 7/56 หน้า 7
49. ผสมสารละลายคู่ใดแล้วมีตะกอนเกิดขึ้น การทดลองชุดใดได้ผลแบบเดียวกัน
ก. CaCl₂ + NH₄NO₃ ⟶ ก. 1 2 และ 3
ข. BaCl₂ + Na₂CO₃ ⟶ ข. 1 2 และ 4
ค. Zn + HCl ⟶ ค. 1 3 และ 4
ง. Na₃PO₄ + KCl ⟶
ง. 2 3 และ 4
50. ปฏิกิริยาในข้อใดเกิดตะกอนทั้งสองปฏิกิริยา
ก. CuSO₄ + NaNO₃ และ Zn(NO₃)₂ + HCl 53. นักเรี ยนคนหนึ่งทาการวิเคราะห์สารตัวอย่าง A , B และ C ซึ่งเป็ นสารประกอบไอออ
ข. NaCl + KNO₃ และ FeCl₃ + HNO₃ นิก โดยนามาทดสอบกับสารละลาย AgNO₃ , Na₂SO₄ , Na₂CO₃ , Na₂HPO₄ ซึ่ง
ค. AgNO₃ + KCl และ Cu(NO₃)₂ + NaCl เป็ นสารละลายใสไม่มีสี และสารละลาย Cl₂ ใน CCl₄ และ Br₂ ใน CCl₄ ซึ่งเป็ น
ง. AgNO₃ + KI และ Pb(NO₃)₂ + Na₂SO₄ สารละลายใสไม่มีสี และสารละลายมีสีสม้ ตามลาดับ สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลง และ
51. ปฏิกิริยาของสารคูใ่ ดต่อไปนี้ มีตะกอนเกิดขึ้น บันทึกผลการทดลอง ได้ดงั ตาราง ( ENT - A 51 )
1. CdCl₂(g) + (NH₄)₂S(aq) ⟶ สาร ผลการทดสอบ เมื่อผสมกับสารละลาย
2. Cu(NO₃)₂(aq) + Na₂CO₃(aq) ⟶ ตัวอย่าง AgNO₃ Na₂SO₄ Na₂CO₃ Na₂HPO₄ Cl₂ ใน CCl₄ Br₂ ใน CCl₄
3. H₂SO₄(aq) + MgCO₃(s) ⟶ A เกิดตะกอน ไม่เกิดตะกอน เกิดตะกอน เกิดตะกอน สี ชมพูแกมม่วง สี ชมพูแกมม่วง
ปฏิกิริยาของสารคูใ่ ด มีตะกอนเกิดขึ้น เกิดตะกอน
B เกิดตะกอน เกิดตะกอน เกิดตะกอน สี ส้ม สี ส้ม
ก. 1 และ 2 เท่านั้น
ข. 2 และ 3 เท่านั้น C ไม่เกิดตะกอน เกิดตะกอน เกิดตะกอน เกิดตะกอน ไม่มีสี สี ส้ม

ค. 1 และ 3 เท่านั้น
จากผลการทดสอบ สารตัวอย่าง A B และ C ควรเป็ นสารใด
ง. 1 2 และ 3
52. เมื่อนาสารละลายใส ไม่มีสี A และ B ในแต่ละชุดรวมกันเข้า A B C
ก. MgBr₂ CaO SrCl₂
ชุด สารละลาย A สารละลาย B
ข. NH₄Cl BaCl₂ Ca(NO₃)₂
1. NaCl Pb(NO₃)₂
ค. MgCl₂ Sr(NO₃)₂ (NH₄)₂S
2. Na₂S ZnSO₄
3. Al(NO₃)₃ KOH ง. MgI₂ CaBr₂ Ba(NO₃)₂
4. KI Mg(NO₃)₂

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 8/56 หน้า 8
54. ฉลากที่ติดขวดใสสารประกอบไอออนิก 4 ชนิดนักเรี ยนคนหนึ่งทาการทดสอบ แถบสี แดงนั้นคืออะไร
สารประกอบทั้ง 4 ชนิด ในน้ าแล้วผสมสารละลายแต่ละชนิดเข้าด้วยกันพบว่าได้ผล ก. ซิลเวอร์ไนเตรต
การทดลองดังตาราง ข. ซิลเวอร์ไดโครเมต
ผลการทดลองเมือผสมสารละลาย ค. โพแทสเซียมไนเตรต
1 2 3 4 ง. โพแทสเซียมไดโครเมต
1 ― ตะกอนขาว สารละลายใส ตะกอนขาว 56. เมื่อเติมน้ าลงในของผสม X ซึ่งเป็ นของแข็ง พบว่า มีบางส่วนละลาย จึงกรองและล้าง
2 ตะกอนขาว ― ตะกอนเหลือง สารละลายใส ส่วนที่ไม่ละลายด้วยน้ าอีกครั้ง แบ่งสารละลายที่ได้เป็ น 2 ส่วน ส่ วนหนึ่งเติมสารละลาย
3 สารละลายใส ตะกอนเหลือง ― สารละลายใส AgNO₃ จะได้ตะกอนสีขาว อีกส่วนหนึ่งเมื่อนาไประเหยจนแห้งจะได้สารสี ขาว (A)
สาหรับส่วนที่ไม่ละลายนั้นมีสีเข้ม เมื่อนาไปทดลองกลัน่ ด้วยไอน้ า ปรากฏว่า มีไอสี ม่วง
4 ตะกอนขาว สารละลายใส สารละลายใส ―
ออกมากับไอน้ าและกลายเป็ นของแข็งสี เข้ม (B) ในภาชนะรองรับ นอกจากนี้ยงั มีกากสี
จากผลการทดลอง สารประกอบไอออนิกทั้ง 4 ชนิด ขาว (C) ที่เหลือจาการกลัน่ ซึ่งเมื่อทาให้แห้งแล้วแบ่งมาทดสอบเล็กน้อย พบว่า เกิดฟอง
แก๊ส เมื่อเติมสารละลาย HCl องค์ประกอบของ X ข้อใดเป็ นไปได้มากที่สุด
1. 2. 3. 4. A B C
ก. Na₂CO₃ Pb(NO₃)₂ KI Ca(NO₃)₂ ก. CaCO₃ I₂ BaCO₃
ข. Ca(NO₃)₂ KI Pb(NO₃)₂ Na₂CO₃
ข. BaCl₂ I₂ BaCO₃
ค. Na₂CO₃ Pb(NO₃)₂ Ca(NO₃)₂ KI
ค. NaCl KMnO₄ CaCO₃
ง. Na₂CO₃ Ca(NO₃)₂ KI Pb(NO₃)₂
ง. KCl I₂ BaSO₄
55. นักเรี ยนผูห้ นึ่งทาการทดลองด้วยเครื่ องมือและสารเคมีดงั ในรู ป หลังจากหยดสารละลาย 57. ตารางต่อไปนี้แสดงสมบัติบางประการของสารประกอบธาตุคู่บางชนิด ข้อมูลในข้อใด
ทั้งสองลงในน้ าทั้งสองข้าง ของหลอดรู ปตัวยู แล้วพบว่าเกิดตะกอนแดงเป็ นแถบที่ ถูกต้ อง ที่สุด
ตาแหน่ง ดังแสดง
ธาตุองค์ประกอบ อัตราส่ วนจานวน จุดหลอมเหลวและ การนาไฟฟ้ า
อะตอม จุดเดือด
สารละลาย K₂Cr₂O₇ 3 หยด
ก. หมู่ I กับ หมู่ VII 1:1 ต่า นาไฟฟ้ าเมื่อหลอมเหลว
สารละลาย AgNO₃ 3 หยด
ข. หมู่ I กับ หมู่ VI 1:1 ต่า ไม่นาไฟฟ้ า
เกิดแถบสีแดง ค. หมู่ II กับ หมู่ VI 1:3 สูง นาไฟฟ้ าเมื่อหลอมเหลว
ง. หมู่ VI กับ หมู่ VII 1:2 ต่า ไม่นาไฟฟ้ า

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 9/56 หน้า 9
58. สารประกอบที่เกิดจากการรวมตัวของธาตุหมู่ต่างๆ ต่อไปนี้ ข้อใดมีรายละเอียด ถูกต้ อง คาชี้แจง ข้อมูลในตารางใช้ในการตอบคาถามข้อ 61 - 63
(เลขอะตอมของธาตุท้ งั หมดต่ากว่า 50 ) พลังงานของปฏิกิริยา Na⁺(g) + Cl⁻(g)  NaCl(s) เกิดจากพลังงานที่
หมู่ของธาตุที่เป็ น อัตราส่วน จุดหลอมเหลว การละลายน้ า /สมบัติ ได้จากการรวมพลังงานขั้นต่างๆตามตาราง 5 ขั้น ดังนี้
องค์ประกอบ จานวนอะตอม และจุดเดือด
ขั้นที่ การเปลี่ยนแปลง จานวนพลังงานที่ใช้ สัญลักษณ์ของ
ก. หมู่ I กับ หมู่ VI 1:2 สูง ละลาย / เบส
หรื อคาย (kJ/mol) พลังงาน
ข. หมู่ V กับ หมู่ VI 2:3 ต่า ละลาย / กรด 𝐻𝑠𝑢𝑏
1. Na(s)  Na(g) 108.3
ค. หมู่ I กับ หมู่ VI 1:2 ต่า ละลาย / กลาง 𝐻𝑑𝑖𝑠
2. Cl₂(g)  Cl(g) 241.6
1
2
ง. หมู่ I กับ หมู่ VI 1:1 สูง ไม่ละลายน้ า
3. Na(s)  Na⁺(g) + e⁻ 494.9 I
59. ปฏิกิริยาระหว่างธาตุสองชนิดเกิดเป็ นสารประกอบธาตุคู่ 4. Cl(g) + e⁻  Cl⁻(g) 357.4 E
จานวนอะตอม อัตราส่วน ชนิดของพันธะ สมบัติเมื่อละลายน้ า 5. Na⁺(g) + Cl⁻(g)  NaCl(s) 777.6 U
1. คลอรี นกับโบรมีน 1:1 โคเวเลนต์ กรด
2. คาร์บอนกับกามะถัน 1:2 ไอออนิก กรด 61. พลังงานในขั้นที่ 4 เป็ นพลังงานอะไร
3. คลอรี นกับเหล็ก 2:1 โคเวเลนต์ กลาง ก. พลังงานการแตกตัว
4. โซเดียนกับออกซิเจน 2:1 ไอออนิก เบส ข. พลังงานอิเล็กตรอนอัฟฟิ นิตี ( Electron Affinity )
ค. พลังงานโครงร่ างผลึก
ข้อมูลใด ถูกต้ อง
ง. พลังงานไอออไนเซชัน
ก. 1 และ 2
62. พลังงานในขั้นที่ 5 เป็ นพลังงานอะไร
ข. 1 และ 4 ก. พลังงานการแตกตัว
ค. 1 , 2 และ 4 ข. พลังงานอิเล็กตรอนอัฟฟิ นิตี
ง. 1 , 3 และ 4 ค. พลังงานโครงร่ างผลึก
60. ข้อความต่อไปนี้ ข้อใด ถูกต้อง ที่สุด เมื่อมีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น ง. พลังงานไอออไนเซชัน
ก. พลังงานจะถูกดูดเข้าไป
ข. พลังงานจะคายออกมา
ค. มีการเปลี่ยนแปลงสถานะเกิดขึ้น
ง. มีท้ งั ให้พลังงานออกมาหรื อดูดพลังงานเข้าไป
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 10/56 หน้า 10
63. ถ้า H𝑓 คือพลังงานของปฏิกิริยา ชนิดของปฏิกิริยาเหล่านี้เป็ นดังข้อใด
Na⁺(g) + Cl⁻(g)  NaCl(s) ก. I II III คายความร้อน IV V VI ดูดความร้อน
และ ( H𝑓 ) = 𝐻𝑠𝑢𝑏 + 𝐻𝑑𝑖𝑠 + I + (  E) + ( U)
1 ข. II IV VI คายความร้อน I III V ดูดความร้อน
2
ดังนั้นพลังงานของปฏิกิริยาเท่ากับเท่าไร ค. I IV VI คายความร้อน II III VI ดูดความร้อน
ก. 289.66 kJ/mol ง. IV V VI คายความร้อน I II III ดูดความร้อน
ข. 411.00 kJ/mol 66. ข้อความต่อไปนี้ขอ้ ใด ผิด
ค. 1,279.46 kJ/mol ก. สารประกอบไอออนิกมักจะเกิดระหว่างธาตุที่มีพลังงานไอออไนเซชันต่ากับธาตุที่มี
ง. 1,858.66 kJ/mol ค่าอิเล็กโทรเนกาติวติ ีสูง
64. ถ้า AB เป็ นสารประกอบไอออนิกชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยธาตุ A กับ ธาตุ B ปฏิกิริยาใด ข. เมื่อหลอมเหลวสารประกอบไอออนิกจะเป็ นปฏิกิริยาดูดความร้อน
เกี่ยวข้องกับพลังงานแลตทิซ ค. การเกิดสารประกอบไอออนิกจะเป็ นปฏิกิริยาดูดความร้อน
ก. AB(s)  A⁺(aq) + B⁻(aq) ง. สารประกอบไอออนิกยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงไฟฟ้ า
ข. A⁺(g) + B⁻ (g)  AB(s) 67. ถ้า XY เป็ นสารประกอบไอออนิกที่มีแผนผังแสดงขั้นตอนการเกิดดังนี้
ค. A(g) + B(g)  AB(s)
ง. A⁺(aq) + B⁻(aq)  AB(s)
65. ถ้า I II III IV V และ VI เป็ นขั้นตอนต่างๆที่เกี่ยวข้องในการเตรี ยม
NaCl(s) จาก Na(s) และ Cl₂(g) ดังแสดง

การเปลี่ยนแปลงพลังงานในขั้นตอนใด เป็ นการคายและดูดพลังงานตามลาดับ


คายพลังงาน ดูดพลังงาน
ก. 2 1
ข. 4 3
ค. 5 4
ง. 1,2 3

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 11/56 หน้า 11
68. พิจารณาการเปลี่ยนแปลงพลังงานต่อไปนี้ H₂O 70. สมการการเกิดสารประกอบ CaBr₂
Ca(s) + Br₂(l) ⟶ CaBr₂(s)
ขั้นตอนใดที่ ไม่ อยูใ่ นแผนภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงาน (PAT- 2 มี.ค. 53 )
ก. Br₂(l) ⟶ 2Br(g)
ข. Ca²⁺(g) + 2Br⁻(g) ⟶ CaBr₂(s)
ค. Ca(g) + Br₂(g) ⟶ Ca(g) + Br₂(g)
ง. Ca(g) + 2 Br(g) ⟶ Ca²⁺(g) + Br₂(g)
1
การระบุชื่อพลังงานในข้อใดผิด 71. พิจารณาปฏิกิริยา Ca(s) + 2 O₂(g) ⟶ CaO(s)
ก.  H₃ คือพลังงานสลายพันธะ พลังงานในข้อใดไม่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยานี้ (PAT- 2 มี.ค. 54 )
ข. H₄ คือสัมพรรคภาพอิเล็กตรอน ก. พลังงานแลตทิซ
ค. H₅ คือพลังงานแลตทิซ ข. พลังงานการระเหิดของ Ca
ง. H₆ พลังงานไฮเดรชัน ค. พลังงานไอออไนเซชันของธาตุออกซิเจน
69. พิจารณาการเกิดปฏิกิริยาต่อไปนี้ ง. พลังงานการสลายพันธะของธาตุออกซิเจน
1
Na(s) + 2 X₂(g) ⟶ NaX(s) 72. กาหนดให้
เมื่อ X = ₁₇Cl หรื อ ₃₅Br หรื อ ₅₃I 1. พลังงานในการเกิด CaCl₂ และ CaBr₂ มีค่าดังนี้
จากข้อมูลข้างต้น ข้อใด ถูกต้อง ที่สุด (ENT – A 51 ) Ca(s) + Cl₂(g) ⟶ CaCl₂(s) ; H𝑓 = - 800 kJ/mole
ก. จุดหลอมเหลวของ NaCl < NaBr < NaI Ca(s) + Br₂(g) ⟶ CaBr₂(s) ; H𝑓 = - 650 kJ/mole
ข. ถ้า X เป็ น ₅₃I พบว่าพลังงานที่คายออกมาจากปฏิกิริยามีค่าสูงสุด 2. ค่าสัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (EA) ของ Cl และ Br และค่าพลังงานการแตกตัว
ค. พลังงานแลกทิซของ NaX จะขึ้นกับแรงดึงดูดระหว่าง Na⁺(g) และ X⁻(g) (D) ของ Cl₂ และ Br₂ มีดงั ตาราง
ง. พลังงานที่คายออกมาจากปฏิกิริยาขึ้นอยูก่ บั พลังงานไอออไนเซชัน่ ลาดับที่ 1 ของ Cl Br
โลหะโซเดียมเป็ นสาคัญ EA = -350 kJ/mole EA = -300 kJ/mole
D ของ Cl₂(g) = 250 kJ/mole D ของ Br₂(g) = 200 kJ/mole
ถ้าพลังงานแลกทิซของ CaCl₂ และ CaBr₂ = X และ Y kJ/mole ตามลาดับ การ
เปรี ยบเทียบค่าพลังงานแลกทิซ ( ไม่คิดเครื่ องหมาย ) ข้อใดถูกต้อง (ENT-A 50)
ก. X > Y ข. Y > X
ค. X = 1.4 Y ง. เปรี ยบเทียบไม่ได้ เพราะข้อมูลไม่เพียงพอ
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 12/56 หน้า 12
73. พิจารณาพลังงานที่เกี่ยวข้องในสมการต่อไปนี้ 76. เมื่อละลาย KCl ในน้ าเกิดปฏิกิริยาเป็ นขั้นๆ และมีการเปลี่ยนแปลงพลังงาน ดังนี้
₁₁A(g) + ₁₇C(g) ⟶ ₁₁A⁺(g) + ₁₇C⁻(g) ; 𝐻 = a kJ/mole KCl(s) ⟶ K⁺(g) + Cl⁻(g) ; H₁ = 701.2 kJ/mol
₁₁A(g) + ₃₅D(g) ⟶ ₁₁A⁺(g) + ₃₅D⁻(g) ; 𝐻 = b kJ/mole K⁺(g) + Cl⁻(g) ⟶ K⁺(aq) + Cl⁻(aq) ; H₂ = 684.1 kJ/mol
₃₇B(g) + ₁₇C(g) ⟶ ₃₇B⁺(g) + ₁₇C⁻(g) ; 𝐻 = c kJ/mole ปฏิกิริยาเป็ นแบบใด
₃₇B(g) + ₃₅D(g) ⟶ ₃₇B⁺(g) + ₃₅D⁻(g) ; 𝐻 = d kJ/mole ก. คายพลังงานเท่ากับ 1, 385.3 kJ/mol
การเรี ยงพลังงาน ข้อใดถูกต้อง ข. คายพลังงานเท่ากับ 17.1 kJ/mol
ก. a > b > c > d ค. ดูดพลังงานเท่ากับ 17.1 kJ/mol
ข. b > a > d > c ง. ดูดพลังงานเท่ากับ 1,385.3 kJ/mol
ค. b > a > c > d 77. พลังงานที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยา (1) ในข้อ 77 เรี ยกว่า
ง. a > b > d > c ก. พลังงานการละลาย ข. พลังงานไฮเดรชัน
74. การที่สารใดสารหนึ่งไม่ ละลายน้ านั้น เป็ นเพราะ ค. พลังงานโครงร่ างผลึก ง. พลังงานไอออไนเซชัน
ก. พลังงานของการละลายมีค่าเป็ นลบ 78. การละลายของเกลือ LiCl(s) มีข้นั ตอนดังนี้
ข. พลังงานไฮเดรชันของสารมีค่าน้อยกว่าพลังงานโครงร่ างผลึกมาก 1. LiCl(s) ⟶ Li⁺(g) + Cl⁻(g)
ค. พลังงานของการละลายเท่ากับพลังงานโครงผลึก 2. Li⁺(g) + Cl⁻(g) ⟶ Li⁺(aq) + Cl⁻(aq)
ง. พลังงานไฮเดรชันของสารมีค่าเป็ นลบ รวม LiCl(s) ⟶ Li⁺(aq) + Cl⁻(aq)
75. ข้อใด ไม่ ใช่ สมการที่อยูใ่ นวัฏจักรพลังงานการละลายน้ าของ NaNO₃(s) (PAT- 2 ต.ค. 53 ) กาหนดให้พลังงานแลตทิซ = 834 kJ/mol พลังงานไฮเดรชัน= 884 kJ/mol
ก. NaNO₃(s) ⟶ Na⁺(g) + NO₃⁻(g) อยากทราบว่าปฏิกิริยาทั้งสามเป็ นปฏิกิริยาชนิดใด และขั้นตอนรวมมีพลังงานที่
ข. Na⁺(g) ⟶ Na⁺(aq)
เกี่ยวข้องกี่กิโลจูลต่อโมล (ENT มี.ค. 43 )
ค. NO₃⁻(g) ⟶ NO₃⁻(aq)
ชนิดปฏิกิริยา พลังงาน
ง. NaNO₃(g) ⟶ Na⁺(g) + NO₃⁻(g)
1 2 รวม ( kJ/mol )
ก. คาย ดูด ดูด 50
ข. ดูด ดูด ดูด 1,718
ค. ดูด คาย คาย 50
ง. คาย คาย คาย 1,718

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 13/56 หน้า 13
คาชี้แจง 82. XY เป็ นสารประกอบไอออนิก เมื่อนาสารนี้ 1.00 กรัม มาละลายในน้ า 100 กรัม
ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ในการตอบคาถามข้อ 79 - 81 ปรากฏว่าอุณหภูมิของสารละลายลดลง 0.30 องศาเซลเซียส
นักเรี ยนผูห้ นึ่งนาสาร AB มาบดแล้วละลายน้ าเก็บข้อมูลได้ดงั นี้ กาหนดให้ มวลโมเลกุลของ XY = 50 g/mole
มวลของสารละลาย AB = 4 กรัม ความจุความร้อนจาเพาะของน้ า = 4.2 J/g. C
ปริ มาณน้ าในคาลอริ มิเตอร์ = 55 cm³ พลังงานไฮเดรชันของ XY = - 30.0 kJ/mol
อุณหภูมิของน้ าก่อนละลายสาร = 29 C พลังงานโครงร่ างผลึกของ XY มีค่ากี่กิโลจูลต่อโมล( PAT-2 ต.ค. 52 ) ¶
อุณหภูมิของน้ าหลังละลายสาร = 23 C ก. 6.3 kJ/mol
ถ้า AB(s) ⟶ A⁺(g) + B⁻(g) H₁ = x kJ/mol ข. 7.3 kJ/mol
A⁺(g) + B⁻(g) ⟶ A⁺(aq) + B⁻(aq) H₂ = y kJ/mol ค. 30.1 kJ/mol
79. ข้อความเกี่ยวกับพลังงานต่อไปนี้ ข้อใดถูกต้อง ง. 36.3 kJ/mol
ก. x = y 83. ข้อมูลแสดงค่าพลังงานที่เกี่ยวข้องกับการละลายของสาร A B และ C เป็ นดังนี้
ข. x > y
สาร พลังงานไฮเดรชัน (kJ/mol) พลังงานแลตทิซ (kJ/mol)
ค. x < y
ง. ( x + y ) = ค่าคงที่ A 745 750
80. ปริ มาณความร้อนที่เปลี่ยนแปลงไปในปฏิกิริยานี้เป็ นกี่จูล (กาหนดให้ความร้อนจาเพาะ B 590 550
ของน้ า = 4.2 จูลต่อกรัมต่อองศาเซลเซียส) C 690 700
ก. 0.504 จูล
ข. 1.98 จูล ถ้าใช้สาร A B และ C จานวนโมลเท่ากัน ละลายในน้ าที่มีปริ มาตร 155 cm³ การ
ค. 35 จูล เปรี ยบเทียบอุณหภูมิของแต่ละสารละลาย ข้อใด ถูกต้อง
ง. 1,260 จูล ก. A > B > C
81. ถ้าสาร AB ไม่ละลายน้ า ความสัมพันธ์ระหว่าง x กับ y จะเป็ นอย่างไร ข. B > A > C
ก. x = y ค. B > C > A
ข. x มีค่าต่ากว่า y มาก ง. C > A > B
ค. x มีค่าสูงกว่า y มาก
ง. x กับ y ไม่แตกต่างกันมากนัก

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 14/56 หน้า 14
84. เมื่อนาโซเดียมคาร์บอเนตน้ าหนักแน่นอนละลายในน้ าจานวนหนึ่ง แล้ววัดอุณหภูมิที่ 87. พบว่า เมื่อแอมโมเนียมคลอไรด์ละลายน้ าจะเป็ นปฏิกิริยาดูดพลังงานและปฏิกิริยาเกิด
เปลี่ยนแปลง พบว่า อุณหภูมิเพิ่มขึ้น เราทราบแล้วว่า ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น คือ ดังนี้
I. Na₂CO₃(s) ⟶ 2Na⁺(g) + CO₃²⁻(g) NH₄Cl(s) ⟶ NH₄⁺(g) + Cl⁻(g) ดูดพลังงาน E₁
II. 2Na⁺(g) + CO₃²⁻(g) ⟶ 2Na⁺(aq) + CO₃²⁻ (aq) NH₄⁺(g) + Cl⁻(g) ⟶ NH₄⁺(aq) + Cl⁻(aq ) คายพลังงาน E₂
ข้อสรุ ปเกี่ยวกับพลังงานการละลายของโซเดียมคาร์บอเนต ข้อใด ถูกต้ อง ข้อความต่อไปนี้ ข้อใดถูกต้ องที่สุด
ก. การใช้พลังงานในข้อ I มากกว่าการคายพลังงานในข้อ II ก. สารละลายมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น และ E₁ > E₂
ข. การคายพลังงานในข้อ I มากกว่าการใช้พลังงานในข้อ II ข. สารละลายมีอุณหภูมิลดลง และ E₁ > E₂
ค. การใช้พลังงานในข้อ I น้อยกว่าการคายพลังงานในข้อ II ค. แอมโมเนียมคลอจะละลายน้ าได้ดีเพราะ E₁ > E₂
ง. การใช้พลังงานในข้อ I ไม่แตกต่างจากการคายพลังงานในข้อใด II ง. แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของน้ ากับไอออนมีค่ามากกว่าพลังงานที่ชใ้ นการสลาย
85. เมื่อนาคอปเปอร์ (II) ซัลเฟต 4 กรัม มาละลายในน้ า 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร พันธะไอออนิก
อุณหภูมิ 28 องศาเซลเซียส ปรากฏว่าวัดอุณหภูมิของสารละลายได้เท่ากับ 32 องศา 88. เมื่อนาสาร MX มาละลายน้ า มีกระบวนการที่เกี่ยวข้องดังนี้
เซลเซียส อาจเขียนการเปลี่ยนแปลงได้ดงั สมการต่อไปนี้ MX(s) ⟶ M⁺(g) + X⁻(g) ดูดพลังงาน E₁
ถ้า CuSO₄(g) ⟶ Cu²⁺(g) + SO₄²⁻(g) I. M⁺(g) + X⁻(g) ⟶ M⁺(aq) + X⁻ (aq) คายพลังงาน E₂
Cu²⁺(g) + SO₄²⁻(g) ⟶ Cu²⁺(aq) + SO₄²⁻(aq) II. ข้อสรุ ปใด ถูกต้อง
ข้อสรุ ปใดถูกต้อง ก. เมื่อ MX มาละลายน้ า แล้วเกิดความร้อนขึ้น แสดงว่า E₁ > E₂
ก. ความร้อนที่คายออกในปฏิกิริยา (I) มีค่ามากว่าความร้อนที่ดูดเข้าไปในปฏิกิริยา (II) ข. ถ้า E₁> E₂แสดงว่า MX ไม่ละลายน้ า
ข. ความร้อนที่ดูดออกในปฏิกิริยา (I) มีค่าน้อยกว่าความร้อนที่ดูดเข้าไปในปฏิกิริยา (II) ค. ถ้า E₁ = E₂ แสดงว่า MX ไม่ละลายน้ า
ค. ทั้งปฏิกิริยา (I) และ (II) เป็ นปฏิกิริยาคายความร้อน ง. ความสามารถในการละลายน้ าของ MX ไม่ข้ ึนกับค่า E₁ และ E₂
ง. ข้อมูลข้างต้นไม่สามารถนามาใช้อธิบายสาเหตุที่ทาให้อุณหภูมิของน้ าสูงขึ้นกว่าเดิม 89. เมื่อสารประกอบไอออนิกซึ่งมีสูตร 𝑀𝑚𝑛+ 𝑋𝑛𝑚− ละลายน้ าจะเกิดปฏิกิริยา 2 ขั้นตอน
86. กระบวนการละลายของสารประกอบไอออนิก มี 2 ขั้น ดังนี้ I. 𝑀𝑚𝑛+ 𝑋𝑛𝑚− (s) ⟶ m𝑀𝑛+ (g) + n𝑋 𝑚− (g) ดูดพลังงาน E₁
MX(s) ⟶ M⁺(g) + X⁻(g) I. II. m𝑀𝑛+(g) + n𝑋 𝑚− (g) ⟶ m𝑀𝑛+(aq) + n𝑋 𝑚−(aq) คายพลังงาน E₂
M⁺(g) + X⁻(g) ⟶ M⁺(aq) + X⁻(aq) II. การที่พลังงาน ใช้พลังงาน E₁ มากกว่า E₂ มาก แสดงว่า
H คือ พลังงานที่เปลี่ยนแปลงในปฏิกิริยา ข้อความใด ถูกต้ อง ที่สุด ก. 𝑀𝑚𝑛+ 𝑋𝑛𝑚− ไม่ละลายน้ าหรื อละลายได้นอ้ ยมาก
ก. ถ้าสารละลายน้ าแล้วเกิดความร้อนขึ้น แสดงว่า  H₁ > H₂ ข. การละลายของ 𝑀𝑚𝑛+ 𝑋𝑛𝑚− เป็ นการคายความร้อนมาก
ข. ถ้า H₁ >  H₂ แสดงว่าสารไม่ละลายน้ า ค. m > n
ค. ถ้าไม่มีความร้อนเกิดขึ้นหรื อลดลง แสดงว่าสารนั้นไม่ละลายน้ า ง. การละลายของ 𝑀𝑚𝑛+ 𝑋𝑛𝑚− เป็ นการดูดความร้อนมาก
ง. สารที่ละลายน้ าได้ H₁ อาจมากกว่าหรื อน้อยกว่า H₂ ก็ได้
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 15/56 หน้า 15
90. เมื่อนา A₂B(s) จานวนหนึ่งมาละลายน้ า อุณหภูมิจะสูงขึ้น 92. เมื่อนา KNO₃ มาละลายน้ าในถ้วยแก้ว KNO₃ จะแตกตัวเป็ นไอออน ดังสมการ
2A⁺(g) + B²⁻(g) ⟶ A₂B(s) H₁ KNO₃(s) + 350 กิโลจูล  K⁺(aq) + NO₃⁻(aq)
2A⁺(g) + B²⁻(g) ⟶ 2A⁺(aq) + B²⁻(aq) H₂ เราจะสรุ ปผลอย่างไร
ข้อสรุ ปใดถูกต้อง ก. K⁺ และ NO₃⁻จะมีพลังงานน้อยกว่า KNO₃
ก. H₁ < 0 , H₂ < 0 และ ( H₁ > H₂ ) ข. ถ้วยแก้วที่ใส่น้ าจะเย็นลง
ข. H₁ < 0 , H₂ < 0 และ ( H₁ < H₂ ) ค. พลังงาน 350 กิโลจูล จะถูกคายออก
ค. H₁ > 0 , H₂ > 0 และ ( H₁ > H₂ ) ง. น้ าในถ้วยแก้วจะมีอุณหภูมิคงที่
ง. H₁ > 0 , H₂ > 0 และ ( H₁ < H₂ ) 93. เมื่อละลายแอมโมเนียมคลอไรด์ในน้ า จะเกิดปฏิกิริยาดังสมการ
91. ผลการละลายสารบางชนิดในน้ าที่มีอุณหภูมิ 28 องศาเซลเซียส เป็ นดังนี้ NH₄Cl(s)  NH₄⁺(aq) + Cl⁻(aq) H = 15 kJ/mol
ถ้าใช้ NH₄Cl 0.1 โมล ละลายในน้ า 50 cm³ ข้อความใดผิด
การทดลอง สาร อุณหภูมิของสารละลาย ( C)
ก. อุณหภูมิของน้ าลดลง
1 KNO₃ 22
ข. พลังงานที่เปลี่ยนแปลงมีค่า 1.5 kJ
2 NaCl 28 ค. ความเข้มข้นของสารละลาย = 2.0 mol/dm³
3 NaOH 53 ง. การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเป็ นการเปลี่ยนสถานะ
4 KCl 31 94. เมื่อนาสาร A B C D E ละลายน้ าที่อุณหภูมิ 25C แล้ววัดอุณหภูมิของสารที่ได้
ได้ดงั นี้
สมการทัว่ ไปของการละลายของสารในน้ าคือ
AB(s) ⟶ A⁺(g) + B⁻(g) ดูดพลังงาน E₁ สาร A B C D E
A⁺(g) + B⁻(g) ⟶ A⁺(aq) + B⁻(aq) คายพลังงาน E₂ 12 25 68 85 10
อุณหภูมิ (C)
จงเลือกการทดลองที่มีค่า E₂ > E₁ และ E₂ = E₁
ข้อสรุ ปใดผิด
E₂ > E₁ E₂ = E₁
ก. สารละลาย A และ E เมื่อตั้งทิ้งไว้จะมีไอน้ ามาเกาะข้างบีกเกอร์
ก. 3 4 ข. การละลายของ C และ D เป็ นกระบวนการคายความร้อน
ข. 3 4 2 ค. B ไม่มีแรงดึงดูดกับโมเลกุลของน้ า จึงทาให้อุณหภูมิไม่เปลี่ยนแปลง
ค. 3 4 1 ง. การละลายของ E เป็ นกระบวนการดูดความร้อน
ง. 2 3 4

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 16/56 หน้า 16
95. เมื่อนาสาร A B และ C อย่างละ 2 กรัม ละลายน้ าที่อุณหภูมิ 25 C ปริ มาตร 100 cm³ ข. พลังงานที่ใช้ในการแยกอนุภาคของสาร A ออกจากกัน มีปริ มาณมากกว่าพลังงานที่
พบว่าได้สารละลาย A B และ C ที่อุณหภูมิ 10 C 30 C 50C ตามลาดับจาก ใช้ในการแยกอนุภาคของสาร A รวมตัวกับน้ า
ข้อมูลนี้ ข้อใดถูกต้อง ค. พลังงานที่ใช้ในการแยกอนุภาคของสาร B รวมตัวกับน้ า มีปริ มาณน้อยกว่าพลังงาน
ก. สารละลาย C มีจานวนโมลที่ละลายในน้ ามากกว่า A ที่ใช้ในการแยกอนุภาคของสาร B ออกจากกัน
ข. ถ้าอุณหภูมิของน้ าสูงกว่า 25 C สารทั้งสามจะละลายได้ดี ง. หลังจากที่อนุภาคของสาร A และสาร C แยกออกจากกันแล้ว อนุภาคดังกล่าวจะ
ค. สาร B และ C มีพลังงานไฮเดรชันมากกว่าพลังงานแลกทิซ รวมตัวกับน้ าได้ตอ้ งมีการดูด และคายพลังงานตามลาดับ
ง. สภาพละลายได้ในน้ าที่ 25 C ของสาร B มากกว่า A แต่นอ้ ยกว่า 98. จากราฟแสดงปริ มาณการละลายของสาร X กับอุณหภูมิเป็ นดังนี้
96. เอา KNO₃ ใส่ในบีกเกอร์ที่มีน้ าอยูพ่ อประมาณ เมื่อ KNO₃ ละลายน้ า ปรากฏว่า มีหยด
น้ าเกาะอยูข่ า้ งบีกเกอร์ และเมื่อจับบีกเกอร์ดูจะรู ้สึกเย็น อธิบายปรากฏการณ์น้ ีได้วา่

กรัม X ต่อน้ า 100 กรัม


ก. พลังงานที่ใช้สลาย KNO₃ ออกเป็ นไอออนในภาวะแก๊ส น้อยกว่าพลังงานที่ได้คืน
มา จากการที่ไอออนในภาวะแก๊สรวมตัวกับน้ า
ข. พลังงานที่ใช้สลาย KNO₃ ออกเป็ นไอออนในภาวะแก๊ส มากกว่าพลังงานที่ได้คืน
มา จากการที่ไอออนในภาวะแก๊สรวมตัวกับน้ า
ค. พลังงานที่ใช้สลาย KNO₃ ออกเป็ นไอออนในภาวะแก๊ส สูงมากกว่าพลังงานที่ได้ 20 40 60 80 อุณหภูมิ ( C)
คืนมา จากการที่ไอออนในภาวะแก๊สรวมตัวกับน้ าน้อยมาก ข้อความใด ไม่ถูกต้อง
ง. ปรากฏการณ์น้ ียงั อธิบายไม่ได้ ก. เมื่อสาร X ละลายในน้ า อุณหภูมิของระบบเพิ่มขึ้น
97. จากการทดลองเรื่ องพลังงานกับการละลาย โดยนาสารต่างๆ มาละลายน้ าแล้ววัด ข. เมื่อสาร X ละลายในน้ า อุณหภูมิของระบบลดลง
อุณหภูมิของน้ าและสารละลายได้ผลดังนี้ ค. การละลายของสาร X เพิ่มขึ้นตามอุณหภูมิ
ง. สาร X จะละลายน้ าได้ที่อุณหภูมิต่ากว่าศูนย์องศาเซลเซียส
สาร อุณหภูมิของน้ า ( C) อุณหภูมิของสารละลาย( C)
99. X เป็ นสารประกอบของธาตุ Ca และ F มีจุดหลอมเหลวสูง ไม่นาไฟฟ้ าที่อุณหภูมิหอ้ ง
A 29 25 และละลายน้ าได้นอ้ ยมาก ข้อสรุ ปใดต่อไปนี้ไม่สอดคล้องกับข้อมูลข้างต้น
B 29 48 ก. พันธะในสาร X เป็ นพันธะไอออนิก
C 29 29 ข. เมื่อ X ละลายน้ า จะดูดความร้อนทาให้ละลายได้นอ้ ย
ค. X มีสูตร CaF₂ ผลึกมีความแข็งแรงมากจึงละลายได้ยาก
ข้อสรุ ปใดถูกต้อง ตามผลการทดลองข้างต้น ง. สาร X เมื่อหลอมเหลวจะนาไฟฟ้ า
ก. พลังงานที่ใช้ในการแยกอนุภาคของสาร A ออกจากกัน มีปริ มาณน้อยกว่าพลังงานที่
ใช้ในการแยกอนุภาคของสาร B ออกจากกัน
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 17/56 หน้า 17
คาชี้แจง ใช้ในการตอบคาถามข้อ 100 102. การละลายได้ของสาร X ในน้ า แสดงได้ดว้ ยกราฟดังต่อไปนี้

(กรัม/ 100 กรัมของน้ า)


การละลายเป็ นกรัมต่อน้ า

การละลายของ X
100 กรัม

0 20 40 60 80 100
อุณหภูมิเป็ นเซลเซียส ( C )
อุณหภูมิ (  C )
100. จากกราฟแสดงการละลายของสาร A และสาร B ข้อความใดถูกต้องที่สุด
ถ้าสารละลาย 1 ลิตร มีสาร X ละลายอยูแ่ ล้ว 50 กรัม จะสามารถเติมสาร X ลงไปได้อีกกี่
ก. สาร A ละลายได้ดีกว่า B ที่อุณหภูมิเดียวกัน
กรัม จึงจะอิ่มตัวที่ 50C โดยถือว่าการละลายของ X ลงไปอีกปริ มาตรจะไม่
ข. สาร A และสาร B เป็ นสารประเภทดูดความร้อนเพื่อใช้ในการละลาย
เปลี่ยนแปลง
ค. สาร B เป็ นอิเล็กโทรไลต์ที่ดีกว่าสาร A
ก 0 กรัม ข 250 กรัม ค 300 กรัม ง 450 กรัม
ง. สาร A และสาร B ละลายได้ไม่หมดที่อุณหภูมิ 25 C
101. กราฟต่อไปนี้แสดงความสามารถในการละลายของสาร X และสาร Y ในน้ า คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ตอบคาถามข้อ 103 – 105
ละลายน ้าต่อ 100 กรัม
การละลายของ NaNO₃

(กรัม/ 100 กรัมของน้ า)


ความสามารถในการ

ของน ้า

40 60 อุณหภูมิ (  C ) 0 20 40 60 80 100
เมื่อสาร X และY ไปละลายน้ าในภาชนะเดียวกันจนได้สารละลายอิ่มตัว (ของสารทั้ง 2 อุณหภูมิ (  C )
ชนิด) ที่อุณหภูมิ 60C แล้วค่อยๆลดอุณหภูมิลง จนเป็ น 40C พบว่า มีตะกอนตกอยูท่ ี่ 103. ข้อความต่อไปนี้ขอ้ ใด ไม่ ถูกต้ อง
ก้นภาชนะ ตะกอนนี้คือสารใด ก. การละลายของโซเดียมไนเตรดเพิม่ ขึ้นตามอุณหภูมิ
ก. สาร X อย่างเดียว ข. เมื่อละลายโซเดียมไนเตรดในน้ าอุณหภูมิของน้ าจะเพิ่มขึ้น
ข. สาร X ปนกับสาร Y แต่มีสาร X มากกว่า ค. เมื่อละลายโซเดียมไนเตรดในน้ าอุณหภูมิของน้ าจะลดลงขึ้น
ค. สาร Y อย่างเดียว ง. โซเดียมไนเตรดยังละลายได้ในน้ าที่อุณหภูมิต่ากว่าศูนย์องศาเซลเซียส
ง. สาร X ปนกับสาร Y แต่มีสาร Y มากกว่า
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 18/56 หน้า 18
104. สารละลายอิ่มตัวของโซเดียมไนเตรดในน้ า 200 กรัม ที่ 60C จะมีโซเดียมไนเตรดกี่ ตัวถูกละลาย ปริ มาณสูงสุดเป็ นกรัมในน้ า 100กรัม ที่อุณหภูมิ
กรัม 0C 100 C
ก. 75 กรัม
สาร A 2 10
ข. 100 กรัม
สาร B 5 1
ค. 125 กรัม
ง. 250 กรัม 107. ผลในตารางหมายความว่าอย่างไร
105. ถ้าเราทาละลายในข้อ 103 ให้เย็นลงถึง 0C จะมีโซเดียมไนเตรด ตกตะกอนกี่กรัม ก. สารละลายของ A คายความร้อน
ก. 75 กรัม ข. สารละลายของ B คายความร้อน
ข. 100 กรัม ค. สาร A ละลายได้ง่ายกว่าสาร B
ค. 125 กรัม ง. สาร A ละลายได้ง่ายกว่าสาร B
ง. 250 กรัม 108. ข้อความใดถูกต้อง
106. กาหนด สภาพการละลายได้ของสารเป็ นกรัมในน้ า 100 กรัม ก. สาร A มีพลังงานโครงร่ างผลึกสูงกว่าพลังงานไฮเดรชัน
สาร อุณหภูมิ ข. สาร A มีพลังงานโครงร่ างผลึกต่ากว่าพลังงานไฮเดรชัน
ค. เตรี ยมสารละลายอิ่มตัวของสาร A ได้โดยการต้ม
20C 60C
ง. เตรี ยมสารละลายอิ่มตัวของสาร B ได้โดยการทาให้เย็น
A 36 72 109. กาหนดให้อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง (C ) ขึ้นกับปริ มาณของสารที่ละลายต่อหนึ่งหน่วย
B 73 124 ปริ มาตร และสารต่างๆที่นามาละลายในตัวทาละลายเดียวกันไม่มีแรงกระทาต่อกัน เมื่อ
C 30 6 นาสาร A 1 กรัม มาละลายในน้ า 10 cm³ ปรากฏว่า อุณหภูมิของสารละลายเพิม่ จาก
D 300 170 เดิม 4 C แต่เมื่อสาร A 0.75 กรัม กับสาร B 0.25 กรัม มาละลายรวมกันในน้ า
ข้อใดถูก 15 cm³ อุณหภูมิเพิม่ จากเดิมเพียง 3.5 C จากการทดลองนี้จะสรุ ปได้วา่ ถ้านา
ก. เมื่อนาสารละลายอิ่มตัวของ B และ C ที่ 25C อย่างละขวดไปไว้ในตูเ้ ย็น จะได้ผลึก สาร B อย่างเดียวมาละลายน้ า การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจะเป็ นแบบใด
ของ B ก. คายความร้อนโดยสาร B คายความร้อนเท่ากับสาร A เมื่อมีความเข้มข้นเท่ากัน
ข. คายความร้อนโดยสาร B คายความร้อนน้อยกว่าสาร A เมื่อมีความเข้มข้นเท่ากัน
ข. ที่อุณหภูมิ 25C สาร A และ B เป็ นของแข็ง ส่วน C และ D เป็ นแก๊ส
ค. ดูดความร้อนโดยสาร B ดูดความร้อนเป็ นปริ มาณที่เท่ากับสาร A คายความร้อน
ค. ที่อุณหภูมิ 25 C สาร A 98 กรัม ละลายได้ในน้ า 100 กรัม
เมื่อมีความเข้มข้นเท่ากัน
ง. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของสาร D > C > B > A
ง. ดูดความร้อนโดยสาร B ดูดความร้อนเป็ นปริ มาณที่นอ้ ยกว่าสาร A คายความร้อน
คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ในการตอบคาถามข้อ 107 – 108
เมื่อมีความเข้มข้นเท่ากัน
ทดสอบการละลายของสาร A และ B ในน้ า ได้ผลดังตาราง
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 19/56 หน้า 19
110. นักเรี ยนผูห้ นึ่งทาการทดลองเกี่ยวกับการละลายน้ าของสารต่างๆ และบันทึกผลการ ข้อใด ถูกต้ อง
ทดลอง ดังในตาราง ก. ถ้าใช้สาร X เพิ่มเป็ น 2 กรัม อุณหภูมิของสารละลายจะเพิ่มเป็ น 2 เท่า คือ 80  C
สาร อุณหภูมิของน้ า (C) ประมาณ 10 cm³ อุณหภูมิของสารละลาย (C) ข. ถ้าสารละลายของ X และ Y เข้มข้น 1 mol/dm³ เท่ากัน พลังงานที่คายออกมาใน
A (1 กรัม) 25 55 กรณี ของ X จะมากกว่า Y
B (1 กรัม) 25 25 ค. การละลายของ Z เป็ นการดูดพลังงาน
ง. ถ้าเพิ่มมวลของ Z และปริ มาตรของน้ าเป็ น 2 เท่าของของเดิม อุณหภูมิของ
C (1 กรัม) 25 15
สารละลายจะลดลงอีก 5  C
A + B (1 กรัม) 25 40 คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ในการตอบคาถามข้อ 112
A + C (1 กรัม) 25 39 เมื่อละลาย Na₃PO₄ 12.4 กรัม ในน้ า 100 cm³ แล้วเทสารละลายที่ได้ลงใน
B + C (1 กรัม) 25 20 0.2 mol/dm³ AgNO₃ 100 cm³ ปรากฏว่ามีตะกอนสี เหลืองเกิดขึ้น
นักเรี ยนสรุ ปผลการทดลองดังนี้ เกลือ ความสามารถในการละลาย g/100 g ของน้ า
1 การละลายน้ าของผสม A + B และ A + C เป็ นประเภทคายความร้อน AgNO₃ 245
2 การละลายน้ าของผสม B + C เป็ นประเภทดูดความร้อน
NaNO₃ 92
3 A B และ C ไม่มีแรงกระทาต่อกัน
Na₃PO₄ 15
4 ปริ มาณของ B ในของผสม A + B มีมากกว่า B + C
ผลสรุ ปข้อใดถูกต้อง Ag₃PO₄ 0.006
ก. 1 และ 2 เท่านั้น 112. สมการ ไอออนิกสุทธิของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น คือ ข้อใด
ข. 1 2 และ 3 ก. Na₃PO₄(aq) + AgNO₃(aq)  Ag₃PO₄(aq) + 3NaNO₃(aq)
ค. 1 2 และ 4 ข. Na₃PO₄(aq) + AgNO₃(aq)  Ag₃PO₄(s) + 3NaNO₃(aq)
ง. ผลสรุ ปถูกต้องทุกข้อ ค. 3Ag⁺(aq) + PO₄³⁻(aq)  Ag₃PO₄(s)
111. ในการทดลองเกี่ยวกับการละลายต่อไปนี้ ใช้สาร 1 กรัม ในน้ า 10 cm³ เท่ากัน ง. 3Na⁺ (aq) + PO₄³⁻(aq)  Na₃PO₄(aq)
สาร มวลโมเลกุล อุณหภูมิของสารละลายC
น้ าบริ สุทธิ์ 18 30 (ใช้เป็ นตัวทาละลาย)
X 40 40
Y 100 45
Z 53 25
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 20/56 หน้า 20
113. การผสมสารละลายในข้อใดมีปฏิกิริยาเกิดขึ้น และสามารถเขียนสมการไอออนิกสุทธิได้ 115. จากรู ปแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานในการเกิดสารประกอบ
( ENT-49) ระยะระหว่างอะตอม
สารละลายผสม I สารละลายผสม II

พลังงานศักย์
ก. NaCl กับ AgNO₃ KI กับ Na₂CO₃
ข. Ca(OH)₂ กับ Pb(NO₃)₂ Li₂SO₄ กับ MgCl₂
ค. BaCl₂ กับ Na₂SO₄ NH₄CN กับ Na₂HPO₄
ง. AgNO₃ กับ KBr Mg กับ HCl
ข้อใด ถูกต้อง
114. กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานในการเกิดโมเลกุลไฮโดรเจน เป็ นดังนี้ ก. ความเสถียรของโมเลกุล C―D > X ―Y > A―B
ข. ความยาวพันธะของ C ― D < X – Y < A ―B
ค. C และ X เป็ นธาตุหมู่เดียวกัน แต่ C อยูเ่ หนือ X ในตารางธาตุ
พลังงานศักย์ kJ/mol

ง. X ― Y และ C―D เป็ นโมเลกุลโคเวเลนต์แบบมีข้ วั ส่วน A―B เป็ น ไอออนิก


116. ข้อความเกี่ยวกับพันธะเคมี ข้อใด ถูกต้อง
ก. พันธะเคมีเกิดขึ้นเมื่อแต่ละอะตอมมีอิเล็กตรอนเป็ นจานวนคี่เท่านั้น
ข. พลังงานของพันธะเคมีจะเพิ่มขึ้นตามความยาวของพันธะเคมี
ค. พันธะเคมีเกิดจากแรงกระทาระหว่างอิเล็กตรอนกับอิเล็กตรอน
ระยะทางระหว่างอะตอม , pm
ง. พันธะเคมีเกิดขึ้นจากแรงดึงดูดระหว่างนิวเคลียสกับอิเล็กตรอน
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
117. ข้อใด ถูกต้ อง ( ENT- มี.ค.48 )
1 ความยาวพันธะ H – H เท่ากับ a pm
2 พลังงานพันธะ H – H เท่ากับ b kJ/mol
1. การเกิดพันธะเคมีเป็ นกระบวนการคายพลังงาน
3 ที่จุด e ไม่มีแรงดึงดูด มีแต่แรงผลักอย่างเดียว 2. โมเลกุลเกิดขึ้นเมื่ออะตอมอยูใ่ กล้กนั ที่สุด
4 พลังงานศักย์ที่จุด c และ d เท่ากัน เนื่องจากแรงดึงดูดและแรงผลักเท่ากับ 3. ในการเกิดพันธะเคมีจะมีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนจากอะตอมหนึ่งไปยังอีกอะตอม
ข้อใด ถูกต้อง หนึ่ง
ก. 1 และ 2 4. เมื่อสลายโมเลกุลเป็ นอะตอมเดี่ยว พลังงานของอะตอมทั้งหมดที่เป็ นองค์ประกอบ
ข. 2 และ 3 รวมมีสูงกว่าพลังงานของโมเลกุลเดิม
ค. 3 และ 4 ก. 1 และ 3 ข. 1 และ 4
ง. 2 3 และ 4 ค. 2 และ 3 ง. 2 และ 4

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 21/56 หน้า 21
118. สารหมู่ใดที่จดั อยูใ่ นประเภทเดียวกัน 123. ข้อใดกล่าว ไม่ ถูกต้ อง (ENT-O 52 )
ก. NaCl Na₂S HCl ก. ธาตุที่มีอิเล็กตรอน 36 ตัว จัดเป็ นแก๊สเฉื่ อย
ข. CaO AlCl₃ HgCl₂ ข. ธาตุที่มีการจัดอิเล็กตรอนเป็ น 2 8 18 7 จัดเป็ นธาตุแฮโลเจน
ค. CCl₄ CH₃OH NaOH ค. น้ าจัดเป็ นสารไอออนิก เพราะแตกตัวได้ H⁺ ที่มีประจุบวก กับ OH⁻ ที่มีประจุลบ
ง. BaSO₄ MgSO₄ HCl
ง. ธาตุที่มีอิเล็กตรอน 12 ตัวเกิดเป็ นสารประกอบไอออนิกได้โดยเสียอิเล็กตรอน 2 ตัว
119. ชุดสารในข้อใด มีสารไอออนิกสารเดียวเท่านั้น
124. พิจารณาแผนภาพแสดงกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนของอะตอมที่สร้างพันธะกัน 3 ชนิด
ก. CCl₄ BeCl₂ PF₃ Li₂O
ข. CS₂ NaCl CoCl₂ PCl₅
ค. C₂H₆ LiF HCN BaO
ง. NH₄Cl C₂H₄ KCN PCl₃ แทนกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนของอะตอม
120. ข้อใด ไม่ ใช่ สารประกอบไอออนิกทั้งหมด แทนกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกัน
ก. KBr K₂S สารในข้อใดมีการสร้างพันธะตามแบบ 1 2 และ 3
ข. SrCl₂ SiC ก. CO Mg HCl
ค. MgO Na₂S ข. O₂ F₂ CO

ง. BaCl₂ KBr ค. CO Ca HCl

121. สารใดต่อไปนี้ที่มีท้ งั พันธะไอออนิกและโคเวเลนต์ ง. F₂ Mg CO


ก. H₂O 125. ถ้า A B C และ D มีเลขอะตอมเท่ากับ 34 35 38 และ 53 ตามลาดับ หาก
ข. C₂H₅Cl รวมกันเป็ นสารประกอบ ข้อใดถูกต้อง
ค. NaOH ก. ระหว่างธาตุ B กับธาตุ C เกิดสารประกอบไอออนิกมีสูตร CB₂
ง. CO₂ ข. ระหว่างธาตุ B กับธาตุ D เกิดสารประกอบไอออนิกมีสูตร BD
122. พิจารณาสูตรเคมีต่อไปนี้ ข้อใดมีมีพนั ธะโคเวเลนต์ท้ งั หมด ค. ระหว่างธาตุ A กับธาตุ D เกิดสารประกอบไอออนิกมีสูตร AD₂
ก. K₂HPO₄ SiO₂ [PtCl₄]²⁻ ง. ระหว่างธาตุ A กับธาตุ C เกิดสารประกอบโคเวเลนต์มีสูตร AC
ข. Al₂O₃ CO₃²⁻ Cr₂O₇²⁻
ค. Pb(NO₃)₂ [Fe(CN)₆]³⁻ SO₃
ง. B₂O₃ BeCl₂ MnO₄²⁻

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 22/56 หน้า 22
126. สารประกอบ X เกิดจากธาตุหมู่ II กับหมู่ VI ส่วนสารประกอบ Y เกิดจากธาตุหมู่ VI กับ 130. ไอออน 2 ตัว X⁻ , Y⁴⁺ มีจานวนอิเล็กตรอนเท่ากับ 18 และ 10 ตามลาดับ
ไฮโดรเจน ดังนั้นข้อสรุ ปเกี่ยวกับสารประกอบดังกล่าวที่ ไม่ถูก คือข้อใด เวเลนซ์อิเล็กตรอนของธาตุ Y และสูตรที่เกิดจากการรวมกันของธาตุ X และธาตุ Y
ก. สารประกอบ X ที่หลอมเหลวจะนาไฟฟ้ าได้ดีกว่าสารประกอบ Y คือ
ข. สารประกอบ X ที่จุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูงกว่าสารประกอบ Y เวเลนซ์อิเล็กตรอนของธาตุ X เวเลนซ์อิเล็กตรอนของธาตุ Y สูตรสารประกอบ
ค. อัตราส่วนของอะตอมของธาตุที่รวมกันเป็ นสารประกอบ X และ Y เท่ากับ 1 : 1 ก. 7 4 YX₄
และ 1 : 2 ตามลาดับ
ข. 7 4 Y₄X
ง. สารประกอบ X มีความเป็ นโคเวเลนต์มากกว่าสารประกอบ Y
ค. 4 7 YX₄
127. ธาตุที่สร้างพันธะโคเวเลนต์ กับคลอรี นได้ดีที่สุด คือธาตุใด
ก. โซเดียม ง. 4 7 Y₄X
ข. โพแทสเซียม
131. สารตัวอย่าง 3 ชนิด เป็ นของแข็งทั้งหมด มีสมบัติดงั ต่อไปนี้
ค. คลอรี น
ง. แมกนีเซียม ชนิด การนาไฟฟ้ า การนาไฟฟ้ าเมื่อหลอมเหลว จุดหลอมเหลว C จุดเดือด C
128. ธาตุคู่ใดที่จะรวมกันได้สารประกอบที่มีความเป็ นโคเวเลนต์มากที่สุด P ไม่นา นา 801 1465
ก. ₁₇X กับ ₃₅Y Q ไม่นา ไม่นา 89 210
ข. ₉F กับ ₁₁Q
R นา ไม่ได้ทดสอบ 1400 2850
ค. ₁₇X กับ ₂₀Z
ง. ₁₃A กับ ₁₇X ข้อใดสรุ ปที่ถูกต้องของสาร P Q R
129. สูตรของสารที่เกิดจากการรวมของธาตุ X ที่มีเลขอะตอม 14 กับธาตุ Y ที่มีเลข ก. P ควรเป็ นสารประกอบไอโอนิก Q ควรเป็ นสารประกอบโคเวเลนต์ R เป็ นโลหะ
อะตอม 8 ได้แก่ขอ้ ใด ข. P และ R ควรเป็ นโลหะ ส่วน Q เป็ นสารประกอบโคเวเลนต์
ก. XY ค. P และ R เป็ นโลหะ ส่วน Q เป็ นอโลหะ
ข. X₂Y ง. P และ Q เป็ นอโลหะ ส่วน R เป็ นโลหะ
ค. XY₂ 132. ถ้าธาตุ X และธาตุ Y มีการจัดอิเล็กตรอนเป็ น X (2 8 8 1 ) และ Y (2 8 6)
ง. X₂Y₃ สารประกอบระหว่าง X และ Yควรมีลกั ษณะเป็ นอย่างไร
ก. XY₂
ข. X―Y ―X
ค. X²⁺(Y⁻)₂
ง. (X⁺)₂Y²⁻
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 23/56 หน้า 23
133. พิจารณาคุณสมบัติของธาตุต่อไปนี้ 136. เมื่อเติมกามะถัน ( อะตอมมิกนัมเบอร์ = 16 ) ลงไปในสารประกอบซัลไฟด์ (S²⁻) จะ
1. ธาตุ R ทาปฏิกิริยากับธาตุ T ได้ของเหลวไม่มีสี ได้สารประกอบไดซัลไฟด์ ( 𝑆22− ) พันธะที่เป็ นไปได้มากที่สุด ระหว่างอะตอมของ
2. ธาตุ X ทาปฏิกิริยากับธาตุ R อัตรส่วนโมเลกุล 1 : 3 กามะถันในสารประกอบไดซัลไฟด์ คือ ( • แทนอิเล็กตรอนของกามะถัน  แทน
3. ธาตุ Z ทาปฏิกิริยากับธาตุ T ได้สารประกอบหลายชนิด อิเล็กตรอนของกามะถันที่เติมลงไป)

ธาตุ R ธาตุ T ธาตุ X ธาตุ Z


ก.
ก. O H P N
ข. P H N O
ข.
ค. H O P N
ง. N O P H ค.

134. การเขียนสูตรและการเรี ยกชื่อสารในข้อใดถูกต้อง ( ENT-A 51) ง. ยังไม่มีขอ้ มูลเพียงพอที่จะตัดสิ นใจ

สูตร การเรี ยกชื่อสาร 137. สูตรในข้อใดเป็ นสูตรแบบจุดที่ ถูกต้อง ที่สุดสาหรับ CN⁻


ก. NaS₂O₃ โซเดียมไดซัลเฟอร์ไตรออกไซด์
ก.
ข. Cu₂PO₄ คอปเปอร์ (II) ฟอสเฟต
ค. AsF₃ อาร์เซนิกไตรฟลูออไรด์
ง. P₂S₅ ฟอสฟอรรัสซัลไฟด์ ข.

135. สูตรแบบจุด (Electron – Dot Fomnula) ของกรดไฮโปคลอรัสคือ


ค.

ก.
ง.
ข.

ค.

ง.

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 24/56 หน้า 24
138. สูตรแบบจุดของสารประกอบ Na₂O₂ ข้อใด ถูกต้ อง ที่สุด ค C₂H₂ > C₂H₆ C₂H₂ > C₂H₆
ง C₂H₂ > C₂H₆ C₂H₂ > C₂H₆
ก.
142. พิจารณาพลังงานและความยาวของพันธะต่อไปนี้ที่กาหนดให้
ข. a. YCl b. YF c. YI d. YBr
ข้อความสอดคล้องคือข้อ
ค.
พลังงานพันธะ ความยาวพันธะ
ง. ก. a>b>c>d a<b<c<d
139. พันธะระหว่างคาร์บอนกับอะตอมที่แข็งแรงที่สุดในสารประกอบข้อใดในข้อล่าง จะเป็ น ข. c<d<a<b c>a=d>b
พันธะแบบสารประกอบใด ค. b> a > d < c b<a<d<c
ก. C₃H₈ ง. b< a = d < c b> a = d > c
ข. C₃H₄
ค. C₃H₆ 143. ความยาวของพันธะ C — O ในโมเลกุลข้อใดต่อไปนี้ มีค่าลงตามลาดับอย่างไร
ง. C₃H₇Cl ก. CO₂ > CO > CO₃²⁻
140. จะต้องใช้พลังงานในการสลาย พันธะระหว่างโคเวเลนต์ คาร์บอนกับคาร์บอน มากที่สุด ข. CO₃²⁻ > CO₂ > CO
ในโมเลกุลได้ ค. CO > CO₂ > CO₃²⁻
ก. C₃H₇OH ง. CO > CO₃²⁻ > CO₂
ข. C₂H₂F₂ 144. จงเปรี ยบเทียบความยาวและพลังงานระหว่างอะตอมของคาร์บอนกับคาร์บอนใน
ค. C₂H₂ โมเลกุล C₂H₂ C₂H₄ และ C₂H₆ ว่าข้อใดถูกต้อง
ง. C₃H₆
141. จงเปรี ยบเทียบความยาวพันธะระหว่างอะตอมของคาร์บอน และพลังงานพันธะระหว่าง ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ
อะตอมของคาร์บอน ในโมเลกุล C₂H₆ C₂H₄ และ C₂H₂ ข้อใด ถูกต้อง ก. C₂H₂ มากกว่า C₂H₄ C₂H₄ มากกว่า C₂H₂

ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ ข. C₂H₂ มากกว่า C₂H₆ C₂H₂ น้อยกว่า C₂H₆


ค. C₂H₄ น้อยกว่า C₂H₆ C₂H₆ มากกว่า C₂H₄
ก C₂H₆ > C₂H₄ C₂H₄ > C₂H₆
ง. C₂H₂ น้อยกว่า C₂H₆ C₂H₆ น้อยกว่า C₂H₂
ข C₂H₂ > C₂H₄ C₄H₂ > C₂H₄

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 25/56 หน้า 25
145. ถ้าสูตรแบบเส้นของคาร์บอเนตไอออนเขียนได้เป็ นดังนี้ 148. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
1. โมเลกุล C₂H₂ มีความแข็งแรงของพันธะระหว่าง C กับ C มากกว่า C₂H₄ และมี
ความยาวพันธะระหว่าง C กับ C น้อยกว่า C₂H₆
2. การละลายของ NaCl พบว่า พลังงานแลตทิซ มากกว่าพลังงานไฮเดรชัน่ ดังนั้นการ
ละลายนี้เป็ นกระบวนการคายความร้อน
จงเปรี ยบเทียบความยาวพันธะ C – O ของคาร์บอนไดออกไซด์และคาร์บอเนตไอออน
3. สารประกอบไอออนิกที่เป็ นของแข็งไม่นาไฟฟ้ า แต่เมื่อหลอมเหลวจะสามารถนา
พร้อมด้วยเหตุผล
ไฟฟ้ าได้
ก. ของ CO₂ ยาวกว่า เพราะพันธะ C – O ทั้งสองเป็ นพันธะคูห่ มด
ข้อใด ถูกต้อง
ข. ของ CO₂ สั้นกว่า เพราะพันธะ C – O ทั้งสองเป็ นพันธะคูห่ มด
ก. 1 และ 2 เท่านั้น
ค. ของ CO₂ ยาวกว่า เพราะพันธะ C – O หนึ่งเป็ นพันธะเดี่ยว ส่วนอีกพันธะหนึ่งเป็ น
ข. 2 และ 3 เท่านั้น
พันธะสาม
ค. 1 2 และ 3
ง. ของ CO₂ ยาวกว่า เพราะพันธะ C – O ทั้งสองเป็ นพันธะเดี่ยวทั้งหมด
ง. 1 และ 3 เท่านั้น
146. พิจารณาวามยาวพันธะโมเลกุลต่ไปนี้
149. สารประกอบข้อใดเป็ นไปตาม กฏออกเตต
1. CH₃OH
ก. BCl₃
2. CH₂O
ข. CO₂
3. CO
ค. SF₆
การเรี ยงลาดับความยาวพันธะของ O กับ C จากมากไปน้อยโมเลกุลข้อใดถูกต้อง
ง. PCl₅
ก. 1 > 2 > 3
150. a b c d และ e เป็ นธาตุที่มีการจัดอิเล็กตรอนดังนี้
ข. 2 > 3 > 1
a = 2 8 4 b=2 8 5 c = 2 8 6 d = 2 8 7 e = 23
ค. 3 > 1 > 2
ในข้อใดต่อไปนี้ที่ทุกสารมีการรวมตัวเป็ นไปตาม กฏออกเตต
ง. 3 > 2 > 1
ก. Hd NF₃ bF₅
147. พันธะเคมีที่เกิดขึ้นจากการรวมตัวของคู่ระหว่างอะตอม หรื อคูข่ องไออนที่เป็ น
ข. cF₆ HF cO₂
พันธะโคเวเลนต์เดี่ยว คือคู่ใด
ค. ad₄ cO₃ dF
ก. Sr²⁺กับ SO₄²⁻
ง. NH₄⁺ eF₃ bd₃
ข. Sn กับ Cl
ค. Li กับ O
ง. C กับ O

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 26/56 หน้า 26
151. จงพิจารณาสารต่อไปนี้ 155. การเปลี่ยนแปลงในข้อใดที่สนั นิษฐานได้วา่ เป็ นปฏิกิริยาดูดความร้อน
H₂S NH₃ BF₃ PBr₅ HF ก. C(s) + O₂(g) ⟶ CO₂(g)
I. II. III. IV. V. ข. CCl₄(g) ⟶ C(s) + 2Cl₂(g)
ข้อสรุ ปเกี่ยวกับสารเหล่านี้ ข้อใด ถูกต้อง ค. 2H₂(g) + O₂(g) ⟶ 2H₂O(g)
ก. สาร (I) (III) และ (IV) เท่านั้นเป็ นสารประกอบโคเวเลนต์ ง. C(s) + 2H₂(g) ⟶ CH₄(g)
ข. สาร (II) (III) (IV) และ (V) เท่านั้นเป็ นสารประกอบโคเวเลนต์ 156. ข้อใดเป็ นการเปลี่ยนแปลงประเภทคายพลังงาน
ค. สาร (I) และ (II) เท่านั้นที่อะตอมต่างๆ มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเป็ นไปตาม กฏออกเตต 1. C(g) + 2O₂(g) ⟶ CO₂(g)
ง. สาร (III) และ (IV) เท่านั้นที่อะตอมต่างๆ มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนไม่เป็ นไปตาม 2. H₂O(s) ⟶ H₂O(g)
กฏออกเตต 3. F₂(g) + 2e⁻ ⟶ 2F⁻ (g)
152. ไอออนใดต่อไปนี้ที่โครงสร้างลิวอิสไม่เป็ นไปตามกฎออกเตต ( PAT-2 ต.ค. 54 ) 4. CH₄(g) ⟶ C(g) + 4 H(g)
ก. N₅⁺ คาตอบที่ถูกต้องคือข้อใด
ข. C₂²⁻ ก. 1 และ 3
ค. N₇⁺ ข. 1 และ 2
ง. C₃⁴⁻ ค. 3 เท่านั้น
153. ปฏิกิริยาในข้อใดที่มีการสลายพันธะเคมี ง. 4 เท่านั้น
ก. O₂(g)  O₂⁺(g) 157. ถ้า CH₄(g) + 2O₂(g) ⟶ CO₂(g) + 2H₂O(g) ; H₁
ข.
1
Br₂(g)  Br(g) CH₄(g) + 2O₂(g) ⟶ CO₂(g) + 2H₂O(l) ; H₂
2
ข้อความต่อไปนี้ขอ้ ที่ ถูกต้อง คือ
ค. Na⁺(g) + Cl⁻(g)  Na⁺Cl⁻(s)
ก. H₁ = H₂ เพราะ CO₂ และน้ าที่เกิดขึ้นหนักเท่ากัน
ง. 2Cl(g)  Cl₂ (g)
154. การเปลี่ยนแปลงในข้อใดที่ท่านบอกได้ทนั ทีวา่ เป็ นการเปลี่ยนแปลงประเภทคาย ข. H₁ <  H₂ เพราะไอน้ าคายความร้อนออกมาเมื่อกลัน่ ตัวเป็ นน้ า
พลังงาน ค. H₁ < H₂ เพราะปริ มาตรของผลิตภัณพ์ที่เกิดขึ้นน้อยกว่า
ก. H₂(g) + I₂(g) ⟶ 2HI ง. H₁ < H₂ เพราะน้ าดูดความร้อนเพื่อกลายเป็ นไอน้ า
ข. C(g) + 2O(g) ⟶ CO₂(g)
ค. HF(g) ⟶ H(g) + F(g)
ง. CH₄(g) + Cl₂(g) ⟶ CH₃Cl(g) + HCl

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 27/56 หน้า 27
158. พิจารณาปฏิกิริยาต่อไปนี้ 161. ถ้าต้องการสลายพันธะทั้งหมดในสารประกอบ โพรพีน (C₃H₆) จะต้องใช้พลังงานกี่
1. C(g) + 2O (g) ⟶ CO₂(g) กิโลจูลต่อโมล
2. C(s) + O₂(g) ⟶ CO₂(g) ก 3,440 kJ/mol ข 4,000 kJ/mol
3. C(g) + O₂(g) ⟶ CO₂(g) ค 4,614 kJ/mol ง 5,174 kJ/mol
4. C(g) + 2O(g) ⟶ CO₂(l)
ปฏิกิริยาทั้งสี่คายพลังงาน เรี ยงลาดับได้ดงั ข้อใด คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ในการตอบคาถามข้อ 162-163
ก.

ก. 1 > 2 > 3 >4 ชนิดของพันธะ พลังงานพันธะ(kJ/mol)


ข. 2 > 4 > 1 > 3 C–H 413
ค. 3 > 4 > 2 > 1
C–C 348
ง. 4 > 1 > 3 > 2
C=C 614
159. พลังงานพันธะระหว่างคาร์บอน – ไฮโดรเจน ในมีเทน จะคานวณได้จากการ
เปลี่ยนแปลงของพลังงานต่อไปนี้ O–H 463
ก. CH₄(g)  C(g) + 2H₂(g) CC 839
ข. CH₄(g)  C(g) + 4H (g) O=O 498
1
ค. ของพลังงานของปฏิกิริยา ในข้อ ก. 162. การสลายพันธะทั้งหมดในโพรพีน (C₃H₆) 1 โมล จะต้องใช้พลังงานมากกว่า หรื อ
4
1
ง. ของพลังงานของปฏิกิริยา ในข้อ ข. น้อยกว่าการสลายพันธะในโพรเพน (C₃H₈) 1 โมล เท่าใด
4
160. สารใดเมื่อนาไปใส่น้ ามีการเปลี่ยนแปลงของพลังงานน้อยที่สุด ก. มากกว่า 565 kJ
ก. NH₄NO₃ ข. AgBr ข. น้อยกกว่า 565 kJ
ค. CaCl₂ ง. Na₂SO₄ ค. มากกว่า 212 kJ
ง. น้อยกว่า 212 kJ
คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ในการตอบคาถามข้อ 161 163. ลาดับพลังงานที่ใช้ในการสลายสารประกอบไฮโดรคาร์บอน 1 กรัม ออกเป็ นอะตอม
ชนิดของพันธะ พลังงานพันธะ(kJ/mol) ตรงกับข้อใด
ก. C₃H₄ > C₃H₆ > C₂H₆
C–H 413
ข. C₃H₆ > C₃H₄ > C₂H₆
C–C 348
ค. C₂H₆ > C₃H₆ > C₃H₄
C=C 614 ง. C₃H₆ > C₂H₆ > C₃H₄

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 28/56 หน้า 28
164. ในการสลายแก๊ส C₂H₄ หนึ่งโมลเป็ นอะตอมอย่างสมบูรณ์ ต้องใช้พลังงาน 2,266 167. กาหนดพลังงานพันธะ (หน่วย kJ/mol)
kJ/mol ถ้าพลังงานพันธะของ C = C และ C – C เท่ากับ 614 และ 348 kJ/mol
ชนิดของพันธะ H–H H–F F – F Cl- Cl H – I Cl – F I – I
ตามลาดับ พลังงานพันธะของ C – H เท่ากับกี่กิโลจูลต่อโมล
พลังงานพันธะ(kJ/mol) 436 567 159 242 298 253 151
ก. 413 kJ/mol
ข. 653 kJ/mol การเปลี่ยนแปลงในข้อใดเป็ นกระบวนการดูดพลังงาน
ค. 025 kJ/mol ก. H₂(g)+ F₂(g) ⟶ 2HF(g)
ง. 1, 652 kJ/mol ข. Cl₂(g) + F₂(g) ⟶ 2ClF(g)
165. ปฏิกิริยา ค. 2HI(g) ⟶ H₂(g) + I₂(g)
C(g) + 4 H(g) ⟶ CH₄(g) คายพลังงาน X kJ/mol ของ CH₄ ง. C(g) + 2O(g) ⟶ CO₂(g)
CH₃CH₃(g) ⟶ 2C(g) + 6H (g) ดูดพลังงาน Y kJ/mol ของ CH₃CH₃ 168. กาหนดพลังงานพันธะเฉลี่ย
อยากทราบว่า พลังงานพันธะ C – C จะมีค่ากี่กิโลจูลต่อโมล พันธะ พลังงานพันธะ (kJ/mol) พันธะ พลังงานพันธะ (kJ/mol)
ก. Y + 6X CH 415 O=O 500
ข. Y — 6X
C–C 340 O–O 140
3𝑋
ค. Y + C=C 610 C–O 350
2

ง. Y —
3𝑋 CC 840 O–H 460
2
166. กาหนดพลังงานพันธะกิโลจูลต่อโมล C=O 740
ชนิดของพันธะ C–C H–H C =C C–H C= C
ปฏิกิริยาในข้อใดคายพลังงานมากที่สุด
พลังงานพันธะ(kJ/mol) 348 436 614 413 839

7
ก. CH₃ – CH₃ + 2 O₂ 2CO₂ + 3H₂O
สารประกอบไดอีน (สูตร C₄H₆) และแอลคายน์ (สูตร C₄H₆) ทาปฏิกิริยากับ
ข. CH₂ = CH₂ + 3O₂  2CO₂ + 2H₂O
ไฮโดรเจนมากเกินพอให้ C₄H₁₀ ตัวเดียวกัน ปฏิกิริยาทั้งสองนี้ มี พลังงานเกี่ยวข้อง
ค. CH  CH + 2 O₂ 
5
ต่างกันกี่ กิโลจูลต่อโมล 2CO₂ + H₂O
ง. CH₃  CH₂  OH + 3O₂  2CO₂ + 3H₂O

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 29/56 หน้า 29
169. กาหนดให้พลังงานพันธะ 171. กาหนดให้
ชนิดของพันธะ H–H F– F H–F ชนิดของพันธะ C–H Cl – Cl C  Cl H  Cl
พลังงานพันธะ(kJ/mol) 430 160 560 พลังงานพันธะ(kJ/mol) 413 242 339 431
ปริ มาณความร้อนที่เปลี่ยนแปลงในปฏิกิริยา
H₂(g) + F₂(g)  2HF(g) เป็ นอย่างไรและมีค่าเท่าใด พิจารณาปฏิกิริยา CH₄(g) + Cl₂(g) ⟶ CCl₄(g) + HCl(g) (สมการยังไม่ดุล)
ก. คายความร้อน 530 kJ ปฏิกิริยานี้ ดูดหรื อคายความร้อน และความร้อนของปฏิกิริยามีค่ากี่กิโลจูลต่อโมล
ข. ดูดความร้อน 530 kJ (kJ/mol) ของ CH₄
ค. คายความร้อน 30 kJ
ง. ดูดความร้อน 30 kJ
170. ในสมการ A₂(g) + B₂(g)  2AB(g) ถ้าพลังงานในการสลายพันธะ
ของ A₂ = 436 กิโลจูล ของ B₂ = 242 กิโลจูล และพลังงานในการสลายพันธะ
A – B = 431 กิโลจูล ในปฏิกิริยาข้างบนจะมีปริ มาณความร้อนของปฏิกิริยากี่กิโลจูล
ก. 184 กิโลจูล
172. กาหนดค่าพลังงานสลายพันธะในหน่วยกิโลจูล ต่อไปนี้
ข. 247 กิโลจูล
ชนิดของพันธะ C – H C – Cl H – Cl Cl - Cl
ค. 678 กิโลจูล
ง. 862 กิโลจูล พลังงานพันธะ(kJ/mol) 427 339 431 243
ปฏิกิริยาต่อไปนี้เป็ นปฏิกิริยาดูดหรื คายความร้อน และปริ มาณความร้อนมีปฏิกิริยามีค่า
กี่กิโลจูล
CH₄(g) + Cl₂(g)  CH₃Cl (g) + HCl(g)

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 30/56 หน้า 30
173. กาหนดค่าพลังงานเฉลี่ย เป็ นดังนี้ 175. กาหนดพลังงานพันธะเฉลี่ย (kJ/mol) ต่อไปนี้
ชนิดของพันธะ C –C C–H C=C H – Cl C – Cl ชนิดของพันธะ C  C CH CO C=O O H O=O
พลังงานพันธะ(kJ/mol) 348 413 614 431 327 พลังงานพันธะ(kJ/mol) 348 413 358 745 463 498

ปฏิกิริยาต่อไปนี้ (ENT-A 50) ปฏิกิริยาการเผาไหม้โพรพานอล (ในสถานะแก๊ส) 1 โมล ได้ผลิตภัณฑ์เป็ นเป็ นแก๊ส


CO₂ และไอน้ า จะคายหรื อดูดพลังงานกี่กิโลจูลต่อโมล
CH₃CH=CH₂ + HCl ⟶ CH₃CHClCH₃
ก. คาย 1525 kJ/mol
เป็ นปฏิกิริยาดูดหรื คายความร้อน และปริ มาณความร้อนมีปฏิกิริยามีค่ากี่กิโลจูล
ข. คาย 1883 kJ/mol
ก. ดูดพลังงาน 284 kJ/mol ค. ดูด 1525 kJ/mol
ข. คายพลังงาน 284 kJ/mol ง. ดูด 1883 kJ/mol
ค. ดูดพลังงาน 43 kJ/mol 176. กาหนดค่าพลังงานเฉลี่ย เป็ นดังนี้
ง. คายพลังงาน 43 kJ/mol
ชนิดของพันธะ C –C C–H C–O C=O O–H O=O
174. จากข้อมูลต่อไปนี้
พลังงานพันธะ(kJ/mol) 348 413 358 745 463 498
ชนิดของพันธะ NN N= N NN NH HH
ปฏิกิริยาการเผาไหม้ของโพรพานอล (C₃H₇OH) 1 โมล ได้ผลิตภัณฑ์เป็ นแก๊ส CO₂
พลังงานพันธะ(kJ/mol) 160 420 940 390 430
และไอน้ า จะดูดหรื คายความร้อนกี่กิโลจูลต่อโมล (ENT-A 44)
ในการเกิด N₂H₄(g) จากปฏิกิริยาต่อไปนี้ ก. คายพลังงาน 1525 kJ/mol
H₂(g) + N₂(g)  N₂H₄(g) (สมการยังไม่ดุล) ข. คายพลังงาน 1883 kJ/mol
จะมีการดูดหรื คายพลังงานกี่กืโลจูลต่อโมล ค. ดูดพลังงาน 1525 kJ/mol
ก. คายพลังงาน 85 kJ/mol ง. ดูดพลังงาน 1883 kJ/mol
ข. ดูดพลังงาน 85 kJ/mol 177. จงคานวณหาพลังงานพันธะ N – O ของโมเลกุล NO₂ จากปฏิกิริยา
ค. ดูดพลังงาน 055 kJ/mol 2 NO(g) + O₂(g)  2NO₂(g) ปฏิกิริยานี้คายความร้อนออกมา 112 kJ
ง. คายพลังงาน 055 kJ/mol กาหนดให้พลังงานพันธะ N – O ของโมเลกุล NO = 90 kJ/mol พลังงานพันธะ
O – O ของโมเลกุล O₂ = 120 kJ/mol
ก. 206 kJ/mol ข. 103 kJ/mol
ค. 80.5 kJ/mol ง. 47 kJ/mol

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 31/56 หน้า 31
178. กาหนดให้ 2AB(g) + B₂(g)  2AB₂(g) ถ้าปฏิกิริยาคายความร้อน 112 kJ 181. กาหนดพลังงานพันธะให้ดงั ต่อไปนี้
พลังงานพันธะของ A - B ของโมเลกุล AB = 90 kJ/mol พลังงานพันธะของ B – B ของ ชนิดของพันธะ CC CH C=C C C
โมเลกุล B₂ = 120 kJ/mol พลังงานพันธะของ A – B ของโมเลกุล AB₂ จะเป็ นกี่
พลังงานพันธะ(kJ/mol) 348 413 614 839
กิโลจูลต่อโมล
ก. 51.5 kJ/mol ข. 103 kJ/mol ถ้าปฏิกิริยา C₄H₁₀(g)  C₄H₆(g) + 2H₂(g) ดูดพลังงาน 289 kJ
ค. 206 kJ/mol ง. 412 kJ/mol จงคานวณพลังงานพันธะ H – H ของโมเลกุล H₂
ก. 436 kJ/mol
คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ในการตอบคาถามข้อ 179 - 180
ข. 826 kJ/mol
กาหนดค่าพลังงานพันธะต่อไปนี้
ค. 872 kJ/mol
ชนิดของพันธะ พลังงานพันธะ(kJ/mol) ชนิดของพันธะ พลังงานพันธะ(kJ/mol) ง. 1,652 kJ/mol
HH 436 Cl  Cl 242 182. จากข้อ 181 ถ้ามี C₄H₆(g) เกิดขึ้น 5.4 กรัม จะมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานเท่าใด
HC 413 O=O 498 ก. 1.5 kJ
ข. 14.5 kJ
CI 218 H  Cl 463
ค. 2.9 kJ
N N 945 HI 298 ง. 28.9 kJ
HO 463 NH 391 183. กาหนดพลังงานพันธะให้ดงั นี้
HS 367 II 151 C — Cl = 339 kJ/mol H — Cl = 431 kJ/mol Cl — Cl = 243 kJ/mol
ค่าพลังงานพันธะ C — H จากปฏิกิริยา
179. ปฏิกิริยาใดต่อไปนี้เป็ นปฏิกิริยาคายความร้อน CH₄(g) + Cl₂(g)  CCl₄(g) + HCl(g) ที่ให้ความร้อนของปฏิกิริยา
ก. 2HCl(g)  H₂(g) + Cl₂(g) - 400 kJ (สมการยังไม่ดุล) มีค่ากี่กิโลจูลต่อโมล
ข. H₂S(g) + Cl₂(g)  2HCl(g) + S(s) ก. 1,708 kJ/mol
ค. 4NH₃(g) + 3O₂(g)  6H₂O(g) + 2N₂(g) ข. 1,144 kJ/mol
ง. CH₄(g) + I₂ (g)  CH₃I(g) + HI(g) ค. 424 kJ/mol
180. ปฏิกิริยาในข้อ ง . ของข้อ 179 ถ้ามี CH₃I(g) เกิดขึ้น 42.6 กรัม จะมีพลังงาน ง. 286 kJ/mol
เปลี่ยนแปลงเท่าใด
ก. 1.6 kJ ข. 7.1 kJ
ค. 14.4 kJ ง. 48 kJ
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 32/56 หน้า 32
184. กาหนดให้ X เป็ นธาตุในหมู่ VA และ Y เป็ นธาตุในหมู่ VIIA พลังงานพันธะของ 186. จงหาค่าพลังงานพันธะเฉลี่ย (kJ/mol) ของ X – Y จากข้อมูลต่อไปนี้
X₂(g) และ Y₂(g) เท่ากับ 960 และ 240 kJ/mole ตามลาดับ เมื่อ X₂(g) ทาปฏิกิริยา X(s)  X(g ) ดูดพลังงาน 717 kJ
กับ Y₂(g) ในสองสภาวะได้ผลิตภัณฑ์ XY และ XY ซึ่งเป็ นสารโคเวเลนซ์ที่มี Y₂(g)  2Y(g) ดูดพลังงาน 435 kJ
พันธะเดี่ยวในโมเลกุลเท่านั้น ดังสมการ (1) และ (2) X(s) + 2Y₂(g) ⟶ XY₄(g) ดูดพลังงาน 75 kJ
1) X₂(g) + Y₂(g)  XY₃(g) สมการยังไม่ได้ดุล
ก. 236.25 kJ/mol
2) X₂(g) + Y₂(g)  X₂Y₄(g) สมการยังไม่ได้ดุล ข. 378 kJ/mol
ปฏิกิริยา (1) และ (2) ที่ได้ผลิตภัณฑ์ 1 moleจะคายพลังงานเท่ากับ 600 และ 1,540 kJ ค. 396.75 kJ/mol
ตามลาดับ พลังงาน X  X และ X  Y ในผลิตภัณฑ์มีค่ากี่ kJ/mole ( ENT-A 51) ง. 415.5 kJ/mol
พลังงานพันธะ X  X ( kJ/mole) พลังงานพันธะ X  Y ( kJ/mole) 187. ในปฏิกิริยาการเตรี ยม C₂H₂ จากแกรไฟต์ เกิดโดยผ่าน 2 ขั้นตอน ต่อไปนี้
ก. 320 665 ขั้นที่ 1 2C (แกรไฟต์) ⟶ 2C(g) ความร้อนของการกลายเป็ นไอมีค่า 717 kJ.mol⁻¹
ขั้นที่ 2 2 C(g) + H₂(g) ⟶ H ⎼ C  C ⎼ H (g) ปฏิกิริยานี้เป็ นปฏิกิริยาดูดหรื อ
ข. 340 600
คายความร้อน และพลังงานของปฏิกิริยามีค่ากี่กิโลจูลต่อโมล กาหนด ( H ⎼ H = 436
ค. 1,060 480
kJ/mol C⎼H = 414 kJ/mol C  C = 837 kJ/mol)
ง. 1,460 380

คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ในการตอบคาถามข้อ 185

ชนิดของพันธะ CC C=C CC O=O CH OH


พลังงานพันธะ(kJ/mol) 348 614 839 498 413 436

185. ถ้าให้มีเทน 0.5 โมล ทาปฏิกิริยากับออกซิเจน 2 โมล จะได้ความร้อน 347 กิโลจูล ค่า
พลังงานพันธะ C = O เท่ากับกี่กิโลจูลต่อโมล
ก. 347 kJ/mol
ข. 271 kJ/mol
ค. 649 kJ/mol
ง. 745 kJ/mol

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 33/56 หน้า 33
188. จานวนพันธะโคเวเลนต์ ใน Na₂SO₄ NH₄⁺ CuS BCl₃ เป็ นกี่พนั ธะ มีค่า 192. สาร A ประกอบด้วยธาตุ 3 ชนิด คือ X Y และ Z สาร A เป็ นสารที่เสถียรและมี
เรี ยงกันตามลาดับ คือ โครงสร้างดังนี้
ก. 4 4 0 3
ข. 6 3 1 0
ค. 4 3 0 3
ง. 5 4 1 0
189. ถ้า D E G J และ L แทนสัญลักษณ์ของธาตุที่มีเลขอะตอม 6 9 15 16
และ 17 ตามลาดับ จานวนคูข่ องอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะของสารประกอบคู่ใด ถูกต้อง ธาตุ X Y Z ควรเป็ นธาตุดงั ข้อใด
X Y Z
D₂L₆ GL₅ JE₆
ก. N P Cl
ก. 4 4 5
ข. O S Cl
ข. 6 5 6
ค. P C F
ค. 7 5 6
ง. N C H
ง. 8 6 7
193. ปฏิกิริยาใดต่อไปนี้ เกิดขึ้นไม่ได้อย่างแน่นอน ( PAT-2 ก.ค. 53)
190. ถ้า Q R T และ X เป็ นธาตุที่มีเลขอะตอม 1 6 7 และ 8 ตามลาดับ จานวน
ก. ClF + F₂  ClF₃
พันธะชนิดต่างๆ ในสารประกอบต่อไปนี้ ข้อใด ถูกต้อง
ข. PF₃ + F₂  PF₅
โมเลกุล พันธะเดี่ยว พันธะคู่ พันธะสาม ค. SF₂ + F₂  SF₄
ก. TQ₃ 1 1 1 ง. SiF₄ + F₂  SiF₆
ข. RX₂ 2 - - 194. สารใดต่อไปนี้ สัดส่วนของพันธะเดี่ยว : พันธะคู่ : พันธะสาม เท่ากับ 4 : 1 :1
ค. R₂Q₂ - 1 1 ก. HCCCONH₂ ข. NCCH₂CHCH₂
ง. QTX₂ 2 1 - ค. OCNCH₂CCH ง. H₂CCHCN

191. โมเลกุลทุกโมเลกุลในข้อใด ที่ไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว 195. อะตอมกลางของสารประกอบทั้งสองในข้อใด ที่ไม่มีอิเล็กตรอนคูโ่ ดดเดี่ยว


ก. H₂O CCl₄
ก. C₂H₄ PCl₃
ข. NOCl PCl₃
ข. C₂H₂ PCl₅
ค. CCl₄ SO₃ ค. CO₂ SO₂
ง. OCl₂ CO₂
ง. BCl₃ AsH₃
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 34/56 หน้า 34
196. ข้อใดที่อะตอมกลาง มีจานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวเท่ากัน 200. สารในข้อใดที่อะตอมกลางของสารทั้งสอง มีจานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวไม่เท่ากัน แต่
ก. PCl₃ BF₃ เมื่อรวมกันจะได้ 4 คู่
ข. H₂O ClF₃ ก. PBr₃ ClF₃
ค. H₂S NH₃ ข. H₂O H₂S
ง. SO₂ XeF₂ ค. PCl₃ I₃⁻
197. กาหนดธาตุ X Y Z มีเลขอะตอม 17 35 และ 54 ตามลาดับ จงพิจารณา ง. PCl₅ SF₄
สารประกอบต่อไปนี้ 201. กาหนดธาตุสมมติ A B C และ D เมื่อรวมกับคลอรี นจะเกิดสารประกอบ
1. XF₃ ตามลาดับ ดังต่อไปนี้
2. YF₅ สูตร จานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวที่อะตอมกลาง
3. ZF₂
ACl₃ 1 คู่
สารประกอบในข้อใดบ้างที่อะตอมกลางมีจานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวมากกว่า 1 คู่
BCl₃ 0 คู่
ก. 1 เท่านั้น
ข. 3 เท่านั้น CCl₄ 1 คู่
ค. 1 และ 2 DCl₃ 2 คู่
ง. 1 และ 3
การเรี ยงลาดับจานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนของธาตุท้ งั สี่ ข้อใด ถูกต้อง
198. ไอออนหรื อโมเลกุลคู่ใดมีจานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวที่อะตอมกลางเท่ากัน
ก. A < B < C < D
ก. ClO₃⁻ BrF₂⁺
ข. D < C < B < A
ข. ClF₂⁻ BrF₃
ค. B < A < C < D
ค. ClO₃⁻ BrF₅
ง. D < C < A < B
ง. ClF₂⁻ BrF₂⁺
202. ข้อมูลในตาราง ข้อใดผิด
199. การเปรี ยบเทียบจานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวของอะตอมกลางต่อไปนี้ ข้อใด ถูกต้ อง
ก. NH₃ > NO₃⁻ > ClO₄⁻ โมเลกุล อะตอมกลาง จานวนอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ จานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
ข. NCl₃ > NO₃⁻ > ClF₃ ก. CH₄ C 4 คู่ 0 คู่
ค. ClO₄⁻ > ClO₃⁻ > NO₃⁻ ข. H₂O O 2 คู่ 2 คู่
ง. ClF₃ > NCl₃ > ClO₄⁻ ค. NH₃ N 3 คู่ 1 คู่
ง. H₂S H 2 คู่ 2 คู่

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 35/56 หน้า 35
203. ข้อมูลในตารางต่อไปนี้ บอกถึงจานวนอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะและอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว 206. ถ้านาลูกโป่ งใหญ่ 2 ลูก และลูกโป่ งเล็ก 2 ลูก มาผูกขั้วไว้ดว้ ยกัน โดยที่ลูกโป่ งใหญ่มี
ของอะตอมกลาง ข้อใด ผิด ปริ มาตรเป็ น 1.1 เท่าของลูกโป่ งเล็ก จงเปรี ยบเทียบมุมระหว่างลูกโป่ งใหญ่และมุม
โมเลกุล อะตอมกลาง จานนอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ จานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว ระหว่างลูกโป่ งเล็ก ถ้านาเทปกาวมาแปะระหว่างลูกโป่ งใหญ่เพื่อให้มุมเล็กลง มุม
ก. CH₄ C 4 0 ระหว่างลูกโป่ งเล็กจะเป็ นอย่างไร ( PAT-2 ต.ค. 54 )
ข. H₂O O 2 2 ก. มุมระหว่างลูกโป่ งใหญ่มากกว่ามุมระหว่างลูกโป่ งเล็ก เมื่อแปะเทป มุมระหว่าง
ค. PH₃ P 3 1 ลูกโป่ งเล็กจะมากขึ้น
ง. H₂S H 2 2 ข. มุมระหว่างลูกโป่ งใหญ่นอ้ ยกว่ามุมระหว่างลูกโป่ งเล็ก เมื่อแปะเทป มุมระหว่าง
ลูกโป่ งเล็กจะน้อยลง
204. ข้อมูลในตารางต่อไปนี้ ข้อใด ผิด ค. มุมระหว่างลูกโป่ งใหญ่นอ้ ยกว่ามุมระหว่างลูกโป่ งเล็ก เมื่อแปะเทป มุมระหว่าง
โมเลกุล จานวนอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ จานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว ลูกโป่ งเล็กจะมากขึ้น
ก. H₂S 2 2 ง. มุมระหว่างลูกโป่ งใหญ่มากกว่ามุมระหว่างลูกโป่ งเล็ก เมื่อแปะเทป มุมระหว่าง
ข. SiF₄ 4 - ลูกโป่ งเล็กจะน้อยลง
207. โมเลกุลโคเวเลนต์ที่มีรูปร่ างเป็ นทรงสี่ หน้า (Tetracheral) คือ
ค. SF₆ 6 -
ก. C₂H₄
ง. BrF₃ 3 1
ข. NO₃⁻

205. สูตรโครงสร้างของโมเลกุล ข้อใด ไม่ถูกต้อง( PAT-2 ต.ค. 52 ) ค. NH₄⁺


ง. PF₃
ก. O = O  O
ข. O = Xe = O
208. รู ปร่ างโมเลกุลของ SO₃ มีลกั ษณะอย่างไร
ก เส้นตรง ข ทรงสี่ หน้า
ค พีระมิดฐานสามเหลี่ยม ง สามเหลี่ยมแบนราบ
209. โมเลกุลของสารประกอบในข้อใดที่มีรูปร่ างของโมเลกุลเป็ นสามเหลี่ยมแบนราบ ทามุม
125 
ค.
ก. NH₃ BF₃
ข. BF₃ HCHO
ค. AsH₃ C₂H₂
ง. H₂S CHCl₃
ง.
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 36/56 หน้า 36
210. โครงสร้างในภาพจาลองเป็ นของโมเลกุลใด ค. I และ VI
ก. CO₂ ง. I และ IV
ข. CS₂ จ. I และ III
ค. N₂O 215. โมเลกุลในข้อใดมีโครงสร้างเหมือนกันหมด ( PAT-2 มี.ค. 52 )
ง. SO₂ ก. CO₂ SO₂ CS₂
211. สารประกอบในข้อใดมีโครงสร้างเป็ นรู ปทรงสี หน้า( PAT-2 ต.ค. 55 ) ข. NH₃ PH₃ SO₃
ก. SF₄ ค. CO₂ N₂ N₃⁻
ข. POCl₃ ง. CCl₄ SO₄²⁻ XeF₄

ค. ICl₄⁻ 216. สารประกอบโคเวเลนต์ ข้อใดรู ปร่ างโมเลกุลเหมือนกันทั้งหมด ( PAT-2 มี.ค. 53)


ง. XeF₄ ก. CCl₄ NH₄⁺ XeF₄
212. ข้อใดประกอบด้วยโมเลกุลที่มีรูปร่ างเป็ นมุมงอ ข. BF₃ NH₃ PCl₃
ก. CO₂ SiO₂ และ BeF₂ ค. BF₃ PCl₅ IF₅
ข. CS₂ C₂H₂ และ H₂S ง. H₂O SO₂ O₃
ค. Cl₂O CO₂ และ SiO₂ 217. สารประกอบใดต่อไปนี้มีโครงสร้างแตกต่างจากข้ออื่น( PAT-2 มี.ค. 54)
ง. SO₂ Cl₂O และ H₂S ก. NF₃ ข. SO₃ ค. NO₃⁻ ง. B(C₆F₅)₃
213. โมเลกุลและไอออนในข้อใดที่มีรูปร่ างเหมือนกันทั้งหมด
ก. H₂S CO₂ O₃ 218. กาหนดธาตุ X Y Z มีเลขอะตอมเท่ากับ 5 16 และ 50 ตามลาดับ จงพิจารณา
ข. CS₂ CO₂ O₃ สารประกอบต่อไปนี้
ค. CS₂ NO₂⁻ CO₂ 1. XF₃
ง. O₃ H₂S NO₂⁻ 2. YO₃
214. โมเลกุลหรื อไอออนใดบ้างที่มีรูปร่ างเป็ นสามเหลี่ยมแบนราบ(กสพม ม.ค.55) 3. ZCl₃⁻
สารประกอบในข้อใดที่มีรูปร่ างโมเลกุลเป็ นพีระมิดฐานสามเหลี่ยม
BF₃ NCl₃ H₃O⁺ PH₃ I₃⁻ CH₂O (ฟอร์มาลดีไฮด์) ก 1 เท่านั้น
I. II. III. IV. V. VI. ข 1 และ 2 เท่านั้น
ค 3 เท่านั้น
ก. I เท่านั้น
ง 2 และ 3
ข. I และ II

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 37/56 หน้า 37
219. โมเลกุลของน้ า (H₂O) มีรูปร่ างเป็ นมุมงอ ถ้าโปรตอน ( H⁺ ) สร้างพันธะกับอะตอม 222. กาหนดให้ A D E G J X Y และ Z เป็ นธาตุที่อยูใ่ นคาบที่ 2 – 5 ของตาราง
ของ O ใน H₂O โดยใช้อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวของ O จะได้ H₃O⁺ มีรูปร่ างเป็ น ธาตุ ดังนี้
อย่างไร
คาบ
ก. สามเหลี่ยมแบนราบ
ข. พีระมิดฐานสามเหลี่ยม 2 A X Y
ค. ทรงเหลี่ยมสี่ หน้า 3 D
ง. ทรงเหลี่ยมแปดหน้า 4 E G J Z
220. ธาตุ A และ B มีเลขอะตอม 15 และ 35 ตามลาดับ คลอไรด์ของ A และ B มีรูปร่ าง 5
อย่างไร
ก. สามเหลี่ยมแบนราบ พีระมิดฐานสามเหลี่ยม ข้อใดเป็ นสมบัติของธาตุหรื อสารประกอบที่เกิดจากธาตุในตารางที่กาหนด (ENT-A 51)
ข. พีระมิดฐานสามเหลี่ยม เส้นตรง ก. E G และ J เป็ นธาตุแทรนซิชนั ที่มีเลขออกซิเดชันหลายค่า
ค. ทรงเหลี่ยมสี่ หน้า สามเหลี่ยมแบนราบ ข. พันธะในโมเลกุลที่เกิดจาก X กับ Y ยาวกว่าพันธะในโมเลกุลที่เกิดจาก Y กับ Z
ง. พีระมิดคู่ฐานสามเหลี่ยม เส้นตรง ค. สารประกอบ AX และสารประกอบ DZ ไม่ละลายน้ า เพราะมีแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอะตอมที่แข็งแรง
221. กาหนดตารางธาตุต่อไปนี้ ง. มุมระหว่างพันธะของโมเลกุลที่เป็ นไปตามกฎออกเตตที่เกิดจาก X และ Z ใหญ่กว่า
ที่เกิดจาก Y และ Z
หมู่ I II III IV V VI VII VIII
223. จากตาแหน่งต่อไปนี้ของธาตุในตารางธาตุ
คาบ
ธาตุ รู บิเดียม (Rb) แกลเลียม (Ga ) อาร์เซนิก (As) แอสทาทีน (At)
2 A B C D E F G H
หมู่ หมู่ I A หมู่ III A หมู่ V A หมู่ VII A
3 I J K L M N O P
รู ปร่ างโมเลกุลของ MG₃ มีลกั ษณะใด สมบัติที่ทานายต่อไปนี้ขอ้ ใดผิด
ก. เมื่อเป็ นแก๊สแอสทาทีนจะมีสูตรเป็ น At₂
ก. มุมงอ
ข. สูตรของแกลเลียมออกไซด์ คือ Ga₂O₃
ข. ทรงสี่ หน้า
ค. เมื่อรู บิเดียมแอสทาไทด์ละลายน้ า จะนาไฟฟ้ าได้
ค. พีระมิดฐานสามเหลี่ยม ง. โมเลกุลของอาร์เซนิกคลอไรด์ (AsCl₃) มีรูปร่ างเป็ นสามเหลี่ยมแบนราบ
ง. สามเหลี่ยมแบนราบ

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 38/56 หน้า 38
224. พิจารณาการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของธาตุ A B C และ D ต่อไปนี้ ข้อใดถูกต้อง
ธาตุ A 1s² 2s² 2p⁶ 3s² ก 1 เท่านั้น
ธาตุ B 1s² 2s² 2p⁶ 3s² 3p⁶ 4s² 3d⁷ ข 1 และ 2 เท่านั้น
ธาตุ C 1s² 2s² 2p⁶ 3s² 3p⁵ ค 2 และ 3 เท่านั้น
ธาตุ D 1s² 2s² 2p⁶ 3s² 3p⁶ 4s² 3d¹⁰ 4p⁴ ง 1 2 และ 3
ข้อใดถูกต้อง ( ENT- A 52 ) 227. ไอออนคู่ใดมีจานวนเวเลนต์อิเล็กตรอนรวมทุกอะตอมไม่เท่ากัน
ก. สารประกอบที่เกิดจากธาตุ A และ C ไม่ละลายน้ า ก. CO₃²⁻ กับ NO₃⁻
ข. สารประกอบที่เกิดจากธาตุ A และ D มีสูตรเป็ น A₂D ข. NO₃⁻ กับ SO₃²⁻
ค. สารประกอบที่เกิดจากธาตุ B และ C มีสูตรโครงสร้างเป็ นทรงสี หน้า ค. SO₃²⁻ กับ ClO₃⁻
ง. สารประกอบที่เกิดจากธาตุ B และ D เป็ นสารประกอบไอออนิกที่มีสูตร ง. ClO₃⁻ กับ PO₃³⁻
แน่นอนเป็ น BD 228. เหตุใดโมเลกุลของน้ า มุมระหว่าง H – O – H จึงไม่เท่ากับ 180 องศา แต่กลับเป็ น 104.5
225. ให้พิจารณาโมเลกุลต่อไปนี้ องศา
H₂O CH₄ NH₃ C₂H₄ C₂H₂ C₂H₆ ก. ออกซิเจนมีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว 2 คู่ จึงพยายามผลักกับคู่ที่สร้างพันธะให้ห่างกัน
ข้อสรุ ปที่ถูกต้องเป็ นไปตามข้อใด ที่สุด
ก. โมเลกุล 1 และ 3 มีอิเล็กตรอนคู่โดเดี่ยวที่อะตอมกลาง โมเลกุล 6 มีความยาว ข. เพื่อลดระยะห่างระหว่างอะตอมของไฮโดรเจนและออกซิเจนให้นอ้ ยที่สุด
พันธะสั้นที่สุด ความยาวพันธะระหว่างคาร์บอนของโมเลกุล 5 < 4 < 6 ค. เพื่อให้อิเล็กตรอนคูท่ ี่สร้างพันธะกับไฮโดรเจนทั้งสองอะตอมมีโอกาสสับเปลี่ยน
ข. โมเลกุล 1 และ 3 มีอิเล็กตรอนคู่โดเดี่ยวที่อะตอมกลาง โมเลกุล 4 มีความยาวพันธะ กันได้ง่าย
ระหว่างคาร์บอนสั้นที่สุด ความยาวพันธะระหว่างคาร์บอนของโมเลกุล 6 < 4 < 5 ง. เพื่อลดขนาดของโมเลกุลให้โมเลกุลอยูเ่ บียดเสี ยดกันมากที่สุด
ค. โมเลกุล 1 มีรูปร่ างโค้งงอ โมเลกุล 3 มีรูปร่ างพีระมิดฐานสามเหลี่ยม โมเลกุล 5 มี 229. มุมระหว่างพันธะในโมเลกุลของแอมโมเนียมีค่าน้อยกว่ามุมระหว่างพันธะของมีเทน
ความยาวพันธะสั้นที่สุด ความยาวพันธะระหว่างคาร์บอนของโมเลกุล 5 < 4 < 6 ด้วยเหตุผลข้อใด
ง. โมเลกุล 1 มีรูปร่ างโค้งงอ โมเลกุล 3 มีรูปร่ างพีระมิดฐานสามเหลี่ยม โมเลกุล 5 มี ก. อิเล็กโทรเนกาติวติ ีของ N สูงกว่า C
ความยาวพันธะสั้นที่สุด ความยาวพันธะระหว่างคาร์บอนของโมเลกุล 5 < 6 < 4 ข. แอมโมเนียเป็ นโมเลกุลมีข้ วั ส่วนมีเทนเป็ นโมเลกุลไม่มีข้ วั
226. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ (กาหนดอะตอม Xe =54 ) ค. โมเลกุลของแอมโมเนียมีพนั ธะโคเวเลนต์ 3 พันธะ แต่โมเลกุลมีเทนมี 4 พันธะ
1. เลขออกซิเดชันของ Xe ใน XeF₅⁺ XeOF₄ XeF₈²⁻ และ HXeO₄⁻ ง. แรงผลักระหว่างอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะด้วยกันเอง มีค่าน้อยกว่าแรงผลักระหว่าง
มีค่าเท่ากับ 6 อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวกับอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ
2. XeF₆ มีรูปร่ างเป็ นทรงแปดหน้า และ Xe ไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดเดี่ยว
3. อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวที่ Xe ของ XeF₂ และ XeF₃⁺ มีจานวนเท่ากัน
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 39/56 หน้า 39
230. โมเลกุลใดที่มีมุมระหว่างพันธะมากว่า 159  ก. I > II > IV > III
ก. CCl₄ ข. III > I > IV > II
ข. H₂Se ค. II > I > III > IV
ค. PCl₃ ง. I > III > II > IV
ง. CO₂ 234. มุมระหว่างพันธะในโมเลกุลเรี ยงตามลาดับดังข้อใด
231. มุมพันธะในโมเลกุลของมีเทน แอมโมเนีย และน้ า จะมีขนาดเรี ยงตามลาดับข้อใด ก. CS₂ > BF₃ > CH₄ > Cl₂O
ก. มีเทน > แอมโมเนีย > น้ า ข. Cl₂O > CS₂ > CH₄ > BF₃
ข. น้ า > แอมโมเนีย > มีเทน ค. BF₃ > CS₂ > Cl₂O > CH₄
ค. แอมโมเนีย > มีเทน > น้ า ง. CS₂ > Cl₂O > BF₃ > CH₄
ง. น้ า > มีเทน > แอมโมเนีย 235. ข้อใดเรี ยงค่ามุมพันธะได้ถูกต้อง
232. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ก. BF₃ > PCl₃ > CH₄ > BeCl₂
1. มุม HOH ใน H₂O มีขนาดเล็กกว่ามุม HNH ใน NH₃ เพราะว่า O มีค่าอิเล็ก ข. Cl₂O > BF₃ > CH₄ > BeH₂
โทรเนกาติวติ ีมากกว่า N ค. CO₂ > CH₄ > BF₃ > Cl₂O
2. มุม HNH ใน NH₃ มีขนาดใหญ่กว่ามุม HSH ใน H₂S เพราะว่า S มีอิเล็กตรอนคู่ ง. CS₂ > BCl₃ > CH₄ > PCl₃
โดดเดี่ยวมากกว่า N 236. A เป็ นธาตุที่มีการจัดอิเล็กตรอน 2 8 5 มุมระหว่างพันธะในสารข้อใดต่อไปนี้ มีค่า
3. มุม HOH ใน H₂O มีขนาดใหญ่กว่ามุม HSH ใน H₂S เพราะว่า O มีค่าอิเล็ก รวมกันมากที่สุด
โทรเนกาติวติ ีมากกว่า S ก. H₂O ACl₃
4. มุม HOH ใน H₂O และมุม OCO ใน CO₂ ต่างก็มีค่าใกล้เคียงกับ 109.5 องศา ข. NH₃ AF₃
ข้อใดถูกต้อง ค. SiCl₄ ABr₃
ก. 1 และ 3 ง. CH₄ ACl₄⁺
ข. 1 และ 2 237. มุมพันธะในสารประกอบข้อใด เมื่อรวมกันในทุกสารประกอบแล้วมีค่าน้อยที่สุด ( PAT-
ค. 3 และ 4 2 ต.ค. 53 ) (กาหนดเลขอะตอม Be = 4 F = 9 C = 6 O = 8 H = 1 S = 16
ง. 2 และ 3 Cl = 17 Xe = 54 )
233. กาหนดให้โมเลกุลต่อไปนี้ ก. BeF₂ CO₂
CS₂ BF₃ Cl₂O CCl₄ ข. H₂F⁺ BeCl₂
ค. BeH₂ O₃
I. II. III. IV.
ง. SO₂ XeF₂
มุมระหว่างพันธะในโมเลกุล I – IV เรี ยงตามลาดับดังข้อใด
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 40/56 หน้า 40
238. สารประกอบหรื อไอออนในข้อใดมีรูปร่ างเหมือนกัน และมีมุมพันธะเท่ากันทั้งหมด 3. 4.
(PAT-2 ก.ค. 53 ) (กาหนดเลขอะตอม Be = 4 F = 9 C = 6 O = 8 H = 1 S
= 16 Cl = 17 Xe = 54 )
ก. BeBr₂ และ H₂O
ข. CCl₄ และ SO₄²⁻
ค. NH₄⁺ และ CH₃Cl โมเลกุลของสารใดบ้างที่มุมพันธะของคาร์บอนอะตอมทั้งสองมีคา่ ใกล้เคียงกันที่สุด
ง. SO₂ และ CO₂ ก. 1 เท่านั้น
239. ธาตุ X มีเลขอะตอม 15 เกิดสารประกอบกับไฮโดรเจนได้หลายชนิด ได้แก่ XH⁻ ข. 2 เท่านั้น
XH₃ และ XH₄⁺ เมื่อศึกษาโครงสร้างพบว่ามุมพันธะเพิ่มขึ้น ตามลาดับ พิจารณา ค. 1 และ 3
ข้อสรุ ปต่อไปนี้ ง. 2 และ 4
1. X เป็ นอโลหะในคาบที่ 3 เมื่อเกิดพันธะโคเวเลนต์กบั ไฮโดรเจน อาจไม่เป็ นไปตาม 241. พิจารณาสูตรแบบจุดของโมเลกุล และไอออนต่อไปนี้
กฎออกเตต ทาให้มีมุมพันธะได้หลายค่า
2. X เป็ นอโลหะเกิดพันธะโคเวเลนต์กบั ไฮโดรเจน จานวนอิเล็กตรอนเป็ นไปตามกฎ
ออกเตต
3. X เป็ นธาตุในคาบที่ 3 เมื่อเกิดพันธะโคเวเลนต์กนั ไฮโดรเจนได้สารที่มีประจุไม่
I. II.
เท่ากัน เลขออกซิเดชันของ X ในสารประกอบทั้งสามจึงไม่เท่ากัน
ข้อสรุ ปใด ถูกต้อง
ก. 1 เท่านั้น
ข. 2 เท่านั้น
ค. 2 และ 3 III. IV.
ง. 1 และ 3 สูตรใดบ้างที่ทุกอะตอมอยูใ่ นระนาบเดียวกัน
240. พิจารณาสารประกอบอินทรี ยต์ ่อไปนี้ ก. 1 และ 2
1. 2. ข. 2 และ 3
ค. 2 และ 4
ง. 3 และ 4

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 41/56 หน้า 41
242. ธาตุสมมติ A B C และ D มีสมบัติเป็ นอโลหะ โดยที่ธาตุ A และ B อยูใ่ นหมู่ 246. เมื่อพิจารณาสูตรของสารประกอบต่อไปนี้
เดียวกัน ธาตุ C และ D อยูใ่ นหมู่เดียวกัน มีรูปร่ างโมเลกุลดังข้อมูลในตาราง 1. โบรมีน (Br₂)
2. แอมโมเนีย (NH₃)
สารประกอบ รู ปร่ างโมเลกุล สารประกอบ รู ปร่ างโมเลกุล
3. น้ า (H₂O)
AB₃ รู ปตัวที CD₂ มุมงอ
4. ไฮโดรเจนคลอไรด์ (HCl)
AB₄⁺ ทรงสี หน้าบิดเบี้ยว CD₃ สามเหลี่ยมแบนราบ
5. คาร์บอนเตตระคลอไรด์ (CCl₄)
AB₅ พีระมิดฐานสี่ เหลียม CD₃²⁻ พีระมิดฐานสามเหลียม
สารใดมีพนั ธะโคเวเลนต์มีข้ วั
AB₆⁺ ทรงแปดหน้า CD₄²⁻ ทรงสี หน้า
ก. 1 2 3 และ 4 เท่านั้น
จากข้อมูลข้างต้นข้อใดผิด (PAT-2 ต.ค.55) ข. 2 3 และ 4 เท่านั้น
ก. ธาตุ A และ B อยูใ่ นหมู่ 7 ค. 2 3 4 และ 5 เท่านั้น
ข. ขนาดอะตอมของ A ใหญ่กว่าอะตอมของ B ง. 4 เท่านั้น
ค. ค่าอิเล็กโทรเนกาทิวติ ีของ C น้อยกว่า D 247. ธาตุ A B C และ D มีสมบัติดงั แสดงในตาราง
ง. จานวนอิเล็กตรอนรอบอะตอม C มีค่าเกินออกเตตไม่ได้ ธาตุ ศักย์รีดกั ชัน (V) การเปลี่ยนแปลงสี ลิตมัสเมื่อทดสอบสารละลายออกไซด์ในน้ า
243. กาหนดค่าอิเล็กโทรเนกาทิวติ ีของอะตอมบางชนิด
A +0.54 น้ าเงิน  แดง
อะตอม Si H S Br Cl
B -1.71 แดง  น้ าเงิน
อิเล็กโทรเนกาติวติ ี (EN) 1.9 2.20 2.58 2.96 3.16
C +1.36 น้ าเงิน  แดง
สภาพขั้วของพันธะโคเวเลนต์ ต่อไปนี้ ข้อใดเรี ยงลาดับจากมากไปหาน้อยได้ถูกต้อง D -2.71 แดง  น้ าเงิน
ก H – Cl H – Br Si – S Si – H
ข H – Cl Si – S Si – H H – Br สารประกอบที่เกิดจากธาตุคู่ใด จะเป็ นโมเลกุลโคเวเลนต์มีข้ วั แรงที่สุด
ค H – Cl H – Br Si – S Si – H ก. A กับ B
ง Si – H Si – S H – Br H – Cl ข. A กับ C
244. ในระหว่างพันธะต่อไปนี้ พันธะใดมีข้ วั ของพันธะน้อยที่สุด ค. B กับ D
ก H–F ข O–F ค Cl – F ง Ca – F ง. C กับ D
245. สารประกอบคูใ่ ดที่ ไม่ ได้ เรี ยงลาดับความแรงขั้วจากสูงไปต่า
ก. HBr HCl ข. H₂O H₂S
ค. NCl₃ BCl₃ ง. IF BrCl
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 42/56 หน้า 42
248. สารประกอบอย่างหนึ่ง มีสูตรโครงสร้างแบบเส้นดังนี้ 251. ข้อใดเป็ นโมเลกุลไม่มีข้ วั
ก CO₂ CCl₄ CH₃Cl
ข CO₂ SF₆ BCl₃
ค BCl₃ NCl₃ CCl₄
ง HCN NCl₃ CO₂
ขั้วลบของโมเลกุลควรชี้ไปตามทิศทางเหมือนลูกศรในข้อใด 252. ข้อใดเป็ นโมเลกุลไม่มีข้ วั
1. PBr₅
ก. ข. ง.
ค. 2. Si(CH₃)₄
3. CH₃Cl
249. สูตรโครงสร้างของสารอินทรี ยใ์ ดที่ไม่ แสดงขั้ว ข้อใดเป็ นคาตอบที่ถูกต้อง
ก. 1 เท่านั้น
ก. ข. ข. 2 เท่านั้น
ค. 1 และ 2 เท่านั้น
ง. 1 2 และ 3
253. สารประกอบในข้อใดที่โมเลกุลมีข้ วั ทั้งหมด
ค. ง. ก CH₄ NH₃
ข CCl₄ H₂S
ค NH₃ BF₃
ง CH₃Cl PH₃
250. สารใดต่อไปนี้ 254. โมเลกุลในข้อใดเป็ นโมเลกุลมีข้ วั ทั้งหมดหรื อไม่มีข้ วั ทั้งหมด (PAT-2 มี.ค.52)
NF₃ CH₃Cl PBr₅ CO₂ BF₃ ก. HI CS₂ O₂
ข. N₂ PCl₅ CCl₄
เป็ นโมเลกุลไม่มีข้ วั
ค. N₂ NH₃ SO₃
ก NF₃ CH₃Cl PBr₅ CO₂
ง. O₂ SO₂ CO₂
ข NF₃ BF₃
ค PBr₅ CO₂ BF₃
ง BF₃ เท่านั้น

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 43/56 หน้า 43
255. ข้อใดมีสภาพขั้วเหมือนกันทั้งหมด (PAT-2 มี.ค.53) 260. สารกลุ่มใดต่อไปนี้มีพนั ธะโคเวเลนต์ มีข้ วั แต่โมเลกุลไม่มีข้ วั
ก. CHCl₃ H₂O CS₂ ก HCl H₂ H₂O
ข. CCl₄ CO₂ BF₃ ข CO₂ BF₃ CCl₄
ค. PCl₅ SO₂ BeCl₂ ค Cl₂O CH₃Cl H₂S
ง. NH₃ HCl CO₂ ง CO H₂S PCl₃
256. ธาตุ A B C D E และ F มีเลขอะตอม 15 9 8 6 5 และ 1 ตามลาดับ 261. สาร X เป็ นโมเลกุลไม่มีข้ วั สาร Y เป็ นโมเลกุลมีข้ วั ส่วนสาร Z นั้น พันธะไม่มีข้ วั ถ้า
สารประกอบในข้อใดมีข้ วั ทุกสาร ขนาดของโมเลกุลในสถานะแก๊ส เรี ยงลาดับ X > Y >Z สาร X Y Z อาจเป็ นสารใน
ก B₂C EB₃ DC₂ ข้อใด
ข AB₃ DC₂ DB₄ X Y Z
ค F₂C B₂C AB₃ ก. CH₄ NH₃ C₆H₆
ง EB₃ DB₄ F₂C
ข. BeCl₂ CH₂Cl₂ S₈
257. ธาตุ A B C D E F และ G มีเลขอะตอมเท่ากับ 1 6 0 8 9 15 และ
ค. Br₂ H₂O H₂
17 ตามลาดับ สารประกอบในข้อใดมีข้ วั ทุกสาร
ง. SiH₄ PCl₃ PCl₅
ก A₂D GE₅ BD₂
ข GE₅ FG₅ CE₃ 262. โมเลกุลในข้อใดมีรูปร่ างเหมือนกัน และเป็ นโมเลกุลมีข้ วั ทั้งสองโมเลกุล
ค GE₅ CE₃ A₂D ก BeCl₂ Cl₂O
ง CE₃ A₂D BA₄ ข PBr₃ NI₃
258. สารประกอบในข้อใดมีจานวนโมเลกุลไม่มีข้ วั เป็ น 2 เท่า ของโมเลกุลมีข้ วั ค SiF₄ GeH₄
ก CHCl₃ CCl₄ HCl ง OF₂ CO₂
ข CCl₄ NH₃ SiH₄ 263. ไอออนหรื อโมเลกุลคู่ใดมีรูปร่ างโมเลกุลเหมือนกัน และมีสภาพขั้วของโมเลกุลชนิด
ค PCl₃ H₂O CO₂ เดียวกัน
ง CH₄ SO₂ CH₃Cl ก. BeCl₂ CO₂
259. สารใดมีพนั ธะโคเวเลนต์มีข้ วั แต่โมเลกุลไม่มีข้ วั ข. PCl₅ ClF₅
ก. BF₃ ค. CCl₄ XeF₄
ข. NH₃ ง. BCl₃ PCl₃
ค. Cl₂O
ง. BrCl
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 44/56 หน้า 44
264. พิจารณาสมบัติของธาตุสมมติต่อไปนี้ ข้อใดเป็ นโมเลกุลแบบมีข้ วั และมีการจัดตัวของอะตอมในรู ปร่ างโมเลกุล เป็ นแบบสาม
มิติท้ งั หมด
ธาตุ สมบัติของธาตุ
ก 1 เท่านั้น
A. อยูห่ มู่เดียวกับ ₃₄Se และคาบเดียวกับธาตุที่มีค่า IE₁ สูงที่สุด ข 1 และ 2 เท่านั้น
B. อยูใ่ นคาบที่ 3 และหมู่เดียวกับธาตุ A ค 1 และ 3 เท่านั้น
C. อยูใ่ นคาบที่ 3 และหมู่เดียวกับธาตุ ₃₃As ง 1 2 และ 3
D. อยูใ่ นคาบที่ 3 และหมู่เดียวกับธาตุ ที่มีมีค่าอิเล็กโทรเนกาติวติ ีสูงที่สุด 267. โมเลกุลในข้อใดเป็ นโมเลกุลโคเวเลนต์มีรูปร่ างโมเลกุลลักษณะเดียวกัน แต่สภาพขั้ว
ของโมเลกุลต่างกัน (ENT-A 50)
ข้อใดถูกต้อง ก. CO₂ และ SO₂
ข. AsI₃ และ BCl₃
สารประกอบ รู ปร่ างโมเลกุล จานวนอิเล็กตรอนคู่โดด สภาพขั้วของ
ค. XeF₄ และ CHCl₃
เดี่ยวที่อะตอมกลาง โมเลกุล
ง. CCl₄ และ POCl₃
ก. BA₃ สามเหลี่ยมแบนราบ ไม่มี ไม่มี 268. ข้อใดมีการเรี ยงสภาพมีข้ วั ของโมเลกุลจากน้อยไปมาก
ข. CAD₃ ทรงสี่ หน้า ไม่มี ไม่มี ก CO₂ NH₃ CCl₄
ค. BD₂ มุมงอ 1 คู่ ไม่มี ข HF CH₄ BCl₃
ง. CD₅ พีระมิดคู่ฐาน ไม่มี ไม่มี ค H₂O BeCl₂ H₂S
สามเหลี่ยม ง BeCl₂ PBr₃ PCl₃

265. พิจารณาธาตุสมมติต่อไปนี้ : ₃₁A ₃₅B ₅₃C ₅₆D สมบัติของธาตุสมมติ 269. A B และ C เป็ นโมเลกุลโคเวเลนต์ มีสถานะเป็ นของเหลวที่อณ ุ หภูมิหอ้ ง A เป็ น
ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง (ENT- A 51) โมเลกุลมีข้ วั B และ C เป็ นโมเลกุลไม่มีข้ วั B ละลายใน A แต่ C ไม่ละลายใน A
ก. ธาตุ C เป็ นธาตุที่รับอิเล็กตรอนยากกว่าธาตุ A B และ D สาร A B และ C ในข้อใดเป็ นไปได้
ข. ธาตุ A เป็ นธาตุที่อยูใ่ นหมู่เดียวกับธาตุที่มีเลขอะตอม 51 A B C
ค. ธาตุ B เมื่อเกิดสารประกอบกับ 31 15𝑃ได้สารประกอบที่เป็ นโมเลกุลมีข้ ว
ั ก. C₆H₆ I₂ CS₂
ง. ธาตุ A เป็ นอโลหะ เกิดสารประกอบกับ 31 17𝐶𝑙 ได้สารประกอบโคเวเลนต์ที่มีสูตร ข. C₂H₅OH CHCl₃ C₆H₁₄
เป็ น ACl₂ ค. H₂O Br₂ CCl₄
266. กาหนดสารประกอบให้ดงั นี้ ง. HF F₂ C₆H₆
1. PCl₃ NH₃ 2. BCl₃ SO₂ 3. SF₄ CHCl₃
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 45/56 หน้า 45
คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ในการตอบคาถามข้อ 270 – 272 273. ข้อสรุ ปต่อไปนี้ขอ้ ใด ไม่ถูกต้อง
สาร จุดหลอมเหลว  C การละลายในน้ า การนาไฟฟ้ า ความเป็ นกรด - เบส ก. สาร A เป็ นโมเลกุลมีข้ วั สาร B C และ D เป็ นโมเลกุลประเภทไม่มีข้ วั
ของสารละลาย ข. สาร A เป็ นสารไอออนิก สาร B C และ D เป็ นสารโคเวเลนต์
ค. สาร A เป็ นสารไอออนิก สาร B C และ D เป็ นสารอินทรี ย ์
A 45 ไม่ละลาย - -
ง. สาร A เป็ นสารอนินทรี ย ์ สาร B C และ D เป็ นสารอินทรี ย ์
B 23 ละลาย - -
274. จากสมบัติดงั กล่าว อาจคาดคะเนสมบัติอื่นๆ ได้อีก ข้อใดที่ท่านคิดว่าน่าจะเป็ นไป
C 723 ละลาย นาไฟฟ้ า กลาง ได้มากที่สุด
D -5 ละลาย นาไฟฟ้ า กรด ก. สาร A และ C ควรจะมีจุดหลอมเหลวสูง
E 1,100 ไม่ละลาย - - ข. สาร A และ C ควรละลายได้ดีในอีเทอร์
ค. สาร A และ B ควรจะทาปฏิกิริยารวมตัวได้ดี
270. สารในข้อใดที่เป็ นสารประกอบโคเวเลนต์ ง. สาร A ควรจะมีจุดหลอมเหลวสูง ส่วน B C และ D มีจุดหลอมเหลวต่า
ก A B D 275. A B C D เป็ นของเหลวบริ สุทธิ์ เมื่อนา A มาผสมกับ B และ C ผสมกับ D พบว่า
ข A B E ต่างก็ละลายเป็ นเนื้อเดียวกันแต่เมื่อนา C มาผสมกับ A ปรากฏว่าไม่ละลายเป็ นเนื้อ
ค A B C D เดียวกัน สาร A B C D ในข้อใด เป็ นไปไม่ ได้
ง A B D E
271. สารในข้อใดที่เป็ นโมเลกุลมีข้ วั A B C D
ก A B E ข C D ค C ง D ก. H₂O C₂H₅OH C₆H₆ CCl₄
272. สารในข้อใดเมื่อหลอมเหลวจะนาไฟฟ้ าได้ ข. H₂O CH₃OH C₆H₆ C₆H₁₄
ก C E ข C ค E ง A B ค. C₆H₆ CCl₄ H₂O C₃H₇OH
คาชี้แจง ใช้ตารางนี้ในการตอบคาถามข้อ 273 - 274 ง. CCl₄ H₂O C₂H₅OH C₆H₁₄
สาร การละลาย การนาไฟฟ้ า การเผาไหม้ การละลายใน
สมบัติ ในน้ า ของสารละลาย เอทานอล 276. คาร์บอนเตตระคลอไรด์มีสมบัติอย่างไร
A ละลาย นา ไม่หลอม ไม่ติดไฟ ไม่ละลาย ก. นาไฟฟ้ าเมื่อหลอมเหลว
ข. เป็ นของเหลวที่อุณหภูมิหอ้ ง
B ละลาย ไม่นา ติดไฟให้เปลวสี น้ าเงิน ละลาย
ค. ทาปฏิกิริยากับซิลเวอร์ไนเตรต
C ไม่ละลาย ไม่นา ติดไฟให้เขม่า ไม่ละลาย ง. ละลายน้ า
D ไม่ละลาย ไม่นา ติดไฟให้เขม่า ละลายเล็กน้อย
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 46/56 หน้า 46
277. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ก. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างสารที่มีข้ วั ด้วยกัน และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างสารที่ไม่มีข้ วั
1. SiH₄ เป็ นโมเลกุลโคเวเลนต์ที่ไม่มีข้ วั มีรูปร่ างเป็ นแบบทรงสี่ หน้า ด้วยกัน มีมากกว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างสารที่มีข้ วั กับสารที่ไม่มีข้ วั
2. SiF₆²⁻เป็ นไอออนที่มีรูปร่ างโมเลกุลเป็ นทรงแปดหน้า อะตอมกลางมีประจุเป็ นลบ ข. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างสารที่มีข้ วั ด้วยกัน มีนอ้ ยกว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างสารที่ไม่มี
3. NCl₃ มีอิเล็กตรอนคู่สร้างพันธะ 3 คู่ และอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว 1 คู่ รู ปร่ าง ขั้วด้วยกัน
โมเลกุลเป็ นแบบพีระมิดฐานสามเหลี่ยม ค. สารมีข้ วั ขนาดโมเลกุลเล็กกว่าสารไม่มีข้ วั การละลายที่เกิดจากขนาดโมเลกุลที่
ข้อใด ถูกต้ อง ต่างกันมากจะเกิดได้ยาก
ก. 1 เท่านั้น ง. สารมีข้ วั แตกตัวเป็ นไอออนได้ง่าย ทาให้ขนาดเล็กลง ตัวทาละลายจึงล้อมรอบ
ข. 1 และ 2 เท่านั้น ไอออนดีกว่า
ค. 1 และ 3 เท่านั้น 281. โมเลกุลของสารอินทรี ยช์ นิดหนึ่งไม่มีข้ วั จุดเดือดเท่ากับ 77 C เมื่อนามาผสมกับน้ า
ง. 1 2 และ 3 ข้อใด ถูกต้ อง (PAT-2 ก.ค.53)
278. ออกไซด์ของไนโตรเจนมีหลายชนิดและพบว่า NO และ NO₂ เกิด dimerization ได้ดงั ก. ละลายรวมเป็ นเนื้ อเดียว ข. สารอินทรี ยแ์ ยกชั้นอยูด่ า้ นบน
สมการ 2NO ⇄ NO₂ ค. สารอินทรี ยแ์ ยกชั้นอยูด่ า้ นล่าง ง. แยกชั้นแต่ไม่สามารถระบุช้ น
ั ได้
2NO₂ ⇄ N₂O₄
ข้อใดไม่ เกี่ยวกับการเกิด dimerization ของสารประกอบทั้งสองนี้ (PAT-2 ต.ค.55) 282. ธาตุสมมติ P Q R และ S อยูใ่ นคาบเดียวกัน เมื่อธาตุเหล่านี้ไปทาปฏิกิริยากับธาตุ
ก. ทาให้โมเลกุลเสถียรขึ้น คลอรี นจะได้สารประกอบ PCl₂ , QCl₄ , RCl₃ และ SCl₂ เป็ นสารที่ไม่มีข้ วั RCl₃
ข. ทาให้โมเลกุลมีสภาพขั้วลดลง และ QCl₄ ไม่ละลายน้ า ส่วน PCl₂ ละลายน้ า มีสมบัติเป็ นกรด ลาดับเลขอะตอม
ค. ทาให้ N มีจานวนอิเล็กตรอนครบออกเตต ของธาตุเหล่านี้เรี ยงจากน้อยไปมากเป็ นอย่างไร
ง. มีอิเล็กตรอนเดี่ยวที่ N ในสารประกอบทั้งสองชนิด ก. S Q R P

279. ข้อความต่อไปนี้ ข้อใด ถูกต้อง ข. P Q R S

ก. สารที่ละลายน้ าและนาไฟฟ้ าได้ส่วนใหญ่เป็ นสารประกอบนิก ค. P S Q R

ข. สารที่ละลายน้ าแต่ไม่นาไฟฟ้ า เป็ นสารประกอบโคเวเลนต์ประเภทโมเลกุลไม่มีข้ วั ง. R S P Q

ค. สารที่ไม่ละลายน้ าเลย เป็ นสารประกอบโคเวเลนต์ประเภทโมเลกุลไม่มีข้ วั 283. X Y และ Z เป็ นสารโคเวเลนต์ 3 ชนิด ที่มีโมเลกุลของสาร X และสาร Z มีข้ วั
ง. สารที่ละลายในเอทานอล เป็ นสารประกอบโคเวเลนต์ประเภทโมเลกุลไม่มีข้ วั ส่วนโมเลกุลของ Y ไม่มีข้ วั ข้อสรุ ปใดต่อไปนี้ ไม่ ถูกต้อง
เท่านั้น ก. สาร Y ควรมีจุดเดือดต่า
280. สารที่มีความเป็ นขั้วเหมือนๆ กัน จะละลายด้วยกันได้ดี ส่วนสารที่มีความเป็ นขั้วต่างกัน ข. สาร X และ Z ละลายน้ าได้
จะละลายด้วยกันไม่ดี สาเหตุคืออะไร ค. สาร X และ Y ควรละลายซึ่งกันและกันได้
ง. สาร X และ Z ควรละลายซึ่งกันและกันได้
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 47/56 หน้า 47
284. เจอร์มาเนียม (Ge) เป็ นธาตุหมู่ 4 สารประกอบเจอร์มาเนียมเตตระคลอไรด์ (GeCl₄) 287. สารชนิดที่ 2 มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็ นแบบ
ควรมีสมบัติอย่างไร ก. แรงแวนเดอร์วาลล์
ก. นาไฟฟ้ าในสถานะของเหลว ข. พันธะโคเวเลนต์
ข. เป็ นของเหลวที่อุณหภูมิหอ้ ง ค. พันธะโลหะ
ค. ทาปฏิกิริยากับสารละลาย (AgNO₃) ได้ตะกอน AgCl ง. พันธะไอออนิก
ง. ละลายน้ าได้ดี 288. สารใดที่มีแรงยึดเหนี่ยวภายในโมเลกุลด้วยพันธะโคเวเลนต์ มีข้ วั
285. เมื่อเติมสารละลาย AgNO₃ ลงไปในสารละลายของกรดไดคลอโรอะแอซิติก ก. สารชนิดที่ 1
(CHCl₂COOH) ปรากฏว่าไม่มีตะกอนเกิดขึ้น ข. สารชนิดที่ 2
ก. กรดนี้เป็ นกรดอ่อน ค. สารชนิดที่ 3
ข. พันธะระหว่างคลอรี นและคาร์บอนอะตอมในกรดนี้เป็ นแบบโคเวเลนต์ ง. สารชนิดที่ 4
ค. พันธะระหว่างคลอรี นและคาร์บอนอะตอมในกรดนี้เป็ นแบบโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์ 289. โมเลกุลของสารใดเมื่ออยูใ่ นสถานะของแข็งใช้แรงแวนเดอร์วาลส์ยดึ กันเพียงอย่างเดียว
ง. พันธะระหว่างคลอรี นและคาร์บอนอะตอมในกรดนี้เป็ นแบบไอออนิก ก คาร์บอนเตตระคลอไรด์ ข แอมโมเนีย
286. การเกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่างกรดอินทรี ยช์ นิดหนึ่งกับน้ า ค คาร์บอนมอนอกไซด์ ง น้ า
290. สารประกอบในข้อใดต่อไปนี้ที่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคเป็ นแรงลอนดอนเท่านั้น
(กพสท. ม.ค.55 )
ก. เอทานอล
มุมระหว่างพันธะในข้อใดที่มีขนาดแตกต่างจากข้ออื่น (PAT-2 ต.ค.52)
ก. a ข. b ค. c ง. d ข. น้ าแข็งแห้ง
ค. ไส้ดินสอ
คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ในการตอบคาถามข้อ 287 – 288 ง. แท่งเหล็ก
ในการทดลองตรวจสมบัติของสาร 4 ชนิด ได้ผลดังตาราง จ. เกลือแกง
ชนิดของสาร จุดหลอมเหลว (๐ C) สมบัติ 291. แก๊สเฉื่ อยใดที่มีแรงแวนเดอร์วาลส์(ลอนดอล)ระหว่างอะตอมมากที่สุด
1 801 แข็ง แต่เปราะเมื่อหลอมเหลวนาไฟฟ้ าได้ ก. นีออน (Ne)
ข. อาร์กอน (Ar)
2 -182 ไม่นาไฟฟ้ า
ค. คริ ปทอน (Kr)
3 1,504 แข็ง เป็ นเงา นาไฟฟ้ า
ง. ซีนอน (Xe)
4 0 นาไฟฟ้ าได้นอ้ ยมาก

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 48/56 หน้า 48
292. สารประกอบสองชนิดในข้อใดที่แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมีคา่ มากที่สุด 297. เมื่อ H₂O(g) ทาปฏิกิริยากับ CO(g) ผลิตภัณฑ์มีพนั ธะเคมีชนิดใดได้บา้ ง
ก HF CCl₄ ก. พันธะโคเวเลนต์
ข HCl SiH₄ ข. พันธะไอออนิก
ค CH₄ PH₃ ค. พันธะโคเวเลนต์ และ พันธะไอออนิก
ง NH₃ HF ง. พันธะไฮโดรเจน
293. ในสารประกอบต่อไปนี้ ในสารใดที่พนั ธะไฮโดรเจนมีผลต่อจุดเดือดมากที่สุด 298. สารประกอบแอซิติก (CH₃COOH) มีจุดเดือดสูงกว่าสารประกอบอื่นๆที่มีน้ าหนัก
(มวล)โมเลกุลเท่ากันเพราะเหตุใด
ก. CH₃OH ข. CH₃Cl ค. CH₄ ง. HCl
ก. มีไฮโดรเจนบอนด์ (พันธะไฮโดรเจน)
294. ไอออนที่อยูใ่ นน้ ายึดเหนี่ยวกับโมเลกุลของน้ าด้วยแรงหรื อพันธะชนิดใด ข. มีไอออนิกบอนด์ (พันธะไอออนิก)
ก. พันธะไอออนิก ค. มีโคเวเลนต์บอนด์ (พันธะโคเวเลนต์ )
ข. แรงดึงดูดระหว่างขั้ว ง. เป็ นกรด
ค. พันธะไฮโดรเจน 299. ถ้ากราฟระหว่างอุณหภูมิและมวลโมเลกุลของ HF HCl HBr HI เป็ นดังแสดง
ง. แรงดึงดูดระหว่างไอออนกับขั้ว
295. สารในข้อใดที่แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็ นพันธะไฮโดรเจนทุกสาร
ก H₂NNH₂ CH₃F H₂S CH₄
ข CHCl₃ CH₃COOH SiH₄ HCl
ค CH₃NH₂ HCOOH H₂O H₂CO₃
ง NH₃ H₂O H₂S H₂CO₃
296. พันธะเคมีในสารต่อไปนี้ ข้อใด ถูกต้อง (ENT-A 49)
พันธะ
ไอออนิก โคเวเลนต์ โคออร์ดิเนตโคเวเลนต์ ไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุล
เหตุผลที่ HF มีจุดหลอมเหลว และจุดเดือด สูงผิดปกติ คือข้อใด ผิด
ก. SiCl₄ XeF₄ NH₄⁺ HF ก. ฟลูออรี นมีค่าอิเล็กโทรเนกาติวติ ีสูงที่สุด
ข. KBr Cl₂O PH₃ H₂S ข. เกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของ HF
ค. SF₆ PCl₅ SO₂ H₂O ค. แรงยึดเหนี่ยวภายในโมเลกุลของ HF สูงกว่าไฮโดรเจนเฮไลด์ตวั อื่นๆ
ง. MgO BF₃ O₃ NH₃ ง. สภาพขั้วของโมเลกุลของ HF แรงกว่าของไฮโดรเจนเฮไลด์ตวั อื่นๆ

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 49/56 หน้า 49
300. พิจารณาความแตกต่างระหว่างจุดเดือดของสารประกอบของไฮโดรเจนกับธาตุหมู่ VII ค. ต่ากว่า เพราะHF มีขนาดโมเลกุลใหญ่กว่า F และมีอิเล็กโทรเนกาติวติ ีสูงสุด จึง
ซึ่งมีลาดับดังนี้ HF > HCl < HBr < HI ทาไม HCl จึงทีจุดเดือดต่าที่สุด ทาให้เกิดแรงดึงดูดระหว่าง H กับ F น้อย
ก. เพราะ HCl มีแรงลอนดอนต่าสุด ง. ต่ากว่า เพราะ HF มีขนาดโมเลกุลใหญ่กว่า แต่ F มีอิเล็กโทรเนกาติวติ ีต่ากว่าเฮโล
ข. เพราะ HCl มีแรงลอนดอนต่าสุด เจนอื่น จึงมีแรงดึงดูดระหว่าง H กับ F น้อย
ค. เพราะ HCl มีแรงแวนเดอร์วาลล์ต่าสุด 305. NH₃ มีจุดเดือดสูงกว่า PH₃ เพราะเหตุใด
ง. เพราะ HCl ไม่เกิดพันธะไฮโดรเจน ก. แรงแวนเดอร์วาลล์ระหว่างโมเลกุลของ NH₃ สูงกว่าแรงแวนเดอร์วาลล์ระหว่าง
301. ปั จจัยสาคัญที่สุดที่ทาให้จุดเดือดของ HI สูงกว่า HBr คือข้อใด (PAT-2 ต.ค.52) โมเลกุลของ PH₃
ก. พลังงานพันธะที่แตกต่างกัน ข. พันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของ NH₃ แรงกว่าแรงดึงดูด อันเนื่องจากขั้วบวก
ข. มวลโมเลกุลที่แตกต่างกัน และขั้วลบระหว่างโมเลกุล PH₃
ค. ขนาดโมเลกุลที่แตกต่างกัน ค. พันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของ NH₃ แรงกว่าแรงแวนเดอร์วาลล์ระหว่าง
ง. เกิดพันธะไฮโดรเจนที่แตกต่างกัน โมเลกุลของ PH₃
302. จากการศึกษาไอของสารประกอบชนิดหนึ่งพบว่า ประกอบด้วยโมเลกุลเท่านั้น ง. พันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของ NH₃ แรงกว่าพันธะไฮโดรเจนระหว่าง
ข้อสรุ ปใด ผิด โมเลกุลของ PH₃
ก. สารละลายของสารนี้ในน้ า ประกอบด้วยไอออนบวกและไอออนลบ 306. กาหนดให้ค่าอิเล็กโทรเนกาติวติ ีของ H O และ S เท่ากับ 2.1 3.5 และ 2.5
ข. สารนี้เป็ นสารประกอบโคเวเลนต์ ตามลาดับ เหตุผลข้อใดทาให้ H₂O มีจุดเดือดสูงกว่า H₂S
ค. เมื่อสารนี้กลายเป็ นไอ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลถูกทาลาย ก. แรงแวนเดอร์วาลล์ระหว่างโมเลกุลของ H₂O สูงกว่าแรงแวนเดอร์วาลส์ ระหว่าง
ง. เมื่อสารนี้กลายเป็ นไอ แรงยึดเหนี่ยวภายในโมเลกุลถูกทาลาย โมเลกุล H₂S
303. สารละลายคู่ใดมีสมบัตินาไฟฟ้ าได้ดี และมีจุดหลอมเหลวสูง ข. พันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของ H₂O แรงกว่าพันธะไฮโดรเจน ระหว่าง
ก NaCl N₂O โมเลกุล H₂S
ข Cl₂ แกรไฟต์ ค. พันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของ H₂O แรงกว่าแรงแวนเดอร์วาลส์ ระหว่าง
ค Na₂CO₃ K₂O โมเลกุล H₂S
ง Hg เพชร ง. พันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของ H₂O แรงกว่าแรงดึงดูดระหว่างขั้วบวกและ
304. HF มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูงกว่าหรื อต่ากว่าของ HCl HBr และ HI เพราะเหตุใด ขั้วลบระหว่างโมเลกุล H₂S
ก. สูงกว่า เพราะ HF มีขนาดโมเลกุลเล็กกว่า แต่ F มีอิเล็กโทรเนกาติวติ ีต่ากว่าเฮโล
เจนอื่น จึงมีแรงดึงดูดระหว่าง H กับ F มาก
ข. สูงกว่า เพราะ HF มีขนาดโมเลกุลเล็กกว่า F และ มีอิเล็กโทรเนกาติวติ ีสูงสุด จึง
มีแรงดึงดูดระหว่าง H กับ F มาก
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 50/56 หน้า 50
307. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ง. M > P > N > O
1. H₂O มีจุดเดือดสูงกว่า H₂S 310. กาหนดสมบัติของสารประกอบ A B C และ D ดังนี้
2. H₂O มีมวลน้อยกว่า H₂S 1. A C และ D ละลายน้ าได้
3. H₂O มีพนั ธะไฮโดรเจนยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลแข็งแรง 2. B C และ D เป็ นสารประกอบโคเวเลนต์
4. HCl มีจุดเดือดต่ากว่า HBr 3. B เป็ นโมเลกุลไม่มีข้ วั
5. HCl มีมวลน้อยกว่า HBr 4. D เกิดพันธะไฮโดรเจนกับน้ า
ข้อสรุ ปใดต่อไปนี้ ไม่เป็ นเหตุผลที่ถูกต้อง การเรี ยงลาดับจุดเดือดข้อใด ถูกต้อง
ก. 1 เนื่องจาก 2 ก. A > B > C > D
ข. 4 เนื่องจาก 5 ข. A > C > B > D
ค. 1 เพราะ 3 ค. A > D > C > B
ง. 1 แต่ 4 ทั้งๆ ที่ 2 และ 5 ง. D > A > C > B
308. แรงระหว่างโมเลกุลในข้อใดผิด 311. ลาดับจุดเดือดของสารสี่ ชนิด CO₂ Ar SCl₂ SiC จากมากไปน้อย ตรงกับข้อใด
ก. แรงแวนเดอร์วาลส์ระหว่างโมเลกุลของ H₂O มีค่ามากกว่าระหว่างโมเลกุลของ ก. CO₂ > Ar > SiC > SCl₂
NH₃ ข. SiC > CO₂ > SCl₂ > Ar
ข. แรงลอนดอนระหว่างโมเลกุลของ SiH₄ มีค่ามากกว่าระหว่างโมเลกุลของ CH₄ ค. SiC > SCl₂ > CO₂ > Ar
ค. พันธะไฮโดรเจนใน C₂H₅OH แข็งแรงมากกว่าใน C₂H₅SH ง. SCl₂ > SiC > CO₂ > Ar
ง. พันธะไฮโดรเจนใน CH₃F แข็งแรงมากกว่าใน CH₃OH 312. ลาดับจุดเดือดของสารในข้อใด
309. จากการศึกษาสมบัติของสาร M N O P พบว่า ก. CHCl₃ > CH₂Cl₂ > CH₃Cl
1. P เป็ นสาร ไอออนิก ข. SiH₄ > CH₃OH > CH₄
2. M เป็ นสารไม่มีข้ วั ค. CH₃OH > HCOOH > CH₃OCH₃
3. N O เป็ นสารมีข้ วั ง. HI > HBr > HF
4. M N O เป็ นสารโคเวเลนต์ 313. ความร้อนแฝงการเกิดไอของ C₁₀H₂₂ NH₃ H₂O และ O₂ จะเรี ยงลาดับ
5. N เป็ นสารประกอบที่มีพนั ธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุล ตามข้อใด
ข้อใดเป็ นการเรี ยงลาดับจุดเดือดที่ถูกต้อง ก. C₁₀H₂₂ > O₂ > H₂O > NH₃
ก. P > N > O > M ข. O₂ > H₂O > NH₃ > C₁₀H₂₂
ข. P > M > N > N ค. H₂O > NH₃ > C₁₀H₂₂> O₂
ค. N > P > M > O ง. C₁₀H₂₂ > H₂O > NH₃ > O₂
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 51/56 หน้า 51
314. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล Br₂ S₈ O₂ และ แกรไฟต์ จะมีค่าเรี ยงลาดับดังนี้ ก. 1 และ 2
ก. Br₂> S₈ > O₂ > แกรไฟต์ ข. 2 และ 3
ข. S₈ > Br₂ > O₂ > แกรไฟต์ ค. 1 และ 3
ค. แกรไฟต์ > Br₂> S₈> O₂ ง. 1 2 และ 3
ง. แกรไฟต์ > S₈ > Br₂ > O₂ คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ในการตอบคาถามข้อ 317 – 318
315. กาหนดสารประกอบฟลูออไรด์ตอ่ ไปนี้ ธาตุ A X Y และ Z มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 4 5 6 และ 7 ตามลาดับ
a) 𝐴𝑎 𝐹𝑏 b) 𝐵𝑐 𝐹𝑑 c) 𝐶𝑒 𝐹𝑓 d) 𝐷𝑔 𝐹ℎ ธาตุ A และ Y เกิดสารประกอบที่มีสูตร AY₂
ธาตุ X และ Y เกิดสารประกอบที่มีสูตร XY₂
ถ้าเลขอะตอมของ A = 1 B = 7 C = 8 D = 15 F = 9 และ a b c d
ธาตุ Z และ Y เกิดสารประกอบที่มีสูตร YZ₂
e f g h เป็ นเลขจานวนเต็มบวก การเรี ยงลาดับแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล ข้อ
317. พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้
ใดถูกต้อง (ENT-A 51)
1) AY₂ เป็ นโมเลกุลไม่มีข้ วั แต่ XY₂ และ XZ₂ เป็ นโมเลกุลมีข้ วั
ก. a) > d) > b) > c)
2) XY₂ และ XZ₂ เป็ นรู ปร่ างโมเลกุลเหมือนกัน
ข. a) > d) > c) > b)
3) AY₂ มีรูปร่ างโมเลกุลแบบเส้นตรง
ค. d) > b) > a) > c)
4) ในโมเลกุล YZ₂ ไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวอยูบ่ นอะตอม Y
ง. d) > c) > b) > a)
5) แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของ AY₂ มากกว่า YZ₂
316. ในการตรวจวัดจุดเดือดเพื่อเปรี ยบเทียบอิทธิพลของพันธะ และแรงยึดเหนี่ยวโมเลกุล
ข้อมูลใด ไม่ถูกต้ อง
พบว่าการทดลองให้ผลดังนี้ LiF >>> H₂O > HF > NH₃ >> CH₄
ก. 1 3 และ 4
การอธิบายเหตุผลต่อไปนี้
ข. 3 4 และ 5
1. ผลการทดลองสนับสนุนการลาดับประสิทธิภาพของพันธะไอออนิกกับการมีข้ วั
ค. 1 และ 2
และไม่มีข้ วั ของโมเลกุล
ง. 4 และ 5
2. F มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวติ ีสูงมากและ Li มีขนาดเล็กมาก H₂O มีโครงสร้างโค้ง
318. สารประกอบระหว่าง X และ Z ธาตุในข้อ 317 จะเป็ นอย่างไร
งอ และ O₂ มีขนาดเล็ก HF มีมวลโมเลกุล และจานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
มากกว่า NH₃ ส่วน CH₄ เป็ นโมเลกุลโคเวเลนต์ไม่มีข้ วั รู ปร่ าง จานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว ความเป็ นขั้ว
3. การเดือดของสารไอออนิก เป็ นการแยกสลายแรงดึงดูดระหว่างประจุ การเดือด ก. สามเหลี่ยมแบนราบ ไม่มี ไม่มี
ของสารโคเวเลนต์เป็ นการแยกสลายแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล ซึ่งในที่น้ ี ข. พีระมิดฐานสามเหลี่ยม หนึ่งคู่ มี
ได้แก่ พันธะไฮโดรเจน ( H₂O HF NH₃ ) และแรงแวนเดอร์วาลส์ (CH₄)
ค. เส้นตรง สองคู่ ไม่มี
ข้อใดถูกต้อง
ง. มุมงอ สองคู่ มี
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 52/56 หน้า 52
319. สารโคเวเลนต์ชนิดหนึ่ง มีสูตร AH₃ และโมเลกุลเป็ นสามเหลี่ยมแบนราบอะตอม A 2. โมเลกุล XF₃ และ YF₃ ต่างก็ไม่เป็ นตาม กฏออกเตต
ในสารนี้ไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว ข้อใดที่น่าจะเป็ นสมบัติของสาร AH₃ 3. ถ้า X และ Y เป็ นธาตุที่อยูใ่ นคาบเดียวกัน XF₃ จะมีจุดเดือดสูงกว่า YF₃
ก. โมเลกุลมีข้ วั ละลายน้ า จุดเดือดต่า 4. ในโมเลกุล XF₃ มุม FYF จะมีนอ้ ยกว่า 159.5
ข. เกิดพันธะไฮโดรเจน จุดเดือดสูง และละลายน้ าได้ ข้อใดถูกต้อง
ค. โมเลกุลไม่มีข้ วั และมีแรงแวนเดอร์วาลส์เป็ นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล ก. 1 เท่านั้น
ง. โมเลกุลไม่มีข้ วั แต่เกิดพันธะไฮโดรเจนได้ ข. 2 และ 3
320. ถ้าสารประกอบโคเวเลนต์ที่มีสูตร AB₅ และมีรูปร่ างโมเลกุลเป็ นพีระมิดคู่ฐาน ค. 1 และ 4
สามเหลี่ยม ข้อใดต่อไปนี้ ถูกต้ อง ( ENT-A 50) ง. 1 3 และ 4
ก. โมเลกุลเป็ นไปตามกฎออกเตต 323. จากตารางต่อไปนี้
ข. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็ นแรงลอนดอน
ค. A เป็ นธาตุที่อยูใ่ นหมูเ่ ดียวกับธาตุที่มีเลขอะตอมเท่ากับ 54 สาร มวลโมเลกุล จุดหลอมเหลว (C) จุดเดือด (C)
ง. B เป็ นธาตุที่อยูใ่ นหมู่เดียวกับธาตุที่รับอิเล็กตรอนยากที่สุดในตารางธาตุ Ne 20 -249 -246
321. ธาตุ X Y และ Z มีเลขอะตอม 11 16 และ 17 ตามลาดับ ข้อความใดที่
N₂ 28 -210 -196
สอดคล้องกับข้อมูลที่ให้ขา้ งบน
ก. สารประกอบที่เกิดจาก X และ Y จะไม่นาไฟฟ้ าเมื่อหลอมเหลว CH₄ 16 -182 -161
ข. สารประกอบที่เกิดจาก Y และ Z จะมีจุดเดือดต่าที่สุดเมื่อเทียบกับสารที่ได้ HF 20 -83 -19
จากคู่ X – Y และ X – Z H₂O 18 0 100
ค. ออกไซด์ของธาตุเหล่านี้ สูตร X₂O YO และ Z₂O
ง. ถ้านาออกไซด์ของ Y ไปละลายน้ าจะได้สารละลายที่สามารถเปลี่ยนสี กระดาษ ข้อใดสรุ ป ผิด
ลิตมัสจากแดงเป็ นน้ าเงิน ก. ที่อุณหภูมิหอ้ งสารทุกตัวยกเว้นน้ ามีสถานะเป็ นแก๊ส
322. พิจารณาข้อสรุ ปจากขอมูลเกี่ยวกับ X และ Y ต่อไปนี้ ข. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล N₂ มีค่ามาก จึงทาให้โมเลกุล N₂ มีความเสถียร
มาก
ธาตุ สูตรของสารประกอบฟลูออไรด์ รู ปร่ างโมเลกุล ค. ภายในโมเลกุล H₂O และ HF นอกจากจะมีแรงยึดเหนี่ยวชนิดโคเวเลนต์แล้ว ยังมี
X XF₃ สามเหลี่ยมแบนราบ แรงยึดเหนี่ยวชนิดอื่นอีก
Y YF₃ พีระมิดฐานสามเหลี่ยม ง. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเรี ยงลาดับจากน้อยไปมากได้ดงั นี้ Ne N₂ CH₄
H₂O
1. ธาตุ X เวเลนซ์อิเล็กตรอนน้อยกว่าธาตุ Y

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 53/56 หน้า 53
324. การเปรี ยบเทียบสมบัติของสาร ข้อใด ถูกต้อง (ENT- A 52) 327. ถ้ากราฟระหว่าง จุดเดือดและมวลโมเลกุล ของสารประกอบไฮไดรด์ของธาตุหมู่ IV
สมบัติ ผลการเปรี ยบเทียบ V VI และ VII เป็ นดังนี้

ก. จุดเดือด SiH₄ > H₂S


ข. จุดหลอมเหลว NaCl > SiO₂
ค. มุมระหว่างพันธะ BF₃ > BCl₃

C
ง. ความมีข้ วั ของพันธะ CO₂ > NO₂

จุดเดือด
325. พิจารณาสมบัติของธาตุสมมติต่อไปนี้
ธาตุ สมบัติของธาตุ
A. มีขนาดเล็กที่สุดในตารางธาตุ
มวลโมเลกุล
B. อยูใ่ นคาบที่ 3 และหมู่เดียวกับ 128
52𝑇𝑒
ข้อสรุ ปได้จากราฟนี้ ข้อที่ ผิด คือข้อใด
C. มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวติ ีมากที่สุด ก. จุดเดือดของ H₂O > HF > NH₃ > CH₄
D. อยูใ่ นคาบเดียวกับ ¹⁶₈O มีเลขอะตอมน้อยกว่า O แต่มี IE₁ มากกว่า O ข. H₂O HF NH₃ และ CH₄ มีมวลโมเลกุลต่า แต่ปรากฏว่าจุดเดือดสูงกว่า
สารประกอบไฮไดรด์ของธาตุหมูเ่ ดียวกัน
ข้อใดผิด ค. สารประกอบไฮไดรด์ของธาตุอะตอมเล็กที่มีอิเล็กโทรเนกาติวติ ีสูงสามารถเกิด
ก. AC มีจุดเดือดสูงกว่า DA₃ พันธะไฮโดรเจน
ข. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของ DA₃ มากกว่าของ A₂B ง. จุดเดือดของสารที่โมเลกุลสามารถเกิดพันธะไฮโดรเจน
ค. DC₃ และ BC₄ มีจานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวของอะตอมกลางเท่ากัน 328. เหตุผลเกี่ยวกับสมบัติของธาตุในข้อใด ผิด
ง. A₂B และ DA₃ มีรูปร่ างโมเลกุลเป็ นมุมงอและสามเหลี่ยมแบนราบตามลาดับ ก. โลหะมีความมันวาว เพราะ ดูดกลืนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าไว้ได้มาก
326. ข้อความเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของสารที่อุณหภูมิหอ้ ง ข้อใด ผิด ข. โลหะดึงให้เป็ นเส้นได้ เพราะระหว่างอนุภาคของอะตอมโลหะยังมีเวเลนซ์
ก. แนพทาลีนระเหิ ดได้เพราะมีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลน้อย อิเล็กตรอนยึดไว้
ข. น้ าแข็งไม่ระเหิ ดเพราะโมเลกุลมีพนั ธะไฮโดรเจนระหว่างกัน ค. แกรไฟต์แผ่ให้เป็ นแผ่นบางได้ แต่ยดื ให้เป็ นเส้นไม่ได้ เพราะเวเลนซ์อิเล็กตรอน
ค. ควันที่เกิดจากน้ าแข็งแห้งตั้งทิ้งไว้ประกอบด้วยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์กบั ไอน้ า แยกอยูก่ นั เป็ นชั้นๆ
ง. การเปลี่ยนแปลงเป็ นไอของโลหะปรอทจัดอยูใ่ นประเภทการระเหิ ด ง. อะตอมในโลหะสร้างพันธะโดยใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่ วมกัน

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 54/56 หน้า 54
329. ธาตุ A , B , C และ D เป็ นธาตุที่อยูใ่ นหมู่เดียวกัน โดยที่สารประกอบไฮไดรด์ของ คาชี้แจง ใช้ขอ้ มูลต่อไปนี้ ในการตอบคาถามข้อ 331 - 332
ธาตุ A , B , C และ D มีสมบัติดงั ตาราง สารตัวอย่าง 8 ชนิด เมื่อนามาทดสอบสมบัติปรากฏผลดังตารางต่อไปนี้
สารประกอบไฮไดรด์ของ จุดหลอมเหลว C จุดเดือด C สาร จุดหลอมเหลว C การนาไฟฟ้ า การละลาย ความเป็ น
A -133 -88 ตัวอย่าง น้ า กรด - เบส
B -116 -55
A 801 ไม่นาไฟฟ้ า เมื่อหลอมเหลว ละลาย กลาง
C -88 -17
นาไฟฟ้ าได้
D -78 -33
B 114 ไม่นาไฟฟ้ า เมื่อหลอม ไม่ละลาย -
ธาตุในหมู่น้ ีมีค่าพลังงานไอออไนเซชันอันดับที่ 1 มากกว่าธาตุที่อยูท่ างซ้ายและขวาใน เหลว ไม่นาไฟฟ้ า
คาบเดียวกัน จากข้อมูลที่กาหนดให้น้ ี ข้อใด ถูกต้ อง (PAT-2 มี.ค.55) C 540 นาไฟฟ้ าได้ ไม่ละลาย -
ก. ธาตุ D เป็ นธาตุที่มีขนาดเล็กที่สุด
D 3,730 นาไฟฟ้ าได้บางทิศทาง ไม่ละลาย -
ข. ออกไซด์ของาธาตุ B และ C มีสมบัติเป็ นเบส
ค. ค่าพลังงานไอออไนเซชันอันดับที่ 1 ของธาตุ D > C > B > A E -78 ไม่นาไฟฟ้ า ละลาย เบส
ง. สารประกอบไฮไดรด์ของธาตุ A มีโครงสร้างเป็ นทรงเหลี่ยมสี่ หน้า F 2,700 ไม่นาไฟฟ้ า ไม่ละลาย -
330. ข้อความต่อไปนี้ขอ้ ใดผิด G 838 นาไฟฟ้ าได้ ไม่ละลาย -
ก. สารประกอบไอออนิกมีจุดเดือดสูง H -57 ไม่นาไฟฟ้ า ละลาย กรด
ข. สารประกอบไอออนิกเสถียรมาก เพราะมีแรงดึงดูดไฟฟ้ าสถิตระหว่างไอออนต่าง
ชนิดกัน 332. สารโมเลกุลโคเวเลนต์ คือสารในข้อใด
ค. สารประกอบไอออนิกมักจะเกิดระหว่างโลหะที่มีพลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 1 ก. A E H เท่านั้น
ต่า กับอโลหะที่มีพลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 1 สูง ข. A F H เท่านั้น
ง. โครงสร้างของสารประกอบ ไอออนิกมีลกั ษณะโครงผลึกร่ างตาข่าย แต่ละไอออน ค. A B F เท่านั้น
ต่างชนิดล้อมรอบอยูด่ ว้ ยจานวนคงที่เสมอ ง. E H เท่านั้น
331. สารแต่ละคู่ในข้อใดต่อไปนี้ที่มีพนั ธะโคเวเลนต์ในโมเลกุลเป็ นชนิดเดียวกัน(ENT-O 52) 333. สารประกอบโคเวเลนต์ในข้อใดที่เป็ นโครงผลึกร่ างตาข่าย
ก. เพชรแท้ ซิลิคอนบริ สุทธิ์ ก. D E F และ H เท่านั้น
ข. คลอรี น โบรมีน ข. E และ H เท่านั้น
ค. แก๊สออกซิเจน แก๊สไนโตรเจน ค. D และ F เท่านั้น
ง. C และ G เท่านั้น
ง. ถ่านไม้ ถ่านแกรไฟต์
ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 55/56 หน้า 55
334. การเกิดพันธะหรื อแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคภายในผลึกต่อไปนี้ 336. ธาตุ A แก็สไนโตรเจน B C และ D มีเลขอะตอม 6 12 14 และ 17 ตามลาดับ
1. ผลึกแอมโมเนียเกิดพันธะไฮโดรเจน พิจารณาสารประกอบเหล่านี้ ข้อใดถูกต้อง
2. ผลึกกามะถันเกิดแรงดึงดูดระหว่างขั้ว ก. สารประกอบระหว่าง A กับ D เป็ นแบบโมเลกุลไม่มีข้ วั จึงไม่ละลายน้ า ส่วน
3. แกรไฟต์เกิดพันธะโลหะไอออนิก สารประกอบระหว่าง C กับ D เป็ นสารประกอบไอออนิก จึง ละลายน้ าได้
4. เพชรเกิดพันธะโคเวเลนต์ ข. สารประกอบออกไซด์ของ B และ C ต่างก็มีโครงสร้างที่แข็งแรง แต่มีพนั ธะต่าง
5. ผลึก ZnS เกิดพันธะไอออนิก ชนิดกัน
6. ซิลิกา(SiO₂) เกิดพันธะไอออนิก ค. สารประกอบธาตุคู่ระหว่างไฮโดรเจนกับ A และ C มีพนั ธะโคเวเลนต์แบบไม่มี
ข้อใด ถูกต้ อง (PAT-2 มี.ค. 53) ขั้ว ทาให้โมเลกุลไม่มีข้ วั สารประกอบทั้งสองจึงมีจุดหลอมเหลวต่า
ก. 1 4 และ 5 ง. สารประกอบระหว่างไฮโดรเจนกับ D มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็ นพันธะ
ข. 1 5 และ 6 ไฮโดรเจนสารนี้จึงมีจุดหลอมเหลวสูง
ค. 2 3 และ 4
จ. สารประกอบระหว่าง B กับ D มีสูตร BD₂ จัดเป็ นแบบโมเลกุลมีข้ วั เมื่อละลาย
ง. 2 4 และ 6
น้ าจะเกิดพันธะไฮโดรเจนกับน้ าได้
335. พิจารณาสมบัติออกไซด์ของธาตุ 4 ชนิดต่อไปนี้
337. กาหนดสมบัติทางกายภาพของสาร ดังนี้
ออกไซด์ จุดหลอมเหลว (เซลเซียส) ความเป็ นกรด-เบสของสารละลาย 1. มีจุดเดือด จุดหลอมเหลวสูง
CO₂ -57 กรด 2. มีสถานะเป็ นแก๊สที่อุณหภูมิหอ้ ง
Li₂O >1700 เบส 3. นาความร้อน
SO₃ 30 กรด 4. นาไฟฟ้ า
5. ละลายน้ าได้
SiO₂ 1,700 ไม่ละลาย
ข้อใดเป็ นสมบัติทางกายภาพที่สอดคล้องกับประเภทสารที่กาหนด (ENT-A 51)
ข้อสรุ ปใดถูกต้ อง
ประเภทสาร สมบัติทางกายภาพ
ก. CO₂ SiO₂ และ SO₃ เป็ นโมเลกุลโคเวเลนต์
ก. โคเวเลนต์ไม่มีข้ วั 2 และ 3
ข. SO₃ เป็ นโมเลกุลโคเวเลนต์ ส่วน SiO₂ เป็ นโตรงผลึกร่ างตาข่าย
ข. โครงผลึกร่ างตาข่าย 1 และ 5
ค. Li₂O และ SiO₂ เป็ นสารประกอบไอออนิก
ค. ไอออนิก 1 4 และ 5
ง. ทั้งหมดเป็ นสารประกอบโคเวเลนต์ แต่สมบัติต่างกัน เพราะโครงสร้างต่างกัน
ง. โลหะ 1 3 และ 4

ครู มาฆะ ทิพย์คีรี โรงเรี ยนศรี ยาภัย จังหวัดชุมพร tel- 084 0604942 makathipkere@hotmail.com https://sites.google.com/site/chemmaka/ ch 2 พันธะเคมี [แบบฝึ กหัดท้ายบท 275 ข้ อ พันธะเคมี] new 2556 5/16/2014 56/56 หน้า 56

You might also like