You are on page 1of 19

21

ปฏิกิริยาเคมี
ปฏิกริ ยิ าเคมี คือ กระบวนการทีเ่ กิดจากการทีส่ ารเคมีเกิดการเปลีย่ นแปลงแล้วส่งผลให้เกิดสาร
ใหม่ขน้ึ มาซึง่ มีคุณสมบัตเิ ปลีย่ นไปจากเดิม การเกิดปฏิกริ ยิ าเคมีจาเป็ นต้ องมีสารเคมีตงั ้ ต้น 2 ตัวขึน้ ไป
เรีย กสารเคมีต ัง้ ต้ น เหล่ า นี้ ว่ า "สารตัง้ ต้ น " หรือ Reactant ท าปฏิกิร ิย าต่ อ กัน และท าให้ เ กิด การ
เปลี่ยนแปลงในคุณสมบัตทิ างเคมี ซึ่งก่อตัวขึน้ มาเป็ นสารใหม่ทเ่ี รียกว่า "ผลิตภัณฑ์" หรือ Product ซึ่ง
สารผลิตภัณฑ์มคี ุณสมบัตทิ างเคมีทเ่ี ปลีย่ นไปจากเดิม

Reactant Product

หลังจากการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมีอะตอมทัง้ หมดของสารตัง้ ต้นไม่มกี ารสูญหายไปไหนแต่เกิดกาแลกเปลีย่ น


จากสารหนึ่งไปสู่อกี สารหนึ่ง ซึ่งจะเห็นได้จากผลรวมของอะตอมของสารตัง้ ต้นจะเท่ากับผลรวมของ
อะตอมของผลิตภัณฑ์

ปฏิกริ ยิ าเคมีมขี นั ้ ตอนของการเปลีย่ นแปลงตามลาดับผังเหตุการณ์ ต่อไปนี้

วิ ศวสัญจร ครัง้ ที่ 25


22

ปฏิ กิริยาเคมีแบ่งออกได้ 5 ชนิ ด ได้แก่


1. ปฏิกิริยาการรวมตัว (Combination Reaction) ; A + Z → AZ
ตัวอย่าง 2Na + Cl2 → 2NaCl
2. ปฏิกิริยาการสลายตัว (Decomposition Reaction) ; AZ → A + Z
ตัวอย่าง 2H2O → 2H2 + O2
3. ปฏิกิริยาการแทนที่เชิงเดี่ยว (Single displacement Reaction) ; A + BZ → AZ + B
ตัวอย่าง CaCl2 + 2Na → Ca + 2NaCl
4. ปฏิกิริยาการแทนที่เชิงคู่ (Double displacement Reaction) ; AX + BZ → AZ + BX
ตัวอย่าง CaCl2 + 2AgNO3 → Ca(NO3)2 + 2AgCl
5. ปฏิกิริยาสะเทิน (Neutralization Reaction) ; HX + BOH → BX + H2O
ตัวอย่าง HCl + NaOH → NaCl + H2O

ข้อสังเกตการเกิ ดปฏิ กิริยา


สารใหม่ทเ่ี กิดขึน้ ในปฏิกริ ยิ าเคมี สังเกตได้ดงั นี้
1. สี เช่น สารเดิมไม่มสี เี มือ่ เกิดปฏิกริ ยิ าเคมี จะมีสใี หม่เกิดขึน้ (สารใหม่)
2. กลิน่ เช่น เกิดกลิน่ ฉุน กลิน่ เหม็น กลิน่ หอม
3. ตะกอน เช่น สารละลายเลด (II) ไนเตรต และโพแทสเซียมไอโอไดด์ เป็ นของเหลวใส ไม่มสี ี
เมือ่ ผสมกัน แล้วเกิดตะกอนสีเหลือง
4. ฟองแก๊ส เช่น กรดไฮโดรคลอริก ผสมกับหินปูนหรือแคลเซียมคาร์บอเนตเกิดฟองแก๊สขึน้
5. เกิดการระเบิด หรือเกิดประกายไฟ เช่น ใส่โลหะโซเดียมลงในน้าจะเกิดประกายไฟขึน้
6. มีอุณหภูมเิ ปลีย่ น ซึง่ สารโดยทัวไปเมื
่ อ่ เกิดปฏิกริ ยิ าเคมีจะเกิดการเปลีย่ นแปลง พลังงาน ความร้อน
ควบคู่ไปด้วยเสมอ

หมายเหตุ การเปลีย่ นแปลงต่อไปนี้เกิดปฏิกริ ยิ าเคมีแน่ นอน


1. การสันดาป หมายถึง การทีส่ ารทาปฏิกริ ยิ ากับแก็สออกซิเจน
2. การหมัก เช่น การหมักแป้ งเป็ นน้าตาล
3. กระบวนการเมแทบอลิซมึ (ปฏิกริ ยิ าในสิง่ มีชวี ติ ) เช่น การย่อยอาหาร การหายใจ เป็ นต้น
4. การถลุงแร่ การเกิดสนิม ปฏิกริ ยิ าในแบตเตอรี่

Engineering On Tour # 25
23

พลังงานกับการเกิ ดปฏิ กิริยา


พลังงานเคมี (Chemical energy) เป็ นพลังงานศักย์ทแ่ี ฝงอยูใ่ นโครงสร้างของสาร เช่น อยูใ่ นรูป
ของน้ ามันเชือ้ เพลิง ไขมันซึ่งเมื่อเกิดการเผาไหม้จะปล่อยพลังงานเคมีออกมาและนามาใช้ประโยชน์ได้
พลังงานเคมีเป็ นพลังงานทีม่ สี ่วนเกีย่ วข้องและสาคัญกับสิง่ มีชวี ติ มาก
ในการเกิด ปฏิกิ ร ิย าของสารแต่ ล ะปฏิ กิร ิย านั ้น ต้ อ งมีพ ลัง งานเข้า มาเกี่ ย วข้อ งกับ การ
เกิดปฏิกริ ยิ าเคมี 2 ขัน้ ตอน ดังนี้
ขัน้ ที่ 1 เป็ นขัน้ ทีด่ ดู พลังงานเข้าไปเพื่อสลายพันธะในสารตัง้ ต้น
ขัน้ ที่ 2 เป็ นขัน้ ทีค่ ายพลังงานออกมาเมือ่ มีการสร้างพันธะในผลิตภัณฑ์
1.ปฏิ กิริยาดูดความร้อน (Endothermic reaction)
เป็ น ปฏิกิรยิ าที่ดูดพลังงานเข้าไปสลายพัน ธะมากกว่าที่ค ายออกมาเพื่อ สร้างพัน ธะ โดยใน
ปฏิกริ ยิ าดูดความร้อนนี้สารตัง้ ต้นจะมีพลังงานต่ ากว่าผลิตภัณฑ์ จึงทาให้สงิ่ แวดล้อมเย็นลง อุณหภูม ิ
ลดลง เมือ่ เอามือสัมผัสภาชนะจะรูส้ กึ เย็น ดังภาพ

2.ปฏิ กิริยาคายความร้อน (Exothermic reaction)


เป็ นปฏิกิรยิ าที่ดูดพลังงานเข้าไปสลายพันธะน้ อยกว่าที่คายออกมาเพื่อสร้างพันธะ โดยใน
ปฏิกิรยิ าคายความร้อนนี้สารตัง้ ต้นจะมีพลังงานสูงกว่าผลิตภัณฑ์ จึงให้พลังงานความร้อนออกมาสู่
สิง่ แวดล้อมทาให้อุณหภูมสิ งู ขึน้ เมื่อเอามือสัมผัสภาชนะจะรูส้ กึ ร้อน ดังภาพ

วิ ศวสัญจร ครัง้ ที่ 25


24

อัตราการเกิ ดปฏิ กิริยา (reaction rate, r ) หมายถึง การเปลีย่ นแปลงความเข้มข้นของสารตัง้ ต้นหรือ


สารผลิตภัณฑ์เมือ่ เวลาเปลีย่ นไป

ในขณะทีเ่ กิดปฏิกริ ยิ าโมเลกุลของสารตัง้ ต้นก็จะเปลีย่ นเป็ นสารผลิตภัณฑ์ ทาให้ความเข้มข้น


ของสารตัง้ ต้นลดลง ส่วนความเข้มข้นของสารผลิตภัณฑ์กจ็ ะเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ เราจึงสามารถติดตามการ
ดาเนินไปของปฏิกริ ยิ าได้จาก

- การวัดความเข้มข้นทีล่ ดลงของสารตัง้ ต้น


- การวัดความเข้มข้นทีเ่ พิม่ ขึน้ ของสารผลิตภัณฑ์

หมายเหตุ ในการวัดอัตราการเกิดปฏิกริ ยิ ามีสงิ่ ทีต่ อ้ งคานึงถึง คือ


1. ต้องทาการผสมสาร (เขย่า) ด้วยความสม่าเสมอ
2. เมือ่ ผสมสารเสร็จต้องรีบทาการวัดทันที
3. การผสมสารด้วยมือ จะหาอัตราการเกิดปฏิกริ ยิ าเริม่ ต้น (initial rate) จริงๆ ได้ ยากมาก
เพราะเมือ่ ผสมสารด้วยมือเสร็จแล้วทาการวัด ก็หมายความว่า เวลาได้ผ่านไปแล้วอย่าง
น้อย 3 วินาที
4. ต้องทาการทดลองทีค่ วามเข้มข้นต่ าๆ ตัง้ แต่ระดับมิลลิโมลาร์ (mM) ลงมา

Engineering On Tour # 25
25

1.กรณี ที่ปฏิ กิริยาไม่ซบั ซ้ อน

พิจารณาปฏิกริ ยิ า

ถ้าแทนความเข้มข้นของสารในปฏิกริ ยิ า คือ [A], [B] และ [C] สามารถหาอัตราการเกิดปฏิกริ ยิ าได้จาก

อัตราการเกิดของสารผลิตภัณฑ์ C

อัตราการลดลงของสารตัง้ ต้น A หรือ B ตัวใดตัวหนึ่ง


(อัตราการลดลงใส่เครือ่ งหมายลบ)

ตัวอย่างที่ 1 การสลายตัวของ H2O2 ได้เป็ น O2 และ H2O


อัตราการเกิดปฏิกริ ยิ า คือ

2.กรณี ที่ปฏิ กิริยาซับซ้ อนมากขึ้น


พิจารณาปฏิกริ ยิ า
จะได้ว่า อัตราการเกิดสารผลิตภัณฑ์ C = 3 x (อัตราการลดลงของสารตัง้ ต้น A)
อัตราการเกิดปฏิกริ ยิ า คือ

ตัวอย่างที่ 2 จากปฏิกริ ยิ าการสลายตัวของ NOBr พบว่า อัตราการเกิด NO มีค่าเท่ากับ 1.6 x 10-4


mol L-1 s-1 จงคานวณอัตราการเกิดปฏิกริ ยิ า และอัตราการลดลงของ NOBr ?

วิธคี ดิ
จากสมการเคมี จะได้ว่า

วิ ศวสัญจร ครัง้ ที่ 25


26

ดังนัน้ อัตราการเกิดปฏิกริ ยิ า หาได้จาก

อัตราการเกิดปฏิกริ ยิ า มีค่าเท่ากับ 8.0 x 10-5 mol L-1 s-1


และเนื่องจาก อัตราการลดลงของ NOBr เป็ น 2 เท่าของอัตราการเกิดปฏิกริ ยิ า จึงได้ว่า

ดังนัน้ อัตราการลดลงของ NOBr มีค่าเท่ากับ 1.6 x 10-4 mol L-1 s-1

ปัจจัยที่ มีผลต่อการเกิ ดปฏิ กิริยาเคมี

1.ธรรมชาติของสารตัง้ ต้น และผลิตภัณฑ์

ความเร็ว ของการเกิด ปฏิกิรยิ าเคมีจ ะขึ้น อยู่กับ สภาพธรรมชาติข องสารเหล่ า นัน้ เช่ น สาร
ประเภทไอออนิกทีเ่ ข้าทาปฏิกริ ยิ ากันจะเกิดความเร็วของปฏิกริ ยิ าได้ดกี ว่าสารทีเ่ ป็ นโควาเลนท์ หรือสาร
ทาปฏิกริ ยิ าทีเ่ ป็ นก๊าซจะทาปฏิกริ ยิ าได้เร็วกว่าสารทีม่ สี ถานะอื่น

2. ความเข้มข้นสารตัง้ ต้น และผลิตภัณฑ์

ความเร็วของปฏิกิรยิ าจะแปรผันตามความเข้มข้นของสารตัง้ ต้น และจะแปรผกผันกับความ


เข้มข้นของสารผลิตภัณฑ์ กล่าวคือ เมื่อปริมาณสารตัง้ ต้นมีมากอัตราการเกิดปฏิกริ ยิ าก็จะเร็ว และเมื่อ
เวลาผ่านไปปริมาณสารตัง้ ต้นลดลง ปฏิกริ ยิ าก็จะค่อยๆลดลงตามปริมาณผลิตภัณฑ์ทเ่ี พิม่ ขึน้

Engineering On Tour # 25
27

3. พืน้ ทีผ่ วิ

พืน้ ทีผ่ วิ ของสารจะเป็ นจุดของการเกิดปฏิกริ ยิ า หากสารมีพน้ื ทีผ่ วิ มากก็จะทาให้เกิดปฏิกริ ยิ าได้


เร็วขึน้ เช่น การทาปฏิกริ ยิ าของหินปูนกับกรดไฮโดรคลอริกจะได้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หากหินปูนมี
ความละเอียดเป็ นผงขนาดเล็ก มีพน้ื ทีผ่ วิ มากก็ยอ่ มทาปฏิกริ ยิ ากับกรดไฮโดรคลอริกได้อย่างรวดเร็ว

4. อุณหภูม ิ

อุณหภูมถิ อื เป็ นปั จจัยหนึ่งที่ช่วยกระตุ้นความเร็วของการเกิดปฏิกริ ยิ า เช่น การอุ่นน้ ามันด้วย


ความร้อนเพียงน้ อยนิดจะทาให้น้ ามันอุ่นเท่านัน้ แต่หากเพิ่มความร้อนจนทาให้น้ ามันกลายเป็ นไอก็
สามารถลุกติดไฟได้งา่ ย

5. ความดัน

ความดันที่เกี่ยวข้องกับอัตราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมีมกั พบมากในสารที่เป็ นก๊าซ เพราะการเพิม่


ความดันให้ก๊าซจะทาให้โมเลกุลของก๊าซเกิดการชนกันมากขึน้

6. ตัวเร่งปฏิกริ ยิ าหรือตัวคะตะลิสต์ (catalyst)และตัวหน่่ วงปฏิกริ ยิ า (Inhibitor)

เป็ นสารชนิดต่าง ๆ ทีส่ ามารถทาให้เกิดปฏิกริ ยิ าได้เร็วขึน้ และช้าลงตามลาดับ

ปฏิ กิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน

ปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ ในตัวเราและรอบๆ ตัวเรา มีทงั ้ ปฏิกริ ยิ าง่ายๆ ไปจนถึงปฏิกริ ยิ าทีซ่ บั ซ้อน ใน
บทนี้นกั เรียนจะได้ศกึ ษาปฏิกริ ยิ าบางชนิดทีเ่ กิดขึน้ และใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจาวัน ซึง่ บางปฏิกริ ยิ ามี
ผลต่อสิง่ แวดล้อม
ปฏิกริ ยิ าทีเ่ ผาไหม้ของเชือ้ เพลิงต่างๆ เช่น แก๊สหุงต้มน้ ามันเชือ้ เพลิงทีใ่ ช้ในยานพาหนะและใน
โรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ นอกจากจะให้พลังงานจานวนมากนาไปใช้ประโยชน์ในกิจกรรมต่างๆแล้ว
ยังก่อให้เกิดผลเสียตามมา เพราะเชือ้ เพลิงฟอสซิล ได้แก่ ถ่านหินและน้ามันดิบทีเ่ กิดอยูใ่ ต้พน้ื โลก มักมี
ประโยชน์ตอ้ งนามากกลันหรื ่ อเผาทีอ่ ุณหภูมสิ งู ขณะกลันก
่ ามะถันจะทาปฏิกริ ยิ ารวมตัวกับออกซิเจน
ให้ผลิตภัณฑ์เป็ นแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ SO2 ซึง่ สามารถเกิดปฏิกริ ยิ าการรวมตัวกับแก๊สออกซิเจน
ต่อไปนี้ ให้แก๊สซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ SO3 เกิดขึน้ ดังสมการ

S + O2 → SO2
2SO2 + O2 → 2SO3

วิ ศวสัญจร ครัง้ ที่ 25


28

ฝนกรด เมือ่ แก๊สซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ถูกความชืน้ ในอากาศจะเกิดปฏิกริ ยิ ารวมตัวกับละออง


น้า เกิดเป็ นกรดกามะถัน H2SO4 ดังสมการ ถ้ากรดทีเ่ กิดขึน้ มีปริมาณมาก เมือ่ ฝนตกก็จะชะลงมากับฝน
เรียกว่า ฝนกรด

SO3 + H2O → H2SO4

ปฏิกริ ยิ าการเกิดสม็อก ในเมืองอุตสาหกรรมและเมืองใหญ่ๆ ทีม่ กี ารใช้เชือ้ เพลิงในปริมาณ


มาก จะมีแก๊สไนโตรเจนมอนอไซด์ (NO) ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) โอโซน (O3) และ SO2[เกิดขึน้
ตามมาด้วย แก๊ส NO2 ส่วนใหญ่เกิดจากการเผาไหม้ของเชือ้ เพลิงในเครือ่ งยนต์ ดังสมการ

2NO + O2 → 2NO2

แก๊ส NO2 ในอากาศ เมือ่ ถูกแสงอาทิตย์จะสลายตัวเป็ นแก๊ส NO และอะตอมอิสระของออกซิเจน ซึง่


สามารถรวมัตวั กับแก๊ส O2 ต่อไปเป็ น O3 ดังสมการ
O2 + O → O3
ในวันทีม่ คี วามกดอากาศสูง แก๊ส SO3 , NO2 และ O3 ตลอดจนฝั น่ ละอองและสารไฮโดรคาร์บอนทีเ่ ป็ น
ละอองเล็กๆ ลอยปะปนกันอยูใ่ นระดับต่า เกิดเป็ นหมอกควันทีเ่ รียกว่า สม็อก (smog) ถ้าปริมาณมากทา
ให้เกิดทัศนวิสยั ต่าบดบังการมองเห็นซึง่ เป็ นอนตรายมาก โดยเฉพาะกับกิจกรรมทีเ่ กีย่ วกับการบินหรือ
การเดินทาง นอกจากนัน้ แก๊ส NO2 และ O3 ยังก่อให้เกิดการระคายเคืองกับดวงตาและทางเดินหายใจ
หากได้รบั ปริมาณมากจะก่อให้เกิดอันตรายได้เช่นกัน (smog มากจากคาว่า smoke + fog)

ปฏิกริ ยิ าการเกิดสนิมเหล็ก เป็ นปฏิกริ ยิ าทีพ่ บเห็นทัวไปตาม


่ ตึก สะพาน และสิง่ ก่อสร้าง
ต่างๆ มีเหล็กเป็ นองค์ประกอบของโครงสร้าง เมือ่ เหล็กถูกอากาศและความชืน้ จะค่อยๆสึกกร่อน
กลายเป็ นสนิมเหล็ก Fe2O3 .H2O ดังสมการ

ปฏิกริ ยิ าการสลายตัวของผงฟู เกิดจากการสลายตัวของโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต


ด้วยความร้อนให้แก๊ส และ มีประโยชน์ในการทาขนมหลาย
ชนิดเช่น เค้ก ขนมถ้วยฟู และขนมสาลี เมือ่ ผสม (เรียกกันทัวไปว่
่ า ผงฟู) ลงในส่วนผสม
ของขนมแล้วนาไปอบหรือนึ่ง ผงฟูจะสลายตัวให้แก๊ส ซึง่ พยายามแทรกตัวออกมา ทาให้เกิดเป็ น
โพรงอากาศอยู่ทวไปในขนม
ั่ ขนมจึงมีลกั ษณะพองหรือฟูขน้ึ

Engineering On Tour # 25
29

ปฏิกริ ยิ าในแบตเตอรี่ เป็ นปฏิกริ ยิ าทีท่ าให้เกิดกระแสไฟฟ้ า ซึง่ นามาใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย


เช่น แบตเตอรีท่ ม่ี ช้ในรถยนต์ประเภทต่างๆ เป็ นปฏิกริ ยิ าระหว่างแผ่นตะกัว่ (Pb) ซึง่ ทาหน้าทีเ่ ป็ นขัว้ (-)
และตะกัวไดออกไซด์
่ ทาหน้าทีเ่ ป็ นขัว้ บวก (+) กับกรดซัลฟิ วริก เข้มข้นประมาณ
30-38% โดยน้าหนักเขียนสมการเคมีของปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ ได้ดงั นี้

ปฏิกริ ยิ าการสลายตัวของหินปูน ด้วยความร้อน ให้แก๊ส และปูนขาว


(CaCO) นามาใช้ในอุตสาหกรรม ปฏิกริ ยิ าระหว่างหินปูนหรือแคลเซียมคาร์บอเนตกับกรดกามะถันหรือ
กรดดินประสิว ซึง่ มีอยูใ่ นฝนกรด เกิดเป็ นแคลเมียมซัลเฟต หรือแคดเซียมไนเตรด
และแก๊ส ดังสมการ ปฏิกริ ยิ านี้เป็ นสาเหตุหนึ่งทีท่ าให้ รูปปั น้ รูปแกะสลัก ตึกราม
บ้านช่อง และสิง่ ก่อสร้างทีท่ าด้วยหินปูนหรือหินอ่อนเกิดการสึกกร่อนเสียหาย

วิ ศวสัญจร ครัง้ ที่ 25


30

แบบฝึ กหัด ปฏิ กิริยาเคมี

1. ข้อใดเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี (O-NET 49)


ก. การทาทิงเจอร์ไอโอดีน โดยผสมไอโอดีนกับเอทานอล
ข. การเหม็นหืนของน้ามันเมือ่ ทิง้ ไว้นาน ๆ
ค. การผลิตน้าอัดลมและน้าโซดา
ง. บ่มมะม่วงดิบจนเป็ นมะม่วงสุก
1. ก ข และ ค
2. ข ค และ ง
3. ก ข และ ง
4. ก ค และ ง

2. พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้
สารละลาย อุณหภูม,ิ °C ลักษณะสาร / การเปลีย่ นแปลง
A 25 สารละลายใส ไม่มสี ี
B 25 สารละลายใส ไม่มสี ี
C 25 สารละลายใส ไม่มสี ี
A ผสมกับ B 26 ไม่เห็นการเปลีย่ นแปลง
B ผสมกับ C 23 สารละลายสีเหลือง
A ผสมกับ C 25 ตะกอนสีขาว

ข้อสรุปใดถูก (O-NET 49)


1. A และ C เป็ นสารเดียวกัน
2. B ผสมกับ C เกิดปฏิกริ ยิ าดูดความร้อน
3. A ผสมกับ C เกิดปฏิกริ ยิ าคายความร้อน
4. A และ B ไม่ทาปฏิกริ ยิ าเคมีกนั

Engineering On Tour # 25
31

3. pH ของฝนกรด และผลกระทบของฝนกรดทีม่ ตี ่อสิง่ แวดล้อมต่อไปนี้ ข้อใดถูก (O-NET 49)

pH ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม
1. มากกว่า 7 สิง่ ก่อสร้างทีท่ าด้วยโลหะเสียหาย
2. มากกว่า 7 ต้นไม้ออกผลช้า
3. น้อยกว่า 7 ทาให้เกิดหินงอกหินย้อย
4. น้อยกว่า 7 สิง่ ก่อสร้างทีท่ าด้วยหินปูน หินอ่อน เสียหาย

4. เมือ่ นาชิน้ สังกะสีใส่ในสารละลายกรดไฮโดรคลอริก วิธที าให้ปฏิกริ ยิ าเกิดเร็วขึน้ โดยไม่เพิม่ ปริมาณ


สังกะสีและกรดต่อไปนี้
ก. ใช้แท่งแก้วคนให้ทวั ่
ข. ใช้ผงสังกะสีน้าหนักเท่ากันแทนชิน้ สังกะสี
ค. ให้ความร้อน
ง. เติมน้ากลังลงไปเท่
่ าตัว
ข้อใดถูก (O-NET 49)
1. ก ข และ ค เท่านัน้
2. ข ค และ ง เท่านัน้
3. ก ค และ ง เท่านัน้
4. ก ข ค และ ง

5. พิจารณาปรากฎการณ์ต่อไปนี้ (O-NET 50)


ก. การเกิดน้าค้าง
ข. การบูรระเหิดในตูเ้ สือ้ ผ้า
ค. การระเบิดของดินปื น
ง. ไอศกรีมละลายเมือ่ วางทิง้ ไว้
จ. การสังเคราะห์แสงของพืช
ฉ. โซเดียมไฮดรอกไซด์ละลายน้ าในบีกเกอร์ แล้วบีกเกอร์รอ้ นขึน้
ข้อใดเป็ นปรากฎการณ์ทค่ี ายความร้อน
1. ก ค และ ฉ 2. ก ง และ จ
3. ข ค และ ง 4. ข ง และ ฉ

วิ ศวสัญจร ครัง้ ที่ 25


32

6. การกระทาในข้อใดไม่มผี ลต่ออัตราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี (O-NET 50)


1. การนาเนื้อหมูในช่องแช่แข็ง
2. ใช้แคลเซียมคาร์ไบด์ช่วนในการบ่มมะม่วง
3. การเคีย้ วยาลดกรดชนิดเม็ดให้ละเอียดก่อนกลืน
4. การเปลีย่ นขนาดภาชนะทีบ่ รรจุสารละลายทีท่ าปฏิกริ ยิ า
7. ปฏิกริ ยิ าเคมีระหว่างลวดแมกนีเซียมกับสารละลายกรดซัลฟิ วริกเป็ นดังสมการ
Mg(g) + H2SO4(aq) → MgSO4(aq) + H2(g)
บันทึกเวลาในการเกิดแก๊ส 𝐻2 เริม่ ต้นจนถึงปริมาตร 5 cm3 ดังตาราง
ปริมาตร 𝐻2 ทีเ่ กิด ( cm3) เวลาทีใ่ ช้ (S)
1 4
2 6
3 9
4 14
5 20
จากข้อมูลในตาราง ข้อใดถูก (O-NET 50)

อัตราการเกิดปฏิกริ ยิ า ( cm3/s )
อัตราเฉลีย่ อัตราช่วงเกิดแก๊ส H2 ปริมาตร 3 – 5 cm3
1. 0.16 0.18
2. 0.25 0.18
3. 0.50 0.25
4. 0.25 0.27

8. ข้อใดเป็ นกิจกรรมหรือผลิตภัณฑ์ทเ่ี กีย่ วข้องกับปฏิกริ ยิ าเคมีทงั ้ หมด (O-NET 51)


1. การสังเคราะห์แสงของพืช กลิน่ หอมทีเ่ กิดจากยาดับกลิน่
2. การเกิดหินงอก หินย้อย การเผากระดาษ
3. การจุดพลุดอกไม้ไฟ เมฆรวมตัวเป็ นฝน
4. การเกิดสนิมเหล็ก การสูบลมยางล้อรถยนต์

Engineering On Tour # 25
33

9. จากข้อมูลการทาปฏิกริ ยิ าของโลหะแมกนีเซียมกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก ดังตาราง


ปริมาตรแก๊ส H2, cm3 2 4 6 8 10
เวลา , S 20 45 90 140 200
มีการวิเคราะห์ขอ้ มูลได้ผลดังนี้
ก. อัตราเฉลีย่ ของการเกิดปฏิกริ ยิ าเท่ากับ 0.05 cm3 / S
ข. อัตราการเกิดปฏิกริ ยิ าตัง้ แต่เริม่ ต้นจนสิน้ สุดไม่คงที่
ค. อัตราการเกิดปฏิกริ ยิ าวัดจากอัตราการเปลีย่ นแปลงปริมาตรของแก๊ส H2 สะดวกทีส่ ุด
ง. ความเข้มข้นของสารละลายกรดไฮโดรคลอริกลดลงขณะทีป่ ฏิกริ ยิ าดาเนินไป
ผลการวิเคราะห์ขอ้ ใดถูก (O-NET 51)
1. ก และ ข เท่านัน้ 2. ก ข และ ค เท่านัน้
3. ก ข และ ง เท่านัน้ 4. ก ข ค และ ง
10. ประชาชนทีอ่ าศัยอยูใ่ กล้โรงงานอุตสาหกรรมไม่ควรเก็บน้ าฝนไว้เพื่อการบริโภคเพราะเหตุใด
(O-NET 51)
1. มีฝนุ่ ละอองมากไม่เหมาะกับการบริโภค
2. มีตะกรันมากใช้บริโภคอาจเป็ นโรคนิ่วได้
3. มีกรดคาร์บอนิกและกรดไฮโดรคลอริกปนอยู่
4. มีกรดกามะถันและกรดไนตริกปนอยู่

11. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ (O-NET 52)


(ก) การใช้น้ ายาทีม่ ี pH = 4 ขัดพืน้ หินอ่อนจะทาให้พน้ื ผิวมีความมันวาว
(ข) การใส่แคลเซียมไฮโปคลอไรท์ Ca(OCl) 2 ในน้า จะทาให้เกิดคลอรีน Cl2 ทีฆ่ า่ เชือ้ โรคใน
น้าได้
(ค) แบตเตอรีรถยนต์ใช้โลหะตะกัวเป็ ่ นขัว้ ลบและใช้ตะกัวออกไซด์
่ เป็ นขัว้ บวก โดยโลหะตะกัวเป็
่ น
ตัวให้อเิ ล็กตรอน
(ง) ผงโซเดียมแอซีเตทใช้ดบั เพลิงได้เพราะเมือ่ ได้รบั ความร้อนจะให้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ข้อใดถูกต้อง

1. (ก) และ (ค)


2. (ก) และ (ง)
3. (ข) และ (ค)
4. (ค) และ (ง)

วิ ศวสัญจร ครัง้ ที่ 25


34

12. พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้
(ก) แก๊สเรือนกระจกทีส่ ่งผลให้เกิดภาวะโลกร้อน ได้แก่ คาร์บอนไดออกไซด์ ไอน้า และมีเทน
(ข) บรรยากาศทีม่ สี ารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC) ในปริมาณมากจะส่งผลให้เกิดฝนกรดได้
(ค) กาหนดให้โคบอลต์-60 เป็ นธาตุกมั มันตรังสีทม่ี คี รึง่ อายุ 5 ปี และปริมาณทีไ่ ม่เป็ นอันตรายต้อง
ไม่เกิน 0.50 กรัม ถ้ามีโคบอลต์-60 น้ าหนัก 32 กรัม จะต้องเก็บไว้ในภาชนะปิ ดทีป่ ้ องกันรังสี
ได้เป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 30 ปี ก่อนนาไปทาลายจึงจะไม่เป็ นอันตราย
ข้อใดกล่าวถูกต้อง (O-NET 52)
1. (ก) และ (ข)
2. (ก) และ (ค)
3. (ข) และ (ค)
4. (ก) (ข) และ (ค)

13. ตะกรันในกาต้มน้ าไม่ได้เกิดจากสาเหตุในข้อใด (O-NET 52)


1. CaCO3 ละลายน้าได้น้อย
2. การสะสมของตะกอน CaCO3
3. กาทีใ่ ช้ตม้ น้ าทาด้วยโลหะ
4. น้าทีใ่ ช้ตม้ เป็ นน้ากระด้า

14. ปฏิกริ ยิ าของแผ่นโลหะอลูมเิ นียมน้ าหนัก 10.0 กรัม กับสารละลายกรดซัลฟิ วริก


เข้มข้น 0.10 โมลาร์ ปริมาตร 20 มิลลิลติ ร ที่ 25 °C ทาให้เกิดแก๊สไฮโดรเจนขึน้ ดังสมการ
2Al (s) + 3𝐻2 𝑆𝑂4(aq) 𝐴𝐼2 (𝑆𝑂4 )3 (aq) + 3𝐻2 (g)
การปรับการทดลองตามข้อใดจะทาให้อตั ราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนลดลงจากเดิม (O-NET 52)
1. ทาปฏิกริ ยิ าที่ 35 °C
2. เติมน้าลงไป 10.0 มิลลิลติ ร
3. ใช้กรดทีม่ คี วามเข้มข้น 0.12 โมลาร์
4. ใช้ผงโลหะอลูมเิ นียมน้าหนัก 10.0 กรัม

Engineering On Tour # 25
35

15. การทดลองใส่น้าบริสุทธ์ในบีกเกอร์ (A) และใส่น้าหวานในบีกเกอร์ (B) ทีเ่ หมือนกันทุกประการจน


เต็ม แล้วนาบีกเกอร์ทงั ้ สองวางในสภาพแวดล้อมเดียวกันและไม่มลี มพัด วัดอุณหภูมแิ ละมวลของน้ าที่
ลดลงในหน่วยกรัม (g) ทุก ๆ ชัวโมง่ เป็ นเวลา 6 ชัวโมง
่ ได้ผลดังนี้

บีกเกอร์ มวล (g)ทีล่ ดลง


เริม่ ต้น ชม.ที่ 1 ชม.ที่ 2 ชม.ที่ 3 ชม.ที่ 4 ชม.ที่ 5 ชม.ที่ 6
(A) - 0.50 0.75 0.90 1.10 1.29 1.29
(B) - 0.30 0.50 0.70 0.80 0.83 0.83
อุณหภูม ิ 19 22 24 27 30 31 31
(°C)
กาหนดปั จจัยทีใ่ ห้พจิ ารณาดังนี้
(ก) ความชืน้ ในอากาศ
(ข) อุณหภูมขิ องอากาศ
(ค) ปริมาณน้ าตาลในน้า
(ง) ขนาดของปากบีกเกอร์
จากผลการทดลองข้างต้น ปั จจัยทีม่ ผี ลต่ออัตราการระเหยของน้ าเป็ นไปตามข้อใด (O-NET 52)
1. (ก) และ (ค)
2. (ข) และ (ค)
3. (ค) และ (ง)
4. (ข) (ค) และ (ง)
16. ข้อใดไม่มปี ฏิกริ ยิ าเคมีเกิดขึน้ (O-NET 53)
1. การเคีย้ วข้าวก่อนกลืน 2. การฟอกสบู่ในน้ ากระด้าง
3. การทาแล็กเกอร์เคลือบผิวไม้ 4. การผสมกลีเซอรอลกับเอทานอล

17. ข้อใดระบุชนิดของแก๊สและกรดทีเ่ กิดจากการนาแก๊สนัน้ ไปละลายในน้ าได้ถูกต้อง (O-NET 53)


1. อีเทน – กรดน้าส้ม 2. คลอรีน – กรดเกลือ
3. ไนโตรเจน – กรดไนตริก 4. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ – กรดซัลฟิ วริก

18. เมือ่ นาสาร A มาเผาในบรรยากาศออกซิเจน 𝑂2(g) จะได้ไอน้า H2O(g) และแก๊ส


คาร์บอนไดออกไซด์ CO2 (g)
สาร A ในปฏิกริ ยิ าข้างต้นไม่ใช่สารใดในข้อต่อไปนี้ (O-NET 53)
1. แก๊สไฮโดรเจน 2. แก๊สโซฮอล์
3. แก๊สบิวเทน 4. แก๊สธรรมชาติ

วิ ศวสัญจร ครัง้ ที่ 25


36

19. สารละลาย X , Y และ Z ต่างก็เป็ นสารละลายใสทีไ่ ม่มสี ี เมือ่ นาแต่ละชนิดที่มคี วามเข้มข้นและ


ปริมาณเท่ากันมาผสมกันทีอ่ ุณหภูม ิ 25°C ได้ผลดังตาราง
การผสมสารละลาย อุณหภูมหิ ลังผสม (°C) สิง่ ทีส่ งั เกตเห็น
X กับ Y 24 สารละลายสีฟ้า
Y กับ Z 25 ใส ไม่มสี ี
ข้อสรุปใดไม่ถูกต้อง (O-NET 53)
1. X กับ Y เกิดปฏิกริ ยิ าคายความร้อน
2. Y กับ Z เป็ นสารละลายชนิดเดียวกัน
3. Y กับ Z ทาปฏิกริ ยิ ากันโดยไม่คายความร้อน
4. Y กับ Z เป็ นสารละลายต่างชนิดทีไ่ ม่ทาปฏิกริ ยิ ากัน

20.ข้อใดทีแ่ สดงว่าผิวสัมผัสมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกริ ยิ า (O-NET 53)


1. กระดาษฝอยติดไฟได้เร็วกว่าแผ่นกระดาษ
2. แผ่นสังกะสีปกติทาปฏิกริ ยิ ากับกรดไฮโดรคลอริกได้ชา้ กว่าแผ่นสังกะสีทม่ี ลี วดทองแดงพันอยู่
3. เครือ่ งปฏิกรณ์นิวเคลียร์ใช้เชือ้ เพลิงยูเรเนียมทีเ่ ป็ นแท่งยาวทาให้มอี ายุการใช้งานนานกว่าทีใ่ ช้
เป็ นก้อน เล็ก ๆ
4. แบตเตอรีร่ ถยนต์ทม่ี จี านวนแผ่นตะกัวมากกว่
่ าให้กาลังไฟฟ้ าสูงกว่าทีม่ จี านวนแผ่นน้อยกว่า

21.ข้อใดทีไ่ ม่ได้แสดงว่าธรรมชาติของสารมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี (O-NET 53)


1. เกลือเม็ดดูดความชืน้ เร็วกว่าผลึกน้าตาลทราย
2. กระดาษมีอายุการใช้งานน้อยกว่าพลาสติก
3. แบตเตอรีป่ รอท กับแบตเตอรีอ่ ลั คาไลน์มอี ายุการใช้งานไม่เท่ากัน
4. เหล็กทีอ่ ยูใ่ นอากาศและความชืน้ จะผุกร่อนได้เร็วกว่าอลูมเิ นียม

22. การถ่ายเทความร้อนในข้อใดทีเ่ ป็ นผลเกิดขึน้ จากปฏิกริ ยิ าเคมี (O-NET 54)


1. ความร้อนทีเ่ กิดขึน้ ด้านหลังของตูเ้ ย็น
2. ความร้อนทีร่ สู้ กึ ได้ในลาคอเมือ่ ดื่มเหล้า
3. ความร้อนหลังจากการวิง่ ออกกาลังกาย
4. ถูกทุกข้อ

Engineering On Tour # 25
37

23. ปฏิกริ ยิ าหนึ่งในชัน้ บรรยากาศมีสองขัน้ ตอนดังนี้


Cl + O3 → ClO + O2
ClO + O → Cl + O2
สารชนิดใดทาหน้าทีเ่ ป็ นตัวเร่งปฏิกริ ยิ า (O-NET 54)
1.CI 2. CIO
3. O 4. CI และ CIO

24. รูปการทดลองหาอัตราเร็วในการสลายตัวของลวดแมกนีเซียมด้วยสารละลายกรดไฮโดรคลอริก

ถ้าต้องการเพิม่ อัตราเร็วของปฏิกริ ยิ านี้ วิธใี นข้อใดให้ผลน้อยทีส่ ุด (O-NET 54)


1. เขย่าหลอดทดลองแรง ๆ
2. เติมสารละลายกรดให้มปี ริมาตรเพิม่ ขึน้
3. เพิม่ ลวดแมกนีเซียมขนาดเท่าเดิมลงไปอีกชิน้ หนึ่ง
4. หันลวดแมกนี
่ เซียมออกเป็ นเส้นเล็ก ๆ โดยไม่เพิม่ น้ าหนัก

25. พิจารณาการทดลอง A B และ C เพื่อศึกษาอัตราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมีระหว่างโลหะกับกรดไฮโดร-


คลอริก ต่อไปนี้

การทดลอง กิจกรรม
A ใส่ก้อนโลหะมวล 1.00 กรัม ลงในสารละลายกรอดไฮโดรคลอริกเข้มข้นร้อยละ 20
โดยมวลต่อปริมาตร
B ใส่ก้อนโลหะมวล 1.00 กรัม ลงในสารละลายกรอดไฮโดรคลอริกเข้มข้นร้อยละ 10
โดยมวลต่อปริมาตร
C ใส่ก้อนโลหะมวล 0.10 กรัม ลงในสารละลายกรอดไฮโดรคลอริกเข้มข้นร้อยละ 10
โดยมวลต่อปริมาตร

การเปรี ยบเทียบอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ ้นจากการทดลองข้ างต้ น ข้ อใดถูกต้ อง (O-NET 60)


1. A > B 2. B > C 3. C > B 4. A = B 5. B = C

วิ ศวสัญจร ครัง้ ที่ 25


38

26. พิจารณากราฟที่แสดงความสัมพันธ์ของความเข้ มข้ นของสารตังต้


้ นและผลิตภัณฑ์กบั เวลาการ
เกิดปฏิกิริยาเคมี ดังนี ้

ข้ อความใดถูกต้ อง (O-NET 60)


1. ทุกช่วงเวลา อัตราการลดลงของสาร A เท่ากัน
2. สมการเคมีของปฏิกิริยานี ้คือ B + C → A
3. อัตราการเกิดสาร B มากกว่าอัตราการเกิดสาร C
4. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเป็ นค่าเฉลี่ยของอัตราการเกิดสาร B และสาร C
5. ในช่วงเวลาเดียวกัน อัตราลดลงของสาร A เท่ากับอัตราการเพิ่มขึ ้นของสาร B

27. การเพิ่มขึ ้นของปัจจัยใด ทาให้ อตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมีช้าลง (O-NET 59)


1. อุณหภูมิ
2. ตัวหน่วงปฏิกิริยา
3. พื ้นที่ผิวของสาตังต้
้ น
4. ความเข้ มข้ นของสารตังต้
้ น
5. ตัวเร่งปฏิกิริยา

28. สารในข้ อใดทาให้ เกิดปฏิกิริยาเคมีที่สงั เกตได้ จากการเปลี่ยนสีของสารละลาย (O-NET 59)


1. สารละลายโพแทสเซียมเปอร์ แมงกาเนต และ สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์
2. สารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์ บอเนต และ สารละลายกรดไฮโดรคลอริก
3. สารละลายกรดไฮโดรคลอริก และ สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์
4. แมกนีเซียม และ สารละลายกรดไฮโดรคลอริก
5. สารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟต และ สารละลายกรดไฮโดรคลอริ ก

Engineering On Tour # 25
39

29. หินปูนทาปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเกิดแก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์ (CO2) สารละลาย


แคลเซียมคลอไรด์ และน ้า โดยข้ อมูลที่ได้ จากการทดลองเป็ น ดังตาราง

ปริมาณแก๊ ส CO2 (cm3) เวลา (วินาที)


1 22
2 54
3 120
4 230
5 450

ข้ อใดต่อไปนี ้ไม่ถกู ต้ อง (O-NET 59)


1. เวลาที่ใช้ ในการเกิดแก๊ ส CO2 ทุกๆ 1 cm3 มีคา่ ไม่เท่ากัน
2. อัตราการเกิดแก๊ ส CO2 ในช่วง 2-3 cm3 มีคา่ มากกว่าในช่วง 4-5 cm3
3. อัตราการแก๊ ส CO2 ทุกๆ 1 cm3 มีคา่ เพิ่มขึ ้น
4. เวลาที่ใช้ ในการกิดแก๊ ส CO2 ในช่วง 1-2 cm3 มีคา่ น้ อยกว่าในช่วง 2-3 cm3
5. อัตราการเกิดแก๊ ส CO2 เฉลี่ยเท่ากับ 0.011 cm3s-1

วิ ศวสัญจร ครัง้ ที่ 25

You might also like