You are on page 1of 95

พืนฐานทฤษฏีอะตอมและมวลสารสั มพันธ์

raTTapon hongkrEngkai
1
พืนฐานทฤษฏีอะตอม

Atom เป็ นคําทีมาจากภาษากรี กว่า Atomos แปลว่า ไม่สามารถ


แบ่งต่อไปได้อีก อะตอมจึงเป็ นอนุ ภาคทีเล็กทีสุ ดของธาตุ ซึ งอาจ
อยูต่ ามลําพังหรื อรวมกับอะตอมอืนเป็ นโมเลกุลได้
อนุภาคมูลฐานของอะตอม
อนุภาคทีอยู่ตวั โปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอน
อนุภาคทีไม่ อยู่ตวั โปสิ ตรอน นิวทรีโน เมซอน Cosmic rays

2
สั ญลักษณ์ นิวเคลียร์ 12
6
14
C, N
7

เลขมวล (Mass number) คือ ผลรวมของจํานวนโปรตอนและ


นิ ว ตรอนที อยู่ ภ ายในนิ ว เคลี ย สของ
อะตอม
A

Z
X จํานวนนิวตรอน=A-Z

เลขอะตอม(Atomic number) คือ จํานวนโปรตอนทีอยู่ภายในนิวเคลียส

3
ไอโซโทป, ไอโซโทน, ไอโซบาร์

ไอโซโทป (isotope) โปรตอนเท่ากัน


1
1 H, 21H, 31H
ไอโซโทน (isotone) นิวตรอนเท่ากัน
39
19 K, 40
20 Ca

ไอโซบาร์ (isobar) เลขมวลเท่ากัน


14
6 C, 147 N

4
12 13 14
ทดสอบ
6
C 6
C 6
C
ก ข ค
13 14 15

7
N 7
N 7
N
จ ฉ ช
16 17 18

8
O 8
O 8
O
ซ ฌ ญ
Isotope คือ
Isotone คือ 5

Isobar คือ
ทดสอบ จงเขียนสั ญลักษณ์ นิวเคลียร์ ของธาตุ Y
หนึงทีมีอเิ ล็กตรอน 20 ตัว และมีจาํ นวนนิวตรอน
10 ตัว

6
มวล มวลอะตอม มวลโมเลกุล โมล

มวล (mass)
ปริ มาณสสารทีสามารถต้านการเปลียนแปลงของทิศทางการเคลือนที
มวลอะตอม (Atomic Mass)
ดาลตัน เชือว่ามวลต่างชนิดกันมีค่าไม่เท่ากันโดยใช้การเปรี ยบเทียบ
กับไฮโดรเจนทีเป็ นธาตุเบา
ปัจจุบนั ใช้ C-12 ซึงมีปริ มาณมากทีสุ ดในธรรมชาติโดย C-12 จํานวน
1 อะตอมมีมวล 12.00 หน่วย หรื อ 12 amu (atomic mass unit)

7
มวลอะตอม (Atomic Mass)
มวลของธาตุ 1 อะตอม
มวลอะตอมของธาตุ =
มวลของไฮโดรเจน 1 อะตอม

มวลของธาตุ 1 อะตอม
มวลอะตอมของธาตุ =
(1/16)ของมวลของออกซิเจน 1 อะตอม

มวลของธาตุ 1 อะตอม
มวลอะตอมของธาตุ =
(1/12)ของมวลของ C-12 1 อะตอม
1 amu = (1/12)ของมวล C-12 1 อะตอม = 1.66x10-24 กรัม 8
มวลอะตอม (Atomic Mass)

ตัวอย่ าง ถ้าธาตุ Ca 1 อะตอม มีมวล 40x1.66x10-24 กรัม หามวลอะตอม


มวลของ Ca 1 อะตอม
มวลอะตอมของ Ca =
(1/12)ของมวลของ C-12 1 อะตอม

มวลอะตอมของ Ca = 40x1.66x10-24 กรัม


1.66x10-24 กรัม

มวลอะตอมของ Ca = 40 #
9
มวลอะตอม (Atomic Mass)
ตัวอย่ าง ทังสเตนมีมวล 1 อะตอมเท่ากับ 183.84 amu จงหานําหนักเป็ น
กรัมของทังสเตน 25 อะตอม
ทังสเตน 1 อะตอม มีมวล = 183.84 amu
ทังสเตน 25 อะตอม มีมวล = 183.84 x 25 amu
= 4.596x103 amu
เปลียน amu เป็ นกรัม
มวล 1 amu =1.66x10-24 กรัม
ถ้ามวล 4.596x103 amu = 7.629x10-21 กรัม
ทังสเตน 25 อะตอม มีมวล 7.629x10-21 กรัม # 10
มวลอะตอม (Atomic Mass)

ไอโซโทป ปริมาณในธรรมชาติ (%) มวล (amu)


O-16 99.957 15.994
O-17 0.037 16.999
O-18 0.204 17.999

มวลอะตอมเฉลียของไอโซโทป = S(มวล)(%)
100
= [(0.204)(17.999)]+[(15.994)(99.957)]+[(0.037)(16.999)]
100

= 15.999
มวลอะตอมเฉลียของธาตุออกซิเจน 15.999 # 11
มวลอะตอม (Atomic Mass)
13C 1.10%
12C 98.90%
ปริมาณในธรรมชาติ (%) มวล (amu)
98.90 12.00

1.10 13.00

มวลอะตอมเฉลียของไอโซโทป = S(มวล)(%)
100

12
มวลโมเลกุล (Molecular Mass หรือ Molecular weigh)

มวลของธาตุ 1 โมเลกุล
มวลโมเลกุลของสาร (Mw) =
(1/12)ของมวลของ C-12 1 อะตอม

มวลของธาตุ 1 โมเลกุล = มวลโมเลกุลของสาร (Mw) x 1.66x10-24 กรัม

13
มวลโมเลกุล
ตัวอย่ าง แก๊ส A มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 70 อยากทราบว่า แก๊ส A 1
โมเลกุล มีมวลกีกรัม
มวลของแก๊ส A 1 โมเลกุล
มวลอะตอมของแก๊ส A =
(1/12)ของมวลของ C-12 1 อะตอม

70 = มวลของแก๊ส -24A 1 โมเลกุล


1.66x10 กรัม

มวลของแก๊ส A 1 โมเลกุล = 70x1.66x10-24 กรัม #


14
มวลโมเลกุล
มวลของสาร 1 โมเลกุล
มวลโมเลกุลของสาร =
(1/12)ของมวลของ C-12 1 อะตอม
มวลของสาร 1 อะตอม
มวลอะตอมของสาร =
(1/12)ของมวลของ C-12 1 อะตอม
มวลโมเลกุลของสาร = จํานวนอะตอมของ = มวลของสาร 1 โมเลกุล
มวลอะตอมของสาร ธาตุใน 1 โมเลกุล มวลของสาร 1 อะตอม

มวลโมเลกุลของสาร = (จํานวนอะตอมของธาตุใน 1 โมเลกุล)(มวลอะตอมของสาร)


15
มวลโมเลกุล

ตัวอย่ าง จงหามวลโมเลกุลของสารประกอบต่อไปนี
กําหนดให้ H=1, C=12, O=16, S=32, Na=23, Cl=35.5, Ca=40,
Cu=63.5
(1) H2SO4 (2) CH3COOH (3) Ca(OH)2 (4) CuSO4.5(H2O)

16
มวลโมเลกุล
ทดสอบ จงคํานวณหามวลโมเลกุลหรือนํ าหนักสูตร
ของสารต่อไปนี
กําหนดให ้ มวลอะตอม C=12, H=1, N=14, O=16,
S=32, Mg=24, P=31
1. CH4
2. NO2
3. SO3
4. C6H6
5. Mg3(PO4)2
(NH2)2CO
17
6.
โมล (mole)
หน่วยแสดงจํานวนอนุภาคของสาร
สารใดๆ 1 โมล จะมี 6.02x1023 อนุภาค
เช่น อะตอมใดๆ 1 mol มี 6.02x1023 อะตอม
ไอออนใดๆ 1 mol มี 6.02x1023 ไอออน
อิเล็กตรอน 1 mol มี 6.02x1023 อิเล็กตรอน
ตัวอย่ าง C-12 มีมวล 12 กรัม จะมีจาํ นวนอะตอมเท่าใด Avogadro
C-12 จํานวน 1 อะตอม มีมวล 12x1.66x10-24 กรัม
C-12 12x1.66x10-24 กรัม มีจาํ นวนอะตอม 1 อะตอม
C-12 12 กรัม มีจาํ นวนอะตอม = 12 11.661210 6.02
24
10 23 อะตอม

18
มวลสารสั มพันธ์ (Stoichiometry)
การวัดเป็ นเทอมทีใช้ในแง่การคํานวณทุกอย่างทางปริ มาณของ
องค์ประกอบและปฏิกิริยาเคมีทีเกียวข้องกับปริ มาณของสารตังต้น สาร
ผลิตภัณฑ์ ตลอดจนปริ มาณของพลังงานของสารทีเปลียนแปลงไปใน
ปฏิกิริยา
ความสั มพันธ์ ระหว่ างจํานวนโมลกับนําหนักโมเลกุล
สาร 1 โมล หนักเท่ากับนําหนักโมเลกุลของสาร
ความสั มพันธ์ ระหว่ างจํานวนโมลกับปริมาตรต่ อโมลของแก๊ ส
สาร 1 โมล ที STP (0oC, 273 K, 1 atm) มีปริ มาตร 22.4 L(dm3)

19
มวลสารสั มพันธ์ (Stoichiometry)

1 โมล = มวลโมเลกุล (กรัม; g)


1 โมล = 22.4 (L หรือ dm3) ที STP
1 โมล =6.02*1023(อนุภาค)

1 L = 1 dm3 = 1000 cm3 = 1000 mL

1 โมล =Mw กรัม=22.4 L ที STP =6.02*1023อนุภาค


20
มวลสารสั มพันธ์ (Stoichiometry)
ตัวอย่ าง HCl และ NH3 1 โมล มีมวลโมเลกุลเท่าใด
(N=14, H=1, Cl=35.5)
HCl มีมวลโมเลกุล=
NH3 มีมวลโมเลกุล= #
ตัวอย่ าง ปริ มาตรของแก๊ส A วัดที STP เท่ากับ 2 dm3 มีมวลเท่ากับ
5.71 กรัม มวลโมเลกุลของแก๊ส A มีค่าเท่าใด
แก๊ส A 2 L มีมวล 5.71 กรัม
แก๊ส A 22.4 L มีมวล 5.71 2 22.4 63.95 กรัม
มวลโมเลกุลของแก๊ส A เท่ากับ 63.95 กรัม # 21
มวลสารสั มพันธ์ (Stoichiometry)
ความสั มพันธ์ ของสาร 1 โมล
g V(L or dm 3 ) N
mol
Mw 22.4 L 6.02 10 23 ( N A )

ตัวอย่ าง CO2(g) 10 โมล คิดเป็ น CO2 หนักกีกรัม

22
มวลสารสั มพันธ์ (Stoichiometry)
ความสั มพันธ์ ของสาร 1 โมล
g V(L or dm 3 ) N
mol
Mw 22.4 L 6.02 10 23 ( N A )

ตัวอย่ าง NH3 6.5 L ที STP มีมวลกีกรัม

23
มวลสารสั มพันธ์ (Stoichiometry)
ความสั มพันธ์ ของสาร 1 โมล
g V(L or dm 3 ) N
mol
Mw 22.4 L 6.02 10 23 ( N A )

ตัวอย่ าง O2 2.688 L ที STP มีกีโมเลกุลและกีอะตอม

24
สู ตรอย่ างง่ ายและสู ตรโมเลกุล

สูตรทีแสดงอัตราสว่ นอย่างตําของธาตุใน
สารประกอบ
การหาสูตรอย่างง่าย
สูตรอย่างง่าย=อ ัตราสว่ นอย่างตําโดยโมลของ
ธาตุทเป
ี ็ นองค์ประกอบ

Step 1 ทําให้เป็นโมล
Step 2 ทําเป็นอย่างตํา
25
สู ตรอย่ างง่ ายและสู ตรโมเลกุล
ต ัวอย่าง จงหาสูตรอย่างง่ายของสารประกอบทีมี
C 53.1% โดยมวล และ O 46.9%โดยมวล

อัตราส่ วนจํานวนโมลของธาตุ C:O = 53.1: 46.9 = 4:3


12 16
= 4: 3
33
= 1.3:1
สูตรอย่างง่าย = 1:1
26

= CO
สู ตรอย่ างง่ ายและสู ตรโมเลกุล
ตัวอย่ าง จงหาสู ตรอย่างง่ายของสารประกอบชนิ ดหนึ งซึ งทีมีธาตุ A
50% โดยมวลนอกนันเป็ นธาตุ X ถ้า A มีมวลอะตอม 20
และ X มีมวลอะตอม 40

อัตราส่ วนจํานวนโมลของ A:X = 50: 50 = 2.5:1.25


20 40
= 2.5 : 1.25
1.25 1.25
อัตราส่ วนอย่างตํา = 2:1
ดังนัน สูตรอย่างง่าย คือ A2X
27
สู ตรอย่ างง่ ายและสู ตรโมเลกุล
สู ตรโมเลกุล (Molecular formula)
สูตรทีแสดงให้ทราบถึงจํานวนอะตอมของธาตุในสาร 1 โมเลกุล
สู ตรโมเลกุล= (สู ตรอย่ างง่ าย)n
(สู ตรอย่ างง่ าย)n=มวลโมเลกุล
ตัวอย่ าง สารประกอบชนิดหนึงประกอบด้วย C 92.3% และ H 7.7%
ถ้ามวลโมเลกุล 78 จงหาสูตรอย่างง่ายและสูตรโมเลกุล
C:H = 92.3: 7.7 = 1:1
12 1
1 สูตรอย่างง่าย คือ CH
28
สู ตรอย่ างง่ ายและสู ตรโมเลกุล
สู ตรโมเลกุล (Molecular formula)
สูตรทีแสดงให้ทราบถึงจํานวนอะตอมของธาตุในสาร 1 โมเลกุล
สู ตรโมเลกุล= (สู ตรอย่ างง่ าย)n
(สู ตรอย่ างง่ าย)n=มวลโมเลกุล
ตัวอย่ าง สารประกอบชนิดหนึงประกอบด้วย C 92.3% และ H 7.7%
ถ้ามวลโมเลกุล 78 จงหาสูตรอย่างง่ายและสูตรโมเลกุล
(สู ตรอย่ างง่ าย)n=มวลโมเลกุล CnHn=78
2 (nx12)+(nx1)=78
(CH)n=78
n=(78/13)=6
ดังนัน สูตรโมเลกุล คือ C6H6
29
ท ด ส อ บ สู ต ร อ ย่ า ง ง่ า ย ข อ ง
ส า ร ป ร ะ ก อ บ ที มี อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ
ต่อไปนี (H=1, O=16, C=12)
C 40.1%, H 6.6% และ O 53.3% โดยมวล

30
ทดสอบ สารประกอบชนิด หนึงมี
สูตรอย่างง่ายเป็ น CH2O สูตร
โมเลกุ ล ของสารนี คือ ข ้อใด เมือ
นํ าหนั กโมเลกุ ล ของสารนี มี ค่ า
เท่ากับ 60 (C=12, H=1, O=16
1. CH2O
2. C2H4O2
3. C4H8O4
4. C2H3O2
31
สมการเคมี (Chemical equation)

บอกถึงความสัมพันธ์เชิงปริ มาณของสารต่างๆทีเกียวข้องในปฏิกิริยา
หลักทัวๆไป สําหรับการเขียนสมการเคมี
สารตังต้น (reactant), ผลิตภัณฑ์ (product)
ทราบสู ตร
+,
ดุลสมการเคมี
(s), (l), (g), (aq)
D

32
สมการเคมี (Chemical equation)

ชนิดของสมการเคมี
แบ่งตามการเปลียนอะตอมของธาตุในการเกิดปฏิกิริยา
ปฏิกิริยารวมตัว 2Na+Cl2 2NaCl
ปฏิกิริยาการสลายตัว CaCO3 CaO+CO2
ปฏิกิริยาแทนทีอย่างง่าย Zn+H2SO4 ZnSO4+H2
ปฏิกิริยาแทนที 2 ต่อ NaCl+AgNO3 NaNO3+AgCl
แบ่งตามการเปลียนแปลงเลขออกซิ เดชัน
Non-redox reaction
Redox reaction 33
สมการเคมี (Chemical equation)
Non-redox reaction
สมการเคมีมาใช้ในการคํานวณสมการเคมีนนต้
ั องดุลเสี ยก่อน นันคือจะต้อง
เป็ นไปตาม กฎทรงมวล (อะตอมของแต่ละธาตุทางซ้ายมือของสมการนัน
จะต้องเท่ากับอะตอมของแต่ละธาตุทางขวามือของสมการ)
ประกอบไปด้วยขันตอน ต่อไปนี
เริ มดุลจากโมเลกุลทีใหญ่ทีสุ ดหรื อโมเลกุลทีประกอบด้วยธาตุมากทีสุ ดก่อน
ดุลโลหะ
ดุลอโลหะ (ยกเว้น H และ O)
ดุล H และ O
ตรวจดูจาํ นวนของธาตุในสมการ

34
สมการเคมี (Chemical equation)
จงดุลสมการต่ อไปนี
1. _ H2 + _ O2 _ H 2O

35
สมการเคมี (Chemical equation)
จงดุลสมการต่ อไปนี
1. _ H2 + _ O2 _ H2O
2H2 + O2 2H2O

36
สมการเคมี (Chemical equation)

จงดุลสมการต่ อไปนี
2. _ C3H8 + _ O2 _ CO2 + _ H2O

37
สมการเคมี (Chemical equation)

จงดุลสมการต่ อไปนี
2. _ C3H8 + _ O2 _ CO2 + _ H2O
C3H8 + 5O2 3CO2 + 4H2O

38
สมการเคมี (Chemical equation)
จงดุลสมการต่ อไปนี
3. _ Na2O2 + _ H2O _NaOH + _O2

39
สมการเคมี (Chemical equation)

จงดุลสมการต่ อไปนี
3. _ Na2O2 + _ H2O _NaOH + _O2
2Na2O2 + 2H2O 4NaOH +O2

40
สมการเคมี (Chemical equation)

จงดุลสมการต่ อไปนี
4. _ KClO3 _ KCl + _ O2

41
สมการเคมี (Chemical equation)
4. _ KClO3 _ KCl + _ O2
2KClO3 2KCl + 3O2

42
ทดสอบ จงดุลสมการต่ อไปนี
1. __C+__O2 __CO
2. __CO+__O2 __CO2
3. __H2+__Br2 __HBr
4. __K+__H2O __KOH+_H2
5. __Mg+__O2 __MgO
6. __O3 __O2
7. __H2O2 __H2O+__O2
8. __N2+__H2 __NH3
9. __Zn+__AgCl __ZnCl2+__Ag
10. __S8+__O2 __SO2
11. __ NaOH+ __ H2SO4 __ Na2SO4+ __ H2O
12. __ Cl2+ __ NaI __ NaCl+ __ I2
13. __ KOH+ __ H3PO4 __ K3PO4+ __ H2O 43
14. __ CH4+ __ Br2 __ CBr4+ __ HBr
g V(L or dm 3 ) N
mol
Mw 22.4 L 6.02 10 23

สมการเคมี (Chemical equation)


ตัวอย่ าง จากสมการ NaOH(aq)+HCl(aq) NaCl(aq)+H2O(l)
3CO(g)+Fe2O3 2Fe(s)+3CO2(g)
ข้อมูลทีทราบจากสมการทีดุลแล้ วคือ
1. จํานวนโมล สัมประสิ ทธิหน้าสูตร
2. มวล(g) = โมล * มวลโมเลกุล
3. ปริ มาตรที STP = โมล * 22.4
4. จํานวนอนุภาค =โมล*6.02*1023
44
g V(L or dm 3 ) N
mol
Mw 22.4 L 6.02 10 23

สมการเคมี (Chemical equation)


ตัวอย่ าง จากสมการ NaOH(aq)+HCl(aq) NaCl(aq)+H2O(l)
ข้อมูลทีทราบจากสมการทีดุลแล้ วคือ
1. จํานวนโมล 2. มวล(g)
3. ปริ มาตรที STP 4. จํานวนอนุภาค
กําหนดให้ (มวลอะตอม Na=23, O=16, H=1, Cl=35.5)
Mw(NaOH)= 23+16+1=40
Mw(HCl)=1+35.5=36.5
Mw(NaCl)=23+35.5=58.5
Mw(H2O)=(1*2)+16=18 45
g V(L or dm 3 ) N
mol
Mw 22.4 L 6.02 10 23

สมการเคมี (Chemical equation)


ตัวอย่ าง จากสมการ NaOH(aq)+HCl(aq) NaCl(aq)+H2O(l)
ข้อมูลทีทราบจากสมการทีดุลแล้ วคือ
1. จํานวนโมล 2. มวล(g) 3. ปริ มาตรที STP 4. จํานวนอนุภาค
กําหนดให้ (มวลอะตอม Na=23, O=16, H=1, Cl=35.5)
NaOH(aq)+ HCl(aq) NaCl(aq)+ H2O(l)
1. จํานวนโมล 1 1 1 1
2. มวล(g) 1x40 1x36.5 1x58.5 1x18
3. ปริ มาตรที STP 1x22.4 1x22.4 1x22.4 1x22.4
4. จํานวนอนุภาค 1xNA 1xNA 1xNA 1xNA 46
สมการเคมี (Chemical equation)

ตัวอย่ าง สมการเคมี 3CO(g)+Fe2O3 2Fe(s)+3CO2(g)


กําหนดให้มวลอะตอมของ Fe=55.85, C=12, O=16
Mw(CO)= 12+16=28
Mw(Fe2O3)=(2*55.85)+(3*16)=159.7
Mw(Fe)=55.85
Mw(CO2)=12+(16*2)=44

47
สมการเคมี (Chemical equation)

ตัวอย่ าง สมการเคมี 3CO(g)+Fe2O3 2Fe(s)+3CO2(g) [Fe=55.85]


จงหา 1. จํานวนโมล 2. มวล(g) 3. ปริ มาตรที STP 4. จํานวนอนุภาค

3CO(g)+ Fe2O3 2Fe(s)+ 3CO2(g)


1. จํานวนโมล 3 1 2 3

2. มวล(g) 3xMw 1xMw 2xMw 3xMw

3. ปริ มาตรที STP 3x22.4 1x22.4 2x22.4 3x22.4

4. จํานวนอนุภาค 3xNA 1xNA 2xNA 3xNA 48


สมการเคมี (Chemical equation)

สารกําหนดปริมาณ (limiting reagent) สารทีถูกใช้หมดก่อน

49
สมการเคมี (Chemical equation)

สารกําหนดปริมาณ (limiting reagent) สารทีถูกใช้หมดก่อน

สารกําหนดปริ มาณ คือ


สารทีมากเกินพอ คือ 50
สมการเคมี (Chemical equation)

ตัวอย่ าง Mg(OH)2+2HCl MgCl2+2H2O


ถ้าใช้ Mg(OH)2 หนัก 50.6 กรัม ทําปฏิกิริยากับ HCl หนัก
45.0 กรัม
1. สารใดทําหน้าทีเป็ นสารกําหนดปริ มาณ
2. สารใดเป็ นสารทีมีปริ มาณมากเกินพอ (Excess reagent)
3. MgCl2 เกิดขึนกีกรัม
[Mg=24.3, Cl=35.5, H=1, O=16]
51
สมการเคมี (Chemical equation)
สมการดุลแล้ว Mg(OH)2+ 2HCl MgCl2+ 2H2O
โมล 1 2 1 2
กรัม 1xMw 2xMw 1xMw 2xMw

[Mg=24.3, Cl=35.5, H=1, O=16]


Mw(Mg(OH)2) =24.3+(2*(16+1)) =58.3
Mw(HCl) =1+35.5 =36.5
Mw(MgCl2) =24.3+(35.5*2) =95.3
Mw(H2O) =(1*2)+16 =18
52
สมการเคมี (Chemical equation)
Mg(OH)2+ 2HCl MgCl2+ 2H2O
โมล 1 2 1 2
กรัม 1x58.3=58.3 2x36.5=73 1x95.3=95.3 2x18=36

หาสารกําหนดปริมาณและสารมากเกินพอ
Mg(OH)2+ 2HCl MgCl2+ 2H2O
จากสมการ 58.3 กรัม 95.3 กรัม
จากโจทย์ 50.6 กรัม = (95.3*50.6)/58.3
=82.71 กรัม
สมการเคมี (Chemical equation)
จากสมการ Mg(OH)2+ 2HCl MgCl2+ 2H2O
โมล 1 2 1 2
กรัม 1x58.3=58.3 2x36.5=73 1x95.3=95.3 2x18=36

หาสารกําหนดปริมาณและสารมากเกินพอ
Mg(OH)2+ 2HCl MgCl2+ 2H2O
จากสมการ 73 กรัม 95.3 กรัม
จากโจทย์ 45 กรัม = (95.3*45)/73
=58.75 กรัม
สมการเคมี (Chemical equation)
หาสารกําหนดปริมาณและสารมากเกินพอ
Mg(OH)2+ 2HCl MgCl2+ 2H2O
จากสมการ 58.3 กรัม 95.3 กรัม
จากโจทย์ 50.6 กรัม = (95.3*50.6)/58.3
=82.71 กรัม

Mg(OH)2+ 2HCl MgCl2+ 2H2O


จากสมการ 73 กรัม 95.3 กรัม
จากโจทย์ 45 กรัม = (95.3*45)/73
55
=58.75 กรัม
สมการเคมี (Chemical equation)
หาสารกําหนดปริมาณและสารมากเกินพอ
ดังนัน ถ ้าใช ้ Mg(OH)2 50.6 กรัม เกิด MgCl2 82.71 กรัม
ดังนัน ถ ้าใช ้ HCl 45 กรัม เกิด MgCl2 58.75 กรัม

1. สารกําหนดปริมาณ คือ HCl


เพราะเกิดผลิตภัณฑ์ในปริมาณทีน ้อยกว่า
2. สารทีมากเกินพอ คือ Mg(OH)2
เพราะผลิตภัณฑ์เกิดมากกว่า
3. ดังนัน MgCl2 เกิดขึนเท่ากับ 58.75 กรัม
56
สมการเคมี (Chemical equation)
ถ า้ สมมติว่ า โจทย์ถ ามว่ า ปริม าณสารมากเกิน พอเหลือ

เท่าไหร่ ทําได ้ดังนี คือใชสารกํ าหนดปริมาณเป็ นตัวเทียบ

Mg(OH)2+ 2HCl MgCl2+ 2H2O


จากสมการ 58.3 กรัม 73 กรัม
จากโจทย์ ?? กีกรัม 45 กรัม

จากสมการ HCl 73 กรัม ใช ้ Mg(OH)2 58.3 กรัม


จากโจทย์ HCl 45 กรัม ใช ้ Mg(OH)2 =(58.3*45)/73=36.06 กรัม

ดังนัน Mg(OH)2 เหลือ = 50.6-36.06 =14.54 กรัม 57


Note!

Mg(OH)2+ 2HCl MgCl2+ 2H2O


จากโจทย์ 50.6 กรัม 45 กรัม
Mw 58.3 36.5
โมล 0.8679 1.2329
สปส. 1 2
1:1 0.8679 0.6164

58
สมการเคมี (Chemical equation)

ร้ อยละผลผลิต หาได้จาก ปริ มาณผลผลิตจริ ง (actual yield) และ


ปริ มาณผลผลิตตามทฤษฏี (theoretical yield)

actual yield
% yield 100
theoretical yield

59
สมการเคมี (Chemical equation)
ตัวอย่ าง Fe2O3(s)+2Al(s) Al2O3(s)+2Fe(l)
ใช้ Al 15 กรัม ทําปฏิกิริยากับ Fe2O3 40 กรัม อยากทราบว่า
1. จะเกิด Fe กีกรัม ตามทฤษฏี
2. ถ้าปฏิกิริยานีเกิด Fe จํานวน 25 กรัม จงหาร้อยละผลผลิต
[Fe=56, Al=27, O=16]
actual yield
% yield 100
theoretical yield

60
สมการเคมี (Chemical equation)
ตัวอย่ าง Fe2O3(s)+2Al(s) Al2O3(s)+2Fe(l) ใช้ Al 15 กรัม ทําปฏิกิริยา
กับ Fe2O3 40 กรัม
[Fe=56, Al=27, O=16]
Mw(Fe2O3) =(56*2)+(16*3) =160
Mw(Al) =27
Mw(Al2O3) =(27*2)+(16*3) =102
Mw(Fe) =56

61
สมการเคมี (Chemical equation)
Fe2O3(s)+ 2Al(s) Al2O3(s)+ 2Fe(l)
โมล 1 2 1 2
กรัม 1xMw 2xMw 1xMw 2xMw
กรัม 1x160=160 2x27=54 1x102=102 2x56=112

Mw(Fe2O3) =(56*2)+(16*3) =160


Mw(Al) =27
Mw(Al2O3) =(27*2)+(16*3) =102
Mw(Fe) =56
62
สมการเคมี (Chemical equation)
สมการดุลแล้ว Fe2O3(s)+ 2Al(s) Al2O3(s)+ 2Fe(l)
จากสมการ 160 กรัม 54 กรัม 102 กรัม 112 กรัม
จากโจทย์ 40 กรัม 15 กรัม

Fe2O3(s)+ 2Fe(l) 2Al(s) 2Fe(l)


160 กรัม 112 กรัม 54 กรัม 112 กรัม
40 กรัม = (112*40)/160 15 กรัม = (112*15)/54
= 28 กรัม = 31.11 กรัม
สารกําหนดปริมาณ คือ Fe2O3 ด ังนน
ั Fe เกิดขึนทางทฤษฏี 28 กร ัม 63
สารมากเกินพอ คือ Al
สมการเคมี (Chemical equation)
หาร้ อยละผลผลิต
actual yield
% yield 100
theoretical yield

จากโจทย์ กําหนดให้ Fe ทีทดลองได้ (Actual yield of Fe) = 25 กรัม


จากการคํานวณ ให้ Fe ทีได้ทางทฤษฏี (Theoretical yield of Fe) = 28 กรัม

25
% yield 100 89.28
28
64
Note!

Fe2O3(s)+ 2Al(s) Al2O3(s)+ 2Fe(l)


จากโจทย์ 40 กรัม 15 กรัม
Mw 160 27
โมล 0.25 0.56
สปส. 1 2
1:1 0.25 0.28

Fe เกิดขึน = 0.25 *2*56= 28 กรัม 65


สมการเคมี (Chemical equation)

Redox reaction ปฏิกริ ิยาทีเกียวกับการถ่ ายเท e-


การเกิดปฏิกริ ิยารีดอกซ์ จะต้ องประกอบไปด้ วย
1. สารทีให้ e- เรียกว่ าตัวรีดวิ ซ์ เกิดปฏิกริ ิยาออกซิเดชัน (Oxidation Reaction)
Cu(s) Cu2+(aq) + 2 e- (ปฏิกริ ิยาออกซิเดชัน)
2. สารทีรับ e- เรียกว่ าตัวออกซิไดซ์ เกิดปฏิกริ ิยารีดกั ชัน (Reduction Reaction)
Ag+(aq) + e- Ag(s) (ปฏิกริ ิยารีดกั ชัน)

Cu(s) + 2Ag+(aq) Cu2+(aq) + 2Ag(s) (ปฏิกิริยารี ดอกซ์)


66
สมการเคมี (Chemical equation)

Oxidation Number (O.N.)

67
สมการเคมี (Chemical equation)

68
สมการเคมี (Chemical equation)

ขันตอนการหาเลขออกซิเดชัน
ธาตุอิสระ (ไม่รวมตัวกับธาตุอืน มีค่า O.N. = ศูนย์) เช่น Mg, O2, O3, S8 , P4
ธาตุหมู่ 1 ในสารประกอบ มีค่า O.N. = 1 เช่น LiNO3, NaCl , KClO3
ธาตุหมู่ 2 ในสารประกอบ มีค่า O.N. = 2 เช่น MgCl2, CaCO3, BeCl2
ธาตุไฮโดรเจน ในสารประกอบ มีค่า O.N. = 1 เช่นHCl, NH3, H2O
ยกเว้น ในสารประกอบของโลหะ เช่น NaH, AlH3 H มี O.N. = -1

69
สมการเคมี (Chemical equation)

ขันตอนการหาเลขออกซิเดชัน
ธาตุออกซิเจน ในสารประกอบ มีค่า O.N. = - 2 เช่น H2O , CO2 , C2O
ยกเว้น H2O2 , Na2O , NaO2 , OF
ผลรวมของ O.N. ในสารประกอบมีค่าเป็ นศูนย์ เช่น KMnO4, MnO2
ผลรวมของ O.N. ในไอออนเท่ากับจํานวนประจุ เช่น MnO4-, Cr2O72-
Noteไอออนทีควรจํา SO42-, CN-, CO32-, NO3-
ไอออนทีมี O.N. เท่ากับจํานวนประจุ
70
สมการเคมี (Chemical equation)

71
สมการเคมี (Chemical equation)

ตัวอย่ าง จงหาเลขออกซิ เดชันของธาตุในสารประกอบต่อไปนี


H2O2 KMnO4

KO2 MnSO4

72
สมการเคมี (Chemical equation)

การพิจารณาปฏิกริ ิยารีดอกซ์
พิจารณาการเพิมและลดเลขออกซิ เดชันของธาตุในปฏิกิริยา
มีธาตุอิสระตัวเดียวโดดๆในสมการ
ขันตอนการดุลสมการรีดอกซ์
1. หาธาตุทีมี O.N. เปลียนไป ต่อ 1 อะตอมของธาตุ
2. นําเลข O.N. ทีเปลียนไปมาคูณไขว้ (เพือให้จาํ นวน e- ทีถ่ายเทเท่ากัน)
3. ดุลอะตอมของธาตุ (H กับ O ทําทีหลัง)
4. ถ้าทอนได้ให้ทอนเป็ นอัตราส่ วนอย่างตําด้วย 73
สมการเคมี (Chemical equation)

74
สมการเคมี (Chemical equation)

75
สมการเคมี (Chemical equation)

การดุลสมการรี ดอกซ์โดยใช้ครึ งปฏิกิริยา


ในสารละลายกรด
ในสารละลายเบส

76
สมการเคมี (Chemical equation)

การดุลสมการรี ดอกซ์โดยใช้ครึ งปฏิกิริยา


ในสารละลายกรด

ตัวอย่ าง ในสารละลายกรด Fe2+ + Cr2O72- Fe3+ + Cr3+


1. แยกครึงปฏิกริ ิยา

Fe2+ Fe3+ Cr2O72- Cr3+

77
สมการเคมี (Chemical equation)
2. ดุลอะตอม

Fe2+ Fe3+ Cr2O72- 2Cr3+


เติม H2O ด้านขาดออกซิ เจนเท่ากับจํานวนทีขาดออกซิ เจน

Cr2O72- 2Cr3++7H2O
เติม H+ ด้านขาดไฮโดรเจนเท่ากับจํานวนทีขาดไฮโดรเจน

Cr2O72- + 14H+ 2Cr3++7H2O

78
สมการเคมี (Chemical equation)
3. ดุลประจุโดยการเติมอิเล็กตรอน

Fe2+ Fe3+ Cr2O72- + 14H+ 2Cr3++7H2O

Fe2+ Fe3++e- Cr2O72- + 14H++6e- 2Cr3++7H2O


+6 +3
4. ทําการถ่ ายเท e- ให้ เท่ ากัน (โดยการคูณไขว้ จาํ นวน e- )

6Fe2+ 6Fe3++6e- Cr2O72- + 14H++6e- 2Cr3++7H2O


5. รวมสมการ
6Fe2++ Cr2O72- + 14H+ 6Fe3++2Cr3++7H2O 79
สมการเคมี (Chemical equation)

การดุลสมการรี ดอกซ์โดยใช้ครึ งปฏิกิริยา


ในสารละลายกรด
1. แยกครึ งปฏิกิริยารี ดอกซ์ออกเป็ น 2 ส่ วน คือ ครึ งปฏิกิริยาออกซิเดชัน
และครึ งปฏิกิริยารี ดกั ชัน
2. ดุลอะตอมของธาตุทีเปลียนแปลง O.N. โดยการเติมตัวเลขข้าหน้าธาตุ
ทีดุลยกเว้นธาตุ H และ O
3. ดุล O โดยการเติม H2O , ดุล H โดยการเติม H+
4. ดุลประจุโดยการเติม e-
5. รวมครึ งปฏิกิริยาแล้วจัดให้เป็ นอัตราส่ วนอย่างตํา 80
สมการเคมี (Chemical equation)

การดุลสมการรี ดอกซ์โดยใช้ครึ งปฏิกิริยา


ในสารละลายเบส
1. ดุลเหมือนข้อ 1 และข้อ 2 ของในสารละลายกรด
2. ดุล O โดยการเติม H2O , ดุล H โดยการเติม H+
3. กําจัด H+ เติม OH- เท่ากับ H+ ทังสองด้าน จํานวน H+ และ OH- รวม
เป็ น H2O [H++OH- H2O]
4. ดุลประจุโดยการเติม e-
5. รวมครึ งปฏิกิริยาแล้วจัดให้เป็ นอัตราส่ วนอย่างตํา
81
สมการเคมี (Chemical equation)

การดุลสมการรี ดอกซ์โดยใช้ครึ งปฏิกิริยา


ในสารละลายเบส

ตัวอย่ าง ในสารละลายเบส MnO4-+I - I2+MnO2


MnO4- MnO2 ดุลอะตอม I - I2
อะตอม Mn ดุลแล้ว ดุ ล ประจุ 2I - I
2
ดุล O โดยเติม H2O ด้านขาด O 2I - I2+2e-
เท่ากับ จํานวนทีขาด O2
MnO4- MnO2+2H2O 82
สมการเคมี (Chemical equation)
ตัวอย่ าง ในสารละลายเบส MnO4-+I - I2+MnO2
MnO4- MnO2+2H2O 2I - I2+2e-
เติม H+ ด้านทีขาด H
เท่ากับจํานวนทีขาด
MnO4-+4H+ MnO2+2H2O
สารละลายเบสห้ามมีกรด
ดังนันต้องเติม OH- ทัง 2 ด้าน
MnO4-+4H++4OH- MnO2+2H2O+4OH- 83
สมการเคมี (Chemical equation)
ตัวอย่ าง ในสารละลายเบส MnO4-+I - I2+MnO2
MnO4-+4H++4OH- MnO2+2H2O+4OH- 2I - I2+2e-
H++ OH- H2O
MnO4-+4H2O MnO2+2H2O+4OH- หักล้าง H2O

MnO4-+2H2O MnO2+4OH- ดุลประจุ


+7 +4
MnO4-+2H2O MnO2+4OH-
MnO4-+2H2O+3e- MnO2+4OH- 84
สมการเคมี (Chemical equation)
ตัวอย่ าง ในสารละลายเบส MnO4-+I - I2+MnO2
MnO4-+2H2O+3e- MnO2+4OH- 2I - I2+2e-
เอา 2 คูณตลอด เอา 3 คูณตลอด
2MnO4-+4H2O+6e- 2MnO2+8OH- 6I - 3I2+6e-
รวมสมการ
2MnO4-+4H2O+6e- +6I - 2MnO2+8OH-++3I2+6e-
2MnO4-+4H2O+6I - 2MnO2+8OH-++3I2
85
พลังงานและปฏิกริ ิยาเคมี
(Energy and Chemical reaction)
1. ปฏิกิริยาดูดความร้อน 2. ปฏิกิริยาคายความร้อน
(Endothermic reaction) (Exothermic reaction)
E E
C+D A+B

A+B C+D
reaction reaction

DH=+ DH=-
H2(g)+I2(s) 2HI DH=+51.9 kJ H2(g)+(1/2)O2(s) H2O(l) DH=-285.8 kJ 86
พลังงานและปฏิกริ ิยาเคมี
(Energy and Chemical reaction)

ความร้อนของปฏิกิริยา หรื อ Enthalpy (DH)


ความร้อนของการเกิดสาร (Heat of Formation ; DH)
ความร้อนของการสันดาป (Heat of Combustion; DH)

DH=SDH(product)-SDH(reactant)

87
พลังงานและปฏิกริ ิยาเคมี
(Energy and Chemical reaction)

ความร้อนของปฏิกิริยา หรื อ Enthalpy (DH)


ความร้อนของการเกิดสาร (Heat of Formation)
การเปลียนแปลงความร้อนในตัว เมือ 1 โมล ของสารทีเกิดจากธาตุที
เป็ นองค์ประกอบทีสภาวะมาตรฐาน เรี ยกว่า ความร้ อนของการเกิ ด
สาร ณ สภาวะมาตรฐาน (25oC, 1atm) ใช้ DHof เป็ นสัญลักษณ์
สําหรับธาตุอิสระที Standard state กําหนดให้มี enthalpy เท่ากับศูนย์
เราสามารถหา heat of reaction ได้ ถ้าทราบค่า heat of formation ของ
สารต่างๆ ทังหมดในสมการ

DH(ปฏิกิริยา)=SDHof(products)-SDHof(reactants) 88
พลังงานและปฏิกริ ิยาเคมี
(Energy and Chemical reaction)
ตัวอย่ าง จงหา Heat of reaction (DH) ของปฏิกิริยา
2Al(s)+Fe2O3(s) Al2O3(s)+2Fe(s)
กําหนดให้ DHof (Al2O3) =-1676 kJ/mol DHof (Fe2O3) =-822.2kJ/mol
DHof (Al) = 0 kJ/mol DHof (Fe) = 0 kJ/mol
DH(ปฏิกิริยา)=SDHof(products)-SDHof(reactants)
DH(ปฏิกิริยา) = [DHof (Al2O3)+ 2DHof (Fe)] - [DHof (Fe2O3) +3 DHof (Al) ]
= (-1617+0)+(-822.2+0)=-853.8 kJ/mol
89
พลังงานและปฏิกริ ิยาเคมี
(Energy and Chemical reaction)

ความร้อนของปฏิกิริยา หรื อ Enthalpy (DH)


ความร้อนของการสันดาป (Heat of Combustion; DH)
การสันดาปหรื อการเผาไหม้เป็ นปฏิกิริยาเคมีทีเกิดขึนระหว่างสารตังต้น
กับออกซิ เจนได้สมบูรณ์ทีอุณหภูมิกาํ หนดให้ เรี ยกว่า ความร้อนของการ
สันดาป (Heat of Combustion) ถ้าทีสภาวะมาตรฐานใช้ DHo
ปฏิกิริยาการสันดาปทุกชนิ ดจัดเป็ นปฏิกิริยาคายความร้อน (Exothermic
reaction) เสมอ ถ้าทราบ heat of combustion และ heat of formation ของ
สารอืนๆ จะมีประโยชน์ในการหา heat of formation ของสารบางตัวได้

90
พลังงานและปฏิกริ ิยาเคมี
(Energy and Chemical reaction)
ตัวอย่ าง กําหนดให้ Heat of Combustion ของ C2H5OH(l) =-1366.2kJ/mol
และ Heat of Formation ของ DHof(C2H5OH)=-277.8 kJ/mol,
DHof(O2)=0 kJ/mol, DHof(H2O(l))=-285.8 kJ/mol ตามลําดับ จง
คํานวณหา DHof(CO2(g))
C2H5OH(l)+3O2 2CO2(g)+3H2O DHo=-1366.2 kJ/mol
DHo=SDHof(products)-SDHof(reactants)
-1366.2=[2DHof(CO2)+3DHof(H2O)]-[DHof(C2H5OH)+ 3DHof(O2)]
DHof(CO2) = -393.2 kJ/mol 91
กฎของเฮสส์ (Hess’s Law)
ในการเปลียนแปลงทางเคมีใดๆ ปฏิกิริยาความร้อนทีระบบได้ดูด
หรื อคายออกมาจะมีค่าคงทีเสมอ ไม่วา่ การเปลียนแปลงนันจะ
เกิดขึนโดยวิธีใดก็ตาม เช่น
A+B C+D
1. เมือปฏิกิริยาเกิดขึนเพียงขันเดียว A+B C+D DH1=x
2. เมือปฏิกิริยาเกิดขึนอย่างต่อเนืองหลายขันตอน
ขันที 1 A+B E+F DH2=y
ขันที 2 E+F C+D DH3=z
สมการรวม A+B C+D DH1=DH2+DH3 [x=y+z] 92
กฎของเฮสส์ (Hess’s Law)
A+B DH1 C+D
สารตังต้น สารผลิตภัณฑ์

DH2 DH3
E+F
สารประกอบทีเกิดระหว่างปฏิกิริยา

กฎของเฮสส์ใช้คาํ นวณหาพลังงานของปฏิกิริยาทีไม่สามารถ
ทดลองได้โดยตรง
93
กฎของเฮสส์ (Hess’s Law)

ตัวอย่ าง จงหาความร้อนของปฏิกิริยาต่อไปนี
SO2(g)+(1/2)O2(g) SO3(g)
กําหนดให้ S(s)+O2(g) SO2(g) DH1=-296.6 kJ/mol
S(s)+(3/2)O2(g) SO3(g) DH2=-395.4 kJ/mol
SO2(g) S(s)+O2(g) DH3=+296.6 kJ/mol
S(s)+(3/2)O2(g) SO3(g) DH2=-395.4 kJ/mol
SO2(g)+(1/2)O2(g) SO3(g) DH= DH3+ DH2=296.6+(-395.4)=-98.8kJ/mol
ความร้ อนของปฏิกริ ิยา = -98.8 kJ/mol 94
ThE End

95

You might also like