You are on page 1of 13

chem.

4 อะตอมและตารางธาตุ

อะตอมและตารางธาตุ
1. โครงสร้างอะตอม
นักปราชญ์ชาวกรีกชื่อ ดิโมเคตุส(Democritus) และลาซิปปุส (Leucippus) เชื่อว่าเมื่อย่อยสารลงเรื่อยๆ
จะได้ส่วนที่เล็กที่สุดซึ่งไม่สามารถทำให้เล็กลงกว่าเดิมได้อีก และเรียกอนุภาคที่เล็กที่สุดว่า “อะตอม” atom มา
จากภาษากรีกคำว่า atomos แปลว่า แบ่งแยกอีกไม่ได้
แนวคิดในการพัฒนาแบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมของดอลตัน
Dalton เสนอมโนภาพของแบบจำลองอะตอมว่า อะตอมมีลักษณะทรงกลมตัน มีขนาดเล็กมาก และไม่
สามารถแบ่งแยกได้อีก

แบบจำลองอะตอมของทอมสัน
โดย ค.ศ. 1897 (พ.ศ. 2440) Sir Joseph Jhon Thomson นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้ดัดแปลง
หลอดรังสีแคโทด

ไม่ว่าจะบรรจุ gas ชนิดใด หรือใช้โลหะชนิดใดมาทำขั้ว หลอดรังสี cathode จะให้รังสี cathode ที่


8
เป็นอนุภาคลบเหมือนกัน และทอมสันหาอัตราส่วนประจุต่อมวล (e / m) ของอนุภาค ได้ e / m = 1.759 x 10
คูลอมบ์ต่อกรัม

การทดลองของมิลลิแกน
F1 = F2
mg = Eq
q = (mg) / E

1
chem.4 อะตอมและตารางธาตุ
ค่า m และ E หาได้จากเครื่องมือที่ใช้ Millikan พบว่าประจุบนเม็ด น้ำมันมีค่าเป็นเลขจำนวนเต็มคูณด้วย 1.602
x 10-19 คูลอมบ์ (coulomb)

Millikan จึงนับค่าประจุไฟฟ้าของเม็ดน้ำมันที่น้อยสุดว่ามีค่า = 1x1.602x10- 19 คูลอมบ์ว่าเป็นประจุของ


เม็ดน้ำมันเมื่อมีอิเล็กตรอน 1 ตัว
เพราะฉะนั้น ประจุของอิเล็กตรอนมีค่า = 1.602 x 10-19 คูลอมบ์
Ccoulomb
1. จงหามวลของอิเล็กตรอน 1 โมล เมื่ออิเล็กตรอน 1 โมล จะมี 6.02 x 23 10 ตัว

2.ถ้ามีอิเล็กตรอน 4.8 x 21 10 คูลอมบ์ จะมีอิเล็กตรอนจำนวนเท่าใด

การทดลองของ Eugen Goldstrin (การค้นพบ Proton )


ในปี ค.ศ. 1889 (พ.ศ. 2429) Eugen Goldstrin นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ได้ดัดแปลงหลอดรังสี cathode

เมื่อทดลองหลายครั้งโดยเปลี่ยนชนิดของ gas ในหลอด พบว่าอนุภาคที่มีประจุบวกเหล่านี้มีอัตราส่วน


ประจุต่อมวลไม่คงที่ และจะขึ้นอยู่กับชนิดของ gas ที่บรรจุในหลอด
Thomson เสนอแบบจำลองอะตอมว่า อะตอมมีลักษณะเป็นทรงกลม ประกอบด้วยอนุภาคโปรตอนที่มี
ประจุบวกและอิเล็กตรอนที่มีประจุลบกระจายอยู่ทั่วไปอย่างสม่ำเสมอ

2
chem.4 อะตอมและตารางธาตุ
แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอรด์

จากการ
ทดลองรัเทอร์ฟอร์ดจึงเสนอแบบจำลองอะตอมประกอบไว้ว่า ด้วยนิวเคลียสที่มี
โปรตอนรวมกันอยู่ตรงกลาง นิวเคลียสมีขนาดเล็กแต่มีมวลมาก และมีประจุบวก ส่วนอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุลบและ
มีมวลน้อยมากวิ่งอยู่รอบ ๆนิวเคลียส

การค้นพบนิวตรอน
- ในปีค.ศ. 1930 (พ.ศ. 2473) W. Bothe และ H. Becker นักเคมีชาวเยอรมันได้ทดลองใช้อนุภาค
แอลฟายิงแผ่นโลหะแบริเลี่ยม (Be) ปรากฎว่าเกิดรังสีชนิดหนึ่งที่มีอำนาจทะลุผ่านได้ดี และรังสีนี้เมื่อชนกับ
โมเลกุลของพาราฟินจะได้ Proton ออกมา
- ในปี ค.ศ. 1932(พ.ศ. 2475) Jame Chadwick นักวิทยาศาสตร์อังกฤษได้เสนอว่ารังสีที่ชน
แผ่นพาราฟินจนได้ Proton ออกมาแสดงว่าอะตอมจะต้องประกอบไปด้วยอนุภาคมากกว่าโปรตอนและ
อิเล็กตรอน และตั้งชื่อให้อนุภาคใหม่ที่พบว่า neutronและยังได้พิสูจน์ว่าอนุภาค neutron ไม่มีประจุ และคำนวณ
ได้ว่า neutron มีมวลใกล้เคียงกับ Proton

อนุภาคมูลฐานของอะตอมและสัญลักษณ์นิวเคลียร์

อนุภาค สัญลักษณ์ มวล(g) มวล (amu) ประจุ ชนิดของประจุ


Proton p 1.6726 x 10-24 1.007277 1.6 x 10-19 +1
Electron e 9.1096 x 10-28 0.000549 0 -1
neutron n 1.6749 x 10-24 1.008665 1.6 x 10-19 0

3
chem.4 อะตอมและตารางธาตุ
สัญลักษณ์นิวเคลียร์
สัญลักษณ์นิวเคลียร์ คือสัญลักษณ์ของธาตุที่แสดงอนุภาคมูลฐานของอะตอม

A
Z𝑋
เมื่อ X แทนสัญลักษณ์ของธาตุ
Z แทนเลขอะตอม = จำนวนโปรตอน
A แทนเลขมวล = จำนวนโปรตอน + จำนวนนิวตรอน

เช่น 23
11𝑁𝑎 หมายความว่า Na คือสัญลักษณ์ธาตุโซเดียม
มีจำนวนโปรตอน(p) = 11 และมีจำนวนอิเล็กตรอน (e) = 11
มีจำนวนนิวตรอน (n) = 12

ปกติแล้ว อะตอมเป็นกลางทางไฟฟ้า เนื่องจากมีจำนวนโปรตอนเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอน(บวกเท่ากับลบ)


แต่ถ้าจำนวนของอิเล็กตรอนในอะตอมเปลี่ยนแปลง อะตอมนั้นจะเปลี่ยนเป็นอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าบวกหรือลบ
เรียกว่า ไอออน (ion)
ไอออนแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ ไอออนบวก (Cation) และไอออนลบ (Anion)
40 2+
20𝐶𝑎
อะตอมของธาตุแคลเซียม (Ca2+)
มีจำนวนโปรตอน =20 อนุภาค
แคลเซียม +2 หมายถึง มีอิเล็กตรอนน้อยกว่าโปรตอน 2 อนุภาค
อิเล็กตรอน =20 - 2 = 18 อนุภาค
และนิวตรอน =40 - 20 = 20 อนุภาค
16 2−
8𝑂
อะตอมของธาตุออกซิเจน (O)
มีจำนวนโปรตอน = 8 อนุภาค
ออกซิเจน -2 หมายถึง มีอิเล็กตรอนมากกว่าโปรตอน 2 อนุภาค
อิเล็กตรอน =8 + 2 = 10 อนุภาค
และนิวตรอน =16 - 8 = 8 อนุภาค

4
chem.4 อะตอมและตารางธาตุ
3. จงเติมข้อความลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
ธาตุ เลขมวล เลขอะตอม โปรตอน อิเล็กตรอน นิวตรอน สัญลักษณ์
นิวเคลียร์
N 14 7
Li 3 4
K 39 19
Co 27 33
P 31 15
I 127 53
𝑀𝑔2+ 12 12
𝑆 2− 32 16
𝐵𝑎2+ 54 81
𝐵𝑟 − 36 45

4. ธาตุ 𝑋 2+ มีอิเล็กตรอน 18 อนุภาค


4.1 ธาตุ X มีโปรตอนอนุภาค...............................
4.2 ถ้าธาตุ X นิวตรอน 20 อนุภาค สัญลักษณ์นิวเคลียร์คือ................................

5. ถ้าดึงโปรตอนออกจาก 27 13Al จำนวน 2 ตัว และดึงอิเล็กตรอนออก 3 ตัว จงเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ


ที่ได้ โดยกำหนดสัญลักษณ์เป็น X …………………………………
6. เมื่อเติมโปรตอนเข้าไปในนิวเคลียสของ 2713𝑀𝑔 จำนวน 3 อนุภาค แล้วเติมอิเล็กตรอนเข้าไป 6 อนุภาค จง
เขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุที่ได้ โดยกำหนดสัญลักษณ์เป็น Y …………………………………

ไอโซโทป ไอโซโทนและ ไอโซบาร์


ไอโซโทป (Isotope) คือธาตุที่มีเลขอะตอมเหมือนกัน แต่มีเลขมวลต่างกัน หรือธาตุที่มีจำนวน Proton
เท่ากัน
1 2 3
แต่มีจำนวน neutron ต่างกัน เช่น 1 H (โปรเทียม, สัญลักษณ์ H) 1 H (ดิวทีเรียม, สัญลักษณ์ D) 1 H (ทริเทียม,
สัญลักษณ์ T)

ไอโซโทน (Isotone) คือธาตุต่างชนิดกันที่มีจำนวน neutron (n) เท่ากัน เช่น 39 40


19𝐾 และ 20𝐶𝑎
ไอโซบาร์ (Isobar) คือธาตุต่างๆชนิดกันแต่มีเลขมวลเท่ากัน เช่น 146𝐶 และ 147𝑁

5
chem.4 อะตอมและตารางธาตุ
7.จงเลือกสัญลักษณ์นิวเคลียร์ต่อไปนี้ให้สัมพันธ์กัน
4 5 12 14 14 15
2𝐴 2𝐴 5𝐵 7𝐶 8𝐷 8𝐷
7.1 ธาตุใดเป็นไอโซโทปกัน .................................................................................
7.2 ธาตุใดเป็นไอโซโทนกัน........................................................................................
7.3 ธาตุใดเป็นไอโซบาร์กัน......................................................................... ...............

8. X และ Y เป็นอะตอมของธาตุซึ่งเป็นไอโซโทปกัน ถ้า X มีจำนวนนิวตรอนในนิวเคลียสเท่ากับ b และ Y มี


จำนวนอิเล็กตรอนเท่ากับ a กับมีเลขมวลเท่ากับ c เลขมวลของ X และจำนวนนิวตรอน ของ Y มีค่าเท่ากับ
1. a + b และ c – a 2. a + b และ a – c
3. a + b และ a + c 4. a + b และ a + c

คลื่นและสมบัติของแสง
คลื่นชนิดต่าง ๆ เช่น คลื่นแสง คลื่นเสียง มีสมบัติสำคัญ ประการ คือ ความยาวคลื่นและความถี่ 2

คลื่นแสงเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่และความยาวคลื่นต่าง ๆ กัน ดังรูปต่อไปนี้

“แสงที่มองเห็นได้” (visible light) ซึ่งมีความยาวคลื่นอยู่ในช่วง 400 – 700 nm ส่องมาจากดวงอาทิตย์


ได้ แต่ไม่สามารถแยกเป็นสีต่าง ๆ จึงมองเห็นเป็นสีรวมกันซึ่งเรียกว่า “แสงขาว”

6
chem.4 อะตอมและตารางธาตุ
สเปกตรัมของแสงขาวเกิดจากการที่เมื่อแสงซึ่งมีความยาวคลื่นต่าง ๆ กันผ่านไปยังปริซึม แสงจะหักเหได้
ไม่เท่ากัน เกิดเป็นแถบสีรุ้งต่อเนื่องกัน โดยมีความยาวคลื่นในช่วงต่าง ๆ ดังนี้

สเปกตรัม ความยาวคลื่น (nm) พลังงาน (kJ)


แสงสีม่วง 400 – 420 4.96 x 10–22 – 4.73 x 10–22
แสงสีคราม–น้ำเงิน 420 – 490 4.73 x 10–22 – 4.05 x 10–22
แสงสีเขียว 490 – 580 4.05 x 10–22 – 3.42 x 10–22
แสงสีเหลือง 580 – 590 3.42 x 10–22 – 3.36 x 10–22
แสงสีแสด (ส้ม) 590 –650 3.36 x 10–22 – 3.05 x 10–22
แสงสีแดง 650 – 700 3.05 x 10–22 – 2.83 x 10–22

ความยาวคลื่น หมายถึงระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ มีหน่วยเป็นเมตร (m) และนาโนเมตร


(nm)
ความถี่ของคลื่น หมายถึงจำนวนรอบของคลื่นที่เคลื่อนที่ผ่านจุดใดจุดหนึ่งในเวลา 1 วินาที มีหน่วยเป็น
รอบต่อวินาที (s–1) หรือเรียกชื่อเฉพาะว่า “เฮิรตซ์” (Hz)

ความยาวคลื่นและความถี่ มีความสัมพันธ์กันดังนี้
c = 
𝐶
= …………………………… (1)

c คือความเร็วของแสงในสุญญากาศ = 3.0 x 108 m/s

ในปี ค.ศ. 1900 มักซ์ พลังค์ (Max Plank)ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ากับความถี่


ของคลื่นนั้นว่า “พลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับความถี่ของคลื่น”
E∝

E = h ……………………………(2)
เมื่อ E คือพลังงาน มีหน่วยเป็นจูล (J)
h คือค่าคงที่ของพลังค์ มีค่าเท่ากับ 6.626 x 10-34 จูลวินาที (Js)
 คือความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีหน่วยเป็นเฮิรตซ์ (Hz) หรือ s–1
แต่จากแทนค่าในสมการ (1)
ℎ𝑐
ได้ความสัมพันธ์เป็น E=

7
chem.4 อะตอมและตารางธาตุ
9. จงหาความถี่ และพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่น 450 nm

10. จากสเปกตรัมของแสงต่อไปนี้ จงเรียงลำดับพลังงานของสันสเปกตรัมจากมากไปหาน้อย


ก. เส้นสเปกตรัมที่มีความยาวคลื่น 650 นาโนเมตร
ข. เส้นสเปกตรัมที่มีความถี่ 5.45 x 1014 เฮิร์ตซ์
ค. เส้นสเปกตรัมสีน้ำเงิน

11. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่ 6.0 x 1014 Hz อยู่ในช่วงที่ตาเราสามารถสังเกตได้หรือไม่

สเปกตรัมของธาตุ
เมื่อเราผ่านแสงขาวหรือแสงอื่นๆเข้าไปในปริซึมจะได้แถบสีแยกออกมาเรียงกันตามค่าความยาวคลื่น
เรียกว่าสเปกตรัม แบ่งเป็น 2 ประเภท
1.สเปกตรัมแบบต่อเนื่อง เกิดกับแสงที่มีความถี่หรือความยาวคลื่นต่อเนื่องจนมองเห็นเป้นแถบ
เช่นแสงขาว จะเป็นแถบสีรุ้ง โดยมีสีม่วงสีม่วงหักเหมากที่สุด พลังงานมากที่สุด
2. สเปกตรัมไม่ต่อเนื่องหรือแบบเส้น เกิดกับแสงที่มีสเปกตรัมที่มีความยาวคลื่นหรือความถี่เป็น
ช่วงๆ ทำให้มองเห็นเป็นเส้นไม่ต่อเนื่อง

8
chem.4 อะตอมและตารางธาตุ
ตารางแสดงสีของเปลวที่เกิดจากการเผาสารประกอบ
สารประกอบ ตัวอย่าง สีของเปลวไฟ
ลิเทียม LiCl , LiNO3 , Li2CO3 สีแดง
โซเดียม NaCl , Na2SO4 , Na2CO3 สีเหลือง
โพแทสเซียม KCl , K2SO4 , KNO3 สีม่วง
รูบิเดียม RbCl , Rb2SO4 , RbNO3 สีแดงเข้ม
ซีเซียม CsCl , Cs2SO4 , CsNO3 สีฟ้า
แคลเซียม CaCl2 , CaSO4 , Ca(NO3)2 สีแดงอิฐ
แบเรียม BaCl2 , BaSO4 , Ba(NO3)2 สีเขียวแกมเหลือง
ทองแดง CuCl2 , CuSO4 , Cu(NO3)2 สีเขียว

แบบจำลองอะตอมของโบร์
นีลล์ โบร์ ได้อธิบายการเกิดสเปกตรัมของไฮโดรเจน

สเปกตรัมของไฮโดรเจนเกิดจากการเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอน จากสถานะกระตุ้นมายังสถานะ
ต่ำกว่า หรือสถานะพื้น จะแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมา อาจเห็นเป็นเส้นสว่างที่ไม่ต่อเนื่อง และอาจมีความถี่อื่นๆ
อีกที่ตามองไม่เห็น
จากการเกิดสเปกตรัมของไฮโดรเจนทำให้โบร์สรุปเป็นแบบจำลองได้ว่า
1. อิเล็กตรอนจะอยู่กันเป็นชั้น ๆ แต่ละชั้นเรียกว่า “ระดับพลังงาน”
2. อิเล็กตรอนที่อยู่ในระดับพลังงานวงนอกสุดเรียกว่า เวเลนซ์อิเลคตรอน )Valent electron)จะเป็น
อิเล็กตรอนที่เกิดปฏิกิริยาต่าง ๆ ได้
3. อิเล็กตรอนที่อยู่ในระดับพลังงานวงในอยู่ใกล้นิวเคลียส จะเสถียรมากเพราะประจุบวกจากนิวเคลียส
ดึงดูดไว้อย่างดี ส่วนอิเล็กตรอนระดับพลังงานวงนอจะไม่เสถียรเพราะนิวเคลียสส่งแรงไปดึงดูดได้น้อยมาก
4. ระดับการพลังงานวงในจะอยู่ห่างกันมาก ส่วนระดับพลังงานวงนอกจะอยู่ชิดกันมาก

9
chem.4 อะตอมและตารางธาตุ
5. การเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอน ไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนใน
ระดับถัดกัน อาจเปลี่ยนข้ามระดับพลังงานกันก็ได้

แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก

อิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสอย่างรวดเร็วตลอดเวลาด้วย
ความเร็วสูง ด้วยรัศมีไม่แน่นอนจึงไม่สามารถบอกตำแหน่งที่แน่นอนของ
อิเล็กตรอนได้บอกได้แต่เพียงโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนในบริเวณต่างๆ
ปรากฏการณ์แบบนี้นี้เรียกว่ากลุ่มหมอกของอิเล็กตรอน บริเวณที่มีกลุ่ม
หมอกอิเล็กตรอนหนาแน่น จะมีโอกาสพบอิเล็กตรอนมากกว่าบริเวณที่เป็น
หมอกจาง

2. การจัดเรียงอิเล็กตรอน
การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก (shell)
จำนวนของอิเล็กตรอนสูงสุดในแต่ละระดับพลังงานมีได้เป็น จำนวนไม่เกิน 2n2 เมื่อ n แทน ระดับ
พลังงาน เช่น
n = 1 คือระดับพลังงานที่อยู่ใกล้นิวเคลียสที่สุด จำนวนอิเล็กตรอนที่มีได้สูงสุด 2x12 = 2
n = 2 คือระดับพลังงานที่ 2 จำนวนอิเล็กตรอนที่มีได้สูงสุด 2x22 = 8
ชั้น K L M N O P Q
ระดับพลังงาน 1 2 3 4 5 6 7
จำนวนอิเล็กตรอนที่มีได้สูงสุด 2 8 18 32 50 72 98
2n2

หลักการจัดเรียงอิเล็กตรอน
1.จะต้องจัดเรียงอิเล็กตรอนเข้าในระดับพลังงานต่ำสุดให้เต็มก่อน จึงจัดให้อยู่ระดับพลังงานถัดไป
2.เวเลนซ์อิเล็กตรอนจะเกิน 8 ไม่ได้
3. จำนวนอิเล็กตรอนในระดับพลังงานถัดเข้าไปของธาตุในหมู่ IA , IIA เท่ากับ 8 ส่วนหมู่ IIIA – VIIIA
เท่ากับ 18

10
chem.4 อะตอมและตารางธาตุ
12. จงจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมต่อไปนี้
1. 115𝐵 ........................................................................................
32
2. 16𝑆 ........................................................................................
39
3. 19𝐾 ........................................................................................
80
4. 35𝐵𝑟 ........................................................................................
88
5. 38𝑆𝑟 ........................................................................................
122
6. 51𝑆𝑏 ........................................................................................
7. 133
55𝐶𝑠 ........................................................................................
209
8. 84𝑃𝑜 ........................................................................................

การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย (sub shell)


ระดับพลังงานย่อยมี 4 ระดับ คือ s, p, d, f โดย
s มีอิเล็กตรอนสูงสุดไม่เกิน 2
p มีอิเล็กตรอนสูงสุดไม่เกิน 6
dมีอิเล็กตรอนสูงสุดไม่เกิน 10
f มีอิเล็กตรอนสูงสุดไม่เกิน14

การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับออร์บิทัล (orbital)
ใน 1 ออร์บิทัลมีอิเล็กตรอนสูงสุดไม่เกิน 2 ตัว ออร์บิทัล สัญลัษณ์ที่ใช้แทนคือ หรือ

11
chem.4 อะตอมและตารางธาตุ
ตารางแสดงจำนวนออร์บิทัล และจำนวนอิเล็กตรอนสูงสุดในแต่ละออร์บิทัล

ระดับพลังงาน จำนวนออร์บิทัล จำนวนอิเล็กตรอนแต่ละออร์ จำนวนอิเล็กตรอนรวม


ย่อย บิทัล
s 1 2 2
p 3 2 6
d 5 2 10
f 7 2 14

12
chem.4 อะตอมและตารางธาตุ

13. จงจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมต่อไปนี้

ธาตุ การจัดเรียงอิเล็กตรอน
subshell
22Ti orbital

subshell
24Cr orbital

subshell
29Cu orbital

subshell
37Rb orbital

subshell
47 Ag orbital

subshell
55Cs orbital

13

You might also like