You are on page 1of 181

บทที่ 12

ความร้อน ปรั บ ปรุ ง ล่ า สุ ด 5 พ.ค. 65

Part 1 ความร้อนกับอุณหภูมิและสถานะของสสาร 1
Part 2 กลไกการถ่ายโอนความร้อน 160

หากพบจุดที่สงสัยว่าจะพิมพ์ผิด โปรดแจ้งมาที่เพจ Tonsonphysics


เพื่อให้ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร

จัดทำเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้งานต่อในเชิงพาณิชย์
หากพบการซื้อขายเอกสารชุดนี้ โปรดแจ้งที่ Facebook page: Tonsonphysics
รวมข้อสอบ ม.ปลาย
อุณหภูมิและความร้อน Part 1

อุณหภูมิ
แนวที่ ๑ : แนวคิดเกี่ยวกับการวัดอุณหภูมิ

1. (O-Net ม.3 2561) เทอร์โมมิเตอร์อันหนึ่งถูกแบ่งสเกลเป็น 5 ช่องเท่ากัน


โดยให้ ขีด 0 ตรงกับอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส
ขีด 5 ตรงกับอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส
เมื่อใช้เทอร์โมมิเตอร์นี้วัดอุณหภูมิของอากาศในห้อง A พบว่า ลำปรอทสูงขึ้นถึงขีด 2 พอดี ดังภาพที่ 1
จากนั้น นำไปวัดอุณหภูมิของอากาศในห้อง B พบว่า ลำปรอทค่อยๆ ต่ำลง จนกระทั่งหยุดนิ่งที่ขีด 1
พอดี ดังภาพที่ 2

อากาศในห้อง A และ B มีอุณหภูมิต่างกันเท่าใด และเพราะเหตุใด ขณะวัดอุณหภูมิของอากาศในห้อง B


ลำปรอทจึงค่อยๆ ลดต่ำลง
ก. 1 องศาเซลเซียส และ ความร้อนจากปรอทถูกถ่ายโอนสู่อากาศภายนอก
ข. 1 องศาเซลเซียส และ ความเย็นจากอากาศภายนอกถูกถ่ายโอนสู่ปรอท
ค. 20 องศาเซลเซียส และ ความร้อนจากปรอทถูกถ่ายโอนสู่อากาศภายนอก
ง. 20 องศาเซลเซียส และ ความเย็นจากอากาศภายนอกถูกถ่ายโอนสู่ปรอท

1
2. (O-Net ม.3 2563) จัดชุดการทดลองโดยใส่ของเหลวอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ในขวดแก้วอุณหภูมิ
25 องศาเซลเซียส ที่มีหลอดแก้วใสและเทอร์โมมิเตอร์เสียบเอาไว้ แล้วนำขวดแก้วจุ่มในน้ำร้อน
อุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียส ดังภาพ

บันทึกเวลาและระดับความสูงของของเหลวในหลอดแก้ว เมื่อของเหลวในขวดแก้วมีอุณหภูมิ 50 องศา


เซลเซียส จากนั้นทดลองซ้ำโดยเปลี่ยนชนิดของของเหลว ผลเป็นดังตาราง

เวลาที่ที่ทำให้ของเหลวในขวด ความสูงของของเหลวในหลอดแก้วที่
ของเหลว
แก้วมีอุณหภูมิ 50 C ( min ) อุณหภูมิ 50 C ( cm )
A .3. .5.
B .3. . 10 .
C .5. .5.
D .5. . 10 .

จากข้อมูล ถ้าต้องเลือกของเหลวที่ไวต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและขยายตัวได้มากเพื่อไปทำ
เทอร์โมมิเตอร์ ควรเลือกของเหลวชนิดใด
ก. ของเหลว A ข. ของเหลว B
ค. ของเหลว C ง. ของเหลว D

2
แนวที่ ๒ : เปลี่ยนหน่วยอุณหภูมิ

3. (PAT3 ต.ค. 59) หากต้องการอบขนมที่อุณหภูมิ 250 C แต่ปุ่มปรับอุณหภูมิที่เตาอบมีหน่วยเป็น F


จะต้องตั้งอุณหภูมิไปที่ใด
ก. 70 F ข. 218 F
ค. 482 F ง. 523 F
จ. 790 F

4. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 54) อุณหภูมิ −40 F เทียบเท่ากับอุณหภูมิเท่าใดในหน่วยเคลวิน


ก. −40 K ข. 303 K ค. 313 K ง. 233 K

5. (สอวน. ม.4 ส.ค. 54, สอวน. ก.ย. 43)

3
6. สถานที่ ก มีอุณหภูมิ 40 องศาฟาเรนไฮต์ สถานที่ ข มีอุณหภูมิ 85 องศาเซลเซียส สองสถานที่นี้มี
อุณหภูมิต่างกันกี่องศาเซลเซียส

7. (สอวน. ม.5 ก.ย. 47) 1 ( C ) เป็นกี่เท่าของ 1 ( F)


−1 −1

4
8. (สอวน. ม.4 ก.ย. 46) วัตถุหนึ่งมีอุณหภูมิเมื่ออ่านเป็นองศาเซลเซียส (Celsius) ได้ x C และเมื่อผ่าน
เป็นองศาฟาเรนไฮต์ (Fahrenheit) ได้ 10 x F จงหาค่าของ x

1
9. (สอวน. ม.4 ก.ย. 47) อุณหภูมิห้องหนึ่งเมื่ออ่านเป็น C ได้เป็นตัวเลขเป็น ของค่าเมื่ออ่านเป็น
100
F อุณหภูมิห้องมีค่ากี่ C

10. (พสวท. ม.ต้น) การเดินทางไปทัศนศึกษาที่ประเทศ ก เมื่อถึงที่พักที่เมือง ข ซึ่งมีอุณหภูมิ −10 องศา


เซลเซียส วันรุ่งขึ้นเดินทางไปเมือง ค มีอุณหภูมิ 5 องศาฟาเรนไฮต์ เมืองทั้งสองมีอุณหภูมิต่างกันอย่างไร
ก. เมือง ข มีอุณหภูมิสูงกว่าเมือง ค 15 องศาเซลเซียส
ข. เมือง ข มีอุณหภูมิสูงกว่าเมือง ค 5 องศาเซลเซียส
ค. เมือง ค มีอุณหภูมิสูงกว่าเมือง ข 15 องศาเซลเซียส
ง. เมือง ค มีอุณหภูมิสูงกว่าเมือง ข 5 องศาเซลเซียส

11. (สอวน. ม.5 ก.ย. 46) กำหนดให้ y เป็นอุณหภูมิในหน่วยองศาฟาเรนไฮท์ (Fahrenheit) และ x เป็น
d
อุณหภูมินี้ในหน่วยองศาเซลเซียส (Celsius) จงหาค่าของ y
dx

5
แนวที่ ๓ : เทอร์โมมิเตอร์ทำเอง

12. (สอวน. ม.4 ส.ค. 50) เราอาจสร้างเทอร์โมมิเตอร์ปรอทได้โดยใส่ปรอทในกระเปาะของหลอดแก้วที่มีท่อ


เป็นลำสม่ำเสมอตรงยาวยื่นออกมาจากกระเปาะ เราใช้ความยาวของลำปรอทในท่อบอกอุณหภูมิได้
เทอร์โมมิเตอร์ปรอทอันหนึ่งมีความยาวลำปรอท 30 mm ที่จุดน้ำแข็ง ( 273 K ) และมีความยาว
280 mm ที่จุดน้ำเดือด ( 373 K ) ถ้าที่อุณหภูมิหนึ่งลำปรอทยาว 230 mm ขณะนั้นเทอร์โมมิเตอร์นี้
อ่านอุณหภูมิได้เท่าใด (ในหน่วย K )

6
13. (สอวน. ก.พ. 65) นาย A สร้างเทอร์มอมิเตอร์ที่มีสเกลอุณหภูมิเป็นของตัวเองคือ A โดยการกำหนดจุด
น้ำแข็งเป็น −10 A และจุดน้ำเดือดเป็น 150 A เทอร์มอมิเตอร์นี้จะอ่านอุณหภูมิ 25 C เป็นกี่ A
ก. 30 ข. 35 ค. 40 ง. 50

14. (สอวน. ม.4 ก.ย. 47) พิจารณาเทอร์โมมิเตอร์ A กับ B ซึง่


อ่านอุณหภูมิเป็น A และ B ตามลำดับ ถ้า A อ่าน
อุณหภูมิได้ 100 A B จะอ่านอุณหภูมิห้องได้กี่ B

7
15. (IJSO รอบที่ 2 ส.ค. 49)

8
16. (สอวน. ม.4 ส.ค. 53) ประชาชนชาวเมามายสร้างสเกลอุณหภูมิจากอุณหภูมิที่เอทิลแอลกอฮอล์เดือดและ
แข็งตัว ซึ่งมีค่า 78 C และ −114 C ตามลำดับ ประชาชนชาวเมามายมีนิ้วข้างละหกนิ้ว (จึงใช้เลข
ฐาน 12 ทำให้เลข "100" ของเขาตรงกับเลข 144 ในระบบเลขฐาน 10 ของเรา) ด้วยเหตุผลนี้ชาวเมา
มายจึงแบ่งสเกลอุณหภูมิในหน่วย X ของเขาให้มี 144 X ระหว่างจุดเยือกแข็งและจุดเดือดของ
เอทิลแอลกอฮอล์ โดยให้จุดที่ 0 X อยู่ที่จุดเยือกแข็ง จงหาว่า 100 X จะมีค่าเท่ากับกี่ C

9
แนวที่ ๔ : แนวคิดเกี่ยวกับสมดุลความร้อน

17. (มข. 2555) จากกฎข้อที่ศูนย์ของเทอร์โมไดนามิกส์กล่าวว่า “ถ้าวัตถุ A และ B อยู่ในสมดุลความร้อนต่อ


วัตถุ C แล้ววัตถุ A จะอยู่ในสมดุลความร้อนต่อวัตถุ B ด้วย” คำว่า สมดุลทางความร้อน หมายถึง อะไร
ก. มีปริมาณความร้อนเท่ากัน
ข. มีความจุความร้อนเท่ากัน
ค. มีความจุความร้อนจำเพาะเท่ากัน
ง. มีระดับความร้อนเท่ากัน

10
ความร้อน
แนวที่ ๑ : กราฟการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร

18. (มข. 2559) ให้กำลังความร้อนขนาด 0.01 วัตต์ แก่สารหนัก 0.010 กิโลกรัม แล้ววัดอุณหภูมิของสารที่
เวลาต่างๆ ได้ผลดังกราฟ ข้อใดไม่ถูกต้อง

ก. ช่วง AB สารเป็นสารแข็ง และช่วง EF สารเป็นแก๊ส


ข. ช่วง AB สารมีการหลอมเหลว
ค. ช่วง BC และ DE มีการเปลี่ยนสถานะ
ง. ช่วง EF สารกลายเป็นไอหมดแล้ว

11
19. (TEDET ม.1 2557) จากกราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิกับเวลา เมื่อให้ความร้อนแก่ของแข็ง
ชนิดหนึ่งแล้วทำให้เย็นลง

ข้อใดอธิบายไม่ถูกต้อง
ก. ช่วง (C) มีการเปลี่ยนแปลงสถานะ
ข. จากกราฟนี้ ไม่สามารถทราบประเภทของสารได้
ค. จุดหลอมเหลวและจุดเยือกแข็งสารนี้เท่ากับ 0 C
ง. ช่วง (C) คือช่วงที่สารคงสถานะทั้งของแข็งและของเหลว
จ. เนื่องจากความร้อนที่เพิ่มขึ้นใช้ในการเปลี่ยนสถานะ จึงทำให้อุณหภูมิช่วง (B) ไม่เปลี่ยนแปลง

12
แนวที่ ๒ : ความร้อนกับการเปลี่ยนอุณหภูมิของสสาร

20. (มช. 2556) ของเหลว A มีความร้อนจำเพาะ 6 กิโลจูล/กิโลกรัม-เคลวิน และโลหะ B มีความร้อน


จำเพาะ 3 กิโลจูล/กิโลกรัม-เคลวิน ข้อความใดถูกต้อง
ก. ถ้าต้องการให้ A มวล 0.5 กิโลกรัม มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 C ต้องใช้ปริมาณความร้อน 12 กิโลจูล
ข. หากทำให้ A และ B ซึ่งมีมวลเท่ากันร้อนขึ้น 1 C ต้องให้ความร้อนกับ A มากกว่า B
ค. A และ B มีอุณหภูมิเท่ากัน ถ้าใส่ B มวล 1 กิโลกรัม ลงไปใน A มวล 2 กิโลกรัม A จะคายความร้อน
ให้ B
ง. A และ B มีมวลเท่ากัน ถ้าต้องการให้ A ลดอุณหภูมิจาก 50 C เป็น 30 C และ B ลดอุณหภูมิจาก
80 C เป็น 60 C B ต้องคายความร้อนออกมามากกว่า A

13
21. (Ent 29) นำกระดาษมาพับเป็นรูปถ้วย เติมน้ำเย็น 4 องศาเซลเซียส ลงไป 100 มิลลิลิตร แล้วใช้เปลว
เทียนลนก้นถ้วยกระดาษนั้น จนกระทั่งอุณหภูมิเพิ่มขึ้นเป็น 9 องศาเซลเซียส พลังงานความร้อนที่เปลว
เทียนถ่ายเทให้มีค่าเท่าใด
กำหนดความจุความร้อนจำเพาะของน้ำ = 4.18 กิโลจูลต่อน้ำ 1 กิโลกรัมต่อ 1 เคลวิน
ก. 2.09 จูล
ข. 2.09 103 จูล
ค. 2.09 106 จูล
ง. คำนวณไม่ได้เพราะถ้วยกระดาษไหม้ไฟเสียก่อน

22. (พสวท. ม.ต้น) เหล็กแท่งหนึ่งมีมวล 5, 000 g อุณหภูมิ 50 C นำไปแช่น้ำจนอุณหภูมิลดลงเป็น


30 C เหล็กจะคายพลังงานความร้อนกี่จูล (ความจุความร้อนจำเพาะของเหล็ก 0.115 cal/g  C และ
พลังงาน 1 cal = 4.2 จูล)
ก. 11,500 ข. 17, 250 ค. 28, 750 ง. 48,300

14
23. (Ent มี.ค. 45) จงหาว่าต้องให้ความร้อนด้วยกำลังเฉลี่ยกี่วัตต์ จึงจะทำให้โลหะมวล 1 กิโลกรัม มีอุณหภูมิ
สูงขึ้น 60 องศาเซลเซียส ในเวลา 5 นาที กำหนดให้ความจุความร้อนจำเพาะของโลหะนั้นเท่ากับ 400
จูลต่อกิโลกรัม เคลวิน

24. (PAT3 ต.ค. 53) ต้มน้ำเริ่มต้นจากอุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส มวล 1 กิโลกรัม ถ้าน้ำรับความร้อนจาก


หม้อต้มได้ 50% จะต้องใช้เวลานาน 3 นาที 30 วินาที จนกว่าน้ำจะมีอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส ถ้า
ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำมีค่า 4, 200 จูล/กิโลกรัม-เคลวิน หม้อต้มน้ำมีอัตราการให้ความร้อนกี่
วัตต์

15
25. (PAT3 มี.ค. 56) แท่งเหล็กทรงกระบอกตันขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 เซนติเมตร ยาว 7 เซนติเมตร
ถูกให้ความร้อนปริมาณ 750 กิโลจูล จงหาว่าแท่งเหล็กจะมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นกี่องศาเซลเซียส โดย
กำหนดให้ ค่าความจุความร้อนจำเพาะของเหล็กเท่ากับ 450 กิโลจูลต่อกิโลกรัม-องศาเซลเซียส และ
เหล็กมีความหนาแน่นเท่ากับ 7,500 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
ก. 10.10 องศาเซลเซียส ข. 15.15 องศาเซลเซียส
ค. 20.20 องศาเซลเซียส ง. 25.25 องศาเซลเซียส
จ. 30.30 องศาเซลเซียส

16
26. (พื้นฐานวิศวะ ต.ค. 44) โรงไฟฟ้าต้องการระบายความร้อนทิ้งในอัตรา 4, 000 kJ/s โดยใช้น้ำจากสระ
เป็นตัวรับความร้อนผ่านอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน ซึ่งมีประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนความร้อน
80% จงหาว่า ถ้าน้ำในสระมีอุณหภูมิเริ่มต้น 20 C และสระมีปริมาตร 1,000 m3 ภายในเวลา 1 ชม.
น้ำในสระจะมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นกี่องศาเซลเซียส (ค่าความจุความร้อนจำเพาะของน้ำ 4 kJ/kg  K
ประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนความร้อนคืออัตราส่วนระหว่างปริมาณความร้อนที่ถ่ายเทจริงต่อปริมาณ
ความร้อนสูงสุด)
ก. 3.6 ข. 11.52 ค. 2.9 ง. 4.5

27. (PAT3 ต.ค. 55) หม้อต้มน้ำไฟฟ้าสามารถถ่ายโอนความร้อนสู่น้ำ 800 วัตต์ ถ้าต้องการต้มน้ำปริมาณ 5


ลิตร จากอุณหภูมิน้ำก่อนต้ม 25 องศาเซลเซียส อุณหภูมิน้ำหลังต้มเป็นเวลา 50 วินาที จะเป็นกี่องศา
เซลเซียส กำหนดให้ ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำคือ 4 กิโลจูลต่อกิโลกรัมต่อเคลวิน และ ความ
หนาแน่นของน้ำคือ 1, 000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร

17
28. (PAT3 ก.พ. 61) น้ำ 120 kg มีอุณหภูมิน้ำเริ่มต้นเท่ากับ 15 C ถูกต้มในหม้อต้มน้ำที่ใช้เชื้อเพลิงจาก
ไม้ยางพารา 5 kg ระหว่างกระบวนการต้มน้ำมีความร้อนสูญเสียให้กับสิ่งแวดล้อม 58% ของความร้อน
ที่ได้รับจากเชื้อเพลิง อยากทราบว่าอุณหภูมิสุดท้ายของน้ำในหม้อต้มเป็นกี่ C
กำหนดให้ค่าความจุความร้อนจำเพาะของน้ำเท่ากับ 4.2 kJ  kg−1  K −1 และค่าความร้อนของไม้
ยางพาราเป็น 19, 200 kJ  kg−1

29. (พื้นฐานวิศวะ ต.ค. 49) น้ำ 10 กิโลกรัม ถูกต้มบนเตาถ่านที่มีถ่านจำนวน 5 กิโลกรัม เป็นเชื้อเพลิง


ระหว่างกระบวนการต้มน้ำมีความร้อน 25% สูญเสียให้กับสิ่งแวดล้อม อยากทราบว่าอุณหภูมิสุดท้าย
ของน้ำในหม้อต้มเป็นกี่องศาเซลเซียส กำหนดให้ค่าความจุความร้อนจำเพาะของน้ำ = 4.2 kJ/kg  C
ถ้าถ่านหินสามารถให้ความร้อนได้กิโลกรัมละ 840 กิโลจูล และอุณหภูมิน้ำเริ่มต้นเท่ากับ 20 องศา
เซลเซียส

18
30. (PAT3 มี.ค. 58) ถ้าให้ความร้อน 12, 600 J กับปรอท 2.0 กิโลกรัม ซึ่งทำให้ปรอทมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น
เป็น 75 องศาเซลเซียส จงหาอุณหภูมิของปรอทก่อนให้ความร้อนเป็นกี่องศาเซลเซียส
ถ้าความจุความร้อนจำเพาะของปรอทเท่ากับ 0.14 จูลต่อกรัม-เคลวิน
ก. 30 ข. 40 ค. 45 ง. 50 จ. 55

31. (IJSO รอบที่ 1 มี.ค. 51) ต้องการเพิ่มอุณหภูมิน้ำ 500 กรัม จากอุณหภูมิ 25.0 C ให้มีอุณหภูมิ
90.0 C โดยใช้ขดลวดความร้อนขนาด 500 W ถ้าพลังงานจากขดลวดความร้อนให้กับน้ำหมดเลยโดย
ไม่มีการสูญเสียไปที่อื่น จะต้องใช้เวลาประมาณเท่าใด กำหนดว่าความร้อนจำเพาะของน้ำมีค่าเท่ากับ
1.0 แคลอรีต่อกรัมต่อเซลเซียส และ 1.0 แคลอรีมีค่าเท่ากับ 4.186 J
ก. 270 วินาที ข. 300 วินาที ค. 330 วินาที ง. 360 วินาที

19
32. (PAT3 ก.ค. 53) หม้อต้มน้ำให้พลังงานความร้อนอัตรา 1,100 วัตต์ ต้มน้ำปริมาตร 2 ลิตร ที่อุณหภูมิ
25 องศาเซลเซียส ถ้าน้ำสามารถรับความร้อนได้ 70% ของความร้อนที่ให้จนกระทั่งมีอุณหภูมิ 80
องศาเซลเซียส จงหาว่าต้องใช้เวลากี่นาที
(กำหนดให้ ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำมีค่า 4, 200 จูล/กิโลกรัม-เคลวิน)

33. (Ent เม.ย. 41) ถ้าใช้หม้อต้มน้ำไฟฟ้าขนาด 220 โวลต์ 1, 000 วัตต์ ต้มน้ำ 1 ลิตร อุณหภูมิ 20 องศา
เซลเซียส น้ำจะเริ่มเดือดภายในเวลากี่นาที ถ้าการต้มน้ำมีประสิทธิภาพร้อยละ 80 (ความจุความร้อน
จำเพาะของน้ำ = 4.2 kJ/kg  K )
ก. 7 นาที ข. 9 นาที ค. 12 นาที ง. 15 นาที

20
34. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 54) เครื่องทำความร้อนขนาด 100 W ใช้เวลาเท่าใดทำให้น้ำ 500 g มีอุณหภูมิ
เพิ่มขึ้นจาก 25.0 C เป็น 75.0 C
(กำหนดให้ ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำมีค่าเท่ากับ 4.186 kJ/ ( kg  K ) )

35. (Ent ต.ค. 45) นำลวดทำความร้อนมีกำลัง 1000 วัตต์ จุ่มลงในน้ำมวล 500 กรัม อุณหภูมิ 30 องศา
เซลเซียส ถ้ามีการสูญเสียพลังงานความร้อนไป 30% อีกนานเท่าใดน้ำจึงจะเริ่มเดือด (กำหนดความจุ
ความร้อนจำเพาะของน้ำเท่ากับ 4.2 กิโลจูล/กิโลกรัม เคลวิน)
ก. 2 นาที ข. 3 นาที ค. 3.5 นาที ง. 8 นาที

36. (PAT3 มี.ค. 60) กาต้มน้ำไฟฟ้าขนาด 500 W ต้มน้ำ 400 g อุณหภูมิ 30 C ให้กลายเป็นน้ำ
100 C ต้องใช้เวลาประมาณเท่าใด กำหนดให้ค่าความจุความร้อนจำเพาะของน้ำที่ 30 C เท่ากับ
4, 200 J/ ( kg  K ) และค่าความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอของน้ำ เท่ากับ 2, 430 J/ ( kg  K )
ก. 58 s ข. 100 s ค. 235 s ง. 335 s จ. 972 s

37. (Ent 22) หม้อต้มน้ำไฟฟ้าอันหนึ่งให้พลังงานความร้อนในอัตรา 420 วัตต์ เมื่อนำไปต้มน้ำ 100 กรัม ที่
อุณหภูมิ 25 C ถ้าน้ำรับพลังงานความร้อนไว้ได้เพียง 25% จะใช้เวลานานเท่าใด ในการต้มน้ำจนมี
อุณหภูมิ 100 C กำหนดค่าความจความร้อนจำเพาะของน้ำ = 4200 จูลต่อกิโลกรัม-เคลวิน
ก. 1 นาที 15 วินาที ข. 1 นาที 40 วินาที
ค. 5 นาที ง. 6 นาที 40 วินาที

21
38. (พื้นฐานวิศวะ มี.ค. 47) กาต้มน้ำไฟฟ้าตัวหนึ่ง ใช้ไฟ 220 V กำลังงาน 500 W สมมติให้ขดลวด
ความร้อนสามารถให้ความร้อนกับน้ำได้ตามสมการ QH = 0.5t 2  ( 500 W )  J แล้วจะต้องใช้
เวลานานเท่าใดจึงจะต้มน้ำบริสุทธิ์ 50 g ที่ 25 C ให้มีอุณหภูมิเป็น 75 C (1 cal = 4.2 J )

ก. 10 วินาที ข. 41 วินาที ค. 42 วินาที ง. 0.1 วินาที

22
39. (IMAT 2015) An aluminium block of mass 2.5 kg is supplied with 9000 J of thermal
energy. This causes its temperature to rise by 4 K . Which expression gives the specific
heat capacity of this aluminium, from this data?

[Assume that the block remains solid throughout, and that no additional energy is
exchanged between the block and the surroundings.]
2.5  4
A. 9000  2.5  4 J  kg −1  K −1 B. J  kg −1  K −1
9000
9000  2.5 9000
C. J  kg −1  K −1 D. J  kg −1  K −1
4 2.5  4
9000  4
E. J  kg −1  K −1
2.5

40. (PAT3 มี.ค. 64) หม้อทอดไฟฟ้าไร้น้ำมันใช้ทอดมันฝรั่ง 400 g ด้วยความร้อนคงที่โดยใช้กำลังไฟฟ้า


500 W เป็นเวลา 20 s โดยสูญเสียความร้อนให้กับอากาศ 20% ทำให้มันฝรั่งมีอุณหภูมิเปลี่ยนไป
จาก 20 C เป็น 60 C ความร้อนจำเพาะของมันฝรั่งมีค่าเท่าใด
ก. 50 J/ ( kg  K ) ข. 250 J/ ( kg  K )
ค. 500 J/ ( kg  K ) ง. 1, 000 J/ ( kg  K )
จ. 1, 250 J/ ( kg  K )

23
41. (มข. 2552) กระป๋องโลหะมีมวล 200 กรัม ประกอบด้วยเหล็กและอลูมิเนียมในสัดส่วน 60 : 40 โดย
น้ำหนัก จงหาความจุความร้อนของกระป๋องใบนี้ (กำหนดให้ค่าความจุความร้อนจำเพาะของเหล็กและ
อลูมิเนียมเท่ากับ 450 และ 900 J/kg  K )
ก. 126 J/K ข. 63 J/K
ค. 1.26 J/kg  K ง. 0.63 J/kg  K

42. (Ent 30) วัตถุชิ้นหนึ่งมีมวล 1 กิโลกรัม เมื่อให้ความร้อนกับวัตถุนี้ด้วยอัตราคงที่ 1 กิโลจูลต่อวินาที เป็น


เวลา 5 นาที พบว่าอุณหภูมิของวัตถุเปลี่ยนจากตอนเริ่มต้น 100 องศาเซลเซียส ไปเป็น 200 องศา
เซลเซียส จงหาว่าความจุความร้อนจำเพาะของวัตถุมีค่าเท่าใดในหน่วยกิโลจูล/กิโลกรัม.เคลวิน
ก. 0.01 ข. 0.02 ค. 1.5 ง. 3

24
43. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 53) วัตถุ A มีมวลเป็น 2.00 เท่าของวัตถุ B และมีความจุความร้อนจำเพาะเป็น
0.800 เท่าของวัตถุ B เมื่อใช้เครื่องทำความร้อนเครื่องหนึ่งทำให้วัตถุ A มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 10.0 C
พบว่าต้องใช้เวลา 40.0 นาที จะต้องใช้เวลาเท่าใดทำให้วัตถุ B มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 30.0 C โดยใช้
เครื่องทำความร้อนเครื่องเดียวกัน ไม่ต้องคำนึงถึงการสูญเสียพลังงานใดๆ
ก. 21.3 นาที ข. 37.5 นาที ค. 75.0 นาที ง. 150 นาที

44. (Ent ต.ค. 47) ความร้อนที่ทำให้น้ำปริมาณหนึ่งมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 3 C สามารถทำให้ก้อนโลหะก้อน


หนึ่งซึ่งมีมวลเป็นสองเท่าของน้ำ มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 15 C โลหะก้อนนั้นมีความจุความร้อนจำเพาะ
kJ kJ
เท่าใดในหน่วย (ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำ = 4.18 )
kg  K kg  K
ก. 0.418 ข. 0.836 ค. 1.07 ง. 2.09

25
45. (สอวน. ก.ย. 43) เมื่อวัตถุ A ได้รับความร้อนจำนวนหนึ่ง พบว่ามีอุณหภูมิสูงขึ้น x หน่วย วัตถุ B มีมวล
เป็น a เท่าของวัตถุ A และมีความร้อนจำเพาะเป็น b เท่าของวัตถุ A ถ้าวัตถุ B ได้รับความร้อนเท่ากับ
ที่วัตถุ A ได้รับ อุณหภูมิของวัตถุ B จะเพิ่มขึ้นกี่หน่วย

46. (EJU-1 2014) A certain quantity of heat is applied to 2.4 102 g of water at 10 C , raising
its temperature to 15 C . When the same quantity of heat is applied to a certain volume
of air 10 C , the air’s temperature rises to 15 C without any change in volume. The
specific heat of water is 4.2 J/ ( g  K ) , the specific heat of air at constant volume is
0.72 J/ ( g  K ) , and the density of the air is 1.2 10−3 g/cm3 .

What is the volume (in cm3 ) of the air? From (a)-(d) below choose the best answer.
(a) 1.7 (b) 1.4 103 (c) 1.2 106 (d) 1.0 109

26
47. (EJU-2 2015) When 3.0 103 J of heat is applied to 1.0 102 g of substance A, the
temperature of the substance increases by 1.5 101 K . When 4.0 103 J of heat is
applied to 1.0 102 g of substance B, the temperature of the substance increases by
1.0 101 K . When 4.0 102 g of substance A and 3.0 102 g of substance B are placed
in contact with each other at the same temperature and then 1.0 104 J of heat applied
to them, the temperature of both increases by t  K  .

What is t  K  ? From (a)-(f) below choose the best answer.


(a) 1.0 (b) 2.0 (c) 3.0 (d) 4.0 (e) 5.0 (f) 6.0

27
แนวที่ ๓ : เปรียบเทียบการเปลี่ยนอุณหภูมิของสสาร

48. (มข. 2555) แท่งเหล็ก 5 kg และ 15 kg ทำให้มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นเท่ากัน ข้อความใดถูกต้อง


ก. เหล็กทั้งสองมีความจุความร้อนเท่ากัน
ข. ต้องให้ความร้อนแก่เหล็กทั้งสองเท่ากัน
ค. ต้องให้ความร้อนแก่เหล็ก 5 kg มากกว่า
ง. ต้องให้ความร้อนแก่เหล็ก 15 kg มากกว่า

49. (Ent 35) นายเจได้ทดลองเกี่ยวกับความจุความร้อนของสาร 3 ชนิด คือ A B และ C โดยการให้ความ


ร้อนจากเตาที่มีลักษณะเหมือนกันและมีกำลังไฟฟ้าเท่ากัน ผลการทดลองได้ผลดังตารางข้างล่าง ถ้า A มี
มวล 1 กิโลกรัม B มีมวล 5 กิโลกรัม และ C มีมวล 3 กิโลกรัม ข้อสรุปเกี่ยวกับความจุความร้อน
จำเพาะของสารข้อใดถูก

เวลาที่บันทึกอุณหภูมิ อุณหภูมิของสาร ( C )
นาทีที่ สาร A สาร B สาร C
.2. . 10 . .5. . 25 .
.4. . 20 . . 10 . . 50 .

ก. A > B > C ข. A < B < C


ค. A > B < C แต่ A < C ง. A < B > C แต่ A > C

28
50. (พื้นฐานวิศวะ ต.ค. 48) จากการทดลองให้ความร้อนกับวัสดุชนิดต่างๆ ที่มีมวลและค่าความจุความร้อน
จำเพาะดังตาราง

ความจุความร้อนจำเพาะของสาร
วัสดุ มวล ( g )
( J/kg  K )
อะลูมิเนียม 15 900
ทองแดง 28 390
เหล็ก 44 450
หินอ่อน 20 860

ถ้าอุณหภูมิเริ่มต้นของวัสดุแต่ละชนิดเท่ากันหมด หลังจากให้ความร้อนกับวัสดุแต่ละชนิดในปริมาณที่
เท่ากัน จงเรียงลำดับวัสดุที่มีอุณหภูมิต่ำสุดไปหาสูงสุด
ก. อะลูมิเนียม หินอ่อน เหล็ก ทองแดง
ข. เหล็ก ทองแดง หินอ่อน อะลูมิเนียม
ค. เหล็ก หินอ่อน อะลูมิเนียม ทองแดง
ง. หินอ่อน เหล็ก อะลูมิเนียม ทองแดง

29
51. (PAT3 ต.ค. 55) โลหะ A และ B มีมวลและอุณหภูมิเริ่มต้นเท่ากัน ถูกนำมาให้ความร้อนปริมาณเดียวกัน
พบว่าอุณหภูมิสุดท้ายของโลหะ B สูงกว่าโลหะ A อยู่ 90 องศาเซลเซียส โดยที่ค่าความจุความร้อน
จำเพาะของโลหะ A เท่ากับ 10 เท่าของค่าความจุความร้อนจำเพาะของโลหะ B แล้ว จงหาว่าการให้
ความร้อนในครั้งนี้จะทำให้อุณหภูมิของโลหะ A และ B เพิ่มขึ้นกี่องศาเซลเซียส
ก. TA = 0 C, TB = 90 C
ข. TA = 5 C, TB = 95 C
ค. TA = 10 C, TB = 100 C
ง. TA = 15 C, TB = 105 C
จ. TA = 20 C, TB = 110 C

30
52. (PAT3 ต.ค. 58) สารต่อไปนี้มีมวล 1 kg และอุณหภูมิ 40 C ถูกให้ความร้อน 5 kW เป็นเวลา 1
นาที ที่ความดันบรรยากาศ หากไม่มีการสูญเสียความร้อนสู่สิ่งแวดล้อม จงเรียงลำดับสารที่มีอุณหภูมิ
สูงสุดไปต่ำสุด
คุณสมบัติทางความร้อนของสารที่มีความดัน 1 atm เป็นดังตารางต่อไปนี้

ความร้อนแฝงจำเพาะ
ความร้อนจำเพาะ  kJ/ ( kg  K ) 
จุด  kJ/kg 
จุดเดือด
สาร หลอมเหลว ของการ
 C  ของการ
 C  ของแข็ง ของเหลว แก๊ส กลายเป็น
หลอมเหลว
ไอ
A 0 100 8 4 2 100 300
B 20 120 15 10 4 150 200
C 50 200 20 15 5 300 600

ก. A, B, C ข. A, C, B
ค. B, C, A ง. B, A, C
จ. C, A, B

31
แนวที่ ๔ : อัตราการไหล

53. (Ent 38) น้ำไหลผ่านเครื่องทำความเย็นขนาด 5, 000 วัตต์ ด้วยอัตราเร็วค่าหนึ่ง เครื่องทำความเย็น


สามารถทำให้น้ำเย็นจากอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียสเป็น 10 องศาเซลเซียส ถ้าประสิทธิภาพของการ
ทำความเย็นเป็น 100 เปอร์เซ็นต์ อัตราเร็วของน้ำเป็นกี่ลิตรต่อนาที (ความหนาแน่นของน้ำ 1 กิโลกรัม
ต่อลิตร, ความจุความร้อนของน้ำ 4.18 กิโลจูลต่อกิโลกรัมเคลวิน)
ก. 4.2 ลิตร/นาที ข. 4.8 ลิตร/นาที ค. 5.4 ลิตร/นาที ง. 5.9 ลิตร/นาที

32
54. (พื้นฐานวิศวะ มี.ค. 48, PAT3 ต.ค. 52) น้ำอุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส ไหลเข้าเครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้าที่
ใช้ภายในบ้านที่ใช้กำลังไฟฟ้า 3000 วัตต์ในการอุ่นน้ำ ถ้าขนาดพื้นที่หน้าตัดของท่อน้ำเข้าเครื่องทำ
น้ำอุ่นเท่ากับ 2 ตารางเซนติเมตร กำหนดให้น้ำมีความหนาแน่น 1000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และ
ความจุความร้อนจำเพาะเท่ากับ 4200 จูลต่อกิโลกรัม-เคลวิน ข้อใดถูกต้อง
ก. ความเร็วเฉลี่ยของน้ำเท่ากับ 0.09 เมตรต่อวินาที อุณหภูมิน้ำที่ไหลออกจากเครื่อง 30 องศา
เซลเซียส
ข. ความเร็วเฉลี่ยของน้ำเท่ากับ 0.18 เมตรต่อวินาที อุณหภูมิน้ำที่ไหลออกจากเครื่อง 40 องศา
เซลเซียส
ค. ความเร็วเฉลี่ยของน้ำเท่ากับ 0.09 เมตรต่อวินาที อุณหภูมิน้ำที่ไหลออกจากเครื่อง 40 องศา
เซลเซียส
ง. ความเร็วเฉลี่ยของน้ำเท่ากับ 0.18 เมตรต่อวินาที อุณหภูมิน้ำที่ไหลออกจากเครื่อง 30 องศา
เซลเซียส

55. (PAT3 ธ.ค. 54) เครื่องสูบน้ำมีกำลัง 20 กิโลวัตต์ แต่สามารถส่งกำลังไปยังน้ำได้เพียง 13.7 กิโลวัตต์


เนื่องจากเกิดการสูญเสียพลังงานจากผลของแรงเสียดทาน (Friction Effect) พลังงานที่สูญเสียนั้นถูก
เปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อนให้แก่น้ำ ส่งผลให้อุณหภูมิของน้ำสูงขึ้น ถ้าอัตราการไหลของน้ำผ่านเครื่อง
สูบน้ำเท่ากับ 1 ลิตรต่อวินาที จงหาว่าผลของการสูญเสียพลังงานนี้ทำให้อุณหภูมิของน้ำสูงขึ้นกี่องศา
เซลเซียส กำหนดให้ความหนาแน่นของน้ำ = 1, 000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และค่าความจุความร้อน
จำเพาะของน้ำ = 4.2 กิโลจูลต่อกิโลกรัม.องศาเซลเซียส

33
แนวที่ ๕ : ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสาร

56. (O-Net ม.3 2560) ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของน้ำแข็ง มีค่า 80 แคลอรีต่อกรัม หมายความ


ว่าอย่างไร
ก. น้ำแข็งมวล 1 กรัม เปลี่ยนสถานะเป็นน้ำมวล 1 กรัม โดยอุณหภูมิไม่เปลี่ยนแปลง ใช้พลังงานความ
ร้อน 1 แคลอรี
ข. น้ำแข็งมวล 1 กรัม เปลี่ยนสถานะเป็นน้ำมวล 1 กรัม โดยอุณหภูมิไม่เปลี่ยนแปลง ใช้พลังงานความ
ร้อน 80 แคลอรี
ค. น้ำมวล 1 กรัม เปลี่ยนสถานะเป็นไอน้ำมวล 1 กรัม ใช้พลังงานความร้อน 80 แคลอรี
ง. น้ำมวล 1 กรัม เปลี่ยนสถานะเป็นน้ำแข็ง มวล 80 กรัม ใช้พลังงานความร้อน 80 แคลอรี

57. (พสวท. ม.ต้น) วัตถุเมื่อได้รับความร้อน จะมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น แต่ขณะที่น้ำแข็งหลอมเหลวเป็นน้ำ


อุณหภูมิของน้ำแข็งคงที่ที่ 0 องศาเซลเซียส ข้อใดเป็นคำอธิบายที่ถูกต้อง
ก. น้ำแข็งไม่ได้รับความร้อนเพิ่มขึ้นขณะหลอมเหลว
ข. ความร้อนที่น้ำแข็งได้รับจะคายออกมาทันทีที่หลอมเหลว
ค. ความร้อนที่น้ำแข็งได้รับ ขณะหลอมเหลวถูกใช้เพื่อเปลี่ยนสถานะของน้ำแข็งเท่านั้น
ง. ขณะหลอมเหลว น้ำแข็งคายความร้อนแฝงออกมาเท่ากับความร้อนที่น้ำแข็งได้รับพอดี อุณหภูมิจึงไม่
เปลี่ยนแปลง

34
58. (มช. 2557) กล่องโฟมมีน้ำแข็งบรรจุอยู่ พบว่าเมื่อเวลาผ่านไปครึ่งชั่วโมงมีน้ำแข็งละลายไปเพียง 150
กรัม พลังงานความร้อนต่อวินาทีที่ผา่ นกล่องโฟมเข้ามาทำให้น้ำแข็งละลายมีค่ากี่วัตต์ (กำหนด ค่าความ
ร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลวของน้ำ = 3.33 105 จูล/กิโลกรัม)
ก. 13.9 ข. 27.8 ค. 50.0 ง. 90.0

59. (PAT3 ก.ค. 53) เครื่องทำไอน้ำต้มน้ำจากอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส ให้กลายเป็นไอ โดยให้ความร้อน


ด้วยอัตรา 5 กิโลวัตต์ ถ้าใช้เวลา 90 วินาที จะได้ไอน้ำกี่กิโลกรัม กำหนดให้ความร้อนแฝงของการ
หลอมเหลวและการกลายเป็นไอเท่ากับ 330 กิโลจูล/กิโลกรัม และ 2, 250 กิโลจูล/กิโลกรัม ตามลำดับ
ก. 0.250 กิโลกรัม ข. 0.025 กิโลกรัม
ค. 0.100 กิโลกรัม ง. 0.050 กิโลกรัม
จ. 0.200 กิโลกรัม

60. (PAT3 ต.ค. 53) เครื่องทำน้ำแข็งดึงความร้อนจากน้ำด้วยอัตรา 3 กิโลวัตต์ เริ่มต้นน้ำมีอุณหภูมิ 0


องศาเซลเซียส ภายในเวลา 22 นาที จะสามารถทำให้น้ำที่มีอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส กลายเป็น
น้ำแข็งได้กี่กรัม ถ้ากำหนดความร้อนแฝงของการหลอมเหลวและของการกลายเป็นไอเท่ากับ 330 กิโล
จูล/กิโลกรัม และ 2, 260 กิโลจูล/กิโลกรัม ตามลำดับ
ก. 1, 200 กรัม ข. 2, 400 กรัม ค. 6, 600 กรัม
ง. 12, 000 กรัม จ. 24, 000 กรัม

35
61. (IMAT 2020) A beaker contains 1000 g of a liquid that is stirred at its boiling point. A
100 W electric heater is completely immersed in the liquid. The heater provides the
liquid with thermal energy, and 200 g of the liquid changes to vapour in 1600 s .

What is the specific latent heat of evaporation of the liquid?


[Assume that no thermal energy is transferred to or from the surroundings, and no vapour
condenses.]
A. 12.5 J/g B. 160 J/g
C. 3200 J/g D. 800 J/g
E. 16000 J/g

62. (สสวท. รอบที่ 1 ก.ค. 47) กาต้มน้ำไฟฟ้าขนาด 1100 วัตต์ ต้มน้ำจนเดือด น้ำที่กำลังเดือดนั้นมีมวล
ลดลง 10 กรัม ในเวลา 20 วินาที จงประมาณค่าความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอของน้ำ

63. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 55) ให้ความร้อนกับน้ำแข็งแห้งซึ่งมีมวล 0.400 kg ด้วยอัตราคงที่ 160 W เป็น
เวลา 20 s พบว่าน้ำแข็งแห้งมีมวลลดลง 0.010 kg โดยที่อุณหภูมิของน้ำแข็งแห้งไม่เปลี่ยนแปลง จง
หาความร้อนแฝงของการระเหิดของน้ำแข็งแห้ง
kJ kJ kJ kJ
ก. 8.0 ข. 8.2 ค. 16 ง. 320
kg kg kg kg

36
64. (PAT3 มี.ค. 53) เครื่องทำน้ำแข็งดึงความร้อนจากน้ำที่อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ด้วยอัตรา 500 จูล/
วินาที ถ้าต้องการทำน้ำแข็ง 200 กรัมจากน้ำอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ต้องใช้เวลากี่วินาที
กำหนดความร้อนแฝงของการหลอมเหลวเท่ากับ 335 กิโลจูล/กิโลกรัม
และความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอเท่ากับ 2, 256 กิโลจูล/กิโลกรัม
ก. 0.134 วินาที ข. 134 วินาที
ค. 1340 วินาที ง. 90.24 วินาที
จ. 902.4 วินาที

65. (PAT3 มี.ค. 54) เครื่องทำความร้อนพิกัดกำลัง 40 กิโลวัตต์ นำมาให้ความร้อนกับน้ำ 5 กิโลกรัมที่มี


อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียสให้กลายเป็นไอทั้งหมด ต้องใช้เวลากี่วินาที กำหนดความร้อนแฝงของการ
หลอมเหลวและของการกลายเป็นไอ 335 kJ/kg และ 2, 256 kJ/kg ตามลำดับ
ก. 28.2 วินาที ข. 40 วินาที
ค. 41.88 วินาที ง. 200 วินาที
จ. 282 วินาที

37
66. (PAT3 มี.ค. 64) พัดลมไอน้ำพ่นน้ำออกมาเป็นละอองฝอยเล็กๆ อัตรา 10 g/s หากน้ำที่พ้นออกมา
กลายเป็นไอน้ำทั้งหมด อัตราความร้อนที่น้ำดึงออกจากอากาศในบริเวณนี้มีค่าเท่าใด
กำหนดให้ ความร้อนจำเพาะของน้ำมีค่า 4.2 kJ/ ( kg  K )
ความร้อนแฝงจำเพาะในการกลายเป็นไอของน้ำมีค่า 2, 250 kJ/kg
ความร้อนแฝงจำเพาะในการหลอมเหลวของน้ำมีค่า 330 kJ/kg
ก. 0.042 kW ข. 3.300 kW
ค. 22.500 kW ง. 42.000 kW
จ. 22,500.000 kW

67. (Ent ต.ค. 41) บรรจุน้ำแข็งบดที่ 0 C ไว้บนกระดาษกรองที่อยู่ภายในกรวย เมื่อเวลาผ่านไป 5 นาที


พบว่าน้ำแข็งละลายไป 50 กรัม ถ้านำน้ำแข็งบดมวลเท่ากับตอนต้นบรรจุไว้ในกรวยที่เหมือนกันอีก
อันหนึ่งแต่ใช้ตัวทำความร้อนจุ่มในน้ำแข็ง พบว่าเมื่อเวลาผ่านไป 5 นาที น้ำแข็งละลายไป 200 กรัม ถ้า
ความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลวของน้ำเท่ากับ 336 กิโลจูล/กิโลกรัม ตัวทำความร้อนนี้มีกำลัง
ประมาณเท่าใด
ก. 50 W ข. 112 W ค. 140 W ง. 168 W

38
68. (IJSO รอบที่ 2 มี.ค. 55) เมื่อตั้งน้ำแข็งมวล M ซึ่งบรรจุอยู่ในภาชนะหนึ่งละลายเป็นน้ำหมดภายใน
เวลา t0 แต่ถ้าจุ่มแท่งทำความร้อนด้วยไฟฟ้าที่มีกำลังไฟฟ้า P ลงไปละลายน้ำแข็ง น้ำแข็งจะละลาย
หมดภายในเวลาเท่าใด กำหนดให้ L เป็นความร้อนแฝงการเปลี่ยนสถานะของแข็งเป็นน้ำ และความ
ร้อนที่สูญเสียผ่านภาชนะแปรผันตรงกับเวลา

69. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 56) น้ำแข็งปริมาณ 1.0 kg ใส่ภาชนะทิ้งไว้ให้ละลายเป็นน้ำหมดภายใน 60 นาที


ถ้าต้องการให้น้ำแข็งละลายหมดภายในประมาณ 30 นาที จะต้องให้ความร้อนกับน้ำแข็งด้วยอัตรา
ประมาณเท่าไร (เลือกคำตอบที่ใกล้เคียงที่สุด) กำหนดให้ความร้อนแฝงการหลอมเหลวของน้ำแข็ง
= 334 kJ/kg และอัตราการถ่ายเทความร้อนจากภายนอกเข้าสู่ระบบมีค่าคงที่
ก. 100 W ข. 50 W ค. 200 W ง. 1.0 kW

39
70. (B-PAT3 ต.ค. 51) วิศวกรท่านหนึ่งต้องการรู้พลังงานที่ใช้ในการเปลี่ยนแปลงสถานะมากที่สุดจาก
กระบวนการข้างล่างนี้เพื่อนำไปใช้ในการควบคุมกระบวนการผลิต กระบวนการนั้นคือข้อใด

กระบวนการ การเปลี่ยนแปลง
ก น้ำแข็ง 10 กิโลกรัม เปลี่ยนเป็นน้ำ 10 กิโลกรัม ที่ 0 องศาเซลเซียส
ข น้ำ 10 กิโลกรัม ที่ 25 องศาเซลเซียส ต้มให้ร้อนขึ้นจนมีอุณหภูมิ 80 องศา
เซลเซียส
ค น้ำ 8 กิโลกรัม ที่ 25 องศาเซลเซียส ต้มให้ร้อนขึ้นจนมีอุณหภูมิ 100 องศา
เซลเซียส
ง น้ำร้อนที่ 100 องศาเซลเซียส 1 กิโลกรัม กลายเป็นไอน้ำ 1 กิโลกรัม ที่ 100
องศาเซลเซียส

กำหนดให้ค่าความร้อนแฝงของการหลอมเหลวน้ำ = 0.33 kJ/g


ค่าความจุความร้อนของน้ำ = 0.42 kJ/kg  C
ค่าความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอของน้ำ = 2268 kJ/kg
ก. กระบวนการ ก ข. กระบวนการ ข
ค. กระบวนการ ค ง. กระบวนการ ง

40
71. (PAT3 มี.ค. 52) ถ้ากำหนดให้
• ความจุความร้อนของน้ำเท่ากับ 4.2 kJ/kg  K
• ความจุความร้อนของอากาศเท่ากับ 1 kJ/kg  K
• ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของน้ำแข็งเท่ากับ 340 kJ/kg
• ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอของน้ำเท่ากับ 2200 kJ/kg

จงเลือกว่าข้อใดมีการถ่ายเทความร้อนสูงสุด
ก. ความร้อนที่ทำให้อากาศมวล 40 กิโลกรัม มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิจาก 30 องศาเซลเซียส เป็น
80 องศาเซลเซียส
ข. ความร้อนที่ทำให้น้ำมวล 10 กิโลกรัม มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิจาก 30 องศาเซลเซียส เป็น 80
องศาเซลเซียส
ค. ความร้อนที่ทำให้น้ำแข็งมวล 10 กิโลกรัม ที่อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ละลายเป็นน้ำที่อุณหภูมิ 0
องศาเซลเซียส
ง. ความร้อนที่ทำให้น้ำมวล 10 กิโลกรัม ที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส กลายเป็นไอน้ำที่อุณหภูมิ 100
องศาเซลเซียส

41
แนวที่ ๖ : พิจารณาหลายขั้นตอน

72. (Ent ต.ค. 44) จงหาปริมาณความร้อนที่ทำให้น้ำแข็งมวล 100 กรัม อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส


กลายเป็นน้ำมวล 100 กรัม อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส กำหนดให้ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำ
เท่ากับ 4200 จูลต่อกิโลกรัม เคลวิน และความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลวของน้ำแข็งเท่ากับ
333 กิโลจูลต่อกิโลกรัม
ก. 33.7 kJ ข. 37.5 kJ ค. 75.3 kJ ง. 4233 kJ

42
73. (มข. 2553) จงหาปริมาณความร้อนที่ทำให้น้ำแข็ง 2 กิโลกรัม อุณหภูมิ 0 C กลายเป็นน้ำอุณหภูมิ
50 C ทั้งหมด กำหนดให้ความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลวของน้ำ L เท่ากับ 333 กิโลจูล/
กิโลกรัม และความจุความร้อนจำเพาะของน้ำ c เท่ากับ 4.2 กิโลจูล/(กิโลกรัม-เคลวิน)
ก. 753 กิโลจูล ข. 876 กิโลจูล
ค. 1086 กิโลจูล ง. 3372 กิโลจูล

74. (มข. 2556) จงหาปริมาณความร้อนที่ทำให้น้ำแข็ง 2 kg ที่อุณหภูมิ 0 C กลายเป็นน้ำอุณหภูมิ


50 C ทั้งหมด (กำหนดความร้อนแฝงของการหลอมเหลว Lm = 333 kJ/kg และค่าความจุความร้อน
จำเพาะของน้ำ c = 4.2 kJ/kg  K )
ก. 87.6 kJ ข. 753 kJ ค. 876 kJ ง. 1086 kJ

75. (มข. 2557) จงหาปริมาณความร้อนที่ใช้ในการทำให้น้ำแข็งมวล 500 กรัม อุณหภูมิ 0 C กลายเป็นน้ำ


ที่มีอุณหภูมิ 50 C ทั้งหมด กำหนดให้ ความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลวของน้ำแข็งเป็น
3 105 J/kg และค่าความจุความร้อนจำเพาะของน้ำเป็น 4 kJ/ ( kg  K )
ก. 15 104 จูล ข. 10 104 จูล
ค. 25 104 จูล ง. 35 104 จูล

43
76. (พื้นฐานวิศวะ ต.ค. 43) จงหาปริมาณความร้อนที่ต้องถ่ายเทในการผลิตน้ำแข็งที่อุณหภูมิ −5 C
จำนวน 100 kg โดยใช้น้ำที่อุณหภูมิ 20 C
กำหนดให้ ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำแข็ง 2.1 kJ/kg  K
ความร้อนแฝงจำเพาะของน้ำ 4.2 kJ/kg  K
ความร้อนแฝงจำเพาะของการแข็งตัวของน้ำ 335 kJ/kg
ก. 42,950 kJ ข. 41,900 kJ
ค. 9, 450 kJ ง. 34,550 kJ

44
77. (มช. 2553) เมื่อใช้กระติกต้มน้ำร้อนไฟฟ้าขนาด 240 โวลต์ และกำลัง 1, 200 วัตต์ ต้มน้ำ 1 ลิตร จาก
อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส จนถึงน้ำเดือดพอดีที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส จะใช้เวลากี่นาที ถ้า
กระติกน้ำมีประสิทธิ์ภาพ 100 เปอร์เซ็นต์
ก. 0.83 ข. 3.5 ค. 17.5 ง. 21.0

78. (PAT3 ต.ค. 59) ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำ c = 4.2 J/g  K


ความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลวของน้ำ Lm = 333 kJ/kg
ความร้อนแฝงจำเพาะของการกลายเป็นไอของน้ำ Lv = 2256 kJ/kg
ต้องให้ความร้อนอย่างน้อยกี่กิโลจูลในการต้มน้ำ 2 ลิตร ที่อุณหภูมิเริ่มต้น 30 องศาเซลเซียส เพื่อทำให้
น้ำกลายเป็นไอทั้งหมด

79. (พื้นฐานวิศวะ มี.ค. 45) ต้มน้ำด้วยความร้อนคงที่ 500 J/s พบว่าน้ำอุณหภูมิ 50 C สามารถเดือดได้


ภายในเวลา 3 นาที จะต้องใช้พลังงานรวมเท่าไร จึงให้น้ำอุณหภูมิ 50 C ดังกล่าวระเหยไปจนหมด
(ความร้อนจำเพาะของน้ำ = 4 kJ/kg  K และความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ = 2000 kJ/kg )
ก. 90 kJ ข. 180 kJ ค. 900 kJ ง. 990 kJ

45
80. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 52) จะต้องใช้ความร้อนเท่าใดเปลี่ยนน้ำแข็ง 100 g ที่อุณหภูมิ 0.0 C ไปเป็นไอ
น้ำที่อุณหภูมิ 100 C กำหนด ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวและการกลายเป็นไปของน้ำมีค่าเท่ากับ
333.7 kJ/kg และ 2256 kJ/kg ตามลำดับ และความร้อนจำเพาะของน้ำมีค่าเท่ากับ
4.186 kJ/ ( kg K )
ก. 100 kJ ข. 200 kJ ค. 300 kJ ง. 400 kJ

81. (PAT3 ต.ค. 52) วิศวกรผู้หนึ่งต้องการนำน้ำแข็งมาทำเป็นไอน้ำเพื่อใช้ในกระบวนการผลิต ท่านคิดว่าใน


กระบวนการทำน้ำแข็ง 10 กิโลกรัม ให้กลายเป็นไอน้ำ 10 กิโลกรัม ที่ 100 องศาเซลเซียส ต้องใช้
พลังงานความร้อนทั้งหมดเท่าใด
กำหนดให้ ค่าความร้อนแฝงของการหลอมเหลวน้ำ = 334.8 กิโลจูลต่อกิโลกรัม
ค่าความจุความร้อนของน้ำ = 4.2 กิโลจูล/กิโลกรัม-องศาเซลเซียส
ค่าความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอของน้ำ = 2268 กิโลจูลต่อกิโลกรัม
ก. ความร้อน 26, 022 กิโลจูล ข. ความร้อน 27, 030 กิโลจูล
ค. ความร้อน 30, 228 กิโลจูล ง. ความร้อน 32,180 กิโลจูล

82. (พสวท. ม.ต้น) ที่ยอดเขาแห่งหนึ่ง ถ้าต้องการให้น้ำแข็ง X กรัม ที่ −2 C กลายเป็นไอน้ำหมดที่


อุณหภูมิ 97 C จะต้องใช้ความร้อนกี่แคลอรี เมื่อความจุความร้อนจำเพาะของน้ำเท่ากับ 1 cal/g  C
ความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลวของน้ำแข็งที่อุณหภูมิ 0 C มีค่าเท่ากับ 80 cal/g ความจุ
ความร้อนจำเพาะของน้ำแข็ง มีค่าเท่ากับ 0.5 cal/g  C ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอของน้ำ
เดือดที่อุณหภูมิ 97 C มีค่าเท่ากับ 540 cal/g
ก. 715X ข. 718X ค. 719X ง. 720X

46
83. (PAT3 ก.พ. 62) หากต้องการให้น้ำแข็งมวล 200 g ที่ 0 C กลายเป็นไอ 20% และที่เหลือเป็นน้ำที่
อุณหภูมิ 100 C ที่ความดัน 1 บรรยากาศ ต้องใช้พลังงานความร้อนทั้งหมดเท่าใด
กำหนดให้ ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของน้ำเท่ากับ 333 kJ/kg
ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอเท่ากับ 2250 kJ/kg
ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำเท่ากับ 4.2 kJ/kg  K
ก. 150.6 kJ ข. 223.8 kJ
ค. 240.6 kJ ง. 510.6 kJ
จ. 600.6 kJ

47
84. (PAT3 ก.พ. 63) น้ำ 500 g ที่ 20 C ให้ความร้อนโดยฮีทเตอร์จนน้ำมีอุณหภูมิ 100 C ที่ความดัน 1
บรรยากาศ โดยกลายเป็นไอน้ำ 20% ต้องใช้พลังงานความร้อนทั้งหมดเท่าใด
กำหนดให้ ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของน้ำเท่ากับ 333 kJ/kg
ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอเท่ากับ 2, 250 kJ/kg
ความร้อนจำเพาะของน้ำเท่ากับ 4.2 kJ/kg  K
ก. 150 kJ ข. 168 kJ
ค. 225 kJ ง. 393 kJ
จ. 618 kJ

85. (มข. 2558) น้ำแข็งมวล 200 กรัม อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส เดือดจนกลายเป็นไอและเหลือน้ำเพียง


100 กรัม จะต้องใช้ปริมาณความร้อนทั้งหมดกี่กิโลจูล (กำหนดให้ ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของ
น้ำแข็งเท่ากับ 333 กิโลจูลต่อกิโลกรัม ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอของน้ำเท่ากับ 2, 250 กิโลจูล
ต่อกิโลกรัม และความจุความร้อนจาเพาะของน้ำเท่ากับ 4.2 กิโลจูลต่อกิโลกรัม·เคลวิน)
ก. 309 กิโลจูล ข. 375.6 กิโลจูล
ค. 534 กิโลจูล ง. 600.6 กิโลจูล

48
86. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 63) เครื่องให้ความร้อนด้วยพลังงานแสงอาทิตย์สามารถนำพลังงานจากแสงอาทิตย์
มาเปลี่ยนเป็นความร้อนได้ ถ้าหน่วยรับแสงอาทิตย์มีพื้นที่ 6.00 m2 และสามารถรับความเข้มของแสงได้
ที่ 550 W/m2 จะต้องใช้เวลาประมาณเท่าใด ในการทำน้ำแข็ง 100 g อุณหภูมิ 0 C ให้กลายเป็นน้ำ
ที่อุณหภูมิ 30 C ด้วยเครื่องให้ความร้อนนี้ (กำหนดให้น้ำมีความจุความร้อนจำเพาะ 4200 J/kg  C
และความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลว 3.33 105 J/kg )
ก. 14 วินาที ข. 13 วินาที ข. 12 วินาที ง. 11 วินาที

49
87. (พื้นฐานวิศวะ ต.ค. 45) นาเกลือแห่งหนึ่งขนาด 100 เมตร x 100 เมตร มีน้ำเกลือสูง 10 ซม. และ
อุณหภูมิเริ่มต้น 30 C จะต้องใช้พลังงานความร้อนจากแสงแดดระเหยน้ำออกจากน้ำเกลือ จงหา
พลังงานและเวลาที่ต้องใช้ในการระเหยน้ำเกลือจนแห้ง ถ้าอัตราการระเหยของน้ำมีค่าคงที่เฉลี่ยเป็น
1.0 104 ลบ.ซม./นาที ค่าความร้อนแฝงของน้ำ = 2000 kJ/kg และค่าความร้อนจำเพาะของน้ำ
= 300 kJ/kg  C ความหนาแน่น = 1 kg/lit
ก. 21109 kJ, 105 นาที ข. 21109 kJ, 106 นาที
ค. 23 109 kJ, 105 นาที ง. 23109 kJ, 106 นาที

50
88. (EJU-1 2016) Ice with a mass of 1.0 kg and a temperature of −20 C is placed in a
container with a temperature of −20 C , and the change in temperature inside the
container is measured while a constant quantity of heat per unit time is applied. The
temperature increases at a rate of 1.0 101 K per minute. When the temperature reaches
0 C , it stops changing for a certain amount of time, and then begins increasing again.
The heat capacity of the container is 1.0 103 J/K , the specific heat of ice is
2.0 103 J/kg  K , and the heat of fusion of ice is 3.3 105 J/kg . Assume that the
temperature of the container always remains the same as the temperature of its interior.
For how many minutes did the temperature stay at 0 C ? From (a)-(f) below choose the
best answer.
(a) 1.1 (b) 2.2 (c) 3.3 (d) 11 (e) 22 (f) 33

51
89. (PAT3 มี.ค. 58) ให้สภาวะหนึ่งที่ความดันคงที่ มวลในสภาวะของแข็งมีน้ำหนัก 1 kg มีอุณหภูมิ 50 C
ให้ความร้อนกับวัตถุที่กำลัง 1 กิโลวัตต์ เป็นเวลา 2 ชั่วโมง จะมีอุณหภูมิสุดท้ายกี่องศาเซลเซียส
กำหนด ค่าความจุความร้อนจำเพาะของของแข็ง 300 kJ/kg  K
ค่าความจุความร้อนจำเพาะของของเหลว 200 kJ/kg  K
ค่าความจุความร้อนจำเพาะของแก๊ส 150 kJ/kg  K
ค่าความร้อนแฝงของการหลอมเหลว 2, 000 kJ/kg
ค่าความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ 1,800 kJ/kg
จุดเดือด 90 C
จุดหลอมเหลว 70 C

52
90. (สอวน. มจพ. ธ.ค. 63) จงหาว่าจะต้องดึงพลังงานความร้อนออกมาทั้งหมดเท่าใด ในการทำให้น้ำผลไม้
กระป๋องที่มีมวลน้ำผลไม้ 1, 000 กรัม และมวลกระป๋อง 200 กรัม อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส เย็นลง
จนกระทั่งน้ำผลไม้ในกระป๋องเป็นน้ำแข็งที่อุณหภูมิ −10 องศาเซลเซียส ถ้าให้น้ำผลไม้กลายเป็นน้ำ
ผลไม้แข็งที่อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส
กำหนด ความจุความร้อนของน้ำผลไม้, น้ำแข็ง และกระป๋อง มีค่า 4.2, 2.0 และ 1.0 kJ/kg  K
ตามลำดับ และความร้อนแฝงจำเพาะของการแข็งตัวของน้ำผลไม้มีค่า 330 kJ/kg
ก. 462 kJ ข. 440 kJ ค. 434 kJ ง. 110 kJ

53
91. (PAT3 ก.ค. 53) ถ้าต้มน้ำที่อยู่ในกระป๋องอะลูมิเนียมที่มีมวลดังรูป และการถ่ายเทความร้อนที่เกิดขึ้นคิด
เป็น 40% ของความร้อนที่ได้จากการเผาไหม้แล้ว

กำหนดให้ ค่าความจุความร้อนของอะลูมิเนียม 1 กิโลจูล/กิโลกรัม-องศาเซลเซียส


ค่าความจุความร้อนของน้ำ 4.2 กิโลจูล/กิโลกรัม-องศาเซลเซียส
ค่าความร้อนแฝงในการกลายเป็นไอของน้ำ 2, 200 กิโลจูล/กิโลกรัม
ค่าความร้อนของน้ำมันก๊าด 15 เมกะจูล/กิโลกรัม
โดยอุณหภูมิเริ่มต้นของน้ำและกระป๋องมีค่า 25 องศาเซลเซียส ข้อใดถูกต้อง
ก. น้ำไม่เดือดและมีอุณหภูมิสุดท้าย 42.5 องศาเซลเซียส
ข. น้ำไม่เดือดและมีอุณหภูมิสุดท้าย 80.5 องศาเซลเซียส
ค. น้ำไม่เดือดและมีอุณหภูมิสุดท้าย 89.5 องศาเซลเซียส
ง. น้ำเดือดและกลายเป็นไอทั้งหมด
จ. น้ำเดือดและกลายเป็นไอบางส่วน

54
92. (A-Net 2549) ให้พลังงานความร้อน 30, 000 จูล แก่น้ำแข็งมวล 50 กรัม อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส
ผลลัพธ์จะเป็นอย่างไร ถ้ากำหนดให้ความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลวของน้ำแข็งเท่ากับ 333
จูลต่อกรัม และความจุความร้อนจำเพาะของน้ำเท่ากับ 4.2 จูลต่อกรัม.องศาเซลเซียส
ก. ได้น้ำร้อนอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส
ข. ได้น้ำร้อนอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส
ค. ได้น้ำร้อนอุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส
ง. ได้น้ำเย็นผสมน้ำแข็งอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส

93. (PAT3 มี.ค. 55) ถ้าให้ความร้อนปริมาณ 600 กิโลจูล แก่น้ำแข็งจำนวน 1 กิโลกรัม โดยไม่มีการสูญเสีย
ความร้อน และกำหนดให้
ค่าความจุความร้อนจำเพาะของน้ำ = 4 กิโลจูลต่อกิโลกรัม-องศาเซลเซียส
ค่าความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลว = 300 กิโลจูลต่อกิโลกรัม
ค่าความร้อนแฝงจำเพาะการกลายเป็นไอน้ำ = 2, 200 กิโลจูลต่อกิโลกรัม
ข้อใดต่อไปนี้สรุปถูกต้อง
ก. น้ำแข็งละลายบางส่วน เหลือมวลน้ำแข็งอยู่ 0.1 กิโลกรัม
ข. น้ำแข็งละลายหมดกลายเป็นน้ำที่มีอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส
ค. น้ำแข็งละลายหมดกลายเป็นน้ำที่มีอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส
ง. น้ำแข็งละลายหมดกลายเป็นน้ำที่มีอุณหภูมิ 75 องศาเซลเซียส
จ. น้ำแข็งละลายหมดกลายเป็นไอน้ำที่มีอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส

55
94. (PAT2 ต.ค. 59) นำของเหลวมวลเท่ากันหลายชนิด ใส่ภาชนะแบบเดียวกันหลายใบไปแช่เย็นจนเป็น
ของแข็งที่อุณหภูมิ −30 องศาเซลเซียส เมื่อนำทั้งหมดมาตั้งที่อุณหภูมิห้อง ของเหลวที่มีสมบัติตามข้อใด
จะละลายหมดก่อน
ก. จุดหลอมเหลวต่ำสุด และ ความร้อนจำเพาะสถานะของแข็งต่ำสุด
ข. จุดหลอมเหลวต่ำสุด และ ความร้อนจำเพาะสถานะของแข็งสูงสุด
ค. จุดหลอมเหลวสูงสุด และ ความร้อนจำเพาะสถานะของแข็งต่ำสุด
ง. จุดหลอมเหลวสูงสุด และ ความร้อนจำเพาะสถานะของแข็งสูงสุด
จ. จุดหลอมเหลวสูงสุดเท่านั้น และ ไม่เกี่ยวกับความร้อนจำเพาะสถานะของแข็ง

56
95. (PAT3 ก.พ. 61) หม้อต้มน้ำไฟฟ้าที่มีความจุความร้อน 1.7 kJ  K −1 บรรจุน้ำที่มีมวล 1.5 kg ถ้าหม้อ
ต้มน้ำและน้ำในหม้อมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นจาก 25 C ไปเป็น 100 C โดยใช้เวลา 10 min หากยังคงต้ม
น้ำต่อไป จงหาว่าตั้งแต่น้ำเดือดจนกระทั่งน้ำในหม้อระเหยไป 2 ใน 3 ของมวลเริ่มต้น จะใช้เวลากี่นาที
กำหนดให้ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำเป็น 4.2 kJ  kg−1  K −1
และความร้อนแฝงของการระเหยเป็นน้ำเป็น 2, 400 kJ  kg−1

96. (ทุนคิง 2560) กาต้มน้ำอลูมิเนียมไฟฟ้า มวล 0.5 กิโลกรัม บรรจุน้ำมวล 1 กิโลกรัม ที่อุณหภูมิ 30
องศาเซลเซียส ใช้เวลาต้มน้ำให้เดือดที่ 100 องศาเซลเซียส ภายใน 5 นาที ถ้าลืมถอดปลั๊กไฟฟ้าออก
จะใช้เวลานานเท่าใดจึงจะทำให้น้ำระเหยกลายเป็นไอหมดกาต้มน้ำ
กำหนดให้ ความร้อนจำเพาะของกาต้มน้ำอลูมิเนียมเท่ากับ 880 จูล/(กิโลกรัม.เคลวิน)
ความร้อนจำเพาะของน้ำเท่ากับ 4180 จูล/(กิโลกรัม.เคลวิน)
ความร้อนแฝงจำเพาะของการกลายเป็นไอของน้ำเท่ากับ 2256 103 จูล/กิโลกรัม

57
97. (สอวน. ม.4 ส.ค. 51) กาน้ำไฟฟ้าใบหนึ่งใช้เวลาสิบห้านาทีในการต้มน้ำปริมาณหนึ่งจากอุณหภูมิ 0
องศาเซลเซียส ให้มีอุณหภูมิถึงจุดเดือดที่ 100 องศาเซลเซียส และใช้เวลาต่ออีกหนึ่งชั่วโมงยี่สิบนาที
ภายใต้เงื่อนไขเดียวกันเพื่อให้น้ำทั้งหมดเดือดกลายเป็นไอ จงใช้ข้อมูลที่กำหนดให้นี้หาความร้อนแฝงใน
การกลายเป็นไอของน้ำ ถ้าความจุความร้อนจำเพาะของน้ำมีค่าเท่ากับ 4.2 kJ/ ( kg K )

58
98. (Ent 28) ปริมาณความร้อนที่ทำให้กาน้ำใบหนึ่งมีอุณหภูมิเพิ่ม 1 K เท่ากับปริมาณความร้อนที่ทำให้น้ำ
128 กรัม มีอุณหภูมิเพิ่ม 1 K ถ้าใช้กาน้ำใบนั้นบรรจุน้ำ 1 kg ที่ 30 C ตั้งบนเตาแก๊สจนเดือดใช้เวลา
7 นาที แล้วทิ้งไว้ให้เดือดต่อไปอีกเป็นเวลา 20 นาที จะเหลือน้ำในกาเท่าใด
กำหนดให้ ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำ = 4.18 kJ/kg  K
ความร้อนแฝงจำเพาะของการกลายเป็นไอ = 2256 kJ/kg
ก. 0.370 kg ข. 0.418 kg ค. 0.582 kg ง. 0.630 kg

59
99. (พื้นฐานวิศวะ ต.ค. 44) ต้องการระเหยน้ำมวล 20 kg จากอุณหภูมิเริ่มต้นที่ 20 C โดยใช้อากาศมวล
200 kg ที่อุณหภูมิ 30 C ผ่านขดลวดความร้อน อยากทราบว่าต้องทำให้อากาศที่ผ่านขดลวด
ความร้อนมีอุณหภูมิเท่าไหร่ จึงจะทำให้น้ำทั้งหมดระเหย (ค่าความจุความร้อนจำเพาะของน้ำและอากาศ
คือ 4 kJ/kg  K และ 0.7 kJ/kg  K ตามลำดับ ค่าความร้อนแฝงจำเพาะของการกลายเป็นไอของน้ำ
2300 kJ/kg )

ก. 404 ข. 329 ค. 359 ง. 374

60
100. (พื้นฐานวิศวะ ต.ค. 47) ของแข็งชนิดหนึ่งมวล 1 กิโลกรัม มีอุณหภูมิ 20 C ของแข็งชนิดนี้มีจุด
หลอมเหลวและจุดเดือดเท่ากับ 80 C และ 200 C ตามลำดับ ถ้าความร้อนทั้งหมดที่ใช้ในการทำให้
ของแข็งชนิดนี้เปลี่ยนสถานะจากของแข็งไปเป็นไอมีค่าเท่ากับ 4 105 จูล และความร้อนแฝงจำเพาะ
ของการกลายเป็นไอมีค่าเป็น 4 เท่าของความร้อนแฝงของการหลอมเหลว จงหาความร้อนแฝงของการ
หลอมเหลวของของแข็งชนิดนี้ (ค่าความจุความร้อนจำเพาะของของแข็งและของเหลวชนิดนี้เท่ากับ
500 J/kg  K ) เป็น kJ/kg

61
101. (IJSO รอบที่ 2 มี.ค. 53) ใช้เครื่องทำความร้อนกำลัง 90 W ให้ความร้อนแก่การบูรมวล 0.20 kg ซึง่
อยู่ในแคลอริมิเตอร์ อุณหภูมิของระบบเพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอไปจนถึง 176 C และคงที่อยู่ที่อุณหภูมิ
นี้นาน 110 s ก่อนที่จะเพิ่มต่อไป ที่อุณหภูมิ 190 องศาเซลเซียส เครื่องทำความร้อนก็ถูกปิด อุณหภูมิ
ของระบบเริ่มลดลง แต่คงอยู่ที่อุณหภูมิ 176 C นานเป็นสิบสองเท่าของช่วงเวลาแรกที่อุณหภูมิคงที่
จงหา
(๑) ความร้อนที่สูญเสียไปจากแคลอริมิเตอร์ในระหว่างช่วงเวลาแรกที่อุณหภูมิคงที่ที่ 176 C
(๒) ความร้อนแฝงจำเพาะของการกลายเป็นไอของการบูร

62
แนวที่ ๗ : กราฟการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ

102. (มช. 2559) ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานความร้อนในหน่วยกิโลจูลกับอุณหภูมิในหน่วยเคลวินที่ให้กับ


สารหนึ่ง มวล 2 กิโลกรัม จากสถานะเริ่มต้นเป็นของแข็งที่อุณหภูมิ 100 เคลวิน เป็นไปตามกราฟ ถ้า
นำสารดังกล่าว 2.4 กิโลกรัม ที่อุณหภูมิเริ่มต้น 300 เคลวิน ทำให้เปลี่ยนไปอยู่ในสถานะของแข็ง
ทั้งหมด สารดังกล่าวต้องคายความร้อนกี่จูล

ก. 220 ข. 300 ค. 366 ง. 374

63
103. (ม.อ. 53) ก้อนสารมีมวล 0.5 กิโลกรัม เมื่อนำเข้าตู้ปรับอุณหภูมิ ปริมาณความร้อนที่สารดูดกลืนไว้ Q
สัมพันธ์กับอุณหภูมิ T ดังรูป จงหาว่าสารมีค่าความร้อนแฝงของการหลอมเหลว L เป็นกี่กิโลจูลต่อ
กิโลกรัม และค่าความจุความร้อนจำเพาะของสารในสถานะของเหลว c เป็นกี่กิโลจูลต่อกิโลกรัม·องศา
เซลเซียส

ก. 10 และ 0.25 ข. 15 และ 0.35


ค. 20 และ 0.50 ง. 30 และ 0.70

64
104. (PAT2 มี.ค. 65) ออกแบบการทดลอง 2 ชุด เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงกับ
ความร้อนที่ของเหลวได้รับ โดยใช้ของเหลว 2 ชนิดที่มีมวลเท่ากันและบรรจุในภาชนะที่เหมือนกัน และ
ใช้อุปกรณ์ให้ความร้อนที่สามารถปรับกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้า เพื่อทำให้ของเหลวมี
อุณหภูมิเปลี่ยนแปลง ผลการศึกษาแสดงดังกราฟ

จากผลการทดลอง ข้อสรุปใดถูกต้อง
ก. ค่าความร้อนจำเพาะแปรผันตรงกับความชันของกราฟ โดยของเหลวในการทดลองชุดที่ 1 มีค่าความ
ร้อนจำเพาะมากกว่าของเหลวในการทดลองชุดที่ 2
ข. ค่าความร้อนจำเพาะแปรผันตรงกับพื้นที่ใต้กราฟ โดยของเหลวในการทดลองชุดที่ 1 มีค่าความร้อน
จำเพาะมากกว่าของเหลวในการทดลองชุดที่ 2
ค. ค่าความร้อนจำเพาะแปรผกผันกับความชันของกราฟ โดยของเหลวในการทดลองชุดที่ 1 มีค่าความ
ร้อนจำเพาะน้อยกว่าของเหลวในการทดลองชุดที่ 2
ง. ค่าความร้อนจำเพาะแปรผกผันกับพื้นที่ใต้กราฟ โดยของเหลวในการทดลองชุดที่ 1 มีค่าความร้อน
จำเพาะน้อยกว่าของเหลวในการทดลองชุดที่ 2
จ. ปริมาณความร้อนที่ทำให้ของเหลวในการทดลองชุดที่ 1 มีอุณหภูมิเปลี่ยนแปลง 1 องศาเซลเซียส มี
ค่ามากกว่าของเหลวในการทดลองชุดที่ 2 ดังนั้น ค่าความร้อนจำเพาะของของเหลวในการทดลอง
ชุดที่ 1 จะมีค่ามากกว่าในการทดลองชุดที่ 2

65
105. (PAT3 มี.ค. 54) วิศวกรคนหนึ่งทำการให้ความร้อนในอัตราที่เท่ากันแก่สาร A และสาร B ที่มีมวล
เท่ากัน จนสารทั้งสองเปลี่ยนสถานะจากของเหลวกลายเป็นไอในที่สุด ได้ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิ
และค่าความร้อนดังรูป พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อใดถูกต้อง

(๑) สาร A มีค่าความจุความร้อนสูงกว่าสาร B ในสถานะของเหลว


(๒) สาร A มีค่าความร้อนแฝงในการกลายเป็นไอสูงกว่าสาร B
(๓) ค่าความร้อนที่ใช้ในการกลายเป็นไอของสาร A มีค่าสูงกว่าสาร B
(๔) สาร A เปลี่ยนสถานะกลายเป็นไอก่อนสาร B
ก. ข้อ (๑) และ (๒) เท่านั้น ข. ข้อ (๑) (๒) และ (๓)
ค. ข้อ (๒) และ (๔) เท่านั้น ง. ข้อ (๒) (๓) และ (๔)
จ. ข้อ (๑) (๓) และ (๔)

66
106. (EJU-1 2015) Ice of 100 g at −20 C is placed in thermally insulated container at
constant pressure and is heated for 50 minutes at a rate of 10 J/s using a heater inside
the container. The specific heat of ice is 2.1 J/ ( g  K ) , the heat of fusion of ice is
3.3 102 J/g , the specific heat of water is 4.2 J/ ( g  K ) , and the heat of vaporization of
water is 2.3 103 J/g .

From (a)-(d) below choose the graph that best represents how the container’s internal
temperature changes with time during the 50 minutes of heating.

(a) (b)

(c) (d)

67
107. (IJSO รอบที่ 1 ก.ค. 50) เตาไฟฟ้าให้ความร้อนกับสารที่เป็นของแข็งมวล 0.5 kg ในอัตรา 200 W
พบว่ากราฟระหว่างอุณหภูมิและเวลาเป็นดังรูปข้างล่าง ความร้อนจำเพาะของสารขณะที่เป็นของแข็งมี
ค่าเท่าใด

J J
ก. 100 ข. 200
kg  K kg  K
J J
ค. 400 ง. 1, 000
kg  K kg  K

68
108. (PAT3 ต.ค. 58) ให้ความร้อนกับสารที่เป็นของแข็งมวล 0.2 kg ในอัตรา 100 J/s กราฟระหว่าง
อุณหภูมิ และเวลาเป็นดังในรูป จงหาความร้อนจำเพาะของสาร ขณะที่เป็นของแข็งในหน่วย
J/ ( g  K )

109. (PAT3 พ.ย. 57) สารชนิดหนึ่งมีมวล 0.5 กิโลกรัม อยู่ในสภาวะของแข็ง อุณหภูมิ 10 C เมื่อให้ความ
ร้อนกับสารนี้ด้วยอัตรา 10 วัตต์ ทำให้สารมีอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไปตามรูป ความจุความร้อนจำเพาะ
ของสารนี้ในสภาวะของแข็งมีค่าเท่าใด

ก. 500 J/ ( kg  K ) ข. 600 J/ ( kg  K )
ค. 700 J/ ( kg  K ) ง. 1, 200 J/ ( kg  K )
จ. 4, 200 J/ ( kg  K )

69
110. (PAT3 มี.ค. 60) หากให้ความร้อนด้วยกำลัง 10 kW กับสารชนิดหนึ่งซึ่งเริ่มต้นอยู่ในสภาวะของแข็ง
ในระบบปิดที่มีการหุ้มฉนวนอย่างดี พบว่า สารมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิดังรูป ความร้อนแฝงของการ
เปลี่ยนสถานะจากของแข็งไปเป็นของเหลวมีค่าเท่าใด

ก. 50 kJ ข. 60 kJ
ค. 300 kJ ง. 3, 000 kJ
จ. 3, 600 kJ

70
111. (IJSO รอบที่ 1 มี.ค. 51) เตาไฟฟ้าให้ความร้อนกับสารที่เป็นของแข็งมวล 0.50 kg ในอัตรา 200 W
พบว่ากราฟระหว่างอุณหภูมิและเวลาเป็นดังรูปข้างล่าง ความร้อนแฝงในการหลอมเหลวจำเพาะของ
สารมีค่าเท่าใด

ก. 6.0 103 J/kg ข. 8.0 103 J/kg


ค. 12 103 J/kg ง. 16 103 J/kg

71
112. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 56) สารชนิดหนึ่งมีสถานะแก๊สและถูกทำให้ควบแน่นด้วยเครื่องความเย็นซึ่งมี
อัตราการถ่ายเทความร้อนออกคงที่เท่ากับ 50 W การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสารนี้ตามเวลาเป็นดัง
กราฟ จงประมาณค่าความจุความร้อนของสารนี้ในสถานะของเหลว

ก. 110 J K −1 ข. 20 J K −1 ค. 30 J K −1 ง. 83 J K −1

72
113. (พื้นฐานวิศวะ มี.ค. 47) เมื่อให้ความร้อนในอัตราคงที่กับของแข็งชนิดหนึ่งมีมวล 1 กิโลกรัม อุณหภูมิ
ของของแข็งที่เวลาต่างๆ แสดงได้ดังกราฟ

0 C

ถ้าความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลวของของแข็งนี้คือ 3 105 จูลต่อกิโลกรัม ความจุความ


ร้อนจำเพาะของของแข็งมีค่ากี่จูลต่อกิโลกรัมต่อเคลวิน

73
114. (พสวท. ม.ต้น) เด็กชายคมสันทำการทดลองต้มสารที่เป็นของเหลวชนิดหนึ่งมวล 40 กรัม ด้วยตะเกียง
แอลกอฮอล์ที่ให้ความร้อนคงที่ ทำให้สารเปลี่ยนแปลงสถานะ เริ่มต้นตั้งแต่ของแข็ง จนกลายเป็นไอ
สารนี้มีค่าความร้อนจำเพาะ = 0.8 แคลอรีต่อกรัมต่อองศาเซลเซียส ดังข้อมูลที่แสดงในกราฟ

(๑) ความร้อนที่ใช้กับสารนี้ ตั้งแต่เริ่มเป็นของเหลว จนเดือดพอดี คิดเป็นกี่แคลอรี


(๒) ความร้อนแฝงในการหลอมเหลวของสารนี้ คิดเป็นกี่แคลอรี

74
115. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 60) ทำการทดลองให้ความร้อนกับสาร A ด้วยอัตราคงตัว จากสถานะของแข็ง
อุณหภูมิ T0 จนกระทั่งกลายเป็นของเหลว พบว่าในกรณีที่มวลของสาร A เท่ากับ m ความสัมพันธ์
ระหว่างอุณหภูมิของสาร A กับเวลาที่ให้ความร้อนเป็นไปตามกราฟ

ถ้าทำการทดลองเช่นเดียวกันกับสาร A มวล 2m สาร A จะเริ่มกลายเป็นของเหลวที่อุณหภูมิเท่าใด


และเวลาใด
ก. อุณหภูมิ T0 +  และ เวลา t1 ข. อุณหภูมิ T0 +  และ เวลา 2t1
ค. อุณหภูมิ T0 + 2 และ เวลา t1 ง. อุณหภูมิ T0 + 2 และ เวลา 2t1

75
116. (EJU-1 2010) Ice is placed in a copper container surrounded with thermal insulation, and
the container is heated with a heater at a rate of 1.0 103 J/s . The graph below shows
the relationship between time elapsed t and temperature  during the heating process.
All the heat from the heater is conducted through the container, ice, and water, with
no heat exchange occurring with the external environment. The specific heat of water
is 4.2 J/g  K , the specific heat of copper is 0.39 J/g  K , and the heat of fusion of ice is
3.3 102 J/g .

What is the mass (in g ) of the container? From (a)-(d) below choose the best answer.
(a) 3.0 102 (b) 1.2 103 (c) 1.9 103 (d) 2.6 103

76
117. (IJSO รอบที่ 2 มี.ค. 61) ถ้วยอะลูมิเนียมมวล 200 g บรรจุน้ำมวล 100 g จากนั้นให้ความร้อนแก่
ถ้วยนี้ด้วยอัตราคงที่ 30 J/s ทำให้น้ำภายในถ้วยมีอุณหภูมิสูงขึ้นตามภาพ เส้นตรงแสดงเส้นแนวโน้ม
ของข้อมูล

สมมติให้น้ำและถ้วยอะลูมิเนียมอยู่ในสภาพสมดุลตลอดเวลาและไม่มีการสูญเสียพลังงาน กำหนดให้น้ำ
มีค่าความจุความร้อนจำเพาะ 4200 J/kg  K จงคำนวณหาค่าความจุความร้อนจำเพาะของ
อะลูมิเนียม

77
118. (TEDET ม.1 2563) กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและเวลาที่ให้ความร้อนที่เท่ากันแก่สาร
A, B และ C เป็นดังนี้

ข้อใดอธิบายเกี่ยวกับกราฟนี้ไม่ถูกต้อง
ก. ถ้าเวลาที่ให้ความร้อนเท่ากันปริมาณความร้อนที่สารได้รับจะเท่ากันด้วย
ข. เมื่อให้ปริมาณความร้อนเท่ากัน อัตราส่วนการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสาร A : B : C = 3: 2 :1
ค. ถ้ามวลของ A, B และ C เท่ากัน A, B และ C จะเป็นสารต่างชนิดกัน
ง. ถ้ามวลของ A, B และ C เท่ากัน อัตราส่วนความร้อนจำเพาะของสาร A : B : C = 2 : 3: 6
จ. ถ้า A, B และ C เป็นสารชนิดเดียวกัน มวลของ A จะมากที่สุด

78
119. (Ent 39) จากการทดลองวัดค่าความจุความร้อนของระบบที่ประกอบด้วยคาลอริมิเตอร์บรรจุน้ำที่มี
เทอร์โมมิเตอร์และแท่งแก้วคนอยู่มีมวลรวม 0.5 กิโลกรัม ให้ความร้อนแก่ระบบ โดยการผ่านกระแส
ไฟฟ้าเข้าไปในขดลวดตัวต้านทานดังรูป ก. เมื่อวัดและเขียนกราฟระหว่างอุณหภูมิของระบบกับเวลาได้
กราฟดังรูป ข. ถ้าขดลวดให้ความร้อน 50 วัตต์ ระบบมีค่าความร้อนจำเพาะเท่ากับเท่าไร

ก. 9 102 J/ ( kg  K ) ข. 3 103 J/ ( kg  K )
ค. 6 103 J/ ( kg  K ) ง. 9 103 J/ ( kg  K )

120. (พื้นฐานวิศวะ ต.ค. 48) ในการทดลองเปรียบเทียบหาคุณสมบัติทางความร้อนของวัตถุของแข็ง 3 ชนิด


โดยให้ความร้อนแก่วัตถุทั้งสามในอัตราการให้ความร้อนที่เท่ากัน และวัตถุทั้งสามชนิดมีมวลเท่ากัน
และได้ผลการทดลองดังรูป ข้อใดต่อไปนี้ให้ผลสรุปถูกต้อง

ก. วัตถุ A มีค่าความจุความร้อนจำเพาะน้อยกว่าวัตถุ C
ข. วัตถุ A มีค่าความจุความร้อนจำเพาะน้อยกว่าวัตถุ B
ค. วัตถุ B มีค่าความจุความร้อนจำเพาะน้อยกว่าวัตถุ C
ง. ไม่มีข้อใด สรุปได้ถูกต้อง

79
121. (TEDET ม.1 2564) ให้ความร้อนกับน้ำแข็ง 100 กรัม ที่ความดัน 1 บรรยากาศ พบว่า ความสัมพันธ์
ระหว่างอุณหภูมิกับเวลาที่ให้ความร้อนกับน้ำแข็งเป็นดังกราฟ

เมื่อให้ความร้อนกับน้ำแข็ง 200 กรัม ที่ความดัน 1 บรรยากาศ ข้อใดบ้างไม่เปลี่ยนแปลง เมื่อ


เปรียบเทียบกับกราฟข้างต้น (ระบุ 2 คำตอบ)
ก. ความชันของกราฟช่วง A – B
ข. อุณหภูมิในช่วง B – C
ค. ความชันของกราฟช่วง C – D
ง. อุณหภูมิในช่วง D – E
จ. ความชันของกราฟช่วง E – F

80
122. (TEDET ม.1 2559) จากกราฟแสดงอุณหภูมิของเอทานอลเหลวที่ทำให้ร้อน

(๑) จุดเดือดของเอทานอลคือ 78 C
(๒) จำนวนโมเลกุลของเอทานอลเหลวที่ A ถึง C เท่ากัน
(๓) ในช่วง B ถึง C เป็นช่วงที่เอทานอลเหลวมีการคายความร้อนออกมา
(๔) ปริมาตรของโมเลกุลเอทานอลในช่วง A และ B ไม่เปลี่ยนแปลง
(๕) ถึงแม้ปริมาณของเอทานอลแตกต่างกัน แต่กราฟก็ออกมาในรูปแบบเดียวกัน
ข้อใดอธิบายเกี่ยวกับกราฟนี้ได้ถูกต้องทั้งหมด
ก. (๑), (๒) ข. (๑), (๔) ค. (๑), (๒), (๔)
ง. (๑), (๒), (๕) จ. (๓), (๔), (๕)

81
123. (PAT3 เม.ย. 57) ไอน้ำไหลผ่านท่อที่มีความยาวมาก เกิดการแลกเปลี่ยนความร้อนกับบรรยากาศและ
ควบแน่น หากความดันของของไหลในท่อคงที่ อุณหภูมิของของไหลในท่อที่ระยะทางต่างๆ ควรเป็นดัง
รูปใด

ก. ข.

ค. ง.

จ.

82
อุณหภูมิผสม
แนวที่ ๑ : ยังไม่มีการละลาย

124. (สอวน. ม.4 ก.ย. 46) น้ำเชื่อมมวล m1 ความจุความร้อนจำเพาะ s1 อุณหภูมิ t1 C นำมาผสมกับ


น้ำเชื่อมมวล m2 ความจุความร้อนจำเพาะ s2 อุณหภูมิ t2 C โดยไม่มีการเปลี่ยนสภาวะ จะได้
น้ำเชื่อมผสมอุณหภูมิสุดท้ายเท่าไร

125. (สอวน. ก.พ. 65) ของเหลว A มวล mA ความจุความร้อนจำเพาะ sA อุณหภูมิ  A กับของเหลว B


มวล mB ความจุความร้อนจำเพาะ sB อุณหภูมิ  B ผสมกันเป็นเนื้อเดียวได้โดยไม่มีปฏิกิริยาเคมี
เกิดขึ้น จะมีอุณหภูมิสุดท้ายเป็นเท่าไร (กำหนดว่า mA sA = mB sB )
ก. 1 ( A −  B ) ข. ( A −  B )
2
1
ค. ( A +  B ) ง. 2 ( A −  B )
2

83
126.. (O-Net ม.3 2565) เทน้ำร้อนที่มีอุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียส จำนวน 100 กรัมลงไปในภาชนะที่เก็บ
ความร้อนได้อย่างดีที่มีน้ำอุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส บรรจุอยู่ 500 กรัม ปล่อยให้เข้าสู่สภาวะสมดุล
หลังจากนั้นจะให้ความร้อนกับน้ำด้วยขดลวดไฟฟ้าที่ให้ความร้อนในอัตราคงที่ โดยไม่มีการสูญเสียความ
ร้อนจากภาชนะ และวัดอุณหภูมิของน้ำทุกๆ 1 นาที เมื่อเวลาผ่านไป 10 นาที สังเกตว่าน้ำเริ่มเดือด
โดยสามารถเขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิของน้ำและเวลาได้ดังกราฟ

(กำหนดให้ ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำ เท่ากับ 1 แคลอรี/กรัม องศาเซลเซียส และความร้อนแฝง


ของการกลายเป็นไอของน้ำ เท่ากับ 540 แคลอรี/กรัม)

ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. ขดลวดให้ความร้อนมีกำลังไฟฟ้า 55 แคลอรีต่อวินาที
ข. ปริมาณความร้อน 324 กิโลแคลอรี ที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะของเหลวของน้ำกลายเป็นไอ
ค. ขดลวดจะถ่ายโอนพลังงานความร้อนให้กับน้ำผสม 33 กิโลแคลอรี เมื่อเวลาผ่านไป 15 นาที
ง. อ่านค่าอุณหภูมิน้ำจากเทอร์โมมิเตอร์ได้ 45 องศาเซลเซียส ที่สภาวะสมดุลความร้อน

84
127. (PAT3 มี.ค. 54) ลูกเหล็กมวล 7 กิโลกรัมมีอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส ถูกใส่ลงไปในน้ำมวล 3
กิโลกรัมมีอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสุดท้ายของลูกเหล็กและน้ำเป็นเท่าไร ถ้าไม่มีการ
ถ่ายเทความร้อนกับสิ่งแวดล้อม กำหนดให้ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำเป็น 4, 200 จูลต่อกิโลกรัม-
เคลวิน และของเหล็กเป็น 450 จูลต่อกิโลกรัม-เคลวิน
ก. 30 องศาเซลเซียส ข. 35 องศาเซลเซียส
ค. 40 องศาเซลเซียส ง. 45 องศาเซลเซียส
จ. 50 องศาเซลเซียส

85
128. (PAT3 มี.ค. 57) มีน้ำ 1 ลิตร อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียสและโลหะชนิดหนึ่งมวล 2 กิโลกรัม
อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส นำมาใส่รวมกันในภาชนะปิดที่มีฉนวนหุ้มกันความร้อน เมื่อเวลาผ่านไปจน
เข้าสู่สภาวะคงตัว อุณหภูมิของน้ำภายในภาชนะจะเป็นเท่าไร ถ้ากำหนดให้ความจุความร้อนจำเพาะ
ของน้ำเท่ากับ 4.2 กิโลจูลต่อกิโลกรัม-เคลวิน และความจุความร้อนจำเพาะของโลหะนี้เท่ากับ 0.42
กิโลจูลต่อกิโลกรัม-เคลวิน
ก. 15 องศาเซลเซียส ข. 20 องศาเซลเซียส
ค. 25 องศาเซลเซียส ง. 30 องศาเซลเซียส
จ. 35 องศาเซลเซียส

129. (EJU-2 2012) A 210 − g piece of iron heated to 100 C is placed in 90 g of water at
20 C . The specific heat of water is water is 4.2 J/ ( g  K ) , and the specific heat of iron
is 0.45 J/ ( g  K ) , There is no exchanger of heat with the surroundings.

What is the temperature of the water (in C) after sufficient time elapses? From (a)-(d)
below choose the best answer.
(a) 24 (b) 36 (c) 48 (d) 60

130. (PAT3 ก.พ. 63) แท่งเหล็กมวล 100 kg มีอุณหภูมิ 100 C ถูกหย่อนลงในถังที่หุ้มฉนวนอย่างดี


ภายในถังบรรจุน้ำอุณหภูมิ 25 C และปริมาตร 0.5 m3 อุณหภูมิเมื่อเข้าสู่สมดุลความร้อนมี
ค่าประมาณเท่าใด กำหนดให้ความร้อนจำเพาะของเหล็กเป็น 0.45 kJ/kg  K และความร้อนจำเพาะ
ของน้ำเป็น 4.2 kJ/kg  K
ก. 25.0 C ข. 26.6 C
ค. 62.5 C ง. 75.0 C
จ. 96.7 C

131. (มข. 2554) ใส่ก้อนอะลูมิเนียมมวล 50 กรัม อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส ลงในน้ำมวล 100 กรัม
อุณหภูมิ 25 องศาเซสเซียส ซึ่งอยู่ในภาชนะฉนวนปิดมิดชิด เมื่อถึงสมดุลความร้อน อุณหภูมิของสาร
ทั้งสอง มีค่าเป็นเท่าใด [กำหนดให้ ความจุจำเพาะของน้ำและอะลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ 4000 จูลต่อ
(กิโลกรัมเซลเซียส) และ 1000 จูลต่อ(กิโลกรัมเซลเซียส) ตามลำดับ]
ก. 33 องศาเซลเซียส ข. 34 องศาเซลเซียส
ค. 35 องศาเซลเซียส ง. 36 องศาเซลเซียส

86
132. (B-PAT3 ต.ค. 51) จุ่มเหล็กมวล 22 กรัม ที่เผาจนร้อนที่ 100 องศาเซลเซียส ลงในน้ำมวล 132 กรัม
บรรจุอยู่ในภาชนะที่มีฉนวนกั้น ก่อนจุ่มเหล็กน้ำมีอุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส จงหาอุณหภูมิของน้ำที่
เพิ่มขึ้นหลังจุ่มเหล็กลงไป
กำหนดให้ความร้อนจำเพาะของเหล็ก = 0.45 จูล/กรัม.องศาเซลเซียส
ความร้อนจำเพาะของน้ำ = 4.20 จูล/กรัม.องศาเซลเซียส
ก. อุณหภูมิเพิ่มขึ้น 20.0 องศาเซลเซียส ข. อุณหภูมิเพิ่มขึ้น 21.4 องศาเซลเซียส
ค. อุณหภูมิเพิ่มขึ้น 23.5 องศาเซลเซียส ง. อุณหภูมิเพิ่มขึ้น 56.0 องศาเซลเซียส

133. (มช. 2552) นำก้อนอลูมิเนียมมวล 500 กรัม อุณหภูมิ 327 องศาเซลเซียส จุ่มลงน้ำที่มีอุณหภูมิ 27
องศาเซลเซียส ปริมาตร 1000 ลูกบาศก์เซนติเมตร ซึ่งบรรจุอยู่ในภาชนะที่เป็นฉนวน จากนั้นปิด
ภาชนะด้วยฝาฉนวนแล้วปล่อยทิ้งไว้ จงหาว่าอุณหภูมิสุดท้ายของน้ำมีค่าเป็นเท่าใด โดยให้คิดว่าภาชนะ
ฉนวนให้หรือรับความร้อนน้อยมาก
กำหนดให้ ความหนาแน่นของน้ำคงที่ = 1 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
ความจุความร้อนจำเพาะของอลูมิเนียม = 0.9 กิโลจูล/กิโลกรัม·เคลวิน
ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำ = 4.2 กิโลจูล/กิโลกรัม·เคลวิน

87
134. (EJU-1 2019) A thermally insulated container holds a liquid at temperature t1 . A metal
ball at temperature t2 (  t1 ) is placed in the liquid. After sufficient time elapses, the
liquid and the ball reach the same temperature. Let us denote as C1 the liquid’s heat
capacity, and as C2 the ball’s heat capacity. Assume that the transfer of heat occurs
only between the liquid and the ball.

What is the quantity of heat transferred from the liquid to the ball? From (a)-(f) below
choose the correct answer.
(a) ( C1 + C2 )( t1 − t2 ) (b)
( C12 + C2 2 ) ( t1 − t2 )
(c) 1 2 ( 1 2 )
C C t −t
C1 + C2 C1 + C2

(d) ( C1 − C2 )( t1 − t2 ) (e)
(C 1
2
+ C2 2 ) ( t1 − t2 )
(f)
C1C2 ( t1 − t2 )
C1 − C2 C1 − C2

88
135. (สอวน. ม.4 ส.ค. 55) น้ำมวล m1 อุณหภูมิ t1 C มวล m2 อุณหภูมิ t2 C และมวล m3 อุณหภูมิ
t3 C เมื่อผสมเป็นเนื้อเดียวกันโดยไม่สูญเสียความร้อนเดิมหรือได้รับความร้อนเพิ่มจะมีอุณหภูมิ
สุดท้ายเป็นเท่าใด

136. (ทุนญี่ปุ่น 2020) The specific heat capacity of water is 4.2 J/ ( g  K ) . 2.0 102 g of water
at 20 C is mixed with 3.0 102 g of water at 80 C . Calculate the final temperature
of the mixture after thermal equilibrium is established in Celsius. Ignore any heat
exchange with the surroundings.

89
137. (EJU-2 2018) Water of 5.0 103 g at 60 C is placed in a metal container at 20 C . After
sufficient time elapses, the temperature of both the water and the container becomes
50 C . Next, water of 1.0 102 g at 60 C is placed in the same metal container at
20 C . After sufficient time elapses, the temperature of both the water and the
container becomes t  C . Assume that heat is transferred only between the container
and the water.
What is t (in C )? From (a)-(e) below choose the best answer.
(a) 25 (b) 30 (c) 35 (d) 40 (e) 45

90
138. (สอวน. ก.ย. 45)

139. (สอวน. ส.ค. 60) ภาชนะหุ้มฉนวนความร้อนบรรจุน้ำมันอยู่ภายในจำนวน 0.775 kg เมื่อใส่น้ำ


0.250 kg อุณหภูมิ 80 C ลงไปในภาชนะ ปิดฝาให้สนิท แล้วปล่อยให้น้ำและน้ำมันเข้าสู่สมดุลความ
ร้อน พบว่าน้ำมันมีอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียสเพิ่มเป็นสามเท่าของอุณหภูมิเดิม จงหาอุณหภูมิ
เริ่มต้นของน้ำมันก่อนที่จะใส่น้ำลงไปในภาชนะ กำหนดให้ ความร้อนจำเพาะของน้ำมันเป็น
J J
1.4 103 และความร้อนจำเพาะของน้ำเป็น 4.2 103
kg  K kg  K
ก. 18 C ข. 20 C ค. 25 C ง. 29 C

91
140. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 65) นำก้อนโลหะก้อนหนึ่งอุณหภูมิ 80 C ใส่ลงในของเหลวอุณหภูมิ 20 C
ปริมาตร 100 cm3 ในภาชนะปิดของเหลวและก้อนโลหะจะเข้าสู่สมดุลความร้อนที่อุณหภูมิ 40 C
จากนั้นเทของเหลวชนิดเดิมอุณหภูมิ 20 C ปริมาตร 50 cm3 เพิ่มลงไปในภาชนะเดิม ของเหลวและ
ก้อนโลหะจะเข้าสู่สมดุลความร้อนใหม่ที่อุณหภูมิเท่าใด กำหนดให้ของเหลวไม่ล้นออกมาจากภาชนะ
และไม่มีการสูญเสียความร้อนให้กับภาชนะหรือสิ่งแวดล้อม
ก. 25 C ข. 28 C ค. 30 C ง. 35 C

92
141. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 57) นำก้อนเหล็กก้อนหนึ่ง อุณหภูมิ 90 C ใส่ลงในน้ำปริมาณหนึ่งซึ่งมีอุณหภูมิ
10 C พบว่าระบบซึ่งประกอบด้วยน้ำและเหล็กเข้าสู่สมดุลความร้อนที่อุณหภูมิ 30 C ถ้าทำการ
ทดลองซ้ำแต่เปลี่ยนเป็นก้อนเหล็กที่มีมวลเป็น 2 เท่าของเดิม โดยที่อุณหภูมิเริ่มต้นของน้ำและเหล็ก
ยังคงเท่าเดิม จะพบว่าระบบเข้าสู่สมดุลความร้อนที่อุณหภูมิเท่าใด
ก. 42 C ข. 50 C ค. 58 C ง. 60 C

142. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 60) นำก้อนโลหะก้อนหนึ่งอุณหภูมิ 100 C ใส่ลงในของเหลวอุณหภูมิ 20 C


ในภาชนะ ของเหลวและก้อนโลหะจะเข้าสู่สมดุลความร้อนที่อุณหภูมิ 40 C จากนั้นนำก้อนโลหะชนิด
และขนาดเดิมอุณหภูมิ 100 C อีกก้อนหนึ่งใส่ลงไปในภาชนะเดิม ของเหลวและก้อนโลหะทั้งสองก้อน
จะเข้าสู่สมดุลความร้อนใหม่ที่อุณหภูมิใด กำหนดให้ของเหลวไม่ล้นออกมาจากภาชนะและไม่มีการ
สูญเสียความร้อนให้กับภาชนะหรือสิ่งแวดล้อม
ก. 50 C ข. 52 C ค. 55 C ง. 60 C

143. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 61) เทน้ำอุณหภูมิ 20 C ปริมาณ 10 ml ผสมกับน้ำปริมาณหนึ่งซึ่งมีอุณหภูมิ


100 C ในภาชนะฉนวน น้ำผสมที่ได้จะมีอุณหภูมิ 80 C ถ้าเติมน้ำอุณหภูมิ 20 C อีก 10 ml
เพิ่มลงในภาชนะนี้ จะได้น้ำผสมใหม่ที่อุณหภูมิเท่าใด กำหนดให้น้ำไม่ล้นออกมาจากภาชนะและไม่มี
การสูญเสียความร้อนให้กับภาชนะหรือสิ่งแวดล้อม
ก. 60 C ข. 65 C ค. 68 C ง. 70 C

93
144. (EJU-1 2013) Consider three objects designated A, B, and C. First, A is placed in contact
with B. As a result, the temperature of A, decreases by 4.0 K , and the temperature of
B increases by 16.0 K , with both objects reaching a temperature of 75.0 C . Next, B is
placed in contact with C. As a result, the temperature of B decreases by 15.0 K , and
the temperature of C increases by 2.5 K , with both objects reaching a temperature of
60.0 C . Assume that there is no exchange of heat with the environment.

The objects A and C are placed in contact with each other when the temperature of A
is 75.0 C and the temperature of C is 60.0 C . What is the temperature (in C ) of
both objects after sufficient time elapses? From (a)-(d) below choose the best answer.
(a) 63.0 (b) 66.0 (c) 69.0 (d) 72.0

94
145. (PAT3 มี.ค. 53) ใส่ลูกเหล็กที่มีอุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส ลงไปในน้ำมวล 10 กิโลกรัม ที่มีอุณหภูมิ
25 องศาเซลเซียส ถ้าอุณหภูมิสุดท้ายของลูกเหล็กและน้ำเป็น 55 องศาเซลเซียส และไม่มีการถ่ายเท
ความร้อนกับสิ่งแวดล้อม จงหามวลของลูกเหล็ก
กำหนดให้ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำเป็น 4, 200 จูลต่อกิโลกรัม-เคลวิน
และของลูกเหล็กเป็น 450 จูลต่อกิโลกรัม-เคลวิน
ก. 108 กิโลกรัม ข. 110 กิโลกรัม
ค. 112 กิโลกรัม ง. 114 กิโลกรัม
จ. 116 กิโลกรัม

95
146. (มข. 2560) ต้องการทำน้ำอุ่นอาบในวันที่อากาศหนาว มีน้ำเย็นอุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส อยู่ในถัง
ปริมาตร 50 ลิตร จะต้องเติมน้ำร้อน 100 องศาเซลเซียส ลงไปเท่าไรจึงจะได้น้ำอุ่นอุณหภูมิ 25
องศาเซลเซียส
ก. 6.7 ลิตร ข. 7.5 ลิตร ค. 10.0 ลิตร ง. 12.5 ลิตร

147. (พื้นฐานวิศวะ มี.ค. 47) มีน้ำร้อนอยู่สองถัง ถังหนึ่งมีปริมาตร 3, 000 ลูกบาศก์เซนติเมตร อุณหภูมิ


75 องศาเซลเซียส ส่วนถังที่สองมีปริมาตร 9, 000 ลูกบาศก์เซนติเมตร อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส
ต้องการให้น้ำทั้งสองถังมีอุณหภูมิลดลงเหลือ 40 องศาเซลเซียส โดยเติมน้ำเย็นอุณหภูมิ 25 องศา
เซลเซียส จะต้องเติมน้ำเย็นดังกล่าวเป็นปริมาตรเท่าใด
(ความหนาแน่นของน้ำ = 1 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร)
ก. 6, 000 ลูกบาศก์เซนติเมตร ข. 7, 000 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ค. 12, 000 ลูกบาศก์เซนติเมตร ง. 13, 000 ลูกบาศก์เซนติเมตร

96
148. (PAT3 มี.ค. 59) กาแฟอุณหภูมิ 85 C ปริมาตร 210 ml จะต้องเติมนมที่มีอุณหภูมิ 5 C ปริมาตร
เท่าไร จึงจะทำให้ได้กาแฟผสมนมที่อุณหภูมิ 75 C ถ้ากำหนดให้ความหนาแน่น และความจุความ
ร้อนจำเพาะของของเหลวทั้งสองอย่างเป็น 1 g/ml และ 4 J/ ( g  K )
ก. 10 ml ข. 25 ml
ค. 30 ml ง. 45 ml
จ. 50 ml

97
149. (EJU-1 2012) The table below lists the specific heat of five different substances. Consider
a container that is made from one of these substance and has a mass of 150 g . One
hundred (100 ) grams of water at 75 C is placed in the container, which was initially
at 10 C . After sufficient time elapses, the temperature of the container and the water
both becomes 60 C . The specific heat of water is 4.2 J/ ( g  K ) , and there is no
exchange of heat between the container and its environment.

Substance Silver Copper Iron Glass Aluminum


Specific heat ( J/ ( g  K ) ) . 0.24 . . 0.39 . . 0.45 . . 0.84 . . 0.90 .

From what substance is the container made? From (a)-(e) below choose the best answer.
(a) Silver (b) Copper (c) Iron
(d) Glass (e) Aluminum

98
150. (EJU-2 2012) As shown in Figure 1 below, objects A (heat capacity: CA ) and B (heat
capacity: CB ) are placed in contact with each other and are enclosed in a heat insulator.
Figure 2 shows the change in each object’s temperature over time t .

CB
What is the value of ? From (a)-(d) below choose the best answer.
CA
(a) 0.2 (b) 0.3 (c) 3 (d) 5

99
151. (TEDET ม.3 2564) เมื่อนำวัตถุ A และ B ที่มีมวลเท่ากัน แต่มีอุณหภูมิต่างกันมาสัมผัสกัน พบว่าวัตถุ
ทั้ง 2 มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตามเวลาที่เปลี่ยนไปจนกระทั่งเกิดสมดุลความร้อนดังกราฟ

ความร้อนจำเพาะของวัตถุ A เป็นกี่เท่าของวัตถุ B (ระบุ 1 คำตอบ)


ก. 0.2 เท่า ข. 0.5 เท่า
ค. 1 เท่า ง. 1.5 เท่า
จ. 2 เท่า

100
152. (EJU-2 2011) A container equipped with a heater holds 2.0 kg of water at 20 C . Upon
being heated by the heater for 42 minutes, the water’s temperature reaches 80 C . At
that point, 1.0 kg of water at 20 C is added to the water in the container, and the
water continues to be heated with the same heater. Here, evaporation is negligible, the
quantity of heat emitted by the heater per unit remains constant, and all of the heat is
transferred to the water in the container, without escaping to the container or the
environment. Use the value 4.2 J/ ( g  K ) for the specific heat of water.

After the 1.0 kg of water is added, how many minutes elapse until the temperature of
the water in the container reaches 100 C ? From (a)-(f) below choose the best answer.
(a) 10 (b) 26 (c) 33 (d) 42 (e) 56 (f) 64

101
แนวที่ ๒ : ผสมน้ำกับอัตราการไหล

153. (พื้นฐานวิศวะ มี.ค. 46) ในการทำน้ำอุ่นให้ได้ 40 องศาเซลเซียส ต้องหมุนวาล์วน้ำร้อนและน้ำเย็นให้


มาผสมกัน โดยน้ำร้อนมีอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส น้ำเย็นอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ต้องเปิดให้
อัตราการไหลของน้ำร้อน : น้ำเย็นเป็นเท่าไรจึงได้น้ำอุ่น 40 องศาเซลเซียส
ก. 3: 4 ข. 4 : 3 ค. 5 :12 ง. 12 : 5

154. (B-PAT3 ต.ค. 51) ต้องการทำน้ำอุ่นอุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส ที่อัตราการไหล 60 กิโลกรัมต่อนาที


โดยการผสมน้ำเย็นอุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส เข้ากับน้ำร้อนอุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส ถามว่าต้อง
ใช้น้ำเย็นต่อน้ำร้อนในอัตราส่วนเท่าใด
(โดยให้ค่าความจุความร้อนจำเพาะของน้ำมีค่าคงที่ = 4.2 kJ/kg  C และความหนาแน่นของน้ำมีค่า
1000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร)
ก. 1: 3 ข. 1: 2 ค. 3:1 ง. 2 :1

102
155. (พื้นฐานวิศวะ มี.ค. 42) เครื่องผสมน้ำอุ่น (mixer) หุ้มฉนวนอย่างดี ไม่มีการถ่ายเทความร้อน ดังรูป ท่อ
A มีพื้นที่หน้าตัด 10 cm2 และมีอุณหภูมิ 25 C ไหลเข้าด้วยความเร็ว 2 m/s ท่อ B มีพื้นที่หน้าตัด
5 cm 2 และมีน้ำอุณหภูมิ 40 C ไหลเข้ามีความเร็ว 8 m/s และไหลออกที่ท่อ C ซึ่งมีพื้นที่หน้าตัด
20 cm 2 ด้วยความเร็ว 3 m/s จงหาอุณหภูมิของน้ำที่ไหลออกจากท่อ C เป็นองศาเซลเซียส เมื่ออยู่ใน
สภาวะการไหลคงที่สม่ำเสมอ เมื่อกำหนดให้ c p ของน้ำมีค่าคงที่ตลอด

103
แนวที่ ๓ : มีการละลาย

156. (EJU-2 2017) Ice of mass 200 g at 0 C is placed in water of mass 1000 g at 30 C
held in a thermally insulated container. The heat of fusion of ice is 330 J/g and the
specific heat of water is 4.2 J/ ( g  K ) . The heat capacity of the container is negligible.
What is the temperature (in C ) inside the container after sufficiently time elapses?
From (a)-(f) below choose the best answer.
(a) 10 (b) 12 (c) 14 (d) 16 (e) 18 (f) 20

104
157. (IJSO รอบที่ 1 ก.ค. 50) น้ำแข็ง 10 กรัม อุณหภูมิ 0 C ถูกหย่อนลงในน้ำ 20 กรัม อุณหภูมิ
18 C โดยไม่มีการสูญเสียความร้อนให้กับสิ่งแวดล้อมหรือภาชนะ อุณหภูมิผสมจะเป็นเท่าใด
กำหนดให้ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของน้ำแข็งเท่ากับ 80 แคลอรีต่อกรัม และความร้อน
จำเพาะของน้ำเท่ากับ 1.0 แคลอรีต่อกรัมต่อเซลเซียส
ก. 0 C ข. 6 C ค. 9 C ง. 12 C

105
158. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 59) ใส่ก้อนน้ำแข็งปริมาตร 10.0 cm3 ที่อุณหภูมิ 0.0 C ลงไปในน้ำปริมาตร
100.0 cm3 ที่อุณหภูมิ 11.0 C ทันทีที่ใส่น้ำแข็งทั้งหมด จงหาอุณหภูมิผสมสุดท้ายของน้ำและ
น้ำแข็ง กำหนดให้ความหนาแน่นของน้ำเป็น 1.000 g/cm3 กำหนดให้ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำ
เป็น 4.20 J K-1 g-1 ความร้อนแฝงการหลอมเหลวของน้ำแข็ง = 330 J g −1
ก. 2.4 C ข. 3.6 C ค. 3.9 C ง. 4.3 C

159. (Ent 40) ใส่น้ำแข็ง 50 กรัม อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ลงในน้ำ 200 กรัม ที่อุณหภูมิ 30 องศา
เซลเซียส จะได้อุณหภูมิสุดท้ายเท่าใด (ความร้อนแฝงในการหลอมเหลวของน้ำแข็งเท่ากับ 80 แคลอรี
ต่อกรัม และความจุความร้อนจำเพาะของน้ำเท่ากับ 1 แคลอรีต่อกรัม.เคลวิน)
ก. 0 องศาเซลเซียส ข. 4 องศาเซลเซียส
ค. 8 องศาเซลเซียส ง. 10 องศาเซลเซียส

160. (B-PAT3 ต.ค. 51) ละลายน้ำแข็งอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ที่มีปริมาตร 20 10 10 ลูกบาศก์
เซนติเมตร โดยใช้น้ำที่มีอุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส มวล 10 กิโลกรัม จงหาว่าอุณหภูมิสุดท้ายของน้ำ
ดังกล่าวมีค่าเท่าใด ถ้าไม่พิจารณาการสูญเสียความร้อนที่เกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อม (ค่าความจุความร้อน
จำเพาะของน้ำมีค่าคงที่ = 4.2 kJ/kg  C ความหนาแน่นของน้ำมีค่า 1, 000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์
เมตร และความร้อนแฝงในการหลอมเหลวของน้ำแข็ง 340 กิโลจูลต่อกิโลกรัม)
ก. 20 องศาเซลเซียส ข. 10.3 องศาเซลเซียส
ค. 4.8 องศาเซลเซียส ง. 0 องศาเซลเซียส

161. (EJU-2 2016) Ice of 20 g at −20 C is placed in a container, and then water of 100 g at
20 C is added. After sufficient time elapses, all the ice melts and the water in the
container is at a constant temperature. The specific heat of ice is 2.1 J/ ( g  K ) , the heat
of fusion of ice is 3.3 102 J/g , and the specific heat of water is 4.2 J/ ( g  K ) . Assume
that the heat capacity of the container is negligible and that there is no exchange of
heat with the environment.
What is the temperature of the water (in C ) after sufficient time elapses? From (a)-(e)
below choose the best answer.
(a) 0.0 (b) 1.9 (c) 2.9 (d) 5.4 (e) 14

106
162. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 62) ไอน้ำอุณหภูมิ 100 C ผสมกับน้ำแข็งอุณหภูมิ 0 C ถ้าไอน้ำมีมวล
10.0 g และน้ำแข็งมีมวล 50.0 g อุณหภูมิสุดท้ายเป็นเท่าใด
กำหนดให้
ค่าความจุความร้อนจำเพาะของน้ำ 4186 J/kgo C
ค่าความจุความร้อนจำเพาะของน้ำแข็ง 2090 J/kgoC
ความร้อนแฝงในการหลอมเหลวของน้ำ 3.33 105 J/kg
ความร้อนแฝงในการกลายเป็นไอของน้ำ (ที่จุดเดือดปกติ) 2.26 106 J/kg
ก. 0.0 C ข. 10.4 C ค. 20.4 C ง. 40.4 C

107
163. (IJSO รอบที่ 1 ม.ค. 58) นำก้อนอะลูมิเนียมก้อนหนึ่งซึ่งมีมวล 50 g อุณหภูมิ 90 C ใส่ลงในน้ำแข็ง
10 g อุณหภูมิ 0 C จงหาว่าน้ำแข็งและอะลูมิเนียมจะเข้าสู่สมดุลความร้อนที่อุณหภูมิเท่าใด
cal
กำหนดให้ความร้อนจำเพาะของอะลูมิเนียมเท่ากับ 0.20 ความร้อนจำเพาะของน้ำเท่ากับ
g C
cal cal
1.00 ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของน้ำเท่ากับ 80 และกำหนดให้ไม่มีการสูญเสีย
g C g
ความร้อนให้กับสิ่งแวดล้อม
ก. 0 C ข. 5.0 C ค. 10 C ง. 62 C

164. (พื้นฐานวิศวะ ต.ค. 49) แท่งเหล็กมีมวล 500 กรัม อุณหภูมิ 200 องศาเซลเซียส วางอยู่ในภาชนะที่
เป็นฉนวน เมื่อเทน้ำแข็งอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส มีมวล 100 กรัม ลงในภาชนะ จากนั้นปิดภาชนะ
ด้วยฝาฉนวน จงหาอุณหภูมิสุดท้ายของน้ำในหน่วยองศาเซลเซียส
กำหนดให้ ความจุความร้อนจำเพาะของเหล็ก 450 จูลต่อกิโลกรัมต่อเคลวิน
ความร้อนแฝงของน้ำแข็ง 333 กิโลจูลต่อกิโลกรัม
ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำ 4, 200 จูลต่อกิโลกรัมต่อเคลวิน
ก. 69.77 ข. 18.14 ค. 69.71 ง. 20.14

165. (พื้นฐานวิศวะ มี.ค. 48, PAT3 ต.ค. 52) ถ้านำก้อนอะลูมิเนียมน้ำหนัก 100 กรัม ที่อุณหภูมิ 400
องศาเซลเซียส ลงไปในภาชนะที่หุ้มฉนวนกันความร้อนอย่างดีที่มีน้ำแข็งที่อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส
จำนวน 50 กรัม จงหาอุณหภูมิสุดท้ายภายในภาชนะนั้น เป็นองศาเซลเซียส เมื่อระบบเข้าสู่สภาวะ
สมดุลทางความร้อน (ภาชนะฉนวนใช้หรือรับความร้อนน้อยมาก) กำหนดให้ความจุความร้อนจำเพาะ
ของอะลูมิเนียมเท่ากับ 0.9 จูลต่อกรัม-เคลวิน และของน้ำเท่ากับ 4.2 จูลต่อกรัม-เคลวิน ความร้อน
แฝงของการหลอมเหลวของน้ำเท่ากับ 333 จูลต่อกรัม

108
166. (สอวน. ธ.ค. 63) เอาก้อนน้ำแข็งในรูป ก. ใส่ลงไปในน้ำในรูป ข. อุณหภูมิสุดท้ายของน้ำรวมมีค่ากี่องศา
เซลเซียส
กำหนดให้ ค่าความจุความร้อนจำเพาะของน้ำแข็ง = 0.50 cal/g o C
ค่าความจุความร้อนจำเพาะของน้ำ = 1.0 cal/g o C
ค่าความร้อนแฝงของการหลอมของน้ำแข็ง = 80 cal/g

109
167. (สอวน. ม.4 ส.ค. 51) เอาน้ำแข็ง 100 g ที่ 0.0 C ผสมกับน้ำเดือด 100 g ที่ 100 C ในกระป๋อง
แคลอริมิเตอร์ซึ่งหุ้มด้วยฉนวนความร้อนอย่างดี จงเขียนกราฟแสดงอุณหภูมิของแต่ละส่วนผสมทั้งสอง
เทียบกับเวลาที่ผ่านไปบนกราฟเดียวกัน ให้เขียนกราฟตั้งแต่เวลาเริ่มผสมจนกระทั่งระบบถึงภาวะสมดุล
ทางความร้อน ให้แสดงบนกราฟด้วยว่าอุณหภูมิสุดท้ายมีค่าเท่าใด สมมุติว่าไม่มีการสูญเสียหรือได้รับ
ความร้อนจากที่อื่น และให้ถือว่ากระป๋องแคลอริมิเตอร์มีความจุความร้อนน้อยมากจนละได้ กำหนดว่า
ความจุความร้อนของน้ำมีค่าเท่ากับ 4.2 kJ/ ( kg  K ) และความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของ
น้ำแข็งมีค่าเท่ากับ 334 kJ/kg

110
168. (สอวน. ส.ค. 61) ภาชนะใบหนึ่งมีผนังและฝาที่ทำจากฉนวนความร้อน บรรจุน้ำ 300 มิลลิลติ ร และ
น้ำแข็ง 200 กรัม อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส อยู่ภายใน เมื่อใส่โลหะชนิดหนึ่งมวล 1, 000 กรัม ลงไป
แล้วปิดฝา พบว่าอุณหภูมิสุดท้ายของของทั้งหมดในภาชนะเป็น 10 องศาเซลเซียส จงหาอุณหภูมิของ
โลหะก่อนที่จะใส่ลงไปในหน่วยองศาเซลเซียส
กำหนดให้ ความร้อนจำเพาะของน้ำเท่ากับ 4.2 J/ ( g  K ) ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของน้ำ
เท่ากับ 335 J/g และความร้อนจำเพาะของโลหะเท่ากับ 2.0 J/ ( g  K )

111
169. (PAT3 ต.ค. 52) แม่บ้านคนหนึ่งต้องการเสิร์ฟน้ำเย็นอุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียสให้กับแขก โดยการ
เติมน้ำแข็งอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียสที่มีขนาดก้อนละ 0.02 กิโลกรัม ลงในเหยือกน้ำที่มีน้ำมวล 2
กิโลกรัม อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ถามว่าต้องใช้น้ำแข็งอย่างน้อยกี่ก้อน (โดยพิจารณาตอนที่น้ำแข็ง
ละลายเป็นน้ำทั้งหมด ค่าความจุความร้อนจำเพาะของน้ำมีค่าคงที่ = 4.2 กิโลจูล/กิโลกรัม-องศา
เซลเซียส ความหนาแน่นของน้ำมีค่า 1000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และความร้อนแฝงของการ
หลอมเหลวของน้ำแข็ง 340 กิโลจูลต่อกิโลกรัม)
ก. 11 ก้อน ข. 13 ก้อน ค. 24 ก้อน ง. 67 ก้อน

112
170. (PAT3 เม.ย. 57) น้ำอุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส ปริมาณ 300 กรัม อยู่ในแก้วที่หุ้มฉนวนและมีฝาปิด
จะต้องเติมน้ำแข็งอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ขนาดก้อนละ 8 กรัม ลงไปอย่างน้อยกี่ก้อน เพื่อลด
อุณหภูมิของน้ำให้เหลือ 40 องศาเซลเซียส กำหนดให้ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำเท่ากับ 4.2 จูล
ต่อกรัม-เคลวิน และความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของน้ำเท่ากับ 334 กิโลจูลต่อกิโลกรัม
ก. 10 ก้อน ข. 11 ก้อน
ค. 12 ก้อน ง. 13 ก้อน
จ. 14 ก้อน

171. (พื้นฐานวิศวะ ต.ค. 46) น้ำแข็งอุณหภูมิ 0 C หนึ่งก้อนมีปริมาตร 5 cm3 ถ้าหากว่ามีน้ำเปล่า


อุณหภูมิ 20 C ซึ่งมีปริมาตร 500 cm3 ต้องใส่น้ำแข็งกี่ก้อนถึงจะได้น้ำเย็นอุณหภูมิ 5 C สมมุติให้
ไม่มีการสูญเสียความร้อนให้สิ่งแวดล้อม
กำหนด ความหนาแน่นของน้ำแข็ง = 0.8 g/cm3
ความหนาแน่นของน้ำ = 1 g/cm3
ความจุความร้อนของน้ำและน้ำแข็ง = 4000 J/kg  K
ค่าความร้อนแฝงของการหลอมเหลว = 280 kJ/kg
ก. 25 ก้อน ข. 50 ก้อน
ค. 230 ก้อน ง. 375 ก้อน

113
172. (มข. 2551) น้ำแข็งมวล 140 กรัม อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ใส่ลงไปในน้ำร้อน 80 องศาเซลเซียส
จงหาปริมาณน้ำร้อนที่ทำให้น้ำแข็งละลายหมดพอดี
กำหนดให้ ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำ เท่ากับ 4.2 kJ/kg  C
ความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลวของน้ำแข็ง เท่ากับ 300 kJ/kg
ก. 100 กรัม ข. 125 กรัม ค. 200 กรัม ง. 250 กรัม

114
173. (EJU-1 2017) Ice of 100 g at −10 C is placed in water of 200 g at 20 C . After sufficient
time elapses, some ice remains in the water, and the temperature of the ice and water
is now 0 C . The specific heat of water is 4.2 J/ ( g  K ) , the specific heat of ice is
2.1 J/ ( g  K ) , and the heat of fusion of ice is 3.3 102 J/g . Assume that there is no
exchange of heat with the environment.

How much ice (in g ) remains? From (a)-(g) below choose the best answer.
(a) 35 (b) 40 (c) 45 (d) 50
(e) 55 (f) 60 (g) 65

115
174. (PAT3 ธ.ค. 54) แก้วใบหนึ่งหุ้มฉนวนอย่างดีบรรจุน้ำแข็ง 100 กรัม นำน้ำอุ่น 500 มิลลิลิตร ที่มี
อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียสเติมลงไปในแก้วน้ำแล้วปิดฝาให้สนิทจนอุณหภูมิน้ำในแก้วเข้าสู่สมดุล
จงหาว่าจะมีน้ำแข็งเหลืออยู่ในแก้วน้ำกี่กรัม กำหนดให้ ความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลวของ
น้ำ เท่ากับ 333 กิโลจูลต่อกิโลกรัม และค่าความจุความร้อนจำเพาะของน้ำเท่ากับ 4.2 กิโลจูลต่อ
กิโลกรัมต่อองศาเซลเซียส

175. (EJU-2 2014) A certain mass of ice at −20 C is placed in a container, and then an equal
mass of water at 43 C is added. After sufficient time elapses, a mixture of ice and water
at 0 C remains in the container. The heat of fusion of ice is 3.3 102 J/g , the specific
heat of water is 4.2 J/ ( g  K ) , and the specific heat of ice is 2.1 J/ ( g  K ) . The heat
capacity of the container is negligible, and no heat is transferred to or from the
environment.

After sufficient time elapses, as a percentage, what is the ratio of the mass of the
remaining ice to the mass of the ice initially placed in the container? From (a)-(d) below
choose the best answer.
(a) 26 (b) 42 (c) 58 (d) 74

176. (EJU-1 2021) Ice of 40 g at −10 C is placed in water of 120 g at 20 C . After sufficient
time elapses, the mixture becomes water and ice at 0 C . The specific heat of water is
4.2 J/ ( g  K ) , the specific heat of ice is 2.1 J/ ( g  K ) , and the heat of fusion of ice is
3.3 102 J/g . Assume that there is no exchange of heat with the environment.

What is the mass of the remaining ice (in g )? From (a)-(g) below choose the best answer.
(a) 8.0 (b) 12 (c) 16 (d) 20
(e) 24 (f) 28 (g) 32

116
177. (EJU-2 2021) A stone with a mass of 1.5 103 g is heated to 400 C and then is placed
in a container holding 1.0 103 g of water at 50 C . As a result, a portion of the water
changes to vapor with a temperature of 100 C , and the temperature of the stone and
remaining water becomes 100 C . Assume that the transfer of heat occurs only between
the stone and the water. The heat of evaporation of water is 2.3 103 J/g and the
specific heat of water and the stone is 4.2 J/ ( g  K ) and 0.80 J/ ( g  K ) , respectively.

What is the mass (in g ) of the water that changed to the vapor? From (a)-(f) below
choose the best answer.
(a) 2.6 (b) 6.5 (c) 12
(d) 26 (e) 65 (f) 120

178. (PAT3 พ.ย. 57) โลหะผสมมวล 1 kg อุณหภูมิ 200 C จุ่มลงในน้ำมวล 1 kg อุณหภูมิ 95 C ซึง่
อยู่ในภาชนะที่เป็นฉนวนความร้อน จงหาว่าน้ำระเหยไปกี่กรัม
(กำหนดให้ ค่าความจุความร้อนของโลหะผสม 660 kJ/kg  K , ค่าความจุความร้อนจำเพาะของน้ำ
4.2 kJ/kg  K , ค่าความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ 2, 250 kJ/kg )

117
179. (IJSO รอบที่ 3 พ.ค. 55) นำน้ำแข็งมวล 440 g อุณหภูมิ −10 C ผสมกับน้ำมวล 50 g อุณหภูมิ
20 C ในภาชนะที่เป็นฉนวนความร้อน เมื่อระบบที่ได้จากการผสมน้ำแข็งและน้ำนี้เข้าสู่สภาวะสมดุล
ทางความร้อนแล้ว จะมีน้ำแข็งและน้ำอย่างละกี่กรัมและมีอุณหภูมิเท่าใด กำหนดให้ ความจุความร้อน
จำเพาะของน้ำแข็งเท่ากับ 0.50 cal/g o C ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำเท่ากับ 1.0 cal/g o C
ความร้อนแฝงต่อมวลของการหลอมเหลวของน้ำเท่ากับ 80 cal/g และความร้อนแฝงของการ
กลายเป็นไอของน้ำเท่ากับ 540 cal/g

180. (ม.อ. 55) น้ำแข็ง 150 กรัม อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ใส่ลงในน้ำ 200 กรัม อุณหภูมิ 40 องศา
เซลเซียส จะเกิดผลตามข้อใด กำหนดให้ ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของน้ำแข็งเท่ากับ 80
แคลอรีต่อกรัม และความจุความร้อนจำเพาะของน้ำเท่ากับ 1 แคลอรีต่อกรัม เคลวิน
ก. อุณหภูมิสุดท้ายเท่ากับ −11.4 องศาเซลเซียส กลายเป็นน้ำแข็งทั้งหมด
ข. อุณหภูมิสุดท้ายเท่ากับ 0 องศาเซลเซียส มีน้ำแข็งเหลือ 100 กรัม
ค. อุณหภูมิสุดท้ายเท่ากับ 20 องศาเซลเซียส กลายเป็นน้ำทั้งหมด
ง. อุณหภูมิสุดท้ายเท่ากับ 0 องศาเซลเซียส มีน้ำแข็งเหลือ 50 กรัม

118
181. (ทุนคิง 2558) นำก้อนเหล็กมวล 0.25 กิโลกรัม ที่มีอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ใส่ลงในไนโตรเจนเหลว
ซึ่งมีอุณหภูมิ 77 เคลวิน ถ้าความจุความร้อนจำเพาะของเหล็กเท่ากับ 0.45 kJ/kg o C และความ
ร้อนแฝงในการกลายเป็นไอของไนโตรเจนเหลวเท่ากับ 200 kJ/kg
(๑) ภายหลังจากก้อนเหล็กเย็นลงเป็น 77 เคลวิน มันจะคายความร้อนให้กับไนโตรเจนเท่าใด
(๒) จงหามวลของไนโตรเจนที่กลายเป็นไอ

119
182. (EJU-1 2011) A 10 g block of ice at 0 C is enclosed in a tightly sealed container, and
water vapor at 100 C is injected into the container. After sufficient time elapses, the
ice and water vapor turn into water with a temperature of 40 C . Assume that the heat
capacity of the container is negligible and heat does not escape from the container.
Here the heat of fusion of ice is 3.3 102 J/g , the specific heat of water is 4.2 J/ ( g  K )
, and the heat of vaporization of water is 2.3 103 J/g .

How many grams of water vapor were injected into the container? From (a)-(f) below
choose the best answer.
(a) 0.66 (b) 1.3 (c) 2.0
(d) 6.6 (e) 13 (f) 20

120
183. (PAT3 ก.พ. 62) นักเรียนคนหนึ่งนำน้ำแข็งจำนวน 2 ก้อน ก้อนละ 5 g ใส่ลงไปในภาชนะที่หุ้มฉนวน
อย่างดีบรรจุเครื่องดื่มชนิดหนึ่ง ที่มีอุณหภูมิเริ่มต้น 80 C เมื่อน้ำแข็งละลายหมดอุณหภูมิของ
สารละลายผสมมีค่า 40 C มวลของเครื่องดื่มนี้มีค่าเท่าใด ในหน่วย g
กำหนดให้ ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวน้ำแข็งมีค่า 333 kJ/kg
ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำมีค่า 4.2 kJ/ ( kg  K )
ความจุความร้อนจำเพาะของเครื่องดื่มมีค่า 1.2525 kJ/ ( kg  K )

184. (ม.อ. 51) จะต้องผ่านไอน้ำที่มีอุณหภูมิ 100 C จำนวนกี่กรัม เข้าไปในน้ำมวล 1,500 กรัม ที่มี
อุณหภูมิ 15 C จึงจะทำให้อุณหภูมิผสมสุดท้ายเท่ากับ 80 C
กำหนดให้ ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอของน้ำที่ 100 C เท่ากับ 540 cal/g
ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำ เท่ากับ 1 cal/g C

121
185. (EJU-2 2020) Water of 100 g at 10 C is placed in a container that has a heat capacity
of 150 J/K and is at temperature t . After sufficient time elapses, the container’s
temperature changes to 0.0 C . Also, a portion of the water in the container turns into
ice, with the container now holding ice of 5.0 g at 0.0 C and water of 95 g at 0.0 C
. The specific heat of water is 4.2 J/ ( g  K ) , and the heat of fusion of ice is 330 J/g .
Assume that there is no exchange of heat with the environment.

What is t (in C )? From (a)-(f) below choose the best answer.


(a) −54 (b) −43 (c) −39
(d) −21 (e) −17 (f) −4.0

122
186. (PAT3 มี.ค. 57) น้ำอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียสในสภาวะของเหลว 1 กิโลกรัม จะสามารถนำ
เอทิลแอลกอฮอล์อุณหภูมิ 32 องศาเซลเซียส ใส่ลงไปได้มากที่สุดกี่กรัม โดยที่เอทิลแอลกอฮอล์จะ
ระเหยไปทั้งหมด ถ้าระบบไม่มีการถ่ายเทความร้อนกับสิ่งแวดล้อม
กำหนดให้ ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำเท่ากับ 4.2 กิโลจูลต่อกิโลกรัม-เคลวิน
ความจุความร้อนจำเพาะของเอทิลแอลกอฮอล์เท่ากับ 2.5 กิโลจูลต่อกิโลกรัม-เคลวิน
ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอของเอทิลแอลกอฮอล์เท่ากับ 840 กิโลจูลต่อกิโลกรัม
จุดเดือดของเอทิลแอลกอฮอล์เท่ากับ 80 องศาเซลเซียส

123
187. (กสพท. 2564) นำสาร A มวล 1 กิโลกรัม และสาร B มวล 2 กิโลกรัม มาผสมกันภายในภาชนะปิดที่
เป็นฉนวนความร้อน ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิของสาร A และสาร B กับเวลาตั้งแต่เริ่มผสมจนถึง
เวลา t f เป็นดังกราฟ

กำหนดให้
ความร้อนจำเพาะของสาร A ในสถานะของแข็ง เท่ากับ 1.00 103 จูลต่อกิโลกรัม เคลวิน
ความร้อนจำเพาะของสาร A ในสถานะของเหลว เท่ากับ 2.00 103 จูลต่อกิโลกรัม เคลวิน
ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของสาร A เท่ากับ 1.00 104 จูลต่อกิโลกรัม

ความร้อนจำเพาะของสาร B เป็นเท่าใด และหลังจากเวลา t f ในกราฟ เหตุการณ์ใดมีโอกาสเกิดขึ้นได้


ก. 1.25 103 จูลต่อกิโลกรัม เคลวิน และ สาร A มีอุณหภูมิสูงขึ้น
ข. 1.25 103 จูลต่อกิโลกรัม เคลวิน และ สาร B มีอุณหภูมิคงตัว
ค. 1.50 103 จูลต่อกิโลกรัม เคลวิน และ สาร A มีอุณหภูมิสูงขึ้น
ง. 1.50 103 จูลต่อกิโลกรัม เคลวิน และ สาร B มีอุณหภูมิคงตัว
จ. 1.50 103 จูลต่อกิโลกรัม เคลวิน และ สาร A มีอุณหภูมิต่ำลง

124
188. (TEDET ม.1 2562) ใส่โลหะชนิดหนึ่งที่มีอุณหภูมิ 100 C และมีมวล 200 กรัม ลงในแคลอรีมิเตอร์ที่
บรรจุน้ำอุณหภูมิ 22 C อยู่ 100 กรัม ดังรูป (A) และวัดอุณหภูมิของน้ำในแคลอรีมิเตอร์ที่
เปลี่ยนแปลงตามเวลาได้ดังรูป (B)

ข้อใดคือความร้อนจำเพาะของโลหะ (ความร้อนจำเพาะของน้ำเป็น 1 kcal/ ( kg  C ) ) และไม่มีความ


ร้อนที่ถ่ายโอนจากภายนอก
ก. 0.1 kcal/ ( kg  C ) ข. 0.15 kcal/ ( kg  C )
ค. 0.2 kcal/ ( kg  C ) ง. 0.26 kcal/ ( kg  C )
จ. 0.52 kcal/ ( kg  C )

125
189. (พื้นฐานวิศวะ มี.ค. 43) ถังน้ำไม่มีฝาปิดใบหนึ่งบรรจุน้ำมวล 1 kg อุณหภูมิ 30 C ต่อมานำน้ำแข็ง
มวล 0.5 kg ใส่ลงไปในถังน้ำ แล้วนำไปตั้งบนเตาไฟเพื่อให้ความร้อน จงหาว่าจะต้องป้อนพลังงาน
ความร้อนอย่างน้อยที่สุดเท่าใดจึงจะทำให้น้ำในถังเหลือ 0.5 kg พอดี
กำหนดให้ ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำ เท่ากับ 4.2 kJ/kg  K
ความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลว เท่ากับ 333 kJ/kg
ความร้อนแฝงจำเพาะของการกลายเป็นไอ เท่ากับ 2250 kJ/kg
ก. 1502 kJ ข. 1796 kJ ค. 2921 kJ ง. 3150 kJ

126
แนวที่ ๔ : มีผลของภาชนะด้วย

190. (IJSO รอบที่ 2 มี.ค. 60) หากน้ำมวล mh ซึ่งมีอุณหภูมิ Th ถูกรินลงไปในถ้วยอะลูมิเนียมมวล mAl ซึง่
มีน้ำมวล mc อยู่ภายใน โดยที่ทั้งถ้วยและน้ำที่อยู่ภายในมีอุณหภูมิ Tc เมื่อ Th  Tc จงหาอุณหภูมิ
ของระบบนี้เมื่ออยู่ในภาวะสมดุลความร้อน สมมติให้ไม่มีความร้อนไหลเข้าและออกจากระบบนี้ และค่า
ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำมีค่า cw ค่าความจุความร้อนของอะลูมิเนียมมีค่า cAl

127
191. (IJSO รอบที่ 2 เม.ย. 51) ถ้านำทองเหลืองมวล 100 g ที่มีอุณหภูมิ 180 C ใส่ลงไปในบีกเกอร์ซึ่ง
บรรจุน้ำ 50 g ซึ่งตอนเริ่มต้นทั้งบีกเกอร์และน้ำมีอุณหภูมิ 20 C แล้วทิ้งไว้จนทุกอย่างมีอุณหภูมิ
เท่ากัน โดยมีการแลกเปลี่ยนความร้อนเฉพาะระหว่างน้ำ ทองเหลือง และบีกเกอร์เท่านั้น ไม่มีการ
สูญเสียความร้อนให้กับสิ่งแวดล้อม และไม่มีการเปลี่ยนสถานะ จงหาอุณหภูมิสุดท้ายของก้อน
ทองเหลือง กำหนดให้ น้ำมีความร้อนจำเพาะ 1.00 cal/g  C ทองเหลืองมีความร้อนจำเพาะ 1/10
เท่าของความร้อนจำเพาะของน้ำ และบีกเกอร์มีความจุความร้อน 20 cal/g  C

128
192. (ทุนญี่ปุ่น 2010) A copper container (mass: 100 g ) holds 200 g of water. The temperature
of the container and water is 20 C .

A 150 − g piece of copper heated to 80 C is placed in the water. The water is stirred
thoroughly. After sufficient time elapses, to what temperature does the water change?
From (a)-(e) below choose the best answer. Assume that no heat is transferred to or
from the environment. The specific heat of water is 4.2 J/g  K , and the specific heat of
copper is 0.40 J/g  K .
(a) 23 (b) 24 (c) 25 (d) 26 (e) 27

129
193. (EJU-1 2018) A metal of 500 g whose specific heat is c is heated to 55 C and then
immersed in water of 500 g at 20 C in a container at 20 C . After sufficient time
elapses, the temperature of the metal, container, and water becomes 25 C . Assume
that heat moves only among the metal, container, and water. The heat capacity of the
container is 300 J/K , and the specific heat of water is 4.2 J/ ( g  K ) .

What is c (in J/ ( g  K ) )? From (a)-(e) below choose the best answer.


(a) 0.50 (b) 0.60 (c) 0.70 (d) 0.80 (e) 0.90

194. (Ent มี.ค. 46) ลูกเหล็กมวล 50 กรัม อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียส ถูกหย่อนลงในน้ำมวล 100 กรัม
ซึ่งบรรจุอยู่ในกระป๋องมวล 70 กรัมและมีโฟมหุ้มกระป๋องอยู่ ทำให้น้ำมีอุณหภูมิเปลี่ยนจาก 6 องศา
เซลเซียส ไปเป็น 20 องศาเซลเซียส จงหาความจุความร้อนจำเพาะของกระป๋อง (กำหนด ความจุ
ความร้อนจำเพาะของเหล็กเท่ากับ 0.45 กิโลจูล/กิโลกรัม เคลวิน ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำ
เท่ากับ 4.20 กิโลจูล/กิโลกรัม เคลวิน)
ก. 0.13 kJ/kg K ข. 0.23 kJ/kg K
ค. 0.43 kJ/kg K ง. 0.70 kJ/kg K

130
195. (มข. 2555) น้ำอุ่น 80 C มวล 200 กรัม บรรจุในถ้วยอลูมิเนียมมวล 300 กรัม เมื่อนำก้อนน้ำแข็ง
−5 C มวล 100 กรัม หย่อนลงไปในน้ำอุ่น จงคำนวณหาอุณหภูมิสุดท้าย
กำหนดให้ cice = 2000 J  kg −1  K −1 cwater = 4000 J  kg −1  K −1
cAl = 900 J  kg −1  K −1 L f , water = 3.3 105 J  kg −1
Lv, water = 2.3 106 J  kg −1
ก. 30.90 C ข. 35.10 C
ค. 50.66 C ง. 57.55 C

196. (ทุนคิง 2559) หย่อนน้ำแข็งมวล 15 กรัม ลงในน้ำมวล 200 กรัม อุณหภูมิ 40 C ซึ่งบรรจุอยู่ใน
กระป๋องทองแดงมวล 100 กรัม ถ้าทองแดงมีความจุความร้อนจำเพาะ 0.10 cal/g o C และการถ่าย
โอนความร้อนเกิดขึ้นในระบบปิดที่หุ้มฉนวนความร้อนไว้อย่างดี อุณหภูมิผสมจะมีค่าเท่าใด

131
197. (PAT2 มี.ค. 65) การศึกษาเรื่องสมดุลความร้อน ผู้ทดลองนำน้ำผลไม้มวล 400 กรัม มาบรรจุใน
ภาชนะรูปทรงกระบอกปิดซึ่งทำจากอะลูมิเนียมมวล 500 กรัม และใส่น้ำแข็งที่มีมวล 20 กรัม
จำนวน 1 ก้อน จากนั้นปล่อยให้น้ำแข็งหลอมเหลวจนหมด และระบบเข้าสู่สมดุลความร้อน จนได้
อุณหภูมิสุดท้ายหลังผสมค่าหนึ่ง โดยไม่มีการถ่ายโอนความร้อนให้กับสิ่งแวดล้อม
กำหนดให้ 1) ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของน้ำแข็งเท่ากับ 333 kJ/kg
2) ความร้อนจำเพาะของอะลูมิเนียม น้ำผลไม้ และน้ำ เท่ากับ 900 4, 000 และ 4, 200
J/kg K ตามลำดับ
หากต้องการทำการทดลองใหม่เพื่อให้อุณหภูมิสุดท้ายหลังผสมน้ำแข็งหลอมเหลวจนหมดมีค่าน้อยลง
ควรทำอย่างไร
ก. ลดปริมาณน้ำผลไม้
ข. เปลี่ยนจากน้ำผลไม้เป็นน้ำ โดยมวลของน้ำเท่ากับมวลของน้ำผลไม้
ค. เปลี่ยนภาชนะให้มีความสูงมากขึ้น โดยมวลและปริมาตรของภาชนะเท่าเดิม
ง. เปลี่ยนวัสดุที่ใช้ในการทำภาชนะจากอะลูมิเนียมเป็นโลหะผสมที่มีมวลเท่ากัน โดยความร้อนจำเพาะ
ของโลหะผสมเท่ากับ 920 J/kg K
จ. เปลี่ยนภาชนะให้มีขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่ขึ้น โดยมวลและปริมาตรของภาชนะเท่าเดิม

132
การเปลี่ยนรูปพลังงานเป็นความร้อน
แนวที่ ๑ : การทดลอง Mechanical equivalent of heat

198. (TEDET ม.3 2557) ภาพการทดลองของจูลเพื่อใช้ในการอธิบายความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลง


พลังงานกลและพลังงานความร้อน ข้อใดอธิบายเกี่ยวกับการทดลองนี้ไม่ถูกต้อง

ก. ขั้นตอนนี้ไม่จัดเป็นกฎการอนุรักษ์พลังงาน
ข. ยิ่งเกิดพลังงานความร้อนมาก อุณหภูมิของน้ำจะยิ่งเพิ่มขึ้น
ค. พลังงานกลที่ลดลงถูกเปลี่ยนแปลงเป็นพลังงานความร้อนทั้งหมด
ง. จากในถังน้ำ พลังงานจลน์ของใบพัดถูกเปลี่ยนแปลงเป็นพลังงานความร้อน
จ. เมื่อหมุนด้ามจับ พลังงานกลลดลงเท่ากับปริมาณการเปลี่ยนแปลงของพลังงานศักย์ของลูกตุ้ม

133
แนวที่ ๒ : เปลี่ยนจากพลังงานจลน์

199. (PAT2 มี.ค. 55) กระสุนปืนมวล 10 กรัม เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 1000 เมตร/วินาที เข้าไปในขี้ผึ้งก้อน
หนึ่งมวล 1 กิโลกรัม ขี้ผึ้งก้อนนี้จะมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นประมาณกี่องศาเซลเซียส ถ้าถือว่าพลังงานทั้งหมด
ของกระสุนปืนเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อนในขี้ผึ้ง ความร้อนจำเพาะของขี้ผึ้งเป็น 0.6 แคลอรี/กรัม/
องศาเซลเซียส และกำหนดให้พลังงานความร้อน 1 แคลอรีเทียบเท่ากับพลังงานกล 4 จูล
ก. 2.1 ข. 3.3 ค. 7.5 ง. 8.3

200. (PAT2 มี.ค. 57) ยิงกระสุนปืนมวล 10 กรัม เข้าใส่แท็งค์น้ำทรงลูกบาศก์ขนาด 2  2  2 ลูกบาศก์


เมตร ที่บรรจุน้ำเต็มด้วยอัตราเร็ว 400 เมตร/วินาที ถ้ากระสุนฝังเข้าไปในผนังของแท็งค์น้ำ อุณหภูมิ
ของน้ำในแท็งค์จะเปลี่ยนแปลงกี่เคลวิน ถือว่าน้ำได้รับความร้อนทั้งหมดจากผนังแท็งค์น้ำ กำหนดให้
ความร้อนจำเพาะของน้ำเท่ากับ 4.2 กิโลจูล/กิโลกรัม-เคลวิน และความหนาแน่นของน้ำเท่ากับ
1, 000 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร
ก. 3.2 10−5 ข. 2.4 10−5
ค. 2.4 10−4 ง. 2.4 10−2

201. (ทุนคิง 2551) ลูกปืนมวล m = 10 กรัม ถูกยิงออกไปด้วยความเร็ว v = 800 m/s เข้าไปในกล่องมวล


M = 10 kg โดยที่กล่องใบนี้เป็นวัสดุที่มีความร้อนจำเพาะ c = 2000 J  kg −1 o C−1 ถ้าสมมติว่า
พลังงานจลน์ทั้งหมดของลูกปืนทำให้เกิดความร้อนกับกล่องใบนี้ จงหาอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น

134
202. (PAT3 มี.ค. 65) ยิงกระสุนปืนมวล 0.2 g อุณหภูมิ 30 C กระทบเป้าด้วยความเร็ว 360 m/s โดย
กระสุนจะหยุดทันทีที่ชนเป้า ถ้าครึ่งหนึ่งของพลังงานจลน์ถูกเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน จงหาว่า
กระสุนปืนจะมีอุณหภูมิเป็นเท่าใด เมื่อค่าความร้อนจำเพาะเจาะจงของวัสดุที่ทำกระสุนปืนคือ
360 J/kg K .
ก. 30 C ข. 90 C
ค. 120 C ง. 180 C
จ. 210 C

203. (สอวน. ม.4 ส.ค. 52) ลูกปืนตะกั่วลูกหนึ่งเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 200 m/s เข้าใส่เป้าและหยุดนิ่งอยู่ใน


เป้า สมมุติว่าพลังงานจลน์ทั้งหมดของลูกปืนเปลี่ยนเป็นความร้อนหมด และความร้อนนี้แบ่งไปให้ลูกปืน
กับเป้าอย่างละเท่ากัน ลูกปืนมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นเท่าใด ความจุความร้อนจำเพาะของตะกั่วมีค่าเป็น
0.032 เท่าของน้ำ ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำมีค่าเท่ากับ 1.00 cal/(g  °C) และ 1.00 cal มี
ค่าเท่ากับ 4.186 J

135
204. (ทุนคิง 2562) กระสุนตะกั่วมวล 3.00 g อุณหภูมิ 30.0 C ถูกยิงออกจากปากกระบอกปืนด้วย
อัตราเร็ว 240 m/s เข้าชนก้อนน้ำแข็งอุณหภูมิ 0 C และหยุดนิ่งอยู่ภายในก้อนน้ำแข็งในที่สุด จง
คำนวณหามวลของน้ำแข็งที่ละลายไป กำหนดให้ ความจุความร้อนจำเพาะของตะกั่วเท่ากับ
128 J/kg o C และความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของน้ำเท่ากับ 333 kJ/kg

136
205. (PAT2 มี.ค. 64) นักกีพาลงแข่งขันยิงปืนประเภทปืนยาวระยะ 50.0 เมตร อยู่ภายในห้องที่เงียบสนิท
โดยยิงกระสุนปืนที่มีมวล 50.0 กรัม ออกจากกระบอกปืนด้วยความเร็ว 300 เมตรต่อวินาที กระทบ
เป้ามวล 0.500 กิโลกรัม ที่มีอุณหภูมิ 25.0 องศาเซลเซียส หลังจากกระสุนกระทบเป้า พลังงานจลน์
3 ใน 4 จากกระสุนปืน จะเปลี่ยนเป็นความร้อนให้กับเป้า และอีกส่วนหนึ่งเปลี่ยนเป็นเสียงที่มีกำลัง
314 วัตต์
กำหนดให้ ความร้อนจำเพาะของเป้าเท่ากับ 0.900 kJ/kg  K
  3.14 และ log 314  2.5
หลังจากที่กระสุนปืนกระทบเป้า อุณหภูมิของเป้าเป็นเท่าใด และ ระดับเสียงของกระสุนปืนเมื่อกระทบ
เป้า ณ ตำแหน่งที่นักกีพายืนอยู่มีค่าเท่าใด
ก. 1.25 องศาเซลเซียส และ 100 เดซิเบล
ข. 3.75 องศาเซลเซียส และ 100 เดซิเบล
ค. 26.3 องศาเซลเซียส และ 105 เดซิเบล
ง. 28.8 องศาเซลเซียส และ 100 เดซิเบล
จ. 28.8 องศาเซลเซียส และ 105 เดซิเบล

137
แนวที่ ๓ : มีพลังงานศักย์มาเกี่ยวข้องด้วย

206. (กสพท. 2558) ปล่อยให้น้ำปริมาณหนึ่งตกจากหยุดนิ่งจากที่สูง 10 m ลงสู่ถ้วยที่เป็นฉนวนความร้อน


อุณหภูมิของน้ำจะเพิ่มขึ้นกี่องศาเซลเซียส (ใช้ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำเท่ากับ 4200 J/kg  C )
ก. 0.0238 ข. 0.0233 ค. 0.238
ง. 0.233 ค. 98

207. (Ent มี.ค. 44) น้ำตกแห่งหนึ่งสูง 50 เมตร ถ้าพลังงานศักย์ของน้ำตกเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานความร้อน


ทั้งหมด อุณหภูมิของน้ำที่ปลายน้ำตกจะมีค่าสูงขึ้นเท่าใด (กำหนดให้ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำ
4.2 103 J/kg K )
ก. 0.12 C ข. 0.21 C ค. 4.2 C ง. 8.4 C

138
208. (Ent ต.ค. 43) วัตถุก้อนหนึ่งมีมวล 0.5 กิโลกรัม ตกจากที่สูงจากพื้น 2000 เมตร พบว่าอัตราเร็วของ
วัตถุก่อนตกกระทบพื้นเท่ากับ 180 เมตร/วินาที ถ้า 25% ของพลังงานกลที่สูญเสียไปจากการต้าน
ของอากาศกลายเป็นความร้อนที่สะสมในวัตถุ ก่อนตกกระทบพื้นวัตถุมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นเท่าใด
(กำหนดให้ ความจุความร้อนจำเพาะของวัตถุเท่ากับ 500 J/kg  K )
ก. 0.2 C ข. 1.9 C ค. 3.6 C ง. 10.0 C

209. (มข. 2550) เหรียญทองแดงมวล 5 กรัม ตกลงมาจากตึกสูง 300 เมตร ถ้าความเร็วปลายของเหรียญ


นี้เท่ากับ 45 เมตร/วินาที และพลังงานกลส่วนที่เหลือถูกเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อนของเหรียญ
ทองแดง จงหาอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นของเหรียญทองแดงถึงตกถึงพื้น (กำหนดให้ค่าความจุความร้อนจำเพาะ
ของทองแดงเท่ากับ 387 J/kg C )
ก. 2 C ข. 5 C ค. 9 C ง. 12 C

139
210. (IJSO รอบที่ 2 มี.ค. 56) น้ำไหลมาด้วยอัตราเร็ว v0 ตกจากที่สูง h แล้วไหลต่อไปด้วยอัตราเร็ว v1 ถ้า
พลังงานกลที่หายไปทั้งหมดเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อนให้กับน้ำ จงหาว่าอุณหภูมิของน้ำเพิ่มขึ้น
เท่าไร กำหนดให้ c เป็นความจุความร้อนจำเพาะของน้ำ

211. (ทุนคิง 2561) วัตถุทรงกลมก้อนหนึ่งมีมวล 5.0 kg ตกจากที่สูง 50 m ขณะที่วัตถุกระทบพื้น วัตถุมี


อุณหภูมิเพิ่มขึ้นจากเดิม 0.1 C ถ้า 20% ของพลังงานกลที่สูญเสียเนื่องจากแรงต้านของอากาศ
กลายเป็นความร้อนที่สะสมในวัตถุ จงแสดงวิธีคำนวณเพื่อหาอัตราเร็วของวัตถุขณะกระทบพื้น
กำหนดให้ g = 10 m/s2 และความจุความร้อนจำเพาะของวัตถุเท่ากับ 500 J/kg  K

140
212. (PAT3 มี.ค. 65) ลูกโลหะกลมหลายลูกที่มีความร้อนจำเพาะ 0.385 kJ/kg K มีมวลรวม 200 g
บรรจุอยู่ในกระบอกยาว 38.5 cm หากทำการพลิกกลับกระบอกขึ้นลงให้ลูกโลหะหล่นในกระบอกไป
มา จะต้องพลิกกลับกระบอกกี่ครั้งจึงจะทำให้อุณหภูมิของลูกโลหะเพิ่มขึ้น 7.5 C
ก. 8 ครั้ง ข. 75 ครั้ง
ค. 100 ครั้ง ง. 750 ครั้ง
จ. 800 ครั้ง

213. (Ent 36) ในการทดลองการเปลี่ยนรูปพลังงานกลเป็นพลังงานความร้อน โดยใช้กระบอกที่มีค่าความจุ


ความร้อนเป็น 100 J/K มีความยาว 30 cm และลูกกลมโลหะที่มีค่าความจุความร้อนจำเพาะเป็น
500 J/kg  K มีมวล 100 กรัม ถ้าต้องการให้อุณหภูมิของทั้งลูกกลมและกระบอกที่ใช้บรรจุมีอุณหภูมิ
สูงขึ้น 1 C จะต้องพลิกกลับกระบอกขึ้นลงให้ลูกกลมหล่นในกระบอกอย่างน้อยกี่ครั้ง
ก. 100 ครั้ง ข. 500 ครั้ง ค. 1, 000 ครั้ง ง. 1,500 ครั้ง

141
แนวที่ ๔ : มีการแลกเปลี่ยนความร้อน

214. (PAT3 ก.พ. 61) เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนระหว่างน้ำมันกับน้ำ ที่มีการไหลแบบไม่ผสมกัน น้ำมัน


ไหลเข้าและออกด้วยอัตราการไหล 14 kg  s−1 และมีอุณหภูมิขาเข้า 90 C และอุณหภูมิขาออก
40 C น้ำไหลเข้าด้วยอัตราการไหล 20 kg  s−1 และมีอุณหภูมิขาเข้าเท่ากับ 60 C อุณหภูมิขาออก
ของน้ำจะเป็นเท่าไร (ถ้าถือว่าการแลกเปลี่ยนความร้อนไปโดยสมบูรณ์) ความจุความร้อนจำเพาะของ
น้ำมันและน้ำ มีค่า 1.8 kJ  ( kg  K )−1 และ 4.2 kJ  ( kg  K )−1 ตามลำดับ
ก. 10 C ข. 45 C ค. 75 C ง. 95 C จ. 110 C

142
215. (PAT3 มี.ค. 55) น้ำมันไหลด้วยความเร็วเชิงมวล 2.1 กิโลกรัมต่อวินาที มีอุณหภูมิ 95 องศาเซลเซียส
ถูกส่งเข้าสู่เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน (หุ้มฉนวนอย่างดี ไม่มีการสูญเสียความร้อน) เพื่อลดอุณหภูมิลง
เหลือ 25 องศาเซลเซียส ในกระบวนการนี้เราใช้น้ำหล่อเย็นที่มีอุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส พบว่า
อุณหภูมิของน้ำหล่อเย็นสูงขึ้นเป็น 75 องศาเซลเซียส จงหาอัตราเร็วเชิงมวลของน้ำหล่อเย็นในหน่วย
กิโลกรัมต่อวินาที
กำหนดให้ ค่าความจุความร้อนจำเพาะของน้ำมัน = 2.2 กิโลจูลต่อกิโลกรัม.องศาเซลเซียส
และ ค่าความจุความร้อนจำเพาะของน้ำ = 4.2 กิโลจูลต่อกิโลกรัม.องศาเซลเซียส

143
216. (PAT3 มี.ค. 52) โรงงานแห่งหนึ่งติดตั้งเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนเพื่อนำอากาศร้อนทิ้งที่ปล่องไอเสีย
ของโรงงานกลับมาใช้ใหม่ ถ้าอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อนมีประสิทธิภาพ 75% และเมื่อตรวจวัด
พบว่า ใน 30 นาที อากาศร้อนทิ้งมีมวล 75 กิโลกรัม อุณหภูมิเข้า-ออก อุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน
เป็น 550 และ 250 องศาเซลเซียส ส่วนอากาศที่นำมารับความร้อน เข้าที่อุณหภูมิ 30 องศา
เซลเซียส จงหาว่าต้องใช้มวลอากาศเท่าใดไปรับความร้อนในช่วงระยะเวลาดังกล่าวถ้าต้องการให้
อากาศออกมาที่อุณหภูมิ 180 องศาเซลเซียส
(ค่า c p อากาศ = 1 กิโลจูลต่อกิโลกรัม*องศาเซลเซียส)
ก. 200 กิโลกรัม ข. 150 กิโลกรัม
ค. 66.7 กิโลกรัม ง. 6.67 กิโลกรัม

144
217. (PAT3 ก.ค. 52) ระบบทำความเย็นให้กับอากาศชนิดหนึ่ง ใช้หลักการดึงความร้อนออกจากอากาศใน
ขณะที่อากาศไหลผ่านม่านละอองน้ำ ความร้อนที่ถูกดึงออกจากอากาศจะใช้ไปในการทำให้น้ำระเหย
ถ้าใช้ระบบดังกล่าวทำความเย็นให้กับอากาศมวล 550 กิโลกรัม อากาศไหลเข้าสู่ม่านละอองน้ำที่
อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส และออกที่อุณหภูมิ 28 องศาเซลเซียส ถามว่าจะต้องใช้น้ำไปในการ
ระเหยปริมาณเท่าใด (ค่าความจุความร้อนจำเพาะของน้ำมีค่าคงที่ = 4.2 กิโลจูลต่อกิโลกรัม-องศา
เซลเซียส ค่าความจุความร้อนจำเพาะของอากาศมีค่าคงที่ = 1.0 กิโลจูลต่อกิโลกรัม-องศาเซลเซียส
และความร้อนแฝงในการกลายเป็นไอของน้ำ 2200 กิโลจูล/กิโลกรัม)
ก. 0.5 กิโลกรัม ข. 0.8 กิโลกรัม
ค. 2.1 กิโลกรัม ง. 3.0 กิโลกรัม

145
218. (พื้นฐานวิศวะ ต.ค. 45) เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบท่อสองชั้นให้สารร้อน A ไหลภายในท่อเล็ก
และสารเย็น B ไหลภายในท่อใหญ่ กำหนดให้ประสิทธิภาพการถ่ายเทความร้อนเป็น 100% พบว่า
ถ้า สาร A เข้า 100 C และสาร B เข้า 20 C จะพบว่า สาร A ออก 80 C และสาร B ออก
30 C อยากทราบว่า ถ้าสาร A เข้า 150 C แล้วออกมา 100 C อุณหภูมิของสาร B ที่เข้าและที่
ออกต่างกันกี่องศาเซลเซียส

146
219. (พื้นฐานวิศวะ ต.ค. 47) อุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อนที่มีการถ่ายเทความร้อนระหว่างน้ำเย็นกับน้ำร้อน
ที่มีการหุ้มฉนวนภายนอกอย่างดี ในข้อใดเป็นไปไม่ได้

ก. ข.

ค. ง.

147
แนวที่ ๕ : มีการแลกเปลี่ยนความร้อนกับแก๊ส (รอเรียนเรื่อง แก๊สอุดมคติ ก่อน)

220. (PAT3 มี.ค. 56) กระแสอากาศร้อนเคลื่อนที่ผ่านอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อนด้วยอัตราการไหล 0.6


กิโลกรัมต่อวินาที โดยอุปกรณ์สามารถลดอุณหภูมิของอากาศร้อนจาก 80 องศาเซลเซียส เป็น 28
องศาเซลเซียส ถ้ากระแสอากาศเย็นไหลเข้าสู่อุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อนด้วยอัตราการไหล 0.6
ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ความดัน 80 กิโลปาสคาล และอุณหภูมิไหลเข้า 27 องศาเซลเซียส อุณหภูมิ
ของอากาศเย็นจะเปลี่ยนแปลงไปกี่องศาเซลเซียส
เมื่อกำหนดให้ ค่าความจุความร้อนจำเพาะของอากาศคือ 1 กิโลจูลต่อกิโลกรัม-องศาเซลเซียส
ค่าคงที่ของอากาศ ( R ) คือ 0.2 กิโลปาสคาล-ลูกบาศก์เมตรต่อกิโลกรัม-เคลวิน

148
221. (พื้นฐานวิศวะ ต.ค. 50) พิจารณาอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อนที่ใช้อากาศเป็นสารทำงานทั้งภายใน
และภายนอกท่อดังแสดงในรูป ถ้าอากาศภายในท่อมีอัตราการไหล 1 กิโลกรัมต่อวินาที และอุณหภูมิ
เข้า-ออกจากท่อเป็น 95 องศาเซลเซียส และ 45 องศาเซลเซียส ตามลำดับ ส่วนด้านนอกท่อเป็น
อากาศที่มีอัตราการไหล 0.9 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ความดัน 100 กิโลพาสคัล และอากาศไหลเข้าสู่
อุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อนที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส จงหาอุณหภูมิของอากาศขณะที่ไหลออก
จากอุปกรณ์ดังกล่าว (ค่าความจุความร้อนของอากาศ 1 kJ/kg  C , ค่าคงที่ของอากาศมีค่า
kPa  m3
0.287 )
kg  K

ก. 31 องศาเซลเซียส ข. 75 องศาเซลเซียส
ค. 79 องศาเซลเซียส ง. 83 องศาเซลเซียส

149
แนวที่ ๖ : การเปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน (รอเรียนไฟฟ้าก่อน)

222. (TEDET ม.3 2557) ภาพแสดงการทดลองวัดอุณหภูมิของน้ำ โดยใส่น้ำลงในแคลอรีมิเตอร์ แล้วให้


กระแสไฟฟ้าไหลไปที่ลวดนิโครม

พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(๑) ปริมาณของน้ำในแคลอรีมิเตอร์ยิ่งมาก อุณหภูมิของน้ำยิ่งเพิ่มขึ้นเร็วขึ้น
(๒) แรงดันไฟฟ้าของแหล่งกำเนิดไฟฟ้ายิ่งสูง อุณหภูมิของน้ำยิ่งเพิ่มขึ้นเร็วขึ้น
(๓) พลังงานความร้อนที่เกิดขึ้นที่แคลอรีมิเตอร์เป็นสัดส่วนเปรียบเทียบกับผลคูณของแรงดันไฟฟ้า
กับกระแสไฟฟ้า
ข้อใดเป็นคำอธิบายที่ถูกต้อง ที่เกี่ยวกับการทดลองในภาพ
ก. (๑) ข. (๓)
ค. (๑), (๒) ง. (๒), (๓)
จ. (๑), (๒), (๓)

150
223. (กสพท. 2558) กระแส I = 2 A ไหลผ่านลวดทำความร้อนซึ่งมีความต้านทาน R = 105  ในกาต้ม
น้ำซึ่งมีน้ำอยู่ 1.0 kg ถ้าปล่อยกระแสไฟฟ้าไหลอยู่นาน 5 นาที อุณหภูมิของน้ำจะเพิ่มขึ้นกี่องศา
เซลเซียส (น้ำมีความจุความร้อนจำเพาะ 4200 J kg-1 K-1 และไม่ต้องคำนึงถึงความจุความร้อนของ
เส้นลวดความต้านทานและตัวกาต้มน้ำ)

ก. 5 ข. 10 ค. 15 ง. 21 จ. 30

224. (สสวท. รอบที่ 1 มิ.ย. 40) ตัวต้านทานขนาด 10 W จุ่มอยู่ในน้ำปริมาตร 1 ลิตร ปล่อยกระแสไฟฟ้า


1 แอมแปร์ผ่านตัวต้านทานนี้นาน 5 นาที จะทำให้อุณหภูมิของน้ำเพิ่มขึ้นกี่องศาเซลเซียส กำหนดให้
ค่าความจุความร้อนของน้ำเป็น 4200 J/kg o C และความร้อนรั่วไปจากระบบ 30%

151
225. (Ent มี.ค. 47) ลวดทำความร้อนต่อกับความต่างศักย์ 220 โวลต์ จุ่มอยู่ในถ้วยกาแฟที่ทำด้วยฉนวน
ถ้วยนี้บรรจุน้ำ 200 กรัม พบว่าทำให้อุณหภูมิของน้ำเปลี่ยนจาก 20 เซลเซียสไปเป็น 70 เซลเซียส
ในเวลาครึ่งนาที จงหากระแสไฟฟ้าที่ผ่านลวดนี้ (ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำเป็น 4.2 กิโลจูลต่อ
กิโลกรัม เคลวิน)

226. (Ent มี.ค. 46) จากวงจรดังรูป ถ้าสับสวิตช์ให้กระแสไฟฟ้าผ่านวงจรเป็นเวลา 10 วินาที จงหาอุณหภูมิ


ของตัวต้านทานที่เพิ่มขึ้น ถ้าพลังงานไฟฟ้าเปลี่ยนเป็นความร้อนทั้งหมด กำหนดให้ตัวต้านทานมีความจุ
ความร้อน 0.8 จูลต่อองศาเซลเซียส

ก. 0.03 C ข. 0.16 C ค. 1.2 C ง. 2.0 C

152
227. (Ent 32) ถ้าผ่านกระแสไฟฟ้าขนาด 15 แอมแปร์ ความต่างศักย์ 220 โวลต์ ไปยังกาต้มน้ำไฟฟ้าแบบ
ขดลวดซึ่งมีน้ำบรรจุอยู่ 500 กรัม จงคำนวณหาเวลาที่ใช้ในการต้มน้ำที่อุณหภูมิตั้งต้น 23 C ให้เดือด
ที่อุณหภูมิ 100 C ถ้า 70% ของพลังงานไฟฟ้าให้ความร้อนกับน้ำโดยตรง
(กำหนดให้ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำ = 4.2 kJ/kg  K )
ก. 9 วินาที ข. 17 วินาที ค. 49 วินาที ง. 70 วินาที

228. (Ent เม.ย. 41) ถ้าใช้หม้อต้มน้ำไฟฟ้าขนาด 220 โวลต์ 1, 000 วัตต์ ต้มน้ำ 1 ลิตร อุณหภูมิ 20
องศาเซลเซียส น้ำจะเริ่มเดือดภายในเวลากี่นาที ถ้าการต้มน้ำมีประสิทธิภาพร้อยละ 80 (ความจุความ
ร้อนจำเพาะของน้ำ = 4.2 kJ/kg  K )
ก. 7 นาที ข. 9 นาที ค. 12 นาที ง. 15 นาที

229. (Ent มี.ค. 44) ต่อตัวต้านทาน 10 โอห์ม กับแบตเตอรี่ 12 โวลต์ แล้วจุ่มตัวต้านทานในคาลอริมิเตอร์ที่


บรรจุน้ำ 48 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะใช้เวลากี่วินาที อุณหภูมิของน้ำจึงจะเพิ่มขึ้น 2 องศาเซลเซียส
(ถ้าแคลอริมิเตอร์มีความจุความร้อนจำเพาะน้อยมาก ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำเท่ากับ 4.2 จูล/
กรัม.เคลวิน และน้ำ 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีมวล 1 กรัม)

153
230. (Ent มี.ค. 44) ขดลวดความร้อน A มีความต้านทาน 0.64 โอห์ม ต่อเข้ากับแบตเตอรี่ 12 โวลต์
สามารถทำให้น้ำ 1 แก้ว เดือดได้ภายหลังจากจุ่มขดลวดเป็นเวลา 4 นาที เมื่อเปลี่ยนเป็นขดลวด B ที่
มีลักษณะเดียวกันแล้วทดลองซ้ำ พบว่าใช้เวลาเพียง 3 นาที จงคำนวณหาความต้านทานของขดลวด B
ก. 0.23  ข. 0.36  ค. 0.48  ง. 0.76 

154
231. (IJSO รอบที่ 2 มี.ค. 56) สารของแข็งมวล m ถูกทำให้เปลี่ยนเป็นของเหลวที่อุณหภูมิคงตัวโดยใช้
แหล่งจ่ายไฟศักย์คงที่ V0 และลวดความร้อนที่มีความต้านทานคงตัว R ใช้เวลาทั้งหมด t ให้การ
หลอมสารจนเป็นของเหลวหมด ถ้าประสิทธิภาพในการเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าไปเป็นพลังงานความร้อนที่
หลอมสาร เท่ากับ 75% จงหาค่าความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลวนี้

155
232. (สสวท. รอบที่ 1 มิ.ย. 41) เส้นลวดเส้นหนึ่ง มีค่าความจุความร้อน C มีจุดหลอมเหลว T1 มีความ
ต้านทาน R ต้องการให้ขาดภายในเวลา t จะทนกระแสได้สูงสุดเท่าไร ถ้าเดิมมีอุณหภูมิ T0

156
233. (EJU-2 2013) As shown in Figure 1, water of 200 g is placed in a thermally insulated
container. The total heat capacity of both the stirring rod and the container is 40 J/K ,
and the specific heat of water is 4.2 J/ ( g  K ) . The initial temperature of the stirring rod,
the container, and the water is 20 C . The stirring rod is used to gently stir the water
while a direct-current voltage of 20 V is applied to the heater, causing the temperature
of the stirring rod, the container, and the water to increase over time as shown in Figure
2. The electrical resistance of the heater does not change while the electrical current
passes through it. The heat capacity of the heater and the thermometer is negligible.

How many amperes ( A ) was the current passing through the heater? From (a)-(f) below
choose the best answer.
(a) 0.22 (b) 0.44 (c) 2.2 (d) 4.4 (e) 22 (f) 44

157
234. (TEDET ม.3 2559) ใส่ลวดนิโครม A และ B ลงในน้ำที่มีอุณหภูมิและปริมาณเท่ากันดังภาพต่อไปนี้
จากนั้นเชื่อมต่อกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้า และวัดอุณหภูมิของน้ำทุก 5 นาที

เวลา (นาที) .0 . .5. . 10 . . 15 .


ลวดนิโครม A . 10 C. . 11 C. . 12 C. . 13 C.
ลวดนิโครม B . 10 C. . 12 C. . 14 C. . 16 C.

(๑) ถ้าทำแรงเคลื่อนไฟฟ้าของแหล่งกำเนิดไฟฟ้าเป็น 2 เท่า ระดับความร้อนของลวดนิโครมจะ


เพิ่มเป็น 4 เท่า
(๒) ถ้าความต้านทานของลวดนิโครม A เป็น 4  ความต้านทานลวดนิโครม B จะเป็น 8 
(๓) ถ้าทดลองให้ปริมาณของน้ำที่มีลวดนิโครม A อยู่ เพิ่มเป็น 2 เท่า เมื่อเวลาผ่านไป 5 นาที
อุณหภูมิของน้ำจะเป็น 12 C
(๔) กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านลวดนิโครม B เป็น 2 เท่าของกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านลวดนิโครม A
(๕) ถ้าเปลี่ยนความต้านทานของลวดนิโครม A เป็น 2 เท่าของความต้านทานเดิม ระดับความ
ร้อนของลวดนิโครม A และ B จะเท่ากัน
จากคำอธิบายที่กำหนดให้ ข้อใดที่ถูกต้องทั้งหมด
ก. (๑), (๒) ข. (๒), (๕)
ค. (๑), (๒), (๔) ง. (๑), (๒), (๕)
จ. (๑), (๓), (๔), (๕)

158
235. (ทุนคิง 2564) วิศวกรท่านหนึ่งทำการออกแบบเครื่องทำน้ำร้อนไฟฟ้าโดยลักษณะของเครื่องทำน้ำร้อน
ดังกล่าวถูกแสดงดังรูปต่อไปนี้ เมื่อจ่ายน้ำด้วยอัตราการไหล 500 kg/ min เข้าสู่เครื่องทำน้ำร้อน
พบว่าเทอร์โมมิเตอร์ฝั่งขาเข้าแสดงค่าอุณหภูมิน้ำเท่ากับ 18.0 C ในขณะเดียวกัน โวลต์มิเตอร์และ
แอมมิเตอร์แสดงค่าความต่างศักย์และกระแสเท่ากับ 120 V และ 15.0 V ตามลำดับ เมื่อพิจารณาว่า
น้ำที่ไหลเข้าสู่ตัวเครื่องถูกทำให้ร้อนขึ้นจนเข้าสู่สภาวะคงที่ (steady state) ในที่สุด ถามว่า
เทอร์โมมิเตอร์ฝั่งขาออกของเครื่องทำน้ำร้อนจะอ่านค่าได้เท่าใด กำหนดให้ความจุความร้อนจำเพาะ
ของน้ำ เท่ากับ 4,190 J/kg  K

159
รวมข้อสอบ ม.ปลาย
อุณหภูมิและความร้อน Part 2

กลไกการถ่ายโอนความร้อน
แนวที่ ๑ : ให้สถานการณ์มา ถามว่าเป็นกลไกการถ่ายโอนความร้อนแบบใด

1. (TEDET ม.1 2561) จากรูปแสดงการเคลื่อนย้ายหนังสือจากหน้าห้องไปยังหลังห้อง ดังวิธีที่ 1 2 และ 3


และข้อความเกี่ยวกับการถ่ายโอนความร้อนในรูปแบบต่างๆ ในชีวิตประจำวัน

(๑) เมื่อเปิดเครื่องปรับอากาศแล้วอ่กาศในห้องเย็นขึ้นอย่างทั่วถึง
(๒) บริเวณที่แสงแดดส่องถึงมีอากาศอบอุ่นกว่าบริเวณที่เป็นร่มเงา
(๓) เมื่อจับด้ามจับของกระบวยที่วางแช่อยู่ในหม้อซุปร้อนๆ แล้วรู้สึกร้อนที่มือ
ข้อใดจับคู่เปรียบเทียบวิธีเคลื่อนย้ายหนังสือกับวิธีการถ่ายโอนความร้อนที่สอดคล้องกันมากที่สุด

วิธีที่ 1 วิธีที่ 2 วิธีที่ 3


ก. ๑ ๒ ๓
ข. ๒ ๑ ๓
ค. ๒ ๓ ๑
ง. ๓ ๑ ๒
จ. ๓ ๒ ๑

160
2. (TEDET ม.1 2560) ข้อใดอธิบายการถ่ายโอนความร้อนในข้อ a ถึง c ได้ถูกต้อง

ก. a เป็นการนำความร้อน b เป็นการพาความร้อน c เป็นการแผ่รังสีความร้อน


ข. a เป็นการนำความร้อน b เป็นการแผ่รังสีความร้อน c เป็นการพาความร้อน
ค. a เป็นการพาความร้อน b เป็นการนำความร้อน c เป็นการแผ่รังสีความร้อน
ง. a เป็นการพาความร้อน b เป็นการแผ่รังสีความร้อน c เป็นการนำความร้อน
จ. a เป็นการแผ่รังสีความร้อน b เป็นการนำความร้อน c เป็นการพาความร้อน

3. (B-PAT3 ต.ค. 51) ในหน้าหนาวมีการจุดกองฟืนเพื่อเป็นการให้ความร้อน ถามว่ากลไกการถ่ายเทความ


ร้อนที่เกิดขึ้นระหว่างกองไฟกับคนที่นั่งอยู่รอบๆ คือกลไกใด
ก. การแผ่รังสีความร้อน
ข. การนำความร้อนและการแผ่รังสีความร้อน
ค. การพาความร้อนและการนำความร้อน
ง. การแผ่รังสีความร้อนและการพาความร้อน

161
4. (PAT3 ต.ค. 59) การต้มน้ำในกา โดยใช้เตาแก๊ส มีรูปแบบการถ่ายเทความร้อนจากเตาแก๊สไปสู่น้ำ ด้วย
วิธีใด
ก. การพาความร้อนเพียงอย่างเดียว
ข. การนำความร้อนเพียงอย่างเดียว
ค. การพาความร้อน และการแผ่รังสีความร้อนเท่านั้น
ง. การนำความร้อน และการพาความร้อนเท่านั้น
จ. การนำความร้อน การพาความร้อน และการแผ่รังสีความร้อนเท่านั้น

5. (PAT3 ก.พ. 63) การถ่ายเทความร้อนจากถ่านไปยังไม้เสียบลูกชิ้นซึ่งอยู่ตรงกลางลูกชิ้น ขณะปิ้งลูกชิ้น


บนเตาถ่าน เป็นแบบใด

ถ่านไปผิวนอกลูกชิ้น ผิวนอกลูกชิ้นไปยังไม้เสียบลูกชิ้น
ก. การพาความร้อนอย่างเดียว การนำความร้อนอย่างเดียว
ข. การแผ่ความร้อนอย่างเดียว การนำความร้อนอย่างเดียว
ค. การนำความร้อนอย่างเดียว การพาความร้อนอย่างเดียว
ง. การแผ่รังสีความร้อน และการพาความร้อน การพาความร้อนอย่างเดียว
จ. การแผ่รังสีความร้อน และการพาความร้อน การนำความร้อนอย่างเดียว

6. (O-Net ม.3 2562) เทน้ำมันลงบนกระทะซึ่งตั้งอยู่บนเตาแก๊ส แล้วเปิดเตาแก๊สเพื่อให้ความร้อน


การถ่ายโอนความร้อนจากกระทะสู่น้ำมัน และจากน้ำมันด้านล่างสู่ด้านบน เป็นการถ่ายโอนความร้อน
วิธีใด

กระทะสู่น้ำมัน น้ำมันด้านล่างสู่ด้านบน
ก. การนำความร้อน การนำความร้อน
ข. การนำความร้อน การพาความร้อน
ค. การพาความร้อน การนำความร้อน
ง. การพาความร้อน การพาความร้อน

162
7. (พื้นฐานวิศวะ มี.ค. 42) กระติกน้ำร้อนดังแสดงในรูป ชั้นในสุดที่ใช้บรรจุน้ำทำด้วยแก้ว ชั้นนอกสุดทำ
ด้วยฉนวนความร้อน นอกจากนี้ระหว่างแก้วกับฉนวนความร้อนจะทำเป็นช่องว่างบรรจุอากาศ เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพไม่ให้ความร้อนถ่ายเทจากน้ำร้อนสู่บรรยากาศได้สะดวก อย่างไรก็ตามยังมีการถ่ายเท
ความร้อนจากน้ำร้อนผ่านแก้ว อากาศ และฉนวนความร้อนสู่บรรยากาศ

ต่อไปนี้ข้อใดแสดงถึงกระบวนการถ่ายเทความร้อนจากน้ำร้อนสู่ผนังแก้วชั้นใน จากผนังแก้วชั้นในสู่ผนัง
แก้วชั้นนอก จากผนังแก้วชั้นนอกสู่ฉนวนความร้อนชั้นใน จากฉนวนความร้อนชั้นในสู่ฉนวนความร้อน
ชั้นนอก และจากฉนวนความร้อนชั้นนอกสู่บรรยากาศ
ก. การพา การนำ การพาและการแผ่ การนำ การพา
ข. การพา การนำ การแผ่ การนำ การพา
ค. การพา การนำ การพา การนำ การแผ่
ง. การพา การนำ การพาและการแผ่ การนำ การพาและการแผ่

163
8. (PAT3 มี.ค. 59) จงอธิบายกลไกการถ่ายเทความร้อนหลักที่เกิดขึ้นระหว่างอากาศด้านนอก และน้ำร้อน
ที่บรรจุในกระบอกที่ช่องว่างระหว่างผนังด้านใน และด้านนอกเป็นสุญญากาศ ดังรูป

ระหว่างน้ำร้อน ระหว่างผนัง 2 ระหว่างผนัง 1


ระหว่างผนัง 2 ระหว่างผนัง 1
และผนัง 2 และผนัง 1 และอากาศ
ก. นำความร้อน นำความร้อน พาความร้อน นำความร้อน พาความร้อน
ข. พาความร้อน นำความร้อน แผ่รังสี นำความร้อน พาความร้อน
ค. พาความร้อน พาความร้อน นำความร้อน พาความร้อน แผ่รังสี
ง. พาความร้อน พาความร้อน แผ่รังสี นำความร้อน พาความร้อน
จ. นำความร้อน นำความร้อน พาความร้อน นำความร้อน แผ่รังสี

9. (TEDET ม.1 2557) พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้


(๑) ถ้าเข้าไปยืนใต้ร่มไม้จะรู้สึกเย็นสบาย
(๒) ถ้าปลายด้านหนึ่งของโลหะร้อน ปลายอีกด้านหนึ่งก็จะร้อนตามไปด้วย
(๓) ถ้าเติมน้ำเย็นลงในแก้ว แก้วน้ำจะเย็นตามไปด้วย
ข้อใดเป็นการนำความร้อน
ก. ๒ ข. ๓ ค. ๑, ๒ ง. ๒, ๓ จ. ๑, ๒, ๓

164
10. (O-Net ม.3 2560) ชายคนหนึ่งออกแบบบ้านให้มีช่องลม และติดพัดลมระบายอากาศ เมื่ออากาศร้อน
ลอยตัวสูงขึ้นออกไปตามช่องลม อากาศเย็นก็จะพัดเข้ามาแทนที่
การออกแบบบ้านให้มีการระบายอากาศเช่นนี้ ใช้หลักการถ่ายโอนความร้อนในข้อใด
ก. การแผ่รังสี ข. การพาความร้อน
ค. การนำความร้อน และการพาความร้อน ง. การแผ่รังสี และการนำความร้อน

11. (PAT3 มี.ค. 60) ข้อใดคือรูปแบบการถ่ายเทความร้อนที่ต่างไปจากข้ออื่น


ก. การใช้เครื่องปรับอากาศทำความเย็น
ข. การไหลของกระแสน้ำอุ่นในมหาสมุทร
ค. การใช้แก๊สร้อนในการทำให้บอลลูนลอยตัว
ง. การใช้หม้อน้ำระบายความร้อนจากเครื่องยนต์
จ. การใช้กระจกหลายๆ บานสะท้อนแสงอาทิตย์ไปรวมที่เตาเพื่อย่างไก่

12. (PAT3 มี.ค. 54) คำกล่าวข้อใดไม่ถูกต้อง


ก. ดวงอาทิตย์ทำให้โลกร้อนเพราะเกิดการพาความร้อน
ข. คนอยู่ข้างเตาเผา จะรู้สึกร้อนเพราะการแผ่รังสี
ค. รถจอดตากแดดแล้วร้อนมาก เพราะเกิดภาวะเรือนกระจก
ง. แสงอาทิตย์มรี ังสีมากกว่า 1 ชนิด
จ. เมื่อนำมือสัมผัสกับน้ำแข็ง จะรู้สึกเย็นเพราะเกิดการนำความร้อน

165
แนวที่ ๒ : ถามเกี่ยวกับสมบัติของการถ่ายโอนความร้อนแต่ละรูปแบบ

13. (TEDET ม.1 2558) ข้อใดอธิบายการนำความร้อน การพาความร้อน การแผ่รังสีความร้อนไม่ถูกต้อง


ก. การนำความร้อนเป็นการส่งต่อความร้อน เนื่องจากการปะทะหรือสัมผัสกัน
ข. การนำความร้อนเกิดได้กับวัตถุที่มีสถานะของแข็ง
ค. การแผ่รังสีความร้อนเป็นวิธีการถ่ายโอนความร้อนในขณะที่วัตถุเคลื่อนที่ด้วยตัวเอง
ง. การแผ่รังสีความร้อนเป็นการถ่ายเทความร้อนโดยไม่ต้องผ่านตัวกลาง
จ. มีการแผ่รังสีความร้อนออกมาจากดวงอาทิตย์ แต่ไม่มีการแผ่รังสีความร้อนออกมาจากคน

14. (PAT2 มี.ค. 59) กระติกเก็บน้ำร้อน ทำจากกระจก 2 ชั้น ช่องว่างระหว่างชั้นเป็นสุญญากาศ และ


กระจกชั้นในเคลือบด้วยฟิล์มบางเงิน ทำให้มีลักษณะคล้ายกระจกเงาส่องหน้า การเคลือบฟิล์มบาง
ดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร
ก. ลดการนำความร้อน ข. ลดการพาความร้อน
ค. ลดการแผ่รังสีความร้อน ง. ลดการนำและการแผ่รังสีความร้อน
จ. ลดการพาและการแผ่รังสีความร้อน

166
15. (TEDET ม.3 2562) เมื่อให้ความร้อนจากด้านล่างของหม้อใส่น้ำด้วยอุปกรณ์ที่ให้ความร้อนดังรูป ข้อใด
ถูกต้อง

ก. น้ำเป็นตัวกลางที่นำความร้อนได้ดีกว่าหม้อ
ข. น้ำที่ได้รับความร้อนจะมีความหนาแน่นของน้ำมากกว่าน้ำบริเวณโดยรอบ
ค. ความร้อนถูกส่งจากอุปกรณ์ที่ให้ความร้อนมาที่หม้อโดยอาศัยการแผ่รังสีความร้อน
ง. ในขณะที่อนุภาคของน้ำสั่นสะเทือนอยู่กับที่ ความร้อนจะถูกส่งผ่านไปโดยการนำความร้อน
จ. น้ำที่ได้รับความร้อนจะมีปริมาตรมากขึ้น และเคลื่อนที่ได้ช้าลง

167
16. (O-Net ม.3 2563) จัดชุดการทดลองโดยใส่ของเหลวอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ในขวดแก้วอุณหภูมิ
25 องศาเซลเซียส ที่มีหลอดแก้วใสและเทอร์โมมิเตอร์เสียบเอาไว้ แล้วนำขวดแก้วจุ่มในน้ำร้อน
อุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียส ดังภาพ

ข้อความใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
ก. เทอร์โมมิเตอร์จะดูดกลืนความร้อนจากของเหลวในขวดแก้ว
ข. ขณะจุ่มขวดแก้วในน้ำร้อน มีการนำความร้อนจากขวดแก้วไปยังของเหลว
ค. ของเหลวในขวดแก้วที่บริเวณก้นขวดจะพาความร้อนขึ้นไปยังของเหลวที่อยู่ด้านบน
ง. ขณะเริ่มจุ่มขวดแก้วในน้ำร้อน ของเหลวในขวดแก้วจะถ่ายโอนความร้อนไปสู่น้ำร้อน

168
การนำความร้อน
แนวที่ ๑ : สมบัติของการนำความร้อน

17. (TEDET ม.1 2557) ข้อใดอธิบายเกี่ยวกับการนำความร้อนไม่ถูกต้อง


ก. ช้อนที่จุ่มลงในน้ำร้อนจะร้อนตามไปด้วย
ข. ในบริเวณที่ไม่มีตัวกลางจะไม่มีการนำความร้อน
ค. การนำความร้อนจะแตกต่างกันตามประเภทของสาร
ง. เป็นวิธีการถ่ายโอนความร้อนที่มักเกิดขึ้นกับของแข็ง
จ. การนำความร้อนเกิดขึ้นเนื่องจากโมเลกุลของสารเคลื่อนที่นำความร้อนไป

18. (TEDET ม.1 2560) ตั้งไม้ขีดในแต่ละตำแหน่งโดยใช้น้ำตาเทียนหยดบนแท่งเหล็กกับแท่งทองแดงดังรูป

เมื่อไม้ขีดไฟ A หล่นลงมาก่อน C คำอธิบายในข้อใดอธิบายการทดลองด้านบนได้ถูกต้องทั้งหมด


(๑) ไม้ขีดไฟ A กับ B หล่นลงมาพร้อมกัน
(๒) ทองแดงถ่ายโอนความร้อนเร็วกว่าเหล็ก
(๓) ไม้ขีดไฟหล่นลงมาเนื่องจากการถ่ายโอนความร้อนแบบการแผ่รังสี
ก. ๑ ข. ๒ ค. ๓ ง. ๑, ๒ จ. ๒, ๓

169
แนวที่ ๒ : การคำนวณเกี่ยวกับการนำความร้อน

19. (สอวน. ม.4-ม.5 ส.ค. 56)

170
20. (สอวน. ส.ค. 62)

AB เป็นท่อโลหะตันเนื้อเดียวเส้นผ่านศูนย์กลางสม่ำเสมอยาว ผิวด้านข้างรอบท่อมีฉนวนความร้อน
ห่อหุ้มอยู่ตลอดปลาย A อยู่ที่อุณหภูมิสูง T1 ปลาย B ที่อุณหภูมิ T2 ซึง่ ต่ำกว่า T1 ที่จุดในท่อห่างจาก
ปลาย A เป็นระยะ x มีอุณหภูมิเป็นเท่าไร
x
ก. x
T1 ข. T2 ค. x (T1 − T2 ) ง. T1 − x (T1 − T2 )

21. (สอวน. ธ.ค. 63) ท่อนทองแดง AB มีฉนวนกันความร้อนหุ้มตลอดทั้งท่อนเพื่อกันไม่ให้ความร้อนไหลออก


ด้านข้างท่อนปลาย A อยู่ที่อุณหภูมิ +50 C ส่วนปลาย B อยู่ที่อุณหภูมิ −10 C จงหาอุณหภูมิที่จุด P

171
22. (สอวน. ม.4 มี.ค. 58) แท่งโลหะ 1 ยาว L1 ถูกเชื่อมต่อปลายกับแท่งโลหะ 2 ยาว L2 แท่งทั้งสองถูก
หุ้มฉนวนรอบข้างอย่างสมบูรณ์ แต่ละแท่งมีพื้นที่ภาคตัดขวาง A เท่ากันคงตัวตลอดทั้งแท่ง ปลาย
อิสระของแท่งโลหะ 1 ถูกรักษาอยู่ที่อุณหภูมิ T1 และปลายอิสระของแท่งโลหะ 2 ถูกรักษาอยู่ที่
อุณหภูมิ T ถ้าอัตราการไหลของความร้อนระหว่างปลายอิสระทั้งสองนั้น เท่ากับ ( 1 2 ) โดย
k A T − T
2
L
ที่ L = L1 + L2 และ k  ถูกเรียกว่า สัมประสิทธิ์การนำความร้อนยังผลของแท่งโลหะคู่นี้ จงเขียน k 
ในเทอมของ k1 , k2 และปริมาณอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยที่ k1 และ k2 คือ สัมประสิทธิ์การนำความร้อน
ของโลหะ 1 และ 2 ตามลำดับ

172
23. (IJSO รอบที่ 3 พ.ค. 60) แท่งโลหะ A ยาว L ถูกเชื่อมต่อปลายกับแท่งโลหะ B ยาว 2L แท่งทั้งสอง
หุ้มฉนวนรอบข้างอย่างสมบูรณ์ แต่ละแท่งมีภาคตัดขวาง A สม่ำเสมอตลอดความยาว ปลายอิสระของ
แท่งโลหะ A มีอุณหภูมิ  ( C ) ส่วนปลายอิสระของแท่งโลหะ B ถูกรักษาอยู่ที่อุณหภูมิของของผสม
ระหว่างน้ำกับน้ำแข็ง แท่งโลหะ A และ B มีสัมประสิทธิ์การนำความร้อนเป็น k A และ kB = 3k A
ตามลำดับ
(๑) จงหาอุณหภูมิที่รอบต่อของแท่งโลหะทั้งสอง
(๒) จงหาอัตราของมวลต่อเวลาที่น้ำแข็งละลายกลายเป็นน้ำที่ปลายอิสระของแท่งโลหะ B กำหนดให้
น้ำแข็งมีความร้อนแฝงต่อมวลของการหลอมเหลว H m

173
24. (IJSO รอบที่ 3 พ.ค. 61) แท่งโลหะ A และ B ต่างมีความยาว L และภาคตัดขวาง S สม่ำเสมอ มี
สัมประสิทธิ์การนำความร้อนเป็น k และ 3k ตามลำดับ ถูกเชื่อมต่อกันและหุ้มฉนวนรอบข้างอย่าง
สมบูรณ์ ปลายแท่งโลหะ A ต่ออยู่กับแหล่งความร้อน R ที่ตำแหน่ง x = 0 ส่วนปลายของแท่งโลหะ B
ถูกรักษาอยู่ที่อุณหภูมิของของผสมระหว่างน้ำกับน้ำแข็งที่อุณหภูมิ 0 C โดยที่อัตรามวลต่อเวลาที่
น้ำแข็งละลายกลายเป็นน้ำเท่ากับ  น้ำแข็งมีความร้อนแฝงต่อมวลของการหลอมเหลว H m จงหา
อุณหภูมิในแท่งโลหะที่ x = 0 และ x = L

174
25. (IJSO รอบที่ 2 มี.ค. 59) ในฤดูหนาวของประเทศเขตหนาว บริเวณผิวของน้ำในสระที่มีอุณหภูมิ 0 C
กำลังกลายตัวเป็นน้ำแข็ง ผิวบนของชั้นน้ำแข็งมีอุณหภูมิคงตัวต่ำกว่าอุณหภูมิของน้ำในสระอยู่ Ts C
จงหาอัตราการเพิ่มความหนาของชั้นน้ำแข็งขณะที่ชั้นน้ำแข็งมีความหนา h กำหนดให้น้ำแข็งมีความ
หนาแน่น  มีสัมประสิทธิ์การนำความร้อน k และความร้อนแฝงต่อมวลของการแข็งตัวเป็นน้ำแข็ง
ของน้ำเท่ากับ L
หมายเหตุ อัตราการนำความร้อน (ปริมาณความร้อนต่อเวลา) ระหว่างสองบริเวณที่มีอุณหภูมิแตกต่าง
กัน ผ่านพื้นที่หน้าตัดหนึ่งๆ จะแปรผันโดยตรงกับขนาดของพื้นที่หน้าตัดนั้นและผลต่างอุณหภูมิของ
สองบริเวณนั้น และแปรผกผันกับระยะห่างระหว่างสองบริเวณนั้น โดยมีค่าคงที่ของการแปรผัน เรียกว่า
สัมประสิทธิ์การนำความร้อน

175
26. (พื้นฐานวิศวะ มี.ค. 48) จากรูปเป็นผนังที่ประกอบด้วยวัสดุต่างๆ กัน 4 ชนิด (วัสดุ A, B, C และ D)
ผนังนี้ถูกใช้ในการกั้นระหว่างพื้นที่ที่มีความแตกต่างของอุณหภูมิโดยที่ อุณหภูมิ T1 มีค่ามากกว่า
อุณหภูมิ T2 และค่าสัมประสิทธิ์การนำความร้อนของวัสดุ A, B, C และ D มีค่าเท่ากับ k A , kB , kC
และ kD ตามลำดับ ถ้าค่าความต้านทานการนำความร้อน ( R ) คือส่วนกลับของค่าสัมประสิทธิ์การนำ
ความร้อน และค่าการนำความร้อนต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่หาได้จากความแตกต่างของอุณหภูมิหารด้วยค่า
ความต้านทานการนำความร้อนรวม จงหาค่าการนำความร้อนต่อหน่วยพื้นที่ของระบบในภาพ (ค่าความ
ต้านทานการนำความร้อนรวมสามารถหาได้โดยใช้หลักการเดียวกับการหาค่าความต้านทานใน
วงจรไฟฟ้ากระแสตรง และกำหนดให้ค่าความหนาของแต่ละชั้นวัสดุมีค่าเท่ากับหนึ่งหน่วยความยาว)
T1 − T2
ก.
k A + kB + kC + kD
T1 − T2
ข.
( kC + k B ) k D + k A k D + ( k C + k B ) k A
k A k D ( kC + k B )
T1 − T2
ค. k B kC k D + k A kC k D + k A k B k D + k A kB kC
k A k B kC k D
T1 − T2
ง.
( kC + k B ) k D + k A k B k C k D + ( k C + k B ) k A
k A k D ( kC + k B )

176
สมบัติภาคบรรยายเกี่ยวกับความร้อน
27. (PAT2 มี.ค. 54) ในขณะที่น้ำในกาต้มน้ำที่เปิดฝาไว้กำลังเดือด ถ้านักเรียนเร่งไฟเตาแก๊สให้แรงขึ้น จะ
เกิดอะไรขึ้น
ก. ปริมาณไอน้ำจะมากขึ้น ข. จุดเดือดของน้ำจะสูงขึ้น
ค. น้ำในกามีอุณหภูมิสูงขึ้นอย่างมาก ง. อัตราการระเหยเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย

28. (PAT2 ธ.ค. 54) ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการที่เราสัมผัสวัตถุหนึ่งแล้วรู้สึกเย็น


ก. วัตถุนั้นมีอุณหภูมิต่ำกว่าอุณหภูมิของมือ
ข. วัตถุนั้นมีพลังงานความร้อนน้อยกว่าในมือ
ค. วัตถุนั้นมีการขยายตัวในขณะที่มือสัมผัส
ง. วัตถุนั้นมีสัมประสิทธิ์การนำความร้อนน้อยกว่ามือ

29. (มข. 2550) เมื่อเราสัมผัสวัตถุหนึ่งแล้วรู้สึกเย็น ข้อใดต่อไปนี้สรุปได้ถูกต้อง


ก. สภาพนำความร้อนของวัตถุมีค่าน้อยกว่าสภาพนำความร้อนของมือเรา
ข. วัตถุมีพลังงานความร้อนน้อยกว่าพลังงานความร้อนของมือเรา
ค. วัตถุมีอุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิของมือเรา
ง. ถูกทั้ง ข และ ค

177
30. (PAT2 มี.ค. 56) นักเรียนคนหนึ่งตั้งสมมติฐานว่า มวลของวัตถุส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของ
วัตถุเมื่อได้รับความร้อน เขาควรเลือกวัตถุที่นำมาทดลองอย่างไรเพื่อทดสอบสมมติฐานดังกล่าว
ก. เลือกวัตถุชนิดเดียวกันที่มีมวลเท่ากันหลายชิ้น
ข. เลือกวัตถุชนิดเดียวกันที่มีมวลต่าง ๆ กันหลายชิ้น
ค. เลือกวัตถุต่างชนิดกันแต่มีมวลเท่ากันหลายชิ้น
ง. เลือกวัตถุต่างชนิดกันที่มีมวลต่าง ๆ กันหลายชิ้น

31. (PAT2 พ.ย. 57) เมื่อวางก้อนน้ำแข็งลงบนถาดสแตนเลสและถาดพลาสติกที่วางอยู่ในห้องมานาน


พอสมควรแล้วถาดละ 1 ก้อน ข้อใดคือสิ่งที่สังเกตเห็น
ก. น้ำแข็งทั้งสองก้อนละลายเร็วเท่า ๆ กัน เพราะถาดทั้งสองมีอุณหภูมิเท่ากัน
ข. น้ำแข็งบนถาดพลาสติกละลายเร็วกว่า เพราะถาดพลาสติกเก็บความร้อนได้มากกว่า
ค. น้ำแข็งบนถาดสแตนเลสละลายเร็วกว่า เพราะถาดสแตนเลสถ่ายเทความร้อนได้ดีกว่า
ง. น้ำแข็งบนถาดสแตนเลสละลายเร็วกว่า เพราะถาดสแตนเลสเก็บความร้อนได้มากกว่า

178
32. (พื้นฐานวิศวะ มี.ค. 45) ในการเพิ่มผลผลิตคุณภาพการตากกล้วยตาก ของชาวบ้านเกษตรกรกลุ่มหนึ่ง
ที่อำเภอบางกระทุ่ม จังหวัดพิษณุโลก เพื่อเป็นการป้องกันฝุ่นละออง แมลง นก และหนู จึงทำตู้ตาก
กล้วย พลังแสงอาทิตย์โดยใช้พลาสติกใสและตู้อลูมิเนียมสีดำ ตามรูปภาพ ทั้งนี้ เพื่อให้ได้อุณหภูมิที่
เหมาะสมในการตากกล้วยที่ 55 C
อยากทราบว่า ตู้ตากกล้วยชนิดนี้ไม่ได้ใช้หลักการข้อใด

ก. อากาศร้อนย่อมลอยขึ้นที่สูง
ข. จำนวนรูระบายอากาศออกมีน้อยกว่ารูอากาศเข้า
ค. อลูมิเนียมนำความร้อนดีกว่าพลาสติก
ง. วัสดุสีเข้มย่อมดูดรังสีความร้อนได้ดีกว่าวัสดุสีอ่อน

33. (พื้นฐานวิศวะ มี.ค. 46) ถ้วยโลหะบรรจุน้ำให้ความร้อนที่ตำแหน่งก้นถ้วย จนกระทั่งอุณหภูมิเฉลี่ยของ


น้ำ เท่ากับ 80 อุณหภูมิของน้ำตำแหน่งใดมากที่สุดและน้อยที่สุด

ก. มากที่สุด B , น้อยที่สุด A ข. มากที่สุด C , น้อยที่สุด D


ค. มากที่สุด B , น้อยที่สุด D ง. มากที่สุด C , น้อยที่สุด A

179
34. (BMAT 2017) A puddle is left on a road after a rain shower. The water in the puddle slowly
disappears by evaporation.
Three statements about the effect of changing different conditions on this process are
given below.
(1) The rate of evaporation is greater at higher temperatures.
(2) The rate of evaporation is greater when the air above the puddle is still.
(3) The rate of evaporation is greater when the puddle has a larger surface area.
Which of the statements is/are correct?
(Assume for each statement that all other conditions remain the same.)
A. none of them B. 1 only
C. 2 only D. 3 only
E. 1 and 2 only F. 1 and 3 only
G. 2 and 3 only H. 1, 2 and 3

180

You might also like