You are on page 1of 10

ดาราศาสตรโอลิมปก ระดับม.

ตน 37

บทที่ 3
วงโคจรของวัตถุและกฎของเคปเลอร

ในชีวิตประจําวันจะพบวาวัตถุใดๆ ก็ตามบนโลกลวนแตอยูภายใตอิทธิพลของแรงโนมถวงที่ดึงดูด
วัตถุนั้นใหพยายามตกลงบนพื้นโลกทั้งสิ้น ถาลองโยนลูกบอลขึ้นไปบนฟา ลูกบอลจะตกลงสูพื้นโลกเสมอ
เซอรไอแซคนิ ว ตัน เปน นัก วิ ทยาศาสตร ค นแรกที่อธิ บ ายวาลู ก แอปเปลที่ ห ลุด จากต น จะหลนลงบนพื้น
เนื่องจากลูกแอปเปลจะถูกแรงโนมถวงกระทําในทิศพุงเขาหาโลกตั้งฉากกับแนวราบ สมมติถาลองคิดเลนๆ
วาลูกแอปเปลหลนทะลุพื้นโลกลงไปได คิดวาลูกแอปเปลจะหลนลงไปสูจุดศูนยกลางของโลกหรือไม
ในกรณีที่ปลอยวัตถุจากที่สูงตกลงสูพื้นโลก เสนทางการเคลื่อนที่ของวัตถุนั้นจะมีลักษณะเปน
เสนตรงจากจุดศูนยกลางของตําแหนงวัตถุเริ่มตนไปสูพื้นเบื้องลางและถาตอแนวเสนตรงนั้นไปเรื่อยๆ จาก
พื้นโลก เสนตรงนั้นจะมุงตรงไปสูจุดศูนยกลางของโลก นั่นหมายถึงวาอิทธิพลความโนมถวงของโลกที่มีตอ
วัตถุใดๆ นั้นจะทําใหเกิดแรงดึงดูดที่โยงระหวางจุดศูนยกลางของวัตถุกับจุดศูนยกลางของโลก ดังรูปที่ 3.1
รูปที่ 3.1 แสดงเสนทางของวัตถุที่
ถูกปลอยตามแรงดึงดูด ทําใหวัตถุ
ตกลงสูพื้นโลกเปนเสนตรง โดย
ถาต อแนวแรงจากพื้นโลกลงไป
เรื่อยๆ แรงดังกลาวจะโยงระหวาง
จุ ด ศู น ย ก ลางของวั ต ถุ กั บ จุ ด
ศูนยกลางของโลก

กรณีดังรูปที่ 3.1 นี้ เปนกรณีของการปลอยวัตถุจากที่สูง ถาเปนกรณีการขวางวัตถุจากที่สูงไปตาม


แนวระดับบาง เสนทางการเคลื่อนที่ของวัตถุจะไมใชเสนตรง แตเปนเสนโคง ที่เริ่มตนจากจุดศูนยกลางของ
ตําแหนงวัตถุเริ่มตนแลวตกสูพื้นโลก นักเรียนคิดวา ถาตอแนวเสนทางดังกลาวนี้จากพื้นโลกลงไปอีก เสน
โคงดังกลาวจะพุงไปสูจุดศูนยกลางของโลกหรือไม
รูปที่ 3.2 แสดงเสนทางของวัตถุที่
ถูกขวา งตามแนวระดับ จากที่ สู ง
ซึ่งวัตถุจ ะถูกแรงโน มถ ว งดึ งดู ด
ลงสู พื้ น โลก และถ า ต อ แนว
เส น ทางดั ง กล า วไปอี ก นั ก เรี ย น
จะเห็ น ได ว า วั ต ถุ นั้ น จะไปสู จุ ด
ศูนยกลางโลก
ดาราศาสตรโอลิมปก ระดับม.ตน 38

กรณีดังรูปที่ 3.2 จะเกิดเสนทางตามแนวเสนโคงที่เชื่อมระหวางจุดศูนยกลางของตําแหนงวัตถุ


เริ่มตนไปจนกระทั่งถึงจุดศูนยกลางของโลก เสนโคงดังกลาวนี้เราเรียกวา พาราโบลา กรณีดังกลาวนี้เปน
กรณีวัตถุที่เราขวางมีความเร็วเริ่มตนไมมากนัก ถากรณีที่ความเร็วเริ่มตนของวัตถุมีคามากกวานี้ วัตถุจะเริ่ม
เบนออกจากจุดศูนยกลางของโลก
รูปที่ 3.3 แสดงเสนทางของวัตถุที่
ถู ก ขว า งด ว ยความเร็ ว มากตาม
แนวระดับจากที่สูง ซึ่งวัตถุจะถูก
แรงโน ม ถ ว งดึ ง ดู ด ลงสู พื้ น โลก
และถาตอแนวเสนทางดังกลาวไป
อี ก เส น ทางดั ง กล า วจะอ อ มจุ ด
ศูนยกลางโลกและกลับสูตําแหนง
เดิม

รูปที่ 3.4 ถาวัตถุมีความเร็ว


พอเหมาะ จะทําใหวตั ถุเคลื่อนที่
ตามเสนทางวงกลม โดยมีจดุ
ศูนยกลางของโลกเปนจุด
ศูนยกลางของเสนทางวงกลมนั้น

รูปที่ 3.5 และถาความเร็วของวัตถุ


ดั ง กล า วมี ค า มากขึ้ น เรื่ อ ยๆ ใน
ที่สุดจะถึงคาที่ทําใหเสนทางของ
วั ต ถุ ไ ม ย อ นกลั บ สู จุ ด เริ่ ม ต น อี ก
เลย เส น โค ง ดั ง กล า วยั ง เรี ย กว า
พาราโบลา

รูปที่ 3.6 สุดทายเมื่อเพิ่มความเร็ว


ของวั ตถุ ม ากขึ้ น ไปอี ก จะทํ า ให
เส น ทางของวั ต ถุ ก ลายเป น เส น
โค ง ที่ ก ว า งขึ้ น เรี ย กเส น โค ง
ดังกลาววา ไฮเปอรโบลา
ดาราศาสตรโอลิมปก ระดับม.ตน 39

สาระที่ 1: ใหนักเรียนลองพิจารณาการตูนขางลาง แลวนักเรียนเกิดคําถามอะไรขึ้นมาบาง ใหเขียนคําถาม


ดังกลาวลงในกระดาษแลวอภิปรายกันในกลุม

ไฮเปอรโบลา

วงกลม
พาราโบลา

วงรี
รูปที่ 3.7 แสดงเสนทางการเคลื่อนที่ของวัตถุภายใตแรงโนมถวงในรูปแบบตางๆ

เสนทางของวัตถุที่อยูภายใตแรงโนมถวงซึ่งเปนแรงที่กระทําระหวางจุดศูนยกลางมวลของวัตถุสอง
ชิ้นขึ้นไป จะมีลักษณะเปนไดทั้งเสนตรงและเสนโคง นักเรียนอาจจะเคยไดรูกันมาแลววาโลกและดาว
เคราะหอื่นๆ อีก 8 ดวง มีเสนทางการเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตยเปนรูปวงรี ลักษณะการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ภายใตแรงโนมถวงของวัตถุอีกชิ้น เรียกวา การโคจร และเรียกเสนโคงดังกลาววา วงโคจร ใหนักเรียนลองนึก
ถึงตัวอยางวัตถุอื่นๆ ที่มีวงโคจรเปนเสนโคงที่นอกเหนือจากวงรี
ดาราศาสตรโอลิมปก ระดับม.ตน 40

ตัวอยางวงโคจรของวัตถุอนื่ ในรูปแบบตางๆ
• วงกลม : ดาวเทียม
• วงรี : ดาวเทียม, ดาวหาง, ดาวเคราะห, ยานอวกาศ
• พาราโบลา : ดาวหาง, ยานอวกาศ
• ไฮเปอรโบลา : ดาวหาง, ยานอวกาศ

ความรูเรื่องวงโคจรรูปแบบตางๆ ของวัตถุภายใตแรงโนมถวงมีประโยชนอยางมากตอความรูความ
เขาใจเกี่ยวกับระบบสุริยะ การโคจรของดาวหางและดาวเคราะหนอย รวมไปถึงความกาวหนาในเทคโนโลยี
ทางอวกาศของมนุษยชาติ ปริมาณหนึ่งที่จะบงบอกถึงรูปรางวงโคจรของวัตถุคือ คาความรีของวงโคจร ใช
สัญลักษณ e โดยที่

• วงกลม : e = 0
• วงรี : 0<e<1
• พาราโบลา : e = 1
• ไฮเปอรโบลา : e > 1

วงกลม พาราโบลา
วงรี ไฮเปอรโบลา
e
0 1

ตัวอยางคาความรีของวงโคจรของดาวนพเคราะหซึ่งโคจรเปนวงรีรอบดวงอาทิตย ดังแสดงใหดูใน
ตารางขางลาง

ตารางที่ 3.1 แสดงคาความรีของวงโคจรของดาวเคราะหทั้งเกาดวงรอบดวงอาทิตย

ดาวนพเคราะห พุธ ศุกร โลก อังคาร พฤหัส เสาร ยูเรนัส เนปจูน พลูโต
คาความรี 0.206 0.0068 0.0167 0.0934 0.0485 0.0556 0.0472 0.0086 0.25

นักเรียนคิดวา ดาวเคราะหดวงใดที่มีวงโคจรเปนวงรีมากที่สุด
ดาราศาสตรโอลิมปก ระดับม.ตน 41

รูปที่ 3.8 แสดงแบบจําลองการโคจรของดาวเคราะหในระบบสุริยะ

วงรี
นักเรียนสามารถสรางรูปวงรีไดโดยการตรึงจุดสองจุด ใหชื่อวาจุด F และจุด F/ แลวโยงจุดสองจุด
ดวยเชือก เมื่อนักเรียนใชดินสอขึงใหเชือกตึงแลววาดเสนโดยโยงเชือกรอบจุดสองจุดดังกลาว เสนดินสอที่
ไดจะมีลักษณะเปนวงรีดังรูป
รูปที่ 3.9 แสดงสวนประกอบ
ของวงรี ซึ่งนักเรียนสามารถ
สรางขึ้นไดโดยการกําหนดจุด
โฟกัสสองจุดและลากเสนรอบ
จุดโฟกัสทั้งสองนั้น

โดยจุดสองจุดดังกลาวเราเรียกวา จุดโฟกัสของวงรี จากรูปเราจะพบวา ถาใหระยะ OA มีคาเทากับ a


และระยะ OF มีคาเทากับ c แลว เราจะไดความสัมพันธระหวาง a กับ c ดังนี้

c = ae

ดังนั้น ถายิ่งคาความรีของวงรีมีคามาก วงรีก็จะมีลักษณะรีมากขึ้น ถานักเรียนลองสังเกตวงโคจร


ของดาวพลูโตซึ่งมีคาความรีเทากับ 0.25 นักเรียนจะพบวาแตกตางจากดาวเคราะหดวงอื่นที่มีคาความรีต่ํา
จากขอมูลดังตารางพบวา ดาวศุกรจะมีคาความรีนอยที่สุด เทากับ 0.0068 ดังนั้นวงโคจรของดาวศุกรจึงมี
ลักษณะเกือบเปนวงกลม
ดาราศาสตรโอลิมปก ระดับม.ตน 42

กฎขอที่ 1 ของเคปเลอร
“ดาวเคราะหทั้งหมดจะมีเสนทางการเคลื่อนที่เปนวงรี โดยมีดวงอาทิตยอยูที่ตําแหนงจุดโฟกัสจุด
หนึ่งของวงรี”

กฎขอที่หนึ่งของเคปเลอรไดจากการสังเกตการณดาวเคราะห ดวยตาเปลาในสมัยกอน ซึ่งนักดารา


ศาสตรชื่อ ไทโค บราหไดทําการสังเกตการณตําแหนงดาวเคราะหแลวบันทึกไว จนเมื่อลูกศิษยของเขาชื่อ โจ
ฮาน เคปเลอรไดนําผลการสังเกตการณดังกลาวมาวิเคราะห จึงพบวาขอมูลที่ไดสอดคลองกับแบบจําลองการ
โคจรเปนวงรีของดาวเคราะหรอบดวงอาทิตย จึงไดตีพิมพผลที่ไดออกมา

b rP
A c P
rA

รูปที่ 3.10 แสดงแบบจําลองการโคจรของดาวเคราะหรอบดวงอาทิตย โดยดวงอาทิตยอยูในตําแหนง


จุดโฟกัสหนึ่งของวงรี

กฎขอที่ 2 ของเคปเลอร
“ถาลากเสนตรงเชื่อมระหวางดาวเคราะหกับดวงอาทิตยแลว เสนตรงดังกลาวจะกวาดพื้นที่ไดคา
เทากันเมื่อชวงเวลาที่ใชเทากัน”

b รูปที่ 3.11 เปนแบบจําลองที่ใชอธิบาย


a กฎขอที่สองของเคปเลอร
c

d
ดาราศาสตรโอลิมปก ระดับม.ตน 43

ถาพิจารณาดังรูปที่ 3.11 พบวาบริเวณที่แรเงาคือพื้นที่ที่เสนตรงกวาดในชวงเวลาที่เทากัน ดังนั้น


พื้นที่สองพื้นที่ที่ถูกแรเงาดังกลาวจะมีคาเทากันดวย นักเรียนคิดวาความเร็วในการโคจรของดาวเคราะหจาก
ตําแหนง a ไปตําแหนง b และจากตําแหนง c ไปตําแหนง d มีคาเทากันหรือไม
นักเรียนจะพบวา ab เปนสวนของวงรีที่มีขนาดนอยกวา cd แตดาวเคราะหใชชวงเวลาในการโคจร
บนเสนโคงทั้งสองเทากัน จึงสามารถสรุปไดวา ความเร็วในการโคจรของดาวเคราะหบนสวนโคง cd มีคา
มากกวาความเร็วที่ใชในการโคจรบนสวนโคง ab และยังสามารถสรุปไดอีกวาดาวเคราะหจะเคลื่อนที่ดวย
ความเร็วมากขึ้นถาอยูบนวงโคจรที่ใกลดวงอาทิตยมากกวาดวย
ยอนกลับไปรูปที่ 3.10 ถาใหดาวเคราะหดังกลาวเปนโลกซึ่งกําลังโคจรเปนวงรีรอบดวงอาทิตย โดย
มี ด วงอาทิ ตย อยู ใ นตํา แหน งจุ ด โฟกั ส จุ ด หนึ่ ง ของวงรีดั ง กล า ว จะพบว า โลกในตํา แหนง A กั บ โลกใน
ตําแหนง P จะอยูหางจากดวงอาทิตยเปนระยะทางที่ไมเทากัน โดยจุด P จะอยูใกลดวงอาทิตยมากกวาจุด A
จากกฎขอที่สองของเคปเลอร เราจึงสามารถสรุปไดวาความเร็วตามวงโคจรของโลกที่ตําแหนง P จะมีคา
มากกวาความเร็วตามวงโคจรของโลกที่ตําแหนง A (เขียนไดวา vP > vA ) ถาใหระยะทางจากโลกที่ตําแหนง
P วัดถึงดวงอาทิตยมีคาเทากับ rP และระยะทางจากโลกที่ตําแหนง A วัดถึงดวงอาทิตยมีคาเทากับ rA แลว เรา
จะไดความสัมพันธระหวางความเร็วของดาวเคราะหตามวงโคจรและระยะหางดังสมการ

vP rA 1 + e
= =
v A rP 1 − e

โดยที่ e คือคาความรีของวงโคจร และ rP + rA = 2a


และ a คือ ระยะครึ่งแกนยาวของวงรี
ตําแหนง P เปนตําแหนงบนวงโคจรที่ดาวเคราะหอยูใกลดวงอาทิตยมากที่สุด เรียกตําแหนงดังกลาว
นี้วา จุดเพอริฮีเลียน (Perihelion) และตําแหนง A เปนตําแหนงที่ดาวเคราะหอยูไกลจากดวงอาทิตยมากที่สุด
เรียกตําแหนงดังกลาวนี้วา จุดแอบฮีเลียน (Aphelion)ถาดาวเคราะหดังกลาวคือโลก นักเรียนคิดวาในการ
โคจรของโลกเริ่มตนจากจุดเพอริฮีเลียนและกลับมายังจุดเดิมอีกครั้งนึงจะใชระยะเวลาเทาใด
ดาราศาสตรโอลิมปก ระดับม.ตน 44

สาระที่ 2 : ทดลองกฎของเคปเลอร
ใหนักเรียนเขาไปในเว็บไซต
http://csep10.phys.utk.edu/guidry/java/kepler/kepler.html
จะพบ java applet interactive ดังรูปขางลาง

แลวใหนักเรียนลองแปรคา e, a, M (มวลของดาวดวงใหญ) แลวสังเกตการเปลี่ยนแปลง

ถานักเรียนสามารถวัดเวลาที่โลกโคจรกลับมาที่ตําแหนงเดิมครบหนึ่งรอบ จะพบวาเวลาดังกลาวมี
คาเทากับ 365.25 วันหรือประมาณ 1 ป เราเรียกชวงเวลาที่ดาวเคราะหใชเวลาโคจรกลับมาตําแหนงเดิมครบ
หนึ่งรอบวา คาบการโคจร โดยดาวเคราะหแตละดวงจะมีคาบการโคจรไมเทากัน ดังตารางตอไปนี้
ดาราศาสตรโอลิมปก ระดับม.ตน 45

ตารางที่ 3.2 แสดงขอมูลระหวางคาบการโคจรและระยะครึ่งแกนยาวของดาวเคราะหดวงตางๆ

ระยะครึ่งแกนยาวเฉลี่ย คาบการโคจร (ระยะครึ่งแกนยาว


ดาวเคราะห 3 (คาบการโคจร)2
(AU) (ป) เฉลี่ย)

พุธ 0.38 0.24 0.05 0.06


ศุกร 0.72 0.62 0.37 0.38
โลก 1.00 1.00 1.00 1.00
อังคาร 1.52 1.88 3.51 3.54
พฤหัส 5.20 11.87 140.61 140.91
เสาร 9.54 29.46 868.25 867.77
ยูเรนัส 19.19 84.01 7068.38 7057.68
เนปจูน 30.06 164.79 27165.31 27155.74
พลูโต 39.53 248.54 61767.59 61772.13

กฎขอที่ 3 ของเคปเลอร
“สําหรับวงโคจรแบบวงรีของวัตถุทองฟาภายใตแรงโนมถวงระหวางกัน คาบการโคจรกับระยะครึ่ง
แกนยาวจะมีความสัมพันธกันโดยที่ คาบการโคจรของวัตถุทองฟา (ในหนวยป) ยกกําลังสองจะมีคาเทากับ
ระยะครึ่งแกนยาว (ในหนวย AU) ยกกําลังสาม”

กฎขอที่สามของเคปเลอรสามารถพิสูจนวาเปนจริงตามตารางที่ 3.2 ซึ่งจะแสดงใหเห็นวาวงโคจร


ของวัตถุทองฟาแบบวงรีใดๆ จะมีคาบการโคจรคาเดียวเสมอ ถานักเรียนทราบขอมูลวาดาวเทียมดวงหนึ่งใช
เวลาในการโคจรรอบโลกครบหนึ่งรอบนานเทาใด นักเรียนก็สามารถทราบระยะความสูงของดาวเทียมจาก
พื้นโลกได
ดาราศาสตรโอลิมปก ระดับม.ตน 46

สาระที่ 3 : เทคโนโลยีการสงยานอวกาศไปลงดาวอังคาร

E RE S RM M

rp = RE = a (1 − e ) ณ จุดเพอริฮีเลี่ยน
ra = RM = a (1 + e ) ณ จุดแอ็บฮีเลีย่ น

จากรูป ให S แทนตําแหนงดวงอาทิตย, E แทนตําแหนงของโลก และ M แทนตําแหนงของดาว


อังคาร ถาเราสงยานอวกาศจากโลกไปยังดาวอังคาร ยานอวกาศดังกลาวจะมีเสนทางโคจรตามเสนประซึ่ง
เปนวงรีโดยมีการโคจรรอบดวงอาทิตยซึ่งเปนจุดโฟกัสจุดหนึ่งของวงรีดังกลาว เราจะสามารถคํานวณหา
ความเร็วของยานอวกาศที่สงจากพื้นโลกได รวมทั้งยังสามารถคํานวณระยะเวลาที่ใชในการสงยานอวกาศไป
ดาวอังคาร ถาทราบระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตยและระยะทางจากดาวอังคารถึงดวงอาทิตย นักเรียนจะมี
วิธีคํานวณคราวๆ ไดอยางไร

You might also like